วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 1


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ปที่ 31 ฉบับที่ 1 (มกราคม​-มิถุนายน พ.ศ. 2554) SILPAKORN UNIVERSITY JOURNAL Volume 31 Number 1 (January-June 2011) ISSN 0857-5428 หนวยงานที่รับผิดชอบ

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000

วัตถุประสงค 1. เผยแพรผลงานทางวิชาการสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ของนักวิชาการทั้ง

ภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัย 2. เปนสือ่ กลางการแลกเปลีย่ นเรียนรูท างวิชาการในสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ 3. สงเสริมใหนักวิชาการและผูสนใจไดนำ�เสนอผลงานวิชาการในรูปบทความวารสาร

ที่ปรึกษา

ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร. เจตนา นาควัชระ ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร ศาสตราจารย ดร. สันติ เล็กสุขุม ภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย ดร. กุสุมา รักษมณี ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร. อริศร เทียนประเสริฐ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร

บรรณาธิการ

รองศาสตราจารยระเบียบ สุภวิรี ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ทุกบทความ​ไดรับการตรวจความถูกตองทางวิชาการโดยผูทรงคุณวุฒิ​


กองบรรณาธิการ

ศาสตราจารยปรีชา เถาทอง ภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย ดร. สุวิไล เปรมศรีรัตน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเซีย มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารยพิษณุ ศุภนิมิตร ภาควิชาภาพพิมพ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร รองศาสตราจารย สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร. มาเรียม นิลพันธุ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร. บูลยจีรา ชิรเวทย ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

บรรณาธิการบริหารวารสาร

นางปรานี วิชานศวกุล

กำ�หนดออก

ปละ 2 ฉบับ (มกราคม-มิถุนายน และ กรกฎาคม-ธันวาคม)

จำ�นวนพิมพ

300 เลม ราคาจำ�หนาย เลมละ 120 บาท

ติดตอบอกรับและสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่

รศ.ระเบียบ สุภวิรี บรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 E-mail: dawgrabiab107@gmail.com หรือ คุณปรานี วิชานศวกุล บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 44/114 หมูบานเลิศอุบล ซอยพหลโยธิน 52 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 E-mail: pranee_aon1@hotmail.com Web site: http://www.journal.su.ac.th หรือ http://www.surdi.su.ac.th

พิมพที่ โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000

โทรศัพท 034 – 255814


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ปที่ 31 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน พ.ศ. 2554)

สารบัญ บทบรรณาธิการ

5

บทความประจำ�ฉบับ การศึกษาและออกแบบผนังโฟมสำ�เร็จรูปที่ใชเปนแบบหลอคอนกรีตไดในตัว เพื่อใชในการกอสรางบานประหยัดพลังงานและเพื่อการผลิตทางอุตสาหกรรม จรัญพัฒน ภูวนันท, ปรีชญา มหัทธนทวี, จันทรฉาย ทองปน, ดรุณี มงคลสวัสดิ์, ขวัญชัย โรจนกนันท และ องอาจ หุดากร

7

การบริหารความเสี่ยงครัวเรือน ธนินทรัฐ รัตนพงศภิญโญ

15

การแปลแตงรายยาวมหาเวสสันดรชาดกสำ�นวนเจาพระยาพระคลัง (หน) ที่สอดคลองกับบริบททางสังคมสมัยธนบุรีจนถึงตนรัตนโกสินทร ชนิดา สีหามาตย

25

การรับแนวคิดพุทธศาสนาในงานประพันธของคารล แกรเลอรุพ โธมัส มันน และแฮรมันน เฮสเซอ พรสรรค วัฒนางกูร

39

การ​สรางสรรค​นิทาน​คำ�​กาพย ณัฐา ค้ำ�ชู

55


การจัดการคุณภาพโดยรวมซึ่งมีปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการ ในสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากร วิมล อรรจนพจนีย, วันชัย ริจิรวนิช, กระมล ทองธรรมชาติ

71

รายงานการวิจัยการศึกษาปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร ของนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ

89

ภาคผนวก

รายชื่อผูทรงคุณวุฒิอานบทความ​วารสาร​มหาวิทยาลัย​ศิลปากร

107


บทบรรณาธิการ

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ฉบับนีม้ ที งั้ หมด 7 เรือ่ ง สวนใหญเปนบทความวิจยั 5 เรือ่ ง และบทความวิชาการอีก 2 เรือ่ ง เนือ้ หาของบทความมีหลายแงหลายมุมใหเลือกอาน เรือ่ งทีน่ า สนใจในฉบับนีค้ อื บทความของ จรัญพัฒน ภูวนันท และคณะ ที่ศึกษาวิจัยเรื่อง “การศึกษาและออกแบบผนังโฟมสำ�เร็จรูปที่ใชเปน แบบหลอคอนกรีตไดในตัวเพือ่ ใชในการกอสรางบานประหยัดพลังงานและเพือ่ การผลิตทางอุตสาหกรรม” ทีไ่ ดรบั ทุนวิจยั จากสถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร เปนการศึกษาการออกแบบผนังโฟมสำ�เร็จรูปและนำ�มา ทดสอบกับบานตัวอยางที่ใชเปนบานตนแบบ 2 หลัง เพื่อวิเคราะหหาคาพลังงานที่ใชกับบานตนแบบทั้งสองหลัง ผลการทดลองทำ�ใหทราบวาการกอสรางบานดวยผนังโฟมสำ�เร็จรูปดังกลาว แมจะทำ�ใหบา นมีราคาการกอสรางสูง แตจะชวยเรื่องการประหยัดพลังงานไฟฟาไดเปนอยางดี สวนเรือ่ ง “การบริหารความเสีย่ งครัวเรือน” ของ ธนินทรฐั รัตนพงศภญ ิ โญ เปนการประยุกตแนวคิดเรือ่ งการบริหารความเสีย่ งใหเขากับการดำ�รงชีวติ ของคนในสังคมปจจุบนั โดยใชครอบครัวเปนกรณีศึกษา ผูเขียนไดนำ�เสนอกรอบแนวคิดของวิธีการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมของ ครัวเรือนทีไ่ ดจากประสบการณการเรียนรู โดยแบงความเสีย่ งของครัวเรือนออกเปน 5 ประเภทคือ ความเสีย่ งเรือ่ ง การบริหารจัดการของครัวเรือน เรื่องฐานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน เรื่องการริเริ่มโครงการใหมๆ เพื่อพัฒนา ความเปนอยูของครัวเรือน เรื่องสภาวะแวดลอม และเรื่องความเสี่ยงอันเนื่องมาจากนโยบายของรัฐ ฉบับนี้มีบทความทางภาษาและวรรณคดี 3 เรื่อง คือเรื่องแรก “การแปลแตงรายยาวมหาเวสสันดรชาดก สำ�นวนเจาพระยาพระคลัง (หน) ที่สอดคลองกับบริบททางสังคมสมัยธนบุรีจนถึงตนรัตนโกสินทร” ของ ชนิดา สีหามาตย เปนบทความที่เรียบเรียงจากวิทยานิพนธเรื่อง “รายยาวมหาเวสสันดรชาดกสำ�นวนเจาพระยาพระ คลัง (หน) : การแปลเพื่อการรับรูสาร” ที่มุงศึกษาวิธีการแปลรายยาวมหาเวสสันดรชาดก สำ�นวนเจาพระยา พระคลัง (หน) ดวยการศึกษาเปรียบเทียบกับอรรถกถาเวสสันตรชาดก ทำ�ใหพบวาเจาพระยาพระคลัง (หน) ใชวิธีการแปลโดยการขยายความ ตัดตอน และดัดแปลงเนื้อหา เพื่อใหเหมาะสมกับผูรับสารเรื่องทานและ ปญญา และใหสอดคลองกับบริบททางสังคมในยุคนั้น เรื่องที่สองคือเรื่อง “การรับแนวคิดพุทธศาสนาในงาน ประพันธของคารล แกรเลอรุพ โธมัส มันน และแฮรมันน เฮสเซอ” ของ พรสรรค วัฒนางกูร ซึ่งเปนการวิเคราะห ผลงานที่ไดรับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ของนักเขียน 3 คนคือ คารล แกรเลอรุพ นักประพันธชาวเดนมารก ที่เขียนนวนิยายเรื่อง “กามนิต-ผูแสวงบุณย-นวนิยายตำ�นาน (Der Pilger Kamanita-Ein Legendenroman” และ แฮรมนั น เฮสเซอ เขียนนวนิยายเรือ่ ง “สิทธารถะ (Siddharta)” ทีน่ �ำ หลักของพุทธศาสนามาเปนแกนของเรือ่ ง โดย ตั้งชื่อตัวเอกและตัวละครในเรื่องจากพุทธศาสนา สวนผลงานโนเวลเลอบางเรื่องของ โธมัส มันน ก็ไดรับแนวคิด จากพุทธศาสนามาใชเชนเดียวกัน เรือ่ งทีส่ ามเปนเรือ่ งนิทานคำ�กาพย ซึง่ เปนวรรณกรรมไทยประเภทหนึง่ ทีน่ ยิ ม นำ�มาสวดอานและฟงกันในทีช่ มุ ชน เพือ่ ความบันเทิงเนือ่ งจากมีเนือ้ หาสนุกสนานและใหคติสอนใจ ซึง่ ณัฐา ค้�ำ ชู ไดเสนอบทความเรือ่ ง “การสรางสรรคนทิ านคำ�กาพย” ทีว่ เิ คราะหการสรางสรรคเนือ้ หาและวรรณศิลปจากตนฉบับ นิทานคำ�กาพย ที่พบในภาคกลางและภาคใตของไทย จำ�นวน 50 เรื่อง โดยวิเคราะหการสรางสรรคเนื้อหา ดาน โครงเรื่อง ตัวละคร และแนวคิด กับวิเคราะหการสรางสรรควรรณศิลป ดานการใชถอยคำ�ในชีวิตประจำ�วันและ การเลนคำ�เลนความหมาย จากการวิเคราะหนทิ านคำ�กาพยเหลานัน้ ทำ�ใหเห็นวานิทานคำ�กาพยมคี ณ ุ คาใหความ บันเทิง และประเทืองสติปญญามาตั้งแตอดีตกาลมาแลว ในมุมมองของการบริหารองคกรนั้น วิมล อรรจนพจนีย ไดศึกษาวิจัยเรื่อง “การจัดการคุณภาพโดยรวม ซึ่งมีปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการในสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากร” เพื่อศึกษาสภาพการ จัดการองคการในสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากร ที่มีปจจัยสงผลตอคุณภาพขององคการและรูป


แบบการจัดการคุณภาพโดยรวมขององคการ และพบวาการจัดการคุณภาพในองคการดังกลาวมีปญหาดานการ ปฏิสัมพันธและการสื่อสาร อีกทั้งมีขอมูลที่ไมทันสมัย เปนตน เรือ่ งสุดทายเปนเรือ่ งการเรียนการสอนที่ ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ ไดศกึ ษาวิจยั เรือ่ ง “การศึกษา ปจจัย ทีส่ ง ผลตอผลสัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตร ของนักเรียนในชวงชัน้ ที่ 4 ในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร” โดยศึกษาปจจัยที่สงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรและทำ�นายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรจาก 3 ปจจัยคือ ปจจัยดานตัวนักเรียนเอง ดานครอบครัว และดานโรงเรียน และพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตรของนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 โรงเรียนสาธิต มีความสัมพันธกับปจจัยดานเจตนคติตอวิชาคณิตศาสตร รายไดผปู กครอง และความวิตกกังวลตอการสอบคณิตศาสตร ซึง่ เจตนคติตอ วิชาคณิตศาสตรและความวิตกกังวล ตอการสอบคณิตศาสตร เปนตัวทำ�นายที่สงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนเปนอยางมาก กองบรรณาธิการหวังวาบทความตางๆ เหลานี้ จะเปนประโยชนตอผูอานและเปนสื่อกลางในการ เผยแพรความรูทางวิชาการสูสังคม สำ�หรับฉบับถัดไปคือ ปที่ 31 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม พ.ศ. 2554 จะเสนอแนวเรื่องเกี่ยวกับ การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การฟนฟูศิลปวัฒนธรรม และภาษาของกลุมชาติพันธุ กองบรรณาธิการจึงใครขอเชิญชวนทุกทานทั้งภาครัฐและเอกชน สงบทความมาเพื่อพิจารณาตีพิมพในวารสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ฉบับตอไป

รองศาสตราจารยระเบียบ สุภวิรี บรรณาธิการ


การศึกษาและออกแบบผนังโฟมสำ�เร็จรูปที่ใชเปนแบบหลอคอนกรีตไดในตัวเพื่อใชใน การกอสรางบานประหยัดพลังงานและเพื่อการผลิตทางอุตสาหกรรม A Study and Design of Insulating Concrete Forms for Energy Efficient House Construction and Industrialized Production จรัญพัฒน ภูวนันท 1, ดร. ปรีชญา มหัทธนทวี, ดร.จันทรฉาย ทองปน, ดรุณี มงคลสวัสดิ์, ดร.ขวัญชัย โรจนกนันท และ ดร.องอาจ หุดากร

บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและออกแบบผนังโฟมสำ�เร็จรูปที่ใชเปนแบบหลอคอนกรีตไดในตัว หรือ ICF (Insulating concrete forms) และประยุกตระบบการกอสรางขึ้นใชส�ำ หรับอาคารพักอาศัยในประเทศไทย ในการ ศึกษาไดออกแบบผนัง ICF และทดสอบคุณสมบัตเิ ชิงกลของผนัง ศึกษาสูตรและคุณสมบัตขิ องโฟม PVC (Poly vinyl chloride) ที่อาจใชแทนโฟม EPS (Expanded poly styrene) เพื่อการผลิตผนัง ICF ออกแบบบานตนแบบขึ้น 2 หลัง โดยใชชิ้นสวนผนังและระบบการกอสรางที่ออกแบบขึ้น คำ�นวณโครงสรางอาคาร และประมาณราคาคากอสรางบาน แลวจึงวิเคราะหคาพลังงานไฟฟาที่ใชของบานทั้ง 2 หลังเปรียบเทียบกับบานทั่วไป โดยใชโปรแกรม EnergyPlus ผนัง ICF ทีอ่ อกแบบขึน้ ใชเปนแบบหลอสำ�เร็จรูป (Panel system) มีขนาดแผนมาตรฐาน 1.20 x 1.20 x 0.18 เมตร (ความกวาง x ความสูง x ความหนา) และมีชองกลวงอยูภายในสำ�หรับใชเทคอนกรีต (โครงสราง) ผลิตขึ้นจาก โฟม EPS และใชกระเบือ้ งซีเมนตเสนใยแผนเรียบบุเปนวัสดุผวิ สำ�เร็จทัง้ สองดาน ผลการทดลองสูตรโฟม PVC พบวา สามารถตานทานแรงอัดไดดี แตยังมีคาความหนาแนนสูง และการใชหัวขึ้นรูปแบบปลายเปดที่มีใชอยูในหองปฏิบัติ การ ไมสามารถขึ้นรูปหรือจัดรูปของชิ้นงานโฟมใหมีรูปรางที่แนนอนได สวนผลการประมาณราคาคากอสรางเฉลี่ย ของบาน ICF ชั้นเดียว และบาน ICF สองชั้นที่ออกแบบขึ้น พบวามีราคาสูงกวาของบานทั่วไป 1.9% และ 7.6% ตาม ลำ�ดับ และผลการวิเคราะหพลังงาน พบวาในกรณีที่เปดเครื่องปรับอากาศในชวงกลางคืนเปนสวนใหญ บาน ICF ชั้น เดียวและบาน ICF สองชั้น จะชวยประหยัดพลังงานไฟฟาตอปได 7.4% และ 5.9% ตามลำ�ดับ คำ�สำ�คัญ : 1. ผนังโฟม. 2. ระบบการกอสรางบาน 3. บานประหยัดพลังงาน. 4. ผนังเบา. 5. แบบหลอผนังคอนกรีต.

__________________

1

รองศาสตราจารย ประจำ�ภาควิชาเทคนิคสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

Abstract The objectives of this research are to study and design an Insulated Concrete Form (ICF) and to apply this ICF component system to housing construction in Thailand. In the study, the prototype ICF panel was designed and its mechanical properties were tested. The properties and formula of PVC foam were tested in order to determine whether it could be utilized to replace EPS foam. Two ICF model houses were designed using the ICF components and construction system developed in the study. The structural calculation, working drawings, and construction cost estimation of two ICF model houses were carried out. Energy consumption and electricity costs of ICF model houses were studied through the use of a computer program (EnergyPlus) and compared with conventional houses. The developed ICF system is a “Panel System” which has concrete structures inside the ICF wall. The standard size of the ICF wall prototype is 1.20 x 1.20 x 0.18 m. (width x height x thickness). ICF concrete forms are made of EPS foam finished with fiber cement boards on both sides. The developed PVC foam has high compressive strength but its density is quite high. The costs of the ICF one-storey house and the ICF two-storey house are 1.9% and 7.6% higher than the cost of the conventional ones, respectively. In the case of operating air conditioning mainly at night, the ICF one-storey house and ICF two-storey houses reduce electrical energy consumption by 7.4% and 5.9% respectively. Keywords: 1. Foam core panel. 2. Housing construction system. 3. Lightweight panel. 4. Insulating concrete form.

8


การศึกษาและออกแบบผนังโฟมสำ�เร็จรูปที่ใชเปนแ​บบหลอคอนกรีตไดในตัว จรัญพัฒน ภูวนันท และคณะ

คำ�นำ� ผนังโฟมสำ�เร็จรูปที่ใชเปนแบบหลอคอนกรีต ไดในตัว (Insulating Concrete Form หรือ ICF) ไดถูก พั ฒ นาขึ้ น ในประเทศเยอรมั น ในช ว ง ค.ศ.1950-60 ปจจุบันนิยมใชในทวีปยุโรป และอเมริกาเหนือซึ่งมี อากาศหนาวเย็น เปนระบบการกอสรางทีม่ คี วามแข็งแรง สูงและประหยัดพลังงานไดดี โดยมีองคประกอบสำ�คัญ คือ ผลิตภัณฑโฟมทีใ่ ชเปนแบบหลอถาวร และโครงสราง คอนกรีตทีซ่ อ นอยูภ ายใน ซึง่ คอนกรีตอาจมีลกั ษณะเปน ผนังทึบทั้งผืน ตะแกรงหรือตาตาราง (Grid wall) โดย อาจใชเปนโครงคราวรับน้ำ�หนัก (Stud wall) ได โฟมที่ หุมอยูโดยรอบผนังหรือโครงสรางคอนกรีตจะทำ�หนาที่ เปนฉนวนกันความรอนในตัว จึงเปนระบบกอสรางที่มี จุดเดน หรือลักษณะเฉพาะทีน่ า สนใจ จึงควรนำ�มาศึกษา และพิสจู นผลการใชงานในประเทศไทย ซึง่ เคยมีผสู นใจ ที่จะนำ�ผลิตภัณฑ ICF ของตางประเทศเขามาจำ�หนาย แตเปนผลิตภัณฑทมี่ รี ปู แบบซับซอน หรือตองใชอปุ กรณ ประกอบพิเศษ ผนังมีความหนามาก และมีราคาแพง หรือไมประหยัดคากอสราง จึงแขงขันกับระบบทั่วไป ในทองตลาดไดยาก จึงไดศึกษาและประยุกตผนัง ICF ขึ้นใชใหเหมาะสมกับขอจำ�กัดของประเทศไทย แทน การนำ�เขาผลิตภัณฑตางประเทศมาใชโดยตรง ซึ่งผล จากการศึกษาราคาคากอสราง และการประหยัดพลังงาน ของระบบ ICF ในขัน้ ตอนการออกแบบ ชวยใหสามารถ วิเคราะหเปรียบเทียบกับระบบผนังหรือการกอสรางอืน่ ๆ ได กอนที่จะปรับปรุงหรือพัฒนาเพื่อการผลิตเชิงธุรกิจ หรือใชกอสรางในโครงการจริงไดตอไป วัตถุประสงคของการศึกษา งานวิจยั นีม้ วี ตั ถุประสงคเพือ่ ศึกษาและออกแบบ ผนังโฟมสำ�เร็จรูปที่ใชเปนแบบหลอคอนกรีตไดในตัว (ICF) และระบบการกอสรางที่ประยุกตขึ้นใชสำ�หรับ อาคารพักอาศัยในประเทศไทย ทดลองสูตรและคุณสมบัติ เบื้องตนของโฟม PVC (Poly vinyl chloride) ที่อาจ ใชในการผลิตผนัง ICF แทนโฟม EPS (Expanded poly styrene) ในอนาคต และเพือ่ ศึกษาราคาคากอสรางและ ประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานของบาน ICF ที่ ออกแบบขึน้ จากผนัง ICF และระบบการกอสรางดังกลาว

วิธีการศึกษา 1) ศึ ก ษาผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละระบบการก อ สร า ง ICF ในตางประเทศ จากขอมูลเอกสารของผูผลิตและ ผูกอสราง และผลงานวิชาการที่เกี่ยวของ 2) ออกแบบผนังโฟมสำ �เร็จรูปที่ใชเปนแบบ หลอคอนกรีตไดในตัว (ICF) และระบบการกอสราง เพื่อใชสำ�หรับบานพักอาศัยในประเทศไทย โดยนำ�ผล การวิเคราะหดานพลังงาน และของวิศวกรโครงสรางมา พิจารณาประกอบการออกแบบดวย 3) ศึกษาทดลองสูตร และคุณสมบัติของโฟม PVC เพื่อดูความเปนไปไดเบื้องตนที่จะนำ�มาใชในการ ผลิตผนัง ICF แทนโฟม EPS 4) ทำ�การทดสอบคุณสมบัติเชิงกลของชิ้นสวน ประกอบผนัง ICF ที่ออกแบบขึ้นในหองปฏิบัติการ เพื่อ ตรวจสอบกับผลการคำ�นวณตามทฤษฎีโครงสรางของ วิศวกร 5) ออกแบบบานตัวอยางขึ้น 2 หลัง โดยใชชิ้น สวนประกอบผนังและระบบการกอสรางที่ออกแบบหรือ ประยุกตขึ้นใช คำ�นวณโครงสราง เขียนแบบกอสราง และประมาณราคาคากอสรางบาน 6) วิเคราะหคาพลังงานของบานทั้งสองหลัง โดยใชโปรแกรม EnergyPlus และคำ�นวณคาไฟฟา เปรี ย บเที ย บกั บ บ า นที่ ใ ช ร ะบบการก อ สร า งทั่ ว ไป (โครงสรางคอนกรีต และผนังกออิฐฉาบปูน) เพื่อศึกษา ผลของการประหยัดพลังงาน และระยะเวลาการคืนทุน ผลที่ไดจากการศึกษา 1. ผลิตภัณฑ ICF และระบบที่เลือกนำ�มา ประยุกตใชในประเทศไทย ผลิตภัณฑ ICF ในตางประเทศสามารถแบงตาม รูปลักษณะและขนาดของผลิตภัณฑออกไดเปน 3 กลุม หลัก ไดแก ผลิตเปนแผนขนาดใหญ (Panel system) เปนแผนยาว (Plank system) และเปนกอนหรือบล็อก (Block system) แตถาแบงตามรูปแบบของชองกลวง ภายในผนังโฟมหรือโครงสรางคอนกรีตทีซ่ อ นอยูภ ายใน ผนัง จะแบงออกไดเปน 3 ระบบเชนกัน ไดแก แบบแผน เรียบ (Flat) แบบตาตาราง (Grid) และแบบเสาและ คาน (Post-and-beam) ICF ที่พิจารณาเห็นวามีความ

9


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

เหมาะสมทีจ่ ะนำ�มาประยุกตใชเพือ่ การศึกษานี ้ คอื ระบบ ผนังทีเ่ ปนแผนขนาดใหญ (Panel system) ซึง่ มีชอ งวาง อยูภายในแผนโฟม สำ�หรับใชหลอคอนกรีตใหทำ�หนาที่ เปนโครงคราวผนังรับน้ำ�หนัก (Structural stud) หรือ เสาและคาน (Post-and-beam) ได เพื่อทำ�การกอสราง ไดสะดวกและรวดเร็ว ประหยัดคอนกรีต และลดจำ�นวน รอยตอลงได 2. รู ป แบบผนั ง ICF ที่ อ อกแบบ และ ประยุกตขึ้นใช ผนั ง ICF ที่ อ อกแบบและประยุ ก ต ขึ้ น เพื่ อ ใชศึกษา (Panel System) มีขนาดแผนมาตรฐาน 1.20 x 1.20 x 0.18 เมตร (ความกวาง ความสูง และ ความหนา) มีชอ งกลวงอยูภ ายใน ขนาด 0.12 x 0.12 เมตร @ 0.30 เมตร เพือ่ ใหสามารถเทคอนกรีตในแนวตัง้ ไดทกุ ระยะ 0.60 เมตร (จากศูนยกลางถึงศูนยกลาง) ใชโฟม EPS หุมคอนกรีตมีความหนา 3 ซม. ที่ขอบแผนผนัง ทัง้ 4 ดานมีชอ งหลอคอนกรีตเพือ่ การเชือ่ มตอแผนไดทงั้ แนวตั้งและแนวนอน สวนวัสดุบุผิวนอกของผนังหรือ แบบหลอโฟม ใชแผนกระเบื้องซีเมนตเสนใยแผนเรียบ (Fiber cement board) กรุทับทั้งสองดาน (รูปที่ 1) โดย สามารถเปลี่ยนแผนวัสดุกรุผิวไดตามความตองการ เฉพาะโครงการ เชน แผนโลหะเคลือบสี ฯลฯ คอนกรีต ที่ซอนอยูในผนังโฟมทำ�หนาที่เปนโครงคราวผนังรับ น้ำ�หนัก (Structural stud) โดยสามารถปรับความหนา

แผน ICF และขนาดชองกลวงภายในใหเหมาะทีจ่ ะใชกบั การกอสรางระบบเสาและคานได 3. การศึกษาสูตร คุณสมบัติและความเปน ไปไดเบื้องตนที่จะใชโฟม PVC แทนโฟม EPS เพื่อ การผลิตผนัง ICF จากการศึกษาเบื้องตนนี้ พบวา PVC Foam ที่ใชสูตรผสม PVC 100 phr, Plasticizer 20 phr, Ca-Zn St2 3 phr, AZD 3 phr, Zeolite 5 phr และ PA 20 phr สภาวะของเครื่อง Twin Screw extruder : 140, 150, 160, 175 °C ความเร็วรอบ 60 rpm จะมีการ กระจายตัวของฟองอากาศใน PVC ที่สม่ำ�เสมอ อยาง ไรก็ดี PVC สูตร PVC 100 phr, Plasticizer 40 phr, Ca-Zn St2 5 phr, AZD 15 phr และ PA 7 phr ผาน การผสมดวย Food Mixer และสภาวะในการขึ้นรูปของ เครือ่ ง Twin Screw Extruder อุณหภูมิ 160, 170, 180, 190 °C ความเร็วรอบ120 rpm จะสามารถใหฟองอากาศ ทีม่ ขี นาดใหญขนึ้ และจะนำ�ไปสูก ารเปนฉนวนความรอน ที่ดีได ดังนั้น ดวยสูตรของ PVC Compound ในสูตร หลั ง นี้ หากทำ � การปรั บ สภาวะในการขึ้ น รู ป อี ก จะ สามารถทำ�ใหเกิดการกระจายตัวของฟองอากาศไดดี ขึ้น อยางไรก็ตาม กระบวนการอัดรีดและรูปแบบของ หัวขึ้นรูปที่เปนปจจัยสำ�คัญตอการขึ้นรูปนั้น การใชหัว ขึน้ รูปแบบปลายเปด (เหมือนทีม่ ใี ชอยูใ นหองปฏิบตั กิ าร) ทำ�ใหไมสามารถขึ้นรูปหรือจัดรูปของชิ้นงานโฟมใหมี

รูปตัดทางขวาง ผนัง ICF

รูปที่ 1. รูปแบบของผนัง ICF ที่ออกแบบขึ้นใชในโครงการ

10


การศึกษาและออกแบบผนังโฟมสำ�เร็จรูปที่ใชเปนแ​บบหลอคอนกรีตไดในตัว จรัญพัฒน ภูวนันท และคณะ

รูปรางที่แนนอนได เมื่อเปรียบเทียบความหนาแนน และคุณสมบัติ การตานทานแรงอัด (Compressive strength) กับ มาตรฐานของ ICF Technical Testing (November 2006) พบว า มี ค  า ความต า นทานแรงอั ด สู ง กว า ที่ มาตรฐานกำ�หนดไว แตความหนาแนนของโฟม PVC ยังมีคาสูง และไมสามารถเพิ่มปริมาณของ AZD และ Plasticizer ใหมากขึน้ ไดอกี ถาตองการทีจ่ ะพัฒนาสูตร ผสมใหไดคาความหนาแนนตามมาตรฐานนั้น อาจตอง เปลี่ยนชนิดสารเติมแตงที่ใช เปลี่ยนเทคนิคการขึ้นรูป หรือใชเทคนิคที่มีความซับซอนในการควบคุมความ หนาแนน 4. การออกแบบบาน ระบบการกอสราง และ ผลการประมาณราคาคากอสราง บานทีอ่ อกแบบขึน้ เพือ่ ใชศกึ ษา มีจ�ำ นวน 2 หลัง เปนบานเดีย่ วชัน้ เดียว จำ�นวน 1 หลัง (เนือ้ ทีใ่ ชสอยรวม ภายนอกและภายในอาคาร 174 ตารางเมตร) และบาน เดี่ยวสองชั้นอีก 1 หลัง (เนื้อที่ใชสอยรวมภายนอกและ ภายในอาคาร 248 ตารางเมตร) เปนอาคารพักอาศัย สำ�หรับผูท มี่ รี ายไดปานกลางคอนขางสูงโดยทัว่ ไป (รูปที่ 2) กอสรางในเขตกรุงเทพฯ ฐานรากและพืน้ ชัน้ ลางเปน โครงสรางคอนกรีตเหมือนกับบานทั่วไป แตใชผนัง ICF ที่ออกแบบขึ้นเปนโครงสรางรับน้ำ�หนักอาคารทั้ง หลัง สวนพืน้ ชัน้ 2 ออกแบบใหใชพนื้ คอนกรีตสำ�เร็จรูป โครงหลังคาเปนเหล็กโครงสรางรูปพรรณขึน้ รูปเย็น และ มุงดวยกระเบือ้ งซีเมนตเคลือบสี (รูปที่ 3) สวนงานระบบ ไฟฟา ประปา และสุขาภิบาล รวมทั้งวัสดุตกแตงทาง

รูปที่ 3. ภาพแสดงระบบการกอสรางของบาน ICF สองชั้น สถาปตยกรรม ถูกออกแบบใหเปนไปตามมาตรฐาน การกอสรางของบานพักอาศัยโดยทัว่ ไป เพือ่ ใหสามารถ ศึกษาผลเปรียบเทียบกับผนัง และระบบการกอสรางของ บานทั่วไปไดชัดเจน ผลจากการประมาณราคาคากอสรางจากแบบ กอสรางของบาน ICF ที่ไดออกแบบขึ้นนั้น พบวาบาน ICF ชั้นเดียวมีคากอสรางเฉลี่ยประมาณ 11,200 บาท/ ตารางเมตร โดยมีสัดสวนราคาของงานสถาปตยกรรม ประมาณ 54.3% งานโครงสราง 33.4% และงานไฟฟา

รูปที่ 2. รูปทัศนียภาพของบาน ICF ชั้นเดียว และสองชั้น ที่ออกแบบขึ้นใชศึกษา

11


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

รวมกับงานสุขาภิบาล 12.3% เมื่อเปรียบเทียบราคา คากอสรางเฉลีย่ ของบาน ICF กับบานทัว่ ไป (โครงสราง คอนกรีต และผนังวัสดุกอ ) ซึง่ ตกประมาณ 11,000 บาท/ ตารางเมตร บาน ICF ชัน้ เดียวจะมีคา กอสรางใกลเคียง กับบานทัว่ ไปมาก สวนบาน ICF สองชัน้ จะมีคา กอสราง เฉลีย่ ประมาณ 11,800 บาท/ตารางเมตร ซึง่ แพงกวาบาน ทัว่ ไปเล็กนอย โดยมีสดั สวนราคาของงานสถาปตยกรรม ประมาณ 57.1% งานโครงสราง 33.3% และงานไฟฟา รวมกับงานสุขาภิบาล 9.6% สาเหตุทบี่ า น ICF ชัน้ เดียว มีราคาคากอสรางเฉลี่ยตอตารางเมตรถูกกวาบาน ICF สองชั้น เนื่องจากรูปแบบของบานชั้นเดียวไมมีหลังคา คลุมทีจ่ อดรถยนต ซึง่ แตกตางจากรูปแบบของบานสอง ชั้น 5. ผลการวิเคราะหพลังงาน คาไฟฟา และ ระยะเวลาคืนทุนของบาน ICF จากการศึกษาและวิเคราะหคาพลังงานไฟฟา ที่ ใ ช ข องบ า น ICF โดยใช โ ปรแกรมคอมพิ ว เตอร (EnergyPlus) มอี ปุ กรณไฟฟา เครือ่ งปรับอากาศ และชวง เวลาการใชงานตามเงื่อนไขที่กำ�หนดไว พบวา สำ�หรับ แบบบาน ICF ชั้นเดียว ในกรณีที่เปดเครื่องปรับอากาศ ตามปกติ (ชวงกลางคืนเปนสวนใหญ) จะใชพลังงาน ไฟฟาปละ 7,603 กิโลวัตตชั่วโมง สวนบานทั่วไป (ชั้น เดียว) ที่มีแบบแปลนและเงื่อนไขการใชงานเหมือน กัน จะใชพลังงานไฟฟาปละ 8,207 กิโลวัตตชั่วโมง แตในกรณีที่เปดใชเครื่องปรับอากาศตลอด 24 ชั่วโมง บาน ICF ชั้นเดียว จะใชพลังงานไฟฟารวมทั้งสิ้นปละ 12,438 กิโลวัตตชั่วโมง ในขณะที่บานทั่วไป (ชั้นเดียว) จะใชพลังงานไฟฟาปละ 13,543 กิโลวัตตชั่วโมง สวน แบบบาน ICF สองชั้นนั้น ในกรณีที่เปดเครื่องปรับ อากาศตามปกติ (ชวงกลางคืนเปนสวนใหญ) จะใชพลัง งานไฟฟาปละ 9,534 กิโลวัตตชั่วโมง สวนบานทั่วไป (สองชั้น) จะใชพลังงานไฟฟาปละ 10,133 กิโลวัตต ชั่วโมง แตในกรณีที่เปดใชเครื่องปรับอากาศตลอด 24 ชั่วโมง บาน ICF สองชั้น จะใชพลังงานไฟฟารวมทั้งสิ้น ปละ 14,892 กิโลวัตตชั่วโมง ในขณะที่บานทั่วไป (สอง ชั้น) จะใชพลังงานไฟฟาปละ 16,363 กิโลวัตตชั่วโมง ผลการเปรียบเทียบการใชพลังงานของบาน ICF (ชั้นเดียวและบานสองชั้น) กับบานทั่วไป สรุปไดวา

12

1) กรณีที่ใชเครื่องปรับอากาศตามปกติ เมื่อ เปรียบเทียบกับบานทัว่ ไป บานชัน้ เดียวและบานสองชัน้ ทีใ่ ชผนัง ICF ชวยประหยัดพลังงานไฟฟาตอปได 7.4 % และ 5.9 % ตามลำ�ดับ แตเนื่องจากบาน ICF ชั้นเดียว และสองชั้น มีคากอสรางสูงกวาบานทั่วไป (1.94% และ 7.6%) คำ�นวณระยะเวลาในการคืนทุนได 16 และ 88 ป ตามลำ�ดับ 2) กรณีที่ใชเครื่องปรับอากาศตลอด 24 ชั่วโมง เมือ่ เปรียบเทียบกับบานทัว่ ไป บานชัน้ เดียวและบานสอง ชั้นที่ใชผนัง ICF จะชวยประหยัดพลังงานไฟฟาตอปได 8.2% และ 9.0% ตามลำ�ดับ โดยมีระยะเวลาในการคืน ทุน 9 ป และ 36 ป ตามลำ�ดับ หรือคืนทุนไดเร็วกวากรณี ที่ใชเครื่องปรับอากาศตามปกติ 6. ความเปนไปไดเบื้องตนในการนำ�ไปใช งาน หรือการผลิตทางอุตสาหกรรม ผนังและระบบการกอสราง ICF ที่ออกแบบ และประยุ กตขึ้น ใชกับ บานพั กอาศัย นั้ น เมื่ อเปรี ย บ เทียบกับบานที่กอสรางทั่วไปสามารถประหยัดพลังงาน ไฟฟาไดจริง (7% - 9%) แตมผี ลใหราคาคากอสรางทีแ่ พง ขึ้นดวย (6% - 7.6%) จึงคิดเปนจำ�นวนเงินที่ประหยัด ไดนอย และเนื่องจากราคาคากอสรางเฉลี่ยของบาน ICF แตกตางจากบานทั่วไปไมมากนัก (ต่ำ�กวา 10%) จึงมีความเปนไปไดที่จะพัฒนาเพื่อใชเปนระบบการ กอสรางทางเลือกได ระบบการกอสราง ICF มีน้ำ�หนักเบา กอสราง ไดรวดเร็วขึ้น ชางสามารถปรับหรือตัดแตงชิ้นสวนผนัง และเดินทอหรือฝงอุปกรณไวภายในโครงสรางอาคาร ไดสะดวก ประกอบกับมีอตุ สาหกรรมโฟม และผนังวัสดุ แผนประกับโฟม (Structural insulated panel หรือ SIP) ภายในประเทศรองรับอยูแลว จึงมีโอกาสที่จะ พัฒนาใชเปนระบบกอสรางทางเลือกเพื่อสนองความ ตองการของตลาดบานหรืออาคารที่มีความตองการ เฉพาะ (Niche market) ซึ่งจากองคประกอบของระบบ ผนัง พบวาผนัง ICF จะใหความแข็งแรงและปลอดภัย ทางโครงสรางสูงกวา SIP ในกรณีทเี่ กิดเพลิงไหม เพราะ มีโครงสรางคอนกรีตซอนอยูภายใน แตระบบผนัง ICF มีขอจำ�กัดหรือขอเสียเปรียบระบบการกอสรางทั่วไป ในดานอายุการใชงานของอาคารโดยรวม หรือความ


การศึกษาและออกแบบผนังโฟมสำ�เร็จรูปที่ใชเปนแ​บบหลอคอนกรีตไดในตัว จรัญพัฒน ภูวนันท และคณะ

คงทนของวัสดุที่ใช โดยเฉพาะวัสดุแผนผนังภายนอก และโฟม ซึ่งตองการการดูแล และบำ�รุงรักษาเพิ่มขึ้น กวาผนังกออิฐฉาบปูนที่ใชกันทั่วไป ขอเสนอแนะในการนำ�ผลงานวิจัยไปใช ผนัง ICF ทีอ่ อกแบบขึน้ ใชในโครงการนี้ มีความ ยืดหยุน ในการเลือกใชวสั ดุทมี่ อี ยูใ นทองตลาด เพือ่ ความ อิสระของผูผลิตและผูออกแบบใหไดผนังที่มีคุณสมบัติ และตนทุนการผลิตตามตองการ รวมทั้งระยะหางของ คอนกรีตในชองผนัง (Concrete stud) และการเลือก ใชหรือติดตั้งวัสดุผิวสำ�เร็จในสถานที่กอสราง ฯลฯ 1) ระบบผนัง ICF ที่ออกแบบขึ้น เมื่อใชแผน โลหะเคลื อ บสี บุ ผิ ว ภายนอกผนั ง โฟมแทนแผ น ไฟเบอร ซี เมนตบอรดโดยผลิตสำ � เร็จรูปจากโรงงาน สามารถใชแทนผนัง Metal Claddings หรือ ACM (Aluminum composite material) ไดดี 2) คากอสรางอาจประหยัดขึ้นได ถาสามารถ กำ�หนดรูปแบบ ขนาดและระยะตางๆ ของอาคารให สอดคลองกับหนวยพิกัดของผนัง ICF (ออกแบบใน ระบบประสานทางพิกัด) 3) ผนังและระบบการกอสราง ICF มีแนวโนม ที่จะชวยใหประหยัดพลังงานหรือคืนทุนไดเร็วขึ้น ถา นำ�ไปประยุกตใชกับอาคารประเภทอื่นที่มีภาระเครื่อง ปรับอากาศมากขึ้น หรือใชงานตลอด 24 ชั่วโมง เชน รานคาสะดวกซื้อ อาคารพักอาศัยที่ใชเปนสำ�นักงาน ไดในตัว และอาคารชุดพักอาศัยหรือที่พักตากอากาศ ระดับสำ�หรับผูมีรายไดสูงซึ่งมีความสูง 1-3 ชั้น ฯลฯ 



ขอสังเกต และคำ�วิจารณผลวิจัย 1) การทดสอบกำ � ลั ง วั ส ดุ ข องผนั ง ICF มี วัตถุประสงค และขอบเขตการศึกษาเพื่อใชผลเปรียบ เที ย บกั บ ทฤษฎี ท างโครงสร า ง การวิ เ คราะห แ ละ ออกแบบโครงสรางจึงใชผลการคำ�นวณของวิศวกรเปน สำ�คัญ 2) การศึ ก ษาพลั ง งานของบ า นในโครงการ นี้ เปนการพิสูจนผลการใชวัสดุ ICF เปนผนังอาคาร ตามระบบก อ สร า งที่ ป ระยุ ก ต ขึ้ น ใช เ ป น สำ � คั ญ โดย ไมไดเนนการออกแบบบานประหยัดพลังงานดวยวิธกี าร อื่นๆ (เชน การใชกระจกพิเศษหรือกระจก 2 ชั้น และ การเพิ่มอุปกรณหรือแผงกันแดด ฯลฯ) อีกทั้งไมไดนำ� คามวลสารในตัวอาคาร (เฟอรนเิ จอร) และวิธกี ารระบาย อากาศร อ นที่ ส ะสมออกจากตั ว อาคารในช ว งที่ ไ มใ ช เครือ่ งปรับอากาศมาใชประกอบการคำ�นวณคาพลังงาน ในอาคารแตอยางใด ผลการศึกษานี้ เปนเพียงการออกแบบ และกรณี ศึกษาหนึ่งเทานั้น จึงควรทำ�การศึกษาในรายละเอียด เพิ่มเติม และเปรียบเทียบผลกับกรณีศึกษาอื่นๆ ตอไป ในอนาคต กิตติกรรมประกาศ สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร ผูใหการสนับสนุนทุนวิจัย และอาจารยนนท คุณค้ำ�ชู ผูชวยทำ�ใหรายงานวิจัยเสร็จสมบูรณ



13


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

บรรณานุกรม ภาษาไทย จรัญพัฒน ภูวนันท และคณะ. (2550). การศึกษาความเปนไปไดในการประยุกตระบบการกอสราง Structural Sandwich Panels เพื่อใชกับบานประหยัดพลังงานในประเทศไทย. นครปฐม: โรงพิมพมหาวิทยาลัย ศิลปากร. ปรีชญา มหัทธนทวี, จรัญพัฒน ภูวนันท และ ดรุณี มงคลสวัสดิ์. (2550). ประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงาน ของบานโครงสรางเหล็ก (Steel Framing) และบานโครงสรางไม (Wood Framing) ทีไ่ ดพฒ ั นาขึน้ ใชใน ประเทศไทย. รายงานวิจัย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. ภาษาอังกฤษ Amvic Inc. (2007). ICF technical testing. [Online]. Retrieved August 1, 2007. from http://www.Amvicsystem. com/TestingCodeApprovals.aspx. Davies, J.M. (2001). Lightweight sandwich construction. London: Blackwell Science. Enermodal Engineering Limited, Oak Ridge National Labs, and Polish Academy of Sciences. (2001). Modeling Two- and Three-Dimensional heat transfer through composite wall and roof assemblies in transient energy simulation programs (1145-TRP), Part I: Final Report. Kabir, Md. E., Saha, M. C., Jeelani, S. (2006). Tensile and fracture behavior of polymer foam. Materials Science and Engineering: A 429. 1-2 : 225-235. Morley, Michael. (2000). Building with Structural Insulated Panels (SIPs): strength and energy efficiency through structural panel construction. Newtown, Conn.: The Taunton Press. Pansuhev, Ivan S. and VanderWerf, Pieter A. (2004). Insulating concrete forms construction: demand, evaluation, and technical practice. New York: McGraw-Hill. Strand, Richard and others. (1999). Enhancing and extending the capabilities of the building heat balance simulation technique for use in energyplus. Proceedings of Building Simulation 1999, International Performance Simulation Association. Kyoto, Japan 13-15 September, 1999.

14


การบริหารความเสี่ยงครัวเรือน Household Risk Management ธนินทรัฐ รัตนพงศภิญโญ 1 Taninrat Rattanapongpinyo บทคัดยอ บทความเรื่อง “การบริหารความเสี่ยงครัวเรือน” เปนการผสมผสานความรูความเขาใจดานการบริหารจัดการ เขากับหลักการดำ�เนินชีวิตในทางสังคม โดยบทความนี้ใชหนวยครัวเรือนเปนกรณีศึกษา มีวิธีการดำ�เนินการศึกษา โดยเนนถึงความรูค วามเขาใจเกีย่ วกับกระบวนการบริหารความเสีย่ งในทางธุรกิจ เทียบเคียงกับการบริหารความเสีย่ ง ของครัวเรือน และการอภิปรายปรากฏการณจากผลลัพธของงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ นำ�ไปสูก ารนำ�เสนอแนวทางการ บริหารความเสี่ยงครัวเรือนที่เหมาะสม เพื่อใหการใชชีวิตของครัวเรือนมีความสุข โดยปราศจากความเสี่ยง คำ�สำ�คัญ: 1. ความเสี่ยง. 2. การบริหารความเสี่ยง. 3. ครัวเรือน.

Abstract This article about Household Risk Management is derived from academic knowledge about both Risk Management and Family Social Lifestyles. A household unit was used as a case study, with the study methodology combining Business Risk Management and Household Risk Management and their related research results. Finally, the article provides some suggestions and guidelines for appropriate Household Risk Management for a family’s risk-free life. Keywords: 1. Risk. 2. Risk Management. 3. Household.

__________________ เพชรบุรี

1

อาจารย ดร. หัวหนาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจทั่วไป คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศ


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

ความนำ� การบริ ห ารความเสี่ ย งครั ว เรื อ น เป น การ ผสมผสานความรูความเขาใจดานการบริหารจัดการ เขากับหลักการดำ�เนินชีวิตของครัวเรือนในทางสังคม แนวคิดนี้สอดคลองกับคำ�สอนของพระพุทธเจาที่แนะ ใหพทุ ธศาสนิกชนประกอบสัมมาอาชีพโดยเดินแนวทาง สายกลาง และตัง้ อยูบ นความไมประมาท ซึง่ เมือ่ กลาวถึง ครัวเรือนอันเปนหนวยยอยที่สุดในทางสังคมแลว การมี ชีวิตและการใชชีวิตโดยไมประมาทหมายถึง การเรียนรู และการจัดการชีวิตดวยการบริหารความเสี่ยงครัวเรือน บทความนี้มีวัตถุประสงคเพื่อประยุกตใชแนวคิดเรื่อง การบริหารความเสี่ยง เขากับแนวคิดการดำ�รงชีวิต ของคนในสังคม และใชหนวยทางสังคมคือ ครัวเรือน เปนกรณีตัวอยาง เนื้อหาของบทความประกอบดวย ความหมายของความเสี่ยงครัวเรือน ประเภทความ เสี่ยงครัวเรือน จากนั้นจะนำ�เสนอวิธีการประเมินระดับ ของความเสี่ยงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น สำ�หรับการ บริหารความเสีย่ งจะนำ�เสนอกรอบแนวคิดวิธกี ารบริหาร ความเสีย่ งทีเ่ หมาะสมของครัวเรือน รวมทัง้ ขอเสนอแนะ จากประสบการณการเรียนรูเรื่องการบริหารความเสี่ยง ครัวเรือน เพื่อนำ�ไปสูบทสรุปของการศึกษาในที่สุด ความหมายของความเสี่ยงครัวเรือน ครัวเรือนซึ่งประกอบดวยสมาชิกในครอบครัว มากนอยตางกัน แตละคนก็จะมีบทบาทหนาทีท่ างสังคม และในครัวเรือนที่แตกตางกัน ถาตางคนตางทำ�หนาที่ ของตนเองโดยไม มี ก ารปรึ ก ษาหารื อ หรื อ ประสาน ความร ว มมื อ กั น เพื่ อ ให ค รอบครั ว บรรลุ เ ป า หมาย เดียวกัน เปนตนวา ความอยูดีกินดี ความสุขกาย สบายใจ ความอยูรอดปลอดภัย เปาหมายของครัวเรือน ก็ไมอาจประสบผลที่ตั้งไว ความเสี่ยงของครัวเรือนมี โอกาสเกิดขึน้ ได เนือ่ งจากอาจจะมีเหตุการณทไี่ มคาดฝน เกิดขึ้น และสิ่งที่เกิดขึ้นนี้นอกจากจะตางไปจากสิ่งที่ ครัวเรือนคาดไวแลว ยังจะนำ�มาซึ่งผลลัพธในแงลบ เปนความเสียหายซึ่งไมอาจประมาณไดอยางแนนอน ความเสี่ยงของครัวเรือนอาจเกิดขึ้นไดตลอดเวลา จาก ทัง้ ปจจัยภายในเอง ยกตัวอยางเชน สมาชิกในครัวเรือน ไมเอาธุระของครอบครัว ไมดูแลกันและกัน ไมสนใจ

16

บานเรือน หรือแมแตตางคนตางใชจาย ตางประพฤติ ปฏิบัติตามใจตนเอง โดยไมคิดวาจะเบียดเบียนกัน สุดทายแลวเรือ่ งทีไ่ มนา จะเกิดก็เกิดขึน้ มาจนได หัวหนา ครอบครัวก็ไมสามารถจะแกไขไดตลอดและไดหมด ทุกเรื่อง ขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงที่มาจากปจจัย ภายนอก อาทิ คานิยมของสังคม การเปลี่ยนแปลง ทางการเมื อ ง และผลกระทบอั น เนื่ อ งมาจากภาวะ เศรษฐกิจ เหลานี้สงผลตอครัวเรือนอยางหลีกเลี่ยง ไม ไ ด ประการสำ � คั ญ คื อ ครั ว เรื อ นเองทราบหรื อ ไม ทราบถึงสาเหตุและผลกระทบของความเสี่ยงทั้งหลาย เตรียมการปองกันไวอยางเพียงพอหรือไม และดำ�เนิน การอย า งไรในการที่ จ ะแก ไ ขป ญ หาอั น เนื่ อ งมาจาก ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น อนึ่ง หากพิจารณายอนกลับไปใน ทางบริหารธุรกิจ ระดับของความเสี่ยงสามารถแบงได เปน 3 ระดับ ดวยกัน คือ ในระดับนโยบาย ระดับแนวทาง การนำ�ไปปฏิบัติ และระดับปฏิบัติการ เปรียบเทียบกับ ครัวเรือนก็จะเทียบไดวา การตระหนักถึงความสำ�คัญ ของปญหาความเสี่ยงและผลกระทบ การวางแนวทาง การป อ งกั น และแก ไ ขป ญ หาที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น และการ กำ�หนดมาตรการวิธีการที่สอดคลองกับแนวทางการ บริหารความเสี่ยงของครัวเรือนที่กำ�หนดไว กลาวโดยสรุป ความเสี่ยงครัวเรือน หมายถึง โอกาสทีจ่ ะเกิดความเสีย่ งตางๆ และความเสีย่ งเหลานัน้ ส ง ผลกระทบทำ � ให เ กิ ด ความเสี ย หาย และทำ � ให ครัวเรือนไมสามารถบรรลุเปาหมายที่ตองการได ประเภทของความเสี่ยงครัวเรือน ถากลาวถึงการจำ�แนกประเภทของความเสี่ยง มี วิ ธี ก ารแบ ง ออกได เ ป น หลายแบบ แต วิ ธี ก ารหนึ่ ง ที่ใกลเคียงกับการพิจารณาความเสี่ยงของครัวเรือน โดยการวิเคราะหครัวเรือนเสมือนหนึ่งเปนหนวยธุรกิจ ความเสี่ ย งที่ ต  อ งเผชิ ญ แยกเป น 5 ประเภทใหญ ๆ ไดแก 1. ความเสี่ ย งในเรื่ อ งการบริ ห ารจั ด การของ ครัวเรือน (Operational risk) เปนความเสี่ยงในระดับ พืน้ ฐานของครัวเรือน ไดแก การวางแนวทางการใชชวี ติ ของสมาชิกในครัวเรือนที่มีบทบาทหนาที่ที่แตกตางกัน


การบริหารความเสี่ยงครัวเรือน ธนินทรัฐ รัตนพงศภิญโญ

เริม่ ตนตัง้ แตการไมมเี ปาหมาย หรือวัตถุประสงคทชี่ ดั เจน รวมกัน วาจะรวมกันสรางครัวเรือนทีส่ มบูรณไดอยางไร เมือ่ เปนเชนนีก้ จ็ ะสะทอนไปถึงการปฏิบตั ติ นทีป่ ราศจาก การกำ�กับดูแลใหเปนไปตามแนวทางที่กำ�หนดไว หรือ ตางคนตางทำ� ไมรวู า อยางไรถูกอยางไรผิด ผลทีป่ รากฏ ก็คือ วิถีชีวิตของครัวเรือนแปรผันไปตามพฤติกรรม ของสมาชิก อาจเปนไปไดที่จะพบกับความสำ�เร็จ หรือ ลมเหลวจากผลของการกระทำ�โดยที่ผูนำ�หรือหัวหนา ครัวเรือนไมสามารถชี้นำ� และแมแตการเขาไปแกไข ปญหาที่เกิดขึ้นไดอยางทันทวงที 2. ความเสี่ยงในเรื่องการบริหารจัดการฐานะ ทางเศรษฐกิจของครัวเรือน (Financial risk) เปน ความเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เรื่ อ งเงิ น ๆ ทองๆ ของ ครั ว เรื อ น ความเสี่ ย งประเภทนี้ มี ค วามสำ � คั ญ เป น ลำ�ดับตนๆ กลาวคือ เมื่อครัวเรือนไมมีการวางแผน เรื่องการบริหารจัดการของครัวเรือนในระดับพื้นฐาน การแสวงหารายได เ ข า สู  ค รั ว เรื อ นด ว ยวิ ธี ก ารต า งๆ ก็ ดี การควบคุ ม การใช จ  า ยของสมาชิ ก ครั ว เรื อ น ไมวาจะเปนการใชจายปกติ การใชจายในยามฉุกเฉิน หรื อ แม แ ต ก ารใช จ  า ยเพื่ อ การลงทุ น ก็ ดี ท า ยที่ สุ ด ถาไมเปนเรื่องของการใชจายเกินกำ�ลังของครัวเรือน ก็อาจเปนปญหาของการลงทุนหากผลตอบแทนที่ได ไมคุมคากับคาใชจายในการลงทุน และนำ�มาซึ่งปญหา ของการมีภาระหนี้สินติดตัวสมาชิกในครัวเรือน 3. ความเสี่ ย งในเรื่ อ งของการริ เ ริ่ ม โครงการ ใหม ๆ เพื่ อ การพั ฒ นาความเป น อยู  ข องครั ว เรื อ น (Project risk) ครัวเรือนก็เปรียบเหมือนองคกรธุรกิจ ปกติแลวก็จะบริหารจัดการองคกรเพื่อไปสูเปาหมาย เปนตนวา การแสวงหารายได การเติบโตอยางมั่นคง การมีชีวิตที่ปราศจากความเสี่ยง ซึ่งบางครั้งครัวเรือน ก็จำ�เปนตองวางแผนการพัฒนาตนเองดวยการริเริ่ม โครงการใหมๆ เชน การจัดหาอาชีพเสริมรายไดหลัก การหาประโยชนจากพื้นที่ใชสอยในบริเวณบาน และ การพัฒนาตนเองของสมาชิกในครัวเรือน ฯลฯ โครงการ เหลานี้จำ�เปนตองมีการศึกษาความเปนไปไดในดาน ตางๆ จากนัน้ ก็จะตองดำ�เนินการใหเปนไปตามแผนการ ที่วางไว รวมถึงการติดตามและประเมินผลความสำ�เร็จ ตามเปาหมายของโครงการ ปญหาของความเสี่ยงใน

ดานนี้ก็คือ ปญหาของความไมรูหรือขาดความรูในการ ริเริ่มโครงการ ปญหาของการไมมีประสบการณหรือ แบบแผนเปนแนวทางปฏิบตั ทิ เี่ หมาะสม และปญหาของ การไมสามารถคาดการณหรือพยากรณสิ่งที่จะเกิดขึ้น ไดอยางแนนอน เหลานี้คือความเสี่ยงโครงการที่ไมอาจ หลีกเลี่ยงได 4. ความเสี่ยงจากภาวะแวดลอม (Market risk) ความเสี่ ย งประเภทนี้ เ กิ ด ขึ้ น ได เ สมอ เมื่ อ ครั ว เรื อ น ดำ�รงอยูในภาวะแวดลอม โดยเฉพาะภายใตกระแส โลกาภิวัตน และประเทศไทยเปดรับผลกระทบจาก ภายนอกไดตลอดเวลา ทั้งนี้มิไดหมายความวาหากเกิด การเปลี่ ย นแปลงอย า งรุ น แรงจากภายนอกประเทศ เทานั้นที่จะมีโอกาสกระทบตอประเทศและตอมาถึง ครัวเรือนในที่สุด แตการเปลี่ยนแปลงทุกลักษณะ เชน คานิยมทางสังคม วิถีชีวิตทางเศรษฐกิจ การเปดรับ วั ฒ นธรรมต า งชาติ และอิ ท ธิ พ ลของสื่ อ สารมวลชน เหลานี้ลวนสงผลตอสมาชิกในครัวเรือนไมมากก็นอย ประเด็นสำ�คัญของความเสีย่ งประเภทนีอ้ ยูท วี่ า ครัวเรือน จะปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางไร ใน ทัศนะทางวิชาการ ความเสี่ยงประเภทนี้จะกระทบตอ ผลตอบแทนการลงทุนของผูที่มีสวนเกี่ยวของกับตลาด การเงินอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของผลกระทบ ในภาพรวม แตส�ำ หรับครัวเรือนจะเทียบไดกบั ผลกระทบ ที่เกิดขึ้นจากปจจัยภายนอก ระดับความรุนแรงของผล กระทบ และการปรับตัวรองรับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ดังกลาว 5. ความเสี่ ย งอั น เนื่ อ งมาจากนโยบายของ ภาครั ฐ และผลของนโยบายรั ฐ บาลต อ ครั ว เรื อ น (Regulatory risk) ความเสี่ยงประเภทนี้เปนความเสี่ยง จากปจจัยภายนอก และเปนปจจัยที่อยูนอกเหนือการ ควบคุมของครัวเรือน เชนเดียวกับความเสี่ยงจากภาวะ แวดลอม (Market risk) สาเหตุที่เกิดขึ้นก็เนื่องมาจาก การดำ�เนินนโยบายทางดานเศรษฐกิจหรือสังคมของภาค รัฐ อาจดำ�เนินไปเพื่อพัฒนาประเทศในภาพรวม หรือ เพือ่ แกปญ  หาเฉพาะหนาของประเทศในขณะนัน้ แตผลที่ เกิดขึน้ กลับไปกระทบกับชีวติ ความเปนอยูข องครัวเรือน ไดแก มาตรการการคลังทางดานภาษีอากร จะเปนการ เก็บเพิ่มหรือลดลง หรือการปรับอัตราภาษีอากรเฉพาะ

