วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 1


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ปที่ 30 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม​-ธันวา​คม พ.ศ. 2553) SILPAKORN UNIVERSITY JOURNAL Volume 30 Number 2 (July-December 2010) ISSN 0857-5428 หนวยงานที่รับผิดชอบ

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000

วัตถุประสงค

1. เผยแพรผลงานทางวิชาการสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ของนักวิชาการ ทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัย 2. เปนสื่อกลางการแลกเปลี่ยนเรียนรูทางวิชาการในสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และ ศิลปะ 3. สงเสริมใหนักวิชาการและผูสนใจไดนำ�เสนอผลงานวิชาการในรูปบทความวารสาร

ที่ปรึกษา

ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร. เจตนา นาควัชระ ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร ศาสตราจารย ดร. สันติ เล็กสุขุม ภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย ดร. กุสุมา รักษมณี ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร. อริศร เทียนประเสริฐ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร

บรรณาธิการ

รองศาสตราจารยระเบียบ สุภวิรี ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ทุกบทความ​ไดรับการตรวจความถูกตองทางวิชาการโดยผูทรงคุณวุฒิ​


กองบรรณาธิการ

ศาสตราจารยปรีชา เถาทอง ภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย ดร. สุวิไล เปรมศรีรัตน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเซีย มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารยพิษณุ ศุภนิมิตร ภาควิชาภาพพิมพ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร รองศาสตราจารย สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร. มาเรียม นิลพันธุ ภาควิชาหลักสูตรและวิธีการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร. บูลยจีรา ชิรเวทย ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

บรรณาธิการบริหารวารสาร

นางปรานี วิชานศวกุล

กำ�หนดออก

ปละ 2 ฉบับ (มกราคม-มิถุนายน และ กรกฎาคม-ธันวาคม)

จำ�นวนพิมพ

300 เลม ราคาจำ�หนาย เลมละ 120 บาท

ติดตอบอกรับและสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่

รศ.ระเบียบ สุภวิรี บรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 E-mail: dawgrabiab107@gmail.com หรือ คุณปรานี วิชานศวกุล บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 44/114 หมูบานเลิศอุบล ซอยพหลโยธิน 52 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 E-mail: pranee_aon1@hotmail.com Web site: http://www.journal.su.ac.th หรือ http://www.surdi.su.ac.th

พิมพที่

โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 โทรศัพท 034 – 255814


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ปที่ 30 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม พ.ศ. 2553)

สารบัญ บทบรรณาธิการ

5

บทความประจำ�ฉบับ การศึกษาเปรียบเทียบคำ�ศัพทภาษาไทถิ่นในจังหวัดสกลนคร มุจลินทร ลักษณะ​วงษ

7

การศึกษาการแปรของเสียง (mr) และ (ml​) ในภาษาไทยถิ่นสงขลาตามปจจัยทางสังคม อภิชญา แกวอุทัย

27

กวา​ม​โต​เมือง​ไทย​โซง ทวี สวาง​ปญญา​งกูร

41

ทำ�อยางไรถึงจะเรียนเกงคณิตศาสตร ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ

57

ความสัมพันธระหวางความยุติธรรมดานผลลัพธและดานกระบวนการกับพฤติกรรม การเปนสมาชิกที่ดีขององคกร และผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ ผานการรับรูการสนับสนุนจากองคกร วิโรจน เจษฎาลักษณ

65

ยุทธศาสตรการสรางตัวแบบการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ในกลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง ศาลาการเปรียญหลังเกา วัดในกลาง จังหวัดเพชรบุรี รวิวงศ ศรีทองรุง

83


พัฒนาการยานนางเลิ้ง สุภาภรณ จินดามณีโรจน

97

พระพิมพในประเทศไทย และเอเชีย​อาคเนย : ประติมาน​วิทยา หนาที่​ใชสอย และบริบท​ทางพิธีกรรม สุรส​วัสดิ์ ศุขสวัสดิ์

