จุลสารสถาบันวิจัยและพัฒนา

Page 1

ยูหัวภูมิพลอดุลยเดช

• ประสบการณ์การทําวิจัยและสร้างสรรค์ ของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรพล เกียรติกิตติพงษ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร

นักวิจัยผู้ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดี ปี 2554

• ระดับและรูปแบบความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร์ของผู้เรียน ภาษาอังกฤษชาวไทยและเจ้าของภาษาชาวอเมริกัน โดย อาจารย์ปาจรีย์ นิพาสพงษ์ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

จากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร

• พลังชุมชน ความอยู่รอดของสังคม

• ข่าวสารความเคลื่อนไหว

ปณิธาน “ส่งเสริมการสร้าง และเผยแพร่องค์ความรู้” ทุกท่านสามารถแสดงความคิดเห็นในการให้บริการของสถาบันวิจัยและพัฒนาได้ 4 ช่องทาง คือ 1. โทรศัพท์ 034-255-808 2. โทรสาร 034-219-013 3. e-mail : research_inst@su.ac.th 4. กล่องรับความคิดเห็นหน้าห้องระเบียงวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา


ที่ปรึกษา

บทบรรณาธิการ ฉบั บ นี้ ข อเริ่ ม ต น ด ว ยคอลั ม น เ ป ด โลกกว า งเรื่ อ ง “ประสบการณการทําวิจัยและสรางสรรค” ของ ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรพล เกี ย รติ กิ ต ติ พ งษ จากคณะวิ ศ วกรรมศาสตร แ ละ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และจาก...ชุมชน ขอนํ า เสนอเรื่ อ ง “พลั ง ชุ ม ชน ความอยู ร อดของสั ง คม” โดย นายสุ พ รชั ย มั่ ง มี สิ ท ธิ์ นั ก วิ จั ย เชี่ ย วชาญจากสถาบั น วิ จั ย และ พัฒนา สวนงานวิจัยขอแนะนําผลงานวิจัยเรื่อง “ระดับและรูปแบบ ความตระหนั ก เชิ ง วั จ นปฏิ บั ติ ศ าสตร ข องผู เ รี ย นภาษาอั ง กฤษ ชาวไทยและเจาของภาษาชาวอเมริกัน” ของ อาจารยปาจรีย นิพาสพงษ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร พรอมขาวสาร ความเคลื่อนไหวของสถาบันวิจัยและพัฒนา ขอเชิญทานติดตาม อานในเลมนะคะ

ผูชวยศาสตราจารย ดร.อริศร เทียนประเสริฐ ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา

บรรณาธิการ นางอารียวรรณ นวมนาคะ

กองบรรณาธิการ นายสุพรชัย มั่งมีสิทธิ์ นางสาววัชรี นอยพิทักษ นางสาวตปนีย พรหมภัทร

เผยแพรโดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร นครปฐม 73000 โทรศัพท 0-3425-5808, 0-3421-9013 โทรสาร 0-3421-9013 E-mail : research_inst@su.ac.th Website : http://www.surdi.su.ac.th

สารบัญ เปดโลกกวาง 3 ประสบการณการทําวิจัยและสรางสรรค ของ ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรพล เกียรติกิตติพงษ

จาก...ชุมชน 8 พลังชุมชน ความอยูรอดของสังคม ผลงานวิจัย

วัตถุประสงค

11 ระดับและรูปแบบความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติ ศาสตรของผูเรียนภาษาอังกฤษชาวไทยและเจาของ ภาษาชาวอเมริกัน

จุลสารสถาบันวิจัยและพัฒนา เปนจุลสารอิเล็กทรอนิกส (e-journal) ราย 3 เดือน/ฉบับ จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อ เผยแพรขาวสาร กิจกรรมตางๆ ของสถาบัน วิจัย และพัฒ นา ตลอดจนความรู จ ากบทความวิช าการ และผลงานวิ จัย ของ บุคลากรของมหาวิทยาลัยศิลปากร สถาบันวิจัยและพัฒนา ยิ น ดี เ ป น สื่ อ กลางในการเผยแพร ผ ลงานวิ จั ย บทความทาง วิชาการ และเกร็ดความรูตางๆ ของชาวศิลปากรทุกทาน

ขาวสารความเคลื่อนไหว 17 รางวัลผลงานวิจัยดีป 2554 18 การประชาพิจารณขอเสนอการจัดตั้งกองทุนฯ 19 อบรมเชิงปฏิบัติการศิลปะจากงานสรางสรรค งานแกว 20 การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยและ สรางสรรคระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปากรวิจัยและสรางสรรค ครั้งที่ 5”

-2จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


เปดโลกกวาง

ของ ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.วรพล เกียรติกติ ติพงษ คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร

สัมภาษณโดย อารียวรรณ นวมนาคะ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประสบการณ์ การทํ า งานวิ จั ย ที่ ผ่ านมา และ โครงการวิจัยที่ทาํ อย่ ูในปั จจุบัน งานวิ จั ย ที่ ผ า นมาส ว นใหญเ ปน ด า นพลั ง งาน และสิ่งแวดลอม เนื่องจากเปนวิกฤตปญหาปจจุบัน ที่ เผชิญอยูในระดับโลก โดยในสวนของพลังงานจะเนน การพัฒนาพลังงานทดแทนในรูปแบบตางๆ เชน การ เพิ่มความสามารถในการใชเอทานอลเพื่อทดแทนน้ํามัน แกสโซลีนสําหรับเครื่องยนตทั่วไปใหดีกวาแก็สโซฮอล ในป จ จุ บั น การผลิ ต ไบโอดี เ ซลในรู ป แบบป จ จุ บั น (FAME) พลังงานไฮโดรเจน เซลลเชื้อเพลิง ในดาน สิ่ ง แวดล อ มจะเน น การใช ห ลั ก คิ ด แบบวั ฏ จั ก รชี วิ ต (Life cycle thinking) และการประเมินผลกระทบทาง สิ่งแวดลอม

ในยุคที่ 2 หรือ Hydrotreated biodiesel เทคโนโลยีการ กักเก็บพลังงาน

ทุนวิจัยที่ได้ รับและเทคนิคการหาทุนเพื่อใช้ ในการ สนับสนุนการทําวิจัย ทุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย ศิลปากร สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สํานักงาน คณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา กรมพั ฒ นาพลั ง งาน ทดแทนและอนุรักษพลังงาน ขอสําคัญที่สุดในการหา ทุนผมคิดวาอยูที่ขอเสนอโครงการ โจทยวิจัยตองชัดเจน มี ค ว า ม สํ า คั ญ มี ค ว า ม ใ ห ม แ ล ะ ส อ ด ค ล อ ง กั บ สถานการณปจจุบันและนาสนใจครับ

โครงการวิ จั ย ที่ ทํ า อยู ใ นป จ จุ บั น เช น การใช ประโยชนจากกลีเซอรอล ซึ่งเปนผลิตภัณฑผลพลอยได จากการผลิตไบโอดีเซลในปจจุบัน การผลิตไบโอดีเซล -3-

จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


ประสบการณ์ การสร้ างทีมวิจัย การสรางทีมวิจัยของผมเริ่มจากการมีนักศึกษา ปริ ญ ญาโท และปริ ญ ญาเอกในหลั ก สู ต รของเราเอง และการเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมใหกับตาง มหาวิทยาลัย แตไมวาจะเปนการสรางทีม การรวมทีม หรื อ การรวมที ม มี เ ป า หมายหลั ก ที่ ต รงกั น คื อ “การ ทํางานเปนทีม” ซึ่งเปนสิ่งสําคัญที่ผลักดันใหเราทํางาน วิจัยไดดียิ่งขึ้น ผมไดรับโอกาสจากศาสตราจารย ดร. สุทธิชัย อัสสะบํารุงรัตน (วิศวกรรมเคมี จุฬาฯ) ซึ่งเปน อาจารยที่ สอนผมมาและเปน นัก วิจัย พี่ เลี้ยงให กับผม และใหโอกาสผมไดรวมทีม “เมธีวิจัยอาวุโส สกว.” ที่มี อาจารยเปนหัวหนาทีมตั้งแตป 2551 จนถึงปจจุบัน ผม ไดรวมทีมกับ รองศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ภวสันต (จุฬาฯ) นักวิจัยแหงชาติ รองศาสตราจารย ดร.นวดล เหลาศิริพจน (มจธ.) นักวิทยาศาสตรรุนใหม ซึ่งลวนเปน ผูมีความสามารถ มีประสบการณในการสรางทีมงานที่มี ประสิทธิภาพ จึงทําใหทีมมีความเขมแข็ง และทํางาน รวมกันไดเปนอยางดีครับ