17


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

ประเภท มาตรการทีเ่ กีย่ วของกับการใหสนิ เชือ่ การปรับ อัตราดอกเบี้ย หรือนโยบายทางการเงินอื่นๆ รวมทั้ง การดำ�เนินนโยบายการคาและการเงินระหวางประเทศ นโยบายและมาตรการตางๆ ดังกลาว เมื่อมีผลตอเนื่อง ไปถึงการทีค่ รัวเรือนตองมีการปรับตัวในดานใดดานหนึง่ ก็ถือวาเปนความเสี่ยงที่ครัวเรือนตองประสบ ความเสี่ ย งทั้ ง 5 ประเภท อาจเกิ ด ขึ้ น กั บ ครัวเรือนเพียงประเภทใดประเภทหนึง่ หรือเกิดขึน้ พรอม กันหลายๆ ประเภทก็เปนได ประการสำ�คัญ คือ เมื่อ ความเสี่ยงทั้งหลายไดเกิดขึ้นแลว ตางมีผลนำ�ไปสูผล กระทบดานลบใหเกิดขึ้นกับครัวเรือน หรือธุรกิจของ ครัวเรือน เปรียบไดกับความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business risk) ของครัวเรือน การที่ครัวเรือนจะไดรับผลกระทบที่ กลาวถึงนี้มากนอยเพียงไร และจะเตรียมการรับมือผล กระทบของความเสี่ยงที่เกิดขึ้นไดดีเพียงไร ก็ขึ้นอยูกับ วาครัวเรือนสามารถประเมินระดับของความเสี่ยงและ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นไดหรือไม และไดดวยวิธีการใด การประเมินระดับของความเสี่ยงและผลกระทบที่ อาจเกิดขึ้น เมื่อทราบถึงประเภทของความเสี่ยงครัวเรือน แตละแบบแลว สิ่งที่ควรจะเขาใจตอไปก็คือ วิธีการ ประเมินระดับของความเสีย่ งและผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยเริ่มจากการระบุความเสี่ยง กอนอื่นคงตองทำ�ความ เขาใจเปนเบื้องตนวา การจะระบุวาสิ่งใดเปนความเสี่ยง บางตองเริม่ ตนจากการพิจารณาขอมูลทีเ่ กีย่ วของ สิง่ ใด เปนเปาหมายหรือผลลัพธของครัวเรือน อะไรคือปจจัย ความสำ�เร็จที่นำ�ไปสูเปาหมายเหลานั้น และสาเหตุหรือ ปจจัยที่ทำ�ใหครัวเรือนไมอาจบรรลุเปาหมายที่กำ�หนด ไวคือความเสี่ยงนั่นเอง ประการตอมาจะสำ�รวจความ เสีย่ งไดอยางไร คำ�ตอบก็คอื จากบรรดาผูท เี่ กีย่ วของกับ กิจกรรมของครัวเรือน คนในสมาชิก ชุมชนแวดลอม ผูท ี่ มีสวนไดสวนเสียจากกิจกรรมของครัวเรือน รวมถึงผูที่ มีประสบการณความชำ�นาญในการพิจารณาเรื่องความ เสี่ยงของครัวเรือน สวนประการสุดทายขอมูลที่จำ�เปน ในการพิจารณาความเสี่ยงครัวเรือน ประกอบดวย ที่มา ของความเสี่ยง ปจจัยความเสี่ยง ผลกระทบและโอกาส เกิดผลกระทบจากความเสี่ยงนั้นๆ

18

หลังจากการระบุความเสี่ยงไดแลว ลำ�ดับตอไป ก็คือ การประเมินความเสี่ยงวา ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น อยูในระดับใด โดยใชวิธีการพิจารณาจาก 2 ปจจัย คือ โอกาสการเกิดความเสี่ยงลักษณะนั้นๆ กับผลกระทบที่ คาดวาจะไดรับเมื่อความเสี่ยงนั้นเกิดขึ้น หากพิจารณา เปนความสัมพันธจะไดวา ระดับของความเสี่ยง เทากับ โอกาสการเกิด ความเสี่ยง คูณ ผลกระทบที่คาดวาจะไดรับ โดยที่ ปจจัยแรก คือ โอกาสการเกิดความเสีย่ ง พิจารณา จากความเป น ไปได ที่ จ ะเกิ ด เหตุ ก ารณ ค วามเสี่ ย ง ดังกลาว หรืออาจใชความถี่ในการที่จะเกิดเหตุการณ ดังกลาวขึ้น ส ว นป จ จั ย ที่ ส อง คื อ ผลกระทบที่ ค าดว า จะ ไดรับเมื่อความเสี่ยงนั้นเกิดขึ้น อาจตองพิจารณาวา จะทำ�ใหเกิดผลกระทบเปนมูลคาดานคาใชจาย เวลา คาเสียโอกาส หรือความเสียหายที่จะเกิดขึ้น ผลของการคำ�นวณจะทำ�ใหครัวเรือนไดทราบถึง ระดับของความเสี่ยงแยกตามประเภท รวมถึงผลลัพธ ในภาพรวมที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นได การประมาณระดับ ของความเสีย่ งทีว่ า นี้ สามารถอธิบายไดทงั้ ในเชิงตัวเลข เปนมูลคาวามีจำ�นวนเทาใด ขณะเดียวกันก็อาจอธิบาย ไดในเชิงความเห็นของผูประมาณวามากนอยกวากัน อยางไร หรือกระทำ�รวมกันไดทั้งสองวิธีการเพื่อหา คำ�ตอบในประเด็นของความถูกตอง และเหตุผลทีอ่ ธิบาย คาของระดับความเสี่ยงดังกลาว เมื่อคำ�นวณระดับความเสี่ยงไดแลว การดำ�เนิน การในขั้นตอนตอไป คือ ครัวเรือนจะตองจัดลำ�ดับของ ระดั บ ความเสี่ ย งที่ มี โ อกาสเกิ ด ขึ้ น โดยพิ จ ารณาใน ประเด็นที่เกี่ยวของ ดังนี้ 1. ปจจุบันครัวเรือนมีขีดความสามารถในการ ควบคุมความเสี่ยงตางๆ ที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นไดอยางมี ประสิทธิผล ในระดับใด 2. ครัวเรือนจะสามารถพัฒนาตนเอง เพือ่ รองรับ กั บ ความเสี่ ย งต า งๆ ที่ มี โ อกาสจะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต ไดหรือไม และในระดับใด 3. ครั ว เรื อ นจะต อ งสามารถกำ � หนดหรื อ ระบุ ระยะเวลา หรือกรอบเวลาสำ�หรับการจัดการกับความ เสี่ยงตางๆ ที่มีโอกาสจะเกิดขึ้น จะตองรีบดำ�เนินการ


การบริหารความเสี่ยงครัวเรือน ธนินทรัฐ รัตนพงศภิญโญ

ทันที หรืออาจดำ�เนินการตามลำ�ดับเวลากอนหลังได ประเด็นเพื่อการพิจารณาทั้งสามประการ จะ ทำ�ใหครัวเรือนตัดสินใจไดวา ความเสี่ยงที่มีโอกาสจะ เกิดขึ้นนั้นๆ จัดอยูในระดับใด เพื่อนำ�ไปสูการวางแผน รองรับการจัดการความเสีย่ งไดอยางเหมาะสม และอยาง มีประสิทธิภาพ การบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมของครัวเรือน สำ�หรับครัวเรือนแลว การกำ�หนดวัตถุประสงค หรือเปาหมายของครัวเรือนก็ไมตางไปจากภาคธุรกิจ ที่ตองกำ�หนดกลยุทธการดำ�เนินการใหสอดคลองเพื่อ นำ�ไปสูเปาหมายขององคกร การวางแผนรองรับการ จัดการความเสี่ยงก็เชนกัน โดยครัวเรือนตองมองไปถึง การบรรลุความสำ�เร็จของตนเอง อาจเปนเรือ่ งของฐานะ ทางการเงิน ความมั่นคงปลอดภัย การดำ�รงชีวิตอยาง รมเย็นเปนสุข สาเหตุหรืออุปสรรคใดก็ตามที่ทำ �ให ครัวเรือนไมบรรลุสงิ่ ทีต่ งั้ ใจไว ถือเปนความเสีย่ งโดยสิน้ เชิง และจำ�เปนตองมีการจัดการกับความเสี่ยงนั้นๆ การจัดการกับความเสี่ยงมีแนวทางที่ทำ�ไดเปน 2 ลักษณะ คือการวางแผนจัดการเปนเชิงรุก และการ วางแผนจัดการเปนเชิงรับ โดยการวางแผนจัดการเปน เชิงรุก เปนรูปแบบการจัดการที่เหมาะกับครัวเรือน ที่มีความพรอมทั้งดานความรู การเงิน กำ�ลังคนและ ทรัพยากรอื่นๆ ที่จะนำ�มาใชในการจัดการความเสี่ยง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อปองกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ดำ�เนินการกอนที่ความเสี่ยงนั้นๆ จะเกิด เพื่อลดโอกาส การเกิดความเสีย่ งประเภทดังกลาว สำ�หรับการวางแผน จัดการเปนเชิงรับ เปนรูปแบบการจัดการที่เหมาะกับ ครัวเรือนที่มีขอจำ�กัดดานความรู การเงิน กำ�ลังคน และทรัพยากรอื่นๆ ที่จะนำ�มาใชในการจัดการความ เสี่ยง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อควบคุมความเสี่ยงที่จะ เกิดขึ้น จะดำ�เนินการภายหลังการเกิดความเสี่ยงนั้นๆ เพื่อลดผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงประเภทดังกลาว นอกจากนี้การวางแผนจัดการลักษณะที่สองนี้ ยังอาจมี วัตถุประสงคเพื่อทำ�การบริหารภาวะวิกฤตความเสี่ยง หรือทีเ่ รียกกันวา การพลิกวิกฤตใหเปนโอกาส เพือ่ เรียนรู และใชประโยชนจากความเสี่ยงที่เกิดขึ้นนั่นเอง สำ�หรับรายละเอียดวิธีการ หรือมาตรการการ

วางแผนรองรับการจัดการความเสี่ยง จำ�แนกออกได เปนหลายแบบ ขึ้นอยูกับการจัดลำ�ดับของระดับความ เสีย่ งทีม่ โี อกาสเกิดขึน้ ดังทีก่ ลาวมาแลว โดยนักวิชาการ ทางด า นการบริ ห ารความเสี่ ย งทั่ ว ไปมั ก เรี ย กกั น ว า หลัก 5Ts แตเพื่อใหจดจำ�ไดงายและนำ�ไปสูการปฏิบัติ ไดจริง อาจเรียกสั้นๆ ไดวาเปนหลักการ 5 กระบวนทา รับมือความเสี่ยง ดังนี้ หลักการที่ 1 การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง เปนการ หลบเลี่ยงสาเหตุ หรือตนตอของความเสี่ยงทั้งหลายทั้ง ปวงอันอาจเกิดขึ้นโดยความประมาท ความไมรู การไม สามารถคาดเดาเหตุการณตางๆ ในอนาคต หลักการนี้ แทบจะเปนสัญชาติญานพื้นฐานของบุคคล หรือแมแต ครั ว เรื อ นต อ การป อ งกั น ความเสี่ ย งและผลกระทบ การหลีกเลี่ยงความเสี่ยงดวยการกระทำ�การก็ดี หรือ ไมกระทำ�การก็ดี ลวนมีผลนำ�ไปสูความปลอดภัยจาก ความเสี่ยง หากสามารถปองกันตนเองได แตทั้งนี้ก็ขึ้น อยูกับวา ครัวเรือนผูที่มีความเสี่ยงและมีโอกาสไดรับ ผลกระทบจะทราบหรือไมทราบถึงความเสี่ยง รูหรือ ไมรู วิ ธีการปองกัน แกไ ข และประการสำ�คัญจัดการ กับปญหาความเสี่ยงนั้นๆ ไดหรือไม หลักการที่ 2 และ 3 การลดความเสี่ยง และการ ควบคุมความเสี่ยง เมื่อไมอาจหลีกเลี่ยงความเสี่ยงไป ได วิธีการดีที่สุดนาจะเปนความพยายามบรรเทาความ เสีย่ งใหนอ ยลงทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะเปนไปได วิธกี ารนีค้ รัวเรือน จะตองใชความรู ความสามารถ ทักษะและประสบการณ ทีม่ อี ยูใ นการควบคุมระดับความเสีย่ ง และในบางโอกาส อาจใชวิธีการขอคำ�แนะนำ� การปรึกษาหรือวาจางผูมี ความชำ�นาญเขามาจัดการกับปญหาความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ การจัดการคุณภาพทีเ่ หมาะสมมีสว นชวยใหระดับความ เสี่ยงไมรุนแรงเกินไป หรือแมแตชวยควบคุมโอกาส การเกิดรวมทั้งผลกระทบของความเสี่ยงนั้นไดอยางมี ประสิทธิผล เปนการลดความเสี่ยง และควบคุมความ เสี่ยงใหอยูในระดับต่ำ� หลักการที่ 4 การถายโอนความเสีย่ งไปยังบุคคล ที่สาม ผูซึ่งสามารถรองรับความเสี่ยงของครัวเรือน และ นำ�ความเสีย่ งนัน้ ไปบริหารจัดการดวยวิธกี ารทีเ่ หมาะสม ตอไป เชน การทำ�ประกันภัยทรัพยสิน การทำ�ประกัน ชีวิต การทำ�สัญญาการคุมครองความเสี่ยงทางการเงิน

19


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

การลงทุนในตราสารการเงินรัฐบาลของครัวเรือน ฯลฯ การถายโอนความเสี่ยงนี้บางครั้งจะใชวิธีการเชิญชวน หรือวาจางบุคคลทีส่ ามใหเขามามีสว นรวมในการบริหาร จัดการความเสีย่ งรวมกับครัวเรือน เปนตนวา การลงทุน ประกอบการหรือทำ�ธุรกิจรวมกัน การค้�ำ ประกันธุรกรรม ของครัวเรือน เพือ่ ใหผลกระทบจากความเสีย่ งเปลีย่ นมือ จากครัวเรือนไปยังผูอื่นหรือลดนอยลงใหมากที่สุด หลักการที่ 5 การยอมรับความเสี่ยงไวกับตนเอง หากครัวเรือนไมสามารถดำ�เนินการวางแผนการจัดการ ความเสี่ ย งด ว ยวิธีการใดๆ ตามหลักการที่กล า วมา ทั้งหมดได ก็จำ�เปนตองยอมแบกรับความเสี่ยงไวกับ ตนเอง ซึ่งบางครั้งอาจเปนเรื่องของความเต็มใจ ความ ตั้งใจ แตในบางครั้งก็เปนเรื่องของความผิดพลาดใน การบริหารจัดการความเสีย่ งดวยหลักการขางตน อยางไร ก็ดี ครัวเรือนสามารถตั้งรับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได โดยวิธีการมีแผนฉุกเฉิน หรือจัดการทรัพยากรรองรับ ไวใหเพียงพอ รวมทั้งอาจใชวิธีการบริหารจัดการความ เสี่ยงเพื่อหาประโยชนจากความเสี่ยง หรือที่เรียกวา การพลิกวิกฤตใหเปนโอกาสเพื่อสรางผลลัพธในดาน บวกใหเกิดขึ้นแทนที่ การจะนำ�หลักการใดๆ ที่กลาวถึง มาใชเพื่อ มาตรการการวางแผนรองรั บ การจั ด การความเสี่ ย ง ขึ้นอยูกับหลักเกณฑเงื่อนไขหลายประการ ไดแก ประการที่ 1 ครัวเรือนมีขอมูล ความรู และ ประสบการณทเี่ กีย่ วของมากนอยเพียงไร ทีส่ �ำ คัญขอมูล ดังกลาวมีความถูกตอง นาเชือ่ ถือ รวมทัง้ มีเหตุผลเพียง พอตอการอธิบายปรากฏการณความเสี่ยงนั้นๆ หรือไม ยิ่งไปกวานั้นขอมูลดังกลาวควรจะมีความทันสมัยและ เปนประโยชนตอการวิเคราะหความเสี่ยง และสมาชิก ครัวเรือนจะตองสามารถเรียนรูการใชประโยชนจาก ขอมูลดังกลาวนี้ใหไดมากที่สุด ประการที่ 2 ครัวเรือนมีขีดความสามารถ หรือ ศักยภาพมากนอยเพียงไร ในการจัดการกับความเสี่ยง รวมทั้งผลกระทบที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นได โดยเฉพาะ อยางยิ่งความเสี่ยงประเภทที่ยังไมเคยเกิดขึ้น และไมมี ความรูความเขาใจที่ดีพอแมแตในการคาดเดาโอกาส การเกิดความเสีย่ งทีว่ า นี้ ดังทีม่ ผี กู ลาวไววา การมีความรู มากเทาไรก็จะยิ่งคาดเดาความเสี่ยงไดมากขึ้น และ

20

การที่สามารถคาดเดาความเสี่ยงไดมากเทาไรก็จะยิ่ง เตรียมการปองกันความเสี่ยงไดมากขึ้นเพียงนั้น ประการที่ 3 ระดับของผลกระทบ อันเนื่องมา จากความเสี่ยงที่ยอมรับไดของแตละครัวเรือนมีความ แตกตางกันตามระดับขีดความสามารถในการจัดการ ปญหาของตนเอง ซึง่ ไมอาจพัฒนาใหเปลีย่ นแปลงสูงขึน้ ไดในชวงระยะเวลาสั้นๆ ประการที่ 4 ตนทุน หรือคาใชจายในการจัดการ กับความเสี่ยงของแตละครัวเรือน ยอมไมเทากัน และ แปรเปลี่ยนไปตามกำ�ลังทรัพยสิน กำ�ลังฐานะ และกำ�ลัง ทรัพยากรทีม่ อี ยู รวมทัง้ การจัดหาเพิม่ เติมใหเพียงพอก็ กระทำ�ไดอยางจำ�กัด ประการที่ 5 ความสามารถในการถายโอนความ เสีย่ งไปยังบุคคลทีส่ ามของครัวเรือน มีระดับทีต่ า งกัน ซึง่ ก็แปรไปตามฐานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือน นอกจากนี้ ยังขึ้นอยูกับความรูความเขาใจในการจัดการถายโอน ความเสี่ยง และพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของ สมาชิกครัวเรือน และประการที่ 6 ความตองการจำ�เปนในการ วางแผนปฏิบัติการของแตละครัวเรือนมีไมเหมือนกัน ประเด็นนีม้ คี วามสำ�คัญเปนอยางมาก เพราะครัวเรือนที่ มีวตั ถุประสงคชดั เจน และเขาใจถึงเปาหมายการบริหาร ครัวเรือนเทานั้น จึงจะใหความสำ�คัญกับการวางแผน ปฏิบตั กิ ารของแตละครัวเรือน โดยทีก่ ารวางแผนรองรับ การจั ด การความเสี่ ย งก็ คื อ องค ป ระกอบสำ � คั ญ ของ การวางแผนปฏิบัติการนั่นเอง การวางแผนรองรับการจัดการความเสี่ยงที่เปน รูปธรรมของครัวเรือน ตามหลักการทีก่ ลาวมา สวนใหญ จะปรากฏใหเห็นในลักษณะของการกำ�หนดวงเงินไว ใชจายสำ�รอง เพื่อการใชจายฉุกเฉินสำ�หรับเหตุการณ ที่ไมคาดคิดมากอน แนวทางนี้สอดคลองกับวิธีคิดเรื่อง การบริหารการเงินในโลกของธุรกิจ และเปนหนึ่งใน แนวคิดการอธิบายเรื่องความตองการถือเงินในทฤษฎี ทางเศรษฐศาสตร อนึ่ง นอกเหนือจากเรื่องของการ สำ�รองเงิ น แลว การเผื่ อเวลาสำ�หรับการดำ �เนิน การ ใดๆ ในชีวิตประจำ�วัน และโดยเฉพาะอยางยิ่งการริเริ่ม งาน แผนงาน โครงการใหมๆ ก็ถือเปนมาตรการการ จัดการความเสี่ยงที่พึงสามารถกระทำ�ไดของครัวเรือน


การบริหารความเสี่ยงครัวเรือน ธนินทรัฐ รัตนพงศภิญโญ

แนวทางนี้เปนประเด็นในเรื่องของการบริหารจัดการ เวลาเพือ่ การบริหารโครงการอยางมีประสิทธิภาพ ดังนัน้ จึงอาจกลาวไดวา ครัวเรือนที่สมาชิกมีความระมัดระวัง และเตรียมความพรอมอยูเสมอทั้งกาย ใจ และทางวัตถุ ยอมจะเปนครัวเรือนที่ประสบความสำ �เร็จในการแก ปญหาเฉพาะหนา และแมจะไมไดน�ำ หลักวิชาการเขามา เกี่ยวของโดยตรง แตจากประสบการณ ทักษะ ความ ชำ�นาญ และการเรียนรูจริง ครัวเรือนก็สามารถที่จะ ดำ�รงชีวิตดวยความไมประมาท และสรางวิถีชีวิตอยาง ผาสุกได การดำ�รงชีวิตอยางเปนสุข และไมประมาท อาจ กระทำ�ดวยการตรวจสอบสถานการณประจำ �วันโดย ถือเปนภาระกิจสวนหนึ่งของวิถีชีวิตครัวเรือน นับเปน แนวทางหนึ่ ง ที่ ค รั ว เรื อ นใช จั ด การกั บ ความเสี่ ย งได ซึ่งใกลเคียงกับวิธีการตรวจสอบภายในของภาคธุรกิจ วิธีการนี้มีวัตถุประสงคเพื่อใหการบริหารจัดการดำ�เนิน ไปอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลตอองคกร ตามทีก่ �ำ หนดไว กอใหเกิดความถูกตองและนาเชือ่ ถือใน ฐานะทางการเงิน ตลอดจนดำ�เนินการภายใตกรอบของ กฎหมาย ซึ่ ง เมื่ อ เปรี ย บเที ย บครั ว เรื อ นเหมื อ นเป น ภาคธุรกิจ การกำ�หนดแนวทางที่ถูกที่ควรใหกับสมาชิก ครัวเรือนในลักษณะที่เปนที่ยอมรับและเขาใจรวมกัน แลวนำ�ไปสูการปฏิบัติตนใหสอดคลองกับสิ่งที่ตกลง กันไว ไมวาจะเปนการใชชีวิต การใชเงิน การปฏิบัติ ตนตอผูอื่น การมีบทบาทในฐานะสมาชิก ฯลฯ จากนั้น ก็หมั่นตรวจตราดูความเรียบรอย มิใหเกิดขอบกพรอง ผิดพลาด มิใหเกิดปญหาหรือความขัดแยง จนอาจนำ� ไปสู  ผ ลกระทบที่ เ สี ย หายต อ ครั ว เรื อ นในท า ยที่ สุ ด หากปฏิบัติเชนนี้ไดจริงก็สามารถนำ�พาครัวเรือนไปสู เป า หมายหรื อ วั ต ถุ ป ระสงค สู ง สุ ด คื อ การอยู  ดี กิ น ดี ชีวีมีสุข และไมเกิดความเสี่ยงแตประการใด ประสบการณการเรียนรูเ รือ่ งการบริหารความเสีย่ ง ครัวเรือน จากการศึกษาประสบการณการบริหารความ เสี่ยงครัวเรือน มีกรณีตัวอยางที่นาสนใจหลายกรณี ซึ่ง ในบทความนี้นำ�เสนอเพียงบางตัวอยางที่เกี่ยวของกับ การบริหารความเสี่ยงครัวเรือนในดานเศรษฐกิจ และ

ด า นการบริ ห ารจั ด การของครั ว เรื อ น ตั ว อย า งแรก จากงานวิ จั ย ของคณาจารย ค ณะสั ง คมศาสตร แ ละ มนุ ษ ยศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล (ประภาพรรณ อุนอบ 2546) เรื่อง “การจัดการความรูในชุมชน การ ทำ�บัญชีชีวิตประชาคมพุทธมณฑล” ซึ่งเปนสวนหนึ่ง ของโครงการวิ จั ย และพั ฒ นาประชาคมพุ ท ธมณฑล ไดทำ�การศึกษาวิจัยกับกลุมประชากรในชุมชนศาลายา จังหวัดนครปฐม ผลการวิจัยแสดงใหเห็นวา การบันทึก ข อ มู ล รายรั บ และรายจ า ยในชี วิ ต ประจำ � วั น ของ ครั ว เรื อ นสามารถตรวจสอบได ถึ ง ความสอดคล อ ง ระหวางรายรับและรายจาย ประเภทของรายจายทั้งที่มี ความจำ � เป น และไม มี ค วามจำ � เป น ของสมาชิ ก ใน ครัวเรือน และขอมูลเหลานี้ยังนำ�ไปใชในการบริหาร จัดการเศรษฐกิจของครัวเรือนไดเปนเบื้องตน ตัวอยางที่สองที่จะขอยกมากลาว ไดแก ขอสรุป ตอนหนึ่งของงานเขียน เรื่องครอบครัวคือหนึ่งเดียว ในหนั ง สื อ ชื่ อ “จั ด การการเงิ น ให บ  า นรวย” ของ อภิชาติ สิริผาติ (2550) กลาวไววา “หลายๆ ครอบครัว ที่ประสบปญหาการเงิน เพราะไมไดวางแผน หรือขาด การวางแผนที่ดี หรือการใหสมาชิกในครอบครัวไดรวม รับรูในแผน ใหลูกๆรูวาจะตองใชเงินอยางไร แผนการ ใชเงินในอนาคตเปนอยางไร เปนตน ดังนั้น เมื่อพูดถึง การวางแผนการเงิน ถึงแมแตละคนจะมีอิสระในการ วางแผนการเงินของตัวเองตามควร แตจะไมใชแคการ วางแผนของแตละคนเทานั้น แผนการเงินหลักของ ครอบครัว ถือเปนสิ่งสำ�คัญอยางยิ่ง การเริ่มที่ครอบครัว จะเปนรากฐานสำ�คัญ ที่จะทำ�ใหสมาชิกในครอบครัว แต ล ะคนมี ฐ านะการเงิ น ที่ มั่ น คงไปด ว ย” ข อ สรุ ป ที่ นำ�มากลาวอางนี้ ชี้ใหเห็นถึงขอสรุปของประสบการณ ที่สะทอนออกมาในรูปของการแสดงทัศนะที่เหมาะสม ตอการจัดการทางดานการเงินของสมาชิกครัวเรือน เพื่อมิใหเกิดเปนปญหาที่นำ�ไปสูความเสี่ยงทางการเงิน ของครัวเรือนในที่สุด ตัวอยางสุดทาย จากประสบการณงานวิจัยเชิง คุณภาพของธนินทรัฐ รัตนพงศภิญโญ (2553) เรื่อง “การเปนผูสูงอายุที่ประสบความสำ�เร็จ: กรณีศึกษา ผูสูงอายุที่มาออกกำ�ลังกาย ณ สวนสาธารณะ พุทธ มณฑลสาย 4” พบขอเท็จจริงวา 1.) การใหนิยามของ

21


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

คำ�วา “การเปนผูสูงอายุที่ประสบความสำ�เร็จ” ก็ดี หรือ 2.) ปจจัยที่ทำ�ใหผูสูงอายุกลุมดังกลาวประสบความ สำ � เร็ จ ก็ ดี ล ว นขึ้ น อยู  กั บ สาเหตุ หรื อ ป จ จั ย หลาย ประการ ไดแก การเรียนรูจากประสบการณการใชชีวิต ในอดีต การเตรียมความพรอมทั้งรางกาย จิตใจ และ ทัศนคติ การรวมกลุมกิจกรรมที่เปนประโยชนรวมกัน ตลอดจนการสนับสนุนสงเสริมจากสมาชิกในครัวเรือน ชุ ม ชนและสั ง คมแวดลอม รวมทั้ง หนว ยงานภาครั ฐ และเอกชนที่เกี่ยวของ บทเรียนจากตัวอยางงานวิจัยนี้ แสดงถึง การวางแผนในการบริหารจัดการชีวิตของ สมาชิ ก ในครั วเรือน หรือการบริหารความเสี่ย งของ สมาชิกครัวเรือน นั่นเอง บทสรุปของการศึกษาเรื่องการบริหารความเสี่ยง ครัวเรือน ประสบการณการเรียนรูเรื่องการบริหารความ เสี่ยงครัวเรือน ผานกรณีศึกษาทั้งสามตัวอยาง แสดง ใหเห็นถึงนัยยะสำ�คัญเรียงตามลำ�ดับ ไดแก การตระหนัก รูถึงความสำ�คัญ การเตรียมพรอมเพื่อรองรับเหตุการณ การจัดการดวยวิธีการอยางเหมาะสมและอยางมีสติ 

22



ตลอดจนการสรุปบทเรียนเพื่อการเรียนรู สั่งสมเปน ประสบการณ มิใหความเสี่ยงทั้งหลายทั้งปวงที่เคยเกิด ขึ้น รวมทั้งเพื่อปองกันความเสี่ยงรูปแบบใหมๆ อันอาจ มีโอกาสเกิดขึ้นได และจะมากระทบวิถีชีวิตอันเปนปกติ วิสัยของครัวเรือน เหลานี้เรียกไดวา เปนกระบวนการ จัดการบริหารความเสี่ยงครัวเรือน ซึ่งเปนกระบวนการ ที่ไมมีวันสิ้นสุด และหมุนเวียนเปนวัฏจักรควบคูไปกับ การดำ�รงอยูของสังคมในทุกยุคสมัย นอกจากนี้ แ ล ว ประโยชน ที่ พึ ง ได รั บ ซึ่ ง ไม สามารถละเลยทีจ่ ะกลาวไวกค็ อื เมือ่ ครัวเรือนและสมาชิก ครัวเรือนไดด�ำ เนินการบริหารความเสีย่ งครัวเรือนอยาง ดีพอแลว ถึงแมวาจะไมสามารถปองกันความเสี่ยงที่มา ในหลากหลายรูปแบบไดอยางสมบูรณ หรือหลีกเลี่ยง ผลกระทบจากความเสี่ยง โดยเฉพาะความเสี่ยงอันมี สาเหตุมาจากปจจัยภายนอกครัวเรือนได แตอยางนอย ที่สุด การเตรียมพรอมของครัวเรือนจะชวยลดโอกาส เกิดความเสีย่ งตางๆ ลง ตลอดจนชวยบรรเทาผลกระทบ ที่เกิดขึ้นจากความเสี่ยงเหลานั้นได ถือเปนกลยุทธ สำ�คัญสำ�หรับการบริหารความเสีย่ งครัวเรือนตามทีก่ ลาว มาในภาพรวม 


การบริหารความเสี่ยงครัวเรือน ธนินทรัฐ รัตนพงศภิญโญ

เอกสารอางอิง ภาษาไทย เจนเนตร มณีนาค, กรกนก วงศพานิช, ปญจมน แกวมีแสง และดรุณรัตน พึง่ ตน. (2548). การบริหารจัดการความ เสี่ยงระดับองคกร จากหลักการสูภาคปฏิบัติ (Enterprise-Wide risk management). กรุงเทพฯ: บริษัท ซัม ซิสเท็ม. ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสมาคมผูตรวจสอบภายในแหงประเทศไทย. (2551). กรอบโครงสรางการ บริหารความเสีย่ งขององคกรเชิงบูรณาการ แนวทางการปฏิบตั .ิ กรุงเทพฯ: บริษทั อมรินทรพริน้ ติง้ แอนด พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน). ธนินทรัฐ รัตนพงศภิญโญ. (2553). “การจัดการความเสี่ยง (Risk Management).” เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 761 516 การจัดการความเสี่ยง (Risk Management). หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน และหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประกอบการ คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร, (อัดสำ�เนา) ประภาพรรณ อุนอบ. (2546). “การจัดการความรูในชุมชน การทำ�บัญชีชีวิตประชาคมพุทธมณฑล.” ใน โครงการ วิจยั และพัฒนาประชาคมพุทธมณฑล มหาวิทยาลัยมหิดล. เยาวรี เจริญสวัสดิ,์ บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ พี.เอ.ลีฟวิ่ง. อภิชาติ สิรผิ าติ. (2550). จัดการการเงินใหบา นรวย (Happy richy family). กรุงเทพฯ: บริษทั พิสษิ ฐ ไทยออฟเซ็ท. ภาษาอังกฤษ Crouhy, M., Galai, D. and Mark, R. (2006). The essentials of risk management. New York: McGraw-Hill. Davidson, Frame J. (2003). Managing risk in organizations. California: Jossey-Bass, A Wiley Imprint. Heldman, Kim. (2005). Project Manager’s spotlight on risk management. California: Sybex, Habor Light Press. Hopkin, Paul. (2010). Fundamentals of risk management: understanding, evaluating and implementing effective risk management. London: Kogan Page Limited. Monahan, Gregory. (2008). Enterprise risk management: a methodology for achieving strategic objectives. New Jersey: John Wiley & Sons Inc. Taninrat Rattanapongpinyo. (2010). Successful aging: a case study of elderly society for exercise at Phutamonthon 4 Park, Bangkok Thailand. The Fifth International Conference on Interdisciplinary Social Sciences.

23



การแปลแตงรายยาวมหาเวสสันดรชาดกสำ�นวนเจาพระยาพระคลัง (หน) ที่สอดคลองกับบริบททางสังคมสมัยธนบุรีจนถึงตนรัตนโกสินทร 1 The Translation of Chaophraya Phrakhlang (Hon)’s Raiyao Mahavessantarajataka Relating to the Thonburi to the Early Rattanakosin Social Context ชนิดา สีหามาตย 2 Chanida Srihamart บทคัดยอ บทความนี้มีจุดมุงหมายที่จะศึกษาวิธีการแปลรายยาวมหาเวสสันดรชาดกสำ�นวนเจาพระยาพระคลัง (หน) ที่ สอดคลองกับบริบททางสังคมไทย ดวยการเปรียบเทียบกับอรรถกถาเวสสันตรชาดก ผลการศึกษาพบวาเจาพระยา พระคลัง (หน) ใชวิธีการแปลโดยขยายความ ตัดทอน และดัดแปลงเนื้อความหรือรายละเอียดบางประการ และใชวิธีการสื่อสารเพื่อโนมนาวใจ ไดแก การเสนอเชิงปริมาณดวยการกลาวซ้ำ� และการอธิบายแสดงเหตุผล แสดง รายละเอียด และใหขอมูล เพื่อโนมนาวใจใหรับรูสารเรื่องทานและปญญาที่สอดคลองกับบริบททางสังคมของตนและ ผูรับสาร ซึ่งสอดคลองกับบริบททางสังคมในสมัยกรุงธนบุรีจนถึงตนกรุงรัตนโกสินทร โดยเฉพาะนโยบายดานการ ศาสนาและสังคมในรัชกาลที่ 1 คำ�สำ�คัญ : 1. เจาพระยาพระคลัง (หน). 2. รายยาวมหาเวสสันดรชาดก, การแปล. Abstract The aim of this article is to study the translation techniques of Chaophraya Phrakhlang (Hon)’s Raiyao Mahavessantarajataka relating to the context of Thai Society comparison with the Atthakatha version. The study found that the poet used three translation techniques for reader persuasion namely addition (in content), ellipsis (in content and details) and the adaption of some details. He used two styles of persuasive communication, namely quantitative presentation, especially repetition, and explanation by using reason, detail and fact. His techniques and persuasion could convey two important messages, namely generosity and wisdom. These relate to the Thonburi to early Rattanakosin social contexts, especially the religious and social policies in the reign of King Rama I. Keywords : 1. Chaophraya Phrakhlang (Hon). 2. Mahavessantarajataka, translation. __________________ 1 บทความนี้เรียบเรียงจากสวนหนึ่งของผลการศึกษาวิทยานิพนธ เรื่อง “รายยาวมหาเวสสันดรชาดกสำ�นวนเจาพระยาพระคลัง (หน) : การแปลเพื่อการรับรูสาร” ซึ่งไดรับทุนอุดหนุนจากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 2 อาจารยพิเศษ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

บทนำ� เวสสั น ดรชาดกเป น เรื ่ อ งที ่ ค นไทยนิ ย ม ฟ ง มาก เพราะเชื ่ อ กั น ว า ฟ ง แล ว จะได เ กิ ด ในยุ ค พระศรี อ าริ ย เมตไตรยซึ ่ ง มนุ ษ ย จ ะมี ช ี ว ิ ต ความ เปนอยูท ี ่สะดวกสบาย และเปนสังคมในอุดมคติของ ผู  ฟ  ง ชาวไทย จึ ง มี ก ารแปลแต ง อรรถกถาเวสสั น ดร ชาดกเป น ภาษาไทยหลายสำ � นวน ทั ้ ง เป น บทสวด ที ่ แ ปลภาษาไทยเที ย บกั บ ภาษาบาลี เช น มหาชาติ คำ � หลวงและต อ มามี ก ารแปลแต ง เป น กลอนเทศน หรื อ ที ่ เ รี ย กต อมาภายหลังตามลักษณะคำ� ประพั น ธ ว า ร า ยยาวมหาเวสสั น ดรชาดก ซึ ่ ง มี ก ารแปลขยาย ความภาษาไทยมาก เพื ่ อ ให ค นฟ ง เข า ใจเนื ้ อ หา สาระของเรื ่ อ งได อ ย า งถ อ งแท สมหมาย เปรมจิตต (2544 : 24) กลาววา การ แปลแตงรายยาวมหาเวสสันดรชาดกแตละสำ �นวนมี ความแตกตางกันบางประการ อันเนื่องมาจากความ รู  ค วามสามารถของกวี เนื้ อ เรื่ อ งในกั ณ ฑ ที่ ก วี เ ลื อ ก แปลแตง ชวงเวลาที่แตง และบริบทที่ตางกัน เชน องค ความรูและคานิยมในสังคมที่ผูแตงอาศัยอยู เปนตน เจาพระยาพระคลัง (หน) กวีเอกในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชแปล แตงรายยาวมหาเวสสันดรชาดกจำ�นวน 3 กัณฑ ไดแก ทานกัณฑ กัณฑกุมาร และกัณฑมัทรี ซึ่งลวนแตเปน กัณฑท่มี ีเหตุการณสำ�คัญ เนื้อเรื่องในทานกัณฑเปน เหตุการณตอนพระเวสสันดรพระราชทานทรัพยเปน จำ�นวนมากกอนเสด็จไปผนวชทีเ่ ขาวงกตในปาหิมพานต พรอมทั้งพระมเหสีและพระโอรสธิดา เนื่องจากพระองค ถูกชาวเมืองขับไลท่พี ระราชทานชางปจจัยนาคซึ่งเปน ชางมงคลของเมืองแกพราหมณเมืองอืน่ สวนกัณฑกมุ าร และกัณฑมทั รีมเี หตุการณส�ำ คัญคือ พราหมณชชู กเดินทาง มาขอพระโอรสธิดาไปเปนทาสตามความตองการของนาง อมิตตดาผูเ ปนภรรยา พระเวสสันดรบริจาคบุตรทานแก ชูชก เมือ่ พระนางมัทรีทราบวาพระเวสสันดรทรงบำ�เพ็ญ บุตรทานก็ทรงอนุโมทนา เทวดาตางสรรเสริญทั้งสอง พระองค จากเนื้อเรื่องของอรรถกถาเวสสันตรชาดก ทั้ง สิ บ สามกั ณ ฑ กั ณ ฑ กุม ารเป น เหตุ ก ารณ ต อนที่ พระเวสสันดรตองทรงตัดพระทัยบริจาคพระโอรสธิดา จึงนับวาเปนกัณฑสำ�คัญ เพราะแสดงการบำ�เพ็ญทาน

26

อันยอดยิ่ง และมีเนื้อเรื่องสะเทือนอารมณท�ำ ใหคนนิยม ฟ ง มาก นอกจากนี้ค นไทยยั ง เชื่อ ว า การฟ ง เทศน มหาชาติแตละกัณฑจะไดรับอานิสงสตางๆ โดยเฉพาะ กั ณ ฑ ท ศพรและกั ณ ฑ กุม ารที่ผู ฟ  ง จะได รับ อานิ ส งส ถึงนิพพาน (ประคอง นิมมานเหมินท 2526 : 2) เจาพระยาพระคลัง (หน) เปนขุนนางผูม บี ทบาท สำ�คัญและปฏิบัติหนาที่สนองพระราชประสงคพระบาท สมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ า จุ ฬ าโลกมหาราช ในสมั ย กรุงธนบุรีมีบรรดาศักดิ์เปนหลวงสรวิชิต (หน) เมื่อครั้ง เกิดจลาจลในพระนคร หลวงสรวิชิต (หน) เปนผูแจง กิจราชการและเชิญเสด็จนำ�ทัพเขามายังพระนคร เมื่อ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรง ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชสมบัติพระองคไดมีพระราช ดำ�ริวาหลวงสรวิชิต (หน) มีความดีความชอบหลาย ประการ จึงโปรดฯ ใหตงั้ เปนพระยาพิพฒ ั นโกษาเจากรม พระคลังสินคา และเลื่อนเปนเจาพระยาพระคลัง (หน) เสนาบดี จ ตุ ส ดมภ ก รมท า ในเวลาต อ มา เจ า พระยา พระคลัง (หน) มีหนาที่ควบคุมบังคับบัญชากิจการทาง หัวเมืองชายทะเลทั้งหมด (สมมตอมรพันธุ, พระเจา บรมวงศเธอ กรมพระ 2545 : 9-10) นอกเหนือจากบทบาทหนาที่ดานการเมืองการ ปกครองแลว เจาพระยาพระคลัง (หน) ยังเปนกวีเอก แห ง ราชสำ � นั ก ผู  มี ค วามรู  แ ละความสามารถทางการ ประพั น ธ ห ลายชนิ ด ผลงานบางเรื่ อ งแต ง ขึ้ น ตาม พระราชประสงค เชน ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวงซึ่ง รัชกาลที่ 1 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหแตงไวเปน แบบแผนของแผนดิน และไดรบั การไววางพระราชหฤทัย ใหเปนผูอำ�นวยการแปลเรื่องสามกกและราชาธิราชที่ โปรดฯ ให ร าชบั ณ ฑิ ต แปลเพื่ อ เป น ประโยชน แ ก บานเมือง เจาพระยาพระคลัง (หน) เปนบุคคลที่มีชวงชีวิต อยูถึงสามราชธานีของไทย คือ อยุธยา ธนบุรี จนถึง รัตนโกสินทร โดยเขารับราชการตั้งแตในสมัยกรุงธนบุรี ทำ�ใหเจาพระยาพระคลัง (หน) สามารถนำ�เสนอสารใน รายยาวมหาเวสสันดรชาดกสำ�นวนเจาพระยาพระคลัง (หน) ที่สอดคลองกับบริบททางสังคมในสมัยกรุงธนบุรี จนถึงตนกรุงรัตนโกสินทรได


การแปลแตงรายยาวมหาเวสสันดรชาดกสำ�นวนเจาพระยาพระคลัง (หน) ชนิดา สีหามาตย

บ ริ บ ท ท า ง สั ง ค ม ส มั ย ก รุ ง ธ น บุ รี ถึ ง ต  น ก รุ ง รัตนโกสินทร นับตั้งแตสมัยอยุธยาตอนปลายความพลิกผัน ของชี วิ ต ซึ่ ง สื บ เนื่ อ งมาจากการเปลี่ ย นแปลงทาง เศรษฐกิจและการเมืองคือการเลื่อนชั้นทางสังคมกับ ภาวะสงครามทำ � ให เ กิ ด ความไม มั่ น คงต อ ชี วิ ต และ ทรั พ ย สิ น ผู  ค นจึ ง ต า งแสวงหาที่ พึ่ ง ทั้ ง ทางกายและ ทางใจแตพระพุทธศาสนาซึ่งเปนสถาบันหลักในสังคม ไทยเกิ ด ป ญ หา อั น เนื่ อ งมาจากพระสงฆ บ างส ว น ประพฤติตนนอกพระวินัย และความคิด ความเชื่อ การ นั บ ถื อ พุ ท ธศาสนาของคนในสัง คมมีการเปลี่ ย นแปร ตลอดจนความเชื่อเรื่องไสยศาสตร สงผลตอสภาพ เหตุ ก ารณ ค วามไม มั่ น คงของพระพุ ท ธศาสนาใน กรุงศรีอยุธยาตอนปลาย กรุงธนบุรี มาจนถึงตนกรุง รัตนโกสินทร หลังจากการกอบกูเ อกราชบานเมืองจากการเสีย กรุงศรีอยุธยาแกพมา พระเจากรุงธนบุรีพยายามฟนฟู พระพุทธศาสนา โดยการชำ�ระวินัยคณะสงฆ รวบรวม คัมภีรพระพุทธศาสนา แตเนื่องจากสภาพบานเมืองที่มี ภาวะการศึกสงครามตอเนื่องและราษฎรเสียขวัญจาก การสูญเสียญาติมิตรและทรัพยสิน ทำ�ใหยังไมสามารถ ฟ  น ฟู พ ระพุ ท ธศาสนาให มั่ น คงได เ ป น ผลสำ� เร็ จ ใน กรุงธนบุรีจึงยังเต็มไปดวยคานิยม ความเชื่อ และการ นับถือเรื่องเหนือธรรมชาติและอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย เชน กรณีทมี่ หาดาอางตัววาเปนผูม บี ญ ุ มีอทิ ธิฤทธิฆ ์ า ไมตาย ปรากฏอยูใ นจดหมายเหตุความทรงจำ�กรมหลวงนรินทร เทวี และจดหมายเหตุกรุงธนบุรกี ลาวถึงเมือ่ พุทธศักราช 2319 มีพระราชโองการประกาศเทพารักษใหกำ�จัด ปศาจ (สายชล สัตยานุรักษ 2546 : 65) ตอมาจนถึงตนกรุงรัตนโกสินทร พระบาทสมเด็จ พระพุ ท ธยอดฟ า จุ ฬ าโลกมหาราช รั ช กาลที่ 1 มี พระราชประสงคเรื่องการฟนฟูพระพุทธศาสนาเปน หลักควบคูก บั การสรางบานเมืองใหม ทรงควบคุมการจัด ระเบี ย บการปกครองฝ า ยสงฆ แ ละออกกฎควบคุ ม พระสงฆ ใ ห อ ยู  ใ นพระวิ นั ย โปรดฯ ให สั ง คายนา พระไตรปฎก ออกพระราชกำ�หนดใหม รวบรวมและ ชำ�ระกฎหมาย ปฏิสังขรณศาสนสถาน แปลและแตง วรรณกรรม เปนตน

นอกเหนื อ จากการจั ด ระเบี ย บสถาบั น สงฆ รัชกาลที่ 1 ยังทรงมุงเนนใหบุคคลตางๆ ในสังคม ประพฤติปฏิบัติตนตามหลักการของพระพุทธศาสนา เ พื่ อ ค ว า ม ส ง บ สุ ข ข อ ง สั ง ค ม แ ล ะ ธำ � ร ง รั ก ษ า พระพุทธศาสนา เชน การออกพระราชกำ�หนดไมให พสกนิ ก รเชื่ อ ถื อ เรื่ อ งไสยศาสตร ม ากกว า การนั บ ถื อ พระพุ ท ธศาสนา เพื่ อ ขจั ด ความเชื่ อ ที่ ท รงเห็ น ว า งมงาย เชน การนับถือเทพารักษ และในพระราช กำ � หนดฉบั บ ที่ 35 มี เ นื้ อ ความให ร าษฎรบู ช าศาล เทพารักษไดแตไมใหนับถือมากกวาพระรัตนตรัย ดัง ความวา “...ทุกวันนี้สัตวทังปวงเปนโลกี ครั้นมีทุกข ขึน้ มาน้�ำ จิตรนัน้ ก็ผนั แปรไปจากพระรัตนะ ตะยา ธิคณ ุ ไปถือผีสางเทพารักษตางตาง ทีน่ �้ำ ใจดีเปน พหูสูตรนั้น ถึงจะนับถือพระภูมเจาที่เทพารักษ นั้นก็ถือเอาแตโดยจิตรคิดวาเปนมิตรสหายเปน ที่ปองกรรอันตราย มิไดคิดวาประเสริฐกวาพระ รัตนตะยาธิคุณมิได ... อยานับถือวายิ่งกวา พระไตรสระณาคม หามอยาใหพลีกรรมดวยฆา สัตวตางๆ ... แลใหกระทำ�บุญใหทานรักษาศีล การกุศลสิง่ ใดๆ จงอุทศิ สวนกุศลใหแกภมู อิ ารักษ เทวดาทั้งปวง ใหอนุโมทนาสวนกุศลก็ชื่นชม ชวยอภิบาลรักษา จะไดเปนพยานบอกบาญชีย แกทาวจตุรโลกบาลอันเที่ยวมาเอาบาญชีนั้น...” (ราชบัณฑิตยสถาน 2550 : 749) การทีอ่ าณาประชาราษฎรนับถือพระพุทธศาสนา อย า งงมงาย เช น ความเชื่ อ เรื่ อ งเหนื อ ธรรมชาติ บุญฤทธิว์ ทิ ยาคม เปนตน รวมถึงการนับถือผีสางเทวดา และรู ป เคารพตามความเชื่ อ ในลั ท ธิ อื่ น ขั ด กั บ หลั ก พุทธศาสนาในพระไตรปฎกและเปนอุปสรรคตอความ มั่ น คงของพระพุ ท ธศาสนา รั ช กาลที่ 1 จึ ง ทรงยึ ด พระไตรปฎกเปนหลักสำ�คัญในการชำ�ระวินัย ความรู และความเชื่ อ ของคนในรั ฐ โดยเน น ให ยึ ด หลั ก ตาม พระไตรปฎกในแงของการปฏิบัติ สวนดานความคิด และความเชื่อนั้นทรงมุงเนนใหใชปญญา

27


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

รัชกาลที่ 1 ทรงประพฤติพระองคเปนธรรมิก ราชา ทำ�หนาที่ดูแลพุทธจักรโดยสวนรวมเพื่อทำ �ให กรุงรัตนโกสินทรเปนศูนยกลางของโลกพุทธศาสนาที่ ทรงไวซึ่งพุทธศาสนาอันบริสุทธิ์ถูกตองเปนแบบอยาง แกนานาประเทศ (สายชล สัตยานุรักษ 2546 : 230) ดัง ที่มีพระนามลงทายในกฎหมายตราสามดวง พระราช บัญญัติมาตรา 1 วา “ผูทรงชำ�ระพระปติปติธรรมสาศนา ให พ ระชิ โ นรสสำ � รวมพระจั ตุ ป าริ สุ ท ธิ ศี ล สั ง วรวิ ไ นย บริสุทธิผองใส” (ราชบัณฑิตยสถาน 2550 : 1061) และในศุ ภ อั ก ษรอั ค รมหาเสนาบดี ก รุ ง รั ต นโกสิ น ทร ที่มีไปถึงพระเจานันทเสนแหงเวียงจันทนใหชำ�ระวินัย สงฆและราษฎรใหถูกตองตามพระวินัยในพระไตรปฎก เพื่อธำ�รงพระพุทธศาสนาใหบริสุทธิ์ ความวา “...แม น ถึ ง พระสงฆสมณอนาประชา ราษฎรกรุงฯ นั้นกดี ถาปรนิบัดิมิตองโดย พระ วิไนยบัญยัติปรการใดนั้น ... พินิจพิจารณาสอบ ใสดวยพระไตรปฎก ถาถูกตองแลวจคงไว ถา ปรนิบดั ผิ ดิ จะชำ�ระวากลาวใหบริสทุ ธิ ... อันหนึง่ ซึง่ มีสภุ อักษรขึน้ มาแตกอ นวา พระราชาคณะแล พระสงฆสามเณรเมืองลาวประพฤติการทุจริตผิด พระพุทธบัญยัดติ มิตองดวยกิจ พระวิไนย ทำ� การหยาบชาตางๆ ลามกในพระพุทธสาศนา ประการนี้เปนขอใหญ ตงงพระไทย จบำ�รุงยก พระบวรพุทธสาศนานี้ใหบริสุทธิ...” (สำ�เนาศุภอักษรเมืองเวียงจันทน, อางถึงใน สายชล สัตยานุรักษ 2546 : 230) ดานการมุง เนนใหคนในรัฐใชปญ  ญาพิจารณาใน การนับถือและปฏิบัติตามหลักการของพระพุทธศาสนา รัชกาลที่ 1 ทรงออกพระราชกำ�หนดฉบับที่ 36 ใหราษฎร ใชสติปญญา อยูในศีลในทาน โดยอางถึงตั้งแตแผนดิน กอนหนาที่อาณาประชาราษฎรมีชีวิตอยูดวยการบาป กลัวภัยทำ�สิ่งใดก็ทำ�โดยขาดปญญาคือความรูความ เขาใจ พระองคจึงโปรดใหธรรมเปนทาน ดังนี้ “...เพื่อจะใหจิตรนั้นเกลียดไกลบาป คุนเคย เขาในการกุศล จึ่งทรงพระอุษาหะสึกษาเรงรัต

28

บำ�เพญพระราชกุศลตางๆ เปนประธานชักนำ� อนาประชาราษฎรทั ง ปวง แล ว ให มี พ ระราช กำ�หนดกฎหมาย เรงใหบำ�เพ็ญทาน รักษาศีล สะดับฟงพระธรรมเทศนา ใหตั้งอยูในทศกุศล กำ�มบทสิบปรการ แลวยังทรงพระกรรุณาอะนุ เคราะหเหนวายังมิคนุ เคยเขาในการกุศล เพราะ วาอนาประชาราษฎรสัตวครั้งนี้ มีแตโลภะมีแต โมหะเปนเคามูล จะกะทำ�กุศลสิง่ ใดใดก็ปราษจาก ปญา ศักแตวาทำ�ไปตามปรเวณี ...ลักษณะเนื้อ ความองคแหงศีลอันจะไดเขาใจรักษาตามนั้น รอยคนพันคนจะรูน นั้ นอย ถึงทีร่ เู ทาดัง่ นัน้ เพราะ มีวญ ิ าณปญาดีกด็ ี ปญามิไดมมี คั ะญาณ ปญาอัน จะดัดจิตร อะกุศลธรรม ถือศีลเปนอันมัน่ นัน้ นอย นัก...” (ราชบัณฑิตยสถาน 2550 : 750) รัชกาลที่ 1 ทรงมุงเนนใหประชาชนเห็นความ สำ�คัญของการทำ�ทาน ทรงปฏิบตั พิ ระองคเปนแบบอยาง โดยทรงบำ�เพ็ญพระราชกุศลมหาทานในงานฉลองวัด พระเชตุพน ดังปรากฏในจดหมายเหตุ ความทรงจำ� กรมหลวงนรินทรเทวี ความวา “ณ เดือน 6 ระกา ตรีนิศก ฉลองวัด พระเชตุพน ผลทานมาก ทิง้ ฉลากพระราชโอรส พระราชนัดดา นักสนมสินธพคชานาเวศ เปน ยอดยิ่งบารเมศ จำ�หนายทาน ฉลากละ 5 ชั่ง 4 ชั่ง 3 ชั่ง ตนกัลปพฤกษ 8 ตน ทรงโปรยหนา พลับพลา ดอกไมเงินทอง แตทรงสรางจนฉลอง จารึกไว ณ แผนศิลา อยูในพระศาสนา 500 สิ้น เสร็จ...” (จุลจอมเกลาเจาอยูหัว, พระบาทสมเด็จพระ 2552 : 45) นอกจากพระราชกำ�หนดใหมซึ่งเปนกฎหมาย ที่บัญญัติขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราชดังที่กลาวมาขางตนแลว วรรณกรรม สำ � คั ญ ทั้ ง ทางโลกและทางธรรมที่ แ ต ง ในรั ช สมั ย ต า ง ก็เนนอธิบายความสำ�คัญของเรือ่ งทานและปญญา ดังเชน


การแปลแตงรายยาวมหาเวสสันดรชาดกสำ�นวนเจาพระยาพระคลัง (หน) ชนิดา สีหามาตย

ไตรภู มิ โ ลกวิ นิ จ ฉยกถาแสดงคุ ณ ค า ของป ญ ญาและ ศักยภาพของมนุษยในการพัฒนาปญญา วามนุษยเหนือ กวาสัตวเพราะมีปญญา ดังความวา “ขอซึ่งไดนามชื่อ วามนุษยนั้น ดวยอรรถวารูมากกวาสัตวจำ�พวกอื่น นัยหนึ่งวามีความคิดและปญญายิ่งกวาสัตวทั้งหลายอื่น จึงไดนามชื่อวามนุษย” (ธรรมปรีชา, พระยา 2535 : 647) และยกย อ งชาวชมพู ท วี ป ว า มี ศั ก ยภาพเหนื อ กว า มนุ ษ ย ใ นทวี ป อื่ น ตรงที่ มี ป  ญ ญาประการหนึ่ ง ซึ่ ง ไมปรากฏในเตภูมิกถา (สุภาพรรณ ณ บางชาง 2535 : 81) ดังนี้ “มนุษยชาวชมพูทวีปนี้ทวีปเดียว...ขมชาว อุตตรกุรทุ วีปแลเทวดาในดาวดึงสไดดว ยคุณ 3 ประการ คือมีสติมากประการ 1 คือองอาจกลาหาญ ประการ 1 คือประพฤติศาสนพรหมจรรยและมรรคพรหมจรรย 1” ขณะทีก่ ฎหมายตราสามดวงก็เนนย้�ำ และใหความสำ�คัญ กับวิธีการทางปญญา คือ เนนใหเกิดความรูและความ เขาใจความหมายสารธรรมที่ถูกตองชัดเจน เชน ใน พระราชกำ�หนดใหมขอที่ 36 ที่ไดกลาวมาแลวนั้น ว า ด ว ยการปฏิ บั ติ ว  า “ให รู  เ นื้ อ ความภาษาไทยใน พระบาฬีจงทุกๆ สิกขาบท...ใหเขาใจในภาษาไทย” (ราชบัณฑิตยสถาน 2550 : 750) เ นื่ อ ง จ า ก ค ว า ม เ ข  า ใ จ แ ล ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ ที่ คลาดเคลื่อนจากหลักการของพระพุทธศาสนาเปนเหตุ ใหสังคมในสมัยกอนหนาจนถึงตนกรุงรัตนโกสินทร เสื่อม ราชสำ�นักจึงมุงฟนฟูพระพุทธศาสนาและสังคม ดวยการเนนเรื่องความรูตามคัมภีรพระพุทธศาสนา การปฏิบตั ติ นอยูใ นศีล ทาน และปญญา เพือ่ ความมัน่ คง ของพระพุทธศาสนาและสังคมไทยในกรุงรัตนโกสินทร การแปลแตงรายยาวมหาเวสสันดรชาดกเพือ่ เสนอ สารที่สอดคลองกับบริบททางสังคม เรื่องเวสสันดรชาดกมีสาระสำ�คัญคือแสดงการ บำ�เพ็ญทานบารมีอันยอดยิ่งของพระเวสสันดรโพธิสัตว อีกทั้งยังแสดงคุณธรรมจริยธรรมของบุคคลตางๆ แต นอกเหนื อ จากการแปลเพื่ อ นำ � เสนอเรื่ อ งดั ง กล า ว เจาพระยาพระคลัง (หน) ยังขยายความ ตัดทอน และ ดัดแปลงรายละเอียดบางประการจากอรรถกถาเวสสันดร ชาดกเพื่อเสนอสารใหสอดคลองกับบริบททางสังคม ไดแก การทำ�ทานที่ถูกตองตามหลักการ แสดงคุณคา