119

ตลาดสด ​: การ​สราง​เศรษฐกิจ​ชาติ​ใน​เขตเศรษฐกิจ​และ​วัฒนธรรม สุวิดา ธรรม​มณี​วงศ

131

ภาคผนวก รายชื่อผูทรงคุณวุฒิอานบทความ​วารสาร​มหาวิทยาลัย​ศิลปากร

149


บทบรรณาธิการ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากรฉบับนีป้ ระกอบดวยบทความตางๆ หลายสาขา นับตัง้ แตดา นภาษาศาสตร การศึกษา ประวัติศาสตร เศรษฐกิจ การบริหารองคกร ตลอดจนการทองเที่ยว บทความดานภาษาศาสตรเรื่องแรกคือ การศึกษาเปรียบเทียบคำ�ศัพทภาษาไทถิ่นในจังหวัดสกลนคร ของ มุจลินทร ลักษณะวงษ เปนการศึกษาภาษาไทถิ่นที่ใชในจังหวัดสกลนครโดยการเปรียบเทียบคำ�ศัพท 5 ภาษาคือ ภาษาญอ ภาษาผูไท ภาษาโยย ภาษาลาว และภาษากะเลิง จากการศึกษาพบวา การใชคำ�ศัพทของ ภาษาญอ ภาษาลาว และภาษาโยย มีความสัมพันธกนั มากกวาคำ�ศัพทของภาษากะเลิง และภาษาผูไ ท นอกจากนี้ ยังจัดกลุม ความสัมพันธของ 5 ภาษา เปน 3 กลุม คือ กลุม ที่ 1 ภาษาญอ ภาษาลาว และภาษาโยย กลุม ที่ 2 ภาษา กะเลิง และกลุม ที่ 3 ภาษาผูไ ท สวนอภิชญา แกวอุทยั ศึกษาเรือ่ งการศึกษาการแปรของเสียง (mr) และ (ml) ใน ภาษาไทยถิ่นสงขลาตามปจจัยทางสังคม ในดานอายุ เพศ และถิ่นที่อยูอาศัย ทำ�ใหพบวาปจจุบันเสียง 2 เสียง ดังกลาวกำ�ลังเกิดการเปลีย่ นแปลงไปจากเดิม โดยเสียง (mr) มีแนวโนมทีจ่ ะวิวฒ ั นาการเปนเสียงพยัญชนะตนเดีย่ ว เร็วกวาเสียง (ml) และปจจัยทางดานสังคมที่มีผลกระทบตอการแปรของเสียง (mr) และ (ml) มากที่สุดก็คือ ถิ่นทีอ่ ยูอ าศัย รองลงมาคือ อายุ และเพศ สวนอีกเรื่องหนึง่ คือ กวามโตเมืองไทยโซง ซึ่งถือวาเปนวรรณคดีชนิ้ เอก ของไทยโซง ชาวไทยโซงนั้นมีเชื้อสายมาจากไทดำ�ที่บรรพบุรุษไดติดตามกองทัพสยามจากดินแดนสิบสองจุไท ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเวียดนาม อพยพเขามาพักอาศัยในประเทศสยามเมื่อสองรอยกวาปมาแลว นับไดวา กวามโตเมืองไทยโซงเปนตำ�นานการเลาเรือ่ งของชนชาติไทดำ�ในเขตพายัพของประเทศเวียดนาม ซึง่ ตาม ประเพณีดั้งเดิมนั้นกวามโตเมืองนี้ชาวไทยโซงจะใชอานเฉพาะคืนวันสุดทายของงานศพกอนจะเผาและตองอาน หลังเที่ยงคืนเทานั้นหามอานเวลาและโอกาสอื่น ทวี สวางปญญางกูร ไดสนใจศึกษาและถอดความจากตำ�นาน กวามโตเมืองฉบับภาษาไทยโซงมาเปนภาษาไทยดวยคำ�อานจากสัทอักษรระบบเสียงของวิศรุต สุวรรณวิเวก และ ออกแบบฟอนทไทยโซงดวยตนเอง จากเนื้อความเริ่มตนตอนแรกเปนการเลานิทานเรื่องฟาดินและกำ�เนิดของ ไทดำ� ทำ�ใหผูอานไดทราบประวัติความเปนมาและการกอบกูชาติบานเมืองของชาวไทดำ� สำ�หรับดานการศึกษานั้น ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ ไดเขียนบทความเรื่อง ทำ�อยางไรถึงจะเรียนเกง คณิตศาสตร โดยวิเคราะหจากงานวิจัยที่เกี่ยวของ และพบวามีหลายปจจัยที่มีอิทธิพลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนนับตั้งแตพื้นฐานเดิมของนักเรียน ระดับการศึกษาของผูปกครอง ความเปนผูนำ�ทางวิชาการของ อาจารยใหญ/ผูอ ำ�นวยการ ประสบการณการสอนของครู วุฒิครูและขนาดของโรงเรียน สติปญ  ญาหรือเชาวปญ  ญา ของนักเรียน เจตคติตอ วิชาคณิตศาสตร ตลอดจนรายไดของผูป กครอง และผูเ ขียนไดสรุปวามีองคประกอบ 3 ดาน ทีจ่ ะทำ�ใหนกั เรียนเรียนคณิตศาสตรเกงคือ องคประกอบของตัวนักเรียน องคประกอบทางโรงเรียน และองคประกอบ ทางบาน อีกบทความหนึ่งคือเรื่อง ความสัมพันธระหวางความยุติธรรมดานผลลัพธและดานกระบวนการกับ พฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร และผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ผานการรับรูการสนับสนุนจาก องคกร ของ วิโรจน เจษฎาลักษณ ที่ทำ�การสำ�รวจขอมูลจากตำ�รวจชั้นประทวน ของสำ�นักงานตำ�รวจภูธรภาค 3 พบวาความสำ�เร็จขององคกรนัน้ เกิดขึน้ จากหลายปจจัย ปจจัยทีส่ �ำ คัญคือบุคคลตองปฏิบตั งิ านตามบทบาทหนาที่ ของตนเองใหดที สี่ ดุ และมีพฤติกรรมทีส่ รางประโยชนใหกบั องคกรมากกวาประโยชนของตนเอง โดยผูเ ขียนสนใจ ศึกษาปจจัยตางๆ ทีม่ ผี ลตอพฤติกรรมการเปนสมาชิกทีด่ ขี องตำ�รวจทีป่ ฏิบตั งิ านดานธุรการ สารบรรณ ชวยอำ�นวย การ และงานเลขานุการ และพบวาขาราชการตำ�รวจรับรูถ งึ ความยุตธิ รรมดานผลลัพธและกระบวนการขององคกร ในระดับสูงก็จะทำ�ใหเกิดการรับรูถึงการสนับสนุนขององคกรสูงตามไปดวย นอกจากนี้ยังพบอีกดวยวาตำ�รวจมี วัฒนธรรมองคกรดานตางๆ โดยเฉพาะดานการปฏิบัติงานที่แตกตางจากองคกรธุรกิจทั่วไป โดยตำ�รวจจะมีการ ปฏิบตั งิ านตามวัตถุประสงคและเปาหมายขององคกรตามระบบการบังคับบัญชาของหนวยราชการ ปฏิบตั งิ านดวย