เกียรติบัตรแกอาจารยที่มีผลงานตีพิมพสูงที่สุด รวมถึง การจั ด สั ม มนาด า นงานวิ ช าการและงานวิ จั ย เพื่ อ แลกเปลี่ยนความรูอยูเสมอครับ การทํางานวิจัยแบบบรณาการกั บสาขาวิชาอื่น ๆ ู ทั ้ง ในมหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร และหน่ วยงาน ภายนอก (ที่ ผ่ านมามี ก ารดํ า เนิ น การหรื อไม่ อนาคตมีความคิดเห็นอย่ างไร) มีการดําเนินการไปบางแลวครับ แตสวนใหญ ยังอยูในชวงเริ่มตน จากนี้งานวิจัยแบบบูรณาการจะมี บทบาทและความสําคัญมากขึ้นอยางแนนอนครับ ความคาดหวั ง ต่ อ การส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การ ทํางานวิจัยจากมหาวิทยาลัยศิลปากร ผมคิดวามหาวิทยาลัยศิลปากรมีหนวยงานหลัก คื อ สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นา ในการขั บ เคลื่ อ นและ สนับสนุนการทํางานวิจัยของบุคลากรในมหาวิทยาลัย ไดเปนอยางดี สําหรับในสาขาทางวิทยาศาสตรนั้นผม เห็นวาหากมีศูนยเครื่องมือวิเคราะหขึ้นในมหาวิทยาลัย จะเปนประโยชนตอการวิจัยในหลายคณะและสาขาวิชา อย า งมาก รวมถึ ง งานวิ จั ย ในสาขาศิ ล ปะที่ มี ก าร บูรณาการความรูทางวิทยาศาสตรดวย ข้ อเสนอแนะและกําลังใจในการทํางานวิจัยสําหรั บ นักวิจัยรุ่ นใหม่ นั ก วิ จั ย รุ น ใหม ต อ งมี ค วามมุ ง มั่ น โดยในช ว ง แรกตองรูจักปรับตัวใหเขากับทรัพยากรทางการวิจัยที่มี (เครื่ อ งมื อ ทุ น และบุ ค ลากร) ไม ยึ ด ติ ด กั บ หั ว ข อ วิท ยานิ พ นธ เ ดิ ม ที่ไ ด ทํ า มา และหานั ก วิ จั ย พี่ เ ลี้ ย งที่ มี ความสามารถ

คณะวิชาของท่ านมีเวทีสนั บสนุ นงานวิชาการของ คณาจารย์ ในคณะหรื อไม่ อย่ างไร มีการสนับสนุนอยางตอเนื่องครับ โดยสําหรับ อาจารยใหมที่ยังไมไดรับทุนจากแหลงอื่น คณะฯจะมี ทุนลักษณะ Seeding money ใหในการทําวิจัย มีรางวัล ให เ มื่ อ สามารถตี พิ ม พ ใ นวารสารวิ ช าการในระดั บ นานาชาติ ที่ เ ป น ที่ ย อมรั บ และมี ก ารมอบโล แ ละ -4-

จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


ประวัตแิ ละผลงาน

ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.วรพล เกียรติกติ ติพงษ การศึกษา

วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544 วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2542 ปัจจุบันดํารงตําแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ผลงานด้านวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาคิ 1) Worapon Kiatkittipong*, Suwimol Wongsakulphasatch, Nattapon Tintan, Navadol Laosiripojana, Piyasan Praserthdam and Suttichai Assabumrungrat, “Gasoline upgrading by self-etherification with ethanol on modified beta-zeolite” Fuel Processing Technology 92 (10) 1999-2004 (2011) (IF-2010 = 2.781) 2) Worapon Kiatkittipong*, Parinya Intaracharoen, Navadol Laosiripojana, Choowong Chaisuk, Piyasan Praserthdam, Suttichai Assabumrungrat, “Glycerol ethers synthesis from glycerol etherification with tert-butyl alcohol in reactive distillation” Computers and Chemical Engineering 35 (10) 2034-2043 (2011) (IF-2010 = 2.072) 3) W. Khaodee, S. Wongsakulphasatch, W. Kiatkittipong, A. Arpornwichanop, N. Laosiripojana, S. Assabumrungrat, “Selection of appropriate primary fuel for hydrogen production for different fuel cell types: Comparison between decomposition and steam reforming” International Journal of Hydrogen Energy 36 (13) 7696-7706 (2011) (IF-2010 = 4.035) 4) Navadol Laosiripojana, Worapon Kiatkittipong, Suttichai Assabumrungrat, “Partial oxidation of palm fatty acids over Ce-ZrO2: Roles of catalyst surface area, lattice oxygen capacity and mobility” AIChE Journal 57 (10) 2861-2869 (2011) (IF-2010 = 2.030) 5) Thirasak Pairojpiriyakul, Worapon Kiatkittipong, Apinan Soottitantawat, Amornchai Arpornwichanop, Navadol Laosiripojana, Wisitsree Wiyaratn, Eric Coiset and Suttichai Assabumrungrat, “Thermodynamic analysis of hydrogen production from glycerol at energy self-sufficient conditions” The Canadian Journal of Chemical Engineering (2011) (Article in press) (IF-2010 = 0.707) (DOI: 10.1002/cjce.20621) 6) I. Choedkiatsakul, S. Charojrochkul, W. Kiatkittipong, W. Wiyaratn, A. Soottitantawat, A. Arpornwichanop, N. Laosiripojana and S. Assabumrungrat, “Performance improvement of bioethanol-fuelled solid oxide fuel cell system by using pervaporation” International Journal of Hydrogen Energy 36 (8) 5067-5075 (2011) (IF-2010 = 4.053) 7) G. Tanarungsun, H. Yamada, T. Tagawa, W. Kiatkittipong, P. Praserthdam and S. Assabumrungrat, “Partial oxidation of benzene catalyzed by vanadium chloride in novel reaction–extraction–regeneration system” Chemical Engineering and Processing: Process Intensification , 50 (1) 53-58 (2011) (IF-2010 = 1.729) 8) Vorachatra Sukwattanajaroon, Sumittra Charojrochkul, Worapon Kiatkittipong, Amornchai Arpornwichanop, and Suttichai Assabumrungrat, “Performance of Membrane-Assisted Solid Oxide Fuel Cell System Fuelled by Bioethanol” Engineering Journal, 15 (2), 53-66 (2011) 9) Thirasak Pairojpiriyakul, Worapon Kiatkittipong, Amornchai Arpornwichanop, Apinan Soottitantawat, Wisitsree Wiyaratn, Navadol Laosiripojana, Eric Coiset and Suttichai Assabumrungrat, “Effect of mode of operation on hydrogen production from glycerol at thermal neutral conditions: Thermodynamic analysis”, International Journal of Hydrogen Energy, 35 (19), 10257-10270 (2010) (IF2010 = 4.035) 10) P. Piroonlerkgul, W. Kiatkittipong, A. Arpornwichanop, A. Soottitantawat, W. Wiyratn, N. Laosiripojana, A.A. Adesina and S. Assabumrungrat “Technical and economic study of integrated system of solid oxide fuel cell, palladium membrane reactor, and CO2 sorption enhancement unit" Chemical Engineering and Processing: Process Intensification, 49 (10), 1006-1016 (2010) (IF-2010 = 1.729)

-5จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


11) N. Laosiripojana, W. Kiatkittipong, W. Sutthisripok, S. Assabumrungrat “Synthesis of methyl esters from relevant palm products in near-critical methanol with modified-zirconia catalysts” Bioresource Technology, 101 (21), 8416–8423 (2010) (IF-2010 = 4.365) 12) N. Laosiripojana, W. Kiatkittipong, S. Charojrochkul, S. Assabumrungrat “Effects of support and co-fed elements on steam reforming of palm fatty acid distillate (PFAD) over Rh-based catalysts” Applied Catalysis A: General, 383 (1-2), 50-57 (2010) (IF2010 = 3.383) 13) S. Assabumrungrat, P. Sonthisanga, W. Kiatkittipong, N. Laosiripojana, A. Arpornwichanop, A. Soottitantawat, W. Wiyaratn, P. Praserthdam “Thermodynamic analysis of calcium oxide assisted hydrogen production from biogas” Journal of Industrial and Engineering Chemistry, 16 (5), 785-789 (2010) (IF-2009 = 1.752). 14) Worapon Kiatkittipong*, Sirima Suwanmanee, Navadol Laosiripojana, Piyasan Praserthdam and Suttichai Assabumrungrat “Cleaner gasoline production by using glycerol as fuel extender” Fuel Processing Technology, 91 (5), 456-460 (2010) (IF-2010 = 2.781) 15) G. Tanarungsun, H. Yamada, T. Tagawa, W. Kiatkittipong, P. Praserthdam and S. Assabumrungrat “Reaction-extraction-regeneration system for highly selective oxidation of benzene to phenol” Chemical Engineering Communications, 197 (8), 1140-1151 (2010) (IF2010 = 0.913) 16) I. Choedkiatsakul, K. Sintawarayan, T. Prawpipat, A. Soottitantawat, W. Wiyaratn, W. Kiatkittipong, A. Arpornwichanop, N. Laosiripojana, S. Charojrochkul and S. Assabumrungrat “Performance assessment of SOFC systems integrated with bio-ethanol production and purification processes” Engineering Journal, 14 (1), 1-14 (2010) (doi:10.4186/ej.2010.13.4.1) 17) P. Piroonlerkgul, W. Wiyaratn, A. Soottitantawat, W. Kiatkittipong, A. Arpornwichanop, N. Laosiripojana, S. Assabumrungrat “Operation viability and performance of solid oxide fuel cell fuelled by different feeds” Chemical Engineering Journal, 155 (1-2), 411-418 (2009) (IF- 2009 = 2.816) 18) S. Assabumrungrat, S. Charoenseri, N. Laosiripojana, W. Kiatkittipong, P. Praserthdam “Effect of oxygen addition on catalytic performance of Ni/SiO2.MgO toward carbon dioxide reforming of methane under periodic operation” International Journal of Hydrogen Energy, 34 (15), 6211-6220 (2009) (IF-2009 = 3.945) 19) O. Boonthumtirawuti, W. Kiatkittipong, A. Arpornwichanop, P. Praserthdam and S. Assabumrungrat “Kinetic of liquid phase synthesis of tert-amyl ethyl ether from tert-amyl alcohol and ethanol over Amberlyst 16” Journal of Industrial and Engineering Chemistry, 15 (4), 451-457 (2009) (IF-2009 = 1.752). 20) P. Piroonlerkgul, W. Kiatkittipong, A. Arpornwichanop, A. Soottitantawat, W. Wiyaratn, N. Laosiripojana, A.A. Adesina, S. Assabumrungrat “Integration of solid oxide fuel cell and palladium membrane reactor: Technical and economic analysis” International Journal of Hydrogen Energy, 34 (9), 3894-3907 (2009) (IF-2009 = 3.945) 21) Worapon Kiatkittipong*, Khamron Yoothongkham, Choowong Chaisuk, Piyasan Praserthdam, Shigeo Goto and Suttichai Assabumrungrat “Self-etherification process for cleaner fuel production” Catalysis Letters 128 (1-2), 154-163 (2009) (IF-2009 = 2.021) 22) Worapon Kiatkittipong, Porntip Wongsuchoto, Prasert Pavasant “Life cycle assessment of bagasse waste management options” Waste Management 29 (5), 1628-1633 (2009) (IF- 2009 = 2.433) 23) Vorapot Kanokkantapong, Worapon Kiatkittipong, Bunyarit Panyapinyopol, Porntip Wongsuchoto and Prasert Pavasant “Used lubricating oil management options based on life cycle thinking” Resources Conservation and Recycling, 53 (5), 294-299 (2009) (IF2009 = 1.987) 24) S. Vivanpatarakij, N. Laosiripojana, W. Kiatkittipong, A. Arpornwichanopa, A. Soottitantawat, S. Assabumrungrat “Simulation of solid oxide fuel cell systems integrated with sequential CaO–CO2 capture unit” Chemical Engineering Journal, 147 (2-3), 336-341 (2009) (IF-2009 = 2.816) 25) A. Arpornwichanop, K. Koomsup, W. Kiatkittipong, P. Praserthdam, S. Assabumrungrat “Production of n-butyl acetate from dilute acetic acid and n-butanol using different reactive distillation systems: Economic analysis” Journal of the Taiwan Institute of Chemical Engineers, 40 (1), 21-28 (2009) (IF-2008 = 1.114) 26) Worapon Kiatkittipong*, Piyaporn Thipsunet, Shigeo Goto, Choowong Chaisuk, Piyasan Praserthdam and Suttichai Assabumrungrat “Simultaneous enhancement of ethanol supplement in gasoline and its quality improvement” Fuel Processing Technology, 89 (12), 1365-1370 (2008) (IF-2008 = 2.066) 27) G. Tanarungsun, W. Kiatkittipong, P. Praserthdam, H. Yamada, T. Tagawa, and S. Assabumrungrat “Hydroxylation of benzene to phenol on Fe/TiO2 catalysts loaded with different types of second metal” Catalysis Communications, 9 (9), 1886-1890 (2008) (IF2008 = 2.791) 28) G. Tanarungsun, W. Kiatkittipong, P. Praserthdam, H. Yamada, T. Tagawa and S. Assabumrungrat “Ternary metal oxide catalysts for selective oxidation of benzene to phenol” Journal of Industrial and Engineering Chemistry, 14 (5) 596-601 (2008) (IF- 2008 = 1.235)

