วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 1


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ปที่ 31 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม​-ธันวาคม พ.ศ. 2554) SILPAKORN UNIVERSITY JOURNAL Volume 31 Number 2 (July-December 2011) ISSN 0857-5428 หนวยงานที่รับผิดชอบ

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000

วัตถุประสงค์ 1. เผยแพรผลงานทางวิชาการสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ของนักวิชาการทั้ง

ที่ปรึกษา

ภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัย 2. เปนสื่อกลางการแลกเปลี่ยนเรียนรูทางวิชาการในสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ 3. สงเสริมใหนักวิชาการและผูสนใจไดนำ�เสนอผลงานวิชาการในรูปบทความวารสาร

ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร. เจตนา นาควัชระ ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร ศาสตราจารย ดร. สันติ เล็กสุขุม ภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย ดร. กุสุมา รักษมณี ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร. อริศร เทียนประเสริฐ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร

บรรณาธิการ รองศาสตราจารยระเบียบ สุภวิรี

ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ทุกบทความ​ไดรับการตรวจความถูกตองทางวิชาการโดยผูทรงคุณวุฒิ​


กองบรรณาธิการ

ศาสตราจารยปรีชา เถาทอง ภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย ดร. สุวิไล เปรมศรีรัตน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเซีย มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารยพิษณุ ศุภนิมิตร ภาควิชาภาพพิมพ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร รองศาสตราจารย สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร. มาเรียม นิลพันธุ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร. บูลยจีรา ชิรเวทย ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

บรรณาธิการบริหารวารสาร

นางปรานี วิชานศวกุล

กำ�หนดออก ปละ 2 ฉบับ (มกราคม-มิถุนายน และ กรกฎาคม-ธันวาคม) จำ�นวนพิมพ 300 เลม ราคาจำ�หนาย เลมละ 120 บาท ติดตอบอกรับและสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่

พิมพที่

รศ.ระเบียบ สุภวิรี บรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 E-mail: dawgrabiab107@gmail.com หรือ คุณปรานี วิชานศวกุล บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 44/114 หมูบานเลิศอุบล ซอยพหลโยธิน 52 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 E-mail: pranee_aon1@hotmail.com Web site: http://www.journal.su.ac.th หรือ http://www.surdi.su.ac.th โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 โทรศัพท 034 – 255814


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ปที่ 31 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม พ.ศ. 2554)

สารบัญ บทบรรณาธิการ

5

บทความประจำ�ฉบับ แนวทางในการพัฒนาและสื่อความหมายแหลงทองเที่ยวแหงใหมบนเสนทางรถไฟสายมรณะ 7 อภิญญา บัคคาลา อรุณนภาพร ทฤษฎีความหมายในทัศนะของพัทนัม : เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก ณฐิกา ครองยุทธ

21

การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี เจะอับดุลเลาะ เจะสอเหาะ

39

ความสัมพันธทางการคากับการแสวงหาอำ�นาจของเมืองพิษณุโลกในพุทธศตวรรษที่ 22-23 ธีระวัฒน แสนคำ�

53

การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง โดยใชวิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม กรณีศึกษา ชุมชนสรางสรรคหัตถกรรมภาพแกะหนังตะลุง ตำ�บลปากพูน อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เรวัต สุขสิกาญจน, เจษฎา สุขสิกาญจน, มนัส ชวยกรด การพัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร นันทนา แซลี, องอาจ นัยพัฒน, สุนันท ศลโกสุม

69 83


การทองเที่ยวที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางในงานประเพณีบุญบั้งไฟ ปนวดี ศรีสุพรรณ, เยาวลักษณ อภิชาติวัลลภ, กนกวรรณ มะโนรมย

107

นัยทางการเมืองใน “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ

119

การบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มณี ชินณรงค

135

การประเมินโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ กิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหม มาเรียม นิลพันธุ

149

ภาคผนวก

รายชื่อผูทรงคุณวุฒิอานบทความ​วารสาร​มหาวิทยาลัย​ศิลปากร

167


บทบรรณาธิการ

จากความตั้งใจของกองบรรณาธิการที่กำ�หนดใหวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากรฉบับนี้ จะเปนแนวเรื่อง การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การฟนฟูศิลปวัฒนธรรม และภาษาของกลุมชาติพันธุ เนื่องจากเห็นความสำ�คัญใน การปลูกฝงใหนักทองเที่ยวไดรับความเพลิดเพลินไปพรอมกับการไดรูจักและรักษาวัฒนธรรมทองถิ่นเอาไว และ ดิฉันไดประชาสัมพันธเชิญชวนนักวิชาการใหเขียนบทความเรื่องดังกลาว แตมีเพียง 2 บทความเทานั้นที่เปนไป ตามแนวเรื่องที่กำ�หนดไว สวนอีก 8 บทความเปนเรื่องอื่นๆ ดังนั้น วารสารฉบับนี้จึงไมเปนไปตามที่ไดตั้งใจ ไว แตถึงอยางไรก็ตามฉบับนี้ก็มีบทความที่นาสนใจหลายเรื่อง นับตั้งแตเรื่องการทองเที่ยว การศึกษา วรรณคดี ประวัติศาสตร ศิลปหัตถกรรม ตลอดจนปรัชญาภาษา ดานการทองเที่ยวมี 2 เรื่องคือเรื่องแรก “แนวทางในการพัฒนาและสื่อความหมายแหลงทองเที่ยว แหงใหมบนเสนทางรถไฟสายมรณะ” ของ ดร. อภิญญา บัคคาลา อรุณนภาพร โดยศึกษาแนวทางในการพัฒนา แหลงทองเทีย่ วทางประวัตศิ าสตรบนเสนทางรถไฟสายมรณะทีย่ งั มิไดพฒ ั นาใหเปนแหลงทองเทีย่ วทางวัฒนธรรม แบบยั่งยืน ซึ่งทำ�ใหทราบวายังมีแหลงทองเที่ยวที่สำ�คัญบนเสนทางรถไฟสายมรณะที่ควรไดรับการพัฒนาอีก 6 แหลงคือ 1.อนุสาวรียทหารและกรรมกรนิรนามที่วัดถาวรวราราม 2.บริเวณน้ำ�ตกไทรโยค 3.กองถานหิน เตาหุงขาว ซากเตาไฟและซากตอมอสะพานที่น้ำ�ตกไทรโยคใหญ 4.บอน้ำ�พุรอนหินดาดและสถานีรถไฟหินดาด อ.ทองผาภูมิ 5.บริเวณสะพานขามหวยซองกาเรีย และ 6.ดานเจดียส ามองค อ.สังขละบุรี เรือ่ งทีส่ องคือเรือ่ ง “การ ทองเทีย่ วทีม่ ผี ลตอการเปลีย่ นแปลงเชิงโครงสรางในงานประเพณีบญ ุ บัง้ ไฟ” ของ ปน วดี ศรีสพุ รรณ เปนกรณีศกึ ษา ประเพณีบญ ุ บัง้ ไฟ จังหวัดยโสธร อันเปนประเพณีทตี่ อบสนองความตองการทีห่ ลากหลาย รวมไปถึงการทองเทีย่ ว ทีส่ ง ผลทางออมทีท่ ำ�ใหเกิดจิตสำ�นึกของบุคคลในทองถิน่ และเกิดกิจกรรมใหมๆทีเ่ กีย่ วของทัง้ ชาวพืน้ เมือง ชุมชน นักการเมือง นักธุรกิจทีเ่ ขามามีสว นรวมในการจัดงาน ทำ�ใหเกิดการเปลีย่ นแปลงในเชิงโครงสรางตอวิถชี วี ติ ทีแ่ ตก ตางไปจากรูปแบบในอดีต และถือวาเปนประเพณีรว มสมัยทีจ่ ดั ขึน้ ตามวัฒนธรรมเพือ่ รองรับวิถชี วี ติ ของประชาชน ในทองถิ่น ดานการศึกษามี 3 เรื่องคือ เรื่องแรก นันทนา แซลี ศึกษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบประเมินการสอน ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร” โดยยึดองคประกอบในการประเมินการสอนที่สอดคลองตามหลักทฤษฎี ของมารช (Marsh) มาเปนเกณฑในการวิเคราะหเอกสารการประเมินการสอนของอาจารยผูสอนรายวิชาพื้นฐาน ของมหาวิทยาลัยศิลปากร ในระดับปริญญาตรี ของ 3 สาขาวิชาคือ สาขาวิชาศิลปะและประยุกตศิลป สาขาวิชา มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร และสาขาวิชาวิทยาศาสตร เรื่องที่สอง “การบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ” ของมณี ชินณรงค ทีศ่ กึ ษาระดับการบริหารจัดการและปจจัยทีม่ คี วามสัมพันธกบั การบริหาร จัดการของคณะวิทยากรจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ 40 แหงทัว่ ประเทศ โดยยึดกิจกรรมหลักในการบริหาร 4 ดาน คือการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแกชุมชน และการประกันคุณภาพ เรื่องที่สามคือ “การประเมิน โครงการยกระดับคุณภาพครูทงั้ ระบบ กิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหม” ของ ดร.มาเรียม นิลพันธุ เปนการศึกษา วิจัยเพื่อประเมินความรูความสามารถตามสมรรถนะ คุณลักษณะ และพฤติกรรมการนิเทศ ของศึกษานิเทศก เพื่อ นำ�เสนอรูปแบบการนิเทศและลักษณะอันพึงประสงคของศึกษานิเทศกที่ดี ผูที่อานบทความนี้จะไดขอสรุปวาการ เปนศึกษานิเทศกทดี่ นี นั้ ตองมีคณ ุ ลักษณะทีส่ �ำ คัญ ไดแก มีวฒ ุ กิ ารศึกษาขัน้ ต่�ำ ปริญญาโท มีบคุ ลิกเปนนักวิชาการ มีประสบการณในการสอนมาแลว เขาใจการศึกษาตามหลักการเรียนรู หรือแมกระทั่งตองมีจิตอาสาอีกดวย ดานศิลปหัตถกรรม มี 2 บทความ ซึ่งเปนเรื่องศิลปหัตถกรรมของทองถิ่นภาคใต เรื่องแรกคือ “การสราง สรรคผลงานจิตรกรรม รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี” ของ เจะอับดุลเลาะ เจะสอเหาะ ผูเขียนไดสราง สรรคผลงานจิตรกรรมชุดรูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี ที่ประกอบดวยผลงานจิตรกรรม 4 ชุดคือ ชุด


จิตรกรรมวัสดุผสมที่ไดรับแรงบันดาลใจจากลวดลายเรือกอและ ชุดรูปลักษณจากทองถิ่น ชุดสีสันจากทองถิ่น และชุดรูปลักษณทองถิ่นปตตานี ที่นำ�มาเปนแนวทางในการสรางผลงานที่มีลักษณะเปนจิตรกรรมวัสดุผสม เฉพาะตนอยางเปนระบบ เพื่อนำ�มาใชกับการเรียนการสอนในหลักสูตรทัศนศิลป อีกเรื่องหนึ่งคือ “การพัฒนารูป แบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง โดยใชวิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม : กรณีศึกษาชุมชนสรางสรรค หัตถกรรมภาพแกะหนังตะลุง ตำ�บลปากพูน อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช” ของ เรวัต สุขสิกาญจน เปนการศึกษาวิจัยเพื่อสรางสรรคและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมภาพแกะหนังตะลุง โดยกำ�หนดรูปแบบ ผลิตภัณฑคือผลิตไดงาย ไมซับซอน แตยังคงอนุรักษศิลปหัตถกรรมสรางสรรคจากหนังตะลุงอยู และไดคิดคน แบบผลิตภัณฑเปนกระเปาและชุดเครื่องประดับ จากการศึกษาครั้งนี้ทำ�ใหเกิดการอนุรักษ สืบสาน ออกแบบ และ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑใหตรงกับความตองการของผูบ ริโภค อันจะสงผลตอกลุม ผูผ ลิตและสรางสรรคใหมรี ายได เพิ่มมากขึ้น และนำ�ไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนเพื่อขยายผลิตภัณฑไปสูระดับสากลไดในอนาคต สำ�หรับบทความอื่นๆ มีดังนี้ “ทฤษฎีความหมายในทัศนะของพัทนัม : เกณฑกำ�หนดความหมายจาก ภายนอก” ของ ณฐิกา ครองยุทธ เปนการวิเคราะหเกณฑการกำ�หนดความหมายของภาษา ดวยการวิเคราะหทฤษฎี การกำ�หนดความหมายแบบเฟรเก ที่มีแนวคิดวาเกณฑในการกำ�หนดความหมายของภาษามีความสัมพันธกับ สภาวะจิต แตพทั นัมไมเห็นดวยกับแนวคิดดังกลาวและเสนอแนวคิดวาการกำ�หนดความหมายของคำ�หรือประโยค มาจากการใชค�ำ ของคนในชุมชนและปจจัยภายนอกคือธรรมชาติทแี่ ทจริงของสิง่ ตางๆในโลก บทความนีม้ ขี อ สรุป วา ถึงแมวา แนวคิดเรือ่ งเกณฑก�ำ หนดความหมายจากภายนอกสามารถอธิบายความสัมพันธระหวางภาษากับโลก ภายนอกได แตไมสามารถอธิบายความสัมพันธระหวางภาษากับมนุษยได อีกบทความหนึง่ ทีเ่ กีย่ วของกับภาษา และวรรณคดีคือเรื่อง “นัยทางการเมืองใน “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” ของ กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ ที่ศึกษา วิจัยเสภาในเรื่องขุนชางขุนแผน ฉบับหอพระสมุด วชิรญาณ ตั้งแตตอนที่ 1 กำ�เนิดขุนชางขุนแผน ถึงตอนที่ 43 จระเขเถรขวาด เปนการวิเคราะหตัวละครสำ�คัญคือ ขุนไกร ขุนแผน พลายงาม และพลายชุมพล ที่แสดงถึงความ จงรักภักดีทมี่ ตี อ สถาบันพระมหากษัตริย โดยเฉพาะขาราชการทหารอันเปนบริบทของรัฐไทยในขณะนัน้ นอกจากนี้ ผูเขียนไดวิเคราะหใหเห็นวา เสภาขุนชางขุนแผนนั้นนาจะเกิดขึ้นเพื่อวัตถุประสงคทางการเมืองที่มุงปลูกฝง ความจงรักภักดีตอสถาบันพระมหากษัตริย สวนเรื่องทางประวัติศาสตรนั้น ธีระวัฒน แสนคำ� เขียนบทความ เรื่อง “ความสัมพันธทางการคากับการแสวงหาอำ�นาจของเมืองพิษณุโลกในพุทธศตวรรษที่ 22-23” เปนการ วิเคราะหเหตุการณทางประวัตศิ าสตรของเมืองพิษณุโลกซึง่ เปนเมืองโบราณทีม่ คี วามอุดมสมบูรณและมีทรัพยากร ที่สำ�คัญคือเหล็กและของปา กับกรุงศรีอยุธยาที่มีความเจริญรุงเรืองในพุทธศตวรรษที่ 22-23 และมีความสัมพันธ ทางการคากับชาวตางชาติ ทำ�ใหกรุงศรีอยุธยาจำ�เปนตองสรางความสัมพันธกับหัวเมืองที่สำ�คัญก็คือพิษณุโลก อีกทัง้ ภายในอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาเองก็ตอ งสรางดุลอำ�นาจระหวางหัวเมืองใหญและหัวเมืองบริวาร เพือ่ ใหไดมา ซึ่งสินคาตามที่พระคลังสินคาหรือพอคาชาวตางชาติตองการ จากบทความทัง้ หมดนี้ กองบรรณาธิการหวังวาจะเปนประโยชนตอ ผูอ า น และวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ยินดีที่จะเปนสื่อกลางในการเผยแพรความรูสูสังคมสารสนเทศตอไป จึงใครขอเรียนเชิญนักวิชาการทุกทานทั้ง ภาครัฐและเอกชนไดสงบทความมาเพื่อพิจารณาตีพิมพในวารสารฉบับถัดไป

รองศาสตราจารยระเบียบ สุภวิรี บรรณาธิการ


แนวทางในการพัฒนาและสื่อความหมายแหลงทองเที่ยวแหงใหม บนเสนทางรถไฟสายมรณะ 1 Guidelines for Interpretation and Development of New Tourism Destinations along The ‘Death Railway’, Kanchanaburi, Thailand อภิญญา บัคคาลา อรุณนภาพร 2 Apinya Baggelaar Arrunnapaporn บทคัดยอ เสนทางรถไฟสายไทย-พมา หรือทางรถไฟสายมรณะ(Death Railway) มีความสำ�คัญอยางยิ่งในทาง ประวัติศาสตรและในฐานะของความเปนมรดกทางวัฒนธรรม แหลงทางประวัติศาสตรบางแหงบนเสนทางรถไฟนี้ ไดรบั การพัฒนาใหเปนแหลงทองเทีย่ วบางแลว ในขณะทีย่ งั มีแหลงทีม่ คี ณ ุ คาและความสำ�คัญอีกมากมาย จึงเปนทีม่ า ของการศึกษาหาแนวทางในการพัฒนาและสือ่ ความหมายแหลงทองเทีย่ วแหงใหมบนเสนทางรถไฟสายมรณะนี้ อันมี วัตถุประสงคเพื่อทำ�การสำ�รวจแหลงทางประวัติศาสตรที่ยังไมไดรับการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม เพื่อวางแผนการตีความและสื่อความหมายมรดกทางวัฒนธรรมของแหลงตางๆ นี้ ใหเปนที่เขาใจและรูจักมากขึ้นใน หมูค นไทยและชาวตางชาติ ผานการพัฒนาใหเปนแหลงทองเทีย่ วทางวัฒนธรรมแบบยัง่ ยืน โดยในการศึกษานีก้ ารวิจยั เชิงคุณภาพไดถกู นำ�มาใชในการศึกษา ดวยเทคนิควิธกี ารสัมภาษณเชิงลึก, การสนทนากลุม และการสังเกตการณแบบ มีสวนรวมกับกลุมตัวอยาง 5 กลุมในระหวางการทำ�งานเก็บขอมูลภาคสนาม เพื่อที่จะสำ�รวจและศึกษาถึงคุณคาของ แหลงประวัติศาสตรตางๆ รวมถึงหลักในการพัฒนาแหลงนั้นๆ และการมีสวนรวมของชุมชนในการพัฒนา ผลการศึกษาทำ�ใหทราบวากลุมตัวอยางสวนใหญตองการใหเกิดการพัฒนาและตีความแหลงทองเที่ยว แหงใหมและพรอมที่จะมีสวนรวมในการพัฒนาโดยเชื่อวาการทองเที่ยวจะเปนการสื่อความหมายมรดกวัฒนธรรมที่ดี วิธหี นึง่ สวนจะมีการจัดการการทองเทีย่ วทางวัฒนธรรมอยางไรนัน้ ขึน้ อยูก บั วาเราตองการตีความและสือ่ ความหมาย เรือ่ งใด พรอมทัง้ ไดทราบถึงแหลงประวัตศิ าสตรทสี่ มควรไดรบั การพัฒนามากทีส่ ดุ จำ�นวน 6 แหลงและเหตุผลสนับสนุน ในดานคุณคา ความสำ�คัญทางมรดกวัฒนธรรมและสิ่งที่ตองการสื่อความหมาย สวนรูปแบบในการพัฒนาและสื่อความหมายใหเปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมแหงใหมนั้น สามารถนำ� เอาหลักการพัฒนาแหลงทองเที่ยววัฒนธรรมที่เนนการมีสวนรวมของชุมชนเขามาใชในการวางแผน ซึ่งงานวิจัยนี้ได ตอบโจทยและรวมวางรากฐานการมีสวนรวมของชุมชนเอาไวแลว จากการใหโอกาสชุมชนเขามาแสดงความคิดเห็น ถึงแหลงตางๆ ทีส่ มควรไดรบั การพัฒนา สิง่ สำ�คัญในการวางแผนการพัฒนาคือการสืบคน บันทึก ตีความและสือ่ ความ หมายคุณคาและความสำ�คัญทางมรดกวัฒนธรรมของทั้ง 6 แหลง โดยการใชเทคนิคตางๆ ในการสื่อความหมายซึ่ง ลวนเปนสิ่งจำ�เปนในการเลาประวัติศาสตรเสนทางรถไฟสายมรณะใหเปนที่รูจักมากขึ้น

__________________ 1 บทความนี้เปนผลงานวิจัยเรื่องการศึกษาความเปนไปไดในการพัฒนาและตีความแหลงทองเที่ยวแหงใหมบนเสนทางรถไฟ สายมรณะ ภายใตทุนสนับสนุนการวิจัยทั่วไป มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ป 2552 2 อาจารย ดร. ประจำ�หลักสูตรการบริหารงานวัฒนธรรม วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

คำ�สำ�คัญ: 1. มรดกทางวัฒนธรรม. 2. แหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมบนเสนทางรถไฟสายมรณะ. 3. การพัฒนา. 4. การสื่อความหมาย Abstract The Thailand-Burma Railway, which is commonly known as the ‘Death Railway’, has a very high cultural significance, especially in historical value. Although there have been several sites developed as tourist attractions, there are still many significant places that can be developed along the railway. The study of Guidelines for Interpretation and Development of New Tourism Destinations along the ‘Death Railway’ took place to survey these potential sites, as well as to find means to interpret these sites to be more known amongst Thai and international tourists via sustainable cultural tourism management. A qualitative research method is used in the study with 5 sample groups. The techniques of in-depth interview, group-discussion and participant observation are used during the field research to find a list of these sites, its significance, development’s planning and local’s participation. The results show that the sample groups would like to develop 6 sites as new tourism destinations and are willing to cooperate in the management from the beginning. They also believe that developing these sites for cultural tourism is one of the best means to interpret this heritage. The cultural tourism management plan depends on which story will be interpreted and need a further study and discussion. They also illustrate the heritage significance and meaning of each site. Principles in sustainable cultural tourism development can be used in the development’s planning as well as principles in local stakeholders’ participation. For that matter, this study has gathered their opinions on the most likely sites. The most important concerns during the planning are to record, research, survey and interpret the heritage significance of all six sites. In doing so, using several techniques in interpretation will be an appropriate proposal. All these techniques used shall make the heritage significance of the ‘Death Railway’ better known. Keywords: 1. Cultural heritage. 2. Cultural sites along the ‘Death Railway’. 3. Development. 4. Interpretation.

8


แนวทางในการพัฒนาและสื่อความหมายแหลงทองเที่ยวแหงใหมบนเสนทางรถไฟสายมรณะ อภิญญา บัคคาลา อรุณนภาพร

บทนำ� เสนทางรถไฟสายไทย-พมา ถูกสรางขึ้นโดย เชลยศึกทีเ่ ปนทหารสัมพันธมิตรจำ�นวนรวม 60,000 คน เชลยศึ ก เหล า นี้ มี สั ญ ชาติ อั ง กฤษ เนเธอร แ ลนด ออสเตรเลี ย และอเมริ กั น ภายใต ก ารควบคุ ม ของ กองกำ � ลั ง ทหารแห ง พระมหาจั ก รพรรดิ ข องญี่ ปุ  น ที่กำ�ลังเปนตอในสงครามมหาเอเชียบูรพา โดยญี่ปุน ตองการสรางทางรถไฟสายนี้ใหเสร็จโดยเร็วเพื่อใชเปน เสนทางยุทธศาสตรในการลำ�เลียงอาหารและสรรพาวุธ เพื่อนำ�ไปใชในประเทศพมาเพื่อจะบุกเขายึดประเทศ อิ น เดี ย ต อ ไป นอกจากเชลยศึ ก แล ว ยั ง มี แ รงงาน รับจางชาวเอเชียที่อพยพพากันมารับจางกองทัพญี่ปุน สรางทางรถไฟสายนีอ้ กี รวม 200,000 คน แรงงานเอเชีย เหลานี้มีทั้งชาวพมา ทมิฬ อินโดนีเซียน มาเลย ญวน เวียดนาม และไทย เสนทางรถไฟสายนี้เริ่มตนกอสราง จากสถานีหนองปลาดุก จังหวัดราชบุรี ไปสุดชายแดน ประเทศไทยที่ดานเจดียสามองคเปนระยะทาง 304 กิโลเมตร โดยในประเทศพมาก็เริ่มกอสรางในคราว เดี ย วกั น โดยเริ่ ม ต น ก อ สร า งที่ ส ถานี ฑั น บู ซ ายั ต และ มีระยะทาง 111 กิโลเมตร เสนทางรถไฟทั้งสองสวน มาพบกั น ที่ จุ ด เชื่ อ มต อ ที่ แ ก ง คอยท า หรื อ ตั ง กอนตะ (Konkoita) ปจจุบันจมอยูในเขื่อนวชิราลงกรณ โดย เสนทางรถไฟมีความยาวทั้งสิ้น 415 กิโลเมตร ในชวงกอนสงครามบรรดาประเทศเพื่อนบาน ทั้งหลายของไทยไดตกเปนเมืองขึ้นของชาติตะวันตก และทางกองทั พ ญี่ ปุ  น ได ย กประเด็ น เรื่ อ งนี้ เ พื่ อ ใช รณรงคในการสรางความรวมมือในภูมิภาคเอเชียเพื่อ ปลดปลอยตัวเองจากการเปนอาณานิคมที่ทางรัฐบาล ญี่ปุนขนานนามวา วงไพบูลยรวมกันแหงมหาเอเชีย บูรพา (The Greater East Asia Co-Prosperity Sphere) เส น ทางรถไฟสายนี้ ถื อ เป น หั ว ใจหนึ่ ง ในแผนการ วงไพบูลยรวมกันแหงมหาเอเชียบูรพา ประเทศไทย ในขณะนั้นไดถูกญี่ปุนบีบบังคับใหทำ�ความตกลงรวม ยุทธดวย โดยไดยินยอมเซ็นสัญญาใหกองทัพญี่ปุน เดินทัพผานไปยังมลายูและพมา และยินยอมจะใหความ

ชวยเหลือในการกอสรางทางรถไฟสายนี้ นอกจากนีแ้ ลว ประเทศไทยก็ยังตองประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกา และอังกฤษและตกอยูในสภาวะสงครามเปนเวลานาน ถึง 4 ป ดวยเหตุผลที่กลาวมาขางตนจะเห็นวามรดก วั ฒ นธรรมทางรถไฟสายมรณะนี้ มี ค วามสำ � คั ญ ทาง ประวัติศาสตรในชวงสงครามมหาเอเชียบูรพาที่เปน สวนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สองเปนอยางยิ่ง เสนทางรถไฟนีก้ อ สรางระหวางเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2485 จนถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2486 ใชเวลาเพียง แค 1 ป 5 เดือน ซึ่งในเวลาปกติตองใชเวลาประมาณ 5-6 ปในการกอสราง ดวยความเรงรีบดังกลาวประกอบ กั บ ความยากลำ � บากในการก อ สร า ง ทำ � ให เ ชลยศึ ก สัมพันธมิตรและแรงงานรับจางชาวเอเชียไดเสียชีวิต ไปเปนจำ�นวนมากนับแสนคน จนกลายมาเปนที่มาของ ชื่อเสนทางรถไฟสายมรณะ จากหลักฐานทางเอกสาร พบวา เชลยศึกจำ�นวน 12,620 คน จากจำ�นวนทั้งสิ้น ประมาณ 60,000 คน และแรงงานรับจางชาวเอเชีย อีกรวมแสนคนจากประมาณรวม 200,000 คน ไดเสีย ชีวิตลงบนเสนทางรถไฟสายนี้ (Beattie 2005 : 25) กองทัพญี่ปุนไดเก็บรายชื่อผูเสียชีวิตที่เปนเชลยศึก สัมพันธมิตรไว สวนรายชื่อแรงงานรับจางชาวเอเชีย ที่เสียชีวิตนั้นกองทัพญี่ปุนไมไดทำ �การบันทึกเอาไว หลักฐานสำ�คัญที่เปนประจักษพยานการเสียชีวิตของ เชลยศึกที่หลงเหลือใหเราเห็นทุกวันนี้คือที่สุสานทหาร สัมพันธมิตรทั้ง 3 แหง (สองแหงในจังหวัดกาญจนบุรี ที่ไดกลายเปนแหลงทองเที่ยวที่สำ �คัญและอีกแหงที่ เมืองฑันบูซายัตในประเทศพมา) นอกจากนี้ภายหลัง สงคราม การรถไฟแหงประเทศไทยไดทำ�การปรับปรุง ซอมแซมทางรถไฟจนสามารถทำ�การเดินรถไดตามปกติ จนถึงสถานีไทรโยคนอยเพื่อสงเสริมการทองเที่ยว จน ในปจจุบันไดกลายเปนเสนทางทองเที่ยวยอดนิยมใน หมูนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางชาติ แตแหลง ทองเที่ยวบนเสนทางรถไฟสายมรณะที่โดงดังที่สุดคง หนีไมพน สะพานขามแมน�้ำ แคว ทีผ่ คู นจากทัว่ ทุกมุมโลก ตางเดินทางมาเพื่อเยี่ยมชมสะพานนี้

9


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ภาพที่ 3 แรงงานชาวเอเชียที่ถูกบังคับมารับจางสรางทางรถไฟ สายมรณะ (Australian War Memorial)

ภาพที่1 แผนที่เสนทางรถไฟสายมรณะตลอด 415 กิโลเมตร จากสถานีหนองปลาดุกถึงฑันบูซายัต (H.V.Clarke)

ภาพที่ 4 สุสานชั่วคราวของเชลยศึกสัมพันธมิตร (Australian War Memorial)

ภาพที่ 2 เชลยศึกทหารสัมพันธมิตรขณะทำ�การกอสราง ทางรถไฟสายมรณะ (Australian War Memorial) ภาพที่ 5 สะพานขามแมน้ำ�แคว (ผูเขียน 19-04-2549)

10


แนวทางในการพัฒนาและสื่อความหมายแหลงทองเที่ยวแหงใหมบนเสนทางรถไฟสายมรณะ อภิญญา บัคคาลา อรุณนภาพร

จากความสำ�คัญทางมรดกวัฒนธรรมที่ไดกลาว ไปแลวขางตน ประกอบกับการไดลงพื้นที่ภาคสนาม อยางตอเนื่องมาเปนเวลานานของผูวิจัย ทำ�ใหทราบวา บนรองรอยซากปรักหักพังของเสนทางรถไฟสายมรณะ ยังมีแหลงประวัติศาสตร (Historical Sites) ที่สำ�คัญ อีกหลายจุด ที่สมควรไดรับการพัฒนาและตีความเพื่อ สื่ อ ความหมายมรดกทางวั ฒ นธรรมสู  ส าธารณชน ดังนั้น จึงมีความจำ�เปนอยางยิ่ง ที่จะตองมีการศึกษา วิจัยเกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมแหงนี้อยางตอเนื่อง และจริงจังตอไปในอนาคต โดยในการวิจัยนี้ผูวิจัยเห็น สมควรใหมีการศึกษาวิจัยแหลงทางประวัติศาสตรของ มรดกวัฒนธรรมบนเสนทางรถไฟสายมรณะ ในสวน ที่ยังไมไดรับการสำ�รวจและพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค ในการศึ ก ษาวิ จั ย คื อ 1.) เพื่ อ ทำ � การสำ � รวจแหล ง ประวั ติ ศ าสตร แ ห ง ใหม บ นเส น ทางรถไฟสายมรณะ ในส ว นที่ อ ยู  ใ นประเทศไทยและพั ฒ นาให เ ป น แหล ง ท อ งเที่ ย วทางวั ฒ นธรรม 2.) ทำ � การศึ ก ษาชุ ม ชน และผู  มี ส  ว นได ส  ว นเสี ย ว า ต อ งการพั ฒ นาแหล ง ทาง ประวัตศิ าสตรนนั้ ๆ หรือไม และ 3.) การวางแผนการสือ่ ความหมายแหลงประวัติศาสตรนั้นเพื่อใหเปนแหลง ทองเที่ยวทางวัฒนธรรมแบบยั่งยืน แนวคิดและทฤษฎีประกอบการวิจัย ในการศึ ก ษาวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี ก ารศึ ก ษาค น คว า ขอมูล แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อ ใชเปนกรอบแนวคิดและวิธีในการศึกษาวิจัย ดังนี้คือ 1.) แนวคิ ด การจั ด การทรั พ ยากรและมรดกทาง วั ฒ นธรรมที่ ไ ด นิ ย ามคำ � ว า ทรั พ ยากรและมรดกทาง วั ฒ นธรรมเอาไว อ ย า งมี ป ระโยชน ต  อ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ วาเปนองคประกอบของวัฒนธรรมทั้งที่เปนวัฒนธรรม ทางวัตถุ (material culture) ในรูปของวัตถุ สิ่งกอสราง สถานที่/แหลง และภูมิทัศน วัฒนธรรมที่ยังดำ�รงอยู และวัฒนธรรมที่แสดงออก เชน ดนตรี งานฝมือ ศิลปะ ประเพณีบอกเลา ฯลฯ ซึ่งเปนความตอเนื่องจากอดีต ผานปจจุบันไปสูอนาคต โดยวัฒนธรรมมีคุณลักษณะ เปนองคอินทรีย หรือหนวยชีวิต ที่สามารถวิวัฒนไปได เรื่อยๆ (สายันต ไพรชาญจิตร 2550) โดยผูวิจัยไดสรุป แนวคิดเกีย่ วกับทรัพยากรวัฒนธรรม ไดวา เปนเรือ่ งราว

ประวั ติ ศ าสตร หรื อ วิ ถี ชี วิ ต ที่ มี ค วามเจริ ญ งอกงาม ที่มีมาอยูแลวตั้งแตในอดีต ตอมาจนถึงปจจุบัน และ ยังคงดำ�เนินเรื่องตอไปในอนาคต ซึ่งมรดกวัฒนธรรม ทางรถไฟสายมรณะจะเปนการบอกเลาเรื่องราวของ ทรัพยากรวัฒนธรรมในลักษณะของทรัพยากรที่เปนทั้ง รูปธรรมและนามธรรม ในดานรูปธรรมนั้นก็คือสิ่งที่ จับตองไดและมองเห็นได ไมวาจะเปนซากหรือรองรอย ทางรถไฟทีห่ ลงเหลืออยู ซากสถานีรถไฟตางๆ ชองเขา ที่ถูกตัด ซากสะพาน แนวมูลดินและกองหิน ซากกอง ถานหิน และบอน้�ำ อุปโภคบริโภค เปนตน สวนทรัพยากร หรื อ มรดกวั ฒ นธรรมที่ เ ป น นามธรรมก็ คื อ เรื่ อ งราว ของเหตุ ก ารณ ต  า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น รวมถึ ง ความเชื่ อ ความสั ม พั น ธ ข องเรื่ อ งราวและผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น กับคนในชุมชน ทั้งจากที่เปนคำ�บอกเลาหรือพบเห็น ดวยตนเอง ถายทอดออกมาในลักษณะของเรื่องเลา ในทองถิ่นที่สงผานรุนตอรุน เพราะฉะนั้นแลวมรดก วั ฒ นธรรมทางรถไฟสายมรณะจึ ง เป น ทรั พ ยากร วัฒนธรรมที่ไมหยุดนิ่ง สามารถมีวิวัฒนาการตอไปได อี ก เรื่ อ ยๆ เพราะมนุ ษ ย เ ราจะยั ง คงมี วิ วั ฒ นาการที่ เปนแบบแผนการดำ�รงชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี ตางๆ ไปตามแตละยุคสมัย ในการจัดการมรดกทาง วั ฒ นธรรมนั้ น เป น การดำ � รงคุ ณ ค า ของตั ว มรดกทาง วัฒนธรรมใหอยูไดโดยเนนความสำ�คัญของคน อันเปน พลวัตรของการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ซึ่งเนื้อหา ครอบคลุม 3 เรื่องหลักๆ คือ ทรัพยากรในการบริหาร จัดการตัวมรดกทางวัฒนธรรม อันไดแก บุคลากร องคกร กฎหมาย และแหลงทุน เรื่องที่สองคือกระบวนการใน การอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมที่เริ่มจากการศึกษา คนควา วิเคราะห วิจัยในทางวิชาการหลากหลายสาขา ที่เกี่ยวของในลักษณะสหวิทยาการ ขอแนะนำ�เงื่อนไข ตางๆ ที่นำ�ไปสูการเลือกวิธีการที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด ในการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวของแตละ ประเภท แตละแหงใหมนั่ คง ตอบสนองประโยชนตอ สังคม ใหมากทีส่ ดุ และสุดทายคือการสือ่ ความหมายมรดกทาง วัฒนธรรมนัน้ ตอสาธารณชน อันหมายถึงการใหบริการ ในฐานะของการเปนแหลงเรียนรูและมีสวนชวยในการ สงเสริมการทองเที่ยวทางวัฒนธรรม 2.) แนวคิดดาน การสื่อความหมายมรดกทางวัฒนธรรม โดยฟรีแมน

11


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ทิลเดน (Freeman Tilden) ไดใหนิยามของการตีความ และสือ่ ความหมายเอาไววา เปน “การแปลความในฐานะ ที่เปนกิจกรรมหนึ่งทางการศึกษาเรียนรูที่มุงเนนเพื่อจะ เปดเผยความหมายและความสัมพันธผานการใชวัตถุ (ของแท)ประสบการณตรงและโดยสื่อแสดงอยางใด อยางหนึง่ การใชสงิ่ ตางๆ เหลานัน้ อาจทำ�ไดโดยเครือ่ งมือ ตางๆ ซึ่งปจจุบันมีเทคโนโลยีชั้นสูงมากมาย และดึงดูด ความสนใจมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อจุดประสงคทางการศึกษา และความบันเทิงเริงรมย” (Tilden 1977 : 8) จาก คำ�นิยามของการตีความและสื่อความหมายงานมรดก ทางวั ฒ นธรรมนั้ น หั ว ใจของการตี ค วามเรื่ อ งราวที่ เกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมก็คือการศึกษาอยางไม เปนทางการ การตีความทำ�หนาที่สื่อสารนัยยะสำ�คัญๆ ของตำ � แหน ง แห ง ที่ ม รดกทางวั ฒ นธรรมในวิ ถี ท างที่ เหมาะตอนักทองเที่ยวที่รวมอยูในกิจกรรมการพักผอน ระหวางที่ทองเที่ยว ถือเปนกิจกรรมหนึ่งที่ผูที่มีหนาที่ สื่อความหมายนำ�มาใชเพื่อที่จะทำ�ใหนักทองเที่ยวหรือ ผูเขาชมเกิดความสนใจในแหลงมรดกทางวัฒนธรรม นั้นๆ มากขึ้น ในบางมรดกวัฒนธรรมที่มีการตีความ และสื่อความหมาย นักทองเที่ยวสามารถเห็นคุณคา และความสำ �คัญของมรดกทางวัฒนธรรมนั้นๆ จาก ประสบการณ ต รงที่ เ ข า ไปมี ส  ว นร ว มกั บ แหล ง มรดก ทางวัฒนธรรม ซึ่งนอกจากจะทำ�ใหรับรูขอเท็จจริงทาง ประวัตศิ าสตรและความจริงแทของมรดกทางวัฒนธรรม แลว อาจกลาวไดวาการสื่อความหมายยังเปนสิ่งสำ�คัญ ที่ ก ระตุ  น ให นั ก ท อ งเที่ ย วเห็ น คุ ณ ค า ของมรดกทาง วัฒนธรรมโดยผานการวิเคราะห สังเคราะหดวยตนเอง จนนำ � ไปสู  ก ารอนุ รั ก ษ ม รดกทางวั ฒ นธรรมที่ ยั่ ง ยื น ตอไป 3.) แนวคิดเกี่ยวกับการทองเที่ยววัฒนธรรม ที่ ห มายถึ ง การท อ งเที่ ย วเพื่ อ เรี ย นรู  ป ระวั ติ ศ าสตร ศิลปะ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของ ทองถิ่น (บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา 2548 : 17) ที่เนนให นั ก ท อ งเที่ยวไดรับความรู ความเขาใจ ต อ วิ ถี ชี วิ ต ภูมปิ ญ  ญาและวัฒนธรรมของทองถิน่ ทำ�ใหนกั ทองเทีย่ ว ไดประสบการณใหมๆ ตลอดจนมีจติ สำ�นึกในการอนุรกั ษ ทรัพยากรการทองเที่ยวทางวัฒนธรรม โดยที่ชุมชน ทองถิ่นมีสวนรวมในการจัดการและการพัฒนาแหลง ทองเที่ยวของทองถิ่นตน 4.) ทฤษฎีการมีสวนรวม

12

ของชุ ม ชนในการพั ฒ นาแบบยั่ ง ยื น โดยการพั ฒ นา เชิงยั่งยืน (Sustainable Development) นั้นหัวใจหลัก คือการมีสวนรวมของชุมชนในการบริหารจัดการ ใน กรณีศกึ ษานีช้ มุ ชนทีต่ งั้ อยูใ นหรือใกลกบั แหลงทองเทีย่ ว ทางวัฒนธรรมบนเสนทางรถไฟสายมรณะนั้นมีจำ�นวน มากมาย ชุมชนในทองถิ่นมีความสำ�คัญตอการพัฒนา เนื่องมาจากเปนหนวยแรกที่จะไดรับผลกระทบทั้งทาง บวกและทางลบจากการจัดการทองเที่ยววัฒนธรรมที่ จะเกิดขึ้น ดังนั้น เพื่อใหชุมชนมีสวนรวมและบทบาทใน การจัดการทองเทีย่ วเพือ่ ใหเกิดประโยชนสงู สุดตอชุมชน การศึกษาแนวคิดการมีสว นรวมของชุมชนในการจัดการ ทองเที่ยวทางวัฒนธรรมสามารถนำ�มาประยุกตในการ ทำ�งานวิจัยชิ้นนี้ ระเบียบวิธีการวิจัย เพือ่ ใหไดขอ มูลเชิงลึกทีช่ ดั เจน รอบคอบและตรง ตามวัตถุประสงค ผูวิจัยจึงไดทำ�การศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยมีวิธีและเครื่องมือในการ เก็บรวบรวมขอมูล ไดแก 1.) การเก็บรวบรวมขอมูล ขัน้ ทุตยิ ภูมิ (Secondary Data) จากขอมูลทีเ่ ปนเอกสาร หนังสือและสิ่งพิมพตางๆ 2.) การเก็บรวบรวมขอมูล ขั้นปฐมภูมิ (Primary Data) จากการศึกษาภาคสนาม (Field Research) โดยมีการเก็บบันทึกเรื่องราวจาก คำ�บอกเลา (Oral History)และเหตุการณส�ำ คัญตางๆ จาก บุคคลที่เคยอยูในระหวางสงคราม หรือเรื่องราวที่เลา สืบตอกันมาในทองถิ่น ประกอบกับการสังเกตการณ แบบมีสว นรวม (Participant Observation) โดยมีการใช แบบสั ง เกตการณ ภ าคสนาม การสั ม ภาษณ เ ชิ ง ลึ ก (In-Depth Interview) และการสนทนากลุม (Group Discussion) โดยเปนการสัมภาษณและสนทนากลุมกับ กลุมตัวอยางที่เปนผูมีสวนไดสวนเสีย (stakeholders) ของมรดกนี้จำ�นวน 5 กลุมตัวอยาง ซึ่งมีจำ�นวนทั้งสิ้น 100 คน กลุมตัวอยางที่ 1 ไดแกผูที่เคยมีสวนรวมใน สงครามทั้งที่เปนอดีตและครอบครัวทหารสัมพันธมิตร และชาวบานในพื้นที่จำ�นวน 4 ทาน กลุมตัวอยางที่ 2 คือผูบริหารพิพิธภัณฑและมรดกทางวัฒนธรรมที่ไดรับ การพัฒนาแลวจำ�นวน 4 ทาน กลุมตัวอยางที่ 3 คือกลุม ผูบริหารองคกรที่เปนหนวยงานราชการที่เกี่ยวของกับ


แนวทางในการพัฒนาและสื่อความหมายแหลงทองเที่ยวแหงใหมบนเสนทางรถไฟสายมรณะ อภิญญา บัคคาลา อรุณนภาพร

การบริหารจัดการมรดกทางวัฒนธรรมแหงนี้จำ �นวน 7 ทาน กลุมตัวอยางที่ 4 ผูบริหารองคกรอิสระที่ เกี่ยวของกับการบริหารจัดการมรดกนี้จำ�นวน 3 ทาน โดยจะใชวิธีการสัมภาษณเชิงลึก (In-Depth Interview) กับทั้ง 4 กลุมตัวอยางนี้ และกลุมตัวอยางที่ 5 แบงออก ไดเปน 2 กลุมคือ 5.1 ผูบริหารเทศบาลและองคการ บริการสวนทองถิ่นที่ทางรถไฟผานจำ�นวน 12 ทาน นักปราชญทองถิ่น ตัวแทนชาวบานและชาวบานใน ชุมชนจาก 6 อำ�เภอที่ทางรถไฟผาน อำ�เภอละ 10 ทาน รวมจำ�นวน 60 ทาน โดยใชวิธีการสนทนากลุม (Group Discussion) เนื่องจากเปนกลุมตัวอยางที่มีปริมาณ มากและการใชเทคนิคสนทนากลุม ยังสามารถเพิม่ ความ เปนกันเองและลดทอนความเปนทางการลงไปไดมาก ผลการศึกษา ผลที่ไดรับจากการศึกษา สามารถวิเคราะหออก มาตามวั ต ถุ ป ระสงค ข องการวิ จั ย ได เ ป น ข อ ๆ ดั ง นี้ คือ ตามวัตถุประสงคขอที่ 2 พบวากลุมตัวอยางที่ ทำ � การศึ ก ษาจะมี ทั้ ง ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ ส  ว นตั ว และที่ ไมมีความสัมพันธสวนตัวตอมรดกทางวัฒนธรรมบน เสนทางรถไฟสายมรณะ กลุมที่มีความสัมพันธสวนตัว ส ว นใหญ จ ะเป น บุ ค คลที่ เ คยมี ป ระสบการณ ต รงกั บ เหตุการณของสงครามมหาเอเชียบูรพา เปนบุคคลที่ ทำ � งานดู แ ลมรดกทางวั ฒ นธรรมของสงครามนี้ แ ละ เป น ชาวบ า นในพื้ น ที่ ห รื อ ในชุ ม ชนใกล เ คี ย งที่ ม รดก วัฒนธรรมนี้พาดผาน จากการที่มีประสบการณตรง ทำ�ใหบุคคลเหลานี้รูสึกผูกพันและมีความตองการที่จะ ถนอมรักษามรดกนี้เอาไวใหรุนลูกหลานสืบตอไป สิ่งที่ พวกเขาพอทำ�ไดคือการพยายามถายทอดเรื่องราวใน แงมมุ ตางๆ ทัง้ ดีและรายเพือ่ เปนการบันทึกเรือ่ งราวของ สงครามและการกอสรางทางรถไฟสายนี้ หลายคนและ หลายเรื่องไดชวยเติมเต็มมิติทางประวัติศาสตรที่ขาด หายไป จากความรักความผูกพันทีม่ ตี อ มรดกวัฒนธรรม ทำ�ใหพวกเขาพรอมที่จะใหความรวมมือ ในการพัฒนา และสื่อความหมายแหลงทองเที่ยวแหงใหมบนเสนทาง รถไฟสายนี้ กลุมตัวอยางที่เปนคนนอกพื้นที่สวนใหญ จะไมมีความผูกพันกับมรดกทางวัฒนธรรมนี้ หากตอง มีบทบาทหนาที่รับผิดชอบงานในสวนที่เกี่ยวของก็จะ

เป น การทำ� งานไปตามหน า ที่ ที่ ไ ด รั บ มอบหมาย จึ ง ไมมีความเห็นวาสมควรมีการพัฒนาแหลงทองเที่ยว แห ง ใหม ห รื อ ไม แม ก ระนั้ น ก็ ต าม ก็ มี ค วามยิ น ดี ที่ จะใหความรวมมือหากมีการพัฒนาขึ้นมาจริง ส ว นประเด็น ทางด า นการจั ด การมรดกทาง วัฒนธรรมที่ไดรับการพัฒนาแลวสามารถแยกออกได เปน 2 ประเด็นคือ ประเด็นแรกกลุมตัวอยางที่เปนคนที่ มีประสบการณตรงจะชื่นชมกับการจัดการมรดกทาง วัฒนธรรมที่มีการพัฒนาแลวเพราะทุกคนตระหนักดีวา ไมใชเรื่องงาย ที่จะพัฒนาแหลงมรดกทางวัฒนธรรม อั น เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ สงครามที่ มี ทั้ ง ผู  ก  อ สงครามและ ผูสูญเสียในสงคราม แลวสามารถสรางใหคนสวนใหญ ไม รู  สึ ก แปลกแยก หั น มามองเห็ น ด า นดี ข องความ พยายามในการตี ค วามและสื่ อ ความหมายมรดก วั ฒ นธรรมที่ มี ค วามซั บ ซ อ น ในขณะเดี ย วกั น กลุ  ม ตัวอยางสวนใหญกลับมองวามรดกทางวัฒนธรรมบน เสนทางรถไฟสายนี้ที่ไดรับการพัฒนาแลวนั้น ยังตองมี การปรับปรุงใหมคี วามผสมกลมกลืนกับชุมชนในทองถิน่ มากขึ้ น เพราะที่ ผ  า นมายั ง เป น การจั ด การโดยชาว ตางชาติตามแบบแผนการปฏิบตั ทิ เี่ ปนสากล ไมวา จะเปน ที่สุสานทั้ง 2 แหงในจังหวัดกาญจนบุรีที่มีแบบแผนและ กฎระเบียบในการเยีย่ มชมตามธรรมเนียมแบบตะวันตก ในขณะที่นักทองเที่ยวชาวไทยและเอเชียไมคุนเคยใน ธรรมเนียมปฏิบัตินั้น หรือที่พิพิธภัณฑทางรถไฟสาย ไทย-พม า และพิ พิ ธ ภั ณ ฑ อ นุ ส รณ ส ถานช อ งเขาขาด ทั้งสองแหงมีการสรางอาคารพิพิธภัณฑที่มิไดสื่อถึง ความเปนเอเชียหรือความเปนไทยแตอยางใด สวนการ จัดแสดงนิทรรศการไดละเลยในการใหความสำ�คัญกับ บริบททางสังคมของชุมชนโดยรอบและประเทศไทยใน ภาพรวม การละเลยบริบททางสังคมแบบทองถิ่นใน ประเทศไทย ทำ�ใหชาวบานในทองถิ่นมิไดเขามามี ส ว นร ว มในการจั ด การตั้ ง แต แ รกเริ่ ม จนถึ ง ทุ ก วั น นี้ ถามองโดยทั่วไปแลวเปรียบเสมือนเปนการแยกมรดก ทางวัฒนธรรมออกจากชุมชนอยางชัดเจน แตถามีการ ผสมผสานนำ�เอามิติทางวัฒนธรรมของชุมชนโดยรอบ เขาไปในการจัดการดวย อาจจะทำ�ใหมรดกวัฒนธรรม บนเสนทางรถไฟสายมรณะที่พัฒนาแลวมีสีสันและได รับความรวมมือจากชาวบานในทองถิ่นมากขึ้น แตทั้งนี้

13


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

มี ก ลุ  ม ตั ว อย า งบางส ว นไม เ ห็ น ด ว ยกั บ การพั ฒ นา แหลงทองเที่ยวแหงใหม เพราะมองวาแหลงทองเที่ยว ที่ไดรับการพัฒนาแลวนั้นมีจำ�นวนมากพอ ทั้งภาครัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่นและเอกชนควรพยายาม จัดการแหลงทองเที่ยวที่มีอยูแลวนี้ ใหอยูในสภาพดี และสามารถสื่ อ ความหมายที่ แ ท จ ริ ง ของแหล ง ประวัติศาสตรนั้นๆ ออกมาใหได อีกทั้งควรชวยกัน ประชาสัมพันธและสงเสริมแหลงทองเที่ยวเหลานี้ให เปนที่รูจักมากขึ้น ประเด็นที่สองเรื่องความคิดเห็นตอการพัฒนา แหลงประวัติศาสตรอื่นๆ ที่ยังไมไดรับการพัฒนาหรือ พัฒนาแลวแตยังไมอยูในรูปแบบการพัฒนาแบบยั่งยืน ให เ ป น แหลง ทองเที่ย ววั ฒ นธรรมนั้น กลุ  ม ตั ว อย า ง สวนใหญมคี วามเห็นดวยเปนอยางมาก เพราะเล็งเห็นถึง คุณคาและความสำ�คัญของมรดกวัฒนธรรมบนเสนทาง รถไฟสายมรณะนี้เปนอยางดี ประกอบกับความพรอม ในดานศักยภาพที่จะพัฒนา ทั้งในดานกายภาพ โดย พื้ น ที่ โ ดยรอบแหล ง มรดกทางวั ฒ นธรรมที่ ส  ว นใหญ มีทรัพยากรทางธรรมชาติ ไมวาจะเปน แมน้ำ� ภูเขาและ ปาไมอนั อุดมสมบูรณ ถ้� ำ น้�ำ ตก น้�ำ พุรอ น หรือทรัพยากร ทางวัฒนธรรมอื่นๆ ที่ไมไดเกี่ยวของกับทางรถไฟสาย มรณะ เชน วัด ชุมชนมอญและชุมชนกะเหรี่ยง เปนตน ความพรอมในเรือ่ งทรัพยากรมนุษยทชี่ าวบานในชุมชน พรอมที่จะใหความรวมมือในการพัฒนาแหลงทองเที่ยว เพื่อที่จะอนุรักษสืบสานแหลงมรดกนี้ไวใหลูกหลาน สืบตอไป และในขณะเดียวกันการทองเที่ยวจะสามารถ นำ�รายไดเขามาสูชุมชนอยางสม่ำ�เสมอและตอเนื่อง เมื่อถามกลุมตัวอยางสวนใหญวาตองการใหมี การพัฒนาและสือ่ ความหมายแหลงประวัตศิ าสตรใดบาง เพือ่ เปนแหลงทองเทีย่ วทางวัฒนธรรมตามวัตถุประสงค การวิจัยขอที่ 1 คำ�ตอบที่ไดรับมากที่สุดมีจำ�นวน 6 แหลงพรอมดวยเหตุผลสนับสนุนในดานคุณคา ความ สำ�คัญทางมรดกวัฒนธรรม และสิ่งที่ตองการสื่อความ หมายดังนี้คือ 1.) อนุสาวรียทหารและกรรมกรนิรนาม ที่วัดถาวรวราราม (วัดญวน) อยูในเขตอำ�เภอเมือง ใน ฐานะทีเ่ ปนมรดกวัฒนธรรมบนเสนทางรถไฟสายมรณะ เพี ย งแห ง เดี ย วที่ ส ร า งขึ้ น โดยคนไทยเมื่ อ ภายหลั ง สงครามสงบ เพื่ อ รำ � ลึ ก ถึ ง แรงงานชาวเอเชี ย และ

14

ทหารสัมพันธมิตรที่มารวมสรางทางรถไฟ แตคนทั่วไป กลับไมรูจักและไมมีการกลาวถึง ทั้งๆ ที่สถานที่ตั้งนั้น อยูติดกับสุสานทหารสัมพันธมิตรกาญจนบุรี ที่มีผูเขา มาเยี่ยมชมอยางเนืองแนนและไมขาดสาย 2.) บริเวณ น้ำ�ตกไทรโยคนอย ตั้งอยูในเขตตำ�บลทาเสา อำ�เภอ ไทรโยค เปนบริเวณที่มีความสำ�คัญทางประวัติศาสตร ในชวงสงครามหลายอยาง อาทิเชน การเปนที่ตั้งของ โรงพยาบาลเชลยศึกสัมพันธมิตรที่ใหญแหงหนึ่ง ที่ตั้ง ของสุสานชั่วคราวและสถานีรถไฟขนาดใหญ เปนตน พื้นที่บริเวณนี้ไดรับการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยว ทางธรรมชาติทสี่ �ำ คัญของจังหวัดมานานแลว ถาสามารถ ผสมผสานแหลงทองเที่ยววัฒนธรรมเขาไป จะเปนการ เพิ่มมิติและความนาสนใจของแหลงทองเที่ยวขึ้นมา อี ก มาก ถึ ง แม ว  า ที่ ผ  า นมาจะมี ก ารพั ฒ นาสถานที่ ท อ งเที่ ย วอั น เกี่ ย วกั บ เส น ทางรถไฟสายมรณะไป บางแลวบางสวน แตยังไมสามารถสื่อความหมายให ประชาชนนักทองเทีย่ วสามารถเขาใจได ประกอบกับยัง มีเรือ่ งราวรอการสือ่ ความหมายออกมาอีกมากมาย และ นาจะไดรับการพัฒนาควบคูกันไป ผลลัพธที่ออกมาจะ เปนแหลงทองเทีย่ วแหงใหมทมี่ อี าณาบริเวณกวางขวาง สามารถกระจายการกระจุกตัวของนักทองเที่ยวที่อยู เฉพาะบริเวณหนาน้ำ�ตกไทรโยคนอยไดเปนอยางดี 3.) กองถานหิน เตาหุงขาว ซากเตาไฟและซากตอมอ สะพานที่น้ำ�ตกไทรโยคใหญ ภายในอุทยานแหงชาติ ไทรโยค ตำ�บลไทรโยค อำ�เภอไทรโยค เปนแหลงทาง ประวัติศาสตรที่สำ�คัญและสภาพของรองรอยทางรถไฟ สายมรณะของแหลงนี้มีความสมบูรณอยูมาก แสดงถึง การใชถานหินในการเผาไหมเชื้อเพลิงใหกับหัวรถจักร ไอน้ำ � ของรถไฟในช ว งสงครามอั น นอกเหนื อ ไปจาก การใช ไ ม ฟ  น ในการเผาไหม ต ามปกติ คำ � ถามยั ง มีตอวาถานหินเหลานี้ถูกนำ�มาจากไหน (พื้นที่บริเวณ จังหวัดกาญจนบุรีไมมีถานหิน) ซึ่งนาจะเปนประเด็น ในการศึกษาคนควาตอไปในอนาคต นอกจากนี้จาก รองรอยทางประวัติศาสตรที่หลงเหลืออยูในบริเวณนี้ ยังแสดงถึงการตั้งคายขนาดใหญของทหารญี่ปุนและ ทหารสั ม พั น ธมิ ต ร และสุ ด ท า ยซากตอม อ สะพาน สามารถแสดงให เ ราเห็ น ได ชั ด เจนถึ ง เทคนิ ค วิ ธี ก าร ในการกอสราง วัสดุที่ใชหรือแมแตความยากลำ�บาก


แนวทางในการพัฒนาและสื่อความหมายแหลงทองเที่ยวแหงใหมบนเสนทางรถไฟสายมรณะ อภิญญา บัคคาลา อรุณนภาพร

ในการกอสรางทางรถไฟสายนี้ในแตละจุดที่ลักษณะ ภูมิประเทศไมเอื้ออำ�นวย ความสำ�คัญที่โดดเดนเหลานี้ สามารนำ�มาประกอบในการพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว ทางวัฒนธรรมที่มีศักยภาพ ประกอบกับสถานที่ตั้งที่อยู ติดริมแมน้ำ�แควนอย ทำ�ใหมีวิวทิวทัศนที่สวยงามมาก หากแหลงประวัตศิ าสตรทางรถไฟสายมรณะในบริเวณนี้ ไดรับการพัฒนาขึ้นมาใหมีความสำ�คัญเทียบเทาการ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอันหมายถึงน้ำ�ตกไทรโยค ใหญแลว จะสามารถดึงดูดนักทองเที่ยวไดเปนจำ�นวน มาก 4.) บอน้ำ�พุรอนหินดาดและสถานีรถไฟหินดาด อยูในตำ�บลหินดาด อำ�เภอทองผาภูมิ ตรงบริเวณนี้ รองรอยทางรถไฟสายมรณะยังพอมีเหลือใหเห็นอยูบ า ง แต จุ ด เด น ก็ ค งเป น ที่ บ  อ น้ำ � พุ ร  อ นที่ มี ก ารค น พบใน ระหวางสงครามและมีการสรางบอคอนกรีตเอาไว เพือ่ ใช น้ำ�ในการอุปโภคบริโภคทั้งในสวนของทหารญี่ปุนและ เชลยศึกสัมพันธมิตร ดวยความที่คายที่พักอาศัยของ ทหารทั้งสองฝายตั้งอยูไมไกลจากบอน้ำ�พุรอนนี้มาก นัก ทำ�ใหบอ นีก้ ลายเปนสถานทีส่ นั ทนาการมาตัง้ แตชว ง สงคราม บอคอนกรีตเดิมในสมัยสงครามไดถูกปรับปรุง พัฒนาใหมขี นาดใหญและมีความปลอดภัยในการใชสอย มากขึ้น ดวยศักยภาพของบอน้ำ�พุรอนในการเปนแหลง ทองเที่ยวทางธรรมชาติ สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวทั้ง ชาวไทยและชาวตางชาติไดอยางมากมายในปจจุบัน ถาสามารถพัฒนาแหลงทางประวัติศาสตรทางรถไฟ สายมรณะใหเปนแหลงทองเทีย่ วทางวัฒนธรรมเพิม่ เขา ไปดวย ก็จะสามารถเพิ่มกิจกรรมในการเยี่ยมชมของ นักทองเที่ยวใหยาวนานขึ้น อาจจะสามารถพัฒนามา เปนแหลงทองเที่ยวที่มีที่พักคางคืน สามารถเพิ่มและ กระจายรายไดใหกับชาวบานในทองถิ่นไดมากขึ้นดวย 5.) บริเวณสะพานขามหวยซองกาเรีย ตำ�บลหนองลู อำ�เภอสังขละบุรี ที่มีความสำ�คัญทางประวัติศาสตรใน ฐานะที่ เ ป น สะพานข า มลำ � น้ำ � ที่ ใ หญ แ ละกระแสน้ำ � ที่ เชี่ ย วกรากมากที่ สุ ด แห ง หนึ่ ง ตลอดเส น ทาง 415 กิโลเมตร การกอสรางสะพานไมเดิมในระหวางสงคราม ไดคราชีวติ เชลยศึกและแรงงานเอเชียไปเปนจำ�นวนมาก และตรงจุดนีเ้ องทีเ่ ชลยศึกสัมพันธมิตรไดเสียชีวติ ดวยอ หิวาหตกโรคเปนจำ�นวนมาก ในปจจุบันยังมีรองรอย ทางรถไฟสายมรณะหลงเหลืออยูมากพอควร ผสานกับ

การเริ่ ม มี ก ารพั ฒ นาให เ ห็ น ถึ ง ศั ก ยภาพความเป น แหล ง ท อ งเที่ ย วที่ บ ริ เ วณริ ม ห ว ย ให เ ป น ที่ พั ก ผ อ น หยอนใจพรอมการนำ�เสนอกิจกรรมทางน้ำ�โดยชาวบาน ในพื้นที่ ถามีการพัฒนาแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม ทางรถไฟสายมรณะในเวลาเดี ย วกั น เพื่ อ ให มี ค วาม ยั่งยืนและสอดคลองกัน นาจะเปนการจัดการทรัพยากร ทางวัฒนธรรมและธรรมชาติที่เหมาะสมมาก 6.) แหลง ทางประวั ติ ศ าสตร ท างรถไฟสายมรณะบริ เ วณด า น เจดียสามองค ตำ�บลหนองลู อำ�เภอสังขละบุรี บริเวณ ด า นเจดี ย  ส ามองค นี้ ไ ด รั บ การพั ฒ นาให เ ป น แหล ง ทองเที่ยวบริเวณชายแดนไทย-พมามานานแลว ใน แตละวันมีนกั ทองเทีย่ วเดินทางมาเยีย่ มชมเจดียส ามองค และซื้อสินคาชายแดนเปนจำ�นวนมาก สมควรที่ตอง พัฒนารองรอยทางรถไฟเพื่อเปนแหลงทองเที่ยวทาง วัฒนธรรมควบคูไปดวย ดวยความสำ�คัญที่เปนเขต รอยตอของทางรถไฟระหวางเขตในประเทศไทยและ เขตในประเทศพมา อันสะทอนใหเห็นถึงที่มาของชื่อ ทางรถไฟสายนี้ จัดวาเปนแหลงที่สามารถตีความและ

ภาพที่ 6 แหลงที่ 1 อนุสาวรียทหารนิรนามและแรงงาน ชาวเอเชีย (ผูเขียน 25-06-2553)

15


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ภาพที่ 7 แหลงที่ 2 แนวคันดินทางรถไฟที่ปจจุบันคือทาง เดินหนาน้ำ�ตกไทรโยคนอย (ผูเขียน 25-06-2553)

ภาพที่ 9 แหลงที่ 4 น้ำ�พุรอนหินดาด (ผูเขียน 25-06-2553)

ภาพที่ 10 แหลงที่ 5 หวยซองกาเรียในฤดูน้ำ�หลาก ซากตอมอ สะพานจะอยูดานซายมือของภาพ (ผูเขียน 25-06-2553)

ภาพที่ 8 แหลงที่ 3 แนวคันดินทางรถไฟสายมรณะตรงทางเขา ที่ทำ�การอุทยานแหงชาติไทรโยคที่มีกองถานหิน (ผูเขียน 25-06-2553)

ภาพที่ 11 แหลงที่ 6 ดานเจดียสามองคและภูมิทัศนโดยรอบ (ผูเขียน 25-06-2553)

16


แนวทางในการพัฒนาและสื่อความหมายแหลงทองเที่ยวแหงใหมบนเสนทางรถไฟสายมรณะ อภิญญา บัคคาลา อรุณนภาพร

6.

ด่านเจดีย์สามองค์

5. ห้วยซองกาเรีย

3.กองถ่านหิน เตาหุงข้าว ตอม่อสะพานที่น้าตกไทรโยคใหญ่

บริเวณน้าตกไทรโยคน้อย

2.

4.บ่อน้าพุร้อนหินดาด

1.อนุสาวรีย์ทหารและกรรมกรนิรนาม

ภาพที่ 12 แผนที่แสดงแหลงมรดกทางวัฒนธรรมบนเสนทางรถไฟสายมรณะทั้ง 6 แหงที่สมควรไดรับการพัฒนา เปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม (Australian War Memorial/ผูวิจัย)

สื่อความหมายทางประวัติศาสตรสงครามมหาเอเชีย บูรพาและการสรางทางรถไฟสายมรณะไดเปนอยางดี สวนรูปแบบในการพัฒนาและสื่อความหมาย แหล ง มรดกทางวั ฒ นธรรมบนเส น ทางรถไฟสาย มรณะใหเปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมแบบยั่งยืน ตามวัตถุประสงคขอที่ 3 นั้น สามารถนำ�เอาหลักการ ตางๆ ที่เกี่ยวกับการวางแผนการพัฒนาการทองเที่ยว มาใช โดยเฉพาะหลั ก การพั ฒ นาแหล ง ท อ งเที่ ย ว วัฒนธรรมแบบยั่งยืนที่เนนการมีสวนรวมของชุมชน ซึ่ ง ในกรณี ก ารพั ฒ นาของแหล ง ประวั ติ ศ าสตร บ น เสนทางรถไฟสายมรณะนี้ ชุมชนควรจะมีสว นรวมตัง้ แต ขั้นเริ่มตนจนถึงขึ้นสุดทาย ซึ่งงานวิจัยนี้ไดตอบโจทย และรวมวางรากฐานการมีสว นรวมของชุมชนเอาไวแลว โดยการใหโอกาสชุมชนเขามาแสดงความคิดเห็นถึง แหลงประวัติศาสตรตางๆ ที่ชุมชนเห็นสมควรที่จะได

รับการพัฒนามากที่สุดและกอนแหลงอื่นๆ จำ�นวน 6 แหลง พรอมทั้งแนวความคิดเบื้องตนในการพัฒนา วาตองการใหออกมาในลักษณะอยางไร จากนั้นชุมชน ควรเขามามีสวนรวมในการวางแผนการพัฒนารวมกับ หนวยงานและองคกรอื่นๆ ที่มีสวนรวมรับผิดชอบใน เชิงลึก หลักการสำ�คัญของการมีสวนรวมของชุมชนใน การพัฒนาและอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของตนเอง คือ ความยั่งยืนของแหลงมรดกทั้งทางวัฒนธรรมและ ธรรมชาตินั่นเอง เทคนิคและวิธีการในการมีสวนรวม อาจจะแตกตางออกไปในแตละพื้นที่แตละชุมชน และ ควรเปนการสรางและกระจายรายไดใหกับชุมชน ซึ่งใน ที่สุดแลวผลประโยชนทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิด จากแหลงมรดกทางวัฒนธรรมนั้นตองยอนกลับมาที่ ตัวมรดกทางวัฒนธรรมนั่นเอง การที่ชุมชนและสังคม ทั่วไปจะไดเห็นคุณคาของแหลงมรดกทางวัฒนธรรม

17


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

และมีความปรารถนาที่จะสงวนรักษาและสืบสานเอาไว สืบตอไป จะตองเริ่มตนจากความเขาใจในคุณคาและ ความสำ�คัญของมรดกทางวัฒนธรรมนั้นๆ เครื่องมือที่ดี ทีส่ ดุ ในการสรางความเขาใจคือการตีความและสือ่ ความ หมายดานคุณคาและความสำ�คัญ โดยการทองเทีย่ วทาง วั ฒ นธรรมน า เป น การสื่ อ ความหมายที่ เ ข า ถึ ง ชุ ม ชน และผูเยี่ยมชมไดงายและตรงที่สุดวิธีหนึ่ง สวนจะมีการ จัดการการทองเทีย่ วทางวัฒนธรรมอยางไรนัน้ ขึน้ อยูก บั วาเราตองการสื่อความหมายเรื่องใด จึงตองศึกษาใน รายละเอี ย ดต อ ไป โดยการสื่ อ ความหมายถื อ เป น กระบวนการสำ � คั ญ ที่ นำ � เสนอเรื่ อ งราวที่ ผู  ส  ง สาร ตองการจะสื่อความหมายไปยังผูรับสาร ใหเขาใจถึง เจตนารมณ ข องผู  ส  ง สารผ า นตั ว กลางซึ่ ง อาจจะเป น ตัวโบราณวัตถุ โบราณสถาน พื้นที่ แหลงที่ตั้งหรือ การสรางเรื่องราวจากตัวมรดกทางวัฒนธรรมเอง อันจะ นำ�ไปสูการอนุรักษและพัฒนามรดกทางวัฒนธรรมใน ทีส่ ดุ สำ�หรับมรดกทางวัฒนธรรมแลวการสือ่ ความหมาย ทีน่ �ำ เสนอผานโบราณวัตถุ โบราณสถาน พืน้ ที่ แหลงทีต่ งั้ หรือการจัดแสดงในรูปแบบตางๆ นั้นมีความสำ�คัญเปน อยางยิ่ง เพราะหากผูสงสารสามารถนำ�หลักการเรื่อง วัตถุประสงคในการสื่อความหมายมรดกทางวัฒนธรรม ทัง้ หมดมาประยุกตใชกบั การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะในฐานะที่มรดกทางวัฒนธรรมเปนสวนหนึ่ง ของการทองเที่ยว ก็จะทำ�ใหเขาถึงความตองการของ ผูรับสารมากขึ้น ไมวาจะเปนในเรื่องของการใหผูเขาชม สามารถรับประสบการณไดดวยตนเองทั้งทางกายภาพ และทางองคความรู รวมไปถึงการเขาใจในบริบททัง้ ทาง สังคม บริบททางจิตใจ และบริบทของแตละผูเ ขาชม ก็จะ เปนโอกาสอันดีที่จะทำ�ใหผูสงสารหรือผูรับผิดชอบดูแล มรดกทางวัฒนธรรม สามารถวิเคราะหไดวาจะดำ�เนิน การนำ � เสนอออกมาในรู ป แบบใดและเพื่ อ ใคร ที่ จ ะ ทำ�ใหผูเขาชมรับสารไดครบถวน ในขณะเดียวกันก็ไม กอใหเกิดความรูส กึ ขัดแยง และตอบสนองความตองการ และความคาดหวังของผูเขาชมไดอยางแทจริง โดยที่ ผูร บั ผิดชอบดูแลและผูเ ขาชมเคารพในความจริงแทของ ตัวมรดกทางวัฒนธรรมและอยูบนพื้นฐานของความ นาเชือ่ ถือ ซึง่ เปนจุดสำ�คัญทีผ่ รู บั ผิดชอบดูแลทีท่ �ำ หนาที่ สงสารนั้นตองใหความเอาใจใส เพื่อนำ�มาปรับใชและ

18

นำ�ไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืนตอไป ดังนัน้ การสือ่ ความหมายมรดกวัฒนธรรม จึงเปน กุญแจสำ�คัญในการบริหารจัดการเพื่อใหสามารถตอบ สนองความตองการของผูเ ขาชมไดอยางแทจริง ไมวา จะ เปนการทราบแนวคิดของผูสงสารมายังสารไมวาจะ เปนตัววัตถุ การจัดแสดง หรือแมแตการถายทอดออกมา เปนวรรณศิลปตางๆ นั้น ผูรับสารไดมีความเขาใจตอ สารนั้นอยางลึกซึ้งและตอบสนองวัตถุประสงคการมา เยีย่ มชมของผูร บั สารไดมากนอยเพียงใด ในขณะเดียวกัน ก็จะเปนการทำ�ความเขาใจวาสารที่นำ�เสนอนั้นมีการ ตีความจากผูรับสารในประเด็นใดบางนอกเหนือจากที่ ผูสงสารเสนอมา อันเปนสิ่งสำ�คัญที่จะสงผลใหการ บริหารจัดการมรดกทางวัฒนธรรมเปนไปอยางยั่งยืน และมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ สิง่ สำ�คัญในการวางแผน การพัฒนาแหลงมรดกทางวัฒนธรรมบนเสนทางรถไฟ สายมรณะคือการสืบคน บันทึก ตีความและสือ่ ความหมาย คุณคาและความสำ�คัญทางมรดกวัฒนธรรมของแหลง ตางๆ ทั้ง 6 แหลง เพราะฉะนั้นในขั้นตอนการวางแผน จึงสมควรใชการสื่อความหมายเปนตัวนำ� ผสานกับ เทคนิคและวิธีการตางๆ ในการอนุรักษที่ควรนำ�มาปรับ ใชในการพัฒนา โดยเนนการแสดงใหเห็นถึงคุณคา และความสำ�คัญของมรดกทางวัฒนธรรมใหมากที่สุด ตองคำ�นึงถึงความจริงแททางมรดกวัฒนธรรม หากมี การเสริมแตงวัสดุใหมเขาไปเพื่อเพิ่มเติมใหแหลงมรดก ทางวั ฒ นธรรมมี ค วามสมบู ร ณ นั้ น สามารถทำ � ได แตควรแสดงใหชัดเจนวาวัสดุชิ้นใดเปนของใหม เพื่อ ความถูกตองในขอมูลและประสบการณที่นักทองเที่ยว จะไดรับ เทคนิค วิธีการตางๆ ในการสื่อความหมาย เชน ปาย สิ่งพิมพ วีดีทัศน ศูนยขอมูลนักทองเที่ยว ไกดน�ำ ชม หรือแมกระทัง่ การศึกษาคนควา การบรรยาย หรือการประชุม การสัมมนา ในหัวขอที่เกี่ยวของอยาง ต อ เนื่ อ ง ล ว นเป น สิ่ ง จำ � เป น ในการสื่ อ ความหมาย เรื่ อ งราวประวั ติ ศ าสตร เ ส น ทางรถไฟสายมรณะให เปนที่รูจักมากขึ้น เพราะยังมีเรื่องราวอีกมากมายที่ ฝ ง ตั ว ภายใต ร  อ งรอยทางรถไฟสายมรณะที่ ร อการ ตี ค วามและสื่ อ ความหมายให ค นทั่ ว ไปได รั บ ทราบ การพัฒนาแหลงประวัติศาสตรตางๆ เหลานี้ใหเปน แหล ง ท อ งเที่ ย วทางวั ฒ นธรรม น า จะเป น วิ ธี ก าร


แนวทางในการพัฒนาและสื่อความหมายแหลงทองเที่ยวแหงใหมบนเสนทางรถไฟสายมรณะ อภิญญา บัคคาลา อรุณนภาพร

ตี ค วามและสื่ อ ความหมายมรดกทางวั ฒ นธรรมบน เส น ทางรถไฟสายมรณะที่ มี ป ระโยชน ที่ สุ ด วิ ธี ห นึ่ ง ในสถานการณปจจุบัน

และชุมชนโดยรอบ ทั้งนี้การมีสวนรวมของประชาชนใน การพัฒนาและจัดการมรดกทางวัฒนธรรมที่มีอยูเปน สิ่งจำ�เปนอยางยิ่งในแนวทางของการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยเฉพาะมรดกทางวัฒนธรรมบนเสนทางรถไฟสาย มรณะ ที่จัดวาเปนมรดกทางวัฒนธรรมที่มีขอถกเถียง โตแยงในเรื่องขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร ที่ยังตอง ไดรบั การตีความและสือ่ ความหมายในหลายๆ แงมมุ ออก มาใหเปนที่ประจักษมากขึ้น รวมถึงการมีผูแสดงความ เปนเจาของหลายกลุม ดวยกัน จึงมิใชเรือ่ งงายทีจ่ ะพัฒนา แหล ง มรดกนี้ แต ก็ ห วั ง ว า ด ว ยแนวทางและเทคนิ ค วิธีการตางๆ ที่สามารถนำ�มาใชในการตีความและสื่อ ความหมายคุณคาและความสำ�คัญทางมรดกวัฒนธรรม ของแตละแหลงออกมา จะชวยปะติดปะตอเรื่องราวใน ประวัติศาสตรที่ถูกลืมเลือนขึ้นมาใหมไดอีกครั้ง

บทสรุป เส น ทางรถไฟสายไทย-พม า หรื อ ทางรถไฟ สายมรณะ (Death Railway) มีความสำ�คัญอยางยิ่งใน ทางประวั ติ ศ าสตร แ ละในฐานะของความเป น มรดก ทางวัฒนธรรม ที่สมควรไดรับการอนุรักษและพัฒนา ให เ ป น ที่ รู  จั ก มากขึ้ น ในหมู  ค นไทยและชาวต า งชาติ แนวทางการพัฒนาแหลงทางประวัติศาสตรที่เหมาะสม และเกิดประสิทธิผลมากที่สุดในบริบทของสังคมไทยก็ คือ การพัฒนาใหเปนแหลงทองเทีย่ วทางวัฒนธรรมแบบ ยัง่ ยืน ทีผ่ ลประโยชนจะเกิดขึน้ ทัง้ กับตัวมรดกวัฒนธรรม 





19


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

บรรณานุกรม ภาษาไทย บุญเลิศ ตั้งจิตวัฒนา. (2548). การพัฒนาการทองเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: เพรส แอนด ดีไซน. สายันต ไพรชาญจิตร. (2550). การจัดการทรัพยากรทางโบราณคดีในงานพัฒนาชุมชน. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภาการพิมพ. ภาษาอังกฤษ Beattie, R. (2005). Death railway: brief history. Bangkok: Image Makers Publishing. Tilden, F. (1977). Interpreting our heritage. Chapel Hill: University North Carolina Press.

20


ทฤษฎีความหมายในทัศนะของพัทนัม : เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก 1 The theory of meaning in Putnam : Semantic Externalism ณฐิกา ครองยุทธ 2 Natika Krongyoot บทคัดยอ ปญหาสำ�คัญประการหนึ่งในปรัชญาภาษาไดแก ปญหาที่วาอะไรคือเกณฑกำ�หนดความหมาย เกณฑนั้น เกี่ยวของกับสภาวะจิตหรือโลกภายนอก ทฤษฎีความหมายกระแสหลัก เชน ทฤษฎีความหมายแบบเฟรเก มีแนวคิด ที่วาเกณฑในการกำ�หนดความหมายนั้นมีความสัมพันธกับสภาวะจิต ซึ่งอาจเรียกไดวาเปนทัศนะแบบเกณฑกำ�หนด ความหมายจากภายใน ฮิลลารี่ พัทนัมโตแยงทัศนะดังกลาว โดยการเสนอตัวอยางโลกแฝดเพื่อแสดงใหเห็นวา สภาวะจิตไมเพียงพอแกการกำ�หนดความหมาย และทัศนะนั้นยังไมสามารถอธิบายความสัมพันธระหวางภาษา กับโลกภายนอกได พัทนัมจึงไดเสนอแนวคิดเรื่องเกณฑกำ�หนดความจากภายนอกซึ่งอธิบายวา ความหมายของคำ� หรือประโยคมีที่มาจากการใชคำ�ของคนในชุมชนและโลกภายนอกไดแก ธรรมชาติที่แทจริงของสิ่งตางๆ ในโลก บทความนี้มีขอสรุปวา ถึงแมวาแนวคิดของเรื่องเกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอกสามารถอธิบายความสัม พันธระหวางภาษากับโลกภายนอกได แตไมสามารถอธิบายความสัมพันธระหวางภาษากับมนุษย คำ�สำ�คัญ: 1. ปรัชญาภาษา. 2. ทฤษฎีความหมาย. 3. ฮิลลารี่ พัทนัม. 4. เกณฑก�ำ หนดความหมายจากภายนอก Abstract An important problem in the philosophy of language concerns the problem of the condition that determines meaning. The question is whether the condition involves mental states or the external world. Hilary Putnam argues that a traditional view in theory of meaning, such as the Fregean theory, tends to be semantic internalism. He raises the Twin Earth Thought experiment in order to show that meaning is determined by external conditions, namely, the social experts and the natural essence of things in the external world. This article concludes that although Putnam’s semantic externalism shows how language relates to the world, it cannot explain the relation of language and humans. Keywords: 1. Philosophy of language. 2. Theory of meaning. 3. Hilary Putnam. 4. Semantic externalism.