และความสำ�คัญของการทำ�ทาน การยินดีเมื่อเห็นผูอื่น ใหทาน และการมีปญ  ญาเปนคุณสมบัตสิ �ำ คัญ ดังตอไปนี้ 1. การทำ�ทาน ในสมัยรัชกาลที่ 1 มีการมุง เนนใหราษฎรทำ�ทาน ขณะเดียวกันในแงของการปฏิบตั กิ เ็ นนใหปฏิบตั ถิ กู ตอง ตามหลักคัมภีร เชน พระไตรปฎก เปนตน แนวคิดดังกลาว ปรากฏในการแปลร า ยยาวมหาเวสสั น ดรชาดกของ เจาพระยาพระคลัง (หน) เชนกัน 1.1 การทำ�ทานที่ถูกตองตามหลักการ เจ า พระยาพระคลั ง (หน) ขยายความและตั ด ทอน รายละเอียดเพื่อแสดงการทำ�ทานของพระเวสสันดร ใหสอดคลองกับหลักการในพระคัมภีร ทั้งการบริจาค สัตตสดกมหาทานและบุตรทาน ดังนี้ ในทานกั ณ ฑ ตอนพระเวสสั น ดรบริ จ าค สัตตสดกมหาทาน เจาพระยาพระคลัง (หน) เลือกแสดง ข อ มู ล ที่ ไ ม ขั ด แย ง กั บ หลั ก การให ท านในพระคั ม ภี ร  ดวยการตัดทอนขอความจากอรรถกถาเวสสันตรชาดก โดยไมแสดงรายละเอียดของสัตตสดกมหาทานที่พระ เวสสันดรทรงบริจาค 7 สิง่ ใหครบทัง้ หมด ไดแก ชาง มา รถ สตรี แมโคนม ทาสชายและทาสหญิง สิ่งละเจ็ดรอย เจาพระยาพระคลัง (หน) กลาวโดยรวมวา พระเวสสันดร ทรงบริจาคสัตตสดกมหาทานโดยยกตัวอยาง ชาง มา ราชรถ ทาสชายและทาสหญิงเทานัน้ โดยไมกลาวถึงสตรี กับแมโคนม ดังนี้ อรรถกถาเวสสันตรชาดก พระเวสสันดรมหาสัตวนั้นพระราชทานชาง 700 เชือก ลวนประดับดวยคชาลังการ มีเครื่อง รัดกลางลำ�ตัวแลวไปดวยทอง คลุมดวยเครื่อง ประดับทอง มีนายหัตถาจารยขปี่ ระจำ� ถือโตมร และขอมา 700 ตัว สรรพไปดวยอัศวาภรณเปน ชาติมา อาชาไนยสินธพ เปนพาหนะวองไว มีนาย อัศวาจารยขี่ประจำ� หมเกราะถือธนู รถ 700 คัน อันมัน่ คงมีธงปกแลว หุม หนังเสือเหลืองเสือโครง ประดับสรรพาลังการ มีคนขับประจำ�ถือธนูหม เกราะ สตรี 700 คน คนหนึ่งๆ อยูในรถ สวม สรอยทองคำ�ประดับกายแลวไปดวยทองคำ� มี อลั ง การสี เ หลื อ ง นุ  ง ห ม ผ า สี เ หลื อ ง ประดับ

29


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

อาภรณสเี หลือง มีดวงตาใหญ ยิม้ แยมกอนจึงพูด มีตะโพกงามบัน้ เอวบาง โคนม 700 ตัว ลวนแตง เครื่องเงินทาสี 700 คน ทาส 700 คน (พระสูตรและอรรถกถาแปล 2530 : 639-643) รายยาวมหาเวสสันดรชาดก ครั้นเสรจเสดจยังโรงมหาธารแลวพระ ผูมีบาลทรงบริจากสัตดํกมหาธารกาลครั้งนั้น เปนตนวาชา(ง)มาราชรถคชมามิง ทาษกรรมกร ชายหญิ ง สิ่ ง เจดร อ ยๆ พระราชธารให แ ก กระยาจํกทั้งหลาย (มหาชาติกลอนเทศน ทานกัณฑ, สมุดไทย) เจาพระยาพระคลัง (หน) อาจเห็นวาการบริจาค สตรีและแมโคเปนเรื่องที่มีขอขัดแยงกับหลักธรรมใน พระไตรปฎก คือพระวินัยปฎก ปญจกวาร กลาวถึงการ ใหที่ไมจัดเปนบุญแตชาวโลกสมมติวาเปนบุญ 5 อยาง คือ ใหน้ำ�เมา ใหมหรสพ ใหสตรี ใหโคผู และใหรูปภาพ (พระไตรป ฎ กภาษาไทยฉบั บ มหาจุ ฬ าลงกรณราช วิทยาลัย เลม 8 2539 : 466) และในมิลินทปญหากลาว ถึงทานที่เปนบาป 10 อยาง ไดแก ใหน้ำ�เมา ใหหญิง เปนภรรยาแกชายดวยหมายเมถุนธรรม ใหแมโคแก พอโค ใหรูปภาพเขียนที่งามวิจิตร ใหศาสตราอาวุธ ให ยาพิษ ใหโซตรวนที่จะพึงใสจองจำ� ใหแมไกแกพอไก ให แ ม สุ ก รแก พ  อ สุ ก ร และให ค ะแนนเครื่ อ งนั บ และ ตราชูเครื่องชั่งทะนานเครื่องตวงอันจะใชโกงได (เฉลิม สุขเกษม 2509 : 87) เจาพระยาพระคลัง (หน) ยังตัดทอนขอความที่ กลาวถึงเหลาพระราชาในชมพูทวีปทราบขาวจากเทวดา วาพระเวสสันดรพระราชทานนางกษัตริยจึงพากันเสด็จ มารับเอานางกษัตริยเ หลานัน้ อาจเปนเพราะการบริจาค นางกษัตริยถือเปนการบริจาคสตรีเพื่อเปนภรรยาแก ผูชายอันเปนการบริจาคที่มีขอสงสัยวาเปนทานที่เปน บาป เชนในมิลินทปญหาที่กลาวมาขางตน นอกจากนีเ้ จาพระยาพระคลัง (หน) ยังตัดทอนขอ ความที่กลาวถึงคนในวรรณะกษัตริย พราหมณ แพศย ศูทร มารับพระราชทานมหาทานที่พระเวสสันดรทรง บริจาค อาจเปนเพราะวัฒนธรรมการนับถือเรื่องวรรณะ

30

อยางเปนระบบชัดเจนเปนเรือ่ งทีผ่ รู บั สารชาวไทยเขาใจ ไดยาก เจาพระยาพระคลัง (หน) จึงตัดความดังกลาว ออก และเพือ่ เนนแสดงการบริจาคทานของพระเวสสันดร วาพระองคพระราชทานสัตตสดกมหาทานดวยเจตนาที่ ดี เจาพระยาพระคลัง (หน) จึงไมกลาวถึงการบริจาค สิ่งที่ขัดกับหลักธรรม และเลือกกลาวถึงผูมารับทานนี้ วา “กระยาจกทั้งหลาย” คือคนขอทาน เพื่อแสดงความ มุงหมายในการบริจาคทานของพระเวสสันดร วาทรง พระราชทานสิ่งของแกผูขาดแคลน โดยไมเนนวาผูรับ นั้นอยูในฐานะและวรรณะใด เพื่อแสดงหลักการทำ�ทาน ของพระเวสสันดรในแงของการบริจาคทานที่เหมาะสม คือการใหสิ่งที่ดีและใหแกผูรับที่เหมาะสมคือผูตองการ ความชวยเหลืออยางแทจริง ในการบริจาคบุตรทาน อรรถกถาจริยาปฎกใน ปรมัตถทีปนีแสดงหลักการวา “การที่พระโพธิสัตว จะ บำ�เพ็ญบารมีโดยการใหบุตรหรือภรรยาจะตองใหเขา รูต วั เสียกอน และจะตองใหบคุ คลเหลานัน้ มีความโสมนัส ในการทำ�ทานนั้น” (เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี, สมเด็จพระ 2532 : 109) เจาพระยาพระคลังขยาย ความเพื่อแสดงเหตุผลที่พระเวสสันดรทรงตองการให ชู ช กรอพระนางมั ท รี ก ลั บ มาจากหาผลไม ใ นป า ว า พระเวสสันดรตองการใหชูชกรอพระนางมัทรีเพราะ พระนางผู  ใ ห กำ � เนิ ด และเลี้ ย งดู ส องกุ ม ารจะได ร  ว ม อนุโมทนาบุตรทานของพระองค ความวา “เสียแรงนาง ไดอุมทองทนเทวษ ถนอมเลี้ยงบังเกิดเกศสองกุมารา อนึง่ นางจะไดอนุโมทนาสามิภกั ดิบ์ �ำ เพ็ญเพิม่ พระบารมี” (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 319) และเปลี่ยน ความชี้แจงเหตุผลที่พระนางมัทรีจะไดประดับตกแตง สองกุมาร จากอรรถกถาเวสสันตรชาดกวา ชูชกจะไดพา สองกุมารที่พระมารดาแตงตัวใหเดินทางไปในทางที่ เต็มไปดวยดอกไมนานาพรรณ เจาพระยาพระคลัง (หน) เปลี่ยนความวาเปนการตกแตงทานที่จะบริจาคใหดีงาม เพื่อมอบแกผูรับ ความวา “จะไดมอบใหเปนทานถึงมือ ทชี เราเห็นวาจะดีสะดวกงาม” (พระคลัง (หน), เจา พระยา 2515 : 320) ซึง่ แสดงถึงความยินดีของพระนาง มัทรี เพื่อใหสอดคลองกับการเพิ่มความในตอนตนวา เพื่อพระนางมัทรีจะไดรวมอนุโมทนาบุตรทาน การ ขยายความและเปลี่ ย นความในตอนนี้ แ สดงให เ ห็ น


การแปลแตงรายยาวมหาเวสสันดรชาดกสำ�นวนเจาพระยาพระคลัง (หน) ชนิดา สีหามาตย

น้ำ�พระทัยของพระเวสสันดรที่ทรงมีเมตตาตอพระนาง มัทรีโดยตองการใหพระนางผูเปนมารดาของพระกุมาร ทั้ ง สองได รวมยินดีในการบริจาคบุตรทานด ว ย เจ า พระยาพระคลัง (หน) แสดงหลักการการบำ�เพ็ญบุตรทาน วาควรไดรับการอนุโมทนาและความยินดีจากผูเปน เจาของดวยจึงจะถูกตองเหมาะสม 1.2 ความสำ�คัญและคุณคาของการทำ� ทาน (1) ความสำ�คัญของการทำ�ทาน เจาพระยาพระคลัง (หน) ขยายความแสดง เหตุผลวาการบริจาคบุตรทานเปนสิง่ ทีท่ �ำ ไดยาก แตหาก บุคคลนั้นมีความมุงมั่นในการบริจาคบุตรทานก็ยอม ทำ�ไดสำ�เร็จ และใชวิธีเสนอเชิงปริมาณโดยการกลาว ซ้ำ�ในเหตุการณตางๆ ในกัณฑกุมาร เพื่อเนนย้ำ�เหตุ ผลใหตระหนักทราบวาบุตรทานเปนสิ่งที่คนทั่วไปทำ� ไดยาก แตพระเวสสันดรทรงยอมสละไดเหนือกวาคน ทั่วไปเพราะพระองคมีความมุงหมายจะชวยใหผูอื่นได พนทุกข ดังนี้ ตอนที่ ชู ช กทู ล ขอพระราชทานพระชาลี กั บ พระกัณหาจากพระเวสสันดร เจาพระยาพระคลัง (หน) ขยายความแสดงเหตุ ผ ลของชู ช กว า เนื่ อ งจากพระ เวสสันดรทรงมุงหมายพระสัพพัญุตญาณ พระองคจึง สามารถสละสมบั ติ เ ป น ทานได ทุ ก สิ่ ง แม ก ระทั่ง ปญจมหาบริจาคอันเปนสิ่งที่คนทั่วไปสละไดยาก คือ ทรัพยสมบัติ อวัยวะ ชีวิต บุตรและภรรยา ชูชกจึงขอให พระเวสสันดรพระราชทานพระโอรสธิดาแกตน ดังความ วา “อั น ยาจกมาถึ ง แล ว ไม เ ลื อ กหน า ตาม แตจะปรารถนาทุกยวดยาน กาญจนะ อลงกต รถรัตน อัศวสรรพสารพัดพิพิธโภไค จนกระทั่ง ถึงภายในปญจมหาบริจาค อันเปนยอดยากยิ่ง ทานไมทอ ถอย ดวยพระองคหมายมัน่ พระสรอย สรรเพชญดาญาณ ... ขอพระองคจงทรงยกยอด ปยบุตรทานบารมี ใหแกขาทชีนี้เถิด” (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 319)

เจาพระยาพระคลัง (หน) ขยายความแสดง เหตุผลที่พระเวสสันดรยกมากลาวโนมนาวใจใหพระ กุ ม ารยิ น ยอมพร อ มใจในการบำ � เพ็ ญ บุ ต รทานบารมี ของพระองควา พระองคมุงหมายพระโพธิญาณเพื่อ ชวยเหลือสรรพสัตวใหพนทุกขจากสังสารวัฏซึ่งเปน สิ่งที่คนธรรมดาทำ�ไดยาก ความวา “เจาไมรูหรือคือ พระบิตุรงคบรรจงรักพระโพธิญาณ หวังจะยังสัตวให ขามหวงมหรรณพภพสงสารใหถงึ ฝง ฟาก เปนเยีย่ งอยาง ยอดยากทีจ่ ะขามได” (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 329) เมื่อพระเวสสันดรบริจาคบุตรทานแกชูชก เจา พระยาพระคลัง (หน) ขยายความแสดงเหตุผลที่เทวดา สรรเสริญบุตรทานวา การบริจาคบุตรทานเปนการกระทำ� ทีย่ งิ่ ใหญเพราะคนทัว่ ไปทำ�ไดยาก ผูท สี่ ามารถทำ�สำ�เร็จ ตองเปนผูมีความมุงมั่นสรางสมบารมีมายาวนาน เชน พระพุทธเจาหรือพระโพธิสตั วผมู งุ หมายสัพพัญุตญาณ เทวดาทั้ ง หลายจึ ง ขอให พ ระเวสสั น ดรผู  มุ  ง หมาย พระโพธิ ญ าณเพื่ อ ประโยชน แ ก ม วลมนุ ษ ย สำ � เร็ จ สัพพัญุตญาณตรัสรูเปนพระพุทธเจาในอนาคต ดัง ความวา “เทพยดานิกรนับโกฏิตางนอมศิโรตม อยูไสว ยอพระกรไหวอยูแออัด วาเจาประคุณ ของสัตวผยู ากเอย อันทานนีย้ ากทีบ่ คุ คลผูใ ดเลย จะทำ�ได เวนไวแตหนอพระชินสีหอันทรงสราง พระบารมีมามากแลว ขอใหพระทูลกระหมอม แกวจงสำ�เร็จแดพระวิสุทธิสรอยสรรเพชญพุทธ อัครอนาวรณญาณ ในอนาคตกาลโนนเถิด” (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 334) นอกจากนั้นเจาพระยาพระคลัง (หน) เปลี่ยน ความแสดงเหตุผลที่พระเวสสันดรตรัสปลอบโยนสอง กุมาร เมื่อพระชาลีกับพระกัณหาเสด็จขึ้นจากสระบัว มาหมอบกั น แสงอยู  แ ทบพระบาท ในอรรถกถา เวสสั น ดรชาดกพระเวสสั น ดรตรั ส บอกพระชาลี ว  า พระองคปรารถนาจะบำ�เพ็ญทานบารมี ขอจงทำ�ความ มุง หมายของพระองคใหสำ�เร็จ เจาพระยาพระคลัง (หน) เปลี่ยนความเปนพระเวสสันดรตรัสกับพระกัณหาวา

31


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

ถาพระองคมีทรัพยคือเงินทองจะไมใหลูกทั้งสองตอง ลำ�บากพรากไปไกล แตครั้งนี้พระองคไมมีทรัพยอื่น นอกจากบุตรทั้งสองซึ่งมีคามากกวาทรัพยอื่น ดังความ วา “พระบิดานีม่ หี รือหาไม เจาก็ยอ มแจงอยูแ กใจแลวทัง้ สอง มาตรวาบิดานี้มีเงินทองเลาเถิดรา มิใหลูกกำ�พรา ตองระเหินระหกตกไปไกล โอครั้งนี้บิดานี่ยากไรสิ้น รายเสียที่สุด เห็นแตปยบุตรเจาทั้งสองยิ่งกวาเงินแล ทองไดรอยเทาพันทวี” (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 332) เจาพระยาพระคลัง (หน) แสดงความสำ�คัญของ การบำ�เพ็ญทานโดยการใหเหตุผลการบริจาคบุตรทาน วาเปนสิ่งที่ทำ�ไดยาก แตพระเวสสันดรเปนผูมีความ มุงมั่นในการบำ�เพ็ญทานแมแตในยามไมมีทรัพยสิน เงินทองใหบริจาค พระองคยังตองสละใหพระโอรสธิดา ผูเปนที่รักและมีคายิ่งกวาทรัพยอื่นใดเพื่อความสำ�เร็จ ในการบำ�เพ็ญทานบารมี เพื่อเปนแบบอยางของผูใฝใจ และเห็นความสำ�คัญของการทำ�ทาน หลักการดังกลาวปรากฏในคัมภีรจริยาปฎกซึ่ง แสดงทรรศนะเกี่ยวกับเรื่องการใหทานวา ความสำ�คัญ ของการใหมิไดวัดจากราคาของ แตจากความตั้งใจวา จะให หรือการใหสิ่งที่มีในขณะนั้น (เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ 2532 : 60) (2) คุณคาของการทำ�ทาน พระยาธรรมปรี ช า (แก ว ) ผู  แ ต ง ไตรภู มิ โลกวินิจฉยกถาขึ้นตามพระราชประสงคในรัชกาลที่ 1 แสดงอานิสงสของการทำ�ทานวาขึ้นอยูกับศรัทธา มากกวาจำ�นวนวัตถุทานเพื่อจูงใจใหคนเห็นคุณคาของ การใหทาน ดังนี้ “แตบรรดาทานที่ทานผูมีศรัทธาบำ�เพ็ญ นั้นถึงมาตรแมนวาวัตถุทานนั้นจะนอยจะเบา บางอยูก็ดี เมื่อมีศรัทธากลาหาญในกาลทั้งสาม คือกาลเมื่อจัดแจงจะใหทานนั้น ... มาตรแมวา ไทยทานนั้นจะนอยก็อาจใหความสุข 3 ประการ ... สำ�เร็จดังมโนรถความปรารถนา ... ดวยอำ�นาจ ทานบารมีเปนอุปนิสัยเหตุนั้น มีมากกวาจะนับ จะประมาณบมิได” (กรมศิลปากร 2535 : 759)

32

แนวคิ ด ดั ง กล า วปรากฏเด น ชั ด ในร า ยยาว มหาเวสสันดรชาดกสำ�นวนเจาพระยาพระคลัง (หน) กัณฑทานกัณฑ เพราะเจาพระยาพระคลัง (หน) ตัดทอน ขอความที่แสดงรายละเอียดของสัตตสดกมหาทานที่ พระเวสสั น ดรพระราชทาน แต เ ลื อ กขยายความ รายละเอี ย ดของเหตุ อั ศ จรรย แ สดงการรั บ รู  เ มื่ อ พระ เวสสันดรบริจาคสัตตสดกมหาทาน เจาพระยาพระคลัง (หน) ตัดทอนขอความที่ เปนรายละเอียด ลักษณะและคุณสมบัติของสิ่งที่พระ เวสสันดรพระราชทาน คือ ชาง มา ราชรถ ทาสชาย และหญิง โดยกลาวแตเพียงวาสิ่งละเจ็ดรอยเทานั้น แตไมพรรณนารายละเอียดแสดงลักษณะและคุณสมบัติ ของสิ่งเหลานั้น ไดแก ชางประดับตกแตงดวยเครื่อง ประดับทองคำ�คือตาขายและเครื่องรัดกลางลำ�ตัว มี ควาญผู  ฝ  ก หั ด ช า ง ถื อ อาวุ ธ คื อ โตมรและขอม า ที่ ประดับดวยเครือ่ งประดับสำ�หรับมา เปนมาจากลุม แมน�้ำ สินธุ ฝเทาเร็ว มีคนฝกหัดมา หมเกราะและถือธนู ราชรถที่แข็งแรงมั่นคง ประดับดวยธงและเครื่องปูลาด คือหนังเสือ มีคนขับถือธนูหมเกราะ และทาสชาย ทาส หญิงลวนเปนผูไดรับการฝกหัดอบรมมาดีแลว การตัด รายละเอียดลักษณะของมหาทานดังกลาวซึ่งเปนการ ตั ด รายละเอี ย ดของสิ่ ง ที่ พ ระเวสสั น ดรพระราชทาน เจาพระยาพระคลัง (หน) อาจเลือกตัดรายละเอียดทีเ่ ปน สิง่ เราอืน่ ทีอ่ าจทำ�ใหผรู บั สารสนใจรายละเอียดทีเ่ ปนสวน ประกอบมากกวาเหตุการณสำ�คัญคือการพระราชทาน สัตตสดกมหาทานของพระเวสสันดร เพื่อเนนแสดงการ บริจาคทานอันยิง่ ใหญของพระเวสสันดรใหปรากฏเดนชัด เมือ่ พระเวสสันดรพระราชทานสัตตสดกมหาทาน เจาพระยาพระคลัง (หน) ขยายความแสดงรายละเอียด ของเหตุอศั จรรยอยางละเอียด ไดแก ฟามืดมัว ฝนตก ฟา แลบ ฟารอง มหาสมุทรมีคลืน่ ซัดแรง สัตวตา งๆ ไมอยูใ น อาการสงบแตแสดงอาการยินดี คือ พญาครุฑบินเลนลม พญานาคเลือ้ ยไลกนั มังกรเลนน้� ำ เขาพระสุเมรุประหนึง่ วาจะเอนนอมแสดงสักการะ และเหลาเทวดาสรรเสริญ การบริจาค รายละเอียดดังกลาวคลายกับรายละเอียด ของเหตุอัศจรรยเมื่อครั้งพระเวสสันดรทรงบริจาคบุตร ทานในกัณฑกุมาร เพื่อใหรับรูถึงความยิ่งใหญและ ความสำ�คัญของการบริจาคสัตตสดกมหาทานซึ่งเปน


การแปลแตงรายยาวมหาเวสสันดรชาดกสำ�นวนเจาพระยาพระคลัง (หน) ชนิดา สีหามาตย

การใหทานภายนอกของพระเวสสันดรใกลเคียงกับการ บริจาคมหาทานครัง้ สำ�คัญของพระเวสสันดรโดยเฉพาะ บุตรทาน และโนมนาวใจใหผูรับสารรับรูและเขาใจไดวา การบริจาคทานใดๆ ผูใหยอมไดรับอานิสงสอันยิ่งใหญ นอกจากการขยายความเพื่อแสดงรายละเอียด ของเหตุการณอัศจรรยเมื่อพระเวสสันดรทรงบริจาค สัตตสดกมหาทานอยางยิ่งใหญแลว เจาพระยาพระคลัง (หน) ยังขยายความแสดงขอมูลวา การบริจาคสัตตสดก มหาทานของพระเวสสันดรเปนการทำ�ทานที่เปนมงคล อันยอดยิง่ ในคำ�สรรเสริญการบำ�เพ็ญสัตตสดกมหาทาน ของพระเวสสันดรโพธิสัตวจากเทวดาทั้งหลายวา “ทาง เทพยเจาก็ชวนกันจำ�นํงชมบรมมิ่งโมลีธาร แหงพระ พงษพีชติ มารนัน้ แล” (มหาชาติกลอนเทศน ทานกัณฑ, สมุดไทย) การเลื อ กขยายความแสดงรายละเอี ย ดเหตุ อัศจรรยสรรพสิ่งรับรูและชื่นชมการบริจาคสัตตสดก มหาทาน แตตดั ทอนรายละเอียดของสัตตสดกมหาทาน ดังกลาวแสดงเจตนารมณของเจาพระยาพระคลัง (หน) ที่ ทำ�ใหผรู บั สารรับรูว า การบริจาคทานเปนสิง่ สำ�คัญ เพราะ เมื่อทำ�แลวผูใหทานยอมจะไดรับผลตอบแทนที่ดีโดย ไมไดเนนนำ�เสนอวาสิ่งที่บริจาคตองเปนสิ่งสูงคาหรือ จำ�นวนมหาศาลเทานั้นจึงจะไดรับผลอันยิ่งใหญ ความ ยิ่งใหญของการบำ�เพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดร จึงอยูที่การตั้งพระทัยใหหรือการเสียสละอันยิ่งใหญ การแสดงรายละเอียดเหตุอัศจรรยในขางตนนอกจาก จะเปนการเนนย้ำ�ความยิง่ ใหญของการบำ�เพ็ญทานของ พระเวสสันดรแลว การแสดงความยิง่ ใหญของการบริจาค สั ต ตสดกมหาทานที่ เ ป น การทำ � ทานระดั บ บารมี ซึ่ ง เปนการทำ�ความดีระดับเบื้องตนที่คนธรรมดาสามารถ ทำ�ไดงา ยกวาการบำ�เพ็ญทานอีกสองระดับทีเ่ หนือขึน้ ไป สงผลตอการจูงใจใหผูรับสารใฝใจในการทำ�ทานเพราะ มองเห็นทางสำ�เร็จงายกวา สอดคลองกับอุดมการณทาง ศาสนาในสมัยรัชกาลที่ 1 ทีม่ งุ เนนใหราษฎรทำ�ทานตาม กำ�ลังและศรัทธา 1.3 การยินดีเมื่อเห็นผูอื่นใหทาน คัมภีรพุทธศาสนาที่แตงขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 มีการเนนย้ำ�ความคิดวาการขัดขวางการทำ�ทานเปน ภัยรายแรง เพื่อใหคนสนับสนุนการทำ�ทาน ไตรภูมิ

โลกวินิจฉยกถาแสดงโทษของภรรยาที่กลาวคำ�ติเตียน ตัดพอเมื่อสามีทำ�ทานวาตายแลวจะตองเปนเปสการ เปรตคือเปรตหญิงเปลือยขาดอาหารและเครื่องนุงหม แมไดรบั สิง่ เหลานัน้ ก็จะกลายเปนของเสียและแผนเหล็ก ทองแดงไหม (ธรรมปรีชา, พระยา 2535 : 606) และ สมเด็จพระวันรัตผูแตงสังคีติยวงศอธิบายวาขณะที่ผูทำ� ทานหลั่งน้ำ�หากมีคนทำ�อันตรายแกทาน “ บุคคลนั้นจะ มิไดพบปะอาหารมาตรวายังอัตภาพใหเปนไปทุกๆ ชาติ ทุกๆ ภพ คลายกะชัมพุกะแล” (กรมศิลปากร 2536 : 284) ในร า ยยาวมหาเวสสั น ดรชาดก เจ า พระยา พระคลัง (หน) แสดงความรูและความคิดที่วาการเปน “พาหิรกภัยแกโพธิญาณ” นัน้ เปนเรือ่ งทีน่ า ตำ�หนิ พาหิรกะ แปลวา ภายนอก (พระพรหมคุณาภรณ 2551 : 267) พาหิรกภัยในที่น้ีจึงนาจะหมายถึง อันตรายภายนอก หรือเหตุขดั ขวาง เจาพระยาพระคลัง (หน) ขยายความ แสดงเหตุผลที่พระเวสสันดรไมทรงทำ�นายความฝนซึ่ง เปนลางบอกเหตุแกพระนางมัทรีตามจริง วาเปนเพราะ พระองคไมตองการใหพระนางมัทรีเปนอันตรายตอการ บำ�เพ็ญบุตรทานของพระองค เพราะทรงทราบดีวา หาก พระนางมัทรีทราบวาจะมีคนมาขอพระโอรสธิดา พระนาง จะตอง “เสวยพระทุกขเพียงพินาศ” จนไมอาจจะละสอง กุมารไปได หากแมพระนางมัทรีไมทรงขัดขวางการ บริจาค ก็อาจทำ�ใหพระองคตัดพระทัยพระราชทาน พระโอรสธิดาไดยาก พระนางมัทรีจะกลายเปนอุปสรรค ตอมหาบริจาคของพระองค ดังความวา “...สงสารดวยนางแกวเกศกษัตรียมัทรี เอย จะเสวยพระทุกขเพียงพินาศ ดวยสองดรุณ ราชปโยรสรวมฤทัย ครัน้ อาตมะจะอาลัยหลงอยู ดวยความรัก ไหนจะหักเสนหาใหเหือดหาย ดวย อาตมะจะมุ  ง หมายพระโพธิ ญ าณทานธุ ร ะจะ เริศราง แมนอาตมะจะทำ�นายทางบุพนิมิต แตตามจริง ไหนนางจะทอดทิ้งพระลูกเลาดวย อาลัย ก็จะเปนพาหิรกภัยแกโพธิญาณ จำ�จะ ทำ�นายดวยโวหารใหเหตุหาย...” (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 308-309)

33


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

นอกจากการแสดงการตำ�หนิผูขัดขวางทานแลว เจาพระยาพระคลัง (หน) ยังขยายความเพื่อแสดงความ ชืน่ ชมผูท รี่ ว มอนุโมทนาทาน โดยแสดงรายละเอียดกิรยิ า อาการที่พระนางมัทรีชื่นชมอนุโมทนาบุตรทานดวย พระเวสสันดร จากอรรถกถาเวสสันตรชาดกความวา “ทรงอนุโมทนาปยบุตรทานอันอุดมแหงพระเวสสันดร” เพียงเทานัน้ เจาพระยาพระคลัง (หน) ขยายความแสดง รายละเอียดแสดงกิริยานบไหวเคารพบูชาและอาการ ยินดีชนื่ ชมโสมนัส เพือ่ แสดงใหเห็นความยินดีและความ ศรั ท ธาที่ พ ระนางมั ท รี มี ต  อ การบำ� เพ็ ญ บุ ต รทานของ พระเวสสันดรใหชัดเจนขึ้น ดังนี้ อรรถกถาเวสสันตรชาดก เทพนิกายทั้งสองคือนารทะและปพพตะ เหล า นั้ น ย อ มอนุ โ มทนาแก พ ระเวสสั น ดรนั้ น พระอินทร พระพรหม พระปชาบดี พระโสม พระยม และพระเวสวัณมหาราช ทั้งเทพเจา ชาวดาวดึงสทั้งหมดพรอมดวยพระอินทร ตาง อนุ โ มทนาทานของพระองค พระนางมั ท รี ราชบุตรีผทู รงโฉม ผูม ยี ศ ทรงอนุโมทนาปยบุตร ทานอันอุดมแหงพระเวสสันดร ดวยประการฉะนี ้ (พระสูตรและอรรถกถาแปล 2530 : 760) รายยาวมหาเวสสันดรชาดก ส ว นสมเด็ จ พระมั ท รี ศ รี สุ น ทรบวร ราชธิ ดา มหาสมมุติวงศวิสุทธิสืบสันดานมา ทรงพระพั ก ตราผิ ว ผ อ งเนื้ อ ทองไม เ ที ย มสี มี พ ระเกี ย รติ ย ศอั น โอฬารล้ำ � เลิ ศ วิ ไ ลลั ก ษณ ยอดกษัตริย อันทรงพระศรัทธาโสมนัส นบนิ้ว ประนมหัตถนอมพระเศียรเคารพทาน พระนาง เธอก็ ชื่ น บานบริ สุ ท ธิ์ ด  ว ยป ย บุ ต รมกุ ฏ ทาน อั น พิ เ ศษ ฝ า ยฝู ง อมรเทเวศร ทุ ก วิ ม านมาศ ก็ ป ราโมทย ต า งองค ก็ แ ย ม พระโอษฐ ต บ พระหัตถอยูฉาดฉาน ซองสาธุการสรรเสริญ เจริญทานบารมี ทั้งสมเด็จอมรินทรปนโกสีย เจาฟาสุราลัย อันเปนใหญในดาวดึงส สวรรค ก็โปรยปรายทิพยบุปผาลาวัณยวิไลกรอง ทั้ง พวงแกวแลพวงทองก็โรยรวงลงจากกลีบเมฆ กระทำ � สั ก การบู ช า แก ส มเด็ จ นางพระยา

34

มั ท รี เ จ า ด ว ยท า วเธอทรงกระทำ� อนุ โ มทนา ทาน แห ง พระราชสมภารเพสสั น ดรราชฤษี ผูเปนพระภัสดา โดยนิยมมาดังนี้แล. (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 380) นอกจากนั้ น จะเห็ น ได ว  า เจ า พระยาพระคลั ง (หน) เลือกขยายความรายละเอียดแสดงอาการยิ้มแยม ปรบมือ และโปรยดอกไมของเทวดาทั้งหลายเพื่อแสดง การชื่ น ชมอนุ โ มทนาบุ ต รทานของพระนางมั ท รี แ ละ พระเวสสันดรใหชัดเจนเปนรูปธรรมขึ้น ขณะที่เลือก ตัดทอนขอความจากอรรถกถาเวสสันตรชาดกที่เปน รายละเอียดเกี่ยวกับเทวดาที่รวมอนุโมทนาบุตรทาน ไดแก พระพรหม พระปชาบดี พระโสม พระยม และ พระเวสวัณมหาราช โดยกลาวถึงเฉพาะพระอินทรและ เทวดาในสวรรคชั้นดาวดึงส เนื่องจากเทวดาดังกลาว ปรากฏอยูทั้งในศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณแตมี รายละเอียดแตกตางกันบางประการ เจาพระยาพระคลัง (หน) อาจเลือกตัดรายละเอียดดังกลาวออกเพื่อขจัด ความสับสนสงสัยซึ่งอาจเปนอุปสรรคตอความรูและ ความเขาใจของผูอานผูฟง เจาพระยาพระคลัง (หน) ใชวิธีการแปลและวิธี การสื่อสารเพื่อโนมนาวใจที่หลากหลายในการนำ�เสนอ สารเกี่ยวกับเรื่องการทำ�ทาน คือ การแปลโดยตัดทอน ขยายความ และเปลี่ ย นความ และการสื่ อ สารเพื่ อ การโนมนาวใจโดยเสนอเชิงปริมาณโดยการกลาวซ้ำ� และการอธิบายโดยแสดงเหตุผล แสดงรายละเอียด และ แสดงขอมูล เพื่อเนนย้ำ�ใหคนตระหนักเห็นคุณคาของ การทำ�ทานและจูงใจใหใฝใจในการทำ�ทาน สอดคลอง กับบริบททางสังคมทีม่ กี ารเนนย้�ำ ในรัชสมัยของพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช 2.2 การมีปญญา หลักการพุทธศาสนาที่ไดรับการเนนในรัชกาลที่ 1 ประการหนึง่ คือหลักพุทธธรรมทีว่ า มนุษยมคี วามทุกข แตถา มีคณ ุ สมบัตคิ อื มีปญ  ญาก็จะสามารถบรรลุนพิ พาน ได (สายชล สัตยานุรักษ 2546 : 196) ในร า ยยาวมหาเวสสั น ดรชาดกเจ า พระยา พระคลัง (หน) ขยายความและเสนอเชิงปริมาณโดย การกล า วซ้ำ � เพื่ อ เน น ย้ำ � ว า พระเวสสั น ดรโพธิ สั ต ว


การแปลแตงรายยาวมหาเวสสันดรชาดกสำ�นวนเจาพระยาพระคลัง (หน) ชนิดา สีหามาตย

ผู  ช  ว ยเหลื อ ผู  อื่ น ให พ  น ทุ ก ข มี คุ ณ สมบั ติ สำ � คั ญ คื อ ปญญา เจาพระยาพระคลัง (หน) ขยายความและใชวิธี การเสนอเชิงปริมาณโดยการใชคำ�วา “ปญญา” และ “ปรีชา” ประกอบการกระทำ�เมือ่ พระเวสสันดรตองคิดหรือ กระทำ�การสำ�คัญในกัณฑกุมารหลายครั้งอยางชัดเจน เจาพระยาพระคลัง (หน) ใชทั้งสองคำ�สื่อความหมาย เหมือนกันคือความสามารถในการคิดหรือการหยั่งรู โดยแสดงขอมูลซ้ำ�ๆ แตสื่อความหมายการใชปญญา ของพระเวสสันดรดวยการเติมกริยาที่สอดคลองกับการ ใชปญ  ญาในแตละเหตุการณของพระเวสสันดร เชน คำ�วา “อนุมาน” คือการคาดคะเนตามหลักเหตุและผลที่จะเกิด จากการทำ�นายความฝน ใชคำ�วา “พระปญญาบังเกิดมี” เมื่อแสดงการระลึกได และใชคำ�วา “วินิจฉัย” คือ การ ไตรตรองใครครวญในการระงับความโศก ทำ�ใหเขาใจ ถึงการใชปญญาเปนเครื่องมือแกไขปญหาที่เหมาะสม กับสถานการณของพระเวสสันดร ทำ�ใหผูรับสารรับรู ความสำ�คัญของปญญาบารมีและเขาใจไดทันทีวาพระ เวสสันดรเปนผูเ ปย มดวยพระปญญา ทรงใชพระปญญา พิจารณาสิ่งที่กระทำ�ดีแลวและทรงใชพระปญญาในการ แกไขปญหาที่ประสบ ดังตอไปนี้ พระเวสสั น ดรทรงทราบเรื่ อ งต า งๆ ได ด  ว ย พระป ญ ญา ปรากฏในตอนพระเวสสันดรทรงทราบ ความฝนของพระนางมัทรี เมื่อพระนางมัทรีเลาความ ฝนแกพระเวสสันดร พระเวสสันดรทรงทราบดวยญาณ วาวันรุงขึ้นจะมีพราหมณมาขอพระโอรสและพระธิดา เจาพระยาพระคลัง (หน) แสดงขอมูลอยางชัดเจนวา พระเวสสันดรทรงทราบดวยพระปญญาบารมี โดยทรง คาดคะเนตามเหตุและผลวา “ทรงทราบดวยพระอนุมาน ปญญาบารเมศ” (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 308) และตอนพระเวสสันดรทราบวาพระกัณหาซอน พระองคในสระบัว พระเวสสันดรถามพระชาลีถึงพระ กัณหา พระชาลีกราบทูลโดยนัยวาสัตวทั้งหลายยอม รั ก ษาตั ว รอด พระเวสสั น ดรก็ ท รงทราบได ว  า พระ โอรสและพระธิดาคงไดตกลงกันไววาจะไมบอกที่ซอน แกพระองค และทรงทราบวาพระกัณหาก็ซอนพระองค อยูในสระบัว เจาพระยาพระคลัง (หน) ขยายความวา พระเวสสันดรทรงทราบดวยพระปญญาสามารถวา “ทาว

เธอก็ทราบคดีดวยปรีชา” (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 332) และตอนที่พระเวสสันดรระงับโทสะจาก การทอดพระเนตรเห็นชูชกทำ�รายพระโอรสธิดาตอหนา พระพักตรก็เกิดโทสะโมหะ แตดวยพระปญญาจึงทรง ระลึกไดวาพระองคไดบริจาคบุตรทานอันเปนทานหนึ่ง ในปญจมหาบริจาคที่พระโพธิสัตวผูมุงหวังจะสำ�เร็จ พระโพธิญาณตามพุทธประเพณีตอ งบริจาค ดังความวา “พระปญญานัน้ กลัดกลุม ไปดวยโมโหใหลมุ หลง โทโสเขา ซ้�ำ สงใหบงั เกิดวิหงิ สาขึน้ ทันที ... เมือ่ พระปญญาบังเกิดมี จึงตรัสสอนพระองคเอง” (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 342) จะเห็นไดวาเจาพระยาพระคลัง (หน) เนน เรือ่ งความสำ�คัญของการมีปญ  ญา โดยการแสดงขอมูลวา “พระปญญานั้นกลัดกลุม” เพื่อใหรับรูวาพระเวสสันดร ทรงมีพระปญญาอยูแลวเพียงแตเมื่อเห็นชูชกทำ�ราย พระโอรสธิดาตอหนาพระพักตรโดยปราศจากความ ยำ�เกรง พระปญญาจึงถูกบดบังดวยอวิชชา แตเมื่อทรง หวนคิดไดเจาพระยาพระคลัง (หน) จึงขยายความแสดง ขอมูลดวยคำ�วา “พระปญญาบังเกิดมี” พระเวสสั น ดรทรงกระทำ � การต า งๆ โดยใช พระปญญาประกอบ ปรากฏในตอนที่พระเวสสันดร ปลอบโยนใหพระนางมัทรีคลายกังวลจากพระสุบินราย พระเวสสั น ดรทราบว า หากทำ � นายตามจริ ง ว า จะมี พราหมณ ม าขอพระโอรสและพระธิ ด าในวั น รุ  ง ขึ้ น พระนางมัทรีคงไมอาจละทิ้งสองกุมารไปได เพื่อให การบำ�เพ็ญบุตรทานของพระองคสำ�เร็จดวยดีจำ�เปน ตองไมใหพระนางมัทรีทรงทราบและเปนกังวล พระองค จึ ง อธิ บ ายสาเหตุ ที่ ทำ � ให พ ระนางมั ท รี ฝ  น ร า ยเพื่ อ ปลอบโยนใหพระนางคลายความกังวล เจาพระยาพระ คลัง (หน) ขยายความเพื่อใหขอมูลวาพระเวสสันดร ทรงเลือกอธิบายดวยพระปญญา ดังความวา “จึงมี สุนทราธิบายดวย พระปญญา” (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 309) ตอนพระเวสสันดรระงับความโศกเมื่อพระ กัณหากลาวทูลลาและตัดพอ พระเวสสันดรมีพระทัย เศราโศกมาก แตทรงใชพระปญญาพิจารณาไดวาความ โศกเศราเสียใจนีเ้ กิดเพราะความเสนหา เจาพระยาพระ คลัง (หน) จึงขยายความแสดงขอมูลวาพระเวสสันดร ทรงใชอุเบกขาคือการวางเฉยตออารมณความรูสึกเพื่อ ระงับความโศก ดังความวา “จึงเอาพระปญญาวินิจฉัย

35


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

เขามาขมโศก” (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 348) การเน น ย้ำ � เรื่ อ งป ญ ญาโดยวิ ธี ก ารแสดงราย ละเอียดอยางชัดเจนและการแสดงขอมูลซ้ำ�ๆ เพื่อการ เสนอเชิงปริมาณนี้ทำ�ใหเกิดการรับรูไดงายและรวดเร็ว และเขาใจปจจัยในการบำ�เพ็ญทานของพระเวสสันดร มากขึ้น กอใหเกิดความศรัทธาตอการใชปญญาเปน เครือ่ งมือชวยใหบรรลุเปาหมายคือการบำ�เพ็ญทานบารมี เพื่อเปนหนทางไปสูการบรรลุพระโพธิญาณของพระ เวสสันดร เจาพระยาพระคลัง (หน) ไมเพียงเนนย้ำ�การ แสดงพระปญญาของพระเวสสันดรเทานั้น แตยังขยาย ความใหเห็นวาปญญาเปนคุณสมบัตสิ �ำ คัญของพระชาลี อีกดวย ดังความวา “พระชาลีฟงรับสัง่ แลวทูลฉลองดวย พระปญญา” (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 318) และ “พระชาลีผปู รีชาก็ทรงนิง่ ไวแตในพระทัย” (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 319) การทีเ่ จาพระยาพระคลัง (หน) ซึง่ เปนขุนนางคน สำ�คัญของราชสำ�นักใหความสำ�คัญกับการมีปญญาและ ไดนำ�มาเนนในรายยาวมหาเวสสันดรชาดก ทำ�ใหเห็น แนวทางที่สอดคลองกับอุดมการณทางสังคมในสมัย รัชกาลที่ 1 ทีม่ กี ารเนนสือ่ ความสำ�คัญของการใชปญ  ญา ในการดำ�เนินชีวิต นอกจากการถายทอดและเนนย้ำ� แกคนในรัฐผานวรรณกรรม เชน ไตรภูมโิ ลกวินจิ ฉยกถา และพระราชกำ�หนดตางๆ แลว ในแงของการปฏิบัติ ชนชั้ น นำ � ก็ เ ห็ น ความสำ � คั ญ ของการใช ป  ญ ญาเป น เครื่องมือแสวงหาความรูและปฏิบัติตนเปนแบบอยาง เชน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคล และขุนนางชั้นสูงนิยม วิธีการปุจฉาสอบถามความรูทางพระพุทธศาสนาจาก พระสงฆ และพระยาพระคลังก็เคยปุจฉาถามพระเทพโมลี เกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาทธรรมและพระโพธิปกขิยธรรม 37 ประการซึ่งเปนธรรมที่ชวยใหบรรลุพระโพธิญาณ โดยตรง (สายชล สัตยานุรักษ 2546 : 118)

เจาพระยาพระคลัง (หน) เปนกวีและขาราช บริพารคนสำ�คัญในราชสำ�นักยอมตระหนักถึงพระราช ประสงคของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก มหาราชที่ทรงตองการใหราษฎรเห็นความสำ�คัญของ การมีปญญา เจาพระยาพระคลัง (หน) จึงเนนนำ�เสนอ การมีพระปญญาของพระเวสสันดรโพธิสตั วอยางเดนชัด และนำ�เสนอใหเห็นวาพระเวสสันดรทรงใชพระปญญา ประกอบการกระทำ�สำ�คัญอยูเสมอ เพื่อกอใหเกิดความ ศรัทธาเชื่อถือตอพระเวสสันดรโพธิสัตว และขณะเดียว กั น ก็ เ ป น การจู ง ใจโดยมี พ ระเวสสั น ดรโพธิ สั ต ว เ ป น แบบอยางของผูมีปญญาใหผูรับสารนำ�ไปปฏิบัติตาม นอกจากการนำ�เสนอสารเรื่องการทำ�ทานและ การมีปญ  ญาทีส่ อดคลองกับบริบทคือความคิด ความเชือ่ และความรูที่มีการเนนย้ำ�ในชวงเวลาดังกลาวแลว เจา พระยาพระคลัง (หน) ยังตัดทอนเรื่องที่ขัดกับคานิยม ในชวงเวลานั้นดวย ไดแก การตัดทอนรายละเอียดที่ กลาวถึงเกีย่ วกับพราหมณ ขอความแสดงคุณสมบัตขิ อง พราหมณในอรรถกถาเวสสันตรชาดกทีไ่ มปรากฏในราย ยาวมหาเวสสันดรชาดกสำ�นวนเจาพระยาพระคลัง (หน) มีดังตอไปนี้ ในทานกั ณ ฑ ตอนพระนางผุ ส ดี ต รั ส กั บ พระ เวสสันดรวาพระองคไมมีความผิด พระนางจึงกลาววา ชาวสีพีขับไลพระเวสสันดรผูไมมีความผิด เจาพระยา พระคลัง (หน) ไดตัดรายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติ ของพระเวสสันดรจากอรรถกถาเวสสันตรชาดก คือ ผู  รู  ไ ตรเพท 3 ผู  มี เ กี ย รติ มี ย ศ ผู  เ ลี้ ย งดู ม ารดาบิ ด า ผูป ระพฤติถอ มตนตอผูใ หญ และผูเ กือ้ กูลตอบุคคลตางๆ (พระสูตรและอรรถกถาแปล 2530 : 632) แตเนนเรื่อง การทำ�ทานเพียงอยางเดียว การตัดรายละเอียดคุณสมบัติ อื่นๆ เชน ความรูไตรเพทซึ่งเปนความรูในศาสนา พราหมณ และคุณสมบัตติ ามสถานะและบทบาทในสังคม เชน เปนบุตรผูเลี้ยงดูบิดามารดา หรือการเปนกษัตริย ผูมีเกียรติยศ โดยกลาวถึงการทำ�ทานอยางเดียวเพื่อ

__________________ 3 ไตรเพท คือ พระเวท 3 อยาง ซึ่งเปนคัมภีรศักดิ์สิทธิ์สูงสุดของศาสนาพราหมณ ไดแก 1. ฤคเวท 2. ยชุรเวท 3. สามเวท ตอมาเพิ่ม 4. อถรรพเวท (พระพรหมคุณาภรณ 2551 : 119)

36


การแปลแตงรายยาวมหาเวสสันดรชาดกสำ�นวนเจาพระยาพระคลัง (หน) ชนิดา สีหามาตย

เนนแสดงคุณสมบัติอันดีเลิศควรแกการชื่นชมของพระ เวสสันดรในเรือ่ งการทำ�ทานและใหความสำ�คัญมากกวา คุณสมบัติอื่น ในกัณฑกุมาร ตอนพระเวสสันดรตรัสทักทาย ชูชก วา “เราเพิ่งเห็นพราหมณผูมีเพศอันประเสริฐ” (พระสูตรและอรรถกถาแปล 2530 : 713) และตอนพระ กั ณ หาว า ชู ช กโหดร า ยผิ ด วิ สั ย พราหมณ กวี ตั ด รายละเอียดวา “ธรรมดาวาพราหมณทั้งหลายยอมเปน ผูประกอบดวยธรรม แตตาพราหมณนี้หาเปนดังนั้น ไม” (พระสูตรและอรรถกถาแปล 2530 : 734) และใน กัณฑมัทรี ตอนพระนางมัทรีตรัสวา “ชรอยวาหมอมฉัน ได บ ริ ภ าษสมณพราหมณผูมีพรหมจรรยเปนที่ไปใน เบื้องหนา ผูมีศีล ผูพหูสูต ... ผูสมบูรณดวยวัตรปฏิบัติ อาจารย ...ในโลกไวกระมังวันนี้จึงไมพบลูก” (พระสูตร และอรรถกถาแปล 2530 : 751) นอกจากเจาพระยาพระคลัง (หน) จะตัดทอน รายละเอี ย ดบางอย า งเกี่ ย วกั บ พราหมณ ที่ ขั ด กั บ ค า นิยมรวมสมัยโดยการละเวนไมกลาวถึงคุณสมบัติของ พราหมณ ไดแก ผูม ศี ลี ผูพ หูสตู ผูม เี พศอันประเสริฐ และ ผูประกอบดวยธรรมในขางตนแลว เจาพระยาพระคลัง (หน) ยังไมกลาวถึงวัตรปฏิบตั ขิ องพระเวสสันดรในฐานะ นักบวชตามลัทธิโยคี คือ การบูชาเพลิง เปนตน รวมถึง การเปลีย่ นความเพือ่ แสดงความหมายตางจากเดิมตอน พระชาลีตรัสถึงชูชกพราหมณวาเปนนักบวชนอกลัทธิ ดังความวา “...พราหมณผนู เี้ ปนดาบสพาเหียร...” (พระคลัง (หน), เจาพระยา 2515 : 318) การไมกลาวถึงเนื้อหาและรายละเอียดเกี่ยวกับ พราหมณดังกลาวสอดคลองกับพระราชนิยมในรัชกาล ที่ 1 ทีโ่ ปรดใหประชาชนนับถือพุทธศาสนาเปนหลักและ ลดความเชื่อถือในลัทธิพราหมณ ดังที่ทรงออกพระราช กำ�หนดฉบับที่ 35 หามราษฎรเคารพนับถือศิวลึงค วา





“... หามอยาใหมีเพศบุรุษลึงอันลามก อั ป ระมงคลไว ใ นสารเทพารั ก ษเปนอั น ขาดที เดียว แลใหผูรักษาเมืองผูรั้งกรมการกำ�นันพัน นายบาน ไปเกบเอามาเผาไฟเสียจงสิ้น อยาให มีอยูณะโรงสารบานเมืองนิคมเขดปรเทษใดๆ ... โทษถึงสิ้นชีวิตร ...” (ราชบัณฑิตยสถาน 2550 : 747) สรุป เจาพระยาพระคลัง (หน) ใชวธิ แี ปลโดยการขยาย ความ ตัดทอน และดัดแปลงรายละเอียดเพื่อเสนอสาร ใหสอดคลองกับบริบททางสังคม คือ การเนนความ สำ�คัญของการทำ�ทานและการมีปญญาซึ่งสอดคลองกับ อุดมการณของสังคม ไดแก การทำ�ทานที่ถูกตองตาม หลักการ การแสดงคุณคาและความสำ�คัญของการทำ� ทาน และการอนุโมทนาทาน ซึ่งนอกจากจะทำ�ใหผูฟง สามารถเขาใจเรื่องเวสสันดรชาดกไดโดยสะดวกและ ชัดเจนขึ้น ยังแสดงใหเห็นถึงเจตนาการเลือกถายทอด เนื้อหาและรายละเอียดบางประการ และแสดงความรู ความเชื่ อ ของกวี ที่ ส อดคล อ งกั บ บริ บ ททางสั ง คม นอกจากนัน้ ยังมีการตัดความทีอ่ าจกอใหเกิดความสงสัย เพราะขัดแยงกับคัมภีรศาสนาและคานิยมเพื่อใหผูรับ สารรับรูเ รือ่ งราวไดโดยสะดวกไมตดิ ขัด รวมถึงการใชวธิ ี การสื่อสารเพื่อโนมนาวใจเพื่อจูงใจใหเกิดการรับรูและ จดจำ� แสดงถึงบทบาทหนาที่ของเจาพระยาพระคลัง (หน) ที่เปนทั้งกวีเอกแหงราชสำ�นัก อีกทั้งยังเปนชน ชั้นนำ�ขาราชบริพารผูใกลชิดพระมหากษัตริย การแปล และสารที่ปรากฏในรายยาวมหาเวสสันดรชาดกสำ�นวน เจาพระยาพระคลัง (หน) ทีส่ อดคลองกับบริบททางสังคม และพระราโชบายของพระมหากษัตริยจ งึ สะทอนใหเห็น บทบาทของเจาพระยาพระคลัง (หน) ทัง้ ในฐานะกวีและ ขุนนางในราชสำ�นักทีจ่ ะตองปฏิบตั หิ นาทีส่ นองพระราช ประสงคเพือ่ ใหเกิดความผาสุกของสังคมและความมัน่ คง ของรัฐตามหลักการพระพุทธศาสนา 

37


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

บรรณานุกรม กรมศิลปากร. (2536). วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร เลม 3. กรุงเทพฯ: กองวรรณคดีและประวัติศาสตร. จุลจอมเกลาเจาอยูห วั , พระบาทสมเด็จพระ. (2552). พระราชวิจารณในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั เรือ่ งจดหมายเหตุความทรงจำ�ของพระเจาไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี (เจาครอกวัดโพ) ตัง้ แต จ.ศ. 1129 ถึง 1182 เปนเวลา 53 ป. พิมพครัง้ ที่ 5. กรุงเทพฯ: ศรีปญ  ญา. เฉลิม สุขเกษม. (2509). สารานุกรมมหาเวสสันดรชาดก. พระนครฯ: แพรพิทยา. เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สมเด็จพระ. (2532). ทศบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท. กรุงเทพฯ: มหาเถร สมาคม. ธรรมปรีชา (แกว), พระยา. (2535). ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. ประคอง นิมมานเหมินท. (2526). มหาชาติลานนา: การศึกษาในฐานะทีเ่ ปนวรรณคดีทอ งถิน่ . กรุงเทพฯ: มูลนิธิ โครงการตำ�ราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร. พระคลัง (หน), เจาพระยา. (2515). วรรณคดีเจาพระยาพระคลัง(หน). พิมพครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ: แพรพทิ ยา. ________. (ม.ป.ป.) “มหาชาติกลอนเทศน กัณฑทานกัณฑ.” หอสมุดแหงชาติ. สมุดไทยดำ�. อักษรไทย. ภาษา ไทย-บาลี. เสนขาว. เลขที่ 150 ม 20. พระไตรปฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เลม 8. (2539). กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโฺ ต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท. พิมพครัง้ ที่ 12. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระสูตรและอรรถกถาแปล ขุททกนิกาย ชาดก เลมที่ 4 ภาคที่ 3. (2530). กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัยใน พระบรมราชูปถัมภ. ราชบัณฑิตยสถาน. (2550). กฎหมายตราสามดวง ฉบับราชบัณฑิตยสถาน : จัดพิมพตามตนฉบับหลวง เลม 1. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. วินัย พงศศรีเพียร และ วีรวัลย งามสันติกุล. (2549). พระพุทธศาสนาและสถาบันสงฆกับสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). สมมตอมรพันธ, พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระ. (2545). ตัง้ เจาพระยาในกรุงรัตนโกสินทร. พิมพครัง้ ที่ 5. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. สมหมาย เปรมจิตต. (2544). มหาเวสสันดรชาดก: วิเคราะหทางสังคมและวัฒนธรรม. เชียงใหม: มิง่ เมือง. สายชล สัตยานุรกั ษ. (2546). พุทธศาสนากับแนวคิดทางการเมืองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลก (พ.ศ. 2325-2352). กรุงเทพฯ: มติชน. สุภาพรรณ ณ บางชาง. (2535). พุทธธรรมที่เปนรากฐานสังคมไทยกอนสมัยสุโขทัยถึงกอนเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผลงานวิจัย ฝายวิจัยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อรวรรณ ปลนั ธนโอวาท. (2552). การสือ่ สารเพือ่ การโนมนาวใจ. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย.