ความสำ�นึกในหนาที่ มีอุดมการณสูงกวาอาชีพอื่น และมีระบบการบริหารงานตามลำ�ดับขั้น รวิวงศ ศรีทองรุง ศึกษายุทธศาสตรการสรางตัวแบบการทองเที่ยวอยางยั่งยืนในกลุมจังหวัดภาคกลาง ตอนลาง โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ สรางตัวแบบการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืนในกลุม จังหวัดภาคกลางตอนลางใหสามารถ รองรับการเปลี่ยนแปลงของโลกไปสูกระแสชุมชนภิวัฒน โดยวิเคราะหขอมูลจากเอกสาร การสัมภาษณผูบริหาร และการสนทนากลุม จากการศึกษาวิเคราะหเชิงเอกสารพบวาการบริหารจัดการภาครัฐเปนจุดออนในการพัฒนา การทองเทีย่ ว เชน รัฐขาดการวางแผนการใชทรัพยากรธรรมชาติ หรือชุมชนขาดโอกาสในการมีสว นรวม สวนการ สัมภาษณเชิงลึกพบวา การกำ�หนดยุทธศาสตรและนโยบายการทองเที่ยวตองใหชุมชนมีสวนรวมทุกขั้นตอน และ จากการประชุมระดมความคิดเห็นภาคประชาชนและทองถิ่น มีขอสรุปวาการทองเที่ยวควรเปนการจัดการโดย ชุมชนโดยมีภาครัฐและเอกชนใหการสนับสนุนอยางจริงจัง สวนดานประวัติศาสตรนั้น สุภาภรณ จินดามณีโรจน ไดศึกษาพัฒนาการยานนางเลิ้ง โดยมุงเนนดาน สถาปตยกรรม การอนุรักษ และผังเมือง ดวยวิธีการทางประวัติศาสตรทองถิ่น มีการศึกษาและเก็บขอมูลจาก เอกสาร แผนที่ ภาพถาย รองรอยตางๆ ในชุมชนตลอดจนการสัมภาษณผูรู ทำ�ใหเห็นพัฒนาการของนางเลิ้ง ซึ่งเปนสถานที่เกาแกแหงหนึ่งของกรุงเทพฯ เมื่อสองรอยกวาปมาแลวที่เปนเพียงไรนารกรางและเปนที่อยูของ ชาวเขมร ลาว มอญ ญวน และชาวใต จนกระทัง่ กลายมาเปนยานศูนยการคาและเศรษฐกิจ ตลอดจนเปนแหลงความ บันเทิงที่สำ�คัญของกรุงเทพฯ ในปจจุบัน และมีบทความดานประวัติศาสตรอีกเรื่องหนึ่งคือ การศึกษาพระพิมพ ในประเทศไทยและเอเชียประวัติศาสตรอาคเนย ที่ ม.ล. สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์ ไดเรียบเรียงจากบทความของ ดร.ปเตอร สกิลลิ่ง (Dr.Peter Skilling) ทำ�ใหทราบวาการสรางพระพิมพนั้น ผูสรางทุกรายมีแนวคิดเดียวกันคือ ทำ�เพื่อผลบุญ หรือบางก็กลาวถึงการขอใหไดพบพระเมตไตรยะพระอนาคตพระพุทธเจา หรือขอใหบรรลุนิพพาน อยางไรก็ตามพระพิมพเปนเครื่องแสดงใหเห็นการปฏิบัติทางพิธีกรรมที่มีจุดมุงหมายโดยเฉพาะและมีการ เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาและสถานที่ อันทำ�ใหพระพิมพมีหลายรูปแบบตางๆ ตามพื้นที่และแหลงที่พบ ในทางเศรษฐกิจนั้น สุวิดา ธรรมมณีวงศ ไดนำ�เสนอเรื่อง ตลาดสด: การสรางเศรษฐกิจชาติในเขต เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ดวยการวิเคราะหแนวคิดจากนักวิชาการตางๆ เกี่ยวกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เพือ่ การพัฒนาประเทศภายใตการสงเสริมทางเศรษฐกิจทีม่ งุ การสงออกของสินคาและบริการ และการลงทุนขนาด ใหญ อันทำ�ใหสงั คมไทยเปลีย่ นแปลงไป โดยเปดโอกาสใหประชาชนมีสทิ ธิเสรีภาพในการดำ�รงชีวติ อยางเทาเทียม กัน อันเปนจุดเริม่ ตนทีท่ �ำ ใหเกิดเปนเขตเศรษฐกิจทีป่ ระสมประสานกันระหวางระบบนิเวศในพืน้ ทีแ่ ละวิถกี ารดำ�รง ชีวิตที่ตองปรับตัวใหเขากับสังคมสมัยใหมซึ่งทำ�การผลิตเพื่อตอบสนองความตองการบริโภคของสมาชิก อัน ทำ�ใหเกิดธุรกิจขนาดเล็กที่มีการพึ่งพาอาศัยกันนั่นก็คือ ตลาดสดและตลาดนัด ที่ทำ�ใหเศรษฐกิจทองถิ่นมีความ เขมแข็ง สรางอาชีพ สรางงานใหคนในทองถิ่นและเปนธุรกิจแหงการแขงขันเพื่อการเขาถึงผูบริโภคไดเปนอยางดี ถึงแมวา ตลาดสดจะยังเปนธุรกิจขนาดเล็กแตกท็ ำ�ใหเกิดการพึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกัน ทำ�ใหเกิดความสัมพันธเชือ่ ม โยงเปนเครือขายของสินคาและกลุมผูขายในตลาดสดอีกดวย จากบทความตางๆ ที่นำ�เสนอในฉบับนี้ หวังวาจะเปนประโยชนกับนักวิชาการและผูอานทั่วไปไดเปน อยางดี กองบรรณาธิการขอขอบพระคุณทุกทานทีใ่ หความสนใจและสงบทความมาเผยแพรในวารสารฉบับนี ้ และ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากรยินดีทจี่ ะเปนสือ่ กลางการเผยแพรบทความทางวิชาการ และขอตอนรับบทความของ ทุกทานดวยความยินดียิ่ง รองศาสตราจารยระเบียบ สุภวิรี บรรณาธิการ