-6จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


29) Worapon Kiatkittipong, Porntip Wongsuchoto, Khanidtha Meewasana and Prasert Pavasant “When to buy new electrical/electronic products?” Journal of Cleaner Production, 16 (13), 1339-1345 (2008) (IF-2008 = 1.362) 30) G. Tanarungsun, W. Kiatkittipong, S. Assabumrungrat, H. Yamada, T. Tagawa and P. Praserthdam “Multi transition metal catalysts supported on TiO2 for hydroxylation of benzene to phenol with hydrogen peroxide” Journal of Industrial and Engineering Chemistry, 13 (5), 870-877 (2007) (IF-2007 = 1.570). 31) G. Tanarungsun, W. Kiatkittipong, S. Assabumrungrat, H. Yamada, T. Tagawa and P. Praserthdam “Liquid phase hydroxylation of benzene to phenol with hydrogen peroxide catalyzed by Fe (III)/TiO2 catalysts at room temperature” Journal of Industrial and Engineering Chemistry, 13 (3), 444-451 (2007) (IF-2007 = 1.570). 32) G. Tanarungsun, W. Kiatkittipong, S. Assabumrungrat, H. Yamada, T. Tagawa and P. Praserthdam “Fe (III), Cu (II), V (V)/TiO2 for hydroxylation of benzene to phenol with hydrogen peroxide at room temperature” Journal of Chemical Engineering of Japan, 40 (5), 415-421 (2007) (IF-2007 = 0.594). 33) Worapon Kiatkittipong, Tomohiko Tagawa, Shigeo Goto, Suttichai Assabumrungrat, Kampol Silpasup and Piyasan Praserthdam, “Comparative Study of Oxidative Coupling of Methane Modeling in Various Types of Reactor” Chemical Engineering Journal, 115 (1-2), 63-71 (2005) (4th of TOP 25 Hottest Articles) (IF-2005 = 2.034). 34) Worapon Kiatkittipong, Shigeo Goto, Tomohiko Tagawa, Suttichai Assabumrungrat and Piyasan Praserthdam “Simulation of Oxidative Coupling of Methane in Solid Oxide Fuel Cell Type Reactor for C2 Hydrocarbons and Electricity Co-Generation” Journal of Chemical Engineering of Japan, 38 (10), 841-848 (2005) (IF-2005 = 0.519). 35) Worapon Kiatkittipong, Tomohiko Tagawa, Shigeo Goto, Suttichai Assabumrungrat and Piyasan Praserthdam “Oxygen transport through LSM/YSZ/LaAlO system for the use of fuel cell type reactor” Chemical Engineering Journal, 106 (1), 35-42 (2005) (IF-2005 = 2.034). 36) Worapon Kiatkittipong, Tomohiko Tagawa, Shigeo Goto, Suttichai Assabumrungrat and Piyasan Praserthdam “Oxidative Coupling of Methane in LSM/YSZ/LaAlO SOFC Reactor” Journal of Chemical Engineering of Japan 37 (12), 1461-1470 (2004) (IF-2004 =

0.515). 37) Worapon Kiatkittipong, Tomohiko Tagawa, Shigeo Goto, Suttichai Assabumrungrat and Piyasan Praserthdam “TPD study in LSM/YSZ/LaAlO system for the use of fuel cell type reactor” Solid State Ionics, 166 (1-2), 127-136 (2004) (IF- 2004 = 1.862). 38) Suttichai Assabumrungrat, Worapon Kiatkittipong, Piyasan Praserthdam and Shigeo Goto “Simulation of pervaporation membrane reactors for liquid phase synthesis of ethyl tert-butyl ether from tert-butyl alcohol and ethanol” Catalysis Today, 79-80, 249-257 (2003) (IF-2003 = 2.627). 39) Worapon Kiatkittipong, Suttichai Assabumrungrat, Piyasan Praserthdam and Shigeo Goto, “A pervaporation membrane reactor for liquid phase synthesis of ethyl tert-butyl ether from tert-butyl alcohol and ethanol”, Journal of Chemical Engineering of Japan 35 (6), 547-556 (2002) (IF-2002 = 0.459). 40) Assabumrungrat S, Kiatkittipong W, Srivitoon N, Praserthdam P, Goto S, “Kinetics of liquid phase synthesis of ethyl tert-butyl ether from tert-butyl alcohol and ethanol catalyzed by β-zeolite supported on monolith”, International Journal of Chemical Kinetics, 34: (5) 292-299, May 2002 (IF-2002 = 1.086) หนังสือ 1) Vorachatra Sukwattanajaroon, Suttichai Assabumrungrat, Sumittra Charojrochkul, Navadol Laosiripojana and Worapon Kiatkittipong “Bioethanol-Fuelled Solid Oxide Fuel Cell System for Electrical Power Generation” Renewable Energy - Trends and Applications, ISBN 978-953-307-939-4, InTech 2011; 9: 191-212 2) Issara Choedkiatsakul, Kanokwan Ngaosuwan, Worapon Kiatkittipong, Navadol Laosiripojana and Suttichai Assabumrungrat, “Patent Review on Biodiesel Production Process” Recent Patents on Chemical Engineering 4, 265-279 (2011) 3) N. Laosiripojana, W. Wiyaratn, W. Kiatkittipong, A. Arpornwichanop, A. Soottitantawat and S. Assabumrungrat “Reviews on Solid Oxide Fuel Cell Technology” Engineering Journal, 13 (1), 65-83 (2009) รางวัลด้านการวิจยั ได้แก่ 1) รางวัลผลงานวิจัยดี ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจําปี 2554 2) รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจําปี 2554 3) รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจําปี 2553 4) รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ระดับนิสิตดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประจําปี 2548 สถานที่ทํางาน ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร อ.เมือง จ. นครปฐม 73000