38


การรับแนวคิดพุทธศาสนาในงานประพันธของคารล แกรเลอรุพ โธมัส มันน และแฮรมันน เฮสเซอ 1 On the Reception of Buddhism in the Works of Karl Gjellerup, Hermann Hess and Thomas Mann พรสรรค วัฒนางกูร 2 Pornsan Watanaguhn บทคัดยอ นักเขียนเจาของรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม 3 ทานคือ คารล แกรเลอรุพ (Karl Gjellerup ค.ศ.1917) โธมัส มันน (ค.ศ.1929) และแฮรมันน เฮสเซอ (ค.ศ.1946) ลวนเปนนักเขียนชวงตนของยุคสมัยใหมตอนตนคริสตศตวรรษ ที่ 20 และเปนนักเขียนที่มีผลงานโดดเดนหลายชิน้ ทีส่ ะทอนแนวคิดจากอินเดีย รวมทัง้ แนวคิดจากพุทธศาสนา อีกทัง้ นักเขียนที่เอยนามมาทั้งหมดนี้ยังไดรับอิทธิพลจากอินเดียและแนวคิดพุทธศาสนาไมมากก็นอย นวนิยายของนักประพันธชาวเดนมารก คารล แกรเลอรุพ (1857-1919) เรื่อง “กามนิต-ผูแสวงบุณย-นวนิยาย ตำ�นาน” (Der Pilger Kamanita-Ein Legendenroman ค.ศ.1906) และนวนิยายเรือ่ ง “สิทธารถะ” (Siddharta, ค.ศ.1922) ของแฮรมันน เฮสเซอ ไดรับการยอมรับจากทั่วโลกวาเปนนวนิยายที่ใชพุทธศาสนาเปนแกนเรื่องหลัก ในนวนิยายทั้ง สองเรื่องนี้ ตัวเอกของเรื่องคือ สิทธารถะและกามนิต ลวนแสวงหา “ความจริง” โดยที่ “ความจริง” ของตัวเอกทั้งสอง นั้นแตกตางกัน ในเรื่อง “สิทธารถะ” เราไดพบแนวคิดและตัวละครในเรื่องซึ่งมีที่มาจากพุทธศาสนา แตอยางไรก็ตาม จากการศึกษาวิเคราะหอยางละเอียดพบวา สวนประกอบเหลานี้เปนเพียงพุทธศาสนาแตเปลือกนอกเทานั้น เชน เดียวกับที่พบวา บทละครโศกนาฏกรรมเรื่อง “เฟาส” (Faust) ของเกอเธอ “สวมเสื้อคลุม” ของคริสตศาสนา นอกจาก นี้ หนทางแสวงหา “ความจริง” ของกามนิตในงานประพันธของแกรเลอรุพ ยังตางจากหนทางแสวงหาความจริงของ สิทธารถะ นัน่ คือ กามนิตมิไดเดินทางคนหาความจริงผานการแสวงหาตนเอง เชน สิทธารถะ แตกามนิตคนพบ “ความ จริง” โดยอาศัยความรักอันมัน่ คงของเขาทีม่ ตี อ วาสิฏฐีนางผูเ ปนทีร่ กั ผูซ งึ่ ชวยใหกามนิตเห็นนิมติ ภาพของพระสัมมา สัมพุทธเจา ที่กามนิตไดพบและสนทนาดวยกอนที่จะจบชีวิตโดยไมรูเลยวาไดพบกับองคสมณโคดมแลว ผลงานประพันธของโธมัส มันนนนั้ แตกตางจากผลงานของแกรเลอรุพและเฮสเซอตรงทีล่ ว นเปนงานประพันธที่ มีรากหยั่งลึกอยางมั่นคงในขนบธรรมเนียมของวัฒนธรรมยุโรป ไมสามารถเรียกไดวาเปนวรรณกรรมพุทธศาสนา เนือ่ งจากในงานประพันธของโธมัส มันน เราไมพบสวนประกอบใดๆ ทีเ่ ปนพุทธโดยตรง อยางไรก็ดี เปนทีน่ า พิศวงวา ในงานประพันธประเภทเรือ่ งเลา (Erzählung) หรือ โนเวลเลอ (Novelle หรือ นวนิยายขนาดสัน้ ) ของโธมัส มันนหลาย ชิน้ เราไดพบแนวคิดพุทธศาสนาเกีย่ วกับประเด็นเรือ่ ง “การรูเ ทาทันปจจุบนั ” ซึง่ เปนคุณสมบัตแิ ละอุปนิสยั ของตัวเอก เชนในเรื่อง “ความตายที่เวนิส” (Der Tod in Venedig) “ความรูสึกผิดหวัง” (Enttäuschungen) “หวงทุกข” (Schwere Stunde) หรือ “รอวันตาย” (Der Tod)

__________________

1

2

โครงการในแผนพัฒนาวิชาการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย ดร. ประจำ�สาขาวิชาภาษาเยอรมัน ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

บทความนี้เปนบทความนำ�รองของโครงการวิจัยที่ศึกษาวิเคราะหเรื่องการรับพุทธศาสนาในงานประพันธของ แกรเลอรุพ เฮสเซอ และโธมัส มันน โดยผูวิจัยใชตัวอยางผลงานประพันธเรื่อง “กามนิต-ผูจาริกแสวงบุณย” ของ แกรเลอรุพ “สิทธารถะ” ของเฮสเซอ และผลงานโนเวลเลอบางเรื่องของโธมัส มันน คำ�ถามหลักของงานวิจัย คือ การรับพุทธศาสนาในงานประพันธของเฮสเซอ แกรเลอรุพ และโธมัส มันน แตกตางกันอยางไร การแสวงหา “ความจริง” ของปจเจกบุคคลจากมุมมองของพุทธศาสนาและจากมุมมองในบริบทของวัฒนธรรมยุโรปเปนอยางไร คำ�สำ�คัญ : 1. การรับพุทธศาสนา. 2. แกรเลอรุพ, คารล. 3. เฮสเซอ, แฮรมันน. 4. มันน, โธมัส. Abstract The Nobel Prize laureates Karl Gjellerup (1917), Thomas Mann (1929), and Hermann Hesse (1946) can be counted among those European writers of the Early Modern Age who—with varying intensity dealt with Indian-Buddhist thought and were influenced by it. In this research essay, the author investigates the literary works of Hermann Hesse’s Siddhartha (1922) and Karl Gjellerup’s Der Pilger Kamanita—Ein Legendenroman (The Pilgrim Kamanita: A Legendary Romance, 1906) and some early “Novelleas” written by Thomas Mann. The first two novels are internationally renowned for their Indian-Buddhist themes. In contrast to the works by Gjellerup and Hesse, Thomas Mann’s early stories are all firmly rooted in European culture and cannot be called Buddhist literature, not even indirectly Buddhist or Buddhist to a certain extent, because there are no explicit Buddhist elements at all. Surprisingly, however, in numerous of Thomas Mann’s novellas, one can find Buddhist ideas in the thoughts and actions of the characters. In this article, the following questions are of relevance: In what way is the reception of Buddhism different in Hesse, Gjellerup, and Mann? How can the search for “Truth” and for oneself be understood from a Buddhist and from a European cultural perspective? Keywords: 1. Reception of Buddhism. 2. Gjellerup, Karl. 3. Hesse, Hermann. 4. Mann, Thomas.

40


การรับแนวคิดพุทธศาสนาในงานประพันธของคารล แกรเลอรุพ พรสรรค วัฒนางกูร

การเขาถึงแนวคิดพุทธศาสนา และการรับพุทธ ศาสนาที่ปรากฏในผลงานประพันธของนักเขียนทั้งสาม นัน้ ตางกันอยางเห็นไดชดั อยางไรก็ด ี ในความแตกตาง นี้ยังมีความเหมือน ทั้งคารล แกรเลอรุพ และแฮรมันน เฮสเซอ ลวนตางเติบโตมาในโลกของศาสนาตะวันตก แกรเลอรุพเกิดที่เมืองโรโฮกา ประเทศเดนมารก ใน ค.ศ. 1857 บิดาเปนหมอสอนศาสนาชื่อ คารล อดอลฟ แกรเลอรุพ (Carl Adolph Gjellerup) มารดาชื่อ อันนา ฟบิเงอร (Anna Fibiger) แกรเลอรุพ ศึกษาเทววิทยาที่กรุงโคเปนฮาเกิน จบการศึกษาดวยคะแนนยอดเยี่ยม (summa cum laude) ในค.ศ.1878 อันที่จริง แกรเลอรุพควรจะเปน หมอสอนศาสนาเชนเดียวกับบิดา แตกวีทา นนีร้ สู กึ ไดถงึ ความสามารถดานศิลปะและอักษรศาสตรตั้งแตอายุ ยังนอย แกรเลอรุพเริ่มเขียนหนังสือตั้งแตยังศึกษา อยูในชั้นมัธยมปลาย หันไปสนใจวรรณคดีอยางจริงจัง และเริ่มชีวิตนักเขียนอิสระ ใน ค.ศ. 1878 หลังจากที่ แกรเลอรุพสมรสกับสาวเยอรมันชาวเมือง เดรสเดิน คือ ยูแจเนีย อันนา คารโรลีนเนอ ฮอยซิงเงอร ใน ค.ศ. 1892 และแกรเลอรุพผูซึ่งมีพรสวรรคพิเศษทางดาน ภาษา และไมเพียงพูด อาน เขียนภาษาเยอรมัน อังกฤษ และฝรั่งเศสไดอยางคลองแคลวเทานั้น ก็ไดเริ่มเขียน หนังสือเปนภาษาเยอรมัน เริ่มดวยเรื่อง พาสตัว มอรัส (Pastor Mors ค.ศ.1884) หลังจากนั้น ทานไดเขียนงาน ประพันธชิ้นใหมๆ เปนภาษาเยอรมันมากขึ้นโดยยึด นักประพันธเอกชาวเยอรมันหลายทานเปนแบบอยาง คือ เกอเธอ (Johann Wolgang von Goethe) ชิลเลอร (Friedrich von Schiller) และฮายนเนอร (Heinrich Heine) รวมทัง้ นักปรัชญา อิมมานูเอล คันท (Immanuel

Kant) อาทัว เชเปนเฮาเออร (Arthur Schopenhauer) และ ฟรีดริช นีทเชอ (Friedrich Nietzsche) 3 แกรเลอรุพประพันธ “กามนิต ผูแสวงบุณย นวนิยายตำ�นาน” หลังจากที่ไดศึกษาเรื่องพุทธศาสนา และคำ�สอนกอนสมัยพุทธกาลอยางละเอียด ทานอุทศิ ตน ในการศึกษาผลงานของ ดร.คารล ออยเกิน นอยนมันน “พระวจนะแหงสมณโคดม” (Die Reden BuddhaMajjhimanikayo) และหนังสือรวมคำ�สอนพุทธศาสนา (Buddhistische Anthologie) เรื่องราวชีวิตในอดีตชาติ ของพระสัมมาสัมพุทธเจากอนตรัสรู ชาดก หรือ Jataka 4 ศึกษาผลงานแปลของศาสตราจารยนอยนมันน เรื่อง “พระสัมมาสัมพุทธเจา” (Buddha) คำ�สอนของลัทธิ อินเดียพราหมณของศาสตราจารย เพา ดอยเชิน เรื่อง อุ ป นิ ษั ท แห ง พระเวท (Upanishads des Veda) เวทานตสูตร (Sutra des Vedanta) และผลงานนวนิยาย ขนาดสั้นของดันทดิน Daçakumaracaritam รวมทั้ง บทนำ�ทีเ่ ขียนโดยไมเยอร (J. J. Meyer) ดวย (Gjellerup 2005 : 316-317) ถึ ง แม ว  า ทั้ ง แกร เ ลอรุ พ และเฮสเซอจะมี ชี วิ ต ภูมิหลังที่เกี่ยวของกับคริสตศาสนา และทั้งสองตางก็ หันมาสนใจปรัชญาตะวันออกและพุทธศาสนาเหมือนกัน แต นั ก ประพั น ธ ทั้ ง สองท า นมี ป ระวั ติ ชี วิ ต ที่ ต  า งกั น อยางมาก เหตุผลที่แกรเลอรุพหันหลังใหคริสตศาสนา และกลั บ มาสนใจพุ ท ธปรั ช ญาดั ง ปรากฏในผลงาน ประพันธไมเปนที่แนชัดจากประวัติชีวิตของทาน บิดา ของแกร เ ลอรุ พ เสี ย ชี วิ ต ตั้ ง แต เ มื่ อ อายุ ไ ด 3 ขวบ แกร เ ลอรุ พ จึ ง ใช ชี วิ ต กำ � พร า อยู  กั บ มารดาและญาติ ผูซึ่งเปนหมอสอนศาสนาและนักเขียน ณ นครโคเปน ฮาเกิน แกรเลอรุพเปนเด็กมีผลการเรียนยอดเยี่ยมมา

__________________ Gjellerup, Karl. from http://www.kirjasto.sei-fi/gjelleser.htm และ http://de.wikipedia.org/wiki/Karl-Gjellerup Jakata คือ ชาดก เรื่องราวชีวิตจากอดีตชาติของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ในพระไตรปฎกมี ชาดก อยู 547 เรื่อง เรื่องเลา ชาดกมีไวเพื่ออธิบายหลักธรรมของพระพุทธเจา ในประเทศไทยเราพบเรื่องราวชาดก 2 หมวด : เรื่องราวในหมวดแรกสืบตนตอ พบในพระไตรปฎก สวนเรื่องอื่นๆ มีผูเขียนขึ้นราว 300-400 ปมาแลวที่นครเชียงใหม เมืองหลวงแหงอาณาจักรลานนา ดูเปรียบเทียบใน พรสรรค วัฒนางกูร / เยิค ทีเดอมันน. (1989). Einführung in die thailändische Kunst und Architektur - Lektüre für Reiseführer. ศูนยการศึกษาตอเนื่องรวมกับคณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย : 70-78.

3

4

41


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

ตลอด ไดชื่อวามีพรสวรรคทั้งเมื่อเรียนอยูในโรงเรียน มัธยมและมหาวิทยาลัย อันที่จริงทานควรจะเปนหมอ สอนศาสนาเชนเดียวกับบิดา แตแกรเลอรุพตัดสินใจ ตั้งแตเมื่อยังเรียนอยูที่มหาวิทยาลัยวาจะใชชีวิตเปน นักเขียน เราไดพบวา ในงานประพันธของแกรเลอรุพ จนกระทัง่ ถึงค.ศ.1890 สะทอนแนวคิดเชิงปรัชญาทัง้ จาก ตะวั น ตกและตะวั น ออกผสมผสานกั บ ประสบการณ สวนตัวของผูเขียน และดูเหมือนวา ความสนใจอยาง จริงจังในศาสนาพราหมณและพุทธศาสนานีจ้ ะสอดคลอง กับกระแสของเหลาปญญาชนในยุโรปชวงปลายคริสต ศตวรรษที่ 19 ตนคริสตศตวรรษที่ 20 ซึ่งเห็นไดชัดจาก ขอเขียนของแกรเลอรุพเมื่อประพันธเรื่อง “กามนิต ผูจาริกแสวงบุณย” “เพิ่งจะในศตวรรษที่แลว เมื่อหลายปที่ผานมา นี้เอง ในค.ศ.1892 ที่เราไดรูจักวา สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจาคือใคร และทานสอนอะไร... แตอยางไรก็ ดี พระธรรมคำ�สอนของพระพุทธองค ตลอดจนแกน ความรู  เ หล า นั้ น ก็ ยั ง เป น ปริ ศ นาสำ � หรั บ เราและจะ ตองไดรับการอธิบายใหแจมแจงอยูนั่นเอง เรามีความ ประสงค จ ะเข า ใจแก น แท ข องคำ � สอนเหล า นั้ น ... และหลั ง จากที่ นั ก ปราชญ ทั้ ง หลายได ทำ � หน า ที่ ของท า นแล ว ก็ ค วรมาถึ ง คราวของกวี ที่ จ ะทำ � หน า ที่ ข องตน : เอกสารภาษาบาลี กำ � ลั ง รอเราอยู  และหลั ง จากนั้ น คำ � สอนของพระพุ ท ธองค จึ ง จะ ฟ  น ตื่ น ขึ้ น มาทามกลางพวกเราเปน ภาษาเยอรมั น ที่ เบงบานทามกลางชาวเยอรมัน – ขาพเจาจึงหวังเปน อยางยิง่ วา มิตรผูเ ปนปราชญและเปนผูท ขี่ า พเจาเคารพ นับถือ - และอาจจะมีอกี หลายทานรวมดวย – จะตอนรับ ผลงานวรรณศิ ล ป ชิ้ น นี้ ใ นฐานะจุ ด เริ่ ม ที่ จ ะบรรลุ ถึ ง ความปรารถนาดังกลาว” (Gjellerup 2007 : footnote 3, p. 319) (แปลจากภาษาเยอรมันโดยผูวิจัย) ดังไดกลาวแลววา สาเหตุที่แกรเลอรุพหันมา สนใจพุทธศาสนานั้นไมปรากฏแนชัด ในขณะที่เรารูวา เหตุใดแฮรมันน เฮสเซอจึงหันมาศึกษาคนควาพุทธ ศาสนาและปรัชญาตะวันออกอยางมุงมั่น แมวาเฮสเซอ

42

จะคุ  น เคยกั บ โลกของมิ ช ชั น นารี แ ละการเผยแพร คริ ส ต ศ าสนาจากปู  ย  า และบิ ด ามารดาของเขาเอง เนื่องจากบิดาเปนมิชชันนารี เคยใชชีวิตอยูในประเทศ อิ น เดี ย แต เ ฮสเซอไม ส ามารถยอมรั บ คำ � สอนของ ศาสนาคริสตได เขามีความกังขาในคำ�สอนเหลานั้น ถึ ง ขนาดไม ส ามารถยอมรั บ และทนไม ไ ด ที่ จ ะได ยิ น คำ�สอนเหลานั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งความพยายามของ บรรดาคริสเตียนจากทวีปยุโรปทีพ่ ยายามเปลีย่ นศาสนา ของผูคนในโลกตะวันออกดวยทาทีของ “ผูปกครอง อาณานิคม” เปนสิ่งที่เฮสเซอสะอิดสะเอียนอยางยิ่ง ทั้ง หลั ก ธรรมที่ เ คร ง ครั ด ตามความเชื่ อ แนวพี เ อนิ ส ม ใ น เยอรมนีก็เปนสิ่งที่เฮสเซอรับไมได “คำ � สอนและสุ ภ าษิ ต หลายข อ ที่ ก ล า วในการ เทศนาและการขับรองสรรเสริญพระเจา ลวน ทำ�รายความเปนกวีในตัวขาพเจา” (Hesse 1930 : 189) ดังนั้น เฮสเซอจึงไมไดทำ�ตามที่บิดามารดาหวัง ไววาจะสืบทอดอาชีพขาราชการทำ�งานเปนนักเทศน ประจำ�โบสถ เฮสเซอรูตัวดีตั้งแตอายุได 12 วา ตองการ จะเปนนักเขียน เมื่อเริ่มเปนหนุมอายุ 14 หนุมนอยผูนี้ ได ห นี อ อกจากโรงเรี ย นสอนศาสนาที่ ไ ฮล บ รอนน (Heilbronn) เปนการหลบหนีที่ปูของเขาเรียกวาคือ “การเดินทางสั้นๆ ของจีเนียส” หลังจากนั้นเฮสเซอ ถู ก ส ง เข า รั บ การรั ก ษาตั ว ในสถานบำ � บั ด หลายแห ง (บาด โบลล (Bad Boll, ชเตทเทิน ณ เรมสทาล (Stetten im Remstal) และสถานบำ�บัดทีบ่ าเซิล (Basel) หนุม นอย เฮสเซอตองผจญกับความขัดแยงภายในจิตใจครั้งแลว ครั้งเลา บางครั้งหนักหนาถึงขั้นเคยพยายามฆาตัวตาย หลังจากนั้น เขาจึงเริ่มแสวงหาทางออกในวัฒนธรรม อื่นที่ไมใชวัฒนธรรมตะวันตกเพื่อเปนตัวเลือก และ ตั้งแตค.ศ.1907 เปนตนมา เฮสเซอเริ่มศึกษาเรื่องราว ของประเทศอิ น เดี ย ตลอดจนวั ฒ นธรรมอิ น เดี ย โดย ไดรับอิทธิพลพุทธศาสนาจากงานเขียนของนักปรัชญา เยอรมัน อาทัว โชเปนเฮอเออร ผูซึ่งไดชื่อวาเขียนงาน ประพันธตีความพุทธปรัชญา เฮสเซอศึกษาคำ�สอน ของศาสนาพรามหณ คือ “ภควัทคีตา” และ “อุปนิษัท”


การรับแนวคิดพุทธศาสนาในงานประพันธของคารล แกรเลอรุพ พรสรรค วัฒนางกูร

ระหวางนั้นเขาเริ่มฝกโยคะ ทรมานตน และอดกลั้น กามกิ จ ความสนใจในอิน เดีย และโลกตะวั น ออกพา เฮสเซอเดินทางไปถึงอินเดียใน ค.ศ. 1911 จากนั้นก็ไป ยังดินแดนแหงปาดงดิบ “หลังประเทศอินเดีย” และเกาะ สุมาตรา ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1911 เฮสเซอเดินทาง กลับสูยุโรปบานเกิด เขาไมไดพบสิ่งที่เขาแสวงหาที่ ประเทศอินเดียแตอยางใด ดูเหมือนวา โลกที่เปรียบเสมือน “มายา” ไมมี อะไรจริงแท และความพยายามของมนุษยที่จะไปถึง เป า หมายสู ง สุ ด นั่ น ก็ คื อ การหลุ ด พ น จาก “มายา” ทั้งหลาย รวมทั้งหลุดพนจากการเวียนวายตายเกิด จะเป น ท า ที ที่ ป ฏิ เ สธชี วิ ต จนเกิ น ไปสำ � หรั บ เฮสเซอ หลังจากนั้น นักเขียนผูนี้จึงเริ่มหันมาสนใจแนวคิดของ จีนเกี่ยวกับความสมดุลยชีวิตของสองขั้วในแนวลัทธิ เตาและขงจื๊อ และเริ่มรูสึกวา การทำ�ใหเกิดความสมดุล ในลั ก ษณะนี้ อ าจช ว ยลดความขั ด แย ง ในตั ว มนุ ษ ย ระหวางดานจิตวิญญาณและความสุขทางโลกไมใหมาก จนเกินไป รวมทัง้ ชวยลดชองวางของการทีจ่ ะตองปรับตัว เขากับสังคมและการเปนตัวของตัวเองใหนอยลงดวย เราจึงพบวา เฮสเซอไดใชงานวรรณกรรมเปน เครื่องมือที่จะลดความขัดแยงภายในของตนเอง เห็น ไดชดั จากนวนิยายหลายเรือ่ ง เชน Unterm Rad (1906) Demian (1919) Narziß und Goldmund (1930) รวมทัง้ Siddharta (1922) ดวย ในนวนิยายเหลานี้ตัวเอกของ เรื่องลวนมีปญหาภายในจิตใจกลายเปน “คนนอก” ของ สังคม ตัวเอกทุกคนตางพยายามคนหา “ความจริง” ของชีวิต คนหาทางที่จะปลดปลอยพันธนาการทั้งปวง เพื่อที่จะไดเปนตัวของตัวเองไดอยางสมบูรณ จะเห็น ไดวา การแสวงหา “ความจริง” ของชีวิตของเฮสเซอใน ฐานะผูประพันธมีสวนละมายคลายคลึงกับการแสวงหา

“ความจริง” ของตัวเอกในนวนิยาย สิทธารถะในนวนิยาย แสวงหาความจริ ง ของชี วิ ต แสวงหาเสี้ ย วนาที แ ห ง ความพึงใจ แสวงหาความเปนหนึ่งเดียวที่สมบูรณที่ใน คำ�ภาวนาวา “โอม” 5 เฮสเซอตั้งใจประพันธใหตัวเอกในนวนิยายชื่อ “สิทธารถะ” อันเปนพระนามของของสมเด็จพระสัมมา สั ม พุ ท ธเจ า เมื่ อ ครั้ ง ยั ง ทรงเป น เจ า ชายสิ ท ธั ต ถะ ณ กรุงกบิลพัสดุ เสนทางชีวิตของเจาชายสิทธัตถะและ สิทธารถะของเฮสเซอนั้นกลับตาลปตร นั่นคือ เจาชาย สิทธัตถะทรงมีชีวิตสุขสบายในสวรรคสมบัติและอำ�นาจ ทางโลกจนกระทั่งไดประจักษวา ชีวิตคือทุกข ไดทรง สัมผัสกับการเกิด แก เจ็บ ตาย แลวจึงทรงออกผนวช ส ว นสิ ท ธารถะของเฮสเซอเกิ ด ในตระกู ล พราหมณ ใชชีวิตปฏิบัติอยางพรามหณและเขาใจโลก ตามวิถพี ราหมณ สิทธารถะและสหายคือ โควินทะ ปฏิบตั ิ ตนภาวนาและสวดมนตอยางพราหมณที่เครงทั้งปวง ทั้งสองรูจักที่จะ “ถอมตนและนอมใจ” ดวยจิตวิญญาณ ของสมณะ ทัง้ สองสหายตางเขาใจ “วิถีแหงอาตมัน และ การวมเปนหนึง่ เดียวกับจักรวาล” และเชนเดียวกับเฟาส สิทธารถะรูส กึ ไมพอทุกอยางรอบตัว ไมพอใจในชีวติ ของ ตนเอง สิ่งที่เขาแสวงหาคือ “สภาวะแหงความวางเปลา ปราศจากตัวตน (สิทธารถะ หนา 15) สิทธารถะฝกฝน นั่งสมาธิและหวังวา การนั่งสมาธิจะทำ�ใหเขาหลุดพน จากตัวตน หลุดพนจากความคิดทั้งปวง... แตไมวาสัก กีพ่ นั ครัง้ ทีส่ ทิ ธารถะจะนัง่ สมาธิถอดจิตออกจากรางกาย ทำ�จิตนั้นพักไวที่สุญญตา พาจิตใหพักอยูในสัตว พักอยู ในกอนหิน จิตนัน้ ก็ยงั คงกลับคืนสูร า ง สูก าย สูต วั ตนทีม่ ี นามวา สิทธารถะผูซึ่งจะยังตกอยูในหวงทุกขและอยู ในบวงแหงสังสารวัฏทุกคราไป...” (สิทธารถะ หนา 17) อาจกล า วได ว  า สิ ท ธารถะรู  แ ละเข า ใจเรื่ อ ง สังสารวัฏและการเวียนวายตายเกิด แตเขายังไมสามารถ

__________________ “โอม” เปนคำ�มาจากภาษาสันสกฤต ประกอบดวย เสียง 3 เสียง คือ [a, u, m] ตามความหมายในศาสนาฮินดู “โอม” หมายถึง เทพสูงสุด 3 องค ไดแก [a] พระศิวะ พระผูทำ�ลาย [u] พระวิษณุ พระผูปกครอง และ [m] พรหม พระผูสราง ศาสนาพุทธรับคำ�วา “โอม” มาไวเพื่อใชแทนพระรัตนตรัย ไดแก [a] อะระหัง หมายถึงสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา [u] “อุ-ต-ม-ธรรม” พระธรรมอันสูงสุด และ [m] มหาสงฺฆ หรือนักบวชในพุทธศาสนา คำ�วา “โอม” ถือวาศักดิ์สิทธิ์ และบอยครั้งใชเปนคำ�เริ่มตนบทสวด

5

43


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

หลุดพนจากวงลอแหงการเวียนวายตายเกิดได ประเด็นเรื่องความพยายามของพรามหณหนุม สิทธารถะทีจ่ ะหลุดพนจากความเปนตัวตน ถาพิจารณา จากมุมมองของพุทธศาสนานิกายเถรวาท ก็ตองวา นับ เปนความเขาใจผิดของผูประพันธคือเฮสเซอ เปนความ เข า ใจผิ ด ถึ ง สองต อ ที่ ขั ด แย ง กั น เอง รวมทั้ ง หนทาง สูว ัตถุประสงคสดุ ทายก็ไมใชหนทางทีถ่ ูกตองนำ�สูค วาม หลุดพนดวย จากเหตุผลที่วา ในแงหนึ่งสิทธารถะตอง การหลุดพนจากการดำ�รงอยูของตัวตน และพนจาก สังสารวัฏแหงการเวียนวายตายเกิด โดยอาศัยการเขา สมาธิ แตในอีกแงหนึง่ การทีจ่ ะปลดปลอยตนเองใหพน จากสังสารวัฏนั้นก็โดยการภาวนาคำ�ศักดิ์สิทธิ์ “โอม” เพื่อเปนหนึ่งเดียวกับจักรวาล ซึ่งที่จริงแลว การภาวนา ดังกลาวมิไดเปนหนทางสูการหลอมตนเปน “หนึ่งเดียว กับอาตมันและจักรวาล” เนือ่ งจากการยึดมัน่ ใน “อาตมัน” หรือตัวตนนั้น ก็คือ บุคคลผูนั้นยังไมสามารถหลุดจาก การยึดมั่นถือมั่นในอัตตาหรือตัวตนนั่นเอง จากการตี ค วามที่ ค ลาดเคลื่ อ นนี้ เ องที่ ทำ � ให สิทธารถะไมสามารถหลุดพนจากการยึดมั่นในตัวตน ไดดวยการเขาสมาธิ และวิธีการเขาสมาธิในแบบที่ สิทธารถะเรียนรูจากเหลาสมณะก็มิใชวิถีที่จะนำ�สูการ รูเทาทันปจจุบัน อันเปนหนทางสูนิพพาน หลั ง จากเวลาผ า นไปหลายป ที่ สิ ท ธารถะและ โควินทะเขามาฝากตนเปนศิษยของเหลาสมณะ ไดเรียนรู ทั้งความรูภาคทฤษฎี (ปริยัติ) และภาคปฏิบัติโดยการ ปฏิบัติธรรมเขาวิปสสนา แตวิธีการที่จะเขาสูความ หลุดพนตามแนวของเหลาสมณะโดยการทำ�โยคะ ละเวน จากความอยากทั้งปวงดวยการใชชีวิตอยางลำ�บากไป จนถึงการทรมานตนดวยวิธีตางๆ ลวนมิใชหนทางสู นิพพานทั้งสิ้น ที่สำ�คัญก็คือ ความมั่นใจในตนเองจน เกินพอดี จนถึงความลำ�พองในตนเองของสิทธารถะ ลวนเปนการยึดมั่นในอัตตาและเปนพันธนาการที่ท�ำ ให เขาไมสามารถหลุดพนจากสังสารวัฏได ซึ่งสิทธารถะ ไดเริ่มตระหนักในความลมเหลวนี้วา หนทางของเหลา สมณะไมสามารถนำ�สูนิพพานได แมแตคำ�สอนของพระพุทธเจาที่สิทธารถะได สดับจากการสนทนาธรรมกับพระพุทธองค ก็ยังนับวา เป น พุ ท ธธรรมที่ สิ ท ธารถะรั บ ไว ใ นลั ก ษณะปริ ยั ติ

44

เชิงทฤษฎี มิใชจากการปฏิบัติ อีกทั้งสิทธารถะก็ยังเห็น วาพุทธวัจนะที่ไดฟงนั้นยังมีขอบกพรอง เนื่องจากเปน คำ�สอนที่ชี้ใหเห็นถึง “หนทางที่จะเอาชนะโลกโดยการ หลุดพนออกจากสังสารวัฏ หรือนิพพาน ซึ่งเปนสิ่งที่ แปลกใหมไมเคยมีมากอน” เหลานี้เปนสิ่งที่สิทธารถะ เห็นวา “ไมสามารถพิสจู นใหเห็นจริงได” หนทางนิพพาน หรือการหลุดพนจึงเปนเพียงการแหกวงลอมแหงวัฏจักร ของสัง สารวั ฏอัน เปน กฎแหง โลกที่เ ที่ย งแทนิ รั น ดร” ซึ่งความจริงก็เปนเชนนั้น เนื่องจากสิทธารถะเขาใจวา วั ฎ จั ก รของสั ง สารวั ฏ อั น เป น กฎแห ง โลกนั้ น ก็ คื อ “อาตมัน” “อัตตา” หรือ “ตัวตน” ในลักษณะเดียวกับ “จิ ต วิ ญ ญาณที่ เ ที่ ย งแท นิ รั น ดร ” ในความหมายของ ศาสนาฮินดู มิใชนพิ พานตามความหมายในพุทธศาสนา ซึ่ ง ก็ คื อ การหลุ ด พ น จากทุ ก ข แ ละสั ง สารวั ฏ แห ง การ เวียนวายตายเกิด จะเห็นไดวา การตีความหนทางสูความหลุดพน ในลักษณะนั้นของสิทธารถะ ซึ่งก็เปนการตีความของ ผูป ระพันธคอื เฮสเซอดวย เปนการตีความเชิงพราหมณ มากกวาพุทธ สิทธารถะไดสดับพุทธวัจนะจากพระโอษฐของ พระพุทธองคโดยตรง แตไมสามารถเขาใจคำ�สอนนัน้ ได ดังคำ�ตรัสของพระพุทธองคในนวนิยายเรื่องนี้วา “คำ�สอนนี้มิใชความเห็นของตถาคต และจุด มุงหมายของคำ�สอนก็มิใชเพื่ออธิบายวิถีแหงโลกดวย เพราะความอยากรู  จุ ด ประสงค ข องคำ � สอนนั้ น คื อ อยางอื่น นั่นก็คือ หนทางที่นำ�สูการพนทุกข สิ่งนี้ตาง หากคือสิ่งที่ตถาคตสั่งสอน มิใชอื่นใดทั้งสิ้น” (สิทธารถะ หนา 31) (แปลจากภาษาเยอรมันโดยผูวิจัย) แมสทิ ธารถะจะไมเขาใจคำ�สอนของพระพุทธเจา แตมีสิ่งหนึ่งที่สิทธารถะตระหนักและเห็นจริงกับความ จริงที่วา องคพระสัมมาสัมพุทธเจาไดสละสุขทางโลก ออกบวช อีกทั้งยังไดทรงคนหาหนทางแหงความหลุด พนดวยพระองคเอง จนทรงพบทางแหงความรูที่นำ� สูความหลุดพนหรือนิพพานนั้นดวยพระองคเองดวย หนทางแหงการแสวงหาดวยตนเองนีเ้ อง เปนสิง่


การรับแนวคิดพุทธศาสนาในงานประพันธของคารล แกรเลอรุพ พรสรรค วัฒนางกูร

ที่สิทธารถะตระหนัก และตองการจะเดินตามหนทางนี้ เปนที่นาสังเกตวา หลักการเรื่องการแสวงหา ความจริงดวยตนเองนี้ปรากฏครั้งแลวครั้งเลาในผลงาน ประพั น ธ ข องเฮสเซอ ในนวนิ ย ายเรื่ อ ง สิ ท ธารถะ เฮสเซอมิไดใหพระพุทธองคทรงอธิบายคำ �สอนของ พระองคในรายละเอียดแตอยางใด ซึ่งอาจเปนดวยวา ผูเ ขียนชาวเยอรมันยังมิไดเขาใจหรืออาจไมเห็นดวยกับ คำ � สอนของพุ ท ธศาสนาในประเด็ น เรื่ อ งทุ ก ข แ ละ หนทางสูการดับทุกข เนื่องจากเห็นวาหนทางเหลานี้ ไมสามารถพิสูจนได สิ่งที่สิทธารถะเห็นพองและเชื่อมั่น ก็คอื การกลับมาสูต วั ตน กลับมาสูค วามคิด สู “จิต” ของ ตนเอง โดยที่สิทธารถะไมเขาใจถึงธรรมชาติของ “จิต” วาไมอยูนิ่ง จิตไมพอใจกับความคิดอยางใดอยางหนึ่ง มีแตจะเที่ยวเลนไปและคิดปรุงแตงไปเรื่อยๆ มิไดหยุด จากความคิดหนึ่งสูอีกความคิดหนึ่ง เมื่อจิตขึ้นวิถี แตละครั้งก็รวดเร็วมากจนเปนเรื่องเหลือบาฝาแรงที่ มนุษยคนหนึ่งจะนับแตละความคิดนั้นได ดวยเหตุนี้เอง สิทธารถะผูซึ่งละทิ้งเหลาสมณะ และละทิ้งองคพระสัมมาสัมพุทธเจาจึงเลือกที่จะดำ�เนิน ชีวิตตามอยางที่จิตบงการ ตามอยางใจปรารถนา และ ถลำ�ลึกลงสูหวงสังสารวัฏ ตกอยูในบวงแหงกามกับนาง คณิกานามวากมลา ไดสัมผัสลิ้มรสอำ�นาจและความ มั่งคั่งตามวิถีแหงพอคาจนเปนคหบดี โดยไดเรียนรูสิ่ง เหลานีจ้ ากนายวาณิช กามาสวามิ สิทธารถะดำ�เนินชีวติ อยูในวิถีแหงโลกียะจนมาถึงจุดหนึ่งที่เริ่มตระหนักวา ทั้งหมดลวนไรแกนสาร เปนเพียงการละเลนของชีวิต ทั้งสิ้น สิทธารถะรูสึกสะอิดสะเอียนกับการใชชีวิตอยาง ไร ค  า ของตนเองถึ ง ขั้ น จะปลิ ด ชี พ ตนเองที่ ริ ม แม น้ำ � และแลวกุลบุตรแหงพราหมณก็ไดสดับคำ�สวดมนตของ เหลาพราหมณอันเปนคำ�ขึ้นตนและคำ�ลงทาย นั่นคือ คำ�ศักดิ์สิทธิ์วา “โอม” ในลักษณะเดียวกับที่เฟาสของ เกอเธอไดยนิ เสียงระฆังของเทศกาลอีสเตอรอนั หมายถึง การคืนพระชนมชพี แหงพระเยซูคริสต และคำ�ศักดิส์ ทิ ธิน์ ี้ เองทีช่ ว ยชีวติ สิทธารถะไว หลังจากเหตุการณนี้ สิทธารถะ เริ่มทบทวนชีวิตที่ผานมา ของตนเอง และเริ่มรูสึกไดถึง เสียงเรียกแผวเบาของจิตวิญญาณแหงสมณะ จึงหวน

กลับไปหาคนแจวเรือผูซ งึ่ เขาไดพบแลวครัง้ หนึง่ หลายป มาแลวเมื่อขึ้นเรือขามฟากไปยังอีกฝงหนึ่งของเมือง อันเปนทีท่ เี่ ขาพบนางคณิกากมลา ณ ทีพ่ �ำ นักของวสุเทวะ คนแจวเรือ สิทธารถะไดเรียนรูถึงศิลปะแหงการรอคอย เรียนรูท จี่ ะพอใจในตนเอง โดยเฉพาะอยางยิง่ คนแจวเรือ วสุ เทวะไดสอนใหสิทธารถะเรียนรูจากแมน้ำ� แมน้ำ�ซึ่ง สะทอนชีวิตที่ผานมาของสิทธารถะ ทำ�ใหสิทธารถะ ประจักษถงึ ความเยอหยิง่ ของตนเองมาตลอด จนถึงชีวติ อันไรแกนสารของตนจากแมน้ำ� สิทธารถะเรียนรูถ งึ กาล เวลาทีไ่ รจดุ สิน้ สุด รูถ งึ วาแมน�้ำ นัน้ เหมือนกันทุกหนแหง ณ จุดกำ�เนิดและที่ปากน้ำ�ปลายทาง ที่ตรงทาเรือขาม ฟาก ตรงน้ำ�ตก ในทองทะเล เทือกเขา แมน้ำ�เหมือนกัน ทุกหนทุกแหง สำ�หรับแมน้ำ� มีเพียงปจจุบัน หาใชเงา แหงอดีตหรือเงาแหงอนาคตไม นั่นก็คือ สิทธารถะ ไดเรียนรูและเขาถึงกฎแหงธรรมชาติ กฎแหงชีวิตจาก แมน้ำ� หากเฮสเซอจะไดตระหนักในจุดนี้วา การรูทัน ปจจุบันโดยไมมีอดีตหรืออนาคตจากการเขาสมาธิโดย ใชแมน้ำ�เปนตัวภาวนาจะเปนหนทางสูการดับทุกขและ สูน พิ พานได เราก็อาจมองการตระหนักรูข อ นีว้ า เปนการ ตระหนักรูแบบพุทธได แตในนวนิยาย สิทธารถะหวน กลับไปยังคำ�ภาวนา “โอม” ที่ดังกองในหูของเขาวา “คลี่บานออกทีละนอย เริ่มตระหนักรูถึงความรู ซึ่งที่จริงก็คือ “ปญญา” อันเปนวัตถุประสงคของ การแสวงหาทั้งปวง สิทธารถะรูสึกไดถึง” เสียง ของสรรพสิ่งและจุดหมายทั้งปวง ทุกสรรพสิ่ง รวมกัน ทุกเสียง ทุกจุดหมาย ทุกความปรารถนา ความทุกข ความสุขสม ทั้งความดีและความชั่ว ทั้งหมดทั้งปวงที่รวมกันเปนโลกใบนี้ เหลานี้ รวมกันเปนสายธารแหงชีวิต […] และถาเขา มิไดปลอยใหจิตใหผูกติดอยูกับสิ่งใด แตเงี่ย สดับฟงทุกๆ สิ่ง ฟงทั้งหมดที่หลอมรวมเปน หนึ่งเดียว เมื่อนั้น ทำ�นองเพลงอันยิ่งใหญก็จะ รวมยอดอยูใ นคำ�วา “โอม” - ความสมบูรณ ความ เปนหนึ่งเดียว (สิทธารถะ หนา 105) (แปลจากภาษาเยอรมันโดยผูวิจัย)

45


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

การตระหนั ก รู  ใ นลั ก ษณะนี้ เ องที่ สิ ท ธารถะ ถายทอดใหแกสหายเมื่อครั้งกอน - โควินทะ ภิกษุ ในพุทธศาสนาและนำ�โควินทะสู “การตระหนักรู” ใน นวนิยายตำ�นานเรื่อง สิทธารถะ ของแฮรมันน เฮสเซอ เราไดพบขอมูลทีเ่ กีย่ วของกับพุทธศาสนามากมาย ไมวา จะเป น ชื่ อ ของนวนิ ย าย “สิ ท ธารถะ” ผู  ซึ่ ง แสวงหา “ความจริง” ไมวาจะเปนรายละเอียดชีวิตของตัวเอกที่มี ความคลายคลึงพุทธประวัต ิ หรือเรือ่ งราวทีพ่ อ งกับเรือ่ ง ของพระเวสสั น ดรทรงยอมสละแม ก ระทั่ ง มเหสี แ ละ พระราชบุตร พระราชธิดา ในลักษณะเดียวกับที่สิทธา รถะยังไมสามารถคนพบ “ความจริง” ได หากยังตัด ใจไมขาดจากลูกชายโทนอันเกิดจากกมลา และถึงแมวา สิทธารถะจะตัดขาดจากโลกหลังจากที่ไดเรียนรูชีวิตสุข ทางโลกเกือบทุกแงมมุ จนกระทัง่ มาจบทีค่ �ำ สวดระหวาง ปฏิบตั สิ มาธิวา “โอม” ซึง่ พาเขาสู “ความจริง” แต “ความ จริง” นีย้ งั หาใชนพิ พานในความหมายของพุทธศาสนาไม ในความเขาใจของสิทธารถะ ความจริงที่เขา คนพบก็คือ ความเปนหนึ่งเดียวสมบูรณหลอมรวม กั บ อาตมั น ตามความหมายในศาสนาพราหมณ ซึ่งก็สอดคลองกับวิถีแนวคิดของตัวเอกที่เปนพราหมณ และใชชีวิตอยางพราหมณ แตในที่สุดแลว เฮสเซอ เห็นวา ภูมิปญญาของอินเดียนั้นอยูบนพื้นฐานของ ความเชื่อที่ปฏิเสธชีวิตในโลกนี้จนเกินไป อีกทั้งวิถี ทางปฏิบัติก็กอรปดวยการทรมานตนอยางสาหัส ซึ่ง เป น เครื่ อ งชี้ ว  าเฮสเซอมิไดเขาใจวิถีแหง “ทางสาย กลาง” ตามแนวพุ ท ธศาสนา หรื อ อาจยั ง ไม รู  ถึ ง หลักธรรมสำ�คัญขอนี้ก็เปนได เจาชายสิทธัตถะเมื่อ ทรงสละความสุ ข ทางโลกและออกผนวชแล ว ได ท รง ศึ ก ษาเล า เรี ย นเพื่ อ หาทางพ น ทุ ก ข ด  ว ยวิ ธี ท รมาน ตน อดอาหาร แตไดทรงประจักษดวยพระองคเอง ในเวลาตอมาวา วิธีการดังกลาวเปนวิถีที่สุดโตงมิได ชวยใหพบหนทางพนทุกขได จึงทรงหันมาปฏิบัติทาง สายกลางและบรรลุสมโพธิญาณในที่สุด สำ�หรับผูประพันธคือ แฮรมันน เฮสเซอนั้น ประเด็นที่สำ�คัญที่สุดที่สะทอนในงานวรรณศิลปก็คือ การนำ�ปญหาระหวางความขัดแยงภายในจิตใจกับการ ใชชวี ติ ในสังคมมาถกเถียงอภิปรายเพือ่ ทีจ่ ะหาทางออก และวิธีแกปญหาเหลานั้น ในความเห็นของผูวิจัย แมวา

46

เฮสเซอจะสนใจศึกษาแนวคิดและปรัชญาตะวันออก หลายสำ�นัก แตนักประพันธชาวเยอรมันผูนี้ก็ยังคง ดำ�รงความเปนปจเจกบุคคลตามแบบตะวันตกอยาง เหนียวแนน การแสวงหาอันเปรียบเสมือนเปนหนทาง หลี ก หนี ข องเฮสเซอได ส ะท อ นให เ ห็ น ชั ด ผ า นงาน วรรณศิลปในการแสวงหาและหลีกหนีของตัวเอกในงาน ประพันธ สิทธารถะเลือกหนทางเดินทีจ่ ะแสวงหาความ จริงดวยตนเองเฉกเชนปจเจกบุคคลตะวันตก โดยที่ เฮสเซอมิไดเขาใจความหมายของ “หนทางของแต บุคคล” ชัดเจนวา อันที่จริงหมายถึงการเขาถึงความ หลุดพน หรือการเขาถึงสภาวธรรมนัน้ เปนประสบการณ สวนตนของแตละบุคคลที่จะตองปฏิบัติและประสบดวย ตนเอง ไมใชสภาวะที่จะแบงปนกับผูอื่นไดในลักษณะ เดียวกับคำ�สอนพุทธศาสนาที่วา มนุษยทุกผูยอมมี กรรมเปนของตนเอง สิทธารถะไดเรียนทีจ่ ะรูต วั และรูเ ทาทัน “ปจจุบนั ” ความรูเ ทาทันปจจุบนั นีเ้ องทีเ่ ปนลักษณะนิสยั ของตัวเอก ในนวนิยายขนาดสั้นหลายเรื่องของโธมัส มันน เพียง แตวา “การรูเทาทันปจจุบัน” ของตัวละครเหลานี้มิไดนำ� ไปสูความหลุดพนตามนัยของพุทธศาสนา แมวา “การรู เทาทันปจจุบนั ” ดังกลาวอาจจะนำ�ไปสูส ภาวะหลุดพนได อีกทั้ง “การหลุดพน” จากสังสารวัฏก็มิไดเปนเปาหมาย ของตัวเอกในงานประพันธเหลานั้นดวย ในเรือ่ ง “รอวันตาย” (Der Tod) ทานกราฟเฝารอ วันตายของตนเองอยางใจจดใจจอ ทานกราฟผูน เี้ ชือ่ วา วันสำ�คัญนัน้ คือวันที่ 12 ตุลาคม ซึง่ เปนวันครบรอบอายุ 40 ปของตนเอง จากสมุดบันทึกประจำ�วัน เราไดรูวา ทานกราฟรูลวงหนาตั้งแตเมื่ออายุ 19 ปแลววา จะตอง เสียชีวติ ในวันเกิดอายุ 40 ป และไดวาดภาพวาตนเองจะ รูส กึ อยางไรกอนวันนัน้ ในนาทีแหงวันทีม่ จั จุราชมาเยือน “วันที่ 8 ตุลาคม ... ขาพเจาอยากจะขอบคุณ พญามัจจุราช เมื่อทานมาถึง เพราะวา ถาเปน วันนี้ละก็มันจะเร็วเกินไป ยังอีกตั้ง 3 วันของ ฤดูใบไมรวงจึงจะถึงเวลานั้น ขาพเจารอคอย ชั่วพริบตานั้นดวยความตื่นเตน นาทีแหงวาระ สุดทาย! มันจะเปนชัว่ พริบตาทีเ่ ต็มไปดวยความ หฤหรรษหรือความดื่มด่ำ�อันแสนหวานกันแน


การรับแนวคิดพุทธศาสนาในงานประพันธของคารล แกรเลอรุพ พรสรรค วัฒนางกูร

หรือจะเปนชั่วพริบตาแหงความปราโมทย...” (Mann 1975 : 35) (แปลโดยผูวิจัย)

อัชเชินบัคพยายามที่จะวิเคราะหความรูสึกอันละเอียด ออนทุกความรูสึกที่เกิดขึ้นในใจของตน พรอมทั้งถาม ตนเองวา เจาความรูสึกทั้งหลายนั้น มันคืออะไรกันแน

แตทวา มัจจุราชไดเลนตลกกับทานกราฟ ใน วันทีเ่ ขาเชือ่ มัน่ วาตนเองจะจบชีวติ ลง กลับเปนบุตรสาว สุดทีร่ กั คนเดียวของทานกราฟทีจ่ ากไป - หนูนอ ยอาซุน ซิโอน นั่นก็คือ ทานกราฟตัวเอกของเรื่องมิไดเขาใจ เรื่องกฎแหงกรรมวา ทุกคนยอมมีกรรมเปนของตนเอง บังคับบัญชาไมได เราได พ บความปรารถนาที่ จ ะได สั ม ผั ส และ ประสบกับชั่วพริบตาแหงชีวิตและความตายในเรื่องเลา อีกหลายเรื่องของโธมัส มันน ใน “ความรูสึกผิดหวัง” (Enttäuschung) ตัวเอกของเรื่อง (ซึ่งไมปรากฏชื่อ) เฝารอคอยเสี้ยววินาทีแหงความสมหวังที่เขาจะไดรับ รูและสัมผัสกับ “ชั่วพริบตาแหงความสุขหฤหรรษที่ สมหวังและความนาสะพรึงกลัวที่สุดสยอง” ทวา ชาย ผูน จี้ �ำ ไดวา ในเสีย้ ววินาทีของเหตุการณทเี่ ลวรายทีส่ ดุ ใน วัยเด็กก็คือ เมื่อบานของเขาถูกไฟไหมนั้น เขารูสึกผิด หวังเพียงใด เพราะเสีย้ ววินาทีนนั้ ยังไมสามารถทำ�ใหเขา พึงใจได

“...เขาสัมผัสไดถงึ ความรูส กึ ประหลาด เปนความ รูตัวลึกๆ ในใจ เปนอารมณ ที่พลุงขึ้นมาอยาง กะทันหันเปนความกระหายและถวิลหาที่จะไป ยังดินแดนหางไกล – อาจเปนความรูสึกรุมเรา ที่เพิ่งเกิดขึ้นหรือจะมีมานานแลว แตถูกลืมจาง หายไป เขาถึงกับหยุดยืนนิง่ สายตามองพืน้ และ เอามือไพลหลังเพื่อที่จะสำ�รวจความรูสึกของ ตนเองวา มันคืออะไร เปนอยางไรแน” (Mann 1975 : 340)

“...ไฟเริม่ ไหมแลว ไฟเริม่ ไหมแลว ผมยังจำ�คำ�นี้ ไดแมนยำ� และก็รดู ว ยวา ความรูส กึ นัน้ มีพนื้ ฐาน จากอะไร แมวาผมจะยังไมตระหนักรูตัวอยาง ชัดเจนนักก็ตาม ผมพบวา นี่แหละ คือประกาย ไฟ และ ณ เดี๋ยวนี้ ผมกำ�ลังเผชิญกับมันอยู มันไมมีอะไรที่แยไปกวานี้แลวหรือ ทั้งหมดมี อยูเพียงเทานี้เองหรือ... (Mann 1975 : 48) ในโนเวลเลอ หรือนวนิยายขนาดสัน้ อีกเรือ่ งหนึง่ “ความตายทีเ่ วนิส” (Der Tod in Venedig) กุสตาฟ ฟอน

จะเห็นไดวา อันทีจ่ ริงแลวอัชเชินบัคตระหนักดีถงึ ชะตากรรมของตนในเวนิส เขามิไดปฏิเสธความรูส กึ ทีม่ ี ตอหนุมนอยทาทจู และตัวเขาเองก็คงจะสังหรณใจ อยูแลววา มัจจุราชกำ�ลังคืบคลานใกลเขามาทุกที เรื่องเลาอีกเรื่องหนึ่ง คือ “หวงทุกข” (Schwere Stunde) ความรูสึกกังวลหนักอกของกวีเอกฟรีดริช ชิลเลอร (Friedrich Schiller 1759-1805) ในชวงเวลา แหงการสรางสรรคผลงานวรรณศิลป6 ไดถูกนำ�มาตีแผ อยางละเอียดลออ ตัง้ แตการตรึกตรองหาแกนเรือ่ งและ เนื้อเรื่องที่เหมาะสมโดยเฉพาะอยางยิ่งการบรรยายถึง “ความเจ็ บ ปวด...การเลื อ กสรรหาถ อ ยคำ � ที่ เหมาะเหม็งอยางที่หัวใจของเขาเรียกรอง...” (Mann 1975 : 285) เราไมสามารถคาดหวังจากโธมัส มันน นักเขียน เอกแหงคริสตศตวรรษที่ 20 ไดวา ทานผูนี้จะนำ�เสนอ แนวคิดพุทธศาสนาอยางเต็มรูปแบบในงานวรรณศิลปใน ลักษณะเดียวกับแกรเลอรุพหรือเฮสเซอ โดยที่นักเขียน

__________________

6

คือบทละครเรื่อง Wallenstein

47


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

คนหลังสุดที่เอยนามมีประสบการณตรงกับอินเดียและ ปรัชญาที่มาจากอินเดียผานทางบิดาและจากการศึกษา ปรัชญาตะวันออก แนวคิดพุทธศาสนาของโธมัส มันน ไดรับอิทธิพลจากโชเปนเฮาเออร ลักษณะการรับและ เขาใจพุทธศาสนาของโธมัส มันนจากโชเปนเฮาเออร จะตองมีการคนควาและวิเคราะหวจิ ยั อยางละเอียดตอไป ตรงจุดนี้ ผูวิจัยขอตั้งขอสังเกตวา ความรูสึก รู  ตั ว อยู  ต ลอดเวลาของตั ว ละครในงานประพั น ธ ข อง โธมัส มันน ก็นาจะเปนความรูสึกรูตัวอยูตลอดเวลาของ ผูประพันธดวย ในแงหนึ่ง การรูตัวและรูเทาทันปจจุบัน นัน้ เปนปจจัยสำ�คัญทีท่ กุ คนพึงมีเพือ่ ทีจ่ ะใชชวี ติ ในโลกนี้ อยางถูกตองตามทำ�นองคลองธรรม ในอีกแงหนึง่ ความ รูต วั และรูท นั ปจจุบนั ก็เปนขอแมทจี่ �ำ เปนขาดไมไดอนั จะ นำ�ผูปฏิบัติธรรมสูความหลุดพนเขาสูปรินิพพาน เราไดพบวา “สิทธารถะ” ของเฮสเซอ และเรือ่ งเลา หลายเรื่องของโธมัส มันน มีความคิดเชิงพุทธศาสนา สอดแทรกอยูไมมากก็นอย ในขณะที่นวนิยายตำ�นาน ของคาร ล แกรเลอรุพ นักเขียนรางวัลโนเบลสาขา วรรณกรรม คือ “กามนิต-ผูจาริกแสวงบุญ” ผูเขียน ตั้งใจประพันธใหเปนงานวรรณศิลปพุทธศาสนาอยาง เต็ ม รู ป แบบ แกร เ ลอรุ พ เขี ย นเรื่ อ งราวของกามนิ ต จากจินตนาการเกือบทั้งหมดหลังจากที่ไดศึกษาพุทธ ศาสนาและคำ�สอนของพระพุทธเจาจากเอกสารแปล ของปราชญชาวเยอรมันที่มีอยูในขณะนั้นอยางละเอียด จะมีก็เพียงบางตอนที่นำ�มาจากพระสูตร คือ ตอนที่ กามนิตไดพบและสนทนากับพระพุทธองคในหองโถง บ า นของช า งป  น หม อ ซึ่ ง แกร เ ลอรุ พ นำ � มาจากธาตุ วิภังคสูตรในพระไตรปฎก หมายเลข 140 มัชฌิมนิกาย (Majjhimanikayo) มี เ นื้ อ ความใกล เ คี ย งกั น คื อ พระพุทธเจาไดทรงพบกับปุกกุสาติ กุลบุตรในโถงบาน ชางปนหมอ และไดทรงแสดงธรรมโปรด จนปุกกกุสาติ กุ ล บุ ต รขอบวชในพระธรรมวิ นั ย และพระพุ ท ธองค โปรดให ไ ปหาบาตรและจี ว รให ค รบถ ว น ปุ ก กุ ส าติ หลีกไปหาบาตรจีวร แตทันใดนั้นปุกกุสาติไดถูกแมโค ปลิดชีพเสีย” (เทวัญกานต มุงปนกลาง 2545) สวน เนื้อเรื่องอีกตอนที่แกรเลอรุพมิไดแตงเองก็คือ การ กลั บ ใจขององคุ ลี ม าล ซึ่ ง นำ � มาจาก มั ช ฌิ ม นิ ก าย (Majjhimanikayo) หมายเลข 50, 86 และ 130 เชนกัน

48

ส ว นเรื่ อ งราวนอกจากนั้ น ล ว นเป น จิ น ตนาการของ ผูประพันธทั้งสิ้น สำ�หรับการบรรยายที่ตั้งของเมือง รวมทั้งจาก ในสวรรคสุขาวดีที่แกรเลอรุพนำ�มาจาก สุขาวดีวยุห มหายานสูตร ปริวรรตแหงสมเด็จพระพุทธอมิตาภเจา ผูประพันธชี้แจงไวดังนี้ “ขาพเจามีความเห็นวา ความงดงามแหงบท นิพนธนั้นสำ�คัญยิ่งกวาขอเท็จจริงทางภูมิศาสตรวาจะ ถูกตองหรือไม ในขณะที่ขาพเจาจะไมมีวันยอมเปน อั น ขาดที่ จ ะให แ นวคิ ด และแก น ทางพุ ท ธศาสนาเพื่ อ วัตถุประสงคทางวรรณศิลปนนั้ ถูกบิดเบือนไปแมแตนอ ย ดวยวา การที่ขาพเจาไดนำ�เรื่องราวของสวรรคสุขาวดี ซึ่งเปนที่รูจักและนิยมอยางมากในเวลาตอมาเขามา ในงานประพันธเรื่องนี้ เปนการนำ�ภาพที่ปรากฏอยู มิใชภาพที่ถูกบิดเบือนหรือถูกดัดแปลง แตภาพของ สวรรคสุขาวดีนั้นมีอยูในชวงแรกของพุทธกาล ดังนั้น เปนความปรารถนาอันแรงกลาจากหัวใจของขาพเจาที่ จะนำ�เสนอภาพชีวติ และโลกของพุทธศาสนามานำ�เสนอ ในงานเขียน...” (Gjellerup 2007 : footnote 3, p. 316) แกรเลอรุพไดบรรลุถึงเปาหมายนี้ โดยเฉพาะ อยางยิ่งในประเทศไทย งานประพันธเรื่องนี้ไดรับการ แปลจากตนฉบับภาษาอังกฤษของจอหน อี.โลจี (John E. Logie) เปนภาษาไทย โดยปราชญสองทานคือ เสฐียร โกเศศ หรือพระยาอนุมานราชธน และนาคะประทีป ใชชื่อวา กามนิต ปราชญทั้งสองทานเปนผูแปลที่ทรง คุณสมบัติในการแปลวรรณกรรมเรื่องนี้ คือ เสฐียร โกเศศ เป น ปราชญ ผู  ร อบรู  พุ ท ธศาสนาและศาสนา เปรียบเทียบ ในขณะที่นาคะประทีปเปนปราชญทาง ภาษาบาลีผูไดบวชเรียนมาเปนเวลานาน ทานทั้งสองมี ศรัทธามั่นคงในพระพุทธศาสนา และสรางสรรคตัวบท กามนิตดวยภาษาที่ไพเราะสละสลวยอยางวิจิตรบรรจง โดยเฉพาะการเลือกสรรคำ�ในลักษณะของ “รอยแกว” ที่ มีการสงเสียงสัมผัสในลักษณะใกลเคียงกับฉันทลักษณ “รายยาว” นับเปนการแปลเรียบเรียงอยางประณีตเคารพ ตนฉบับเดิมอยางยิง่ (สุจติ รา จงสถิตวัฒนา 2551 : 6-8)