การศึกษาเปรียบเทียบคำ�ศัพทภาษาไทถิ่นในจังหวัดสกลนคร A comparative Lexical Study of Tai Dialects in Sakon Nakhon Province มุจลินทร ลักษณะ​วงษ 1 Mudjalin Luksanawong บทคัดยอ บทความนีม้ วี ตั ถุประสงคเพือ่ ศึกษาเปรียบเทียบคำ�ศัพทภาษาไทถิน่ ในจังหวัดสกลนคร จำ�นวน 5 ภาษา ไดแก ภาษาญอ ภาษาผูไท ภาษาโยย ภาษาลาวหรือภาษาอีสาน และภาษากะเลิง โดยมีสมมติฐานวา คำ�ศัพทภาษาญอ ภาษาลาว และภาษาโยย มีความสัมพันธกันมากกวาภาษากะเลิงและภาษาผูไท การวิจยั ครัง้ นีผ้ วู จิ ยั ไดสรางรายการคำ�ซึง่ ประกอบดวยหนวยอรรถจำ�นวน 800 หนวยอรรถ แบงเปน 18 หมวด แลวนำ�หนวยอรรถทัง้ หมดไปสัมภาษณผบู อกภาษาทัง้ 5 ภาษา ภาษาละ 4 คน ทีไ่ ดคดั เลือกไวโดยควบคุมตัวแปรทาง สังคม คือ อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ และภูมิลำ�เนา เมื่อไดขอมูลแลวผูวิจัยจึงไดคัดเลือกหนวยอรรถที่มีความหมาย ชัดเจน ผูบอกภาษาทุกคนรูจักดี ตัดหนวยอรรถที่มีความหมายคลุมเครือออก เหลือหนวยอรรถจำ�นวนทั้งสิ้น 750 หนวยอรรถ จากนั้นนำ�หนวยอรรถที่เหลือมาวิเคราะหคำ�ศัพทตามกฎเกณฑทางภาษาศาสตรและนำ�คำ�ศัพทที่ วิเคราะหไดนั้นมาจัดเปนกระสวนหรือรูปแบบตางๆ ของการใชคำ�ศัพท เพื่อแสดงใหเห็นความสัมพันธที่ชัดเจน ผลการวิจัยพบวา การใชคำ�ศัพทภาษาไทถิ่นในจังหวัดสกลนครทั้ง 5 ภาษา ไดแก ภาษาญอ ภาษาผูไท ภาษาโยย ภาษาลาว และภาษากะเลิง มีการใชคำ�ศัพทแบงออกเปน 2 ชนิด คือ 1.การใชคำ�ศัพทเหมือนกัน 2.การใชคำ�ศัพทแตกตางกันบางภาษา โดยพบวาการใชคำ�ศัพทของภาษาญอ ภาษาลาวและ ภาษาโยย มี ความสัมพันธกันมากกวาคำ�ศัพทภาษากะเลิงและภาษาผูไท ซึ่งตรงตามสมมติฐานของงานวิจัย นอกจากนั้นผลการ วิจัยยังสามารถจัดกลุมภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษาตามความสัมพันธไดเปน 3 กลุม ไดแก กลุมที่ 1 ภาษาญอ ภาษาลาว และภาษาโยย กลุมที่ 2 ภาษากะเลิง และกลุมที่ 3 ภาษาผูไท คำ�สำ�คัญ: 1. ภาษาถิ่น 2. ภาษาญอ 3. ภาษาผูไท 4. ภาษาโยย 5. ภาษาลาว 6. ภาษากะเลิง