__________________ 1 บทความนี้ปรับปรุงมาจากวิทยานิพนธเรื่อง “แนวคิดเรื่องเกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอกในทัศนะของพัทนัม” มี ดร. กนิษฐ ศิริจันทร เปนอาจารยที่ปรึกษา ตามหลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาปรัชญา ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2 อาจารยประจำ�ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

เกริ่นนำ� การศึกษาเรือ่ งความหมายเปนประเด็นสำ�คัญใน ปรัชญาภาษาที่พยายามอธิบายวาถอยคำ� (Utterance) และสัญลักษณ (Sign) ในภาษามีความหมายไดอยางไร และอะไรคือเกณฑในการตัดสินวา ถอยคำ�หนึ่งมีความ หมาย (Meaningful) ขณะที่อีกถอยคำ�หนึ่ง ไรความ หมาย (Meaningless) ในการอธิบายเรื่องความหมาย ของภาษานั้นจึงตองสามารถอธิบายครอบคลุมถึงความ สัมพันธระหวาง ภาษา มนุษย และโลกภายนอก ซึ่ง ความสัมพันธระหวางภาษากับโลก หมายถึง การที่คำ� ในภาษา “แทน” หรือ ”บงถึง” สิ่ง เชน คำ�วา “Water” ใน ภาษาอังกฤษ “น้ำ�” ในภาษาไทย ทั้งสองคำ�นี้บงถึงน้ำ� ที่อยูในโลกภายนอก และความสัมพันธระหวางโลกกับ ภาษา ยังหมายถึง การทีโ่ ลกภายนอกเปนสิง่ ทีใ่ หเงือ่ นไข ความจริง (Truth-condition) หรือเปนเกณฑในการใหคา ความจริง (Truth value) ไดแกคาจริง (True) หรือเท็จ (False) ความสัมพันธระหวางภาษากับมนุษยมลี กั ษณะ ที่เกี่ยวของกับความคิด มนุษยสามารถคิดถึงสิ่งตางๆ และถายทอดความคิดของตนเองผานภาษา ขอถกเถียงประการหนึ่งเกี่ยวกับทฤษฎีความ หมาย ไดแก ขอถกเถียงทีว่ า ความคิดหรือสภาวะจิตเปน สิ่งที่กำ�หนดความหมาย หรือวาสิ่งที่อยูในโลกภายนอก เปนสิ่งที่กำ�หนดความหมาย ทฤษฎีความหมายกระแส หลักเชือ่ วาสภาวะจิตเปนสิง่ ทีก่ �ำ หนดความหมาย ไดแก ทฤษฎีความหมายแบบเฟรเก ขณะที่ ฮิลลารี่ พัทนัม (Hilary Putnam) โตแยงทัศนะดังกลาววาจะเกิดปญหา เอกัตนิยมทางความหมาย ที่ทำ�ใหเกณฑในการตัดสิน คาความจริงของภาษา มีลักษณะเปนเกณฑการตัดสิน ที่ไมชัดเจนและไมแนนอน และพัทนัมไดเสนอให การ กำ�หนดความหมายควรมาจากสิ่งที่อยูภายนอกสภาวะ จิตซึ่งไดแกสิ่งที่อยูในโลกภายนอก พัทนัมจึงไดเสนอ

ทฤษฎีความหมายที่มี เกณฑกำ�หนดความหมายจาก ภายนอก (Semantic externalism) กลาวคือ ความ หมายของคำ�หรือประโยคมีที่มาจากการใชคำ�ของคนใน ชุมชนที่ใชภาษาและโลกภายนอก (ธรรมชาติที่แทจริง ของสิง่ ) ซึง่ ผูเ ขียนจะประเมินความนาเชือ่ ถือของแนวคิด เรื่องทฤษฎีเกณฑก�ำ หนดความหมายจากภายนอกของ พัทนัม โดยผูเขียนเห็นวา การเสนอทฤษฎีความหมาย นั้น ตองสามารถอธิบายครอบคลุมถึงความสัมพันธ ระหวาง ภาษา มนุษย และโลกภายนอกได เนือ้ หาของบทความนีจ้ ะแบงเปนสีส่ ว น สวนแรก จะศึกษาทฤษฎีความหมายแบบเฟรเก ซึ่งเปนทฤษฎีที่ นำ�ไปสูข อ วิจารณของพัทนัม สวนทีส่ องศึกษาขอโตแยง ของพัทนัมตอทฤษฎีความหมายแบบเฟรเก และสวน ที่ ส ามศึ ก ษาการเสนอทฤษฎี ค วามหมายของพั ท นั ม ซึ่งไดแกเกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก สวน สุดทายจะเปนการประเมินและสรุป 1. ทฤษฎีความหมายแบบเฟรเก ทฤษฎีความหมายแบบเฟรเก ไดแบงความหมาย เปน 2 สวน คือ ความหมายสวน สิ่งที่ถอยคำ�บงถึง (Reference) คือวัตถุในโลกทีถ่ อ ยคำ�นัน้ บงถึง และความ หมายสวนอรรถสาร 3 (Sense) คือรูปแบบการแสดงตัว ของวัตถุ (Mode of presentation) ทีค่ �ำ นัน้ บงถึง รูปแบบ การแสดงตั ว ของวั ต ถุ เ ป น สิ่ ง ที่ แ สดงตั ว ต อ การรั บ รู  ของเรา และตัวแทนของทฤษฎีนี้คือ ก็อทลอบ เฟรเก (Gottlob Frege) เฟรเกไดเสนอการแบงความหมายเปนสองสวน ไวในงานเขียนชื่อ “Sense and Reference” ในป 1892 ซึง่ ความหมายทัง้ สองสวนนี้ ไดแก ความหมายสวนสิง่ ที่ ถอยคำ�บงถึง (Reference) และความหมายสวนอรรถสาร (Sense) เนื่องจากเฟรเกเห็นวาถาความหมายคือ สิ่งที่

__________________ 3 ผูเขียนใชคำ�วา “อรรสาร” หมายถึง “sense” ตามการใชของอาจารย ดร.กนิษฐ ศิริจันทร อางจาก บทความเรื่อง “ความเงียบ” ในปรัชญาของวิตตเกนสไตน ในวารสารสมาคมปรัชญาและศาสนาแหงประเทศไทย ป 2549

22


ทฤษฎีความหมายในทัศนะของพัทนัม : เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก ณฐิกา ครองยุทธ

ถอยคำ�บงถึงเพียงอยางเดียวนั้น จะเกิดปญหาขอความ เอกลักษณ เฟรเกจงึ เสนอใหมคี วามหมายสวนอรรถสาร ซึ่งเปนการแสดงตัวของวัตถุที่คำ�บงถึง และความหมาย สวนอรรถสารนีส้ ามารถแกปญ  หาขอความเอกลักษณได เฟรเกไดอธิบายถึงความหมายทั้งสองสวนไวดังนี้ ความหมายสวนสิ่งที่คำ�บงถึง ความหมายสวนสิ่งที่ถอยคำ�บงถึงในระดับคำ� คือ วัตถุที่คำ�นั้นบงถึง และความหมายสวนสิ่งที่ถอย คำ�บงถึงในระดับขอความหรือประโยค คือคาความจริง (Truth – value) ซึง่ มีคา เปนจริง (True) หรือ เท็จ (False) การหาคาความจริงของขอความในภาษาธรรมชาตินั้น เฟรเก ไ ด นำ � แนวคิ ด เรื่ อ ง การวิเคราะหฟงกชั่นและ อารกวิ เมนท (Function and argument) ในคณิตศาสตร มาประยุกตใชกับภาษาธรรมชาติดังนี้ ขอความภาษา ธรรมชาติ เ ช น “อริ ส โตเติ ล เป น ผู  ช าย” จะประกอบ ไปดวยฟงกชั่นไดแก “…..เปนผูชาย” และอารกิวเมนท คือ ชื่อ “อริสโตเติล” ฟงกชั่นในภาษาธรรมชาติจะใหคา ความจริงเปน จริง (True) หรือ เท็จ (False) คาใดคา หนึ่ง ซึ่งฟงกชั่น “…..เปนผูชาย” เปนฟงกชั่นระดับแรก (First – level function) อารกิวเมนทของฟงกชั่นระดับ แรกคือวัตถุที่ชื่อนั้นบงถึง และฟงกชั่น“…..เปนผูชาย” จะใหคาเปนจริง ถาวัตถุที่เติมในชองวางเปนวัตถุที่เปน ผู  ช ายและจะให ค  า เป น เท็ จ ถ า วั ต ถุ ที่ เ ติ ม ในช อ งว า ง ไมเปนผูชาย ซึ่งวัตถุที่ “อริสโตเติล”บงถึงเปนผูชาย ขอความ “อริสโตเติลเปนผูชาย” จึงมีคาเปนจริง ความหมายสวนอรรถสาร เฟรเกเสนอความหมายสวนอรรถสาร เนื่องจาก เห็นวาถาความหมายคือสิ่งที่ถอยคำ�บงถึงเพียงอยาง เดียวจะไมสามารถอธิบายความแตกตางของขอความ เอกลั ก ษณ ไ ด ตั ว อย า งข อ ความเอกลั ก ษณ ไ ด แ ก ขอความ (ก) “ดาวประจำ�เมือง คือ ดาวประจำ�เมือง” กับ ขอความ (ข) “ดาวประกายพรึก คือ ดาวประจำ�เมือง” ถาความหมายคือสิ่งที่ถอยคำ �บงถึงเพียงอยางเดียว ความหมายของคำ�วา “ดาวประจำ�เมือง” และ “ดาว ประกายพรึก” จะมีความหมายเหมือนกัน เพราะบงถึงสิง่ เดียวกันคือ ดาวศุกร ดังนัน้ ขอความ (ก) และ ขอความ (ข) จึงมีความหมายเหมือนกันเพราะบงถึงสิ่งเดียวกัน แตเราจะเห็นไดวา ขอความ (ก) และขอความ (ข) มีความ

ตางกัน ขอความ (ก) เปนการซ้�ำ คำ�ไมไดบอกอะไรแกเรา ขณะที่ขอความ (ข) ใหขอมูลเพิ่มขึ้น เฟรเกอธิบายวาขอความ (ก) และ ขอความ (ข) มีความตางกัน เพราะ คำ�วา “ดาวประจำ�เมือง” กับ “ดาวประกายพรึก” มีความหมายในสวนอรรถสารตางกัน แมวาทั้งสองคำ�จะบงถึงสิ่งเดียวกัน ความหมายสวน อรรถสารเปน รูปแบบการแสดงตัวของวัตถุทคี่ �ำ นัน้ บงถึง วั ต ถุ ห นึ่ ง จะแสดงตั ว ได ห ลายรู ป แบบ จึ ง ทำ � ให เ รา สามารถรับรูวัตถุหนึ่งไดหลายรูปแบบและรูปแบบการ แสดงตัวของวัตถุนั้นยังเปนแนวทางในการระบุถึงวัตถุ นัน้ ดวย ดังชือ่ “ดาวประจำ�เมือง” และ “ดาวประกายพรึก” ทั้งสองชื่อนี้แสดงถึงรูปแบบการแสดงตัวของดาวศุกร ที่ตางกัน คือ “ดาวประจำ�เมือง” แสดงถึงรูปแบบการ แสดงตัวของดาวศุกรที่ “ปรากฏใหเห็นตอนเย็น” ขณะที่ “ดาวประกายพรึก” แสดงถึงรูปแบบการแสดงตัวของดาว ศุกรที่ “ปรากฏใหเห็นตอนเชา” “ดาวประจำ�เมือง” และ “ดาวประกายพรึก” จึงมีความหมายสวนอรรถสารตางกัน แมวาคำ�ทั้งสองบงถึงดาวศุกรเหมือนกัน (Frege 1948) นอกจากนี้เฟรเกไดอธิบายวา อรรถสารมีลักษณะเปน ภววิสยั (Objective) ในแงทวี่ า อรรถสารเปนสิง่ นามธรรม ที่อยูนอกจิตและเปนสิ่งที่คนหลายคนสามารถรับรูรวม กันได (Common store of thought) ที่สามารถถายทอด ความคิดตอกันได เราและผูอ นื่ จึงสามารถสือ่ สารในความ หมายที่ตรงกันได ความหมายสวนอรรถสารไมใชสิ่ง ที่อยูในจิตของแตละคน (Frege 1948 : 212 - 213) โดยสรุป ทฤษฎีความหมายแบบเฟรเก เสนอให ความหมายมีสองประเภทไดแก ความหมายสวนสิ่งที่ ถอยคำ�บงถึง ซึ่งความหมายสวนสิ่งที่ถอยคำ�บงถึงใน ระดับคำ�คือ สิ่งในโลกที่คำ�นั้นบงถึง ขณะที่ความหมาย สวนสิ่งที่ถอยคำ�บงถึงในระดับประโยค คือคาความจริง และความหมายสวนอรรถสาร คือรูปแบบการแสดงตัว ของวัตถุ อรรถสารมีลักษณะเปนภววิสัย ในลักษณะ ที่วาอรรถสารเปนสิ่งนามธรรมที่อยูนอกจิตและเปนสิ่ง ที่คนหลายคนสามารถรับรูรวมกันได จึงกลาวไดวา ตามแนวคิดของทฤษฎีนี้ โลกภายนอกเปนเกณฑใน การกำ�หนดความหมาย โดยที่เรารับรูโลกภายนอกผาน อรรถสาร และอรรถสารเป น ภววิ สั ย ที่ เ ราและผู  อื่ น สามารถรับรูรวมกันได คำ�ที่มีความหมายคือ คำ�ที่บงถึง

23


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

สิ่งในโลก และประโยคหรือขอความที่มีความหมาย คือ ประโยคที่มีคาความจริง ซึ่งคาความจริงตรวจสอบ ไดจากโลกภายนอก เกณฑในการกำ�หนดความหมาย ตามทฤษฎีนี้ จึงเปนเกณฑกลางที่ผูพูดทุกคนรับรูรวม กันได พัทนัมจะโตแยงทฤษฎีความหมายแบบเฟรเก มีลักษณะเปน “สภาวะจิตกำ�หนดความหมาย” หรือ “เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายใน” และนำ�ไปสูการ เสนอแนวคิดเรื่องความหมายของพัทนัม 2. ขอโตแยงของพัทนัมตอทฤษฎีความหมายแบบ เฟรเก หัวขอที่ผานมาเราไดเห็นแลววาทฤษฎีความ หมายแบบเฟรเก เสนอใหความหมายแบงเปนสองสวน ไดแก ความหมายสวนสิง่ ทีถ่ อ ยคำ�บงถึง และความหมาย สวนอรรถสาร อรรถสารเปนแนวทางในการบงถึงสิ่งที่ ถอยคำ�บงถึง และอรรถสารมีลกั ษณะเปนภววิสยั ในแงที่ วา อรรถสารเปนสิ่งนามธรรมที่ไมไดถูกกำ�หนดโดยจิต และเปนสิ่งที่คนแตละคนสามารถรับรูสิ่งนามธรรมนี้ รวมกันได ตามทฤษฎีนี้ โลกภายนอกเปนเกณฑในการ กำ�หนดความหมาย ซึ่งถือเปนเกณฑที่ทุกคนสามารถ รับรูรวมกันได ทฤษฎีความหมายแบบเฟรเกจึงไมได เปนลักษณะสภาวะจิตกำ�หนดความหมาย อยางไรก็ตาม พัทนัมเห็นวา ทฤษฎีความหมาย แบบเฟรเก มี ลั ก ษณะเป น สภาวะจิ ต กำ � หนดความ หมาย หรืออีกนัยหนึ่งคือ “เกณฑกำ�หนดความหมาย จากภายใน” เนื่องจาก ทฤษฎีความหมายแบบ เฟรเก มีพื้นฐานในการเขาใจ “สภาวะจิต” ในลักษณะแคบ (Narrow sense) คือ การที่เรารูเฉพาะสภาวะจิตของ เราเทานัน้ เราไมสามารถรูส ภาวะจิตของผูอ นื่ ซึง่ สภาวะ จิ ต ในลั ก ษณะดั ง กล า วทำ � ให ค วามหมายตามทฤษฎี ความหมายแบบเฟรเก ถูกกำ�หนดจากสภาวะจิตและ มีลกั ษณะเปน “เกณฑก�ำ หนดความหมายจากภายใน” ซึง่ “ภายใน” หมายถึงสภาวะจิตลักษณะแคบ และการเขาใจ สภาวะจิตลักษณะแคบ ทำ�ใหการรูค วามหมายมีลกั ษณะ ปด (Degree of causal closure) ซึ่งทำ�ใหเกิดปญหา เอกัตนิยมทางความหมาย ในหัวขอนี้จะแบงเปนสองสวน โดยสวนแรก จะศึ ก ษาขอโตแยงของพัทนัมตอทฤษฎีค วามหมาย

24

แบบเฟรเก โดยวิจารณวามีพื้นฐานการเขาใจ “สภาวะ จิตลักษณะแคบ” และสวนที่สองจะศึกษาขอโตทัศนะ เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายใน ซึ่งพัทนัมโตแยง ทัศนะดังกลาวโดยการเสนอตัวอยางแยงเรือ่ ง “โลกแฝด” ที่แสดงใหเห็นวาทัศนะแบบเกณฑกำ�หนดความหมาย จากภายใน ไมสามารถอธิบายความสัมพันธระหวาง ภาษากับโลกภายนอกได และสภาวะจิตไมเพียงพอ แกการกำ�หนดความหมาย 1.) สภาวะจิตลักษณะแคบ พั ท นั ม เห็ น ว า ทฤษฎี ค วามหมายแบบเฟรเก ไดนยิ าม “ความหมาย” โดยการแบงความหมายเปนสอง ระดับ ไดแก ความหมายระดับเอ็กเทนชัน (Extension) และความหมายระดับอินเทนชัน (Intension) ความหมาย ระดับเอ็กเทนชัน คือสิ่งที่ถอยคำ�นั้นบงถึง ยกตัวอยาง เชน ความหมายระดับเอ็กเทนชันของคำ�วา “กระตาย” คือ สิง่ ทีเ่ ปนตัวอยางของคำ�วา “กระตาย” เชน ตัวกระตาย ที่อยูในโลก ซึ่งความหมายระดับเอ็กเทนชันตามทฤษฎี ความหมายแบบเฟรเกคือ ความหมายสวนสิ่งที่ถอยคำ� บงถึง และพัทนัมอธิบายวา ความหมายระดับอินเทนชัน คือ มโนทัศนทเี่ ชือ่ มโยงกับคำ� ตัวอยางเชน ความหมาย ระดับอินเทนชันของคำ�วา “สัตว” ไดแก “สิ่งมีชีวิตที่มี ตับ” “สิ่งมีชีวิตที่มีไต” เปนตน พัทนัมเห็นวาความหมาย ระดับอินเทนชัน ตามทฤษฎีความหมายแบบเฟรเกคือ ความหมายสวนอรรถสาร ซึ่งเปนเรื่องทางสภาวะจิต เนื่องจากพัทนัมเห็นวา “การรับรู” เปนเรื่องทางสภาวะ จิต “การรูอรรถสาร” จึงเปนเรื่องทางสภาวะจิต จึง เทากับวา ความหมายระดับอินเทนชัน ตามแนวคิดแบบ เฟรเก เปนเนือ้ หาทีไ่ ดจากการรับรูใ นสภาวะจิตลักษณะ หนึ่ง และถาหากวาอรรถสารเปนแนวทางในการบงถึง สิ่งที่ถอยคำ�บงถึง ก็แสดงวาสภาวะจิตเปนสิ่งที่กำ�หนด ความหมาย (Putnam 1996 : 5 - 6) พัทนัมไมเห็นดวยกับการอธิบายวา ความหมาย ระดับอินเทนชัน เปนเนื้อหาในสภาวะจิต แตก็ยอมรับ การอธิบายวา ความหมายระดับเอ็กเทนชัน เปนสิ่ง ที่ถอยคำ�นั้นบงถึง (Putnam 1996 : 48 - 49) พัทนัม ได ส รุ ป สมมติ ฐ านหลั ก ของทฤษฎี ค วามหมายแบบ เฟรเกดังนี้ (1) การรูความหมายเปนการอยูในสภาวะจิต


ทฤษฎีความหมายในทัศนะของพัทนัม : เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก ณฐิกา ครองยุทธ

ลักษณะหนึ่ง (2) ความหมาย ในแงอินเทนชัน กำ�หนด เอ็กเทนชัน ในแงทวี่ า ถาอินเทนชันเหมือนกันจะกำ�หนด เอ็กเทนชันที่เหมือนกัน พัทนัมไดอธิบายวา ทฤษฎีความหมายแบบ เฟรเก วางอยูบนพื้นฐานของการเขาใจ สภาวะจิตวามี ลักษณะเปน “เอกัตนิยมเชิงหลักการ” (Methodological solipsism) คือ “เรารูเฉพาะสภาวะจิตของตนเองเทานั้น เราไมรูสภาวะจิตของผูอื่น” (Putnam 1996 : 6 - 7) มโนทัศนเรื่อง “เอกัตนิยมเชิงหลักการ” มีที่มา จากวิธีการหาความรูของ เรอเน เดสการต (Descartes 1969) 4 เดสการตตองการคนหาพื้นฐานของความรูที่ แนนอนตายตัว หรือความรูท สี่ งสัยตอไปไมไดอกี วิธกี าร ที่เขาใชในการคนหาความรูดังกลาว ไดแกวิธีการสงสัย จนกวาจะได ความรูที่แทจริงและกระจางชัด (clear and distinct) ขอสรุปประการหนึง่ ของเดสการต ไดแกขอ สรุป ที่วา ความรูทางประสาทสัมผัสไมใชความรูที่แทจริง เพราะการรับรูท างประสาทสัมผัสทีเ่ กีย่ วกับโลกภายนอก นั้นยังเปนสิ่งที่สงสัยตอไปไดอีกวา โลกภายนอกที่เรา รับรูนั้น เปนโลกภายนอกที่แทจริง หรือเปนเพียงความ ฝน แตความรูท แี่ ทจริง ไดแก “ฉันคิด ดังนัน้ ฉันจึงมีอยู” เพราะในขณะทีเ่ ราสามารถสงสัยทุกสิง่ ได เราไมสามารถ สงสัยความสงสัยของตัวเองได อยางไรก็ตาม ขอสรุปของ เดการตดังกลาว มีลักษณะเปน “เอกัตนิยม” เพราะเรา สามารถยืนยันความมีอยูไดแตเฉพาะจิตของตัวเราเอง ไมสามารถยืนยันการมีอยูของจิตอื่นและสิ่งแวดลอม รอบตัวเรา ขณะที่ “เอกั ต นิ ย มเชิ ง หลั ก การ” ไม ไ ด เ ป น “เอกัตนิยม” เนื่องจาก “เอกัตนิยมเชิงหลักการ” นั้น คือ การที่พัทนัม นำ�มโนทัศนเรื่อง “เอกัตนิยม” มาเปนวิธี

ในการอธิบายสภาวะจิตตามทฤษฎีความหมายแบบ เฟรเก ในแงทวี่ า สภาวะจิตมีลกั ษณะทีว่ า “เรารูแ ตเฉพาะ สภาวะจิตของเรา เราไมสามารถรูสภาวะจิตของผูอื่น” แตไมไดสรุปวาการเขาใจสภาวะจิตตามทฤษฎีแบบ เฟรเกนั้นจะนำ�ไปสูการเปนเอกัตนิยมเชิงอภิปรัชญา กลาวคือ ยืนยันแตเฉพาะการมีอยูของจิตตนเอง ไม สามารถยืนยันการมีอยูของผูอื่นและสิ่งแวดลอมในโลก ภายนอก ซึง่ สภาวะจิตลักษณะ “เอกัตนิยมเชิงหลักการ” นี้พัทนัมเรียกวา “สภาวะจิตลักษณะแคบ” (Narrow sense) เราสามารถเขาใจ “สภาวะจิตลักษณะแคบ” ใน อีกความหมายหนึ่ง คือเขาใจในลักษณะของ “มุมมอง บุรุษที่หนึ่ง” (First – person perspective) คือ เจาของ สภาวะจิตเทานั้นที่จะรูสภาวะจิตของตนเปนอยางไร ผู  อื่ น ไม ส ามารถรู  สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในสภาวะจิ ต ของเรา ขณะเดียวกันเราก็ไมสามารถรูสิ่งที่เกิดขึ้นในสภาวะจิต ของผูอ นื่ ตัวอยางเชน เรารูส กึ เจ็บ เรามีประสบการณกบั สิ่งบางอยาง เราเทานั้นที่จะรูวาสิ่งเหลานี้เปนเชนไร ผูอื่นไมสามารถรูได (McCulloch 1989 : 153 – 154) สภาวะจิตลักษณะแคบดังกลาว ทำ�ใหการรูความหมาย มีลักษณะปด (Degree of causal closure) ดังนี้ การรู ความหมายมาจากสภาวะจิ ต ของเราคนเดี ย ว ผู  อื่ น ไมรูความหมายในสภาวะจิตของเรา ขณะเดียวกันเรา ไมรคู วามหมายในสภาวะจิตของผูอ นื่ ในแงนี้ ความหมาย จึงถูกกำ�หนดจากสภาวะจิตของผูพูด และผูพูดเทานั้นที่ รูค วามหมายของตนเอง ซึ่งการรูค วามหมายในลักษณะ ป ด จะทำ � ให เ กิ ด ป ญ หาเอกั ต นิ ย มทางความหมาย คือ เกณฑในการกำ�หนดคาความจริงไมชัดเจน ไม แนนอนและไมสามารถหาคาความจริงของขอความได กลาวคือ การเขาใจความหมายในลักษณะปดหมายถึง

__________________ 4 เดสการต ไดเสนอแนวคิดที่เปนพื้นฐานของความรูดังกลาวไวในงานเขียนชื่อ “A discourse on Method Meditations on the First Philosophy Principles of Philosophy” ในป ค.ศ. 1641

25


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ที่มาของความหมายมาจากจิตของเราคนเดียว ขณะ เดียวกันเราไมรูจิตของผูอื่น จึงสงผลใหเกณฑในการ ตัดสินคาความจริงของภาษาจะมีลักษณะเปนเกณฑ สวนตัวของแตละคน เปนเกณฑที่ไมเปนอิสระจาก สภาวะจิต ที่ทำ�ใหเราไมสามารถตรวจไดอยางชัดเจน วา สภาวะจิต (ประสบการณ) ลักษณะหนึ่งที่เราใชเปน เกณฑในการตัดคาความจริงตอ ขอความเดิมขอความ หนึ่ง จะเปนสภาวะจิตลักษณะเดิมเสมอที่เรานำ�มาใช ตัดสินคาความจริงของขอความ เราไมสามารถตรวจสอบ ไดเลยวา แตละครั้งที่เราใชสภาวะจิตลักษณะดังกลาว ตัดสิน จะเปนสภาวะจิตลักษณะเดิมเหมือนกับครั้งแรก ที่เราใชเปนเกณฑตัดสิน ดังนั้น ถาเกณฑตัดสินคา ความจริงไมเปนอิสระจากสภาวะจิตแลวนั้น จะทำ�ให เกณฑการตัดสินที่มีลักษณะคลุมเครือ ไมชัดเจน เปน เกณฑที่ไมแนนอน ซึ่งจะสงผลใหเราไมสามารถหาคา ความจริงของขอความได 5 ยกตัวอยางเชน วันนี้เราได รายงานการเห็นมะเขือเทศที่สุกเต็มที่ ดวยขอความที่ วา “มะเขือเทศสีแดง” เมือ่ เกณฑในการตัดสินขึน้ อยูก บั สภาวะจิต สิง่ ทีจ่ ะนำ�มาตัดสินคาความจริงของขอความ นี้ก็คือ ประสบการณที่เกี่ยวกับมะเขือเทศที่สุกเต็มที่ สีแดงที่เราเคยประสบมากอน แตเราไมสามารถรูไดเลย

วาประสบการณที่เกี่ยวกับมะเขือเทศที่สุกเต็มที่สีแดง ที่เรานำ�มาใชตัดสินการรายงานขอความครั้งนี้ จะเปน ประสบการณ เ ดิ ม เสมอที่ เ ราเคยใช ตั ด สิ น มาแล ว ใน ครัง้ กอนๆ เชน เราไมสามารถรูไ ดวา จะเปนสีแดงเหมือน เดิมอยางทีเ่ ราเคยมีประสบการณมาแลวหรือไม ซึง่ จะทำ� เกณฑในการตัดสินแตละครั้งนั้นไมแนนอนและเกณฑ สามารถเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมไดเสมอ และทำ�ใหเรา ไมมเี กณฑทชี่ ดั เจนทีจ่ ะหาคาความจริงของการรายงาน ขอความวา “มะเขือเทศสีแดง” ในแตละครั้งนั้น ความหมายระดับอินเทนชัน ตามทฤษฎีความ หมายแบบเฟรเก เปนเนื้อหาในสภาวะจิตลักษณะหนึ่ง ซึ่งหมายความวา ความหมายระดับอินเทนชัน เปน เนื้อหาที่ไดจากการรับรูในสภาวะจิตลักษณะแคบ จึง กลาวไดวา จากสมมติฐานที่ (2) สรุปไดวา เนื้อหาใน สภาวะจิตลักษณะแคบ กำ�หนดเอ็กเทนชัน สภาวะจิต ลั ก ษณะแคบจึ ง กำ � หนดความหมาย จากสมมติ ฐ าน ที่ (1) สรุปไดวา การรูความหมายจึงอยูในสภาวะจิต ลักษณะแคบ สมมติฐานที่ (1) และ (2) ไดแสดงใหเห็นวา ทฤษฎีความหมายแบบเฟรเก มีลกั ษณะเปน “สภาวะจิต ลักษณะแคบกำ�หนดความหมาย” หรือเรียกอีกอยางวา “เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายใน” ซึ่ง “ภายใน”

__________________ 5 ในการเขาใจปญหาเกณฑตัดสินคาความจริงที่ไมเปนอิสระจากสภาวะจิตดังกลาว มีที่มาจากการขอโตแยงแนวคิดเรื่องภาษา สวนตัว ของลุกวิก วิตเกนสไตน (Ludwig Wittgenstein)ในงานเขียนชื่อ Philosophical Investigations ป 1953 แนวคิดเรื่องภาษา สวนตัวเปนแนวคิดของกลุมประสบการณนิยม กลุมนี้เชื่อวาประสบการณตรงเปนความรูที่ไมผิดพลาด เนื่องจากเปนเรื่องที่เรามีความ สัมพันธโดยตรง และกลุม นีอ้ ธิบายวา ประสบการณประเภทหนึง่ ไดแก ความรูส กึ ภายในทีเ่ ปนความรูส กึ สวนบุคคล เปนประสบการณทเี่ รา เทานัน้ ทีเ่ ขาใจความรูส กึ นี้ เชน เจ็บ คัน แซบ เปนตน ถอยคำ�ทีว่ า “เจ็บแขน” จึงเปนถอยคำ�ทีผ่ พู ดู เทานัน้ ทีเ่ ขาใจความหมายของถอยคำ� นี้ดีที่สุด ซึ่ง “เจ็บแขน” เปนถอยคำ�ที่บงถึง ความรูสึกภายในเฉพาะลักษณะหนึ่งของผูพูด ที่ผูอื่นไมอาจรูและเขาใจถึงความรูสึกเฉพาะ นีไ้ ด ถอยคำ�ทีแ่ ทนความรูส กึ ภายในเฉพาะดังกลาว เปนถอยคำ�ทีก่ ลุม ประสบการณนยิ มเรียกวา “ภาษาสวนตัว” เปนภาษาทีผ่ พู ดู เทานัน้ จะเขาใจความหมาย ซึ่งวิตเกนสไตน โตแยงแนวคิดเรื่องภาษาสวนตัว โดยเสนอตัวอยางที่แสดงใหเห็นวา เราไมมีเกณฑที่แนนอนใน การเขาใจความหมายของภาษาสวนตัว จึงเปนไปไมไดที่จะมีภาษาสวนตัว ตัวอยางของวิตเกนสไตนเปนดังนี้ สมมติวาเรามีความรูสึก เฉพาะลักษณะหนึง่ และเราตัง้ ชือ่ ใหกบั ความรูส กึ นัน้ วา ความรูส กึ S และทุกครัง้ ทีเ่ รามีความรูส กึ ดังกลาว เราจะรายงานแกตนเองวา “ฉัน รูสึก S” เกณฑในเขาใจความหมาย “ฉันรูสึก S” ในแตละครั้ง คือ ความรูสึก S นั่นเอง อยางไรก็ตาม เราไมสามารถจำ�ไดเลยวา ทุกครั้ง ที่เรารายงานกับตนเองวา “ฉันรูสึก S” นั้น เปนความรูสึกเดียวกันกับ ความรูสึก S ในครั้งแรกหรือไม เราไมสามารถตรวจสอบไดเลยวา เราไดเกิดความรูสึก S ที่เหมือนเดิมกับความรูสึก S ในครั้งแรก ความหมายของ “ฉันรูสึก S” จึงอาจไมเหมือนเดิม เปลี่ยนแปลงเสมอ ดังนัน้ วิตเกนสไตนจงึ สรุปวา ภาษาสวนตัวเปนเรือ่ งทีเ่ ปนไปไมได สามารถดูขอ โตแยงตอภาษาสวนตัว ของวิตเกนสไตน เพิม่ เติมไดจาก หนังสือ Philosophical Investigations ของ Ludwig Wittgenstein ป 1995 แปลเปนภาษาอังกฤษโดย G. E. M. Anscombe

26


ทฤษฎีความหมายในทัศนะของพัทนัม : เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก ณฐิกา ครองยุทธ

หมายถึง สภาวะจิตลักษณะแคบ ซึง่ เกณฑในการกำ�หนด ความหมายดังกลาว จึงเปนเกณฑที่มาจากสภาวะจิต ของผูพูด ที่ผูอื่นไมสามารถรูได พัทนัม ไดสรุปการอธิบาย “ความหมาย” ตาม ทัศนะเกณฑกำ�หนดความหมายจากภายใน เปนดังนี้ ความหมายอินเทนชัน คือ เนื้อหาที่ไดจากการรับรูใน สภาวะจิตลักษณะแคบ และความหมายระดับอินเทนชัน กำ�หนดความหมายระดับเอ็กเทนชัน (ตามสมมติฐาน ที่ 2) จึงกลาวไดวา เนื้อหาในสภาวะจิตลักษณะแคบ กำ�หนดเอ็กเทนชัน เอ็กเทนชันจึงขึ้นอยูกับสภาวะจิต ลักษณะแคบ (อินเทนชัน) ดังนัน้ สภาวะจิตลักษณะแคบ กำ�หนดความหมาย พัทนัม โตแยงทัศนะเกณฑกำ�หนดความหมาย จากภายในวา ไมสามารถอธิบายความสัมพันธระหวาง ภาษากับโลกได โดยการเสนอตัวอยางแยง “โลกแฝด” ที่แสดงใหเห็นวา ถาอธิบายใหอินเทนชัน เปนเนื้อหาที่ ไดจากการรับรูใ นสภาวะจิตลักษณะแคบแลว คำ�จะบงถึง สิ่งอื่นที่ไมใชเอ็กเทนชันที่แทจริงของคำ� ภาษาจึงไม สามารถบงถึงโลกไดอยางแทจริง ผูเขียนจะอธิบาย ประเด็นนี้อีกครั้งในหัวขอที่ 2.) พัทนัม เห็นวา เหตุที่ทัศนะเกณฑกำ�หนดความ หมายจากภายใน (ทฤษฎี ค วามหมายแบบเฟรเก ) ไมสามารถอธิบายความสัมพันธระหวางภาษากับโลก ได เนื่องจาก ทัศนะนี้มีพื้นฐานการเขาใจสภาวะจิตใน ลั ก ษณะแคบ พั ท นั ม จึ ง เสนอให เ ปลี่ ย นความเข า ใจ สภาวะจิต เปนการเขาใจสภาวะจิตลักษณะกวาง (Wide sense) กลาวคือ สภาวะจิตมีความสัมพันธกับโลก ภายนอก ทีเ่ ปนสิง่ แวดลอมรอบตัวเรา (Putnam 1996 : 7) เราสามารถเขาใจ “สภาวะจิตลักษณะกวาง” ในอีก ความหมายหนึ่ง คือเขาใจในลักษณะของ “มุมมองบุรุษ ที่สาม” (Third – person perspective) คือ ผูอื่นสามารถ รูสภาวะจิตของเราไดโดย การสังเกตพฤติกรรมหรือ ลั ก ษณะภายนอกของเราที่ แ สดงออก (McCulloch 1989 : 153 - 154) เมือ่ เรามีพนื้ ฐานการเขาใจสภาวะจิต ในลักษณะกวางแลว เราจะเขาใจไดวา สภาวะจิตของ ผูพูดเชื่อมโยงกับโลกภายนอกไดอยางไร ผูพูดสามารถ รูความหมายของคำ�ที่ผูใชภาษาคนอื่นใชได โดยการ สังเกตและเรียนรูก ารใชค�ำ จากคนในสังคม คำ�จะสามารถ

บงถึงสิ่งในโลกภายนอกได และสิ่งที่กำ�หนดเนื้อหาของ สภาวะจิตก็คือโลกภายนอก และเกณฑในการตัดสิน ค า ความจริ ง ของภาษาก็ เ ป น เกณฑ ที่ เ ป น อิ ส ระจาก สภาวะจิ ต เป น เกณฑ ที่ ม าจากโลกภายนอกทั้ ง สิ่ ง แวดล อ มทางธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มทางสังคม ซึ่งเปนเกณฑกลางที่ชัดเจน ที่ผูพูดทุกคนสามารถรับรู เกณฑรว มกัน ตัวอยางเชน เกณฑในการตัดสินคาความ จริงของการรายงานประสบการณการเห็นมะเขือเทศ ทีส่ กุ เต็มทีด่ ว ยขอความทีว่ า “มะเขือเทศสีแดง” สิง่ ทีเ่ ปน เกณฑในการตัดสินคาความจริงของขอความนี้คือ การ ใชคำ�วา “มะเขือเทศ” ของคนในชุมชนที่ใชภาษานั้นๆ ถาในชุมชนเห็นวามะเขือเทศที่สุกเต็มที่ในธรรมชาติ เปนสีแดง ผูพ ดู ทีอ่ ยูใ นชุมชนดังกลาวก็จะสามารถตัดสิน ไดเลยวา ขอความดังกลาวเปนจริง พัทนัมจึงปฏิเสธ สมมติฐาน (1) แตยอมรับสมมติฐาน (2) โดยอาศัยความ เขาใจเกี่ยวกับสภาวะจิตลักษณะกวาง 2.) ตัวอยางแยงเรื่องโลกแฝด ในการเสนอตัวอยางเรื่องโลกแฝด (The Twin Earth) นี้พัทนัมไดนำ�มโนทัศนเรื่อง “โลกที่เปนไปได” (Possible world) ของครีปคี (Saul Kripke) (Kripke 1972) มาปรับใชดังนี้ สมมติวากาแล็กซีของเรานั้นอาจมีดาวดวงหนึ่ง เปนโลกแฝดของโลกจริง (โลกจริงที่เราอาศัยอยู) โลก แฝดนีม้ ที กุ อยางเหมือนกันกับโลกจริง ทัง้ สภาพแวดลอม ภาษาที่คนในโลกแฝดพูดก็เหมือนกับภาษาที่คนในโลก จริงพูด คนทีอ่ าศัยอยูใ นโลกจริงก็มแี ฝดทีอ่ าศัยอยูใ นโลก แฝด แฝดในโลกแฝดก็เหมือนกับคนในโลกจริง ซึง่ ความ เหมือนกันนี้คือการเหมือนกันแบบโมเลกุลตอโมเลกุล กับคนในโลกจริงทุกอยางทั้งรางกายรวมถึง สภาวะจิต ความคิด ความรูสึก แตสิ่งเดียวของโลกแฝดที่ตางจาก โลกจริงคือ ของเหลวที่เรียกวา “น้ำ�” ในโลกแฝดไมใช ุ สมบัตทิ วั่ ไป H2O แตเปนโครงสรางทางเคมี XYZ แตคณ ของ XYZ นั้นเหมือนกับ H2O คือ เปนของเหลวไรสี ไรกลิน่ ดับกระหาย ในมหาสมุทร ทะเลสาบ แมน้ำ�บรรจุ XYZ ฝนที่ตกลงมาก็เปน XYZ เมื่อยานอวกาศจากโลก จริงไปยังโลกแฝด ในครั้งแรกคนจากโลกจริงอาจจะเขา ใจผิดคิดวาคำ�วา “น้ำ�” ในโลกแฝดมีความหมายเหมือน

27


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

กับ “น้�ำ ” ในโลกจริง แตเมือ่ ตรวจสอบก็จะพบวา “ในโลก แฝด ‘น้�ำ ’ หมายถึง XYZ” สิง่ ทีเ่ รียกวา “น้�ำ ” ในโลกแฝด ไมใชน้ำ� เชนเดียวกันเมื่อยานอวกาศจากโลกแฝดมายัง โลกจริง ในครั้งแรกอาจเขาใจผิดวา “น้ำ�” ในโลกจริงมี ความหมายเหมือน “น้�ำ ” ในโลกแฝด แตเมือ่ ตรวจสอบก็ พบวา “ในโลกจริง ‘น้ำ�’ หมายถึง H2O” (Putnam 1996 : 9 -10) ตั ว อย า งโลกแฝดเป น ตั ว อย า งแย ง ต อ เกณฑ กำ�หนดความหมายจากภายใน (ทฤษฎีสภาวะจิตกำ�หนด ความหมาย) ดังนี้ ประการที่หนึ่ง สภาวะจิตของผูพูดไมเพียงพอ แกการกำ�หนดความหมาย เนื่องจาก คนในโลกจริงและ คนในโลกแฝดมีอินเทนชัน (เนื้อหาที่ไดจากการรับรูใน สภาวะจิตลักษณะแคบ) ของ “น้ำ�” เหมือนกันคือ “เปน ของเหลว ไรสี ไรกลิน่ ดับกระหาย” แตสงิ่ ทีเ่ รียกวา “น้�ำ ” ในโลกจริ ง และโลกแฝดต า งกั น ซึ่ ง แสดงให เ ห็ น ว า อินเทนชันของ “น้ำ�” สามารถบงถึงสิ่งอื่น (XYZ) ที่ไมใช น้ำ� (H2O) อินเทนชันจึงไมสามารถกำ�หนดเอ็กเทนชัน ของ “น้ำ�” ไดอยางแทจริง เอ็กเทนชันจึงไมไดขึ้นอยูกับ อินเทนชัน ดังนั้น สภาวะจิตไมเพียงพอแกการกำ�หนด ความหมาย ประการที่สอง ถาอธิบายใหอินเทนชัน กำ�หนด เอ็กเทนชันแลว คำ�จะไมสามารถบงถึงสิ่งในโลกได อยางแทจริง กลาวคือ อินเทนชันของ “น้ำ�” คือ “เปน ของเหลว ไรสี ไรกลิ่น ดับกระหาย” สามารถบงถึง XYZ ซึ่งไมใชน้ำ� คำ�วา “น้ำ�” จึงไมสามารถบงถึงน้ำ� ไดอยางแทจริง ซึ่งแสดงใหเห็นวา ภาษาไมสามารถ บงถึงโลกไดอยางแทจริง จึงใหทฤษฎีเกณฑกำ�หนด ความหมายจากภายในไมสามารถอธิบายความสัมพันธ ระหวางภาษากับโลกได พัทนัมเสนอใหธรรมชาติทแี่ ทจริงของสิง่ (Actual nature) เปนเอ็กเทนชันของคำ�เรียกประเภทธรรมชาติ ธรรมชาติที่แทจริงของสิ่ง ไดแก โครงสรางภายในของ สิ่งธรรมชาติ (Microstructure) รหัสพันธุกรรมของ สัตวและพืช โครงสรางทางเคมีของธาตุ เชน H2O Au Cu เปนตน ซึ่งคนทั่วไปไมมีความรูที่จะตรวจสอบถึง โครงสรางภายในของสิ่งในธรรมชาติได วิธีที่จะตรวจ สอบโครงสรางภายในของสิ่งธรรมชาติไดคือ วิธีตรวจ

28

สอบทางวิทยาศาสตร พัทนัมอธิบายวา โครงสราง ภายในของสิ่งธรรมชาติไมไดเปนเพียงสัญลักษณ เชน “H2O” “Au” “Cu” แตเปนโครงสรางภายในที่ซอนอยูใน สิ่งธรรมชาติ ตัวอยาง เอ็กเทนชันของ “น้ำ�” คือ H2O ไมใชเปนเพียงสัญลักษณ “H2O” แตหมายถึงสิ่งที่มี องค ป ระกอบทางเคมี เ ป น ไฮโดรเจนสองโมเลกุ ล ต อ ออกซิเจนหนึ่งโมเลกุล (Putnam 1996 : 23 - 24) ตัวอยางแยงของพัทนัมไดแสดงใหเห็นแลววา ตามทัศนะทฤษฎีเกณฑกำ�หนดความหมายจากภายใน ทำ�ให อินเทนชัน ของ “น้�ำ ” ไมสามารถกำ�หนดเอ็กเทนชัน ของ “น้ำ�” ไดอยางแทจริง สภาวะจิตจึงไมเพียงพอแก การกำ�หนดความหมาย และทฤษฎีดังกลาวไมสามารถ อธิบายความสัมพันธระหวางภาษากับโลกภายนอกได พัทนัมจึงเสนอสิ่งภายนอกเปนสิ่งที่กำ�หนดความหมาย ไดแก ทฤษฎีเกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก 3. ทฤษฎีเกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก ทฤษฎี ค วามหมายของพั ท นั ม ประกอบด ว ย มโนทัศนส�ำ คัญสามมโนทัศนดงั นี ้ มโนทัศนการแบงงาน กันทำ�ทางภาษา มโนทัศนตัวชี้แข็งและการบงชี้ และ มโนทัศนความหมายทั่วไป 1.) มโนทัศนการแบงงานกันทำ�ทางภาษา พัทนัม เสนอใหธรรมชาติที่แทจริงของสิ่ง เปน เอ็กเทนชันของคำ�เรียกประเภทธรรมชาติ ผูพูดจึงไม สามารถใชมโนทัศนทเี่ ชือ่ มโยงกับคำ�กำ�หนดเอ็กเทนชัน ของคำ�ได เพราะการรูธรรมชาติที่แทจริงของสิ่งไดนั้น ตองใชวิธีตรวจสอบทางวิทยาศาสตร ซึ่งผูเชี่ยวชาญ เทานัน้ ทีม่ คี วามรู  พัทนัมจึงเสนอมโนทัศน “การแบงงาน กันทำ�ทางภาษา” การแบงงานกันทำ�ทางภาษา (The Division of linguistic labor) เปนปรากฏการณทางสังคมของ ชุมชนผูใชภาษาซึ่งมีการแบงกลุมผูเชี่ยวชาญออกจาก ผูใชภาษาทั่วไป กลาวคือ กลุมผูเชี่ยวชาญเปนกลุม ที่รูความหมายภาษาไดดีกวาคนอื่นในชุมชน ตัวอยาง เชนกลุมผูเชี่ยวชาญสามารถใชคำ�วา “เอลม” ไดดีกวา คนอื่นในชุมชน คือสามารถแยกออกวาตนใดคือตน เอลม ตนใดคือตนบีช ขณะที่คนทั่วไปแยกแยะไมออก การแบงงานกันทำ�ทางภาษามีลกั ษณะเปนดังนี้ ในกรณี


ทฤษฎีความหมายในทัศนะของพัทนัม : เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก ณฐิกา ครองยุทธ

คำ�วา “ทอง” คนทัว่ ไปในชุมชนทีท่ �ำ งานใสเครือ่ งประดับ ทองและทำ�งานขายเครื่องประดับทองรูจักคำ�วา “ทอง” คือ เปนโลหะสีทอง มีคุณคาทางรสนิยมและเศรษฐกิจ ฯลฯ กลุมคนที่ทำ�งานเกี่ยวกับทองตางกันก็จะรูความ หมายเกี่ยวกับ “ทอง” ไดแตกตางกัน เชน กลุมคนที่ ใสเครื่องประดับทองจะรูจัก “ทอง” ในความหมายระดับ หนึ่ง และกลุมคนที่ขายเครื่องประดับทองจะรูจัก “ทอง” มากกวากลุมคนที่ใสเครื่องประดับทอง แตคนทั้งสอง กลุมไมรูวิธีตรวจสอบเอ็กเทนชันที่แทจริงของ “ทอง” และพวกเขาไมรูวิธีตรวจสอบวาสิ่งใดคือทองที่แทจริง หรือ สิ่งใดที่เปนเอ็กเทนชันของ “ทอง” ที่แทจริง พวก เขาสามารถปรึกษากลุม ผูเ ชีย่ วชาญทีส่ ามารถตรวจสอบ ทองทีแ่ ทจริง กลุม ผูเ ชีย่ วชาญจึงเปนกลุม ทีร่ เู อ็กเทนชัน ที่แทจริงของ “ทอง” และเปนกลุมที่รูความหมายของ “ทอง” ไดดีกวากลุมงานอื่นๆ “การแบ ง งานกั น ทำ � ทางภาษา” ในอี ก ความ หมายหนึ่งก็คือ การเสนอใหสังคม ซึ่งประกอบดวย ชุมชนผูใชภาษาที่ประกอบไปดวยกลุมผูพูดทั่วไปและ กลุม ผูเ ชีย่ วชาญ กำ�หนดเอ็กเทนชันของคำ� ดังทีก่ ลาวมา แลววาพัทนัมยอมรับการนิยาม “ความหมาย” วา สวน หนึง่ ของ “ความหมาย” คือ ความหมายระดับเอ็กเทนชัน (การนิยาม “ความหมาย” ในสวนทีเ่ หลือนัน้ จะอธิบายอีก ครั้งในหัวขอที่ 3.)) การจะเขาใจวาเอ็กเทนชันกำ�หนด ความหมายไดนนั้ ตองเขาใจไดดว ยวา “การแบงงานกัน ทำ�ทางภาษา” ทำ�งานอยางไร พัทนัมใชมโนทัศนเรื่อง “สายโซสาเหตุที่มาของชื่อ” (Causal – Historical Theory) ในการอธิบายการทำ�งานของ “การแบงงานกัน ทำ�ทางภาษา” (Putnam 1996 : 29) สายโซสาเหตุที่มาของชื่อ พัทนัมใชมโนทัศนเรื่อง “สายโซสาเหตุที่มาของ ชื่อ” ใน ทฤษฎีการบงถึงเชิงสาเหตุ ของโซล คริปคี เพื่อการอธิบายการทำ�งานของ “การแบงงานกันทำ�ทาง ภาษา” ทฤษฎีดงั กลาวของคลิปคีอธิบายความหมายของ ชื่อเฉพาะ เปนสิ่งที่คำ�บงถึง ที่ไดจากการใชชื่ออยางมี สาเหตุทมี่ าของชือ่ (Kripke 1972) พัทนัมไดน�ำ แนวคิด ของทฤษฎี ดั ง กล า วมาขยายใช กั บ คำ � เรี ย กประเภท ธรรมชาติ มโนทัศนเรื่อง “สายโซสาเหตุที่มาของชื่อ” มี ลักษณะดังนี้

คนในชุมชนที่ใชภาษารวมกันสามารถรูจักการ ใชคำ�จากคนในชุมชน เริ่มจากเหตุการณการแนะนำ� คำ� จากนั้นคนที่อยูในเหตุการณจะสงตอการใชตอไปยัง คนอืน่ ๆในชุมชน คนจะเรียนรูก ารใชค�ำ จากคนกอนหนา นั้นและสงตอไปเปนเหมือนสายโซการใชคำ� คนที่อยูใน สายโซนจี้ ะใชคำ�บงถึงสิง่ เดียวกัน เมือ่ เกิดความสับสนก็ สามารถสืบยอนกลับไปหาที่มาของคำ�นั้น โดยสามารถ ยอนกลับไปถึงเหตุการณการแนะนำ�คำ� “การแบงงานกันทำ�ทางภาษา” คือ การที่ชุมชน ที่ใชภาษานั้นแบงออกเปนกลุมงานตางๆ ซึ่งรูความ หมายตางกัน และกลุมผูเชี่ยวชาญคือกลุมคนที่รูความ หมายไดดีกวาคนกลุมอื่น เนื่องจากผูเชี่ยวชาญรูวิธี การตรวจสอบเอ็กเทนชันที่แทจริงของคำ� จึงรูวาสิ่งใด คือเอ็กเทนชันที่แทจริงของคำ� คนในกลุมงานอื่นๆ นั้น ก็สามารถปรึกษาผูเชี่ยวชาญไดเมื่อเกิดความสับสน เกี่ ย วกั บ เอ็ ก เทนชั น ของคำ � เอ็ ก เทนชั น ของคำ � คื อ โครงสรางภายในของสิ่งธรรมชาติ ผูพูดทั่วไปจะรูจักคำ� แตไมสามารถใชมโนทัศนที่ตนมีระบุเอ็กเทนชันของ คำ�ได แตเมื่อผูพูดอยูใน “การแบงงานกันทำ�ทางภาษา” ผูพูดจะสามารถระบุเอ็กเทนชันที่แทจริงของคำ�ได โดย การเรียนรูจากสายโซการสงตอการใชคำ� ผูพูดที่อยูใน สายโซนี้สามารถใชคำ�บงถึงสิ่งเดียวกันกับคนในชุมชน เมื่อเกิดความสับสนเขาสามารถสืบยอนกลับไปหาที่มา ของคำ�หรือปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ผูพูดที่อยูในสายโซการ ใชคำ�จึงใชคำ�บงถึงเอ็กเทนชันที่แทจริงได ภาษาจึง สามารถบงถึงสิง่ ในโลกได “การแบงงานกันทำ�ทางภาษา” แสดงใหเห็นวา การกำ�หนดเอ็กเทนชันสวนหนึง่ กำ�หนด โดยการใชคำ�ของคนในสังคม ซึ่งก็คือ ผูพูดคนเดียว ไมสามารถกำ�หนดเอ็กเทนชันของคำ�ได ผูพ ดู ตองพึง่ พา คนในสังคม จึงจะสามารถใชค�ำ บงถึงเอ็กเทนชันทีแ่ ทจริง ของคำ�ได แตการกำ�หนดเอ็กเทนชันในอีกสวนหนึ่งคือ ผูพูดสามารถกำ�หนดเอ็กเทนชันไดดวยตนเอง ไดแก กรณีที่ผูพูดกำ�หนดการใชคำ�ของตนเอง ผูพูดตั้งใจ อยากจะใชคำ�ใดคำ�หนึ่ง บงถึงสิ่งหนึ่ง และเชื่อมโยงกับ ความเขาใจบางประการใหกบั คำ�ดังกลาว ซึง่ การใชค�ำ ใน ลักษณะนี้เปนการใชคำ�กึ่งสวนตัว (คนอื่นสามารถเรียน รูก ารใชค�ำ ทีเ่ รากำ�หนดได แตไมไดเปนการใชค�ำ ทีไ่ ดรบั การยอมรับในสังคม) ในกรณีนผี้ พู ดู จะเปนผูเ ชีย่ วชาญใน

29


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

การใชค� ำ ผูพ ดู จึงสามารถกำ�หนดเอ็กเทนชันดวยตนเอง พัทนัมอธิบายวา การกำ�หนดเอ็กเทนชันโดยสังคม ถือ เปน “การใชภาษาเชิงสังคม” (Sociolinguistics) ขณะที่ การใชคำ�กึ่งสวนตัว ถือเปน “ความสามารถในการใชคำ� ระดับปจเจก” (Individual competence) “ความสามารถ ในการใชคำ�ระดับปจเจก” ผูเขียนจะอธิบายอีกครั้งใน หัวขอ 3.) 2.) มโนทัศนตัวชี้แข็งและคำ�บงชี้ จากตัวอยางโลกแฝดแสดงใหเห็นวา ถามโน ทัศน (เนือ้ หาทีไ่ ดจากการรับรูใ นสภาวะจิตลักษณะแคบ) ของคำ�กำ�หนดเอ็กเทนชันแลว คำ�จะบงถึงสิ่งอื่นที่ไมใช เอ็กเทนชันของคำ�นั้น พัทนัมเห็นวาคำ�เรียกประเภท ธรรมชาติเปนตัวชี้แข็งและมีลักษณะเปนคำ�บงชี้ เพราะ ตัวชี้แข็งสามารถบงถึงสิ่งที่เปนเอ็กเทนชันของคำ�นั้น ไดเสมอในทุกโลกที่เปนไปได และคำ�บงชี้ คือการใชคำ� ที่ตองขึ้นอยูกับบริบทของการใชคำ�นั้น ตัวชี้แข็ง (Rigid designator) เปน มโนทัศนของ ครีปคี (Kripke 1972) ทีพ่ ทั นัมนำ�มาขยายใชกบั คำ�เรียก ประเภทธรรมชาติ โดยเสนอใหคำ�เรียกประเภทธรรม ชาติเปนตัวชี้แข็ง ตัวชี้แข็งหมายถึง การที่คำ�สามารถ ระบุถึงสิ่งรองรับคำ�นั้น ในทุกโลกที่เปนไปได กลาวคือ ถาเอ็กเทนชันของคำ�เรียกประเภทธรรมชาติ ‘A’ คือ โครงสรางภายใน H แลว คำ� ‘A’ จะตองบงถึง H ในทุก โลกที่เปนไปไดที่มี H อยู ดังนั้น เอ็กเทนชันของ “น้ำ�” คือ H2O คำ�วา “น้ำ�” จะตองบงถึง H2O เสมอในทุกโลก ที่เปนไปไดที่มี H2O อยู คำ�อธิบายเรื่องตัวชี้แข็งดังกลาว คือกรณีที่มี การค น พบทางวิ ท ยาศาสตร แ ล ว ว า น้ำ � เป น สิ่ ง ที่ มี องคประกอบทางเคมีที่ H2O และมีผูเชี่ยวชาญที่มีความ รูเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบสิ่งที่เปนน้ำ� ขณะเดียวกัน ผูเชี่ยวชาญก็เปนผูที่นิยามความหมายของคำ�วา “น้ำ�”

อยางเปนทางการวา คำ�วา “น้ำ�”หมายถึง H2O ผูพูด ทั่วไปสามารถใชคำ�วา “น้ำ�” บงถึงเดียวกันได จาก การใชค�ำ ตามสายโซการใชของคนในชุมชนและปรึกษา ผูเชี่ยวชาญ เมื่อเกิดความสงสัย แตในกรณีที่ยังไมมี การพัฒนาทางดานวิทยาศาสตรเชนกอนป ค.ศ. 1750 เปนปที่ยังไมมีการคนพบโครงสรางทางเคมีของน้ำ�เปน H2O ความหมายของ “น้ำ�” จะนิยามโดยการแนะนำ�คำ� ตัวอยางเชน นิยามโดยการชี้เปนตัวอยาง (Ostensive definition) โดยชี้ไปที่แกวที่มีน้ำ�บรรจุอยูแลวพูดวา “นี่คือน้ำ�” และคำ�วา “น้ำ�” เปนตัวชี้แข็งจะมีลักษณะดังนี้ “สิง่ ใดก็ตาม (ในโลกทีเ่ ปนไปได) จะเปนน้� ำ ก็ตอ เมือ่ สิง่ นัน้ มีความสัมพันธทเี่ หมือนกับ สิง่ นีท้ เี่ ปนตัวอยาง ในเหตุการณการแนะนำ�นี้” (Putnam 1975 : 17) หรือสามารถเขียนในรูปแบบสัญลักษณดังนี้ (สำ�หรับทุกโลกที่เปนไปได W) (สำ�หรับทุก x ใน W ) (x เปน น้ำ� = x มีความสัมพันธที่เหมือนกับสิ่งนี้ใน โลกจริง) 6 (Putnum 1996 : 16) ถึงแมวา ยังไมมกี ารคนพบทางวิทยาศาสตรเกีย่ ว กับน้� ำ สิง่ ทีเ่ รียกวา “น้�ำ ”ในโลกแฝด ก็ไมใชน� ้ำ เนือ่ งจาก สิ่งที่เรียกวา “น้ำ�” ในโลกแฝดมีโครงสรางภายในที่ ไมเหมือนกับสิ่งที่ใชในการนิยามคำ�วา “น้ำ�”ในโลกจริง ถึงแมวา ลักษณะภายนอกนัน้ จะเหมือนกับน้�ำ ในโลกจริง ก็ตาม สำ�หรับแนวทางที่คำ�สามารถบงถึงสิ่งเดียวกันใน ทุกโลกที่เปนไปไดคือ การใชคำ�แบบสายโซสาเหตุที่มา ของชือ่ ซึง่ จะอธิบายอีกครัง้ ในตอนสรุปของสวนทีส่ องนี้ คำ�บงชี้ (Indexical word, Token reflective) ไดแก “ฉัน” “ตอนนี้” “ตรงนี้” คำ�ประเภทนี้เปนคำ�ที่ชี้ ไปที่วัตถุโดยตรง ความหมายของคำ�ประเภทนี้คือ สิ่งที่ คำ�ชี้ไปถึง เอ็กเทนชันของคำ�ประเภทนี้ขึ้นอยูกับบริบท (context) ที่คำ�นั้นชี้ไปถึง ไมไดขึ้นอยูกับมโนทัศนที่ เชื่อมโยงกับคำ�ประเภทนี้ ยกตัวอยาง มโนทัศนของ

__________________ 6 (For every world W) (For every x in W) (x is water ≡ x bear sameL to the entity referred to as ‘this’ in the actual world) ‘sameL’ คือ ‘ the relation same liquid to’ หรือ ‘ the relation sameL to’

30


ทฤษฎีความหมายในทัศนะของพัทนัม : เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก ณฐิกา ครองยุทธ

คำ�วา “ฉัน” คือ คำ�ที่ใชแทนบุรุษที่หนึ่ง แตมโนทัศน ดังกลาวมโนทัศนเดียว สามารถบงถึงเอ็กเทนชันของ คำ�ที่ตางกัน เมื่อเปลี่ยนบริบทการใชคำ� เอ็กเทนชันของ คำ�ประเภทนี้จึงขึ้นอยูกับบริบทที่ใชคำ� ไมไดขึ้นอยูกับ มโนทัศนของคำ� พัทนัมยกตัวอยางเชน กรณีโลกแฝด เราในโลก จริงกำ�ลังคิดวา “ฉันปวดหัว” ขณะเดียวกัน แฝดเราใน โลกแฝดกำ�ลังคิดวา “ฉันปวดหัว” เอ็กเทนชันของคำ�วา “ฉัน” ในความคิดของแฝดเราคือ แฝดเราในโลกแฝด ขณะทีเ่ อ็กเทนชันของ “ฉัน” ในความคิดของเราคือตัวเรา เองในโลกจริง แตมโนทัศน (เนื้อหาในสภาวะจิต) ของ เราและแฝดเรานั้นเหมือนกัน ดังนั้น คำ�วา “ฉัน” จึงมี มโนทัศนทเี่ หมือนกันแตบง ถึงเอ็กเทนชันของคำ�ตางกัน (Putnam 1996 : 18) พั ท นั ม เสนอให คำ � เรี ย กประเภทธรรมชาติ มี ลักษณะเปนคำ�บงชี้ เอ็กเทนชันของคำ�เรียกประเภท ธรรมชาติจึงขึ้นอยูกับบริบทที่ใชคำ� ตัวอยาง คำ�วา ”น้ำ�” มีลักษณะเปนคำ�บงชี้ เอ็กเทนชันของ “น้ำ�” จึงขึ้น อยูก บั บริบททีใ่ ชค� ำ กลาวคือ คำ�วา “น้�ำ ” คือ สิง่ ทีม่ คี วาม สัมพันธแบบบงชี้โดยตรงกับสิ่งนี้ (H2O)ที่เรียกวา “น้ำ�” ในที่แหงนี้ในโลกจริง (Putnam 1996 : 19) เมื่ อ คำ � เรี ย กประเภทธรรมชาติ มี ลั ก ษณะเป น คำ�บงชี้ เอ็กเทนชันของคำ�จะขึ้นอยูกับบริบทที่ใชคำ� อินเทนชันของคำ�เรียกประเภทธรรมชาติจึงไมสามารถ กำ�หนดเอ็กเทนชันของคำ�ได (Putnam 1996 : 18 - 19) บริ บ ทที่ใชคำ � ตามความหมายของพัท นั ม นั้ น หมาย ถึ ง การใช คำ � ของคนในสั ง คม (การแบ ง งานกั น ทำ � ทางภาษา) และรวมถึ ง บริ บ ททางสิ่ ง แวดล อ มทาง กายภาพซึ่ ง ได แ ก ธรรมชาติ ที่ แ ท จ ริ ง ของสิ่ ง ใน สิ่ ง แวดล อ มของชุ ม ชนที่ ใ ช ภ าษานั้ น ด ว ย คำ � เรี ย ก ประเภทธรรมชาติเปนคำ�บงชี้ที่เอ็กเทนชันของคำ�ขึ้น อยูกับการใชคำ�ของคนในสังคมและสิ่งแวดลอมทาง กายภาพ ซึ่งสอดคลองกับ “การแบงงานกันทำ�ทาง ภาษา” ที่อธิบายการกำ �หนดเอ็กเทนชัน ของคำ �โดย สังคม ทีม่ กี ลุม ผูเ ชีย่ วชาญทีส่ ามารถตรวจสอบธรรมชาติ ที่แทจริงของสิ่งตามสิ่งแวดลอมของชุมชนนั้นๆ พัทนัมไดเสนอใหคำ�เรียกประเภทธรรมชาติ เปนตัวชี้แข็งและคำ �บงชี้ โดยตัวชี้แข็งหมายถึง คำ�

สามารถบงถึงสิง่ เดียวกันในทุกโลกทีเ่ ปนไปได กลาวคือ การที่ คำ � สามารถระบุ ถึ ง สิ่ ง รองรั บ คำ � นั้ น ในทุ ก โลกที่ เปนไปได ในแนวทางที่วาถาเอ็กเทนชันของคำ�เรียก ประเภทธรรมชาติ ‘A’ คือโครงสรางภายใน H แลว คำ� ‘A’ จะตองบงถึง H ในทุกโลกที่เปนไปได ที่มี H อยู ดังนั้น เอ็กเทนชันของ “น้ำ�” คือ H2O คำ�วา “น้ำ�” จะตองบงถึง H2O เสมอในทุกโลกทีเ่ ปนไปไดทมี่ ี H2O อยู และแนวทาง ที่คำ�สามารถบงถึงสิ่งเดียวกันในทุกโลกที่เปนไปไดคือ การใชคำ�ตามสายโซสาเหตุที่มาของชื่อ โดยเริ่มจาก เหตุการณการแนะนำ�คำ� ตัวอยางเชน นักวิทยาศาสตรใน โลกจริงไดแนะนำ�คำ�วา “น้ำ�” โดยชี้ไปที่แกวที่บรรจุ ของเหลวแลวอธิบายวา “นีค่ อื น้� ำ ซึง่ มีโครงสรางเคมีเปน H2O” จากนัน้ ผูท อี่ ยูใ นเหตุการณจะสงตอการใชค�ำ ไปยัง คนอืน่ ในสังคม การสงตอการใชค�ำ จะเปนเหมือนสายโซ การใชค�ำ จนกระทัง้ กระจายไปทัว่ ชุมชน และคนในชุมชน สามารถเรียนรูการใชคำ�จากสายโซการใชคำ�ดังกลาว ผูพูดที่อยูในสายโซการใชคำ�นี้ตั้งใจที่จะใชคำ�บงถึงสิ่ง เดียวกันกับสาเหตุแรกเริม่ ของการใชค�ำ คือใชค�ำ วา “น้�ำ ” ำ คำ�วา“น้�ำ ” จึงบงถึง H2O บงถึง H2O ตามสายโซการใชค� เสมอและไมสามารถบงถึงสิง่ อืน่ ได (XYZ) เมือ่ เกิดความ สงสัยก็สามารถสืบยอนกลับไปหาที่มาของการใชคำ� หรือปรึกษาผูเชี่ยวชาญ คำ�จึงสามารถบงถึงสิ่งเดียวกัน ในทุกโลกที่เปนไปได และคำ�เรียกประเภทธรรมชาติมี ลักษณะเปนคำ�บงชี้ หมายถึง เอ็กเทนชันของคำ�เรียก ประเภทธรรมชาติจะขึ้นอยูกับบริบทที่ใชคำ�และไมขึ้น กับมโนทัศนของคำ�เรียกประเภทธรรมชาติ ซึ่ง “บริบท ที่ใชคำ�” หมายถึง การใชคำ�ของชุมชนและสิ่งแวดลอม ทางธรรมชาติของชุมชน กลาวคือ การใชคำ�วา “น้ำ�” ใน โลกจริง หมายถึง สิง่ ทีม่ โี ครงสรางทีเ่ หมือนกับของเหลว นี้ (H2O) ที่เรียกวา “น้ำ�”ในที่แหงนี้ในโลกจริง ขณะที่ การใชคำ�วา “น้ำ�” ในโลกแฝด หมายถึง ของเหลว XYZ ไมใชน้ำ� เหมือนที่ชาวโลกจริงใช 3.) มโนทัศนความหมายทั่วไป จากหัวขอที่ 1) ไดอธิบายถึง “ความสามารถใน การใชภาษาของปจเจก” คือ ผูพูดกำ�หนดการใชคำ�ดวย ตนเอง ในลั ก ษณะกึ่ ง ส ว นตั ว การใช คำ � ในลั ก ษณะ ดังกลาวทำ�ใหผูพูดสามารถเปนผูกำ�หนดเอ็กเทนชัน ของคำ�ดวยตนเอง โดยไมตองพึ่งพาคนอื่นในสังคม

31


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

แตพัทนัมยังไดอธิบายถึง ความสามารถในการใชภาษา ของปจเจกอีกประเภทคือ ความสามารถในการเรียนรู การใชคำ� ซึ่งอยางนอยที่สุด ปจเจกตองเรียนรูการใชคำ� เพือ่ สามารถนำ�คำ�ไปใชเพือ่ การสนทนา พัทนัมอธิบายวา ผูพูดที่รูจักการใชคำ�จะตองมีความเขาใจเกี่ยวกับคำ�นั้น ซึ่งความเขาใจดังกลาว พัทนัมเรียกวา “ความหมาย ทั่วไป” (Putnam 1996 : 29 – 31) ความหมายทั่ ว ไปคื อ ความเข า ใจร ว มกั น (Conventional idea) เกี่ยวกับคำ� เปนความหมายอยาง กวางๆ และไมใชความหมายที่ถูกตองแมนยำ� เชน เปนความเขาใจเกี่ยวกับลักษณะภายนอกทั่วไปของสิ่ง x พฤติกรรมทั่วไปของสิ่ง x เปนตน ยกตัวอยางคำ�วา “เสือโครง” (Tiger) ความหมายทัว่ ไปทีเ่ ชือ่ มโยงกับ “เสือ โครง” คือ สัตวมลี ำ�ตัวสีเหลือง มีลายทางดำ� ซึง่ “ลำ�ตัวสี เหลือง ลายทางดำ�” ไมใชคณ ุ สมบัตทิ สี่ ำ�คัญของการเปน เสือโครง เมื่อเราพบเสือโครงผิดปกติเปนเสือโครงขาว ไมมีลายดำ� (Albino tiger) เราก็ไมถือวาสิ่งนั้นไมใชเสือ โครง หรือในกรณีคำ�วา “ทอง” ความหมายทั่วไปของ “ทอง” คือ วัตถุมีคาและมีสีเหลือง แมเมื่อตรวจสอบ ถึงโครงสรางทางเคมีของทองบริสุทธิ์จะมีสีขาว แตใน ตัวบงชี้ทางไวยากรณ สามานยนาม คำ�รูปธรรม

ชุมชนที่ใชภาษานั้นตางก็เขาใจ “ทอง” คือวัตถุที่มีคา และมีสีเหลือง ความหมายทั่วไป ยังแสดงใหเห็นวา ความหมายคำ�ไมจำ�เปนตองเปนความจริงทางตรรกะ (Putnam 1996 : 29 – 31) พัทนัมอธิบายวาความหมายทั่วไปถือเปนขอ บั ง คั บ สำ � หรั บ การสื่ อ สารในสั ง คม ผู  พู ด ในชุ ม ชนที่ สามารถใชค�ำ เพือ่ การสือ่ สารไดนนั้ อยางนอยทีส่ ดุ ตองรู ความหมายทั่วไป ตัวอยางเชน ผูพูดที่รูจักคำ�วา “เสือ โครง” ตองรูวา เสือเปนสัตวมีลำ�ตัวสีเหลือง มีลายทาง ดำ� และอยางนอยที่สุดผูพูดตองสามารถแยกแยะเสือ โครงออกจากเสือดาว (Leopard) 7 ได (เสือดาวมีลาย จุดดำ�) แตไมจำ�เปนตองสามารถแยกแยะตนเอลมออก จากตนบีช (Putnam 1996 : 30 - 33) พัทนัม เสนอให “ความหมาย” มีลักษณะเปนรูป แบบคำ�บรรยาย (The Normal form description) ซึ่งมี องคประกอบดังนี้ (1) ตัวบงชี้ทางไวยากรณ (Syntactic markers) (2) ตัวบงชี้ทางอรรถศาสตร (Semantic markers) (3) ความหมายทั่วไป (Stereotype) และ (4) เอ็กเทนชัน (Extension) รูปแบบคำ�บรรยายนี้จะเปน สิ่งที่อธิบายความหมายของคำ� เชน คำ�วา “น้ำ�” จะมีรูป แบบคำ�บรรยายความหมายดังนี้

ตัวบงชี้ทางอรรถศาสตร ความหมายทั่วไป คำ�เรียกประเภทธรรมชาติ ไรสี ไรกลิ่น เป็นของเหลว ดับกระหาย

เอ็กเทนชัน H 2O

__________________ 7 เสือดาว (Leopard) เปนสัตวตระกูลแมว (Felidae) จัดอยูในกลุมแมวยักษ (Big cat) เหมือนกับเสือโครง โดยแมวยักษมี 4 ชนิด ไดแก เสือโครง (tiger) สิงโต (Lion) เสือดาว และเสือจากัวร (Jaguar) เสือดาวมีลกั ษณะลำ�ตัวสีเหลือง มีลายจุดสีด�ำ ทึบ ขนาดตัวเสือดาว เล็กที่สุดในแมวยักษ ขณะที่เสือจากัวรจะมีลักษณะที่คลายกับเสือดาวมากเพราะมีล�ำ ตัวสีเหลืองกับลายจุดดำ� แตเสือจากัวรจะมีขนาด หัวที่ใหญกวาเสือดาวและมีลายจุดสีด�ำ เปนรูปวงแหวนที่ดวงใหญกวาเสือดาว ตามแนวคิดของพัทนัมจะถือวา ลักษณะมีลำ�ตัวสีเหลือง มีลายจุดสีดำ�ของเสือดาว เปนความหมายทั่วไปของคำ�วา “เสือดาว” สำ�หรับความหมายทั่วไปของ “เสือดาว” นี้เปนความหมายเบื้องตนที่ จะทำ�ใหผูพูดสามารถแยกแยะเสือดาวออกจากเสือโครงได และรูวาคำ�วา “เสือดาว” และ “เสือโครง” มีความหมายตางกันและบงถึงสิ่งที่ ตางกัน แตมโนทัศนเรือ่ งความหมายทัว่ ไปไมไดเรียกรองใหผพู ดู ทัว่ ไปตองสามารถแยกแยะเสือดาวออกจากเสือจากัวร ความหมายทัว่ ไป ของ “เสือจากัวร” คือ มีลำ�ตัวสีเหลือง มีลายจุดสีดำ�เปนรูปวงแหวนที่ใหญกวาเสือดาวและมีขนาดหัวที่ใหญกวาเสือดาว ซึ่งความหมาย ทั่วไปของ “เสือจากัวร” และ “เสือดาว” ทำ�ใหผูพูดรูเพียงวาคำ�วา “เสือจากัวร” มีความหมายตางจาก “เสือดาว” และทั้งสองคำ�นี้บงถึงสิ่งที่ ตางกัน เมือ่ เกิดความสับสนผูพ ดู สามารถปรึกษาผูเ ชีย่ วชาญทีม่ คี วามรูร ะดับลึกในการแยกแยะเสือจากัวรกบั เสือดาว สำ�หรับการใชภาษา ไทยของคนสวนใหญทั่วๆ ไปมักจะเรียกแมวยักษวา “เสือ” นำ�หนาแลวตามดวยชนิดของแมวยักษนั้นๆ ยกเวน “สิงโต”

32


ทฤษฎีความหมายในทัศนะของพัทนัม : เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก ณฐิกา ครองยุทธ

รูปแบบคำ�บรรยาย ดังกลาวมาจากการตกลง รวมกัน (Convention) ของชุมชนทีใ่ ชภาษา ความสามารถ ในเรียนรูของปจเจกจะรูไดเพียง องคประกอบที่ (1) ถึง (3) เทานัน้ ปจเจกไมมคี วามสามารถทีจ่ ะรูอ งคประกอบที่ (4) ซึ่งองคประกอบนี้จะเปนหนาที่ของกลุมผูเชี่ยวชาญ รูปแบบคำ�บรรยายดังกลาวนี้ แสดงใหเห็นวา การใช คำ�วา “น้�ำ ” ไมใชเปนเพียงการรูค �ำ บรรยายตางๆ ทีเ่ กีย่ ว กับคำ�วา “น้ำ�” เทานั้น แตการใชคำ�วา “น้ำ�” นั้น จะบงถึง ขอเท็จจริงของน้ำ� ซึ่งก็คือ H2O พัทนัมยอมรับสมมติ ฐานขอที่ (2) ไดแก ความหมาย กำ�หนด เอ็กเทนชัน ซึ่ง ความหมาย ในที่นี้หมายถึง รูปแบบคำ�บรรยาย ดังกลาว ไมใช ความหมายในแง อินเทนชัน ตามทฤษฎี ความหมายแบบเฟรเก (Putnam 1996 : 48 - 49) โดยสรุปแลว พัทนัมเสนอให ความหมาย กำ�หนด จากสังคม (การแบงงานกันทำ�ทางภาษา) และธรรมชาติ ที่ แ ท จ ริ ง ของสิ่ ง ทฤษฎี ค วามหมายของพั ท นั ม จึ ง มี ลักษณะเปน “เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก” ซึ่ง “ภายนอก” หมายถึง สังคมและธรรมชาติที่แทจริง ของสิ่ง พัทนัมเสนอใหคำ�เรียกประเภทธรรมชาติเปน ตัวชี้แข็ง และคำ�บงชี้ ตัวชี้แข็ง ไดแก คำ�สามารถบงถึง สิ่ ง เดี ย วกั น เสมอในทุ ก โลกที่ เ ป น ไปได ที่ มี สิ่ ง นั้ น อยู  กลาวคือ ถาเอ็กเทนชันของคำ�เรียกประเภทธรรมชาติ ‘A’ คือโครงสรางภายใน H แลว คำ� ‘A’ จะตองบงถึง H ในทุกโลกที่เปนไปได ที่มี H อยู และคำ�เรียกประเภท ธรรมชาติจะมีลักษณะเปนคำ�บงชี้ กลาวคือ เอ็กเทนชัน ของคำ�เรียกประเภทธรรมชาติจะขึน้ อยูก บั บริบททีใ่ ชคำ� และไมขึ้นกับมโนทัศนของคำ�เรียกประเภทธรรมชาติ ซึ่ง “บริบทที่ใชคำ�” หมายถึง การใชคำ�ของชุมชนและ สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติของชุมชน ตัวอยางเชน การ ใชคำ�วา “น้ำ�” ในโลกจริง หมายถึง สิ่งที่มีโครงสรางที่ เหมือนกับของเหลวนี้ (H2O) ที่เรียกวา “น้ำ�”ในที่แหงนี้ ในโลกจริง หรือ คำ�วา “ทอง” คือ สิง่ ทีม่ โี ครงสรางภายใน ทีเ่ หมือนกับแรนี้ (Au) ทีเ่ รียกวา “ทอง” ในทีน่ ใี้ นโลกจริง ขณะที่การใชคำ�วา “น้ำ�” ในโลกแฝด หมายถึง ของเหลว XYZ ไมใชน้ำ� เหมือนที่ชาวโลกจริงใช “ความหมาย” ตามแนวคิดของพัทนัมคือ “รูป แบบคำ�บรรยาย” ที่ไดจากการตกลงรวมกันของคนใน

สังคม รูปแบบคำ�บรรยายนี้ เปนสิ่งที่นำ�มาอธิบายความ หมายคำ� ซึ่งผูพูดสามารถเรียนรูรูปแบบคำ �บรรยาย ดังกลาวจากคนในสังคม 4. ประเมินและสรุป ในหัวขอนี้ผูเขียนจะประเมินแนวคิดของพัทนัม เรือ่ งเกณฑก�ำ หนดความหมายจากภายนอก ซึง่ มีทงั้ หมด สองประการ สุดทายจะเปนการสรุปเนื้อหา 1.) ประเมินทฤษฎีเกณฑก�ำ หนดความหมาย จากภายนอกของพัทนัม การเสนอแนวคิดของพัทนัม มีพื้นฐานความคิด จากแบงสภาวะจิตเปนสองลักษณะไดแก สภาวะจิต ลักษณะแคบ และสภาวะจิตลักษณะกวาง พัทนัมโตแยง ทัศนะแบบเกณฑกำ�หนดความหมายจากภายใน โดย เฉพาะทฤษฎีความหมายแบบเฟรเก จากการอธิบายวา ทัศนะดังกลาววางอยูบนพื้นฐานของการเขาใจสภาวะ จิตลักษณะแคบ และพัทนัมเสนอการเขาใจสภาวะจิต ลั ก ษณะกว า งเป น พื้ น ฐานในการเสนอแนวคิ ด เรื่ อ ง เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก ซึ่งผูเขียนได ประเมิ น แนวคิ ด ดั ง กล า วของพั ท นั ม ซึ่ ง แบ ง เป น สอง ประการดังนี้ ประการแรก ผูเขียนเห็นวา แนวคิดของพัทนัม มีขอบกพรองที่สำ�คัญประการหนึ่ง คือการอธิบายขอ ความที่แสดงถึงสภาวะภายใน ซึ่งขอบกพรองนี้เห็น ได ชั ด จากข อ วิ จ ารณ ข องแม็ ค ดาวล ใ นบทความชื่ อ “Putnam on Mind and Meaning” (McDowell 1996) แม็คดาวลเห็นวา พื้นฐานแนวคิดของพัทนัมนั้นมีที่มา จากการที่ พั ท นั ม แบ ง การเข า ใจสภาวะจิ ต เป น สอง ประเภท คื อ สภาวะจิ ต ลั ก ษณะแคบและสภาวะจิต ลั ก ษณะกว า ง การที่ พั ท นั ม แบ ง สภาวะจิ ต เป น สอง ลักษณะดังกลาว เนื่องจากพัทนัมมีความเขาใจเกี่ยวกับ จิตวา “สภาวะจิตเปนสิ่งที่อยูในหัว” จึงทำ�ใหพัทนัม นำ�ไปอธิบายสภาวะจิตลักษณะแคบ และอธิบายตอไป ว า สภาวะจิ ต ดั ง กล า วทำ � ให ค วามหมายมี ที่ ม าจาก สภาวะจิตของปจเจกเพียงอยางเดียว ความหมายจึงไม สามารถเชือ่ มโยงกับสิง่ แวดลอมภายนอก ทัง้ สิง่ แวดลอม ทางสังคมและทางกายภาพ พัทนัมจึงปฏิเสธสภาวะจิต ลั ก ษณะแคบ และให ค วามสำ � คั ญ กั บ สภาวะจิ ต

33


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ลักษณะกวางที่ทำ�ใหความหมายมีที่จากการใชคำ�ของ คนในชุมชนและสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ การใหความ สำ�คัญกับสิ่งที่อยูในโลกภายนอกทั้งทางธรรมชาติและ สังคม ทำ�ใหพัทนัมมองขาม ความสำ�คัญของจิต แม็คดาวลเห็นวา สาเหตุที่ทำ�ใหแนวคิดของ พัทนัมทิ้งความสำ�คัญของจิต สืบเนื่องมาจาก การที่ พัทนัมมีพนื้ ฐานการเขาใจวา จิตดำ�รงอยูใ นหัว และนำ�ไป สูแบงสภาวะจิตเปนสองลักษณะดังกลาว และอธิบาย วาสภาวะจิตลักษณะแคบเปนสภาวะจิตที่ไมสามารถ เชื่อมโยงกับโลกภายนอก แม็คดาวลเห็นวาพัทนัมไม ควรแบงสภาวะจิตตั้งแตตน เพราะการจะเขาใจสภาวะ จิตไดนั้น ไมสามารถแยกออกจากสิ่งแวดลอมรอบตัว เรา การดำ�รงอยูอยางมีจิต (Mental life) ของประธาน เปนแงมุมของชีวิตของเรา (An Aspect of our lives) จิตนั้นดำ�รงอยูในที่ที่เรามีชีวิตอยู จิตจึงเปนหนึ่งเดียว กับชีวติ ของเราและเปนหนึง่ เดียวกับสิง่ แวดลอมรอบตัว เรา 8 (McDowell 1996 : 309) อยางไรก็ดี ผูเขียนเห็นดวยกับขอวิจารณของ แม็คดาวล ที่วิจารณวาพัทนัมใหความสนใจกับการแบง

สภาวะจิตเปนสองลักษณะ และไปใหความสำ�คัญกับ สภาวะจิตลักษณะกวางและการอธิบายวาความหมายมี ทีม่ าจากโลกภายนอก และซึง่ ทำ�ใหผเู ขียนเห็นวาพัทนัม ทิ้งความสำ�คัญของสภาวะที่อยูภายในของมนุษย เชน ความเหงา ความวาเหว เชน “ฉันไมอยากวาเหว” “ฉันไม อยากเหงา” ขอความที่แสดงถึงสภาวะภายในดังกลาว เปนขอความที่บงถึงสิ่งที่อยูภายในของมนุษย ซึ่งไมได บงถึงสิ่งแวดลอมภายนอก ถาพัทนัมใหความสำ�คัญกับ การอธิบายวาความหมายมีที่มาจากโลกภายนอก แนว คิ ด ของพั ท นั ม จะไม ส ามารถอธิ บ ายความหมายของ ขอความที่แสดงถึงสภาวะที่อยูภายใน ซึ่งขอความที่ แสดงถึงสภาวะภายในคือ การทีม่ นุษยใชภาษาถายทอด ความรูสึกภายในของตนใหผูอื่นรับรู เมื่อแนวคิดของ พัทนัมไมสามารถอธิบายขอความทีแ่ สดงสภาวะภายใน ได จึงเทากับวาแนวคิดของพัทนัมไมสามารถอธิบาย ความสัมพันธระหวางภาษากับมนุษยไดอยางสมบูรณ ทฤษฎีความหมายของพัทนัมจึงยังไมสามารถอธิบาย ความสัมพันธระหวาง ภาษา มนุษยและโลกไดอยาง สมบู ร ณ ซึ่ ง ในการเสนอทฤษฎี ค วามหมายควร

__________________ 8 อยางไรก็ตามในบทความชิน้ นี้ (McDowell 1992) แม็คดาวลไมไดอธิบายเกีย่ วกับจิตอยางชัดเจน แตผเู ขียนเห็นวาเราสามารถ เขาใจจิตตามแนวคิดของแม็คดาวลได โดยใชแนวคิดเรื่องอรรถสารของเฟรเก อรรถสารตามแนวคิดของเฟรเกคือ รูปแบบการแสดงตัว ของวัตถุที่แสดงตอการรับรูของผูพูด และอรรถสารมีลักษณะเปนภววิสัยที่ผูพูดทุกคนสามารถรับรูอรรถสารรวมกันได เราและผูอื่นจึง สามารถถายความคิดใหแกกนั และกันได อรรถสารจึงมีลกั ษณะเปนสาธารณะ และการอธิบายเกีย่ วกับจิตดังกลาวของแม็คดาวลทอี่ ธิบาย วา จิตจึงเปนหนึ่งเดียวกับชีวิตของเราและเปนหนึ่งเดียวกับสิ่งแวดลอมรอบตัวเรา แสดงใหเห็นวา จิตไมแยกออกการรับรูโลก จึงทำ�ให เขาใจไดวา จิตตามแนวคิดของแม็คดาวลคอื “การรับรูแ ละการเขาใจโลก” การทีผ่ เู ขียนอธิบายวา จิตตามแนวคิดของแม็คดาวล มีลกั ษณะ ทั้ง “การรับรู” และ “การเขาใจ” เนื่องจากวา แม็คดาวลไดอธิบายเกี่ยวกับธรรมชาติพื้นฐานของจิตในอีกแงหนึ่งคือ ความสามารถทางสติ ปญญาของจิต (an act of the intellect of mind) ซึ่งไดแก ความสามารถในการควบคุม (command) ความหมายของคำ� (McDowell, 1992: 305) ซึ่งผูเขียนใชคำ�วา “เขาใจ” แทน “ความสามารถทางสติปญญาของจิต” เมื่อจิตตามแนวคิดของแม็คดาวลคือ การรับรูและ การเขาใจโลก เนื้อหาของจิตจึงเปนสิ่งที่เรารับรูจากโลก ขณะที่แม็คดาวลปฏิเสธการเขาใจจิตในลักษณะที่วา จิตคือสิ่งที่ดำ�รงอยูในหัว เนื้อหาของสภาวะจิตตามแนวคิดของแม็คดาวลจึงไมใชสิ่งที่อยูในหัว ในลักษณะที่ผูอื่นไมสามารถรูถึงเนื้อหาในสภาวะจิตของเรา เนื้อหา ของจิตตามแนวคิดของแม็คดาวลจงึ หมายถึง อรรถสาร ทีม่ ลี กั ษณะเปนสิง่ สาธารณะทีเ่ ราและผูอ นื่ สามารถรับรูร ว มกัน แตค�ำ วา “สาธารณะ” ในที่นี้ ก็ไมไดมีความหมายที่ตรงขามหรือแยกขาดออกจาก “สวนตัว” แตหมายถึงการที่เราและผูอื่นสามารถรับรูความหมายไดโดยตรง โดยสรุปแลว เราสามารถเขาใจไดวา จิตตามแนวคิดของแม็คดาวลคือ การรับรูและการเขาใจโลกผานอรรถสาร ผูเขียนเห็นวา ประเด็นนี้ เปนประเด็นที่ควรจะนำ�ไปศึกษาตอไปคือ เมื่อเขาใจจิตตามแนวคิดของแม็คดาวลดังกลาวแลว ความหมายตามแนวคิดของแม็คดาวล จะมีลักษณะเปนอยางไร และความสำ�คัญของจิตตามแนวคิดของแม็คดาวลนั้นเปนอยางไร และแนวคิดของแม็คดาวลจะสามารถอธิบาย ควบคลุมถึงความสำ�คัญของจิตไดอยางไร

34


ทฤษฎีความหมายในทัศนะของพัทนัม : เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก ณฐิกา ครองยุทธ

อธิ บ ายครอบคลุ ม ถึ ง การทำ � งานของภาษาที่ มี ค วาม สัมพันธระหวาง ภาษา มนุษย และโลกภายนอก ประการที่ ส อง ข อ ถกเถี ย งในปรั ช ญา วิทยาศาสตรเรื่อง สัจนิยมทางวิทยาศาสตร (Scientific realism) และปฎิสัจนิยมทางวิทยาศาสตร (Scientific anti-realism) ซึ่งสัจนิยมทางวิทยาศาสตร คือกลุมที่ถือ วา ทฤษฎีทางวิทยาศาสตรที่อธิบายถึงสิ่งที่มองไมเห็น เชน อะตอม อิเล็กตรอน รหัสพันธุกรรม โครงสรางทาง เคมี ฯลฯ สิ่งเหลานี้เปนความจริงตามที่ทฤษฎีบอกเลา โดยอ า งจากความสำ � เร็ จ เชิ ง ประจั ก ษ ข องวิ ท ยาการ ทางวิทยาศาสตร ที่ไดนำ �ทฤษฎีเหลานี้ ไปประยุกต ใชไดอยางประสบความสำ�เร็จ ขณะที่ปฎิสัจนิยมทาง วิทยาศาสตร คือ กลุมที่ถือวา ทฤษฎีทางวิทยาศาสตรที่ อธิบายสิง่ ทีม่ องไมเห็น ไมไดเปนความจริง ทฤษฎีเหลานี้ เปนเพียงสมมติฐานที่ใชเปนเครื่องมือในการพยากรณ ปรากฏการณตา งๆ ไมถอื เปนความจริง (โอคาชา 2549 : 73 - 84) ผูเขียนเห็นวา แนวคิดของเรื่องเกณฑกำ�หนด ความหมายจากภายนอกของพั ท นั ม นั้ น วางอยู  บ น แนวคิดเรื่องสัจนิยมทางวิทยาศาสตร เนื่องจากพัทนัม เสนอใหเอ็กเทนชันของคำ�เรียกประเภทธรรมชาติคือ โครงสรางภายในของสิง่ ธรรมชาติ เชน โครงทางเคมีของ น้� ำ H2O เปนตน จึงเทากับวา พัทนัมยอมรับวาโครงสราง ภายในของสิ่งธรรมชาติมีอยูจริง แตเมื่อแนวคิดสัจนิยม ทางวิทยาศาสตร ถูกโตแยงโดยกลุมปฏิสัจนิยมทาง วิทยาศาสตร ยอมเทากับวา ทฤษฎีความหมายของ พัทนัม ถูกโตแยงจากกลุมปฏิสัจนิยมดวย กลาวคือ เอ็กเทนชันของคำ�เรียกประเภทธรรมชาติเปนเพียงสิ่ง สมมติทไี่ มมอี ยูจ ริง อาจจะทำ�ใหขอ เสนอของพัทนัม เรือ่ ง เอ็กเทนชันของคำ�เรียกประเภทธรรมชาติไมนาเชื่อถือ 2.) สรุป พัทนัมเห็นวา ทฤษฎีความหมายแบบเฟรเก มี พื้นฐานการเขาใจสภาวะจิตในลักษณะแคบ คือ เรารู เฉพาะสภาวะจิ ต ของเราเท า นั้ น เราไม รู  ส ภาวะจิ ต ของผูอื่น จึงทำ�ใหการรูความหมายระดับอินเทนชัน (อรรถสาร) เปนเนื้อหาที่ไดจากการรับรูในสภาวะจิต ลั ก ษณะแคบ และอิ น เทนชั น กำ � หนดเอ็ ก เทนชั น ความหมายระดับเอ็กเทนชัน จึงขึ้นอยูกับอินเทนชัน

สภาวะจิตลักษณะแคบจึงกำ�หนดความหมาย ทฤษฎี ความหมายแบบเฟรเกจึงมีลักษณะเปน เกณฑกำ�หนด ความหมายจากภายใน ซึง่ “ภายใน” หมายถึง สภาวะจิต ลักษณะแคบ พัทนัมไดเสนอใหเขาใจสภาวะจิตในลักษณะ กวาง ซึ่งสภาวะจิตลักษณะนี้เปนสภาวะจิตที่เชื่อมโยง กับโลกภายนอกสิ่งแวดลอมรอบตัวเราได ผูพูดสามารถ รูความหมายคำ�จากคนอื่น โดยการสังเกตและเรียนรู การใชคำ�จากคนในสังคมและสามารถใชคำ�บงถึงสิ่งใน โลกภายนอก พัทนัมโตแยง ทัศนะเกณฑกำ�หนดความหมาย จากภายใน โดยการเสนอตัวอยางแยงเรื่องโลกแฝดที่ แสดงใหเห็นวา อินเทนชัน (เนื้อหาที่ไดจากการับรูใน สภาวะจิตลักษณะแคบ) ไมสามารถกำ�หนดเอ็กเทนชัน เอ็กเทนชันจึงไมไดขึ้นอยูกับอินเทนชัน สภาวะจิตไม เพียงพอแกการกำ�หนดความหมาย และตัวอยางแยง ดังกลาวยังแสดงใหเห็นวา ทฤษฎีความหมายแบบเฟรเก จะไมสามารถอธิบายความสัมพันธระหวางภาษากับโลก กลาวคือ ถาอธิบายอินเทนชัน เปนเนื้อหาที่ไดจาก สภาวะจิตลักษณะแคบแลว คำ�วา “น้ำ�” จะบงถึงสิ่งอื่น (XYZ) ซึ่งไมใชน้ำ� (H2O) ภาษาจึงไมสามารถบงถึงโลก ไดอยางแทจริง พัทนัมเสนอทฤษฎีเกณฑกำ�หนดความหมาย จากภายนอกซึ่งสิ่งที่กำ�หนดความหมายคือ การใชคำ� ของคนในสังคมหรือการแบงงานกันทำ�ทางภาษา และ สิ่งในธรรมชาติ (โครงสรางภายในของสิ่งในธรรมชาติ) นอกจากนี้ พัทนัมยังเสนอใหค�ำ จะมีลกั ษณะเปนตัวชีแ้ ข็ง และเปนคำ�บงชี้ กลาวคือ คำ�จะสามารถบงถึงสิง่ เดียวกัน ในทุกโลกทีเ่ ปนไปไดทมี่ สี งิ่ นัน้ อยู และเอ็กเทนชันของคำ� จะขึ้นอยูกับบริบทที่ใชคำ� เชน คำ�วา“น้ำ�” ที่เราใชหมาย ถึงสิง่ ทีม่ โี ครงสรางภายในเหมือนกับน้� ำ (H2O) ทีน่ ใี่ นโลก จริง การแบงงานกันทำ�ทางภาษาคือ การใชคำ�เปนแบบ สายโซสาเหตุทมี่ าของชือ่ ไดแก ผูพ ดู สามารถการเรียน รูการใชจากคนในสังคมที่ประกอบดวยผูพูดทั่วไปและ กลุมผูเชี่ยวชาญ เมื่อเกิดความสงสัยก็สามารถสืบยอน ไปหาที่มาของคำ�หรือปรึกษาผูเชี่ยวชาญ ผูพูดที่อยูใน สายโซการใชคำ�จะสามารถใชคำ�บงสิ่งในโลกได และ สามารถใชคำ�บงถึงเอ็กเทนชันที่แทจริงของคำ�ได แนว

35


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

คิดของพัทนัมสามารถอธิบายความสัมพันธระหวาง ภาษากับโลกได นอกจากนี้ การใชค�ำ แบบสายโซสาเหตุ ที่มาของชื่อสามารถใชคำ�บงถึงสิ่งเดียวกันในทุกโลกที่ เปนไปไดทมี่ สี งิ่ นัน้ อยู  พัทนัมเสนอใหการนิยาม “ความ หมาย” คือ รูปแบบคำ�บรรยาย ทีไ่ ดจากการตกลงรวมกัน ของคนในสังคม และรูปแบบคำ�บรรยายดังกลาว เปนสิง่ ที่นำ�มาอธิบายความหมายของคำ� แนวคิ ด ของพั ท นั ม เรื่ อ งเกณฑ กำ � หนดความ หมายจากภายนอกไดชี้ใหเห็นวา การอธิบายความ สัมพันธระหวางภาษากับโลกนัน้ ตองคำ�นึงถึงธรรมชาติ ที่แทจริงของสิ่งตางๆ ในโลกดวย ซึ่งสิ่งนี้เปนอิสระจาก จิต (การรับรู) พัทนัมจึงใหความสนใจกับความหมาย ของคำ�เรียกประเภทธรรมชาติ (Natural kind term) ซึ่งเปนคำ �ที่บงถึงโลกโดยธรรมชาติโดยตรง พัทนัม เห็นวา ทฤษฎีความหมายกระแสหลักที่ผานมาไมได คำ�นึงถึงธรรมชาติทแี่ ทจริงของสิง่ ตางๆ ในโลก จึงทำ�ให คำ�เรียกประเภทธรรมชาติไมสามารถบงถึงสิ่งในโลก ได อ ย า งแท จ ริ ง และทำ � ให ไ ม ส ามารถอธิ บ ายความ 

36

สัมพันธระหวางภาษากับโลกภายนอกได อย า งไรก็ ต ามแนวคิ ด ของพั ท นั ม พบป ญ หา เรื่ อ งข อ ความที่ แ สดงถึ ง สภาวะภายใน แนวคิ ด ของ พั ท นั ม ไม ส ามารถอธิ บ ายข อ ความที่ แ สดงถึ ง สภาวะ ภายในของมนุษย จึงทำ�ใหแนวคิดของพัทนัมไมสามารถ อธิบายความสัมพันธระหวาง ภาษากับมนุษย ดังนั้น ทฤษฎีความหมายของพัทนัมจึงยังไมสามารถอธิบาย ความสัมพันธระหวาง ภาษา มนุษยและโลกไดอยาง สมบู ร ณ การเสนอทฤษฎี ค วามหมายควรอธิ บ าย ใหครอบคลุมถึงการทำ�งานของภาษาที่มีความสัมพันธ ระหวาง ภาษา มนุษย และโลกภายนอก นอกจากนี้ ทฤษฎีความหมายของพัทนัมวางอยูบนแนวคิดสัจนิยม ทางวิ ท ยาศาสตร ซึ่ ง สามารถถู ก โต แ ย ง จากกลุ  ม ปฏิสจั นิยมทางวิทยาศาสตร กลาวคือ เอ็กเทนชันของคำ� เรียกประเภทธรรมชาติเปนเพียงสิ่งสมมติที่ไมมีอยูจริง อาจจะทำ�ใหขอเสนอของพัทนัม เรื่องเอ็กเทนชันของคำ� เรียกประเภทธรรมชาติไมนาเชื่อถือ






ทฤษฎีความหมายในทัศนะของพัทนัม : เกณฑกำ�หนดความหมายจากภายนอก ณฐิกา ครองยุทธ

บรรณานุกรม ภาษาไทย กนิษฐ ศิรจิ นั ทร. (2549). ความสำ�คัญของมโนทัศน “ความเงียบ” ในปรัชญาวิตตเกนสไตน. วารสารสมาคมปรัชญา และศาสนาแหงประเทศไทย 1 (2) : 72-101. โสรัจจ หงศลดารมภ. (2554). ตรรกวิทยาสัญลักษณ. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพแหงจุฬาลงกรณ. _______. (2552). ปรัชญาภาษา. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพแหงจุฬาลงกรณ. โอคาชา, ซาเมียร. (2549). ปรัชญาวิทยาศาสตรโดยสังเขป. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร. ภาษาอังกฤษ Austin, John. L. (1962). How to do things with words. Oxford: Oxford University Press. Descartes, Rene. (1969). A Discourse on method meditations on the first philosophy principles of philosophy. London: Every Man’s Library. Frege, Gottlob. (1948). On sense and reference. The Philosophical Review 57 (5) : 198 – 220. Grzimek, Bernhard. (1972). Grzimek’s animal life encyclopedia. New York: Van nostrand Rein hold company. Hacker, P. M. P. (1996). Wittgenstein’s place in twentieth century analytic philosophy. Oxford: Blackwell. Hornsby, Jennifer and Longworth, Guy. (2006). Reading philosophy of language. Oxford: Blackwell. Kripke, Saul A. (1972). Naming and necessity. Oxford: Basil Blackwell. Lycan, William G. (2001). Philosophy of language: a contemporary introduction. New York: Routledge. McCulloch, Gregory. (1989). The game of the name: introducing logic, language, and mind. Oxford: Clarendon Press. McDowell, John. (1993). “Intentionality De Re.” In Lopore, Ernest and V. Gulick, Robort, ed. John Searle and his critics : 215 – 225. Oxford: Blackwell. _______. (1996). “Putnam on mind and meaning.” In Pessin, Andrew and Goldberg, Sanford, ed. The Twin earth chronicles : 305 - 317. New York: M.E. Sharpe. Martinich, A. P. (2001). The Philosophy of language. Oxford: Oxford University Press. Odell, S. Jack. (2006). On the philosophy of language. USA: Thamson Wadsworth. Pessin, Andrew and Goldberg, Sanford, ed. (1996). The Twin earth chronicles. New York: M.E. Sharpe. Putman, Hilary. (1973). Meaning and Reference. The Journal of Philosophy 70 (6) : 699-711. _______. (1996). “Meaning of ‘Meaning’.” In Pessin, Andrew and Goldberg, Sanford, ed. The Twin Earth Chronicles : 3-53. New York: M.E. Sharpe. _______. (1975). Is semantic possible? Mind Language and Reality: Philosophical papers, Volume 2 : 139 – 152. Cambridge: Cambridge University Press. _______. (1996). “Introduction.” In Pessin, Andrew and Goldgerg, Sanford, ed. The Twin Earth Chronicles : xv – xxii. New York: M.E. Sharpe. Wittgenstein, Ludwig. (1995). Philosophical Investigations. Trans. from German by G. E. M. Anscombe. Oxford: Blackwell.