การรับแนวคิดพุทธศาสนาในงานประพันธของคารล แกรเลอรุพ พรสรรค วัฒนางกูร

ชาวไทยผูไ ดเคยอานเรือ่ งกามนิต แทบจะไมรเู ลยวาเปน นวนิยายแปลจากภาษาตางประเทศและผูประพันธเปน กวี ช าวเดนมาร ก ที่ เ ขี ย นวรรณกรรมชิ้ น นี้ เ ป น ภาษา เยอรมัน “กามนิ ต -ผู  จ าริ ก แสวงบุ ณ ย ” เป น เรื่ อ งราว นวนิยายรักของหนุมกามนิตและวาสิฏฐีจากครอบครัว ของคณบดี ผู  มั่ ง คั่ ง แห ง นครอุ ช เชนี แ ละนครโกสั ม พี ทั้งสองมีความรักที่มั่นคงตอกันจนถึงกับสัญญากันไว ณ ลานอโศก วาจะรักกันชั่วนิรันดรไมวาอะไรจะเกิด ขึ้น แตโชคชะตาบันดาลใหทั้งคูมิไดสมหวังในรักและ ตองพลัดพราก ตางมีคูครองของตน ใชชีวิตแบบไรสุข จนกระทั่งวาสิฏฐีมีโอกาสฟงธรรมของพระพุทธเจาและ ออกบวชเปนภิกษุณี สวนกามนิตไดละทิ้งบานเรือน ครอบครั ว และทรัพยสมบัติทั้งหมด ออกจาริ กแสวง บุณยเพือ่ ตามหาพระพุทธเจา และก็ไดพบพระพุทธองค โดยบังเอิญ ณ หองโถงบานชางปนหมอ มีโอกาส สนทนาเลาเรื่องราวชีวิตที่ผานมาของตนใหพระภิกษุ ชราฟ ง และได ฟ  ง ธรรมจากพระพุ ท ธองค เ ป น การ แลกเปลีย่ น ซึง่ ในเรือ่ ง “กามนิต-ผูจ าริกแสวงบุณย” ของ แกรเลอรุพ พระธรรมนัน้ คือ แกนคำ�สอนของพุทธศาสนา ไดแก อริยสัจ 4 นั่นเอง และแมวากามนิตจะไดฟง พระธรรมจากสมเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า โดยตรง แตเขาหาไดรูไมวา นั่นคืออริยบุคคลที่ตนเองกำ�ลัง แสวงหาอยู อีกทั้งยังสงสัยในคำ�สอน โดยคิดไปเองวา นั่นมิใชหลักธรรมจากพระโอษฐของพระพุทธองค และ คำ�สอนนั้นยังมิใชสิ่งที่ตนเองอยากไดยิน สิ่งที่กามนิต ตองการไดฟงคือ รางวัลแหงความมั่นคงในรักอันไดแก ความสุขสมหวังในรักกับวาสิฏฐีในสวรรคแดนสุขาวดี กามนิ ต จบชี วิ ต ลงโดยที่ จิ ต ของเขายั ง ยึ ด เอา พระพุทธองคเปนที่ตั้ง แตจิตนั้นก็ยังยึดมั่นในคำ�สัญญา เพราะความรักอันมั่นคงตอวาสิฏฐีที่จะไดครองรักกับ นางชั่วนิรันดรดวย ความมั่นคงแหงรักของกามนิตและ วาสิฏฐีจึงเปนปจจัยใหทั้งสองไดไปจุติในสวรรคสุขาวดี สมปรารถนา แตความรักของกามนิตที่ยึดมั่นอยูกับวาสิฏฐี กลั บ เป น ตั ว ขั ดขวางมิ ใ ห ก ามนิ ต ได เ ข า ถึ ง พระธรรม คำ�สั่งสอนสูนิพพานได ในขณะที่ความรักมั่นคงของ วาสิฏฐีตอกามนิต ตลอดจนศรัทธามั่นคงของนางตอ

พระพุทธเจาโดยมีความเขาใจในพุทธธรรมอยางดีแลว กลับเปนปจจัยเกื้อหนุนใหนางมีความปรารถนาจะให กามนิตเขาใจธรรมะดุจเดียวกัน และนางก็ทำ�ไดสำ�เร็จ วาสิฏฐีไดถายทอดธรรมะแกกามนิต และใชพลังสมาธิ บันดาลใหกามนิตไดเห็นรูปพระพุทธเจา ราวกับได เขาเฝาพระพุทธองคดวยตนเอง นางเจริญธรรมดับขัน ปรินิพพานไปกอนกามนิต แตก็ไดแผอำ�นาจมโนมยิทธิ ใหกามนิตไดเห็นพระพักตรของภิกษุชราที่ไดแรมคืน อยูดวยกัน ณ บานชางปนหมอ จนกามนิตเขาใจใน สังสารวัฏอยางลึกซึ้งและมีความปรารถนาที่จะหลุดพน จากการเวียนวายตายเกิด “แลวกามนิตก็ยึดเอาพระพุทธนิมิตตไวในมโน ธาตุแนนแฟน มุงแตวิถีที่จะไปสูความสิ้นแหง ทุกข” (เสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป 2520 : 414-415) อาจกล า วได ว  า คาร ล แกร เ ลอรุ พ ประพั นธ นวนิ ย ายพุ ท ธศาสนาเรื่ อ งนี้ โ ดยอาศั ย ภาพชี วิ ต และ ความเชื่อตามหลักพราหมณและพุทธไดอยางสนิทตรง ตามแนวคิดตนตอจนแมแตผูอานชาวไทยก็ยังไมรูสึก สะดุดวาผูประพันธเปนชาวตะวันตก ตรงกันขามกับ เรือ่ ง “สิทธารถะ” ของแฮรมนั น เฮสเซอทีม่ ปี รัชญาตะวัน ออกผสมผสานอยูหลายแนวคิด ไดแกแนวคิดพราหมณ พุทธ และเตาในตอนจบของเรือ่ งตามทีเ่ ฮสเซอไดออกตัว ไว ฉากที่ผูวิจัยประทับใจมากที่สุด คือ ฉากสุดทายของ เรือ่ ง ไดแกการเดินทางสูน พิ พานของกามนิต ซึง่ แกรเลอ รุพนำ�เสนอภาพอันงามวิจิตรของจุดกำ�เนิดและการดับ สูญของจักรวาลในบทสุดทาย “กลางคืนและรุง เชาในสกล จักรวาล” เปนความรุงเชาเกิดมีทาวมหาพรหมขึ้นใหม “ผูจะสองความสวางและถนอมสกลจักรวาลนั้น ไดแสนใหคงสืบปวัตยการไปตลอดอีกกัลปหนึ่ง และ ขณะนัน้ ทาวมหาพรหมก็บนั ดาลสิง่ ทัง้ ปวงใหมชี วี ติ ขึน้ ... (เสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป 2549 : 357) […] ในเวลาไมชา ดาวเทพบางองคก็เริ่มสังเกต เห็นวามีดาวเทพอยูองคหนึ่ง ทามกลางพวกตนหา ไดสองแสงรุงเรืองสวางขึ้นโดยลำ�ดับไม กลับมีลักษณะ ตรงกันขาม คือหรี่มัวลงไป...” (เสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป 2549 : 359) 49


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

เหล า ดาวเทพร อ งเตื อ นให ดาวกามนิ ต หั น ไป เพงทาวมหาพรหมเพื่อรับแสงสุกสวาง แตกามนิตหา ไดเอาใจใสไม แสงของดาวกามนิตริบหรี่ลงทุกทีจน ใกลดับ ทายที่สุด ทาวมหาพรหมทรงรำ�พึงวา

“เราตกลงใจแลว ถากระไร เราพึงรวมรัศมีแหง เรา ซึ่งซานไปทั่ววิศวกาศคืนมาสูเรา แลวใหจักรวาล เหลานี้ ทั้งหมดถึงแกประลัยเปนกลางคืน คืนหนึ่งของ พรหมโลก และเมือ่ รวบรวมรัศมีมาอยูใ นเงาแหงเดียวกัน หมดแลวจักไดแผดรัศมีนั้นตรงไปที่ดาวเทพดวงนั้น โดยเฉพาะ เพื่อรั้งใหกลับคืนมาอยูใหมในพรหมโลก จงได...” ครั้นแลว ทาวมหาพรหมก็ทรงเรียกเอาบรรดา รั ศ มี ที่ แ ผ ไ ปทั่ ว วิ ศ วากาศโลกานุ โ ลก็ ถึ ง ระยะประลั ย เขาสูความมืดแหงพรหมราตรีกาลอีกคำ�รบหนึ่ง และ ทาวมหาพรหมก็รวบรวมรัศมีใหมาอยูในที่แหงเดียว ฉายพุงตรงไปที่กามนิต อันเปนแสงอำ�นาจพอที่จะให สกลโลกนั บ ด ว ยแสนโกฏิ ลุ ก เป น ไฟแล ว ให รั ศ มี นั้ น กลับคืนมาสูพ ระองคและแผปลอยไปใน วิศวากาศขึน้ เปน คำ�รบใหม ถึงตอนนี้ ทาวมหาพรหมควรทอดพระเนตร ดาวกามนิตสุกสวางขึ้น กลับเห็นแสงริบหรี่หนักลงเรื่อย ไปจนดับวูบไมมีเหลือ ระวางกลางวิศวากาศอันหาเขต กำ�หนดมิได สกลจักรวาลานุจักรวาลเกิดขึ้นแลวชั่วแลน หนึ่งก็ประลัยลาญ เกิดเปนวันใหมของพรหมโลกเปน วันหนึ่ง ซึ่งเรียกวา หนึ่งกัลป สวนกามนิตนับถือเอา ซึ่งสัญญาจาริกเปนบุณยวัตร ก็ดับรอบจรีมจิตสิ้นเชื้อ ไปเอง เหมือนแสงไฟในโคมที่ดับ เพราะหมดน้ำ�มันที่ หลอเลี้ยงไสไวจนหยาดสุดทาย ฉะนั้นแล” (เสฐียร โกเศศ-นาคะประทีป 2549 : 361 เชิงอรรถที่ 11) ในความเห็นของสุจิตรา จงสถิตยวัฒนา นัก วิชาการดานวรรณดีไทย การใชชื่อกามนิตและวาสิฏฐี ลวนมีความหมายอันสัมพันธกับสาระสำ�คัญของเรื่อง นั่นคือ “กามนิต” แปลตามศัพทหมายถึง “นำ�ไปแลว โดยกาม” “กาม” ในที่นี้คือความรัก ความปรารถนา กามนิตจึงเปนตัวแทนของความรัก ในขณะทีช่ อื่ “วาสิฏฐี หมายถึง ผูสืบเชื้อสายจากฤษีวสิฏฐ เปนตัวแทนของ ปญญา เทากับวา การใชชื่อกามนิตแสดงนัยสำ�คัญของ เรื่องที่ผูเขียนใหความสำ�คัญของ “กาม” นั่นคือ กามนิต

50

ถูกชักนำ�สูนิพพานไดก็ดวยความรักอันมั่นคงที่มีตอ วาสิฏฐีผูเปนตัวแทนของปญญาและเปนผูที่ชวยเหลือ เกื้อกูลกามนิตโดยปญญาใหเขาสูนิพพานไดในที่สุด (สุจิตรา จงสถิตวัฒนา 2551 : 26 เชิงอรรถที่ 9) สำ�หรับประเด็นการใชสวรรคสุขาวดีเปนฉาก สำ�คัญของเนื้อหากามนิตภาคสวรรค อันเปนเนื้อหาที่มี ลักษณะเฉพาะตัวโดดเดนอยางยิง่ ในบริบทของวรรณคดี พุทธศาสนาของไทย เพราะเปนวรรณคดีเรือ่ งแรกๆ ทีใ่ ช สวรรคสุขาวดีเปนฉากสำ�คัญทำ�ใหผูอานสวรรคสุขาวดี นีอ้ ยางแพรหลายผานทางนวนิยายเรือ่ งกามนิต มากกวา จากตัวบทอื่นๆ ที่มีการแปลเปนภาษาไทย จึงเทากับวา การใชสวรรคสุขาวดีนั้นริเริ่มโดย กวีชาวเดนมารกเดินทางจากยุโรปมาสูประเทศสยาม จากการที่ ก วี ผู  นี้ ไ ด ศึ ก ษาเอกสารแปลในหั ว ข อ พุ ท ธ ศาสนาชวงปลายคริสตศตวรรษที่ 19 ตนคริสตศตวรรษ ที่ 20 และเขียน “กามนิต - ผูจาริกแสวงบุณย” ในค.ศ. 1906 กอนที่จะมีแปลหนังสือสุขาวดี วยุหมหายานสูตร ปริ ว รรตแห ง สมเด็ จ พระพุ ท ธอมิ ต าราเจ า จากภาษา สันสกฤตเปนรอยแกวเปนภาษาไทยใน พ.ศ. 2463 (ค.ศ.1920) เสียอีก ผูแปลหนังสือดังกลาวคือ พระยา ปริ ยั ติ ธ รรมธาดา พิ ม พ ที่ โ รงพิ ม พ พิ ศ าลบรรณนิ ติ์ จำ�นวน 300 เลม เพื่อเปนบรรณาการแจกในงานทำ�บุญ ฉลองอายุครบ 60 ปของพระเจาบรมวงษเธอกรมหมื่น วิวิธวรรณปรีชา การจาริกแสวงบุณยในเรื่องกามนิตจึงเปนการ เดินทางของปญญาและจินตนาการของปราชญตะวันตก ผูเขาใจ “ปญญา” ของตะวันออกอยางแทจริง นำ�มา สรางสรรคเปนวรรณคดีอันประณีตเดินทางผานการ รังสรรคตอมาจากปราชญทั้งตะวันตกและตะวันออก ผสมผสานกลมกลืนกับวิรยิ ะและศรัทธาใน “ปญญา” และ “จินตนาการ” ของเนื้อหาอันวิเศษ ปรากฏเปนความ สมบูรณงดงามที่ “เดินทาง” ผานพนกาลเวลา ภาษา และ วัฒนธรรม (สุจิตรา จงสถิตวัฒนา 2551 : 27 เชิงอรรถ ที่ 10) คารล แกรเลอรุพสรางสรรคผลงาน กามนิต จาก ความสนใจสวนตัว รวมทัง้ ไดรบั อิทธิพลจากกระแสความ สนใจพุทธปรัชญาและปรัชญาตะวันออกชวงตนของ สมัยใหมคอื ปลายคริสตศตวรรษที่ 19 ตนคริสตศตวรรษ ที่ 20 การเดินทางสูประเทศสยามของกามนิตตองผาน


การรับแนวคิดพุทธศาสนาในงานประพันธของคารล แกรเลอรุพ พรสรรค วัฒนางกูร

ประเทศอังกฤษ ทำ�ใหชอื่ เรือ่ งของนวนิยายคลาดเคลือ่ น ไปจากภาษาเยอรมันตนฉบับ คำ�วา (der) Roman ใน ภาษาเยอรมันแปลวา นวนิยาย และ die Legende แปลวา ตำ�นาน ทั้งสองคำ�ปรากฏในชื่อเรื่องวา Der Pilger Kamanita-Ein Legendenroman ดังนั้น คำ�วา Roman จึงหมายถึง นวนิยาย ซึ่งไมตรงกับความหมาย ของ romance หรือเรื่องราวความรัก การผจญภัย หรือ เรื่ อ งราวของอั ศ วิ น ตามความหมายของวรรณศิ ล ป ประเภท Romance ในขนบวรรณศิลปของอังกฤษ (von Wilpert 2001 : 703) ดังปรากฏในชื่อเรื่องภาษา อังกฤษโดย John E. Logie ทีเดียวนัก ชื่อเรื่องในภาษา 

อังกฤษไดทำ�ใหน้ำ�หนักของการตีความอยูที่ความรัก มากกวาการใชคำ�กลางๆ เชน ในภาษาเยอรมันวา นวนิยายตำ�นาน อยางไรก็ดี นวนิยายเรื่อง “กามนิต-ผูจาริก แสวงบุณย” แตกตางจาก “สิทธารถะ” ของเฮสเซอตรง ทีว่ า ในประวัตชิ วี ติ ของสิทธารถะตัวเอกของเรือ่ ง ไมวา จะ อยูภ ายใต “เสือ้ คลุม” ของพุทธหรือพราหมณกต็ าม แฝง ประวัติชีวิตของผูประพันธไวมากมาย ถึงกระนั้น ความ เขาใจผิดของเฮสเซอในหลายประเด็นเกี่ยวกับคำ�สอน ของพุทธศาสนาไดกอสานขึ้นเปนผลงานวรรณศิลปที่ นาสนใจศึกษาเปยมดวยเสนหอยางยากที่จะปฏิเสธได 



51


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

บรรณานุกรม เอกสารปฐมภูมิ เสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป. (2520). กามนิต. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: คลังวิทยา. เสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป. (2549). กามนิต-วาสิฏฐี ฉบับสมบูรณ. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพศยาม. Hesse, Hermann. (1978). Siddhartha. Frankfurt am Main: Suhrkamp. Gjellerup, Karl. (2007). Der Pilger Kamanita - Ein Legendenroman (นักเขียนรางวัลโนเบล). Cologne (Koeln): Anaconda Der Pilger Kamanita. Mann, Thomas. (1975). Frühe Erzählungen, Band 1 (เรื่องเลา ของโธมัส มันน, เลม 1). Frankfurt am Main: Fischer Verlag. เอกสารและแหลงขอมูลทั่วไป ภาษาไทย เทวัญกานต มุงปนกลาง. (2545). กามนิต : กลวิธีการนำ�เสนอกับแนวคิดทางพุทธศาสนา. วิทยานิพนธอักษร ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พรสรรค วัฒนางกูร, เยิค ทีเดอมันน. (2532). Einführung in die thailändische Kunst und Architektur - Lektüre für Reiseführer. ศูนยการศึกษาตอเนื่องรวมกับคณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม (Dictionary of Buddhism). พิมพครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สุจิตรา จงสถิตยวัฒนา. (2551). การเดินทางของปญญาและจินตนาการในกามนิต ของเสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป. วารสารอักษรศาสตร (ฉบับพิเศษ : การเดินทางหลายมิติ หลากพรมแดน) 31, 1 : 6-8. ภาษาตางประเทศ Author’s Calender jonka tekijä on Petri Liukkonen on hsensoitu Creative Commons Nimeä – Epäkaupallinen Eimuutettuja teoksia 1.0 Suomi (Finnland) lisenssilla. [Online]. Retrieved May 10, 2011. from http://www.kirjasto.sei-fi/gjelleser.htm Ball, Hugo. (1977). Hermann Hesse. Frankfurt am Main: Suhrkamp. 1. Auflage. Furger, Andreas und Graf, Felix. (2002). “Höllenreise durch mich selbst” Hermann Hesses Siddharta, Steppenwolf. Regina Bucher: Verlag Neue Zürcher Zeitung. Gjellerup, Karl. (2005). In Der Pilger Kamanita - Ein Legendenroman (นักเขียนรางวัลโนเบล). Cologne (Köln): Anaconda Der Pilger Kamanita. von Glasenapp, Helmuth. (1966). Der Buddhismus eine atheistische Religion. München: Szczesny. Hesse, Hermann. (1930). Mein Glaube (บทความเรือ่ ง “ความเชือ่ ของขาพเจา”). Cited in Volker Michels (2002), “Der ganze Osten atmet Religion” Siddharta und Hermann Hesses Beziehung zu Indien und China. In “Höllenreise durch mich selbst” Hermann Hesses Siddharta, Steppenwolf. Regina Bucher. von Andreas Furger und Felix Graf. Verlag Neue Zürcher Zeitung : 189. Hesse, Hermann and Glaube, Mein. (1930). (บทความเรือ่ ง “ความเชือ่ ของขาพเจา”). In Volker Furger, Andreas und Graf, Felix. “Höllenreise durch mich selbst” Hermann Hesses Siddharta, Steppenwolf. Regina Bucher: Verlag Neue Zürcher Zeitung.

52


การรับแนวคิดพุทธศาสนาในงานประพันธของคารล แกรเลอรุพ พรสรรค วัฒนางกูร

Hsia, Adrian. (1981, 2002). Hermann Hesse und China Darstellung, Materialien und interpretation, erweiterte Neuausgabe. Frankfurt am Main: Suhrkamp, 2. Auflage. Michels, Volker. (2002). “Der ganze Osten atmet Religion” Siddharta und Hermann Hesses Beziehung zu Indien und China. In “Höllenreise durch mich selbst” Hermann Hesses Siddharta, Steppenwolf. Regina Bucher: Von Andreas Furger und Felix Graf. Verlag Neue Zürcher Zeitung Mileck, Joseph. (1979). Hermann Hesse Dichter, Sucher, Bekenner. Biographie. München: C. Bertelsmann Verlag. Pfeifer, Martin. (1977). Hermann Hesses weltweite Wirkung. Frankfurt am Main: Suhrkamp. Pornsan Watanangura. Heinrich Detering, editors. (2009). On the Reception of Buddhism in German Philosophy and Literature – An Intercultural Dialogue. Bangkok: Centre for European Studies at Chulalongkorn University. Schröter, Klaus. (2005). Thomas Mann. RORORO monographie. Reinbek bei Hamburg: Rowohlt, 3. Auflage. von Wilpert, Gero. (2001). Sachwörterbuch der Literatur. Stuttgart: Alfred Kröner, 8. verbesserte und erweiterte Auflage. Zeller, Bernhard. (1963). Hermann Hesse in Selbstzeugnissen und Bilddokumenten. RORORO bild monographien. Reinbek bei Hamburg: Rowohlt, 1. Auflage. Zotz, Volker. (2000). Auf den glückseligen Inseln. Buddha in der deutschen Kultur. Berlin : 249 - 250.

53



การสรางสรรคนิทานคำ�กาพย 1 An Analysis of KAP Folktales ณัฐา ค้ำ�ชู 2 Nattha Khamchoo บทคัดยอ นิทานคำ�กาพยมีบทบาทตอสังคมไทยมาแตโบราณ มีหลักฐานปรากฏชัดเจนในสมัยอยุธยาถึงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 6 ในฐานะวรรณกรรมลายลักษณของชาวบานสำ�หรับใชสวดหรืออานในทีป่ ระชุมชน หรือในครัวเรือน ใชเปน แบบฝกหัดอานหนังสือใหคลองของกุลบุตร และใชเปนสื่อกลางในการสรางอานิสงสผลบุญในทางพระพุทธศาสนา กวีมีความสามารถอยางยิ่งในการถายทอดความรูความคิดที่เปนประสบการณสวนตนและประสบการณรวม ซึ่งหยั่งรากลึกมาจากการเคารพเชื่อมั่นและศรัทธาในพระพุทธศาสนา นำ�ความรอบรูทางวรรณกรรม การใชถอยคำ� ความจัดเจนในชีวติ และสัจธรรมของโลก รวมทัง้ จินตนาการ มาสรางสรรคเนือ้ หา แนวคิด และวรรณศิลป ทำ�ใหนทิ าน คำ�กาพยมโี ครงเรือ่ ง ตัวละคร และแนวคิดทีม่ คี วามสัมพันธเชือ่ มโยงกันอยางมีเอกภาพ ตัวละครมีลกั ษณะทางกายภาพ พฤติกรรม และชะตากรรมทีพ่ ลิกผันตามโครงเรือ่ ง ซึง่ สะทอนใหเห็นมุมมองของชีวติ ภายใตหลักไตรวัฏฏ ไตรลักษณ และไตรสิกขา ประกอบกับชั้นเชิงทางวรรณศิลป สื่อความหมายตรงตามเนื้อเรื่อง สื่ออารมณความรูสึก ความรูและ ความคิดของกวี ทำ�ใหผูอานสนุกสนานเพลิดเพลินและเกิดปญญาจากการรับรูชะตากรรมของตัวละครเปนอุทาหรณ กอใหตระหนักถึงความสำ�คัญของชีวิตและสรรพสิ่งอันอาจสงผลตอการเปลี่ยนแปลงตนเอง สังคม และโลกตอไปได นิทานคำ�กาพยจึงมีคุณคาอยางยิ่งแมจะผานกาลเวลามาเนิ่นนาน คำ�สำ�คัญ: 1. นิทานคำ�กาพย.

__________________ 1 บทความนีม้ าจากวิทยานิพนธเรือ่ ง “วิเคราะหการสรางสรรคนทิ านคำ�กาพย” วิทยานิพนธอกั ษรศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชา ภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2553 2 นักศึกษาปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

Abstract Kap folktales have been influential in Thai society since ancient times, with the existence of obvious evidence from the Ayutthaya Period to the Rattanakosin Period of King Rama 6. They were a dissemination of folk literature. They were used in prayer and recitation during social gatherings or in the household, and used as reading exercises for children. They were also used to worship the Lord Buddha. Poets have the intellect and skill to convey knowledge and ideas from the deep roots of respect, confidence and faith in Buddhism, a well-rounded knowledge of literature and its choice of words, and world-wide experience of life. In addition, poets have the imagination to create subject matter, and the good diction to convey meanings, ideas and feelings. These make for good characters and concepts, as well as a good and coherent plot. The characters have specific images, qualifications, behaviour, and changing fortunes during the three cycles of life. They also possess the three characteristics of Existence and the threefold training as representatives of society. Kap folktales are composed to convey meanings, feelings and concepts. This gives pleasure to the readers and makes them wiser. Thus, the readers realize the importance of life and everything which may affect the changes within themselves, society and the world. Kap folktales are therefore still a very valuable form of literature, even though they have existed for a long time. Keywords: 1. KAP Folktales.

56


การสรางสรรคนิทานคำ�กาพย ณัฐา ค้ำ�ชู

นิทานคำ�กาพยเปนวรรณกรรมไทยประเภทหนึง่ ซึ่งเรียกขานตามลักษณะคำ�ประพันธที่ประพันธดวย กาพยชนิดตางๆ สลับกันตลอดทัง้ เรือ่ ง และมีค�ำ ประพันธ ชนิ ด อื่ น แทรกบ า ง นิ ย มนำ � มาสวดอ า นและฟ ง ในที่ ประชุมชนหรือในครัวเรือนเพื่อความบันเทิงตามความ นิยมในอดีต เนือ่ งจากมีเนือ้ เรือ่ งสนุกสนาน และใหแงคดิ คติสอนใจ การสวดและฟงนิทานคำ�กาพยมคี วามสัมพันธกบั การสวดโอเอวิหารราย 3 ในภาคกลางและการสวดดาน 4 ในภาคใตซึ่งเปนประเพณีในการนำ�หนังสือคำ�กาพยมา สวดและฟงรอบพระอุโบสถในวันสำ�คัญทางพระพุทธ ศาสนา แมประเพณีการสวดหนังสือคำ�กาพยจะสิ้นสุด บทบาทในสังคมไทยไปแลวเนื่องจากมีเทคโนโลยีการ พิมพและนวัตกรรมที่ใหความบันเทิงรูปแบบอื่นพัฒนา มาแทนที่ตามความเจริญกาวหนาของสังคม ทำ�ใหไมมี การสราง สวด และฟงนิทานคำ�กาพยเหมือนแตกอน แต ก็ ยั ง คงมี ต  น ฉบั บ นิ ท านคำ � กาพย จำ � นวนมากเก็ บ รักษาไวที่หอสมุดแหงชาติและศูนยวัฒนธรรมตางๆ ใน ภาคกลางและภาคใต ซึ่งสะทอนใหเห็นความรุงเรือง และความนิ ย มของผู  ค นในอดี ต รวมทั้ ง ป จ จุ บั น มี หนวยงาน อาทิ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม และมหาวิ ท ยาลั ย มหามกุ ฏ ราชวิ ท ยาลั ย วิ ท ยาเขต ศรีธรรมาโศกราช ไดจัดใหมีโครงการอนุรักษประเพณี การสวดหนั ง สื อ คำ � กาพย อั น เป น เครื่ อ งยื น ยั น ให เห็ น ความสำ � คั ญ ของนิ ท านคำ � กาพย ไ ด เ ป น อย า งดี ด ว ยความน า สนใจของนิ ท านคำ � กาพย ต ามที่ กลาวมาขางตน อีกทั้งเมื่อพิจารณาจากเนื้อหาแลว

พบวานิทานคำ�กาพยสวนใหญมีเนื้อเรื่องสนุกสนาน ใหความรู ความคิด และมีถอยคำ�ภาษาที่มีชั้นเชิงเพื่อ สือ่ ความหมายและอารมณความรูส กึ ซึง่ เปนลักษณะเดน หรือลักษณะเฉพาะที่ทำ�ใหเปนที่ติดอกติดใจของผูคน จนกระทัง่ มีการสรางตนฉบับเปนจำ�นวนมาก ผูศ กึ ษาจึง สนใจทีจ่ ะวิเคราะหการสรางสรรคนทิ านคำ�กาพยในดาน เนื้อหาและวรรณศิลป เพื่อประกาศคุณคาของนิทาน คำ�กาพยในฐานะที่เปนวรรณกรรมที่ใหความบันเทิง และประเทืองสติปญญาผูอาน การศึกษานี้ ผูศึกษาจะวิเคราะหการสรางสรรค เนื้อหาและวรรณศิลปโดยใชตนฉบับนิทานคำ�กาพย ซึ่งพบตนฉบับในภาคกลางและภาคใตของประเทศไทย ที่มีการปริวรรตเผยแพรแลวและที่ยังไมมีการปริวรรต เผยแพร จำ�นวน 50 เรือ่ ง เปนเรือ่ งจากนิบาตชาดก 4 เรือ่ ง ไดแก กุศราชชาดก พญาหงส พระมหาชาดก และพระยา ฉัททันต เปนชาดกนอกนิบาต 46 เรือ่ ง ไดแก จันทคาด เทวัน นกจาบ นาวัน ปทุมกุมารชาดก พระแกนจันทน พระรถเมรี พระวรวงศ พระสุธน – นางมโนหรา พันทา กุมาร พระสี่เสาร ยศเกียรวรเกียร ศุภมิตร สุทธิกรรม ชาดก สุธนู เจ็ดจา เจาพุทโท เตาทอง นายดัน วันคาร สังขศิลปชัย สีทนนไชย สุบินชาดก สุวรรณหงส โสวัต ณรงคจิตรชาดก ดาวเรือง เดโชชัย ทุคตะ นาง อึ่งทอง นางอุทัย บุนทนาวงศ เบญจมาศทอง ปองครก ปงคชา พระกายโสต พระชินุรัตน วรพินธ ศรีพินธ ศรีสุทัศนสังหัสไชย สมุทรโคดม สินนุราช สุวรรณรัตน สุวรรณลอยลอง หงสยนต และพระยาชมพู

__________________ 3 การสวดโอเอวหิ ารรายหรือโอเอพหิ ารรายเปนประเพณีทสี่ บื เนือ่ งมาจากการสวดมหาชาติซงึ่ มีมาตัง้ แตสมัยอยุธยา ในอดีตจะ สวดเรื่องมหาชาติโดยเลือกสำ�รับที่ดีเดนเปนสำ�รับหลวงเขาไปสวดถวายพระเจาอยูหัวในพระวิหารใหญวัดพระศรีสรรเพ็ชญซึ่งตั้ง​อยูใน พระบรมมหาราชวัง สวนผูที่ยังสวดไมคลองไมถูกทำ�นองจะนั่งฝกซอมตามวิหารเล็กที่รายรอบพระอุโบสถวัดพระศรีสรรเพ็ชญ เสียงของ คนสวดฟงออแอไมชัดเหมือนอยางคนเมาจึงเรียกวาโอเอวิหารรายหรือโอเอพิหารราย มาในสมัยรัชกาลที่ 4 โปรดใหนักเรียนโรงทานนำ� หนังสือที่เรียนเรื่องใดก็ไดมาเปนบทสวด ครั้นปลายสมัยรัชกาลที่ 5 สวดแตเรื่องกาพยพระไชยสุริยาเทานั้น 4 การสวดดานหรือการสวดหนังสือทีพ่ ระดานเปนประเพณีการนำ�หนังสือรอยกรองประเภทนิทานทีม่ กั บันทึกในหนังสือบุดมาสวด หรืออานรอบพระระเบียงหรือวิหารคดทั้ง 4 ดานขององคพระบรมธาตุเจดียในวัดพระมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช ระหวางที่ รอพระภิกษุสงฆมาเทศนา เพื่อใหเกิดความเพลิดเพลิน มีความรู คติสอนใจ และไมรูสึกเบื่อในขณะที่รอ

57


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

1. การสรางสรรคเนื้อหา องคประกอบของเนือ้ หาซึง่ ทำ�ใหนทิ านคำ�กาพยมี ลักษณะเฉพาะและโดดเดน ไดแก โครงเรื่อง ตัวละคร และแนวคิด 1.1 โครงเรื่อง 1.1.1 การวิเคราะหโครงเรื่อง นิ ท านคำ � กาพย มี ก ารลำ � ดั บ เหตุ ก ารณ ที่ สามารถจัดเปนกลุมโครงเรื่องที่สำ�คัญได 3 แบบ คือ แบบใชหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาแกปญหา แบบ ผจญภัยไดนาง และแบบใชความเปนคนเจาปญญาใน การแกปญหา โครงเรื่องแตละแบบมีลักษณะเฉพาะ แตกตางกัน กลาวคือ แบบใชหลักธรรมทางพระพุทธ ศาสนาแกปญหามีความโดดเดนที่การคลี่คลายปญหา ของเรื่ อ งซึ่ ง เน น ว า เกิ ด จากตั ว ละครเอกปฏิ บั ติ แ ละ นำ�หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใชแกไขปญหา มี 8 เรือ่ ง แบบผจญภัยไดนางมีความโดดเดนทีก่ ารดำ�เนิน เรื่องดวยปญหาที่เกี่ยวเนื่องกับกิเลสของมนุษยและมี การคลีค่ ลายปญหาตามวิสยั ปุถชุ น ตัวละครตองเดินทาง เผชิญทุกขและสุข พบความรัก พลัดพราก แกไขปญหา จนกระทั่งประสบความสำ�เร็จ มี 39 เรื่อง สวนแบบ ใช ค วามเป น คนเจ า ป ญ ญาในการแก ป  ญ หามี ค วาม โดดเดนทีก่ ารคลีค่ ลายปญหาซึง่ เกิดจากการใชไหวพริบ ของตัวละครเอก เพื่อมุงแสดงอารมณตลกขบขัน มี 2 เรื่อง นอกจากนี้ยังมีโครงเรื่องแบบพุทธประวัติ 1 เรื่อง โครงเรื่องทั้งหมดมีลักษณะรวมกันตรงที่มีการนำ�หลัก ปฏิบัติและหลักธรรมพระพุทธศาสนามาใชสรางสรรค ดวยเสมอ โดยเฉพาะนำ�มาใชในการคลี่คลายปญหา ใชเปนลักษณะทางกายภาพ ความประพฤติของตัวละคร และใชในการจบเรือ่ ง จนกลาวไดวา การนำ�หลักพระพุทธ ศาสนามาสรางสรรคโครงเรื่องเปนลักษณะเฉพาะที่ โดดเดนของนิทานคำ�กาพย 1.1.2 โครงสรางของโครงเรื่อง แมนิทานคำ�กาพยจะมีโครงเรื่องหลายแบบ แตมีโครงสรางของโครงเรื่องอยางเดียวกัน กลาวคือ มีการเปดเรื่อง การดำ�เนินเรื่อง (ดวยปญหาและการ คลี่คลายปญหา) และการจบเรื่อง ซึ่งเกิดจากการนำ� มโนทัศนที่กวีมีตอสังคมแวดลอมมาสรางสรรคตาม ขนบนิ ย มในการประพั น ธ แ ละปรั บ ให ส อดคล อ งกั บ

58

รสนิยมของผูอานผูฟง แลวนำ�มาเชื่อมโยงกันอยางมี สัมพันธภาพ การเปดเรื่อง กวี นิ ย มเป ด เรื่ อ งด ว ยการกล า วถึ ง ประวั ติ ความเปนมาของตัวละครเอก อันเปนขนบนิยมในการ เปดเรือ่ งแบบนิทานพืน้ บานทัว่ ไป แมนทิ านคำ�กาพยนนั้ จะมาจากชาดกซึ่ ง ปรกติ เ ป ด เรื่ อ งด ว ยป จ จุ บั น วั ต ถุ แตเมือ่ กวีน�ำ มาประพันธเปนคำ�กาพยกน็ ยิ มปรับเปลีย่ น การเปดเรื่องใหเปนไปตามรสนิยมของผูอานผูฟงที่ คุ  น ชิ น กั บ การอ า นและฟ ง นิ ท านพื้ น บ า น ทั้ ง นี้ อ าจ เนื่องจากการกลาวถึงประวัติความเปนมาของตัวละคร ทำ�ใหผูอานผูฟงเขาใจพื้นฐานชีวิตของตัวละครที่จะนำ� ไปสูการเดินทางผจญภัยตอไป นอกจากนี้ยังเปนสวนที่ กวีไดแสดงฝมอื ทางประพันธไดมากเนือ่ งจากมักมีบทชม ความงามของตัวละครและบานเมืองอยางวิจิตรอลังการ ซึง่ นาจะมีสว นดึงดูดใหผอู า นผูฟ ง ติดตามเนือ้ เรือ่ งตอไป การดำ�เนินเรื่อง ปญหาหรือความขัดแยงที่ปรากฏในนิทาน คำ�กาพยมักเปนปญหาระหวางมนุษยกับมนุษย ซึ่งเกิด จากความโกรธ โลภ หลง ราคะ ทำ�ใหละเมิดหลักศีลธรรม ปญหาระหวางมนุษยกับธรรมชาติ อาทิ การเจ็บปวย การตาย และกรรม ปญหาระหวางมนุษยกับสิ่งเหนือ ธรรมชาติ เชน ไสยศาสตร และโชคชะตาราศี ปญหา เหลานี้ลวนเปนสิ่งที่มนุษยตองประสบในโลกของความ เปนจริง จึงเปนเสมือนภาพสะทอนมโนทัศนของมนุษย ที่มีตอสังคม การคลี่ ค ลายป ญ หาของเรื่ อ งเกิ ด จาก ศักยภาพของมนุษยซึ่งประกอบดวย ความสามารถและ คุณธรรม อาทิ การมีปญ  ญา ความกลาหาญ ความกตัญู ความเมตตากรุณา ความเคารพศรัทธาและปฏิบัติตาม หลักธรรมพระพุทธศาสนา การคลี่คลายปญหาโดย ธรรมชาติ และการคลีค่ ลายปญหาดวยสิง่ เหนือธรรมชาติ ชวยขจัดปญหาหรือความขัดแยงที่เกิดขึ้น ป ญ หาและการคลี่ ค ลายป ญ หาในนิ ท าน คำ � กาพย แ ต ล ะเรื่ อ งจะคล า ยคลึ ง กั น แตกต า งกั น ที่ ผูกระทำ� รายละเอียดของการกระทำ� และผูถูกกระทำ� นอกจากนี้จะสังเกตไดวาปญหาและการคลี่คลายมักจะ เกิดตอเนื่องเชื่อมโยงกันเสมอ อาจมีปญหา 1 ปญหา


การสรางสรรคนิทานคำ�กาพย ณัฐา ค้ำ�ชู

หรือปญหาทับซอนมากกวา 1 ปญหาแลวจะมีการ คลี่คลายปญหาที่เกิดขึ้นนั้นสืบเนื่องกันไป ทำ�ใหเห็น ชะตากรรมที่พลิกผันของตัวละครเอกจากรายเปนดี จากดีเปนราย เราใหผูอานผูฟงเกิดอารมณตางๆ ตาม เนื้อเรื่อง การจบเรื่อง นิ ท า น คำ � ก า พ ย  นิ ย ม จ บ เ รื่ อ ง ด  ว ย สุขนาฏกรรม ตัวละครมีความสุขสมหวังในความรัก ได ค รอบครองเมื อ ง มี ลู ก หลานสื บ สกุ ล และมี อ ายุ ยืนยาว นอกจากจะจบเรื่องดวยความสุขทางโลกียะ ดังกลาวแลว กวีมักนำ�พระพุทธศาสนามาเชื่อมโยงดวย เสมอวาตัวละครไดปฏิบัติตามหลักธรรมคำ �สอนทาง พระพุทธศาสนาควบคูไ ปดวย เชน เรือ่ งนกจาบ กลาวถึง บั้นปลายชีวิตของสรรพสิทธวา ๏ ครองราชสมบัติ เปนธรรมแททัด เลิศล้ำ�ดินดาล เขาเหลือเกื้อหนุน ทำ�บุญใหทาน สรางโพธิญาณ เพิ่มพระบารมี (นกจาบ, บทที่ 917, 164) นอกจากนี้ในนิทานคำ�กาพยบางเรื่องยังได กลาวถึงตัวละครเอกที่เมื่อประสบความสำ�เร็จในโลกียะ แลวก็จะปลงอนิจจัง สละราชสมบัติออกบวช เชน เรื่อง พระวรวงศ นายดัน สุวรรณหงส เดโชชัย ดาวเรือง ทุคตะ สุวรรณรัตน เปนตน อันแสดงใหเห็นวาความ สุขที่แทจริงแลวคือการปฏิบัติตามหลักธรรมพระพุทธ ศาสนาเพือ่ สรางสมบุญบารมีใหแกชวี ติ ดังตัวอยางเรือ่ ง นายดัน ตอนที่นายดันหมดกรรม ตาหายบอด และ ประกอบอาชีพจนกระทัง่ ประสบความสำ�เร็จแลว นายดัน จึงไดตัดสินใจออกบวช โดยมีนางไรสนับสนุน ๏ ดูรานองรัก พี่จักจากหอง มั่นคงแลวนอง เชิญนองเอาบุญ ๏ บาลีมีมา บวชผัวกอกุล

แกวพี่มีศักดิ์ ไปบวชเปนสงฆ เจาอยาหมนหมอง ผูใดศรัทธา บวชลูกบวชขา

ทานวาไดบุญ จงเชื่อในคุณ พระศาสดาจารย ๏ ฝายขางนางไร ฟงผัวปราศรัย มีใจชื่นบาน เชิญบวชเถิดพี่ นองมิเปนมาร เสร็จแลวมินาน แจงการญาติกา (นายดัน, บทที่ 342 – 344, 507) เป น ที่ น  า สั ง เกตว า ตั ว ละครมั ก จบชี วิ ต และ ไดไปถือกำ�เนิดบนสวรรค อาจเปนเพราะสวรรคเปน ดิ น แดนแห ง ความสุ ข ซึ่ ง เป น ความฝ น หรื อ ความ ปรารถนาสูงสุดของผูอานผูฟงระดับชาวบาน กวีจึง ไดนำ�มโนทัศนเกี่ยวกับสวรรคมาพรรณนาเปนภาพ เชิ ญ ชวนให ผู  อ  า นผู  ฟ  ง หมั่ น กระทำ � ความดี ส ร า งสม บุ ญ บารมี เ พื่ อ จะได ไ ปถื อ กำ � เนิ ด ในดิ น แดนดั ง กล า ว นอกจากนี้ นิ ท านคำ � กาพย ยั ง มี ป ระชุ ม ชาดกในท า ย เรื่องเพื่อบอกถึงการกลับชาติของตัวละครมากำ�เนิด เปนบุคคลในสมัยพุทธกาลแมนิทานคำ�กาพยนั้นมิไดมี ที่มาจากชาดก ทั้งนี้อาจเปนเพราะกวีตองการสราง ความเชื่ อ มั่ น ให ผู  อ  า นผู  ฟ  ง เคารพเลื่ อ มใส ตั้ ง ใจฟ ง และรักษาตนฉบับ เนื่องจากเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับ พระพุทธเจา 1.2 ตัวละคร กวี ใ ห ค วามสำ � คั ญ กั บ การสร า งสรรค ตั ว ละครมาก เนื่องจากตัวละครมีบทบาทสำ�คัญตอการ ดำ � เนิ น เรื่ อ ง ลั ก ษณะและพฤติ ก รรมที่ โ ดดเด น ของ ตั ว ละครสามารถทำ� ให ว รรณกรรมเรื่ อ งนั้ น ๆ เป นที่ จดจำ� ประทั บ ใจแก ผู  อ  า นผู  ฟ  ง เป น พิ เ ศษ (รื่ น ฤทัย สัจจพันธุ 2534 : 236) ตัวละครสำ�คัญในนิทานคำ�กาพยมี 3 กลุม คือ กลุมตัวละครฝายดี ตัวละครฝายราย และตัวละคร ที่เปลี่ยนแปลงนิสัย กวีใหความสำ�คัญในการสรางสรรค รูปรางหนาตาและจิตใจซึ่งแสดงผานพฤติกรรมของ ตัวละครแตละกลุมอยางโดดเดน ตัวละครมีลักษณะ เหมื อ นมนุ ษ ย ใ นสั ง คมจริ ง และมี ค วามพิ เ ศษเหนื อ มนุ ษ ย เ พื่ อ ให เ นื้ อ เรื่ อ งสนุ ก สนานตื่ น เต น แต ใ น ขณะเดียวกันก็ท�ำ ใหเห็นความปรารถนา ความหวัง และ ความวิ ต กกั ง วลของมนุ ษ ย ที่ มี ต  อ การดำ � เนิ น ชี วิ ต ใน

59


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

สังคมซึ่งเปนอุทาหรณเตือนใจไดดวย 1.2.1 รูปรางหนาตา การที่ ก วี ใ ห ค วามสำ � คั ญ กั บ รู ป ร า งหน า ตา ของตัวละครเปนเพราะองคประกอบสวนนีท้ �ำ ใหเนือ้ เรือ่ ง มีความโดดเดน จดจำ�ไดงาย สนุกสนาน อีกทั้งยังเปน สวนทีก่ วีไดแสดงความสามารถรอบรู สอดแทรกความคิด ประสบการณชวี ติ เพือ่ เตือนใจและสอนคติธรรมไดอยาง กลมกลืน กลาวคือ กวีมักอธิบายเหตุของการที่ตัวละคร มี ค วามงดงามหรื อ มี ค วามพิ เ ศษเหนื อ ธรรมชาติ ว  า เปนเพราะในอดีตชาติเคยทำ�บุญกุศลไวมาก เชน นาง ประภาวดีในเรื่องกุศราชชาดกมีความงดงามมากเปน เพราะเคยทำ�บุญตักบาตรและตั้งจิตอธิษฐานขอใหถือ กำ�เนิดมางดงาม ในขณะเดียวกันตัวละครที่มีลักษณะ อัปลักษณก็มักอธิบายเหตุไววาเปนเพราะกรรม เชน การที่กุศราชในเรื่องกุศราชชาดกหนาตาอัปลักษณ เปนเพราะเคยทำ�บุญดวยความโกรธ นายดันจากเรื่อง นายดันตาบอดเป น เพราะแกล ง ทำ � เป น มองไม เ ห็ น พระภิกษุมาบิณฑบาต ซึง่ เปนการสอนเรือ่ งกรรมดีกรรม ชั่วใหผูอานผูฟงเกรงกลัวตอการกระทำ�บาป นอกจากนี้ ยั ง มี ตั ว ละครที่ ซ  อ นรู ป อยู  ใ นสั ต ว เ ดรั จ ฉาน ได แ ก เตาทอง นางอึ่งทอง และนางอุทัย ซอนรูปอยูในเตา อึ่งอางและกบ ตามลำ�ดับ ซึ่งลวนเปนสัตวที่ชาวบาน นิยมรับประทาน การที่กวีสรางสรรคใหตัวละครซอนรูป ในสัตวเหลานี้จึงเปนสื่อในการสอนมิใหมนุษยฆาสัตว ตัดชีวิตดวย ตัวละครเอกสวนใหญมักมีคุณสมบัติพิเศษ เหนือมนุษยทั้งนี้ลวนเปนผลมาจากบุญ เชน นางจันทร ในเรื่องเทวันมีกลิ่นกายหอมเปนเพราะเคยทำ�บุญสราง พระพุทธรูปดวยไมจันทน พระยาชมพูในเรื่องพระยา ชมพูถอื กำ�เนิดมาพรอมรองเทา พระขรรค และศรวิเศษ เปนเพราะเคยทำ�บุญถวายรองเทา เข็ม และผากัมพล แดพระพุทธเจา มักมีของวิเศษคูบุญซึ่งเปนเครื่องมือ ฝาฟนอุปสรรคและทำ�ใหมีโอกาสประสบความสำ�เร็จ ไดงายดายเหนือตัวละครอื่น กวีไดนำ�สิ่งของในชีวิต ประจำ�วัน เชน ดาบ ศร รองเทา เรือ ฯลฯ รวมทั้งความ เชื่อเรื่องแกวสารพัดนึก มาจินตนาการสรางสรรคใหมี คุณสมบัติพิเศษ เชน เปนอาวุธมีฤทธิ์มาก เปนยาน พาหนะวิเศษ มีคุณสมบัติสารพัดนึก สามารถชุบชีวิต

60

และรักษาโรค หยั่งรูอนาคต สามารถเสกอาหาร และ ใหความรื่นเริง ของวิเศษเหลานี้ทำ�ใหเนื้อเรื่องนิทาน คำ�กาพยสนุกสนาน และสะทอนใหเห็นมโนทัศนของ มนุษยที่มีความหวาดกลัว ไมอยากเปนหรือประสบ เหตุการณบางอยาง และปรารถนาที่จะประสบความสุข สำ�เร็จ มนุษยจงึ จินตนาการใหมขี องวิเศษเพือ่ ตอบสนอง ความคิดเหลานั้น กลาวคือ มนุษยปรารถนาจะเอาชนะ ขาศึกศัตรู ตองการเดินทางไกลอยางรวดเร็ว สะดวก ปลอดภัย ไมตองการพลัดพรากหรือตายจากคนรัก หวาดวิ ต กต อ เหตุ ก ารณ ใ นอนาคตที่ มิ อ าจล ว งรู  ไ ด ตองการมีชีวิตที่มีความสุขสนุกสนาน และปรารถนา ไดทุกสิ่งดังใจหวัง ของวิเศษจึงเปนองคประกอบใหเนื้อ เรื่องนิทานคำ�กาพยสนุกสนาน ทั้งยังสะทอนใหเห็น ความสามารถของกวีในการถายทอดความรูความคิด ทำ�ใหผูอานผูฟงไดรับรสและจินตนาการอีกดวย 1.2.2 พฤติกรรม สวนการสรางสรรคพฤติกรรมของตัวละคร นั้นเกิดจากการที่กวีไดนำ�ประสบการณชีวิต มุมมองที่ มีตอ มนุษย สังคม และโลก ภายใตคา นิยม ขนบประเพณี ของสั ง คม มาสร า งสรรค ใ ห ตั ว ละครแสดงความคิ ด แสดงพฤติ ก รรมเสมื อ นมนุ ษ ย มี ชี วิ ต โลดแล น ใน สถานการณตางๆ เปนตัวแทนของมนุษยที่ประพฤติดี มนุษยที่ประพฤติชั่ว และมนุษยที่เปลี่ยนแปลงนิสัย การที่ผูอานผูฟงรับรูเรื่องราวของตัวละครจึงเทากับ เปนการรับรูเรื่องราวของมนุษยในสังคมจริง ซึ่งอาจ กระตุนใหเขาใจความคิด จิตใจ ตระหนักถึงคุณคาชีวิต ของตนเองและของผูอื่นที่มีประสบการณชีวิตคลายคลึง กับตัวละครในเรื่อง 1.3 แนวคิด นิ ท านคำ � กาพย มี แ นวคิ ด หลั ก ซึ่ ง สั ม พั น ธ กั บ หลักธรรมพระพุทธศาสนา ไดแก แนวคิดเรื่องไตรวัฏฏ ไตรลักษณ และไตรสิกขา อันเปนหลักธรรมที่สัมพันธ สอดคลองกับการดำ�เนินชีวิตของมนุษยและสัจธรรม ของโลก ดวยการนำ�เสนอผานรูปลักษณ พฤติกรรม และเหตุการณหรือสถานการณตางๆ ในเรื่อง ซึ่งผูอาน ผู  ฟ  ง แต ล ะคนจะเกิ ด ความรู  ค วามคิ ด เมื่ อ ได รั บ รู  เรือ่ งราวทีแ่ ตกตางกันตามวุฒภิ าวะ เจตคติ ประสบการณ ชีวิต และอารมณกระทบใจที่ตางกัน (ชวน เพชรแกว


การสรางสรรคนิทานคำ�กาพย ณัฐา ค้ำ�ชู

2549 : 112) 1.3.1 แนวคิดเรื่องไตรวัฏฏ ไตรวัฏฏ วัฏฏะ 3 วงวน 3 หรือวงจร 3 สวน ของปฏิจจสมุปบาทซึ่งหมุนเวียนสืบทอดตอๆ กันไป ทำ�ใหมีการเวียนวายตายเกิด หรือวงจรแหงทุกข ไดแก กิเลส กรรม และวิบาก คือ กิเลสเปนเหตุใหทำ�กรรม เมื่ อ ทำ � กรรมก็ ไ ด รั บ วิ บ ากคื อ ผลของกรรมนั้ น อั น เปนปจจัยใหเกิดกิเลสแลวทำ�กรรมหมุนเวียนตอไปอีก (พระพรหมคุณาภรณ 2552 : 120) นิทานคำ�กาพยกลาวถึงเรื่องไตรวัฏฏโดย นิ ย มแสดงเป น เหตุ ก ารณ ที่ ตั ว ละครมี กิ เ ลสทำ � ให มี การกระทำ�ในทางที่ดีหรือไมดีนำ�ไปสูการที่ตัวละครได รั บ วิ บ าก หรื อ นำ � เสนอผ า นคำ � สั่ ง สอนของตั ว ละคร ตัวหนึง่ ทีม่ ตี อ ตัวละครอีกฝายหนึง่ ดังจะเห็นไดจากเรือ่ ง ดาวเรือง ตอนที่ดาวเรืองเทศนาธรรมแกทาวกุศราช เนื้ อ หาข อ ธรรมที่ ด าวเรื อ งได เ ทศนานั้ น สะท อ นให เห็นถึงปญหาของสังคมที่เกิดจากกิเลสตัณหาตางๆ ของมนุษยวา ๏ โทโสมักได สะสมทรัพยไว วาตนมั่งมี ใหลืมความตาย เพราะวาตนดี เอาแตโลกีย มาเปนอารมณ ๏ ลางคนมักใหญ เห็นเขายากไร ใจเกลียดใจกล วาทรัพยกูมี ทุกสิ่งอุดม แตตั้งใจชม ประโลมตัณหา ๏ ทั้งนี้ยอมหลง ใจรายมิตรง ดวยความราคา เห็นแตจะได ไมคิดอนิจจา ทั้งนี้แลหนา มาบังหัวใจ ๏ ตัณหายอมทุกข บมีความสุข มากนอยเทาใด ครั้นมือจะถึง จะเอาตนไป ตกในกลางไฟ ทนเวทนา (“ดาวเรือง เลม 3,” บทที่ 1431 – 1434)

กวีนำ�เสนอแนวคิดใหเห็นวาการที่มนุษยมี กิเลสทำ�ใหเกิดปญหาและความทุกขเนือ่ งจากความโกรธ ความโลภ อยากไดใครมี หลงมัวเมาในทรัพย ลาภยศ สรรเสริญ และความรักใคร เปนตน ทำ�ใหมนุษยกระทำ� กรรม และยอมไดรับวิบาก นอกจากนี้กวีนิยมนำ�แนวคิดเรื่องไตรวัฏฏ มาสรางสรรคเปนรูปลักษณตวั ละคร อธิบายเหตุถงึ ความ แตกตางของรูปรางหนาตา โรคภัยไขเจ็บ ฐานะ คูครอง และคุณลักษณะพิเศษเหนือมนุษยเพื่อเนนย้ำ�วาเปนผล หรือวิบากมาจากกรรมและกิเลส ดังจะเห็นไดจากเรื่อง กุศราชชาดกซึ่งอธิบายเหตุที่นางประภาวดีมีหนาตา งดงามและเกิดเปนธิดากษัตริยวาเปนเพราะนางทำ�บุญ ดวยดอกไม ธูปเทียน ของคาวหวานและตั้งใจอธิษฐาน ของใหมีหนาตางดงามและปราศจากความยากจน สวน การที่กุศราชถือกำ�เนิดเปนโอรสกษัตริยและหนาตา อัปลักษณเปนเพราะเคยทำ�บุญดวยความโกรธ เรื่อง นายดันกลาวถึงนายดันทีต่ อ งตาบอดวาเพราะเคยแกลง มองไมเห็นพระภิกษุมาบิณฑบาต ในขณะทีเ่ รือ่ งสุวรรณ หงสและพระมหาชาดก กลาวถึงการไดคูครองที่ ไมเหมาะสมของนางสุพันธลิกาและนางอบิดิดาวาเปน ผลมาจากการทำ�บุญดวยความโกรธและไมตงั้ ใจ เปนตน กิเลสและกรรมซึ่งสงผลใหตัวละครมีลักษณะ ตางกันดังกลาวมีความสัมพันธกับจูฬกัมมวิภังคสูตร ที่ 5 วาดวยกฎแหงกรรมทีท่ �ำ ใหมนุษยมคี วามประณีตและ เลวทรามแตกตางกัน 7 คู ไดแก เหตุที่ทำ�ใหมนุษยมี อายุนอ ยและอายุยนื มีโรคมากและมีโรคนอย มีผวิ พรรณ ทรามและผิวพรรณดี มีศักดาหรืออานุภาพนอยและ ศักดาหรืออานุภาพมาก มีทรัพยนอยและมีทรัพยมาก เกิดในตระกูลต่ำ�และตระกูลสูง และเหตุที่มีปญญาทราม และปญญาดีแตกตางกันวาเปนเพราะกรรมดีและชั่ว แตกตางกัน (มหามกุฏราชวิทยาลัย 2530 : 251 – 259) นิ ท านคำ � กาพย นำ � เสนอแนวคิ ด ว า หน า ตา โรคภัยไขเจ็บ และฐานะ เปนวิบากกรรมสอดคลองกับ จูฬกัมมวิภังคสูตร และนำ�เสนอแนวคิดวาการมีคูครอง และมีคุณลักษณะพิเศษเหนือมนุษยเพิ่มตางออกไป เพิ่มเติมเรื่องกิเลสและกรรมอันเปนเหตุแหงวิบากกรรม แตกตางจากจูฬกัมมวิภังคสูตรดวย กลาวคือ นิทาน คำ � กาพย อ ธิ บ ายการกระทำ � อั น ส ง ผลต อ วิ บ ากกรรม

61


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

ด า นรู ป ลั ก ษณ จ ากกิ จ ปฏิ บั ติ ใ นชี วิ ต ประจำ � วั น ของ พุ ท ธศาสนิ ก ชนโดยเฉพาะเรื่ อ งการทำ � บุ ญ ตั ก บาตร ด ว ยความตั้ ง ใจและไม ตั้ ง ใจมาเชื่ อ มโยงเป น กรรมดี และกรรมชั่วสงผลใหตัวละครมีวิบากกรรมที่เปนสุข หรื อ ทุ ก ข เพื่ อ ให ผู  อ  า นผู  ฟ  ง เห็ น เป น อุ ท าหรณ แ ละ เกิดตระหนักรูถึงความสำ�คัญของการทำ�บุญเกื้อหนุน พระพุทธศาสนาดวยความตั้งใจมากกวาที่จะทำ �บุ ญ ตามหนาที่หรือตามประเพณี และถือวาเปนกรรมชั่ว ร า ยแรงซึ่ ง จะส ง ผลต อ ผู  ที่ ทำ � บุ ญ โดยปราศจากจิ ต ที่ เปนกุศล จะเห็ น ได ว  า กวี ส ามารถนำ � แนวคิ ด เรื่ อ ง ไตรวัฏฏมาสรางสรรคผานองคประกอบตางๆ ของ นิทานคำ�กาพย โดยเฉพาะการนำ�มาเปนคำ�ตอบอธิบาย เหตุ แ ละผลที่ ตั ว ละครต อ งมี รู ป ลั ก ษณ แ ละประสบ เหตุการณทดี่ แี ละรายตางๆ กัน ชะตากรรมของตัวละคร จึงเปนอุทาหรณใหผูอานผูฟงตระหนักถึงความเปนไป ของชีวิตตนเอง ยอมรับสภาวะที่เปนอยูในปจจุบัน และ หมั่ น ประกอบกรรมดี เ พื่ อ ให ห ลุ ด พ น จากความทุ ก ข ประสบความสุขสมหวังใหภายภาคหนา 1.3.2 แนวคิดเรื่องไตรลักษณ ไตรลักษณ คือ ลักษณะสาม อาการที่เปน เครื่องกำ�หนดหมายใหรูถึงความจริงของสภาวธรรม ทัง้ หลายทีเ่ ปนอยางนัน้ ๆ 3 ประการ ไดแก อนิจจตา คือ ความเปนของไมเที่ยง ทุกขตา คือ ความเปนทุกขหรือ ความเปนของคงทนอยูม ไิ ด อนัตตตา คือ ความเปนของ มิใชตัวตน (พระพรหมคุณาภรณ 2552 : 120) ลักษณะ ทั้งสามนี้มีแกสิ่งทั้งหลายเปนสามัญเสมอเหมือนกัน เรียกวา สามัญลักษณะ และเรียกอีกอยางหนึ่งวาธรรม นิยาม คือ กฎธรรมดาหรือขอกำ�หนดที่แนนอนของ สังขารทั้งปวง (พระธรรมกิตติวงศ 2548 : 272) กวี นำ � หลั ก ไตรลั ก ษณ ม าสร า งสรรค เ ป น แนวคิดสำ�คัญของเรื่องผานวัฏจักรชีวิตของตัวละครที่ เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาตั้งแตเริ่มกำ�เนิด เติบโต มีชะตากรรมที่พลิกผัน เผชิญกับความสุขและความ ทุกข จนถึงวาระสุดทายของชีวติ และมีตวั ละครรุน ลูกรุน หลานดำ�เนินชีวติ ตามวงเวียนนีส้ บื ไป อันแสดงใหเห็นถึง ความไมแนนอน ปรวนแปร เปนทุกข และไมมตี วั ตนของ ชีวติ ดังตัวอยางในเรือ่ งสุวรรณหงส ตอนทีส่ วุ รรณหงส