____________________

1

นักศึกษา​ปริญญา​เอก สาขา​วิชา​ภาษา​ไทย คณะ​มนุษยศาสตรและ​สังคมศาสตร มหาวิทยาลัย​มหาสารคาม


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

Abstract This thesis is a comparative study of lexical items in five Tai dialects used in Sakon Nakhon province : Yo, PhuTai, Yooy, Lao (Isan) and Kaloeng. The hypothesis of the study is that the lexical items in Yo, Lao and Yooy are more closely related than those in Kaloeng and PhuTai. In this research, a wordlist of 800 semantic units, classified into 18 semantic fields was used to interview four informants of each dialect. Social factors including age, gender, education, occupation and locality of the informants were controlled. After the interview, 750 items in the wordlist which have relatively clear semantic properties were selected. These lexical items were then analyzed by using linguistic rules. Based on the analysis, the patterns of usage of these items and their relation were determined. The research results show that the usage of these lexical items in Yo, PhuTai, Yooy, Lao and Kaloeng can be divided into two types : 1.) the use of the same lexical items and 2.) the use of the different lexical items. The lexical items used in Yo, Lao and Yooy are more closely related than those in Kaloeng and PhuTai. The results therefore, justifies the hypothesis. In addition, the result show that the five Tai dialects can be classified into three groups based on their relationship. Yo, Lao, Yooy are group 1. Kaloeng and PhuTai are group 2 and 3 respectively. Keywords: 1. Tai Dialects. 2. Yo. 3. PhuTai. 4. Yooy. 5. Lao (Isan) 6. Kaloeng.

8


การ​ศึกษาเปรียบเทียบ​คำ�​ศัพท​ภาษา​ไท​ถิ่น​ใน​จังหวัด​สกล​นคร มุ​จลินทร ลักษณะ​วงษ

บทนำ� จังหวัดสกลนครมีลักษณะเปนสังคมพหุชาติพันธุและสังคมพหุภาษาเพราะประกอบไปดวยกลุมชาติพันธุถึง 6 กลุม ไดแก ญอ ผูไท โยย ลาว กะเลิง และกะโส ตามประวัติศาสตรกลุมคนเหลานี้อพยพขามฝงแมน้ำ�โขงเขามาใน ประเทศไทยตั้งแตสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ซึ่งแตละกลุมก็จะมีภาษาพูดเปนของตนเองโดยนิยมเรียกชื่อภาษาตาม กลุมชาติพันธุของตน แตภาษาของกลุมชาติพันธุที่จัดอยูในภาษาตระกูลไทมี 5 ภาษา ไดแก ภาษาผูไท ภาษาญอ ภาษาโยย ภาษาลาวหรือภาษาอีสาน และภาษากะเลิง การศึกษาเปรียบเทียบคำ�ศัพทจะทำ�ใหทราบลักษณะเหมือน และลักษณะตาง ตลอดจนลักษณะเฉพาะดานการใชคำ�ศัพทของแตละภาษาเหลานั้น อันจะเปนประโยชนตอการ ศึกษาภาษาศาสตรเชิงประวัติและภาษาไทเปรียบเทียบในการสืบสรางหาภาษาไทดั้งเดิมและการจัดกลุมภาษาเพื่อ แสดงความสัมพันธ เปนประโยชนตอการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ชวยแกปญหาการเรียนการสอนในทองถิ่น ที่มีผูพูดหลายภาษาเพื่อใหนักเรียนสามารถใชภาษาไทยมาตรฐานไดอยางถูกตองควบคูไปกับภาษาถิ่น อีกทั้งเปน ประโยชนตอหนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชนบท ในการทำ�ความเขาใจและประสานความสัมพันธอันดีระหวาง เจาหนาทีร่ ฐั กับคนในทองถิน่ ตลอดจนเปนประโยชนตอ การวางแผนอนุรกั ษและพัฒนาภาษาไดอกี ดวย ผูว จิ ยั จึงสนใจ ศึกษาเปรียบเทียบการใชค�ำ ศัพทของภาษาไทถิน่ ในจังหวัดสกลนคร ไดแก ภาษาญอ ภาษาผูไ ท ภาษาโยย ภาษาลาว และภาษากะเลิง และเพื่อแสดงความเหมือน ความแตกตางของคำ�ศัพทภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษา และจัดกลุมภาษา อันจะแสดงใหเห็นความสัมพันธของภาษาไทถิ่นดังกลาว สมมุติฐาน​ของการ​ศึกษา