37



การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี Creation painting represents “the appearance of the local Malay in Pattani” เจะอับดุลเลาะ เจะสอเหาะ 1 Jehabdulloh Jehsorhoh บทคัดยอ การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม ชุด รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี ซึ่งประกอบดวยผลงานจิตรกรรม 4 ชุด ไดแก จิตรกรรมชุด จิตรกรรมวัสดุผสมทีไ่ ดรบั แรงบันดาลใจจากลวดลายเรือกอและ ผลงานจิตรกรรมชุดรูปลักษณ จากทองถิ่น ผลงานจิตรกรรมชุดสีสันจากทองถิ่น และผลงานจิตรกรรมชุดรูปลักษณทองถิ่นปตตานี โดยไดนำ� แรงบันดาลใจมาจากลวดลายบนเรือกอและ สถาปตยกรรม กริช และเทคนิคการเขียนเทียนบนผาบาติกที่พบเห็น ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต โดยเฉพาะในจังหวัดปตตานี ซึ่งในการนำ�เสนอจะคำ�นึงถึงหลักองคประกอบศิลป โดยเนนการจัดวางแบบเรียบงาย มีความเหมาะสมในเนื้อหา เรื่องราวของภาพผลงาน จึงเกิดทิศทางของผลงานที่มี ลักษณะผลงานจิตรกรรมวัสดุผสมในลักษณะเฉพาะตน และบันทึกผลการสรางสรรคผลงานอยางเปนระบบ เพือ่ นำ�ผล ทีไ่ ดศกึ ษาและปฏิบตั ปิ รับเขาสูก ระบวนการเรียนการสอนในวิชา หลักสูตรทัศนศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร และนำ�เสนอตอสาธารณชน คำ�สำ�คัญ: 1. งานสรางสรรคจิตรกรรม. 2. รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี. Abstract A set of paintings entitled “the appearance of the local Malay in Pattani” consists of four subsets of paintings: (i) paintings which is inspired by the boat designs called Kolah dagger, (ii) paintings which are inspired by local scenery, (iii) paintings which are inspired by local colors and (iv) paintings which are inspired by local characteristics of Pattani. Each of the sets is inspired by Kolah dagger and technical architecture written on the batik’s wax, which can be found in most of the southern provinces, especially in Pattani Province. This presentation considers the main elements of art and the model focuses mainly on simplicity, appropriateness in context and story illustration. The direction of the work reflects the uniqueness of the mixed paintings. The systematic record leads to the improvement of learning and teaching procedures in the field of Visual Arts offered by Faculty of Fine and Applied Arts, Prince of Songkla University and the public display. Keywords: 1. Painting 2. The appearance of the local Malay in Pattani. __________________

1

อาจารยประจำ�สาขาวิชาทัศนศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

บทนำ� จังหวัดปตตานี เปนจังหวัดที่มีพัฒนาการทาง ประวัติศาสตรและอารยธรรมเจริญรุงเรืองมาเปนเวลา นาน มีวิถีชีวิตและวัฒนธรรมประเพณีความเชื่อที่เปน เอกลักษณเฉพาะทองถิ่นอยางมากมาย ดวยสภาพ ภูมิศาสตรของปตตานีมีความเหมาะสมมาตั้งแตในอดีต โดยเฉพาะทำ�เลที่ตั้งที่ติดทะเล มีอาวที่สามารถบังคลื่น ลม และเปนที่พักจอดเรือเพื่อคาขายหรือซอมแซม มี เสนทางบกและทางแมน้ำ�ที่ สามารถเชื่อมตอกับฝง ตะวันตกดานมหาสมุทรอินเดียมาตั้งแตสมัยโบราณ จึงสามารถติดตอคาขายทางทะเลกับเมืองทาอื่นๆ บน คาบสมุทรมลายูและภูมิภาคใกลเคียงไดโดยสะดวก ประกอบกับปตตานีมีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ เชน สินแร เครื่องเทศ ของปา และพืชพันธุธัญญาหาร อื่นๆ รวมทั้งเปนศูนยรวมของสินคาจากนานาประเทศ ทำ�ใหปตตานีมีชื่อเสียงดานการคามีความเจริญรุงเรือง และรับเอาอารยธรรมจากชนชาติตางๆ มาผสมผสาน จนเปนเอกลักษณทางวัฒนธรรมเปนมรดกตกทอดมา จนถึงทุกวันนี้ (กรมศิลปากร 2544 : 1) วิถชี วี ติ ของชาวมลายูทอ งถิน่ ปตตานี เปนวิถชี วี ติ แหงความพอเพียงที่ขาพเจาพบเห็นมาตั้งแตเยาววัย โดยเฉพาะวิถีชีวิตการประกอบอาชีพประมงที่ใชเรือ กอและเปนยานพาหนะ การประดับลวดลายจิตรกรรม บนเรือกอและ โดยฝมือชางพื้นบาน อาศัยทักษะและ ประสบการณ ใ นการเขี ย นลวดลายจิ ต รกรรมบนเรื อ กอและ ซึ่งเปนวัฒนธรรมการประกอบอาชีพที่สะทอน ถึงวิถีชีวิตแหงความพอเพียงและรักในความงามของ ศิลปะมาตั้งแตสมัยบรรพบุรุษจนถึงปจจุบัน สงผลตอ ความรูสึกนึกคิดของขาพเจาโดยตรง ดังนั้นขาพเจาได เล็งเห็นถึงคุณคาของลวดลายจิตรกรรมบนเรือกอและ ที่นอกจากจะสะทอนปรัชญาทางความเชื่อและความคิด ในการดำ�เนินชีวิตอันเปนเอกลักษณเฉพาะถิ่นแลวนั้น จิตรกรรมบนเรือกอและยังเปนสิ่งบันทึกความหลังทาง ประวัติศาสตรในวิถีชีวิตของชาวมลายูทองถิ่นปตตานีที่ สะทอนเรือ่ งราวในวิถชี วี ติ ของชาวมลายูทอ งถิน่ ปตตานี ใหชนรุนหลังไดตระหนักในคุณคาของวิถีชีวิตดังกลาว ผานทางผลงานทัศนศิลปของยุคปจจุบัน ขาพเจาได ถายทอดความคิดผานกระบวนการสรางสรรคผลงาน

40

ทางศิลปะ โดยการใชสัญลักษณของลวดลายบนเรือ กอและเป น สื่ อ การแสดงออกทางจิ ต รกรรมด ว ยวัสดุ และกรรมวิธีที่เปนลักษณะเฉพาะตัวของขาพเจา

ภาพที่ 1 แสดงภาพตัวอยางเรือกอและที่ใชเปนยานพาหนะ ประกอบอาชีพประมงของชาวบานในจังหวัดปตตานี

การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม ชุด รูปลักษณ ของชาวมลายู ท  อ งถิ่ น ป ต ตานี ซึ่ ง จะประกอบด ว ย จิตรกรรม 4 ชุด ไดแก ผลงานจิตรกรรมชุด จิตรกรรม วัสดุผสมที่ไดรับแรงบันดาลใจจากลวดลายเรือกอและ ผลงานจิตรกรรมชุด รูปลักษณจากทองถิ่น ผลงาน จิตรกรรมชุด สีสันจากทองถิ่น และผลงานจิตรกรรม ชุด รูปลักษณทองถิ่นปตตานี โดยขาพเจาไดหยิบยก เรื่องราวเนื้อหาที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิตของชาวบานสวน ใหญที่ใช “เรือกอและ”เปนยานพาหนะในการประกอบ อาชีพประมง สืบทอดมาตั้งแตสมัยบรรพบุรุษ คำ�วา กอและ เปนภาษามลายู หมายถึง โคลงเคลง หรือลองลอย เรือกอและ นอกจากเปนเรือหาปลา ยังแสดงศิลปะทาง ดานจิตรกรรมที่มีความสวยงามวิจิตรดวยลวดลาย และ


การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี เจะอับดุลเลาะ เจะสอเหาะ

สีสันที่แปลกตา องคประกอบของลำ�เรือมีความแตกตาง ไปจากเรือหาปลาอื่นๆ ซึ่งนับเปนศิลปะเพื่อชีวิตโดย แท จนกลายเปนเอกลักษณทางวัฒนธรรมที่สำ�คัญของ ชาวประมงมุสลิมในดินแดนภาคใตสุดของประเทศไทย (เจะอุเซ็ง เจะซู 2542 : 1-3) กลาวไดวาเรือกอและ เปน สิ่งที่แสดงถึงอัตลักษณของทองถิ่น ดังความประณีต ออนชอย ที่ไดแสดงออกผานงานจิตรกรรมลวดลายบน เรือกอและ สะทอนใหเห็นถึงความมีรสนิยม ความมี จิตใจที่ออนโยนและมีจิตวิญญาณที่รักในงานศิลปะที่ มีความงดงาม ในขณะเดียวกันก็ใหเห็นถึงความจริงจัง ในการประกอบอาชีพประมงอีกดวย ผลงานสรางสรรค ในครั้ ง นี้ มี เ นื้ อ หาเรื่ อ งราวที่ นำ � มาเป น แรงบั น ดาลใจ และแนวคิดของผลงานแตละชุดตามลำ�ดับตอไปนี้ ผลงานจิตรกรรมชุด จิตรกรรมวัสดุผสมที่ ไดรับแรงบันดาลใจจากลวดลายเรือกอและ ผลงานชุดนี้เปนการเริ่มตนคนควาหาแนวทาง การสรางสรรคอยางจริงจังโดยขาพเจามีแนวความคิดใน การแสดงออกถึงอารมณความรูส กึ สวนตน ผานเรือ่ งราว วิถีชีวิตของชาวมลายูทองถิ่นปตตานีในการประกอบ อาชีพประมง โดยใชเรือกอและเปนยานพาหนะ ขาพเจา ไดศึกษารูปทรงของเรือกอและและลวดลายจิตรกรรม ของเรือกอและจนเกิดความเขาใจอยางถองแท กอนที่ จะนำ�รูปทรงตางๆมาใชในการสรางสรรคผลงาน ซึง่ การ ทดลองสรางสรรคผลงานในชวงแรก ขาพเจาจะใชวธิ กี าร

วาดเสนเพื่อศึกษาถึงโครงสราง และการเขียนภาพดวย เทคนิควิธีการหยดสีตามลักษณะการเขียนผาบาติก มา พัฒนากระบวนการสรางสรรคผลงานที่มีเอกลักษณ เฉพาะตนตอไป สำ�หรับเนื้อหาขอมูลที่ขาพเจาไดศึกษาคนควา เพื่ อ นำ � มาทดลองสร า งสรรค ผ ลงานในการทำ � งาน ครั้งนี้ เปนเนื้อหาขอมูลซึ่งไดจากประสบการณตรงใน การใชชีวิต กลาวคือ การใชเรือกอและเปนยานพาหนะ ประกอบอาชีพประมง อันเปนวิถชี วี ติ แหงความพอเพียง ที่ขาพเจาพบเห็นมาตั้งแตเยาววัย ขาพเจาไดนำ�รูปทรง ของเรือกอและที่มีการประดับลวดลายจิตรกรรมไวบน เรือ ซึง่ ไดพบเห็นในชีวติ ประจำ�วันมานำ�เสนอ เพือ่ แสดง ออกถึงความรูสึกสวนตนที่มีตอวิถีชีวิตของชาวมลายู ทองถิ่นปตตานี โดยผลงานสรางสรรคในชวงนี้เปนการ ทดลองสรางสรรคผลงานทั้งขนาดเล็ก และขนาดใหญ ขาพเจาไดนำ�เสนอในรูปแบบของสัญลักษณโดยอาศัย รูปทรงของสวนหัวเรือกอและ นอกจากนี้ยังมีรูปทรง ของสถาปตยกรรมสวนที่เปนโดมโคงของมัสยิด โดย มี ล วดลายประดั บ ไว ใ นรู ป ทรงดั ง กล า ว การจั ด วาง องคประกอบในตำ�แหนงทางซายและทางขวาของภาพ บาง ตลอดจนตรงกลางของภาพ สวนลางของภาพเปน คลืน่ น้� ำ สวนบนของภาพเปนขอบฟา ซึง่ ผลงานดังกลาว สามารถตอบสนองอารมณความรูสึกไดตรงตามที่ตอง การแสดงออก

ภาพที่ 2 แสดงภาพตัวอยางผลงานจิตรกรรมชุด จิตรกรรมวัสดุผสมทีไ่ ดรบั แรงบันดาลใจจากลวดลายเรือกอและ 35/2549 สีอะครายลิคบนเยือ่ กระดาษทำ�มือ ขนาด 130 x 207 เซนติเมตร ภาพที่ 3 แสดงภาพตัวอยางผลงานจิตรกรรมชุด จิตรกรรมวัสดุผสมที่ไดรับแรงบันดาลใจจากลวดลายเรือกอและ 7/2549 สีอะครายลิคบนเยื่อกระดาษทำ�มือ ขนาด 67 x 102 เซนติเมตร

41


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

การสรางสรรคผลงานจิตรกรรมชุด รูปลักษณ จากทองถิน่ ผลงานชุดนี้เปนการสรางสรรคผลงานตอเนื่อง จากผลงานจิตรกรรมชุด จิตรกรรมวัสดุผสมที่ไดรับ แรงบั น ดาลใจจากลวดลายเรื อ กอและ ลั ก ษณะของ ผลงานชุดนี้ ขาพเจาตองการนำ�เสนอรูปแบบและเทคนิค ที่มีการพัฒนาไปจากเดิม โดยเฉพาะลักษณะของการ ใชสีและเทคนิคการตอกกระดาษที่ไดรับอิทธิพลมาจาก เทคนิคการตอกหนังตะลุง ผลงานชุดนีไ้ ดรบั แรงบันดาลใจ จากเรือกอและทีม่ กี ารประดับลวดลายจิตรกรรมทีง่ ดงาม และสถาป ต ยกรรมท อ งถิ่น ที่เ ป น โดมโค ง ของมั ส ยิ ด ตลอดจนไดรับแรงบันดาลใจจากกริช ซึ่งเปนอาวุธที่มี รูปแบบการแกะสลักลวดลายประดับและรูปทรงทีส่ วยงาม บงบอกถึงความเปนเอกลักษณทองถิ่น เห็นถึงความ ประณีตออนชอย ของผูค นในพืน้ ที่ ผลงานสรางสรรคชดุ นี้ ไดใชรปู ทรงดังกลาวเปนสือ่ ทางรูปแบบในการแสดงออก ของกรอบแนวคิด ซึ่งในการสรางสรรคผลงานในครั้งนี้ นับวาเปนการคนหาแนวทางในการแสดงออก ภายใต กรอบแหงการสรางสรรคผลงานจิตรกรรมวัสดุผสม ทีย่ งั คง ความเปนลักษณะเฉพาะตน และบันทึกผลการสรางสรรค ผลงานอยางเปนระบบ

ภาพที่ 5 แสดงภาพตัวอยางผลงานจิตรกรรมชุด รูปลักษณจาก ทองถิ่น 13/2550 สีอะครายลิคบนเยื่อกระดาษทำ�มือ ขนาด 97 x 108 เซนติเมตร

ภาพที่ 4 แสดงภาพตัวอยางผลงานจิตรกรรมชุด รูปลักษณจาก ทองถิ่น 10/2550 สีอะครายลิคบนเยื่อกระดาษทำ�มือ ขนาด 135 x 211 เซนติเมตร ภาพที่ 6 แสดงภาพตัวอยางผลงานจิตรกรรมชุด รูปลักษณจาก ทองถิ่น 16/2550 สีอะครายลิคบนเยื่อกระดาษทำ�มือ ขนาด 38 x 56 เซนติเมตร

42


การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี เจะอับดุลเลาะ เจะสอเหาะ

การสรางสรรคผลงานจิตรกรรมชุด สีสัน แหงทองถิ่น ผลงานชุดนี้เปนการสรางสรรคผลงานที่พัฒนา ต อ จากผลงานสร า งสรรค ชุ ด รู ป ลั ก ษณ จ ากท อ งถิ่ น ลักษณะของผลงานชุดนี้ ขาพเจาไดมกี ารพัฒนารูปแบบ และเทคนิคที่มีที่มีความตางไปจากเดิ ม โดยเฉพาะ ลักษณะของการคลี่คลายรูปทรงและลวดลายรวมถึง เทคนิคการใชสีลงบนกระดาษ ซึ่งไดรับแรงบันดาลใจ จากเรื อ กอและที่ มี ก ารประดั บ ลวดลายจิ ต รกรรมที่ มี ความแตกตางจากเรือในจังหวัดอื่นๆที่มีการใชเรือเปน ยานพาหนะในการประกอบอาชีพประมง โดยเรือกอและ มีความงดงามและเปนเอกลักษณเฉพาะถิ่น เนื่องดวย สภาพของวิถชี วี ติ ในพืน้ ที่ มีการใชสสี นั เปนสวนเชือ่ มโยง กับการดำ�รงชีวติ ไมวา จะเปน อาหารการกิน ทีม่ รี สจัด และ มีสสี นั ทีแ่ ปลกตา เครือ่ งแตงกาย ก็จะมีลกั ษณะการใชสสี นั ฉุดฉาด มีสีสันสดใส ซึ่งเปนเรื่องราวที่มีความงดงาม ดวยภูมิปญญาทองถิ่น ผลงานสรางสรรคชุดนี้ไดใช สัญลักษณรปู ทรงของเรือและรูปทรงของลวดลาย เปนสือ่ ทางรูปแบบในการแสดงออกของกรอบแนวคิด ซึง่ ในการ สรางสรรคผลงานในครั้งนี้นับวาเปนการคนหาแนวทาง ในการแสดงออก ภายใต ก รอบแห ง การสร า งสรรค ผลงานจิ ต รกรรม ที่ ยั ง คงความเป น ลั ก ษณะเฉพาะ ตน และบันทึกผลการสรางสรรคผลงานอยางเปนระบบ

ภาพที่ 7 แสดงภาพตัวอยางผลงานจิตรกรรมชุด สีสันจาก ทองถิ่น10/2550 สีอะครายลิคบนเยื่อกระดาษทำ�มือ ขนาด 100 x 120 เซนติเมตร

ภาพที่ 8 แสดงภาพตัวอยางผลงานจิตรกรรมชุด สีสันจาก ทองถิ่น 13/2550 สีอะครายลิคบนเยื่อกระดาษทำ�มือ ขนาด 49 x 60 เซนติเมตร

ภาพที่ 9 แสดงภาพตัวอยางผลงานจิตรกรรมชุด สีสันจาก ทองถิ่น 16/2550 สีอะครายลิคบนเยื่อกระดาษทำ�มือ ขนาด 49 x 60 เซนติเมตร

43


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ผลงานสรางสรรคจิตรกรรม ชุดรูปลักษณ​ ทองถิน่ ปตตานี ผลงานชุ ด นี้ เ ป น การดำ � เนิ น งานสร า งสรรค ผลงานทีม่ คี วามพัฒนาอยางตอเนือ่ งจากเดิม โดยไดมกี าร ปรับปรุงแกไขปญหาตางๆ ทีค่ น พบระหวางการสรางสรรค ผลงานในระยะทีผ่ า นมา พัฒนาการแสดงออกใหมคี วาม สมบูรณและตรงกับอารมณความรูสึกที่ตองการนำ�เสนอ ซึ่งผลงานในระยะนี้ยังคงมีแนวคิดเดิม คือ เรื่องราววิถี ชีวติ ของชาวมลายูทอ งถิน่ ปตตานีทป่ี ระกอบอาชีพประมง ถายทอดความคิดผานกระบวนการสรางสรรคผลงานทาง ศิลปะ โดยใชสัญลักษณของลวดลายบนเรือกอและเปน สื่อการแสดงออกทางจิตรกรรมดวยวัสดุและกรรมวิธีท่ี เปนลักษณะเฉพาะตัวของขาพเจา โดยสรุปไดดงั นี้ ขาพเจาไดนำ�เสนอผลงานสรางสรรคชุดนี้โดย ใชวธิ กี ารจัดวางองคประกอบแบบทัว่ ทัง้ ภาพ สรางความ เคลือ่ นไหว ดวยรูปทรงตางๆ ทีป่ รากฏมีความเคลือ่ นไหว ต อ เนื่ อ งทั้ ง ภาพผลงาน ซึ่ ง จะมี ลั ก ษณะการจั ด วาง องคประกอบของภาพแบงเปนสามสวน ในสวนที่หนึ่ง จะปรากฏรูปทรงของลวดลายที่ มีลักษณะการคลี่คลายจากความเปนจริงแบบฉบับของ ขาพเจา ซึง่ เปนจุดเดนของภาพ เชน รูปทรงลวดลายของ สัตวทะเล ปลาหมึก ปลา กุง แมงดา เปนตน กระจายอยู ทัว่ ทัง้ ภาพ แสดงถึงความอุดมสมบูรณในทองทะเลปตตานี รูปทรงลวดลายสัตวในวรรณคดีท่จี ัดวางทั่วทั้งภาพ อัน

เปนประธานหลักของภาพ ซึง่ เปนสัตวทช่ี า งเขียนลวดลาย บนเรือกอและนำ�มาเขียนประดับไวบนเรือ สะทอนถึงความ งามทีป่ รากฏในวิถชี วี ติ ของชาวมลายูทอ งถิน่ ปตตานี และ สุดทายรูปทรงของหัวเรือกอและที่จัดวางเรียงซอนเปน แถวจากฝง ซายไปสูฝ ง ขวาของภาพ ซึง่ เปนยานพาหนะที่ ชาวมลายูทอ งถิน่ ปตตานีใชในการประกอบอาชีพประมง สะทอนถึงภูมปิ ญ  ญาทีเ่ รียบงาย พอเพียง ทีไ่ ดปฏิบตั มิ า ตัง้ แตสมัยบรรพบุรษุ จนถึงปจจุบนั ในสวนที่สอง จะปรากฏสัญลักษณของคลื่นน้ำ� ที่ตัดทอนจากความเปนจริงที่ใหความรูสึกถึงทองทะเล ใหเปนจุดรองในการเชื่อมโยงไปสูสาระสำ�คัญที่ตองการ นำ�เสนอ ในสวนที่สาม จะอยูดานบนของภาพผลงานจะ ปรากฏเปนพืน้ หลังของภาพ ซึง่ เปนลักษณะของทองฟา ทำ�หนาทีร่ องรับและผลักระยะของรูปทรงตางๆ ทีป่ รากฏ อยูใ นภาพ ทำ�ใหภาพผลงานมีจดุ เดน จุดรอง สรางความ สมบูรณใหกับภาพผลงาน นอกจากนีข้ า พเจาไดกำ�หนดโครงสีโดยรวมของ ภาพผลงานดวยการระบายสีรองพื้น ใชสีดำ�ตัดเสนดวย วิธีการหยดสีรูปทรงทั้งหมดในผลงาน แลวใชสีขาว หยดสีไลน้ำ�หนัก ลงน้ำ�หนักสุดทายดวยสีคูสี สรางคา น้ำ�หนักของรูปทรงตัวภาพตางๆ ดวยโครงสีเดียวกัน ทำ�ใหผลงานสรางสรรคชิ้นนี้มีความกลมกลืน ตรงตาม อารมณความรูสึกที่ตองการนำ�เสนอ

ภาพที่ 10 แสดงภาพตัวอยางผลงานจิตรกรรมชุด รูปลักษณทองถิ่นปตตานี 11/2550 สีอะครายลิคบนเยื่อกระดาษทำ�มือ ขนาด 320 x 500 เซนติเมตร ภาพที่ 11 แสดงภาพตัวอยางผลงานจิตรกรรมชุด รูปลักษณทองถิ่นปตตานี 10/2550 สีอะครายลิคบนเยื่อกระดาษทำ�มือ ขนาด 150 x 200 เซนติเมตร ภาพที่ 12 แสดงภาพตัวอยางผลงานจิตรกรรมชุด รูปลักษณทองถิ่นปตตานี 14/2550 สีอะครายลิคบนเยื่อกระดาษทำ�มือ ขนาด 150 x 200 เซนติเมตร

44


การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี เจะอับดุลเลาะ เจะสอเหาะ

วัตถุประสงคของการสรางสรรค ในการสร า งสรรค ผ ลงานแต ล ะชุ ด เพื่ อ ศึ ก ษา คนควาและทดลองหาแนวทางการสรางสรรคผลงาน จิตรกรรมในรูปแบบใหม และนำ�เสนอในลักษณะเฉพาะ ตน เพื่อศึกษาคนควาทดลองใชกรรมวิธีและวัสดุใน การสรางงานจิตรกรรม โดยอาศัยความบันดาลใจจาก ความเชื่อการดำ�เนินชีวิตและศิลปะพื้นบานของชาว มลายูทองถิ่นปตตานี โดยเฉพาะลวดลายจิตรกรรม บนเรื อ กอและอี ก ทั้ ง ยั ง เป น การสร า งงานจิ ต รกรรม ที่ แ สดงเอกลั ก ษณ ข องท อ งถิ่ น และเป น การบั น ทึ ก ขั้นตอนการพัฒนากระบวนการสรางสรรคอยางเปน ระบบ ตลอดจนเพื่อนำ�ผลที่ไดจากการศึกษาและปฏิบัติ ปรับเขาสูกระบวนการเรียนการสอนในวิชา หลักสูตร ทัศนศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร วิทยาเขตปตตานี และนำ�เสนอตอสาธารณชน กำ�หนดขอบเขตของการสรางสรรค การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม ชุด รูปลักษณ ของชาวมลายูทองถิ่นปตตานีไดกำ�หนดขอบเขตของ งานอันประกอบไปดวยขอบเขตดานเนื้อหาที่แสดงถึง คุณคาของความเชือ่ และการดำ�เนินชีวติ ของชาวประมง ทองถิ่นปตตานี ซึ่งมีลวดลายจิตรกรรมบนเรือกอและ เปนสัญลักษณ ขอบเขตทางดานรูปแบบ จะเปนผลงาน จิ ต รกรรมที่ใ ช วัส ดุ จ ากเยื่อ กระดาษทำ � ด ว ยมื อ และสี อะครีลิค สรางรูปทรงดวยลักษณะผิวที่เตรียมไวบนพื้น กระดาษและกรรมวิธใี นการใหสเี ปนจุดนูนเล็กๆ ทัว่ ทัง้ ภาพ ใหความรูสึกเคลื่อนไหว สั่นสะเทือนแกผลงานสวนรวม และยังเปนการสรางสรรคผลงานดวยเทคนิคจิตรกรรมวัสดุ ผสมอีกดวย ขั้นตอนและวิธีการสรางสรรค ประการแรก ศึกษาและทำ�ความเขาใจเกี่ยวกับ วิถีชีวิตของชาวมลายูทองถิ่นปตตานีท่ีประกอบอาชีพ ประมง โดยใชเรือกอและเปนยานพาหนะ ซึ่งเปนที่มา ของแรงบันดาลใจในการสรางสรรค โดยมีการรวบรวม ขอมูลตางๆ จากหนังสือ วารสาร บทความ ผลงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วของ รวมทัง้ ขอมูลภาพถายและบทสัมภาษณ เพือ่ ทำ�ความเขาใจ นำ�มาเปนแรงบันดาลใจ และพัฒนาเปน

แนวความคิดในการสรางสรรคผลงาน หลังจากนัน้ ขาพเจา ไดวิเคราะหเลือกสรรและจัดลำ�ดับขั้นตอนของความคิด เพือ่ พัฒนาไปสูแ นวคิดทีเ่ หมาะสม และชัดเจนทีส่ ดุ เพือ่ กำ�หนดกรอบความคิดและวางขอบเขตของการนำ�เสนอ และทิศทางเบื้องตนของการแสดงออก การใชเทคนิค เพือ่ ใหเกิดความเปนเอกภาพในผลงานทีส่ รางสรรค และ สรางภาพรางหลายๆ ภาพ เพือ่ กำ�หนดทิศทางและความ ลงตัวของชิ้นงาน จนกระทั้งสรางสรรคผลงานจริง ดวย กระบวนการทางจิตรกรรม ในขัน้ ตอนนีอ้ าจมีการดัดแปลง แตงเติม ตัดทอน รูปแบบรายละเอียดเพื่อใหเกิดความ เหมาะสม หลังจากนัน้ วิเคราะหผลงานทีส่ รางขึน้ มาเพือ่ หาขอดีขอ เสียแกไขขอบกพรองทีเ่ กิดขึน้ พัฒนาผลงาน สรางสรรคใหออกมาสมบูรณทส่ี ดุ รวมถึงนำ�เสนอผลงาน ตอการสัมมนาวิจารณ เพือ่ แกปญ  หาและพัฒนาแนวทาง การสรางสรรค ทัง้ เนือ้ หา รูปแบบและเทคนิควิธกี ารตอไป พรอมทัง้ บันทึกรวบรวมขอมูลอันเปนประโยชนตอ แนวคิด ในการสรางสรรคและพัฒนาผลงานในแตละชวง วัสดุอุปกรณที่ใชในการสรางสรรค การสรางสรรคผลงานแตละครัง้ สิง่ จำ�เปนทีม่ สี ว น สำ�คัญในการปฏิบตั งิ านคือ วัสดุอปุ กรณ ซึง่ วัสดุอปุ กรณ ที่ใชในการสรางสรรคผลงานจิตรกรรม ชุด รูปลักษณ ของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี ไดแบงออกเปนสามสวน คือสวนของการเก็บขอมูล สวนของการทำ�กระดาษ และสวนของการจัดทำ�แบบรางและผลงานจริงโดยมี รายละเอีย ดดัง นี้ วั สดุอุปกรณที่ใ ชในการเก็บขอมูล ประกอบดวยกลองถายรูป สมุดสเก็ช วัสดุอุปกรณที่ ใชในการทำ�กระดาษประกอบดวย เครื่องปนกระดาษ, กระดาษพลาสติกใส, สีน้ำ�พลาสติกทาภายนอก, กาว ลาเท็กซ, เกรียง วัสดุที่ใชในการจัดทำ�แบบรางและ ผลงานจริงประกอบดวย ปากกาหมึกสีด�ำ และสีทอง, สมุด สเก็ช, ดินสอไข, สีฝุน, สีอะครีลิค, แปรงทาสี พูกันขนาด ตางๆ, หลอดบีบสี, อุปกรณสำ�หรับผสมสี และกระบอก ฉีดน้�ำ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับในการสรางสรรค การสรางสรรคผลงานชุดนี้ ขาพเจาคาดวาจะ ไดรับประโยชน ดังนี้ ไดเกิดการคนควาและทดลองหา

45


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

แนวทางการสรางสรรคผลงานจิตรกรรมในรูปแบบใหม และนำ�เสนอในลักษณะเฉพาะตน ไดเกิดการคนควา ทดลองใชกรรมวิธีและวัสดุในการสรางงานจิตรกรรม โดยอาศัยความบันดาลใจจากความเชือ่ การดำ�เนินชีวติ และศิลปะพื้นบานของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี โดย เฉพาะลวดลายจิตรกรรมบนเรือกอและ อีกทัง้ ไดปรากฏ ผลงงานสรางสรรคจิตรกรรมที่แสดงเอกลักษณข อง ทองถิ่น และเปนการบันทึกขั้นตอนการพัฒนากระบวน การสรางสรรคอยางเปนระบบ รวมถึงผลที่ไดจากการ ศึกษาและปฏิบัติปรับเขาสูกระบวนการเรียนการสอน ในวิ ช า หลั ก สู ต รทั ศ นศิ ล ป คณะศิ ล ปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี และ นำ�เสนอตอสาธารณชนไดอีกดวย การศึกษาเอกสารและขอมูล สรุ ป ผลการศึ ก ษาเรื่ อ งลวดลายและที่ ม าของ ลวดลายบนเรือกอและ สถาปตยกรรม กริช และเทคนิค การเขียนเทียนบนผาบาติกที่พบเห็นในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต โดยเฉพาะในจังหวัดปตตานี ไดดังนี้ การศึ ก ษาเอกสารและขอมูล ที่เกี่ย วของกั บ เรื่ อ งราว ลวดลายบนเรือกอและ ชาวบานมีตกแตงเรือกอและ โดยการวาดลวดลายและระบายสี ในสวนประดับเรือ กอและ และอันไดแก จาปง บางา ซางอ และรอแย นอกจากนั้นยังมีการฉลุใหเกิดลวดลายแลวจึงระบายสี แตระยะหลังจะไมมีการแกะสลักอีกตอไป เพียงมีการ พัฒนารูปแบบของลวดลายจิตรกรรมไปตามยุคสมัยและ ตามกระแสของสังคมจนปรากฏอยางทีเ่ ห็นอยูใ นปจจุบนั การศึ ก ษาเอกสารและข อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ลักษณะความเปนมาของกริช กริชเปนอาวุธประเภท มีดสองคมชนิดหนึ่ง ใบของกริชจะมีทั้งแบบตรงและคด การใชกริชเปนวัฒนธรรมของชนชาติชาวชวา-มลายู มากอน ตอมาไดเผยแพรมาทางภาคใตของไทยตั้งแต จังหวัดนครศรีธรรมราชลงไปจนถึงจังหวัดนราธิวาส มี ก ารใช ก ริ ช กั น มากในราชสำ� นั ก สยามในช ว งปลาย กรุงศรีอยุธยาในหมูขาราชการและขุนนางชั้นสูง การศึ ก ษาเอกสารและข อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ลักษณะความเปนมาของสถาปตยกรรม เปนผลงาน ศิลปะทางดานการออกแบบของอาคารสิ่งกอสราง และ

46

ที่อยูอาศัย ในจังหวัดปตตานี มีการสรางอาคารและ สิ่งกอสรางที่มีลักษณะเฉพาะทองถิ่น โดยเฉพาะบานที่ อยูอาศัย สุเหราและมัสยิด เปนตน สถาปตยกรรมที่มี ความงามที่เกิดจากภูมิปญญาของชาวบานตั้งแตสมัย บรรพบุรุษ ซึ่งสถาปตยกรรมทองถิ่นในจังหวัดปตตานี โดยเฉพาะมัสยิดถือเปนสถาปตยกรรมที่เปนรูปแบบ อิสลามที่ไดรับอิทธิพลจากสถาปตยกรรมโรมัน การศึกษาเอกสารและขอมูลทีเ่ กีย่ วของกับลักษณะ ความเปนมาของการเขียนเทียนบนผาบาติก ซึง่ เทคนิค การเขียนเทียนบนผาบาติกมีลกั ษณะพิเศษเฉพาะ ทีต่ อ ง ใชทกั ษะและความชำ�นาญอยางสูง เพราะมีหลายปจจัยที่ ตองระวังและตองคำ�นึงถึง ขัน้ ตอนนีจ้ งึ จำ�เปนตองฝกฝน มากๆ ในสวนวิธีการเขียนเทียนนั้นจะตองเขียนหยด ดวยเทียนที่มีความรอนเหลว อุณหภูมิของน้ำ�เทียนตอง พอดีไมรอนหรือเย็นจนเกินไป ขั้นตอนนี้จะใชอุปกรณท่ี เรียกวา ชานติง้ (Canting) มาตักเทียนทีต่ ม ไวแลวนำ�ไป หยดเทียนเขียนเสนบนผาตามรูปทรงทีต่ อ งการ การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม ชุด รูปลักษณของ ชาวมลายูทองถิ่นปตตานี ในการสรางสรรคผลงานจิตรกรรม ชุด รูปลักษณ ของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี ขาพเจาไดวางแผนและ เรียบเรียงขัน้ ตอนตางๆ อยางเปนระบบ เพือ่ งายตอการ ปฏิบตั กิ าร โดยเริม่ ตนจากการศึกษาเนือ้ หาเรือ่ งราวตาม แนวความคิด หาขอมูล เทคนิค และวิธกี ารตางๆ เพือ่ ชวยเสริมสรางผลงานใหสมบูรณและมีความลงตัว ดังมี รายละเอียดขัน้ ตอนตามระยะเวลาและวิธกี ารสรางสรรค ตอไปนี้ ระยะของการหาขอมูล แบงออกเปน 2 ลักษณะ ดังนี้ 1.ข อ มู ล จากประสบการณ ต รง คื อ ด ว ย ขาพเจาเปนคนในพื้นถิ่นปตตานีโดยกำ�เนิด ไดสัมผัส รับรูและรูสึกกับวิถีชีวิตของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี มาตั้งแตวัยเยาวจนถึงปจจุบัน จนซึมซับภาพความ งดงามของวัฒนธรรมและกิจกรรมเหลานี้ โดยเฉพาะ การประกอบอาชี พ ประมงโดยใช เ รื อ กอและที่ มี ก าร ประดั บ ลวดลายจิ ต รกรรมเป น ยานพาหนะ นั บ เป น วิถีชีวิตที่เปยมลนดวยภูมิปญญาพื้นบานและปรัชญา


การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี เจะอับดุลเลาะ เจะสอเหาะ

ความเชือ่ ดวยความเรียบงาย ความพอเพียง อันสงผลตอ ความนึกคิดของขาพเจาโดยตรงในการสรางสรรคผลงาน นอกจากนี้ขาพเจายังไดนำ�เทคนิคการเขียนผา บาติกของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี นั่นคือเทคนิคที่มี ลักษณะพิเศษเฉพาะของการหยดเทียนเขียนผาบาติก ซึง่ มีสว นสำ�คัญอยางยิง่ ทีช่ ว ยใหขา พเจาเห็นความสำ�คัญ ของการใชเทคนิคการหยดสีในการสรางสรรคผลงาน อีก ทั้งยังเปนการคนหารูปแบบการสรางงานที่เปนลักษณะ เฉพาะตนของขาพเจาอีกดวย 2. ข อ มู ล จากหนั ง สื อ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ศิ ล ป วั ฒ นธรรมของเรื อ กอและ การดำ � เนิ น ชี วิ ต ของชาว มลายูทอ งถิน่ ปตตานีซงึ่ ประกอบอาชีพประมงโดยใชเรือ กอและทีม่ กี ารประดับลวดลายจิตรกรรมเปนยานพาหนะ เพื่อชวยเสริมความรูความเขาใจที่ลึกซึ้ง นอกเหนือจาก การไดสัมผัสและเรียนรูจากสถานที่จริง อันจะนำ�ไปสู ขั้นตอนการสรางสรรคผลงานศิลปะตอไป ระยะของการศึ ก ษาเรื อ กอและที่ มี ก าร ประดับลวดลายจิตรกรรม ในการสรางสรรคผลงานของขาพเจานั้น การ ศึกษาเรือกอและที่มีการประดับลวดลายจิตรกรรมเปน สิง่ ทีจ่ �ำ เปนอยางยิง่ ทัง้ การศึกษาลักษณะของเรือกอและ ลักษณะของลวดลายบนเรือกอและ เพือ่ ใหเกิดการรูแ จง ขาพเจาจึงใชวิธีการวาดเสนในการศึกษาโครงสรางพื้น

ฐานของสิ่งเหลานี้ โดยเฉพาะภาพลวดลายตางๆ และ ภาพสัตวทะเลทีม่ ลี กั ษณะหลากหลายและเพือ่ ใหไดตาม ลักษณะความตองการ ซึ่งจะตองเขียนใหรูสึกและรับรู ไดถึงความเปนสัตวทะเล การฝกฝนวาดเสนสิ่งเหลานี้ สม่ำ�เสมอ จะชวยใหสามารถแสดงออกถึงอารมณของ ลวดลายที่สมบูรณและเปนลักษณะเฉพาะตนไดมาก ยิ่งขึ้น ระยะของการสรางภาพราง ในขั้นตอนของการจัดทำ�ภาพรางนี้ สิ่งที่สำ�คัญ อยางยิง่ ในการประกอบการสรางสรรคคอื ขอมูลทีไ่ ดจาก ประสบการณจริงในพื้นถิ่นที่อยูอาศัยและขอมูลจาก หนังสือ การไดบันทึกขอมูล ทั้งการใชวิธีการวาดเสน และวิธีการถายภาพในสถานที่จริง จะนำ�มาชวยเสริมใน กระบวนการทำ�ภาพรางตอไป ในขั้นตอนนี้ขาพเจาไดจัดทำ�ภาพรางหลายๆ แบบ เพื่อวิเคราะหผล และหาความลงตัวในการจัด องคประกอบผลงานที่สรางสรรค ทั้งนี้การจัดทำ�ภาพ รางจะชวยแกปญหาตางๆ ที่จะเกิดขึ้น กอนนำ�ไปสู กระบวนการปฏิบัติงานจริงตอไป ซึ่งในการจัดทำ�ภาพ รางขาพเจาไดแบงออกเปน 2 ระยะ ดังนี้ 1. ระยะของการทำ�ภาพรางขาวดำ� เปนขั้นตอน ของการทำ�ภาพรางดวยเสน วางตำ�แหนงเรือ่ งราวทีต่ อ ง การนำ�เสนอ และจังหวะของตัวภาพใหลงตัวในกระดาษ

ภาพที่ 13 แสดงภาพตัวอยางภาพแบบรางระยะที่ 1 เปนภาพแสดงภาพรางความคิดดวยปากกาบนกระดาษ ที่เนนการจัดวาง องคประกอบใหสมบูรณที่สุดเพื่อกำ�หนดความเหมาะสมระหวางองคประกอบศิลปกับเนื้อหา

47


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

2. ระยะของการทำ�ภาพรางสี เปนขั้นตอนของ การนำ�ภาพรางขาวดำ�ที่วางตำ�แหนงของเรื่องราวตางๆ ไวอยางลงตัวแลว มาระบายสี โดยกำ�หนดโครงสีโดย รวม ดูเรื่องน้ำ�หนักของสีที่ใช สวนใดคือจุดเดนจุดรอง เพือ่ ใหมคี วามสมบูรณตามความรูส กึ ทีต่ อ งการแสดงออก และนำ�ไปใชในการประกอบการสรางสรรคจริงตอไป

ประมงซึ่งใชเรือกอและเปนยานพาหนะ ทั้งนี้ เนื่องจาก ในพื้นที่จังหวัดปตตานีมีพื้นที่ติดทะเลเปนสวนใหญ จึง มีการประกอบอาชีพประมงโดยใชเรือกอและเปนยาน พาหนะในการออกหาปลามาตั้งแตสมัยบรรพบุรุษ ซึ่ง ตอมาไดมีการประดับลวดลายบนเรือกอและ โดยฝมือ ชางพื้นบานซึ่งมีทักษะและประสบการณในการเขียน

ภาพที่ 14 แสดงภาพตัวอยางภาพแบบรางระยะที่ 2 เปนภาพแบบรางซึ่งเนนโครงสราง ของสีสวนรวมของภาพเพื่อเชื่อมโยง โครงสรางของเรื่องกับรูปทรงรวมถึงความเหมาะสมกลมกลืนอยางมีเอกภาพของบรรยากาศสีที่ใชในการสรางสรรค

ระยะของการสรางสรรคผลงานจริง ขาพเจาไดเลือกนำ�ภาพรางมาขยายเปนผลงาน โดยผานกระบวนการสรางสรรคผลงานกรรมวิธแี ละวัสดุ ในการสรางงานจิตรกรรม ใชวัสดุจากเยื่อกระดาษทำ� ดวยมือและสีอะครีลิค สรางรูปทรงดวยลักษณะผิวที่ เตรียมไวบนพื้นกระดาษและกรรมวิธีในการใหสีเปนจุด นูนเล็กๆ ทัว่ ทัง้ ภาพ ใหความรูส กึ เคลือ่ นไหว สัน่ สะเทือน แกผลงานสวนรวม แรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงาน แรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานจิตรกรรม ชุด รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี เปนการ นำ�แรงบันดาลใจมาจากวิถีชีวิตของชาวมลายูทองถิ่น ปตตานี เปนวิถชี วี ติ แหงความพอเพียงทีข่ า พเจาพบเห็น มาตั้งแตเยาววัย โดยเฉพาะวิถีชีวิตการประกอบอาชีพ

48

ลวดลายบนเรื อ กอและได อ ย า งงดงามจนกลายเป น เอกลักษณเฉพาะทองถิ่น โดยนำ�รูปทรงของลวดลาย เรือกอและ อีกทั้งยังไดรับแรงบันดาลใจจากรูปทรงของ กริชตลอดจนรูปทรงสถาปตยกรรมทองถิ่นที่เปนโดม โคงของมัสยิด ที่พบเห็นในพื้นที่จังหวัดปตตานี อันเปน วัฒนธรรมการประกอบอาชีพที่สะทอนถึงวิถีชีวิตแหง ความพอเพียงและรักในความงามของศิลปะมาตั้งแต สมัยบรรพบุรษุ จนถึงปจจุบนั ความงดงามในการดำ�เนิน ชีวิตเยี่ยงนี้ไดสงผลตอความรูสึกนึกคิดของขาพเจา โดยตรง แนวความคิดในการปฏิบัติงานสรางสรรค แนวความคิดในการปฏิบตั งิ านสรางสรรค ผลงาน จิตรกรรม ชุด รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี เกิดจากความประทับใจในความงามของลวดลาย รูปทรง


การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี เจะอับดุลเลาะ เจะสอเหาะ

และสี สั น ที่ ป ระณี ต อ อ นช อ ยของเรื อ กอและ รู ป ทรง กริ ช และรู ป ทรงของโดมโค ง มั ส ยิ ด ที่ ผู  ส ร า งสรรค พบเห็นอยางคุนเคยมาตั้งแตเยาววัย ที่บรรพบุรุษได คิดคนขึ้นมาใชในชีวิตประจำ�วัน สงผลใหผูสรางสรรค เก็บรายละเอียดแหงรอยพิมพใจนั้นมาถายถอดออกมา ในฐานะนักสรางสรรคศิลปะเปนผลงานจิตรกรรมดวย เทคนิควัสดุผสม ใหผูคนไดเห็นความงามอันเปนทรัพย ทางสุ น ทรี ย  จ ากผู  ค นในท อ งถิ่ น ที่ มี วิ ถี แ ห ง ความ พอเพียงมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน โดยนำ�มาแสดง ออกดวยทัศนธาตุ เทคนิค และกระบวนการสรางสรรค โดยมุ  ง หวั ง ที่ จ ะค น พบรู ป แบบและแนวทางการ สร า งสรรค ใ หม ที่ แ สดงเอกลั ก ษณ ข องชาวมลายู ทองถิ่นปตตานีและของตัวผูสรางสรรคเอง การวิเคราะหผลงานจิตรกรรม ชุด รูปลักษณของ ชาวมลายูทองถิ่นปตตานี จากการวิเคราะหผลงาน ในการสรางสรรคผลงาน จิตรกรรม ชุด รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี ซึง่ ประกอบดวยผลงานจิตรกรรมชุด จิตรกรรมวัสดุผสม ที่ไดรับแรงบันดาลใจจากลวดลายเรือกอและ ผลงาน จิตรกรรมชุดรูปลักษณจากทองถิ่น ผลงานจิตรกรรมชุด สีสันจากทองถิ่น และผลงานจิตรกรรมชุดรูปลักษณจาก ทองถิ่นปตตานี ซึ่งมีหลักการวิเคราะหโดยมุงเนนการ วิเคราะหใน 2 สวน คือ รูปทรงกับเนื้อหาเปนหลัก และมีรายละเอียดในการวิเคราะห ประกอบดวย การ วิเคราะหการสังเคราะหทัศนธาตุ การวิเคราะหเอกภาพ การวิเคราะหรปู แบบหรือแบบอยาง การวิเคราะหเทคนิค การวิเคราะหสญ ั ลักษณทใี่ ชในการแสดงออก รวมถึงการ วิเคราะหทัศนธาตุในการสรางสรรคผลงานซึ่งภายหลัง จากการวิเคราะหผลงานการสรางสรรคจิตรกรรม ชุด รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี สามารถที่จะ รับรูหลักของการวิเคราะหผลงาน ซึ่งไดใหความรูและ ความเขาใจในการศึกษางานและพัฒนางานรวมทัง้ ทราบ ถึงขอบกพรองของผลงาน เปนผลดีในการพัฒนาผลงาน สรางสรรคตอไป จากการศึ ก ษาการวิ เ คราะห ผ ลงาน ในการ สรางสรรคผลงานชุด รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่น ปตตานี โดยอาศัยหลักในการวิเคราะหดงั กลาวมา พบวา

เรื่อง เปนการนำ�เสนอถึงเรื่องราวความงาม ของลวดลายเรือกอและ ในจังหวัดปตตานี อันเปน เอกลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี โดยมีเรื่องราว ของลวดลายเรือกอและที่มีอยูโดยทั่วไปในทองถิ่น ซึ่ง ชาวบานโดยสวนใหญใชเรือกอและเปนยานพาหนะใน การประกอบอาชีพประมง เปนเรือที่มีความงดงามดวย ภู มิ ป  ญ ญาท อ งถิ่ น ที่ ช าวบ า นให ค วามสำ � คั ญ และ สรางสรรคลวดลายบนเรือกอและขึ้นมา แนวเรื่อง แสดงใหเห็นถึงคุณคาของลวดลาย เรือกอและ ในจังหวัดปตตานี เกิดเปนแรงบันดาลใจใหมี แนวความคิดที่จะสรางสรรคผลงานจิตรกรรมวัสดุผสม ที่มีลักษณะรูปแบบเฉพาะตัวของผูสรางสรรค โดยได สรางสรรคผลงานจิตรกรรมวัสดุผสมเกี่ยวกับลวดลาย เรือกอและ ซึ่งหยิบยกในเรื่องความงามของ รูปทรง ลวดลาย สีสนั เพือ่ ศึกษาลวดลายและทีม่ าของลวดลาย บนเรือกอและ ตลอดจนคนควาทดลองและสรางสรรค ผลงานจิ ต รกรรมวั ส ดุ ผ สมที่ไ ด รับ แรงบั น ดาลใจจาก ลวดลายเรือกอและเพือ่ เปนการคนหาแนวทางการแสดง ออกในการสรางงานจิตรกรรมและนำ�สูก ารเรียนการสอน ในสาขาวิชาทัศนศิลป ในรูปแบบจิตรกรรมวัสดุผสม เนื้อหา เกิดจากการประสานกันของทัศนธาตุ ตางๆ อันไดแกจดุ เสน สี พืน้ ทีว่ า ง น้�ำ หนัก และพืน้ ผิว ของภาพผลงานจิตรกรรม ชุด รูปลักษณของชาวมลายู ทองถิ่นปตตานี รูปทรงของเรือ ลวดลาย สีในลักษณะ ตางๆ สถาปตยกรรมโดมโคง ตลอดจนรูปทรงของกริช อันแสดงถึงความเปนเอกลักษณเฉพาะถิ่นของคนใน จังหวัดปตตานี สงผลใหเล็งเห็นสิ่งที่นาคนหาในดาน ความงามของวิถชี วี ติ ทีเ่ ปนเอกลักษณของทองถิ่น โดย ใชกระบวนการ กลวิธีทางทัศนศิลปเขาไปจัดการสราง สรรคผลงานศิลปะ นำ�ความประสานกลมกลืนระหวาง เนือ้ หาและเทคนิควิธกี ารภายใตกฎเกณฑของความเปน เอกภาพ โดยผลงานชุดนี้เกิดความเปนเอกภาพอาศัย การใชทัศนธาตุทางทัศนศิลปมาจัดการสรางสรรคเปน รูปลักษณใหม ในรูปแบบของภาพจิตรกรรมวัสดุผสมที่ เปนรูปแบบเฉพาะตัว ในระหว า งการสร า งสรรค ผ ลงานจิ ต รกรรม ชุด “รูปลักษณของชาวมลายูทอ งถิ่นปตตานี” ไดประสบ ปญหา ที่ตองหากระบวนการแกไข ปรับปรุง และ

49


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

พัฒนาการสรางสรรคผลงานในแตละชิ้นแตละชุด เพื่อ ให ไ ด ผ ลตรงตามความรู  สึ ก ที่ ต  อ งการถ า ยทอดและ นำ�เสนอ ดังการดำ�เนินงานและพัฒนาผลงานตามที่ ไดวิเคราะหมาขางตน โดยผลงานในแตละชิ้นแตละชุด นั้นไดอาศัยหลักการวิเคราะหที่เหมือนกันทุกชิ้น ทัง้ นีก้ ารวิเคราะหผลงานศิลปะนัน้ จะประเมินผล ในผลงานศิลปะโดยจะพิจารณาจากการหยัง่ รู ความรูส กึ ความสมบูรณของเทคนิค และรูปแบบทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ ตัวของผูส รางสรรค รวมถึงการแกปญ  หา และความคิดที่ นำ�มาสรางเปนรูปรางความสมบูรณในการแสดงออก และ นำ�เสนอในสิ่งที่ตองการสะทอนเรื่องราวนั้นๆ ผูทำ�การ วิเคราะหผลงานควรสรุปประเด็นจากการวิเคราะหถึง การถายทอดทางทัศนศิลปของผูส รางสรรค กลาวคือ ศึกษา จุดมุงหมายสำ�หรับการสรางสรรคท่เี ปนลักษณะเฉพาะ ตัวของผูส รางสรรค วามีความมุง หมายอยางไร ตองการ แสดงออกเกีย่ วกับอะไร เพือ่ ใหไดผลตามทีว่ างไวอยางไร การกำ�หนดรูปทรงมีความเหมาะสม หรือไม ผูส รางสรรค กำ�หนดรูปทรงของตัวเองขึน้ มาใหมอยางไรและสอดคลอง กับจุดมุง หมาย ตลอดจนเทคนิคทีน่ �ำ มาใชนน้ั เปนอยางไร รวมถึงวิเคราะหความคิดของผูสรางสรรค วามีความคิด อยางไรในการกำ�หนดรูปทรงตางๆ ขึน้ มา สามารถเปน ตัวแทนความคิด อารมณ ความรูส กึ ของตัวผูส รางสรรค ไดหรือไม ตลอดจนเขาใจถึงคุณลักษณะเฉพาะของเทคนิค กระบวนการสรางภาพใหปรากฏ อีกทัง้ ยังศึกษาแนวคิด ในการถายทอดของอดีตและปจจุบัน โดยพยายามใน การทำ�ความเขาใจการถายทอดผลงานทางทัศนศิลปของ ผูส รางสรรค ทัง้ ในอดีตและปจจุบนั โดยอาศัยการตีความ จากพั ฒ นาการของผลงานที่ป รากฏในแต ล ะชุ ด ที่ผู สรางสรรคไดสรางสรรคขน้ึ มา ซึง่ จะชวยใหเกิดความเขาใจ การสรางสรรคผลงานทัศนศิลปไดอยางลึกซึง้ และสามารถ ทีจ่ ะรับรูห ลักของการวิเคราะหผลงาน ซึง่ ไดใหความรูแ ละ ความเขาใจในการศึกษาผลงานและพัฒนาผลงานรวมทัง้ ทราบถึงขอบกพรองของผลงาน ซึง่ เปนผลดีในการพัฒนา และแกไขปรับปรุงผลงานของตนเองใหกา วหนาตอไป ปญหาและขอเสนอแนะในการสรางสรรค ในการสรางสรรคผลงานจิตรกรรม ชุด รูปลักษณ ของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี พบวาปญหาในกระบวน

50

การขั้นตอนของการผสมกาวในเยื่อกระดาษโดยเฉพาะ ในชวงแรกของการสรางสรรคผลงาน เนื่องจากเวลา สรางแผนกระดาษเสร็จแลวนำ�ไปตากใหแหงสนิทนั้น เมื่อนำ�กระดาษมาใชงานจะพบวากระดาษจะขาดงาย เนื่องจากผสมกาวนอยเกินไป ซึ่งตองแกไขปญหาโดย ใชวิธีการทากาวบนกระดาษเพิ่มเติม แตในภายหลัง ก็ ส ามารถคำ � นวณปริ ม าณในการผสมกาวได อ ย า ง ถูกตอง นอกจากนี้ยังพบปญหาที่เกี่ยวของกับสภาพ อากาศ เนื่ อ งจากสภาพภู มิ อ ากาศในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ป ต ตานี มี ฝ นตกชุ ก ตลอดป โ ดยเฉพาะในฤดู ฝ นหรื อ มรสุมมีผลตอกระบวนการสรางสรรคผลงาน โดยเฉพาะ ในขั้ น ตอนการทำ � เยื่ อ กระดาษจำ � เป น ที่ จ ะต อ งอาศั ย แสงแดดในการตากเยื่อกระดาษเพื่อใหแหงสนิท ซึ่ง สภาพภูมิอากาศดังกลาวจึงเปนอุปสรรคเปนอยางยิ่ง ตอการสรางรูปทรงกระดาษใหเปนแผนทำ�ใหกระดาษ แหงชาและเกิดเชื้อราบนกระดาษ ซึ่งปญหาดังกลาวที่ เกิดขึ้นในขั้นตอนการปฏิบัติงานนั้น ถือเปนการแกไข ปญหาตางๆในขณะทำ�งาน ในการรับรูถึงปญหาครั้งนี้ ซึ่งเปนผลดีตอการพัฒนาและแกไขปญหาของผลงาน สรางสรรคตอไป สำ � หรั บ ข อ เสนอแนะในป ญ หาที่ ไ ด ก ล า วมา ขางตน ผูสรางสรรคจะตองมีการเตรียมความพรอม ในทุกๆดานทั้งในเรื่องของสถานที่การปฏิบัติงาน การ ศึ ก ษาค น คว า หาข อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข อ งให มี ค วามชั ด เจน การจัดทำ�ภาพแบบรางอยางเขมขน ตองมีการวางแผน ในขั้ น ตอนและกระบวนการต า งๆในการปฏิ บั ติ ง าน อยางเปนระบบ ซึ่งนอกจากนี้จะตองมีการดูแลเอาใจ ใสกับผลงานการสรางสรรคเปนกรณีพิเศษ เพื่อปองกัน ปญหาและความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นมาภายหลัง หาก ผูสรางสรรคปฏิบัติดังที่กลาวมาอยางเครงครัดปญหา และความผิดพลาดในการปฏิบัติงานก็จะไมเกิดขึ้นมา ผลสรุ ป จากการสร า งสรรค ผ ลงานจิ ต รกรรม ชุด รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี นับเปน ประสบการณทสี่ ง ผลตอการดำ�เนินชีวติ ของผูส รางสรรค เปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะคุณคาทางดานศิลปะ ที่มีการ สรางสรรคผลงานในลักษณะเฉพาะตน ทั้งเรื่องราวที่ แสดงออก และแนวความคิดในการสรางสรรคผลงาน นอกจากนี้ยังสงผลตอระบบทางความคิด ระเบียบและ


การสรางสรรคผลงานจิตรกรรม รูปลักษณของชาวมลายูทองถิ่นปตตานี เจะอับดุลเลาะ เจะสอเหาะ

วินยั ในการดำ�รงชีวติ การแกไขปญหาเฉพาะหนา ตลอด จนความศรัทธาตอการสรางสรรคผลงานศิลปะอยาง ต อ เนื่ อ ง การสร า งสรรค ผ ลงานศิ ล ปะในแต ล ะครั้ ง จำ�เปนที่จะตองวางแผนกระบวนการทำ�งานอยางเปน ระบบ ทำ�งานอยางสม่ำ�เสมอเพื่อรักษาระดับมาตรฐาน ของการสรางสรรคผลงานใหเกิดความตอเนื่อง อีกทั้ง ยังตองมีความศรัทธาตองานศิลปะที่ไดสรางขึ้นมาดวย ความจริงจังอีกดวย



สิง่ ตางๆ ทีไ่ ดกลาวมาขางตน จะเปนพลังในการ กระตุนตอแรงกายแรงใจในการสรางจิตวิญญาณของ นักสรางสรรค สงผลตอความกาวหนาในหนาที่การงาน และชีวิตที่สูงสงในบริบทของนักสรางสรรค อีกทั้งยัง สามารถนำ�ความรูและประสบการณจากการสรางสรรค ผลงาน ไปใชในกระบวนการเรียนการสอนในหลักสูตร สาขาวิชาทัศนศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี และผูสอนโดยทั่วไป เพื่อเปนแบบอยางในการสรางผลงานศิลปะตอไป 



51


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

เอกสารอางอิง กรมศิลปากร. (2544). วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญา จังหวัดปตตานี. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: องคการคาของคุรุสภา. เจะอุเซ็ง เจะซู. (2542). เรือกอและ. กรุงเทพฯ: องคการคาของคุรุสภา. เจะอับดุลเลาะ เจะสอเหาะ. (2548). การสรางสรรคผลงานวิถีชีวิตชาวมลายูในทองถิ่นสามจังหวัดชายแดน ภาคใต. ปตตานี: คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี. __________. (2549). รายงานสรุปผลงานสรางสรรคการออกแบบลวดลายประดับเรือแขง. ปตตานี: คณะ ศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี. __________. (2549). การสรางสรรคผลงานชุดจิตรกรรมวัสดุผสมทีไ่ ดรบั แรงบันดาลใจจากลวดลายเรือกอและ. ปตตานี: คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี. __________. (2550). การสรางสรรคผลงานชุด รูปลักษณจากทองถิน่ . ปตตานี: คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี. __________. (2551). การสรางสรรคผลงานชุด สีสนั จากทองถิน่ . ปตตานี: คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี. ชลูด นิ่มเสมอ. (2553). องคประกอบของศิลปะ. พิมพครั้งที่ 7 (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: อมรินทร. __________. (2532). การเขาถึงศิลปะในงานจิตรกรรมไทย. กรุงเทพฯ: อมรินทร พริ้นติ้ง กรุพ. ปญญา เทพสิงห. (2548). ศิลปะเอเชีย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พิเชษฐ เปยรกลิ่น. (2551). รายงานผลการสรางสรรคผลงานจิตรกรรมชุด รูปลักษณแหงศรัทธา. ปตตานี: คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี. ไพบูรณ ดวงจันทร. (2526). ดนตรี กีฬา และการละเลนของชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต. ปตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี. สุธิวงศ พงศไพบูลย และคณะ. (2543). กะเทาะสนิมกริช: แลวิถีชีวิตชาวใตตอนลาง. สำ�นักกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.).

52


ความสัมพันธทางการคากับการแสวงหาอำ�นาจของเมืองพิษณุโลกในพุทธศตวรรษที่ 22-231 The relation of the trade and Power seeking of Phitsanulok in the Buddhist era is 22-23 ธีระวัฒน แสนคำ� 2 Teerawatt Sankom บทคัดยอ เมืองพิษณุโลกเปนเมืองที่มีทรัพยากรสำ�คัญและเปนชุมทางการคมนาคมในภูมิภาค ทำ�ใหเมืองพิษณุโลกเปน ชุมทางการคาขายแลกเปลี่ยนสินคาที่ส�ำ คัญ ในพุทธศตวรรษที่ 22-23 เปนชวงระยะเวลาที่พอคาชาวตางชาติมาติด ตอคาขายที่กรุงศรีอยุธยาจำ�นวนมาก สงผลใหเมืองพิษณุโลกไดอาศัยผลประโยชนทางการคาแสวงหาอำ�นาจเพื่อตอ รองและสรางดุลอำ�นาจกับศูนยอำ�นาจรัฐ และสรางความสัมพันธทางการคากับชาวตางชาติ บานเมืองใกลเคียงและ เมืองบริวาร คำ�สำ�คัญ: 1. เมืองพิษณุโลก. 2. กรุงศรีอยุธยา. 3. ของปา. 4. ความสัมพันธทางการคา. 5. การแสวงหาอำ�นาจ. Abstract Phitsanulok has important resources and is a transportation hub of the region. Phitsanulok is a trading centre to exchange goods. In the 22nd to 23rd Buddhist era of, it was a period that foreigner merchants came to trade in Ayudhya. Therefore, Phitsanulok took advantage from the trading to seek to build the balance of power with centre of power state, and to build up relationships in trading with the foreigners in neighbouring countries. Keywords: 1. Phitsanulok. 2. Ayudhya. 3. Goods of the forest. 4. The relation of the trade. 5. Power seeking.

__________________ 1 บทความนีเ้ ปนสวนหนึง่ ของวิทยานิพนธเรือ่ ง “เมืองพิษณุโลก : ประวัตศิ าสตรทอ งถิน่ ของหัวเมืองใหญภายใตโครงสรางอำ�นาจ รัฐแบบจารีต” สาขาวิชาประวัติศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2 นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาประวัติศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

1. ความนำ� เมืองพิษณุโลกเปนเมืองโบราณขนาดใหญสดุ ใน เขตลุมแมน้ำ�นาน เนื่องจากมีที่ราบลุมกวางขวางอุดม สมบูรณและมีทรัพยากรที่สำ�คัญ เชน เกลือสินเธาว เหล็ก และของปา เปนตน นอกจากนี้พื้นที่ทางดาน ตะวันออกของเมืองยังเปนเขตเทือกเขาที่เปนแหลง ตนน้ำ�สาขาของแมน้ำ�นาน แหลงปาไมและของปาที่ สำ�คัญดวย ตำ�แหนงที่ตั้งของเมืองยังเปนชุมทางการ คมนาคมในภูมิภาค ทำ�ใหมีผูคนจำ�นวนมากเขามาตั้ง ถิ่นฐานภายในเมืองพิษณุโลก จนทำ�ใหเมืองพิษณุโลก เป น ชุ ม ทางการค า ขายแลกเปลี่ ย นสิ น ค า และจุ ด ยุทธศาสตรทสี่ �ำ คัญดวย เนือ่ งจากเปนชุมทางทีส่ ามารถ ติดตอกับเมืองหลวงและเมืองสำ�คัญในอาณาจักรกรุง ศรีอยุธยา ลานนา ลานชางและพมาได เมื อ งพิ ษ ณุ โ ลกก อ รู ป เมื อ งขึ้ น ประมาณพุ ท ธ ศตวรรษที่ 18 ตอมาถูกผนวกเปนสวนหนึง่ ของอาณาจักร สุโขทัย และเปนเมืองหลวงของอาณาจักรสุโขทัยในชวง ปลายพุทธศตวรรษที่ 19-20 ภายหลังเมื่ออาณาจักร กรุงศรีอยุธยาซึง่ สถาปนาขึน้ ในทีร่ าบลุม แมน�้ำ เจาพระยา ไดขยายอำ�นาจขึ้นมา และผนวกเอาอาณาจักรสุโขทัย ใหกลายเปนหัวเมืองฝายเหนือของกรุงศรีอยุธยาในตน พุทธศตวรรษที่ 21 ทำ�ใหเมืองพิษณุโลกมีสถานะเปนเมือง ลูกหลวงที่ผูปกครองเมืองลวนแตเปนพระมหาอุปราช แหงกรุงศรีอยุธยา ตอมาจึงถูกลดสถานะเปนหัวเมือง ชัน้ เอกทีผ่ ปู กครองมีสถานะเปนเพียงขุนนางในหัวเมือง เทานัน้ (หวน พินธุพนั ธ 2514 : 1-19) ดวยลักษณะความ เปนหัวเมืองใหญจงึ ทำ�ใหเมืองพิษณุโลกเปนเมืองสำ�คัญ ทีม่ คี วามสัมพันธและมีบทบาททางการเมืองการปกครอง เปนฐานกำ�ลังพลในการทำ�สงครามและเปนแหลงสินคา ของกรุงศรีอยุธยา และในชวงพุทธศตวรรษที่ 22-23 ซึ่งเปนชวง เวลาทีพ่ อ คาชาวตางชาติมาติดตอคาขายทีก่ รุงศรีอยุธยา จำ�นวนมาก เนื่องจากกรุงศรีอยุธยามีที่ตั้งซึ่งเอื้อตอการ เดิ น ทางเข า สู  ดิ น แดนตอนในอั น กว า งใหญ แ ละเดิ น ทางออกทะเล และตัง้ อยูบ นภาคพืน้ ทวีปเอเชียตะวันออก เฉียงใต ซึง่ ถือเปนจุดสำ�คัญของการคาระหวางสองนาน น้ำ�คือ นานน้ำ�ทะเลจีนใต และมหาสมุทรอินเดียหรือ

54

อาวเบงกอล การเดินเรือในสมัยนั้นตองอาศัยลมมรสุม ส ง ผลให ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเป น แหล ง รวมสิ น ค า จากสอง นานน้ำ� พอคาจากทะเลจีนใตทตี่ อ งการสินคาจากพอคา อินเดียและตะวันออกกลางสามารถเขามาซื้อสินคาไดที่ กรุงศรีอยุธยา นอกจากนี้ยังมีพอคาชาวตะวันตกที่เขา มาทำ�การคาเครื่องเทศบางชนิดดวย ในขณะเดียวกัน กรุงศรีอยุธยาก็ไดนำ�สินคาของปาและแรธาตุที่ไดมา จากดินแดนภายในอันกวางใหญมาทำ�การคา (วรางคณา นิพัทธสุขกิจ 2550 : 9-10) จึงสงผลใหเมืองพิษณุโลก และหัวเมืองตางๆ ไดรบั ผลกระทบจากการขยายตัวของ การคา และยังพบวาเจาเมืองพิษณุโลกไดอาศัยผล ประโยชนที่ไดรับจากการคาแสวงหาอำ�นาจเพื่อตอรอง และสรางดุลอำ�นาจกับกรุงศรีอยุธยาดวย 2. การสงสินคาออกของเมืองพิษณุโลก ภายในเขตเมืองพิษณุโลกซึ่งมีพื้นที่สวนใหญ เป น ที่ ร าบลุ  ม กว า งขวางและยั ง มี ภู เ ขาอยู  ท างทิ ศ ตะวันออก จึงทำ�ใหมีทรัพยากรซึ่งเปนสินคาที่ตองการ ของพอคาชาวตางชาติหลายอยาง กรุงศรีอยุธยาซึ่ง เปนศูนยอำ�นาจรัฐจึงพยายามที่จะขยายอำ�นาจเขามา ครอบงำ � ปกครองเมื อ งเพื่ อ จะได เ รี ย กเอาทรั พ ยากร เหลานั้นลงไปเก็บไวยังพระคลังสินคาใหไดมากที่สุด เพื่อสงขายตอใหกับพอคาตางชาติ ผานการบังคับและ ควบคุมไพรสวยใหสงสวยสินคาตามที่พระคลังสินคา ตองการ โดยมีเจาเมืองพิษณุโลกเปนผูร บั ผิดชอบในการ รวบรวมสวยที่เก็บไดภายในเมือง 2.1 สินคาสงออกทีส่ �ำ คัญของเมืองพิษณุโลก สินคาสงออกของเมืองพิษณุโลกในที่นี้ ผูเขียน หมายถึงสินคาที่พอคาชาวตางชาติตองการและมีหลัก ฐานวาสินคาดังกลาวมีที่มาจากเมืองพิษณุโลก จากการ ศึกษาของผูเขียนพบวา เมืองพิษณุโลกมีสินคาสงออก ที่สำ�คัญซึ่งสวนใหญเปนของปา ของปาในที่นี้หมายถึง สัตวและพืชที่มีอยูในปา หรือผลผลิตที่ไดจากสิ่งเหลา นั้น ซึ่งมีคุณคาทางเศรษฐกิจ แตไมรวมตนไมในฐานะ ที่เปนวัสดุกอสราง ไดแก (1) หนังกวาง พอคาชาวญี่ปุนตองการหนัง กวางจำ � นวนมากไปเป น วั ต ถุ ดิ บ ทำ � เครื่ อ งหนั ง และ เสื้อหนัง ถุงมือ รวมทั้งทำ�ซองปน สวนหนังกวางเนื้อ


ความสัมพันธทางการคากับการแสวงหาอำ�นาจของเมืองพิษณุโลกในพุทธศตวรรษที่ 22-23 ธีระวัฒน แสนคำ�

ออนใชสำ�หรับเช็ดเลนส สวนหนังสัตวอื่นๆ นั้นสามารถ นำ�ไปทำ�เกราะ ทำ�ถุงเทาทีเ่ รียกวา tabi และใชคลุมกลอง และหีบ (วรางคณา นิพัทธสุขกิจ 2550 : 30) ในปาแถบ เมืองพิษณุโลกมีกวางอาศัยอยูจำ�นวนมาก พอคาชาว ฮอลันดาบันทึกไววา ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2183 “น้ำ�ใน เมืองพิษณุโลกและกำ�แพงเพชร (Caphein) ขึ้นสูงอยาง รวดเร็วจนกวางเปนจำ�นวนมาก จมน้�ำ ตายในการวายน้�ำ ขามแมน้ำ� และถูกจระเขและเสือกัดกิน ครั้นหลังจากน้ำ� ลดแลวมีสตั วปา ลมตายไป ซึง่ พวกบานนอกก็ไมสามารถ เขาไปใกลเพื่อถลกหนังไดเพราะกลิ่นเหม็นรุนแรงเหลือ เกิน” (กรมศิลปากร 2513ข : 222) เมื่อพิจารณาจากบันทึกแลว ผูเขียนมีความเห็น วาบริเวณที่กวางอาศัยอยูจำ�นวนมากนาจะเปนบริเวณ ปาในลุมแมน้ำ �ยมรอยตอระหวางเมืองพิษณุโลกกับ เมืองกำ�แพงเพชร เนื่องจากวาเปนพื้นที่ราบลุมและ มีน้ำ�ทวมขังเสมอในฤดูฝน อีกอยางกวางปาก็ชอบอยู ที่ราบมากกวาเขตภูเขาในทางดานตะวันออกของเมือง บริ เ วณนี้ ถื อ ว า เป น เขตเมื อ งชุ ม ษรสำ � แดงและเมื อ ง ชุมแสงสงครามซึ่งเปนเมืองบริวารของเมืองพิษณุโลก จึงเปนไปไดวาไพรสวยสองเมืองนี้บางสวนจะสงหนัง กวางเปนสวยใหแกพระคลังสินคาเพราะหนังกวางเปน สินคาผูกขาด ราคาหนังกวางที่กรุงศรีอยุธยาสงขาย ประมาณป พ.ศ.2156 ผืนใหญ 100 ผืน ตอ 5-6 ชั่ง หรือ 7-8 ชั่ง เมื่อเปนที่ตองการมาก สวนหนังกวาง 3 ชนิดคละกันคือ 100 ผืน ตอ 3-4 ชั่ง หรือ 5-6 ชั่ง เมื่อ เปนที่ตองการมาก (วรางคณา นิพัทธสุขกิจ 2550 : 31) นอกจากนี้ยังพบวาการสงหนังกวางจากเมืองพิษณุโลก ตองถูกงดไปชั่วคราวในป พ.ศ.2183-2184 เนื่องจากวา พระเจาปราสาททองไดสั่งใหชาวเมืองตัดตนไมจ�ำ นวน มากทำ�ใหกระทบตอการลากวาง และไมสามารถรวบรวม หนังกวางไดตามทีพ่ อ คาตางชาติตอ งการ (กรมศิลปากร 2513ข : 224-225) (2) ไม ฝ าง ไม ฝ างเป น สิ น ค า ส ง ออกสำ � คั ญ ชนิดหนึ่งของกรุงศรีอยุธยา และสงเปนบรรณาการแด ฮองเตจนี ตัง้ แตเริม่ แรก นอกจากจีนแลวไมฝางยังขายดี ที่ญี่ปุน (วรางคณา นิพัทธสุขกิจ 2550 : 31) สามารถนำ� มาตมเพือ่ ใชยอ มผาใหไดสแี ดงหรือมวงและมีคณ ุ สมบัติ เปนยาสมุนไพรดวย ลาลูแบรไดบันทึกไววา “พิษณุโลก

เปนหัวเมืองทีม่ กี �ำ แพงใหญ (แตผพุ งั ) ตัง้ อยูท สี่ าขาแมน้ำ� หางจากกรุงศรีอยุธยาไปทางตะวันออกประมาณ 40 ไมล ทามกลางปาไมฝาง ไมนี้ถูกขายเปนสินคาออกจำ�นวน มากและเปนไมฝางที่ดีที่สุดที่สามารถหาไดในประเทศ สยามทั้งหมด” (ลาลูแบร 2552 : 106) ไมฝางนาจะ พบไดทั่วไปตามพื้นที่ปาในพื้นที่เมืองพิษณุโลกและ เมืองบริวาร ไมฝางเปนสินคาผูกขาดของพระคลังสิน คาและถือเปนสวยที่หัวเมืองและไพรสวยตองสงไปยัง กรุงศรีอยุธยา ราคาการรับซื้อไมฝางของพระคลังสินคา ในชวงกลางพุทธศตวรรษที่ 22 อยูที่หาบละ 2 สลึง 5 เฟอ ง พระคลังสินคาขายตอในราคา 6 สลึง ไดก�ำ ไรเกือบ 1 บาท (วรางคณา นิพัทธสุขกิจ 2550 : 32) แตในบาง ปไมฝางเปนที่ตองการของพอคาตางชาติมาก เชน ใน ป พ.ศ.2154 พระคลังสินคาไดขึ้นราคาไมฝางเปนหาบ ละ 2 บาท (กรมศิลปากร 2513ก : 272) (3) เหล็ก เหล็กถือวาเปนสินคาสำ�คัญของเมือง พิษณุโลกมาตัง้ แตแรกกอรูปเมืองประมาณพุทธศตวรรษ ที่ 18 และนาจะเปนปจจัยสำ�คัญที่ทำ�ใหกรุงศรีอยุธยา ขยายอำ�นาจเขามาปกครองเมืองพิษณุโลกในชวงพุทธ ศตวรรษที่ 21 แหลงถลุงแรเหล็กอยูในบริเวณลุมแมน้ำ� แควนอยและลุมแมน้ำ�วังทองทางดานตะวันออกของ เมืองพิษณุโลก ผูเขียนสันนิษฐานวาแหลงถลุงแรเหล็ก อยู  ใ นเขตเมื อ งไทยบุ รี ซึ่ ง เป น เมื อ งบริ ว ารของเมื อ ง พิษณุโลก เพราะบริเวณแหลงถลุงแรเหล็กดังกลาว อยูใ กลเคียงกับตำ�แหนงทีต่ งั้ ของเมืองไทยบุรี และเชือ่ วา น า จะมี ไ พร ส  ว ยกลุ  ม หนึ่ ง โดยเฉพาะที่ ถ ลุ ง แร เ หล็ ก สงสวย ยอรจ ไวทบันทึกไวเมื่อ พ.ศ.2154 วา เหมือง แรเหล็กในเมืองสุโขทัยและเมืองพิษณุโลกสามารถถลุง ไดปริมาณพอใชในประเทศและในบางโอกาสมีเหลือพอ ที่จะสงออกไปจำ�หนายที่มะนิลา ราคาปกติประมาณ 6-7 บาท ตอ 1 หาบ (กรมศิลปากร 2513ก : 275) (4) น้ำ�ตาล น้ำ�ตาลในที่นี้ไมใชน้ำ�ตาลที่ผลิตจาก ออย แตนาจะเปนน้ำ�ตาลที่ไดจากตนตาลที่เรียกวา น้ำ�ตาลโตนดมากกวา เพราะออยมีการนำ�เขามาใน ภายหลังและแรกๆ นิยมปลูกในทีร่ าบลุม แมน�้ำ ภาคกลาง เทานั้น น้ำ�ตาลที่ไดจากตนตาลสามารถนำ�ไปเคี่ยวทำ� น้ำ�ตาลได โดยจะไดน้ำ�ตาลที่เปนปกและเปนกอนแข็ง สีคล้ำ�ๆ ซึ่งสามารถเก็บไวไดนานและสะดวกตอการ

55


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ขนสงคาขาย ยอรจ ไวทบันทึกไวเมื่อ พ.ศ.2154 วา “แจกเกอราห (Jaggarah) (น้ำ�ตาลโตนด) มีอยูอ ดุ มทัว่ ไป ในแถบบริเวณเมืองพิษณุโลก กำ�แพงเพชรและสุโขทัย มีแจกเกอราหสงออกไปจำ�หนายยังประเทศญี่ปุน และ มะละกา ตามปกติราคาจะตกอยูในราว 2 บาท” (กรม ศิลปากร 2513ก : 276) จากการลงพื้นที่สำ�รวจของ ผูเขียนในพื้นที่เมืองพิษณุโลก พบวามีแหลงตนตาล ขนาดใหญอยู 2 แหลง แหลงแรกอยูในพื้นที่อำ�เภอ วัดโบสถซึ่งเคยเปนเขตเมืองเทพบุรีและเมืองไทยบุรี แหลงที่สองอยูในเขตอำ�เภอบางกระทุมซึ่งเคยเปนเขต เมืองนครปาหมาก มีความเปนไปไดวาทั้งสามเมืองนี้ นาจะเปนแหลงผลิตน้ำ�ตาลสงออกที่สำ�คัญของเมือง พิษณุโลก ในการทำ�น้ำ�ตาลนาจะมีไพรสวยรับผิดชอบ ทำ�โดยเฉพาะในแตละเมือง (5) ชาง ชางเปนสินคาสงออกทีส่ �ำ คัญอีกประเภท หนึง่ ของกรุงศรีอยุธยา (จุฬศิ พงศ จุฬารัตน 2547 : 115122) นอกจากการคาชางยังมีการคางาชางดวย สินคา ทั้งสองชนิดเปนสินคาสำ�คัญและมีราคาแพง ตลาดคา ชางและงาชางที่สำ�คัญของกรุงศรีอยุธยาคือ อินเดีย ที่ เบงกอลและบริเวณเมืองเดคคาน และมีงาชางบางสวน ถูกสงไปที่จีนและญี่ปุน ชางที่จับไปขายมาจากหลาย หัวเมือง อาทิ เมืองนครราชสีมา เชียงใหม พิษณุโลก ลานชาง ตาก เพชรบูรณ ถลาง และตามปาทั่วไป (วรางคณา นิพัทธสุขกิจ 2550 : 32-33) ในพื้นที่เมือง พิษณุโลกนาจะมีชางอาศัยอยูจำ�นวนมากจึงไดมีการ จับชางสงไปขาย และพบวามีชื่อสถานที่หลายแหงที่ เกี่ยวของกับชาง เชน คลองโคกชางและบานทาชาง เปนตน การจับชางสงขายนาจะมีเจาเมืองพิษณุโลก และกรมการเมืองรับผิดชอบโดยตรง เพราะวาการจับ ชางตองอาศัยกำ�ลังแรงงานไพรจำ�นวนมากจึงจะจับได สวนงาชางนาจะมีการเก็บไดทั่วไปในปา อาจมี ทั้งงาชางจากชางที่ลมและมีการลาชางเพื่อเอางาใหได ในจำ�นวนตามทีก่ รุงศรีอยุธยากำ�หนด (วรางคณา นิพทั ธ สุขกิจ 2550 : 34) ในหัวเมืองมีการสงยกกระบัตรไป ตรวจสอบการคางาชางโดยเฉพาะดวย (มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร. คณะนิติศาสตร 2529 : 446) เชื่อวานาจะ มีไพรสวยบางคนที่ตองนำ �งาชางมาสงสวยแทนการ ถูกเกณฑแรงงาน อัตรารับซื้องาชางของพระคลังสินคา

56

ราวตนพุทธศตวรรษที่ 23 ตอน้�ำ หนัก 1 หาบ ถามีงาชาง 2 กิ่งราคา 16 ตำ�ลึง งาชาง 3 กิ่งราคา 14 ตำ�ลึง งาชาง 4 กิ่งราคา 12 ตำ�ลึง งาชาง 5 กิ่งราคา 10 ตำ�ลึง งาชาง 6 กิ่งราคา 8 ตำ�ลึง (วรางคณา นิพัทธสุขกิจ 2550 : 34) นอกจากสิ น ค า เหล า นี้ แ ล ว ยั ง พบว า มี สินคา อื่นๆ จากเมืองพิษณุโลกที่นำ�ไปคาขายในบริเวณกรุง ศรีอยุธยาหรือสงขายใหพอ คาชาวตางชาติบา งแตไมมาก เชน น้ำ�ออย ยาสูบ ขี้ผึ้ง น้ำ�ผึ้ง เสาไมสัก หนังกระบือ หนังเสือ นอแรด ไต ครัง่ หัวหอมและอำ�พันสีเทา เปนตน (วินัย พงศศรีเพียร 2551 : 89 ; ฟลีต 2548 : 105 ; เดอ ชัวซี 2516 : 552 ; ตุรแปง 2530 : 17) ในคำ�ให การชาวกรุงเกายังกลาววาเมืองพิษณุโ ลกเปน เมือง ที่ตองสงสวยไมไผใหแกกรุงศรีอยุธยาดวย (คำ�ใหการ ชาวกรุงเกา 2507 : 75-76) 2.2 วิธีการสงออกและขนสงสินคา เมื่อการคาระหวางกรุงศรีอยุธยากับตางชาติ ขยายวงกวางออกไปในชวงปลายพุทธศตวรรษที่ 22 ความตองการสินคาของปาเพือ่ สงขายก็มมี ากขึน้ ติดตาม มา กรุงศรีอยุธยาจึงอนุญาตใหไพรสง สิง่ ของมาในรูปของ สวยแทนการใชแรงงานได (ปาริชาติ วิลาวรรณ 2527 : 87) ทำ�ใหสินคาสวนใหญมีที่มาจากการสงสวยของ ไพรสวย วิธีการสงออกสินคาจากเมืองพิษณุโลกลง ไปยังกรุงศรีอยุธยาจึงเปนหนาที่ของเจาเมืองและกรม การเมือง ไพรสวยจะเปนผูที่ไปหาสินคาตางๆ ตามที่ กรุงศรีอยุธยาตองการและสั่งใหไพรสวยเมืองพิษณุโลก หามาสงแทนการถูกเกณฑแรงงาน หลังจากที่ไพรสวย หามาไดก็จะนำ�มาสงเจาเมืองตามอัตราหรือจำ�นวนที่ ไดรับมอบหมาย แลวเจาเมืองก็จะแตงกรมการเมืองนำ� ลงไปสงพระคลังสินคา พระคลังสินคาก็จะเปนผูร วบรวม สินคาทีเ่ ปนสวยทัง้ หมดสงขายใหกบั พอคาชาวตางชาติ นอกจากไพรสวยจะนำ�สิ่งของมาสงเจาเมือง แลว ผูเขียนเชื่อวานาจะมีสิ่งของที่ไพรสวยหาไดอีก จำ�นวนหนึ่งซึ่งอาจจะเกินกวาที่ไดรับมอบหมายและสิ่ง ของอื่นๆ ที่ไมใชสวย สิ่งของเหลานี้ไพรนาจะนำ�มาคา ขายเอง ทั้งคาขายที่เมืองพิษณุโลกและลงไปคาขายยัง กรุงศรีอยุธยา ในคำ�ใหการขุนหลวงวัดประดูทรงธรรม หรือพรรณาภูมิสถานพระนครศรีอยุธยากลาววา มีเรือ ใหญทายแกวงชาวเมืองพิษณุโลกฝายเหนือ บรรทุก


ความสัมพันธทางการคากับการแสวงหาอำ�นาจของเมืองพิษณุโลกในพุทธศตวรรษที่ 22-23 ธีระวัฒน แสนคำ�

น้�ำ ออย ยาสูบ ขีผ้ งึ้ น้�ำ ผึง้ สินคาตางๆ ฝายเหนือลองเรือ ลงมาจอดขาย ตั้งแตนาวัดกลวยลงมาจนปากคลอง เกาะแกว (วินัย พงศศรีเพียร 2551 : 89) และมีความ เปนไปไดวา เจาเมืองและกรมการเมืองจะสงไพรสมใน สังกัดของตนออกไปหาสิ่งของซึ่งเปนที่ตองการของ พอคาชาวตางชาติและมีราคาสูง รวมทั้งเรียกเก็บสวย จากไพรสวยเกินกวาที่กรุงศรีอยุธยากำ�หนดมาลักลอบ คาขายกับพอคาชาวตางชาติเองก็ได เพราะนาจะมีพอ คา บางกลุมนำ�เรือขึ้นมาซื้อสินคาถึงเมืองพิษณุโลกโดย ไมผานพระคลังสินคา การขนสงสินคามักจะใชเรือลำ�เลียงมาทางแมน� ้ำ ระยะเวลาเดินทางโดยเรือระหวางเมืองพิษณุโลกกับ กรุงศรีอยุธยาทั้งขาขึ้นและขาลอง ไดพบขอมูลเกี่ยวกับ ระยะเวลาการเดิ น ทางโดยเรื อ พระที่ นั่ ง ของสมเด็ จ พระนารายณ จ ากกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาถึ ง เมื อ งพิ ษ ณุ โ ลก (ขาขึ้น) ใชเวลา 14 วัน และจากเมืองพิษณุโลกไปยัง กรุงศรีอยุธยา (ขาลอง) ใชเวลา 8 วัน (พระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยาฉบับสมเด็จพระพนรัตน 2505 : 392 และ 396) ถึงแมวาระยะเวลาการเดินเรือดังกลาวจะ ไมไดเปนเรือขนสงสินคาโดยตรง หากเปนเรือพระที่นั่ง ในการเสด็จทำ�สงคราม แตระยะเวลาที่เรือขนสงสินคา ใช เ ดิ น ทางก็ ค งใกล เ คี ย งหรื อ แตกต า งกั น ไม ม าก การขนสงสินคาจากเมืองบริวารมายังเมืองพิษณุโลก และจากเมืองพิษณุโลกไปยังกรุงศรีอยุธยา นาจะมีการ ใชเรือใหญทายแกวง (วินัย พงศศรีเพียร 2551 : 89) เรือกระแซง เรือเอี้ยมจุน (เอิบเปรม วัชรางกูร 2554 : 134) เรือหางยาวและเรือมอญเปนเรือขนสงลำ �เลียง สินคา เรือมอญนาจะเปนพาหนะสำ�คัญในการคาเรือเร (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2548 : 84) ที่นำ�สินคาทั่วไปจาก ภายนอก-ภายในเมืองพิษณุโลกมาคาขายตามหมูบาน ที่ตั้งอยูริมแมน้ำ�ใหญและแมน้ำ�สาขาดวย สวนลอเกวียนไมนา จะใชพาหนะสำ�คัญทีใ่ ชขนสง สินคาลงไปยังกรุงศรีอยุธยา เพราะการขนสงทางเรือมี ความเหมาะสมและสะดวกกวา แตนาจะมีใชอยูบาง ในการลำ�เลียงสินคาและสิ่งของจากเมืองบริวารมายัง เมืองพิษณุโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งการขนสงจากเมือง นครชุม เมืองนครไทยและเมืองชาติตระการ ซึง่ ตองเดิน ทางตามหุบเขาลุมแมน้ำ�แควนอยที่คอนขางแคบและ

ลำ�บากลงมายังเมืองพิษณุโลก การเดินทางจากเมือง นครไทยมายังเมืองพิษณุโลกตองใชเวลาอยางนอย 15 วัน (แชรแวส 2550 : 64) นอกจากนี้คงมีการใชวัวตาง และมาตางควบคูกับการใชลอเกวียนดวย 3. ความสัมพันธทางการคาระหวางเมืองพิษณุโลก กับตางชาติและบานเมืองใกลเคียง การคาที่เฟองฟูไดทำ�ใหเกิดการติดตอสัมพันธ กันระหวางบานเมืองเพื่อคาขายแลกเปลี่ยนสินคา เมือง พิษ ณุโลกซึ่งเปนหัวเมืองใหญและตั้งอยูในตำ �แหนง ชุมทางคมนาคมสำ�คัญระดับภูมิภาค ทำ�ใหพอคาจาก บานเมืองใกลเคียงทั้งเมืองเล็กและเมืองใหญ ตลอดจน พอคาตางชาติตางก็เดินทางมาติดตอและทำ�การคาที่ เมืองพิษณุโลก ความสัมพันธทางการคาที่เกิดขึ้นได ทำ�ใหเมืองพิษณุโลกไดรับผลประโยชน และพยายาม สร า งอำ � นาจต อ รองกั บ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาและบ า นเมื อ ง ใกลเคียงเพื่อใหไดมาซึ่งสินคาและอำ�นาจทางการเมือง 3.1 ความสัมพันธทางการคาระหวางเมือง พิษณุโลกกับลานชาง ในชวงที่เหตุการณภายในกรุงศรีอยุธยาปกติ พอคาลานชางก็จะเดินทางลงไปทำ�การคาและเจริญ สัมพันธไมตรีทกี่ รุงศรีอยุธยา ผานเสนทางเมืองพิษณุโลก และเมืองนครราชสีมา แตดูเหมือนวาเสนทางเมือง พิษณุโลกจะเปนเสนทางที่สะดวกกวา เนื่องจากวาอยู ใกล กั บ เมื อ งเวี ย งจั น ทน เ มื อ งหลวงของอาณาจั ก ร ล า นช า ง เส น ทางก็ เ ดิ น ทางข า มภู เ ขาไม ม ากและมี ความอันตรายนอยกวาขามภูเขาดงพระยาไฟเขตเมือง นครราชสีมา “ในการไปกรุงศรีอยุธยานั้น พวกเขาตอง นำ�เกวียนขามภูเขาหลายลูกขึ้นไปยังพิษณุโลก และ จากที่นั่นพวกเขาตองลงเรือลองลงมายังกรุงศรีอยุธยา เมืองหลวง” (ฟลีต 2548 : 39-40) แตเมือ่ ใดทีพ่ ระคลังสินคากรุงศรีอยุธยามีปญ  หา ภายในหรือกดขี่พอคาลานชาง พอคาเหลานี้ก็มักที่จะ มาทำ�การคาที่เมืองพิษณุโลกแทนกรุงศรีอยุธยาเสมอ แล ว เจ า เมื อ งพิ ษ ณุ โ ลกก็ จ ะนำ� สิ น ค า ลงไปขายที่กรุง ศรีอยุธยาอีกตอหนึ่ง จากบันทึกของชาวตะวันตกที่ เดินทางเขามากรุงศรีอยุธยากลาววา พอคาลานชาง บางสวนไมพอใจในวิธีการคาของพระคลังสินคาสมัย