-7จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


จาก...ชุมชน

สุพรชัย มั่งมีสิทธิ์ นักวิจัยเชี่ยวชาญ สถาบันวิจัยและพัฒนา

ป พ.ศ. 2554 ทานผูอานคงไดรับทราบขาวน้ําทวมใหญประเทศไทย มาแลวจากสื่อตางๆ น้ําทวมครั้งนี้สรางความเสียหายตอทรัพยสินและชีวิต ของผูคนอยางกวางขวาง โดยเฉพาะในทางเศรษฐกิจ นิคมอุตสาหกรรม หลายแหงจมอยูใตน้ําสรางความเสียหายมูลคามหาศาล คาดวาภายหลัง ระดั บ น้ํ า เข า สู ภ าวะปกติ คงจะต อ งใช ง บประมาณฟ น ฟู ป ระเทศด ว ย งบประมาณกอนโตทีเดียว เกิดขึ้นหลายภูมิภาคในโลก จากการติดตามขาวสารตางๆ พบวามีภัยพิบัติเกิดขึ้นหลายรูปแบบบน พื้นพิภพนี้ ทั้งภัยแลง น้ําทวม แผนดินไหว เกิดคลื่นสึนามิ เชน กรณีประเทศ ญี่ปุน เมื่อชวงที่ผานมา สรางความเสียหายตอชีวิตทรัพยสิน อาคารสถานที่ ถูก ทํ า ลาย โรงผลิต ไฟฟา พลังปรมาณูก็ ไดรับความเสีย หาย รัง สีรั่ว ไหล กระจายออกจากเตาปฏิกรณโรงผลิตไฟฟาสรางความหวาดวิตกใหกับผูที่ อาศัยอยูในรัศมี ปรากฏการณทั้งหลายทั้งมวลที่เกิดขึ้นในปนี้ไมอาจปฏิเสธไดวาสาเหตุหลักที่เกิดสถานการณ ต า งขึ้ น บนพื้ น โลกใบนี้ คื อ การเสี ย สมดุ ล ของ ธรรมชาติ ที่เกิดจากการใชทรัพยากรธรรมชาติเกิน ขีดความสามารถการฟนตัวไดของธรรมชาติ จะวา ไปแล ว เหตุ ก ารณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น นี้ เ ป น การเอาคื น ของ ธรรมชาติ ก็ ไ ม น า จะผิ ด เนื่ อ งจากมนุ ษ ย ลุ ก ล้ํ า ก้ํ า เกิ น ธรรมชาติ ม ากเกิ น ไป ปรากฏการณ ต า งๆ เหล า นี้ จ ะเกิ ด ถี่ ขึ้ น เรื่ อ ยๆ ตราบใดที่ โ ลกยั ง ไม ตระหนักถึงสภาวะสมดุลของธรรมชาติที่นับวันจะ รุนแรงขึ้น -8จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


สิ่งที่แตกตางระหวางไทย-ญี่ปุน เมื่อเดือนสองเดือนที่ผานมาจากขาวสารผานสื่อ ตางๆ สถานการณภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในประเทศญี่ปุน หนักหนาสาหัสไมตางไปจากบานเมืองไทยในเวลานี้ สักเทาใดนัก แตมีรายละเอียดปลีกยอยที่ทั้งสองสังคม นี้แตกตางกันคือ ประการแรกการฉกชิงปลนทรัพยสิน ในสถานที่ที่ประสบภัย สิ่งเหลานี้ไมเกิดขึ้นในสังคม ของญี่ปุน แตในสังคมไทยบานไหนที่มองดูจากสภาพ บานเรือนที่ดูดีนาจะมีทรัพยสินที่มีคาติดบานเรือนก็ จะถูกขโมยใจบาปเขาไปหยิบฉวยเอาทรัพยสินของมีคาไป สรางความเสียหายเดือดรอนซ้ําเติมเจาของบานเปนเทา ทวีคูณเพิ่มขึ้นไปอีก ประการตอมาสิ่งหนึ่งที่พบเห็นคือ การซื้อขาวของเครื่องใชกักตุนไวใชในครอบครัวของแตละ ครัวเรือน ในบานเมืองไทยใครมีกําลังซื้อมากก็ระดมซื้อสิ่งของเครื่องอุปโภคบริโภคไวใหไดมากที่สุดเทาที่จะทําไดจน สินคาหมด คนอื่นๆ ไมมีกินไมมีใช แตในบานเมืองญี่ปุนเขาจะแบงปนการจับจายขาวของใหทุกคนมีโอกาสไดซื้อหา ไวใชกันใหมากที่สุดแบบถอยทีถอยอาศัยซึ่งกันและกัน แตใชวาในบานไทยสังคมไทยจะเลวรายไปเสียทั้งหมด คน สวนใหญยังมีน้ําใจ ความเอื้ออาทร ชวยเหลือเกื้อกูลกัน ความชวยเหลือผูประสบภัยที่หลั่งไหลมาจากทั่วประเทศ ยังคงเกิดขึ้นตลอดเวลา ใครมีกําลังแรงกายก็อาสาเขาไปชวยเหลือ ใครมีกําลังทรัพยพอแบงปนกันไดก็บริจาคผาน หนวยความชวยเหลือตางๆ เห็นแลวความรูสึกดีๆตอสังคมไทยก็ยังเปนบานเมืองที่นาอยูนาอาศัย สมกับเปนสยาม เมืองยิ้มถึงแมเวลานี้จะเปนยิ้มแบบแหงๆ ก็ตามก็ยังดีกวาการทําหนายักษหนามารแยกเขี้ยวใสกันเหมือนชวงที่ผานๆ มา สิ่งตางๆ เหลานี้อาจจะเปนคําตอบไดวาทําไมญี่ปุนถึงไดเจริญรุดหนาในทุกๆ ดานทั้งๆ ที่ทรัพยากรก็มีอยูอยาง จํากัด แตพลังของชุมชนเขามีอยางพรอมเพรียง สังคมนาอยูผูคนนารัก เปนเรื่องราวดีๆในอดีตของสังคมไทยที่มีลักษณะเปนเชนนี้ใน ยุคโบราณผานมา และเปนที่มาของคําวา ”สยามเมืองยิม้ ” หากจะ มองยอนประวัติศาสตรชุมชนไทยจะพบวา ชุมชนมีสภาพรวมตัวกัน เปนปกแผน มีความรวมมือในกิจกรรมตาง ๆ ทั้งของสวนตัวและของ สวนรวม ทั้งดานอาชีพ วัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรม การพัฒนา ชุมชน และการแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน มีความเอื้อ อาทรตอกัน รักสามัคคีและชวยเหลือกัน มีความรูสึกผูกพันกับชุมชน และสมาชิกในชุมชน และมีคานิยมความเชื่อตอสิ่งสูงสุดอยางใดอยางหนึ่งรวมกัน จนไมคิดโยกยายถิ่นฐานไปอยูท อี่ นื่ มีความรูสึกเปนเจาของชุมชน สิ่งตางๆเหลานี้ทําใหสภาวะชุมชนนาอยูผูคนนารักเกิดขึ้นในทองถิ่นตางๆ แตในปจจุบันสภาวการณตางๆ ไดบีบคั้นใหแตละทองถิ่นดิ้นรนเพื่อความอยูรอดของตนเองมากขึ้น จะดวยคน -9จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


มากขึ้น ทรัพยากรตางๆ มีอยูจํากัด การแขงขันสูง เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหความนาอยูนารักของผูคนลดนอยลงไปจาก ในอดีต แตอยางไรก็ตามสังคมสวนหนึ่งยังเห็นคุณคาความดีงามของสังคมไทยในอดีต พยายามชวยกันฟนฟู สงเสริม สนับสนุนคานิยมที่ดีงามใหกลับฟนคืนสูสังคมในปจจุบัน ดังกรณีตัวอยางที่นําเสนอผานโทรทัศนชองหนึ่ง เปน เรื่องราวของชุมชนตนแบบที่สามารถแกปญหาน้ําทวมขังในชุมชนของ ตนเองได ดวยพลังของชุมชนเอง ดวยการรวมมือ รวมแรง บริหาร จัดการไมใหน้ําเขามาทวมขังภายในชุมชนของตนเองได จากกรณี ดังกลาวเปรียบเสมือนแสงสวางเล็กๆ ในถ้ําที่มืดมิดที่ทําใหชุมชนอื่นๆ ไดเรียนรูและนําไปประยุกตใชในทองถิ่นของตนเองตอไป เพื่อลดระดับ ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นของภัยพิบัติในรูปแบบตางๆ ได พลังชุมชน เปนกระบวนการทางสังคมทีส่ งเสริมใหบุคคล องคกร และชุมชน มีความเปนตัวของตัวเอง สามารถควบคุม ตนเอง มีความสามารถในการเลือก และกําหนดอนาคตของตนเอง ชุมชน และสังคมได การสรางพลังจึงเปน กระบวนการทีบ่ ุคคลสามารถกระทํารวมกับบุคคลอื่นในสังคม เพื่อกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ในแนวทางทีพ่ ึง ปรารถนา แตไมใชเปนพลังทีจ่ ะไปบังคับ หรือครอบงําคนอื่น หัวใจของการสรางพลังชุมชนใหเกิดขึ้น คือ การเรียนรูแ บบมีสวนรวม ของผูที่มีสว นไดสวนเสียทุกฝาย ภายใน ชุมชน หรือการแกไขปญหาของชุมชนเกิดผลของการเรียนรู คือ พลังความรู การตัดสินใจ และความสามารถในการ พัฒนาชุมชนอยางยั่งยืน โดยเนนประชาชนเปนศูนยกลาง น้ําทวมใหญในคราวนี้ทาํ ใหหลายชุมชนไดเกิดการเรียนรูที่จะรวมมือรวมแรงกันมากขึ้น เพื่อระดมสรรพกําลัง ตางๆ เพื่อใหสามารถผานพนปญหาไปใหได และลดความสูญเสียใหนอยที่สุดเทาที่จะทําได มีผคู นตางๆ กลาวกันวา ในวิกฤตก็มีโอกาสหากมองปญหาที่เกิดขึน้ อยางมีสติ ก็จะสามารถนําขอบกพรองตางๆ มาแกปรับปรุงกอใหเกิดผลดี ตามมาได ก็หวังวาปญหาน้าํ ทวมในครัง้ นี้จะเปนวิกฤตที่สรางโอกาสใหสังคมไทยไดเรียนรูรวมกันเพื่อแกไขปญหา ตางๆ ใหกาวไปขางหนาอยางมั่นคง