คำ�ศัพทภาษาญอ ภาษาลาว และภาษาโยย มีความสัมพันธกันมากกวาคำ�ศัพทภาษากะเลิงและภาษาผูไท

วิธีดำ�เนินการวิจัย 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาดานเสียง ดานคำ�ศัพท ของภาษาถิ่นตระกูลไท และ ประวัติศาสตรชาติพันธุในภาคอีสาน 2. สำ�รวจขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับผูพูดภาษาไทถิ่นในทั้ง 5 ภาษา ในจังหวัดสกลนคร กำ�หนดจุดเก็บขอมูล ตามความเขมทางภาษาและวัฒนธรรม โดยใชขอมูลของ ชัยมงคล จินดาสมุทร นักวิชาการทองถิ่นที่ทำ�วิจัยดาน ประวัติศาสตรและชาติพันธุ โดยศึกษาภาษาญอที่ ตำ�บลธาตุเชิงชุม อำ�เภอเมือง ภาษาผูไทที่ตำ�บลวาริชภูมิ อำ�เภอ วาริชภูมิ ภาษาโยยที่ตำ�บลอากาศ อำ�เภออากาศอำ�นวย ภาษาลาวที่ตำ�บลโคกศิลา อำ�เภอเจริญศิลป และภาษา กะเลิงที่ตำ�บลกุดบาก อำ�เภอกุดบาก 3. เตรียมเครื่องมือ เมื่อกำ�หนดพื้นที่ของการเก็บขอมูลแลว ผูวิจัยเตรียมเครื่องมือที่ใชในการลงพื้นที่ภาคสนาม ดังตอไปนี้ 3.1 รายการคำ�ศัพท จำ�นวน 800 หนวยอรรถ แบงออกเปน 18 หมวด ดังนี้ หมวดคำ�เรียกพืช ผัก ผลไม หมวดคำ�เรียกดอกไม หมวดคำ�เรียกธรรมชาติ หมวดคำ�เรียกสัตว หมวดคำ�เรียกอาหาร หมวดคำ�เรียกสิง่ ของเครือ่ งใช หมวดคำ�เรียกเครื่องมือประกอบอาชีพ หมวดคำ�เรียกเครื่องแตงกายเครื่องประดับ หมวดคำ�เรียกที่อยูอาศัยและ สถานที่ หมวดคำ�เรียกอวัยวะของคนและสัตว หมวดคำ�เรียกกิรยิ าอาการ หมวดคำ�เรียกเครือญาติและสรรพนาม หมวดคำ� บอกเวลา หมวดคำ�ถามและคำ�ลงทาย หมวดคำ�เรียกรสชาติและคำ�เรียกสี หมวดคำ�ลักษณนามและจำ�นวนนับ หมวดคำ� เกีย่ วกับประเพณี พิธกี รรม การละเลน หมวดคำ�บอกตำ�แหนงและทิศทาง โดยคัดเลือกจากคำ�ศัพทพนื้ ฐานจากเอกสาร และงานวิจัยตางๆ เชน รายงานการวิจัยเรื่องระบบเสียงภาษาลาวของลุมน้ำ�ทาจีน ของกันทิมา วัฒนะประเสริฐ และ สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ การศึกษาเรื่องศัพทภาษาญอ ในจังหวัดสกลนคร นครพนม และปราจีนบุรี ของนันตพร