57


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

พระเจาปราสาททองแลวเปลี่ยนมาทำ�การคากับเมือง พิษณุโลกแทน “พวกเขารูสึกรำ�คาญใจอยางมากในเรื่องการคา อันเกิดจากเอกสิทธิ์ทุกชนิดและการปฏิบัติอยางเลวๆ ของตัวแทนการขายของพระเจาแผนดินจนพวกเขา ไมกลับมาประเทศสยามอีก ในภายหลังประเจาแผนดิน ทรงเห็นวาการที่พวกที่ราบสูงไมมาติดตอคาขายเปน ขอเสียหลายสำ�หรับพระองคและประเทศของพระองค จึ ง มี พ ระบรมราชโองการให อ อกญาพิ ษ ณุ โ ลกและ พระคลั ง สงราชทูตหลายคนไปลานชางเพื่ อเชื้ อเชิ ญ ใหคนเหลานั้นกลับมา และทรงสัญญาวาจะปฏิบัติตอ พวกเขาให ดี ก ว า ที่ แ ล ว มา และให เ สรี ภ าพมากกว า เมื่อพวกเขามาครั้งที่แลว แตไมมีพวกที่ราบสูงปรากฏ ใหเห็นในกรุงศรีอยุธยาเลย (ที่ยังเปนอยางนี้เพราะยัง ไมไววางใจ) บางคนนำ�สินคาไปคาขายที่พิษณุโลก” (ฟลีต 2548 : 52-53) ขอความขางตนไดแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธ อันดีระหวางเจาเมืองพิษณุโลกกับพอคาลานชาง และ ความไมเกรงกลัวการลงโทษในความผิดที่ทำ�การคากับ พอคาตางบานตางเมืองของเจาเมืองพิษณุโลก ซึ่ง สะทอนใหเห็นวากรุงศรีอยุธยาไมสามารถควบคุมเมือง พิษณุโลกไดอยางเต็มที่ เจาเมืองพิษณุโลกจึงมีอำ�นาจ ในการตอรองกับกรุงศรีอยุธยาคอนขางมาก และกรุง ศรีอยุธยาก็ไมไดทำ�การลงโทษ เพราะวาสินคาที่พอคา ล า นช า งนำ � มาทำ � การค า ที่ เ มื อ งพิ ษ ณุ โ ลกในที่ สุ ด แลวก็ตองสงลงไปยังพระคลังสินคาอยูดี ถึงแมวาอาจ มี บ างส ว นถู ก ยั ก ยอกไปก็ ต าม แต ก็ ยั ง ดี ก ว า พ อ ค า ลานชางจะหันไปทำ�การคากับเวียดนามหรือกัมพูชาแทน สินคาทีเ่ มืองพิษณุโลกตองการจากลานชางมีอยู 2 ประเภทใหญๆ คือ ของปาและแรธาตุ (มาซูฮารา 2546 : 112-119) ของปาสำ�คัญที่พอคาลานชางนำ�มา คาขาย ไดแก กำ�ยาน ครัง่ นอแรด งาชาง หนังกวาง และ ชะมดเชียง สวนแรธาตุก็ประกอบไปดวย ทองคำ� เงิน เหล็ก ตะกั่วและดีบุก สวนสินคาที่พอคาลานชางที่เปน ตัวแทนของราชสำ�นักตองการก็จะเปนของฟุมเฟอย ที่ประกอบดวยผลิตภัณฑสิ่งทออยางดีเปนหลัก ซึ่งไม คอยเกี่ยวของกับชีวิตประจำ�วันของชาวบานทั่วไปเทา ไรนัก แตสำ�หรับชนชั้นผูปกครองแลว การใชผลิตภัณฑ

58

สิง่ ทออยางดีของตางประเทศนัน้ เปนสิง่ แสดงฐานะอยาง หนึ่ง จึงมีประโยชนไมนอยในการแยกตัวจากชาวบาน ทัว่ ไปอยางเดนชัดและสรางพระบารมีในฐานะผูม อี �ำ นาจ ยิ่งใหญ นอกจากนี้ยังมีพวกเครื่องประดับตกแตงที่มี ราคาสูงและหายากในทองถิ่น เชน ของแปลกและแกว (มาซูฮารา 2546 : 121) สินคาเหลานี้พอคาตางชาติจะ นำ�มาขายที่กรุงศรีอยุธยา แลวก็จะถูกสงมาขายที่เมือง พิษณุโลกโดยกลุมขุนนางและพอคาชาวตางประเทศ บางกลุม เมื่อพอคาลานชางนำ�สินคามาคาขายที่เมือง พิษณุโลกแลว เจาเมืองพิษณุโลกก็จะนำ�สินคาเหลานี้ ลงมายังพระคลังสินคาเพือ่ คาขายกับพอคาชาวตางชาติ อีกตอหนึ่ง นอกจากพอคาลานชางจากเมืองเวียงจันทน จะเดินทางมาทำ�การคาที่เมืองพิษณุโลกแลว พอคา จากเมืองหลวงพระบางก็เดินทางมาทำ�การคาที่เมือง พิษณุโลกดวย โดยอาศัยเสนทางลุมแมน้ำ�โขงแลวแยก เขามาตามลุมแมน้ำ�ลายที่เมืองปากลาย จากนั้นก็ขาม สันปนน้ำ�ลงสูลุมแมน้ำ�ปาดและลุมน้ำ�คลองตรอนลง สูแ มน�้ำ นานทีต่ อนเหนือของเมืองพิชยั ก็จะลงมาถึงเมือง พิษณุโลกได (ธีระวัฒน แสนคำ� 2553 : 69-77) 3.2 ความสัมพันธทางการคาระหวางเมือง พิษณุโลกกับชาวจีนและชาวตางชาติอื่นๆ ชาวจี น ได เ ข า มาในดิ น แดนกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เนิ่นนานมาแลว หลังจากที่ชาวจีนเปนจำ�นวนมากได เขามาตั้งรกรากอยูที่กรุงศรีอยุธยา การกระจายตัวของ ชาวจีนเขาไปสูทองถิ่นก็เปนเรื่องปกติ เสนทางการ เดินทางของชาวจีนก็จะขึ้นลองตามเสนทางคมนาคม ในดินแดนดานใน จึงนาจะมีชาวจีนสวนหนึ่งอพยพตาม ลำ�น้ำ�โดยยอนขึ้นจากแมน้ำ�เจาพระยามาสูปากน้ำ�โพ และทวนแมน�้ำ นานขึน้ มาทำ�การคาและอาศัยอยูใ นเมือง พิษณุโลก เกษวดี พุทธภูมพิ ทิ กั ษ (2545 : 34) สันนิษฐาน วานาชาวจีนเขามาอาศัยอยูในเมืองพิษณุโลกนานแลว อาจยอนไปถึงสมัยสุโขทัย ขอสันนิษฐานนีเ้ ห็นไดจากมีการเรียกประตูเมือง พิษณุโลกเกาทางดานตะวันออกเฉียงเหนือวา “ประตูจนี ” ประตูจนี นีเ้ ปนทางออกไปบานเตาไหหรือบานตาปะขาว หายในปจจุบนั เชือ่ กันมาชานานวาการทีป่ ระตูนมี้ ชี อื่ วา


ความสัมพันธทางการคากับการแสวงหาอำ�นาจของเมืองพิษณุโลกในพุทธศตวรรษที่ 22-23 ธีระวัฒน แสนคำ�

ประตูจีนนั้น ก็เพราะเปนทางออกไปสูชุมชนชาวจีนซึ่ง มาตัง้ บานเรือนอยูบ ริเวณบานเตาไห และเชือ่ วาเปนชาว จีนจากมณฑลยูนนานเขามาทำ�การผลิตเครือ่ งปน ดินเผา ดวย (อุดม บูรณเขตต 2542 : 191) แตกย็ งั ไมมหี ลักฐาน แนชดั วาชาวจีนตัง้ บานเรือนอยูบ ริเวณนีจ้ ริง ชือ่ ประตูจนี อาจมีการเรียกขึ้นในภายหลังก็เปนได ชาวจีนเปนกลุม คนทีม่ บี ทบาทสำ�คัญทางการคา ของกรุงศรีอยุธยา ทัง้ การคาภายในอาณาจักรและการคา ทางเรือสำ�เภาระหวางกรุงศรีอยุธยากับจีนและชาติตา งๆ ชาวจีนเปนกลุมคนพิเศษในสังคมที่ไมตองสังกัดระบบ ไพร ซึ่งระบบการปกครองของกรุงศรีอยุธยาไดเปด โอกาสใหชาวจีนเขามารับราชการ เปนตัวกลางทาง การคาภายในดินแดน และไดรับสิทธิพิเศษและการ คุมครองอยางมาก (ชาญวิทย เกษตรศิริ, บรรณาธิการ 2550 : 147-148) ดังนั้น จึงมีความเปนไปไดวาเจาเมือง พิษณุโลกนาจะมีความสัมพันธกับพอคาชาวจีนอยูพอ สมควร พอคาชาวจีนอาจจะเปนอีกกลุมหนึ่งที่ทำ�การ ส ง ออกหรื อ ขนส ง สิ น ค า จากเมื อ งพิ ษ ณุ โ ลกลงมายั ง กรุงศรีอยุธยา ความสัมพันธระหวางเจาเมืองพิษณุโลก กับพอคาชาวจีนนาจะเปนไปในทางที่ดี เห็นไดจากการ ใหชาวจีนอาศัยอยูภายในเมืองและมีการพบเศษเครื่อง ถ ว ยจี น มากมายกระจายอยู  ต ามชุ ม ชนโบราณและ โบราณสถานตางๆ ในพื้นที่เมืองพิษณุโลก นอกจากชาวจีนแลว ยังมีหลักฐานทีแ่ สดงใหเห็น วามีชาวมลายูเขามาอาศัยอยูในเมืองพิษณุโลก ชาว มลายูกลุมใหญถูกกวาดตอนเขามายังกรุงศรีอยุธยา หลังจากการทำ�สงครามปราบหัวเมืองมลายู (ชาญวิทย เกษตรศิริ, บรรณาธิการ 2550 : 161) จากนั้นคงมีชาว มลายูเขามามากขึ้นทั้งมาเปนทหารรับจางและมาทำ � การคา ชาวมลายูคงเขามาทำ�การคาในหัวเมืองดานใน อยูมากพอสมควร โดยเฉพาะที่เมืองพิษณุโลกซึ่งพบวา มีชาวมลายูจ�ำ นวนหนึง่ คิดทำ�รายเจาเมืองพิษณุโลกดวย “เมื่อไมกี่ปมานี้ ในเมืองพิษณุโลกไดมีการลงโทษตัดหัว คนเหลานี้ (มลายู) เสียเปนอันมาก เนื่องจากไปคิดการ รายตอเจานายผูป กครองเมืองเขา” (แชรแวส 2550 : 73) และในเมื อ งพิ ษ ณุ โ ลกยั ง มี ก ารเรี ย กชื่ อ ประตู เมืองอีก 2 แหง วา ประตูมอญและประตูทวาย เชื่อกัน วาเปนที่ตั้งบานเรือนของชาวมอญและชาวทวายที่ถูก

กวาดตอนมาจากหัวเมืองมอญและเมืองทวายในรัชกาล สมเด็จพระนเรศวร (อุดม บูรณเขตต 2542 : 191-192) อยางไรก็ตาม เรื่องนี้ก็ยังไมปรากฏหลักฐานที่แนชัด ชื่ อ ประตู ม อญและประตู ท วายอาจมี ก ารเรี ย กขึ้ น ใน ภายหลังเชนเดียวกับประตูจีนก็เปนได 3.3 ความสัมพันธทางการคาระหวางเมือง พิษณุโลกกับหัวเมืองใกลเคียง ในหัวเมืองฝายเหนือมีหัวเมืองสำ�คัญ 7 เมือง ได แ ก เมื อ งพิ ษ ณุ โ ลก พิ ชั ย สวรรคโลก สุ โ ขทั ย กำ�แพงเพชร พิจิตร และนครสวรรค ในทางการเมือง การปกครองเจาเมืองพิษณุโลกนาจะมีความสัมพันธกับ เจาเมืองเหลานี้ในระดับหนึ่ง แตสำ�หรับความสัมพันธ ทางการคาแลวดูเหมือนวาเมืองพิษณุโลกจะมีความ สั ม พั น ธ กั บ หั ว เมื อ งในลุ  ม แม น้ำ � น า นซึ่ ง เป น ลุ  ม น้ำ � เดียวกันมากกวา อันมีเมืองพิชัย เมืองพิจิตร และเมือง นครสวรรค สวนหัวเมืองอื่นเนื่องจากอยูคนละลุมน้ำ� ทำ�ใหมเี สนทางคมนาคมคนละเสนทาง จึงมีความเปนไป ไดวา ความสัมพันธทางคาระหวางกันอาจจะมีไมมากนัก เมื อ งพิ ชั ย น า จะเป น หั ว เมื อ งสำ � คั ญ ที่ เ มื อ ง พิษณุโลกสรางความสัมพันธทางการคาดวย เพราะ เมืองพิชยั เปนแหลงไมฝาง เหล็ก ชาง งาชาง และของปา หลายอีกหลายชนิด อีกทั้งการขนสงสินคาลงไปกรุง ศรีอยุธยาของเมืองพิชัยก็ตองผานตัวเมืองพิษณุโลก ซึ่งมีแมน้ำ�นานไหลผากลางเมือง มีความเปนไปไดวา เมืองพิษณุโลกอาจตั้งดานตรวจเรือสินคาและเก็บอากร ขนอนดวย นอกจากนี้เมืองพิชัยเปนแหลงถลุงเหล็ก ขนาดใหญ เหล็กสวนหนึ่งนาจะถูกสงมาขายยังเมือง พิษณุโลกกอน แลวจึงสงไปยังพระคลังสินคาและบาน เมืองตางๆ ในอาณาจักร เหล็กที่ชาวตะวันตกระบุวามี อยูในเมืองพิษณุโลกและมีมากพอใชในกรุงศรีอยุธยา เปนไปไดวาสวนหนึ่งมาจากเมืองพิชัย เพราะรองรอย แหลงถลุงเหล็กในเมืองพิษณุโลกไมไดมขี นาดใหญทพี่ อ จะผลิตไดเพียงพอตอความตองการของกรุงศรีอยุธยาได การที่เมืองพิชัยตองอาศัยเมืองพิษณุโลกเปน เส น ทางผ า นของการขนส ง สิ น ค า น า จะทำ � ให เ มื อ ง พิษณุโลกมีอำ�นาจตอรองกับเมืองพิชัยไดมาก การที่ เมืองพิษณุโลกจะทำ �การตรวจสอบสินคา เก็บอากร หรือยักยอกสินคาบางสวนก็ยอมมีโอกาสทำ�ได โดยที่

59


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

เมืองพิชัยก็ตองยอมไมเชนนั้นก็จะไมมีทางนำ �สินคา และส ว ยลงไปยั ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาได ต ามจำ � นวนที่ ก รุ ง ศรีอยุธยาตองการ หากสงสวยไมครบอาจตองถูกกลาว หาว า เป น กบฏหรื อ บกพร อ งในการทำ � ราชการจน เจาเมืองพิชัยอาจถูกถอดจากตำ�แหนงได เมืองที่อยูทางใตเมืองพิษณุโลกตามแนวแมน้ำ� นานก็คือเมืองพิจิตรและเมืองนครสวรรค การเดินทาง ติดตอระหวางกันของเมืองพิษณุโลกกับเมืองพิจิตรและ นครสวรรคคงใชแมน้ำ�นานเปนเสนทางหลัก สวนเมือง สำ�คัญในหัวเมืองฝายเหนือในลุมแมน้ำ�อื่น เชน เมือง สุโขทัย เมืองสวรรคโลกและเมืองกำ�แพงเพชร ก็นาจะ มีความสัมพันธทางการคากับเมืองพิษณุโลกเชนกัน แตเนือ่ งจากวามีการพบหลักฐานทีเ่ กีย่ วของนอยมากจึง ทำ�ใหเราไมเห็นภาพการติดตอคาขายระหวางกันอยาง ชัดเจนนัก อยางไรก็ดี ชาวเมืองในหัวเมืองฝายเหนือก็นา จะเดินทางติดตอคาขายไปมาหาสูร ะหวางเมืองอยูเ สมอ ในระดับเจาเมืองถึงแมจะมีกฎหมายหามมิใหเจาเมืองไป มาหาสูก นั (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. คณะนิตศิ าสตรฯ 2529 : 466) แตการทีเ่ มืองเหลานีต้ งั้ อยูร ะหวางเสนทาง จากเมืองพิษณุโลกลงมากรุงศรีอยุธยาหรืออยูใ นบริเวณ ใกลเคียงกันก็ยากที่จะหามเจาเมืองตางๆ คบหาหรือ พบปะกันได 3.4 ความสัมพันธทางการคาระหวางเมือง พิษณุโลกกับเมืองบริวาร จากหลักฐานในชวงพุทธศตวรรษที่ 22-23 พบวา เมืองพิษณุโลกมีเมืองบริวารทั้งสิ้น 10 เมือง (ลาลูแบร 2552 : 250) ซึ่งไดแก เมืองนครไทย เมืองนครชุม เมือง ชาติตระการ เมืองไทยบุรี เมืองเทพบุรี เมืองศรีภิรมย เมืองพรหมพิราม เมืองนครปาหมาก เมืองชุมษรสำ�แดง และเมืองชุมแสงสงคราม เมื่อพิจารณาขอมูลเกี่ยวกับ สินคาสงออกสำ�คัญของเมืองพิษณุโลกแลว พบวาแหลง ที่มาของสินคาสวนใหญมาจากเมืองบริวารแทบทั้งสิ้น กวางป า ก็ น  า จะอาศั ย อยู  ม ากในป า แถบเมื อ งชุ ม ษร สำ�แดงและเมืองชุมแสงสงคราม แหลงถลุงแรเหล็กอยูใ น เขตเมืองไทยบุรี แหลงผลิตน้�ำ ตาลโตนดก็อยูใ นเขตเมือง เทพบุรี เมืองไทยบุรี และเมืองนครปาหมาก สวนไมฝาง ชาง งาชาง และของปาชนิดอืน่ นาจะพบไดทวั่ ไปตามพืน้ ที่ปาในพื้นที่เมืองพิษณุโลกและเมืองบริวารโดยเฉพาะ

60

อยางยิ่งเมืองที่อยูในหุบเขา เชน เมืองนครชุม เมือง นครไทย และเมืองชาติตระการ การที่เจาเมืองพิษณุโลกจะไดสินคาเหลานี้มา ก็ตองมีวิธีในการสรางความสัมพันธอันดีใหเกิดขึ้นกับ เจาเมืองบริวารและไพรสวย วิธีแรกนาจะใชรูปแบบการ ปกครองระบบศักดินาซึ่งใชไพรสวยเปนแรงงานสำ�คัญ ในการนำ�สิ่งของมาสงเปนสวย โดยเจาเมืองพิษณุโลก เปนผูส งั่ การใหเจาเมืองบริวารควบคุมไพรสว ยหาสินคา ตามที่เจาเมืองพิษณุโลกและพระคลังสินคาตองการ เมื่อไพรสวยนำ�สวยมาสงเจาเมืองบริวารแลว เจาเมือง บริวารก็จะนำ�สวยเหลานั้นมาสงเจาเมืองพิษณุโลก วิธี ทำ�ใหไดสนิ คาเปนทีแ่ นนอน แตเมือ่ ใดทีต่ อ งการสวยมาก ก็จะทำ�ใหความสัมพันธระหวางเจาเมืองพิษณุโลกกับ เจาเมืองบริวารและไพรสวยไมราบรื่นได ดังนั้น นอกเหนือจากความสัมพันธแบบเจานาย กับไพรที่ดูเหมือนจะมีแตการกดขี่แลว ไพรเองก็นาจะ มีการหาสิ่งของนอกเหนือจากที่ไดรับมอบหมายมาทำ� การคาขายเองก็ได การขายก็นาจะมีเจาเมืองพิษณุโลก และเจาเมืองบริวารเปนพอคาใหญในเมืองที่ทำ�การรับ ซือ้ ไพรกจ็ ะไดรบั เงินตอบแทนตามราคาสิง่ ของนัน้ ๆ ซึง่ แตกตางจากการสงสวยที่ไพรไมไดรับคาตอบแทนใดๆ เลย เมือ่ ใดทีต่ อ งการสินคาของปาจำ�นวนมาก เปนไปได วาจะตองมีการซื้อสินคาจากไพรเพิ่มเติมควบคูไปกับ การส ง ส ว ยด ว ย หรื อ บางครั้ ง ไพร ก็ จ ะนำ � สิ่ ง ของ บรรณาการตางๆ และผลผลิตที่เกิดจากการใชแรงงาน ไพร ผ ลิ ต ในที่ ดิ น ของมู ล นายมามอบให เ พื่ อ เป น การ แลกเปลีย่ นความคุม ครองและสวัสดิการบางอยางในการ ดำ�รงชีวิต เจาเมืองบริวารซึ่งเปนผูควบคุมไพรที่ทำ�การ ผลิตหรือหาสินคาตามที่เจาเมืองพิษณุโลก พระคลัง สินคา และพอคาตางชาติตองการ นาจะมีอำ�นาจในการ ตอรองกับเจาเมืองพิษณุโลกอยูพอสมควร การจะได สินคามาจะตองมีการแลกเปลี่ยนอะไรบางอยางระหวาง กัน เมืองบริวารนาจะไดสทิ ธิในการปกครองเมืองตนเอง อยางเปนอิสระโดยที่เจาเมืองพิษณุโลกจะไมเขาไปยุง เกี่ยวการบริหารจัดการภายในเมือง และไดคาตอบแทน ทั้งที่เปนเงินตราและสิ่งของมีคาจากเจาเมืองพิษณุโลก จนเปนที่พอใจ


ความสัมพันธทางการคากับการแสวงหาอำ�นาจของเมืองพิษณุโลกในพุทธศตวรรษที่ 22-23 ธีระวัฒน แสนคำ�

4. การพยายามแสวงหาอำ � นาจของเจ า เมื อ ง พิษณุโลกจากปจจัยดานเศรษฐกิจ ในชวงเวลาที่การคาระหวางกรุงศรีอยุธยากับ พอคาชาวตางชาติเฟองฟู เมืองพิษณุโลกไดกลายเปน “เมืองที่มีการทำ�มาคาขายมาก” (ลาลูแบร 2552 : 30) เนื่องจากมีทรัพยากรธรรมชาติที่เปนสินคาตองการของ กรุงศรีอยุธยาเพื่อคาขายใหกับพอคาชาวตางประเทศ และเมื อ งชุ ม ทางคมนาคมที่ พ  อ ค า จากเมื อ งขนาด ใหญหลายเมืองตองเดินทางผานกอนที่จะลงไปยังกรุง ศรีอยุธยา เจาเมืองพิษณุโลกซึ่งทำ�หนาที่ทั้งดานการ ปกครองควบคูไปกับการเปนเจาของตลาดจึงไดอาศัย รากฐานทางดานเศรษฐกิจของเมืองแสวงหาอำ�นาจ การแสวงหาอำ�นาจของเจาเมืองพิษณุโลกใน ชวงที่การคาในกรุงศรีอยุธยาเฟองฟู อาจจะไมโดดเดน ในหนาประวัติศาสตรอยางในสมัยสมเด็จพระมหาธรรม ราชาธิราชมาปกครอง (พ.ศ.2091-2112) ซึ่งแสดง ใหเห็นถึงการแสวงหาอำ�นาจอยางชัดเจน แตอยางไร ก็ตาม ในชวงเวลานีเ้ จาเมืองพิษณุโลกก็มคี วามพยายาม ที่จะสรางความมั่งคั่งใหกับตนเอง ซึ่งผูเขียนถือวาเปน ขั้นตอนแรกเริ่มที่จะกาวสูการแสวงหาอำ�นาจทางการ เมือง เจาเมืองพิษณุโลกในชวงนี้อาจจะไมไดใชกำ�ลัง ไพร พ ลในเมื อ งไปก อ กบฏหรื อ ทำ � สงครามกั บ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเพื่ อ แสวงหาอำ � นาจ แต ก็ พ บว า เจ า เมื อ ง ไดฝาฝนกฎหมายและแอบยักยอกสินคาหรือสวยตางๆ เพื่อประโยชนของตนนอกเหนือจากที่กรุงศรีอยุธยา กำ�หนดโดยเฉพาะในชวงที่กรุงศรีอยุธยาออนแอ ซึ่งก็ ถือวาเปนความพยายามแสวงหาอำ�นาจอีกทางหนึ่ง 4.1 รายไดและสวนแบงทางการคาทีเ่ จาเมือง ไดรับ สำ � หรั บ รายได แ ละผลประโยชน ข องเจ า เมื อ ง เจาเมืองและขุนนางไมมีเงินเดือน แตจะไดรับเบี้ยหวัด เงินปจากพระมหากษัตริย จะไดมากนอยเพียงใดก็ขึ้น อยูกับยศศักดิ์ แตรายไดหลักนาจะเปนรายไดหรือผล ประโยชนที่มาจากการปฏิบัติงานในหนาที่ เจาเมืองใน หัวเมืองจะไดสวนแบงผลประโยชนจากแรงงานไพรใน หัวเมือง ในรูปของอัตราสวนแบงคาปรับในการตัดสินคดี ภาษีผลิตผล หรือเงินภาษีที่เก็บไดในเมือง ในบางครั้ง ถาปฏิบตั ริ าชการมีความดีความชอบในเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่

เปนการเฉพาะ เชน ในการสงคราม พระมหากษัตริยจะ พระราชทานรางวัลเปนทรัพยสินมีคา ขาทาสบริวาร ชางมา ตลอดจนที่ดินใหอีกเปนอันมาก (มานพ ถาวร วัฒนสกุล 2536 : 115) นอกจากรายได เ หล า นี้ พ ระมหากษั ต ริ ย  แ ละ ขุนนางเจาเมืองยังมีรายไดจากการเก็บสวยสาอากร 4 ชนิด คือ จังกอบ อากร สวย และฤชา (คาธรรมเนียม) (สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ 2548 : 76) เชน เจาเมืองจะไดรับ สวนแบงเงินอากรคานาครึ่งหนึ่งของจำ�นวนที่จัดเก็บ ไดในเมืองนั้น (วรางคณา นิพัทธสุขกิจ 2550 : 111) และไดรับคาธรรมเนียมที่ไดจากการทำ�หนาที่ราชการ โดยขุนนางจะหักสวนหนึ่งไวเปนของตน แลวสงสวนที่ เหลือเขาทองพระคลังสวนกลาง เชน เจาเมืองจะได รับสวนแบงรอยละ 10 ของจำ�นวนทรัพยที่ถูกริบเปน พัทธยา (เวลส 2519 : 183) นอกจากนี้เจาเมืองยังได “สวนลด” ซึ่งก็คือสวน แบงจากสวยที่หามาไดตามที่กฎหมายกำ�หนด คิดใน อัตรารอยละ 10 รวมทั้งไดสินคาสวนเกินจากวิธีการ ตางๆ มีทั้งการยักยอก ฉอโกง และการที่ไพร-ทาสนำ� มาให ในการควบคุมการลำ�เลียงสินคาก็อาจจะยักยอก สินคาไวขายเอง เปลี่ยนหรือปรับตกแตงบัญชีสินคา เสียใหม เพราะสินคาที่เมืองหลวงตองการก็คือสินคาที่ พอคาตองการ (วรางคณา นิพทั ธสขุ กิจ 2550 : 172) การ ลักลอบทำ�การคาเองก็ไดรับคาตอบแทนที่สูงกวาไดรับ สวนแบงจากสวยทีเ่ ก็บไดดว ย และเมือ่ ใดทีศ่ นู ยอำ�นาจ รัฐออนแอเจาเมืองก็จะหักสวนลดของตนใหไดมากขึ้น เรื่อยๆ และเหลือมาถึงพระคลังสินคานอยลง ทำ�ให เจาเมืองก็จะมีอำ�นาจมากขึ้น โดยที่อำ�นาจจากศูนย อำ � นาจรั ฐ อาจกลายเป น เพี ย งเจว็ ด และอาจไม ไ ด สวนแบงจากสวยเปนประจำ�อีกเลย (นิธิ เอียวศรีวงศ 2532 : 31-35) 4.2 การยักยอกสวยและลักลอบทำ�การคา ของเจาเมืองพิษณุโลก เจาเมืองและขุนนางกรมการเมืองพิษณุโลกเปน กลุมผูไดรับประโยชนสำ�คัญจากการคาภายใตพระคลัง สินคาของกรุงศรีอยุธยา เจาเมืองและขุนนางอาศัย ความใกลชิดแหลงสินคาแสวงหาผลประโยชนใหตนเอง ความต อ งการส ว ยสิ น ค า ในปริ ม าณมากของกรุ ง

61


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ศรีอยุธยายอมเปนที่มาแหงผลประโยชนของเจาเมือง และขุนนางไปโดยปริยาย ทั้งจากการไดสวนลด สวน เกิน การยักยอกสวยของหลวง รวมไปถึงการไดสว ยจาก ไพรในสังกัดของตน สวยทีไ่ ดกค็ อื สินคาสำ�คัญทีม่ พี อ คา มารอรับซือ้ รายไดจากการขายสินคาสวยเหลานีอ้ าจเปน สิ่งดึงดูดใจใหเจาเมืองและขุนนางลักลอบขายสินคา ผูกขาดก็เปนได นอกจากนี้ยังอาจมีการใชอำ�นาจหนาที่ เอือ้ ตอกิจกรรมการคาของตนเองดวยการยักยอก ฉอโกง เบี ย ดบั ง ส ว ยและกำ � ลั ง คนไปใช เ สี ย เอง (วรางคณา นิพัทธสุขกิจ 2550 : 118-119) เปนทีน่ า เชือ่ ไดวา มีเจาเมืองและขุนนางหัวเมือง จำ�นวนหนึ่งทำ�การทุจริตยักยอกสวย เก็บสวยเกินพิกัด และลั ก ลอบทำ � การค า เอง จนทำ � ให ศู น ย อำ � นาจรั ฐ พยายามที่จะออกกฎหมายมาควบคุมและปองกันการ ทุจริตดังกลาว เพราะในกฎหมายพระไอยการอาญา หลวงมีหลายมาตราที่เกี่ยวของกับเรื่องนี้ เชน มาตรา 30 หามมิใหเก็บสวยสาอากรเกินที่ตั้งไวในสารบัญชี (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. คณะนิติศาสตร 2529 : 391-392) มาตรา 117 หามมิใหซื้อขายสินคาผูกขาด หรื อ สิ่ ง ของต อ งห า มกั บ ผู  ม าต า งบ า นต า งเมื อ ง (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. คณะนิตศิ าสตร 2529 : 434) และมาตรา 142 กลาวถึงยกกระบัตรที่แอบลักเอาขาย ของปาหรือสินคาผูกขาดไปขายกลางปา (มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร. คณะนิติศาสตร 2529 : 446) เปนตน การ ออกกฎหมายดังกลาวไดสะทอนใหเห็นวามีการกระทำ� ทุจริตในลักษณะเชนนี้เกิดขึ้นในหัวเมือง นอกเหนือจากออกกฎหมายแลว ศูนยอำ�นาจรัฐ ยังไดมีการสงขาหลวงตางพระเนตรพระกรรณซึ่งเปน ตัวแทนศูนยอำ�นาจรัฐไปตรวจสอบการทำ�หนาที่ของ บรรดาเจาเมืองในหัวเมืองทั้งหลาย พบวาในรัชกาล สมเด็ จ พระนารายณ พระองคทรงไมไวว างพระทั ย ตอการทำ�หนาที่ตรวจสอบของยกกระบัตรเทาใดนัก จึ ง ส ง ข า หลวงออกมาตรวจสอบ และผลจากการส ง ขาหลวงมาตรวจสอบนี้เองที่ทำ�ใหเจาเมืองพิษณุโลก ตองถูกประหารชีวิตในความผิดที่ยักยอกรายไดของรัฐ ดังที่นิโกลาส แชรแวส ชาวฝรั่งเศสที่เดินทางเขามายัง กรุงศรีอยุธยาในรัชกาลสมเด็จพระนารายณไดบันทึก ไววา

62

“แม ว  า ลางครั้ ง ทางราชสำ � นั ก จะมี บั ญ ชาให ทูลเกลาฯ ถวายรายงานเหตุการณที่เกิดขึ้นในภาคของ ตนเขาไปโดยเทีย่ งธรรมและสุจริต เพือ่ ทราบถึงพระเนตร พระกรรณ แตรายงานหรือใบบอกนั้นๆ ก็ไมคอยไดรับ ความเชื่อถือเทาไรนัก มีบอยครั้งที่พระเจาแผนดินทรง แตงตั้งคณะขาหลวงตางพระองคออกไปดำ �เนินการ พิจารณาจนถึงที่ และรับคำ�รองทุกขของราษฎร...และ ตัดสินลงโทษใหประหารชีวิตเสียก็ได มีตัวอยางเกิดขึ้น เมื่อเร็วๆ นี้เองเกี่ยวกับเจาเมืองพิษณุโลก ขาหลวงตาง พระองคสองทานไดไปดำ�เนินการสอบสวนและพิจารณา คดี ปรากฏชัดวาไดมีการยักยอกรายไดของหลวงอยาง ขนานใหญ ผู  ก ระทำ � ความผิ ด ได รั บ การลงอาญาใน ทันทีนั้น และการประหารชีวิตผูกระทำ�ผิดก็ไดดำ�เนิน ไปตอหนาคณะขาหลวงตางพระองคทีเดียว” (แชรแวส 2550 : 85-86) ในความเห็นของผูเขียน บันทึกของแชรแวสถือ เปนหลักฐานสำ�คัญที่แสดงใหเห็นถึงความพยายามใน การแสวงหาอำ�นาจโดยอาศัยปจจัยทางเศรษฐกิจของ เจ า เมื อ งพิ ษ ณุ โ ลก หลั ง จากประหารชี วิ ต เจ า เมื อ ง พิษณุโลกแลว ศูนยอำ�นาจรัฐนาจะทำ�การตรวจสอบ ขุนนางอีกหลายคนตอจากเจาเมือง ผูท จี่ ะมาเปนเจาเมือง พิษณุโลกคนใหมก็นาจะเปนคนที่ศูนยอำ�นาจรัฐสงขึ้น มาดวย เพราะในบันทึกเกี่ยวกับบรรพบุรุษของตระกูล เจาพระยาบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ระบุวา ในรัชกาล สมเด็จพระนารายณมีพราหมณชื่อ “ศิริวัฒนะ” เปนที่ พระมหาราชครู มีบุตรปรากฏนามตอมา 2 คน คือ เจาพระยาพิษณุโลก (เมฆ) และเจาพระยามหาสมบัติ (ผล) (ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม 2505 : 147-148) 4.3 การสรางดุลอำ�นาจทางการเมืองและการ คาระหวางเมืองพิษณุโลกกับกรุงศรีอยุธยาและเมือง บริวาร การคาทีร่ งุ เรืองทำ�ใหผลประโยชนทางการคาสูง ตามขึน้ ตามไปดวย จึงทำ�ใหเกิดการแขงขัน การแสวงหา อำ�นาจ และการขัดแยงแยงอำ�นาจกันระหวางขุนนาง เจานาย และพระมหากษัตริยเสมอ (ศรีศักร วัลลิโภดม 2527 : 6) ดังนั้น การสรางดุลอำ�นาจทางการคาระหวาง กันจึงเปนวิธีการหรือทางออกที่ดีที่สุดในการแสวงหา ผลประโยชนรวมกัน


ความสัมพันธทางการคากับการแสวงหาอำ�นาจของเมืองพิษณุโลกในพุทธศตวรรษที่ 22-23 ธีระวัฒน แสนคำ�

เป น ที่ ท ราบกั น ดี แ ล ว ว า เจ า เมื อ งพิ ษ ณุ โ ลก เป น ผู  ที่ มี อำ� นาจและความมั่ ง คั่ ง มากที่ สุ ด คนหนึ่ ง ใน อาณาจักร กรุงศรีอยุธยาจึงมีความพยายามโดยตลอด เพื่อที่จะลดทอนอำ�นาจของเจาเมืองพิษณุโลกลง ดังจะ เห็นไดจากการตรากฎหมายมาเพื่อหามปรามปองกัน การกระทำ�ผิดของเจาเมืองและการสงขาหลวงขึ้นมา ตรวจสอบการทำ�ราชการ การสรางดุลอำ�นาจระหวาง เจาเมืองพิษณุโลกกับกรุงศรีอยุธยาจึงจำ�เปนอยางยิ่ง ในช ว งแรกของรั ช กาลพระเจ า ปราสาททองถื อ ว า เปนอีกชวงหนึ่งที่ศูนยอำ�นาจรัฐออนแอเพราะมีการ เปลี่ยนแปลงราชวงศใหม พระองคพยายามที่จะกำ�จัด ศัตรูทางการเมืองโดยเฉพาะอยางยิ่งพระยาพระคลัง ซึ่ ง เป น ผู  ที่ มี อำ � นาจมากคนหนึ่ ง และเคยช ว ยเหลื อ พระองคในการทำ�รัฐประหารโคนราชวงศสุโขทัย โดย ส ง พระยาพระคลัง ไปเปน เจาเมืองพิ ษ ณุ โ ลก โดยที่ ไมปรากฏหลักฐานวาเจาเมืองพิษณุโลกคนเดิมนั้นไป ไหน ซึ่งอาจจะเกิดจากการปลดออกจากตำ�แหนงหรือ ถึงแกกรรมก็เปนได ปรากฏวาพระยาพระคลังไมยอมขึน้ ไปปกครอง ในบันทึกของวัน วลิตระบุวาที่ไมยอมมา เพราะตองการเปนอุปราช (ฟลีต 2548 : 337) การสงพระยาพระคลังไปปกครองเมืองพิษณุโลก อาจจะเป น เพราะว า เมื อ งพิ ษ ณุ โ ลกอยู  ห  า งไกลจาก กรุงศรีอยุธยา ปลอดภัยตอการโคนลมอำ�นาจพระเจา ปราสาททองในระดับหนึ่ง แตการที่พระยาพระคลัง ไมยอมไปเปนเจาเมืองพิษณุโลกนั้นนาจะเปนเพราะวา ภายในเมืองพิษณุโลกมีกลุมอำ�นาจทองถิ่นที่มีอำ�นาจ มากอยูในเมืองดวย การที่อยูๆ จะขึ้นไปปกครองก็ อาจทำ�ใหกลุมอำ�นาจเดิมไมพอใจได (ตุรแปง 2530 : 61) แมวามีการแตงตั้งพระยาพระคลังใหเปนเจาเมือง พิษณุโลกแลว ก็ปรากฏหลักฐานวา เจาเมืองพิษณุโลก ผูนี้ไมไดขึ้นไปปกครองเมืองพิษณุโลก หากแตอาศัย อยูท กี่ รุงศรีอยุธยาเชนเดิม และในทีส่ ดุ ก็ถกู ประหารชีวติ (ฟลีต 2548 : 337-340) หลังจากนั้น ไมปรากฏหลักฐานวามีการแตงตั้ง เจาเมืองพิษณุโลกคนใหม แตผูเขียนสันนิษฐานวานา จะเปนขุนนางไปจากกรุงศรีอยุธยา การสงเจาเมืองมา ใหมเปนความพยายามของกรุงศรีอยุธยาทีจ่ ะลดอำ�นาจ ของกลุม เจาเมืองและกรมการเมืองลง แลวก็สง ขุนนางที่

ตนเองไวใจใหมาปกครองเมืองพิษณุโลก กรุงศรีอยุธยา ก็จะสามารถดึงดูดเอาทรัพยากรซึ่งเปนสินคาที่ตองการ จากเมืองพิษณุโลกไดมากยิ่งขึ้น การสงขุนนางจากกรุง ศรีอยุธยาขึ้นมาปกครองทำ�ใหความสัมพันธระหวาง เจ า เมื อ งพิ ษ ณุ โ ลกกั บ ผู  ที่ มี อำ � นาจในศู น ย อำ � นาจรั ฐ เป น ไปในทางที่ ดี เห็ น ได จ ากรายชื่ อ กลุ  ม ขุ น นางที่ เขามาอาสาสมเด็จพระนารายณในการทำ�รัฐประหาร พระศรีสุธรรมราชามีชื่อของขุนนางจากเมืองพิษณุโลก รวมอยูดวย (นิธิ เอียวศรีวงศ 2537 : 27-28) ความสัมพันธในเชิงเกือ้ กูลในชวงทีก่ รุงศรีอยุธยา อ อ นแอดั ง กล า ว น า จะเป น วิ ธี ก ารหนึ่ ง ที่ เ จ า เมื อ ง พิ ษ ณุ โ ลกพยายามทำ � เพื่ อ สร า งดุ ล อำ � นาจและรั ก ษา เสถียรภาพของเมืองเอาไว ในขณะที่กรุงศรีอยุธยา ก็ ค งให สิ ท ธิ พิ เ ศษทางการค า แก เ จ า เมื อ งพิ ษ ณุ โ ลก ดวย เห็นไดจากการที่มีพอคาลานชางมาทำ�การคาที่ เมืองพิษณุโลกแทนกรุงศรีอยุธยาเมื่อมีความขัดแยง กับพระคลังสินคา (ฟลีต 2548 : 52-53) โดยที่กรุง ศรีอยุธยาก็รับรูแตกลับทำ �เปนไมรู ทั้งที่การกระทำ� ดังกลาวผิดกฎหมายพระไอยการอาญาหลวง มาตรา 117 หามไมใหมีการซื้อขายสิ่งของตองหามกับผูที่มา จากตางบานตางเมือง และมีโทษสูงสุดถึงขึ้นประจาน รอบตลาด 7 วันแลวใหประหารชีวิต (มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร. คณะนิติศาสตร 2529 : 434) ซึ่งผูเขียน มีความเห็นวาลักษณะเชนนี้ถือวาเปนความพยายาม ในการแสวงหาอำ�นาจของเมืองพิษณุโลก และจะตอง มีการกระทำ�อยางใดอยางหนึ่งระหวางเมืองพิษณุโลก กับกรุงศรีอยุธยาจนเกิดเปนการดุลอำ�นาจกันแนนอน นอกจากนี้เจาเมืองพิษณุโลกก็นาจะไดรับสวนแบงทาง การคามากกวาที่เคยไดรับปกติดวย แตหลังจากทีก่ รุงศรีอยุธยามีความเขมแข็งมัน่ คง มากขึ้น ก็ปรากฏวาสมเด็จพระนารายณไดพยายาม สงขาหลวงขึ้นไปตรวจสอบการทำ�ราชการและการเก็บ สวยของเจาเมืองพิษณุโลก เพือ่ ไมใหเจาเมืองพิษณุโลก มีอำ�นาจและความมั่งคั่งมาจนเกินกวาที่กรุงศรีอยุธยา จะรักษาดุลอำ�นาจเอาไวได ทำ�ใหมีการตรวจพบวา เจาเมืองพิษณุโลกยักยอกของหลวงขนานใหญ และ ขาหลวงก็ไดตัดสินประหารชีวิตเจาเมืองพิษณุโลกดังที่ ไดกลาวมาแลวขางตน แสดงวากรุงศรีอยุธยามีความ

63


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

พยายามทีจ่ ะลดทอนอำ�นาจเจาเมืองพิษณุโลกอยูต ลอด เวลา คงเพราะเห็นวาเมืองพิษณุโลกเปนเมืองใหญมี จำ�นวนกำ�ลังพลมาก หากมีความมั่งคั่งก็จะมีอำ�นาจ มากขึน้ อาจเปนภัยตอความมัน่ คงของกรุงศรีอยุธยาและ อาณาจักรได จึงพยายามลดทอนอำ�นาจแลวสงขุนนาง จากกรุงศรีอยุธยามาปกครองอยูเ สมอ นอกจากนีใ้ นบาง ชวงเวลายังมีการควบคุมตัวเจาเมืองสำ�คัญๆ ใหพกั อยูท ี่ กรุงศรีอยุธยา เพื่อเจาเมืองจะไดไมสามารถใชหัวเมือง เป น ฐานอำ � นาจขึ้นคานกับพระมหากษัตริ ย  ใ นช ว งที่ กรุงศรีอยุธยาออนแอ (นิธิ เอียวศรีวงศ 2537 : 19) การสงขุนนางจากกรุงศรีอยุธยามาปกครองเมือง พิษณุโลกก็ทำ�ใหความสัมพันธระหวางกันดีขึ้น และนา จะมีการดุลอำ�นาจทางการเมืองและการคาระหวางกัน ในระดับที่นาพอใจทั้งสองฝาย ในภายหลังสมเด็จพระ นารายณยังไดใชเมืองพิษณุโลกเปนที่ตั้งทัพหลวงใน การทำ�สงครามกับลานนา (ดู พระราชพงศาวดารกรุง ศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 2542 : 404-406) มีการกอปอมขนาดใหญขนึ้ ภายในเมืองจำ�นวน 14 ปอม โดยวิศวกรชาวฝรั่งเศส (พระราชพงศาวดารฉบับพระ ราชหัตถเลขา (ภาคจบ) 2505 : 109 ; ตุรแปง 2530 : 17) และบูรณปฏิสงั ขรณศาสนาสถานวัดจุฬามณี (สินชัย กระบวนแสง 2536 : 43-44) สวนการสรางดุลอำ�นาจทางการเมืองและการคา ระหวางเมืองพิษณุโลกกับเมืองบริวารนั้น ยังไมปรากฏ หลักฐานที่แนชัดที่แสดงใหเห็นถึงการสรางดุลอำ�นาจ ทางการเมืองและการคาระหวางกัน แตผูเขียนเชื่อแน ว า จะต อ งมี ก ารสร า งดุ ล อำ � นาจระหว า งกั น แน น อน โดยเฉพาะอยางยิ่งผลประโยชนที่เจาเมืองบริวารควร ไดรับจากการคา เจาเมืองพิษณุโลกนาจะมีการแบงผล ประโยชนสวนหนึ่งเทาที่ทั้งสองฝายเห็นวาเหมาะสม ใหแกเจาเมืองบริวาร และมีการมอบของมีคา ของหายาก หรือสินคาที่พอคาชาวตางชาตินำ�เขามา เพื่อตอบแทน และแลกกับสินคาหรือสวยที่เจาเมืองพิษณุโลกไดรับ จากไพรในเมืองบริวาร

64

5. บทสรุป จะเห็นไดวาภายใตบริบททางการคาที่เฟองฟู ของกรุงศรีอยุธยา ไดมคี วามพยายามของเมืองพิษณุโลก ทีจ่ ะแสวงหาอำ�นาจและสรางดุลอำ�นาจกับกรุงศรีอยุธยา โดยการสรางความสัมพันธทางคากับพอคาชาวตางชาติ และบานเมืองใกลเคียง รวมทั้งเมืองบริวารซึ่งเปนแหลง สินคาที่สำ�คัญ แลวใชความตองการสินคาสงขายใน ปริมาณมากของกรุงศรีอยุธยามาเปนเครื่องมือในการ แสวงหาอำ�นาจ อาจจะโดยการยักยอกหรือวิธีการอื่น เพื่อใหไดมาซึ่งความมั่งคั่งและอำ �นาจ เมื่อใดที่กรุง ศรี อ ยุ ธ ยาอ อ นแอเจ า เมื อ งพิ ษ ณุ โ ลกก็ จ ะมี พ ยายาม แสวงหาอำ � นาจจากผลประโยชน ท างการค า มากขึ้ น แตเมื่อใดที่กรุงศรีอยุธยาเขมแข็งและเห็นวาเจาเมือง พิ ษ ณุ โ ลกมี อำ � นาจมากเกิ น ไปก็ จ ะพยายามอาศั ย วิ ธี การตรวจสอบหรือใชกำ�ลังปราบปรามเพื่อลดอำ�นาจ และบทบาทลง จากนั้นก็จะสงขุนนางใกลชิดจากกรุง ศรีอยุธยามาปกครองแทน ถึ ง แม ว  า การแสวงหาอำ � นาจของเจ า เมื อ ง พิษณุโลกในชวงที่การคาในกรุงศรีอยุธยาเฟองฟูจะ ไมไดเกิดขึ้นผานการกอกบฏหรือทำ�สงครามกับกรุง ศรีอยุธยา แตเจาเมืองพิษณุโลกก็มีความพยายามที่จะ สรางความมั่งคั่งใหกับตนเอง ซึ่งก็เปนวิธีการแสวงหา อำ�นาจทางการเมืองอีกทางหนึง่ เพราะความเปนผูม งั่ คัง่ ก็จะทำ�ใหมีอำ�นาจตามมา ผลจากการพยายามสราง ความมั่งคั่งและแสวงหาอำ�นาจของเจาเมืองพิษณุโลก ในชวงพุทธศตวรรษที่ 22-23 ยังสะทอนใหเห็นผาน การตั้งชุมนุมเจาพิษณุโลกขึ้นมาหลังจากการเสียกรุง ศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ในปพ.ศ.2310 ซึ่งจะเห็นวาเจาเมือง พิษณุโลกมีความพยายามแสวงหาอำ�นาจ สั่งสมกำ�ลัง ไพรพลและทรัพยสินมาตั้งแตกอนหนานั้นแลว (นิธิ เอียวศรีวงศ 2550 : 25, 149-154) ไมเชนนั้นก็คงไม สามารถตั้งชุมนุมขนาดใหญขึ้นมาไดอยางแนนอน ในบทความนี้ แ สดงให เ ห็ น ถึ ง ความสั ม พั น ธ ทางการคาภายในกรุงศรีอยุธยา วากวากรุงศรีอยุธยา


ความสัมพันธทางการคากับการแสวงหาอำ�นาจของเมืองพิษณุโลกในพุทธศตวรรษที่ 22-23 ธีระวัฒน แสนคำ�

จะได สิ น ค า เข า สู  ท  อ งพระคลั ง สิ น ค า เพื่ อ จะส ง ขาย กับพอคาชาวตางชาติจนทำ�ใหบานเมืองเจริญรุงเรือง และมีการคาเฟองฟูนั้น กรุงศรีอยุธยาก็ตองสรางความ สัมพันธกับหัวเมืองซึ่งเปนแหลงทรัพยากรสำ�คัญ และ ภายในอาณาจักรเอง กรุงศรีอยุธยา หัวเมืองใหญและ เมืองบริวารก็ตองมีการสรางดุลอำ�นาจระหวางกันดวย เพื่อใหไดมาซึ่งสินคาตามที่พระคลังสินคาหรือพอคา 

ชาวต า งชาติ ต  อ งการ และในขณะเดี ย วกั น ผู  เ ขี ย น ก็ไดพยายามเสนอใหเห็นบทบาทและพัฒนาการทาง ประวัติศาสตรของหัวเมืองใหญอยางเมืองพิษณุโลก ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในช ว งที่ ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยามี ค วามเฟ  อ งฟู ท าง การค า เพื่ อ เป ด ประเด็ น หรื อ เป ด มุ ม มองการศึ ก ษา สำ�หรับผูที่ตองการศึกษาบทบาทและพัฒนาการทาง ประวัติศาสตรของหัวเมืองในยุคจารีตไทยตอไป 



65


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

บรรณานุกรม กรมศิลปากร. (2513ก). บันทึกเรื่องสัมพันธไมตรีระหวางประเทศไทยกับนานาประเทศในศตวรรษที่ 17 เลม 2. ไพโรจน เกษแมนกิจ, แปล. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. __________. (2513ข). เอกสารของฮอลันดาสมัยกรุงศรีอยุธยา พ.ศ.2151-2163 และ พ.ศ.2167-2185 (ค.ศ.1608-1620 และ ค.ศ.1624-1642). นันทา สุตกุล, แปล. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. เกษวดี พุทธภูมพิ ทิ กั ษ. (2545). ความเปนจีนตามนิยามของผูม เี ชือ้ สายจีนในอำ�เภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. “คำ�ใหการชาวกรุงเกา.” (2507). ใน คำ�ใหการชาวกรุงเกา คำ�ใหการขุนหลวงหาวัด และพระราชพงศาวดาร กรุงเกาฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์. พระนคร: คลังวิทยา. จิราภรณ สถาปนะวรรธนะ. (2552). ประวัติศาสตรเมืองชุมทาง กรณีศึกษาเมืองพิษณุโลก. วารสารสมาคม ประวัติศาสตรฯ 31, (31) : 52-82 จุฬิศพงศ จุฬารัตน. (2547). การคาชางสมัยอยุธยา. ศิลปวัฒนธรรม 25, (3) : 115-122. ชาญวิทย เกษตรศิร,ิ บรรณาธิการ. (2550). อยุธยา. กรุงเทพฯ: มูลนิธโิ ครงการตำ�ราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร. แชรแวส, นิโกลาส. (2550). ประวัตศิ าสตรธรรมชาติและการเมืองแหงราชอาณาจักรสยาม. สันต ท. โกมลบุตร, แปล. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ศรีปญญา. ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม. (2505). สามเจาพระยา. พระนคร: อาศรมอักษร. เดอ ชัวซี. (2516). จดหมายเหตุรายวันการเดินทางไปสูประเทศสยาม (ในป ค.ศ.1685 และ 1690). สันต ท. โกมลบุตร, แปล. กรุงเทพฯ: กาวหนาการพิมพ. ตุรแปง. (2530). ประวัติศาสตรแหงพระราชอาณาจักรสยาม. ปอล ซาเวียร, แปล. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. ธีระวัฒน แสนคำ�. (2553). ลุม น้�ำ ปาด-ลุม น้�ำ ตรอน : ประวัตศิ าสตรโบราณคดีบนเสนทางโขง-นานตอนกลาง. วารสาร อารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน 1, (2) : 69-79. นิธ ิ เอียวศรีวงศ. (2532). “ลักษณะการปกครองประเทศสยามแตโบราณ : พืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ.” ใน ชาคริต ชุม วัฒนะ และอุกฤษฏ ปท มานันท, บรรณาธิการ. สายธารแหงความคิด. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการจัดกิจกรรมทางวิชาการ ฉลองครบ 60 ป อาจารยวรุณยุพา สนิทวงศ ณ อยุธยา : 25-46. __________. (2537). การเมืองไทยสมัยพระนารายณ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มติชน. __________. (2550). การเมืองไทยสมัยพระเจากรุงธนบุรี. พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: มติชน. บริษัท นอรทเทิรนซัน. (2546). รายงานเบื้องตนการสำ�รวจและการขุดคนแหลงโบราณคดีในพื้นที่โครงการ เขื่อนแควนอยอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ อำ�เภอวัดโบสถ จังหวัดพิษณุโลก ปงบประมาณ 2546. กรุงเทพฯ: สำ�นักโบราณคดี กรมศิลปากร. ปาริชาติ วิลาวรรณ. (2527). การสงของปาเพือ่ เปนสินคาออกในสมัยกรุงศรีอยุธยา. เมืองโบราณ 10, (3) : 83-103. “พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม).” (2542). ใน ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม 3. กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับสมเด็จพระพนรัตน วัดพระเชตุพน. (2505). พระนคร: คลังวิทยา. พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา (ภาคจบ). (2505). พระนคร: โอเดียนสโตร. ฟลีต, ฟาน. (2548). รวมบันทึกประวัติศาสตรอยุธยาของฟาน ฟลีต (วัน วลิต). นันทา วรเนติวงศ, แปล. กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร.

66


ความสัมพันธทางการคากับการแสวงหาอำ�นาจของเมืองพิษณุโลกในพุทธศตวรรษที่ 22-23 ธีระวัฒน แสนคำ�

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. คณะนิติศาสตร. (2529). ประมวลกฎหมาย รัชกาลที่ 1 จุลศักราช 1166 พิมพตาม ฉบับหลวง ตรา 3 ดวง เลม 2. กรุงเทพฯ: เรือนแกวการพิมพ. มาซูฮารา, โยซิยูกิ. (2546). ประวัติศาสตรเศรษฐกิจของราชอาณาจักรลาวลานชาง สมัยคริสตศตวรรษที่ 14-17 จาก “รัฐการคาภายในภาคพื้นทวีป” ไปสู “รัฐกึ่งเมืองทา.” กรุงเทพฯ: มติชน. มานพ ถาวรวัฒนสกุล. (2536). ขุนนางอยุธยา. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ลา ลูแบร. (2552). จดหมายเหตุ ลา ลูแบร ราชอาณาจักรสยาม. สันต ท.โกมลบุตร, แปล. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ศรีปญญา. วรางคณา นิพัทธสุขกิจ. (2550). หนังกวาง ไมฝาง ชาง ของปา : การคาอยุธยาสมัยพุทธศตวรรษที่ 22-23. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. __________. (2550). การปฏิรปู ระบบการเมืองการปกครองภายใตบริบททางการคาสมัยอยุธยาตอนตน. วารสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร 27, (3) : 68-103. วินยั พงศศรีเพียร. (2551). พรรณนาภูมสิ ถานพระนครศรีอยุธยา เอกสารจากหอหลวง (ฉบับความสมบูรณ). กรุงเทพฯ: อุษาคเนย. เวลส, ควอริช. (2519). การปกครองและการบริหารของไทยสมัยโบราณ. กาญจนี สมเกียรติกุล และยุพา ชุมจันทร, แปล. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำ�ราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร. ศรีศักร วัลลิโภดม. (2527). การคาโบราณ. เมืองโบราณ 10, (2) : 5-6. __________. (2552). เมืองโบราณในอาณาจักรสุโขทัย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. สินชัย กระบวนแสง. (2536). “เมืองพิษณุโลก : หลักฐานจารึก.” ใน ประเสริฐ ณ นคร, บรรณาธิการ. รวมเรื่อง ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมเมืองพิษณุโลก. เชียงใหม: ส.ทรัพยการพิมพ : 33-45. สุธาชัย ยิม้ ประเสริฐ. (2548). เศรษฐกิจสมัยอยุธยา พ.ศ.2112-2310 : เศรษฐกิจแบบไมท�ำ เองใชเอง. เมืองโบราณ 31, (1) : 68-90. หวน พินธุพันธ. (2514). พิษณุโลกของเรา. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ. __________. (2521). อุตรดิตถของเรา. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ. อุดม บูรณเขตต. (2542). “ประวัติเมืองพระพิษณุโลก.” ใน จิราภรณ สถาปนะวรรธนะ, บรรณาธิการ. รายงาน การดำ�เนินงานโครงการวันสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 29 กรกฎาคม 2542 มหาวิทยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก: ภาควิชาสังคมศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร : 127-202. เอิบเปรม วัชรางกูร. (2554). มรดกใตทองทะเลไทย. กรุงเทพฯ: มติชน.

67



การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง โดยใชวิธีการวิจัยปฏิบัติการ แบบมีสวนรวม กรณีศึกษา ชุมชนสรางสรรคหัตถกรรมภาพแกะหนังตะลุง ตำ�บลปากพูน อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช The Development on Shadow Puppet Carving Handicraft by Participatory Action Research: A Case Study of Shadow Puppet Leather Carving in Nakhon Si Thammarat เรวัต สุขสิกาญจน 1, เจษฎา สุขสิกาญจน 2, มนัส ชวยกรด 3 Rewat Suksikarn, Jedsada Suksikarn, Manus Chuaykrod บทคัดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง ภายใตบริบทชุมชนสรางสรรค หัตถกรรมภาพแกะหนังตะลุง ตำ�บลปากพูน อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยใชวิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบ มีสวนรวม โดยนำ�เทคนิค AIC มาใชในการประชุมเชิงปฏิบัติการ ผลการวิจัยพบวา ชุมชนมีความตองการพัฒนา ผลิตภัณฑ มีผูเขารวมดำ�เนินการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง จำ�นวน 20 คน มีการดำ�เนินการ วิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม 3 วงรอบ แนวทางหลักในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑคือ ผลิตงาย ไมซับซอน และ ยังคงอนุรักษศิลปหัตถกรรมสรางสรรคหัตถกรรมหนังตะลุงอยู ตนแบบผลิตภัณฑที่สรางมีกระเปาสะพาย 1 ใบ กระเปาถือแบบมีสายสะพาย 2 ใบ กระเปาถือ 2 ใบ และชุดเครื่องประดับ 2 ชุด โดยนำ�ผลิตภัณฑที่ไดรับการพัฒนา ถายทอดความรูใ หกบั เยาวชนในทองถิ่นเพือ่ การอนุรกั ษ และผลการวิจยั เปนประโยชนตอ ชุมชนในการพัฒนารูปแบบ ผลิตภัณฑอยางเปนรูปธรรม คำ�สำ�คัญ: 1. ผลิตภัณฑหตั ถกรรมหนังตะลุง. 2. การวิจยั ปฏิบตั กิ ารแบบมีสว นรวม. 3. ชุมชนสรางสรรคหตั ถกรรม ภาพแกะหนังตะลุง ตำ�บลปากพูน.

__________________ 1 อาจารยประจำ�สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม สำ�นักวิชาสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ 2 อาจารยประจำ�สาขาการออกแบบนิเทศศิลป คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช 3 สมาชิกชุมชนสรางสรรคหัตถกรรมภาพแกะหนังตะลุง ตำ�บลปากพูน อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

Abstract This research has aimed to study the results of developing the carving of leather shadow puppet within the community context of Creative Leather Shadow Puppet Carving team in Pakpoon sub-district, Muang Nakhon Si Thammarat Province. This research is participatory action research using an AIC technique. The research results showed hat the Creative Leather Shadow Puppet Carving team is interested in developing the product. Twenty team members participated in the research process, which is three-round participatory action research. Manufacturing techniques make it easy to produce the goods while preserving the traditional handicraft skills. The product prototypes consist of one shoulder bag, two handbags with straps, two handbags, and two sets of accessories. All knowledge could be conveyed to the youths in the local area for conservation, and the community would get benefits from this research. Keywords: 1. Leather shadow puppet. 2. Participatory Action Research. 3. Creative Leather Shadow Puppet Carving team, Pakpoon sub-district.

70


การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง โดยใชวิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม เรวัต สุขสิกาญจน, เจษฎา สุขสิกาญจน , มนัส ชวยกรด

บทนำ� ความสำ�คัญของปญหา ศิลปหัตถกรรมพื้นบานเปนสิ่งที่เกิดควบคูกับ การดำ�เนินชีวิต และเปนสิ่งที่เกิดขึ้นดวยเหตุผลความ จำ�เปนของการดำ�เนินชีวติ โดยยังคงแสดงถึงวิถชี วี ติ ของ ชาวบาน มีเอกลักษณเฉพาะถิ่น มีความเรียบงายและ งดงาม ลั ก ษณะเหล า นี้ เ ป น สิ่ ง ที่ มี คุ ณ ค า และความ สำ � คั ญ ในแง ข องศิ ล ปะและศิ ล ปหั ต ถกรรมพื้ น บ า น นอกจากนี้ยังสะทอนใหเห็นถึงความเปนอยู สภาพ เศรษฐกิจ สังคม ตลอดกาลเวลาของการสรางศิลปะ นั้ น ๆ ศิ ล ปหั ต ถกรรมพื้ น บ า นจึ ง มิ เ ป น เพี ย งการ สรางสรรคของบุคคลใดบุคคลหนึง่ แตเปนการสรางสรรค ซึ่ ง มี ลั ก ษณะของช า งพื้ น บ า นที่ ป รากฏออกมาโดย ผสมผสานกับวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมและประเพณีที่ สืบทอดมาจากบรรพบุรุษจากชั่วคนหนึ่งไปสูอีกชั่วคน หนึ่ ง เปนเวลานับรอยๆ ป หัตถกรรมแกะหนั ง เป น ศิลปหัตถกรรมที่มีชื่อเสียงมาตั้งแตอดีตควบคูกับการ เลนหนังตะลุง ซึ่งเปนศิลปวัฒนธรรมของชาวภาคใต จากเดิมที่ใชแสดงหนังตะลุงทำ�กันในวงแคบๆ ตอมา ระยะหลังคือ 30 ปที่ผานมาไดมีผูคิดคนแกะรูปหนัง ตะลุงออกจำ�หนายตามตลาดนัดแรงงานและเทศกาล ตางๆ ออกจำ�หนายเปนเชิงพาณิชยมากยิ่งขึ้น ดาน รูปแบบก็คอยๆ พัฒนากวางออกคือแทนที่จะแกะรูป หนังเชิดอยางเดียวก็แกะเปนรูปหนังใหญหรือรูปตางๆ (ชนิกรรดา เพชรชนะ ม.ป.ป.) จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เป น แหล ง หนึ่ ง ที่ มี การผลิตศิลปหัตกรรมหลายประเภทที่สืบตอมาชานาน งานช า งที่ มี ชื่ อ เสี ย งเป น หั ต ถกรรมประณี ต ศิ ล ป มี อยู  ม ากมาย และมี เ อกลั ก ษณ โ ดดเด น ที่ สุ ด ในเขต ภูมิศาสตรภาคใต หัตถกรรมภาพแกะหนังตะลุงคือหนึ่ง ในนั้น แตในปจจุบันมีการผลิตหัตถกรรมประเภทนี้ ใน หลากหลายพืน้ ทีข่ องภาคใตโดยระบบหัตถอุตสาหกรรม เพิม่ มากขึน้ ปญหาทีส่ �ำ คัญคือรูปแบบไมแตกตางกันเลย จนทำ�ใหผผู ลิตทีส่ รางสรรคผลงานมาแตเดิมในเชิงศิลปะ และการอนุรักษสืบสานภูมิปญญา รายไดขาดหายไป สงผลใหในอนาคตคงไรคนสืบทอดการสรางสรรค สวน ทางดานคุณคาที่เกิดขึ้นอันสื่อถึงเอกลักษณเฉพาะถิ่น นัน้ ตองมีการพัฒนาและสรางสรรคผลงานเพือ่ ใหมคี วาม

แตกตางและโดดเดนเฉพาะตัว จึงจะทำ�ใหหัตถกรรม ภาพแกะหนังตะลุงยังคงอยูคูกับทองถิ่นและสังคมไทย การไดอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่นใหเกิดประโยชนคุมคา และเพิ่มรายไดเลี้ยงตนเอง เพื่อใหสอดคลองกับสภาพ สังคมและเศรษฐกิจในปจจุบัน ตามแนวพระราชดำ�ริ เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ดังเชน นายมนัส ชวยกรด (สัมภาษณ 2552) ชาวบาน ชุมชนแกะหนังตะลุงตำ�บลปากพูน อำ�เภอเมือง จังหวัด นครศรี ธ รรมราช ได ศึ ก ษาและฝ ก ฝนสร า งสรรค หัตถกรรมภาพแกะหนังตะลุงดวยตัวเองมาเปนเวลานาน และไดพยายามถายทอดใหเยาวชนรุนหลังที่มีใจรัก ทางดานงานศิลปะการแกะหนัง แตยังมีปญหาอยูใน เรือ่ งของอุปกรณ สถานที่ และปญหาทีต่ อ งแกไขเรงดวน เปนเรือ่ งของการพัฒนารูปแบบควบคูไ ปกับการสืบทอด ภูมิปญญา คณะผูวิจัย จึงมีแนวความคิดในการพัฒนาและ ออกแบบหัตถกรรมภาพแกะหนังตะลุงเพื่อตอบสนอง ของการแกปญหาขางตนที่กลาวมา ทั้งการอนุรักษ สืบสาน การออกแบบและพัฒนารูปแบบใหตรงกับความ ตองการของผูบ ริโภคมีตวั เลือกของผลงานสรางสรรคอนั หลากหลาย อีกทัง้ ยังสงผลตอกลุม ผูผ ลิตและสรางสรรค ในดานการเพิ่มรายได ขยายผลสูวงกวางตั้งแตระดับ ชุมชนทองถิน่ จนถึงระดับสากล มีรปู แบบของผลิตภัณฑ ทีแ่ ตกตาง แตยงั คงคุณคาเอกลักษณของงานหัตถกรรม ภาพแกะหนังตะลุงเอาไว เพื่อสงเสริมใหชุมชนเกิดการ เรียนรูและสามารถพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑไดอยาง ตอเนื่องในอนาคต โดยใชกระบวนการวิจัยปฏิบัติการ แบบมีสวนรวม ซึ่งมีขั้นตอนสำ�คัญ 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1.) ศึกษาและวิเคราะหปญ  หา 2.) ศึกษาแนวทางในการ แกไขปญหา 3.) วางแผนดำ�เนินการเพื่อแกไขปญหา 4.) ปฏิบตั ติ ามแผน 5.) ติดตามและประเมินผล และการ วิจยั นีค้ ณะผูว จิ ยั ไดน�ำ ขัน้ ตอนการเรียนรู (Appreciation) ขั้นตอนสรางการพัฒนา (Influence) ขั้นตอนการสราง แนวปฏิบัติ (Control) หรือเทคนิค AIC มาประยุกตใช ในการระดมความคิ ด เกี่ ย วกั บ การพั ฒ นารู ป แบบ ผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง เปนการแลกเปลี่ยน ความรู ประสบการณและขอมูลขาวสาร เพือ่ ความเขาใจ สภาพปญหา ขอจำ�กัด ความตองการ และศักยภาพ

71


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ของชุมชน โดยมีเปาหมายใหชุมชนไดมีสว นรวมในการ ดำ�เนินการวิจัยทุกขั้นตอน เพื่อชุมชนจะสามารถพัฒนา รูปแบบผลิตภัณฑหตั ถกรรมหนังตะลุง ภายใตบริบทของ ชุมชนนำ�ไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่ อ พั ฒ นารู ป แบบผลิ ต ภั ณ ฑ หั ต ถกรรมหนั ง ตะลุง ภายใตบริบทชุมชนสรางสรรคหัตถกรรมภาพ แกะหนังตะลุง ตำ�บลปากพูน อำ�เภอเมือง จังหวัด นครศรีธรรมราช ความสำ�คัญของการวิจัย 1. ได ผ ลงานการพั ฒ นารู ป แบบผลิ ต ภั ณ ฑ หัตถกรรมหนังตะลุงที่แตกตางจากที่มีอยู โดยใชวิจัย ปฏิบัติการแบบมีสวนรวม ซึ่งมีขั้นตอนการดำ�เนินการ ที่สำ�คัญ คือ ศึกษาและวิเคราะหปญหา ศึกษาแนวทาง ในการแกไขปญหา วางแผนดำ�เนินการเพือ่ แกไขปญหา ปฏิบัติตามแผน และติดตามประเมินผล 2. ผลการวิจัยในครั้งนี้ทำ�ใหชุมชน ไดแนวทาง ในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ภายใตบริบทของชุมชน ซึ่งสามารถนำ�ไปใชเปนกรณีศึกษาใหกับชุมชนอื่นๆ ที่ จะนำ �ไปประยุกตใชในการพัฒนารูปแบบผลิ ต ภั ณ ฑ หัตถกรรมทองถิ่นตอไป กลุมเปาหมายในการวิจัย กลุมชุมชนสรางสรรคหัตถกรรมภาพแกะหนัง ตะลุง ตำ�บลปากพูน อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยคณะผูว จิ ยั เลือกแบบเจาะจง (Purposive Area) เพราะ เปนกลุมที่รวมตัวทำ �ผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง เพื่อเสริมรายไดใหแกตนเองและครอบครัว และมีความ ตองการที่จะพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ทำ�ใหไดกลุม เปาหมายในการวิจัยจำ�นวน 20 คน คือ สมาชิกในกลุม ชุมชน 16 คน นักพัฒนา 1 คน และคณะผูวิจัย 3 คน วิธีดำ�เนินการวิจัย ขัน้ ตอนที่ 1 การศึกษาขอมูลเบือ้ งตนกอนทำ� การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม คณะผูวิจัยมีการ ดำ�เนินการ 3 ขั้นตอน คือ 1.) คัดเลือกชุมชน 2.) สราง สัมพันธภาพกับชุมชน 3.) เตรียมคนในการดำ�เนินงาน ผูใหขอมูลเปนประชาชนในชุมชน โดยใชวิธีการสังเกต และวิเคราะหขอ มูลเชิงคุณภาพดวยการวิเคราะหเนือ้ หา

72

(Content Analysis) เก็บขอมูลภาคสนามและเสนอผล การศึกษาดวยวิธีการพรรณนาวิเคราะหมีภาพประกอบ ขั้ น ตอนที่ 2 การวิ จั ย ปฏิ บั ติ ก ารแบบมี ​ สวนรวมในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหตั ถกรรม หนังตะลุง คณะผูวิจัยมีขั้นตอนในการดำ�เนินการวิจัย ภาคสนามรวมกับนักพัฒนาและชุมชน ใน 3 วงรอบ การวิจัย ซึ่งแตละวงรอบมีขั้นตอนดังนี้ 1.) การศึกษาและวิเคราะหปญหา ศึกษาจาก ผูเขารวมพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ แลกเปลี่ยนความ รูทักษะและประสบการณเพื่อใหเกิดวามเขาใจสภาพ ปญหา ขอจำ�กัด ความตองการ และศักยภาพในการ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ โดยใชวิธีการสัมภาษณ การ สังเกต ใชเทคนิค AIC ในขั้นตอนการสรางความรู แลกเปลีย่ นประสบการณ (Appreciation) วิเคราะหขอ มูล เชิงคุณภาพดวยการวิเคราะหเนือ้ หา เสนอผลการศึกษา ดวยวิธีการพรรณนาวิเคราะหมีภาพประกอบ 2.) การศึกษาแนวทางในการแกไขปญหา โดย การพิจารณาความเหมาะสมและความเปนไปไดในการ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ จากกลุมเปาหมายผูเขารวม ดำ�เนินการ ใชวิธีการสัมภาษณ การสังเกต ใชเทคนิค AIC ในขั้นตอนการสรางแนวทางพัฒนา (Influence) วิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพดวยการวิเคราะหเนื้อหา เสนอผลการศึกษาดวยการพรรณนาวิเคราะหมีภาพ ประกอบ 3.) การวางแผนดำ�เนินการเพือ่ แกไขปญหา โดย กำ�หนดวัตถุประสงค กิจกรรม และขั้นตอนการดำ�เนิน งานการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ กำ�หนดหนาที่ความ รับผิดชอบของสมาชิกแตละคน ใชเทคนิค AIC ในขัน้ ตอน การสรางแนวทางปฏิบัติ (Control) และการสังเกต วิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพดวยการวิเคราะหเนื้อหา เสนอผลการศึกษาดวยวิธกี ารพรรณนาและตารางแสดง ขอมูลตามประเด็นที่กำ�หนด 4.) การปฏิบัติตามแผน ดำ�เนินการโดยคณะ ผูวิจัย นักพัฒนา และชุมชน ปฏิบัติการแบบมีสวนรวม ในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ตามหนาทีแ่ ละแผนการ ดำ�เนินการที่กำ�หนดไว จากกลุมเปาหมายผูเขารวม ดำ�เนินการ ใชเทคนิค AIC ในขั้นตอน Appreciation, Influence และControl และการสังเกต วิเคราะหขอมูล


การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง โดยใชวิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม เรวัต สุขสิกาญจน, เจษฎา สุขสิกาญจน , มนัส ชวยกรด

เชิงคุณภาพดวยการวิเคราะหเนือ้ หา เสนอผลการศึกษา ดวยวิธีการพรรณนาวิเคราะหมีภาพประกอบ 5.) การติดตามและประเมินผล การดำ�เนินการ เปนไปตามแผนงานและวัตถุประสงคที่กำ�หนดไวหรือ ไม มีอะไรบางที่ตองแกไข มีปญหาและอุปสรรคหรือไม อยางไร โดยใชแบบติดตามผลและการสังเกต วิเคราะห ข อ มู ล เชิ ง คุ ณ ภาพ เสนอผลการศึ ก ษาด ว ยวิ ธี ก าร พรรณนาวิ เ คราะห มี ภ าพประกอบในบางตอน และ

มี การประเมิ น ผลการพั ฒ นารู ป แบบผลิ ต ภัณฑ โดย ผูเขารวมดำ�เนินการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ 20 คน, ผูเชี่ยวชาญในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ 3 คน และ ผูที่สนใจงานหัตถกรรม 50 คน โดยใชแบบประเมิน และการสังเกต วิเคราะหขอมูลคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบน มาตรฐาน เสนอผลการศึกษาในรูปแบบตารางประกอบ ความเรียง

73


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

จุดมุงหมา​ย การดำ�เนินการ ผล​ที่ได​รับ เพื่อ่อพัฒนารู ตภัตณภัฑณฑ​ เพื นารูปปแบบผลิ แบบผลิ หัหัตตถกรรมหนั ง ตะลุ ง ภายใต​ ถกรรมหนังตะลุงภายใต บริ บ ทของชุ ม ชน โดยใช​ บริบทของชุมชนจั ย ปฏิ โดยใช กระบวนการวิ บั ติ ก าร กระบวนการวิ แบบมี สวนรวจมัยปฏิบัติการ แบบมีสวนรวม​

1.​กอนทำาการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม​ - คัดเลือกชุมชน - คั - สรางสัมพันธภาพกับชุมชน - สรายงสัมคนในการดำ มพันธภาพกั�บเนิชุนมงาน ชน - เตรี

แบบผลิตตภัภัณณฑฑ หัตหถกรรม รูรูปปแบบผลิ ัตถกรรม หนั ง ตะลุ ง ที ่ ม ี ก ารพั นาโดย หนังตะลุง ที่มีการพัฒฒนาโดย การปฏิบตั กิ ารแบบมีสว นรวม​ การปฏิ บัตกิกวิารแบบมี นรวแมละ​ ระหว างนั จยั นักพัสฒวนา ระหวางนั กวิจัย​​นักพัฒนา​​ คนในชุ มชน และคนในชุมชน

- เตรียมคนในการดำาเนินงาน

2. การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวมในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง​

รอบ​ที่ 1 รอบ​ที่ 2 รอบ​ที่ 3 ศึกษาและวิเคราะหปญหาชุมชน​ ศึกษาแนวทางในการแกไขปญหา​ วางแผนดำาเนินการเพื่อแกไขปญหา ปฏิบัติตามแผน​

ไดรูปแบบผลิตภัณฑในรอบที่​1

ติดตามและประเมินผล การสะทอนกลับ

ศึกษาและวิเคราะหปญหา​ ศึกษาแนวทางในการแกไขปญหา​ วางแผนดำาเนินการเพื่อแกไขปญหา ปฏิบัติตามแผน​

ไดรูปแบบผลิตภัณฑในรอบที่​2

ติดตามและประเมินผล การสะทอนกลับ

ศึกษาและวิเคราะหปญหา​ ศึกษาแนวทางในการแกไขปญหา​ วางแผนดำาเนินการเพื่อแกไขปญหา

ไดรูปแบบผลิตภัณฑในรอบที่​3

ปฏิบัติตามแผน​ ติดตามและประเมินผล

3. สรุปผล ภาพที่ 1 ขั้นตอนการดำ�เนินการวิจัย

74


การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง โดยใชวิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม เรวัต สุขสิกาญจน, เจษฎา สุขสิกาญจน , มนัส ชวยกรด

ผลการวิจัย ขัน้ ตอนที่ 1 ผลการศึกษาขอมูลเบือ้ งตนกอน​ ทำ�การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม 1. ผลการคัดเลือกชุมชน คณะผูว จิ ยั ไดคดั เลือก ชุมชนสรางสรรคหัตถกรรมภาพแกะหนังตะลุง ตำ�บล ปากพูน อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช เพราะ เปนกลุม ทีร่ วมตัวทำ�ผลิตภัณฑหตั ถกรรมหนังตะลุง เพือ่ เสริมรายไดใหแกตนเองและครอบครัว และสมาชิกใน ชุมชนมีความตองการทีจ่ ะพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ใหมี ความหลากหลายและเหมาะสมกับการใชงานในปจจุบนั 2. ผลการสรางสัมพันธภาพกับชุมชน จากการ ที่คณะผูวิจัยไดสรางความสัมพันธที่ดีกับชุมชนโดยการ เขาสูชุมชนเปนระยะ และสม่ำ�เสมอ พูดคุยเบื้องตน ถึงความสนใจที่จะรวมกับชุมชนในการพัฒนารูปแบบ ผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง ทำ�ใหคณะผูวิจัยไดรับ การตอบรับที่ดีจากชุมชน 3. ผลการเตรียมคนในการดำ�เนินงาน จากการ ทีค่ ณะผูว จิ ยั ติดตอประสานงานชุมชน ทำ�ใหไดผทู สี่ นใจ

เขารวมดำ�เนินการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรม หนังตะลุง จำ�นวน 20 คน คือ สมาชิกกลุมชุมชน สรางสรรคหัตถกรรมภาพแกะหนังตะลุง 16 คน นัก พัฒนา 1 คน และคณะผูวิจัย 3 คน ขั้นตอนที่ 2 ผลการวิจัยปฏิบัติการแบบมี สวนรวมในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหตั ถกรรม หนังตะลุง วงรอบที่ 1 1. ผลการศึกษาและวิเคราะหปญหา รูปแบบ ของผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง มีอยู 2 ลักษณะ คือ ตัวหนังตะลุง และภาพแกะรูปหนังประดับฝาผนัง มีหลาย ขนาดและหลากหลายเรื่องราว สวนการพัฒนารูปแบบ ก็มีอยูแลวบาง เชน กลองไฟหรือโคมไฟ สำ�หรับโชว และตกแต ง ความเป น ไปได ใ นการพั ฒ นารู ป แบบ ผลิตภัณฑ คือ ชุมชนมีทกั ษะและผลงานทีต่ อกหนังแผน เปนลวดลาย ถึงแมวา จะประยุกตการออกแบบและพัฒนา แลว ก็ยังคงมีรูปลักษณมาจากการประดับและตกแตง ลวดลาย

ภาพที่ 2 การศึกษาขอมูลเบื้องตนกอนทำ�การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม ที่มา : ถายภาพเมื่อ เมษายน 2552

75


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ภาพที่ 3 รูปแบบของผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุงที่มีอยูในปจจุบัน ที่มา : ถายภาพเมื่อ พฤษภาคม 2552

2. ผลการศึกษาแนวทางในการแกไขปญหา ไดขอสรุปเพื่อกำ�หนดแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ โดยผลิตภัณฑทพี่ ฒ ั นาตองมีประโยชนใชสอย ใชรปู แบบ วิธกี ารผลิตทีม่ เี อกลักษณของการแกะหนังตะลุง คือ การ ตอกลวดลายและลักษณะเปนแผนหนังนำ�มาประกอบ กันเปนผลิตภัณฑ ชุมชนสามารถผลิตไดเองโดยไมมขี นั้ ตอนที่ซับซอน ออกแบบรวมกับวัสดุอื่น เพื่อการสราง ความแตกตางใหกับผลิตภัณฑ 3. ผลการวางแผนดำ�เนินการเพือ่ แกไขปญหา มี การกำ�หนดใหมีการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ควบคูไป กับการถายทอดความรูดานศิลปะและการออกแบบจาก ผูเชี่ยวชาญ และมีการแลกเปลี่ยนความรูประสบการณ ร ว มกั น ระหว า งผู  เ ข า ร ว มดำ � เนิ น การพั ฒ นารู ป แบบ

76

ผลิตภัณฑ โดยจัดเปนกิจกรรมตามแผนการดำ�เนินการ และกำ�หนดหนาที่ความรับผิดชอบตามความเหมาะสม 4. ผลการปฏิบัติตามแผน ผูเขารวมดำ�เนินการ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ตองการทำ�ผลิตภัณฑกระเปา มากทีส่ ดุ โดยผูเ ขารวมดำ�เนินการ ไดทดลองสรางผลงาน ต น แบบเบื้ อ งต น เป น กระเป า สะพาย และร ว มกั น อภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและรับฟงขอเสนอแนะ จากผูเชี่ยวชาญ เพื่อสรุปขอมูลที่จะนำ�ไปพัฒนาตอ 5. ผลการติดตามและประเมินผล การดำ�เนินงาน เปนไปตามแผนทีไ่ ดก�ำ หนดรวมกัน ไดผลงานการพัฒนา รูปแบบผลิตภัณฑในรูปแบบที่ตรงตามวัตถุประสงคที่ วางไว ถึงแมจะมีปญหาและอุปสรรคบาง ทุกฝายก็ได ช ว ยกัน แก ป  ญ หาให ง านดำ� เนิ น ไปอย า งลุ ล  ว งดวยดี


การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง โดยใชวิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม เรวัต สุขสิกาญจน, เจษฎา สุขสิกาญจน , มนัส ชวยกรด

ผูเขารวมดำ�เนินการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ไดนำ� ผลงานตนแบบผลิตภัณฑ ทดลองการใชงานดูความ เหมาะสมของขนาดสัดสวน และความคงทนแข็งแรง เพื่อปรับปรุงแบบตอไปในการพัฒนาในวงรอบที่ 2 การ ประเมินผลงานการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ในภาพ รวมมีความเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด ( Χ = 4.52, S.D. = 0.42) โดยการประเมินจากผูเชี่ยวชาญในภาพ รวมมีความเหมาะสมอยูในระดับมาก ( Χ = 4.39, S.D. = 0.45) การประเมินจากผูเขารวมดำ�เนินการพัฒนา รูปแบบผลิตภัณฑ ในภาพรวมมีความเหมาะสมอยูใน ระดับมากที่สุด ( Χ = 4.55, S.D. = 0.45) และการ ประเมินจากบุคคลทั่วไป ในภาพรวมมีความเหมาะสม อยูในระดับมากที่สุด ( Χ = 4.52, S.D. = 0.42) 6. ผลการสะทอนกลับ การอภิปราย แสดงความ คิดเห็น และซักถามผูเขารวมดำ�เนินการพัฒนารูปแบบ ผลิตภัณฑ ไดสะทอนกลับถึงปญหาที่เกิดขึ้นคือ ขนาด ของผลิตภัณฑใหญเกินไป และการตอกหนังควรจะลด ลวดลายลงจะไดประหยัดเวลา แตสามารถผลิตชิ้นงาน ไดเพิ่มขึ้น เพิ่มเติมเทคนิคการพับ ดัด โคงของหนัง มาเปนสวนหนึ่งของรูปแบบดวย จึงนำ�ขอเสนอแนะที่ ไดจากการประเมินไปปรับปรุงแกไขในการวิจัยปฏิบัติ การแบบมีสวนรวมในวงรอบที่ 2 ตอไป

วงรอบที่ 2 1. ผลการศึกษาและวิเคราะหปญหา แบงออก ไดเปน 3 ประเด็น คือ 1.) ดานความคงทนแข็งแรง เกิดจากปญหาแผนหนังที่แกะและตอกลวดลายถี่จน เกินไป ไมสามารถรับน้ำ�หนักไดดีเทาที่ควร 2.) ดาน เทคนิคการผลิต แผนหนังที่แกะและตอกลวดลายถี่เกิน ไป ทำ�ใหตองใชเวลาในการผลิตนาน ไมคุมกับเวลาเมื่อ เทียบกับราคา 3.) ดานขนาดใหญเกินไป 2. ผลการศึกษาแนวทางในการแกไขปญหา คือ ผูเขารวมดำ�เนินการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ตั้งโจทย วาทำ�อยางไรใหกระเปามีความคงทนแข็งแรงในการ ใชงาน โดยที่ไมตองมีวัสดุอยางอื่นเสริมมากนัก และลด การแกะ ตอกลวดลายใหนอยลง จะไดประหยัดทั้งเวลา และสร า งความคงทนแข็ ง แรงไปด ว ยในตั ว ปรั บ ใน เรื่องของขนาดผลิตภัณฑใหสามารถใชไดงายขึ้น 3. ผลการวางแผนดำ�เนินการเพื่อแกไขปญหา ผู  เ ข า ร ว มดำ � เนิ น การพั ฒ นารู ป แบบผลิ ต ภั ณ ฑ ไดกำ�หนดวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑโดยเนน ประโยชนใชสอย คือ กระเปา และลดการตอกลวดลาย ใหนอ ยลง มีกรรมวิธกี ารผลิตไมยงุ ยากซับซอน เปนการ พับ หรือดัดโคงรูปทรงอยางงาย มีความแข็งแรงทนทาน โดยกำ�หนดหนาที่ความรับผิดชอบตามความเหมาะสม

ภาพที่ 4 ผลงานตนแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง วงรอบที่ 1 ที่มา : ถายภาพเมื่อ มิถุนายน 2552

77


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

4. ผลการปฏิบัติตามแผน ผูเขารวมดำ�เนินการ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ไดชวยกันระดมความคิดและ ทดลองสรางตนแบบผลิตภัณฑ เปนกระเปา 2 รูปแบบ คือ 1.) กระเปาถือแบบมีสายสะพาย มี 2 ประเภท คือ ระบายสีลวดลายและทดลองระบายสีทั้งแผนหนังแกะ ลาย 2.) กระเปาถือ แบบทีร่ ะบายสีลวดลายและทดลอง แกะลวดลายโดยใชสธี รรมชาติของหนังวัว ทัง้ 2 รูปแบบ มีชุดประดับกระเปาผลิตจากเศษหนังที่เหลือเพื่อให เขาชุดกัน 5. ผลการติดตามและประเมินผล การดำ�เนินงาน เปนไปตามแผนทีไ่ ดก�ำ หนดรวมกัน ไดผลงานทีเ่ กิดจาก การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑและมีการทำ�ตนแบบทีต่ อ ง การ มีการทดลองทำ�สีของแผนหนังแกะลายซึง่ เปนเรือ่ ง ของเทคนิค อาจจะตองใชเวลาฝกฝน เพราะสวนใหญคนุ เคยกับการระบายสีแบบธรรมดา ผูเขารวมดำ�เนินการ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ไดน�ำ ผลงานตนแบบมาทดลอง การใชงานเพื่อดูถึงความเหมาะสมของขนาดสัดสวน และความคงทนแข็งแรง ซึ่งจะนำ�ไปปรับปรุงแบบตอ

ไปในวงรอบที่ 3 การประเมินผลงานการพัฒนารูปแบบ ผลิตภัณฑ ในภาพรวมมีความเหมาะสมอยูใ นระดับมาก ที่สุด ( Χ = 4.59, S.D. = 0.46) โดยการประเมินจาก ผูเชี่ยวชาญในภาพรวมมีความเหมาะสมอยูในระดับ มากที่สุด ( Χ = 4.59, S.D. = 0.45) การประเมินจาก ผูเขารวมดำ�เนินการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ในภาพ รวมมีความเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด ( Χ = 4.67, S.D. = 0.43) และการประเมินจากบุคคลทั่วไป ในภาพ รวมมีความเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด ( Χ = 4.53, S.D. = 0.52) เชนกัน 6. ผลการสะทอนกลับ สรุปไดวา ตองใชเวลาใน การฝกเทคนิคการจัดองคประกอบทางศิลปะ และทดลอง นำ�เศษหนังที่เหลือจากการแกะ นำ�มาพัฒนารูปแบบ ผลิตภัณฑใหมีความหลากหลายขึ้น อีกทั้งเปนการเพิ่ม มู ล ค า จากเศษวั ส ดุ จึ ง นำ � ข อ เสนอแนะที่ ไ ด จ ากการ ประเมินไปปรับปรุงแกไขในการวิจัยปฏิบัติการแบบมี สวนรวมในวงรอบที่ 3 ตอไป

ภาพที่ 5 ผลงานตนแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง วงรอบที่ 2 แบบที่ 1 ที่มา : ถายภาพเมื่อ กันยายน 2552

78


การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง โดยใชวิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม เรวัต สุขสิกาญจน, เจษฎา สุขสิกาญจน , มนัส ชวยกรด

ภาพที่ 6 ผลงานตนแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง วงรอบที่ 2 แบบที่ 2 ที่มา : ถายภาพเมื่อ กันยายน 2552

วงรอบที่ 3 1. ผลการศึกษาและวิเคราะหปญ  หา แบงออกได เปน 2 ประเด็น คือดานความคงทนแข็งแรง เกิดจาก ปญหาการนำ�แผนหนังมาดัดโคง ทำ�ใหบางจุดของการ ดัดโคงเกิดรอยที่ทำ�ใหผลิตภัณฑมีตำ�หนิ และปญหา ดานเทคนิคการผลิต โดยทางผูผลิตตองใชเวลาในการ พัฒนารูปแบบ พบสิ่งที่นาสนใจคือ เศษหนังที่เหลือจาก การแกะนาจะนำ�มาใชประโยชน ในการนำ�มาพัฒนาเปน ผลิตภัณฑเพื่อเพิ่มมูลคาของเศษวัสดุได 2. ผลการศึกษาแนวทางในการแกไขปญหา คือ ผูเขารวมดำ�เนินการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ตั้งโจทย วาทำ�อยางไรใหเศษวัสดุที่เหลือจากหัตถกรรมแกะหนัง มี ป ระโยชน สามารถนำ � มาคิ ด ออกแบบพั ฒ นาเป น ผลิตภัณฑที่หลากหลายมากขึ้น โดยการนำ�เทคนิคการ แกะ ตอก และการสรางลวดลายจากหนังตะลุง โดยไม ซับซอนยุงยากในการผลิต และใชเวลาไมมากนัก 3. ผลการวางแผนดำ�เนินการเพื่อแกไขปญหา ผูเ ขารวมดำ�เนินการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ไดก�ำ หนด วัตถุประสงคเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑที่มีประโยชนใชสอย โดยการนำ�เศษวัสดุที่เหลือจากการแกะหนังตะลุงและ มี ก รรมวิธีการผลิต ที่ไมยุงยากซับซอน แต เ กิ ด เป น ผลิตภัณฑที่หลากหลายมากขึ้น