62

ปลงศพพระบิ ด าทำ � ให บั ง เกิ ด ป ญ ญาเห็ น ความไม เที่ยงแทของชีวิต กวีนำ�หลักไตรลักษณมาพรรณนา เหตุการณดังกลาวทำ�ใหเห็นความไมจีรัง ไมแนนอน และเต็มไปดวยความทุกข วา ๏ โอรูปรูปา หญิงชายเกิดมา เปนอนิจจัง ยอมเวียนเกิดตาย บมิไดจิรัง หนึ่งกองทุกขัง บมิยั่งยืน ๏ บางดีบางราย ทุกรูปรางกาย ยักยายวันคืน เมื่อแรกยังหนุม เนื้อหนังชุมชื่น ครั้นแกเปนอื่น หูลาตามัว ๏ ฟนฟางหลุดถอน เนื้อหนังเหี่ยวหยอน นั่งนอนเจ็บตัว เสนเอ็นแข็งขึง หูตึงตามัว ผมหงอกออกทั่ว หัวขาวราวปูน (สุวรรณหงส, บทที่ 5054 – 5056, 375) คำ�ประพันธขางตนเปนการนำ�เสนอแนวคิด เรือ่ งไตรลักษณโดยกลาวเปรียบเทียบถึงรูปกายของชาย หญิงวาเปนสิ่งไมจีรังยั่งยืน เพราะทุกคนยอมมีเกิด แก เจ็บ ตาย วนเวียนเชนนี้ไปเรื่อยๆ ไมรูจบสิ้น เมื่อยาม หนุมสาวมีรูปรางหนาตาผิวพรรณงดงามสดใส เมื่อยาม แกชราความสดใสสวยงามก็เปลีย่ นแปลงไปเปนผิวหนัง เหี่ยวยน หูตึงตาฝาฟาง ฟนและกระดูกเสื่อมหลุดหัก ผมหงอก เจ็บปวยงาย ทำ�ใหเกิดความทุกข และในทาย ทีส่ ดุ มนุษยทกุ คนก็ตอ งตาย รางกายเนาเปอ ย กลายเปน สิ่งปฏิกูล ไรคุณคา และตองยอยสลายไปกับแผนดิน ไมหลงเหลือความเปนตัวตน สัมพันธกับคำ�วาอนัตตา ดังคำ�ประพันธวา ๏ อนัตตาสูญเปลา รูปกายของเรา สูญเปลาปฏิกูล เนาเปอยสาธารณ วิญญาณสาบสูญ กระดูกกองมูล เจือหนูนสุธา ๏ อันรูปกายัง กอปรดวยทุกขัง อนิจจังอนัตตา นี้แลไตรลักษณ


การสรางสรรคนิทานคำ�กาพย ณัฐา ค้ำ�ชู

เอกอัครธรรมา เปนหลักโลกา แหงพระไตรภู (สุวรรณหงส, บทที่ 5057 – 5058, 375) ความไมจีรัง ไมแนนอนของชีวิต ยังปรากฏ ในรูปของการมีลาภ เสื่อมลาภ มียศ เสื่อมยศ สรรเสริญ นินทา สุข และทุกข ที่เรียกวา โลกธรรม 8 คือ เรื่อง ของโลก ธรรมดาของโลก สิ่งที่มีอยูประจำ�ในโลกที่ไมมี ใครหลีกพนไปไดไมวาจะตองการหรือไมตองการก็ตาม (พระธรรมกิตติวงศ 2548 : 847) ดังจะเห็นไดจากเรื่อง ปงคชา ตอนที่นางปงคชาถูกใสรายวาเปนยักษและ ถูกขับไลออกจากวัง มีขอ ความประพันธทสี่ ะทอนใหเห็น ถึงความเปนทุกขอันเนื่องมาจากความไมแนนอนของ ชีวิต วา ๏ สงสารเทวี ยามเมื่อไดดี ปรีดิ์เปรมหรรษา พระสนมกมเกลา ค่ำ�เชาอัตรา กลัวเดชเดชา ปรากฏยศไกร ๏ เมื่อเจาตกไร เขายอมหนีหนาย เสสวนไยไพ เราทานทั้งหลาย ควรจำ�ใสใจ เพื่อนสนิทมิตรสหาย เขาไมนำ�พา (“ปงคชา เลม 1,” บทที่ 292 – 293) คำ�ประพันธขางตนแสดงใหเห็นถึงความเปน อนิจจังของชีวิตที่มีขึ้นมีลง มีลาภ ยศ สรรเสริญ มีความ สุข มีตกต่ำ� เสื่อมลาภ เสื่อมยศ ถูกนินทาและซ้ำ�เติม มีความทุกขตามหลักโลกธรรม 8 และสอดคลองกับหลัก ไตรลักษณทำ�ใหเห็นความไมแนนอน ความแปรปรวน ของชี วิ ต และเมื่ อ มี ชี วิ ต ตกต่ำ � ก็ ย  อ มเกิ ด ความทุ ก ข แนวคิดเรื่องไตรลักษณที่ปรากฏผานนิทาน คำ � กาพย จึ ง ทำ � ให ผู  อ  า นผู  ฟ  ง ตระหนั ก และเข า ใจถึ ง สัจธรรมของชีวิตและโลก ยอมรับความเปนจริงและ เทีย่ งแทของชีวติ ทีไ่ มแนนอน ไมจรี งั รางกาย ทรัพยสนิ เงิ น ทอง เกียรติ ยศชื่อเสียง รวมทั้งสรรพสิ่ ง ในโลก ล ว นไม มี สิ่ ง ใดคงทนยั่ ง ยื น ไปได โ ดยตลอด วั น หนึ่ ง ยอมตองแตกสลาย มีเฉพาะอานิสงสผลบุญของคุณงาม

ความดีจากการประกอบกรรมดีเทานั้นที่จะติดกายและ นำ�ทางมนุษยไปสูภพภูมิที่มีความสุขในภายภาคหนา ได หลักไตรลักษณนี้จึงนาจะมีสวนกระตุนและขัดเกลา ให ผู  อ  า นผู  ฟ  ง ไม ลุ  ม หลงในโลกี ย สมบั ติ แ ละกลั บ มา กระทำ�ความดี 1.3.3 แนวคิดเรื่องไตรสิกขา ไตรสิกขา คือ สิกขาสาม ขอปฏิบัติที่ตอง ศึกษา 3 อยาง คือ อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และ อธิปญ  ญาสิกขา เรียกกันงายๆ วา ศีล สมาธิ ปญญา เปน หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่มีความสำ�คัญ เรียกวา พหุลธัมมีกถา คือ คำ�สอนที่พระพุทธเจาทรงแสดงบอย เนื่องจากเปนหลักธรรมหมวดสรุปพุทธธรรมทั้งหมด (พระพรหมคุณาภรณ 2552 : 121) นิ ท านคำ � กาพย ไ ด นำ � หลั ก ธรรมเรื่ อ ง ไตรสิ ก ขามาเป น แนวคิ ด สำ � คั ญ ของเรื่ อ งด ว ยการ สรางสรรคผานเหตุการณ ความประพฤติของตัวละคร ที่มีศีล และสมาธิ ทำ�ใหเกิดปญญาสามารถแกไขปญหา ทีเ่ กิดขึน้ ได เชน เรือ่ งบุนทนาวงศ กลาวถึง บุนทนาวงศ และนางจงควดีอดอยากยากแคน ทั้งคูจึงชวนกันไปถือ ศีลภาวนา ขัดเกลาจิตใจใหสงบนิ่ง ทำ�ใหบุนทนาวงศ บั ง เกิ ด ป ญ ญารู  แ จ ง เข า ใจสั จ ธรรมของชี วิ ต ที่ ย  อ ม ดำ�เนินไปตามกรรมและพบหนทางสวางที่จะหลุดพน จากความทุ ก ข ด  ว ยการมุ  ง ปฏิ บั ติ ธ รรม ดั ง ตั ว อย า ง คำ�ประพันธวา ๏ เจาบุนทนาวงศ วาองคนงเยาว ตามมาทันเรา เจาเรงภาวนา ๏ ศีลพระเปนเจา ใสเกลาเกศา ประมาทเลยหนา เจาอยาผายผัน ๏ เจาตั้งศรัทธา ศีลพระแปดอัน จะไดไปสวรรค เจาอยารอนใจ

เลาโลมโฉมยง ชะรอยเวรา อยาละหอยสรอยเศรา จงร่ำ�จำ�เอา อยาใหพลั้งพลาด ใตตนพฤกษา อุตสาหรักษา แมนวาเราตาย เสวยสุขทุกอัน

63


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

๏ เจาสอนเมียแลว บัดเดี๋ยวพระแกว ลุกเดินออกไป ลดองคลงนั่ง ใตรมพระไทร เจายอกรไหว คุณพระศาสดา ๏ จงอยูเหนือเกลา ขาพระพุทธเจา อยาไดคลาดคลา ทั้งคุณพระธรรม เลิศล้ำ�โลกา อยูเหนือเกศา ขาพระโดยจง ๏ ใจขาศรัทธา จะขอรักษา ศีลามงคล ขออยาประมาท พลั้งพลาดลืมหลง คุณพระพุทธองค อยูเหนือเกศา (บุนทนาวงศ, บทที่ 345 – 350, 337) จะเห็นไดวาบุนทนาวงศและนางจงควดีเปน ผูป ระพฤติตนอยูใ นศีล เมือ่ เมือ่ ศีลจึงทำ�ใหเกิดสมาธิ และ บังเกิดปญญาระลึกและตระหนักไดวาความทุกขยากที่ ตนตองประสบนัน้ เปนวิบากกรรม บังเกิดเปนความรูแ จง จนถึงขัน้ เกิดพุทธิปญ  ญา เขาใจสัจธรรมของชีวติ ยอมรับ สภาวะทุกขที่เปนอยูและนำ �ไปสูการพบหนทางออก จากวงวนของกิเลส หันมามุงปฏิบัติธรรมเพื่อสรางสม อานิสงสผลบุญใหพบความสุขแทจริง แนวคิ ด เรื่ อ งไตรวั ฏ ฏ ไตรลั ก ษณ และ ไตรสิกขาซึ่งเปนหลักธรรมที่สัมพันธกับสัจธรรมของ ชีวติ และโลกทำ�ใหผอู า นผูฟ ง เขาใจและยอมรับความเปน จริงของชีวติ และโลก เริม่ ตัง้ แตการยอมรับสภาวะทีด่ �ำ รง อยูในปจจุบันวาเปนผลมาจากกิเลสและกรรมตามหลัก ไตรวัฏฏ ตระหนักและไมยดึ ติดมัวเมากับสรรพสิง่ ในโลก อันเปนความ ไมเทีย่ งแท เปนทุกข ไมเปนแกนสาร และ ไมมีตัวตน ซึ่งเปนสามัญลักษณะหรือเรื่องธรรมดาของ โลกตามหลัก ไตรลักษณ และเรียนรูใหความสำ�คัญกับ การฝกปฏิบัติตนใหมีศีล สมาธิ เพื่อใหเกิดปญญา ใช แกไขปญหาชีวิตในระดับสามัญและนำ�ไปสูการคนหา คำ�ตอบอันเปนความจริงสูงสุดของชีวิตตามหลักของ ไตรสิกขา หลักธรรมซึ่งเปนแนวคิดสำ�คัญของนิทาน คำ�กาพยดังกลาวนับเปนการสั่งสอนใหมนุษยเกรงกลัว ละอายตอบาป และมุงกระทำ�ความดีสืบทอดพระพุทธ ศาสนา

64

นิทานคำ�กาพยจึงมีโครงเรื่อง ตัวละคร และ แนวคิดที่มีสัมพันธภาพซึ่งกันและกัน นอกจากความ สนุกสนานจากการอานการฟงอันทำ�ใหรับรูเรื่องราวที่ เปนอุทาหรณสอนใจแลว ยังใหความรูค วามคิดจากสาระ สำ�คัญที่กวีตองการสั่งสอนธรรมนำ�มาประสมประสาน กับความบันเทิงไดอยางกลมกลืน 2. การสรางสรรควรรณศิลป กวี มี ค วามสามารถอย า งยิ่ ง ในการเลื อ กสรร ถอยคำ�มารอยเรียงใหเกิดเสียงและความหมายตรงตาม เนื้อเรื่อง สื่อความรูความคิด และอารมณความรูสึก ไดอยางคมคายและมีชั้นเชิง 2.1 วรรณศิลปดานการใชคำ� กวี มี ค วามรู  ค วามสามารถในการเลื อ กสรร ถอยคำ�ที่ใชในชีวิตประจำ�วันและนำ�ภาษาพิเศษที่เกิด จากการใชความรูพลิกแพลงสรางสรรคอยางมีชั้นเชิง ดวยการเลนเสียงเลนความหมาย ใชภาพพจน เชน อุปมา อุปลักษณ อติพจน บุคคลวัต สัญลักษณ สัทพจน และ การแฝงนัย มารอยเรียงตามรูปแบบฉันทลักษณทจี่ ำ�กัด หรือมีขอกำ�หนดพิเศษ แตกวีก็สามารถสื่อความหมาย และอารมณไดตรงตามเนื้อเรื่อง รวมทั้งยังสื่อความรู ความคิ ด ที่ ลึ ก ซึ้ ง กว า งไกลเกิ น กว า ตั ว อั ก ษร ทำ � ให ผูอ า นผูฟ ง เขาใจความหมายและอารมณความรูส กึ ในเนือ้ เรื่อง รวมทั้งเกิดความรูความคิด จินตนาการ และเกิด อารมณความรูสึกรวม เชน ตัวอยางคำ�ประพันธในเรื่อง หงสยนต ตอนทีน่ างปทุมเกสรติดตามหาสุวรรณทกุมาร ในปา วา ... ๏ เห็นดอกรักราง หางนองกลางหน พบพระจุมพล ตนไมสบาย ๏ เห็นโศกโศกเศรา เปลาใจใจหาย (...ขาดหาย...) (...ขาดหาย...) ๏ โอดอกกาหลง ดงไมกฤษณา

รางแลวหางหาง หนใดไดพบ พนจากผัวตน เศราสรอยคอยเปลา หายไปไมมา (...ขาดหาย...) หลงอยูในดง หนานองหมองไหม


การสรางสรรคนิทานคำ�กาพย ณัฐา ค้ำ�ชู

ไมเห็นราชา กาหลงหลงหา หาเปลาเปลาใจ... (หงสยนต, บทที่ 568 - 570, 299 - 300) กวีใชศลิ ปะการประพันธดว ยการเลนเสียงเลน ความหมายของคำ� นำ�คำ�ซึ่งเปนชื่อพันธุไมซึ่งมีเสียง เหมือนหรือคลายกับคำ�ที่มีความหมายสื่อถึงอารมณ ความรูสึก อากัปกิริยาที่โศกเศรา กระวนกระวายใจของ ตัวละครทีต่ อ งประสบกับภาวะพลัดพรากจากคนรัก โดย เชือ่ มโยงคำ� เสียง และความหมายดวยกลบทกานตอดอก อีกตัวอยางหนึ่งเปนการเลนคำ�ซ้ำ�เสียงซ้ำ� ความหมาย ดังคำ�ประพันธในเรือ่ งสุวรรณหงส ตอนนาง เกษสุรยิ งตอบโตสวุ รรณหงสทตี่ อ งการใหนางยอมรับผิด ที่เคยแปลงกายเปนพราหมณไปเมืองเนินจักรวาลและ เกิดขอพิพาทขึ้น วา ...๏ จะวาปดก็ปด จะวาคดก็คด จะวาหดก็หดกาย จะวาจริงก็จริง จะวาหญิงก็หญิงกลาย จะวาชายก็ชาย จะวาหายก็หายคำ� ๏ จะวาหกก็หก จะวายกก็ยก จะวาปกก็ปกขำ� เดิมใครใหสัตย ใครตระบัดตัดคำ� เดิมใครชักนำ� ใครทำ�ใครกอน ๏ เดิมใครใหจริง ไวกับผูหญิง วาไมทิ้งถอน เดิมใครสัญญา ใครมาตัดทอน ใครทิ้งใครกอน ใครจรเหินเพลิน ๏ ใครจรพลัดพราก ตัวใครมักมาก ใครจากเมืองเดิน ใครทิ้งทอดใคร ผูใดเหินเพลิน ใครไปลวงเกิน ใครเหินเพลินอยู... (สุวรรณหงส, บทที่ 3091 – 3095, 240) คำ�ประพันธขางตน เปนการเลนคำ�ซ้ำ�เสียง ซ้ำ � ความหมายของคำ � ว า “จะว า ...ก็ . ..” ซ้ำ � ๆ กั น หลายวรรค โดยเปลี่ยนถอยคำ�ที่นำ�มาเสริมในชุดคำ� ดั ง กล า วด ว ยคำ � ตายเสี ย งสั้ น ที่ มี ค วามหมายสื่ อ ถึ ง

การกลาวเท็จ พูดปด การไมซื่อตรง ไดแก หก (หมาย ถึงโกหกตามภาษาทองถิ่นภาคใต) ปด คด ยก ปก และ คำ�เปนซึ่งมีความหมายสอดคลองกับเหตุการณที่ถูกนำ� มากลาวอางถึงในเรื่อง ไดแก หญิง ชาย จริง หาย ซึ่ง สัมพันธกบั เหตุการณทสี่ วุ รรณหงสตอ งการใหเกษสุรยิ ง ยอมรับวาเคยแปลงกายเปนชายติดตามไปเมืองเนิน จักรวาลจนกระทั่งเกิดขอพิพาทขึ้นจึงไดหนีกลับเมือง จริงหรือไม เกษสุริยงจึงโตตอบสวามีดวยการยอมรับ วาไดโกหก แปลงกายเปน ชาย และกระทำ �สิ่ง ที่ไม สมควรตามทีถ่ กู กลาวหา และไดตงั้ คำ�ถามยอกยอนโดย ใชโวหารปฏิปุจฉาโดยย้ำ�คำ�วา “ใคร” ซ้ำ�ๆ เพื่อตัดพอ ตอวาใหสุวรรณหงสฉุกใจคิดวาใครที่เปนตนเหตุของ ปญหาทั้งหมด ซึ่งคำ�ตอบก็คือเกิดจากการกระทำ�ของ สุวรรณหงสนนั่ เอง การใชถอ ยคำ�ในบทประพันธขา งตน จึงไพเราะทีเ่ สียง หนักแนนทีค่ วามหมาย และโดดเดนที่ คารมคมคายดวยการใชโวหารภาพพจนและการกลาว ย้ำ�คำ� แสดงใหเห็นความสามารถทางวรรณศิลปของกวี ที่สามารถเลือกสรรคำ�ที่มีน้ำ�เสียง ลีลาไพเราะ จำ�นวน คำ�นอย และจำ�กัดตามฉันทลักษณมาสื่อความหมาย ไดลึกซึ้งกินใจ 2.2 วรรณศิลปดานรสวรรณคดี รส หมายถึง สภาพจิตซึ่งเปนปฏิกิริยาทาง อารมณที่เกิดขึ้นในใจของผูอานเมื่อไดรับรูอารมณที่ กวีถายทอดไวในวรรณกรรมดวยศิลปะการประพันธ ตางๆ อารมณนั้นจะกระทบใจผูอาน ทำ�ใหเกิดการรับรู และเกิดปฏิกิริยาทางอารมณเปนการตอบสนองสิ่งที่กวี เสนอมา การพิจารณาผลที่เกิดแกผูอานตามทฤษฎีรส จึงทำ�ใหประจักษคุณคาของวรรณกรรม เพราะทำ�ให ตระหนักถึงความหมายในแงตางๆ ที่ปรากฏในผลงาน ตั้งแตความหมายที่เปนเนื้อหาสาระ ความหมายที่เปน อารมณ ข องกวี วิ ธี ก ารจำ � ลองอารมณ ข องกวี และ ปฏิกริ ยิ าอารมณของผูอ า น (กุสมุ า รักษมณี 2549 : 258) ในการศึกษาวรรณศิลปดานรสวรรณคดีนี้ผูวิจัยไดนำ� หลักทฤษฎีรสวรรณคดีไทยมาศึกษานิทานคำ �กาพย ทำ�ใหเห็นวา กวีมีความสามารถในการถายทอดความ หมาย อารมณความรูส กึ ของตัวละคร และอารมณความ รูส กึ ของกวี ผานเนือ้ หาสาระ สงผลใหผอู า นเกิดความรูส กึ ซาบซึง้ เพลิดเพลินกับรสแหงความงาม การเกีย้ วพาราสี

65


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

ของตัวละคร เกิดอารมณโกรธ และเศราสรอย ทำ�ให รู  สึ ก ซาบซึ้ ง และเห็ น อกเห็ น ใจตั ว ละครในฐานะเป น เสมื อ นเพื่ อ นมนุ ษ ย ค นหนึ่ ง รวมทั้ ง รู  สึ ก กระทบใจ เ นื่ อ ง จ า ก เ ห ตุ ก า ร ณ  ใ น นิ ท า น มี ส  ว น ที่ ต ร ง กั บ ประสบการณชีวิต เมื่ออานและฟงนิทานคำ�กาพยจึง บังเกิดเปนความอิม่ เอมใจ และยกระดับจิตใจใหสงู ขึน้ ได ตัวอยางคำ�ประพันธซึ่งแสดงใหเห็นความรู ความสามารถของกวี ใ นการเลื อ กสรรถ อ ยคำ � สื่ อ ความหมายและอารมณความรูสึก จะเห็นไดจากบทชม ความงามของรถเสนในเรื่องพระรถเมรีวา ๏ ดูพักตรงามพักตร เสนหานารัก เปนที่ปฏิโลม ดูกรรณงามกรรณ ดูทันตเทียมโฉม สีกระจางดังโคม เยายวนใจหญิง ๏ ดูเกศงามเกศ ดูเนตรงามเนตร วิเศษทุกสิ่งดูขนงงามขนง ดูชงคงามยิ่ง ดูกายพรายพริ้ง พริ้งพรายพรายตา ๏ ดูกรงามกร แลงามงามงอน เล็บสิดอกชบา ดูโอษฐ (งามโอษฐ) (...ชำ�รุด...) (...ชำ�รุด...) (พระรถเมรี, บทที่ 3093 – 3095, 429) บทชมความงามขางตนเปนการชมความงาม ของตัวละครเอกชายแบบแยกสวน กวีเปรียบเทียบ ความงามของอวั ย วะตางๆกับ อวั ย วะนั้ น ๆ เองของ ตัวละคร สือ่ ความหมายวาตัวละครมีความงดงามมากจน มิอาจเปรียบเทียบไดกับสรรพสิ่งใดดังเชนขนบการชม ความงามของตัวละครในวรรณกรรมทั่วไป บทพรรณนาการเกี้ ย วพาราสี แ ละแสดง ความรักของตัวละคร เปนชวงตอนที่กวีใหความสำ�คัญ พรรณนาบทประพันธขนาดยาว อาจเนื่องจากเปนชวง ตอนที่ ก ระตุ  น อารมณ ค วามรู  สึ ก ของผู  อ  า นผู  ฟ  ง ให มี อารมณรว ม รูส กึ มีความสุขทีไ่ ดรบั รูเ รือ่ งราวความรักใคร อันเปนอารมณความปรารถนาทางธรรมชาติของมนุษย อีกทั้งยังเปนชวงตอนที่กวีสามารถแสดงความสามารถ ใชวาทศิลปอยางมีชั้นเชิงคมคาย สรางความประทับใจ

66

แกผูอานผูฟงไดดวย ดังตัวอยางคำ�ประพันธในเรื่อง หงสยนต ตอนที่สุวรรณทกุมารลักลอบเขาหานางปทุม เกสร ทั้งคูเจรจาเกี้ยวพาราสีกันดวยความเปรียบที่ คมคาย วา ๏ ตัวเจาคือศาลา ผูชายมาจะอาศัย ทาวนองอยาตัดใจ ใหอาศัยดวยเถิดรา ๏ ตัวเจาคือสระศรี อันตัวพี่คือหงสทอง บายหนามาหานอง ตัวหงสทองอันพอใจ ๏ นางตอบพระภูมี ชางพาทีจะมีไหน ลวงลอแตพอได แลวทิง้ ไวไดความอาย ๏ ตัวนองยอมใจจริง เปนผูหญิงซื่อตอชาย แมนตายจะสูตาย ใจนองนี้ซื่อตอผัว ๏ เปนหญิงความจริงนัก แมนไดรักไมคิดตัว สูตายตายดวยผัว ไมคิดตัวนองเลยนา ๏ ใจชายมักมักกลอกกลับ ยอมสับปลับเจรจา ไดแลวไมนำ�พา ทำ�เหินหางเลิกรางไป (หงสยนต, บทที่ 352 - 357, 283) บทเกี้ ย วพาราสี ข  า งต น เป น การใช ค วาม เปรี ย บนำ � ธรรมชาติ แ วดล อ มมาเป น สั ญ ลั ก ษณ เปรียบเทียบแทนเพศชายและเพศหญิง กลาวคือ ใช ศาลาและสระแทนเพศหญิง ใชมนุษยผชู ายและหงสทอง แทนเพศชาย ธรรมชาติ แ วดล อ มดั ง กล า วเป น สิ่ ง ที่ ยอมเกิดคูและมีความสัมพันธเกี่ยวของกันเสมือนเพศ หญิงและชายที่ยอมเปนคูกันตามธรรมชาติ นอกจากนี้ ถ อ ยคำ� เจรจาของนางปทุ ม เกสรที่ ห ยิ บ ยกธรรมชาติ ของเพศหญิงที่มีความซื่อสัตยจงรักภักดีตอสามีเพียง คนเดี ย วในขณะที่ เ พศชายส ว นใหญ มั ก มี ค วามรั ก ความปรารถนารุนแรงในชวงแรกและจะลดนอยลงใน เวลาต อ มานั้ น นั บ ว า เป น คำ � กล า วที่ ค มคายทำ � ให ผูอานผูฟงตระหนักถึงความเปนจริงตามธรรมชาติที่ ผูหญิงมักเปนฝายเสียเปรียบ นับเปนอุทาหรณเตือนใจ ผูหญิงและในขณะเดียวกันก็นาจะปลุกสำ�นึกของผูชาย ใหมคี วามจริงใจและซือ่ ตรงตอคนรักเสมอตนเสมอปลาย ดวย อีกตัวอยางหนึ่งเปนบทโกรธ ดังคำ�ประพันธ ในเรื่องพระสุธน – นางมโนหรา ตอนที่นางมโนหรา


การสรางสรรคนิทานคำ�กาพย ณัฐา ค้ำ�ชู

เถียงกับพระมารดา เนือ่ งจากมารดามิใหนางไปเทีย่ วเลน แตนางอยากไปจึงเกิดวิวาทกันดวยคารมเกรีย้ วกราด วา ๏ เลี้ยงมึงมาใหเสียแรง อีหนาแข็งใจลาวน ถารูวาเจากล ไมกอนตัวเลี้ยงมึงมา ๏ จีนเฒาอยูแคไหน อายเทศไทยเหลาคุลา กูจะใหแกมโนหรา สมน้ำ�หนาอีลาวน ๏ อีดอกทองไมตองการ ไวรำ�คาญอายแกคน ใหหมันถองสองสามหน พอหายวนอีมโนหรา ๏ แมเอยเนงวาไหร ไมเก็บเอามา ใหชวยแรงบิดา แมรักษาไวหองใน ๏ จีนจามพราหมณเทศไทย แมรักมักชอบใจ จะมอบใหขาวาไหร เชิญเอาไปแกมารดา ๏ ดอกทองเสมือนกัน สิน้ พวกพันธุเ ผาพงศา แกลงดาเอาแตขา เมือ่ มารดาแสนเลหก ล (พระสุธน – นางมโนหรา, บทที่ 744 – 749, 97) จะเห็ น ได ว  า นางมโนห ร าฉบั บ คำ � กาพย นี้ เป น หญิ ง ที่ ร  า ยกาจ กระทำ � สิ่ ง ที่ ไ ม ส มควรด ว ยการ ดาโตเถียงกับมารดา และดื้อรั้นขโมยปกหางออกไป เที่ยวเลนจนกระทั่งถูกพรานจับไดรับความทุกขโศกใน ที่สุด ลักษณะของนางมโนหรานี้นาจะเกิดจากการที่กวี ไดน�ำ พฤติกรรมของหญิงสาวชาวบานมาสรางสรรคเปน อุทาหรณใหผูอานผูฟงเชื่อมโยงความคิดกับพฤติกรรม ของตัวละครที่กระทำ�วจีกรรมโดยเฉพาะตอบุพการีวา เปนกรรมหนัก สงผลใหผูกระทำ�ตองประสบวิบากกรรม เชนเดียวกับนางมโนหรา การพรรณนาอารมณโศกเศรา เสียใจ หรือ ความนาสงสาร เชน เรื่องพระรถเมรี ตอนที่นางสิบ สองรูต วั วาบิดาหลอกพามาทิง้ ในปา กวีพรรณนาอารมณ โศกเศราของนางสิบสองที่มีตอมารดาขณะที่เริ่มรูตัววา ถูกบิดาหลอกพามาทิ้ง วา ...๏ ยามชมแมจะชมคนใด ยามตื่นจะเรียกใคร ไปไหนแมจะชวนใครจร ๏ ยามนอนแมจะชวนใครนอน โอพระมารดร เมื่อลูกมาจรกลางไพร

๏ ยามกินแมจะกินดวยใคร ยามรอนคนใด ตัวใครจะตักน้ำ�ใหสรง ......................... ๏ โอนาสงสารมารดร ยามกินยามนอน ยามรอนยามเย็นจะเห็นใคร... (พระรถเมรี, บทที่ 229 – 234, 219 – 220) กวีใชศิลปะในการประพันธดวยถอยคำ�ภาษา งายๆ ผูอ า นสามารถเขาใจความหมายของคำ�ทีร่ อ ยเรียง สื่อถึงเหตุการณและอารมณความรูสึกเศราโศกของนาง สิบสองไดเปนอยางดี จุดโดดเดนของบทประพันธนี้ อยูที่การซ้ำ�คำ�วา “ยาม...” ซึ่งหมายถึงชวงเวลา เชน ยามที่ ตื่ น นอน ยามที่ จ ะชมจะมองสิ่ ง ใดๆ ยามกิ น ยามนอน ยามรอน ยามหนาว ยามเย็น อันมีนัยเฉพาะ เจาะจงสือ่ ความหมายถึงชวงเวลาทีต่ วั ละครผูเ ปนลูกสาว ไดกระทำ�กิจกรรมตางๆ รวมกับแมอยูเปนนิตย แสดง ถึงความอบอุน ความผูกพันลึกซึ้งของลูกสาวกับแม ที่ มั ก อยู  ใ กล ชิ ด กั น เสมอ ไม ว  า จะเป น ช ว งเวลาใดๆ ทำ�ใหผูอานจินตนาการเห็นภาพความสัมพันธลึกซึ้งวา ในยามปรกติแลวตั้งแตเวลาที่ตื่นนอน เวลากินอาหาร จนถึงเวลานอน รวมทั้งในยามที่รอนรุม หนาวเหน็บ อันเกิดจากอากาศหรืออารมณความรูส กึ สุขหรือทุกขโศก ใดๆ นางสิ บ สองก็ มั ก ใช ชี วิ ต สั ม พั น ธ ใ กล ชิ ด กั บ แม อยูเสมอ ตรงขามกับความเปนจริงในปจจุบันที่พวก นางตองถูกทอดทิ้งใหอางวาง คำ�ประพันธชวงนี้จึงให น้ำ�เสียงที่ไพเราะอันเนื่องมาจากการเนนย้ำ�เสียงคำ�เดิม ซ้ำ�ๆ และการเนนย้�ำ ความหมายสื่ออารมณความรูสึกที่ เศราสรอย กอใหเกิดอารมณสะเทือนใจ กระทบใจ รูสึก สงสารและเห็นอกเห็นใจในชะตากรรมของนางสิบสอง ไดมากอยางยิ่ง การที่กวีมีความสามารถในการใชถอยคำ�สื่อ ความหมายและรสวรรณคดีทำ�ใหผูอานและฟงนิทาน คำ�กาพยรสู กึ มีความสุข เพลิดเพลินใจ บังเกิดเปนความ อิ่มเอมใจที่ไดรับรูเรื่องราวชีวิตของตัวละครที่เปรียบ ประหนึ่ ง เป น เพื่ อ นมนุ ษ ย ร  ว มสั ง คมที่ ต  อ งเผชิ ญ ชะตากรรมที่เต็มไปดวยความสุข ความทุกข ความ ซาบซึ้งใจ และความโกรธ ปะปนกันไป การรับรสหรือ อารมณเหลานี้ นับไดวาเปนความอิ่มเอมใจที่ผูอาน

67


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

ผูฟ ง ไดรบั จากการอานและฟงนิทานคำ�กาพยซงึ่ เกิดจาก ปฏิภาณในการสรางสรรคของกวีนั่นเอง การวิเคราะหการสรางสรรคนิทานคำ�กาพย ทำ�ใหเห็นวานิทานคำ�กาพยมีคุณคา ใหความบันเทิง และประเทืองสติปญญาแกผูอานผูฟงมาแตโบราณกาล การศึกษาการสรางสรรคเนื้อหา ไดแก การสรางสรรค โครงเรื่อง ตัวละคร และแนวคิด และการศึกษาดาน วรรณศิลป ไดแก การใชคำ�และรสวรรณคดี ทำ�ให ประจั ก ษ ถึ ง ศั ก ยภาพของกวี อั น เนื่ อ งมาจากการมี ปฏิภาณทีห่ ยัง่ รากลึกในพระพุทธศาสนา เขาใจลุม ลึกใน สัจธรรมของชีวิต และโลก มีประสบการณชีวิตที่เจนจัด มีความสามารถรอบรูในการใชภาษา วรรณกรรม และ มีจินตนาการกวางไกล จึงสามารถสรางสรรคนิทาน คำ � กาพย ใ ห มี อ งค ป ระกอบต า งๆ อย า งโดดเด น มี สัมพันธภาพ สมเหตุสมผล และสะทอนจินตนาการ ความปรารถนาของมนุษยที่มีตอชีวิตและโลก ทำ�ให ผูอ า นผูฟ ง รูส กึ สนุกสนานเพลิดเพลิน ไดความรูค วามคิด 

68

จากเรือ่ งราวนิทานทีแ่ สดงอุทาหรณชวี ติ และจินตนาการ ซึง่ เกิดจากมโนทัศนความปรารถนาของมนุษย ประสาน กับน้ำ�เสียง ทวงทำ�นองของบทประพันธ จนบังเกิดเปน ความอิม่ เอมใจ ตราตรึง และประทับใจทีไ่ ดรบั รูเ รือ่ งราว ที่เชื่อมั่นศรัทธา สงผลตอการตระหนักถึงคุณคาของ ชีวิตตนเอง ผูอื่น รวมทั้งสรรพสิ่งในโลก อันเปนการนำ� ไปสูการพัฒนาตนเองและยังผลตอการสรางสรรคและ จรรโลงสังคมตอไป แม ก าลเวลาจะผ า นมาเนิ่ น นานแต เ นื้ อ หา สาระอั น แสดงให เ ห็ น ถึ ง ความจริ ง เที่ ย งแท ข องชี วิ ต ที่ ป รากฏในนิ ท านคำ � กาพย ก็ ยั ง คงสอดคล อ งกั บ สภาวการณในสังคมปจจุบนั หากมีการสงเสริมนำ�นิทาน คำ�กาพยมาเปนวรรณกรรมเพือ่ การอานสำ�หรับการเรียน การสอนในปจจุบันก็นาจะทำ�ใหสามารถขัดเกลาจิตใจ ของผูเรียนได อีกทั้งยังเปนการอนุรักษและสืบสาน วัฒนธรรมทางวรรณกรรมไทยอีกประเภทหนึ่งใหดำ�รง อยูในสังคมไทยสืบไป 




การสรางสรรคนิทานคำ�กาพย ณัฐา ค้ำ�ชู

บรรณานุกรม กุสุมา รักษมณี. (2549). การวิเคราะหวรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ บริษัทธรรมสาร. เจตนา นาควัชระ. (2542). ทฤษฎีเบื้องตนแหงวรรณคดี. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ศยาม. ชวน เพชรแกว. (2549). วายเวิ้งวรรณคดี. กรุงเทพฯ: พิมพคำ�. ดวงมน จิตรจำ�นงค. (2527). สุนทรียภาพในภาษาไทย. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย. . (2534). คุณคาและลักษณะเดนของวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทรตอนตน (พ.ศ. 2325 – 2394). วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ตรีศิลป บุญขจร. (2547). วรรณกรรมประเภทกลอนสวดภาคกลาง : การศึกษาเชิงวิเคราะห. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พระธรรมกิตติวงศ [ทองดี สุรเตโช]. (2548). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน ชุดคำ�วัด. กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียง. พระพรหมคุณาภรณ [ป.อ. ปยุตฺโต]. (2552). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท. พิมพครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: จันทรเพ็ญ. มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2530). พระสูตรและอรรถกถาแปล มัชฌิมนิกาย อุปริปณณาสก เลมที่ 3 ภาคที่ 2. กรุงเทพฯ: เฉลิมชาญการพิมพ. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. (2546). กรุงเทพฯ: นานมีบคุ ส พับลิเคชัน่ ส. รื่นฤทัย สัจจพันธุ. (2534). ตัวละครหญิงในวรรณคดีไทยสมัยอยุธยาและสมัยรัตนโกสินทรตอนตน (พ.ศ. 1893 – 2394). วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. . (2549). สุนทรียภาพแหงชีวิต. กรุงเทพฯ: ณ เพชร. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี. สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). (2548). วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรมคัดสรร เลมที่ 4 – 11. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง.

69



การจัดการคุณภาพโดยรวมซึ่งมีปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการ ในสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากร Total Quality Management having Factors Affecting to Quality of Organizations in Revenue Area Offices attached under Revenue Department วิมล อรรจนพจนีย 1, วันชัย ริจิรวนิช 2, กระมล ทองธรรมชาติ 3 Vimol Uschanapotchanee, Vanchai Rijiravanich, Kramol Tongdhamachart บทคัดยอ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพปจจุบันของการจัดการทั่วทั้งองคการในสำ�นักงานสรรพากร พื้นที่สังกัดกรมสรรพากร ระดับคุณภาพขององคการ ปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการ และศึกษารูปแบบ การจัดการคุณภาพโดยรวมซึ่งมีปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการในสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่ กลุมตัวอยางคือ เจาหนาที่ปฏิบัติงานในสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากร จำ�นวน 392 คน จากสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่ 15 แหง ใชการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการนำ�แนวคิดทฤษฎีตางๆ มาสรางสมมติฐานเพื่อการทดสอบวิเคราะหความ สัมพันธเชิงสาเหตุและผล ดวยการวิเคราะหถดถอยพหุ จากนั้นเสริมดวยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณเชิงลึก ผูใหขอมูลจำ�นวน 16 คน และการจัดสัมมนากลุมเพื่อใหไดแนวความคิดจากผูมีสวนไดสวนเสีย ผลการวิจัยพบวา 1.) สภาพปจจุบันของการจัดการโดยรวมดานผูรับบริการ (1) มีปญหาการปฏิสัมพันธและ การสือ่ สาร (2) มีปญ  หาสิง่ อำ�นวยความสะดวกสบาย ดานสรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากรซึง่ เปนผูใ หบริการ พบวา มีปญ  หาความทันสมัยของขอมูลเพือ่ กาวใหทนั การเปลีย่ นแปลง 2.) ระดับคุณภาพขององคการทัง้ คุณภาพขัน้ ตนและ คุณภาพขั้นปลายอยูในระดับสูง 3.) ปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการในสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่สังกัด กรมสรรพากรตามลำ�ดับ ไดแก การสรางผลลัพธใหเปนรูปธรรม การมีเปาหมายทีช่ ดั แจง การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการคุณภาพ จิตสำ�นึกแหงคุณภาพ การมีความเห็นชอบรวมกัน การมีวาจาสุภาพ การรับรูต น ทุนแหงคุณภาพ การมีความเอื้อเฟอเผื่อแผและการมีความปรารถนาดี 4.) สามารถนำ�มาสรางเปนตัวแบบซึ่งพบวาการใชแนวทาง ของการจัดการคุณภาพโดยรวมใหสอดคลองกับวัฒนธรรมองคการจะทำ�ใหเกิดการดำ�เนินงานที่มีคุณภาพมากขึ้น ทั้งคุณภาพขั้นตนและคุณภาพขั้นปลาย คำ�สำ�คัญ: 1. การจัดการคุณภาพโดยรวม. 2. คุณภาพขององคการ. 3. สรรพากรพื้นที่.

__________________

นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยสยาม รองศาสตราจารย ดร. ที่ปรึกษารวมหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยสยาม 3 ศาสตราจารย ดร. ที่ปรึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยสยาม 1 2


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

Abstract The purpose of this research is to study the current condition of Total quality management in the Revenue Area Office attached to the Revenue Department, the level of the quality of organizations and factors affecting the quality of organizations, and to study the form of overall quality management having factors affecting the quality of organizations in the Revenue Area Offices. The sample group contained 392 officials performing duties in 15 Revenue Area Offices attached to the Revenue Department. The research was quantitative using several concepts and theories to make hypotheses for tests and analysis on relations of causes and results by using multiple regressive analyses. Then supplemental qualitative research took place by conducting in-depth interviews on 16 persons giving data and organizing a group seminar in order to obtain the opinions of the stakeholders. The research found that 1.) the current condition of the overall management regarding service receivers (1) contained problems with interaction and communication and (2) contained problems of facilities in Revenue Area Offices attached to the Revenue Department, the service provider: it was found that there was a problem with the update of data in order to keep up with changes. 2.) the levels of initial and final qualities of the organization were at a high level. 3.) factors affecting the quality of organization in Revenue Area Offices attached to the Revenue Department, respectively were achievement of a concrete result, having a clear target, use of information technology in quality management, consciousness of quality, having mutual approval, polite verbal communication, recognition of cost of quality, and having generosity and good intentions. 4.) a quality management form could be used to produce models which, in turn, discovered that the use of guidelines for overall quality management, corresponding with organizational culture, would generate more initial and final quality work. Keywords: 1. Total Quality Management. 2. Quality of Organizations. 3. Revenue Area Office.

72


การจัดการคุณภาพโดยรวมซึ่งมีปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการ วิมล อรรจนพจนีย, ดร.วันชัย ริจิรวนิช และดร.กระมล ทองธรรมชาติ

1. ความเปนมาและความสำ�คัญของปญหาการวิจยั พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการ บริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 สำ�นักงานคณะ กรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ไดนำ�พระราช กฤษฎีกาดังกลาวมาใชอยางจริงจังเพื่อมุงเนนใหระบบ ราชการมี ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพการบริ ห ารจั ด การให ดี ยิ่งขึ้น เพื่อประโยชนสุขของประชาชนแนวทางหนึ่งที่ สำ�นักงาน ก.พ.ร. นำ�มาใชในการดำ�เนินการเพื่อใหเกิด ผลในทางปฏิบัติ คือ กำ�หนดใหหนวยงานราชการรวม ทั้งสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากรตอง จัดทำ�”คำ�รับรองการปฏิบัติราชการประจำ�ป” และมีการ

ประเมินผลตามคำ�รับรองทุกๆ สิ้นปงบประมาณ โดย เริ่มดำ�เนินการมาตั้งแตป พ.ศ. 2547 เพื่อใหหนวยงาน ราชการมีโอกาสพัฒนาประสิทธิภาพของตนเองมาก ขึ้น สำ�นักงาน ก.พ.ร. จึงมีการนำ�ระบบพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการมาใชในการประเมินผลตามคำ�รับรอง การปฏิบัติราชการ จึงเปนที่มาของ Public Sector Management Quality Award (PMQA) ซึ่งเปนวิธีการ ที่ราชการตองการหาทางไปสูคุณภาพ และใหเกิดผล ทางปฏิบัติในการพัฒนาองคการไปสูความเปนเลิศ ซึ่ง มีองคประกอบ 7 หมวด ดังภาพที่ 1

ลักษณะสำาคัญขององคกร สภาพแวดลอม ความสัมพันธ และความทาทาย 2.การวางแผนเชิงยุทธศาสตร และกลยุทธ 1.การนำาองคกร

5. การมุงเนนทรัพยากร บุคคล

3.การใหความสำาคัญกับลูกคาและ ผูมีสวนไดสวนเสีย

6. การจัดการ กระบวนการ

7. ผลลัพธ การดำาเนินงาน

4. การวัด การวิเคราะห และการจัดการความรู ภาพที่ 1 PMQA Model

ที่มา : สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ(ก.พ.ร.). คูมือคำ�อธิบายตัวชี้วัด การบริหารจัดการภาครัฐ ปงบประมาณ พ.ศ.2553 : 10 ผูว จิ ยั ไดศกึ ษาสภาพปจจุบนั ของสำ�นักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากร โดยการสอบถามจากผูร บั บริการ ซึ่งมีขอคนพบ ดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงความคิดเห็นของผูรับบริการ

ปัญหา

ขอคนพบ

1. ดานการสือ่ สาร

มีความคลาดเคลือ่ นในการนัดหมาย ทำ�ใหผเู สียภาษีเสียเวลา

2. ดานอาคาร/ทีพ่ กั ผูเ สียภาษี

ไมสะดวก ทีพ่ กั ไมเพียงพอ

3. ดานทีจ่ อดรถ

ไมเพียงพอ ไมสะดวก ไมปลอดภัย

จากการสอบถามผูท ม่ี ารับบริการสำ�นักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากร

73


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

จากตารางที่ 1 พบวา ทางดานผูรับบริการมีความไมพึงพอใจในการใหบริการของเจาหนาที่ อีกทัง้ ผูว จิ ยั ไดศกึ ษาสภาพปจจุบนั ทางดานผูใ หบริการ โดยการสอบถามจากเจาหนาทีส่ �ำ นักงานสรรพากรพืน้ ที่ สังกัดกรมสรรพากร ซึ่งมีขอคนพบ ดังนี้ ตารางที่ 2 แสดงความคิดเห็นของผูใหบริการ ปญหา

ขอคนพบ

1. ดานการใหความสำ�คัญกับผูร บั บริการ

1.1 เว็บบอรดไมครอบคลุมปญหาทีต่ อ งการคนควา 1.2 เนือ้ หาในเว็บบอรดลาสมัย

2. ปญหาดานการวัด การวิเคราะห และ การจัดการความรู

2.1 มีขอ รองเรียนจากใหรบั บริการจำ�นวนมาก 2.2 องคการไดรบั รางวัลยอดเยีย่ มนอย

จากการสอบถามเจาหนาทีผ่ ใู หบริการในสำ�นักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากร

จากตารางที่ 2 พบวา ทางดานสรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากรมีขอมูลที่ไมทันการเปลี่ยนแปลง

ตารางที่ 3 ผลการจัดเก็บภาษีสรรพากรปงบประมาณ 2548-2552 หนวย : ลานบาท เปรียบเทียบกับประมาณการ ปี

เปรียบเทียบกับปทแ่ี ลว

จัดเก็บจริง

ประมาณการ

สูง (ต่�ำ )

อัตรา(%)

จัดเก็บปีทแ่ี ล้ว

2548

937,149.47

820,000.00

117,149.47

14.29

772,315.77

164,833.70

21.34

2549

1,057,326.83

1,009,000.00

48,326.83

4.79

937,242.37

120,084.45

12.81

2550

1,119,273.52

1,141,000.00

(21,726.48)

(1.90)

1,057,326.83

61,946.70

5.86

2551

1,276,247.90

1,208,800.00

67,447.90

5.58

1,119,273.52

156,974.38

14.02

2552

1,138,564.90

1,322,300.00

(183,735.10)

(13.90)

1,276,270.38

(137,705.48)

(10.79)

ทีม่ า : ผลการจัดเก็บภาษีสรรพากร ปงบประมาณ 2548-2552, [Online] ตารางที่ 3 พบวาผลการจัดเก็บในป 2552 ต่ำ�กวาป 2551 ในอัตรารอยละ 10.79

74

สูง (ต่�ำ )

อัตรา(%)


การจัดการคุณภาพโดยรวมซึ่งมีปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการ วิมล อรรจนพจนีย, ดร.วันชัย ริจิรวนิช และดร.กระมล ทองธรรมชาติ

ตารางที่ 4 แสดงคะแนนประเมินรายหัวขอของสวนราชการเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยในภาพรวมของทุกสวนราชการ ของไทย หมวด 1 การนำ�องคกร 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร 3 การใหความสำ�คัญกับผูรับบริการ และผูมีสวนไดสวนเสีย

4 การวัด การวิเคราะห และการ จัดการความรู 5 การมุงเนนทรัพยากรบุคคล

6 กระบวนการที่สรางคุณคา 7 ผลลัพธการดำ�เนินงาน

หัวขอ

คาเฉลี่ยใน ภาพรวม

1.1 การนำ�องคกร

6.09

1.2 ความรับผิดชอบตอสังคม

5.12

2.1 การจัดทำ�ยุทธศาสตร

6.66

2.2 การถายทอดกลยุทธหลักเพื่อนำ�ไปปฏิบัติ

6.73

3.1 ความรูเกี่ยวกับผูรับบริการและผูมีสวน ไดสวนเสีย

5.31

3.2 ความสัมพันธและความพึงพอใจของผูรับ บริการและผูมีสวนไดสวนเสีย

4.74

4.1 การวัดและวิเคราะหผลการดำ�เนินการของ สวนราชการ

5.36

4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู

5.85

5.1 ระบบงาน

5.01

5.2 การเรียนรูของบุคลากรและการสรางแรง จูงใจ

5.04

5.3 การสรางความผาสุกและความพึงพอใจ แกบุคลากร

3.86

6.1 กระบวนการที่สรางคุณคา

5.53

6.2 กระบวนการสนับสนุน

5.21

7.1 มิติดานประสิทธิผล

6.77

7.2 มิติดานคุณภาพการใหบริการ

4.61

7.3 มิติดานประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ

5.01

7.4 มิติดานการพัฒนาองคกร ที่มา : http://www.opdc.go.th/uploads/files/evaluation_pmqa_51.xls

4.60

75


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

จากตารางที่ 4 พบวาการพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐดวยรางวัลคุณภาพภาครัฐ หมวด 7 ผลลัพธการดำ�เนินงานมิติดานประสิทธิผลมีคาเฉลี่ย ในภาพรวมสูงสุดคือ 6.77 รองลงมาคือ หมวด 2 การ วางแผนเชิงยุทธศาสตร หัวขอการถายทอดกลยุทธหลัก เพือ่ นำ�ไปปฏิบตั ิ และการจัดทำ�ยุทธศาสตร มีคา เฉลีย่ ใน ภาพรวม 6.73 และ 6.66 หมวด 1 การนำ�องคกร หัวขอ การนำ�องคกร มีคาเฉลี่ยในภาพรวม 6.09 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห และการจัดการความรู หัวขอการ จัดการสารสนเทศและความรู มีคา เฉลีย่ ในภาพรวม 5.85 และหมวด 6 กระบวนการที่สรางคุณคา หัวขอ กระบวน การทีส่ รางคุณคา มีคา เฉลีย่ ในภาพรวม 5.53 ตามลำ�ดับ ซึ่งคะแนนคาเฉลี่ยที่ไดจากการเปรียบเทียบคะแนน ค า เฉลี่ ย ในภาพรวมของแต ล ะหมวดพบว า คะแนน คาเฉลี่ยในภาพรวมของหมวดที่ 6 การจัดกระบวนการ จะต่ำ�คอนขางมาก ซึ่งดานกระบวนการที่สรางคุณคา เปนหลักเกณฑการประเมินที่สำ�คัญมากในการดำ�เนิน งาน ดังนั้นผูวิจัยจึงเห็นดวยเปนอยางยิ่งกับแนวคิด ที่วาการพัฒนาคุณภาพของขาราชการจะตองเริ่มตนที่ การปรับกระบวนการเพือ่ มุง สูผ ลลัพธจากการดำ�เนินงาน ที่ พึ ง ประสงค โดยนำ � หลั ก การการจั ด การคุ ณ ภาพ โดยรวม (Total Quality Management) มาประยุกตกับ กระบวนการการทำ � งานของภาครั ฐ ซึ่ ง การจั ด การ คุณภาพโดยรวมเปนเครื่องมือที่มุงเนนความตอเนื่อง และความยั่งยืนในการใหบริการเพื่อความพึงพอใจของ ผูรับบริการ จะทำ�ใหกระบวนการการทำ�งานมีความ ลื่นไหลและตอเนื่องซึ่งจะสนับสนุนและสงเสริมใหเกิด ผลการดำ�เนินงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน ระยะยาวดวย จากปญหาดังทีก่ ลาวมาขางตนทำ�ใหผวู จิ ยั สนใจ ในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพโดยรวม ซึ่งมีปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการในสำ�นักงาน สรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากร เพือ่ ใหทราบถึงปจจัย ทีม่ ผี ลตอการจัดการคุณภาพขององคการเพือ่ พัฒนาการ จัดการคุณภาพซึง่ จะทำ�ใหเกิดประโยชนตอ องคการและ ประเทศไทยโดยรวม และยังไมมีการศึกษาวิจัยในเรื่อง นี้ ดังนั้นองคความรูที่ไดจากการศึกษาวิจัยจึงเปนองค

76

ความรูใหม ที่เปนประโยชนตอการจัดการคุณภาพ โดยรวมของระบบราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนของ ไทย ดังนั้นผูวิจัยจึงเห็นดวยเปนอยางยิ่งกับแนวคิด ที่วาการพัฒนาคุณภาพของขาราชการจะตองเริ่มตนที่ การปรับกระบวนการเพือ่ มุง สูผ ลลัพธจากการดำ�เนินงาน ที่ พึ ง ประสงค โดยนำ � หลั ก การการจั ด การคุ ณ ภาพ โดยรวม (Total Quality Management) มาประยุกตกับ กระบวนการการทำ � งานของภาครั ฐ ซึ่ ง การจั ด การ คุณภาพโดยรวมเปนเครื่องมือที่มุงเนนความตอเนื่อง และความยั่งยืนในการใหบริการเพื่อความพึงพอใจของ ผูรับบริการ จะทำ�ใหกระบวนการการทำ�งานมีความ ลื่นไหลและตอเนื่องซึ่งจะสนับสนุนและสงเสริมใหเกิด ผลการดำ�เนินงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน ระยะยาวดวย 2. วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษาสภาพป จ จุ บั น ของการจั ด การ คุ ณ ภาพโดยรวมในสำ � นั ก งานสรรพากรพื้ น ที่ สั ง กั ด กรมสรรพากร 2. เพื่ อ ศึ ก ษาระดั บ คุ ณ ภาพขององค ก ารใน สำ�นักงานสรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากร 3. เพื่ อ ศึ ก ษาป จ จั ย ที่ ส  ง ผลต อ คุ ณ ภาพของ องคการในสำ�นักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากร 4. เพือ่ ศึกษารูปแบบการจัดการคุณภาพโดยรวม เพื่อความพึงพอใจของผูเสียภาษี กรณีศึกษาสำ�นักงาน สรรพากรพื้ น ที่ สั ง กั ด กรมสรรพากร ที่ เ หมาะสมกั บ วัฒนธรรมองคการของภาครัฐไทย 3. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. สามารถนำ�ผลการศึกษาไปใชประโยชนใน การกำ�หนดแนวทางการจัดการคุณภาพใหเหมาะสม กับวัฒนธรรมองคการ เพื่อใหคุณภาพของสำ�นักงาน สรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากรสูงขึ้น 2. สามารถนำ�เสนอตัวแบบคุณภาพสำ�นักงาน สรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากรไปประยุกตใชใน หนวยงานบริการของรัฐบาล หรือรัฐวิสาหกิจสามารถ ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ


การจัดการคุณภาพโดยรวมซึ่งมีปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการ วิมล อรรจนพจนีย, ดร.วันชัย ริจิรวนิช และดร.กระมล ทองธรรมชาติ

4. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ แนวคิดและทฤษฎีทางดานการจัดการคุณภาพ โดยรวมของสำ � นั ก งานสรรพากรพื้ น ที่ สั ง กั ด กรม สรรพากร กลาวคือ 1.) วั ฒ นธรรมองค ก าร สำ � นั ก งานกรม สรรพากรพื้นที่มีการจัดองคการแบบกระจายอำ�นาจ จะ มุงเนนการปฏิบัติงานที่มีลักษณะที่ตองสัมผัสใกลชิด กับผูเสียภาษีโดยตรง (มณฑา แสงทอง 2549 : 16) ซึ่ ง วั ฒ นธรรมองค ก ารของสำ � นั ก งานสรรพากรพื้ น ที่ มีแนวคิดการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการ คุณภาพ เพื่อเพิ่มคุณคากับจิตใจจะทำ�ใหการทำ�งาน งายขึ้น ทำ�ใหมีปรับปรุงการทำ�งานใหมีประสิทธิภาพ มากขึ้น (Daft 2004 : 2702) 2.) การจัดการคุณภาพโดยรวม ประกอบดวย (1) แนวคิดการรับรูตนทุนแหงคุณภาพในการจัดการ คุณภาพ โดยใหความสำ�คัญกับการสรางวัฒนธรรมและ การดำ�เนินงานที่ความบกพรองเปนศูนย (zero defect) โดยจะตองปรับปรุงคุณภาพอยางตอเนื่อง (Crosby 1996 : 21-29) (2) แนวคิดการมีเปาหมายที่ชัดแจง การจัดการคุณภาพโดยรวมจะตองมีเปาหมายคือการ ปรับปรุงอยางตอเนื่อง โดยมุงเนนคุณภาพองคการที่ ประสบความสำ�เร็จ (Soin 1999 : 294) (3) แนวคิดการมี จิตสำ�นึกแหงคุณภาพ เปาประสงคของคุณภาพ เปนการ จัดการดวยการกำ�หนดนโยบาย มอบหมายอำ�นาจ และ การใชค�ำ สัง่ ในการปฏิบตั ิ (Juran 1988 : 5-22) (5) การ สรางผลลัพธใหเปนรูปธรรม เปนวิธีการสำ�คัญในการ วางแผนจัดองคการ ทำ�ความเขาใจกิจกรรมแตละอยาง และขึ้นอยูกับคนแตละคนในแตละระดับ สำ�หรับการ ทำ�ใหองคการมีประสิทธิผลอยางแทจริง (Oakland