-10จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


ผลงานวิจัย

ระดับและรูปแบบความตระหนักเชิงวัจนปฏิบตั ิศาสตรของผูเ รียน ภาษาอังกฤษชาวไทยและเจาของภาษาชาวอเมริกน ั Pragmatic awareness levels and patterns reported by Thai learners of English and the native speakers of American English อาจารยปาจรีย นิพาสพงษ PAJAREE NIPASPONG ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

สํ า นวนตามธรรมเนี ย มปฏิ บั ติ แ ละการรั บ รู ป จ จั ย ด า น อํานาจ

บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบ ระดับความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตรระหวางผูเรียน ภาษาอั ง กฤษชาวไทยกลุ ม เก ง กลุ ม อ อ นและเจ า ของ ภาษาชาวอเมริ กั น และเพื่ อ ศึ ก ษาหารู ป แบบความ ตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตรของผูเรียนภาษาอังกฤษ ชาวไทย การศึกษาระดับความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติ ศาสตรทําโดยใหกลุมตัวอยางทั้งสามกลุมรวม 90 คน รายงานความเหมาะสมของสํานวนวัจนกรรมการขอรอง และการให คํ า แนะนํ า ในมาตรวั ด ระดั บ จากนั้ น กลุ ม ตัวอยางผูเรียนชาวไทย 12 คนไดถูกสุมมาจากกลุมเกง และกลุมออนเพื่อทําแบบวิเคราะหสํานวนวัจนกรรม เพื่อ หารู ป แบบความตระหนั ก เชิ ง วั จ นปฏิ บั ติ ศ าสตร ข อง ผูเรียนชาวไทย ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางผูเรียน ชาวไทยทั้งสองกลุมรายงานระดับความตระหนักในระดับ ที่ใกลเคียงกัน แตมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติกับกลุมตัวอยางชาวอเมริกัน ผูเรียนชาวไทยทั้งสอง กลุ ม มี รู ป แบบร ว มทางความตระหนั ก เชิ ง วั จ นปฏิ บั ติ ศาสตรที่คลายกัน โดยกลุมตัวอยางแสดงความตระหนัก ครอบคลุมทั้งปจจัยทางสังคมและทางภาษาศาสตร ขอ แตกตางระหวางรูปแบบความตระหนักของผูเรียนชาว ไทยทั้ ง สองกลุ ม คื อ ความแตกต า งด า นความรู เ รื่ อ ง

Abstract The objective of this study is two-fold—to compare levels of pragmatic awareness between Thai EFL learners of high- and low-English proficiency and the American, and to examine patterns of pragmatic awareness reported by the two groups of Thai learners. A total of 90 subjects, 30 for each group, were asked to judge the appropriateness level of the speech act of request and suggestion in a rating scale. Then, 12 Thai learners from the high- and low-English proficiency groups were chosen at random to attend the patterns of pragmatic awareness test. Results reveal that, overall, the two groups of Thai learners report similar levels of pragmatic awareness, which are significantly different from those of the American. Results on patterns of pragmatic awareness show a correspondence between patterns reported by the two groups of Thai learners. The subjects from both groups show their -11-

จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


ปฏิบัติศาสตรภาษาที่สองเนื่องจากผูเรียนภาษาอาจมี การรับรูถึงรูปแบบภาษาที่เหมาะสม ปจจัยทางสังคมที่ สงผลตอการเลือกใชภาษา ตลอดจนการตีความสํานวน ภาษาแตกตางจากเจาของภาษา การศึกษาวิจัยทาง ความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตรจึงมีสวนสําคัญที่จะ ชวยใหเราเขาใจถึงรูปแบบความตระหนักและการรับรู ปจจัยตางๆทางวัจนปฏิบัติศาสตรของผูเรียนภาษาได

awareness of sociopragmatic and pragmalinguistic components. The differences in their awareness patterns are their recognition of conventional forms and their perception of relative power. บทนํา แนวความคิ ด เกี่ ย วกั บ ความสํ า คั ญ ของความ ตระหนักที่มีตอการเรียนรูภาษาเริ่มมาจากสมมุติฐานการ สังเกต (Noticing Hypothesis) ของชมิดท (Schmidt, 1990, 1993) โดยชมิดทเชื่อวาความตระหนักเปนบอเกิด ของการสั ง เกต (noticing) อั น เป น ที่ ม าของการเรี ย นรู (acquisition) และการเรียน (learning) ชมิดท (1993) ไดอธิบายวา ความตระหนัก (awareness) หมายถึง การ มีความรูเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ความรูในที่นี้หมายรวมถึง การสัมผัสรูและความรูความเขาใจ ซึ่งในบริบทการเรียน ภาษามักหมายถึงการรูกฎของภาษานั้น สมมุติฐานการ สั ง เกตของชมิ ด ท ไ ด เ ป น ที่ ย อมรั บ อย า งกว า งขวางใน วงการนั ก ภาษาศาสตร โดยมี นั ก วิ จั ย จํ า นวนมากได ศึ ก ษาความสํ า คั ญ ของความตระหนั ก ต อ การเรี ย นรู ไวยากรณข องผู เ รี ย นภาษา แต ง านวิ จัย ที่ ศึก ษาความ ต ร ะ ห นั ก เ ชิ ง วั จ น ป ฏิ บั ติ ศ า ส ต ร (pragmatic awareness) ของผูเรียนนั้นยังมีนอยอยูมากเมื่อเทียบกับ ความสําคัญของการสงเสริมใหผูเรียนภาษาตระหนักถึง การใช ภ าษาอย า งเหมาะสมต อ บริ บ ททางสั ง คม วัฒนธรรม ซึ่งจากผลการวิจัยของ บารโดวี-ฮารลิกและ ดอรนเย (Bardovi-Harlig & Dornyei, 1998) และ ชาว เออร (Schauer, 2006) พบวาตามความคิดของเจาของ ภาษาหรือ ผู มี ค วามเชี่ ย วชาญทางภาษานั้ น ความผิ ด ทางวัจ นปฏิ บัติศาสตรจั ดวา เป น ความผิดที่ ก ระทบตอ ความสําเร็จในการสื่อสารอยางรายแรงมากกวาความผิด ทางไวยากรณเสียอีก การใชภาษาอยางไรใหเหมาะสม นั้นเปนปญหาสําคัญอยางหนึ่งในการเรียนการสอนวัจน

วัตถุประสงคของการวิจยั 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับความตระหนัก เชิงวัจนปฏิบัติศาสตรของผูเรียนภาษาอังกฤษชาวไทย กลุมเกง กลุมออน และเจาของภาษาชาวอเมริกัน 2. เพื่อศึกษาหารูปแบบความตระหนักเชิงวัจน ปฏิบัติศาสตรของผูเรียนภาษาอังกฤษชาวไทยกลุมเกง และกลุมออน วิธีดําเนินการวิจัย กลุมตัวอยาง งานวิจัยเรื่องนี้ประกอบดวยกลุมตัวอยาง 3 กลุม ไดแก กลุมผูเรียนภาษาอังกฤษชาวไทยกลุมเกงจํานวน 30 คน กลุมผูเรียนกลุมออน 30 คน และกลุมตัวอยาง เจาของภาษาชาวอเมริกัน 30 คน กลุมตัวอยางผูเรียน ชาวไทยคื อ นั ก ศึ ก ษาชั้ น ป ที่ 2 คณะโบราณคดี จาก หลากหลายสาขาวิชาเอก ยกเวนวิชาเอกภาษาอังกฤษ การคัด เลื อ กกลุม ตั ว อย า งผู เ รีย นชาวไทยใชวิธี การสุ ม อย า งง า ยโดยได ทํ า การสุ ม กลุ ม ตั ว อย า งกลุ ม เก ง จาก นักศึกษาที่ไดคะแนนสอบไวยากรณภาษาอังกฤษที่อยู ในชวงคะแนนรอยละ 75 หรือมากกวา และสุมกลุม ตัวอยางกลุมออนจากผูที่ไดคะแนนจากการสอบดังกลาว ต่ํากวารอยละ 65 เครื่องมือวิจยั ขั้นตอนเก็บขอมูล และการ วิเคราะหขอมูล งานวิจัยนี้ใชเครื่องมือวิจัย 2 ชิ้น ไดแก มาตรวัด -12-

จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


ระดั บ ความตระหนั ก เชิ ง วั จ นปฏิ บั ติ ศ าสตร และ แบบทดสอบสํานวนวัจนกรรม การศึกษาขอมูลเชิง ปริ ม าณทํ า โดยให ก ลุม ตั ว อย า งทั้ ง 90 คนทํา มาตรวั ด ระดับความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร ซึ่งเปนมาตร วัด 7 ระดับ (7-point Likert scales) เกี่ยวกับความ เหมาะสมของสํา นวนวัจนกรรมการขอร องและการให คําแนะนํา มาตรวัดระดับประกอบดวยสถานการณการ ขอรอง 12 ขอและการใหคําแนะนํา 12 ขอ รวม 24 ขอ สถานการณในมาตรวัดระดับถูกสรางขึ้นใหประกอบดวย ตั ว แปรทางสั ง คมสองตั ว แปร ได แ ก อํ า นาจ (relative power) และระยะหางทางสังคม (social distance) ของ คูสนทนา สวนสํานวนวัจนกรรมที่ใชประกอบดวยตัวแปร ท า ง ภ า ษ า ส อ ง ตั ว แ ป ร คื อ ธ ร ร ม เ นี ย ม ป ฏิ บั ติ (conventions) และความเปนทางการ (formality) ของ สํานวน การศึกษาขอมูลเชิงคุณภาพทําโดยการสุมกลุม ตัวอยางผูเรียนชาวไทยจากกลุมเกงและกลุมออน กลุม ละ 6 คน เพื่อทําแบบวิเคราะหสํานวนวัจนกรรม แบบ วิเคราะหประกอบดวยสถานการณการขอรอง 4 ขอและ การให คํ า แนะนํ า 4 ข อ รวม 8 ข อ ในแต ล ะข อ ประกอบดวยโจทยสถานการณและสํานวนในการโตตอบ 4 ตัวเลือก กลุมตัวอยางจะตองอานโจทยสถานการณ และเขียนเหตุผลวาสํานวนที่ใชในตัวเลือกทั้ง 4 ตัวเลือก นั้นมีความเหมาะสมหรือไมเพราะเหตุใด ซึ่งในการเขียน อธิบายเหตุผลกลุมตัวอยางไดถูกขอใหเขียนเหตุผลใน การวิเคราะหดวยภาษาพูด โดยเขียนสิ่งที่ตนคิดโดยไม ตองคํานึงถึงความสละสลวยและความเปนทางการของ ภาษา ข อมู ล จากมาตรวั ดระดับ ของกลุ ม ตัว อย า งถู ก นํามาประมวลคะแนนและหารูปแบบการแจกแจงของ คะแนนดวยเครื่องมือ Kolmorov-Smirnov one-sample test ผลการคํานวณไดคา 0.847 ซึ่งหมายถึงรูปแบบการ

แจกแจงของคะแนนแบบปกติ (normal distribution) จากนั้นคะแนนจากมาตรวัดระดับไดถูกนํามาประมวลผล ทางสถิติดวยโปรแกรม SPSS โดยใชเครื่องมือ One-way analysis of variance (ANOVA) และวิธีการทางสถิติ Post-hoc Tukey เพื่อหาคาความแตกตางของระดับ ความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตรของกลุมตัวอยางแต ละกลุม สวนขอมูลจากแบบวิเคราะหสํานวนวัจนกรรม ถูกนํามาประมวลผลดวยการวิเคราะหเนื้อหา (content analysis) โดยเหตุผลที่ก ลุ ม ตัว อยา งแสดงในการ วิ เ คราะห ค วามเหมาะสมของสํ า นวนวั จ นกรรมได ถู ก นํ า มาจั ด หมวดหมู ต ามองค ป ระกอบความรู ท างวั จ น ปฏิบัติศาสตรของบราวนและเลวิน สั น (Brown & Levinson, 1987) คลารค (Clark, 1979) และโทมัส (Thomas, 1983) จากนั้นผูวิจัยไดวิเคราะหเนื้อหาจาก ข อ มู ล ในแต ล ะหมวดหมู เ พื่ อ หารู ป แบบร ว ม (general patterns) ของความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตรของ ผูเรียนชาวไทยทั้งสองกลุม ผลการวิจัย 1. ระดับความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตรของ ผูเรียนภาษาอังกฤษชาวไทยกลุมเกง กลุมออน และ เจาของภาษาชาวอเมริกัน ผลการศึกษาในภาพรวมพบวากลุมตัวอยางทั้ง สามกลุ ม มี ระดั บ ความตระหนัก เชิง วั จ นปฏิบัติศ าสตร แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ [F (2, 87) = 23.284; p < .001] โดยผลการวิเคราะหคะแนนดวย Post-hoc Tukey พบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติระหวางกลุมตัวอยางผูเรียนชาวไทยทั้งสองกลุม กับกลุมตัวอยางชาวอเมริกัน (p < .001) แตคะแนน ระหวา งกลุม ตัว อยางผูเ รีย นชาวไทยกลุมเกงและกลุม ออนมีความแตกตางกันนอย (p = .811) ขอมูลจากสถิติ เชิ ง พรรณนารายงานว า กลุ ม ตั ว อย า งชาวอเมริ กั น ให -13-

จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


ความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติระหวางระดับ ความตระหนักถึงความเหมาะสมของสํานวนการขอรอง ระหวางกลุมตัวอยางผูเรียนชาวไทยและชาวอเมริกัน แต พบความแตกต า งอย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ร ะหว า ง ระดับความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตรตอวัจนกรรม การใหคําแนะนําของกลุมตัวอยางผูเรียนชาวไทยกับชาว อเมริกัน

คะแนนระดับความเหมาะสมของสํ านวนวัจนกรรมใน มาตรวั ด ระดั บ สู ง ที่ สุ ด (129.07) รองลงมาคื อ กลุ ม ตัว อย า งผู เ รี ย นชาวไทยกลุ ม เก ง และกลุ ม ออ น โดยให คะแนนความเหมาะสมเฉลี่ ย 109.77 และ 107.63 ตามลําดับ ดังนั้นผลการศึกษาเชิงปริมาณจึงตรงกับ สมมติฐานของงานวิจัยขอ 1 ที่วากลุมตัวอยางผูเรียนชาว ไทยทั้ ง สองกลุ ม มี ร ะดั บ ความตระหนั ก เชิ ง วั จ นปฏิ บั ติ ศาสตร แ ตกต า งจากกลุ ม ตั ว อย า งเจ า ของภาษาชาว อเมริกัน และสมมติฐานขอ 2 ที่วากลุมตัวอยางผูเรียน ชาวไทยกลุมเกงและกลุมออนมีระดับความตระหนักเชิง วัจนปฏิบัติศาสตรไมแตกตางกัน เมื่อเปรียบเทียบเฉพาะ คะแนนในสวนวัจนกรรมการขอรอง ผลการศึกษาไมพบ ความแตกตา งอย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิติระหวา งกลุ ม ตัวอยางผูเรียนชาวไทยทั้งสองกลุมและกลุมตัวอยางชาว อเมริกัน [F (2, 87) = 2.568; p = .082] ดานคะแนน จากสถานการณ วั จ นกรรมการให คํ า แนะนํ า ผล การศึกษาพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ระหวางคะแนนจากทั้งสามกลุม [F (2, 87) = 45.866; p <.001] โดยกลุมตัวอยางชาวอเมริกันใหคะแนนความ เหมาะสมของสํานวนการใหคําแนะนําสูงที่สุด (72.37) รองลงมาคือกลุมตั ว อยางผู เรี ยนชาวไทยกลุ มเกงและ กลุ ม อ อ น โดยให ค ะแนนความเหมาะสมเฉลี่ ย 56.93 และ 55.60 ตามลําดับ การวิเคราะหจาก Post-hoc Tukey พบวากลุมตัวอยางผูเรียนชาวไทยกลุมเกงและ กลุมออนมีคาความแตกตางของคะแนนนอย (p = .773) แตพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติระหวาง กลุมตัวอยางผูเรียนชาวไทยทั้งสองกลุมกับกลุมตัวอยาง ชาวอเมริกัน (p < .001) ดังนั้นจึงสรุปไดวากลุมตัวอยางผูเรียนชาวไทย ทั้งกลุมเกงและกลุมออนมีระดับความตระหนักเชิงวัจน ปฏิ บั ติ ศ าสตร ต อ วั จ นกรรมการขอร อ งและการให คําแนะนําใกลเคียงกัน นอกจากนี้ ผลการศึกษายังไมพบ

2. รู ป แบบความตระหนั ก เชิ ง วั จ นปฏิ บั ติ ศ าสตร ของผูเรียนภาษาอังกฤษชาวไทยกลุมเกงและกลุม ออน ผลการวิ เ คราะห ข อ มู ล เชิ ง คุ ณ ภาพตรงกั บ สมมติฐานของงานวิจัยขอ 3 ที่วากลุมตัวอยางผูเรียนชาว ไทยกลุมเกงและกลุมอ อนมีรูปแบบความตระหนักเชิง วัจนปฏิบัติศาสตรที่คลายคลึงกัน และผลการศึกษายัง ตอบรับสมมติฐานขอ 4 ที่วากลุมตัวอยางผูเรียนชาวไทย ทั้งสองกลุมจะแสดงรูปแบบความตระหนักเชิงวัจนปฏิบตั ิ ศาสตรคลอบคลุมทั้งดานปจจัยทาง sociopragmatics และปจจัยทาง pragmalinguistics จากการวิเคราะห ขอมูลความตระหนักดาน sociopragmatics ผลการ วิเคราะหพบวากลุมตัวอยางทุกคนทั้งจากกลุมเกงและ กลุมออนมีความตระหนักถึงความสําคัญของตัวแปรดาน อํานาจและระยะหางทางสังคมของคูสนทนา แตมีความ แตกตางกันในดานความตระหนักถึงปจจัยในการกําหนด อํานาจ ดานความตระหนักทาง pragmalinguistics ผล การศึ ก ษาพบว า กลุ ม ตั ว อย า งทั้ ง สองกลุ ม มี ค วาม ตระหนั ก ด า นกลวิ ธี ต ามธรรมเนี ย มปฏิ บั ติ โดยกลุ ม ตัวอยางไดแสดงความเขา ใจวากลวิ ธีการพู ดส งผลต อ ความสําเร็จในการสื่อสารวัตถุประสงคของวัจนกรรม ใน ดานความตระหนักถึงสํานวนตามธรรมเนียมปฏิบัติ กลุม ตั ว อย า งกลุ ม เก ง แสดงความเข า ใจรู ป แบบสํ า นวน วัจนกรรวมทั้งสองประเภทมากกวากลุมออน นอกจากนี้ ผู วิ จั ย ได พ บป ญ หาและข อ สั ง เกต -14-

จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


การวิ เ คราะห ส ถานการณ ใ นข อ ที่ พ บความแตกต า งนี้ พบวา กลุมตัวอยางชาวอเมริกันมองวาการใชรูปประโยค บอกเลาเปนกลวิธีในการขอรอง (I need your help to… และ please…) โดยเฉพาะเมื่อผูมีอํานาจนอยกวาขอรอง ผูมีอํานาจมากกวาใหชวยเหลือ เปนกลวิธีการขอรองที่ไม เหมาะสม ในขณะที่ก ลุ มตั ว อยา งชาวไทยทั้ง สองกลุม มองวา สํา นวนดัง กล าวใหค วามรูสึก เฉยๆ ถึง คอ นข า ง เหมาะสม ความแตกต างในความตระหนัก ดา นภาษา สุภาพนี้อาจเปนผลมาจากการที่ผูเรียนชาวไทยไมเขาใจ กลวิธีความสุภาพในภาษาอังกฤษ ประกอบกับอิทธิพล ของการแทรกแซงของภาษาแม เชน รูปประโยค I need your help to… และ please… คลายกับรูปประโยค ขอร อ งแบบสุ ภ าพในภาษาไทยว า “ฉั น อยากให คุ ณ ชวย...” และ “กรุณา...” จึงอาจทําใหกลุมตัวอยางชาว ไทยเห็ น ว า เป น การขอร อ งที่ เ หมาะสมได การที่ ก ลุ ม ตัวอยางชาวไทยและชาวอเมริกันแสดงความตระหนัก เกี่ ย วกั บ ระดั บ ความเหมาะสมของสํ า นวนวั จ นกรรม แตกตางกัน อาจเปนผลมาจากสาเหตุหลักสองประการ คือ 1) ความไมเขาใจกลวิธีความสุภาพในภาษาอังกฤษ ของผูเรียนชาวไทย และ 2) การรับรูปจจัยทางสังคมที่ แตกตางกันระหวางผูเรียนชาวไทยและกลุมตัวอยางชาว อเมริกัน

เกี่ยวกับรูปแบบความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตรของ กลุ ม ตั ว อย า งผู เ รี ย นชาวไทยทั้ ง สองกลุ ม ป ญ หาและ ขอสังเกตที่พบไดแก 1) ความไมเขาใจกลวิธีการพูดตาม ธรรมเนี ย มปฏิ บั ติ ใ นภาษาอั ง กฤษบางประการ 2) มโนทั ศน เ กี่ ย วกั บ การแสดงความจํ า นงที่ จ ะได ง าน โดยกลุมตัวอยางมองวาการแสดงความตองการที่จะได งานอยางชัดเจนเปนการไมสุภาพและเสแสรง 3) การไม รูจักสํานวนและการแปลสํานวนผิดความหมาย 4) ปจจัย ดานอํานาจเปนตัวกําหนดระดับความเปนทางการของ สํานวนการใหคําแนะนํา โดยระยะหางทางสังคมเปน เพียงปจจัยรอง 5) การตัดสินความเหมาะสมของสํานวน จากการตกแต ง สํ า นวนด ว ยคํ า แสดงการยกย อ ง และ 6) การตัดสินความเหมาะสมของสํานวนจากการอางอิง ความหมายในภาษาไทย อภิปรายผล ผลการศึ ก ษาที่ พ บว า กลุ ม ตั ว อย า งผู เ รี ย นชาว ไทยกลุ ม เก ง และกลุ ม อ อ นมี ร ะดั บ และรู ป แบบความ ตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตรใกลเคียงกันนั้นสอดคลอง กับผลของงานวิจัยกอนหนานี้ที่พบวาในการเรียนภาษาที่ สองนั้ น ความสามารถทางไวยากรณ ข องผู เ รี ย นมิ ไ ด พัฒนาควบคูไปกับความสามารถทางวัจนปฏิบัติศาสตร (Eisenstein & Boldman, 1986; Salsbury & BardoviHarlig, 2000) อยางไรก็ตาม ผลการวิจัยที่พบวากลุม ตัวอยางชาวไทยแสดงความตระหนักถึงปจจัยทางวัจน ปฏิบัติศาสตรมากกวาความตระหนักดานไวยากรณนั้น ตรงขามกับผลการศึกษาของบารโดวี-ฮารลิกและดอรนเย ( 1998) ที่ พ บ ว า ผู เ รี ย น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ เ ป น ภาษาต า งประเทศรั บ รู ถึ ง ข อ ผิ ด พลาดทางไวยากรณ มากกว า ข อ ผิ ด พลาดทางวั จ นปฏิ บั ติ ศ าสตร ด า นการ เปรียบเทียบระดับความตระหนักเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร ระหวางกลุมตัวอยางชาวไทยและชาวอเมริกัน ซึ่งจาก

ขอเสนอแนะดานการวิจัย งานวิจั ย ทางวัจ นปฏิ บั ติศ าสตร ระหวา งภาษา ควรใหความสําคัญกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่ สงผลตอทางเลือกในการใชภาษาใหมากขึ้น แทนการมุง ศึกษากลวิธีและสํานวนภาษาเพียงอยางเดียว โดยกรอบ แนวคิดในงานวิจัยอาจผนวกเอาทฤษฎีทางการสื่อสาร ระหวางวัฒนธรรมเขามาดวย เพื่อชวยอธิบายสาเหตุและ ผลลัพธของการปฏิสัมพันธทางสังคม

-15จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


บรรณานุกรม

Martinez-Flor, A. & Soler, E. A. (2007). Developing pragmatic awareness of suggestions in the EFL classroom: A focus on instructional effects. Canadian Journal of Applied Linguistics, 10 (1), 47-76. Schauer, G. (2006). Pragmatic awareness in ESL and EFL contexts: Contrast and Development. Language Learning, 56, 269318. Schmidt, R. (1990). The role of consciousness in second language learning. Applied Linguistics, 11, 17-46. Scollon, R. & Scollon, S.B.K. (1995). Intercultural communication: A discourse approach. Cambridge: Blackwell.

กฤษดาวรรณ หงศ ล ดารมภ และธี ร นุ ช โชคสุ ว ณิ ช (2551). วัจนปฏิบัติศาสตร. กรุงเทพฯ: โครงการ เผยแพร ผ ลงานวิ ข าการ คณะอั ก ษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Bardovi-Harlig, K. & Dornyei, Z. (1998). Do language learners recognize pragmatic violations? Pragmatic vs. grammatical awareness in instructed L2 learning. TESOL Quarterly, 32, 233-259. Bardovi-Harlig, K. & Griffin, R. (2005). L2 pragmatic awareness: Evidence from the ESL classroom. System, 33, 3, 401-415. Hofstede, G. (1991). Cultures and organizations: software of the mind: inter-cultural cooperation and its importance for survival. Maidenhead: McGrowHill. Kong, K.C.C. (1998). Politeness of service encounters in Hong Kong. Pragmatics, 8, 555-575. Leech, G.N. (1983). Principles of pragmatics. London: Longman.

-16จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


ขาวสารความเคลื่อนไหว

รางวัลผลงานวิจยั ดี ประจําป 2554

ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรพล เกียรติกิตติพงษ และคณะ จากคณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ไดรับรางวัลผลงานวิจัยดี เรื่อง “Production of synthesis fuel from products of fermentation process and process for fuel oil quality improvement (การผลิตน้ํามันเชื้อเพลิง สัง เคราะห จ ากผลิตภัณ ฑที่ ได จ ากกระบวนการหมั ก ผลิ ตผลทางการเกษตรและกระบวนการปรับปรุ ง คุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิง)” สาขาวิชาวิทยาศาสตรและวิทยาศาสตรประยุกต โดยไดรับเงินรางวัลจํานวน 15,000 บาท พรอมรับใบประกาศเกียรติคุณในวันสถาปนาของมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2554 ณ หอประชุมใหญ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ

-17จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


การประชาพิจารณ ขอเสนอการจัดตัง้ สํานักงานกองทุนสงเสริมศิลปะและการสรางสรรค

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากรไดดําเนินการจัดการประชุมประชาพิจารณ ขอเสนอการจัดตั้งสํานักงานกองทุนสงเสริมศิลปะและการสรางสรรค เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2554 ณ หอประชุมใหญ ชั้น 4 ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร ตลิ่งชัน กรุงเทพฯ ผูเขารวมการประชาพิจารณ ประกอบดวย คณาจารยทางสายศิลปะ รวม 80 คน

-18จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


โครงการ "อบรมเชิงปฏิบตั ิการศิลปะจากการสรางสรรคงานแกว"