4. ผลการปฏิบัติตามแผน ผูเขารวมดำ�เนินการ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ไดชวยกันระดมความคิดและ ทดลองสรางตนแบบผลิตภัณฑ จนไดผลงานตนแบบ เปนเครื่องประดับที่เกิดจากเศษการแกะหนังตะลุง ซึ่ง ประกอบไปดวย สรอยคอ ตางหู และกำ�ไลขอมือ จำ�นวน 2 ชุด 5. ผลการติดตามและประเมินผล การดำ�เนิน งานเปนไปตามแผนงานที่ไดรวมกำ�หนด ไดผลงานการ พัฒนาโดยพิจารณาและคำ�นึงถึงรูปแบบผลิตภัณฑโดย ใชเศษจากการแกะหนังตะลุงตามที่ตองการ และไดนำ� ผลงานตนแบบผลิตภัณฑ ทดลองการใชงานดูความ เหมาะสมของขนาดสัดสวน และความคงทนแข็งแรง เพื่อจะไดปรับปรุงแบบตอไป การประเมินผลงานการ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ในภาพรวมมีความเหมาะสม อยูในระดับมาก ( Χ = 4.18, S.D. = 0.59) โดยการ ประเมินจากผูเ ชีย่ วชาญในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู ในระดับมาก ( Χ = 4.19, S.D. = 0.45) การประเมินจาก ผูเขารวมดำ�เนินการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ในภาพ รวมมีความเหมาะสมอยูในระดับมาก ( Χ = 4.28, S.D. = 0.66) และการประเมินจากบุคคลทั่วไป ในภาพรวม มีความเหมาะสมอยูในระดับมาก ( Χ = 4.07, S.D. = 0.77) เชนกัน

79


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ภาพที่ 7 ผลงานตนแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง วงรอบที่ 3 แบบที่ 1 ที่มา : ถายภาพเมื่อ มีนาคม 2553

ภาพที่ 8 ผลงานตนแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง วงรอบที่ 3 แบบที่ 2 ที่มา : ถายภาพเมื่อ มีนาคม 2553

สรุป การพั ฒ นารู ป แบบผลิ ต ภั ณ ฑ หั ต ถกรรมหนั ง ตะลุงโดยใชวิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม กรณี ศึกษา กลุมชุมชนสรางสรรคหัตถกรรมภาพแกะหนัง ตะลุง ตำ�บลปากพูน อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช คณะผู  วิ จั ย ได ดำ� เนิ น การวิ จั ย โดยมี ลำ� ดั บ ขั้ น ตอน 2 ขั้นตอน คือ การศึกษาขอมูลเบื้องตนกอนทำ�การวิจัย ปฏิบัติการแบบมีสวนรวม และการวิจัยปฏิบัติการแบบ มีสวนรวมในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรม หนังตะลุง การดำ�เนินการในแตละขั้นตอนมีประเด็น สำ�คัญที่จะนำ�มาสรุปได ดังนี้

80

ขัน้ ตอนที่ 1 การศึกษาขอมูลเบือ้ งตนกอนทำ� การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม 1. จากการที่คณะผูวิจัยไดทำ�การศึกษาขอมูล เบื้องตนกอนทำ�การวิจัย โดยการลงพื้นที่ภาคสนาม กับชุมชน เพื่อคัดเลือกชุมชนที่ตองการพัฒนารูปแบบ ผลิตภัณฑ ผลการดำ�เนินการพบวา คณะผูว จิ ยั เลือกกลุม ชุมชนสรางสรรคหัตถกรรมภาพแกะหนังตะลุง ตำ�บล ปากพูน อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้งนี้เปน เพราะสมาชิกในชุมชนมีความตองการมีสวนรวมและ เรียนรูใ นการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑรว มกับนักพัฒนา และคณะผูวิจัยอยางจริงจัง เพื่อใหเกิดการพัฒนาที่


การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง โดยใชวิธีการวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม เรวัต สุขสิกาญจน, เจษฎา สุขสิกาญจน , มนัส ชวยกรด

ยั่งยืนของชุมชน 2. การสรางสัมพันธภาพกับชุมชน มีวตั ถุประสงค เพื่อใหชุมชนยอมรับและไววางใจ ซึ่งผลจากการที่คณะ ผูวิจัยไดสรางสัมพันธภาพที่ดีกับชุมชนอยางสม่�ำ เสมอ โดยการเขาสูชุมชนเปนระยะ พูดคุยถึงความสนใจที่จะ รวมกับชุมชนในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ทำ�ให คณะผูวิจัยไดรับการตอบรับที่ดีจากชุมชน 3. การเตรียมคนในการดำ�เนินงาน มีวตั ถุประสงค เพื่อคนหากลุมเปาหมายในการดำ�เนินการวิจัย ผลการ ดำ�เนินการพบวา ความรวมมือรวมใจตั้งแตเริ่มตนสง ผลใหเกิดการยอมรับและไวใจกันระหวางคณะผูวิจัย ชุมชน และนักพัฒนา การติดตอประสานงาน รวมแรง รวมใจ รวมพลัง จึงประสบผลสำ�เร็จจนไดสมาชิกเขารวม ดำ�เนินการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ ทั้งนี้เปนเพราะ สมาชิกทุกคนตางตระหนักถึงสภาพปญหารวมกัน และ มีความหวังรวมกันวาเมื่อการดำ�เนินการวิจัยสิ้นสุดลง สิ่งที่ชุมชนจะไดรับ คือ ไดรับความรูเพิ่มมากขึ้น มีการ รวมกันคิดรวมกันทำ� มีการเผยแพรความรูสูเยาวชนใน ทองถิน่ ซึง่ มีสว นสำ�คัญในการอนุรกั ษ สืบสานภูมปิ ญ  ญา ทองถิ่นใหคงอยูตอไป ขั้ น ตอนที่ 2 การวิ จั ย ปฏิ บั ติ ก ารแบบมี ​ สวนรวมในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑหตั ถกรรม หนังตะลุง กระบวนการทำ � งานร ว มกั น ของคณะผู  วิ จั ย นักพัฒนา และกลุมชุมชนสรางสรรคหัตถกรรมหนัง ตะลุงเสร็จสิ้น ใน 3 วงรอบการวิจัย โดยในแตละวงรอบ มีการดำ�เนินการ 5 ขั้นตอน คือ 1.) การศึกษาและ วิเคราะหปญหา 2.) การศึกษาแนวทางในการแกไข ปญหา 3.) การวางแผนดำ�เนินการเพื่อแกไขปญหา 4.) การปฏิบัติตามแผน 5.) การติดตามและประเมินผล และมีการสะทอนกลับในแตละวงรอบการวิ จั ย เพื่ อ ปรับปรุงแกไขในสิ่งที่ไดดำ�เนินการไปแลว สูการแก ปญหาในวงรอบใหม โดยนำ�เทคนิค AIC มาปรับใช เพื่ อ กระตุ  น ให ชุ ม ชนมี ก ารแลกเปลี่ ย นความรู  ประสบการณและขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนา รูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง ซึ่งไดผลงาน ทั้งหมด 7 ชุดผลิตภัณฑ วงรอบที่ 1 เปนกระเปาสะพาย 



1 ใบ วงรอบที่ 2 เปนกระเปาถือแบบมีสายสะพาย 2 ใบ และกระเปาถือ 2 ใบ และวงรอบที่ 3 เปนชุดเครื่อง ประดับ ประกอบดวย สรอยคอ ตางหู กำ�ไลขอมือ 2 ชุด ถึงแมจะมีปญหาและอุปสรรคในเรื่องของเวลาอยูบาง เพราะผูเขารวมกิจกรรมตางก็มีภาระหนาที่และงาน ประจำ�ที่ตองรับผิดชอบ แตก็ปรากฏผลเปนรูปธรรม และเมื่อไดผลงานรูปแบบผลิตภัณฑของการปฏิบัติการ แบบมีสวนรวมในแตละวงรอบแลว ก็จะมีแกนนำ�ในการ พัฒนาชุมชน นำ�ผลงานตนแบบไปปรับใชในการสงเสริม การใชเวลาวางใหเกิดประโยชนแกเยาวชนในทองถิ่น โดยการถายทอดใหกับเยาวชนและผูที่มาศึกษาดูงาน ณ ศูนยการเรียนรูบูรณาการทองถิ่น ที่กลุมวิสาหกิจ การแกะรูปหนังตะลุงทุกครั้ง ดังนั้น กรอบความคิดของ การศึกษาวิจยั นี้ สามารถนำ�ไปประยุกตใชในการพัฒนา รูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมทองถิ่น ในชุมชนอื่นๆ ที่ มีความสนใจจะพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ และเชื่อมโยง ไปสูก ารแปรรูปสินคาและเพิม่ มูลคาผลิตภัณฑไดอกี ดวย คำ�ขอบคุณ การวิจัยนี้สำ�เร็จไดดวยความรวมมืออยางดียิ่ง จากชุ ม ชนสร า งสรรค หั ต ถกรรมภาพแกะหนั ง ตะลุ ง ตำ�บลปากพูน อำ�เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ร า นสิ น ค า หั ต ถกรรมในจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ผูเชี่ยวชาญ ตลอดจนผูที่ใหความรวมมือในการตอบ แบบสอบถามเกี่ยวกับงานวิจัยนี้ ทำ�ใหไดขอมูลที่เปน ประโยชนอยางยิ่ง ขอขอบพระคุณ พันเอกนายแพทย วิเชียร ชูเสมอ ประธานคณะกรรมการบริหารจัดการ เครือขายการวิจยั และนวัตกรรมเพือ่ ถายทอดเทคโนโลยี สูชุมชนฐานราก สกอ. ภาคใตตอนบน มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ และทีมงาน ขอขอบพระคุณ เครือขายการวิจยั และนวัตกรรมเพื่อถายทอดเทคโนโลยีสูชุมชนฐานราก สกอ. ภาคใตตอนบน สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดม ศึกษา ที่อุดหนุนทุนการวิจัยนี้ ขอระลึกถึงผูมีพระคุณ ทุกทาน ที่ใหการสนับสนุนและความชวยเหลือในทุกๆ ดาน ขอขอบพระคุณเพื่อนๆ และบุคคลที่คณะผูวิจัย ไมไดกลาวไวในที่นี้ ที่ทำ�ใหการวิจัยนี้สำ�เร็จลุลวงได ดวยดี 

81


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

บรรณานุกรม กมล สุดประเสริฐ. (2540). การวิจัยปฏิบัติการอยางมีสวนรวมของผูปฏิบัติงาน. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เจ.เอ็น.ที. กรมสงเสริมอุตสาหกรรม. (2551). Products. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 22 สิงหาคม 2551. จาก http:// www. thaitambon.com. ชอบ เข็มกลัด และ โกวิทย พวงงาม. (2547). การวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารณอยางมีสว นรวมเชิงประยุกต. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม. ชนิกรรดา เพชรชนะ. (ม.ป.ป.). การจัดการเชิงธุรกิจหัตกรรมแกะหนัง อำ�เภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช. ปริญญานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ. ชูศักดิ์ ศรีขวัญ. (2549). หนังเงา. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 20 กันยายน 2551. จาก http://www.thapra.lib.su.ac. th/objects/ thesis/fulltext/bachelor/p42549008/Fulltext.pdf. ทวี คงบุรี. สัมภาษณ, 10 กุมภาพันธ 2552. เรวัต สุขสิกาญจน, ผูสัมภาษณ. ประวัติความเปนมาของชุมชน สรางสรรคหัตถกรรมภาพแกะหนังตะลุง. กลุมวิสาหกิจชุมชนแกะหนังตะลุง 316/4 สวนจันทร หมู 5 ถ.กาญจนาภิเษก ต.ปากพูน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช. __________. สัมภาษณ, 3 มีนาคม 2552. เรวัต สุขสิกาญจน, ผูส มั ภาษณ. กรรมวิธกี ารแกะรูปหนังตะลุง. กลุม วิสาหกิจชุมชนแกะหนังตะลุง 316/4 สวนจันทร หมู 5 ถ.กาญจนาภิเษก ต.ปากพูน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช. บุญปลูก คงบุรี. สัมภาษณ, 14 กุมภาพันธ 2552 และ 3 มีนาคม 2552. เรวัต สุขสิกาญจน, สัมภาษณ. ภูมิหลัง เกี่ยวกับการทำ�ผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง. กลุมวิสาหกิจชุมชนแกะหนังตะลุง 316/4 สวนจันทร หมู 5 ถ.กาญจนาภิเษก ต.ปากพูน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช. พันธุทิพย รามสูตร. (2540). การวิจัยปฏิบัติการอยางมีสวนรวม. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง. มนัส ชวยกรด. สัมภาษณ, 10 กุมภาพันธ 2552. เรวัต สุขสิกาญจน, ผูสัมภาษณ. ความตองการในการพัฒนา รูปแบบผลิตภัณฑหัตถกรรมหนังตะลุง. 131/4 สวนจันทร หมู 5 ต.ปากพูน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช. สิทธิณัฐ ประพุทธนิติศาสตร. (2547). การวิจัยเชิงปฏิบัติการณแบบมีสวนรวม:แนวคิดและแนวปฏิบัติ. พิมพ ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). องคการบริหารสวนตำ�บลปากพูน. (2552). ขอมูลอาชีพแกะรูปหนังตะลุง. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 10 กุมภาพันธ 2552. จาก http://www.pakpoon.com/otop_pakpoon/broch.pdf __________. (2552). แผนยุทธศาสตรการพัฒนา (พ.ศ. 2555-2559) องคการบริหารสวนตำ�บลปากพูน. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 10 กุมภาพันธ 2552. จาก http://www.pakpoon.com/ssamnak/strategy 55-59.pdf

82


การพัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร The Development of a Teaching Evaluation Form For the Bachelor-Level Degree at Silpakorn University

นันทนา แซลี 1, องอาจ นัยพัฒน 2, สุนันท ศลโกสุม 3 Nanthana Saelea, Ong-Art Naiyapatana, Sunan Solgosoom

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1.) พัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรีของอาจารย มหาวิทยาลัย ศิลปากร โดยนักศึกษาเปนผูใ หขอ มูล 2.) เพือ่ แสดงหลักฐานบงชีค้ วามเทีย่ งตรงเชิงโครงสรางของแบบประเมินการสอน ที่สรางขึ้น ตามแนวทางของมารช (Marsh 1987) ดานความเที่ยงตรงเชิงลูเขา ความเที่ยงตรงเชิงจำ�แนก และความ เที่ยงตรงขามกลุม โดยกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร ภาคปลาย ปการศึกษา 2553 จำ�นวน 2,013 คน จาก 89 ชั้นเรียน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบประเมิน การสอนของอาจารยโดยนักศึกษาเปนผูใหขอมูล มีลักษณะเปนมาตรประเมินคา 5 ระดับ ทำ�การวิเคราะหขอมูล โดยใชวิธีการวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน และการทดสอบความไมแปรเปลี่ยนของโมเดลดวยเทคนิคการ วิเคราะหโมเดลกลุมพหุ ผลการวิจัยครั้งนี้พบวา 1. แบบประเมินการสอนของอาจารยโดยนักศึกษาเปนผูใหขอมูล ที่สรางขึ้นตามแนวทางของมารช (Marsh 1987) โดยการสังเคราะหขอมูลแบบประเมินการสอนจากทุกคณะวิชาของมหาวิทยาลัยศิลปากร มีความเชื่อมั่นและ อำ�นาจจำ�แนกอยูในระดับดี ประกอบดวยองคประกอบยอย 10 องคประกอบ ไดแก การเห็นคุณคาในการเรียนของ ผูเรียน ความกระตือรือรนของผูสอน การเตรียมการสอน สภาพแวดลอมการเรียนรูทางกายภาพ ปฏิสัมพันธภายใน ชัน้ เรียน ความเปนมิตรของผูส อน ความสามารถในการถายทอดความรูข องผูส อน ความเหมาะสมของเกณฑการวัดและ ประเมินผล งานที่มอบหมาย ปริมาณงานและความยาก 2. โมเดลองคประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึง่ ของแบบประเมินการสอนทีส่ รางขึน้ มีความสอดคลองกลมกลืนกับ ขอมูลเชิงประจักษในระดับดี และผลการศึกษาความเทีย่ งตรงเชิงลูเ ขา สรุปไดวา ขอคำ�ถามทีใ่ ชวดั ในแตละองคประกอบ มีความเหมาะสมที่ใชวัดคุณลักษณะแตละองคประกอบยอยทัง้ 10 องคประกอบ 3. โมเดลองคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของแบบประเมินการสอนทีส่ รางขึน้ มีความสอดคลองกลมกลืนกับ ขอมูลเชิงประจักษในระดับดี และผลการศึกษาความเที่ยงตรงเชิงจำ�แนก สรุปไดวาแตละองคประกอบมีความ ซ้�ำ ซอนกันต่� ำ เหมาะสมตอการจำ�แนกเปนองคประกอบของการประเมินการสอน 4. ผลการวิเคราะหกลุมพหุ โดยแสดงผลการทดสอบความไมแปรเปลี่ยนของรูปแบบและพารามิเตอรของ องคประกอบในโมเดลองคประกอบเชิงยืนยัน พบวาโมเดลการประเมินการสอนทั้ง 3 กลุมสาขาวิชา ไดแก ศิลปะและ ________________ 1 นิสิตปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร 2 รองศาสตราจารย ดร. ประจำ�ภาควิชาการวัดผลและวิจยั การศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 3 ผูชวยศาสตราจารย ดร. ประจำ�ภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ (ขาราชการบำ�นาญ)


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ประยุกตศลิ ป มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และวิทยาศาสตรสขุ ภาพ เฉพาะรูปแบบโมเดล มีความไมแปรเปลีย่ นทุกกลุม โมเดลมีลกั ษณะเปนแบบเดียวกัน นัน่ คือ การประเมินการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร ประกอบดวยองคประกอบ 10 องคประกอบ แตคา พารามิเตอรมคี วามแปรเปลีย่ น ไปตามกลุมสาขาวิชา ดังนั้น โมเดลการประเมินการสอนที่ผูวิจัยสรางขึ้นจึงมีคุณภาพดานความเที่ยงตรงขามกลุม คำ�สำ�คัญ: 1. แบบประเมินการสอน. 2. ความเที่ยงตรงเชิงโครงสราง. 3. การวิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยัน. 4. การทดสอบความไมแปรเปลี่ยน. Abstract This research aimed 1.) to develop a teaching evaluation form for a bachelor’s degree at Silpakorn University 2.) to show the evidence of construct validity of the teaching evaluation form, according to Marsh (1987) ’s theoretical concept, in terms of convergent validity, discriminant validity and cross validation analysis. The samples used in this study were 2,013 undergraduates from 89 classes at Silpakorn University in the second semester of the academic year 2010. The research tool used in this study was the teaching evaluation form by students, a five-rating scales questionnaire. Data analysis was done by using confirmatory factor analysis, and tested the invariance of the model by analytical techniques, multigroup model analysis. The results of this study showed the following: 1. Factors of the teaching evaluation form for a bachelor’s degree at Silpakorn University, based on the guidelines of Marsh (1987) from the synthetic evaluation data of all teaching faculties of the university, had good reliability and good discrimination. The factors were the value of student learning, enthusiasm of the instructor, teaching preparation, learning environment, physical interactions in the classrooms, friendliness of the instructor, the ability to transfer knowledge of the instructor, appropriate criteria to measure and evaluate, assignment, workload and difficulty. 2. The first order confirmatory factor analysis of a teaching evaluation form was created and in harmony with the empirical data was a good fit. The output analysis of convergent validity concluded that the questions used to measure each factor were appropriate to contain in the 10 sub-attributes for each factor. 3. The second order confirmatory factor analysis of a teaching evaluation form was created and in harmony with the empirical data was a good fit. The output oriented discriminant validity concluded that each factor was less overlapped and suitable as a component of the teaching evaluation. 4. From the results of multigroup analysis, the test of invariance model parameters and composition of elements in the confirmatory factor analysis model, it was found that the evaluation model with three fields of study included Art and Applied Art, Humanities and Social Sciences, Science -Technology and Health Sciences. Only form of the model was invariant all groups. The model had the same characteristics as that was the evaluation of teaching by undergraduate students at Silpakorn University, consisted of 10 components, but the parameters were varied according to the fields of study. Therefore, the teaching evaluation model was qualified with cross validation. Keywords: 1. Teaching Evaluation Form. 2. Construct Validity. 3. Confirmatory Factor Analysis. 4. Invariance Test. 84


การพัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร นันทนา แซลี, องอาจ นัยพัฒน, สุนันท ศลโกสุม

ในปจจุบัน สถาบันการศึกษาซึ่งมุงพัฒนาบุคคล เขาสูว ชิ าชีพและสรางสรรคสงั คม อันเปนรากฐานสำ�คัญ ในการพัฒนากำ�ลังคนเพื่อไปขับเคลื่อนสังคมนั้น ตอง มีการปรับตัวปรับเปลี่ยนกระบวนการดำ�เนินงานตางๆ ให มี ความเขมแข็งและมีประสิทธิภาพอย า งต อ เนื่ อ ง บทบาทของครูอาจารยเปนปจจัยสำ�คัญในการจัดการ ศึกษาปจจัยหนึ่งที่ไดรับความสนใจตลอดมา (รังสรรค ทิมพันธุพงษ 2535 : 7) ประสิทธิภาพของโรงเรียน สวนใหญเปนผลมาจากครูอาจารยซงึ่ มีความรูส งู มีความ ชำ�นาญในการสอน มีทัศนคติที่ดีตอวิชาชีพ มีความ เอาใจใสตอภาระงานที่จะชวยปรับปรุงผลสัมฤทธิ์ของ ผูเรียนใหสูงขึ้น และเมื่อครูอาจารยเปนผูที่กอใหเกิด การเรี ย นรู  แ ละการพั ฒ นารอบด า นขึ้ น ในตั ว ผู  เ รี ย น เปนผูเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเรียนใหเปนไปตาม แนวทางที่พึงปรารถนา ดังนั้น จึงตองเปนผูที่มีทั้งความ รูความสามารถและทักษะในการสอน ตลอดจนการนำ� ไปใชแกปญหาในการเรียนการสอนไดอีกดวย (นิราศ จันทรวิจติ ร 2534 : 34) ครูอาจารยทมี่ คี ณ ุ ภาพดี มีความ สามารถ จะชวยชี้แนะผูเรียนใหคิดไดอยางไตรตรอง มี เหตุผล มีจริยธรรม คุณธรรมและความซื่อสัตย รวมถึง เปนแบบอยางทีด่ ี กลาวอีกนัยหนึง่ คือ คุณภาพครูอาจารย สะทอนคุณภาพบัณฑิต (เพียงตา สาตรักษ 2543 : 7) ภารกิจการจัดการเรียนการสอนของอาจารยใน สถาบันอุดมศึกษาไทย ภายใตความสอดคลองกับบริบท ทางศิลปวัฒนธรรมไทยควบคูไปดวยนั้น ก็ไดรับความ สนใจตามลักษณะดังกลาวดวยนัยเดียวกัน จากพระราช บัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 7 วาดวย ครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา มาตรา 52 (พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ พ.ศ. 2542 2542 : 16) ไดระบุไววา ใหกระทรวงศึกษาธิการ สงเสริม ใหมีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐาน ที่เหมาะสมกับการเปนวิชาชีพชั้นสูง โดยการกำ�กับ และประสานใหสถาบันที่ทำ�หนาที่ผลิตและพัฒนาครู คณาจารย รวมทัง้ บุคลากรทางการศึกษาใหมคี วามพรอม และมีความเขมแข็ง ในการเตรียมบุคลากรใหมและ การพัฒ นาบุ คลากรประจำ � อยางตอเนื่ อ ง โดยรั ฐ พึ ง จั ด สรรงบประมาณและจั ด ตั้ ง กองทุ น พั ฒ นาครู

คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาอยางเพียงพอ ซึ่งสอดคลองกับแนวความคิดที่วา คุณลักษณะการสอน ของอาจารยสถาบันอุดมศึกษาเปนปจจัยสำ�คัญที่นำ�ไป สูคุณลักษณะพึงประสงคของบัณฑิต (สุมน อมรวิวัฒน 2538 : 76) คุณลักษณะของอาจารยสถาบันอุดมศึกษา โดย ทั่วไปไมมีคำ�จำ�กัดความที่ตายตัว แตเมื่อมองภาพรวม แลวอาจารยคือผูสรางบรรยากาศทางวิชาการ คือผูจัด กระบวนการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ คือผูคิดคน แสวงหาความรู  ใ หม และคื อ ตั ว อย า งของบุ ค คลที่ มี คุณธรรมและภูมิปญญา (สุมน อมรวิวัฒน 2538 : 76) คุณภาพของอาจารยจึงเปนสิ่งที่สำ�คัญ และไมมีความ เพียงพอหรือสิ้นสุด ทั้งนี้เพราะคุณภาพเปนสิ่งที่วัด ไดยากและมีความหมายเชิงปรัชญา ดังนั้น คุณภาพ ของอาจารยจึงตองมีการพัฒนาอยูตลอดเวลา (รังสรรค ทิมพันธุพงษ 2535 : 8-9) จึงมีผูกลาววาคุณภาพของ สถาบันวัดไดจากคุณภาพของอาจารย ไมมใี ครสามารถ ปรับปรุงสถาบันใดๆ ไดโดยไมปรับปรุงอาจารย ทั้งนี้ มิใชเปนเพราะประสิทธิภาพการสอนของอาจารยดอย ลงแตอยางใด หากแตสามารถปรับปรุงพัฒนา เพื่อ เพิ่มพูนประสิทธิภาพและทักษะการสอนใหสูงยิ่งขึ้นได (สิปปนนท เกตุทัต 2514 : 85 อางอิงใน ปรเมศวร ขุนภักดี 2539 : 169) การประเมินการสอนของอาจารยเปนสวนหนึ่ง ของการพัฒนาอาจารย ซึ่งการที่จะไดผลอยางแทจริง ตองมีการประเมินอยางเปนระบบระเบียบ เปนขั้นตอน ดวยวิธีการที่เชื่อถือได และเปนที่ยอมรับของคณาจารย โดยอาจอยูในรูปแบบหรือระบบของอาจารยประเมิน ตนเอง เพื่อนรวมงานประเมินอาจารย ผูบริหารประเมิน อาจารย นักศึกษาประเมินอาจารย และคณะกรรมการ เฉพาะกิจหรือผูเชี่ยวชาญ (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ 2535 : 257-258) เปนตน การประเมินการสอนของ อาจารยโดยนักศึกษา จึงเปนสวนหนึ่งในการประเมิน การทำ�งานของผูสอน เครื่องมือที่ใชหรือแบบประเมิน การสอนดังกลาวจะทำ�หนาที่เก็บรวบรวมขอมูล เพื่อ พิ จ ารณาความสอดคล อ งระหว า งการรั บ รู  เ กี่ ย วกั บ อาจารย เ อง และการรั บ รู  ข องผู  เ รี ย นซึ่ ง เป น ผู  มี สวนไดสวนเสียโดยตรง (Airasian และ Gullickson

85


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

2545 : 102) ในทางปฏิบัติ ผูเรียนตองมีการสื่อสารกับ อาจารยตลอดการสอน การใหผเู รียนประเมินผลการสอน จึงเปนวิถที างทีม่ เี หตุผลในการวัดปฏิกริ ยิ าของผูเ รียนที่ มีตอการจัดการเรียนการสอน การปฏิเสธที่จะใหผูเรียน ประเมินผลการสอนของอาจารยนั้น นับเปนการสูญเสีย ขอมูลที่นาเชื่อถือไปอยางนาเสียดายยิ่ง (ปรเมศวร ขุนภักดี 2539 : 170-171) คุณภาพของเครื่องมือที่จะนำ�มาใชประเมินจึง เปนสิ่งสำ�คัญ ไดมีผูวิจัยเกี่ยวกับการสรางแบบประเมิน การสอนของอาจารยทั้งในและตางประเทศมากมาย จากการศึกษา ผูวิจัยพบวาเครื่องมือประเมินการสอน ที่พัฒนาขึ้นโดยมารช (Herbert W. Marsh) ชื่อวา Students’ Evaluation of Educational Quality : SEEQ เปนแบบประเมินการสอนที่มีความเที่ยงตรงเชิงลูเขา และความเที่ยงตรงเชิงจำ�แนกสอดคลองตามทฤษฎี มี หลักฐานเชิงประจักษแสดงความเที่ยงตรงขามกลุมและ ความเที่ยงตรงเชิงโครงสรางขององคประกอบ ในฉบับ ภาษาต า งๆ และภาษาไทย (อนุ เจริ ญ วงศ ร ะยั บ 2549 : 1-13) ดวยคุณสมบัติดังกลาว ผูวิจัยจึงมีความ สนใจที่จะศึกษาการพัฒนาแบบประเมินการสอนของ อาจารย โ ดยนั ก ศึ ก ษาเป น ผู  ใ ห ข  อ มู ล ด ว ยวิ ธี ก าร สั ง เคราะห จ ากข อ มู ล การประเมิ น การสอนของคณะ วิ ช าต า งๆ ในมหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร ตามแนวทาง องคประกอบการประเมินการสอนของมารช (Marsh 1987) ที่มีคุณภาพของเครื่องมือเปนที่ยอมรับไดใน

86

ระดับสากล และสอดคลองกับการนำ�ไปใชในทางปฏิบัติ ของมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะอยางยิ่งในการประกัน คุณภาพการศึกษาซึ่งกำ�ลังเขามามีบทบาทสำ�คัญใน การจัดการศึกษา กรอบแนวคิดในการวิจัย 1. การสังเคราะหองคประกอบ เปนการศึกษา หลักทฤษฎี แนวคิดที่เกี่ยวของกับองคประกอบในการ ประเมินการสอน โดยนักศึกษาเปนผูใ หขอ มูล ทีจ่ ะนำ�มา เปนองคประกอบเบื้องตน ในที่นี้ใชองคประกอบตาม แนวคิดทฤษฎีของมารช (Marsh 1987) ควบคูก บั บริบท ของการประเมินการสอน 2. การกำ�หนดองคประกอบทีเ่ ปนไปได เปนการ วิเคราะหขอคำ�ถามจากแบบประเมินการสอนของคณะ วิชาตางๆ ในมหาวิทยาลัยศิลปากร จัดเขาไปในองค ประกอบเบื้องตน และนำ�มาสรุปเรียบเรียงใหมใหได เครื่องมือ ตรวจสอบคุณภาพโดยผูเชี่ยวชาญดานการ วัดผลและศึกษานำ�รอง เพื่อพิจารณาความเที่ยงตรง เชิงพินจิ อำ�นาจจำ�แนก และความเชือ่ มัน่ แลวจึงนำ�ผลมา ปรับปรุงแกไขใหไดเครือ่ งมือทีจ่ ะใชเก็บขอมูลจริงตอไป 3. คุณภาพของแบบประเมินการสอนที่สราง ขึ้น เปนการพิจารณาคาสถิติที่บงชี้ความเที่ยงตรงเชิง โครงสราง โดยแสดงหลักฐานความเที่ยงตรงเชิงลูเขา ความเที่ยงตรงเชิงจำ�แนก และความเที่ยงตรงขามกลุม เพื่อตอบสมมติฐานการวิจัย ดังแสดงในแผนภาพที่ 1.


การพัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร นันทนา แซลี, องอาจ นัยพัฒน, สุนันท ศลโกสุม

การสังเคราะหองคประกอบ การวิเคราะหองคประกอบของ

มารช (Marsh. 1987) 1. การเรียนรู/ คุณคา 2. ความกระตือรือรน 3. การเตรียมการสอน 4. ปฏิสัมพันธภายในกลุม 5. ความเอาใจใสตอผูเรียน 6. ความลุมลึกในเนื้อหาการสอน 7. การทดสอบ/ การใหเกรด 8. การมอบหมายงาน 9. ปริมาณงาน/ ความยาก

กำ�หนดองคประกอบ 1. ...................... 2. ...................... 3. ......................

คุณภาพของแบบ ประเมินการสอน

ความเที่ยงตรงเชิงโครงสราง 1. ความเที่ยงตรงเชิงลูเขา 2. ความเที่ยงตรงเชิงจำ�แนก 3. ความเที่ยงตรงขามกลุม

การวิเคราะหเอกสารการประเมิน การสอนของคณะวิชาตางๆ ใน มหาวิทยาลัยศิลปากร การสัมภาษณอาจารย/ นักศึกษา ของมหาวิทยาลัยศิลปากร เกี่ยวกับ การประเมินการสอน

ภาพประกอบที่ 1. แผนภาพแสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย

87


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพือ่ พัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญา ตรีของอาจารย มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยนักศึกษา เปนผูใหขอมูล 2. เพื่อศึกษาคุณภาพของแบบประเมินการสอน ของอาจารย โ ดยนั ก ศึ ก ษาเป น ผู  ใ ห ข  อ มู ล ที่ พั ฒ นา ขึ้น โดยพิจารณาจากหลักฐานบงชี้ความเที่ยงตรงเชิง โครงสรางใน 3 ดานหลัก คือ ความเที่ยงตรงเชิงลูเขา ความเที่ยงตรงเชิงจำ�แนก และความเที่ยงตรงขามกลุม สมมติฐานในการวิจัย แบบประเมินการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา เป น ผู  ใ ห ข  อ มู ล ซึ่ ง พั ฒ นาขึ้ น จากการสั ง เคราะห องคประกอบ มีจำ�นวนและรูปแบบองคประกอบเชน เดียวกับ องคประกอบในการประเมินการสอนของมารช (Marsh 1987) ที่ นำ � มาพิ จ ารณาเป น องค ป ระกอบ เบื้องตน ในการวิจัยครั้งนี้ ไดกำ�หนดสมมติฐานความ เที่ยงตรงเชิงโครงสรางดังนี้ 1. องคประกอบทีส่ งั เคราะหได มีความสอดคลอง กับขอมูลเชิงประจักษ คาพารามิเตอร มีความ เหมาะสม แสดงใหเห็นถึงความเที่ยงตรงเชิงลูเขา และ ความเที่ยงตรงเชิงจำ�แนก 2. รู ป แบบขององค ป ระกอบในโมเดลองค ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่ง มีความไมแปรเปลี่ยน ระหวางประชากรที่อิสระตอกัน คือ นักศึกษาในกลุม สาขาวิชาตางๆ ความสำ�คัญของการวิจัย การพั ฒ นาเพื่ อ ให ไ ด แ บบประเมิ น การสอน ระดับปริญญาตรีของอาจารย มหาวิทยาลัยศิลปากร โดย นักศึกษาเปนผูใหขอมูล ที่มีคุณภาพและมีมาตรฐาน ในดานองคประกอบ ผานเกณฑการตรวจสอบความ เที่ยงตรงเชิงโครงสรางกับกลุมตัวอยางขนาดใหญ จน ไดรูปแบบและมาตรวัดเดียวกัน จะทำ�ใหผูสอนสามารถ นำ�แบบประเมินการสอนไปใชในทางปฏิบัติไดอยางมั่น ใจ และใหผลการประเมินที่เชื่อถือไดสำ�หรับแตละกลุม สาขาวิชา เปนขอมูลสารสนเทศทีผ่ บู ริหารระดับคณะวิชา และมหาวิทยาลัยสามารถนำ�ไปใชประโยชน ประกอบ

88

การพิจารณาปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ไดอยางเหมาะสม สอดคลองกับบริบทของมหาวิทยาลัย ศิลปากร ขอบเขตของการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ พิจารณาขอบเขตของการวิจัย ใน 5 ประเด็น ไดแก ขอบเขตดานประชากร กลุม ตัวอยาง เนื้อหาสาระของการสอนวิชาพื้นฐาน องคประกอบของ การประเมินการสอนเบื้องตน และขอบเขตดานเวลา ที่ทำ�การประเมินการสอน ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากรที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป น นั ก ศึ กษา ระดับปริญญาตรี ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาพื้นฐานของ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในภาคเรียนที่ 2 (ภาคปลาย) ปการศึกษา 2553 รวมจำ�นวนทั้งสิ้น 7,057 คน จาก 263 ชั้นเรียน แบงเปน 3 กลุมสาขาวิชา ไดแก 1. กลุม สาขาวิชาศิลปะและประยุกตศลิ ป 623 คน จาก 19 ชั้นเรียน 2. กลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 2,342 คน จาก 107 ชั้นเรียน 3. กลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ วิทยาศาสตรสุขภาพ 4,092 คน จาก 137 ชั้นเรียน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาพื้นฐานของ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 ทั้ง 3 กลุมสาขาวิชา รวมจำ�นวน 2,013 คน จาก 89 ชั้นเรียน สุมตัวอยางดวยวิธีการสุมตามชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยใชคณะวิชาเปน ชั้นภูมิ และชั้นเรียนเปนหนวยการสุม กำ�หนดจำ�นวน ชั้นเรียนที่สุมในแตละคณะวิชา ดวยสัดสวนของจำ�นวน ชั้ น เรี ย นภายในคณะวิ ช ากั บ จำ � นวนชั้ น เรี ย นทั้ ง หมด แล ว ทำ � การปรั บ ขนาดตั ว อย า งให เ หมาะสมกั บ การ วิเคราะหองคประกอบ เนื้อหาสาระของการสอนวิชาพื้นฐาน ในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ศึ ก ษากั บ วิ ช าพื้ น ฐานของ มหาวิทยาลัยศิลปากร 3 รายวิชามีเนื้อหาสาระโดย สังเขปดังนี้


การพัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร นันทนา แซลี, องอาจ นัยพัฒน, สุนันท ศลโกสุม

รายวิชา 080 176 ภาษากับการสื่อสาร ศึกษา หลั ก เกณฑ แนวความคิ ด พื้ น ฐานของการสื่ อ สาร ฝกการใชถอยคำ� การเขียน บรรยาย พรรณนา อธิบาย อภิปราย วิเคราะห วิจารณ โดยการใชภาษาที่คำ�นึงถึง การสื่อความหมายไปยังผูรับใหสัมฤทธิ์ผล รายวิชา 080 177 ภาษาอังกฤษ 1 ทบทวนทักษะ การใชภาษาอังกฤษ ดานการอาน การเขียน การฟง การ พูด พรอมทั้งเพิ่มความรูและทักษะอื่นที่จำ�เปนในการ ศึกษาระดับอุดมศึกษา เนนการอานเอกสารเพื่อความ เขาใจ รายวิชา 080 178 ภาษาอังกฤษ 2 ฝกการใชทกั ษะ ทั้ง 4 ดานในระดับที่สูงขึ้น และเนนทักษะการอาน โดย ฝกอานเอกสารที่ยากขึ้น องคประกอบของการประเมินการสอนที่นำ� มาพิจารณาในเบื้องตน ในการวิจัยครั้งนี้ ไดนำ�ผลการศึกษาเกี่ยวกับ องคประกอบในการประเมินการสอนที่สอดคลองตาม ทฤษฎีโดยมารช (Marsh 1987) มาพิจารณาเปนองค ประกอบเบื้องตนในการวิเคราะหเอกสารการประเมิน การสอนของมหาวิทยาลัยศิลปากร ดังนี้ 1. การเรียนรู/ คุณคา (Learning/ Value) 2. ความกระตือรือรน (Enthusiasm) 3. การเตรียมการสอน (Organization) 4. ปฏิสัมพันธภายในกลุม (Group Interaction) 5. ความเอาใจใสตอ ผูเ รียน (Individual Rapport) 6. ความลุมลึกในเนื้อหาการสอน (Breadth of Coverage) 7. การทดสอบ/ การใหเกรด (Examination/ Grading) 8. การมอบหมายงาน (Assignment) 9. ปริมาณงาน/ ความยาก (Workload/ Difficulty) ชวงระยะเวลาที่ทำ�การประเมินการสอน ในการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ศึ ก ษากั บ วิ ช าพื้ น ฐานของ มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งกองบริการการศึกษาของ มหาวิ ท ยาลั ย และบางคณะวิ ช าเป น ผู  จั ด ตารางสอน โดยมีกำ�หนดวันสอบปลายภาคอยูระหวางวันที่ 21-25 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554 ผูวิจัยไดจัดชุดแบบประเมินตาม ประกาศตารางสอนของมหาวิทยาลัย สงใหผูประสาน

งานรายวิ ช าพื้ น ฐานในแต ล ะคณะวิ ช าล ว งหน า 3 สัปดาห ดังนั้นชวงระยะเวลาที่ทำ�การประเมินการสอน คือ ตั้งแตวันที่ 7-28 กุมภาพันธ พ.ศ. 2554 นิยามศัพทเฉพาะ 1. แบบประเมินการสอนของอาจารยโดยนัก ศึกษาเปนผูใหขอมูล หมายถึง เครื่องมือการรวบรวม ขอมูลเพือ่ ตัดสิน หรือเพือ่ ใหไดขอ สรุป ในดานคุณคาหรือ คุณภาพของการสอนจากนักศึกษาผูไดรับผลจากการ สอนโดยตรง ซึ่งพิจารณาองคประกอบในการประเมิน การสอนที่ ส อดคล อ งตามทฤษฎี ข องมาร ช (Marsh 1987) มีองคประกอบดานการเรียนรู/ คุณคา (Learning/ Value) ความกระตือรือรน (Enthusiasm) การเตรียมการ สอน (Organization) ปฏิสัมพันธภายในกลุม (Group Interaction) ความเอาใจใส ต  อ ผู  เ รี ย น (Individual Rapport) ความลุมลึกในเนื้อหาการสอน (Breadth of Coverage) การทดสอบ/ การใหเกรด (Examination/ Grading) การมอบหมายงาน (Assignment) ปริมาณ งาน/ ความยาก (Workload/ Difficulty) 1.1 การเรียนรู/ คุณคา คือ ตัวแปรแฝงที่ อธิบายวาการเรียนในวิชานั้นๆ มีความทาทาย กระตุน ความสนใจ รูสึกวามีคุณคา ไดรับความรูความเขาใจ 1.2 ความกระตือรือรน คือ ตัวแปรแฝงที่ อธิ บ ายว า การจั ด การสอนของวิ ช านั้ น ๆ อาจารย มี ความกระตือรือรน มีวิธีสรางแรงจูงใจที่หลากหลาย และมีพลัง มีเทคนิคการนำ�เสนอที่ชวนติดตาม สามารถ ดึงความสนใจของผูเรียนใหคงไวไดตลอดการสอน 1.3 การเตรียมการสอน คือ ตัวแปรแฝงที่อธิ บายวาการจัดการสอนของวิชานั้นๆ อาจารยสามารถ อธิบายเนือ้ หาไดอยางชัดเจน มีอปุ กรณการสอนทีพ่ รอม และชัดเจน ระบุวัตถุประสงคที่ชัดเจนและดำ�เนินการ ตามวัตถุประสงค พรอมทั้งดำ�เนินการสอนไดอยาง คลองแคลว 1.4 ปฏิสมั พันธภายในกลุม คือ ตัวแปรแฝงที่ อธิบายวาบรรยากาศการสอนของวิชานั้นๆ อาจารย กระตุนใหมีการอภิปราย การถาม-ตอบ การแสดงความ คิดเห็นในชั้นเรียน เพื่อใหนักศึกษามีสวนรวมในการ แลกเปลี่ยนความรูกัน

89


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

1.5 ความเอาใจใสตอผูเรียน คือ ตัวแปรแฝง ที่อธิบายวาลักษณะการสอนของวิชานั้นๆ อาจารยให ความเปนมิตร ความพยายามในการชวยเหลือ คำ�แนะนำ� ดวยความยินดี ใหความใสใจและเขาถึงผูเรียนเปน รายบุคคล 1.6 ความลุม ลึกในเนือ้ หาการสอน คือ ตัวแปร แฝงที่อธิบายวาลักษณะการสอนของวิชานั้นๆ อาจารย สามารถวางแนวคิด ปูพนื้ ฐาน ชีป้ ระเด็นเนือ้ หาทีแ่ ตกตาง และทันสมัย เพื่อเสริมความเขาใจแกผูเรียน 1.7 การทดสอบ/ การใหเกรด คือ ตัวแปรแฝงที่ อธิบายวาการจัดการสอนของวิชานั้นๆ อาจารยใหผล ปอนกลับ (Feedback) ที่ทำ�ใหผูเรียนนำ�มาปรับปรุง พั ฒ นาผลงาน ใช วิ ธี ก ารประเมิ น ผลที่ ยุ ติ ธ รรมและ เหมาะสม 1.8 การมอบหมายงาน คือ ตัวแปรแฝงที่ อธิบายวาการจัดการสอนของวิชานั้นๆ อาจารยแนะนำ� เอกสารตำ�รา หรือมอบหมายงานที่สงเสริมความเขาใจ ในการเรียน 1.9 ปริมาณงาน/ ความยาก คือ ตัวแปรแฝงที่ อธิบายวาการจัดการสอนของวิชานัน้ ๆ มีความสอดคลอง เหมาะสมระหวาง ความยากของเนื้อหา ปริมาณงาน ที่มอบหมาย ความตอเนื่องของกระบวนการเรียนรูใน ชั้นเรียน และระยะเวลานอกชั้นเรียนที่ผูเรียนมีเพื่อ คนควารวมถึงทำ�งานที่ไดรับมอบหมาย 2. การแสดงหลักฐานความเที่ยงตรงเชิงโครง สราง หมายถึง กระบวนการสืบคนหาหลักฐานทีบ่ ง บอก ความสามารถของเครื่ อ งมื อ ในการวั ด คุ ณ ลั ก ษณะ ไดครอบคลุมขอบเขต ตรงความหมาย และครบถวน ตามแนวทฤษฎี โดยการวิจัยในครั้งนี้จะใชการวิเคราะห องค ป ระกอบเชิ ง ยื น ยั น อั น ดั บ หนึ่ ง และอั น ดั บ สอง พร อ มทั้ ง ศึ ก ษาความไม แ ปรเปลี่ ย นของโมเดลการ วิเคราะหองคประกอบเชิงยืนยันดวยวิธีการวิเคราะห กลุมพหุ โดยแสดงหลักฐานความเที่ยงตรงเชิงลูเขา ความเที่ยงตรงเชิงจำ�แนก และความเที่ยงตรงขามกลุม เครื่องมือในการวิจัย เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เป น แบบ ประเมินการสอนซึง่ สรางขึน้ 1 ชุด ดวยวิธกี ารสังเคราะห

90

จากขอมูลการประเมินการสอนของคณะวิชาตางๆ ใน มหาวิทยาลัยศิลปากร ตามแนวทางองคประกอบการ ประเมินการสอนของมารช (Marsh 1987) มีลำ�ดับ ขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษารายงานการประชุมที่เกี่ยวของกับการ รวมพิจารณาปญหาจากการใชแบบประเมินการสอน รูปแบบเดิม ทีเ่ ปนแบบรายขอคำ�ถาม และมีความแตกตาง ในแตละคณะวิชา ซึ่งบันทึกโดยหนวยงานกลาง 2. กำ � หนดวั ต ถุ ป ระสงค ข องการพั ฒ นาแบบ ประเมินการสอน ที่แสดงองคประกอบเบื้องตน 9 ดาน ของมารช (Marsh 1987) เปนองคประกอบเบื้องตนใน การจำ�แนกกลุมขอคำ�ถาม 3. กำ�หนดประเด็นหลักทีจ่ ะสัมภาษณคณาจารย ผูสอนและนักศึกษาเกี่ยวกับความแตกตางดานรูปแบบ การรายงานผล มาตรวัด ปญหาและขอเสนอแนะตางๆ ในการประเมินการสอน 4. สั ม ภาษณ ค ณาจารย ผู  ส อนวิ ช าพื้ น ฐาน นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาพื้นฐาน มหาวิทยาลัย ศิลปากร เพือ่ พิจารณาความเห็นเกีย่ วกับการพัฒนาแบบ ประเมินการสอนขึ้นใหม สรุปประเด็นไดดังนี้ 4.1 รูปแบบประเมินการสอนที่แสดง และ ไมแสดงองคประกอบ นักศึกษาทีใ่ หสมั ภาษณระบุวา การ แสดงองคประกอบของขอคำ�ถาม ทำ�ใหสามารถลำ�ดับ ความเขาใจในการตอบ และตอบไดโดยไมซ้ำ�ซอนกัน 4.2 การรายงานผลประเมินการสอนที่แสดง และไมแสดงองคประกอบตามลักษณะแบบประเมินที่ ใช อาจารยที่ใหสัมภาษณระบุวา รายงานผลจากแบบ ประเมินการสอนที่แสดงองคประกอบ ใจความกระชับ และเห็นสิ่งที่ควรปรับปรุงในการสอนไดชัดเจน 4.3 ในการลงทะเบี ย นเรี ย นของนั ก ศึ ก ษา ระดับปริญญาตรี อาจมีรายวิชาพืน้ ฐาน, รายวิชาในคณะ ที่ สั ง กั ด และรายวิ ช าเลื อ กที่ ส นใจจากคณะอื่ น ซึ่ ง นักศึกษาตองประเมินการสอนปลายภาคโดยไดรับแบบ ประเมินที่มีความแตกตางกัน เชน ดานมาตรวัด (แบบ ตรวจสอบรายการ แบบมาตรประเมินคา 3 ถึง 7 ระดับ) ดานขอคำ�ถามตามลักษณะรายวิชา (บรรยาย ปฏิบัติ สัมมนา) เพื่อใหผูสอนนำ�ผลประเมินไปพัฒนาเฉพาะ รายวิ ช าหนึ่ ง ๆ ซึ่ ง อาจารย ที่ มี ตำ � แหน ง ด า นบริ ห าร


การพัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร นันทนา แซลี, องอาจ นัยพัฒน, สุนันท ศลโกสุม

ตั้ ง ข อ สั ง เกตว า หากต อ งการนำ � ข อ มู ล มาพิ จ ารณา ประกอบการจัดการ ในการใชทรัพยากรรวมกัน เชน การแบ ง กลุ  ม ผู  เ รี ย นและอาจารย ผู  ส อน ตารางห อ ง เรียนที่เหมาะสมกับกิจกรรมในรายวิชา การจัดสรรโสต ทัศนูปกรณใหเพียงพอ ฯลฯ ผูรับผิดชอบจะสรุปผล การประเมิน ที่เก็บรวบรวมจากเครื่องมือที่แตกตางกัน ไดยาก ดังนั้นหากมีการสรางเครื่องมือการประเมินการ สอนที่มีคุณภาพ มีองคประกอบครอบคลุมลักษณะการ สอนที่แตละกลุมสาขาวิชามีรวมกัน ผลการประเมินการ สอนที่ไดจะเปนประโยชนใชไดจริงในทางปฏิบัติ นำ�ไป สูการปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตอไป ผลการสรุปความเห็นจากการสัมภาษณดงั กลาว คือ รูปแบบของแบบประเมินการสอนระดับปริญญา ตรีของอาจารย มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยนักศึกษา เปนผูใหขอมูล ที่สรางขึ้น ควรแสดงองคประกอบของ ข อ คำ � ถาม และครอบคลุม ลั กษณะการสอนในสาขา วิชาตางๆ อยางชัดเจน 5. นำ�ขอมูลที่ไดมาพิจารณาในการพัฒนาแบบ ประเมินการสอนฉบับใหม ทีแ่ สดงองคประกอบเบือ้ งตน 9 ดานของมารช (Marsh 1987) ไดแก การเรียนรู คุณคา ความกระตือรือรน การเตรียมการสอน ปฏิสัมพันธ ภายในกลุม ความเอาใจใสตอผูเรียน ความลุมลึกใน เนื้อหาการสอน การทดสอบ/ การใหเกรด การมอบ หมายงาน และปริมาณงาน/ ความยาก รวมกับการ วิ เ คราะห เ นื้ อ หาจากแบบประเมิ น การสอนของคณะ วิชาตางๆ ในมหาวิทยาลัย 6. ศึกษาองคประกอบในการประเมินการสอน ตามแนวคิดทฤษฎีของมารช (Marsh 1987) เอกสารและ งานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ คุ ณ ลั ก ษณะการสอนที่ นำ � มา พิจารณาประเมิน และการวิเคราะหองคประกอบในการ ประเมินการสอนของอาจารย ทัง้ ภายในประเทศและตาง ประเทศ 7. สร า งแบบประเมิ น การสอนให ต รงกั บ วัตถุประสงค โดยผลการสังเคราะหขอมูล คือ แบบ ประเมินการสอนที่ระบุองคประกอบได 10 ดาน จำ�นวน

ขอคำ�ถามรวม 52 ขอดังนี้ 7.1 การเห็นคุณคาในการเรียนของผูเรียน มีคำ�ถาม 5 ขอ 7.2 ความกระตือรือรนของผูสอน มีคำ�ถาม 5 ขอ 7.3 การเตรียมการสอน มีคำ�ถาม 6 ขอ 7.4 สภาพแวดลอมการเรียนรูทางกายภาพ มีคำ�ถาม 6 ขอ 7.5 ปฏิสัมพันธภายในชั้นเรียน มีคำ�ถาม 5 ขอ 7.6 ความเปนมิตรของผูสอน มีคำ�ถาม 5 ขอ 7.7 ความสามารถในการถายทอดความรูข อง ผูสอน มีคำ�ถาม 5 ขอ 7.8 ความเหมาะสมของเกณฑการวัดและ ประเมินผล มีคำ�ถาม 5 ขอ 7.9 งานที่มอบหมาย มีคำ�ถาม 5 ขอ 7.10ปริมาณงานและความยาก มีคำ�ถาม 5 ขอ จากองคประกอบเบื้องตนของมารช (Marsh 1987) 9 ดาน เมื่อผูวิจัยสังเคราะหขอคำ �ถามจาก แบบประเมิ น การสอนของคณะวิ ช าต า งๆ โดยการ วิเคราะหเนือ้ หา จัดขอคำ�ถามใหเขาไปอยูใ นองคประกอบ เบื้องตนตามคำ�นิยาม เพื่อกำ�หนดองคประกอบที่เปน ไปได แลวพบวามีขอคำ�ถามกลุมหนึ่งที่ไมสามารถจัด เขาไปในองคประกอบเบือ้ งตนได ซึง่ ถามเกีย่ วกับความ เหมาะสมของสภาพแวดลอมทางกายภาพ ปรากฏในทุก กลุ  ม สาขาวิ ช า ผู  วิ จั ย จึ ง จั ด ข อ คำ � ถามกลุ  ม นี้ เ ข า ใน องคประกอบใหมอีก 1 ดาน รวมทั้งหมดเปน 10 ดาน พร อ มทั้ ง ศึ ก ษาคำ � อธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม จากศั พ ท ท างการ ศึกษา โดยอาศัยรากศัพทภาษาอังกฤษ พรอมทั้งปรับ ชื่อองคประกอบใหมเปน สภาพแวดลอมการเรียนรู ทางกายภาพ ผลการสั ง เคราะห ข  อ คำ � ถามทั้ ง หมด ดังตารางที่ 1.

91


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ตารางที่ 1. ผลการสังเคราะหขอคำ�ถามจากแบบประเมินการสอนของคณะวิชา มหาวิทยาลัยศิลปากร องคประกอบเบื้องตน องคประกอบที่ระบุได ขอคำ�ถามที่สังเคราะหได 1. การเรียนรู/ คุณคา 1. การเห็นคุณคาใน 1. การสอนมีประโยชน ความสำ�คัญ ตามที่นักศึกษา (Learning/ Value) การเรียนของผูเรียน คาดหวังไว 2. นักศึกษาเกิดแนวคิดประยุกตใชใสถานการณจริง ​3. นักศึกษาไดรับความรู ความเขาใจ ทักษะเพิ่มขึ้น 4. การสอนกระตุนใหนักศึกษาเขาใจบทเรียนไดเปน อยางดี 5. นักศึกษาเกิดความสนใจที่จะแสวงหาความรู คนควา ฝกปฏิบัติตอไปอีก 2. ความกระตือรือรน (Enthusiasm)

2. ความกระตือรือรน ของผูสอน

1. การสอนกระตุนใหนักศึกษาคิดวิเคราะห ตัดสินใจ ดวยตนเองได 2. อาจารยอุทิศตนใหกับการสอนอยางเต็มที่ 3. อาจารยตอบขอซักถาม วิจารณประเด็นที่เกิดขึ้นใน ชั้นเรียน ไดอยางชัดเจน 4. อาจารยเปดโอกาสใหซักถาม/ รับฟงความคิดเห็น ของนักศึกษา 5. อาจารยมีวิธีการสอนที่หลากหลายและเหมาะสมกับ เนื้อหา

3. การเตรียมการสอน (Organization)

3. การเตรียมการสอน

1. การสอนตรงตามลักษณะและวัตถุประสงคที่ตั้งไว 2. การใชสื่อ อุปกรณ เครื่องมือ ตัวอยางทันสมัย และ เพียงพอ 3. การลำ�ดับเนื้อหาที่สงเสริมความเขาใจ สำ�หรับการ สอนภาคบรรยาย 4. การลำ�ดับขั้นตอนที่สงเสริมทักษะ สำ�หรับการสอน ภาคปฏิบัติ 5. ลักษณะการสอนแสดงถึงอาจารยมีความพรอม มี ความตั้งใจในการสอน 6. การสอนครอบคลุมเนื้อหาและทักษะที่แจงไวอยาง ครบถวน

4. สภาพ​แวดลอม​การ เรียน​รูทางกายภาพ

1. ขนาดของหองเรียน/ หองปฏิบัติการเหมาะสมกับ จำ�นวนนักศึกษา 2. เสียงรบกวน

92


การพัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร นันทนา แซลี, องอาจ นัยพัฒน, สุนันท ศลโกสุม

องคประกอบเบื้องตน องคประกอบที่ระบุได ขอคำ�ถามที่สังเคราะหได

4. สภาพ​แวดลอม​การ เรียน​รูทางกายภาพ

3. ระบบปรับอากาศมีความพอเหมาะ 4. จัดใหมีแสงสวางเพียงพอ 5. มีการถายเท/ ระบายอากาศเหมาะสม 6. ความสะอาดปลอดภัยของหองเรียน/ หองปฏิบัติการ

4. ปฏิสัมพันธภายในกลุม (Group Interaction)

5. ปฏิสัมพันธภายใน ชั้นเรียน

1. นักศึกษาไดรวมกันแสดงความคิดเห็น/ อภิปราย/ วิจารณประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของในชั้นเรียน 2. นักศึกษามีสวนรวมในการเลือกหัวขออภิปราย/ ประเด็นปญหาเพื่อวิเคราะห วิจารณรวมกันใน ชั้นเรียน 3. การสอนเปดโอกาสใหนักศึกษาไดรวมกันแลก เปลี่ยนความคิดเห็น/ อภิปราย/ วิจารณประเด็น ตางๆ 4. อาจารยกระตุนใหเกิดบรรยากาศการเรียนรูรวมกัน 5. มีการประสานงานรวมมือกันระหวางอาจารยใน การสอน

5. ความเอาใจใสตอผูเรียน 6. ความเปนมิตรของ (Individual Rapport) ผูสอน

1. อาจารยใหโอกาสนักศึกษาทำ�กิจกรรมเสริมการ เรียนรูตามความสนใจ 2. ความสอดคลองกับพื้นความรูของนักศึกษา 3. อาจารยใหคำ�ปรึกษาเพื่อแนะนำ�แกไขปญหา/ การ ปฏิบัติงานเปนรายบุคคล 4. อาจารยสงเสริม/ สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมรวม กับการสอน 5. อาจารยมีความเอาใจใสและชวยเหลือนักศึกษาทั้ง ในและนอกชั้นเรียน

6. ความลุมลึกในเนื้อหา การสอน (Breadth of Coverage)

1. อาจารยอธิบายและสรุปแนวคิดหลักใหไดอยาง ชัดเจน 2. การสอนสงเสริมใหนักศึกษาคิดอยางเปนระบบและ แกปญหาได 3. นักศึกษาไดรับความรูความเขาใจที่ทันสมัย กวางขวาง นาเชื่อถือ 4. อาจารยนำ�ประสบการณ/ กิจกรรมเสริมทักษะมา ประยุกตประกอบกับการสอน 5. นักศึกษาเห็นความสัมพันธของวิชาที่เรียนกับ เรื่องอื่นๆ

7. ความสามารถในการ ถายทอดความรูของ ผูสอน

93


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

องคประกอบเบื้องตน องคประกอบที่ระบุได ขอคำ�ถามที่สังเคราะหได 7. การทดสอบ/ การใหเกรด 8. ความเหมาะสมของ

1. อาจารยแจงเกณฑการวัดและประเมินผลใหอยาง ชัดเจน 2. อาจารยกำ�หนดเกณฑการวัดและประเมินผลที่ สอดคลองกับวัตถุประสงค 3. อาจารยใหคำ�อธิบาย/ ชี้แจงคำ�ตอบของปญหา/ การบานที่มอบหมายให 4. อาจารยตรวจงาน/ ผลการฝกภาคปฏิบัติและใหขอ คิดเห็นที่มีประโยชน 5. อาจารยกำ�หนดเกณฑการวัดและประเมินผลที่ โปรงใส ยุติธรรม และเหมาะสม

8. การมอบหมายงาน (Assignment)

1. อาจารยสงเสริมใหมีกิจกรรมคนควา ทำ�รายงาน ฝกปฏิบัติ นำ�เสนอผลงาน 2. อาจารยแนะนำ�แหลงการเรียนรูเสริม เอกสาร ตำ�รา เพื่อใหนักศึกษาคนควาเพิ่มเติม 3. แหลงการเรียนรูเสริม เอกสาร ตำ�ราที่แนะนำ�มี ประโยชน ทันสมัย 4. แหลงการเรียนรูเสริม เอกสาร ตำ�ราที่แนะนำ�มี เพียงพอ 5. งานที่มอบหมายชวยใหนักศึกษาเขาใจและเพิ่ม ความสามารถในการเรียน

(Examination/ Grading) เกณฑการวัดและ ประเมินผล

9. งานที่มอบหมาย

9. ปริมาณงาน/ ความยาก 10. ปริมาณงานและ (Workload/ Difficulty) ความยาก

94

1. นักศึกษาไดคนควา ทำ�รายงาน ฝกปฏิบัติดวย ตนเอง 2. ความยากตอการเขาใจเนื้อหามีความเหมาะสมกับ เวลาที่จัดให 3. ปริมาณงานที่อาจารยมอบหมายมีความเหมาะสม 4. ความซ้ำ�ซอนกับรายวิชาอื่น 5. ความยากของงานสมดุลกับเนื้อหาที่สอน


การพัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร นันทนา แซลี, องอาจ นัยพัฒน, สุนันท ศลโกสุม

สวนมาตรวัดของแบบประเมินซึง่ แตกตางไปตาม คณะวิชานัน้ จากการสำ�รวจพบวาสวนใหญใชแบบมาตร วัดประเมินคา 5 ระดับ ผูวิจัยจึงใชรูปแบบดังกลาวใน การสรางเครื่องมือตอไป 8. สัมภาษณคณาจารย 3 คน นักศึกษา 3 คน และบุคลากรผูรับผิดชอบการประเมินการสอนของคณะ วิชา 3 คน เพื่อเปนตัวแทนจากแตละกลุมสาขาวิชา ให ขอมูลประกอบการพิจารณาปรับขอคำ�ถาม ใหเหมาะสม กับลักษณะและธรรมชาติของแตละกลุมสาขาวิชา 9. ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงพินิจ (Face Validity) โดยผูเชี่ยวชาญทางดานการวัดและประเมิน ผล 3 คนจากแต ล ะกลุ  ม สาขาวิ ช า ประกอบด ว ย ขาราชการเกษียณ ซึ่งเคยเปนวิทยากรอบรมเกี่ยวกับ วิ ธี ก ารสอนและการวั ด ผลการศึ ก ษาสาขาศิ ล ปะและ การออกแบบ เปนตัวแทนจากกลุมสาขาวิชาศิลปะและ ประยุกตศิลป, อาจารยประจำ�ภาควิชาพื้นฐานทางการ ศึกษา คณะศึกษาศาสตร มีประสบการณสอนมากกวา 5 ป เปนตัวแทนจากกลุมสาขาวิชามนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร และอาจารยประจำ�ภาควิชาสถิติ คณะ วิทยาศาสตร มีประสบการณสอนมากกวา 10 ป เปน ตัวแทนจากกลุมสาขาวิชาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ

วิทยาศาสตรสุขภาพ (คาดัชนีความเที่ยงตรงเชิงพินิจ IOC กอนการปรับปรุงขอคำ�ถามอยูระหวาง -0.33 ถึง 1.00) 10. คัดเลือกขอคำ�ถามทีม่ คี า ดัชนีความเทีย่ งตรง เชิงพินิจ มากกวาหรือเทากับ 0.5 ไว และพิจารณา ปรั บ ปรุ ง การใช ภ าษาในข อ ที่ ไ ม ผ  า นเกณฑ เพื่ อ ให ครอบคลุมเนือ้ หา จึงไดแบบประเมินการสอนฉบับทดลอง ใชที่มีองคประกอบ 10 ดาน รวมขอคำ�ถาม 52 ขอ 11. ศึกษานำ�รอง (Pilot Study) เพื่อทดลอง ใชแบบประเมินการสอนกับนักศึกษาทีไ่ มใชกลุม ตัวอยาง ในที่นี้เปนนักศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมจำ�นวน 125 คน ทีล่ งทะเบียนเรียนวิชาศึกษาทัว่ ไปในภาคเรียนที่ 3 (ภาคฤดูรอน) ปการศึกษา 2551 เพื่อตรวจสอบความ เชือ่ มัน่ (Reliability) และอำ�นาจจำ�แนก (Discrimination) 12. คัดเลือกขอคำ�ถามที่มีคาความเชื่อมั่น มาก กวาหรือเทากับ 0.5 และคาดัชนีอำ�นาจจำ�แนก มากกวา หรือเทากับ 0.2 ไว สวนขอคำ�ถามที่ไมผานเกณฑให คั ด ออก ในขั้ น ตอนนี้ ทำ � ให ไ ด แ บบประเมิ น การสอน ที่มีองคประกอบ 10 ดาน รวมขอคำ�ถาม 41 ขอ เปน ฉบับจริง ซึ่งผลการคัดเลือกขอคำ�ถาม พรอมทั้งจำ�นวน องคประกอบและขอคำ�ถามแสดงไดดังตารางที่ 2.

ตารางที่ 2. ผลการคัดเลือกขอคำ�ถามจากการสังเคราะหแบบประเมินการสอนของคณะวิชา มหาวิทยาลัยศิลปากร องคประกอบเบื้องตน องคประกอบที่ระบุได ขอคำ�ถามที่สังเคราะหได 1. การเรียนรู/ คุณคา

1. การเห็นคุณคาในการ 1. นักศึกษาไดรับความรู ความเขาใจ ทักษะเพิ่มขึ้น เรียนของผูเรียน 2. นักศึกษาเกิดแนวคิดประยุกตใชในสถานการณจริง 3. การเรียนวิชานี้มีประโยชนตามที่นักศึกษาคาดหวัง ไว 4. นักศึกษาเกิดความสนใจที่จะแสวงหาความรู คนควา ฝกปฏิบัติตอไปอีก

2. ความกระตือรือรน (Enthusiasm)

2. ความกระตือรือรนของ 1. อาจารยอุทิศตนใหกับการสอนอยางเต็มที่ ผูสอน 2. อาจารยเปดโอกาสใหซักถาม/ รับฟงความคิดเห็น ของนักศึกษา 3. การสอนกระตุนใหนักศึกษาคิด วิเคราะห ตัดสินใจ ดวยตนเองได

(Learning/ Value)

95


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

องคประกอบเบื้องตน องคประกอบที่ระบุได ขอคำ�ถามที่สังเคราะหได 2. ความกระตือรือรน (Enthusiasm)

3. การเตรียมการสอน (Organization)

4. ปฏิสัมพันธภายในกลุม (Group Interaction)

2. ความกระตือรือรนของ 4. อาจารยตอบขอซักถาม วิจารณประเด็นที่เกิดขึ้นใน ผูสอน ชั้นเรียน ไดอยางชัดเจน 3. การเตรียมการสอน

1. สอนตรงตามเคาโครงรายวิชาและวัตถุประสงคที่ ตั้งไว 2. สอนครอบคลุมเนื้อหาและทักษะที่แจงไวอยาง ครบถวน 3. การใชสื่อ อุปกรณ เครื่องมือ ตัวอยาง ทันสมัยและ เพียงพอ 4. การลำ�ดับขั้นตอนในภาคปฏิบัติชวยสงเสริมทักษะ ของนักศึกษา 5. การลำ�ดับเนื้อหาในภาคบรรยายชวยสงเสริมความ เขาใจของนักศึกษา

4. สภาพแวดลอมการ เรียนรูทางกายภาพ

1. ระบบเสียง และแสงสวางเพียงพอ 2. มีการถายเท/ ระบายอากาศเหมาะสม 3. ความสะอาดปลอดภัยของหองเรียน/ หองปฏิบัติการ 4. ขนาดของหองเรียน/ หองปฏิบัติการเหมาะสมกับ จำ�นวนนักศึกษา

5. ปฏิสัมพันธภายใน ชั้นเรียน

1. อาจารยกระตุนใหเกิดบรรยากาศการเรียนรูรวมกัน 2. นักศึกษาไดรวมแสดงความคิดเห็น/ อภิปราย ประเด็นตางๆ 3. ใหโอกาสนักศึกษารวมกันแลกเปลีย่ นความคิดเห็น/ อภิปรายประเด็นตางๆ 4. นักศึกษามีสวนรวมในการเลือกหัวขออภิปราย/ ประเด็นปญหาเพื่อวิเคราะห

5. ความเอาใจใสตอผูเรียน 6. ความเปนมิตรของ (Individual Rapport) ผูสอน

96

1. อาจารยใหความเปนกันเองในการสอน 2. อาจารยตั้งใจรับฟงปญหาของนักศึกษา 3. มีความเอาใจใสและชวยเหลือนักศึกษาทั้งในและ นอกชั้นเรียน 4. ใหคำ�ปรึกษาเพื่อแนะนำ�แกไขปญหา/ การปฏิบัติ งานเปนรายบุคคล


การพัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร นันทนา แซลี, องอาจ นัยพัฒน, สุนันท ศลโกสุม

องคประกอบเบื้องตน องคประกอบที่ระบุได ขอคำ�ถามที่สังเคราะหได 6. ความลุมลึกในเนื้อหา 7. ความสามารถในการ 1. อาจารยอธิบายและสรุปแนวคิดหลักใหไดอยาง การสอน (Breadth of ถายทอดความรูของ ชัดเจน Coverage) ผูสอน 2. นักศึกษาเห็นความสัมพันธของวิชาที่เรียนกับ เรื่องอื่นๆ ​3. นักศึกษาไดรับความรูความเขาใจที่ทันสมัย นาเชื่อถือ 4. การสอนสงเสริมใหนักศึกษาคิดอยางเปนระบบ และ แกปญหาได 7. การทดสอบ/ การใหเกรด 8. ความเหมาะสมของ (Examination/ Grading) เกณฑการวัดและ ประเมินผล

1. อาจารยใหคำ�อธิบาย/ ชี้แจงคำ�ตอบของปญหา/ การบานที่มอบหมายให 2. อาจารยตรวจ​งาน/ ผลการฝกภาคปฏิบัติและให ขอคิดเห็นที่มีประโยชน 3. เกณฑการวัดและประเมินผลโปรงใส ยุติธรรม และ เหมาะสม 4. เกณฑการวัดและประเมินผลชัดเจน สอดคลองกับ วัตถุประสงค

8. การมอบหมายงาน (Assignment)

1. สงเสริมใหมีกิจกรรมคนควา ทำ�รายงาน ฝกปฏิบัติ นำ�เสนอผลงาน 2. งานที่มอบหมายชวยใหนักศึกษาเขาใจและเพิ่ม ความสามารถในการเรียน 3. แนะนำ�แหลงการเรียนรูเสริม เอกสาร ตำ�รา เพื่อ ใหนักศึกษาคนควาเพิ่มเติม 4. แหลงการเรียนรูเสริม เอกสาร ตำ�ราที่แนะนำ�มี ประโยชน ทันสมัย เพียงพอ

9. งานที่มอบหมาย

9. ปริมาณงาน/ ความยาก 10. ปริมาณงานและ (Workload/ Difficulty) ความยาก

1. ปริมาณงาน มีความเหมาะสมกับเวลาที่ใหทำ� 2. อาจารยมอบหมายงานโดยมีกำ�หนดสงที่เหมาะสม 3. ความยากตอการเขาใจงาน มีความเหมาะสมกับ เวลาที่ให 4. ระยะเวลาที่ใหและกำ�หนดสง มีความเปนไปไดใน ทางปฏิบัติ

97


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

13. จัดพิมพแบบประเมินการสอนที่เรียบเรียง ใหม นำ�มาเก็บรวบรวมขอมูลกับกลุม ตัวอยาง เพือ่ ศึกษา ความเที่ยงตรงเชิงโครงสราง โดยแสดงหลักฐานความ เที่ยงตรงเชิงลูเขา (Convergent Validity) ความเที่ยง ตรงเชิงจำ�แนก (Discriminant Validity) และความเที่ยง ตรงขามกลุม (Cross Validation) ผลการวิจัย 1. แบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรีของ อาจารย มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร โดยนั ก ศึ ก ษาเป น ผูใหขอมูล ที่สรางขึ้นตามแนวทางของมารช (Marsh 1987) โดยการสังเคราะหขอมูลแบบประเมินการสอน

จากทุกคณะวิชาของมหาวิทยาลัยศิลปากร มี 10 องค ประกอบยอย มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.9699 และ คาอำ�นาจจำ�แนกรายขออยูระหวาง 0.4656-0.7452 ซึ่งอยูในระดับปานกลางถึงระดับดี 2. โมเดลองค ป ระกอบเชิ ง ยื น ยั น อั น ดั บ หนึ่ ง ของแบบประเมินการสอนที่สรางขึ้น มีความสอดคลอง กลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษในระดับดี และผลการ ศึกษาความเที่ยงตรงเชิงลูเขา สรุปไดวาขอคำ�ถามที่ ใชวัดในแตละองคประกอบ มีความเหมาะสมที่ใชวัด คุณลักษณะแตละองคประกอบยอยทัง้ 10 องคประกอบ โดยแสดงคาสถิติที่บงชี้ผลขางตน ดังตารางที่ 3.1-3.2

ตารางที่ 3.1 คาสถิตทิ ี่บงชี้ความสอดคลองกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษ (โมเดลอันดับหนึ่ง) คาดัชนี

เกณฑ

คาสถิติ

ผลการพิจารณา

<2

513.671/ 463 = 1.109

ผานเกณฑ

> .05

0.0516

ผานเกณฑ

RMSEA

< .05

0.006

ผานเกณฑ

SRMR

< .05

0.011

ผานเกณฑ

GFI

> .90

0.991

ผานเกณฑ

AGFI

> .90

0.984

ผานเกณฑ

CN

> 200

2,994.267

ผานเกณฑ

χ

2

df

p value of

98

χ2


การพัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร นันทนา แซลี, องอาจ นัยพัฒน, สุนันท ศลโกสุม

ตารางที่ 3.2 คาสถิตทิ ี่บงชี้ความเที่ยงตรงเชิงลูเขา องคประกอบ ที่ 1

2

3

4

5

6

ขอที่ 1

สัมประสิทธิ์ มาตรฐาน 0.790

2

เกณฑ

t

เกณฑ

> 0.40

ผลการ พิจารณา ผานเกณฑ

45.183

> 2.576

ผลการ พิจารณา ผานเกณฑ

0.728

> 0.40

ผานเกณฑ

40.040

> 2.576

ผานเกณฑ

3

0.776

> 0.40

ผานเกณฑ

44.998

> 2.576

ผานเกณฑ

4

0.640

> 0.40

ผานเกณฑ

30.402

> 2.576

ผานเกณฑ

1

0.713

> 0.40

ผานเกณฑ

41.867

> 2.576

ผานเกณฑ

2

0.752

> 0.40

ผานเกณฑ

44.196

> 2.576

ผานเกณฑ

3

0.796

> 0.40

ผานเกณฑ

48.802

> 2.576

ผานเกณฑ

4

0.817

> 0.40

ผานเกณฑ

50.559

> 2.576

ผานเกณฑ

1

0.728

> 0.40

ผานเกณฑ

42.769

> 2.576

ผานเกณฑ

2

0.715

> 0.40

ผานเกณฑ

41.905

> 2.576

ผานเกณฑ

3

0.645

> 0.40

ผานเกณฑ

36.383

> 2.576

ผานเกณฑ

4

0.770

> 0.40

ผานเกณฑ

45.190

> 2.576

ผานเกณฑ

5

0.800

> 0.40

ผานเกณฑ

48.867

> 2.576

ผานเกณฑ

1

0.707

> 0.40

ผานเกณฑ

28.628

> 2.576

ผานเกณฑ

2

0.698

> 0.40

ผานเกณฑ

33.658

> 2.576

ผานเกณฑ

3

0.649

> 0.40

ผานเกณฑ

27.056

> 2.576

ผานเกณฑ

4

0.684

> 0.40

ผานเกณฑ

33.083

> 2.576

ผานเกณฑ

1

0.835

> 0.40

ผานเกณฑ

43.568

> 2.576

ผานเกณฑ

2

0.802

> 0.40

ผานเกณฑ

48.614

> 2.576

ผานเกณฑ

3

0.837

> 0.40

ผานเกณฑ

50.098

> 2.576

ผานเกณฑ

4

0.817

> 0.40

ผานเกณฑ

48.338

> 2.576

ผานเกณฑ

1

0.763

> 0.40

ผานเกณฑ

44.902

> 2.576

ผานเกณฑ

2

0.831

> 0.40

ผานเกณฑ

51.006

> 2.576

ผานเกณฑ

3

0.832

> 0.40

ผานเกณฑ

52.656

> 2.576

ผานเกณฑ

4

0.851

> 0.40

ผานเกณฑ

52.863

> 2.576

ผานเกณฑ

99


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

องคประกอบ ที่ 7

8

9

10

ขอที่ 1

สัมประสิทธิ์ มาตรฐาน 0.814

2

เกณฑ

t

เกณฑ

> 0.40

ผลการ พิจารณา ผานเกณฑ

49.165

> 2.576

ผลการ พิจารณา ผานเกณฑ

0.727

> 0.40

ผานเกณฑ

43.901

> 2.576

ผานเกณฑ

3

0.833

> 0.40

ผานเกณฑ

52.669

> 2.576

ผานเกณฑ

4

0.835

> 0.40

ผานเกณฑ

52.980

> 2.576

ผานเกณฑ

1

0.816

> 0.40

ผานเกณฑ

47.595

> 2.576

ผานเกณฑ

2

0.797

> 0.40

ผานเกณฑ

48.716

> 2.576

ผานเกณฑ

3

0.784

> 0.40

ผานเกณฑ

47.004

> 2.576

ผานเกณฑ

4

0.785

> 0.40

ผานเกณฑ

47.145

> 2.576

ผานเกณฑ

1

0.701

> 0.40

ผานเกณฑ

39.272

> 2.576

ผานเกณฑ

2

0.817

> 0.40

ผานเกณฑ

47.537

> 2.576

ผานเกณฑ

3

0.685

> 0.40

ผานเกณฑ

38.838

> 2.576

ผานเกณฑ

4

0.761

> 0.40

ผานเกณฑ

43.432

> 2.576

ผานเกณฑ

1

0.797

> 0.40

ผานเกณฑ

48.557

> 2.576

ผานเกณฑ

2

0.854

> 0.40

ผานเกณฑ

52.076

> 2.576

ผานเกณฑ

3

0.782

> 0.40

ผานเกณฑ

47.068

> 2.576

ผานเกณฑ

4

0.839

> 0.40

ผานเกณฑ

50.211

> 2.576

ผานเกณฑ

3. โมเดลองคประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของ แบบประเมินการสอนที่สรางขึ้น มีความสอดคลองกลม กลืนกับขอมูลเชิงประจักษในระดับดี และผลการศึกษา ความเที่ยงตรงเชิงจำ�แนก สรุปไดวาแตละองคประกอบ

100

มีความซ้ำ�ซอนกันต่ำ� เหมาะสมตอการจำ�แนกเปนองค ประกอบของการประเมินการสอน โดยแสดงคาสถิติที่ บงชี้ผลขางตน ดังตารางที่ 4.1-4.2


การพัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร นันทนา แซลี, องอาจ นัยพัฒน, สุนันท ศลโกสุม

ตารางที่ 4.1 คาสถิตทิ ี่บงชี้ความสอดคลองกลมกลืนกับขอมูลเชิงประจักษ (โมเดลอันดับสอง) คาดัชนี

χ

2

df

p value of

χ2

RMSEA SRMR GFI AGFI CN

เกณฑ

คาสถิติ

ผลการพิจารณา

<2

525.033/ 478 = 1.098

ผานเกณฑ

> .05

0.067

ผานเกณฑ

< .05 < .05 > .90 > .90 > 200

0.006 0.011 0.991 0.984 3,014.272

ผานเกณฑ ผานเกณฑ ผานเกณฑ ผานเกณฑ ผานเกณฑ

ตารางที่ 4.2 คาสถิตทิ ี่บงชี้ความเที่ยงตรงเชิงจำ�แนก สหสัมพันธระหวางองคประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง องคประกอบที่ 1 2 3 4 1 1

5

6

7

8

9

10

2

0.706

1

3

0.793

0.822

1

4

0.526

0.588

0.645

1

5

0.650

0.745

0.721

0.567

1

6

0.645

0.803

0.763

0.551

0.714

1

7

0.724

0.810

0.843

0.603

0.745

0.795

1

8

0.724

0.810

0.843

0.603

0.745

0.796

0.814

1

9

0.704

0.740

0.781

0.587

0.725

0.681

0.808

0.811

1

10

0.613

0.686

0.714

0.610

0.612

0.674

0.714

0.755

0.737 1

เกณฑ

< 0.85

ผลการพิจารณา

ผานเกณฑทั้งหมด

101


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

4. ผลการทดสอบความไม แ ปรเปลี่ ย นของ รู ป แบบและพารามิ เ ตอร ข ององค ป ระกอบในโมเดล องคประกอบเชิงยืนยัน พบวาโมเดลการประเมินการ สอนทั้ง 3 กลุมสาขาวิชาเฉพาะรูปแบบมีความไมแปร เปลี่ยนทุกกลุม โมเดลมีลักษณะเปนแบบเดียวกัน นั่น คือ แบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรีของอาจารย

มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยนักศึกษาเปนผูใหขอมูล ประกอบดวยองคประกอบ 10 องคประกอบ แตคา พารามิเตอรมีความแปรเปลี่ยนไปตามกลุมสาขาวิชา ดังนั้น โมเดลการประเมินการสอนที่ผูวิจัยสรางขึ้นจึงมี คุณภาพดานความเที่ยงตรงขามกลุม โดยแสดงคาสถิติ ที่บงชี้ผลขางตนดังตารางที่ 5.1-5.3

ตารางที่ 5.1 ผลการทดสอบความไมแปรเปลี่ยนของโมเดลคุณภาพการสอนระหวางกลุมสาขาวิชา

χ

สมมติฐานที่

2

df

เกณฑ

ผลการ พิจารณา

GFI

CFI

เกณฑ

ผลการ พิจารณา

NFI

1. Hform

2.937

ระหวาง 2–5

ผานเกณฑ

0.924 0.986 0.992

ใกล 1

ผานเกณฑ

2. H

3.055

ระหวาง 2–5

ผานเกณฑ

0.923 0.986 0.991

ใกล 1

ผานเกณฑ

3.192

ระหวาง 2–5

ผานเกณฑ

0.920 0.984 0.990

ใกล 1

ผานเกณฑ

3. H

Λ Λ

Χ

f Χ

ตารางที่ 5.2 ผลการทดสอบความไมแปรเปลี่ยนของคาประมาณพารามิเตอรในเมทริกซสัมประสิทธิ์การถดถอยของ ตัวแปรภายนอกแฝงบนตัวแปรสังเกตได ภายใตความไมแปรเปลี่ยนของรูปแบบโมเดลตามสมมติฐานที่ 1. คาดัชนี ∆

χ

df

2 2−1

χ

2 2−1

เกณฑ

คาสถิติ

ผลการพิจารณา

มีนยั สำ�คัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05

635.909 *

ผานเกณฑ

-

124

-

ตารางที่ 5.3 ผลการทดสอบความไมแปรเปลี่ยนของคาประมาณพารามิเตอรตามสมมติฐานที่ 2. คาดัชนี ∆

χ

df

102

χ

2 3−2

2 3−2

เกณฑ

คาสถิติ

ผลการพิจารณา

มีนยั สำ�คัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05

730.110 *

ผานเกณฑ

-

130

-


การพัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร นันทนา แซลี, องอาจ นัยพัฒน, สุนันท ศลโกสุม

อภิปรายผลการวิจัย 1. แบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรีของ อาจารย มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยนักศึกษาเปนผูให ขอมูล ที่พัฒนาขึ้นตามแนวทางองคประกอบของมารช (Marsh 1987) เปนองคประกอบเบื้องตน 9 ดาน เมื่อ สั ง เคราะห ข  อ คำ � ถามจากข อ มู ล แบบประเมิ น ของ มหาวิทยาลัยศิลปากร แลวพบวานอกเหนือจากการ เรียบเรียงขอคำ�ถามใสใน 9 องคประกอบของมารช (Marsh 1987) แลว มีขอคำ�ถามดานการจัดสภาพ แวดล อ มที่ เ หมาะสมต อ การเรี ย นรู  ป รากฏอยู  ใ นทุ ก กลุมสาขาวิชา แบบประเมินการสอนที่สรางขึ้น จึง ระบุองคประกอบเพิ่มอีก 1 ดานรวมเปน 10 ดาน ซึ่ง สอดคล อ งกั บ ผลการวิ จั ย ของสายชนม สั จ จานิ ต ย (2538 : 28-34) ที่ไดวิเคราะหคุณภาพของแบบประเมิน การสอนที่สรางขึ้นจากบริบทของกลุมสาขาวิชาตางๆ ในมหาวิทยาลัยศิลปากร ไดแก กลุมสาขาวิชาศิลปะ มนุ ษ ยศาสตร แ ละสั ง คมศาสตร และกลุ  ม สาขาวิ ช า วิทยาศาสตร แลวพบวามีองคประกอบดานบรรยากาศใน ชัน้ เรียน รวมอธิบายผลประเมินการสอนดวย ตอบรับกับ ปณิ ธ านของมหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร ในการส ง เสริ ม บัณฑิตใหมีคุณลักษณะพึงประสงค ดานความคิดริเริ่ม สรางสรรค ซึ่งจะเกิดขึ้นบนบริบทของการจัดสภาพ แวดลอมที่ดี 2. การที่ แ บบประเมิ น การสอนที่ ส ร า งขึ้ น มี ความเที่ยงตรงเชิงโครงสราง สวนหนึ่งเกิดจากวิธีการ สรางที่พัฒนาขึ้นจากขอมูลเดิม ซึ่งนักศึกษาทุกกลุม สาขาวิชามีประสบการณในการตอบขอคำ�ถามดังกลาว อยูกอนแลว เมื่อเกิดการเรียนรูจากประสบการณแตละ ครั้ง เนื้อหาสาระหรือผลจากการเรียนรูนั้นจะผนวกรวม เขาดวยกันเปนประสบการณรวมในเรื่องนั้นๆ ตาม ทฤษฎีของโรเจอรส (Rogers อางอิงใน สุชา จันทนเอม 2544) วิธกี ารสังเคราะหองคประกอบ จึงชวยใหนกั ศึกษา สามารถจับประเด็น เพือ่ ลำ�ดับความคิดในการตอบ เห็น ความเชื่อมโยงของขอคำ�ถามในแบบประเมินการสอน ดังกลาว และสงผลใหการวิเคราะหขอมูล สามารถแสดง หลั ก ฐานความเที่ ย งตรงเชิ ง โครงสร า งในบริ บ ทของ มหาวิทยาลัยศิลปากร ไดชัดเจน

ขอเสนอแนะสำ�หรับการนำ�ผลวิจัยไปใช 1. แบบประเมิ น การสอนของอาจารย โ ดย นักศึกษาเปนผูใหขอมูล ที่ไดจากการวิจัยในครั้งนี้ กอง บริการการศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร สามารถนำ�ไป ปรับใชกับคณะวิชาตางๆ เนื่องจากผานเกณฑการ ตรวจสอบคุณภาพเบื้องตน และมีมาตรฐานในดานอง คประกอบซึ่งเปนที่ยอมรับในระดับสากล พรอมทั้งผาน เกณฑการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสรางกับ กลุมตัวอยางขนาดใหญ สามารถใหผลการประเมินที่ นาเชื่อถือสำ�หรับแตละกลุมสาขาวิชา 2. การนำ�แบบประเมินการสอนที่มีรูปแบบและ มาตรวัดเดียวไปเก็บขอมูลกับทุกคณะวิชา จะทำ�ใหเกิด ความสะดวกและประหยัด ทั้งเวลาและทรัพยากรใน การประมวลผล ใชไดทั้งลักษณะการประเมินลงแบบ ประเมินในชั้นเรียนโดยเจาหนาที่ฝายสนับสนุนเปน ผูเก็บรวบรวม หรือนักศึกษาทำ�การประเมินผานระบบ อิ น เทอร เ น็ ต ด ว ยตนเอง ทำ � ให ไ ด ข  อ มู ล สารสนเทศ ที่ผูบริหารสามารถนำ �ไปใชประโยชน ประกอบการ พิจารณาปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอนได อยางเหมาะสม สอดคลองกับบริบทของมหาวิทยาลัย ศิลปากรตอไป ขอเสนอแนะสำ�หรับการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรไดมีการศึกษาเพิ่มเติมถึงขอคำ�ถามที่มี ระดับความสัมพันธกันสูง เพื่อลดจำ�นวนขอคำ�ถามให นอยลง ปรับแบบประเมินใหมใี จความกระชับ เกิดความ สะดวกตอนักศึกษาในการตอบ เจาหนาที่ประมวลผล อาจารยผูสอนและผูบริหารในการพิจารณาสารสนเทศ มากยิ่งขึ้น 2. การวิจัยครั้งนี้ มีการควบคุมตัวแปรระดับ ชัน้ ปของนักศึกษาทางออม โดยเก็บขอมูลจากนักศึกษา ที่ลงทะเบียนรายวิชาเดียวกัน ซึ่งจากการศึกษาเพิ่ม เติมจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ (ปรเมศวร ขุนภักดี 2539 : 168-179 ; อัจฉรา วัฒนาณรงค 2551 : 143) พบว า ยั ง มี ตั ว แปรอื่ น ๆ ที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ ง กั บ ผลการประเมิ น การสอน ในที่ นี้ ผู  วิ จั ย ขอแสดง รายละเอี ย ดเฉพาะตั ว แปรที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สามารถ บริหารจัดการได เชน

103


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

2.1 ขนาดของชัน้ เรียน สามารถบริหารจัดการ ไดโดยการแบงกลุมผูเรียนใหมีขนาดเหมาะสม โดยมี ผลการศึกษายืนยันวา คาเฉลี่ยในการประเมินผลการ สอนจากชั้นเรียนขนาดเล็ก มีแนวโนมสูงกวาคาเฉลี่ย ผลประเมินจากชั้นเรียนที่มีขนาดใหญกวา ซึ่งอาจเปน เพราะอาจารยผูสอนสามารถดูแลกลุมผูเรียนขนาดเล็ก ไดทวั่ ถึง และการคำ�นวณผลประเมินจากชัน้ เรียน ขนาด เล็กมีตวั หารทีน่ อ ยกวา จึงใหคา เฉลีย่ ผลประเมินทีส่ งู กวา 2.2 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ความสนใจและ เจตคติของนักศึกษา สามารถบริหารจัดการไดโดยแบง กลุมผูเรียนตามพื้นฐานความรู และจัดกิจกรรมสงเสริม เจตคติที่ดีตอรายวิชานั้นๆ ซึ่งไดมีผลการศึกษาระบุวา คาเฉลี่ยในการประเมินผลการสอนจากกลุมนักศึกษา ที่เลือกเรียนเพื่อรู สูงกวากลุมนักศึกษาที่เลือกเรียน เพื่อสอบ 2.3 อายุและประสบการณสอนของอาจารย ผูสอน สามารถบริหารจัดการไดโดยใหอาจารยประชุม ทำ�ขอตกลง มอบหมายรายวิชาที่สอนใหสอดคลองกับ ประสบการณและความเชีย่ วชาญของอาจารยทา นนั้นๆ และมีการสอนทีส่ อดคลองกับความตองการ ความสนใจ และความสามารถตามวัยของนักศึกษา ซึ่งมีผลการ ศึกษายืนยันวา คาเฉลี่ยในการประเมินผลการสอนของ



104

อาจารยทมี่ ปี ระสบการณสงู มีแนวโนมต่�ำ กวาคาเฉลีย่ ผล ประเมินการสอนของอาจารยที่มีประสบการณนอยกวา เนื่องมาจากชองวางระหวางวัย อาจารยอาจมีความ เขมงวด เครงครัด เฉียบขาด และมุงหวังใหนักศึกษา ไดเรียนรูมากที่สุดเทาที่จะทำ�ได โดยไมทันไดคำ�นึง ถึ ง การให ค วามคุ  น เคยและเป น กั น เองแก นั ก ศึ ก ษา ทำ�ใหนักศึกษาเกิดความไมสบายใจเมื่อเรียนไดไมถึง ระดับที่คาดหวังไว อยางไรก็ตาม ไมควรประเมินผล การสอนของอาจารย ที่ มี ป ระสบการณ ส อนน อ ยกวา หนึ่งป เพราะผลที่ไดมักจะขาดความเที่ยงตรง นอกจากนี้ ยังมีตัวแปรเกี่ยวกับเพศ วุฒิการ ศึ ก ษาของอาจารย ผู  ส อน ลั ก ษณะการเข า ชั้ น เรี ย น ของนักศึกษา จำ�นวนหนวยกิตของรายวิชา ฯลฯ ที่ ยากตอการควบคุม หรือเปนตัวแปรที่ยังมีการศึกษา ถึงผล กระทบตอผลประเมินการสอนในวงจำ�กัด อาจ ตองใชระยะเวลาศึกษาเปนรอบหลักสูตร แตหากไดมี การศึกษาคุณภาพของพัฒนาแบบประเมินการสอนของ อาจารยโดยนักศึกษาเปนผูใ หขอ มูล โดยคำ�นึงถึงตัวแปร ที่สามารถบริหารจัดการไดตามที่กลาวมา จะเปนการ ตรวจสอบประสิทธิผลของแบบประเมินการสอนที่สราง ขึ้น และใหขอมูลที่เปนประโยชนในการปรับปรุงพัฒนา การจัดการเรียนการสอนในทางปฏิบัติไดมากยิ่งขึ้น






การพัฒนาแบบประเมินการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศิลปากร นันทนา แซลี, องอาจ นัยพัฒน, สุนันท ศลโกสุม

บรรณานุกรม ภาษาไทย นิราศ จันทรวิจิตร. (2534). การพัฒนารูปแบบการประเมินการสอนสำ�หรับครูประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บุญธรรม กิจปรีดาบริสทุ ธิ.์ (2535). คูม อื การวัดและการประเมินผล. พิมพครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: บีแอนดบี พับลิชชิง่ . ปรเมศวร ขุนภักดี. (2539, มิย. 2538 - พ.ค. 2539). การประเมินผลการสอน : วิจัยและเครื่องมือ. วารสารอักษร ศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร 18 (1-2) : 168-178. พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542. (2542, 14 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม 116 ตอนที่ 74ก. เพียงตา สาตรักษ. (2543). การตรวจสอบคุณภาพของอาจารยมหาวิทยาลัย. วารสารสงเสริมประสิทธิภาพการ เรียนการสอน 9 (1) : 6 – 9. รังสรรค ทิมพันธุพ งษ. (2535). แนวคิดบางประการเกีย่ วกับการสรรหาและการพัฒนาอาจารย. วารสารพิฆเนศวร 1 (2) : 7 – 12. ศรีเรือน แกวกังวาน. (2545). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกชวงวัย. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรธน และคณะ. (2548). การสังเคราะหผลการประเมินการสอนของอาจารยคณะศึกษา ศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ปการศึกษา 2544 – 2546 : รายงานการวิจัย. เชียงใหม: สำ�นัก พิมพมหาวิทยาลัยเชียงใหม. สายชนม สัจจานิตย. (2538). ประสิทธิภาพการสอนของอาจารยตามทัศนะของนักศึกษา มหาวิทยาลัย ศิลปากร : รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร. สุชา จันทนเอม. (2544). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช. สุมน อมรวิวัฒน. (2538). คุณลักษณะของอาจารยในสังคมยุคใหม. วารสารทางวิชาการราชภัฏกรุงเกา 2 (3) : 71 – 76. อนุ เจริญวงศระยับ. (2549). การแสดงหลักฐานความเที่ยงตรงเชิงโครงสรางของแบบประเมินการสอนโดย ผูเรียนของมารชดวยการประยุกตใชวิธีการวิเคราะหกลุมพหุ. ปริญญานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต (การวัดผลการศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อัจฉรา วัฒนาณรงค. (2551). การสอนทีม่ ปี ระสิทธิภาพระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ภาษาอังกฤษ Airasian, Peter W. และ Gullickson, Arlen R. (2545). ชุดเครื่องมือ : การประเมินตนเองของครูมืออาชีพ. แปลโดย ศิริเดช สุชีวะ. กรุงเทพฯ: เอกซเปอรเนตบุคส. Marsh, Herbert W. (1987). Students’ Evaluations of University Teaching: Research Findings, Methodological Issues, and Directions for Future Research. Journal Education Research 11 : 253-388.