1993 : 22-23) 3.) แนวคิดการเสริมสรางความสามัคคีใน องคการ โดยยึดแนวทางสาราณียธรรม 6 ประกอบดวย (1) การมีความเมตตา (2) การมีวาจาสุภาพ (3) การมีความ ปรารถนาดี (4) การมีความเอื้อเฟอเผื่อแผ (5) การมี ระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน และ (6) การมีความ เห็ น ชอบร ว มกั น แนวทางสาราณี ย ธรรม 6 นี้ เ ป น หลักธรรมอันเปนที่ตั้งแหงความระลึกถึง เปนหลักธรรม ที่จะเสริมสรางความรูสึกที่ดีใหเกิดขึ้นตอกันและกัน อยูเสมอในยามที่ระลึกถึงกัน ซึ่งจะเปนเครื่องมือในการ เสริมสรางความสามัคคีและความเปนน้�ำ หนึง่ ใจเดียวกัน ใหเกิดขึ้นดวย (พระไพศาล วิสาโล 2551 : 43-45) 4.) คุณภาพขององคการ (1) คุณภาพขั้นตน ซึ่ ง ได ทำ � ตามแนวทางปฏิ บั ติ ที่ สื บ ทอดต อ ๆ กั น มา เปนวัฒนธรรมองคการ ดังนั้น การจะเพิ่มประสิทธิภาพ การดำ�เนินงานใหรวดเร็วขึ้นนั้น ตองมีการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองคการ ซึ่งยังคงเชื่อวาการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมองคการดังกลาว จะสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการดำ�เนินงานตามความคาดหวัง (Davis 1984 : 47) คุณลักษณะของจิตสำ�นึก คือ การสรางความพึงพอใจใหลูกคาโดยยกระดับคุณภาพ การทำ�งานขององคการใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น (Heermann 1997 : 317) คุณภาพขัน้ ปลาย คุณลักษณะ ที่ สำ � คั ญ ที่ สุ ด ของแนวคิ ด เรื่ อ ง คุ ณ ภาพ คื อ การทำ � ความเขาใจวา คุณภาพทีด่ ี จะพุง เปาไปทีค่ วามพึงพอใจ ของลูกคา การที่จะสรางความพึงพอใจใหลูกคาไดนั้น ผู  บ ริ ห ารต อ งรั บ ฟ ง ความต อ งการของลู ก ค า (Kano 1996 : 88-89)

77


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

ตารางที่ 5 สรุปงานวิจัยที่แสดงปจจัยในการจัดการคุณภาพโดยรวมที่สงผลตอคุณภาพขององคการ ปจจัยการจัดการคุณภาพ

ปราณี 2547

นฤพนธ 2548

นพปฎล 2549

ภัทรา 2549

เอกวีณา 2549

ü

ü

ü

การรับรูตนทุนแหงคุณภาพ

วิฑูรย 2550

ü

ü

การมองกระบวนการใหเห็น เปนภาพรวม

ü

ü

ü

ผูบริหารมีความมุงมั่นจริงจัง

ü

ü

ü

ü

ü

การมีจิตสำ�นึกของความทันเวลา

ü

ธนพร 2550

การบริหารเพื่อการเปลี่ยนแปลง สูสิ่งที่ดีขึ้น

ü

การมุงเนนที่การวัดผล การมีจิตสำ�นึกแหงคุณภาพ

ü

ü

ü

ü

ü

ü

ü

การสรางผลลัพธใหเปนรูปธรรม

ü ü

วัฒนธรรมองคการ

ü

ü

การเปดโอกาสใหเจาหนาที่ทุกคน มีสวนรวม การประสานงานตอเนื่อง

ü

ü

ü ü

ü

ü

ü

ü

ü

ผูวิจัยไดรวบรวมแนวคิดตางๆ ซึ่งสงผลตอคุณภาพขององคการและเกี่ยวของกับวัฒนธรรมองคการ จาก ผลการวิจัยที่ผานๆ มา จึงไดบทสรุปเปนตัวแปรอิสระเพื่อจัดทำ�เปนกรอบแนวความคิด 5. กรอบแนวคิดที่ใชในการวิจัย ตัวแปรตน

ตัวแปรตาม

1. การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการคุณภาพ

2. การรับรูตนทุนแหงคุณภาพ 3. การมีเปาหมายที่ชัดแจง 4. การมีจิตสำ�นึกแหงคุณภาพ คุณภาพขององคการใน 5. การสรางผลลัพธใหเปนรูปธรรม สำ�นักงานสรรพากรพื้นที่สังกัด 6. การมีความเมตตา กรมสรรพากร 7. การมีวาจาสุภาพ 8. การมีความปรารถนาดี 9. การมีความเอื้อเฟอเผื่อแผ 10. การมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน 11. การมีความเห็นชอบรวมกัน ภาพที่ 2 กรอบแนวคิด (Conceptual Framework)

78


การจัดการคุณภาพโดยรวมซึ่งมีปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการ วิมล อรรจนพจนีย, ดร.วันชัย ริจิรวนิช และดร.กระมล ทองธรรมชาติ

6. สมมติฐานการวิจัย 1. การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการ คุ ณ ภาพส ง ผลต อ คุ ณ ภาพขององค ก ารในสำ � นั ก งาน สรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากร 2. การรับรูต น ทุนแหงคุณภาพสงผลตอคุณภาพ ขององค ก ารในสำ � นั ก งานสรรพากรพื้ น ที่ สั ง กั ด กรม สรรพากร 3. การมีเปาหมายที่ชัดแจงสงผลตอคุณภาพ ขององค ก ารในสำ � นั ก งานสรรพากรพื้ น ที่ สั ง กั ด กรม สรรพากร 4. การมีจติ สำ�นึกแหงคุณภาพสงผลตอคุณภาพ ขององค ก ารในสำ � นั ก งานสรรพากรพื้ น ที่ สั ง กั ด กรม สรรพากร 5. การสรางผลลัพธใหเปนรูปธรรมสงผลตอ คุณภาพขององคการในสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่สังกัด กรมสรรพากร 6. การมี ค วามเมตตาส ง ผลต อ คุ ณ ภาพของ องคการในสำ�นักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากร 7. การมี ว าจาสุ ภ าพส ง ผลต อ คุ ณ ภาพของ องคการในสำ�นักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากร 8. การมีความปรารถนาดีสง ผลตอคุณภาพของ องคการในสำ�นักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากร 9. การมีความเอือ้ เฟอ เผือ่ แผสง ผลตอคุณภาพ ขององค ก ารในสำ � นั ก งานสรรพากรพื้ น ที่ สั ง กั ด กรม สรรพากร 10. การมีระเบียบวินยั ในการปฏิบตั งิ านสงผลตอ คุณภาพขององคการในสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่สังกัด กรมสรรพากร 11. การมีความเห็นชอบรวมกันสงผลตอคุณภาพ ขององค ก ารในสำ � นั ก งานสรรพากรพื้ น ที่ สั ง กั ด กรม สรรพากร 7. ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตในดานประชากร วิจัยครอบคลุมถึง จังหวัดใน 5 ภาค ไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต โดยศึกษา เฉพาะสำ�นักงานกรมสรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากร เทานั้น

ขอบเขตในดานระยะเวลาไดดำ�เนินการระหวาง วันที่ 1 กันยายน 2551-2 มีนาคม 2553 8. วิธีดำ�เนินการวิจัย การศึกษาครั้งนี้จะใชกับกลุมประชากรที่เปน เจ า หน า ที่ ข องสำ � นั ก งานสรรพากรพื้ น ที่ สั ง กั ด กรม สรรพากร เมื่ อ ได ข นาดของกลุ  ม ตั ว อย า งแล ว ขั้ น ตอนตอไปผูวิจัยจึงทำ�การเลือกกลุมตัวอยางจากกลุม ประชากรจำ�นวน 18,502 คนโดยการทำ�กลุมตัวอยาง แบบสุม (Cluster sampling) ดวยการเลือกตัวอยางแบ บกลุม หลายชัน้ (Multi-stage cluster sampling)โดยกลุม แรกคือภาคเปนกลุม (Cluster) ที่ใหญที่สุดมีทั้งหมด 5 ภาคโดยเลือกทั้ง 5 ภาค กลุมที่สองคือจังหวัดมีทั้งหมด 76 จังหวัด เลือกกลุมตัวอยางตามสัดสวนของจำ�นวน จังหวัดในแตละภาค (Proportional stratified sampling) ไดจำ�นวนกลุมตัวอยาง 15 จังหวัด และขั้นตอนสุดทาย ก็คือการเลือกเจาหนาที่ของสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่ สั ง กั ด กรมสรรพากร ผู  วิ จั ย จึ ง ทำ � การสุ  ม อย า งง า ย (Simple random sampling) ซึ่งไดกลุมตัวอยางตาม จำ�นวนที่ตองการ จำ�นวน 392 คน เครื่องมือที่ใชใน การวิเคราะหขอ มูลในการวิจยั ครัง้ นีแ้ บงออกเปน 2 สวน คือ (1) ขอมูลจากแบบสอบถาม เครื่องมือที่ใชประกอบ ดวยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) และ สถิติเชิงอนุมาน (Inferential statistics) ใชสำ�หรับ วิเคราะหขอ มูล (2) ขอมูลจากการสัมภาษณ ผูว จิ ยั ใชการ วิเคราะหแนวคิด (Conceptual analysis) เพือ่ นำ�คำ�ตอบ ที่ตรงกับประเด็นคำ�ถามมาสรุปผล 9. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร (Population) หมายถึง บุคคลทั้งหมด ที่ อ ยู  ใ นความหมายของการวิ จั ย และกลุ  ม ตั ว อย า ง หมายถึง กลุมบุคคลที่ไดรับการคัดเลือกเปนผูใหขอมูล ในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ท า นั้ น รายละเอี ย ดประชากรและ กลุมตัวอยางของการวิจัย มีดังนี้ 9.1 ประชากร ประชากรสำ � หรั บ การวิ จั ยใน ครั้งนี้คือ พนักงานประจำ�ทั้งหมดที่เปนบุคลากรของ สำ � นั ก งานสรรพากรพื้ น ที่ สั ง กั ด กรมสรรพากร ซึ่ ง มี จำ�นวนทั้งสิ้น 18,502 คน (ขอมูล ณ 28 สิงหาคม 2552)

79


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

(ผลการจัดเก็บภาษี ป 2550-2552) 9.2 กลุมตัวอยาง ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดกำ�หนดกลุมตัวอยาง งานวิจัยนี้ใชการรวบรวมขอมูลจากประชากรเปาหมาย โดยการศึ ก ษาจากกลุ  ม ตั ว อย า งที่ เ ป น ตั ว แทนของ ประชากรทั้งหมด เมือ่ คำ�นวณดวยสูตรดังกลาวขางตน ดวยจำ�นวน ประชากร (N) 18,502 คน ทีค่ วามคลาดเคลือ่ นทีย่ อมรับ ได (e) + 5% จะไดขนาดตัวอยาง (n) เทากับ 392 คน การเลือกกลุมตัวอยาง เมื่อไดขนาดของกลุม ตัวอยางแลว ขั้นตอนตอไปผูวิจัยจึงทำ�การเลือกกลุม ตัวอยางประชากร ในการวิจัยนี้ใชการสุมตัวอยางแบบ กลุม (Cluster sampling) โดยการเลือกตัวอยางแบบ กลุม หลายชัน้ (Multi-stage cluster sampling) โดยกลุม แรกคือภาคเปนกลุม (Cluster) ที่ใหญที่สุดมีทั้งหมด 5 ภาค โดยเลือกทัง้ 5 ภาค กลุม ทีส่ องคือจังหวัดมีทงั้ หมด 76 จังหวัดเลือกจังหวัดตัวอยางตามสัดสวนของขนาด ของแตละภาค (Proportional stratified sampling) ได จำ�นวนกลุม ตัวอยาง 15 จังหวัด และขัน้ สุดทายก็คอื การ เลือกเจาหนาทีข่ ององคการ ผูว จิ ยั จึงทำ�การสุม อยางงาย (Simple random sampling) ซึ่งไดกลุมตัวอยางตาม จำ�นวนที่ตองการ 9.3 การเลือกผูส มั ภาษณ โดยเลือกแบบเฉพาะ เจาะจง จำ�นวน 16 ทาน โดยจำ�แนกเปน (1) สรรพากรพื้นที่ จำ�นวน 7 คน (2) นักวิชาการชำ�นาญการพิเศษ จำ�นวน 7 คน (3) สรรพากรอำ�เภอ จำ�นวน 2 คน

80

10. การวิเคราะหขอมูล ขอมูลทีไ่ ดจากแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ จะถูกนำ�มาวิเคราะห โดยใชเครื่องมือทางสถิติ โดยมี ขั้นตอนดังตอไปนี้ (1.) สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ไดแก รอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ในการ วิเคราะหขอมูลสวนบุคคล (2.) สถิติเชิงอนุมาน (Inferential statistics) ใน การวิเคราะหปจจัยที่มีตอการจัดการคุณภาพ ทดสอบ สมมติ ฐ านโดยใช เ ทคนิ ค การวิ เ คราะห ถดถอยพหุ (Multiple regression analysis) เปนเครื่องมือ โดยใช วิธี Enter และ Tepwise เพื่อเรียงลำ�ดับคาของตัวแปร ทั้งหมดที่สงผลตอการจัดการคุณภาพ 11. ผลการวิจัย 1.) สภาพปจจุบนั ของการจัดการคุณภาพโดย รวมในสำ�นักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากร มีบุคลากรจบการศึกษาระดับปริญญาตรี รอยละ 67 สูงกวาปริญญาตรี รอยละ 19 และต่ำ�กวาปริญญาตรี รอยละ 14 หนาทีง่ านทีร่ บั ผิดชอบในปจจุบนั งานกำ�กับ/ ตรวจสอบ รอยละ 43 งานทะเบียน รอยละ 24 งานคืน ภาษี รอยละ 8 งานเรงรัดภาษีคาง รอยละ 7 งานสำ�รวจ รอยละ 7 งานดำ�เนินคดีรอยละ 2 งานวางแผน รอยละ 2 งานอุทธรณ รอยละ 3 งานพัสดุ/ธุรการ รอยละ 1 งาน หัก ณ ที่จาย รอยละ 1 งานบริหารทั่วไป รอยละ 1 และ งานการเงิน รอยละ 1 มีประสบการณการทำ�งาน 1-40 ป 2.) ระดับคุณภาพขององคการในสำ�นักงาน สรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากร


การจัดการคุณภาพโดยรวมซึ่งมีปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการ วิมล อรรจนพจนีย, ดร.วันชัย ริจิรวนิช และดร.กระมล ทองธรรมชาติ

ตารางที่ 6 จำ�นวนและรอยละของระดับการปฏิบัติตอผลลัพธขั้นตน ตัวบงชี้

5

4

3

2

1

Mean

S.D.

ระดับ

1. ทานใหบริการผูเสียภาษี 138 206 48 อยางรวดเร็ว (35.2) (52.6) (12.2)

0 (0.0)

0 (0.0)

4.23

0.65

มากที่สุด

2. ทานใหบริการผูเสียภาษีโดย 141 206 45 ใชเทคโนโลยีสารเทศอยางมี (36.0) (52.6) (11.5) ประสิทธิผล

0 (0.0)

0 (0.0)

4.24

0.64

มากที่สุด

3. ทานไดใหความรูประชาชน ที่อยูนอกระบบภาษีใหมีการ 90 205 88 เขาสูระบบภาษีมากขึ้น (23.0) (52.3) (22.4)

8 (2.0)

1 (0.3)

3.96

0.75

มาก

4. ทานพัฒนาการใหบริการ จนผูเสียภาษีพึงพอใจ

17 (4.3)

5 (1.3)

3.68

0.83

มาก

4.03

0.59

มาก

59 174 137 (15.1) (44.4) (34.9)

ผลลัพธขั้นตน (Outcome)

ตารางที่ 6 แสดงใหเห็นไดวา การปฏิบตั งิ านดานผลลัพธขนั้ ตนของเจาหนาที่ อยูใ นระดับสูง โดยมีคา สวนเบีย่ งเบน เทากับ 0.59 หมายความวาการปฏิบัติโดยรวมไมแตกตางกัน ตารางที่ 7 จำ�นวนและรอยละของระดับการปฏิบัติตอผลลัพธขั้นปลาย ตัวบงชี้

5

4

3

1. องคการของทานเก็บภาษี 114 197 48 อยางเปนธรรมและยั่งยืน (35.2) (52.6) (12.2) 2. องคการของทานเปนผูนำ� 49 การใชเทคโนโลยี สารสนเทศ 166 172 (IT) ที่มีระบบงานมาตรฐาน (36.0) (52.6) (11.5) สากลและอยูบนพื้นฐาน ธรรมาภิบาล 3. องคการของทานสรางความ 113 178 89 สมัครใจในการเสียภาษี (28.8) (45.4) (22.7)

2

1

x

S.D.

ระดับ

73 (0.0)

5 (0.0)

4.06

0.77

มากที่สุด

4 (0.0)

1 (0.0)

4.27

0.74

มากที่สุด

8 (2.0)

4 (1.0)

3.99

0.83

มาก

4.11

0.69

มาก

ผลลัพธขั้นปลาย (Ultimate Outcome)

ตารางที่ 7 แสดงใหเห็นไดวา การปฏิบัติงานดานผลลัพธขั้นปลาย อยูในระดับสูง คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.69 หมายความวาการปฏิบัติโดยรวมไมแตกตางกัน

81


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

3.) ปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการในสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากร

ตารางที่ 8 คุณภาพการดำ�เนินงานโดยรวมขององคการในสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากร B

b

t

p

1.การสรางผลลัพธใหเปนรูปธรรม

.236

.286

6.981**

.000

2.การมีเปาหมายที่ชัดแจง

.219

.204

4.203**

.000

3.การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

.177

.198

5.359**

.000

4.การมีจิตสำ�นึกแหงคุณภาพ

.182

.174

3.772**

.000

5.การมีความเห็นชอบรวมกัน

.080

.106

3.546**

.000

6.การมีวาจาสุภาพ

.101

.101

3.418**

.001

7.การรับรูตนทุนแหงคุณภาพ

.140

.132

3.117**

.002

8.การมีความเอื้อเฟอเผื่อแผ

.089

.078

2.625**

.009

9.การมีความปรารถนาดี -.064 *p< 0.05 ** p< 0.01 R = .819 R2 = .670 ผลการศึกษาพบวาปจจัยทีส่ ง ผลตอคุณภาพของ องคการในสำ�นักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากร ประกอบดวย ปจจัยทีส่ ง ผลเชิงบวกเรียงตามลำ�ดับ ไดแก การสรางผลลัพธใหเปนรูปธรรม การมีเปาหมายทีช่ ดั แจง การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การมีจติ สำ�นึกแหงคุณภาพ การมีความเห็นชอบรวมกัน การมีวาจาสุภาพ การรับรู

-.072

-2.389*

.017

ตัวแปรพยากรณ

ตนทุนแหงคุณภาพ และการมีความเอื้อเฟอเผื่อแผ โดย ตัวแบบมีคาอำ�นาจในการพยากรณไดรอยละ 67.0 นัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ปจจัยที่สงผลเชิงลบ ไดแก การมีความปรารถนาดี โดยมีนัยสำ�คัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05

4) รูปแบบการจัดการคุณภาพโดยรวม เพือ่ ความพึงพอใจของผูเ สียภาษีกรณีศกึ ษาสำ�นักงานสรรพากร พื้นที่สังกัดกรมสรรพากร ที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมองคการของภาครัฐไทย การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการคุณภาพ การรับรูตนทุนแหงคุณภาพ การมีเปาหมายที่ชัดแจง การมีจิตสำ�นึกแหงคุณภาพ การสรางผลลัพธใหเปนรูปธรรม การมีวาจาสุภาพ การมีความปรารถนาดี การมีความเอื้อเฟอเผื่อแผ การมีความเห็นชอบรวมกัน

82

นำ�ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีระบบมาตรฐาน สากลและอยูบนพื้นฐานธรรมาภิบาลมาใช เก็บภาษีอยางเปนธรรมและยั่งยืน ใหผูเสียภาษีมีความสมัครใจในการเสียภาษี ผลลัพธขั้นปลาย (Ultimate outcome) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีประสิทธิผล ใหบริการอยางรวดเร็ว ใหผูมีหนาที่เสียภาษีเขาสูระบบภาษีมากขึ้น พัฒนาการใหบริการใหผูเสียภาษีพึงพอใจ ผลลัพธขั้นตน (Outcome)


การจัดการคุณภาพโดยรวมซึ่งมีปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการ วิมล อรรจนพจนีย, ดร.วันชัย ริจิรวนิช และดร.กระมล ทองธรรมชาติ

12. สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 1.) สภาพปจจุบนั ของการจัดการคุณภาพโดย รวมในสำ�นักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากร หนวยงานบริการทางราชการมีหนาที่ในการใหบริการ ตอประชาชน โดยเฉพาะสำ�นักงานสรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัด กรมสรรพากรมีความจำ�เปนทีจ่ ะตองสรางความพึงพอใจ ใหกับผูรับบริการคือ ผูเสียภาษี ในการปฏิบัติหนาที่ ดังกลาวดวย สภาพปญหาการดำ�เนินงานโดยทั่วไปที่ พบเห็นบอยคือ เจาหนาที่เชิญพบตามนัด แตเจาหนาที่ ไมอยู เจาหนาที่ทานอื่นไมทราบเรื่อง ทำ�ใหผูเสียภาษี ตองไปพบอีกครัง้ การสือ่ สารไมชดั เจน ดานอาคาร/ทีพ่ กั ผู เสีย ภาษี ไมสะดวก ดานสรรพากรพื้นที่สัง กัดกรม สรรพากรหรือผูใหบริการ พบวาเว็บบอรดขององคการ เพื่อใชในการพัฒนาคุณภาพของผูปฏิบัติงานและผูใช บริการยังไมเปนปจจุบัน จากป ญ หาดั ง ที่ ก ล า วมาข า งต น ทำ � ให เ กิ ด ความจำ�เปนในการปรับปรุงคุณภาพการดำ �เนินงาน โดยการใชหลักการจัดการคุณภาพโดยรวม หรือนำ� การจัดการคุณภาพโดยรวมเขามามีสวนรวมในการ ดำ�เนินงานที่จะสงผลตอคุณภาพการดำ�เนินงานของ สำ � นั ก งานสรรพากรพื้ น ที่ สั ง กั ด กรมสรรพากร ให มี การพัฒนาคุณภาพการใหบริการแกประชาชน ­โดย สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) (ไดจัดใหมีการติดตามและประเมินผล เพื่อเปนการลด ขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการของหนวยงาน ภาครั ฐ พร อ มกั บ จั ด ให มี ก ารมอบรางวั ล คุ ณ ภาพ การใหบริการประชาชนขึน้ โดยมีการประกาศเกียรติคณ ุ และเสริมสรางขวัญกำ�ลังใจใหกับผูปฏิบัติงาน สราง แรงจูงใจใหสวนราชการตางๆ ใหมีความมุงมั่นที่จะ ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพของงานบริการใหดียิ่งขึ้น เปนการเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติราชการของ ขาราชการในเชิงคุณภาพ และสามารถยกระดับความ ศรัทธาของประชาชนที่มีตองานราชการเพิ่มขึ้นดวย องคประกอบ 7 หมวด คือ (1) การนำ�องคกร (2) การ วางแผนเชิงยุทธศาสตรและกลยุทธ (3) การใหความ สำ�คัญกับผูรับบริการและผูมีสวนไดเสีย (4) การวัด การ วิเคราะห และการจัดการความรู (5) การมุง เนนทรัพยากร บุคคล (6) การจัดการกระบวนการ และ (7) ผลลัพธการ

ดำ � เนิ น การ (สำ � นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาระบบ ราชการ 2552) แมกระนัน้ ก็ตามความสำ�เร็จในการบรรลุ เป า หมายยั ง ไม ชั ด เจนด ว ยเหตุ ผ ลที่ แ ตกต า งกั น ส ว นหนึ่ ง คือ ผลกระทบจากวั ฒ นธรรมองค การ ซึ่ง จำ�เปนตองใชหลักการที่มีอยูในเชิงการจัดการคุณภาพ โดยรวม ปรับรวมกับวัฒนธรรมองคการซึ่งมุงเนนการ เสริมสรางความสามัคคีในองคการ โดยอิงหลักธรรมทาง พุทธศาสนาคือหลักสาราณียธรรม 6 ซึ่งประกอบดวย (1) การมีความเมตตา (2) การมีวาจาสุภาพ (3) การมี ความปรารถนาดี (4) การมี ค วามเอื้ อ เฟ  อ เผื่ อ แผ (5) การมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน และ (6) การมี ความเห็นชอบรวมกัน (พระไพศาล วิสาโล 2551 : 43-45) เพื่อการแกไขปรับคุณภาพการดำ�เนินงานใหสามารถ ตอบสนองกั บ การดำ � เนิ น งานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ประสิทธิผลตอไป 2.) ระดับคุณภาพขององคการในสำ�นักงาน สรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากร พบวา การปฏิบตั ิ งานดานผลลัพธขั้นตนของเจาหนาที่ อยูในระดับสูง โดยมีคาสวนเบี่ยงเบนเทากับ 0.59 หมายความวา การปฏิบัติโดยรวมไมแตกตางกัน การปฏิบัติงานดาน ผลลัพธขั้นปลายของเจาหนาที่ อยูในระดับสูง โดยมี คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.69 หมายความวา การปฏิบัติโดยรวมไมแตกตางกัน 3.) ปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการ ในสำ�นักงานสรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากร พบวา ปจจัยทีส่ ง ผลตอคุณภาพขององคการในสำ�นักงาน สรรพากรพืน้ ทีส่ งั กัดกรมสรรพากร ประกอบดวย ปจจัย ที่สงผลเชิงบวกเรียงตามลำ�ดับ ไดแก (1) การสราง ผลลัพธใหเปนรูปธรรม สอดคลองกับแนวคิด การจัดการ คุณภาพโดยรวมตองสรางพื้นฐานอยางรวดเร็วโดยตอง การให ก ลายเป น วิ ถี ชี วิ ต สำ� หรั บ องค ก าร (Oakland 1993 : 22-23) (2) การมีเปาหมายที่ชัดแจง สอดคลอง กับแนวคิด การจัดการคุณภาพโดยรวมจะตองมีเปาหมาย คือการปรับปรุงอยางตอเนื่อง ซึ่งคุณภาพขององคการ เปนกุญแจสำ�คัญที่จะทำ�ใหองคการอยูรอดและประสบ ความสำ�เร็จและมีความสุข (Soin 1999 : 294) (3) การ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ สอดคลองกับแนวคิดการใช เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการคุณภาพ ซึ่งการใช

83


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

เทคโนโลยี ร ะดั บ สู ง จะไม มี ป ระสิ ท ธิ ผ ลในการปฏิ บั ติ หนาที่ของพนักงาน ดังนั้น ควรมีการแนะนำ�ในระบบ ใหมๆ เกิดการเรียนรูและนวัตกรรมใหมๆ และมีความ พึงพอใจในงานมากขึ้น (Daft 2004 : 270) (4) การมี จิ ต สำ � นึ ก แห ง คุ ณ ภาพ สอดคล อ งกั บ เป า ประสงค ของคุณภาพ เปนการจัดการดวยการกำ�หนดนโยบาย มอบหมายอำ�นาจ และการใชคำ�สั่งในการปฏิบัติ เพื่อ ปรับปรุงคุณภาพอยางตอเนือ่ งและตรงกับความตองการ ที่แทจริงของลูกคา (Juran 1988 : 5-22) (5) การมี ความเห็นชอบรวมกัน สอดคลองกับหลักสาราณียธรรม 6 (6) การมีวาจาสุภาพ สอดคลองกับหลักสาราณียธรรม 6 (7) การรับรูตนทุนแหงคุณภาพ สอดคลองกับแนวคิด คุณภาพไมมีคาใชจาย (Quality is Free) และใหความ สำ�คัญกับการสรางวัฒนธรรมและการดำ�เนินงานทีค่ วาม บกพรองเปนศูนย (Zero Defect) และจะตองปรับปรุง คุณภาพอยางตอเนื่อง (Crosby 1996 : 21-29) และ (8) การมี ค วามเอื้ อ เฟ  อ เผื่ อ แผ สอดคล อ งกั บ หลั ก สาราณียธรรม 6 (พระไพศาล วิสาโล 2551 : 43-45) 4.) รูปแบบการจัดการคุณภาพโดยรวม เพื่อ ความพึงพอใจของผูเสียภาษีกรณีศึกษาสำ�นักงาน สรรพากรพื้นที่สังกัดกรมสรรพากร ที่เหมาะสมกับ วัฒนธรรมองคการของภาครัฐไทย พบวา ปจจัยที่ สงผลตอคุณภาพขององคการในสำ�นักงานสรรพากร พื้นที่สังกัดกรมสรรพากร ประกอบดวย ปจจัยที่สงผล เชิงบวกเรียงตามลำ�ดับ ไดแก การสรางผลลัพธใหเปน รูปธรรม การมีเปาหมายที่ชัดแจง การใชเทคโนโลยี สารสนเทศ การมีจิตสำ�นึกแหงคุณภาพ การมีความ เห็นชอบรวมกัน การมีวาจาสุภาพ การรับรูตนทุนแหง คุณภาพ และการมีความเอื้อเฟอเผื่อแผ โดยตัวแบบมี คาอำ�นาจในการพยากรณไดรอยละ 67.0 นัยสำ�คัญทาง สถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 ปจจัยทีส่ ง ผลเชิงลบ ไดแก การมีความ ปรารถนาดี โดยมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่ง สงผลตอคุณภาพขั้นตน (Outcome) อันมีคุณลักษณะ สำ�คัญ ไดแก (1) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อยางมีประสิทธิผล ใหบริการอยางรวดเร็ว (2) ใหผูมี หนาทีเ่ สียภาษีเขาสูร ะบบภาษีมากขึน้ (3) พัฒนาการให ผูเ สียภาษีพงึ พอใจ สอดคลองกับแนวคิด ดานวัฒนธรรม องคการ ดังนั้น การจะเพิ่มประสิทธิภาพการดำ�เนินงาน

84

ใหรวดเร็วขึ้นนั้น ตองมีการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม องคการ ซึ่งยังคงเชื่อวาการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม องค ก ารดั ง กล า ว จะสามารถเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลในการดำ�เนินงานตามความคาดหวัง (Davis, 1984: 47) คุณลักษณะของจิตสำ�นึกในการใหบริการ เปนทีม คือการสรางความพึงพอใจใหลูกคาโดยยก ระดับคุณภาพการทำ�งานขององคการใหมปี ระสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น เชนการใหบริการที่ดีตั้งแตจุดเริ่มตนของ การทำ �งาน รวมถึงการมีวิสัยทัศนรวมกัน ในการให บริการทีด่ ี (Heermann 1997: 317) และสงผลตอคุณภาพ ขั้นปลาย (ultimate outcome) อันมีคุณลักษณะสำ�คัญ ไดแก (1) นำ�ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีระบบ มาตรฐานสากลและอยูบ นพืน้ ฐานหลักธรรมาภิบาลมาใช (2) เก็บภาษีอยางเปนธรรมและยั่งยืน (3) ใหผูเสียภาษี มีความสมัครใจในการเสียภาษี ซึ่งสอดคลองกับแนวคิด ทีเ่ ปนคุณลักษณะทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ ของแนวคิดเรือ่ ง คุณภาพ คือการทำ�ความเขาใจวา คุณภาพทีด่ ี จะพุง เปาไปทีค่ วาม พึ ง พอใจของลู ก ค า การที่ จ ะสร า งความพึ ง พอใจให ลู ก ค า ได นั้ น ผู  บ ริ ห ารต อ งรั บ ฟ ง ความต อ งการของ ลูกคา และจะสรางสินคาและบริการใหมๆ เพีอ่ ตอบสนอง ลูกคาไดอยางไร การกระทำ�ดังกลาวเปนวิธีการบริหาร จัดการที่มุงเนนลูกคาเปนหลัก (Kano 1996: 88-89) ขอเสนอแนะ ข อ เสนอแนะเชิ ง นโยบาย การจั ด การ คุณภาพโดยรวมนั้นควรเริ่มตนจากความมุงมั่นของ ผูบริหารระดับสูง ซึ่งความยั่งยืนในการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐจะตองอาศัย ความมุงมั่นของ ผูบริหารระดับสูง ที่ตองจริงจังและยืนหยัดในการสราง การเปลี่ยนแปลงใหเกิดขึ้นอยางแทจริงทั้งในแนวความ คิดและวิธีการ ดังนั้นการนำ� TQM มาใชในการปรับปรุง การบริการภาครัฐ ก็หมายถึง การนำ�การเปลี่ยนแปลง เขาไปในองคการ ซึ่งเปนธรรมดาที่จะตองไดรับการ ตอตานจากขาราชการบางไมมากก็นอย สิ่งที่สำ�คัญ ที่สุดที่พึงกระทำ�ก็คือการจัดการฝกอบรมหรือสัมมนา ผูบริหารระดับสูงของหนวยงานภาครัฐที่ ใหบริการ ประชาชน เพื่อขอทราบความคิดเห็นและใหไดขอสรุป กวางๆ ในการนำ� TQM ไปปฏิบัติในองคการ กับการ


การจัดการคุณภาพโดยรวมซึ่งมีปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการ วิมล อรรจนพจนีย, ดร.วันชัย ริจิรวนิช และดร.กระมล ทองธรรมชาติ

สรางขอตกลงรวมกันระหวางขาราชการในสังกัดในการ ปฏิบตั งิ านเพือ่ พัฒนาคุณภาพในการทำ�งานคุณภาพของ ผลงาน และการใหบริการตอประชาชน เพือ​่ เปนการ​สราง วัฒนธรรม​ดาน​ผูนำ�ที่​เอื้อ​ตอการจัดการ​คุณภาพ​ของ​ องคการ​เปน​สิ่ง​ที่​องคการ​จะตอง​พิจารณา​เปนลำ�ดับ​ ตอมา ข อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ ความสามั ค คี ใ น องคการ ไดแก การมีความเมตตา การมีวาจาสุภาพ การมี ค วามปรารถนาดี การมี ค วามเอื้ อ เฟ  อ เผื่ อ แผ 



การมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน และการมีความ เห็นชอบรวมกัน ควรมีการจัดการใหอยูคูกับองคการ ตลอดเวลา เพราะความสามัคคีในองคการสามารถสราง ผลกระทบตอความสำ�เร็จและความลมเหลวขององคการ ได ดังนั้น องคประกอบดานความสามัคคีในองคการ จึงมีความสำ�คัญอยางมากตอเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงาน รวมกัน ไมยึดถือความคิดของตนเปนใหญ สิ่งที่สำ�คัญ คือการยอมรับฟงความคิดเห็นของคนอื่น



85


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

เอกสารอางอิง ภาษาไทย ธนพร บุญวรเมธี. (2550). การจัดการคุณภาพของผูบ ริหารโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธศกึ ษา ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. นพปฎล สุนทรนนท. (2549). การจัดการคุณภาพโดยรวมในโรงพยาบาลภาครัฐของไทย. ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง. นฤพนธ คันธา. (2549). การจัดการคุณภาพการบริการสำ�หรับโมบายไอพีรุนที่หกดวยวิธรการจำ�แนกกลุม ของขอมูล. วิทยานิพนธวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. ปราณี ปานแมน. (2547). ความคิดเห็นของพนักงานองคการเภสัชกรรมที่มีตอระบบการจัดการคุณภาพ ทั่วทั้งองคการ (TQM). วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง. พระไพศาล วิสาโล. (2551). ธรรมะในงาน ธรรมะในใจ. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร. ภัทรา เทพไทย. (2549). การรับรูหลักการคุณภาพทั่วทั้งองคการของระดับผูบริหารของบริษัทในกลุมธุรกิจ ซิเมนต เครือซิเมนตไทย. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ภาควิชาโครงการสหวิทยาการระดับ บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. มณฑา แสงทอง. (2549). ปจจัยที่มีผลตอความพึงพอใจของผูเสียภาษีที่มีตอการใหบริการของสำ�นักงาน สรรพากร ภาค 3 กรมสรรพากร: ศึกษาเฉพาะกรณีสำ�นักงานสรรพากรเขตตลิ่งชัน. วิทยานิพนธ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง. สำ�นักบริการขอมูลและสารสนเทศ. ผลการจัดเก็บภาษี ป 2541-2550. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 27 พฤษภาคม 2554. จาก http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=459.0 มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง. สำ�นักบริการขอมูลและสารสนเทศ. ผลการจัดเก็บภาษี ป 2550-2552. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 27 พฤษภาคม 2554. จาก http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=3508.0 วิฑรู ย สิมะโชคดี. (2550). พัฒนาการของนโยบายคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขา รัฐประศาสนศาตร มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง. สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สำ�นักงาน ก.พ.ร.). (2552). คูม อื คำ�อธิบายตัวชีว้ ดั การพัฒนาคุณภาพ การบริหารภาครัฐ ปงบประมาณ พ.ศ. 2553. กรุงเทพมหานคร. เอกวีณา ธาตรีอดิเรก. (2549). การจัดการคุณภาพทั่วทั้งองคการ (TQM) ตามความคิดเห็นของพนักงาน บริษัท ทีโอที จำ�กัด (มหาชน) ที่ปฏิบัติงานในสวนปฏิบัติการระบบตอนนอกที่ 2.2. วิทยานิพนธ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยบูรพา. ภาษาตางประเทศ Crosby, P. B. (1996). Quality still is free making quality certain in uncertain times. New York: McGraw-Hill. Daft, Richard L. (2004). Organization theory and design. 8th ed. Ohio: South-Western. Davis, S. M. (1984). Managing corporate culture. New York: Harper & Row. Heermann, B. (1997). Building team spirit. New York: McGraw-Hill. Juran, J. M. (1988). Quality control handbook. 4th ed. New York: McGraw Hill. Kano, N. (1996). Guide to TQM in service industries. Asian Productivity Organization.

86


การจัดการคุณภาพโดยรวมซึ่งมีปจจัยที่สงผลตอคุณภาพขององคการ วิมล อรรจนพจนีย, ดร.วันชัย ริจิรวนิช และดร.กระมล ทองธรรมชาติ

Oakland, John S. (1993). Total quality management the route to improveing performance. Oxford: First published. Soin, S. S. (1999). Total quality essentials. 2nd ed. New York: McGraw-Hill.

87



รายงานการวิจัยการศึกษาปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร ของนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร The Study of Factors’ Influence toward Mathematic Learning Achievement in Level Four of the Demonstration School of Silpakorn University

ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ 1 Prasert Techanarakiet

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1.) ศึกษาปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร 2.) ทำ�นายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรจากปจจัยดานนักเรียน ปจจัยดานครอบครัวและปจจัยดาน โรงเรียน กลุมตัวอยางเปนนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 คือชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4, 5 และ 6 ประจำ�ปการศึกษา 2551 ใน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากรจำ�นวน 181 คน ซึ่งไดมาจากการสุมตัวอยางโดยวิธีสุมแบบแบงชั้น โดยการเปด ตารางสำ�เร็จรูปของ Krejcie และ Morgan จากประชากรทั้งหมด 335 คน เครื่องมือที่ใชคือ แบบสอบถามเกี่ยวกับ ปจจัยดานนักเรียน ปจจัยดานครอบครัว และปจจัยดานโรงเรียน ซึง่ สอบถามเกีย่ วกับรายไดของผูป กครอง การสนับสนุน การเรียนของผูปกครอง เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร ความวิตกกังวลตอการสอบคณิตศาสตร บริบทโรงเรียน และ การจัดการเรียนการสอนของครู วิเคราะหขอ มูลโดยการคำ�นวณคาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธแบบเพียรสนั ระหวางตัวแปร ทำ�นายกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร และสรางสมการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Equation) เพื่อทำ�นายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรในรูปคะแนนมาตรฐานและคะแนนดิบ ผลการวิจัยพบวา 1.) ปจจัยทีส่ ง ผลตอผลสัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตรอยางมีนยั สำ�คัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 จำ�นวน 3 ตัวแปร เรียงตามลำ�ดับคาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธจากมากไปหานอย คือ เจตคติตอ วิชาคณิตศาสตร รายไดของผูป กครอง และ ความวิตกกังวลตอการสอบคณิตศาสตร โดยตัวแปรทีส่ ง ผลทางบวกตอผลสัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตร คือ เจตคติ ตอวิชาคณิตศาสตร และรายไดของผูปกครอง สวนตัวแปรที่สงผลทางลบตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร คือ ความวิตกกังวลตอการสอบคณิตศาสตร 2.) ตัวแปรทำ�นายที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มี 2 ตัวแปรคือ เจตคติตอ วิชาคณิตศาสตร (x2) และความวิตกกังวลตอการสอบคณิตศาสตร (x3) รวมกันทำ�นายผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตรไดอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ไดรอยละ 9.4 และหาสมการทำ�นายในรูปคะแนน มาตรฐาน และในรูปคะแนนดิบ ไดดังนี้ __________________

1

อาจารยประจำ�สาระคณิตศาสตร โรงเรียนสาธิต คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

^

Z = 0.257 z2 – 0.179z3 ^

Y

= 7.105 + 0.02681x2 – 0.03375x3

คำ�สำ�คัญ: 1. การเรียนคณิตศาสตร. 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร. Abstract The purposes of this research were 1.) to study the factors influencing mathematics learning achievement in level four of the Demonstration school of Silpakorn University; and 2.) to predict mathematics learning achievement based on student factors, family factors and school factors. A sample of 181 students of the Demonstration School of Silpakorn University was taken from students studying in level four, academic year 2008, using stratified random sampling of the population in each room of Mathayom Suksa 4, 5 and 6 using the table of Krejcie and Morgan from a population of 335. The instruments used were questionnaires asking about student factors, family factors and school factors including basic data, income of parents, attitude toward learning mathematics, anxiety toward mathematics testing, school environment, and learning and teaching in school. The data were treated utilizing bi-variant correlation statistics to find the Pearson’s product – moment correlation coefficient and stepwise multiple regression analysis to predict mathematics learning achievement in raw scores and standard scores. The results found that: 1.) Three factors influencing learning mathematics achievement at the 0.05 level of significance ascending from coefficient correlation were attitude toward learning mathematics, income of parents, anxiety toward mathematics testing. Positive influential factors toward learning mathematics achievement were attitude toward learning mathematics and income of parents and the negative influential factors toward learning mathematics achievement was anxiety toward mathematics testing. 2.) Two predictable influential factors toward learning mathematics achievement at the 0.05 level of significance were attitude toward mathematics learning (x2), and anxiety toward mathematics testing (x3) that could predict learning mathematics achievement at the 0.05 level of significance of approximately 9.4 % and the predictability equations in raw scores and standard scores were

^

Z = 0.257 z2 – 0.179z3 ^

Y

= 7.105 + 0.02681x2 – 0.03375x3

Keywords: 1. Teaching of mathematics. 2. Achievement in mathematics.

90


การศึกษาปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตรของนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ

บทนำ� ความสำ�คัญและความเปนมาของปญหา การศึกษาเปนหนทางที่จะนำ � ไปสู ก ารพั ฒ นา ประเทศ ใหเจริญรุงเรืองในทุกๆ ดานไมวาจะเปนดาน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรม ประเทศที่ พัฒนาแลวทัง้ หลายตางตระหนักถึงความสำ�คัญของการ ศึกษา นับตั้งแตประเทศรัสเซียสงยานอวกาศสปุตนิก ขึ้นสูวงโคจรของโลกไปยังดวงจันทรเปนครั้งแรก ตาม มาดวยประเทศสหรัฐอเมริกาสงยานอวกาศอพอลโล 11 ที่มีนักบินอวกาศคนแรก คือ นีลอารมสตรองไป เหยียบดวงจันทร ความเจริญทางดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีไดกา วหนาและพัฒนาอยางรวดเร็ว ประเทศ พั ฒ นาทั้ ง หลายต า งตระหนั ก และให ค วามสำ � คั ญ กั บ การศึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ซึง่ เปนหัวใจ สำ�คัญของการพัฒนาประเทศ แตละประเทศตางปรับปรุง หลั ก สู ต รการศึกษาให สอดคล องและทัน สมั ย ต อ การ เปลีย่ นแปลงดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การศึกษา จึงเปนเสมือนกระจกเงาบานใหญสะทอนใหเห็นถึงการ พัฒนาประเทศใหเจริญอยางยั่งยืน การพั ฒ นาด า นวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี จำ � เป น ต อ งพั ฒ นาการสอนคณิ ต ศาสตร ค วบคู  กั น ไป เพราะคณิ ต ศาสตร เ ป น พื้ น ฐานของการศึ ก ษาด า น วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดังที่ยุพิน พิพิธกุล (2549 : 1-2) ไดสรุปลักษณะความสำ�คัญของคณิตศาสตร ไววา 1. คณิตศาสตรเปนวิชาที่เกี่ยวกับความคิดสามารถ ใชคณิตศาสตรพิสูจนอยางมีเหตุผล 2. คณิตศาสตร ชวยใหคนเปนผูท มี่ เี หตุผล เปนคนใฝรู ตลอดจนพยายาม คิดสิ่งที่แปลกใหม คณิตศาสตรจึงเปนรากฐานแหง ความเจริญของเทคโนโลยีดานตางๆ 3. คณิตศาสตร เปนวิชาทีเ่ กีย่ วกับความคิดของมนุษย และใชสญ ั ลักษณ แทนความคิ ด นั้ น คณิ ต ศาสตร จึ ง เป น ภาษาสากล 4. คณิตศาสตรเปนวิชาที่มีรูปแบบ (Pattern) และ 5. คณิตศาสตรเปนวิชาทีม่ โี ครงสราง มีเหตุผล ชวยพัฒนา ทักษะกระบวนการคิด กระทรวงศึกษาธิการไดเริ่มบรรจุคณิตศาสตร ลงในทุ กหลักสูตรของช วงชั้นที่ 4 (ชั้นมัธยมศึ กษา

ตอนปลาย) ของหลักสูตรพุทธศักราช 2544 เริ่มใชเมื่อ ปพุทธศักราช 2545 (ศึกษาธิการ, กระทรวง 2544 : 155-160) กำ�หนดใหนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายทุกคนตองเรียนคณิตศาสตรพนื้ ฐาน สวนนักเรียน ที่เรียนดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรจะตองเรียน เพิ่ ม ในวิ ช าคณิ ต ศาสตร เ พิ่ ม เติ ม ซึ่ ง ก อ นหน า นั้ น นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่ไมไดเลือกเรียน คณิตศาสตรไมตองเรียนวิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน และ หลักสูตรพุทธศักราช 2544 ไดถูกปรับปรุงแกไขโดย สำ�นักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ (ศึกษาธิการ, กระทรวง 2551 : 1-7) เพื่อ พั ฒ นาไปสู  ห ลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 เพือ่ ใหมคี วามเหมาะสมและสอดคลอง กับการเรียนคณิตศาสตรในปจจุบันยิ่งขึ้น เริ่มประกาศ ใชในเทอมตนของปการศึกษา 2552 และไดระบุสาเหตุ ที่ตองเรียนคณิตศาสตรไวดังนี้ “คณิตศาสตรมีบทบาท สำ�คัญยิง่ ตอการพัฒนาความคิดของมนุษย ทำ�ใหมนุษย มีความคิดสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ มี ระเบี ย บ มี แ บบแผน สามารถวิ เ คราะห ป  ญ หาและ สถานการณไดอยางถี่ถวนรอบคอบ ชวยใหคาดการณ วางแผน ตัดสินใจ แกปญ  หาและนำ�ไปใชในชีวติ ประจำ�วัน ไดอยางถูกตองและเหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตร ยังเปนเครือ่ งมือในการศึกษาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ คณิตศาสตรจึงเปน ประโยชนตอการดำ�รงชีวิต ชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตให ดีขึ้น และสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข” ผูวิจัยในฐานะอาจารยสอนคณิตศาสตรมาเปน เวลา 26 ป ในโรงเรียนมหรรณพาราม (2525-2527) โรงเรียนศึกษานารี (2528-2534) และโรงเรียนสาธิต มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร (2534-ป จ จุ บั น ) พบป ญ หา ตางๆ โดยเฉพาะนักเรียนมักจะถามปญหาวา “เรียน คณิ ต ศาสตร ไ ปทำ � ไม” นั ก เรี ย นไม เ ห็ น คุ ณ ค า และ ประโยชนในการเรียนคณิตศาสตร และคะแนนสอบ คณิ ต ศาสตร พื้ น ฐานของนั ก เรี ย นยั ง ต่ำ � ซึ่ ง แสดงได ดังตารางที่ 1

91


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

ตารางที่ 1 ผลการสอบ O-NET ของนักเรียน ม. 6 ใน 3 ปยอนหลัง ปการศึกษา 2548

ปการศึกษา 2549

ปการศึกษา 2550

จำ�นวนผูสอบ คาเฉลี่ย SD จำ�นวนผูสอบ คาเฉลี่ย SD จำ�นวนผูสอบ คาเฉลี่ย SD 319,108 28.46 13.87 314,094 32.37 14.32 329,824 32.49 12.17 ที่มา : สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (Retrieved January 16, 2008. from http//www.niets.or.th./pdf/ sumup 2550.pdf)

ผลการสอบทั้ง 3 ปแสดงใหเห็นวาผลการสอบ O – NET ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ยังต่ำ�อยู คาเฉลีย่ ของคะแนนสอบประมาณ 32 คะแนน จากคะแนน เต็ม 100 คะแนน ซึ่งคาเฉลี่ยของคะแนนสอบไมควร ต่ำ�กวา 50 คะแนน จากสภาพปญหาดังกลาวจึงทำ�ใหผูวิจัยสนใจ ศึ ก ษาป จ จั ย ที่ ส  ง ผลต อ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น คณิตศาสตรของนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียน สาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร เพราะในชวงชั้นที่ 4 นี้เปน ชวงหัวเลี้ยวหัวตอของชีวิตนักเรียนเพราะจะตองสอบ แขงขันเขาเรียนตอในระดับอุดมศึกษาเมื่อจบชั้น ม. 6 และวิชาคณิตศาสตรเปนวิชาพืน้ ฐานทีจ่ ะตองนำ�คะแนน สอบที่ไดของนักเรียนทุกคนมาใชในการสอบแขงขัน เขาเรียนตอในมหาวิทยาลัย ซึ่งจะมีผลตออนาคตใน การประกอบอาชีพของนักเรียนตอไป กรอบแนวคิดที่ใชในการวิจัย จากงานวิจยั ของ ซีฮนุ โช (Choe 1971 : 781-A) พบวา คะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรียนหญิง ระดับ 8 มีความแตกตางกันอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติ เมือ่ ระดับความสัมพันธในครอบครัวตางกัน งานวิจยั ของ ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ (2532 : 61 – 78) พบวา ตัวแปรที่มีความสัมพันธกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตรอยางมีนัยสำ �คัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรี ย งจากมากไปหาน อ ยคื อ ความรู  พื้ น ฐานเดิ ม ประสบการณในการสอน ความเปนผูนำ�ดานวิชาการ ของอาจารยใหญหรือผูอำ�นวยการ เชาวปญญา รายได ของผูปกครอง ขนาดของโรงเรียน การใชสื่อการสอน

92

ระดับการศึกษาของผูปกครอง จำ�นวนคาบที่ครูสอน ใน 1 สัปดาห เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร แรงจูงใจ ใฝสัมฤทธิ์ และการสงเสริมการเรียนของผูปกครอง ตัวทำ�นายที่สามารถทำ�นายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตรไดถึงรอยละ 60.064 คือ ความรูพื้นฐาน เดิม ความเปนผูนำ�ดานวิชาการของอาจารยใหญหรือ ผูอำ�นวยการ เชาวปญญา ประสบการณในการสอน รายไดของผูป กครอง ขนาดของโรงเรียน จำ�นวนคาบของ ครูที่สอนใน 1 สัปดาห วุฒิครูและแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ โดยที่สัมประสิทธิ์ถดถอยเปนลบ คือ จำ�นวนคาบของ ครูที่สอนใน 1 สัปดาห และวุฒิของครู งานวิจัยของ ปริญญา คลายเจริญ (2545 : บทคัดยอ) พบวา ตัวแปร ที่สามารถจำ�แนกนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สู ง และนั ก ศึ ก ษาที่ มี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นต่ำ � ของ นักศึกษาชัน้ ปที่ 2 มี 8 ตัว เรียงจากมากไปนอยคือ นิสยั การเรียนดานการหลีกเลีย่ งการผลัดเวลา พืน้ ความรูเ ดิม ปญหาดานการปรับตัวทางการเรียน ปญหาดานหลักสูตร และการเรียนการสอน เพศ ปญหาดานอารมณ และ ความรูส กึ นึกคิดเกีย่ วกับตน ภูมหิ ลังทางการศึกษา และ ภูมิลำ�เนา สำ�หรับตัวแปรที่สามารถจำ�แนกนักศึกษา ชั้นปที่ 3 มี 8 ตัวแปร เรียงจากมากไปนอยคือ ภูมิหลัง ทางการศึกษา พื้นความรูเดิม นิสัยการเรียนดานการ หลีกเลี่ยงการผลัดเวลา เพศ มารดามีการศึกษาต่ำ�กวา ระดับปริญญาตรี ปญหาดานการเงิน บิดาทำ�งานใน บริษัทเอกชน และปญหาดานหลักสูตรและการเรียน การสอน สำ�หรับตัวแปรที่สามารถจำ�แนกนักศึกษาชั้น ปที่ 4 มี 8 ตัวแปร เรียงจากมากไปนอยคือ ปญหาดาน การปรับตัวทางการเรียน ภูมิหลังทางการศึกษา ปญหา


การศึกษาปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตรของนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ

ดานอนาคตเกีย่ วกับอาชีพและการศึกษา พืน้ ความรูเ ดิม นิสัยการเรียนดานการหลีกเลี่ยงการผลัดเวลา เพศ ความคิดเห็นตอพฤติกรรมการสอนของอาจารยดาน วิธีการสอนและมารดามีอาชีพธุรกิจสวนตัวหรือคาขาย งานวิจัยของนิพล พลกลาง (2550 : บทคัดยอ) พบวา 1.) ปจจัยที่ส งผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ย น ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 2 ด า นครู ผู  ส อน ตัวพยากรณ ไดแก กระบวนการจัดการเรียนรู และการวัด และประเมินผลมีความสัมพันธทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 อยางมี นัยสำ�คัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 ดานผูเ รียน ตัวพยากรณ ไดแก เพศ การศึกษาคนควา ความพรอมของผูเรียน และแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ มีความสัมพันธทางบวกกับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 2 อยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 2.) ความสัมพันธระหวางปจจัยกับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียน ดานครูผสู อน มีคา สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธพหุคูณเทากับ 0.323 มีคาอำ�นาจในการ พยากรณไดรอยละ 10.50 มีความสัมพันธอยางไมมีนัย สำ�คัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 ดานผูเ รียน มีคา สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธพหุคูณเทากับ 0.498 มีคาอำ�นาจในการ พยากรณไดรอยละ 24.80 มีความสัมพันธอยางมีนัย สำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และคาคงที่ของสมการ พยากรณในรูปคะแนนดิบเทากับ 41.875 และงานวิจัย ของเพ็ญสุดา จันทร (2542 : บทคัดยอ) พบวา 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่มีแบบ การเรียนแบบมีสว นรวม แบบอิสระ แบบพึง่ พา และแบบ แขงขัน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรสูงกวา นักเรียนทีม่ แี บบการเรียนแบบหลีกเลีย่ งอยางมีนยั สำ�คัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่มีแบบ การเรียนแบบมีสว นรวม แบบอิสระ แบบพึง่ พา และแบบ แขงขัน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรสูงกวา นักเรียนทีม่ แี บบการเรียนแบบหลีกเลีย่ งอยางมีนยั สำ�คัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ทีม่ คี วามวิตกกังวลในวิชาคณิตศาสตร ปานกลางและต่�ำ มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตรสงู กวานักเรียนทีม่ ี ความวิตกกังวลในวิชาคณิตศาสตรสูง อยางมีนัยสำ�คัญ

ทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. มี ป ฏิ สั ม พั น ธ ร ะหว า งแบบการเรี ย น และความวิตกกังวลในวิชาคณิตศาสตรตอผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 3 อยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากการศึกษางานวิจัยที่ไดกลาวมาแลวขางตน ตางชี้ใหเห็นวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร มีปจ จัยจากดานตัวนักเรียน ซึง่ แบงเปนปจจัยทีเ่ กีย่ วกับ สติ ป  ญ ญาและป จ จั ย ที่ ไ ม ใ ช ส ติ ป  ญ ญา ป จ จั ย ทาง โรงเรียน และปจจัยทางบาน ทำ�ใหผวู จิ ยั ไดกรอบแนวคิด ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย เกี่ ย วกั บ ป จ จั ย ทางด า นที่ ไ ม ใ ช ส ติ ปญญาที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร โดยศึ ก ษาป จ จั ย ที่ ส  ง ผลต อ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น คณิตศาสตร ในปจจัยทั้ง 3 ดาน คือ 1. ปจจัยดานนักเรียน ประกอบดวย 1.1 ความรูพื้นฐานเดิม 1.2 เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร 1.3 ความวิตกกังวลตอการสอบคณิตศาสตร 2. ปจจัยดานครอบครัว ประกอบดวย 2.1 รายไดของผูปกครอง 2.2 การสนับสนุนการเรียนของผูปกครอง ได แ ก การให ก ารสนั บ สนุ น ทางด า นการศึ ก ษาของ ผูป กครองตอนักเรียน ทัง้ ดานการเงิน และดานเวลาในการ เอาใจใส โดยใหรวมถึง การใหรางวัลในการจูงใจ การใช เหตุผลในการเลี้ยงดูของผูปกครอง การใหเวลาของ ผูปกครองในการปรึกษาปญหา 3. ปจจัยดานโรงเรียน ประกอบดวย 3.1 บริบทโรงเรียน ไดแก สภาพแวดลอม ทางกายภาพของโรงเรียน โดยใหรวมถึงการมีหองสมุด ที่ ทั น สมั ย และมี ห นั ง สื อ ประกอบการเรี ย นที่ เ พี ย งพอ การมีหองเรียนที่มีอุปกรณและสื่อการสอนที่ทันสมัย การใชสื่อการสอนของครู บรรยากาศในโรงเรียนที่จูงใจ ต อ การมาเรี ย น การบริ ห ารจั ด การโรงเรี ย นอย า งมี ประสิทธิภาพ 3.2 การจัดการเรียนการสอนของครู ไดแก ความเหมาะสมของตารางสอน ความเอาใจใสในดาน วิ ช าการของผู  อำ � นวยการโรงเรี ย น วิ ธี ก ารสอนที่ มี ประสิทธิภาพของครู การวัดผลการเรียนที่สอดคลอง

93


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

กับจุดประสงคการเรียน บรรยากาศการเรียนในชั้นที่ เกื้อหนุนตอการเรียน ความกระตือรือรนในการสอน ของครู การจัดการหองเรียน สามารถเขียนเปนแผนภูมิกรอบแนวความคิด ไดดังแผนภูมิที่ 1

ม.4/1 จำ�นวน 34 คน ม.4/2 จำ�นวน 39 คน และ ม.4/3 จำ�นวน 40 คน รวม 113 คน 2. ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 มี 3 หอง แบงเปน ม.5/1 จำ�นวน 38 คน ม.5/2 จำ�นวน 36 คน และ ม.5/3 จำ�นวน 39 คน รวม 113 คน

แผนภูมิที่ 1 แผนภูมิกรอบแนวความคิด ปจจัยดานนักเรียน 1. ความรูพื้นฐานเดิม 2. เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร 3. ความวิตกกังวลตอการสอบคณิตศาสตร ปจจัยดานนักเรียน 1. รายไดของผูปกครอง 2. การสนับสนุนการเรียนของผูปกครอง

ผลสัมฤทธิ์​ทางการ​เรียน​คณิตศาสตร

ปจจัยดานโรงเรียน 1. บริบทโรงเรียน 2. การจัดการเรียนการสอนของครู

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 ใน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร 2. เพื่ อ ทำ � นายผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น คณิตศาสตรจากปจจัยดานนักเรียน ปจจัยดานครอบครัว และปจจัยดานโรงเรียน ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนักเรียนใน ชวงชั้นที่ 4 คือ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4, 5 และ 6 ประจำ�ป การศึกษา 2551 รวม 335 คน ในโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร ดังนี้ 1. ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 มี 3 หอง แบงเปน