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดจัดกิจกรรมในวันพฤหัสบดีที่ 24 พฤศจิกายน 2554 เวลา 13.00 – 16.00 น. เพื่อเปนการสันทนาการและเพิ่มพูนความรูใหแกผูประสบภัย ซึ่งมาอยูที่ศูนยพักพิงผูประสบภัย มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร โดยกิจกรรมดังกลาวเปนการนําผลงานวิจัยใน “โครงการศิลปากรพัฒนาเศรษฐกิจเชิง สรางสรรค” มาตอยอด โดยการนําแกวซึ่งผลิตจากแกลบใน “โครงการนวัตกรรมการเปลี่ยนขยะสูงานสรางสรรค” มาประดิษฐ เปนเครื่องประดับ เชน แหวน ตางหู ที่ติดผม สรอยคอ เข็มกลัดติดเสื้อ ซึ่งทําใหไดผลงานที่มีเอกลักษณไมซ้ําแบบกัน และยังชวย ใหผูประสบภัยไดมีโอกาสฝกสมาธิในการทํางานและเพิ่มสุนทรียะในการสรางสรรคชิ้นงาน ซึ่งเปนของตนเอง ชวยลดความเครียด จากปญหาที่กาํ ลังประสบอยูเนื่องจากอุทกภัย และยังชวยใหเกิดแนวคิดใหมๆ ที่สามารถนํากลับไปประยุกตใชในการประกอบ อาชีพหลังจากพนวิกฤตน้ําทวม ซึ่งสมาชิกจากศูนยพักพิงที่ไดเขารวมโครงการนี้มีทั้งสิ้น 23 คน ประกอบดวย แมบานจนถึงเด็ก นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ซึ่งทุกคนไดรับความสนุกสนานเพลิดเพลินจากกิจกรรมดังกลาว สถาบันวิจัยและพัฒนาขอขอบคุณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.รัชฎา บุญเต็ม หัวหนาโครงการนวัตกรรมการเปลี่ยนขยะสู งานสรางสรรค ที่ไดใหความอนุเคราะหวัสดุอุปกรณ ที่ใชในกิจกรรมครั้งนี้ และขอขอบคุณ คุณธนภร สามเพชรเจริญ ที่กรุณาให ความอนุเคราะหอาหารวางสําหรับผูเขารวมกิจกรรมดังกลาว

-19จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมกับ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร และเครือขาย วิจัยอุดมศึกษาภาคกลางตอนลาง สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ไดกําหนดจัดโครงการประชุม วิชาการและเสนอผลงานวิจัยและสรางสรรคระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปากรวิจัยและสรางสรรค ครั้งที่ 5 : บูรณาการศาสตรและศิลป” ระหวางวันที่ 25-27 มกราคม 2555 ณ ศูนยศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร นครปฐม ปฏิทินการดําเนินงาน กิจกรรม วัน เดือน ป - ขยายเวลาสงบทคัดยอขนาดยาว (Extended Abstract) 30 สิงหาคม 2554 ผลงานวิจัยและสรางสรรค (ทั้งภาคบรรยาย โปสเตอร และชิ้นงานสรางสรรค) - กําหนดลงทะเบียนและชําระคาลงทะเบียนสําหรับผูไดรับการคัดเลือก ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2554 ใหนําเสนอผลงานวิจัยและสรางสรรคทั้งภาคบรรยาย ภาคโปสเตอร และชิ้นงานสรางสรรค - กําหนดสงเรื่องเต็ม (Manuscript) สําหรับผูที่ประสงคจะลงผลงานใน ภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 CD Proceeding - กําหนดลงทะเบียนและชําระคาลงทะเบียนลวงหนาสําหรับผูสนใจทั่วไปทาง ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2554 อินเตอรเน็ต - จัดประชุมวิชาการ 25-27 มกราคม 2555 1. ผลงานวิจยั /สรางสรรค ประกอบดวย - ผลงานวิจัย : ดานวิทยาศาสตร สังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ - ผลงานสรางสรรค : การออกแบบทุกสาขา ทัศนศิลป สถาปตยกรรม ดนตรี การแสดง ภาพยนตร อนิเมชั่น และซอฟทแวร 2. อัตราคาลงทะเบียน 2.1 ผูเสนอผลงานวิจัย/สรางสรรค (ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2554) - ผูเสนอผลงาน 1,500 บาท/เรื่อง - นักศึกษา 700 บาท/เรื่อง 2.2 ผูสนใจเขารวมประชุม (ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2554) - ผูสนใจทั่วไป 1,500 บาท - นักศึกษา 700 บาท 2.3 ลงทะเบียนลาชาสําหรับผูส นใจเขารวมประชุม (ตั้งแตวนั ที่ 2 มกราคม 2555 เปนตนไป และหนางาน) - ผูสนใจทั่วไป 2,500 บาท - นักศึกษา 1,000 บาท

-20จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


กําหนดการ การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยและสรางสรรคระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปากรวิจัยและสรางสรรค ครัง้ ที่ ๕ : บูรณาการศาสตรและศิลป” -----------------------------วันพุธที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๕ ๐๘.๓๐ – ๑๐.๐๐ น. ลงทะเบียน ๑๐.๐๐ - ๑๑.๐๐ น. การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ทําไมประเทศเพื่อนบ้านจึงชังเรา” โดย นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และ อดีตผู้อํานวยการสถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน) ๑๑.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ปราสาทพระวิหาร : มรดกวัฒนธรรมของเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ที่ไม่ใช่เรื่องการเมือง” โดย ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัย สายสิงห์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ๑๒.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน - ชมนิทรรศการและงานสร้างสรรค์ ๑๔.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. เสวนาวิชาการ เรื่อง “ศิลปกรรมทางศาสนากับความสัมพันธ์ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้” โดย คณาจารย์จากภาควิชาประวัติศาสตร์ศลิ ปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร - เรื่อง “ศิลปะในศาสนาฮินดู ในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๙” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เชษฐ์ ติงสัญชลี - เรื่อง “ศิลปะในพุทธศาสนา ในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๙” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง - เรื่อง “ศิลปะในพุทธศาสนา ในช่วงหลังพุทธศตวรรษที่ ๑๙” โดย อาจารย์ ดร.ประภัสสร์ ชูวิเชียร - เรื่อง “ศิลปะในศาสนาอิสลาม ในช่วงหลังพุทธศตวรรษที่ ๑๙” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เชษฐ์ ติงสัญชลี ผู้ดําเนินรายการ ศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชัย สายสิงห์ ๑๗.๐๐ – ๑๘.๐๐ น. พิธีเปิดงานประชุมวิชาการฯ ณ หอศิลป์สนามจันทร์ - กล่าวรายงานการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยและสร้างสรรค์ “ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ ๕ : บูรณาการศาสตร์และศิลป์” โดย อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร

-21จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


๑๘.๐๐ – ๑๙.๐๐ น. ๑๙.๐๐ – ๒๑.๐๐ น.

หมายเหตุ :

- กล่าวเปิดการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยและสร้างสรรค์ “ศิลปากรวิจัยและสร้างสรรค์ ครั้งที่ ๕ : บูรณาการศาสตร์และศิลป์” โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ นายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร งานเลี้ยงรับรอง ณ หอศิลป์สนามจันทร์ การแสดงหนังตะลุง โดย บ้านหนังตะลุง สุชาติ ทรัพย์สิน ศิลปินแห่งชาติ จ.นครศรีธรรมราช ณ เวทีการแสดงหน้าศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติฯ ผู้ดําเนินรายการ อาจารย์อานันท์ นาคคง

การบรรยายพิเศษและการเสวนาทางวิชาการจัด ณ ห้องประชุมชั้นบน ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม เฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม

วันพฤหัสบดีที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๕๕ ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. เสวนาวิชาการ เรื่อง “ภูมิทัศน์วัฒนธรรมที่หลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ ในบริบทเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” - เรื่อง “ลาวพวน : จากเชียงขวางสู่ลุ่มน้ําภาคกลางของไทย” โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ อรศิริ ปาณินท์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - เรื่อง ‘ลาวครั่ง’ ชาติพันธุ์จินตกรรม โดย อาจารย์ศรันย์ สมันตรัฐ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - เรื่อง “จากบ้าน-เรือนเวียงจันบ้านลาวเวียง” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วันดี พินิจวรสิน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - เรื่อง “จากเมืองแถงสู่เมืองไทย จากไทดําสู่ลาวโซ่ง” โดย รองศาสตราจารย์ วีระ อินพันทัง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - เรื่อง “สถาปัตยกรรมสังฆิกวิหารในพม่า” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โชติมา จตุรวงศ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - เรื่อง “ชุมชนและวัดโบราณชาวไตดอยในรัฐฉาน : พลังศรัทธาและอดีตที่รุ่งโรจน์ ของชุมชนบนเส้นทางการค้าอุษาคเนย์ภาคพื้นทวีป” โดย อาจารย์ ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ดําเนินรายการ รองศาสตราจารย์ สิทธิพร ภิรมย์รื่น -22จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. ๑๓.๐๐ – ๑๖.๓๐ น.

ณ ห้องประชุมชั้นบน ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ พักรับประทานอาหารกลางวัน การนําเสนอผลงานวิจัยภาคบรรยาย

วันศุกร์ที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๕ ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน ๐๙.๐๐ – ๑๐.๓๐ น. บรรยายพิเศษ เรื่อง “สมุนไพรไทยในเชิงธุรกิจ” โดย รองศาสตราจารย์ สินธพ โฉมยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๑๐.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. บรรยายพิเศษ เรื่อง “ธุรกิจสปากับสมุนไพรไทย” โดย อาจารย์ปัทมล อินทสุวรรณ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร ณ ห้องประชุมชั้นบน ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. - การนําเสนอผลงานวิจัยภาคบรรยาย - การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การนวดไทยเพื่อสุขภาพ” โดย นางประภัสสร นิ่มพินิจ และ นางปรียากร ศรีสะอาด วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร - เรื่อง “การนวดเท้าเพื่อสุขภาพ” โดย นางสาวนงลักษณ์ ม่วงศรี และนางสาวธนภัทร เปรียบนาน วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร ณ เรือน ๔ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบ พระชนมพรรษา มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม -------------------------------

-23จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


-24จุลสารสถาบันวิจยั และพัฒนา ปที่ 20 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2554


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.