105



การทองเที่ยวที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางในงานประเพณีบุญบั้งไฟ 1 The Effects of Tourism on the Transformation of Bun Bangfai Rocket Festival

ปนวดี ศรีสุพรรณ 2, เยาวลักษณ อภิชาติวัลลภ 3, กนกวรรณ มะโนรมย 4 Pinwadee Srisupun, Yaowalak Apichatvullop, Kanokwan Manorom

บทคัดยอ บทความนีน้ �ำ เสนอภาพรวมของการทองเทีย่ วทีม่ ผี ลตอการเปลีย่ นแปลงเชิงโครงสรางในงานประเพณีบญ ุ บัง้ ไฟ โดยใหความสนใจไปทีค่ �ำ ถามหลักคือการทองเทีย่ วสงตอการเปลีย่ นแปลงของบุญบัง้ ไฟในปจจุบนั อยางไร นำ�เสนอผาน กรณีศึกษาบุญบั้งไฟเมืองยโสธรและอภิปรายผลกระทบของการทองเที่ยวโดยเฉพาะในประเด็นเรื่องการเสื่อมถอย ของวัฒนธรรม ผลการศึกษาพบวา บุญบั้งไฟที่จัดขึ้นในปจจุบันตอบสนองตอความตองการที่หลากหลายรวมถึงการ ทองเทีย่ ว ซึง่ ทำ�ใหเกิดเปลีย่ นแปลงในเชิงโครงสรางทีป่ จ จุบนั ตอบสนองตอวิถชี วี ติ ในเชิงเศรษฐกิจซึง่ ตางจากรูปแบบ ดั้งเดิมที่ตอบสนองตอวิถีชีวิตแบบเกษตรกรรม แมวาประชาชนจะสะทอนวาการทองเที่ยวไมไดใหผลกำ�ไรในดาน เศรษฐกิจใหกบั ประชาชนในพืน้ ที่ แตในเชิงโครงสรางแลว การทองเทีย่ วเปนปจจัยทีเ่ ขาไปกระตุน และผลักใหประชาชน ในพื้นที่นำ�มาเปนเหตุผลในการจัดกิจกรรมใหมที่เปนการสงเสริมการทองเที่ยวและตอบสนองตอความตองการสวน บุคคลซึ่งสงผลตอจิตสำ�นึกของประชาชนในเชิงวาทกรรมดวย อยางไรก็ดี ความเปนเนื้อแททางวัฒนธรรมไมไดเปน เรื่องที่ตายตัว การปรับเปลี่ยนการจัดงานบุญบั้งไฟในปจจุบันจึงไมไดทำ�ใหบุญบั้งไฟสูญเสียความเปนเนื้อแททาง วัฒนธรรมไปทัง้ หมด แตกลับถูกปรับเปลีย่ นใหรองรับวิถชี วี ติ ของประชาชนในปจจุบนั ในฐานะทีเ่ ปนประเพณีรว มสมัย คำ�สำ�คัญ: 1. บุญบั้งไฟ. 2. การทองเที่ยว. 3. การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสราง.

__________________ 1 บทความนี้เปนสวนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ สาขาสังคมวิทยา หัวขอ “การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางของประเพณีบุญบั้งไฟใน ยุคโลกาภิวัตน” 2 นักศึกษาปริญญาเอก สาขาสังคมวิทยา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 3 ผูช ว ยศาสตราจารย ดร. ประจำ�ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 4 ผูช ว ยศาสตราจารย ดร. ประจำ�สาขาวิชาสังคมศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อาจารยทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

Abstract This research is a study of the political implication in the National Library version book named “Sae Pha Khun Chang - Khun Phaen”. Its purposes are to describe the political implication which appeared in texts in terms of political thought, contexts and political agenda which drive to the advents of archives scrutiny and settling publications in 1917 under the deliberately-particular performance of interpretation and contextual analysis. The research has revealed that texts in the aforementioned, the National Library version “Sae Pha Khun Chang - Khun Phaen”, had portrayed the real figures of society, particularly, the relationship among people’s castes in vertical power while disguising loyalty of military to the monarch. As the study showed, from the status and role of Prince Damrong Rajanubhab, the president of the National Library, with the Thai State’s scenario at that time, we have come to a presumption that the advent of the mentioned book was not only to maintain the Thai poetry scheme orderly in Thai language’s system as ultimately perfect as anticipated but also to establish the monarchism’s loyalty among Thai people by resorting the deeply-disguised figures as typically formed. Keywords: 1. Sae Pha Khun Chang - Khun Phaen. 2. Political Implication. 3. Loyalty. 4. Nation-State.

108


บทนำ� การท อ งเที่ ย วถื อ เป น อุ ต สาหกรรมหลั ก ที่ นำ � รายได เ ข า ประเทศไทยเป น จำ � นวนมาก ข อ มู ล จาก การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) พบวาในป พ.ศ. 2553 ประเทศไทยมีรายไดจากการทองเที่ยวคิดเปน รอยละ 6 ของจีดีพีประเทศหรือเปนอันดับ 12 ของโลก และมีนักทองเที่ยวเขาประเทศมากเปนอันดับที่ 18 โดย ในสวนรายไดจากการทองเทีย่ วทีเ่ กิดจากการทองเทีย่ ว วัฒนธรรมประเพณีนั้น ประเพณีสงกรานตถือวาเปน ประเพณี ที่ ทำ � รายได ใ ห กั บ ประเทศมากที่ สุ ด ส ว น ประเพณีอื่นๆ โดยเฉพาะประเพณีที่มีความเชื่อและ พิธีกรรมเปนองคประกอบหลักนั้น จะไดรับความสนใจ จากกลุมนักทองเที่ยวในประเทศเปนหลัก สำ � หรั บ บุ ญ บั้ ง ไฟเมื อ งยโสธรซึ่ ง เป น หนึ่ ง ใน ประเพณีที่ไดการสนับสนุนจาก ททท. นั้น ไดรับการจัด อันดับแหลงทองเทีย่ วในดวงใจจากผูอ า นนิตยสาร อสท. ประจำ�เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553 ในอันดับที่ 4 ของแหลง ทองเที่ยวประเภทกิจกรรม งานวัฒนธรรม ประเพณี (ภาคภูมิ นอยวัฒน 2553) ถึงแมบุญบั้งไฟจะไดรับการ จัดอันดับความนิยมในลำ�ดับที่คอนขางดี แตทวาจาก สถิ ติ สำ � นั ก งานเศรษฐกิ จ การท อ งเที่ ย วและกี ฬ าใน ป พ.ศ. 2553 จังหวัดยโสธรถือเปนหนึ่งใน 5 จังหวัด ที่มีรายไดจากการทองเที่ยวนอยที่สุดของประเทศ และ แมผลประโยชนในเชิงเศรษฐกิจจากการทองเที่ยวจะ มีนอย แตประเพณีบุญบั้งไฟก็เปนหนึ่งในประเพณีที่มี การเปลีย่ นแปลงอยางถึงรากถึงโคนอันเปนผลสวนหนึง่ ไดรบั อิทธิพลจากการทองเทีย่ ว ซึง่ ในปจจุบนั เราจะพบ กับคำ�กลาวเชน “บัง้ ไฟยิง่ สูงแตระดับจิตใจของคนอีสาน นับวันจะดิง่ จม” และ “งานบุญทีม่ แี ตเปลือก แตไมมแี กน” ไดเขามาทาทายการจัดงานในปจจุบัน

การทองเที่ยวที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางในงานประเพณีบุญบั้งไฟ ปนวดี ศรีสุพรรณ, เยาวลักษณ อภิชาติวัลลภ, กนกวรรณ มะโนรมย

เนื้ อ หาในบทความนี้ แ บ ง ออกเป น สามส ว น สวนที่หนึ่ง นำ�เสนอผลจากการทองเที่ยวที่มีตอการ เปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมประเพณี โดยนำ�เสนอการ เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางของประเพณีบุญบั้งไฟ ผาน กรณีศกึ ษาบุญบัง้ ไฟเมืองยโสธร สวนทีส่ อง อภิปรายผล กระทบของการทองเทีย่ วโดยเฉพาะในประเด็นเรือ่ งการ สูญเสียเนื้อแททางวัฒนธรรม และสวนที่สาม เปนสวน สรุป การท อ งเที่ ย วที่ ส  ง ผลต อ การเปลี่ ย นแปลงของ วัฒนธรรมประเพณี เนื้อหาในหัวขอนี้ ผูเขียนแบงออกเปนสามสวน สวนหนึ่งกลาวถึงตัวอยางงานศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบ ของการทองเที่ยว สวนที่สองกลาวถึงการจัดงานบุญ บั้งไฟยโสธรที่การทองเที่ยวไดเขาไปมีสวนสนับสนุน และนำ�เสนอตัวอยางผลจากการทองเที่ยวที่สงผลตอ การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางของประเพณีบุญบั้งไฟ ผลกระทบทางด า นการท อ งเที่ ย วต อ วัฒนธรรมประเพณี ในประเด็นผลกระทบจากการทองเที่ยวนั้น การ ที่ ก ารท อ งเที่ ย วได เ ข า มามี ส  ว นในการเปลี่ ย นแปลง วัฒนธรรมประเพณีในหลายพื้นที่ ทำ�ใหหลายฝายไดตั้ง คำ�ถามตอผลกระทบจากการทองเที่ยวตอวัฒนธรรม ประเพณีโดยเฉพาะในเรื่องการทำ �วัฒนธรรมใหเปน สินคา 5 (Cultural commoditization) โดยคำ�ถามหลัก มักใหความสนใจไปที่การวิพากษและการตั้งคำ�ถามตอ การสูญเสียเนื้อแททางวัฒนธรรม การตีคาวัฒนธรรม ในเชิงมูลคาที่ทำ�ใหเกิดการเสื่อมถอยทางวัฒนธรรม เปนตน โดยอภิปรายในเชิงตอบโตกับภาครัฐ รวมถึง ประเด็นปฏิสัมพันธระหวางชาวชุมชนกับรัฐ และมีการ

__________________ 5 อานันท กาญจนพันธ (2549 : 27) ไดกลาวถึงการที่วัฒนธรรมถูกทำ�ใหเปนสินคาวา สินคาวัฒนธรรมจะเนนมูลคาทางจิตใจ ของวัฒนธรรม ทำ�ใหสินคานั้นผูกอยูกับอุดมคติที่ตายตัวและไรชีวิตชีวา ในลักษณะเดียวกันกับการเปนทาสของมายาคติ (Fetishism) ใน ความคิดของมารกซซงึ่ มีสว นสำ�คัญในการลดทอนความเปนมนุษยของผูค นในวัฒนธรรมนัน้ เพราะเทากับเปนการจองจำ�ผูค นใหตดิ อยูก บั ภาพลักษณที่ตายตัว จนผูคนเหลานั้นมีขอจำ�กัดในการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของเองใหสอดคลองกับความเปนจริง

109


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

อธิบายขอดีและขอเสียของการนำ�กระบวนการทองถิ่น สูสากลที่มีมากขึ้น เชน สินคาทางวัฒนธรรมบางอยาง กลายเป น สิ่ ง ประดิ ษ ฐ เ พื่ อ การท อ งเที่ ย วจนอาจเป น การทำ�ลายคุณคาของวัฒนธรรม ในกรณีของโรงแรม ดาราเทวีทจี่ �ำ ลองแบบวัดเปนโรงแรม การจัดตัง้ หมูบ า น กะเหรี่ยงคอยาวเพื่อการทองเที่ยว เปนตน ซึ่งในเรื่องนี้ ไดรับการวิพากษวิจารณจากนักวิชาการ และประชาชน บางสวนที่ไมเห็นดวยเปนจำ�นวนมาก นอกจากนี้ ก็มี งานศึกษาอื่นๆ ตัวอยางเชน สุรีย บุญญานุพงศ และ สุรศักดิ์ ปอมทองคำ� (2537) ทำ�การศึกษาการจัดงาน ปอยสางลองของแมฮองสอนที่โครงสรางความสัมพันธ ทางสังคมเปลี่ยนไปจากเดิมเนื่องจากผลกระทบจาก การทองเที่ยว พบวาปอยสางลองถูกนำ�มาเสนอตอ สาธารณชนในฐานะสินคาการทองเที่ยวซึ่งจำ�เปนตอง มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบใหเหมาะสมแกการเปนสินคา ที่จะนำ�กำ�ไรมาสูชุมชนไดคุมกับการลงทุน การเขามา มีบทบาทของหนวยงานของรัฐเปนจุดเริ่มตนของการ เปลีย่ นระบบความสัมพันธของผูร ว มงาน การมอบหมาย การสั่งการที่เปนระเบียบขึ้นตอน ไดทำ�ลายระบบความ สัมพันธทางสังคมของคนในชุมชนลงจากเดิมที่มีความ สั ม พั น ธ กั น อย า งเหนี ย วแน น เมื่ อ ประเพณี เ พื่ อ การ ท อ งเที่ ย วได ทำ � ลายระบบความสั ม พั น ธ ท างสั ง คม แบบเดิมใหหมดไป ก็ไดสรางระบบความสัมพันธทาง สั ง คมแบบใหม ขึ้ น มาแทน ระบบความสั ม พั น ธ แบบใหมนี้เปนระบบที่คนในชุมชนมีความหางเหินกัน มากขึ้ น เป น ระบบที่ ค นจะต อ งคิ ด คำ � นวณทุ ก ครั้ ง ก อ นจะตัดสินใจรวมกิจกรรมทางสังคมใดๆ ว า การ มีสวนรวมนี้ตนเองจะไดประโยชนคุมหรือไมและใคร จะไดประโยชนมากกวา ซึ่งหากระบบคิดคำ�นวณเชนนี้ เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ก็เปนเรื่องที่ยากยิ่งที่จะสามารถ รักษาวัฒนธรรมประเพณีใดๆ ไวไดอยางสมบูรณ ในงานวิจัยเรื่อง Tourism in East Asia and Globalization ของ Azuma Miharu (Miharu 2003) นำ�เสนอกรณีศึกษากระบวนการทำ�วัฒนธรรมใหเปน สิ น ค า ในกรณี ส ปาของไต ห วั น ซึ่ ง ได เ ลื อ นหายไป เนือ่ งจากขาดความสนใจจากนักทองเทีย่ วญีป่ นุ แตกลับ เกิดสปาแบบของญี่ปุนซึ่งมีลักษณะเปนบอกลางแจง เขามาแทนที่ และชาวไตหวันก็ซึมซับรับเอาวัฒนธรรม

110

ดังกลาวในฐานะที่เปนวัตถุบริโภคอยางหนึ่ง เขาพบวา การทองเที่ยวทำ �ใหเกิดการสรางวัฒนธรรมใหมและ ทำ � ลายวั ฒ นธรรมดั้ ง เดิ ม โดยจำ � กั ด ขอบเขตความ สัมพันธระหวางนักทองเทีย่ วกับผูใ หบริการนักทองเทีย่ ว ซึ่งประเด็นเกี่ยวกับวัฒนธรรมดั้งเดิมหรือเนื้อแทของ วัฒนธรรมไดถูกนำ�มาถกเถียงเปนหลัก ในทางตรงขาม ก็มผี ใู หความเห็นวาการทองเทีย่ ว กลั บ เป น อี ก หนึ่ ง แนวทางที่ ช  ว ยให วั ฒ นธรรมคงอยู  แตองคประกอบทางวัฒนธรรมบางอยางก็อาจจะเลือน หายไปบางตามกาลเวลา และชุมชนก็มีความสามารถ ในการปรับเปลีย่ นตัวเองในสถานการณดงั กลาว ดังงาน ของ สุนสิ า ฉันทรตั นโยธิน (2546) ทีไ่ ดศกึ ษาผลกระทบ ของการทองเที่ยวตอชุมชนมงหมูบานดอยปุย โดยนำ� แนวคิดเรือ่ งทุนวัฒนธรรม และการทองเทีย่ วเชิงนิเวศมา ตอบโจทยปญหา พบวาเมื่อการทองเที่ยวเขาสูหมูบาน ดอยปุย ชาวบานเรียนรูที่จะนำ�ลักษณะทางวัฒนธรรม ของตนมาปรับเปลี่ยนเปนสินคาและบริการตางๆ เพื่อ ตอบสนองความตองการของนักทองเทีย่ วในการบริโภค วัฒนธรรมทีแ่ ปลกแตกตางจากตนเอง โดยการทองเทีย่ ว กอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนในดานเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดลอมโดยทางตรงและโดยทางออม ซึง่ สงผลกระทบ ทัง้ ดานบวกและดานลบ เชน การทองเทีย่ วทำ�ใหชาวบาน มีอาชีพมากมายเกี่ยวกับการทองเที่ยว ทำ�ใหมีรายได มากขึน้ มีการขยายตัวดานการลงทุน มีการสรางประเพณี ประดิษฐ มีการเปลี่ยนแปลงสถานภาพและบทบาทของ หญิ ง และชาย มี ป  ญ หาสั ง คมและป ญ หาขยะเกิ ด ขึ้ น เปนตน งานวิจัยอีกชิ้นหนึ่งที่ตอบคำ�ถามเกี่ยวกับการ ท อ งเที่ ย ววั ฒ นธรรมของชุ ม ชนซึ่ ง ชุ ม ชนได ใ ช ก าร ทองเที่ยวเปนกลไกในการรักษาวัฒนธรรมชุมชน คือ งานของสันติพงษ ชางเผือก (2546) เปนงานที่พยายาม ทำ�ความเขาใจตอกระบวนการสรางใหชุมชนลื้อบาน ผานมใหเปนพื้นที่ทองเที่ยว โดยมีจุดเนนอยูที่ปฏิบัติ การเชิงนโยบายของรัฐทีพ่ ยายามเชือ่ มโยงการทองเทีย่ ว การนิยามอัตลักษณทางชาติพันธุและการพัฒนาเขา ไวดวยกัน รวมถึงการพินิจพิจารณากระบวนการใน การตอรองสรางอัตลักษณทางชาติพันธุ และการพัวพัน ทางวัฒนธรรมของคนที่อาศัยอยูในพื้นที่ทองเที่ยวแหง


นั้น เขาพบวากระบวนการสรางบานผานมใหเปนพื้นที่ ทองเที่ยวนั้น เกี่ยวของกับเงื่อนไขเชิงนโยบายของรัฐ การพัฒนาการทองเทีย่ วระหวางประเทศ และตนทุนทาง วัฒนธรรมของบานผานมเอง ทวาการรับรูของคนภาย นอกเกี่ยวกับสถานภาพใหมนี้เกิดขึ้นจากกระบวนการ ผลิตสรางความหมายใหกบั ผูค น สถานที่ และวัฒนธรรม ใหมีความนาสนใจ นาบริโภค นาทองเที่ยวผานตัวบท ตาง ๆ ในโลกของขอมูลขาวสาร ในอุตสาหกรรมทองเทีย่ ว และรูปแบบวัฒนธรรมมวลชนในทองถิ่น ที่ตางฝาย ตางเขามาประชันขันแขงกันเสนอภาพของผานมอยาง หลากหลาย ทั้งเสริมกัน ลักลั่นและขัดแยงกัน ตัวอยางงานที่กลาวมาขางตน มีสวนที่สะทอน ให เ ห็ น พื้ น ที่ ข องการถกเถี ย งระหว า งการต อ สู  ท าง วัฒนธรรมที่การทองเที่ยวสงผลตอการเปลี่ยนแปลง วิถีชีวิตและถูกทุนนิยมกลืนกลายมาเปนสวนหนึ่งของ ชีวติ วัฒนธรรมกลายเปนพืน้ ทีข่ องการตอสูท างความคิด ที่คนที่ผลิตวัฒนธรรมเลือกที่จะนำ�มาอธิบายตัวตนของ ตนเอง ไมวาจะเปนการตอสูเพื่อจะดำ�รงอยูกับอำ�นาจ รัฐ หรืออำ�นาจทุนที่เขามา ในกรณีของบุญบั้งไฟจังหวัด ยโสธร หลายคนเห็นวางานดังกลาวเปนงานเพื่อการ ทองเที่ยวและหมดมนตขลังในเชิงคุณคาทางวัฒนธรรม โดยมองในแง ข องความสวยงามทางวั ฒ นธรรมหรื อ ยึดติดกับเนือ้ แททางวัฒนธรรมทีต่ นเองรับรูจ ากอดีต ใน ขณะเดียวกัน มุมมองและเงื่อนไขตางๆ ของคนในพื้น ที่สวนหนึ่งในฐานะผูผลิตวัฒนธรรมดังกลาวสวนหนึ่ง กลับเห็นวา วัฒนธรรมของตนไมไดเลือนหายและยังคง ดำ�รงอยูในพื้นที่ความทรงจำ�และพื้นที่จริงในรูปแบบที่ แตกตางจากในอดีต การทองเที่ยวกับบุญบั้งไฟยโสธร งานประเพณีบุญบั้งไฟยโสธรเปนงานประเพณี ขอฝนของชาวอีสานซึ่งเปนงานระดับนานาชาติที่ไดรับ การประชาสัมพันธจากการทองเที่ยวและหนวยงาน

การทองเที่ยวที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางในงานประเพณีบุญบั้งไฟ ปนวดี ศรีสุพรรณ, เยาวลักษณ อภิชาติวัลลภ, กนกวรรณ มะโนรมย

ทองถิน่ อยางตอเนือ่ ง การเปลีย่ นแปลงสูก ารเปนประเพณี เพือ่ การทองเทีย่ วอยางเต็มตัวเริม่ ขึน้ ราวป พ.ศ. 2519 2520 จากการพูดคุยตกลงกันระหวางเทศบาลตางๆ ใน การประชุมสันนิบาตเทศบาลในการพิจารณาวาจังหวัด ใดจะถือเอาบุญประเพณีใดเปนงานใหญประจำ�จังหวัด ซึง่ จังหวัดยโสธรก็ไดเลือกบุญบัง้ ไฟเปนประเพณีประจำ� จังหวัด และในชวงปนี้เปนจุดเปลี่ยนสำ �คัญของบุญ บั้งไฟยโสธร คือเมื่อองคกรสงเสริมการทองเที่ยวแหง ประเทศไทย (อ.ส.ท.) 6 ไดสนับสนุนดานงบประมาณและ การโฆษณาประชาสัมพันธ (พรอมกับการสนับสนุน ประเพณีประจำ�จังหวัดอื่นๆ ในชวงเวลาเดียวกัน) เดิมนั้น งานบุญบั้งไฟของชาวเมืองยโสธรจัด งานโดยการรวมตัวกันของคุมวัดและเปนงานในระดับ ชุมชน ตอมานับแตป 2509 ก็ไดเปลี่ยนแปลงจากงาน ของชาวคุมมาเปนงานที่เนนความรวมมือของชาวคุม และภาคสวนตางๆ หลายหนวยงานเขาดวยกันโดยมี เทศบาลเมืองเขามาเปนแมงานหลัก โดยในชวงป พ.ศ. 2519 - 2520 นั้นไดมีนายทุนเขามีสวนใหการสนับสนุน อย า งเต็ ม ที่ คื อ บริ ษั ท เครื่ อ งดื่ ม กระทิ ง แดงให ก าร สนับสนุนเปนผูสนับสนุนรายใหญรายแรกของจังหวัด ซึ่งสรางความฮือฮาใหกับคนในจังหวัดอยางมาก แสดง ใหเห็นถึงการทีท่ นุ นิยมไดเริม่ เขามาเปนสวนหนึง่ ในงาน ประเพณีอยางเต็มตัว และจะเห็นไดวาชวงเวลาการเขา ไปสนับสนุนการทองเทีย่ วของ อ.ส.ท. มีความสัมพันธกบั การสงเสริมจากนายทุนรายใหญทสี่ ง ผลตอการยกระดับ งานสูก ารทองเทีย่ วในระดับชาติ โดยในชวงป พ.ศ. 2520 2521 สวนพระยาแถนถูกสรางขึ้นจากงบประมาณที่ เหลือจากการจัดงานบุญบั้งไฟอันเปนผลสืบเนื่องจาก การยกระดับประเพณีบญ ุ บัง้ ไฟสูก ารทองเทีย่ วระดับชาติ จากนั้น ประเพณีบุญบั้งไฟก็พัฒนารูปแบบมาเรื่อยๆ โดยไดเกิดการเปลีย่ นแปลงวิธกี ารจัดการหลายอยาง จน กระทัง่ ป พ.ศ. 2534 ทางจังหวัดก็ไดเขามามีสว นรวมใน

__________________

6

ปจจุบันคือ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.)

111


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

การจัดงานกับเทศบาลเมืองอยางเต็มที่และไดปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหลายสิ่งหลายอยางเพื่อเปนการพัฒนา ทั้งในดานโครงสรางและระบบการจัดการเปนการยก ระดับและปรับปรุงงานประเพณีดังกลาวเขาสูตลาดการ ทองเที่ยวเชิงอุตสาหกรรมระดับชาติ (สถิต ภักดิ์ศรีแพง และ สุรชัย ขันชัยภูมิ 2535 : 3) ปจจุบนั หนวยงานทีม่ บี ทบาทดานการสนับสนุน ดานการทองเที่ยวงานบุญบั้งไฟของยโสธรก็คือการ ทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) และทองเที่ยว และกีฬาจังหวัดยโสธร สำ�หรับบทบาทของ ททท. นั้น เป น หน ว ยงานสนั บ สนุ น ด า นงบประมาณและการ ประชาสัมพันธเปนหลัก แตไมไดมบี ทบาทในการกำ�หนด กฎเกณฑ ตางๆ ในการจัดงานมากนัก แมจะมีเจาหนาที่ ผู  ป ฏิ บั ติ ง านจะให คำ � แนะนำ � ต า งๆ แต ก ระบวนการ ตัดสินใจในรูปแบบจัดงานก็ยังอยูที่เทศบาลเมืองเปน หลัก สวนทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดยโสธร มีบทบาท หลักในการสนับสนุนดานการประชาสัมพันธและการ จัดหางบประมาณ รวมถึงใหคำ�ปรึกษาในการจัดงาน โดยในบรรดาหนวยงานระดับปฏิบัติในจังหวัดยโสธร มุมมองหรือคำ�แนะนำ�ของเจาหนาที่ดานการทองเที่ยว ดูจะไดรับความสนใจมากกวาเนื่องจากมีบทบาทสูงใน การหาเงินสนับสนุนและการประชาสัมพันธ จากการศึกษาของ นิธิ เอียวศรีวงศ (2536 : 92-93) พบวา ททท. ไมไดมีบทบาทหรือเปลี่ยนแปลง โครงสรางของประเพณีบุญบั้งไฟมาก โดยมองวาบุญ บั้งไฟถูกผลกระทบจากการทองเที่ยวนอยมาก แบบ แผนคานิยมของนักทองเที่ยวที่ไมตางกันก็ไมไดสงผล ตอคนทองถิน่ มากนัก แตมเี หตุปจ จัยหลายอยางทีส่ ง ผล ตอการเปลีย่ นแปลง และบุญบัง้ ไฟจะตองเปลีย่ นแปลงไป ตามกาลเวลาอยูแลว อยางไรก็ดี ดวยการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมวัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลงขององคกร ต า งๆ ที่ เ ข า ไปมี ส  ว นร ว มในการจั ด งานบุ ญ บั้ ง ไฟที่ แตกต า งไป ผูเขียนเห็นวางานบุญบั้งไฟในป จ จุ บั น ควรจะไดรับการพิจารณาอีกครั้งวาบุญบั้งไฟไดรับผล กระทบจากการทองเที่ยวในบริบทที่เปลี่ยนไปนี้หรือไม โดยเฉพาะในปจจุบันบุญบั้งไฟของเมืองยโสธรไดยก ระดับสูก ารเปนประเพณีนานาชาติและถูกพัฒนารูปแบบ การจัดงานทัง้ มีการปรับเปลีย่ นในเรือ่ งการบริหารจัดการ

112

การขยายวันเวลาในการจัดงาน การพัฒนาองคประกอบ ใหมๆ เขามาชวยสรางความสนุกสนานในงานทีเ่ พิม่ มาก ขึน้ ซึง่ รูปแบบทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปเกิดจากการเปลีย่ นแปลง ทั้งแนวคิดและปฏิบัติการอันเกิดจากผูกระทำ�การที่เขา มามีสว นรวมในการเปลีย่ นแปลงหลายสวนดวยกัน โดย พบวา แมวา ประชาชนในพืน้ ทีจ่ ะใหความเห็นวาอิทธิพล จากการทองเที่ยวสงผลตอการเปลี่ยนแปลงของงาน ประเพณีนอยเพราะไมไดใหประโยชนแกชาวชุมชนใน เชิงเศรษฐกิจ ยกเวนกลุมนายทุนที่มีฐานะที่ประกอบ กิจการที่สอดรับกับงาน เชน โรงแรม แตกิจกรรมตางๆ ที่ถูกผลิตขึ้นในงานดังกลาวนั้น สวนหนึ่งเปนผลสืบ เนื่องจากการกระตุนการทองเที่ยวที่เขามาสงเสริมการ จัดงานและยังไดมีการใชการทองเที่ยวมาสรางความ ชอบธรรมในการจัดกิจกรรมบางอยาง ดังจะกลาวถึงใน หัวขอถัดไป การท อ งเที่ ย วกั บ การเปลี่ ย นแปลงเชิ ง โครงสรางของประเพณีบุญบั้งไฟ แมจากการศึกษาของ นิธิ เอียวศรีวงศ (2536 : 92-93) พบวาสิ่งที่สำ�คัญก็คือ งานบุญบั้งไฟเกิดจาก ความต อ งการของท อ งถิ่ น เอง และนั ก ท อ งเที่ ย วมี ผลนอยตอการเปลี่ยนแปลงของประเพณีของทองถิ่น ก็ตาม แตในปจจุบัน จะพบวาการทองเที่ยวยังคงเปน ปจจัยหนึ่งในการดึงดูดผูคนเขามาชมงาน และสงผล ตอปฏิบัติการที่เปนรูปธรรมของประชาชนในพื้นที่ และ การท อ งเที่ ย วยั ง เป น ป จ จั ย หนึ่ ง ที่ ทำ � ให ห น ว ยงาน ราชการในระดับทองถิ่นตองสรางนโยบายและผลักให เกิดผลงานที่เปนรูปธรรม โดยไมไดเนนนักทองเที่ยว ชาวตางประเทศหรือนอกภูมิภาค แตใหความสำ�คัญตอ ชาวอีสานในฐานะของผูชื่นชอบงานดังกลาวมากที่สุด ในกรณีของบุญบั้งไฟเมืองยโสธร กำ�ลังซื้อของ นั ก ท อ งเที่ ย วไม ไ ด ไ ปกำ � หนดการเปลี่ ย นแปลงของ ทองถิ่น แตทองถิ่นเองก็ใชประโยชนจากการทองเที่ยว ตอบสนองตอความตองการของคนในพื้นที่ที่มีความ หลากหลายโดยอิงกับความตองการของนักทองเทีย่ วใน การสรางความชอบธรรมใหกับปฏิบัติการตางๆ แทนที่ ตัวอยางเชน การสรางเวทีกองเชียรโดยนำ�เหตุผลดาน ความชื่นชอบของชาวตางชาติมาเปนเหตุผลประกอบ นอกจากนี้ คนในพื้นที่อื่นที่จัดงานบุญบั้งไฟก็เขามา


ใชประโยชนจากการเปนศูนยกลางของนักทองเที่ยว ที่ ชื่ น ชอบบุ ญ บั้ ง ไฟเพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ ง านต อ นั ก ท อ งเที่ ย วเหล า นี้ ใ ห ไ ปเที่ ย วต อ ยั ง งานของตนด ว ย นอกจากนี้ การเปนประเพณีที่มีความยิ่งใหญทำ �ให ประเด็นเรื่องศักดิ์ศรี ความภาคภูมิใจ และการจัดงาน ใหสมกับเปนประเพณีในระดับชาติท�ำ ใหแตละฝายตอง สรรหาองคประกอบที่ดีที่สุดมานำ �เสนอทั้งตอสายตา นั ก ท อ งเที่ ย วและของชาวเมื อ งเอง ส ง ผลต อ การ เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางของประเพณีทั้งโครงสราง ของกิ จ กรรมและโครงสร า งความสั ม พั น ธ ซึ่ ง มาจาก การผลิ ต ซ้ำ � จิ ต สำ � นึ ก ของประชาชนในพื้ น ที่ จ นกลาย เป น ประเพณี ใ นเชิ ง สั ญ ญะและส ง ผลต อ โครงสร า ง ความสัมพันธของประชาชนชาวเมืองยโสธรในฐานะ ที่เปนทั้งผูผลิตวัฒนธรรมและเปนผูบริโภควัฒนธรรม ดวย กลาวคือ ประการแรก การทองเที่ยวสงผลตอปฏิบัติการ ในเชิงจิตสำ�นึกของประชาชนในพื้นที่ ภายหลั ง จาก การเปนงานบุญประเพณีระดับชาติ งานบุญประเพณี ตางๆ ก็ไดกลายเปนเอกลักษณประจำ�ทองถิ่น แมวา ประเพณีบญ ุ บัง้ ไฟจะพบเห็นไดทวั่ ไปในภาคอีสานก็ตาม ไมเฉพาะแตประเพณีบุญบั้งไฟของยโสธร แตประเพณี แหเทียนพรรษาของอุบลราชธานี หรือการแหปราสาท ผึ้งของสกลนคร เปนตน ก็ลวนแลวไดรับการเชิดชูและ ประชาสัมพันธจนกลายเปนสัญลักษณประจำ�ถิ่นโดย เฉพาะจากหนวยงานทองถิ่นที่เปนผูรับผิดชอบในการ จัดงาน โดยสัญลักษณประจำ�ถิ่นนี้ไดถูกถายทอดผาน คำ�ขวัญประจำ�จังหวัด ปายถนนหนทาง ตราประจำ�หนวย งานราชการบางแหง หรือแมแตสโมสรฟุตบอล เปนตน ดังนัน้ ในจิตสำ�นึกของคนยโสธรหลายคนในปจจุบนั มอง วาบุญบัง้ ไฟกลายเปนประเพณีเฉพาะของคนยโสธรและ ตางมีความภาคภูมิใจในประเพณีเปนอยางมาก ในการ จัดงานแตละป เหตุผลดานชือ่ เสียงหนาตาและความภาค ภูมใิ จและความยิง่ ใหญของการจัดงานจึงมีมากขึน้ เรือ่ ยๆ เพื่อไมใหนอยหนาพื้นที่อื่น บุญบั้งไฟในปจจุบันได กลายมาเปนสัญลักษณของเมืองยโสธรอันเปนผลจาก ปฏิบัติการผลิตซ้ำ�จิตสำ�นึกที่ไดสั่งสมมาจนกลายเปน สัญญะทางสังคมที่ผูกติดกับสำ�นึกเชิงวาทกรรมอยาง เหนียวแนน ซึ่งมาจากการกระตุนของการทองเที่ยว

การทองเที่ยวที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางในงานประเพณีบุญบั้งไฟ ปนวดี ศรีสุพรรณ, เยาวลักษณ อภิชาติวัลลภ, กนกวรรณ มะโนรมย

ในทางออมทำ�ใหการสรางสรรคงานในแตละครั้งมีเหตุ ผลดานชือ่ เสียงความภาคภูมใิ จมาประกอบ และเกิดการ จัดงานที่มีความยิ่งใหญมากขึ้น รวมถึงคาใชจายที่เพิ่ม มากขึ้นตามมา โดยคาใชจายดังกลาวสงผลตอการคิด คำ�นวณความคุมทุนของประชาชนในการจัดงานแตละ ครัง้ ดวย อีกทัง้ ขอจำ�กัดดานทรัพยากรอันเปนผลจากการ เปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมที่กลายเปนเมืองทำ�ให เกิดการวาจางองคประกอบของขบวนแหมาแทนการ สรางสรรคของชุมชนเกือบทั้งหมด สงผลใหประชาชน ในพื้นที่กลายเปนผูผลิตในเชิงสัญญะและกลับบทบาทสู การเปนผูชมและกลายบทบาทเปนผูบริโภควัฒนธรรม ไปโดยปริยาย ประการที่สอง ทุนนิยมที่เขามาพรอมกับการ ทองเที่ยวสงผลตอความสัมพันธของประชาชน เมื่อ ทุนนิยมไดเขามาพรอมกับการสนับสนุนดานทองเที่ยว ป จ จั ย ทางเงิ น จึ ง เข า มามี ส  ว นในการเปลี่ ย นแปลง โครงสรางความสัมพันธทางการผลิตวัฒนธรรมของ ประชาชนโดยมีการคิดคำ�นวณความคุม คาคุม ทุนในการ จั ดงานมากขึ้ น แทนที่ จ ะตอบสนองตอ ความตองการ ดานจิตใจในดานการอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีหรือ การขอฝนใหเกิดความอุดมสมบูรณพรอมรับกับฤดูกาล ทำ�การเกษตรเพียงอยางเดียว เนื่องจากการจัดงานที่ มีความยิ่งใหญมากขึ้น ยิ่งเพิ่มความคาดหวังตอเงิน สนับสนุนจากหนวยงานภายนอกชุมชนมีมากขึ้นทุกป จากเดิมที่มีการเรี่ยไรเงินภายในชุมชนก็มีการขอรับเงิน สนับสนุนจากบริษัทหางรานใหญนอยและบริษัททุน ขนาดใหญ ประกอบกับปจจัยดานการเปลี่ยนแปลง โครงสรางทางสังคมไดเปลีย่ นแปลงไป ยโสธรไดเปลีย่ น สูสังคมเมืองอยางเต็มตัว ชาวชุมชนไมไดผูกพันกับวิถี ชีวิตแบบเกษตรกรรมเหมือนดังเดิม และการคมนาคม สื่อสารและเทคโนโลยีที่รวดเร็ว ในยุคโลกาภิวัตน ทำ�ให ประชาชนในพื้น ที่ไดเรียนรูในการปรับเปลี่ยนวิธีคิด เพื่ อ ตอบสนองต อ สภาพสั ง คมที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปและ รับกับความตองการของตนเองที่ยังตองการใหมีการจัด ประเพณีอยางตอเนื่อง ประการที่สาม เกิดการผลิตกิจกรรมเพื่อตอบ สนองตอการทองเที่ยว ดังที่กลาวมาในยอหนาที่แลววา ประชาชนในพื้ น ที่ เ รี ย นรู  ที่ จ ะปรั บ เปลี่ ย นตั ว เองเพื่ อ

113


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ตอบสนองสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ประชาชนใน ทีน่ สี้ ามารถแบงออกไดเปนหลายกลุม และตางเขาไปใช พื้ น ที่ บุ ญ บั้ ง ไฟในการตอบสนองต อ ความต อ งการที่ แตกตางกัน โดยเฉพาะความสัมพันธในพื้นที่เมืองที่ ปฏิสัมพันธระหวางผูคนมีความไมเหนียวแนนเหมือน สังคมชนบท ประกอบกับชีวิตแบบปจเจกที่มีมากขึ้นใน ยุคโลกาภิวัตน ทำ�ใหการสรางกิจกรรมบางอยางใน งานบุญบั้งไฟ จึงไมไดขึ้นอยูกับการควบคุมของชุมชน เหมือนดังแตกอน และโดยเฉพาะแนวคิดหนึ่งในการ จัดงานบุญบั้งไฟคือเปนพิธีกรรมที่เปดโอกาสใหผูคน หลีกหนีจากแรงกดดันที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำ�วัน (นิธิ เอียวศรีวงศ 2536 : 19) ดังนั้น รูปแบบของประเพณีจึง เอื้อใหเกิดการสรางสรรคกิจกรรมใหม และมีเทคโนโลยี สมั ย ใหม เ ข า มามี ส  ว นช ว ยสร า งความบั น เทิ ง ด ว ย นอกจากนี้ ก็มีการสรางสรรคกิจกรรมภายในประเพณี ขึน้ ใหมของหนวยงานทองถิน่ ทีต่ อ งการสรางผลงานและ เปนการดึงดูดนักทองเที่ยวดวย เชน กิจกรรมคารนิวัล เปนตน นอกจากนี้กิจกรรมที่ผลิตขึ้นใหม เชน เวทีกอง เชียร ก็เปนตัวอยางหนึ่งของกิจกรรมที่ใชเหตุผลดาน การทองเที่ยวประกอบ โดยเวทีกองเชียรนี้เกิดจากการ รวมกลุมของคณะบั้งไฟในพื้นที่ และกลุมเพื่อนที่เขามา พบปะสังสรรคในงานบุญบั้งไฟจนกลายเปนกิจกรรมที่ เปนแบบแผนหนึง่ ในงานของเมืองยโสธรและไดขยายไป ยังพื้นที่อื่น เวทีกองเชียรดังกลาวเปนเวทีที่มีการกินดื่ม และรองรำ�ทำ�เพลงอยางสนุกสนานรื่นเริง โดยการสราง ความชอบธรรมใหเวทีกองเชียรยังคงมีอยางตอเนื่อง โดยมีบทบาทสถานะใหมในฐานะที่เปนศูนยรวมญาติ สนิทมิตรสหาย และดึงดูดใหลูกหลานกลับบาน และยัง ถูกอธิบายดวยเหตุผลดานการทองเทีย่ วเสริม เชน “ฝรัง่ เขามาเขากะมัก” กลาวคือมีความเชื่อวาชาวตางชาติ ชอบความสนุกสนานครื้นเครงและเวทีกองเชียรเปน กิจกรรมทีน่ กั ทองเทีย่ วไดเขามามีสว นรวมในงาน ซึง่ ก็มี ชาวต า งชาติ ที่ ชื่ น ชอบกิ จ กรรมดั ง กล า วจริ ง โดยชาว ตะวันตกกลุมหนึ่งไดใหสัมภาษณวามีความชื่นชอบ “Music and dancing at night” ในขณะที่นักทองเที่ยว ตางชาติบางคนก็ใหความเห็นในทางตรงกันขาม ซึ่ง แสดงให เ ห็ น ว า วาทกรรมด า นการท อ งเที่ ย วได ถู ก

114

กลุมคนดังกลาวหยิบยกขึ้นใชเพื่อตอบสนองตอความ ตองการเชิงบริโภคของกลุม ไมใชเพื่อตอบสนองตอ การทองเที่ยวทั้งหมด การผลิตกิจกรรมใหมๆ นี้เปน ตัวอยางหนึ่งที่ชาวชุมชนตางเห็นตรงกันวา “บแมน ประเพณี” แมจะมีคนที่ไมเห็นดวย แตก็ไมไดเรียกรอง ใหยกเลิกกิจกรรมดังกลาวอยางจริงจัง โดยสวนหนึง่ เห็น วาเปนกิจกรรมที่ทำ�ใหเกิดการรวมตัวของชุมชนและ การทำ � กิ จ กรรมของชุ ม ชนในอี ก รู ป แบบหนึ่ ง แสดง ให เ ห็ น โครงสร า งของบุ ญ บั้ ง ไฟได เ ปลี่ ย นแปลงสู  โครงสรางที่เนนความสนุกสนานมากขึ้นซึ่งกำ�ลังเขา แทนที่การเนนดานพิธีกรรมดั้งเดิมมากขึ้นเรื่อยๆ อยางไรก็ดี ปจจัยดานการทองเที่ยวไมใชเปน เหตุผลเดียวที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงของประเพณี ปจจัยที่สำ�คัญอื่นๆ คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการเปลี่ยนแปลงของกฎเกณฑ และทรัพยากรที่ใชในงานดังกลาว รวมถึงความเชื่อที่ ลดนอยลงในยุคโลกาภิวัตน ตางลวนเปนปจจัยสำ�คัญ ที่ผลักใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ขึ้น อภิปรายการเปลี่ยนแปลงที่มาจากการทองเที่ยว ของงานบุญบั้งไฟ จากกรณี ข องบุ ญ บั้ ง ไฟ เราจะเห็ น ว า การ ทองเที่ยวสงผลในทางออมในการผลักใหเกิดปฏิบัติการ ดานจิตสำ�นึกของผูคนในทองถิ่น และนักทองเที่ยว ก็ไมไดมีผลตอการเปลี่ยนแปลงงานมากเทากับความ ตองการของคนในพื้นทีเ่ อง นอกจากนี้ การทองเทีย่ วยัง มีความสำ�คัญในระดับนโยบายที่สงผลใหเกิดการผลิต กิจกรรมใหมๆ ขึน้ ในงาน โดยมีผทู เี่ กีย่ วของหลากหลาย ภาคสวน ทั้งชาวเมือง ชุมชน นักการเมือง นักธุรกิจตาง ก็เขาไปมีสวนเกี่ยวของในการจัดงานและประสานผล ประโยชนที่ตอบสนองความตองการของทุกฝายโดยมี ระบบการจัดการเชิง สถาบั น เขาไปมีสว นสำ�คัญ ซึ่ง ทำ�ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางภายในกิจกรรม ของประเพณี และเปลี่ยนความสัมพันธระหวางผูผลิต ประเพณีกับตัวประเพณีดังกลาวมาแลว ในขณะที่ ป ระชาชนในพื้ น ที่ ม องว า การ เปลี่ ย นแปลงงานบุ ญ บั้ ง ไฟของเขาเป น สิ่ ง ที่ จ ะต อ ง เกิดขึ้นตามยุคสมัย แมจะมีสิ่งที่ไมใชประเพณีเกิดขึ้น


ชาวชุมชนตางยืนยันวา “ทุกอยางตองมีการเปลีย่ นแปลง จะใหบญ ุ บัง้ ไฟเปนเหมือนกอนก็เปนไปไมได” เชนเดียว กับความเห็นของ วิลเลียม เจ. คลอสเนอร (คลอสเนอร 2545 : 62) ที่เห็นวาเทศกาล การประกอบพิธีกรรมใด ก็ตามมีชวงของการเปลี่ยนแปลง บางครั้งก็เปลี่ยนไป มากแตชวงเวลาสั้นๆ แตก็มีจังหวะของมัน แตเขา ก็ใหความเห็นเพิม่ วาควรจะเปนไปในรูปแบบทีช่ าวบาน เปนผูเ ปลี่ยนแปลงดวยตนเอง ไมใชจากบุคคลภายนอก ไมวา จะเปนรัฐ นักทองเทีย่ ว หรือผลประโยชนทางธุรกิจ หากการเปลีย่ นแปลงใดๆ ไมไดเกิดขึน้ เองโดยธรรมชาติ ผลกระทบที่จะตามมายอมเกิดเปนผลเสียแกชุมชนเอง อยางไรก็ดี ในโลกยุคโลกาภิวัตน เราจะหลีกเลี่ยงจาก การเขาไปหาผลประโยชนหรือหลีกเลี่ยงการรุกเราของ ความคิดแบบสมัยใหมทเี่ ขาไปมีสว นในการเปลีย่ นแปลง ความคิด วิถีชีวิต และสงผลตอการเปลี่ยนแปลงตางๆ ของสภาพสังคมนั้น เปนไปไดยาก ในประเด็นการตั้ง คำ�ถามตอการทองเที่ยวและการตีคาวัฒนธรรมในเชิง มูลคาทำ�ใหเกิดการเสื่อมถอยทางวัฒนธรรมนั้น ผูเขียน เห็นวา การทองเที่ยวในงานบุญบั้งไฟไมไดสงผลตอ ประชาชนในการสรางคุณคาเชิงเศรษฐกิจมากเทากับ เป น ป จ จั ย ผลั ก หนึ่ ง ให เ กิ ด การผลิ ต ซ้ำ � จิ ต สำ � นึ ก เชิ ง วาทกรรม และในอีกทางหนึ่ง การทองเที่ยวกลับถูกใช ประโยชนที่ตอบสนองตอความตองการของคนในพื้นที่ แทน ดั ง นั้ น การมองเรื่ อ งความเสื่ อ มถอยของ วัฒนธรรมจึงอยูท กี่ ารใหคณ ุ คากับความเปนเนือ้ แททาง วัฒนธรรมหรือเนื้อหาที่เรารับรูจากอดีตหรือความทรง จำ�มากเพียงใด สาระสำ�คัญของการจัดงานบุญบั้งไฟ จึงไมควรมองที่การสูญสลายของจารีตประเพณีของ ชุ ม ชนท อ งถิ่ น ดั ง ที่ เ คยเป น มา ไม ใ ช ก ารสู ญ สลาย ชีวิตทองถิ่นหรือปฏิบัติการในแบบทองถิ่น แตเปนการ เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางของประเพณี ซึ่งทำ�ใหเกิด การสร า งสรรค กิ จ กรรมใหม แ ทรกอยู  ใ นแนวคิ ด และ ปฏิบัติการแบบดั้งเดิม ซึ่งกิจกรรมเหลานี้ตอบสนอง ทั้งอุดมการณการทองเที่ยว และตอบสนองอุดมการณ คานิยมสมัยใหมดวย ซึ่งเราไมสามารถจะระบุไดวา แบบใดคือเนื้อแทของประเพณี จารีตประเพณีจึงเปน วิธีการวาดวยความเปนจริงในอดีต ในสังคมที่มีการ

การทองเที่ยวที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางในงานประเพณีบุญบั้งไฟ ปนวดี ศรีสุพรรณ, เยาวลักษณ อภิชาติวัลลภ, กนกวรรณ มะโนรมย

บันทึกประวัติศาสตรจึงอาจจะมีการสรางความตอเนื่อง ของเนื้อแทของประเพณีในอดีตที่เหมาะสมผานมุมมอง ที่ตางกัน (Giddens 1994) อยางไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการ ท อ งเที่ ย ว ทั้ ง โดยทางตรงและทางอ อ มอั น เกิ ด จาก ผูกระทำ�การหลายฝายที่กลาวขางตน แสดงใหเห็น ความสำ�คัญทีช่ าวชุมชนและรัฐทองถิน่ ในฐานะผูเ ปนเจา ของวัฒนธรรมตองรับมือหรือคิดใครครวญตอการผลิต กิจกรรมที่ไมอาจจะเล็งเห็นผลเสียหรือผลที่ไมคาดคิด ในอนาคต (Unintended consequences) โดยในแตละ พื้นที่จะตองทำ�ความเขาใจและพึงระลึกอยูเสมอวา การ จัดงานบุญบั้งไฟตองไดรับการจัดการดวยการนำ�เสนอ ภาพการจัดงานอยางถูกตอง ตองสรางการตระหนักรู รวมกันของชาวบานและภาครัฐในการรับมือกับพลวัต ทางวั ฒ นธรรมที่ เ กิ ด ขึ้ น การสร า งคุ ณ ค า ใหม ข อง ประเพณีอาจจะเกิดขึ้นแตตองระมัดระวังวาการสราง คุณคาใหมตองไมเปนการใชขออางเดิมเพื่อการตอบ สนองผลประโยชนของคนบางกลุมเทานั้น และที่สำ�คัญ ภาครั ฐ จะต อ งไม ห  ว งแต ผ ลประโยชน ท างเศรษฐกิ จ จนเปนผูบ ดิ เบือนวัฒนธรรมเสียเอง การกระทำ�บางอยาง อาจจะถูกอางความชอบธรรมในการกระทำ� ซึง่ ตองไดรบั การวิพากษวิจารณในเรื่องนี้อยางเขมขน สรุป ประเด็นที่ผูเขียนนำ�เสนอในที่นี้คือ หนึ่ง การ ทองเที่ยวมีอิทธิพลในการผลักใหเกิดการเปลี่ยนแปลง เชิ ง โครงสร า งของประเพณี บุ ญ บั้ ง ไฟแต ไ ม ใ ช เ ป น ปจจัยเดียวที่ทำ�ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสราง ของประเพณี บุ ญ บั้ ง ไฟ ป จ จั ย อื่ น ๆ ที่ ส  ง ผลตอการ เปลี่ยนแปลง เชน การเปลี่ยนแปลงของโครงสรางทาง สังคมเศรษฐกิจและการเมืองในระดับมหภาคซึ่งไมได กลาวถึงในทีน่ กี้ เ็ ปนประเด็นสำ�คัญทีต่ อ งนำ�มาพิจารณา ดวย สอง การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางเหลานี้ไมได เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงภายใตนโยบายที่มาจาก อำ�นาจรัฐสวนกลางซึ่งเปนโครงสรางใหญของประเทศ แตผกู ระทำ�การในแตละระดับตางมีสว นเกีย่ วของในการ เปลี่ยนแปลง ไมเพียงแตภาครัฐเปนผูเปลี่ยนแปลงหรือ นำ�การทองเที่ยวมาสูการจัดงานในพื้นที่ แตประชาชน

115


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ก็ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ภายใตเงื่อนไข และบริบททางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปโดยเฉพาะการ เปลีย่ นแปลงของทรัพยากรในพืน้ ที่ โดยตางตองการใหมี การจัดงานประเพณีอยางตอเนื่อง เหลานี้ เปนกระบวน การที่ แ สดงถึ ง ความสามารถในการกระทำ � ระหว า ง ผูกระทำ�การตางๆ ที่สะทอนรับมือตอรองและสะทอน คิ ด ต อ กระบวนการสร า งประเพณี ที่ ต อบสนองต อ วัตถุประสงคที่แตกตางกัน เชน การอนุรักษประเพณี 

116

การทองเที่ยว ความสนุกสนาน เปนตน และ สาม การ ทองเที่ยวยังเปนปจจัยหนึ่งที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมวัฒนธรรมทั้งในทางตรงและทางออม ฉะนั้น ในการจัดงานประเพณีตางๆ ผูจัดงานควรคำ�นึงถึงผล กระทบและควรพิ จ ารณาร ว มกั น ระหว า งผู  มี ส  ว นได สวนเสียเพื่อรับมือกับพลวัฒนธรรมทางวัฒนธรรมที่ จะเกิดขึ้นในอนาคต






การทองเที่ยวที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางในงานประเพณีบุญบั้งไฟ ปนวดี ศรีสุพรรณ, เยาวลักษณ อภิชาติวัลลภ, กนกวรรณ มะโนรมย

เอกสารอางอิง ภาษาไทย คลอสเนอร, วิลเลียม เจ. (2545). ประเพณีการผูกเสี่ยวและเทศกาลบุญบั้งไฟ. ใน วัฒนธรรมไทยในชวงการ เปลี่ยนแปลง (Thai Culture in Transition), 51-63. พรพธู รูปจำ�ลอง, ผูแปล. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ เจมส เอช. ดับเบิลยู. ทอมปสัน ในพระอุปถัมภของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี. นิธิ เอียวศรีวงศ. (2536). ทองเที่ยวบุญบั้งไฟในอีสาน : บุญบั้งไฟตองรับใชชาวยโสธร ไมใชชาวยโสธรรับ ใชบุญบั้งไฟ. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพมติชน. ภาคภูมิ นอยวัฒน. (สิงหาคม 2553). สุดยอดแหลงทองเที่ยวไทยในดวงใจ. นิตยสาร อสท 51, 1. สถิต ภักดิ์ศรีแพง และ สุรชัย ขันชัยภูมิ. (2535). เที่ยวงานประเพณีบุญบั้งไฟ จังหวัดยโสธร 2535. (สูจิบัตร งานบุญบั้งไฟป 2535). ยโสธร: คณะกรรมการประชาสัมพันธ งานประเพณีบุญบั้งไฟ จังหวัดยโสธร 2535. สันติพงษ ชางเผือก. (2546). “ลื้อผานม : การพัวพันทางวัฒนธรรม” ใน พื้นที่ทองเที่ยวแขวงหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม. สุนิสา ฉันทรัตนโยธิน. (2546). ผลกระทบของการทองเที่ยวตอชุมชน : กรณีศึกษาหมูบานดอยปุย ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม. วิทยานิพนธสังคมวิทยามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สุรีย บุญญานุพงศ และ สุรศักดิ์ ปอมทองคำ�. (2537). ประเพณีเพื่อการทองเที่ยว : จุดเปลี่ยนของระบบความ สัมพันธทางสังคม. เชียงใหม: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม. อานันท กาญจนพันธ. (2549). วัฒนธรรมทางเศรษฐกิจในเศรษฐกิจไรวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: คบไฟ. ภาษาอังกฤษ Giddens, Anthony. (1994). Living in a Post-Traditional Society. In Ulrich Beck, Anthony Giddens, and Scott Lash. Reflexive modernization : politics, tradition and aesthetics in the modern social order, 56-109. Cambridge: Polity Press. Miharu, Azuma. (2003). Tourism in East Asia and globalization. [Online]. Retrieved January 6, 2009. from http://www.sociology.cass.cn/iis2003beijing/en/AS/S73-1.htm

117



นัยทางการเมืองใน “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน”1 Political Implication in “Sae Pha Khun Chang – Khun Phaen” กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ2 Kittisak Jermsittiparsert บทคัดยอ งานวิจัยนี้เปนการศึกษานัยทางการเมืองในหนังสือ “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ โดยมีวัตถุประสงคเพื่ออธิบายนัยทางการเมือง ทั้งในมิติของความคิดทางการเมืองที่ปรากฏในตัวบท ตลอดจนบริบท และวาระทางการเมืองทีข่ บั เคลือ่ นใหเกิดการตรวจชำ�ระและจัดพิมพหนังสือเลมนี้ ขึน้ เมือ่ ป พ.ศ. 2460 ดวยการตีความ ตัวบทอยางละเอียด และการวิเคราะหเชิงบริบท ผลการวิจัยพบวา ตัวบทของหนังสือ “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดฯ สามารถเปนภาพแทน ความจริงของสังคม ที่จะเนนย้ำ�ใหเห็นถึงปฏิสัมพันธเชิงอำ�นาจระหวางผูคนในชนชั้นตางๆ ทั้งยังแฝงไวดวยแนวคิด เรือ่ งความจงรักภักดี โดยเฉพาะอยางยิง่ ของขาราชการทหารตอสถาบันพระมหากษัตริย ซึง่ เมือ่ พิจารณาควบคูไ ปกับ สถานะและบทบาทของ สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ สภานายกหอพระสมุดฯ ขณะนัน้ รวมถึงบริบทของรัฐไทย ในหวงเวลาดังกลาว ทำ�ใหสนั นิษฐานไดวา การเกิดขึน้ ของหนังสือเลมนี้ มินา ทีจ่ ะเปนไปเพียงเพือ่ “รักษาหนังสือกลอน เปนอยางดีในภาษาไทยไวใหถาวร” ดังทีพ่ ระองคทรงกลาวไว กระทัง่ ยึดถือกันในปจจุบนั เทานัน้ หากแตนา ทีจ่ ะเปนไป เพื่อวัตถุประสงคทางการเมือง ที่ทรงมุงหมายจะปลูกฝงความจงรักภักดีตอสถาบันพระมหากษัตริย ใหเกิดขึ้นใน หมูประชาชน โดยอาศัยภาพแทนความจริงดังกลาว เปนตัวแบบ คำ�สำ�คัญ: 1. สภาเรื่องขุนชาง – ขุนแผน. 2. นัยทางการเมือง. 3. ความจงรักภักดี. 4. รัฐชาติ.

__________________ 1 สวนหนึ่งจากวิทยานิพนธ เรื่อง “นัยทางการเมืองใน “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน”” ภายใตการควบคุมของ รองศาสตราจารย ดร.โกวิท วงศสุรวัฒน อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก และการสนับสนุนจาก โครงการใหทุนสนับสนุนการทำ�วิทยานิพนธ ประจำ�ป งบประมาณ 2551-2552 สถาบันพระปกเกลา เสนอตอ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพื่อความสมบูรณแหงปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร หมวดวิชาการปกครอง; ปรับปรุงจากบทความ เรื่อง “นัยทางการเมืองใน “เสภาเรื่องขุนชางขุนแผน”” เสนอในการประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแหงชาติ ครั้งที่ 12 โดยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน วันที่ 12-13 กุมภาพันธ 2552 ณ มหาวิทยาลัยขอนแกน และบทความ เรื่อง “นัยทางการเมืองใน “เสภาเรื่องขุนชางขุนแผน”” เสนอในการ ประชุมทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งที่ 47 โดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วันที่ 17-20 มีนาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร 2 นิสติ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

Abstract This research is a study of the political implication in the National Library version book named “Sae

Pha Khun Chang - Khun Phaen”. Its purposes are to describe the political implication which appeared in texts as political thought dimension and, there appeared the whole contexts with a political agenda to drive to the advents of archives scrutiny and settling publications in 1917 under the deliberately-particular performance of interpretation and contextual analysis. The research has evealed that texts in this aforementioned, the National Library version “Sae Pha Khun Chang - Khun Phaen”, had portrayed the real figures of society, particularly, the relationship among people’s castes in vertical power with disguising loyalty of military to the monarch. As the study has showed the status and role of Prince Damrong Rajanubhab, the president of the National Library, with the Thai State’s scenario at that time, we have come to a presumption that the advent of the mentioned book wasn’t only to maintain the Thai poetry scheme orderly in Thai language’s system as ultimately perfect as anticipated but also to establish the monarchism’s loyalty among Thai people by resorting the deeply-disguised figures as typically formed. Keywords: 1. Sae Pha Khun Chang - Khun Phaen. 2. Political Implication. 3. Loyalty. 4. Nation-State.

120


นัยทางการเมืองใน “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ

บทนำ� ในบรรดาวรรณคดีของไทย นับตัง้ แตอดีตจวบจน กระทั่งปจจุบัน “ขุนชางขุนแผน” ถือเปนเพชรน้ำ�เอก ที่ มี ผู  ก ล า วขานและนิ ย มอ า นกั น มากเป น ลำ � ดั บ ต น ๆ (กรมศิลปากร 2545 : คำ�นำ�) ความนิยมเชนวานี้ ทำ�ให มีผูสนใจนำ�เรื่อง “ขุนชางขุนแผน” ไปดัดแปลงเพื่อ เผยแพรในรูปแบบคำ�ประพันธที่หลากหลาย อาทิ บท ละคร รอยแกวฉบับตัดยอ นวนิยาย ภาพยนตร ละคร โทรทัศน และการตูน เปนตน (ณรงศักดิ์ สอนใจ 2548 : 72) ทั้งนี้ เนื่องมาจากความพิเศษจากวรรณคดีอื่นๆ ที่ ตัวละครสำ�คัญๆ ของเรื่องเปนสามัญชนแทบทั้งสิ้น (กตัญู ชูชื่น 2543 : 6) มิใชเจาชายหรือเจาหญิง อยางเรื่องจักรๆ วงศๆ ซึ่งเต็มไปดวยคำ�วา พระทรงศรี หรือ เทวีเยาวยอด (ศุภร บุนนาค 2518 : 1-2) รวมถึง มีกษัตริยเปนตัวเอก (ธนาพล ลิ่มอภิชาติ และ วริศา กิตติคุณเสรี 2551 : 47) เชนเรื่องอื่นๆ ในยุคเดียวกัน จึ ง มิ ใ ช เ รื่ อ งอั ศ จรรย ที่ ว รรณคดี เ รื่ อ งนี้ จ ะได รั บ การ ยกยองอยางกวางขวาง ในฐานะที่สามารถสะทอนชีวิต ความเปนอยูของผูคน รวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณี และวิสัยของไทยในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนไดอยาง ครบถวน (คมทวน คันธนู 2541 : 128) จนถือกันวา เปนตัวแทนชีวิตแบบไทยๆ อยางแทจริง (ศุภร บุนนาค 2518 : 5) พิจารณาจากขอเดน ดังที่ หมอมราชวงศ คึกฤทธิ์ ปราโมช (2532 : 434-435) บรรยายถึงคุณคาของ วรรณคดีเรื่อง “ขุนชางขุนแผน” ที่มีตอการศึกษาเรื่อง เมืองไทย และเรื่องของคนไทยในยุคสมัยหนึ่งวา เสภา เรื่องขุนชางขุนแผน “เปนบันทึกเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี และชีวิตของคนไทย อาจเรี ย กได ว  า ใน สมัยอยุธยาทั้งหมดลงมาจนถึงรัชกาลที่ 4 แหงกรุง รัตนโกสินทร บันทึกนีม้ คี า มากในการศึกษา เกือบจะเรียก ไดวา ทุกอยางเกีย่ วกับคนไทย ตัง้ แตระบอบการปกครอง ระบบสังคม วัฒนธรรม ประเพณี และรายละเอียด ตางๆ เกี่ยวกับชีวิตความเปนอยูของคนในเมืองไทย เสภาเรื่องขุนชางขุนแผน จึงเปนวรรณกรรมเรื่องหนึ่ง ซึ่งจะตองรักษาไวใหจงได และเมื่อรักษาไวไดแลว ก็ จะตองมีการศึกษาหาความเขาใจ ใหไดมากที่สุดจาก วรรณกรรมเลมนี้… อันเปรียบเสมือนขุมทรัพยอนั ใหญ”

สอดคลองกับนักวิชาการ นักคิด นักเขียนหลายทาน “ขุนชางขุนแผน” จึงเปรียบเสมือนแหลงขอมูลสำ�คัญ ทางวิชาการ โดยเฉพาะอยางยิ่งทางดานสังคมศาสตร และมนุษยศาสตร ที่จะสามารถนำ�วรรณคดีเรื่องนี้ไป ศึกษาในมิติตางๆ ไดอยางกวางขวางและหลากหลาย หากแต เ มื่ อ ทำ � การสำ � วจเอกสาร และสื บ ค น ผลงานศึกษาวิจัยที่เกี่ยวของ กลับพบวา เกือบทั้งสิ้น ของผลงานศึกษาวิจยั เกีย่ วกับวรรณคดีเรือ่ งนี้ ถูกจัดทำ� ขึ้นโดยนักวิชาการ และมหาบัณฑิตทางดานภาษาไทย โดยเนนเฉพาะการศึกษา “ตัวบท” (ชุมสาย สุวรรณชมภู 2534) จำ�พวก แกนเรื่อง (ปรีดา นวลประกอบ 2542) สภาพสังคมและวัฒนธรรม (วรนันท อักษรพงษ 2516 ; ณัฐ สุขสวาง 2535 ; วัลลพ โหรวิชิต 2546) คานิยม (วิชาญ สวางพงศ 2530 ; ธีรเดช ชืน่ ประภานุสรณ 2538) ความเชือ่ (ทัศนีย สุจนี ะพงษ 2516 ; จันทรศรี นิตยฤกษ 2543) คุณคาเชิงวรณคดี (ศักดา ปนเหนงเพ็ชร 2517) และวรรณศิลป (ยมโดย เพ็งพงศา 2543 ; อัควิทย เรืองรอง 2543) ตลอดจนลักษณะนิสยั และพฤติกรรมของ ตัวละคร (ประจักษ ประภาพิทยากร 2527 ; สุนนั ทา โสรัจจ 2520 ; สุนันท จันทรวิเมลือง และ มิ่งขวัญ ทองพรมราช 2543ก, 2543ข, 2543ค, 2543ง ; ชลธิรา สัตยาวัฒนา 2550) ที่ปรากฏในบทเสภา เรื่อง “ขุนชางขุนแผน” เปนสำ�คัญ โดยไมปรากฏวาไดมีการนำ�วรรณคดีเรื่อง “ขุนชางขุนแผน” และหนังสือ “เสภาเรื่องขุนชาง ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ไปศึกษาในมิตทิ าง ดาน “รัฐศาสตร” อยางจริงจังมากอนแตอยางใด เทาที่พอจะใกลเคียงนั้น นาจะมีเพียงการศึกษา วิจัยในมิติของ “คานิยม” ทางดานการเมืองการปกครอง ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยเทาทีป่ รากฏในบทเสภา ดวยการวิเคราะหปฏิสมั พันธเชิงอำ�นาจ ระหวางพระมหา กษัตริยกับตัวละครสามัญชน (สุจิกา ยีมัสซา 2541 ; สุรีรัตน เทพหัสดิน ณ อยุธยา 2541) ซึ่งผลการศึกษา วิ จั ย ส ว นใหญ ล ว นออกมาในลั ก ษณะเดี ย วกั น กั บ ที่ หมอมราชวงศ คึกฤทธิ์ ปราโมช (2514 : 121) ไดเคย แสดงทัศนะไวแลววา “ขุนชางขุนแผนเปนนิยายการเมือง สงเสริมอำ�นาจของพระมหากษัตริย ผูแตงเจตนาให คนอานหรือคนฟงเสภาเห็นวา พระพันวษานั้นเปน องคเดียวกัน ตลอดจนปกครองคนตั้งแตปูยา ตา ยาย

121


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ลงมาถึงหลาน เหลน โหลน เปนอำ�นาจที่เที่ยงแท แตองคเดียว ตระกูลขุนแผนมีวชิ าอาคม มีฤทธิ์ มีอ�ำ นาจ ยิ่งกวาผูใดในอยุธยา แตก็ตองพายแพพระเดชานุภาพ ขุนไกรที่มีวิชานั้น พระพันวษาก็ตัดหัวเสีย ขุนแผนเกง ยิ่งกวาขุนไกรก็ตองเขาคุก นางวันทองอันเปนที่รักของ ขุนแผนแตคนเดียว ก็ถูกราชทัณฑถึงประหารชีวิต ลูก หลานขุนแผนมีวิชาความรูอยางไร ก็ตองใชวิชาเพื่อ ประโยชนแหงแผนดิน และเอาตัวรอดก็ดวยความจงรัก ภักดี เกรงกลัวพระเดชานุภาพเทานั้น คิดกบฏเปนตอง ตาย อาคมเสื่อมทันที” ทั้งสิ้น อยางไรก็ตาม ขอสรุปในทำ�นองเดียวกันเชนนี้ ยังถูกตั้งคำ�ถามจากนักวิชาการดานสังคมศาสตรอยาง สมเกียรติ วันทะนะ (2524 : 421) ตลอดจน คริส เบเคอร และ ผาสุก พงษไพจิตร (2551 : 136) อันเนื่องมาจาก คำ�พูดของสมภารคง เมื่อครั้งเณรแกวเดินทางไปหายัง วัดแค ที่มิไดแสดงถึงความจงรักภักดี หรือยำ�เกรงตอ พระมหากษัตริยแตอยางใด ความวา (กรมศิลปากร 2545 : 120-121) ครานั้นทานสมภารไดฟงวา อออือจริงหวาหาลืมไม กูชอบชิดเปนมิตรกับขุนไกร ยังแคนใจที่มันมวยไมตอมือ โดยจะสิ้นความคิดวิทยา จะซานมาหากูไมไดหรือ ถาใครกลาตามมาไมมีครือ จะฟนเสียใหลือเปนแทงลาว ถึงยกทัพนับหมื่นเต็มพื้นภพ จะผูกผาพยนตรบรับใหฉาว ไมทันลวงราตรีใหหนีกราว กลัวจะยกธงขาวไมชิงชัย

122

……………………….…... ……………………….…... กูเห็นแกขุนไกรที่ตายแลว อายเณรแกวนี้ก็เหมือนมันหนักหนา อยาอาวรณกูจะสอนสิ้นตำ�รา มิใหฆาเหมือนพอของมึงนี้ นอกจากนี้ เมือ่ พิจารณาถึงองคความรูใ นปจจุบนั เกีย่ วกับ “บริบท” ของวรรณคดีเรือ่ งนี้ พบวาผลการศึกษา วิจัยสวนมาก มักตั้งอยูบนขอวินิจฉัยของ สมเด็จฯ กรม พระยาดำ�รงราชานุภาพ ที่ทรงแสดงไวในพระนิพนธ เรื่อง “ตำ�นานเสภา” (กรมศิลปากร 2545 : (1)-(42)) “อธิบายบทเสภาเลม 2” (กรมศิลปากร 2545 : (43)-(48)) และ “อธิบายบทเสภาเลม 3” (กรมศิลปากร 2545 : (49)(52)) เพื่ออธิบายประกอบการตรวจชำ�ระบทเสภา และ จัดพิมพหนังสือ “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอ พระสมุดฯ เมือ่ ป พ.ศ. 2460 และ พ.ศ. 2461 เปนสำ�คัญ โดยเชื่อไปในทิศทางเดียวกันวา เรื่องราวที่ปรากฏใน วรรณคดีเรื่องนี้ มีเคาเรื่องจริงเกิดขึ้นในรัชสมัยของ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ระหวาง พ.ศ. 2034 ถึง พ.ศ. 2072 หรื อ ก อ นรั ช สมั ย ของ สมเด็ จ พระนารายณ ม หาราช เป น อย า งน อ ย ด ว ยมี ป รากฏหลั ก ฐานยื น ยั น อยู  ใ น พระราชพงศาวดารคำ�ใหการชาวกรุงเกา “เรื่องสมเด็จ พระพันวษา” (กรมศิลปากร 2511) เมื่อเวลาผานไป เรื่องราวดังกลาวจึงกลายเปนนิทานเลาสืบตอกันมา จนกวีไดคิดแตงเปนกลอน เพื่อเอาไปขับเปนเสภาใน ภายหลัง กระทัง่ กรุงศรีอยุธยาพายแพตอ พมาในสงคราม คราวเสียกรุงฯ ครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2310) หนังสือเสภาที่ (อาจจะ) พอมีอยูจ งึ ไดถกู เผาทำ�ลาย และสูญหายไปเสีย จนหมดสิ้น มาในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหลานภาลัย จึงไดมีการรื้อฟนแตงขึ้นใหมโดยเหลา กวีราชสำ�นัก และรวบรวมเปนเรื่องเขียนลงสมุดไทย


นัยทางการเมืองใน “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ

ในรัชกาลถัดมา 3 กระทั่งในป พ.ศ. 2415 โรงพิมพของ หมอสมิธจึงนำ�ไปจัดพิมพเปนรูปเลมขึ้นครั้งแรก (กรม ศิลปากร 2545 : (14)-(33)) ดวยเหตุแหงลักษณะอัน “เปนจลาจล” ของหนังสือ เสภาในขณะนั้น (พ.ศ. 2458) กลาวคือ กระบวนกลอน และถ อ ยคำ� ของบทเสภาแต ล ะฉบั บ มี ค วามแตกต า ง กันมาก คณะกรรมการหอพระสมุดฯ มี สมเด็จฯ กรม พระยาดำ�รงราชานุภาพ และพระราชวรวงศเธอ กรม หมื่นกวีพจนสุปรีชา เปนสำ�คัญ จึงตัดสินพระทัยตรวจ ชำ�ระบทเสภาสำ�นวนตางๆ และจัดพิมพเปนหนังสือ “เสภาเรือ่ งขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดฯ ขึน้ เมือ่ ป พ.ศ. 2460 (เลมที่ 1-2) และ พ.ศ. 2461 (เลมที่ 3) เพือ่ ใหเปน “ฉบับมาตรฐาน” (Baker 2008 : 3) ดวยมีความ ประสงคเพียงเพื่อจะ “รักษาหนังสือกลอนเปนอยางดีใน ภาษาไทยไวใหถาวร เปนขอสำ�คัญยิ่งกวาจะพยายาม รักษาตัวเรื่องขุนชางขุนแผน” ไว (กรมศิลปากร 2545 : (36)-(40)) องคความรูเ ชนวานี้ ในปจจุบนั ไดรบั การยอมรับ และยึ ด ถื อ กั น ว า เป น สิ่ ง ที่ ถู ก ต อ ง จึ ง ไม พ บว า มี นั ก วิ ช าการ หรื อ ผลการศึ ก ษาวิ จั ย ที่ ตั้ ง ข อ สงสั ย หรื อ คำ�ถามตอสาเหตุหรือแรงจูงใจอื่นใด ที่สงผลใหสมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ทรงตัดสินพระทัยที่จะ ตรวจชำ�ระ และจัดพิมพหนังสือซึ่งไดรับการยกยองวา สามารถ “ใชเปนเยีย่ งอยางสำ�หรับขาราชการและคนอาน ไดโดยทั่วไป กลาวคือ เปนความจงรักภักดีถึงที่สุด ไมมีปญหา แมจะตองพระราชอาญาขั้นรุนแรงอยางใด

ก็มไิ ดท�ำ ใหความจงรักภักดีของแตละคนนัน้ เสือ่ มคลาย แมแตนอ ย ยังจงรักภักดีตอ ไป” (คึกฤทธิ์ ปราโมช 2532 : 20) ขึ้นอยางจำ�เพาะในขณะนั้น ทั้งๆ ที่การเกิดขึ้นของ วรรณคดี รวมถึงตำ�รับตำ�ราเปนจำ�นวนมากในชวงเวลา นั้น สวนหนึ่งมีความเกี่ยวพัน และเปนไปเพื่อสนองตอ นโยบายทางการเมือง และความมัน่ คงของรัฐ โดยเฉพาะ สถาบันพระมหากษัตริยเ ปนสำ�คัญ (Sturm 2006 : 144149) เมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง บริ บ ททางประวั ติ ศ าสตร ใ น ขณะนั้น (พ.ศ. 2458) ไมวาจะเปนกระแสการกอตัว ของ “รัฐชาติไทย” ที่เริ่มปรากฏรูปมาตั้งแตในรัชสมัย ของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว เรื่อยมา จนกระทั่ ง การปรากฏตั ว ขึ้ น ของคำ � ที่ มี ค วามสำ � คั ญ อยางยิ่งยวด คือ “ชาติ” ในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (Reynolds 2005 : 27 ; Anderson 2006 : 101) รวมถึงเหตุการณสำ�คัญทาง การเมื อ งร ว มสมั ย ซึ่ ง ก อ ให เ กิ ด ผลกระทบอย า ง กวางขวาง ทั้งในขณะนั้นและระยะเวลาตอมา อยางเชน คดีกบฏ ร.ศ.130 (อัจฉราพร กมุทพิสมัย 2542 : 220236 ; แถมสุข นุมนนท 2545 : 171-192) ซึ่งลวนเปน เงื่อนไขและวาระหลักทางการเมืองของรัฐไทย แตกลับ ไมเคยปรากฏ หรือถูกนำ�มาพิจารณาในผลงานศึกษา วิจัย ที่เกี่ยวกับวรรณคดีหรือหนังสือเลมนี้เลย ทั้งๆ ที่มี แนวคิดและทฤษฎีเปนจำ�นวนมากที่เสนอ และอธิบาย ถึงความเกี่ยวของสัมพันธอยางมีนัยสำ�คัญ ระหวางการ เกิดขึ้นของวรรณคดี กับปจจัยแวดลอมทางสังคมและ

__________________ ความเขาใจโดยมาก ณ ปจจุบัน เกี่ยวกับการรวมเลมเปนเรื่องติดตอกันครั้งแรกของวรรณคดีเรื่อง “ขุนชางขุนแผน” ตั้งอยูบน ขอวินิจฉัยของ สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ที่ปรากฏอยูในพระนิพนธเรื่อง “ตำ�นานเสภา” ซึ่งจัดพิมพเพื่ออธิบายประกอบการ ตรวจชำ�ระ และจัดพิมพหนังสือ “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดฯ เมื่อป พ.ศ.2460 ความวา “บทเสภาสำ�นวนหลวงนับวา บริบูรณเมื่อในรัชกาลที่ 3 แตงขึ้นแทนบทเดิมเกือบจะตลอดเรื่องขุนชางขุนแผน เมื่อมีบทสำ�นวนหลวงบริบูรณแลว เห็นจะมีเจานาย พระองคใดพระองคหนึ่ง หรือขุนนางผูใหญคนใดคนหนึ่ง ที่เลนเสภาและปพาทยเมื่อในรัชกาลที่ 3 คิดอานใหรวบรวมเสภาเขาเรียบเรียง เปนเรื่องติดตอกัน อยางฉบับที่เราไดอานกันในทุกวันนี้” (กรมศิลปากร 2545 : (29)-(30)) หากแตมิคอยมีผูใดที่จะอางถึงขอวินิจฉัยใน ภายหลังของ สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ที่ไดทรงอธิบายเพิ่มเติมไววา “เมื่อแตงตำ�นานเสภาพิมพใน พ.ศ. 2460 ขาพเจา ไดกลาววา มีเสภาฉบับหลวงเปนฝมืออาลักษณ เขียนในสมัยรัชกาลที่ 3 นั้นผิดไป มาพิจารณาโดยละเอียดอีกครั้งหนึ่ง เห็นวาเปนฝมือ อาลักษณในรัชกาลที่ 4 จึงตองลงความเห็นใหม วาบทเสภายังมิไดรวบรวมในรัชกาลที่ 3” (ดำ�รงราชานุภาพ 2497 : 43)

3

123


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

การเมือง ในขณะนั้นๆ (Negash 2004) สภาพปญหาขางตน อันเกิดจากประเด็นโตแยง เกีย่ วกับความคิดทางการเมืองทีป่ รากฏในตัวบท ผนวก กับความบกพรองในองคความรูเกี่ยวกับบริบท ของ หนังสือ “เสภาเรือ่ งขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดฯ ในปจจุบัน โดยเฉพาะอยางยิ่งในมิติทางดานรัฐศาสตร งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อ นำ�เสนอกรอบแนวคิด และคำ�อธิบาย เกี่ยวกับนัยทางการเมืองของหนังสือ เลมดังกลาว ทัง้ ในมิตขิ องความคิดทางการเมืองทีป่ รากฏ ในตัวบท ตลอดจนบริบท และวาระทางการเมือง ทีน่ า จะ มีสวนขับเคลื่อนใหเกิดการตรวจชำ �ระ และจัดพิมพ หนังสือเลมนี้ขึ้นเมื่อป พ.ศ.2460 ในลักษณะของงาน จุดประกายใหเกิดการศึกษาคนควาอยางตอเนื่องตอไป มากกวาที่จะเปนงานซึ่งเสร็จสิ้นสมบูรณ หรือมีคำ�ตอบ อันตายตัวเรียบรอยแลว วิธีการวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป น การวิ จั ย เชิ ง เอกสาร โดย ใชหนังสือ “เสภาเรือ่ งขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดฯ จำ�นวนทั้งสิ้น 43 ตอน (ตั้งแตตอนที่ 1 กำ�เนิดขุนชาง ขุนแผน ถึงตอนที่ 43 จระเขเถรขวาด) เปนตัวบท หลัก และใชเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อประกอบการ วิเคราะหดว ยการตีความตัวบทอยางละเอียด รวมถึง การ วิเคราะหเชิงบริบท ไปพรอมๆ กัน และนำ�เสนอผลการ วิจัยในรูปแบบพรรณนาวิเคราะห ผลการวิจัย “เสภาเรื่องขุนชาง – ขุนแผน” กับ “ความ จงรักภักดี” และ “การขบถ” ผลจากการวิเคราะห พบวา ตัวบทไดเนนย้ำ� ใหเห็นถึงความสามารถของตัวละครสำ�คัญๆ อยางขุนไกร ขุนแผน พลายงาม และพลายชุมพล อยางตอเนื่อง อาทิ ขุนไกร ซึ่ง “อาจองคงกระพันชาตรี เขาไหนไมมีที่จะ ถอย รบศึกศัตรูอยูกับรอย ถึงมากนอยเทาไรไมหนีมา กรมการเมืองสุพรรณสัน่ หัว เข็ดขามครามกลัวใครไมฝา โปรดปรานเปนทหารอยุธยา มีสงาอยูในเมืองสุพรรณ” (กรมศิลปากร 2545 : 2) ขุนแผน แสนสนิท “เรืองฤทธิ์ ลือดีไมมสี อง” (กรมศิลปากร 2545 : 364) เพียงคนเดียว

124

ก็สามารถฆาขุนเพชรอินทรา ขุนรามอินทรา และไพรพล ไดอีกถึง 4,550 คน แมพลายงาม ยังตระหนักถึงความ สามารถของขุนแผนวา “พอก็เรืองพระเวทวิทยา ลาว หมืน่ แสนมายังไมพรัน่ ทัง้ มนตจงั งังก็ขลังครัน ถึงคนรอย คนพันก็ซวนทรุด” (กรมศิลปากร 2545 : 884) พลายงาม ในคราวอาสารบศึกเมืองเชียงใหม ซึง่ ทูลขอเพียงขุนแผน ใหไปเปนที่ปรึกษา และคนโทษอีก 35 คน ไปชวยรบ ก็สามารถตีเอาเมืองเชียงใหมไดอยางงายดาย รวมถึง พลายชุมพล เมื่อคราวแกลงปลอมเปนมอญใหญ เพียง คนเดียว เสกกองทัพหุนขึ้นตั้งคายอยูที่บางเดิม สราง ความแตกตื่นไปทั่วทั้งพระนคร รวมถึงไดอาสาปราบ จระเขเถรขวาด ซึ่งใครตอใครก็มิอาจที่จะปราบได ด ว ยความสามารถเช น นี้ ข องครอบครั ว ของ ขุนแผน ที่ขับเนนภาพ “ความจงรักภักดี” ของตัวละคร เหลานี้ ใหดูหนักแนนและเขมขน กลาวคือ แมตัวละคร เหลานีจ้ ะตองราชภัยอยางหนักหนาสาหัสตลอดทัง้ เรือ่ ง ตั้งแตรุนปูเรื่อยไปจนรุนหลาน ไมวาจะเปนตัวขุนไกรที่ ถูกสั่งประหารและริบราชบาทว เพียงเพราะแทงควาย ที่กำ�ลังตื่นและไลขวิดผูคนตายไปเปนจำ�นวนมาก เปน เหตุใหพลายแกวพลอยถูกราชภัย ตองหนีหัวซุกหัวซุน ตั้งแตครั้งยังเปนเด็ก ตัวขุนแผน ถูกขังคุกถึง 15 ป วันทอง เมียคนแรก ถูกสั่งประหาร ลาวทอง เมียคนที่ สาม ก็ถูกพรากไปกักขังไวในพระบรมมหาราชวัง สวน พลายงาม แมสมเด็จพระพันวษา ทรงสัง่ ประหารแมของ ตนตอหนาตอตา แตตัวละครทั้งสามนี้ ก็ยินยอมที่จะถูก ลงโทษตามรับสัง่ ในทายทีส่ ดุ ทัง้ ๆ ทีล่ ว นมีความสามารถ เพี ย งพอที่ จ ะหลบหนี ไม ย อมถู ก ประหารชี วิ ต หรื อ จำ�คุก ไดอยางไมยากเย็นนัก ราชภัยเหลานี้ ในฐานะบท ทดสอบ จึงยิ่งเปนการตอกย้ำ�ใหเห็นถึงความจงรักภักดี ตอสมเด็จพระพันวษา “อยางไมมีขอแม” ไดเปนอยางดี ความขัดแยงที่ผานมา วาดวยการตีความความ หมายทางการเมืองของตัวบท อันเกิดจากการหยิบยก เนื้อความเพียงบางสวนไปวิเคราะห กระทั่งนำ�ไปสูขอ สรุ ป เกี่ ย วกั บ หนั ง สื อ เล ม นี้ ว า หนั ง สื อ เป น เรื่ อ งของ ความจงรักภักดี หรือในทางตรงกันขาม เปนเรื่องของ อำ�นาจและการขบถ เมื่อพิจารณาถึงลำ�ดับ และความ สัมพันธของแตละเหตุการณ รวมไปถึงสาเหตุที่อยูเบื้อง หลังการผูกเรื่องใหเปนไปในทิศทางตางๆ จะพบวา