9


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

นิลจินดา คำ�พืน้ ฐานภาษาผูไ ทย : การศึกษาตามแนวภาษาศาสตรเชิงประวัติ ของ โรชิน ี คนหาญ การวิเคราะหค�ำ ศัพท เครือญาติของกลุมชาติพันธุไทยในภาคอีสาน ของพระมหาณัฐพล โพไพ เปนตน 3.2 แบบทดสอบเสียงวรรณยุกตภาษาตระกูลไท ของวิลเลี่ยม เจ เก็ดนี่ เพื่อใชในการวิเคราะหจำ�นวนและ การแตกตัวของหนวยเสียงวรรณยุกตของภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษา 3.3 เครื่องบันทึกเสียง แถบบันทึกเสียง และไมโครโฟน 4. คัดเลือกผูบอกภาษา ผูวิจัยคัดเลือกผูบอกภาษาญอ ภาษาผูไท ภาษาโยย ภาษาลาว และภาษากะเลิง ภาษาละ 4 คน ซึ่งเปน ผูท ใี่ ชภาษานัน้ ๆ ในชีวติ ประจำ�วัน โดยคัดเลือกผูบ อกภาษาเพศชาย 2 คน เพศหญิง 2 คน ทีม่ อี ายุ 60 ปขนึ้ ไป เนือ่ งจาก ผูบอกภาษาที่มีอายุมากจะรักษาภาษาดั้งเดิมไวไดมากกวาผูบอกภาษาที่มีอายุนอย เกิดและอาศัยในพื้นที่ที่ผูวิจัยไป เก็บขอมูลและไมเคยยายภูมลิ �ำ เนา มีการศึกษาไมเกินชัน้ ประถมศึกษาปที่ 4 และมีอวัยวะในการออกเสียงครบสมบูรณ 5. เก็บและรวบรวมขอมูล ทดสอบเสียงวรรณยุกตโดยใชแบบทดสอบของเก็ดนี่ จากนัน้ ถามคำ�ศัพทตา งๆ โดยใหผบู อกภาษาออกเสียง คำ�ศัพทคำ�ละ 2 ครั้ง จดบันทึกดวยสัทอักษรพรอมบันทึกเสียงดวยเครื่องบันทึกเสียง 6. วิเคราะหขอมูล เกณฑการวิเคราะหคำ�ศัพท 1. การพิจารณาดานเสียง หมายถึง การอธิบายการแปรรูปคำ�ของคำ�ศัพทเดียวกันโดยพิจารณาจากความ แตกตางดานสัทศาสตรของหนวยเสียงพยัญชนะและหนวยเสียงสระในคำ�ที่นำ�มาเปรียบเทียบกัน สวนความแตกตาง เรื่องหนวยเสียงวรรณยุกตนั้น 2 นับเปนเรื่องปกติของภาษาตระกูลไท ลักษณะดังตอไปนี้ถือวาเปนรูปแปรของ คำ�ศัพทเดียวกัน 1.1 หนวยเสียงพยัญชนะตนหรือพยัญชนะทายที่มีลักษณะทางสัทศาสตรแตกตางกัน เชน 3 /n/ ~ /N / /n/ เปนพยัญชนะนาสิก กอง ปุมเหงือก /N/ เปนพยัญชนะนาสิก กอง เพดานออน เชน หนวยอรรถ ‘นกพิราบ’ ในภาษาโยยและภาษาผูไท ภาษาโยย ภาษาผูไท ควา​มหมาย 3 1 1 4 1 1 nok kEn kE nok kEN kE ‘นกพิราบ’ 1.2 หนวยเสียงสระที่มีลักษณะทางสัทศาสตรแตกตางกัน 1.2.1 การแปรเสียงสระเดี่ยว เชน /i/~ // /i/ สระหนา ระดับสูง เสียงยาว ริมฝปากไมหอ // สระกลาง ระดับสูง เสียงยาว ริมฝปากไมหอ __________________ ภาษาญอมี 5 หนวยเสียง ว.1 (24) ว.2 (34) ว.3 (31) ว.4 (452) ว.5 (44), ภาษาผูไท มี 5 หนวยเสียง ว.1 (24) ว. 2 (33) ว. 3 (41) ว.4 (453) ว.5 (44), ภาษาโยย มี 6 หนวยเสียง ว.1 (24) ว.2 (35) ว.3 (21) ว.4 (452) ว.5 (353) ว.6 (31), ภาษาลาวมี 6 หนวยเสียง ว.1 (24) ว.2 (32) ว.3 (35) ว.4 (33) ว.5 (21) ว.6 (452), ภาษากะเลิง มี 6 หนวยเสียง ว.1 (24) ว. 2 (35) ว.3 (343) ว.4 (33) ว.5 (21) ว.6 (452)

2

3 สัญลักษณ ~ หมายถึง การแปรเสียง เสียงที่ขีดเสนใตคือเสียงที่มีการแปร โดยผูวิจัยจะเลือกยกตัวอยางบางภาษาเพื่อเปน ตัวแทนในการอธิบายการแปรเสียงในประเด็นนั้นๆ

10


การ​ศึกษาเปรียบเทียบ​คำ�​ศัพท​ภาษา​ไท​ถิ่น​ใน​จังหวัด​สกล​นคร มุ​จลินทร ลักษณะ​วงษ