94

3. ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มี 3 หอง แบงเปน ม. 6/1 จำ�นวน 37 คน ม.6/2 จำ�นวน 37 คน และ ม.6/3 จำ�นวน 35 คน รวม 109 คน รวมจำ�นวนประชากรทั้งหมด 335 คน กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคือ นักเรียนในชวง ชั้นที่ 4 คือ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4, 5 และ 6 ประจำ�ปการ ศึกษา 2551 ในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร จำ�นวน 181 คน ผูวิจัยดำ�เนินการสุมตัวอยาง ดังนี้ 1. สุมตัวอยาง จากประชากรทั้งหมดจำ�นวน 335 คน โดยใชตารางสำ�เร็จรูปของ Krejcie and Morgan (Krejcie and Morgan 1970 : 608) ไดตวั อยางประชากร


การศึกษาปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตรของนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ

นักเรียนในแตละชั้น จำ�นวน 181 คน ดังรายละเอียด จำ�นวนนักเรียนที่เปนตัวอยาง ดังตารางที่ 2 2. สุม นักเรียนแตละหองเรียนในชัน้ มัธยมศึกษา ปที่ 4, 5 และ 6 ในขอ 1 โดยวิธสี มุ แบบแบงชัน้ (Stratified Random Sampling) โดยมีระดับชัน้ เปนชัน้ ภูมิ (Strata) ไดจำ�นวนนักเรียนในแตละชั้นดังรายละเอียดจำ�นวน นักเรียนที่เปนตัวอยาง ดังตารางที่ 2

ผูปกครอง เปนแบบตรวจรายการ (Check list) จำ�นวน 13 ขอ ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับเจตคติตอวิชา คณิตศาสตร เปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating scale) มี 5 ระดับ จำ�นวน 20 ขอ ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกีย่ วกับความวิตกกังวล ตอการสอบคณิตศาสตร เปนแบบมาตราสวนประมาณ

ตารางที่ 2 จำ�นวนนักเรียนที่เปนประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2551 นักเรียนชั้น ประชากร กลุมตัวอยาง

ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) ม. 4/1 ม. 4/2 ม. 4/3 ม. 5/1 ม. 5/2 ม. 5/3 ม. 6/1 ม. 6/2 ม. 6/3

13 12 7 13 17 6 21 12 4

21 27 33 25 19 33 16 25 31

34 39 40 38 36 39 37 37 35

9 6 3 6 8 4 7 5 4

9 15 19 15 11 17 13 15 15

18 21 22 21 19 21 20 20 19

รวม

105

230

335

52

129

181

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ได แ ก แบบ สอบถามเกี่ยวกับปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาคณิตศาสตรทั้ง 3 ดาน คือ ปจจัยดานนักเรียน ปจจัยดานครอบครัว และปจจัยดานโรงเรียน มี 1 ฉบับ แบงออกเปน 5 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 แ บบสอบถามเกี่ ย วกั บ ข อ มู ล พื้ น ฐาน ของนักเรียนและการสนับสนุนการเรียนของผูปกครอง ไดแก เพศของนักเรียน ผูที่รับผิดชอบคาใชจายเกี่ยว กั บ การศึ ก ษาของนั ก เรี ย น ผู  ป กครองของนั ก เรี ย น รายไดของผูปกครอง และการสนับสนุนการเรียนของ

คา (Rating scale) มี 5 ระดับ จำ�นวน 13 ขอ ตอนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับบริบทโรงเรียน คำ�ถามครอบคลุม สภาพแวดลอมทางกายภาพของ โรงเรี ย น โดยรวมถึ ง การมี ห อ งสมุ ด ที่ ทั น สมั ย และมี หนังสือประกอบการเรียนที่เพียงพอ การมีหองเรียนที่ มีอุปกรณและสื่อการสอนที่ทันสมัย การใชสื่อการสอน ของครู บรรยากาศในโรงเรียนที่จูงใจตอการมาเรียน การบริหารจัดการโรงเรียนอยางมีประสิทธิภาพ เปนแบบ มาตราสวนประมาณคา (Rating scale) มี 5 ระดับ จำ�นวน 12 ขอ ตอนที่ 5 แบบสอบถามเกีย่ วกับการจัดการเรียน

95


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

การสอนของครู คำ�ถามครอบคลุม ความเหมาะสมของ ตารางสอน ความเอาใจใส ใ นด า นวิ ช าการของ ผู  อำ� นวยการโรงเรียน วิธีการสอนที่มีประสิทธิ ภ าพ ของครู การวัดผลการเรียนที่สอดคลองกับจุดประสงค การเรี ย น บรรยากาศการเรี ย นในชั้ น ที่ เ กื้ อ หนุ น ต อ การเรียน ความกระตือรือรนในการสอนของครู การจัดการ หองเรียน เปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating scale) มี 5 ระดับ จำ�นวน 15 ขอ การเก็บรวบรวมขอมูล 1. ทำ � หนั ง สื อ ถึ ง ผู  อำ � นวยการโรงเรี ย นสาธิ ต มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอความรวมมือใหนักเรียนชั้น ม.4 ม.5 และ ม.6 ทีเ่ ปนกลุม ตัวอยางตอบแบบสอบถาม 2. นำ�แบบสอบถามทั้ง 5 ตอน ไปใหนักเรียน ชั้น ม.4 ม.5 และ ม.6 ที่เปนกลุมตัวอยางทำ� ไดจำ�นวน นักเรียนทั้งสิ้น 181 คน ดังรายละเอียดในตารางที่ 2. 3. เก็บขอมูลคะแนนวิชาคณิตศาสตรในชั้น ม. 3 ทั้งภาคตนและภาคปลายของกลุมตัวอยางจากหนวย ทะเบียน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากรเพื่อใช เปนคะแนนความรูพื้นฐานเดิม 4. เก็บขอมูลคะแนนวิชาคณิตศาสตรพนื้ ฐานใน ชั้น ม.4 ทั้งภาคตนและภาคปลายของกลุมตัวอยางจาก หนวยทะเบียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากรเพื่อ ใชเปนคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร 5. นำ�แบบสอบถามทั้ง 5 ตอน มาตรวจเพื่อ ใหคะแนนตามที่ไดระบุมาแลวขางตน เพื่อใชในการ วิเคราะหขอมูล ไดจำ�นวนนักเรียนที่ตอบแบบสอบถาม เปนนักเรียน ม.4 จำ�นวน 61 คน นักเรียน ม.5 จำ�นวน 61 คน และนักเรียน ม.6 จำ�นวน 59 คน รวมทั้งสิ้น 181 คน การวิเคราะหขอมูล ผูว จิ ยั ไดท�ำ การวิเคราะหขอ มูล โดยแบงออกเปน 2 ขั้นตอน ดังตอไปนี้ 1. การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับเครื่องมือที่ใชใน การวิจัย โดยใชคาสถิติตางๆ ดังตอไปนี้ 1.1 หาค า เบี่ ย งเบนมาตรฐานและความ แปรปรวนของแบบสอบถามแตละขอ และทั้งฉบับ โดย

96

ใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสำ�เร็จรูปทางสังคมศาสตร 1.2 หาคุณภาพของแบบสอบถามทัง้ 5 ตอน โดยหาคาความเที่ยงแบบสัมประสิทธิ์แอลฟา 1.3 หาคาความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของ การวัด (Standard Error of measurement : Se) ของ แบบสอบถามโดยใชสูตร

Se = S x

1−a

เมื่อ Se แทน ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของ การวัด Sx แทน คาเบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนนสอบ ทั้งฉบับ a แทน คาความเที่ยงของแบบวัด (Mehrens and Lehman 1975 : 95 - 105) 2. การวิเคราะหขอมูลที่เก็บรวบรวมจากกลุม ตัวอยางประชากร ผูวิจัยทำ�การวิเคราะหขอมูลโดย ใชโปรแกรมคอมพิวเตอรส�ำ เร็จรูปทางสังคมศาสตร โดย วิเคราะหดังนี้ 2.1 หาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวาง ตัวทำ�นายดวยกัน และหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ ระหว า งตั ว เกณฑ คื อ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรกับตัวทำ�นายแตละตัว 2.2 ทดสอบความมี นั ย สำ � คั ญ ของค า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ เพื่อพิจารณาคัดเลือกตัวแปร เข า สู  ส มการพยากรณ ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น คณิตศาสตร 2.3 นำ � ตั ว พยากรณ แ ละตั ว แปรเกณฑ ที่ ผานการคัดเลือกเขาเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อทำ�การ วิเคราะหถดถอยพหุคณ ู (Multiple Regression Analysis) ระหวางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรกับ ตัวแปรทำ�นาย โดยวิธีการวิเคราะหแบบ Stepwise inclusion 2.4 ทดสอบการหารู ป สนิ ท ดี ข องสมการ ถดถอยหรือสมการพยากรณ (Test of goodness of fit of regression equation) เพื่อคำ�นวณคาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธพหุคณ ู เพือ่ พิจารณาดูวา ตัวพยากรณเหลานัน้ สัมพันธกับตัวแปรเกณฑอยางเชื่อถือไดทางสถิติ โดย


การศึกษาปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตรของนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ

ทดสอบสถิติสวนรวม F (Over all F - test) 2.5 หาค า สั ม ประสิ ท ธิ์ ถ ดถอยของตั ว พยากรณในรูปคะแนนดิบ (b : Under-standardized Regression Coefficient) 2.6 หาคาคงที่ของสมการพยากรณ 2.7 สรางสมการทำ�นายผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนคณิตศาสตร สมการแรกทีไ่ ดจะเปนสมการถดถอย ที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียว สมการที่สองจะมีตัวแปร อิสระ 2 ตัว และสมการตอไปจะมีตัวแปรอิสระเพิ่มขึ้น ตามลำ�ดับ สำ�หรับสมการทำ�นายที่ดีที่สุดคือ สมการที่มี ตัวแปรอิสระมากที่สุด ผลการวิจัย 1. ผลการศึ ก ษาหาป จ จั ย ที่ ส  ง ผลต อ ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร จากการวิเคราะหขอ มูลพบวา สัมประสิทธิส์ หสัม พันธระหวางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรทั้ง 7 ตัวแปร ในปจจัยดานนักเรียน ปจจัยดานครอบครัวและ ปจจัยดานโรงเรียน มีตวั แปรทำ�นายทีม่ คี วามสัมพันธกบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรอยางมีนัยสำ�คัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 จำ�นวน 3 ตัวแปร เรียงตามลำ�ดับ คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธจากมากไปหานอย ดังนี้ คือ เจตคติตอ วิชาคณิตศาสตร (x2) รายไดของผูป กครอง (x4) ความวิตกกังวลตอการสอบคณิตศาสตร (x3) ตัวแปรที่ สงผลทางบวกตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร คือ เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร รายไดของผูปกครอง สวนตัวแปรที่สงผลทางลบตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตร คือ ความวิตกกังวลตอการสอบคณิตศาสตร 2. การทำ � นายผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น คณิตศาสตรจากปจจัยดานนักเรียน ปจจัยดาน ครอบครัว และปจจัยดานโรงเรียน จากการวิเคราะหขอ มูลพบวา ตัวแปรทำ�นายทีด่ ี ในการทำ�นายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร คือ เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร (x2) ความวิตกกังวลตอการ สอบคณิ ต ศาสตร (x 3) ตั ว แปรทำ � นายเหล า นี้ ใ ห ค  า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณที่มีนัยสำ �คัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 มีอำ�นาจในการทำ�นายผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนคณิตศาสตรไดรอยละ 9.4 อยางมีนัยสำ�คัญทาง

สถิติที่ระดับ 0.05 สมการทำ � นายผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น คณิตศาสตรในรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ Z = 0.257 z – 0.179 z 2 3 ^

และสมการทำ�นายในในรูปคะแนนดิบ ดังนี้ ^

Y

= 7.105 + 0.02681x2 – 0.03375x3

อภิปรายผลการวิจัย 1. คาสัมประสิทธิส์ หสัมพันธระหวางปจจัยดาน นักเรียน ปจจัยดานครอบครัว และปจจัยดานโรงเรียน กับผลผลสัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียน ในชวงชั้นที่ 4 ในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร พบวา เจตคติตอวิชาคณิตศาสตรมีความสัมพันธทาง บวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรอยางมีนัย สำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาการ มีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร ยอมสงผลใหนักเรียน สนใจและตั้งใจเรียนในวิชาคณิตศาสตร ซึ่งสอคลอง กับ อีเทลเบิรท ออนวูดีวี อีเคโอชา (Ekeocha 1986 : 2103 - A) ที่พบวา เจตคติของนักเรียนเปนสาเหตุ โดยตรงทางบวกอยางมีนยั สำ�คัญทางสถิตติ อ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร สอดคลองกับ ไมตรี อินทรประสิทธิ์ (2529 : 46 - 47) ที่พบวา เจตคติตอวิชา คณิตศาสตรมีความสัมพันธกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตรอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ สอดคลองกับประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ (2532 : 63) ที่พบวา เจตคติตอวิชาคณิตศาสตรมีความสัมพันธทาง บวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยางมีนัยสำ�คัญทาง สถิติที่ระดับ 0.01 และสอดคลองกับ เชน (Chen 2001 : 161 อางอิงใน อรสา สรอยคำ� 2550 : 24 - 25) ทีพ่ บวา องคประกอบที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร รายไดของผูปกครองมีความสัมพันธทางบวก กับผลสัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตรอยางมีนยั สำ�คัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาผูปกครอง ที่มีรายไดมากยอมสามารถสนับสนุนทางการเงินให

97


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

กับนักเรียนเพื่อเปนคาใชจายดานการศึกษาไดอยาง เพียงพอ ทำ�ใหรายไดของผูปกครองสงผลทางบวกกับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร ซึ่งสอดคลองกับ อรสา สรอยคำ� (2550 : บทคัดยอ) ที่พบวานักเรียนที่มี คาใชจายที่ไดรับตอเดือน 501 - 1,000 บาท 1,001 1,500 บาท และมากกวา 1,500 บาท มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงกวานักเรียนที่มีคาใชจายที่ไดรับตอ เดือน 500 บาท และสอดคลองกับ วิกเตอร มานูเอล บูจนั เดลกาโด (Bujan-Delgado 1983 : 2583 - A) ทีพ่ บวา นักเรียนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมสูงไดคะแนน การแกปญหาวิชาเลขคณิตสูงกวานักเรียนที่มีฐานะทาง เศรษฐกิจต่ำ�กวาอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และสอดคลองกับ ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ (2532 : 63) ที่ พ บว า ตั ว แปรที่ มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตรอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ ระดับ 0.01 คือ รายไดของผูปกครอง และสอดคลองกับ ทูดดีส เนไบยู (Tuddese 1997 : 1631-A) ไดศึกษาผล กระทบจากครู จากครอบครัวที่มีต อผลสัมฤทธิ์ ท าง การเรียนคณิตศาสตร ผลการวิจัยพบวา คุณสมบัติของ ครอบครัว เชน ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม เปนตัวแปร สำ�คัญของกระบวนการศึกษา ความวิ ต กกั ง วลต อ การสอบคณิ ต ศาสตร มี ความสั ม พั น ธ ท างลบกั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น คณิตศาสตรอยางมีนยั สำ�คัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 ทัง้ นี้ อาจเปนเพราะวา นักเรียนที่มีระดับความวิตกกังวลสูง ไม ส ามารถทำ � ข อ สอบในเวลาปกติ ส ามารถทำ � ได อยางงาย เนือ่ งจากความตืน่ เตน ทำ�ใหเกิดความประหมา ซึ่งสอดคลองกับ มิสซิลดีน เมลาไน (Missildine 2004 : 1) ที่ พ บว า ความวิ ต กกั ง วลและคะแนนทดสอบของ นักเรียนเกรดหาและเกรดหกมีความสัมพันธกันอยางมี นัยสำ�คัญทางสถิติ และสอดคลองกับ เพ็ญสุดา จันทร (2542 : บทคัดยอ) ทีพ่ บวานักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 3 ทีม่ คี วามวิตกกังวลในการสอบวิชาคณิตศาสตรปานกลาง และต่ำ�มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรสูงกวา นักเรียนทีม่ คี วามวิตกกังวลในการสอบวิชาคณิตศาสตร สูงอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และสอคลอง กับไซออน (Sion 1993 : อางถึงใน จิรากุล พิพัฒน ตันติศกั ดิ์ 2548 : 63 – 64) ทีพ่ บวา การลดความวิตกกังวล

98

เปนสาเหตุทางออมที่มีผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การสนับสนุนการเรียนของผูปกครองไมมีความ สัมพันธกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรอยาง มีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้อาจเปนเพราะ วานักเรียนในชวงชั้นที่ 4 มีวุฒิภาวะอยูในระดับสูง จึงไมจำ�เปนตองพึ่งการสนับสนุนจากผูปกครอง ซึ่ง สอดคลองกับกัลยา อินทรสาร (2540 : 102) ทีพ่ บวาการ สนับสนุนของผูปกครองไมสงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนคณิตศาสตรของนักเรียน และไมสอดคลองกับ ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ (2532 : 75) ที่พบวาการ สงเสริมการเรียนของผูป กครองมีความสัมพันธทางบวก กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียน ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 4 อย า งมี นั ย สำ � คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ 0.01 ความรูพื้นฐานเดิม ไมมีความสัมพันธทางบวก กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียน ในชวงชั้นที่ 4 อยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งขัดแยงกับงานวิจัยสวนใหญที่ไดทำ�มาแลว เชน งาน วิจัยของประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ (2532 : 73 - 74) งานวิจัยของ กัลยา อินทรสาร (2540 : 99) งานวิจัยของ ปริญญา คลายเจริญ (2545 : บทคัดยอ) และงานวิจัย ของ แนน เอลเลน บราวน (Brown 1983 : 3795 - A) ทั้งนี้อาจเปนเพราะวาวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานในชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 กับวิชาคณิตศาสตรในชั้นมัธยม ศึกษาปที่ 3 มีเนือ้ หาบางสวนทีน่ �ำ มาเรียนซ้�ำ ใหม เนือ้ หา หลักสูตรเปนเหมือนเกลียว และนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 เริ่มมีวุฒิภาวะสูงขึ้นกวาในขณะเมื่อเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปที่ 3 ทีย่ งั เปนเด็กเล็กอยู ทำ�ใหนกั เรียนในชวงชัน้ ที่ 4 ตั้งใจเรียนมากขึ้น จึงไดระดับคะแนนดีกวาระดับ คะแนนคณิตศาสตร ขณะเมื่อเรียนในชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 3 เปนผลทำ�ใหความรูพื้นฐานเดิมไมสงผลตอผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร บริบทโรงเรียนและ การจัดการเรียนการสอนของครู ไมมีความสัมพันธกับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรอยางมีนัยสำ�คัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคลองกับกัลยา อินทรสาร (2540 : 99 - 103) ที่พบวาพฤติกรรมการสอนไมสงผล ตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรแตบรรยากาศ และสภาพแวดลอมทางกายภาพสงผลทางดานลบตอ


การศึกษาปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตรของนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร และสอดคลองกับ นิพล พลกลาง (2550 : บทคัดยอ) ทีพ่ บวาความสัมพันธ ระหว า งป จ จั ย ด า นผู  บ ริ ห ารกั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการ เรียนคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 มีความสัมพันธกันอยางไมมีนัยสำ�คัญทางสถิติ และ ขัดแยงกับวสันต ธานินทรธราธาร (2542 : บทคัดยอ) ที่ พ บว า องค ป ระกอบที่ ส  ง ผลต อ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการ เรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน คือ บรรยากาศและ สภาพแวดลอมทางกายภาพทางดานการบริหารและ การจัดการ ทั้งนี้อาจเปนเพราะวานักเรียนในชวงชั้น ที่ 4 สวนใหญไมจำ�เปนตองพึ่งพาโรงเรียนเกี่ยวบริบท โรงเรียนและการจัดการเรียนการสอนของครู เชน การ มีหองสมุดทันสมัย การตรวจตราดูแลความเรียบรอย ของผูอำ�นวยการและฝายปกครอง ครูคณิตศาสตรสอน แลวนักเรียนเขาใจงาย เปนตน เพราะนักเรียนในชวงชัน้ ที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากรสามารถใชหอ ง สมุ ด และบริ ก ารอื่ น ๆ ของมหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากรได เชนเดียวกับนักศึกษา และนักเรียนสวนใหญมักนิยมไป หาความรูเพิ่มเติมในสำ�นักกวดวิชาตางๆ ในกรุงเทพฯ มักไมนิยมเรียนในชั้นเรียนอยางเดียว และไมคอยเห็น ความสำ�คัญของการเรียนในชั้นเรียน ตัวอยางเชน ใน วันครู คือวันที่ 16 มกราคมของทุกป โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากรไมหยุดเรียน แตโรงเรียนกวดวิชา ในกรุงเทพฯ จัดสอนชดเชยให เพราะนักเรียนสวนใหญ หยุด ซึง่ นักเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากรในชัน้ มัธยม ศึกษาตอนปลายมาเรียนในวันดังกลาวเพียงครึ่งหอง จึงเปนสาเหตุทที่ �ำ ใหบริบทโรงเรียนและการจัดการเรียน การสอนของครูไมมคี วามสัมพันธกบั ผลสัมฤทธิท์ างการ เรียนคณิตศาสตรอยางมีนยั สำ�คัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05 2. เมื่ อ พิ จ ารณาป จ จั ย ที่ เ ป น ตั ว ทำ � นายผล สั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นคณิ ต ศาสตร ทั้ ง สามด า น คื อ ปจจัยดานนักเรียน ปจจัยดานครอบครัว และปจจัยดาน โรงเรี ย น พบว า ตั ว ทำ � นายผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น คณิ ต ศาสตร เรียงตามลำ� ดับค าสัมประสิท ธิ์ ถ ดถอย ของตัวทำ�นายจากมากไปหานอย คือ เจตคติตอวิชา คณิตศาสตร และความวิตกกังวลตอการสอบคณิตศาสตร ซึ่งตัวแปรทั้งสองตัวนี้ เปนตัวแปรที่มีประสิทธิภาพใน การทำ�นายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของ

นักเรียนในชวงชั้นที่ 4 ไดอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 มีอำ�นาจในการทำ�นายผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาคณิตศาสตรได รอยละ 9.4 ปจจัยดานนักเรียน ตัวทำ�นายทีด่ ใี นการทำ�นาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนคือ เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร และความวิตกกังวลตอการ สอบคณิตศาสตร ซึ่งสอดคลองกับ อีเทลเบิรท ออนวูดีวี อีเคโอชา (Ekeocha 1986 : 2103 - A) ทีพ่ บวา เจตคติของ นักเรียนเปนสาเหตุโดยตรงทางบวกอยางมีนัยสำ�คัญ ทางสถิติตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรและ ไมสอดคลองกับประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ (2532 : 75 - 77) และไมสอดคลองกับกัลยา อินทรสาร (2540 : 99 - 103) ทีพ่ บวาเจตคติตอ วิชาคณิตศาสตรไมสามารถ ร ว มกั น ทำ� นายผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นคณิ ต ศาสตร ไดอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ทั้งนี้อาจเปน เพราะวา เจตคติที่ดีตอวิชาคณิตสาสตร ยอมสงผลให นั ก เรี ย นสนใจและตั้ ง ใจเรี ย น ทำ � ให ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท าง การเรี ย นคณิ ต สาสตร ดี ขึ้ น จึ ง ทำ � ให เ จตคติ ต  อ วิ ช า คณิตศาสตรเปนตัวทำ�นายที่ดีในการทำ�นายผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตร ส ว นตั ว แปรความวิ ต กกั ง วลต อ การสอบ คณิตศาสตรสามารถรวมกันทำ�นายผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนคณิตศาสตรของนักเรียนไดอยางมีนัยสำ�คัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 โดยสัมประสิทธิ์ถดถอยของการ ทำ�นายมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และมีคาเปน ลบ ทั้งนี้อาจเปนเพราะวานักเรียนยิ่งมีระดับความวิตก กังวลสูง ยิง่ ทำ�ใหจติ ใจสับสน ตืน่ เตน ไมสามารถควบคุม ความตื่นเตนได จึงทำ�ใหไมสามารถทำ�ขอสอบได ทั้งๆ ที่ในเวลาปกติสามารถทำ�ได จึงทำ�ใหความวิตกกังวล ต อ การสอบคณิ ต ศาสตร ส ามารถทำ � นายผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตรไดอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 โดยที่สัมประสิทธิ์การทำ�นายเปนลบ ซึ่ง สอดคลองกับ มิสซิลดีน เมลาไน (Missildine 2004 : 1) ที่ พ บว า ความวิ ต กกั ง วลและคะแนนทดสอบทั้ ง ของ นักเรียนเกรดหาและเกรดหกมีความสัมพันธกันอยาง มีนัยสำ�คัญทางสถิติ และสอดคลองกับ ไซออน (Sion 1993 : อางถึงใน จิรากุล พิพัฒนตันติศักดิ์ 2548 : 63 - 64) ที่พบวาการลดความวิตกกังวลเปนสาเหตุทาง

99


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

ออมที่มีผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สวนตัวแปรความรูพ นื้ ฐานเดิมไมสามารถทำ�นาย ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตรไดอยางมีนยั สำ�คัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งขัดแยงกับประเสริฐ เตชะ นาราเกียรติ (2532 : 67 - 69) ที่พบวาตัวทำ�นายที่ดี คื อ พื้ น ฐานความรู  เดิม สามารถทำ � นายผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นวิ ช าคณิ ต ศาสตร ไ ด อ ย า งมี นั ย สำ � คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ 0.01 และสั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารทำ � นาย เทากับ 0.35267 (R2 = 0.35267) และขัดแยงกับ กัลยา อินทรสาร (2540 : 95 - 99) ที่พบวา พื้นฐาน ความรู  เ ดิ ม เปนตัวทำ � นาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ย น คณิ ต ศาสตร ไ ด อ ย า งมี นั ย สำ � คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ 0.01 และขัดแยงกับ แนน เอลเลน บราวน (Brown 1983 : 3795 - A) ที่พบวาตัวทำ�นายที่ดีที่สุดของผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรคือ ระดับคะแนน เดิมในการเรียนวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ทั้งนี้ สามารถอธิบายเหตุผลไดดังนี้ พื้นฐานความรูเดิมกับ คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรซึ่งแทน ดวยคะแนนวิชาคณิตศาสตรพนื้ ฐาน มีเนือ้ หาซ้�ำ ซอนกัน มีลกั ษณะเนือ้ หาหลักสูตรเปนเหมือนเกลียว และนักเรียน ในชวงชั้นที่ 4 เริ่มมีวุฒิภาวะสูงขึ้น มีความรับผิดชอบ มากขึน้ และเริม่ ตัง้ ใจเรียน จึงทำ�ใหไดระดับคะแนนในวิชา คณิตสาสตรพื้นฐานดีกวาระดับคะแนนคณิตศาสตรใน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เปนผลทำ�ใหความรูพื้นฐานเดิม ไม ส ามารถทำ � นายผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช า คณิตศาสตรไดอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปจจัยดานครอบครัว คือ ตัวทำ�นายการสนับสนุน การเรียนของผูปกครอง ไมสามารถรวมกันทำ�นายผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรไดอยางมีนัยสำ�คัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคลองกับประเสริฐ เตชะ นาราเกียรติ (2532 : 76 -77) ที่พบวาการสงเสริมการ เรียนของผูป กครองไมสามารถรวมกันทำ�นายผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 4 ไดอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ สอดคลองกับกัลยา อินทรสาร (2540 : 102) ที่พบวา ในการหาตัวทำ�นายที่ดี การสนับสนุนการเรียนของ ผูปกครองไมสามารถรวมกันทำ�นายผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4

100

ไดอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้อาจเปน เพราะว า ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นไม ไ ด เ กิ ด จากการ สนับสนุนการเรียนของผูปกครอง แตอาจเกิดจากปจจัย อื่นที่มีอิทธิพลมากกวา เชน เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร จึงทำ�ใหการสนับสนุนการเรียนของผูป กครองไมสามารถ รว มกั น ทำ� นายผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นคณิ ต ศาสตร ไดอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตัวแปรรายไดของผูป กครองมีความสัมพันธทาง บวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรอยางมี นัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แตไมสามารถทำ�นาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรอยางมีนัยสำ�คัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งขัดแยงกับประเสริฐ เตชะ นาราเกียรติ (2532 : 67 - 69) ที่พบวารายไดของ ผูปกครองสามารถรวมกันทำ�นายผลสัมฤทธิ์ทางการ เรี ย นคณิ ต ศาสตร อ ย า งมี นั ย สำ � คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ 0.01 และขัดแยงกับ ทูดดีส เนไบยู (Tuddese 1997 : 1631-A) ที่พบวา ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมเปน ตัวแปรสำ�คัญของกระบวนการศึกษา และขัดแยงกับ วิกเตอร มานูเอล บูจนั เดลกาโด (Bujan-Delgado 1983 : 2583 - A) ที่พบวานักเรียนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและ สังคมสูง ไดคะแนนการแกปญหาวิชาเลขคณิตสูงกวา นักเรียนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจต่ำ�กวาอยางมีนัยสำ�คัญ ทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 ทัง้ นีส้ ามารถอธิบายเหตุผลไดดงั นี้ นักเรียนที่มีฐานะไมคอยดี รูสภาพตัวเองและตองการ สรางฐานะตัวเอง จึงมีความมุงมั่นและตั้งใจเรียน จึง ทำ�ใหรายไดของผูป กครองไมสามารถทำ�นายผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตรไดอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ซึ่งสวนใหญในประเทศกำ�ลังพัฒนา เชน ประเทศจีน ประเทศเวียดนาม คลายประเทศไทย คือ นักเรียนทีม่ ฐี านะไมคอ ยดีสว นใหญ จะมีความมุง มัน่ และ ตั้งใจเรียน เพราะรูสภาพตัวเองและตองการสรางฐานะ ใหตัวเอง (บทความ “ปการศึกษาใหมเวียดนามมุงปรับ คุณภาพจากระดับประถม” จาก http://news.nipa. co.th/news.action?newsid=146395 และ บทความ “นักเรียนยากจนในมณฑลจี่หลิน” จาก http://thai.cri. cn/1/2008/09/03/21s132880.htm) ปจจัยดานโรงเรียน ตัวทำ�นายคือ บริบทโรงเรียน และการจัดการเรียนการสอนของครู ไมสามารถทำ�นาย


การศึกษาปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตรของนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ

ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นคณิ ต ศาสตร ไ ด อ ย า งมี นั ย สำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคลองกับ กัลยา อินทรสาร (2540 : 102) ที่พบวาองคประกอบดาน พฤติกรรมการสอนไมสามารถรวมกันทำ�นายผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตรไดอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติ และสอดคลองกับ นิพล พลกลาง (2550 : บทคัดยอ) ที่ พบวา ดานครูผสู อน มีคา สัมประสิทธิส์ หสัมพันธพหุคณ ู เทากับ 0.323 มีคาอำ�นาจในการพยากรณไดรอยละ 10.5 อยางไมมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ ขัดแยงกับวสันต ธานินทรธราธาร (2542 : บทคัดยอ) ที่พบวา องคประกอบที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน คือ บรรยากาศและ สภาพแวดลอมทางกายภาพทางดานการบริหารและการ จัดการ และขัดแยงกับอัจฉรา ไพจิตต (2542 : บทคัดยอ) ที่ พ บว า ป จ จั ย ที่ ส  ง ผลต อ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น คณิตศาสตรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 อยาง มีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือสภาพแวดลอม ในโรงเรียน ทั้งนี้อาจเปนเพราะวานักเรียนในชวงชั้น ที่ 4 ในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร มีวุฒิภาวะ คอนขางสูง ไมจำ�เปนตองพึ่งพาโรงเรียน สามารถ ใช บ ริ ก ารด า นต า งๆ ของมหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากรได เชนเดียวกับนักศึกษา เชน บริการหองสมุด เพื่อการ คนควา ทำ�การบานและการอานหนังสือ และนักเรียน ส ว นใหญ มักนิยมไปหาความรู เพิ่มเติมจากโรงเรี ย น กวดวิชาตางๆ ในกรุงเทพฯ ไมใชเรียนแตในชั้นเรียน อย า งเดี ย ว จึ ง ทำ � ให ป  จ จั ย ด า นโรงเรี ย น คื อ บริ บ ท โรงเรียน และการจัดการเรียนการสอนของครูไมสามารถ รวมกันทำ�นายผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาคณิตศาสตร ไดอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะเพื่อนำ�ผลการวิจัยไปใช 1.1 ผลจากการวิจัยพบวา เจตคติตอวิชา คณิ ต ศาสตร เ ป น ตั ว แปรที่ มี ค วามสำ � คั ญ ที่ สุ ด ต อ ผล สัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตร ดังนัน้ ครูคณิตศาสตร จึ ง ควรตระหนั ก ถึ ง ความสำ � คั ญ ของเจตคติ ต  อ วิ ช า คณิตศาสตร พยายามหาวิธกี ารสอนทีไ่ มยงุ ยากซับซอน และงายตอการเขาใจ เพื่อใหนักเรียนมีเจตคติที่ดีตอ

วิชาคณิตศาสตร การเขมงวดในบางเรื่องมากเกินไป หรือการเพิกเฉยไมเอาใจใส อาจเปนสาเหตุใหนักเรียน มีเจตคติที่ไมดีตอวิชาคณิตศาสตร ครูคณิตศาสตรจึง ควรมีความเปนกันเองกับนักเรียนบาง แตไมใชถึงกับ เปนเพื่อนเลนกับนักเรียน 1.2 ผลจากการวิจัยพบวาความวิตกกังวล ตอการสอบคณิตศาสตรมีความสำ�คัญตอผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตรในทางลบ ดังนั้น เวลาที่ครู คณิตศาสตรจะใหนักเรียนทดสอบ เพื่อเก็บคะแนน ควร ใหนักเรียนไดมีเวลาสำ�หรับการเตรียมความพรอมใน การสอบ เพื่อจะไดลดความวิตกกังวลตอการสอบ 1.3 ผลจากการวิ จั ย พบว า รายได ข อง ผู  ป กครองมี ค วามสำ� คั ญ ต อ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น คณิตศาสตรไดอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โรงเรียนจึงควรจัดสอนเสริมใหกบั นักเรียนทีม่ ฐี านะไมดี และตั้งใจเรียนโดยไมคิดเงิน เพื่อนักเรียนที่มีฐานะไมดี จะไดมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรที่ดี 1.4 ถึงแมวา ผลการวิจยั พบวา ตัวแปรบริบท โรงเรียน และการจัดการเรียนการสอนของครูไมสง ผลตอ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร โรงเรียนควรที่จะ จัดบรรยากาศตางๆ ในโรงเรียนใหเอื้ออำ�นวยตอการ เรียน และสงเสริมใหครูผูสอนใชความสามารถเต็มที่ใน การถายทอดความรูใหกับนักเรียน และสนับสนุนดาน วิชาการ และการใหรางวัลจูงใจในการตั้งใจเรียนแก นักเรียน เพื่อจะไดมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดียิ่งขึ้น และเปนการสรางชือ่ เสียงใหกบั โรงเรียนในอนาคตตอไป 1.5 ถึงแมผลการวิจัยพบวา การสนับสนุน การเรียนของผูปกครองไมสงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนคณิตศาสตร ดังนั้นจึงควรใหผูปกครองที่ตองการ เห็นความกาวหนาของบุตรหลานตน สนใจสงเสริมและ สนับสนุนการเรียนของนักเรียน โดยพยายามแบงเวลา เพื่อพูดคุยและชวยเหลือปรึกษาแกปญหาตางๆ ให กับบุตรหลานของตน เพื่อที่จะไมหันไปปรึกษาเพื่อน อยางเดียว ซึง่ เพือ่ นอาจชีน้ �ำ ไปในทางทีไ่ มถกู ตองเพราะ มีประสบการณและวุฒิภาวะยังต่ำ� 2. ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป 2.1 เนื่องจากการวิจัยในครั้งนี้ไมสามารถ นำ�ปจจัยอืน่ ๆ ดานนักเรียนและดานโรงเรียน เชน วุฒคิ รู

101


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

ประสบการณในการสอนของครู ขนาดของโรงเรียน เปนตน เพราะติดปญหาทุนวิจัยที่จำ�เปนตองทำ�วิจัย เฉพาะนักเรียนในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร ทำ�ใหการวิจัยในครั้งนี้ไมสามารถทำ�ใหสมบูรณแบบได 2.2 ควรศึกษาถึงตัวแปรอื่นๆ บาง เชน พฤติกรรมการเรียน ความตั้งใจเรียน จำ�นวนการบาน ที่ทำ�จำ�นวนวิชาคณิตศาสตรที่ลงเรียนที่สงผลตอผล 

102

สัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร 2.3 เพื่อใหไดปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตร ที่มีความสมบูรณแบบและ เชื่อถือได จึงควรเก็บรวบรวมขอมูลดวยวิธีการอื่นๆ ประกอบเขาดวยกัน เชน การสังเกตพฤติกรรม และการ สัมภาษณ ควบคูกันไปกับการใชแบบสอบถาม






การศึกษาปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตรของนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ

เอกสารอางอิง ภาษาไทย กัลยา อินทรสาร. (2540). องคประกอบที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สำ�นักงานการประถมศึกษา จังหวัด นครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. กิตติพร วัฒนพานิช. (2545). ความสัมพันธระหวางลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ ประชากร วิธีการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาทางดานคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุร.ี วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรอตุ สาหกรรมมหาบัณฑิต สาขา วิชาคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะครุศาสตรอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี. จิรากุล พิพฒ ั นตันติศกั ดิ.์ (2548). การศึกษาปจจัยทีส่ ง ผลตอผลสัมฤทธิท์ างการเรียนภาษาอังกฤษ. วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ. (2550). การวัดทัศนคติและบุคลิกภาพ. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: สำ�นักทดสอบทางการ ศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. นิพล พลกลาง. (2550). ปจจัยทีส่ ง ผลตอผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียน สังกัดสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ เขต 1 ปการศึกษา 2549. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 18 มกราคม 2550. จาก http//www.researcher.in.th/blog/niponponkrag-21k-. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2533). การวิจัย : การวัดผลและประเมินผล. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โครงการ ศึกษาตอเนื่องมหาวิทยาลัยมหิดล. ประชุม ตันติสขุ ารมย. (2545). ปจจัยในการกำ�หนดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร ธุรกิจ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สังกัดวิทยาลัยพาณิชยการ กรมอาชีวศึกษา. วิทยานิพนธ ปริ ญ ญาครุ ศ าสตร อุ ต สาหกรรมมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าคอมพิ ว เตอร แ ละเทคโนโลยี ส ารสนเทศ คณะ ครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. ปริญญา คลายเจริญ. (2545). การวิเคราะหปจจัยจำ�แนกที่สงผลตอผลการเรียนของนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูง และต่ำ�ในมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยแลประเมินผลทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ปญาภรณ ชุตงั กร. (2521). ความสัมพันธระหวางองคประกอบทางสังคมกับสัมฤทธิผลของนักเรียนชัน้ ประถม ศึกษาปที่ 7 อำ�เภอธัญบุรี จังหวัดประทุมธานี. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ผูจ ดั การ. (2552). ปการศึกษาใหมเวียดนามมุง ปรับคุณภาพจากระดับประถม. [ออนไลน]. สืบคนเมือ่ 25 กันยายน 2552. จาก http://news.nipa.co.th/news.action?newsid=146395 เพ็ญสุดา จันทร. (2542). ปฏิสัมพันธระหวางแบบการเรียนและความวิตกกังวลในวิชาคณิตศาสตรที่มีผล ตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต ภาควิชามัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ยุพิน พิพิธกุล. (2549). การสอนคณิตศาสตร. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ. เริงชัย หมืน่ ชนะ. (2552). ความวิตกกังวล. [ ออนไลน ]. สืบคนเมือ่ 30 มกราคม 2552. จาก http//www.Geocities. com/vinaip/articles/anxiety.html – 17k -.

103


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2554

วสันต ธานินทรธราธาร. (2542). องคประกอบทีส่ ง ผลตอผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน อาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ : กรณีศกึ ษาวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ศึกษาธิการ , กระทรวง. สำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูกลุมสาระ การเรียนรูคณิตศาสตร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทยจำ�กัด. ศึกษาธิการ, กระทรวง. กรมวิชาการ , กองวิจยั การศึกษา. (2538). การสังเคราะหงานวิจยั เกีย่ วกับการเรียนการสอน กลุมทักษะคณิตศาสตรระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา. ศึกษาธิการ, กระทรวง. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2544). คูมือการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ. (2551). คะแนนสอบ O-NET ม. 6. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 16 มกราคม 2552. จาก http//www. niets. or.th./ pdf/ sumup 2550.pdf . สงัด อุทรานันท. (2532). เทคนิคการจัดการเรียนการสอนอยางเปนระบบ. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ มิตรสยาม. สมนึก ภัททิยธานี. (2549). การวัดผลการศึกษา. พิมพครั้งที่ 6. กาฬสินธุ: ประสานการพิมพ. สมบูรณ ตันยะ. (2545). การประเมินทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน. สุรตั น เตียวเจริญ. (2543). ปจจัยทีม่ ผี ลกระทบตอผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีทมี่ ี ผลการเรียนต่�ำ กวาเกณฑคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาและการแนะแนว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม. อเนก เตชะสุข. (2541). ความสัมพันธระหวางเจตคติตอ วิชาคณิตศาสตร เจตคติตอ ครูผสู อน ความสนใจใน การเรียนคณิตศาสตร ความวิตกกังวลในการเรียนคณิตศาสตร แรงจูงใจใฝสมั ฤทธิ ์ และความมีวนิ ยั ในตนเองกับผลสัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 2 จังหวัดกาฬสินธุ. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. อรสา สรอยคำ�. (2550). องคประกอบของการเรียนรูท สี่ ง ผลตอผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาคณิตศาสตรของ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนเอกชน ในเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. อัจฉรา ไพจิตต. (2542). ปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นประ ถมศึกษาปที่ 6 ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำ�นักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาหลักสูตรและวิธสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ภาษาอังกฤษ Allport, Gardon W. (1965). Handbook of social psychology. C. Murchison editor. New York: Clark University Press. Bloom, Benjamin S. (1971). Handbook on formative and summative evaluation of student learning. New York: Mc Graw - Hill Book Company. Brown, Nan Ellen. (1983). The Use of selected characteristics of ability and achievement as predictor of student achievement in a multi-track science curriculum. Dissertation Abstracts International, 43 (June) : 3795-A.

104


การศึกษาปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตรของนักเรียนในชวงชั้นที่ 4 ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ

Bujan–Delgado, Victor Manuel. (1983). A Study of the relationships between socioeconomic characteristics and aspects of mathematical achievement of primary school children of grades four and six in Costa Rica. Dissertation Abstracts International, 43 (2) : 2583-A. Choe, Sae- Hyun. (1971). Family and social relations as factors related to achievement. Dissertation Abstracts International, 32 (10) : 781-A. Ekeocha, Ethelbert Onwudiwe. (1986). Correlates of science achievement : a study of U.S. 5th grade students. Dissertation Abstracts International, 47 (8) : 2103-A. Good, Carter V. (1973). Dictionary of education. 3rd ed. New York: Mc Graw - Hill. Gronlund, Norman E. (1975). Measurement and evaluation in teaching education and psychology. 2nd ed. New York: Holt Rinehart and Winston. Jencks, Christopher. (1971). “Social stratification and higher education.” Financing Higher Education : Alternatives for the Federal Government. : 71 – 111. Edited by M. D. Orwing. The American College Testing Program. Joseph, Thomas Tambe. (1982). The prediction of academic performance of open admission students at Verginia State University. Dissertation Abstracts International, 43 (2) : 2572-A. Krejcie, R. V. and Morgan, E. W. (1970). Determining sample size for research activities. Education and Psychological Measurement, 30 : 607 - 610. Mehrens, William A. and Lehman, Irvin J. (1975). Measurement and evaluation in education and psychology. 2nd ed. New York: Holt, Rinehart and Winston. Missildine, Melanie L. (2004). The relationship between self- regulated learning, motivation, anxiety, attributions, student factor, and mathematics performance among fifth- and sixth- grade learners. Retrieved December, 2008. from http://proquest.Umi.com/pqdweb?did=766128311&sid=1&Fmt=2&cl ientld=61837&RQT=309&VName=PQD/. Nie, Norman H., … et al. (1975). SPSS Statistical package for the social sciences. 2nd ed. New York: Mc Graw–Hill Book Company. Ross, J. M., and Simpson, H. R. (1971). National servey of health and development : education attainment. The British Journal of Educational Psychology, 41 (February) : 49 - 61. Shaw, M. E., and Wright, J. M. (1967). Scales for the measurement of attitudes. New York: Mc Graw Hill Book Company. Stuart, Hayes Laverne. (1978). A Study of factors related to the mathematics achievement of eightgrade students in the Public Schools of St. Tammany Parish, Louisiana. Dissertation Abstracts International, 39 (10) : 2115-A. Thurstone, L. L. (1958). Primary mental abilities. Chicago: The University of Chicago Press. Tuddese, Nebiyu. (1997). The Impact of teacher, family and student attributes on mathematics achievement. Dissertation Abstracts International, 58 (November) : 1631-A.

105



​ราย​ชื่อผูทรง​คุณวุฒิอานบทความวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 31 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน พ.​ศ. 255​4) กิ่งพร ทองใบ, รองศาสตราจารย ดร. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ชวลิต สูงใหญ, ผูชวยศาสตราจารย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝายมัธยม) ชาญณรงค บุญหนุน, ผูชวยศาสตราจาร​ย ดร. ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร ชานนท จันทรา, ผูชวยศาสตราจารย ดร. สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ชำ�นาญ บุญญาพุทธิพงศ, ผูชวยศาสตราจาร​ย ดร. สาขาเทคโนโลยีอาคาร คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน นพพร จันทรนำ�ชู, ผูชวยศาสตราจาร​ย ดร. ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร พรธาดา สุวัธนวนิช, ​อาจารย ดร. ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พรธิดา วิเศษศิลปานนท, ​อาจารย ดร. ภาควิชาศึกษาศาสตร คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มหาวิทยา​ลัยมหิดล ศาลา​ยา พัชนิจ เนาวพันธ, ผูชวยศาสตราจารย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา พาสินี สุนากร, รองศาสตราจารย สาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาคาร คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พินิจ รัตนกุล, รองศาสตราจารย ดร. ผูอำ�นวยการวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลา​ยา มนตรี สืบดวง, ผูชวยศาสตราจาร​ย ดร. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ลักษณา โตวิวัฒน, รองศาสตราจารย ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สมภาร พรมทา, ศาสตราจารย ดร. ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สายวรุณ นอยนิมิต, ผูชวยศาสตราจารย ดร. ภาค​วิชา​ภาษา​ไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร สุดาวรรณ สินธุประมา, ผูชวยศาสตราจารย ภาควิชาภาษาเยอรมัน ​คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เสาวณิต วิงวอน, ผูชวยศาสตราจารย ดร. ภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 






รายละเอียดการเตรียมบทความเพื่อสงตีพิมพ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ 1. วัตถุประสงคการจัดพิมพ

เพื่อเผยแพรผลงานทางวิชาการสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ของนักวิชาการทั้งภายในและ ภายนอกมหาวิทยาลัย เปนสื่อกลางการแลกเปลี่ยนเรียนรูทางวิชาการในสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และ ศิลปะ และสงเสริมใหนักวิชาการและผูสนใจไดนำ�เสนอผลงานวิชาการในรูปบทความวารสาร

2. กำ�หนดออก

ปละ 2 ฉบับ (มกราคม-มิถุนายน และ กรกฎาคม-ธันวาคม)

3. บทความที่รับตีพิมพ

1. บทความที่รับตีพิมพ ไดแก 1. บทความวิชาการ 2. วิทยานิพนธปริทัศน 3. บทความวิจัยจากงานวิจัย หรือวิทยานิพนธตนฉบับ 4. บทความปริทัศน 5. บทความพิเศษ 2. เปนผลงานใหมที่ยังไมเคยพิมพเผยแพรในสื่อใดๆ มากอน 3. ความยาวไมเกิน 15 หนา 4. สงตนฉบับ 3 ชุด พรอมไฟลขอมูลที่บันทึกลงแผน CD-ROM 1 แผน

4. การสงบทความ

1. สงเอกสารตนฉบับ 3 ชุด และ CD-ROM พรอมแบบฟอรมขอสงบทความเพื่อตีพิมพ ทางไปรษณีย มาที่ คุณปรานี วิชานศวกุล (บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร) 44/114 หมูบานเลิศอุบล ซอยพหลโยธิน 52 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 2. เมื่อไดรับบทความแลว บรรณาธิการจะแจงกลับไปยังผูเขียนบทความใหทราบทางใดทางหนึ่ง 3. ทุ ก บทความที่ ตี พิ ม พ จะได รั บ การกลั่ น กรองจากกองบรรณาธิ ก าร และผ า นการพิ จ ารณาจาก ผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชานั้น ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยอยางนอย 2 คน

5. ขอกำ�หนดการเตรียมตนฉบับ

1. ขนาดกระดาษ A4 พิมพดวย Microsoft Word for Window 2. ระยะหางจากขอบบนและซายของกระดาษ 1.25 นิ้ว จากขอบลางและขวาของกระดาษ 1 นิ้ว 3. ตัวอักษร ใชอักษรโบรวาลเลีย นิว (Browallia New) • ชื่อเรื่อง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาด 16 พอยท กลางหนา ตัวหนา • ชื่อผูเขียน ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาด 14 พอยท ชิดขวา ตัวหนา • บทคัดยอภาษาไทยและภาษาอังกฤษ - ชื่อ “บทคัดยอ” และ “Abstract” ขนาด 14 พอยท ชิดซาย ตัวหนา - รายละเอียดบทคัดยอ ขนาด 14 พอยท ชิดขอบซาย-ขวา ตัวธรรมดา - คำ�สำ�คัญ (Keyword) ขึ้นบรรทัดใหม ขนาด 14 พอยท ชิดซาย ตัวหนา สวนขอความของ คำ�สำ�คัญเปนตัวธรรมดา


• บทความ - หัวขอใหญ เวน 1 บรรทัด ชิดซาย ขนาด 14 พอยท ตัวหนา - หัวขอรอง ยอหนา 0.5 นิ้ว ขนาด 14 พอยท ตัวหนา - ขอความ ยอหนา 0.5 นิ้ว ชิดขอบซาย-ขวา ตัวธรรมดา - ใชตัวเลขอารบิคเทานั้น • รายละเอียดผูเขียนบทความ ประกอบดวย - ที่อยู ตำ�แหนงทางวิชาการ หนวยงานที่สังกัด อีเมลและโทรศัพทที่ติดตอไดสะดวก

6. การอางอิง 1. การอางอิงในเนื้อหาใชระบบนาม-ป (Name-year Reference) 1.1 การอางอิงในเนื้อหาจากสื่อทุกประเภท ลงในรูปแบบ “ชื่อผูเขียน ปพิมพ : เลขหนาที่ปรากฏ” อยูใน เครื่องหมายวงเล็บเล็ก 1.2 ผูเขียนคนไทยลงชื่อ-สกุล สวนผูเขียนชาวตางชาติลงเฉพาะนามสกุล ดังตัวอยาง - โสเกรติสย้ำ�วาการอานสามารถจุดประกายไดจากสิ่งที่นักอานรูอยูแลวเทานั้นและความรูที่ไดรับ มาไมไดมาจากตัวหนังสือ (แมนเกล 2546 : 127) - สุมาลี วีระวงศ (2552 : 37) กลาววา การที่ผูหญิงจะไปสื่อชักผูชายมาบานเรือนของตัวเองทั้งๆ ที่เขายัง ไมไดมาสูขอนั้น เปนเรื่องผิดขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี หมายเหตุ: ทุกรายการที่อางอิงในเนื้อหา ตองปรากฏในรายการบรรณานุกรมเสมอ 2. บรรณานุกรม (Bibliography) - การเขียนบรรณานุกรมใชรูปแบบของ APA (American Psychology Association) ดังตัวอยางตามชนิด ของเอกสารดังนี้ 2.1 หนังสือ ชื่อ-สกุลผูแตง. \\ (ปพิมพ). \\ ชื่อหนังสือ. \\ ครั้งที่พิมพ. \\ เมืองที่พิมพ: \ สำ�นักพิมพ. ตัวอยาง แมนเกล, อัลแบรโต. \\ (2546). \\ โลกในมือนักอาน. \\ พิมพครั้งที่ 4. \\ กรุงเทพฯ: \ พิฆเณศ พริ้นติ้ง เซ็นเตอร. สุมาลี วีระวงศ. \\ (2552). \\ วิถีชีวิตไทยในลิลิตพระลอ. \\ พิมพครั้งที่ 3. \\ กรุงเทพฯ: \ สถาพรบุคส. Greenthal, Kathryn, Kozal, Paula M., and Ramirez, Jan Seidler. \\ (1986). \\ American figurative sculpture in the Museum of Fine Arts, Boston. \\ 2nd ed. \\ Boston: \ Museum of Fine Arts. Tidd, J., Bessant, J. and Pavitt, K. \\ (2001). \\ Managing innovation. \\ 2nd ed. \\ Chichester: \ John Wiley and Sons. 2.2 บทความวารสาร ชื่อ-สกุลผูเขียน. \\ (ป) \\ ชื่อบทความ. \\ ชื่อวารสาร \ ปที่, \ (ฉบับที่) \ : \ หนาที่ปรากฏบทความ. ตัวอยาง ผอง เซงกิ่ง. \\ (2528). \\ ศิลปกรรมอันเนื่องกับไตรภูมิ. \\ ปาจารยสาร 12 (2) \ : \ 113-122. Shani, A., Sena, J. and Olin, T. \\ (2003). \\ Knowledge management and new product development: a study of two companies. \\ European Journal of Innovation Management 6 (3) \ : \ 137-149.


2.3 วิทยานิพนธ ชื่อผูเขียนวิทยานิพนธ. \\ (ปการศึกษา). \\ ชื่อวิทยานิพนธ. \\ ระดับปริญญา \ สาขาวิชาหรือภาควิชา \ คณะ \ มหาวิทยาลัย. ตัวอยาง ปณิธิ อมาตยกุล. \\ (2547). \\ การยายถิ่นของชาวไทใหญเขามาในจังหวัดเชียงใหม. \\ วิทยานิพนธปริญญา ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิภาคศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม. วันดี สนติวฒ ุ เิ มธี. \\ (2545). \\ กระบวนการสรางอัตลักษณทางชาติพนั ธุข องชาวไทใหญชายแดนไทย-พมา กรณีศกึ ษาหมูบ า นเปยงหลวง อำ�เภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม. \\ วิทยานิพนธปริญญาสังคมวิทยา และมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. 2.4 สื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ 2.4.1 หนังสือออนไลน (online / e-Book) ชือ่ ผูเ ขียน. \\ (ปทพี่ มิ พ) \\ ชือ่ เรือ่ ง. \\ [ประเภทของสือ่ ทีเ่ ขาถึง]. \\ สืบคนเมือ่ \\ วัน \ เดือน \ ป. \\ จาก \ แหลงขอมูล หรือ URL สรรัชต หอไพศาล. \\ (2552). \\ นวัตกรรมและการประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในสหัสวรรษใหม : กรณีการจัดการเรียนการสอนผานเว็บ (Web-Based Instruction : WBI). \\ [ออนไลน]. \\ สืบคน เมื่อ 1 พฤษภาคม 2553. \\ จาก http://ftp.spu.ac.th/hum111/main1_files. De Huff, E. W. \\ (2009). \\ Taytay’s tales: traditional Pueblo Indian tales. \\ [Online]. \\ Retrieved January 8, 2010. \\ from http://digital.library.upenn.edu/women/dehuff/taytay/taytay.html. 2.4.2 บทความจากวารสารออนไลน (online / e-journal) Author, A. A., & Author, B. B. \\ (Date of publication). \\ Title of article. \\ Title of Journal \\ volume (number) : pages. \\ [Online]. \\ Retrieved …month date, year. \\ from….source or URL…. ตัวอยาง Kenneth, I. A. \\ (2000). \\ A Buddhist response to the nature of human rights. \\ Journal of Buddhist Ethics 8 (3) : 13-15. \\ [Online]. \\ Retrieved March 2, 2009. \\ from http://www.cac.psu.edu/jbe/ twocont.html. Webb, S. L. \\ (1998). \\ Dealing with sexual harassment. \\ Small Business Reports 17 (5) : 11-14. \\ [Online]. \\ Retrieved January 15, 2005. \\ from BRS, File: ABI/INFORM Item: 00591201. 2.4.3 ฐานขอมูล ธนาคารแหงประเทศไทย. \\ (2550). \\ แรงงานตางดาวในภาคเหนือ. \\ [ออนไลน]. \\ สืบคนเมื่อ 2 กันยายน 2550. \\ จาก http://www.Bot.or.th/BotHomepage/databank /RegionEcon/ northern /public/Econ/ch 7/42BOX04. HTM. Beckenbach, F. and Daskalakis, M. \\ (2009). \\ Invention and innovation as creative problem solving activities: A contribution to evolutionary microeconomics. \\ [Online]. \\ Retrieved September 12, 2009. \\ from http:www.wiwi.uni-augsburg.de/vwl/hanusch/emaee/papers/Beckenbach_neu.pdf.


สงบทความไดที่ :

คุณปรานี วิชานศวกุล (บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร) 44/114 หมูบานเลิศอุบล ซอยพหลโยธิน 52 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 โทร. 080-5996680

ติดตอสอบถามไดที่ :

รศ.ระเบียบ สุภวิรี คุณปรานี วิชานศวกุล

E-mail: dawgrabiab107@gmail.com E-mail: pranee_aon1@hotmail.com

ผูเขียนบทความสามารถดาวนโหลดแบบฟอรมขอสงบทความเพื่อตีพิมพ ไดที่ http: //www.surdi.su.ac.th หรือ http://www.journal.su.ac.th


แบบฟอรมขอสงบทความเพื่อตีพิมพ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร์ และศิลปะ เรียน กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ขาพเจา ​ นาย ​ นาง ​ นางสาว ชื่อ-สกุล ภาษาไทย ....................................................................................................................... ภาษาอังกฤษ................................................................................................................. ตำ�แหนงทางวิชาการ ​  ศาสตราจารย  รองศาสตราจารย  ผูชวยศาสตราจารย  อาจารย ​  อืน่ ๆ (โปรดระบุ)......................................................................................................................... สถานที่ทำ�งาน .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. โทรศัพทที่ทำ�งาน.......................................................โทรศัพทมือถือ.................................................... โทรสาร......................................................................อีเมล................................................................... มีความประสงคขอสงบทความ เรื่อง ภาษาไทย............................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ภาษาอังกฤษ.......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... กองบรรณาธิการสามารถติดตอขาพเจาไดที่  สถานที่ทำ�งาน ตามที่ระบุไวขางตน  สถานที่อยูที่ติดตอไดสะดวกรวดเร็ว ดังนี้ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. โทรศัพทที่ทำ�งาน.......................................................โทรศัพทมือถือ.................................................... โทรสาร......................................................................อีเมล................................................................... ลงชื่อ.................................................................... (...........................................................) วัน-เดือน-ป........................................................... สงใบสมัคร พรอมตนฉบับ 3 ชุด และไฟลขอมูลที่บันทึกลงแผน CD-ROM 1 แผน มาที่ คุณปรานี วิชานศวกุล (บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร) 44/114 หมูบานเลิศอุบล ซอยพหลโยธิน 52 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 เฉพาะเจาหนาที่ วันทีร่ บั เอกสาร............................................................ลงชือ่ ผูร บั เอกสาร.............................................................



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.