นัยทางการเมืองใน “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ

เหตุการณทั้งที่แสดงถึงความจงรักภักดี และการขบถ นั้น มีความสอดคลองและเปนเหตุเปนผลซึ่งกันและกัน กลาวคือ นอกเหนือจากการตอกย้ำ� ถึงความสามารถ ของตัวละครสำ�คัญๆ ของเรือ่ งแลว เหตุการณทแี่ สดงถึง การขบถ หรือการไมยนิ ยอมปฏิบตั ติ ามรับสัง่ ของ สมเด็จ พระพันวษา ลวนเปนเหตุการณที่อยูใน 2 ลักษณะนี้ คือ เนนย้ำ�ใหเห็นถึงความสามารถของตัวละคร มิฉะนั้น ก็เปนการแสดงชองทางที่จะตัวละครสามารถจะเลือก เพื่อใหรอดจากราชทัณฑไปได ดังรายละเอียดตอไปนี้ กรณีของขุนไกร การที่จะกลาวไดวาขุนไกร “ยอม” ตายเพื่อรักษาความสัตย มิใชตายเพราะ “หมด ทางตอสู” ตัวบทจำ�ตองแสดงใหเห็นถึงความสามารถ ของขุนไกรดวยวา หากขุนไกร “ไมยอม” เสียแลว ขุนไกร ก็คงไมตาย ซึ่งตัวบทของหนังสือ “เสภาเรื่องขุนชาง ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดฯ นี้ ก็มิไดละเลยที่จะกลาว ถึงประเด็นดังกลาว โดยเปดทางรอดใหขุนไกรไวถึง 3 ทางดวยกัน คือ 1. ความสามารถของตัวขุนไกร ซึ่ง “อยูยง คงกระพัน” ดังที่นางทองประศรีกลาวไววา “เสียแรงพอ อยูย งคงกระพัน ใครใครทัง้ นัน้ ไมสไู ด” ฉะนัน้ หากขุนไกร ไมยอมตายเสียเอง การประหารครั้งนี้ก็คงมิอาจจะทำ� อันตรายแกขุนไกรได 2. การ “หนี” ไปเชนเดียวกับนางทองประศรีและ พลายแกว ดังทีต่ วั บทไดเวนชองวางใหเห็นวาการบังคับ คดี โดยเฉพาะการติดตามจับกุมตัวในขณะนั้น มิไดเปน ไปอยางจริงจัง ครั้งนางทองประศรีและพลายแกวหนี ราชภัย จากสุพรรณบุรีไปยังกาญจนบุรี ซึ่งมีระยะทาง หางกันเพียง 1 วันเดินทาง การติดตามจับกุมก็มไิ ดมขี นึ้ 3. การไปขอความชวยเหลือจาก “สมภารคง” ซึ่งยอมจะทำ�ใหขุนไกรรอดชีวิตจากราชภัยครั้งนี้อยาง แนนอน แตก็ดวยเนื้อความตอนนี้เอง ที่แสดงใหเห็นถึง ความจงใจในการเปดพืน้ ที่ ใหมกี ารเนนย้�ำ ถึงความจงรัก ภักดีอันเปนตัวอยางของขุนไกรอีกครั้ง ทั้งยังเปนการ เพิ่มคุณคาของการตาย รวมถึงความเขมขนของความ จงรักภักดีของขุนไกรที่มีตอสมเด็จพระพันวษาดวย สวนกรณีของขุนแผนนั้น การถูกจำ�คุกถึง 15 ป ทั้งๆ ที่ตัวบทแสดงใหเห็นอยางชัดเจน ถึงกระบวนการ สรางฐานที่มาแหงอำ �นาจของขุนแผน นับตั้งแตเริ่ม

ร่ำ�เรียนวิชาอาคมจากอาจารยทั้ง 3 เรื่อยมาจนออก ตระเวนหาของวิเศษ อันไดแก กุมารทอง ดาบฟาฟน และมาสีหมอก จนมีความสามารถเพียงพอที่จะตอสูกับ กองทัพหลวง ขนาดเทากับกองทัพที่ยกไปปราบเมือง เชียงทอง ไดอยางงายดาย รวมถึงความสามารถที่จะ สะเดาะโซตรวน ลองหนหายตัว กลาวก็คือ สามารถหนี ออกจากคุกไปเมื่อไรก็ยอมได แตขุนแผนกลับเลือกที่ จะอยูใหจองจำ�ในคุก จนกระทั่งสมเด็จพระพันวษาทรง พระราชทานอภัยโทษให ในทำ�นองเดียวกันกับขุนไกร การ “ยอม” ติดคุก ของขุนแผนในครั้งนี้ ยังไดรับการเนนย้ำ�ใหเห็นถึงทาง รอดอีกครั้งในภายหลัง กรณีนี้ คือ ความสามารถของ ตัวขุนแผนเอง โดยสมภารเกิด วัดเขาชนไก คราวพิธี โกนจุกพลายงาม ที่ตำ�หนิขุนแผนวาวิชาความรูที่ไดสั่ง สอนใหไปก็มีอยูมากมาย แตก็ยังยอมใหถูกจองจำ� ซึ่ง ตีความไดวา หากขุนแผน “ไมยอม” เสีย การถูกจำ�คุก ยาวนานถึง 15 ป คงจะมิอาจเกิดขึ้น เหลานี้จึงตอกย้ำ� ใหเห็นถึงความจงรักภักดีอยางหนักแนนของขุนแผน ที่แมจะมีความสามารถเกินพอที่จะปองกันตนเองจาก ราชทัณฑไดตงั้ แตตน แตกเ็ ลือกทีจ่ ะยืนยันถึงความภักดี ของตน ดวยการ “ยอม” ตามรับสั่งโดยดี ปราศจากซึ่ง ขอแม ครั้ น เมื่ อ คราววั น ทองถู ก ลงโทษประหารชี วิ ต ก็เปนอีกเหตุการณหนึ่งซึ่งเนนย้ำ�ใหเห็นถึงการเลือกที่ จะสยบ “ยอม” ตอพระราชอำ�นาจของสมเด็จพระพันวษา กลาวคือ ทั้งตัวขุนแผนและพลายงาม แมวาจะมีความ สามารถเก ง กล า สั ก เพี ย งใด ก็ ไ ม มี ใ ครที่ คิ ด จะขั ด พระราชประสงคของสมเด็จพระพันวษา วันทองจึงตอง ตายในทายที่สุด ดังที่พลายงามตัดพอวา (กรมศิลปากร 2545 : 884) แมนมีความเมตตาอาลัย ไหนแมวันทองจะตองฟน พอก็เรืองพระเวทวิทยา ลาวหมื่นแสนมายังไมพรั่น ทั้งมนตจังงังก็ขลังพลัน ถึงคนรอยคนพันก็ซวนทรุด ทำ�ไมกับอายเพชฌฆาต พอเปาจังงังปราดมันก็หยุด

125


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

เพราะพอไมชวยจึงมวยมุด หรือวาสุดสิ้นฤทธิ์ของบิดา

นอกเหนือจากความพยายามวิเคราะหเนื้อเรื่อง อันนาทีจ่ ะมีเหตุมผี ลดังทีผ่ วู จิ ยั ไดอธิบายไปแลว เคาโครง อันเปนรากฐานความคิดทางการเมืองทีป่ รากฏในตัวบท ซึ่ง สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ไดหยิบยกมา กลาวอางถึงความเกีย่ วของ วาถือเปนคุณวิเศษประการ หนึ่ ง ของเรื่ อ งขุ น ช า งขุ น แผน อั น เป น การรั บ รองใน เบื้องตน ถึงความมีอยูของขอเดนในเรื่องความจงรัก ภักดี กระทัง่ เปนทีย่ อมรับของ สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รง ราชานุภาพ ตอขอเดนดังกลาว (นริศรานุวัดติวงศ และ ดำ�รงราชานุภาพ 2504 : 31-32) สิง่ ทีจ่ ะละเลยเสียมิไดเมือ่ กลาวสรุปถึง “สารหลัก” เกี่ยวกับความจงรักภักดี หรือความไมจงรักภักดี ของ หนังสือที่ถูกแปลงรูปจาก “วรรณคดีชาวบาน” ใหกลาย มาเปน “วรรณคดีลายลักษณ” โดยชนชั้นปกครองของ ประเทศไทย นับตั้งแตรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหลานภาลัย โดยเฉพาะอยางยิ่งการตรวจ ชำ�ระอยางละเอียดลออรวม 2 ป ดวยแนวทางและ “ความประสงค จ ะรั ก ษาหนั ง สื อ กลอนเป น อย า งดี ใ น ภาษาไทยไวใหถาวร เปนขอสำ�คัญยิ่งกวาจะพยายาม รักษาเรื่องขุนชางขุนแผน” กระทั่งไดรับการยกยองจาก วรรณคดีสโมสรใหเปนวรรณคดีที่เลิศประเภท “กลอน สุภาพ” อยาง “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอ พระสมุดฯ ภายใตขอกำ�หนดของพระราชกฤษฎีกาตั้ง วรรณคดีสโมสร พ.ศ.2457 มาตรา 8 วาดวยการนิยาม และพิจารณาหนังสือ ทีค่ วรไดรบั ประโยชนจากวรรณคดี สโมสรตามสมควร รวมถึงขอบังคับวรรณคดีสโมสร พ.ศ. 2460 หมวด 2 วาดวยลักษณพิจารณา ซึ่งระบุไวอยาง ชัดเจนถึงคุณสมบัติของวรรณคดี รวมถึงวรรณคดีที่ ควรไดรบั ประโยชนจากวรรณคดีสโมสร วาตองเปนเรือ่ ง ที่ “สมาชิกสวนมาก” เห็นวา “ไมกอกวนทางการเมือง” (ปรุงศรี วัลลิโภดม 2524 : 649) การไดรับการพิจารณาจากชนชั้นปกครองซึ่ง มี ค วามอนุ รั ก ษ นิ ย ม รวมถึ ง มี ห น า ที่ โ ดยตรงในการ พิจารณากลั่นกรอง ใหวรรณคดีในขณะนั้นเปนไปตาม แนวทางและนโยบายของรัฐ ดังทีไ่ ดระบุไว จึงนับเปนการ

126

กรองดวย “ตาขายตาถี”่ ซ้�ำ แลวซ้�ำ เลา เพือ่ มิใหวรรณคดี เรื่องนี้มีเนื้อความอันเปนชองโหว สอไปในทางกอกวน ทางการเมื อ งโดยแสดงความไม จ งรั ก ภั ก ดี ที่ ยั ง คง ดำ�รงอยูน นั้ จึงนาทีจ่ ะมีความหมาย และประโยชนอยาง อื่นดวย ซึ่งในที่นี้ ผูวิจัยพบวา ผลจากการเนนย้ำ�ของ คำ�พูด หรือพฤติกรรมที่แสดงถึงความไมจงรักภักดีทั้ง หลายนัน้ กลับเสริมใหเห็นถึงความสามารถของตัวละคร แตละตัว ซึ่งในทายที่สุดก็ยอมรับราชทัณฑตางๆ ให เดนชัดยิ่งขึ้น รวมถึงเปนการแสดงใหเห็นชัดเจนวา เปนการ “ยอม” มิใช “หมดทางตอสู” และสามารถเพิ่ม ความเขมขนของความจงรักภักดีใหดูหนักแนนยิ่งขึ้น ไปอีก การกลาวโดยสรุปวา หนังสือ “เสภาเรือ่ งขุนชาง ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดฯ สามารถแสดงใหเห็นถึง ความจงรักภักดีอยางยิ่งของขุนแผนและครอบครัว ใน ฐานะทหารคูราชบัลลังก อยางเชนที่เปนอยูในปจจุบัน อาจนับวาเปนสิง่ ซึง่ ฟงไดในระดับหนึง่ หากแตดว ยความ รวบรัดของการสรุปในทำ�นองนี้ จึงแสดงใหเห็นวาผลการ ศึกษาวิจยั ทีผ่ า นมา ตางละเลยการพิจารณาถึงตัวบทอีก เปนจำ�นวนมาก ซึง่ มีความขัดแยง และทาทายตอขอสรุป อันรวบรัดนั้นเอง เชนเดียวกัน การสรุปอยางรวบรัด ยิง่ กวาวา หนังสือ “เสภาเรือ่ งขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอ พระสมุดฯ เปนเรือ่ งของการขบถ ก็ออกจะเปนการละเลย ถึงคำ�อธิบายที่แวดลอมเนื้อความที่ถูกนำ�มาพิจารณา อยางนาเสียดาย เพราะหากพินิจพิเคราะหโดยละเอียด แลว จะพบถึงความเปนเหตุเปนผล ของการเนนใน ประเด็นปลีกยอยตางๆ วาลวนเปนไปเพื่อสงเสริม และ สนับสนุนประเด็นอันเปนหัวใจของเรือ่ ง คือ “ความจงรัก ภักดี” นั่นเอง “เสภาเรือ่ งขุนชาง - ขุนแผน” กับกระบวนการ การสรางรัฐชาติของไทย เมื่อพิจารณาถึงชวงเวลาที่ สมเด็จฯ กรมพระยา ดำ�รงราชานุภาพ ทรงเริม่ นำ�บทเสภาเรือ่ งขุนชางขุนแผน สำ�นวนตางๆ มาตรวจชำ�ระ และจัดพิมพเปนหนังสือ “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดฯ นั้น พบวาเปนปเดียวกันกับที่ สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รง ราชานุภาพ ทรงลาออกจากตำ�แหนงเสนาบดีกระทรวง มหาดไทย ทำ�ใหทรงหมดอำ�นาจในการที่จะดำ�เนินการ


นัยทางการเมืองใน “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ

ปฏิรูปประเทศตามแนวทางที่ทรงวางไว และยังมิได กระทำ�ใหเปนรูปธรรมเทาใดนัก อำ�นาจหนาที่เพียง อยางเดียวที่ทรงเหลืออยู คือบัญชางานในหอพระสมุด แมจะมิไดทรงมีอ�ำ นาจในฐานะเสนาบดีกระทรวง มหาดไทยแลว กระทั่งอำ�นาจมหาดไทยที่เคยมีอยูเดิม ก็ถูกกระจายออกไป แตดวยความสำ�นึกในหนาที่ของ พระองคในฐานะ “รัฐบุรุษ” รวมถึงพระราชดำ�รัสของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ทีท่ รงฝากฝง ให “อยูชวยรักษาราชอาณาจักรในกาลตอไป” (ภรณี กาญจนัษฐิติ 2532 : 356) จึงทรงมิเคยที่จะเลิกลมแนว ความตั้งใจ ที่จะกระทำ�ประโยชนตอชาติ ตามแนวทาง ที่ทรงตั้งพระทัยไว (จักรกฤษณ นรนิติผดุงการ 2545 : 512) ภายใต ก ระบวนการการรวมอำ � นาจเข า สู  ศูนยกลาง โดยระบบมณฑลเทศาภิบาล อาณาจักรซึง่ เคย ปกครองดวยระบบนครรัฐ จึงถูกผนวกเขามาเปนอันหนึง่ อันเดียวกัน ดวยระบบบริหารแบบ “รัฐประชาชาติ” บูรณภาพแหงดินแดน รวมถึงเอกภาพของประชากร จึงเปนเงื่อนไขสำ�คัญ ดวยตรรกะเชนนี้เอง ถาประชากร ของรั ฐ ยั ง ไม มี เ อกภาพ ทางเลื อ กจึ ง มี อ ยู  เ พี ย งทาง เดียว คือทำ�เอกภาพใหมีขึ้นจงได ไมวาจะดวยการรวม ศูนยอำ�นาจปกครอง โดยนำ�ประชากรทุกระดับชั้น มา อยูภายใตพระบรมเดชานุภาพ อยางไมแบงแยก หรือ สรางสำ�นึกแหง “ความเปนไทย” รวมกัน ในหมูชนซึ่ง แตเดิม ถูกเรียนขานวาเปนตางชาติตา งภาษา (สมเกียรติ วันทะนะ 2530 : 79) ด ว ยสถานการณ ที่ ร าษฎร ต า งได รั บ การ ปลดปลอย ใหพนจากการเปนทาสและกึ่งทาส และ ทำ � ให เ กิ ด ความริ เ ริ่ ม ในการปกครองตนเอง (ภรณี กาญจนัษฐิติ 2532 : 356) คำ�ถามที่เกิดขึ้นจึงมีอยูวา “มันเปนการปกครองตนเองของใครกัน ใครถูกปลดปลอย จากใคร” (ธงชัย วินจิ จะกูล 2551 : 98) ผนวกกับแนวทาง เดิมซึ่ง สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ทรงมิอาจ ที่จะสานตอไดในตำ�แหนงเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย การรวบรวม ตรวจชำ�ระ และจัดพิมพหนังสือที่ไดรับ ความนิยมอยูแ ลวในสังคมชาวบาน อยาง “เสภาเรือ่ งขุน ชาง - ขุนแผน” จึงเปนโอกาสที่จะทรงสามารถ สถาปนา มโนทัศน อันเปนภาพแทนความจริงของ “อัตลักษณ”

ของสังคมและวัฒนธรรมไทย เพื่อเปนคำ�อธิบายวา เรา คือใคร ? และควรจะอยูกันอยางไร ? ภาพแทนความจริงดังกลาว จะถูกใชเปนกรอบใน การกำ�หนดสถานภาพ หนาที่ ความสัมพันธเชิงอำ�นาจ ตลอดจนพฤติกรรมทางสังคมอื่นๆ ของราษฎรจำ�นวน มากที่เพิ่งไดรับการปลดปลอย และเปลี่ยนสถานภาพ จาก “ไพร” และ “ทาส” ไปสูเสรีชน รวมถึงราษฎรตาม หัวเมืองตางๆ ที่มิเคยมีความรูสึกวาตนเปนราษฎรของ ประเทศไทย หรือเปนเจาของประเทศรวมกันกับราษฎร ในกรุงเทพฯ ในวิถีทางที่ราษฎรเหลานั้นจะ (ถูกทำ�ให) รูสึกวาตนกำ�ลังอยูในวิถีทางที่ถูกตองและควรจะเปน และยิ่งเมื่อเครื่องมือที่ทรงเลือกใชเปนหนังสือวรรณคดี “นายหนา” ที่สามารถเราใจใหเกิดความรูสึกรวม และ คลอยตามไดงายกวาการที่จะใชหนังสือประเภทคำ�สอน สารหลักทีห่ นังสือเลมนีต้ อ งการสัง่ สอนเรือ่ ง “ความจงรัก ภักดี” ตอพระมหากษัตริย ใหเกิดขึน้ รวมกันในหมูร าษฎร โดยมิตองเอยคำ�วา “จงรักภักดี” อยางแจงชัด เพียง แตแสดงภาพของตัวตนหรือพฤติกรรมอันเปน “อุดมคติ” ของตัวเอกที่ไดรับการยกยองแบบชาวบานๆ จึงนาที่ จะเปนผล ทำ�ใหราษฎรสำ�นึกถึงตัวตนและ “ชุมชนใน จินตนาการ” รวมถึงหนาทีข่ องตนในสังคมในจินตนาการ ดังกลาวไดเปนอยางดี “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” กับเหตุการณ​ กบฏ ร.ศ.130 นอกเหนือจากประโยชนในการเปนสวนหนึ่งที่ ชวยสรางชุมชนจินตกรรม และความรับรูในตำ�แหนง แหงที่ของตนในสังคมจินตกรรมนั้นๆ แลว “สารหลัก” เกีย่ วกับ “ความจงรักภักดี” ทีส่ อื่ ผานหนังสือ “เสภาเรือ่ ง ขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดฯ อยางแนบเนียน ยัง สอดรับกับวาระเฉพาะหนาทางการเมืองที่ผูนำ�ตางวิตก กังวลกับการเกิดกบฎของหมูข า ราชการ เมือ่ พ.ศ. 2455 รวมถึ ง การทวี ค วามเข ม ข น มากยิ่ ง ขึ้ น ของการแสดง ความคิดเห็นเรื่องระบอบการปกครอง โดยเฉพาะใน ประเด็นการวิพากษวิจารณการทำ�งานของคณะรัฐบาล วามิไดกระทำ�ใหสมกับคุณคาทีร่ าษฎร เสียเงินภาษีอากร และใหความไววางใจ การเรียกรองไดขยายวงเรื่อยมา (อัจฉราพร กมุทพิสมัย 2542 : 236) กระทั่งมีบุคคล บางกลุมกลาวกันวา ยังมีการคบคิดกันอีกครั้งใน พ.ศ.

127


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

2460 (จุลจักรพงษ 2514 : 590) ซึ่งเปนปเดียวกันกับที่ หนังสือเลมนี้ไดรับการจัดพิมพ มูลเหตุอันเปนที่มาของความคิดในการกบฏ ทั้ง เหตุการณการเฆีย่ นหลังนายทหารชัน้ สัญญาบัตร ทหาร ของชาติ ดวยสาเหตุอันมิบังควร (เหรียญ ศรีจันทร และ เนตร พูนวิวฒ ั น 2517 : 42) รวมถึงพระราชจริยาวัตรของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ทีค่ ณะกบฏคิด เอาวา การที่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงฝกใฝแตการฟอนรำ� ไมเอาใจใสราชการแผนดินนั้น นับเปนสาเหตุประการหนึง่ ทีท่ �ำ ใหบา นเมืองทรุดโทรมลง (อมรดรุณารักษ 2519 : 27) กระทั่งมีการนำ� พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไปเปรียบเทียบกับ พระเจาแผนดินของประเทศเยอรมนี ทีท่ รงเอาพระทัยใส ตอทหาร โดยหาโอกาสมานอนในโรงทหาร ถึงเดือนละ 1 อาทิตย หากแตประเทศไทยเรา พระเจาแผนดินชอบ เลนโขน ไมเอาใจใสราชการ (สำ�นักหอจดหมายเหตุ แหงชาติ 2454) การตอตานทีม่ อิ าจหลีกเลีย่ งไดนี้ หากเทียบเคียง กับตัวบทของหนังสือ “เสภาเรือ่ งขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับ หอพระสมุดฯ ก็จะพบวา มูลเหตุ รวมถึงความรูสึกของ ประชาชน โดยเฉพาะอยางยิ่งของคณะกบฏ ที่มีตอ พระมหากษั ต ริ ย  ก็ มิ ไ ด แ ตกต า งไปจากสิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในบทเสภา กลาวคือสมเด็จพระพันวษาเองก็ใชพระ มหากษัตริยที่ทรงสนพระทัยในราชการบานเมืองเทาไร นัก ภาพที่ตัวบทฉายใหเห็น กลับเปนภาพของพระ มหากษัตริยเจาอารมณ ที่ลงโทษขาราชบริพาร โดย เฉพาะครอบครัวของขุนแผนอยางรุนแรง และหลายตอ หลายครั้งที่ทรงตัดสินเกินกวาเหตุ เพียงเพราะอารมณ ชั่ววูบ ทั้งๆ ที่ตัวละครซึ่งทรงมีรับสั่งใหลงโทษนั้น เปน ทหารเอกที่มีความสำ�คัญอยางยิ่งตอราชบัลลังก เมื่อพิจารณาถึงประเด็นภูมิหลังของคณะกบฏ พบวาก็มีคุณสมบัติอันสอดรับกับตัวละครในหนังสือ “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดฯ อยาง นาประหลาดใจ กลาวคือ กลุม คนเหลานีเ้ ปน “ขาราชการ ทหาร” ทีม่ าจาก “สามัญชน” และมีความรูค วามสามารถ สูงกวาคนทัว่ ไป อันเปนเครือ่ งมือทีแ่ สดงถึงความสามารถ ในการจะ “ไมเชื่อฟง” ก็ได แตตัวละครเหลานั้น ซึ่งเปน ตัวละครที่คนไทยจำ�นวนมากยกยองใหเปน “พระเอก

128

นักรบ” ดวย “ความจงรักภักดี” จึง “ยอม” อยางไมมขี อ แม ขณะเดียวกัน ภูมิหลังทางการศึกษาของคณะ กบฏ ร.ศ.130 สวนใหญมาจากโรงเรียนนายรอย และ โรงเรียนกฎหมาย อันเปนพืน้ ฐานทีเ่ กือ้ หนุน ใหคนกลุม นีม้ คี วามคิดทีก่ า วหนา เกินกวาผูท มี่ กี ารศึกษากลุม อืน่ ๆ ในขณะนั้น (อัจฉราพร กมุทพิสมัย 2542 : 161) และ เชือ่ มัน่ ในพลังและความคิดของตน ในฐานะผูท จี่ ะพิทกั ษ รักษาและสรางความเจริญใหแกบานเมือง (อัจฉราพร กมุทพิสมัย 2542 : 159) “สารหลัก” ทีห่ นังสือ “เสภาเรือ่ งขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดฯ เนนย้ำ�อยูเสมอ ก็คือ “ความจงรัก ภักดี” โดยไมมีขอแม ไมวาพระมหากษัตริยจะทรงมี ความสามารถหรือไม พระมหากษัตริยจะทรงมีความ ยุตธิ รรมหรือไม ความจงรักภักดีเชนวานี้ อันเปนเสมือน แบบอยาง หรือแนวปฏิบัติของขาราชการ โดยเฉพาะ อยางยิง่ “ทหาร” ควรจะปฏิบตั ติ าม เพราะนีถ่ อื เปนสิง่ ซึง่ มีมาแตโบราณ เปนสิง่ ดีงามทีไ่ ดรบั การยกยอง และควร ยึดถือปฏิบัติสืบตอไป จึงดูสอดรับกับเหตุการณกบฏนี้ เปนอยางยิ่ง ยิ่งเมื่อพิจารณาถึงลักษณะคำ�ตอบของ สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ที่ผูรูกลาวกันวา มิได ปรากฏในรูปของการเสนอความคิดเห็นเพื่อวิวาทะกับ ความเห็นอืน่ ๆ อยางตรงไปตรงมา ดังที่ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงมีพระราชนิยม และเปน ประเพณีในการสถาปนาความคิดนามธรรมของตะวันตก ในสมั ย ใหม สมเด็ จ ฯ กรมพระยาดำ � รงราชานุภาพ ทรงเลือกที่จะแฝงเรนคำ�ตอบของพระองคเอาไวอยาง แนบเนียนละเมียดละไม ในพระนิพนธหลายรูปแบบ โดยที่ “สารหลัก” ในพระนิพนธเหลานัน้ มีความสอดคลอง และเกื้ อ กู ล ซึ่ ง กั น และกั น จนกลายเป น ความคิ ด ที่ ทรงพลัง ที่จะซึมลงไปเปลี่ยนจิตใจหรือนิสัยใจคอของ คน (สายชล สัตยานุรักษ 2546 : 17-18) ดังแนว พระดำ�ริที่ทรงเสนอไวเมื่อป พ.ศ.2449 เกี่ยวกับการ เขียนตำ�ราวา “รัฐบาลมีอำ�นาจที่จะตกแตงนิสัยใจคอ ไพรบานพลเมืองไดดวยแตงหนังสือสำ�หรับสอนเด็ก นักเรียน” (วารุณี โอสถารมย 2524 : 108) จึงมีความเปน ไปไดเชนกันวา หนังสือ “เสภาเรื่องขุน - ขุนแผน” ฉบับ หอพระสมุดฯ ทีจ่ ดั พิมพขนึ้ ในขณะนัน้ เพือ่ เปนปฏิกริ ยิ า


นัยทางการเมืองใน “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ

ตอการเกิดขึ้นของเหตุการณกบฏ ร.ศ. 130 โดยความ จงใจของ สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ พระบิดา “ประวัติศาสตร” และ “กระทรวงมหาดไทย” ของไทย สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย หนังสือ “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับ หอพระสมุดฯ นับเปนหนังสือเลมหนึ่งที่มีความสำ�คัญ อยางยิ่งของสังคมไทย ทั้งในฐานะที่เปน “ขุมทรัพยอัน ใหญ” สำ�หรับความรูในทุกมิติของชีวิตคนไทย ซึ่งอาจ จะเปนสมัยอยุธยา หรือรัตนโกสินทรตอนตนก็ตาม แตหลายตอหลายสิ่งที่ปรากฏอยูในหนังสือเลมนี้ ยัง คงสงผล และมีอิทธิพลอยางยิ่งตอความเปนสังคมไทย ในปจจุบัน ทั้งในรูปแบบที่เราเขาใจก็ดี และอาจจะยัง ไมเขาใจก็ดี การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิเคราะหถึงนัยทางการ เมืองของหนังสือ “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับ หอพระสมุดฯ ทั้งในมิติของตัวบท และบริบท ควบคูกัน ไป รวมถึงหาความเชื่อมโยงที่มีระหวางสองสิ่งนี้ เพื่อ ตอบคำ�ถามสำ�คัญเกี่ยวกับสาเหตุหรือปจจัยที่ผลักดัน ใหหนังสือเลมนี้ตองเกิดขึ้น ณ ชวงเวลานั้นๆ ในรูปของ ขอเสนอ ดานตัวบท ขอถกเถียงที่ยังคงดำ �รงอยูในวง วิชาการ คือ สารหลัก หรือความคิดทางการเมือง ที่แฝง อยูในบทเสภาขนาดความยาวกวาพันหนานี้ เปนเรื่อง ของ “ความจงรักภักดี” ทีแ่ สดงผานความเปนตัวตน และ พฤติกรรมของตัวละครสำ�คัญๆ อยางครอบครัวของ ขุนแผน หรือเปนเรื่องของการแสดงออก อันเปนผลจาก ความคับของใจที่มีอยูเดิมในฉบับชาวบาน จนทำ�ใหตัว บทกลายไปเปนเรื่องของอำ�นาจและการ “ขบถ” กันแน ผลจากการสำ � รวจเอกสารและสื บ ค น ผลงาน วิจัยที่เกี่ยวของกับประเด็นดังกลาว พบวาตัวบทอัน นำ�ไปสูขอสรุปของทั้งฝายที่ยืนยันวาหนังสือ “เสภา เรื่องขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดฯ นี้ เปนเรื่อง ของ “ความจงรักภักดี” และฝายทีเ่ สนอขอคัดคานวาเปน เรื่องของ “อำ�นาจและการขบถ” ตางเปนเพียงเนื้อความ ทีถ่ กู ตัดตอนอยางสอดคลองใหเอือ้ ตอการวิเคราะห โดย มิไดมกี ารนำ�ตัวบททีอ่ กี ฝายหยิบยกไปอธิบายเพือ่ ยืนยัน

ขอสรุปของตนเองมากลาวถึง หรืออธิบายใหเกิดความ กระจาง เสมือนหนึ่งวาตัวบทอันขัดแยงเหลานั้นไมมี ตัวตน แตผลการวิจยั ครัง้ นี้ ซึง่ ผานการพิจารณาขอสังเกต หลายประการ รวมทัง้ พิเคราะหความสอดคลองและเปน เหตุเปนผลของตัวบท โดยมิไดตัดตอนเฉพาะแตเพียง บางสวนบางตอนแลวนำ�ไปอธิบายดังที่ผานมา กลับได คำ�ตอบที่แตกตางออกไป นับตัง้ แตประวัตคิ วามเปนมาของเคาโครงอันเปน ตนฉบับและที่มาของหนังสือเลมนี้ ซึ่งนักวิชาการใน ป จ จุ บั น เข า ใจตรงกั น ว า ระยะเวลาร ว ม 200 ป ที่ วรรณคดีเรื่องนี้ไดถูกสถาปนาใหอยูในรูปของวรรณคดี ลายลักษณ และอยูภายใตการควบคุมความคิดทาง การเมืองใหอยูในทิศทางที่ควรจะเปนทั้งทางตรงและ ทางออมโดยเหลาชนชัน้ ปกครอง ในนาม “กวีราชสำ�นัก” นับตั้งแต พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ทรงตัดสินพระทัยที่จะใหมีการชำ�ระสะสางกระบวนการ ขั บ เสภาเสี ย ใหม แล ว บั น ทึ ก บทเสภาเรื่ อ งนี้ ไ ว เ ป น ฉบับหลวง หรือ “ฉบับมาตรฐาน” ไมวาจะเปนไปดวย ความตั้งพระทัยหรือไมก็ตามที แตผลอันเกิดจากการ ตั ด สิ น พระทั ย เช น นี้ ย อ มเบี ย ดขั บ ให บ ทเสภาฉบั บ ชาวบานหรือที่เรียกวา “ฉบับเชลยศักดิ์” ที่เคยมีอยู ซึ่ง อาจโลดโผน และเปนความคิดทางการเมืองที่มีความ สุ  ม เสี่ ย งจะก อ ภั ย ให กั บ ความมั่ น คงของรั ฐ รวมถึ ง สถาบันพระมหากษัตริย ถึงขัน้ ที่ คมทวน คันธนู (2541 : 130) หรือ จิตร ภูมิศักดิ์ (ธนาพล ลิ่มอภิชาต 2552) กลาวอางวามีตัวตน ตองสูญสลายหายไปในที่สุด ล ว งเลยมาในรั ช สมั ย ของ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ที่ผลอันเกิดจากการขยายตัว ของเทคโนโลยีการพิมพ รวมถึงการเปดกวางมากขึ้น ของเสรีภาพสือ่ โดยเฉพาะสือ่ สิง่ พิมพอยางหนังสือพิมพ สงผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม ใหชนชั้นปกครอง จำ�ตองสกัดกั้นความคิดทางการเมือง ที่เปนอันตรายตอ ความมั่นคงของรัฐและระบอบกษัตริย ภายใตคำ�จำ�กัด ความที่วา “กอกวนทางการเมือง” ครอบคลุมกระทั่ง วงการวรรณคดี ดังที่ปรากฏในมาตรา 8 ของพระราช กฤษฎีกาตั้งวรรณคดีสโมสร อยางยิ่งเมื่อวรรณคดีเรื่อง “ขุนชางขุนแผน” ซึ่งถูกตรวจชำ�ระโดยบุคคลสำ�คัญ ใน การสถาปนาวัฒนธรรมทางความคิด ทีช่ ว ยจรรโลงระบบ

129


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

การเมืองแบบรวมศูนย อยางสมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รง ราชานุภาพ เหลานี้จึงเปรียบเสมือน “ตาขายตาถี่” ที่มี ความสามารถในการกลัน่ กรองความคิดทางการเมือง อัน หมิ่นเหมไปในทางกอกวนทางการเมือง ใหเบาบางจน กระทั่งหมดไปได หากแตชิ้นสวนของตัวบทที่กระจัดกระจายอยู ตามหนาตางๆ ของหนังสือขนาดยาวเลมนี้ ยังคงมีบาง สวนทีเ่ มือ่ ถูกตัดตอไปเพียง “บางชวงบางตอน” สามารถ ที่จะนำ�มาซึ่งขอสรุป ในทำ�นองหมิ่นเหมตอการกอกวน ทางการเมือง กระทั่งลวงเลยไปถึงขั้นของการตอตาน ขัดขืน และ “ขบถ” ไดในที่สุด เนื้อความเหลานี้ หาก ตอบอยางดูเบาวิจารณญาณ รวมถึงความสามารถของ คณะบุคคลผูซึ่งทำ�หนาที่เปน “ตาขายตาถี่” หลายตอ หลายทาน ก็อาจกลาวไดวานี่เปนเคาโครงที่หลงเหลือ หลุดรอดมาจากฉบับชาวบาน แตเมื่อพิจารณาถึงความ วิตกกังวล รวมถึงแนวนโยบายของชนชั้นปกครอง ใน สมั ย สมบู ร ณาญาสิ ท ธิ ร าชย ตลอดจนกระบวนการ กวารอยปในการสถาปนาหนังสือ “เสภาเรื่องขุนชาง ขุนแผน” ฉบับมาตรฐาน ฉบับนี้ นับเปนขอกังขาสำ�คัญ ตอความมุงหมายที่ สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชา นุภาพ ทรงยินยอมปลอยใหตัวบทเหลานี้ยังคงมีอยู มิไดถูกกำ�จัดออกไปตามที่ควรจะเปน เมื่อพิจารณาถึงตัวบทโดยรวม และวิเคราะหถึง ความเปนเหตุเปนผลของตัวบท ก็จะพบวาตลอดทัง้ เรือ่ ง ตัวบทไดเนนย้ำ�ใหเห็นถึงความสามารถของครอบครัว ขุนแผนทั้ง 4 คน วาเปนผูที่มีความรูความสามารถ มี วิทยาอาคมเขมแข็ง อยูยงคงกระพัน มิมีผูหนึ่งผูใดที่ จะตอสูได ตัวละครเหลานี้ไดรับการกลาวเนนใหเห็น ถึงความสามารถผานทั้งตัวบทที่กลาวถึงความสามารถ จำ�เพาะของตัวละครนั้นๆ เอง ผานทั้งการเนนย้ำ�ถึง ความดอยสามารถของตัวละครอืน่ ๆ ไมวา จะเปนขุนนาง ในกรุงศรีอยุธยาเอง ทีเ่ มือ่ มีศกึ คราวใด ก็หามีผหู นึง่ ผูใ ด ที่จะกลาอาสาออกรบทัพจับศึกไม มีเพียงแตครอบครัว ของขุนแผนเทานั้น ที่รับหนาที่ประหนึ่ง “เสาค้ำ�บัลลังก” ของสมเด็จพระพันวษา รวมถึงแมทพั นายกองของอริราช ศัตรู ที่ลวนพายแพตอกองทัพซึ่งจำ�เพาะตองนำ�โดย ครอบครัวของขุนแผนทุกครั้งไป

130

โดยเฉพาะอยางยิ่ง ชองทางสุดทายที่ผูวิจัย พิจารณาเห็นวามีความสามารถ และสันนิษฐานไดวา สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ นาทีจ่ ะทรง “จงใจ” คงไวเพือ่ การณนี้ ไดแก ตัวบทซึง่ แสดงถึงความสามารถ ที่ จ ะท า ทายพระราชอำ � นาจของสมเด็ จ พระพั น วษา กลาวอยางถึงที่สุด ตัวบทเหลานี้แสดงใหเห็นถึงความ สามารถทีจ่ ะกระทำ�การตางๆ อันเปนการลมลางพระราช อำ � นาจของสมเด็ จ พระพั น วษาลงได แต ตั ว บทกลั บ กำ�หนดใหความสามารถเหลานี้ถูกจำ�กัดดวย “ความ จงรักภักดี” และ “กรรม” ผานการยกและย้ำ�ถึงราชทัณฑ ซึ่ ง ตั ว ละครสามารถที่ จ ะขั ด ขื น และหลบหลี ก ไปได อยางไมยากเย็นนัก ดวยลูท างและความสามารถทีต่ วั บท ไดเปดชองไว หากเลือกที่จะกระทำ� แตตัวละครเหลานี้ ซึ่งมีทางเลือก กลับเลือกที่จะ “ยอม” รับราชทัณฑ ซึ่ง นัยหนึ่งยอมหมายถึง การยอมสยบตอพระราชอำ�นาจ ของพระมหากษัตริย เพื่อยืนยันถึง “ความจงรักภักดี” และยอมรับในผล “กรรม” ของตน มิใช “จำ�ตองยอม” รับ ราชทัณฑเพราะ “หมดทางตอตาน” นอกจาก “ความจงรักภักดี” คำ�อธิบายทางศาสนา อยาง “กรรม” และ ความเปน “อนิจจัง” ก็ทำ�หนาที่ ไดแนบเนียนดีในการปลอบโยนครอบครัวของขุนแผน ซึง่ ตองเผชิญกับความสูญเสียจากราชทัณฑนานาซ้�ำ แลว ซ้ำ�เลา โดยมิจำ�เปนตองหาผูรับผิดชอบ หรือสาเหตุอื่น ใดมาอธิบายความสูญเสีย ซึ่งหลายตอหลายครั้งถือเปน ความอยุตธิ รรม และการลงโทษเกินกวาเหตุของสถาบัน เบือ้ งสูง ซึง่ นับเปนอันตรายตอความสงบเรียบรอยของรัฐ และชนชัน้ ปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย หาก มีผูตั้งขอสงสัยถึงความชอบธรรม และความยุติธรรม ดังกลาว นำ�มาซึ่งขอเสนอของผูวิจัย เกี่ยวกับความคิด ทางการเมืองที่ปรากฏอยูในตัวบท ของหนังสือ “เสภา เรือ่ งขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดฯ วาเปนการเนน ย้ำ�ถึง “ความจงรักภักดี” ที่นอกเหนือจากการกลาวถึง อยางตรงไปตรงมาแลว ยังเนนย้ำ�ใหเห็นวาเปนความ จงรักภักดี “อยางถึงที่สุด” โดยไมมีขอแม มิใชเปนไป เพราะตัวละคร “หมดทางตอสู” จึง “จำ�ตองยอม” เทานั้น ดานบริบทนัน้ ดวยสถานะองคความรูใ นปจจุบนั


นัยทางการเมืองใน “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ

ที่ยังคงยึดถือเอาแตเพียงเหตุผลในการตรวจชำ�ระ และ จัดพิมพหนังสือ “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอ พระสมุดฯ ตามที่ สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ทรงกลาวไวในบทพระนิพนธเรือ่ ง “ตำ�นานเสภา” วาทรง มีวตั ถุประสงคเพียงเพือ่ “รักษาหนังสือกลอนเปนอยางดี ในภาษาไทยไวใหถาวร” เทานั้น ดูจะเปนการละเลยถึง บริบททางประวัตศิ าสตร โดยเฉพาะทางการเมืองในขณะ นั้น ซึ่งสงผลกระทบตอแนวนโยบายของชนชั้นปกครอง ของประเทศไทยอยางยิ่ง เมือ่ พิจารณาถึงพระดำ�ริของ สมเด็จฯ กรมพระยา ดำ�รงราชานุภาพ ที่วา “รัฐบาลมีอำ�นาจที่จะตกแตง นิไสยใจคอไพรบานพลเมืองไดดวยแตงหนังสือ” ผนวก กับความมุงหมายในการที่จะดำ�เนินการปฏิรูปประเทศ ตามแนวทางที่ ไ ด ท รงวางไว แต ยั ง มิ ไ ด ก ระทำ � เป น รู ป ธรรมเท า ใดนั ก ก็ ท รงพ น จากตำ � แหน ง เสนาบดี กระทรวงมหาดไทย อำ�นาจหนาที่เพียงอยางเดียวที่ ทรงเหลืออยูในขณะนั้น คือบัญชางานในหอพระสมุด พระนิพนธตางๆ จึงเปนเครื่องมือเพียงอยางเดียว ที่ พระองคจะสามารถสานตอแนวทางทีท่ รงตัง้ พระทัยไวได ผูวิจัยยังพิจารณาพบวา บริบทของรัฐไทยใน ขณะนั้น “ความจงรักภักดี” ถือเปนวาระทางการเมือง และความตองการของชนชั้นปกครอง ทั้งเหตุผลจาก แนวทางในการปฏิรูปประเทศของ สมเด็จฯ กรมพระยา ดำ�รงราชานุภาพ ที่ยังมิไดดำ�เนินการ ตั้งแตเมื่อครั้ง ดำ�รงตำ�แหนงเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เพื่อสราง อัตลักษณ และความสำ�นึกรวมกันถึงตัวตน ตำ�แหนง แหงที่ รวมถึงหนาที่ของตนของประชาชนในประเทศ ภายใตระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย ตามที่ชนชั้นปกครองตองการใหเปน และเขามารวมมือ กับรัฐตอไป วาระเฉพาะหนาอีกประการหนึง่ ซึง่ ดำ�รงอยู และ สรางความวิตกกังวลใหแกชนชัน้ ปกครองในขณะนัน้ คือ เหตุการณกบฏ ร.ศ. 130 ซึง่ เปรียบเสมือนสัญญาณเตือน สถาบันพระมหากษัตริย หรือเรียกไดวา “วิกฤติความ จงรักภักดี” เนื่องจากขาราชการและปญญาชน อันเปน ผลผลิตของการพัฒนาประเทศ เกิดความสำ�นึกในความ 

สามารถของตน และมองวาระบอบการปกครองเดิม มิอาจที่จะสนองความตองการ หรือมีความเหมาะสม อีกตอไป ดวย “สารหลัก” และเคาโครงของเรื่องซึ่ง สอดรับกันอยางดี จนอาจกลาวไดวามีความเปนไปได อยางยิ่งที่ สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ จะ ทรงตั้งพระทัยใหหนังสือเลมนี้ เปนแบบอยางแกการ ปฏิบัติ ซึ่งพระองคประสงคใหขาราชการ โดยเฉพาะ “ทหาร” ถือเอาเปนเยี่ยงอยาง ซึ่งหากเปนไปดังนั้น แลว การเกิดขึน้ ของหนังสือ “เสภาเรือ่ งขุนชาง - ขุนแผน” ฉบับหอพระสมุดฯ นี้ จึงอาจมิไดเกิดขึ้นดวยสาเหตุดัง ที่ไดทรงกลาวไวในตำ�นานเสภา หากแตแฝงไปดวยนัย ทางการเมือง ในอันที่จะทรงใชหนังสือเลมนี้ เพื่อสราง ความรูส ำ�นึกรวมกันของคนในชาติ และทีส่ �ำ คัญคือ เปน ปฏิกิริยาตอเหตุการณกบฏ ร.ศ. 130 ก็เปนได ขอเสนอแนะ ผูวิจัยตระหนักดีถึงขอจำ�กัดประการสำ�คัญของ ระเบียบวิธวี จิ ยั ทีเ่ ลือกใช วาคอนขางมีความเปนอัตวิสยั อยูม าก กลาวคือ เปนการยากทีจ่ ะปฏิเสธถึงการมีตวั ตน ตลอดจนหลีกเลี่ยงการใช “พื้นฐานจิตใจ” หรือ “ความ เปนประวัติศาสตร” อันมีอยูเดิม ในการเขาไปตีความ ตัวบท ซึ่งผูวิจัยไมอาจจะทราบไดอยางแทจริง วาสิ่งที่ อยูในความคิดของบุคคลที่ผูวิจัยนำ�มาศึกษา หรือกลาว อางถึงนัน้ คืออะไร สิง่ ทีก่ ระทำ�ไดเปนเพียงการคาดคะเน “ความนาจะเปน” ของความคิดเหลานั้น ผานตัวบท อัน ไดแก คำ�พูด ขอเขียน หรือผลงานทั้งหลายของเขา เหลานัน้ รวมถึงบริบทแวดลอมตางๆ ไมวา จะเปนสถานะ หรือปจจัยอื่นๆ ที่ผูวิจัยจำ�ตองจินตนาการและพยายาม มองอยางรวบยอด ดวยความระมัดระวังอยางมากที่สุด เทาทีจ่ ะมากได และสรางเปนภาพรวมขึน้ มาในทายทีส่ ดุ กระนัน้ ก็ดี ถึงแมวา งานวิจยั ชิน้ นีอ้ าจจะไมใช “คำ� ตอบสุดทาย” ที่ “ถูกตองที่สุด” หากแตผูวิจัยก็มุงหวัง ตอไปวา การวิจยั ครัง้ นี้ คงจะสามารถผันตัวไปจุดประกาย ทางความคิด ใหเกิดความสนใจที่จะตั้งขอคำ�ถาม หรือ แนวทางในการศึกษาวรรณคดีสำ�คัญของชาติเรื่องนี้ ใหกวางขวางยิ่งขึ้นตอไป 



131


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

บรรณานุกรม ภาษาไทย กตัญู ชูชื่น. (2543). ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. กรมศิลปากร. (2511). คำ�ใหการชาวกรุงเกา คำ�ใหการขุนหลวงหาวัด และพระราชพงศาวดารกรุงเกา ฉบับ หลวงประเสริฐอักษรนิติ์. พระนคร: คลังวิทยา. __________. (2545). เสภาเรื่อง ขุนชาง-ขุนแผน. พิมพครั้งที่ 19. กรุงเทพฯ: บรรณาคาร. คริส เบเคอร และ ผาสุก พงษไพจิตร. (2551). ชีวประวัติของเสภาขุนชางขุนแผน (3) ทำ�ไมตองฆาวันทอง?. ศิลปวัฒนธรรม 29 (12) : 130-137. คมทวน คันธนู (นามแฝง). (2541). พิเคราะหวรรณคดี โดยวิถีประวัติศาสตร. เลม 2. เชียงใหม: มิ่งเมือง. คึกฤทธิ์ ปราโมช, หมอมราชวงศ. (2514). ปญหาประจำ�วัน ชุดที่ 2. กรุงเทพฯ: แพรพิทยา. __________. (2532). ขุนชางขุนแผน ฉบับอานใหม. กรุงเทพฯ: สยามรัฐ. จักรกฤษณ นรนิติผดุงการ. (2545). สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ กับกระทรวง มหาดไทย. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มติชน. จันทรศรี นิตยฤกษ. (2543). ความฝน : ลางบอกเหตุสำ�คัญในเรื่องขุนชางขุนแผน. ใน สารเผยแพรความรูทาง วิชาการและงานวิจัย ปที่ 9 ปการศึกษา 2543, 87-96. เรไร ไพรวรรณ, ปดิวรัดา ปาลกะวงศ ณ อยุธยา และ อุทุมพร แยมสุข, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏธนบุรี. จุลจักรพงษ, พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจา. (2514). เจาชีวิต. พิมพครั้งที่ 3. พระนคร: คลังวิทยา. ชลธิรา สัตยาวัฒนา. (2550). วิจารณรอื้ วิจารณ: ตำ�นานวรรณคดีวจิ ารณแนวรือ้ สรางและสืบสาน. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ชุมสาย สุวรรณชมภู. (2534). การศึกษาเปรียบเทียบบทเสภาเรื่องขุนชางขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ สำ�หรับพระนครกับฉบับสำ�นวนอืน่ . วิทยานิพนธอกั ษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัย ศิลปากร. ณรงศักดิ์ สอนใจ. (2548). เรื่องขุนชางขุนแผนในรูปแบบตางๆ. The Journal 1 (1) : 71-92. ณัฐ สุขสวาง. (2535). วิเคราะหสังคมระบบไพรในสมัยอยุธยาถึงสมัยรัตนโกสินทรตอนตนเทาที่ปรากฏใน เสภาเรื่องขุนชางขุนแผน. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยชางศิลป. ดำ�รงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา. (2497). ตำ�นานเสภาและเสภาเรื่องขุนชางขุนแผน ตอนแตงงานพระไวย. พระนคร: มหามกุฏราชวิทยาลัย. แถมสุข นุมนนท. (2545). ยังเติรกรุนแรก: กบฏ ร.ศ. 130. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สายธาร. ทัศนีย สุจนี ะพงษ, เรืออากาศโทหญิง. (2516). การใชไสยศาสตรในเสภาเรือ่ งขุนชางขุนแผน. วิทยานิพนธอกั ษร ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ธงชัย วินิจจะกูล. (2551). ภูมิกายาและประวัติศาสตร. ฟาเดียวกัน 6 (3) : 84-118. ธนาพล ลิ่มอภิชาต. (2552). อาจารยประจำ�ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สัมภาษณ, 29 มกราคม 2552. ธนาพล ลิ่มอภิชาต และ วริศา กิตติคุณเสรี. (2551). ประวัติศาสตรและการเมืองของวาทกรรม “หนังสือดี”. อาน 1 (3) : 38-60. ธีรเดช ชืน่ ประชานุสรณ. (2538). การวิเคราะหบทบาท และคานิยมในสือ่ พืน้ บาน “ละครเสภาขุนชางขุนแผน”.

132


นัยทางการเมืองใน “เสภาเรื่องขุนชาง - ขุนแผน” กิตติศักดิ์ เจิมสิทธิประเสริฐ

วิทยานิพนธนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. นริศรานุวัดติวงศ, สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยา และ ดำ�รงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. (2504). สาสนสมเด็จ. เลม 19. กรุงเทพฯ: องคการคาของคุรุสภา. ประจักษ ประภาพิทยากร. (2527). รายงานผลการวิจัย พระเอกในวรรณคดีคลาสสิคของไทย เรื่อง ขุนแผน: พระเอกนักรบ. กรุงเทพฯ: ชัยศิริการพิมพ. ปรีดา นวลประกอบ. (2542). แกนเรื่องจากวรรณคดีเรื่องขุนชางขุนแผน. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปรุงศรี วัลลิโภดม. (2524). วรรณคดีสโมสร สารานุกรมพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว 2 : 646-662. ภรณี กาญจนัษฐิติ. (2532). การปกครองระบบเทศาภิบาลของประเทศสยาม พ.ศ. 2435-2458 : กระทรวง มหาดไทยสมัยสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร. ยมโดย เพ็งพงศา. (2543). ความสัมพันธระหวางวรรณศิลปกับคีตศิลปในวรรณคดีเรื่องขุนชางขุนแผน. วารสาร วิชาการมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 8 (9-10) : 114-127. วรนันท อักษรพงษ. (2516). การศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทยในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน จากเรือ่ งขุนชางขุนแผน. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วัลลพ โหรวิชิต. (2546). การศึกษาบทบาททางจริยธรรมของสตรีครองเรือนในวรรณคดีไทยเรื่องขุนชาง ขุนแผน. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจริยศาสตรศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล. วารุณี โอสถารมย. (2524). การศึกษาในสังคมไทย พ.ศ. 2411-พ.ศ. 2475. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิชาญ สวางพงศ. (2530). การวิเคราะหคานิยมจากวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร (ชวงรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาล ที่ 3). ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ศักดา ปน เหนงเพ็ชร. (2517). คุณคาเชิงวรรณคดีเรือ่ งขุนชางขุนแผน. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วิชามัธยมศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ศุภร บุนนาค. (2518). สมบัติกวีชุด “ขุนชางขุนแผน”. ม.ป.ท. สมเกียรติ วันทะนะ. (2524). สังคมศาสตรวิภาษวิธี. กรุงเทพฯ: ทวีกิจการพิมพ. __________. (2530). เมืองไทยยุคใหม: สัมพันธภาพระหวางรัฐกับประวัติศาสตรสำ�นึก. ใน อยูเมืองไทย: รวม บทความทางสังคมการเมือง เพื่อเปนเกียรติแด ศาสตราจารยเสนห จามริก ในโอกาสอายุครบ 60 ป, 71-128. สมบัติ จันทรวงศ และ ชัยวัฒน สถาอานันท, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สายชล สัตยานุรักษ. (2546). สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ: การสรางอัตลักษณ “เมืองไทย” และ “ชั้น” ของชาวสยาม. กรุงเทพฯ: มติชน. สำ�นักหอจดหมายเหตุแหงชาติ. (2454). เอกสารรัชกาลที่ 6 บ. 17/3 หนังสือที่คนไดจากบานหลวงวิฆเนศวร ขุนทวยหาญ ร.ต.ชลอ (16 ต.ค. - 1 มี.ค. 2454). สุจิกา ยีมัสซา. (2541). การปกครองและการบริหารแผนดินในเสภาขุนชางขุนแผน: ศึกษาวิเคราะหจาก ภาพสะทอนและปฏิสัมพันธทางสังคมของตัวละคร. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ทักษิณ. สุนันท จันทรวิเมลือง และ มิ่งขวัญ ทองพรมราช. (2543ก). ขุนชาง: ชายรูปชั่วผูมั่นรัก. กรุงเทพฯ: ชางทอง. __________. (2543ข). ขุนแผน : ขุนพลนักรบและนักรัก. กรุงเทพฯ: ชางทอง. __________. (2543ค). พลายงาม : ผูตามรอยรบและรอยรัก. กรุงเทพฯ: ชางทอง.

133


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

__________. (2543ง). พิมพิลาไลย : หญิงงามผูอาภัพ. กรุงเทพฯ: ชางทอง. สุนันทา โสรัจจ. (2520). บทวิเคราะห - วิจารณ พระเอกหรือผูรายในวรรณคดีไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: นิยมวิทยา. สุรีรัตน เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2541). การควบคุมทางสังคมดวยการใหรางวัลและการลงโทษในเสภาเรื่อง ขุนชางขุนแผน. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. เหรียญ ศรีจนั ทร, รอยตรี และ เนตร พูนวิวฒ ั น, รอยตรี. (2517). กบฏ ร.ศ.130. พิมพครัง้ ที่ 4. กรุงเทพฯ: ศูนยกลาง นิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย. อมรดรุณารักษ, จมื่น. (2519). พระราชกรณียกิจสำ�คัญในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว: พระบรม ราโชบายทางการเมือง. พระนคร: คุรุสภา. อัควิทย เรืองรอง. (2543). คุณคาทางวรรณศิลปในเสภาเรื่องขุนชางขุนแผน. มนุษยศาสตรสังคมศาสตร 17 (4) : 33-47. อัจฉราพร กมุทพิสมัย. (2542). กบฏ ร.ศ. 130 กบฏเพื่อประชาธิปไตย: แนวคิดทหารใหม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: อมรินทรวิชาการ. ภาษาอังกฤษ Anderson, B. (2006). Imagined Communities: Reflections on the Origin and Spread of Nationalism. London: Verso. Baker, C. (2008). The Revolt of Khun Phaen. [Online]. Retrieved August 12, 2008. from http://www. fringer.org/wp-content/writings/chris-baker.pdf. Negash, G. (2004). Art Invoked: A Mode of Understanding and Shaping the Political. International Political Science Review 25 (2) : 185-201. Reynolds, C. (2005). Nation and State in Histories of Nation-Building, with Special Reference to Thailand. in W. Gungwu, ed. Nation-Building: Five Southeast Asian Histories. Singapore: Institute of Southeast Asian Studies. Sturm, A. (2006). The King’s Nation: A Study of the Emergence and Development of Nation and Nationalism in Thailand. Doctor of Philosophy Thesis, University of London.

134


การบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ The Management of Management Sciences Faculty, Rajabhat Universities

มณี ชินณรงค 1 Manee Chinnarong

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค 1.) เพื่อศึกษาระดับการบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏ 2.) เพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับการบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ 3.) เพื่ อ วิ เ คราะห ก ารพยากรณ ก ารบริ ห ารจั ด การ คณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ 4.) เพื่ อ นำ � เสนอรู ป แบบการบริ ห ารจั ด การ ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ การบริ ห ารจั ด การคณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ วิ ธี ก ารศึ ก ษาประกอบด ว ยการวิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณ โดยการสุ  ม ตั ว อย า ง จากอาจาร ย ค ณะวิทยาการจัดการ 40 แหง ทั่ ว ประเทศ จำ� นวน 338 ตั ว อย า ง และทวนสอบข อ มู ล เชิ งปริมาณ ด ว ยการสั ม ภาษณ เ ชิ ง ลึ ก คณบดี แ ละที ม ผู  บ ริ ห ารคณะวิ ท ยาการจั ด การจำ � นวน 11 ท า น เครื่ อ งมื อ ที่ใชในการรวบรวมขอมูลเปน แบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน (Pearson’s Product Moment Coefficient) การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณแบบ ขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบวา 1.) ในภาพรวม คณะวิทยาการจัดการ มีการบริหารจัดการอยูในระดับดี และพบวาในทุก ดานที่ศึกษา คือดานการเรียนการสอน ดานการวิจัย ดานการบริการวิชาการแกชุมชน และดานการประกันคุณภาพ มีการบริหารจัดการในระดับดีเชนเดียวกัน 2.) ปจจัยที่มีความสัมพันธ กับการบริหารจัดการเรียงระดับความสัมพันธ ดังตอไปนี้ ภาวะผูนำ� (r = .737) คุณภาพบุคลากร (r = .688) คุณภาพเทคโนโลยี (r = .642) ความสามารถของบุคคล (r = .508) ปริมาณเทคโนโลยี (r = .642) คานิยม (r = .468) วิสัยทัศนรวม (r = .516) การเรียนรูเปนทีม (r = .481) งบประมาณ (r = .676) ความคิดอยางเปนระบบ (r = .499) กรอบความคิด (r = .516) 3.) ตัวแปรอิสระทั้ง 6 ตัว ซึ่งประกอบดวย ภาวะผูนำ� คุณภาพบุคลากร คุณภาพเทคโนโลยี ความสามารถของบุคคล ปริมาณเทคโนโลยี และ คานิยม สามารถพยากรณการบริหารจัดการไดรอ ยละ 69.70 (R2=0.697 F=126.707 ทีร่ ะดับนัยสำ�คัญทางสถิติ เทากับ .01) 4.) รูปแบบที่นำ�เสนอประกอบดวยตัวแปรอิสระที่สามารถพยากรณคณะวิทยาการจัดการไดทั้ง 6 ตัวแปร คำ�สำ�คัญ: 1. การบริหารจัดการ. 2. ภาวะผูนำ�. 3. คุณภาพบุคลากร. 4. คุณภาพเทคโนโลยี. 5. ความสามารถของบุคคล. 6. ปริมาณเทคโนโลยี. 7. คานิยม.

__________________ 1 ผูชวยศาสตราจารย ประจำ�หลักสูตรบริหารธุรกิจการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

Abstract The objectives of this research are 1.) to study levels of effective management of the Management Science faculty, Rajabhat Universities, 2.) to study correlation of effective management and other variables of the studies. 3.) to examine the significant variables in predicting the effective management levels, 4.) to propose the management models associated with those levels. The method of study comprised quantitative analysis by sampling techniques from many instructors from 40 Rajabhat Universities in Thailand with 388 samples, and verified quantitative data techniques by indepth interviews of the Dean and Management Teams from the Faculty of Management Science, amounting to 11 persons. Tools used for data collecting are questionnaires with analytical statistics, Mean, Standard Deviation, Pearson’s Product Moment Coefficient, and Stepwise Multiple Regression Analysis. The research results revealed that the Faculty of Management Science, in general, is effective at a high level, with regard to learning and teaching techniques, research, and academic services for communities. In addition, the quality assurance is at a high level. With regard to the management performance, the management techniques sequential by relationship are as follows: Leadership (r =.737), quality of personnel (r = .688), quality of technology (r = .642), personnel’s competency (r = .508), quantity of technology (r = .642), value (r = .468), mutual vision (r =.516) learning in teams (r = .481), budget (r = 676), systematic thinking (r = .499), conceptual framework (r = .516). The six independent variables, comprising leadership, quality of personnel, quality of technology, personnel’s competency, quantity of technology, and value are able to predict the Management Performance at 69.70% ( R 2 = 0.697, F=126.707 with a significant level of .01). The model presented consists of the independent variables that are able to predict the management performance of all of six variables for the Faculty of Management Science. Keywords: 1. Management leadership. 2. Quality of personnel. 3. Quality of technology. 4. Personnel’s competency. 5. Quantity of technology. 6. Value.

136


การบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มณี ชินณรงค

บทนำ� มหาวิทยาลัยราชภัฏ เปนสถาบันอุดมศึกษา เพื่อศึกษาพัฒนาทองถิ่น ซึ่งมีพันธกิจในการสรางเสริม โอกาสในการศึกษาใหแกประชาชนในทองถิ่น สราง ระบบบริ ห ารจั ด การศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาที่ มี ประสิทธิภาพ พัฒนามาตรฐานการศึกษา และสรางองค ความรู เพื่อสรางความเขมแข็งชุมชนทองถิ่น โครงสรางมหาวิทยาลัยประกอบดวย 5 คณะคือ คณะครุศาสตร คณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร คณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม และคณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ทั่ ว ประเทศ คณะวิทยาการจัดการ เมื่อ พ. ศ. 2527 เปน คณะหนึ่งที่สังกัดอยู ในมหาวิทยาลัยราชภัฏทุกแหงมี พันธกิจดังนี้ 1. ผลิตบัณฑิตดานบริหารธุรกิจ และศิลปศาสตร 2. สร า งระบบบริ ห ารจั ด การศึ ก ษาระดั บ อุ ด ม ศึกษาที่มีประสิทธิภาพ 3. สรางองคความรูเพื่อใหชุมชน และทองถิ่น เขมแข็ง นับเปนภารกิจที่สำ �คัญของคณะวิ ทยาการ จัดการในมหาวิทยาลัยราชภัฏทุกแหง และเปนภารกิจ ที่มีคุณคาตอประเทศ ในการเพิ่มโอกาสใหเยาวชน ในทองถิ่นไดเขาถึงความรู และมุงพัฒนาตนสูความ เปนบัณฑิตคูคุณธรรม โดยลดการแขงขันการแสวงหา ความรูในกรุงเทพมหานคร การพัฒนาคณะวิทยาการ จัดการใหมปี ระสิทธิภาพ และสอดรับกับองคกรแหงการ เรียนรู จึงเปนเรื่องที่บุคลากรในคณะใหความสนใจ อยางยิ่ง (มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี 2549 : 3) สภาพการจั ด การศึ ก ษาของคณะวิ ท ยาการ จัดการของมหาวิทยาลัยราชภัฏทัว่ ประเทศ แนวคิดของ นักการศึกษา และผลการวิจยั พบวา มหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยภาพรวมมีปญหาลักษณะเหมือนกั น ประการที่ 1.) ดานบุคลากร มีปริมาณไมเพียงพอ ในการบริหาร งานทั้งอาจารยที่เปนขาราชการประจำ� และพนักงาน เจาหนาทีด่ า นบริหารจัดการ และงบประมาณดานการเงิน ทีย่ งั มีไมเพียงพอ ทีจ่ ะผลิตบัณฑิตทางดานบริหารธุรกิจ สายวิชาชีพ ซึง่ เปนทีต่ อ งการของตลาดแรงงาน ประกอบ กับคณะวิทยาการจัดการมีนักศึกษาเปนจำ �นวนมาก ประการที่ 2.) ดานอุปกรณ ดานเทคโนโลยีที่ใหบริการ

ทั้งอาจารยและนักศึกษา มีไมเพียงพอกับปริมาณความ ตองการ ประการที่ 3.) ดานบุคลากร ยังขาดแผนการ บริหารจัดการทีด่ ี ประการที่ 4.) อาจารยทเี่ ปนขาราชการ ประจำ�ยังมีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกไมถึงรอยละ 40 จากสภาพปญหาหลักที่กลาวมาขางตน ทั้ง 4 ประเด็น ทำ � ให ค ณะวิ ท ยาการจั ด การมี ค วามจำ � เป น ที่ จ ะต อ ง พัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏ ใหทันกับการเปลี่ยนแปลง ของโลกยุคฐานความรู การพัฒนาองคกรใหมปี ระสิทธิผล จึงตองอาศัยความมีภาวะผูนำ� บุคลากร ทีมงาน และ เทคโนโลยีที่เกี่ยวของ มีการนำ�องคความรูใหม และ ประสบการณมาแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ในชวงเวลาตัง้ แต พ.ศ. 2547 เปนตนมา สถาบัน อุดมศึกษาทุกแหงตองเขาสูระบบการประกันคุณภาพ ภายใน และการประกันคุณภาพภายนอกสถาบัน เพื่อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพการบริ ห ารจั ด การของมาตรฐานการ ศึกษา ทำ�ใหสภาพปญหาหลักทั้ง 4 ประเด็น ของ คณะฯ ลดนอยลง อยางไรก็ตาม การคนหาคำ�ตอบของ องคกรที่มีประสิทธิภาพของคณะ วามีองคกรแหงการ เรียนรู เปนสิ่งที่ยังไมมีการศึกษาคนควากระบวนการ วิจัย ผูวิจัยในฐานะเปนอาจารยในสังกัดคณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ จึงประสงคจะนำ�ผลการ วิจัยเปนขอเสนอแนะ ใหผูบริหารสามารถนำ�ไปปรับ กระบวนยุทธดานบริหารจัดการ ของคณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ วามีวิธีการบริหารจัดการ อยางไรใหเกิดประสิทธิผล เพื่อเปนขอมูลในการวาง แผนของผูบริหาร อันจะกอใหเกิดประโยชนตอองคกร โดยเฉพาะเป น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาที่ มี บ ทบาทหน า ที่ ในการผลิตบัณฑิต ซึ่งเปนบุคลากรที่มีคุณภาพของ ประเทศชาติ วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษาระดั บ การบริ ห ารจั ด การ คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ 2. เพื่ อ ศึ ก ษาป จ จั ย ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ การ บริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏ 3. เพือ่ วิเคราะหการพยากรณการบริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

137


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

4. เพื่อนำ � เสนอรู ปแบบการบริ หารจั ด การที่ มี ความสั ม พัน ธกับการบริหารจัดการ คณะวิ ท ยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีขอบเขตของการศึกษา ดังนี้ 1. ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบดวย 1.1 ตัวแปรตาม คือ การบริหารจัดการคณะ วิทยาการจัดการ ซึ่งประกอบดวยกิจกรรมหลักในการ บริหารจัดการ 4 ดาน คือ การเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแกชุมชน และการประกันคุณภาพ 1.2 ตัวแปรอิสระ คือ ปจจัยที่มีผลตอการ บริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ ซึ่งวิเคราะหจาก ทฤษฎีดานการบริหารจัดการ ภาวะผูนำ� วัฒนธรรม องคการ และองคกรแหงการเรียนรู จำ�นวน 11 ปจจัย หลัก คือ ความคิดอยางเปนระบบ (System Thinking) ความสามารถของบุคคล (Personal Mastery) แบบกรอบ ความคิด (Mental Models) วิสยั ทัศนรว ม (Shared Vision) การเรียนรูเปนทีม (Team Learning) คานิยม (Value) คุณภาพบุคลากร (Personal Quality) งบประมาณ (Budget) คุณภาพเทคโนโลยี (Quality Technology) ปริมาณเทคโนโลยี (Quantity Technology) และภาวะ ผูนำ� (Leadership) 1.3 ตัวแปรสถานภาพสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ รายได ตำ�แหนงทางวิชาการ การศึกษา สถานภาพ ประสบการณ ก ารสอนในมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ และ ลักษณะงานที่ทำ�ในปจจุบัน 2. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร คื อ อาจารย ผู  ส อนของคณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ จำ�นวน 40 แหง ไดแก 1.) ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ กลุ  ม ภาคกลาง (ศรีอยุธยา) 2.) มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุมภาคเหนือ (ลานนา) 3.) มหาวิทยาลัย ราชภัฏ กลุมภาคตะวันออก เฉี ย งเหนือ (อีสาน) 4.) มหาวิทยาลัยราชภั ฏ กลุ  ม มหาวิทยากลุม ภาคตะวันตก (ทวาราวดี) 5.) มหาวิทยาลัย ราชภัฏ กลุมภาคใต (ทักษิณ) 6.) มหาวิทยาลัยราชภัฏ กลุมกรุงเทพมหานคร (รัตนโกสินทร) การสุมตัวอยาง ดวยวิธกี ารของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) ไดขนาด

138

ตัวอยาง จำ�นวน 338 คน 3. วิธีการศึกษา เปนการวิจัยแบบผสม (Mixed method) คื อ การวิ จั ย เชิ ง ปริ ม าณ และการวิ จั ย เชิงคุณภาพรวมกัน สมมติฐานของการวิจัย ปจจัยการบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ กำ�หนดขึน้ ตามขัน้ ตอนดังกลาว นำ�มาสูก ารตัง้ สมมติฐาน ของการวิจัย ประกอบดวย สมมติฐานที่ 1 ความคิดอยางเปนระบบมีความ สัมพันธกับการบริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สมมติฐานที่ 2 ความสามารถของบุคคลมีความ สัมพันธกับการบริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สมมติฐานที่ 3 แบบกรอบความคิ ด มี ค วาม สัมพันธกับการบริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สมมติฐานที่ 4 วิ สั ย ทั ศ น ร  ว มมี ค วามสั ม พัน ธ กับการบริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏ สมมติฐานที่ 5 การเรี ย นรู  เ ป น ที ม มี ค วาม สัมพันธกับการบริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สมมติฐานที่ 6 คานิยมมีความสัมพันธกับการ บริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏ สมมติฐานที่ 7 คุณภาพบุคลากรมีความสัมพันธ กับการบริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏ สมมติฐานที่ 8 งบประมาณมีความสัมพันธ กับ การบริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏ สมมติฐานที่ 9 คุ ณ ภาพเทคโนโลยี มี ค วาม สัมพันธกับการบริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สมมติฐานที่ 10 ปริ ม าณเทคโนโลยี มี ค วาม สัมพันธกับการบริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการ


การบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มณี ชินณรงค

มหาวิทยาลัยราชภัฏ สมมติฐานที่ 11 ภาวะผู  นำ � มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ การบริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏ ประโยชนคาดวาจะไดรับ ผลงานวิจัยจะกอใหเกิดประโยชนดังนี้ 1. ประโยชนทางดานวิชาการ งานวิจัยนี้เปนการศึกษาปจจัยที่มีผลตอการ บริ ห ารจั ด การคณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภัฏ ของแตละมหาวิทยาลัยราชภัฏ ที่มีบริบทที่ แตกต า งกั น ด า นการบริ ห ารจั ด การ และวั ฒ นธรรม องคการในการทำ�งาน สามารถบริหารจัดการดานการ เรียนการสอน และพัฒนาวิชาการใหเกิดประสิทธิภาพ 2. ประโยชนทางดานการบริหารจัดการ งานวิจยั นีก้ อ ใหเกิดประโยชนอยางยิง่ ดานการ บริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ ดานภาวะผูนำ� คุณภาพบุคลากร คุณภาพเทคโนโลยี ความสามารถของ บุคคล ปริมาณเทคโนโลยี คานิยม และสามารถนำ�มาสราง กลยุทธการบริหารจัดการ สงเสริมการวิจัย การประกัน คุณภาพ และแนวทางการแกไขปญหาคณะวิทยาการ จัดการใหผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยราชภัฏให เกิดประสิทธิภาพ วิธีการดำ�เนินการวิจัย งานวิจยั นีเ้ ปนงานวิจยั แบบผสม (Mixed method) ประกอบดวยการวิจยั เชิงปริมาณดังตอไปนี้ (Quantitive method) ได แ ก การเก็ บ ข อ มู ล ด ว ยแบบสอบถาม จากตั ว อย า งอาจารย สั ง กั ด คณะวิ ท ยาการจั ด การ มหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ 40 แหง และการวิจัย เชิงคุณภาพ (Qualitative Method) การสัมภาษณเชิงลึก คณบดีและทีมงานบริหารคณะวิทยาการจัดการจำ�นวน 11 ทาน เพื่อศึกษาความสอดคลองหรือขอขดแยงกับ งานวิจยั เชิงปริมาณ และทดสอบสมมติฐานการวิจยั ดวย สถิติอนุมาน โดยใชสถิติวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) เพื่อเลือกตัวแปรอิสระ ที่สามารถพยากรณ การบริหารจัดการคณะวิทยาการ จั ด การ การดำ � เนิ น การวิ จั ย และกำ� หนดตั ว แปรตาม

ไดดำ�เนินการดังนี้ โดยสรุปขั้นตอนการวิจัยมีดังนี้ ประชากรและกลุมตัวอยาง กลุม ตัวอยางมีการสุม ตัวอยางแบบหลายขัน้ ตอน (Multistage Sampling) ซึ่งมีขั้นตอนในการสุมตัวอยาง ดังนี้ ขั้ น ตอนที่ 1 จั ด กลุ  ม พื้ น ที่ ใ นแต ล ะภาคเป น Cluster ละ 1 แหง ขั้ น ตอนที่ 2 กำ � หนดขนาดตั ว อย า งที่ ศึ ก ษา (Sample Size) ตามวิธีการของทาโรยามาเน (Taro Yamane) มีความคลาดเคลื่อนรอยละ 5 ชวงความ เชื่อมั่นรอยละ 95 ไดขนาดตัวอยาง 334 คน ขั้นตอนที่ 3 กำ�หนดขนาดตัวอยางของแตละ มหาวิทยาลัยราชภัฏที่สุมไดในแตละ Cluster โดยวิธี การหาสัดสวน (Stratified Random Sampling) ขั้นตอนที่ 4 การสุมหนวยวิเคราะห Unit of Analysis โดยวิธกี ารสุม อยางเปนระบบจากบัญชีอาจารย คณะวิทยาการจัดการ ของแตละมหาวิทยาลัยราชภัฏ จำ�นวน 40 แหง ทัว่ ประเทศ และปรับขนาดตัวอยางเปน 358 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือในการวิจัย (Research Instrument) ที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อนำ �มาวิเคราะหหา คำ�ตอบใหกับปญหาการวิจัยประกอบดวย 1. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล การ เก็บขอมูลเชิงปริมาณใชแบบสอบถามแบบมาตราสวน ประมาณคา (Rating Scale Questionnaire) และเครือ่ งมือ หลักทีใ่ ชในการเก็บรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพ คือ แบบ สัมภาษณ (Interview Form) 2. การสรางและทดสอบเครือ่ งมือทีใ่ ชเก็บขอมูล ผูวิจัยไดดำ�เนินการสรางเครื่องมือเพื่อใชเก็บรวบรวม ขอมูลในการวิจัยตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 2.1 ศึกษาทฤษฎี เอกสาร บทความ ตำ�รา และงานวิชาการที่เกี่ยวของกับการสรางประสิทธิผล การบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ 2.2 รวบรวมขอมูลตางๆ และเรียบเรียงเพื่อ สรางเครื่องมือวิจัยโดยยึดหลักตามวัตถุประสงคของ การวิ จั ย คื อ ต อ งเป น เครื่ อ งมื อ วิ จั ย ที่ ส ร า งขึ้ น เพื่ อ

139


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ประเมินการบริหารจัดการที่มีความเที่ยงตรง และมี ประสิทธิภาพ ตรวจสอบแกไข และปรับปรุงเครื่องมือ วิจัยใหมีประสิทธิภาพ โดยผูเชี่ยวชาญภายนอกที่เปน นักวิชาการเขารวมตรวจสอบ แกไขปรับปรุงเครื่องมือ ทางดานความหมายของภาษาทีใ่ ช และความหมายตรง ตามเนื้อหา (Content Validity) 2.3 เครื่องมือวิจัยที่เปนแบบสอบถามมีการ หาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) โดยอาศัยความคิด เห็นจากผูเ ชีย่ วชาญ ซึง่ ประกอบดวยผูท รงคุณวุฒทิ เี่ ปน นักวิชาการ อาจารยมหาวิทยาลัยราชภัฏ 2 ทาน และ เปนอาจารยมหาวิทยาลัย 3 ทาน รวมเปน 5 ทาน จาก ผลการทดสอบคา (IOC) พบวามีคา ระหวาง 0.8 -1.00 ซึ่งสอดคลองกับจุดมุงหมายการวิจัย คือแบบสอบถาม มีความเที่ยงตรงดานเนื้อหา (Conten Validity) อยูใน เกณฑสูง และนำ�แบบสอบถามไปทดลองใช (Try Out) กับกลุมตัวอยางที่มีลักษณะคลายคลึงกับกลุมที่ใชจริง จำ�นวน 30 ชุด ไดหา (Internal Consistency Reliability) ของแบบสอบถามสวนทีเ่ ปนตัวแปรอิสระ/ ปจจัยหลัก 11 ตัว ซึ่งไดคาสัมประสิทธิ์อัลฟา (Alpha Coeffcient) ของ ครอนบาค Cronbach เทากับ .9828 และการบริหาร จัดการ ตัวแปรตาม เทากับ .9563 โดยสรุปขั้นตอนการวิจัย ดังนี้ 1. เลือกปญหา และศึกษาปญหาของการวิจยั เพือ่ คนหาขอเท็จจริงตามที่ปรากฏอยู 2. ลงพื้ น ที่ ภ าคสนามเพื่ อ รวบรวมข อ มู ล เชิงประจักษ ดานประชากรที่ศึกษานโยบายแผนงานที่ เกี่ยวของกับการบริหารจัดการ ดานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแกชุมชน ประกันคุณภาพ 3. กำ�หนดคำ�ถาม และวัตถุประสงค ของการวิจยั จากหลักการแนวคิดทางทฤษฎีประสิทธิภาพและทฤษฎี ประสิทธิผล 4. กำ�หนดกรอบแนวความคิดในการวิจัยโดย อาศัยคำ�ถาม และวัตถุประสงคของการวิจัย 5. กำ�หนดวิธีดำ�เนินการวิจัย 6. สร า งเครื่ อ งมื อ เพื่ อ เก็ บ ข อ มู ล การวิ จั ย เชิงปริมาณ 7. วิ เ คราะห ข  อ มู ล เชิ ง ปริ ม าณด ว ยค า สถิ ติ

140

พรรณนา และสถิติอนุมาน ความคิดเห็นประเด็นตางๆ ของการบริหารจัดการ 8. วิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ โดยศึ ก ษาความสอดคล อ งและความขั ด แย ง ของ ขอคนพบ 9. สรุ ป ผลการวิ จั ย อภิ ป รายผล และให ข  อ เสนอแนะ ได แ ก ก ารสั ม ภาษณ เ ชิ ง ลึ ก คณบดี แ ละ ทีมงานบริหารคณะวิทยาการจัดการ จำ�นวน 11 ทาน เพื่ อ ศึ ก ษาความสอดคล อ งหรื อ ข อ ขั ด แย ง กั บ งานวิจัยเชิงปริมาณ จากคำ�ถามที่ผูวิจัยไดเตรียมไว แนวคิดทฤษฎี และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดเรื่องการ บริหารจัดการ และทฤษฎีเกีย่ วของกับการบริหารจัดการ องคการแหงการเรียนรูของ Peter M. Senge ประกอบ ดวย ความคิดอยางเปนระบบ ความสามารถของบุคคล แบบกรอบความคิด วิสัยทัศนรวม การเรียนรูเปนทีม ซึ่งทำ�ใหองคการของคณะวิทยาการจัดการเปนองคการ ที่มีประสิทธิภาพ ทฤษฏีวัฒนธรรรมองคการ (สัญญา สัญญาวิวัฒน 2549) วัฒนธรรม คือ ผลรวมของการ เรียนรู ความเชื่อ คานิยม ขนมธรรมเนียมประเพณี ซึ่งกำ�หนดพฤติกรรมของบุคคลในสังคมใดสังคมหนึ่ง และทฤษฎีประสิทธิผลภาวะผูนำ�ตามสถานการณ ของ Fiedler (1967) ผูนำ�ที่มีลักษณะเฉพาะในการทำ�งาน 1.) พฤติ ก รรมผู  นำ � แบบมุ  ง งาน (Task Oriented) 2.) พฤติ ก รรมผู  นำ � แบบมุ  ง สั ม พั น ธ (Relationship Oriented) และทฤษฎีการบริหารจัดการ POSDCORB ของ (Gulick and Urwick 1956) ไดแก การวางแผน การจัดองคกร การจัดหาบุคลากร การอำ�นวยการ การ ประสานงาน การรายงาน งบประมาณ และการวิเคราะห สังเคราะหจากประสบการณที่ผูวิจัยในฐานะอาจารย สาขาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ การสรางฐาน ความรู พรอมทัง้ เอกสารทีเ่ กีย่ วของกับการบริหารจัดการ ของคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏ การอภิปรายผลการวิจัย ผลการวิ จั ย เรื่ อ ง การบริ ห ารจั ด การคณะ วิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ครั้งนี้ สามารถ


การบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มณี ชินณรงค

สรุปขอมูลทัว่ ไปไดดงั นี้ กลุม ตัวอยางในการวิจยั อาจารย คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 40 แหง จำ�นวน 338 คน ซึ่งในภาพรวมจากผลของการวิจัย นั้ น พบว า บุ ค ลากรในคณะวิ ท ยาการจั ด การ จาก มหาวิทยาลัยราชภัฏในกรุงเทพ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในภาคเหนือ มีจำ�นวนสูงกวา ภูมิภาคอื่นๆ คือ จำ�นวน 84 และ 80 คน (รอยละ 24.9 และ 23.7) ตามลำ�ดับ รองลงมาคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำ�นวน 58 คน (รอยละ 17.2) ที่เหลือจะกระจายอยูตาม ภาคตางๆ ใกลเคียงกัน และพบวาเปนผูตอบแบบสอบถามสังกัด มหาวิทยาลัยทีก่ อ ตัง้ กอนพระราชบัญญัตสิ ถาบันราชภัฏ ซึ่งเคยใชชื่อวาวิทยาลัยครู เกือบทั้งหมดจำ�นวน 311 คน (รอยละ 92 ) และจากขอมูลสถานภาพบุคคลของ ผูตอบแบบสอบถาม จำ�นวน 338 คน พบวาบุคลากร สวนใหญเปน เพศหญิง จำ�นวน 251 คน (รอยละ 74.3) มีอายุระหวาง 31- 40 ป จำ�นวน 167 คน (รอยละ 49.4) มีประสบการณการสอนไมเกิน 5 ป จำ�นวน 182 คน (รอยละ 47.9 ) ขาราชการ จำ�นวน 150 คน (รอยละ 44.4) จบระดับปริญญาโท จำ�นวน 306 คน (รอยละ61.5) และระหวางมีรายได 10,001 - 20000 บาท จำ�นวน 158 คน (รอยละ 46.7) และระหวางมีรายได 30,001 - 40,000 บาท จำ�นวน 44 คน (รอยละ13.0) มากกวา 40,000 บาท จำ�นวน 35 คน (รอยละ 10.4) สถานภาพการปฎิบัติงาน

ตำ�แหนงคณบดี 5 ทาน (รอยละ 1.5) และรองคณบดี จำ�นวน 17 ทาน (รอยละ 5.0) เปนประธานหลักสูตร จำ�นวน 38 ทาน (รอยละ11.2) และกรรมการหลักสูตร จำ�นวน 51 ทาน (รอยละ15.1) เปนอาจารยผสู อน จำ�นวน 208 ทาน (รอยละ 61.5) และอื่นๆ จำ�นวน 19 ทาน (รอยละ 5.6) สรุปผลการวิจัย 1. ผลการศึกษาพบวา ระดับการบริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการในดานการเรียนการสอน การวิจยั การบริการวิชาการแกชุมชน และการประกันคุณภาพ มีคาเฉลี่ยรวม 3.57 อยูในระดับดี 2. ผลการศึกษาพบวา ปจจัยที่ศึกษามีความ สัมพันธกบั การบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ อยาง มี นั ย สำ � คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .01 ด า นภาวะผู  นำ � มี คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ r = .737 คุณภาพบุคลากร r = .688 คุณภาพ เทคโนโลยี r = .642 ความสามารถ ของบุคคล r = .508 ปริมาณเทคโนโลยี r = .626 คานิยม r = .468 วิสัยทัศนรวม r =.516 การเรียน รูเปนทีม r = .481 งบประมาณ r = .676 ความคิด อยางเปนระบบ r = .499 และแบบกรอบความคิด r = .516

ตารางที่ 1. ความสัมพันธระหวางปจจัยหลักกับการบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ ตัวแปร/ปจจัยหลัก 1. ความคิดอยางเปนระบบ 2. ความสามารถของบุคคล 3. แบบกรอบความคิด 4. วิสัยทัศนรวม 5. การเรียนรูเปนทีม 6. คานิยม 7. คุณภาพบุคลากร 8. งบประมาณ 9. ปริมาณเทคโนโลยี 10. คุณภาพเทคโนโลยี 11. ภาวะผูนำ�

(r) .499 .508 .516 .516 .418 .468 .688 .676 .626 .642 .737

ลำ�ดับ 9 8 6 6 11 10 2 3 5 4 1

141


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

3. ผลการวิ เ คราะห ก ารพยากรณ ก ารบริ ห าร จัดการคณะวิทยาการจัดการมีปจ จัยหลัก 6 ตัวแปรทีถ่ กู คัดเลือกเขาสมการพยากรณ ไดแก ภาวะผูนำ� คุณภาพ บุคลากร คุณภาพเทคโนโลยี ความสามารถของบุคคล ปริมาณเทคโนโลยี และคานิยม โดยมีสมการคะแนน

มาตรฐานซึ่ ง คั ด เลื อ กตั ว แปรอิ ส ระตามวิ ธี S tepwise Multiple Regression ดังนี้

ˆ = .372 (X 11) + .213+ (X7) +.165(X10)+ Y .096(X2)+.124(X9)+.085+(X6)

ตารางที่ 2. คาสถิติในสมการถดถอยพหุคูณ สรุปปจจัยหลักทัง้ 11 ตัวทีถ่ กู คัดเลือก เขาสมการพยากรณตวั แปรตาม หรือการบริหารจัดการ คณะวิทยาการ จัดการ แสดงในตารางที่ 2. Model 1. X11 2. X11, X7 3. X11, X7, X10 4. X11, X7, X10, X2 5. X11, X7, X10, X2, X9 6. X11, X7, X10, X2, X9, X6

R .737 .792 .823 .829 .832 .835

R Square .543 .628 .678 .687 .692 .697

Adjusted R Square .542 .625 .675 .684 .687 .691

R Square Change .543 .085 .050 .010 .004 .005

R = .835 R2 = .697 SEest = 1.597 F =126.707**

4. เพื่อนำ�เสนอรูปแบบการบริหารจัดการ ที่มี ความสัมพันธกบั การบริหารจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ประกอบดวย 6 ตัวแปร ซึ่งเปนตัวแปรที่พยากรณการ บริหารจัดการไดอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถสรุปสาระสำ�คัญ ไดดังนี้ การบริหารจัดการภาวะผูนำ� การบริหารจัดการ คุณภาพบุคลากร การบริหารจัดการคุณภาพเทคโนโลยี การบริหารจัดการความสามารถของบุคคล การบริหาร จัดการปริมาณเทคโนโลยี การบริหารจัดการคานิยม การวิจัยครั้งนี้อาศัยวิธีการวิจัยทางคุณภาพ เขามาชวย ในการอภิปรายผล และขอเสนอแนะ โดยนำ�ผลการ สรุป จากการวิเคราะหขอมูลการวิจัยเชิงปริมาณเขามา เปรียบเทียบโดย สัมภาษณคณบดีและทีมผูบ ริหารคณะ วิทยาการจำ�นวน 11 ทาน แลวทำ�การวิเคราะหในระดับ

142

ความคิด (Conceptual Analysis) ซึ่งสามารถอภิปราย ผลในประเด็นตางๆ ไดดังนี้ ภาวะผูนำ� ผลการวิจยั ครัง้ นีพ้ บวา ภาวะผูน �ำ มีความสัมพันธ กั บ การบริ ห ารจั ด การ คณะวิ ท ยาการจั ด การอยู  ใ น ระดับมาก (r = .737) เปนตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ เชิงบวก กับการบริหารจัดการ ในดานภาพรวมผูบ ริหาร ใชภาวะผูนำ�ในการปฏิบัติงาน ใชภาวะผูนำ�แกปญหา อยางสรางสรรค ผูบ ริหารใชภาวะผูน �ำ เชือ่ มัน่ และยอมรับ ในการทำ�งานของบุคลากร และใชภาวะผูนำ�สงเสริม ผลักดันใหบุคลากร สรางและพัฒนาสิ่งใหมๆ อยาง สรางสรรค ผูบริหารใชภาวะผูนำ�สนับสนุนใหบุคลากร เรียนรูรวมกัน


การบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มณี ชินณรงค

คุณภาพบุคลากร ผลการวิจยั ครัง้ นีพ้ บวา คุณภาพบุคลากรมีความ สั ม พั น ธ กั บ การบริ ห ารจั ด การคณะวิ ท ยาการบริ ห าร จัดการอยูใ นระดับปานกลาง (r = .688) เปนตัวแปรอิสระ ที่มีความสัมพันธเชิงบวกกับการบริหารจัดการ ในภาพ รวมคุณภาพบุคลากร ดูจากคาเฉลี่ย อยูในระดับมาก คุ ณ ภาพของบุ ค ลากร มี ค วามสำ � คั ญ กั บ การพั ฒ นา บุคลากร ใหเขารับการฝกอบรมภายในและภายนอก คณะฯ สรางเครือขายความรวมมือกับองคกร คุณภาพเทคโนโลยี ผลการวิจัยครั้งนี้พบวา คุณภาพเทคโนโลยีมี ความสัมพันธกบั การบริหารจัดการอยูใ นระดับปานกลาง (r = .642) เปนตัวแปรอิสระที่มีความสัมพันธเชิงบวก กับการบริหารจัดการในดานคุณภาพเทคโนโลยี ดูจาก คาเฉลีย่ อยูใ น ระดับปานกลาง คณะฯใหความสำ�คัญ กับ อุปกรณ และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพใหบริการบุคลากร อยางเพียงพอ เครือ่ งมืออุปกรณและเทคโนโลยี มีคณ ุ ภาพ ใหบริการแกนกั ศึกษาอยางเพียงพอ บุคลากรสามารถนำ� เทคโนโลยีที่มีคุณภาพมาใชในการปฏิบัติงานไดดี และ มีการใชเทคโนโลยีที่มีคุณภาพ เพื่อใชในการบริการ จัดการประชุม และบุคลากรในคณะฯ มีการใชเทคโนโลยี ที่ มี คุ ณ ภาพในการเข า ถึ ง ข อ มู ล ทางด ว นผ า น LAN อินเทอรเน็ต และอินทราเน็ต บุคลากรรวมกันผลิต อุปกรณเทคโนโลยีสื่อสารไดอยางมีคุณภาพ ปริมาณเทคโนโลยี ผลการวิจัยครั้งนี้พบวา ปริมาณเทคโนโลยีมี ความสัมพันธกบั การบริหารจัดการอยูใ น ระดับปานกลาง (r = .626) เปนตัวแปรอิสระที่มีความสัมพันธเชิงบวก กับการบริหารจัดการในดานปริมาณเทคโนโลยี ดูจาก คาเฉลี่ยอยูในระดับปานกลาง คณะฯ ใหความสำ�คัญกับ อุปกรณและเทคโนโลยี บริการบุคลากรอยางพอเพียง เครื่องมืออุปกรณและเทคโนโลยี บริการนักศึกษาอยาง พอเพียง มีเทคโนโลยีเพียงพอที่สามารถเขาถึงแหลง ขอมูล เพื่อนำ�ไปใชในการปฏิบัติงานไดดี และใชบริการ จัดการประชุมบุคลากรในคณะฯ สามารถใชเทคโนโลยี ที่เพียงพอในการเขาถึงขอมูลทางดวนโดยผาน LAN ในอินเตอรเน็ต และอินทราเน็ต บุคลากรรวมกันผลิต อุปกรณเทคโนโลยีสื่อสารในปริมาณที่เพียงพอ

ความสามารถของบุคคล ผลการวิจยั ครัง้ นีพ้ บวาความสามารถของบุคคลมี ความสัมพันธกบั การบริหารจัดการอยูใ นระดับปานกลาง (r = .508) เปนตัวแปรอิสระที่มีความสัมพันธเชิงบวก กับการบริหารจัดการในดานความสามารถของบุคคล พิจารณาจากคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก คณะฯ ใหความ สำ � คั ญ ที่ มี ค วามสามารถในการใช เ ทคโนโลยี อ ย า ง เหมาะสม ไดรับการฝกเพิ่มพูนทักษะเพื่อใชเปนฐาน การสรางสรรคนวัตกรรม บุคลากรแสวงหาความรูเพื่อ พัฒนาตนเองอยางสม่ำ�เสมอ ไดรับการพัฒนาคุณวุฒิ ทางการศึกษาที่สูงขึ้นกวาเดิม วิสัยทัศนรวม ผลการวิจัยครั้งนี้พบวา วิสัยทัศนรวมมีความ สัมพันธกับการบริหารจัดการ อยูในระดับปานกลาง (r = .516) เปนตัวแปรอิสระทีม่ คี วามสัมพันธเชิงบวกกับ การบริหารจัดการ ดานวิสัยทัศนรวมพิจารณาดูจาก คาเฉลี่ยอยูในระดับมาก คณะฯ ใหความสำ�คัญกับ บุคลากรไดรวมแสดงวิสัยทัศนเปนองคการแหงการ เรียนรู มีความกระตือรือรนรับฟงความคิดเห็นผูอื่น ไดรับการกระตุนใหเรียนรูรวมกันโดยผานระบบการ สื่อสารที่หลากหลาย บุคลากรของคณะฯ ไดกำ�หนด วิสัยทัศนรวม เพื่อใหเกิดการเรียนรูรวมกันและทุกทาน มีสวนรวมในการผลักดันองคการใหประสบความสำ�เร็จ การเรียนรูเปนทีม ผลการวิจยั ครัง้ นีพ้ บวา การเรียนรูเ ปนทีมมีความ สัมพันธกับการบริหารจัดการ อยูในระดับปานกลาง (r = .418) เปนตัวแปรอิสระที่มีความสัมพันธเชิงบวก กับการบริหารจัดการ ในดานการเรียนรูเ ปนทีม พิจารณา จากคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก คณะฯใหความสำ�คัญกับ ที ม งานที่ มี ค วามกระตื อ รื อ ร น ในการเรี ย นรู  ร  ว มกั น ทีมงานมีการเรียนรูเ ทคโนโลยีรว มกัน มีการทำ�งาน และ ฝกอบรมอยูเปนระบบทีมงาน มีการแกปญหารวมกัน และมีการแบงปนประสบการณ และสรางสันติภาพ งบประมาณ ผลการวิ จั ย ครั้ ง นี้ พ บว า งบประมาณมี ค วาม สัมพันธกับการบริหารการจัดการคณะวิทยาการ อยูใน ระดับปานกลาง (r = .676) จัดเปนตัวแปรอิสระทีม่ คี วาม สั ม พั น ธ เ ชิ ง บวก กั บ การบริ ห ารการจั ด การในด า น

143


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

งบประมาณโดยมีคาเฉลี่ยอยูในระดับปานกลาง คณะฯ ใหความสำ�คัญ และมีการจัดสรรงบประมาณสำ�หรับ ใชจัดซื้อ และสรางเทคโนโลยีสารสนเทศอยูในระดับ เหมาะสมและเพี ย งพอ มี ก ารจั ด สรรงบประมาณที่ เหมาะสมในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณครุภัณฑที่จำ�เปน ในการเรียนการสอน และมีงบประมาณในการบริหาร จัดการ เกีย่ วกับคาตอบแทนบุคลากรมีความเหมาะสม มี งบประมาณสำ � หรั บ ให บุ ค ลากรใช ศึ ก ษาดู ง านใน ประเทศ และตางประเทศ ในระดับที่เหมาะสม และมี งบประมาณสำ�หรับสงเสริมบุคลากร เขารับการพัฒนา สมรรถนะที่สอดคลองกับงานที่ทำ� ความคิดอยางเปนระบบ ผลการวิจยั ครัง้ นีพ้ บวา ความคิดอยางเปนระบบ มี ค วามสั มพันธกับการบริหารจัดการคณะวิ ท ยาการ จัดการอยูใ นระดับปานกลาง (r = .499) เปนตัวแปรอิสระ ที่มีความสัมพันธเชิงบวก กับการบริหารจัดการในดาน ความคิดอยางเปนระบบ โดยมีคาเฉลี่ยอยู  ใ นระดับ ปานกลาง คณะฯ ใหความสำ�คัญกับบุคลากรทุกทาน สามารถคิดอยางเปนเหตุเปนผลแบบองครวม ในการคิด อยางเปนระบบของบุคลากร ไดอาศัยแบบสารสนเทศ อิเล็กทรอนิกสชวยสงเสริมในการคิด แสดงความเห็น อยางองครวมในงานทีร่ บั ผิดชอบ เมือ่ ผูบ ริหารเปดโอกาส ใหบุคลากรไดใชเทคโนโลยีสารสนเทศมารวมในการ บริหารงานของคณะฯ กรอบความคิด ผลการวิจัยครั้งนี้พบวา กรอบความคิดมีความ สั ม พั น ธ กั บ การบริ ห ารจั ด การอยู  ใ นระดั บ ปานกลาง (r = .516) โดยเปนตัวแปรอิสระที่มีความสัมพันธ เชิงบวก กับการบริหารจัดการดานกรอบความคิด ดูจาก คาเฉลี่ยอยูในระดับมาก คณะฯ ใหความสำ�คัญกับ บุคลากรแนวความคิดในการแลกเปลีย่ นความคิดรวมกัน มีโอกาสแสดงความคิดเห็นในการบริหารจัดการ และการ

144

เรียนการสอนรวมกัน ผูบริหารและบุคลากรมีการรับฟง ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน มีแนวคิดและวิธีในการจัด เก็บขอมูล ภายในและภายนอกอยางเปนระบบ มีการจัด กิจกรรมพัฒนาระบบการบริหารจัดการรวมกัน คานิยม ผลการวิจัยครั้งนี้พบวา คานิยมมีความสัมพันธ กับการบริหารจัดการอยูในระดับปานกลาง (r = .468) เปนตัวแปรอิสระทีม่ คี วามสัมพันธเชิงบวกกับการบริหาร จัดการทีม่ คี วามพรอมตอการปรับตัว ในการเปลีย่ นแปลง ของคณะฯ และบุคลากรอุทิศเวลาใหกับการทำ �งาน อยางเต็มกำ�ลัง เพื่อความสำ�เร็จขององคการการปฎิบัติ งานของบุ ค ลากรในคณะฯ มี ค วามสั ม พั น ธ อ ย า ง กัลยาณมิตร มีโอกาสแสดงทัศนะ และคานิยมของตนเอง ในการดำ�เนินงานของคณะฯ บุคลากรมีความไววางใจ และเอือ้ อาทรซึง่ กันและกัน คณะฯ มีการสรางบรรยากาศ และขวัญกำ�ลังใจ และใหรางวัลแกบุคลากรที่มีสวนรวม ทำ�ใหบรรลุเปาหมาย และผลการวิจัยของ ประพจน แย ม ทิ ม (2550) ได ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ ร ะหว า ง วัฒนธรรมองคการกับประสิทธิผล การจัดการศึกษาการ รับรูของผูบริหารสถานศึกษา มีความคิดเห็นเกี่ยวกับ วัฒนธรรมโดยรวมทุกดานอยูใ นระดับมาก การใหอ�ำ นาจ การดูแลเอาใจใสซึ่งกันและกัน ความรูสึกเปนสวนหนึ่ง ขององค ก ารให ก ารสนั บ สนุ น การจั ด การ และความ รับผิดชอบของสมาชิกในสถานศึกษา คณะฯ ควรสราง วัฒนธรรมคานิยมทีถ่ กู ตองใหเกิดขึน้ ในองคการ โดยนำ� เครื่องมือทางวิชาการมาใช จากผลการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิ ง คุ ณ ภาพ พบว า วั ฒ นธรรมค า นิ ย มเป น ตั ว กระตุ  น ให เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงมี ผ ลเชิ ง บวกกั บ การ บริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ถาผูบริหารทานใดกลาเปลี่ยนแปลงก็จะทำ�ใหองคการ เกิดประสิทธิภาพ แตตองใชเวลานานพอสมควร


การบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มณี ชินณรงค

การบริหารจัดการคานิยม - สรางคานิยมรวม ในองคกร - สรางวัฒนธรรมองคกร - พัฒนาบุคลากรรุนเกา และรุนใหมรวมกัน - สรางภาพลักษณ ขององคกร - ยึดหลักธรรมาภิบาล คุณธรรม จริยธรรม

การบริหารจัดการ ปริมาณเทคโนโลยี - ปริมาณเทคโนโลยี ที่ทันสมัยให้บริการ บุคลากร - งบประมาณจัดซื้อ อุปกรณ์เทคโนโลยี ที่ทันสมัย

การบริหารจัดการ คุณภาพบุคลากร - พัฒนาบุคลากร - พัฒนาคุณวุฒิ - ผลงานทางวิชาการ - สงเสริมการวิจัย

การบริหารจัดการภาวะผูน �ำ - พัฒนาทีมงานเปนที่ยอมรับ - สรางจูงใจใหบุคลากร มีวิสัยทัศนรวม - เปดโอกาสบุคลากร แสดงความคิดเห็น - ผูนำ�ตองกลาตัดสินใจ - ผูนำ�สามารถทำ�งานรวมกัน

การบริหารจัดการ คุณภาพเทคโนโลยี - พัฒนาคุณภาพ เทคโนโลยี - บุคลากรมีความสามารถ ใชเทคโนโลยี - ใหบริการเทคโนโลยี ดานการเรียนการสอน - จัดสง E-mail ขอมูล ใหบุคลากรขององคกร

การบริหารจัดการ ความสามารถของบุคคล - บุคลากรมีความสามารถ สรางสรรคนวัตกรรม - บุคลากรพัฒนาตนเอง - บุคลากรไปอบรมศึกษา ดูงานในและตางประเทศ - พัฒนาหลักสูตรทันสมัย

การบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ

การเรียนการสอน

วิจัย

บริการ​วิชาการ​แก​ชุมชน

ประกัน​คุณภาพ

แผนภาพที่ 1 รูปแบบการบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏ​

145


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะทีเ่ กีย่ วของกับการวิจยั นี้ แบงออก เปน 2 สวน ประกอบดวยขอเสนอแนะจากผลการวิจัย และข อ เสนอแนะเพื่ อ การวิ จั ย ครั้ ง ต อ ไป โดยมี รายละเอียดในแตละสวนดังนี้ 1.) ขอเสนอแนะการประยุกตใชผลการวิจยั 1.1) รปู แบบการบริหารจัดการ คณะวิทยาการ จัดการ ซึ่งเปน Model ที่สรางขึ้นเพื่อใหเหมาะระดับ งานด า นทางจั ด การของคณะวิ ท ยาการจั ด การ โดยรู ป แบบนี้ เ ป น กระบวนการบริ ห ารงานให เ กิ ด ประสิทธิภาพ ซึง่ องคการใดทีม่ บี ทบริบทการบริหารงาน คล า ยคลึ ง กั น ย อ มสามารถนำ � รู ป แบบนี้ ไ ปปรั บ ใช เพื่ อ พั ฒ นาในการบริ ห ารงานให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ ตามบริบทขององคกร 1.2) รูปแบบการบริหารจัดการคณะวิทยาการ จัดการ เปน Model ที่สรางตามขั้นตอนการบริหารการ จัดการคณะวิทยาการจัดการ ตามขัน้ ตอนของการบริหาร จัดการ พัฒนาบุคลากรของคณะวิทยาการจัดการ เพื่อ รองรับการเปนองคกรแหงการเรียนรู และความสามารถ ของบุ ค คลในการจัดการความรู องคการใดมี บ ริ บ ท บริหารงานใกลเคียงกับคณะฯ นาจะสามารถนำ�รูปแบบ นี้ไปปรับใชใหเกิดประโยชนกับองคกร เพื่อรองรับการ เปนองคกรแหงการเรียนรู 1.3) จากการวิเคราะหสมการพยากรณการ บริหารจัดการคณะฯ ดวยการวิเคราะหถดถอยพหุคูณ 

146



พบวา วินัย 5 ประการในองคกรแหงการเรียนรูของ Senge มีเพียงความสามารถของบุคคล (Personal Mastery) ที่ถูกคัดเลือกเขาสมการพยากรณ ดังนั้น ผูบริหารคณะฯ ควรใชภาวะผูนำ� ซึ่งเปนตัวแปรที่มี คาคะแนนสูง และมีการปฎิบตั ริ ะดับมาก / ดีในการระดม ปจจัยนำ�เขา (Input) และสรางกระบวนการ (Process) ดวยการนำ�องคประกอบอื่นๆ ของวินัยทั้ง 5 ประการ มาพิจารณาเปนแบบแผนงานประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งภายใน ภายนอกสถาบัน เพื่อผลผลิต (Output) คุณภาพระดับสากล 2.) ขอเสนอแนะในการทำ�วิจัยครั้งตอไป 2.1) ควรมีการทำ�วิจัยเปรียบเทียบการ บริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ที่อยูตามภูมิภาคตางๆ เชน ภาคเหนือ กับภาคกลาง ภาคอีสานกับภาคใต 2.2) ควรมีการศึกษาวิจยั เชิงคุณภาพดานภาวะ ผู  นำ � ของคณะวิ ท ยาการจั ด การมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ที่ประสบผลสำ�เร็จ และลมเหลว โดยศึกษาวิจัยกรณี ศึกษา เพื่อหาขอมูลเชิงลึก ดานการบริหารจัดการ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 2.3) ควรมี ก ารวิ จั ย การบริ ห ารจั ดการ คณะวิทยาการจัดการ โดยเก็บขอมูลจากประชากรที่ เกี่ยวของ เชน ผูใชบริการผูมีสวนไดสวนเสีย นักศึกษา และศิษยเกาของคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ราชภัฏ 


การบริหารจัดการคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มณี ชินณรงค

บรรณานุกรม ภาษาไทย ประพจน แยมทิม. (2550). การศึกษาความสัมพันธระหวางวัฒนธรรมองคการกับประสิทธิผลของการจัดการ ศึกษา การรับรูข องผูบ ริหารและครูในสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน. ปรัชญาดุษฏีบณ ั ฑิต สาขาการบริหารการ ศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. (2549). รายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอก. กาญจนบุรี. สัญญา สัญญาวิวัฒน. (2549). สังคมวิทยาองคการ. กรุงเทพมหานคร: สำ�นักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สำ�นักงานสภาสถาบันราชภัฏ. (2541). รายงานการจัดการศึกษาของสถาบันราชภัฏ. กรุงเทพมหานคร: สำ�นักงาน สภาสถาบันฯ. __________. (2547). พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ. กรุงเทพมหานคร: สำ�นักงานสภาสถาบันฯ. __________. (2548). วิสยั ทัศน : ราชภัฏกับการพัฒนา 2543 – 2548. กรุงเทพมหานคร: สำ�นักงานสภาสถาบันฯ. ภาษาอังกฤษ Fiedler, F.E. (1967). A Theory of leadership effectiveness. New York: McGraw–Hill. Gulick, Luther and Urwick. (1956). Paper on the science of administration. New York: Institute of Public Adminstration Columbia University. Senge, Peter M. (1990). The Fifth discipline : the art and practice of the learning organization. New York: Doubleday.

147



การประเมินโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ กิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหม

An Evaluation Project for Leveling the Teacher Quality System : The New Supervision Development Activity

มาเรียม นิลพันธุ 1 Maream Nillapun บทคัดยอ การประเมินผลโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบกิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหมนี้มีวัตถุประสงค การวิจัย คือ 1.) เพื่อประเมินความรู ความสามารถตามสมรรถนะของศึกษานิเทศก 2.) เพื่อประเมินสมรรถนะของ ศึกษานิเทศกดา น 2.1) การดำ�เนินการวิจยั เชิงคุณภาพ 2.2) การจัดทำ�แผนพัฒนารายบุคคล และ 2.3) การดำ�เนินการ แผนการนิเทศ 3.) เพื่อประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรมการนิเทศของศึกษานิเทศก 4.) เพื่อเสนอรูปแบบการ นิเทศและคุณลักษณะอันพึงประสงคของศึกษานิเทศกเปนงานวิจัยการประเมินโครงการ (Evaluation Research) ประเภทผสมผสานวิธี (Mixed Methods) เครือ่ งมือทีใ่ ชในการวิจยั ประกอบดวย 1.) แบบสัมภาษณความคิดเห็นทีม่ ตี อ ความรูค วามเขาใจ ความสามารถตามสมรรถนะของศึกษานิเทศก จากผูอ �ำ นวยการเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา และมัธยมศึกษา และหัวหนากลุม นิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา 2.) ประเด็นการสนทนากลุม เกีย่ วกับความรู ความเขาใจ ความสามารถตามสมรรถนะของศึกษานิเทศกสำ�หรับศึกษานิเทศก 3.) แบบสัมภาษณคุณลักษณะ ศึกษานิเทศกสำ�หรับผูอำ�นวยการโรงเรียน 4.) ประเด็นสนทนากลุมคุณลักษณะของศึกษานิเทศกสำ�หรับครูอาจารย ในโรงเรียน 5.) แบบสอบถามคุณลักษณะศึกษานิเทศกสำ�หรับผูอำ�นวยการโรงเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา 6.) แบบประเมินคุณภาพงานวิจัย 7.) แบบประเมินแผนพัฒนารายบุคคล 8.) แบบบันทึกสาระสำ�คัญแผนดำ�เนินการ นิเทศของศึกษานิเทศก 9.) แบบประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรมของศึกษานิเทศกแบบออนไลน (Online) 10.) แบบสัมภาษณผกู ำ�หนดนโยบายและแนวคิดสูก ารปฏิบตั ิ วิเคราะหขอ มูลโดยใชคา รอยละ (%) คาเฉลีย่ ( X ) และ คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบวา 1. ศึกษานิเทศกมคี วามรูค วามเขาใจและความสามารถตามสมรรถนะของศึกษานิเทศก คือมีความรู ความเขาใจ และความสามารถปฏิบัติงานในดานการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล การวิจัย สื่อและเทคโนโลยี มีความสามารถในการใหความรู และเสริมสรางความเขาใจในการใหคำ�ปรึกษา ชวยเหลือ แนะนำ� กำ�กับติดตามงานเกีย่ วกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีบทบาทสำ�คัญในการยกระดับคุณภาพครู เพือ่ ขยายผล สูนักเรียนใหมีคุณภาพ เปนผูประสานขยายผลและถายทอดความรูเชิงทฤษฎี สูการปฏิบัติ เปนผูวิจัยและพัฒนา องคความรูและนวัตกรรมทางการศึกษาสูการปฏิบัติในสถานศึกษา มีความรู ความเขาใจบทบาทหนาที่ของตนเอง มีทักษะกระบวนการคิด การแกปญหา การสื่อสาร และทำ�งานเปนทีม 2. สมรรถนะของศึกษานิเทศก ดานการวิจัยเชิงคุณภาพพบวาอยูในระดับปานกลาง และสามารถตั้งชื่อเรื่อง งานวิจยั ไดอยูใ นระดับสูง งานวิจยั สวนใหญใชวธิ กี ารเชิงคุณภาพ (Qualitative Methods) รวมกับวิธกี ารเก็บขอมูลเชิง

__________________ 1 ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประจำ�ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง สนามจันทร


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ปริมาณ (Quantitative Methods) โดยใชวธิ กี ารเชิงคุณภาพเขาไปเสริมวิธกี ารเชิงปริมาณ สมรรถนะดานการเขียนแผน พัฒนาตนเอง มีคุณภาพอยูในระดับมาก และเขียนไดสอดคลองกับนโยบายของสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน เนนการพัฒนาตนเองเกีย่ วกับทักษะการสือ่ สารภาษาอังกฤษ และความสามารถในการทำ�วิจยั และสวนใหญ ใชวิธีการพัฒนาโดยการอบรม ดานแผนดำ�เนินการนิเทศพบวาสวนใหญใหความรูแกครูในเรื่องของแนวการจัดการ เรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำ�คัญ ใชวิธีการนิเทศตามวงจร PDCA และ PIDRE และกัลยาณมิตรนิเทศ 3. คุณลักษณะของศึกษานิเทศก พบวา ศึกษานิเทศกมีคุณลักษณะที่พึงประสงคคือ 1.) มีวุฒิการศึกษาขั้น ต่ำ�อยูในระดับปริญญาโท 2.) มีบุคลิกความเปนนักวิชาการและมีความเปนผูนำ� 3.) เคยมีประสบการณในการสอน หรือ เคยเปนผูบริหารสถานศึกษามากอน 4.) มีความเขาใจการจัดการศึกษาตามหลักการเรียนรูและมีความเขาใจ นโยบายของสำ�นักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5.) มีความรูดานการนิเทศการศึกษา การทำ�วิจัยเชิงปริมาณ และนวัตกรรมการศึกษา 6.) มีความรักและศรัทธาในวิชาชีพของตนเอง 7.) มีจิตอาสา และมีความเปนกัลยาณมิตร คุณลักษณะที่ควรปรับปรุงคือ 1.) ความรูความเขาใจเรื่องการวิจัยเชิงคุณภาพ 2.) ความชำ�นาญเฉพาะกลุมสาระวิชา 3.) ความเชี่ยวชาญในดานการสื่อสารดวยภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศ และพฤติกรรมการนิเทศ พบวา 1.) ศึกษานิเทศกไปนิเทศตามโรงเรียนโดยเฉลี่ยภาคเรียนละ 2 ครั้ง 2.) ศึกษานิเทศกเปนผูนำ�นโยบายจาก สำ�นักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสูโรงเรียน 3.) ศึกษานิเทศกเปนผูจัดการฝกอบรมในการพัฒนาครู 4.) ศึกษานิเทศกมีพฤติกรรมการนิเทศดวยหลักกัลยาณมิตร 4. รูปแบบการนิเทศของแตละเขตพื้นที่การศึกษา ควรมีความหลากหลายเพื่อตอบสนองบริบทของแตละเขต พืน้ ที ่ ควรเปนรูปธรรม โดยใชการนิเทศแบบบริบทเปนฐาน (Context based Supervision) และการนิเทศแบบวิจยั เปน ฐาน (Research based Supervision) โดยมีกระบวนการนิเทศการศึกษาประกอบดวย 1.) วิจัยตามบริบท (Research by Context) 2.) รวมวางแผน (Planning) 3.) รวมดำ�เนินการ (Doing) 4.) รวมสะทอนกลับ (Reflecting) 5.) รวม ประเมินผล (Evaluating) และ 6.) รวมปรับปรุงและพัฒนา (Improving and Developing) โดยมีการประชุมใหขอ มูลยอ นกลับ (Feedback Workshop) ในทุกขัน้ ตอนของการนิเทศและคุณลักษณะของศึกษานิเทศกทพี่ งึ ประสงคหรือมืออาชีพ คือควรเปนผูใ หค�ำ ปรึกษาชวยเหลือ (Coach) เปนพีเ่ ลีย้ ง (Mentor) เปนผูว จิ ยั (Researcher) เปนผูพ ฒ ั นา (Developer) ศึกษานิเทศกที่พึงประสงคควรจะมีลักษณะ9Cs9Ts9Ss เปนผูที่มีความรูแบบ 9Cs คือ มีความสามารถแบบ 9Ts และ มีบุคลิกลักษณะแบบ 9Ss ดังนี้ ดานความรู 9Cs; COVER, CLEAR, CONTENT, CREATIVE, CONGRUENCE, CONCEPT, CONCRETE, CHANGE, CONSTRUCT ดานความสามารถ 9Ts; TARGET, TRANSFER, TACTICS, TECHNOLOGY, TEAM, TECHNIQUE, THINKING, TREND, TEACHER OF TEACHERS ดานบุคลิกลักษณะ 9Ss; SMART, SMILE, SMALL, SUPER MODEL,SPIRIT, SHARING, SERVICE MIND, STANDARD, SOCIAL RELATIONSHIP คำ�สำ�คัญ: 1. การประเมินโครงการ. 2. การยกระดับคุณภาพครู. 3. กิจกรรมการนิเทศแนวใหม. 4. รูปแบบ การนิเทศ. 5. คุณลักษณะที่พึงประสงคของศึกษานิเทศก. Abstract The purposes of this research were 1.) to evaluate the knowledge and ability pertaining to supervisors’ competency 2.) to evaluate supervisors’ competency on 2.1) qualitative research conduct 2.2) individual development planning and 2.3) supervision process planning 3.) to evaluate the attributes and behavior of supervisors 4.) to propose a supervision model and desirable characteristics of supervisors. This research was conducted using project evaluation with mixed methods. Research instruments were interview schedules,

150


การประเมินโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ กิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหม มาเรียม นิลพันธุ

focus group guidelines and assessment forms. The obtained data was analyzed by mean ( X ), standard deviation (S.D.) and content analysis. The research results were as follows : 1. Supervisors had knowledge and ability pertaining to supervisor’s competency in curriculum, instruction, assessment, research, media and ICT. They had an ability to provide knowledge and understanding, advice, support, guidance, and monitoring for educational quality development. Supervisors took important roles in elevating teacher quality, contributing to an enhancement of students’ quality in facilitating theory implementation, and in conducting on educational innovation to use in schools. They had a perception of their roles and responsibilities, thinking, problem solving, communication and team working. 2. Supervisor’s competency in conducting qualitative research was at a intermediate level but their competence in coming up with a research project title was at a high level. Most of their research use a qualitative method together with a quantitative method with the qualitative analysis as a supporting part of the quantitative analysis. Their competence in writing an individual development plan was at a high level. Supervisors could prepare an individual development plan in response to the policy of the Office of the Basic Education Commission, focusing on self-development in English communicative skills and research skills, mostly by way of training. Supervision operational plans were generally on child centered learning management using PDCA model, PIDRE model and caring friendship-based supervision. 3. Attributes of supervisors were at a desirable level including 1.) master degree 2.) academic and leadership qualities 3.) experience in teaching or administration 4.) understanding of educational management and the policies of the Office of the Basic Education Commission 5.) knowledge of educational supervision, quantitative research and educational innovation 6.) love and faith in supervisory profession 7.) service mind and caring friendship. Attributes of supervisors that should improve were 1.) qualitative research 2.) knowledge of specific discipline 3.) skills in English communication and ICT. Regarding the behavior of supervisors, it was found that 1.) supervisors supervised each school on average twice per semester 2.) supervisors implemented policies from the Office of the Basic Education Commission to school 3.) supervisors were trainers for teacher development 4.) supervisors supervised on the basis of a caring friendship principle. 4. A supervision model and the desirable characteristics of supervisors should be responsive to each educational service area office. The focus should be on context-based and research-based supervision. The Educational supervision process should be based on 1.) research by context 2.) planning 3.) doing 4.) reflecting 5.) evaluating and 6.) improving and developing. In each step of the process, stakeholders’ participation should be encouraged. The desirable characteristics of supervisors should be coach, mentor, researcher and developer. Those characteristics should address 9Cs 9Ts 9Ss: knowledge, 9Cs; COVER, CLEAR, CONTENT, CREATIVE, CONGRUENCE, CONCEPT, CONCRETE, CHANGE, CONSTRUCT PERFORMANCE, 9Ts; TARGET, TRANSFER, TACTICS, TECHNOLOGY, TEAM, TECHNIQUE, THINKING, TREND, TEACHER OF TEACHERS AND ATTRIBUTE, and 9Ss; SMART, SMILE, SMALL, SUPER MODEL, SPIRIT, SHARING, SERVICE MIND, STANDARD, SOCIAL RELATIONSHIP. Keywords: 1. An Evaluation Project. 2. Leveling the Teacher Quality System. 3. New Supervision Development Activity. 4. Supervision Model. 5. Supervisor Desirable Characteristic. 151


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

บทนำ� การศึกษาเปนปจจัยทีม่ คี วามสำ�คัญสูงสุดสำ�หรับ การพัฒนาบุคคลและสังคมไปสูค วามเจริญในแทบทุกมิติ และเนือ่ งจากบริบททางสังคมมีความเปลีย่ นแปลงตลอด เวลา ระบบการศึกษาจึงจำ�เปนตองพัฒนาใหสอดคลอง กับความเปลี่ยนแปลงของโลกและรูเทาทัน ระบบการ ศึกษาคือกลไกขนาดใหญที่จะขับเคลื่อนไปได ก็ตอง อาศัยพลังงานจากหนวยยอยทีม่ คี วามเชือ่ มโยงกัน การ นิเทศทางการศึกษานับเปนหนวยยอยหนึ่งที่มีความ สำ�คัญทีส่ ดุ โดยศึกษานิเทศกเปนกลุม กำ�ลังสำ�คัญ ดังนัน้ ศึกษานิเทศกจึงตองมีความเขาใจเปนอยางดีในภาพ รวมของระบบการศึกษาตัง้ แตระดับนโยบายลงมาจนถึง ระดับปฏิบตั ริ วมทัง้ ตองเปนผูท มี่ วี สิ ยั ทัศนทางการศึกษา เพื่อที่จะเปนสวนสงเสริมใหสามารถปฏิบัติงานตาม ภารกิจไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด ตอการศึกษา จากการปฏิรูปการศึกษา ตามพระราช บัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 การกระจายอำ�นาจ สูเขตพื้นที่การศึกษา โดยกำ�หนดใหมีสำ�นักงานเขต พื้ น ที่ ก ารศึ ก ษารั บ ผิ ด ชอบ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพการ ศึกษาในแตละเขตพื้นที่ และกำ�หนดใหศึกษานิเทศก ปฏิ บั ติ ง านในกลุ  ม นิ เ ทศติ ด ตามและประเมิ น ผลการ จัดการศึกษาโดยมีศึกษานิเทศกจากทุกระดับรวมทั้ง ศึกษานิเทศกในระดับกรมตองไปปฏิบัติหนาที่ในระดับ เขตพื้นที่การศึกษาทำ�ใหไมมีหนวยศึกษานิเทศกดูแล ประสานงานในระดับกรม สงผลใหงานนิเทศการศึกษา ถูกแบงออกเปนสวนๆ ตามเขตพื้นที่ มีการนิเทศโดย ตางเขต ตางคิด ตางทำ�งาน ทำ�ใหการนิเทศขาดความ เปนเอกภาพ ขาดความรวมมือกัน การนิเทศการศึกษา เปนไปอยางไรทิศทาง รวมถึงศึกษานิเทศกไมไดรับ มอบหมายงาน และไมไดรบั การสนับสนุน ใหปฏิบตั งิ าน นิเทศการศึกษาตามบทบาทหนาที ่ นอกจากนีส้ �ำ นักงาน เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาทัว่ ประเทศ ยังมีความพรอม ดานการ นิเทศการศึกษาแตกตางกัน ทั้งในดานปริมาณ และ ความรู ความสามารถของศึกษานิเทศก เนื่ องจากมี จำ�นวนศึกษานิเทศกเกินในบางเขตและขาดแคลนใน บางเขต และในรอบ 10 ปทผี่ า นมา ศึกษานิเทศกไมไดรบั การพัฒนาในวิชาชีพการนิเทศการศึกษา ซึ่ งสภาพ

152

ปญหาดังกลาวทำ�ใหศักยภาพ งานนิเทศการศึกษา ออนแอลงเปนสาเหตุหนึ่งที่สำ�คัญ อันสงผลใหคุณภาพ การศึกษาลดลงทั่วประเทศ สภาพป ญ หาการนิ เ ทศการศึ ก ษาดั ง กล า ว สอดคล อ งกั บ ผลการวิ จั ย ของสำ � นั ก งานเลขาธิ ก าร สภาการศึกษา ในปพุทธศักราช 2549 และ 2552 (กระทรวงศึกษาธิการ. สำ�นักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน. สำ�นักงานวิชาการและมาตรฐานการ ศึกษา 2553ก : 5) ที่พบวาจากการปฏิรูปที่ผานมามี เรือ่ งทีม่ ปี ญ  หาตองเรงพัฒนาปรับปรุงและตอยอด ทัง้ ใน ดานคุณภาพผูเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ยังอยูในระดับ ต่ำ�และคุณภาพของเด็กยังไมเปนไปตามที่กำ�หนดใน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 ซึ่ ง มี ส าเหตุ ม าจากการที่ ค รู ข าดการนิ เ ทศติ ด ตาม ประเมินผลการพัฒนา ครูสว นใหญไมไดรบั การนิเทศจาก ศึกษานิเทศกทมี่ คี วามรู ความชำ�นาญเฉพาะทาง การที่ สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาไมสามารถสนับสนุนการ นิเทศการเรียนการสอนไดเต็มที่ สาเหตุหลักมาจาก ความขาดแคลนศึกษานิเทศกที่มีความรู ความชำ�นาญ เฉพาะสาขาวิชา ศึกษานิเทศกมจี �ำ นวนนอยและไมครบ กลุมสาระและชวงชั้น โดยเฉพาะชวงชั้นที่ 3 และ 4 นอกจากนี้ศึกษานิเทศกยังไดรับมอบหมายงานอื่นมาก เกินไป ทำ�ใหไมสามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ ได อ ย า งอย า งเต็ ม ที่ การนิ เ ทศการสอนจึ ง ไม ทั่ ว ถึ ง รวมทั้งขาดงบประมาณและยานพาหนะสนับสนุน ซึ่ง สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษาไดเสนอแนะใหมี การพัฒนาระบบการนิเทศโดยการสรางเครือขายการ นิเทศพัฒนาศึกษานิเทศกใหมีความรู ความสามารถใน การนิเทศ มีการนิเทศทางไกล จัดหายานพาหนะใน การนิเทศ จากปญหาและความจำ�เปนในการพัฒนา คุณภาพการศึกษา จึงตองมีการพัฒนาระบบการนิเทศ เพื่อสงเสริม สนับสนุน กิจกรรมการเรียนการสอน โดย มีการพัฒนาในสองประเด็น คือระบบการนิเทศ และการ พัฒนาศักยภาพศึกษานิเทศก ดานระบบการนิเทศใหมี การทำ�งานเปนระบบเครือขายการนิเทศ ในสามระดับ คือ ระดับสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับกลุมจังหวัด และระดับจังหวัด เพื่อใหเกิดความ


การประเมินโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ กิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหม มาเรียม นิลพันธุ

เปนเอกภาพ และเกิดการชวยเหลือกันในเครือขาย ซึ่ง จะทำ�ใหโรงเรียนทุกแหงไดรับการดูแล ชวยเหลือทาง ดานการเรียนการสอน กอใหเกิดความเขมแข็งทางดาน วิชาการ และเกิดพลังในการขับเคลื่อนทางการศึกษา สวนการพัฒนาศักยภาพศึกษานิเทศก เปนการพัฒนา ศึกษานิเทศกใหมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ใน 4 กิจกรรม คือ 1.) ประเมินศึกษานิเทศกทุกคนเพื่อ ทราบจุดแข็งในการพัฒนาตอยยอดใหมีความเขมแข็ง มากขึ้น พรอมที่จะเปนพี่เลี้ยงใหแกเพื่อนศึกษานิเทศก 2.) พัฒนาศึกษานิเทศกใหมีคุณลักษณะและพฤติกรรม การนิ เ ทศการศึ ก ษาที่ เ หมาะสมได ม าตรฐานส ง ผล กระทบตอการยกระดับคุณภาพการศึกษา 3.) รวบรวม วิธีการปฏิบัติที่ดีดานการนิเทศการศึกษา จัดเปนพลัง ความรูแ ละเผยแพรเปนแบบอยาง ใชเปนการเทียบเคียง การปฏิบัติเพื่อพัฒนาการนิเทศ และ 4.) สำ�นักงานเขต พืน้ ทีก่ ารศึกษาทุกแหงและศึกษานิเทศกทกุ คน มีระบบ การกำ�กับ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการพัฒนา ระบบนิเทศแนวใหมที่เนนคุณภาพการปฏิบัติงานและ ผลงานจากการปฏิบตั จิ ริง โดยศึกษานิเทศกทกุ คนทีผ่ า น การพัฒนา สามารถใหการนิเทศชวยเหลือโรงเรียนทั้ง ทางดานการบริหารวิชาการ และการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนในหองเรียน ดวยการวางแผนการพัฒนา ทางวิชาการรวมกับสถานศึกษาและครู มีการสังเกต หองเรียนแลวนำ�ขอมูลจากการสังเกตมาสะทอนกลับ เพื่อทำ�ความเขาใจวาครูเขาใจเรื่อการเรียนการสอน ของตนเองอยางไร และชวยใหครูเขาใจวาตัวเองมีปญ  หา อะไร แนวทางแกไขมีอะไรบาง มีกี่ทางเลือก และจะ ตัดสินใจเลือกทางไหน คือ ตองมีความสามารถที่ดีที่ จะชวยใหครูคนพบวา เขาตองพัฒนาอะไรดวยตนเอง แทนที่จะไปบอกวาครูตองทำ�อะไร ดังนั้น ศึกษานิเทศกจึงจำ�เปนตองรูจักโรงเรียน รูจักผูบริหาร ครู ปจจัยแวดลอมโรงเรียน สามารถบอก สิ่งที่โรงเรียนมี สิ่งที่โรงเรียนเปนอยูปจจุบัน และสิ่งที่ โรงเรียนตองพัฒนา เพือ่ ใชเปนฐานขอมูลในการวางแผน การนิเทศ เขาใจวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มี เทคนิค วิธีการนิเทศที่ชวยใหครูไดรูจักตนเอง ชวยครู คิดและพาครูทำ�หนวยการเรียนรู แผนการจัดการเรียน รูและการวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งนำ�ไปสูการเกิดผลงานการ

ปฏิบัติที่ดีทางดานการนิเทศการศึกษา ที่ชวยใหครูเกิด การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอน ที่นำ�ไปสูการยก ระดับ การเรียนรูของผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามที่สำ�นักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดดำ�เนินกิจกรรม พัฒนาระบบนิเทศแนวใหมโครงการยกระดับคุณภาพครู ทั้งระบบปงบประมาณ 2553 ตามแผนปฏิบัติการไทย เข ม แข็ ง ฯซึ่ ง มี กิ จ กรรมการพั ฒ นาศึ ก ษานิ เ ทศก เ ป น กิจกรรมหลักกิจกรรมหนึ่งที่มุงพัฒนาใหศึกษานิเทศก มีคุณลักษณะที่พึงประสงคมีความรูความสามารถและ พฤติกรรมการนิเทศที่เหมาะสมไดมาตรฐานสามารถ ปฏิบัติงานนิเทศไดอยางเปนระบบครบวงจรการพัฒนา งานนิเทศการเรียนการสอนและการบริหารงานวิชาการ เน น การเป น พี่ เ ลี้ ย ง (Mentor) และการชี้ แ นะแบบ Reflective Coaching โดยใชกระบวนการวิจัยและ พัฒนาอยางตอเนื่องโดยสำ�นักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐานรวมกับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พั ฒ นาหลั ก สู ต รการพั ฒ นาศึ ก ษานิ เ ทศก แ ละดำ � เนิ น การพัฒนาตามหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการไปแลวนั้น ศึกษานิเทศกทุกคนพัฒนาตนและพัฒนางานนิเทศโดย ใชการวิจยั เปนฐานมีผลงานวิจยั ทีส่ ง ผลตอการยกระดับ คุณภาพการศึกษา การแลกเปลีย่ นเรียนรูจ ากผลงานการ วิจัยจะชวยใหเกิดแนวคิดมุมมองและการประยุกตใช ผลงานวิ จั ย ในการพั ฒ นาการนิ เ ทศที่ ก ว า งขวางและ สงผลตอการยกระดับคุณภาพการศึกษาไดมากยิ่งขึ้น สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงไดดำ�เนินการจัดทำ�โครงการการพัฒนาระบบนิเทศ แนวใหมขึ้นเพื่อใหสงผลตอการยกระดับคุณภาพการ ศึ ก ษาเน น การพั ฒ นาศึ ก ษานิ เ ทศก ใ นสมรรถนะที่ จำ � เป น ต อ การปฏิ บั ติ ง านนิ เ ทศอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ลักษณะการปฏิบัติงาน เทคนิควิธีการ สื่อ เครื่องมือ นิเทศ และกลไกสนับสนุนการนิเทศ ที่จะกอใหเกิดผล ต อ การพั ฒ นาการจั ด การเรี ย นรู  แ ละการบริ ห ารงาน วิชาการอยางเปนระบบ ซึ่งตองเชื่อมโยงกับการพัฒนา ระบบการเรียนการสอนและระบบการบริหารการศึกษา อย า งร อ ยรั ด การดำ � เนิ น โครงการจำ � เป น ต อ งมี ก าร ประเมิน

153


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

การประเมิ น เป น กลไกสำ � คั ญ ในกระบวนการ ทำ�งานโดยเฉพาะการพัฒนางาน การสรางสรรคงาน ตองดำ�เนินการควบคูกับการประเมิน การประเมินเขา ไปเกี่ยวของกับทุกวงการ โดยมีความเชื่อหรือแนวคิด พื้นฐานบนหลักการที่วา การดำ�เนินการใดๆ หากตอง การผลผลิ ต ที่ ดี งานหรื อ การดำ � เนิ น การในเรื่ อ งนั้ น สามารถตรวจ ปรับปรุง แกไข พัฒนาได โดยมีเปาหมาย เปนการประเมินเพือ่ พัฒนาสิง่ ทีป่ ระเมิน มิใชประเมินเพือ่ จับผิดในสิ่งที่ประเมิน ”Evaluation is most important purpose is not to prove, but to improve” (Stufflebeam) การประเมินโครงการดานการศึกษามีความสำ�คัญเปน อยางยิง่ เพราะเปนสารสนเทศในการตัดสินใจ การตัดสิน คุ ณ ค า ของการดำ � เนิ น งานการประเมิ น โครงการนี้ ทำ � ให สำ � นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ไดทราบวาโครงการนี้บรรลุวัตถุประสงคของโครงการ พั ฒ นาระบบนิ เ ทศแนวใหม ที่ กำ � หนดไว ห รื อ ไม แ ละ สามารถนำ�ผลจากการประเมินไปเพื่อพัฒนางานนิเทศ รวมทั้งทราบผลกระทบ ประสิทธิผล ความยั่งยืน และ การขยายผลจากโครงการเพือ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ของผูเรียนตอไป คณะผูวิจัยจากคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร จากภาควิชาหลักสูตรและวิธสี อน ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา และภาควิชาเทคโนโลยีการ ศึกษา ทั้ง 4 คน คือ ผูชวยศาสตราจารย ดร.มาเรียม นิลพันธุ ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.ไชยยศ ไพรวิทยศิรธิ รรม

154

อาจารย ดร.เอกนฤน บางทาไม และอาจารยอุบลวรรณ สงเสริม ไดรวมกันบูรณาการองคความรูดานหลักสูตร การสอน การนิเทศ และการประเมินโครงการ เพื่อ ประเมินโครงการดังกลาว วัตถุประสงคของการประเมินโครงการ 1. เพื่ อ ประเมิ น ความรู  ความสามารถตาม สมรรถนะของศึกษานิเทศก 2. เพือ่ ประเมินสมรรถนะของศึกษานิเทศก ดาน 2.1 ความสามารถในการดำ�เนินการวิจัยเชิง คุณภาพ 2.2 การจัดทำ� แผนพัฒนาตนเอง (รายบุคคล) 2.3 ความสามารถในการดำ�เนินการนิเทศ 3. เพื่อประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรมการ นิเทศของศึกษานิเทศก 4. เพื่อเสนอรูปแบบการนิเทศและคุณลักษณะ อันพึงประสงคของศึกษานิเทศก กรอบแนวคิดในการประเมิน ในการประเมินโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้ง ระบบ กิจกรรมการพัฒนาการนิเทศแนวใหม ใชรูปแบบ การประเมินของ CIPPIEST Model ของ Stufflebeam, Responsive Model ของ Stake และ Goal based Model ของ Tyler


การประเมินโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ กิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหม มาเรียม นิลพันธุ

การประเมินยกระดับมาตรฐาน คุณภาพครู รูปแบบการประเมิน

สมรรถนะศึกษานิเทศก 1. ความรูความเขาใจและความสามารถ ของศึกษานิเทศก

1. CIPPIEST Model ของ Stufflebeam 2. Responsive Model ของ Stake 3. Goal based Model ของ Tyler

2. สมรรถนะของศึกษานิเทศก 2.1 ดานการวิจัยเชิงคุณภาพ 2.2 ดานการทำ�แผนพัฒนารายบุคคล 2.3 ดานการทำ�แผนปฏิบัติการนิเทศ

รูปแบบการนิเทศและคุณลักษณะของ ศึกษานิเทศกที่พึงประสงค

คุณภาพครู

คุณภาพนักเรียน แผนภูมิที่ 1. กรอบแนวคิดที่ใช้ในการประเมินโครงการ

วิธีดำ�เนินการวิจัย ขอบเขตการวิจัย 1. ขอบเขตดานกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย 1.) กลุมผูใหขอมูลระดับเขตพื้นที่ ไดแก ผูอำ�นวยการสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือ รอง ผู  อำ � นวยการ จำ � นวน 19 คน หั ว หน า กลุ  ม นิ เ ทศ ติดตาม และประเมินผลการศึกษา จำ�นวน 19 คนและ ศึกษานิเทศกจากสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา จาก 19 เขตตรวจราชการ จำ�นวน 165 คน ศึกษานิเทศกที่ตอบ

แบบประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรมการนิเทศแบบ ออนไลน (Online) จำ�นวน 209 คน 2.) กลุมผูใหขอมูลระดับสถานศึกษาขั้นพื้น ฐาน ไดแก ผูบริหารหรือรองวิชาการ จำ�นวน 19 คน หัว หนากลุมสาระการเรียนรูหรือครูผูสอน จากโรงเรียนใน เขตพื้นที่การศึกษา 19 เขตพื้นที่การศึกษา จำ�นวน 242 คน จาก 19 เขตตรวจราชการ และครูผูสอนที่ตอบแบบ ประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรมการนิเทศ จำ�นวน 471 คน

155


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

3.) กลุม ผูก �ำ หนดนโยบายและพัฒนาแนวคิด สูการปฏิบัติ ไดแกผูบริหารสำ�นักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน รวมทั้งนักวิชาการที่เกี่ยวของจำ�นวน 3 คน 2. ขอบเขตดานพื้นที่ สำ�นักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา จาก 19 เขตตรวจ ราชการ 3. ขอบเขตด า นระเบี ย บวิ ธี เป น งานวิ จั ย การประเมินโครงการประเภทผสมผสานวิธี (Mixed Methods) โดยมี ก ารเก็ บ ข อ มู ล ทั้ ง เชิ ง ปริ ม าณ (Quantitative methods) และเชิงคุณภาพ (Qualitative methods) และมีการตรวจสอบสามเสา (Triangulation) ดานขอมูล ดานระเบียบวิธี และดานผูวิจัย 4. ขอบเขตการประเมิน 1.) ความรู ความสามารถตามสมรรถนะของ ศึกษานิเทศก 2.) สมรรถนะของศึ ก ษานิ เ ทศก ในด า น (2.1) ความสามารถในการดำ�เนินการวิจัยเชิงคุณภาพ (2.2) การจัดทำ�แผนพัฒนาตนเอง (รายบุคคล) และ (2.3) ความสามารถในการดำ�เนินการแผนการนิเทศ 3.) คุณลักษณะและพฤติกรรมการนิเทศของ ศึกษานิเทศก เครื่องมือวิจัย ที่ใชในการวิจัย เครือ่ งมือทีใ่ ชในการประเมินโครงการจำ�แนกตาม หนวยงานทีเ่ กีย่ วของกับการพัฒนาระบบนิเทศแนวใหม ดังนี้ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา 1. แบบสัมภาษณผูบริหาร สพป. สพม.และ หัวหนากลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา 2. แบบสนทนากลุม ศึกษานิเทศกประจำ�เขต พื้นที่การศึกษา 3. แบบประเมินงานวิจัยเชิงคุณภาพของศึกษา นิเทศก 4. แบบประเมินแผนการพัฒนาตนเอง (ID Plan) 5. แบบบันทึกสาระสำ�คัญแผนดำ�เนินการนิเทศ ของศึกษานิเทศก

156

6. แบบประเมินคุณลักษณะและพฤติกรรมการ นิเทศของศึกษานิเทศกแบบออนไลน (Online) ระดับโรงเรียน 1. แบบสัมภาษณผูบริหารโรงเรียน 2. แบบสนทนากลุมครู - อาจารยในโรงเรียน 3. แบบประเมินคุณลักษณะของศึกษานิเทศกที่ เขามานิเทศในโรงเรียน ระดับนโยบาย แบบสัมภาษณเกี่ยวกับการดำ�เนินโครงการและ ผลที่เกิดขึ้นจากผูบริหารโครงการ เครื่ อ งมื อ ทุ ก ฉบั บ ผ า นการตรวจสอบจากผู ​ เชี่ยวชาญและมีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยมีคาดัชนี ความสอดคลอง (Index of Item Objective Congruence) เทากับ 1.00 แสดงวาเครื่องมือมีความเที่ยงตรงเชิง เนื้อหา การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพใชการวิเคราะห เนื้อหา สวนการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณใชสถิติเชิง พรรณนา ดวยการแจงแจงความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหเนื้อหา ผลการวิจัย 1. ศึกษานิเทศกมีความรูความเขาใจและความ สามารถตามสมรรถนะของศึกษานิเทศก คือมีความรู ความเขาใจและสามารถปฏิบัติงานในดานการพัฒนา หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล การวิจัย สื่อและเทคโนโลยี มีความสามารถในการให ความรู และเสริมสรางความเขาใจ ใหค�ำ ปรึกษา ชวยเหลือ แนะนำ� กำ�กับติดตามงานเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา โดยมีบทบาทสำ�คัญในการยกระดับคุณภาพ ครู เพื่อขยายผลสูนักเรียนใหมีคุณภาพ เปนผูประสาน ขยายผลและถายทอดความรูเชิงทฤษฎี สูการปฏิบัติ เป น ผู  วิ จั ย และพั ฒ นาองค ค วามรู  แ ละนวั ต กรรมทาง การศึกษาสูการปฏิบัติในสถานศึกษา มีความรู ความ เขาใจบทบาทหนาทีข่ องตนเอง มีทกั ษะกระบวนการคิด การแกปญหา การสื่อสาร และทำ�งานเปนทีม


การประเมินโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ กิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหม มาเรียม นิลพันธุ

แผนภาพที่ 1. การยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบกิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหม

ผลประเมินสมรรถนะของศึกษานิเทศก 3 ดาน พบวา ผลการประเมินคุณภาพงานวิจยั เชิงคุณภาพของ ศึกษานิเทศก ดังตารางที่ 1.

157


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ตารางที่ 1. คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคุณภาพงานวิจัยเชิงคุณภาพของศึกษานิเทศก จำ�นวน1

คาเฉลี่ย

สวน เบี่ยงเบน มาตรฐาน

รอยละ ของคา เฉลี่ย

แปล ความ

อันดับ

186

1.60

0.49

80.00

ดี

1

181

1.76

0.83

44.00

ปานกลาง

7

3. วัตถุประสงค2

177

1.51

0.50

75.50

ดี

2

4. กรอบแนวคิดการวิจัย4

97

1.53

0.72

38.25

พอใช

15

5. นิยามศัพท

132

1.67

0.81

41.75

ปานกลาง

9

145

1.46

0.61

73.00

ดี

3

7. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ6

129

1.75

1.19

29.17

พอใช

16

8. การออกแบบการวิจัย

121

1.54

0.73

38.50

พอใช

14

9.1 ประชากรและตัวอยาง/กลุมเปาหมาย3

140

1.49

0.65

49.67

ปานกลาง

6

9.2 เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล

135

1.61

0.81

40.25

พอใช

10

9.3 การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ4

118

1.55

0.80

38.75

พอใช

12

9.4 การเก็บรวบรวมขอมูล

137

1.69

0.84

42.25

ปานกลาง

8

127

1.55

0.79

38.75

พอใช

12

24

2.50

0.59

62.50

ดี

4

18

2.00

1.14

40.00

พอใช

11

5

2.20

1.30

55.00

ปานกลาง

5

2.03

0.40

49.21

ปานกลาง

-

องคประกอบงานวิจัย 1. ชื่อเรื่อง2 2. ความเปนมาและความสำ�คัญของปญหา

4

4

6. ขอบเขตการวิจัย2 4

9. การดำ�เนินการวิจัย

9.5 การวิเคราะหขอมูล4 10. ผลการวิจัย4 11. การอภิปรายผลการวิจัย 12. ขอเสนอแนะ4

5

4

4

รวม

หมายเหตุ 1 งานวิจัยที่ทำ�การประเมินมีองคประกอบของการวิจัยไมครบถวน, 2 วัดโดยใชเกณฑการใหคะแนน 2 ระดับ, 3 วัดโดย ใชเกณฑการใหคะแนน 3 ระดับ, 4 วัดโดยใชเกณฑการใหคะแนน 4 ระดับ, 5 วัดโดยใชเกณฑการใหคะแนน 5 ระดับ และ 6 วัดโดยใชเกณฑการใหคะแนน 6 ระดับ

จากตารางที่ 1. พบวา คุณภาพของงานวิจัย ของศึกษานิเทศกจาก 19 เขตตรวจราชการ จำ�นวน 186 เรือ่ ง มีคณ ุ ภาพอยูใ นระดับปานกลาง โดยมีคา เฉลีย่ เทากับ 2.03 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.40 (หรื อ คิ ด เป น ร อ ยละ 49.21) เมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง องคประกอบของงานวิจัยที่มีคุณภาพสูงที่สุด พบวา องคประกอบดานชื่อเรื่อง มีรอยละของคาเฉลี่ยเทากับ

158

80.00 รองลงมาคือวัตถุประสงคการวิจัย และขอบเขต การวิจัย มีรอยละของคาเฉลี่ยเทากับ 75.50 และ 73.00 ตามลำ�ดับ นอกจากนี้ยังพบอีกวา องคประกอบดาน เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ มีรอยละของคาเฉลี่ย ต่ำ�ที่สุด โดยมีคาเทากับ 29.17 ผลการประเมินคุณภาพแผนพัฒนาตนเองของ ศึกษานิเทศก (ID Plan) ดังตารางที่ 2.


การประเมินโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ กิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหม มาเรียม นิลพันธุ

ตารางที่ 2. คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคุณภาพแผนพัฒนาตนเองของศึกษานิเทศก (ID Plan) คุณภาพของแผนพัฒนาตนเอง

คาเฉลี่ย

สวนเบี่ยงเบน ระดับคุณภาพ มาตรฐาน

อันดับ

1. ความชัดเจนของการระบุประเด็นที่ตองพัฒนา

2.85

0.59

มาก

3

2. ความชัดเจนและความเปนไปไดของวิธีการพัฒนา

2.84

0.64

มาก

4

3. การระบุปญหาที่เกิดขึ้นจากการนิเทศ

1.57

1.04

พอใช

6

4. การระบุผลที่เกิดขึ้นจากการนิเทศ

1.76

1.11

พอใช

5

5. ความชัดเจนของการระบุประเด็นที่ตองพัฒนา

3.23

1.13

มาก

2

6. ความสอดคลองกับนโยบายของสำ�นักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน

3.52

0.89

มากที่สุด

1

รวม

2.63

0.61

มาก

-

จากตารางที่ 2. พบวา แผนพัฒนาตนเองของ ศึกษานิเทศก (ID Plan) จำ�นวน 168 แผน มีคุณภาพใน ภาพรวมอยูใ นระดับมาก โดยมีคา เฉลีย่ เทากับ 2.63 สวน เบีย่ งเบนมาตรฐานเทกบั 0.61 เมือ่ พิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานความสอดคลองกับนโยบายของสำ�นักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด โดยมีคา เฉลีย่ เทากับ 3.52 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานเทากับ 0.89 รองลงมาคื อ ด า นความชั ด เจนของการระบุ ประโยชนที่ไดรับและความชัดเจนของการระบุประเด็น ทีต่ อ งพัฒนา มีคา เฉลีย่ เทากับ 3.23 และ 2.85 สวนเบีย่ ง เบนมาตรฐานเทากับ 1.13 และ 0.59 ตามลำ�ดับ

สำ�หรับผลของแผนปฏิบัติการนิเทศของศึกษา นิเทศกพบวา มีแผนการปฏิบัติการนิเทศที่เนนการให ความรูแกครูผูสอนเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรียนรูเพื่อ ที่จะสงผลตอคุณภาพของผูเรียนโดยใชวิธีการนิเทศ ไดแก วงจรปฏิบัติการ PDCA การนิเทศแบบ PIDRE ของสงัด อุทรานันท การนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching) และรูปแบบกัลยามิตรนิเทศ ผลการศึ ก ษาคุ ณ ลั ก ษณะและพฤติ ก รรมการ นิเทศของศึกษานิเทศกตามการรับรูของครู จากการ สนทนากลุมและการตอบแบบสอบถาม ดังตารางที่ 3.

159


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

ตารางที่ 3. คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคุณลักษณะและพฤติกรรมการนิเทศของศึกษานิเทศกตาม การรับรูของครูผูสอน คาเฉลี่ย

สวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน

1. ศึกษานิเทศกที่ดูแลโรงเรียนมีความรู ความเขาใจ ความสามารถตาม สมรรถนะของศึกษานิเทศกที่กำ�หนดไว

3.71

.81

มาก

2

2. รูปแบบ วิธีการนิเทศของศึกษานิเทศกมีความสอดคลองกับการจัด การเรียนการสอนในสภาพปจจุบันของครู

3.50

.84

มาก

7

3. ศึกษานิเทศกไดเขามานิเทศ ใหคำ�แนะนำ� ปรึกษา ชวยเหลือครูตาม บทบาทหนาที่

3.33

.99

ปานกลาง

8

4. ศึกษานิเทศกไดเขามานิเทศการเรียนการสอนในโรงเรียน อยางสม่ำ�เสมอ

3.11

1.09

ปานกลาง

9

5. พฤติกรรมการนิเทศของศึกษานิเทศกทำ�ใหครูยินดีรับการ นิเทศอยางตอเนื่อง

3.53

.96

มาก

6

6. ศึกษานิเทศกที่มานิเทศเปนกัลยาณมิตรกับครู

3.94

.94

มาก

1

7. การนิเทศของศึกษานิเทศกชวยยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบและ คุณภาพการศึกษา

3.55

.97

มาก

4

8. ศึกษานิเทศกที่มานิเทศเปนความหวังของครูในการขับเคลื่อนคุณภาพ การศึกษา

3.55

.95

มาก

4

9. ศึกษานิเทศกมีภาวะผูนำ�และมีความเขมแข็งทางวิชาการ

3.59

.90

มาก

3

3.54

.77

มาก

-

รายการประเมิน

รวม

จากตารางที่ 3. พบว า คุ ณ ลั ก ษณะศึ ก ษา นิเทศกตามความคิดเห็นของครูผสู อน พบวาในภาพรวม อยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.54 และสวน เบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.77 เมื่อพิจารณาเปน รายด า นพบว า ด า นศึ ก ษานิ เ ทศก ที่ ม านิ เ ทศเป น กัลยาณมิตรกับครู มีคา เฉลีย่ สูงทีส่ ดุ ซึง่ อยูใ นระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.94 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.94 รองลงมาคือ ดานศึกษานิเทศกที่ดูแล โรงเรี ย นมี ค วามรู  ความเข า ใจ ความสามารถตาม สมรรถนะของศึกษานิเทศกที่กำ �หนดไว และศึกษา นิเทศกมีภาวะผูนำ�และมีความเขมแข็งทางวิชาการ มี คาเฉลี่ยเทากับ 3.71 และ 3.59 และสวนเบี่ยงเบน มาตรฐานเทากับ 0.81 และ 0.90 ตามลำ�ดับ นอกจาก นี้ยังพบวา ดานศึกษานิเทศกไดเขามานิเทศการเรียน

160

แปลความ อันดับ

การสอนในโรงเรียนอยางสม่ำ�เสมอ มีคาเฉลี่ยต่ำ�ที่สุด โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.11 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 1.09 คุณลักษณะและพฤติกรรมการนิเทศของศึกษา นิเทศกพบวา ศึกษานิเทศกประเมินตนเองวา มีความ รักและศรัทธาในวิชาชีพ มีจิตอาสาและจิตสาธารณะ มี ค วามเป น กั ล ยาณมิ ต ร มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมและ จรรยาบรรณในวิชาชีพ มีภาวะผูนำ�ทางวิชาการ มีการ ประเมิ น ตนเองว า สามารถพั ฒ นางานอยู  ใ นระดั บ สู ง และมีพฤติกรรมการนิเทศทีช่ ว ยเหลือใหคำ�ปรึกษาแบบ กัลยาณมิตร สวนผูเกี่ยวของคือ ผูบริหารระดับเขต พื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ครู อาจารย เสนอวา ศึกษานิเทศกสวนใหญทำ�งานตามบทบาทหนาที่ ความ รับผิดชอบของศึกษานิเทศก แตเนนการกำ�กับติดตาม


การประเมินโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ กิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหม มาเรียม นิลพันธุ

งานตามนโยบายของสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานมากกวาบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของ ศึกษานิเทศกที่ควรปฏิบัติ คือการใหคำ�ปรึกษา แนะนำ� ชวยเหลือครู แตสวนใหญมีความเปนกัลยาณมิตรนิเทศ 5. รู ป แบบการนิ เ ทศของแต ล ะเขตพื้ น ที่ ก าร ศึกษา ควรมีความหลากหลายเพื่อตอบสนองบริบทของ แตละเขตพื้นที่ ควรเปนรูปธรรม โดยใชบริบทเปนฐาน (Context–based Supervision) และควรใชการวิจัยเปน ฐานในการนิเทศ (Research-based Supervision) โดย

มีกระบวนการนิเทศดังนี้ 1.) การศึกษาวิจัยตามบริบท (Research by Context) 2.) รวมวางแผน (Planning) 3.) รวมดำ�เนินการ (Doing) 4.) รวมสะทอนกลับ (Reflecting) 5.) รวมประเมินผล (Evaluation) และ 6.) ร ว มปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นา (Improving and Developing) และมี ก ารประชุ ม ให ข  อ มู ล ย อ นกลั บ (FeedbackWorkshop) ในทุกกระบวนการของการ นิเทศ

แผนภาพที่ 2. แสดงรูปแบบการนิเทศ

คุณลักษณะของศึกษานิเทศกที่พึงประสงคหรือ ศึกษานิเทศกมอื อาชีพ ควรเปนผูใ หค�ำ ปรึกษาชวยเหลือ (Coach) เปนพีเ่ ลีย้ ง (Mentor) เปนผูว จิ ยั (Researcher) เปนผูพัฒนา (Developer) มีสมรรถนะหลักคือ มีทักษะ การคิด การแกปญหา การวิจัย การสื่อสาร การทำ�งาน เปนทีม ศึกษานิเทศกที่พึงประสงคควรจะมีลักษณะ 9Cs, 9Ts, 9Ss เปนผูที่มีความรูแบบ 9Cs คือ มีความ สามารถแบบ 9Ts และมีบุคลิกลักษณะแบบ 9Ss ดังนี้

ดานความรู 9Cs; COVER, CLEAR, CONTENT, CREATIVE, CONGRUENCE, CONCEPT, CONCRETE, CHANGE, CONSTRUCT ดานความ สามารถ 9Ts; TARGET, TRANSFER, TACTICS, TECHNOLOGY, TEAM, TECHNIQUE, THINKING, TREND, TEACHER OF TEACHERS ดานบุคลิก ลักษณะ 9Ss; SMART, SMILE, SMALL, SUPER MODEL, SPIRIT, SHARING, SERVICE MIND, STANDARD, SOCIAL RELATIONSHIP

161


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

New Supervision Competencies fot 21th Century

แผนภาพที่ 3. คุณลักษณะของศึกษานิเทศกที่พึงประสงคในยุคศตวรรษที่ 21st

ขอเสนอแนะการวิจัย ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. ศึกษานิเทศกควรพัฒนาความรู ความเขาใจ และความสามารถ สมรรถนะของศึกษานิเทศกดวย ตนเองตามความตองการโดยสังเคราะหจากแผนพัฒนา ตนเอง (ID Plan) แตทงั้ นีห้ นวยงานระดับสำ�นักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือสำ�นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาควรสงเสริมสนับสนุนงบประมาณและเวลา เพื่อใหศึกษานิเทศกไดพัฒนาตนเอง โดยการศึกษาตอ

162

ในระดับบัณฑิตศึกษา ทีม่ สี าขาวิชาทีศ่ กึ ษานิเทศกสนใจ เชน สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน การบริหารการ ศึกษา วิจัยและประเมินผลการศึกษา และสาขาอื่นๆ เพื่อนำ�ความรูไปใชในการปฏิบัติงาน โดยสำ�นักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือเขตพื้นที่การ ศึกษาทำ�ขอตกลงความรวมมือ (MOU) กับสถาบัน อุดมศึกษาในภูมิภาค หรือสำ�นักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานหรือเขตพื้นที่จัดประชุมเชิงปฏิบัติ การในขอบขายทักษะความรูที่ศึกษานิเทศกสนใจ หรือ


การประเมินโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ กิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหม มาเรียม นิลพันธุ

ใหไปรวมประชุมเชิงปฏิบัติการหรืออบรมระยะสั้น 2. สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามีควรมีการสง เสริมสนับสนุนใหศึกษานิเทศกพัฒนาสมรรถนะตนเอง อยางจริงจังในรูปแบบการการสนับสนุนงบประมาณและ สิ่งตอบแทนสำ�หรับศึกษานิเทศกที่มีความสามารถใน การปฏิบัติตนตามสมรรถนะของศึกษานิเทศก เชน การ สนับสนุนงบประมาณในการวิจัย โดยแบงงบประมาณ สนั บ สนุ น ตามงวดเวลา อาทิ งวดแรกเมื่ อ เสร็ จ สิ้ น โครงการวิจัย (Research Proposal) งวดที่ 2 หลังจาก การรายงานผลการวิเคราะหขอมูล และงวดสุดทายหลัง การจัดทำ�รูปเลมรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ เปนตน นอกจากนี้ควรจัดใหมีการประกวดหรือนำ�เสนอผลงาน วิจัยดีเดนของศึกษานิเทศก 3. สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาและหนวยงาน ที่ รั บ ผิ ด ชอบควรมี ก ารเก็ บ รวบรวมข อ มู ล เกี่ ย วกั บ สมรรถนะของศึกษานิเทศกทั้ง 3 ดาน ไมวาจะเปนการ วิจัยเชิงคุณภาพ การพัฒนาตนเอง และการปฏิบัติการ นิเทศ ในลักษณะของการสังเคราะหกระบวนการและ ผลทีไ่ ด จากนัน้ มีการนำ�เสนอเพือ่ เผยแพรสบู คุ คลทัว่ ไป ขอเสนอแนะสำ�หรับการนำ�ผลการวิจัยไปใช 1. การผลการวิจัยพบวา ศึกษานิเทศกมีความ รู  ค วามเข า ใจและความสามารถตามสมรรถนะของ ศึกษานิเทศกโดยเฉพาะในดานความรู ความเขาใจ สวน ความสามารถทีเ่ ปนการนำ�ทฤษฎีไปสูก ารปฏิบตั นิ นั้ ควร มีการติดตามและพัฒนาตอยอดเปนระยะ โดยดำ�เนิน การอยางตอเนื่องและเปนระบบ ดำ�เนินการในลักษณะ ของความรวมมือกับสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน หรือสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษา (สพป.) และมัธยมศึกษา (สพม.) และสถาบัน อุดมศึกษา และสถานศึกษาที่มีบทบาทในการสะทอน กลับผลการปฏิบัติงานศึกษานิเทศก 2. ผลการวิจยั นีไ้ ดน�ำ เสนอรูปแบบในการดำ�เนิน การวิจยั เชิงคุณภาพ การกำ�หนดแผนพัฒนาตนเอง และ การปฏิ บั ติ ก ารนิ เ ทศของศึ ก ษานิ เ ทศก โดยมี ร าย ละเอียดในแตละประเด็น ซึง่ ศึกษานิเทศกสามารถนำ�ไป ประยุกตใชในการพัฒนาสมรรถนะของศึกษานิเทศกได

3. การนำ�ผลรูปแบบการนิเทศไปใช ควรปรับ ใหเหมาะสมกับบริบทของการนิเทศในแตละเขตพื้นที่ พื้นที่การศึกษา ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมี ก ารวิ จั ย และพั ฒ นาความสามารถ ของศึกษานิเทศกในเรื่องของการนิเทศโดยใชวิจัยเปน ฐานและการศึกษาความสามารถในการ Reflective Coaching เมื่อจำ�แนกตามสถานภาพของศึกษานิเทศก 2. ควรมีการวิจัยและพัฒนารูปแบบการนิเทศ แบบออนไลน (Online) 3. ควรมีการวิจัยและพัฒนารูปแบบการพัฒนา ศึ ก ษานิ เ ทศก แ นวใหม โดยพิ จ ารณาตั ว แปรด า น สถานภาพของศึกษานิเทศก 4. ควรมี ก ารสั ง เคราะห ง านวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ ของศึ ก ษานิ เ ทศก ที่ เ ป น ผลจากการดำ � เนิ น โครงการ นี้ โดยใชวิธีการสังเคราะหงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบ ชาติพันธุวรรณนาอภิมานเพื่อใหเกิดองคความรูใหมใน การพัฒนาวิชาชีพศึกษานิเทศกตอไป 5. ควรมีการสังเคราะหแผนพัฒนาตนเองของ ศึกษานิเทศกและผลทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ นำ�ผลการสังเคราะหไป ดำ�เนินการจัดการความรูเกี่ยวกับการพัฒนาตนเองใน การพัฒนาสมรรถนะศึกษานิเทศก 6. ควรมี ก ารสั ง เคราะห ค วามรู  ที่ เ กิ ด จาก การปฏิ บั ติ ก ารนิ เ ทศของศึ ก ษานิ เ ทศก ซึ่ ง จะเป น ผล ทำ�ใหไดวิธีการนิเทศใหมๆ เพื่อเปนแบบอยางในการ ปฏิบัติการนิเทศใหมีคุณภาพตอไป 7. ควรมีการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะ และพฤติกรรมการนิเทศเมื่อจำ�แนกตามสถานภาพของ ศึกษานิเทศกในดาน เพศ อายุ ประสบการณการเปน ศึกษานิเทศก ตำ�แหนงวิทยฐานะ สังกัด เขตพื้นที่การ ศึกษา (สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/ สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา) 8. ควรมีการวิจยั เพือ่ ประเมินโครงการยกระดับ คุณภาพครูทงั้ ระบบกิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหมใน ทุกระยะของการดำ�เนินโครงการและควรมีการวิจยั ศึกษา ประสิทธิผลของโครงการทุกเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาทีเ่ กิดกับ ศึกษานิเทศก ครู และนักเรียน

163


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

กรุณาใหขอมูลที่เปนประโยชนอยางยิ่งรวมทั้งนักศึกษา ปริ ญ ญาเอก สาขาวิ ช าหลั ก สู ต รและการสอน กลุ  ม หลักสูตรและการนิเทศ นักศึกษาปริญญาโทสาขาวิชา หลักสูตรและการนิเทศ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัย ศิลปากร ที่ไดรวมเก็บขอมูลและคณะศึกษาศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากรที่ อำ � นวยความสะดวกในการ ทำ�วิจัยนี้

กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั นีไ้ ดรบั ทุนสนับสนุนจากสำ�นักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพิ้นฐาน ซึ่งคณะผูวิจัยตองขอ ขอบคุณเปนอยางยิ่ง และไดรับความรวมมืออยางดีจาก ผูบ ริหารเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ศึกษานิเทศกของสำ�นักงาน เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษาและมั ธ ยมศึ ก ษา ผูบริหาร และครูโรงเรียนมัธยมศึกษา ประถมศึกษา ที่ 

164






การประเมินโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ กิจกรรมการพัฒนานิเทศแนวใหม มาเรียม นิลพันธุ

เอกสารอางอิง ภาษาไทย กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 พรอมกฎกระทรวงทีเ่ กีย่ วของและพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.). กระทรวงศึกษาธิการ. สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สำ�นักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553ก). การพัฒนาศึกษานิเทศกแนวใหม : เอกสารการอบรมตามหลักสูตรการพัฒนาศึกษานิเทศก ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: กระทรวงฯ. กระทรวงศึกษาธิการ. สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สำ�นักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. กลุมพัฒนาและสงเสริมการนิเทศ. (2553ข). คูมือปฏิบัติการพัฒนาระบบนิเทศแนวใหมตามโครงการ ยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ ภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็งปงบประมาณ 2553. กรุงเทพฯ: กระทรวงฯ. กฤติยา วงศกอ ม. (2547). รูปแบบการพัฒนาครูดา นการประเมินการเรียนรูต ามแนวคิดการประเมินแบบเสริม พลังอำ�นาจทีอ่ ดคลองกับพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542. ปริญญาครุศาสตรดุษฎี บัณฑิต สาขาการวัดและประเมินผลการศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. __________. (2542). การเปรียบเทียบคุณลักษณะของนักศึกษาสถาบันราชภัฎนครปฐมที่มีเปาหมาย การเรียนแตกตางกัน. นครปฐม: คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม. จิราภรณ เสียงฆอง. (2545). การประเมินโครงการโรงเรียนสีขาว ตานยาเสพติด กลุมโรงเรียนประถมศึกษา อำ�เภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2545). การนิเทศการศึกษา หนวยศึกษานิเทศก กรมฝกหัดครู. กรุงเทพฯ: กรมการ ฝกหัดครู. ชารี มณีศรี. (2538). การนิเทศการศึกษา (Educational supervision). กรุงเทพฯ: โสภณการพิมพ. ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม. (2552). สถิติการวิจัยทางการศึกษา. นครปฐม: โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร. ประชุม รอดประเสริฐ. (2535). การบริหารโครงการ. กรุงเทพฯ: เนติกุลการพิมพ. ปรีชา นิพนธพิทยา. (2527). การประถมศึกษากับการพัฒนา. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ. __________. (2537). การประถมศึกษากับการพัฒนา. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ. มาเรียม นิลพันธุ. (2551). วิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. พิมพครั้งที่ 3. นครปฐม: โรงพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร. __________. (2533). วิธีวิจัยทางการศึกษา. พิมพครั้งที่ 3. นครปฐม: ศูนยวิจัยและพัฒนาทางการศึกษา คณะ ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. เยาวดี รางชัยกุล วิบูลยศรี. (2549). การประเมินโครงการ แนวคิดและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหง จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. รัตนะ บัวสนธิ.์ (2550). ทิศทางและอาณาบริเวณการประเมิน. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ลิขิต กาญจนาภรณ, คีรีบูน จงวุฒิเวศย และมาเรียม นิลพันธุ. (2543). รายงานการวิจัยการประเมินโครงการ อาสาสมัครดูแลมรดกทางศิลปวัฒนธรรม (อส.มศ.) กรมศิลปากร. นครปฐม: โรงพิมพมหาวิทยาลัย ศิลปากร.

165


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554

วไลรัตน บุญสวัสดิ์. (2538). หลักการนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ: อารตกราฟก. วัชรา เลาเรียนดี. (2553). นิเทศการสอน. พิมพครั้งที่ 6. นครปฐม: โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร. สงัด อุทรานันท. (2530). การนิเทศการศึกษาหลักการทฤษฎีและการปฏิบตั .ิ พิมพครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: มิตรสยาม. สมบัติ สุวรรณพิทักษ. (2541). การประเมินโครงการ : ทฤษฎีและการปฏิบัติ. ม.ป.ท. สมหวัง พิธิยานุวัฒน. (2549). การวิจัยประเมินโครงการดานการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานคณะกรรมการ อุดมศึกษามหาวิทยาลัย. __________. (2537). รวมบทความทางการประเมินโครงการ. พิมพครัง้ ที่ 6. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2542). แนวการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: สถาบันแหงชาติเพื่อการปฏิรูปการเรียนรู. __________. (2545). แผนการศึกษาแหงชาติ (พ.ศ. 2545-2559) : ฉบับสรุป. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟก. สำ�ราญ มีแจง. (2544). การประเมินโครงการทางการศึกษา. พิษณุโลก: ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร. สุทธนู ศรีไสย. (2545). หลักการนิเทศการศึกษา. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สุวมิ ล วองวาณิช. (2548). การประเมินความตองการจำ�เปน. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อุทัย บุญประเสริฐ. (2543). รายงานการวิจัย การศึกษาแนวทางการบริหารและการจัดการศึกษาของสถาน ศึกษาใน รูปแบบการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา แหงชาติ. ภาษาอังกฤษ Best, John W. and Kahn, James V. (2006). Research in education. 10th ed. Boston : Pearson/Allyn and Bacon. Cresswell, John W. and Plano Clark, Vicki L. (2007). Designing and conducting mixed methods research. Thousand Oaks, Calif.: Sage Publication. Glickman. C. D. (1980). Developmental supervision : alternative practice for helping teachers improving instruction. Washington D.C.: Association for Supervision and Curriculum Development : 25-34. Glickman, Carl D. ; Gordon, Stephen P. ; Ross-Gordon, Jovita M. (2010). SuperVision and instructional leadership : a developmental approach. 8th ed. Boston: Pearson/Allyn and Bacon. Good, Carter V. (1973). Dictionary of education. New York: McGraw-Hill. Gwynn, K. Minor. (1974). Theory and practice of supervision. New York: Dodd Mead & Company. Harris, Ben M. (1985). Supervisory behavior in education. 3rd ed. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall. Lovell, John T. and Kimball, Wiles, ed. (1983). Supervision for better school. 5th ed. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall. Marks, James R. ; Stoops, Emery and King–Stoops, Joyce. (1978). Handbook of educational supervision : a guide for the practitioner. 2nd ed. Boston: Allyn and Bacon. Spears, Harold. (1967). Curriculum planning through in–service programs. Englewood Cliffs. N.J.: Prentice- Hall. Wiles, Jon and Bondi, Joseph. (2004). Supervision : a guide to practice. 6th ed. Upper Saddle River, N.J.: Pearson ; Columbus, Ohio: Merrill Prentice Hall. 166


​ราย​ชื่อผูทรง​คุณวุฒิอานบทความวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 31 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม พ.​ศ. 255​4) กฤติยา รุจิโชค, ผูชวยศาสตราจารย ดร. โปรแกรมวิชานิเทศศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จิตรี โพธิมามกะ, รองศาสตราจารย ดร. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จุฬิศพงศ จุฬารัตน, อาจารย ดร. ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ฉันธะ จันทะเสนา, ผูชวยศาสตราจารย ดร. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม, ผูชวยศาสตราจารย ดร. สาขาวิชาการศึกษา ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร ดวงเงิน ซื่อภักดี, ผูชวยศาสตราจารย ดร. สาขา​วชิ า​การจัดการ​การ​ทอ งเทีย่ ว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขต​สารสนเทศ​เพชร​บรุ ี ทักษิณา คุณารักษ, รองศาสตราจารย ดร. สาขาวิชาการทองเที่ยว ภาควิชามนุษยศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ธเนศ ศรีสถิตย, ผูชวยศาสตราจารย คณะการทองเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นุชนารถ รัตนสุวงศชัย, ผูชวยศาสตราจารย ภาควิชาศิลปาชีพ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บาหยัน อิ่มสำ�ราญ, รองศาสตราจารย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร บุณยสฤษฎ อเนกสุข, ผูชวยศาสตราจารย ดร. สาขาวิชามนุษยศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี บุญมี เณรยอด, รองศาสตราจารย ดร. สาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปรีชา เถาทอง, ศาสตราจารย ภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ พิเชษฐ เปยรกลิ่น, รองศาสตราจารย สาขาวิชาทัศนศิลป คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี รัฐไท พรเจริญ, ผูชวยศาสตราจารย ดร. ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ ลักษณา โตวิวัฒน, รองศาสตราจารย ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

167


วรพร ภูพงศพันธุ, ผูชวยศาสตราจารย ดร. ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร สุรศักดิ์ เจริญวงศ, รองศาสตราจารย ภาควิชาศิลปะไทย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระ สุวพร เซ็มเฮง, อาจารย ดร. ภาควิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ, รองศาสตราจารย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร โสรัจจ หงศลดารมภ, รองศาสตราจารย ดร. ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อธิเกียรติ ทองเพิ่ม, รองศาสตราจารย ภาควิชาครุศึกษา คณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 

168






รายละเอียดการเตรียมบทความเพื่อสงตีพิมพ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ 1. วัตถุประสงคการจัดพิมพ

เพื่อเผยแพรผลงานทางวิชาการสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ของนักวิชาการทั้งภายในและ ภายนอกมหาวิทยาลัย เปนสื่อกลางการแลกเปลี่ยนเรียนรูทางวิชาการในสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และ ศิลปะ และสงเสริมใหนักวิชาการและผูสนใจไดนำ�เสนอผลงานวิชาการในรูปบทความวารสาร

2. กำ�หนดออก

ปละ 2 ฉบับ (มกราคม-มิถุนายน และ กรกฎาคม-ธันวาคม)

3. บทความที่รับตีพิมพ

1. บทความที่รับตีพิมพ ไดแก 1. บทความวิชาการ 2. วิทยานิพนธปริทัศน 3. บทความวิจัยจากงานวิจัย หรือวิทยานิพนธตนฉบับ 4. บทความปริทัศน 5. บทความพิเศษ 2. เปนผลงานใหมที่ยังไมเคยพิมพเผยแพรในสื่อใดๆ มากอน 3. ความยาวไมเกิน 15 หนา 4. สงตนฉบับ 3 ชุด พรอมไฟลขอมูลที่บันทึกลงแผน CD-ROM 1 แผน

4. การสงบทความ

1. สงเอกสารตนฉบับ 3 ชุด และ CD-ROM พรอมแบบฟอรมขอสงบทความเพื่อตีพิมพ ทางไปรษณีย มาที่ คุณปรานี วิชานศวกุล (บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร) 44/114 หมูบานเลิศอุบล ซอยพหลโยธิน 52 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 2. เมื่อไดรับบทความแลว บรรณาธิการจะแจงกลับไปยังผูเขียนบทความใหทราบทางใดทางหนึ่ง 3. ทุ ก บทความที่ ตี พิ ม พ จะได รั บ การกลั่ น กรองจากกองบรรณาธิ ก าร และผ า นการพิ จ ารณาจาก ผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชานั้น ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยอยางนอย 2 คน

5. ขอกำ�หนดการเตรียมตนฉบับ

1. ขนาดกระดาษ A4 พิมพดวย Microsoft Word for Window 2. ระยะหางจากขอบบนและซายของกระดาษ 1.25 นิ้ว จากขอบลางและขวาของกระดาษ 1 นิ้ว 3. ตัวอักษร ใชอักษรโบรวาลเลีย นิว (Browallia New) • ชื่อเรื่อง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาด 16 พอยท กลางหนา ตัวหนา • ชื่อผูเขียน ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาด 14 พอยท ชิดขวา ตัวหนา • บทคัดยอภาษาไทยและภาษาอังกฤษ - ชื่อ “บทคัดยอ” และ “Abstract” ขนาด 14 พอยท ชิดซาย ตัวหนา - รายละเอียดบทคัดยอ ขนาด 14 พอยท ชิดขอบซาย-ขวา ตัวธรรมดา - คำ�สำ�คัญ (Keyword) ขึ้นบรรทัดใหม ขนาด 14 พอยท ชิดซาย ตัวหนา สวนขอความของ คำ�สำ�คัญเปนตัวธรรมดา


• บทความ - หัวขอใหญ เวน 1 บรรทัด ชิดซาย ขนาด 14 พอยท ตัวหนา - หัวขอรอง ยอหนา 0.5 นิ้ว ขนาด 14 พอยท ตัวหนา - ขอความ ยอหนา 0.5 นิ้ว ชิดขอบซาย-ขวา ตัวธรรมดา - ใชตัวเลขอารบิคเทานั้น • รายละเอียดผูเขียนบทความ ประกอบดวย - ที่อยู ตำ�แหนงทางวิชาการ หนวยงานที่สังกัด อีเมลและโทรศัพทที่ติดตอไดสะดวก

6. การอางอิง 1. การอางอิงในเนื้อหาใชระบบนาม-ป (Name-year Reference) 1.1 การอางอิงในเนื้อหาจากสื่อทุกประเภท ลงในรูปแบบ “ชื่อผูเขียน ปพิมพ : เลขหนาที่ปรากฏ” อยูใน เครื่องหมายวงเล็บเล็ก 1.2 ผูเขียนคนไทยลงชื่อ-สกุล สวนผูเขียนชาวตางชาติลงเฉพาะนามสกุล ดังตัวอยาง - โสเกรติสย้ำ�วาการอานสามารถจุดประกายไดจากสิ่งที่นักอานรูอยูแลวเทานั้นและความรูที่ไดรับ มาไมไดมาจากตัวหนังสือ (แมนเกล 2546 : 127) - สุมาลี วีระวงศ (2552 : 37) กลาววา การที่ผูหญิงจะไปสื่อชักผูชายมาบานเรือนของตัวเองทั้งๆ ที่เขายัง ไมไดมาสูขอนั้น เปนเรื่องผิดขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี หมายเหตุ: ทุกรายการที่อางอิงในเนื้อหา ตองปรากฏในรายการบรรณานุกรมเสมอ 2. บรรณานุกรม (Bibliography) - การเขียนบรรณานุกรมใชรูปแบบของ APA (American Psychology Association) ดังตัวอยางตามชนิด ของเอกสารดังนี้ 2.1 หนังสือ ชื่อ-สกุลผูแตง. \\ (ปพิมพ). \\ ชื่อหนังสือ. \\ ครั้งที่พิมพ. \\ เมืองที่พิมพ: \ สำ�นักพิมพ. ตัวอยาง แมนเกล, อัลแบรโต. \\ (2546). \\ โลกในมือนักอาน. \\ พิมพครั้งที่ 4. \\ กรุงเทพฯ: \ พิฆเณศ พริ้นติ้ง เซ็นเตอร. สุมาลี วีระวงศ. \\ (2552). \\ วิถีชีวิตไทยในลิลิตพระลอ. \\ พิมพครั้งที่ 3. \\ กรุงเทพฯ: \ สถาพรบุคส. Greenthal, Kathryn, Kozal, Paula M., and Ramirez, Jan Seidler. \\ (1986). \\ American figurative sculpture in the Museum of Fine Arts, Boston. \\ 2nd ed. \\ Boston: \ Museum of Fine Arts. Tidd, J., Bessant, J. and Pavitt, K. \\ (2001). \\ Managing innovation. \\ 2nd ed. \\ Chichester: \ John Wiley and Sons. 2.2 บทความวารสาร ชื่อ-สกุลผูเขียน. \\ (ป) \\ ชื่อบทความ. \\ ชื่อวารสาร \ ปที่, \ (ฉบับที่) \ : \ หนาที่ปรากฏบทความ. ตัวอยาง ผอง เซงกิ่ง. \\ (2528). \\ ศิลปกรรมอันเนื่องกับไตรภูมิ. \\ ปาจารยสาร 12 (2) \ : \ 113-122. Shani, A., Sena, J. and Olin, T. \\ (2003). \\ Knowledge management and new product development: a study of two companies. \\ European Journal of Innovation Management 6 (3) \ : \ 137-149.


2.3 วิทยานิพนธ ชื่อผูเขียนวิทยานิพนธ. \\ (ปการศึกษา). \\ ชื่อวิทยานิพนธ. \\ ระดับปริญญา \ สาขาวิชาหรือภาควิชา \ คณะ \ มหาวิทยาลัย. ตัวอยาง ปณิธิ อมาตยกุล. \\ (2547). \\ การยายถิ่นของชาวไทใหญเขามาในจังหวัดเชียงใหม. \\ วิทยานิพนธปริญญา ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิภาคศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม. วันดี สนติวฒ ุ เิ มธี. \\ (2545). \\ กระบวนการสรางอัตลักษณทางชาติพนั ธุข องชาวไทใหญชายแดนไทย-พมา กรณีศกึ ษาหมูบ า นเปยงหลวง อำ�เภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม. \\ วิทยานิพนธปริญญาสังคมวิทยา และมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. 2.4 สื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ 2.4.1 หนังสือออนไลน (online / e-Book) ชือ่ ผูเ ขียน. \\ (ปทพี่ มิ พ) \\ ชือ่ เรือ่ ง. \\ [ประเภทของสือ่ ทีเ่ ขาถึง]. \\ สืบคนเมือ่ \\ วัน \ เดือน \ ป. \\ จาก \ แหลงขอมูล หรือ URL สรรัชต หอไพศาล. \\ (2552). \\ นวัตกรรมและการประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในสหัสวรรษใหม : กรณีการจัดการเรียนการสอนผานเว็บ (Web-Based Instruction : WBI). \\ [ออนไลน]. \\ สืบคน เมื่อ 1 พฤษภาคม 2553. \\ จาก http://ftp.spu.ac.th/hum111/main1_files. De Huff, E. W. \\ (2009). \\ Taytay’s tales: traditional Pueblo Indian tales. \\ [Online]. \\ Retrieved January 8, 2010. \\ from http://digital.library.upenn.edu/women/dehuff/taytay/taytay.html. 2.4.2 บทความจากวารสารออนไลน (online / e-journal) Author, A. A., & Author, B. B. \\ (Date of publication). \\ Title of article. \\ Title of Journal \\ volume (number) : pages. \\ [Online]. \\ Retrieved …month date, year. \\ from….source or URL…. ตัวอยาง Kenneth, I. A. \\ (2000). \\ A Buddhist response to the nature of human rights. \\ Journal of Buddhist Ethics 8 (3) : 13-15. \\ [Online]. \\ Retrieved March 2, 2009. \\ from http://www.cac.psu.edu/jbe/ twocont.html. Webb, S. L. \\ (1998). \\ Dealing with sexual harassment. \\ Small Business Reports 17 (5) : 11-14. \\ [Online]. \\ Retrieved January 15, 2005. \\ from BRS, File: ABI/INFORM Item: 00591201. 2.4.3 ฐานขอมูล ธนาคารแหงประเทศไทย. \\ (2550). \\ แรงงานตางดาวในภาคเหนือ. \\ [ออนไลน]. \\ สืบคนเมื่อ 2 กันยายน 2550. \\ จาก http://www.Bot.or.th/BotHomepage/databank /RegionEcon/ northern /public/Econ/ch 7/42BOX04. HTM. Beckenbach, F. and Daskalakis, M. \\ (2009). \\ Invention and innovation as creative problem solving activities: A contribution to evolutionary microeconomics. \\ [Online]. \\ Retrieved September 12, 2009. \\ from http:www.wiwi.uni-augsburg.de/vwl/hanusch/emaee/papers/Beckenbach_neu.pdf.


สงบทความไดที่ :

คุณปรานี วิชานศวกุล (บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร) 44/114 หมูบานเลิศอุบล ซอยพหลโยธิน 52 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 โทร. 080-5996680

ติดตอสอบถามไดที่ :

รศ.ระเบียบ สุภวิรี คุณปรานี วิชานศวกุล

E-mail: dawgrabiab107@gmail.com E-mail: pranee_aon1@hotmail.com

ผูเขียนบทความสามารถดาวนโหลดแบบฟอรมขอสงบทความเพื่อตีพิมพ ไดที่ http: //www.surdi.su.ac.th หรือ http://www.journal.su.ac.th


แบบฟอรมขอสงบทความเพื่อตีพิมพ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร์ และศิลปะ เรียน กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ขาพเจา ​ นาย ​ นาง ​ นางสาว ชื่อ-สกุล ภาษาไทย ....................................................................................................................... ภาษาอังกฤษ................................................................................................................. ตำ�แหนงทางวิชาการ ​  ศาสตราจารย  รองศาสตราจารย  ผูชวยศาสตราจารย  อาจารย ​  อืน่ ๆ (โปรดระบุ)......................................................................................................................... สถานที่ทำ�งาน .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. โทรศัพทที่ทำ�งาน.......................................................โทรศัพทมือถือ.................................................... โทรสาร......................................................................อีเมล................................................................... มีความประสงคขอสงบทความ เรื่อง ภาษาไทย............................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ภาษาอังกฤษ.......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... กองบรรณาธิการสามารถติดตอขาพเจาไดที่  สถานที่ทำ�งาน ตามที่ระบุไวขางตน  สถานที่อยูที่ติดตอไดสะดวกรวดเร็ว ดังนี้ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. โทรศัพทที่ทำ�งาน.......................................................โทรศัพทมือถือ.................................................... โทรสาร......................................................................อีเมล................................................................... ลงชื่อ.................................................................... (...........................................................) วัน-เดือน-ป........................................................... สงใบสมัคร พรอมตนฉบับ 3 ชุด และไฟลขอมูลที่บันทึกลงแผน CD-ROM 1 แผน มาที่ คุณปรานี วิชานศวกุล (บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร) 44/114 หมูบานเลิศอุบล ซอยพหลโยธิน 52 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 เฉพาะเจาหนาที่ วันทีร่ บั เอกสาร............................................................ลงชือ่ ผูร บั เอกสาร.............................................................



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.