ไดแก หนวยอรรถ ‘ตี่จับ’ ในภาษาลาวและภาษาโยย ภาษาลาว ภาษาโยย ความหมาย 4 4 2 3 mak ?i mak ? ‘ตี่จับ’ 1.2.2 การแปรเสียงสระประสม เชน /ia/ ~ /e/ /ia/ สระหนา ระดับสูง ริมฝปากไมหอ และลงทายดวย สระกลาง ระดับต่ำ� ริมฝปากไมหอ /e/ สระหนา ระดับกลาง เสียงยาว ริมฝปากไมหอ เชน หนวยอรรถ ‘หาย (สิ่งของ)’ ในภาษากะเลิงและภาษาผูไท ภาษากะเลิง ภาษาผูไท ความหมาย 4 5 hia he ‘หาย(สิ่งของ)’ 2. การพิจารณาดานคำ�ศัพท การพิจารณาวาเปนคำ�ศัพทเดียวกันหรือคำ�ศัพทตางกันใชเกณฑ ดังนี้ 2.1 คำ�ที่มีลักษณะดังตอไปนี้จัดเปนคำ�ศัพทเดียวกัน 2.1.1 การสลับที่ของพยางค เชน ภาษาผูไท ภาษากะเลิง ความหมาย 5 4 5 6 sin som som sin ‘แหนมเนื้อ’ 2.1.2 การเพิ่มพยางคหรือลดพยางคแตหนวยหลักยังมีรูปคำ�คงเดิม เชน 4 ภาษาลาว ภาษาผูไท ความหมาย 6 2 4 4 1 boN k boN kHi k ‘กิ้งกือ’ 2.2 คำ�ที่มีลักษณะดังตอไปนี้จัดเปนคำ�ศัพทตางกัน 2.2.1 คำ� 2 คำ� ทีใ่ ชแทนหนวยอรรถเดียวกัน มีจ�ำ นวนพยางคเทากัน แตมพี ยัญชนะตน พยัญชนะ ทาย และสระ แตกตางกัน ผูวิจัยจะจัดวาเปนคนละคำ�ศัพท เชน ภาษาโยย ภาษาลาว ความหมาย 4 5 3 n)u ≠ fj ‘ไมกวาด’ 2.2.2 คำ� 2 คำ�ที่ใชแทนหนวยอรรถเดียวกันมีจำ�นวนพยางคเทากัน หากมีหนวยหลักเหมือนกัน แตหนวยขยายแตกตางกัน ผูวิจัยจัดวาเปนคนละคำ�ศัพท เชน ภาษาลาว ภาษากะเลิง ความหมาย kHaw5 suaj1 ≠ kHaw5 wen2 ‘อาหารกลางวัน’ 2.2.3 คำ� 2 คำ� ที่ใชแทนหนวยอรรถเดียวกัน แตมีจำ�นวนพยางคตางกัน และพยางคที่ตางกันนั้น เปนคนละหนวยคำ� ผูวิจัยจัดวาเปนคนละคำ�ศัพท เชน ภาษาลาว ภาษากะเลิง ความหมาย 2 1 2 can ≠ ka bE? ‘จาน’ __________ 4 คำ� คือ ขอมูล​ที่​ยัง​ไมได​ผาน​การ​วิเคราะห คำ�​ศัพท คือ คำ�​ที่​ผาน​การ​วิเคราะห​แลว​วา​เปนสมาชิก​ของ​แตละ​หนวย​อรรถ โดย​ที่​ คำ�​ศัพท​แตละ​คำ�​อาจจะ​มี​รูป​แปร​หรือไ​ มมี​รูปแ​ ปร​ก็ได และ​หนวย​อรรถ คือห​ นวย​ของ​ความ​หมาย​ใน​แตละ​หนวย​อรรถ อาจ​แทน​ดวย​คำ�​ศัพท​ จำ�นวน 1 คำ�​ศัพท​หรือม​ ากกวา​นั้น​ก็ได 5 สัญลักษณ ≠ หมายถึง การ​ใช​คำ�​ศัพท​แตกตางกัน

11


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ผลการวิจัย จากการเปรียบเทียบคำ�ศัพทภาษาไทถิ่นในจังหวัดสกลนคร ทั้ง 5 ภาษา จำ�นวน 800 หนวยอรรถ ตัด หนวยอรรถที่มีความหมายคลุมเครือออก เหลือหนวยอรรถจำ�นวนทั้งสิ้น 750 หนวยอรรถ ผลการวิจัยวา มีการใช คำ�ศัพท 2 ลักษณะ คือ 1.) การใชคำ�ศัพทเหมือนกัน จำ�นวน 484 หนวยอรรถ 2.) การใชคำ�ศัพทแตกตางกันบาง ภาษา จำ�นวน 266 หนวยอรรถ ดังแผนภูมิตอไปนี้ แผนภูมิที่ 1 แสดงรูปแบบการใชคำ�ศัพทภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษาในจังหวัดสกลนคร จำ�นวน​หนวย​อรรถ 48

4

600 500

6

400

26

300 200 100 0

1. การ​ใช​คำ�​ศัพท​เหมือนกัน

2. การ​ใช​คำ�​ศัพท​แตกตางกัน​บาง​ภาษา

จากแผนภูมิขางตน แสดงใหเห็นวามีการใชคำ�ศัพทเหมือนกันมากกวาคำ�ศัพทที่แตกตางกันบางภาษา รายละเอียดดังนี้ 1. การใชคำ�ศัพทเหมือนกัน คือ ภาษาไทถิ่นในจังหวัดสกลนครทั้ง 5 ภาษาใชคำ�ศัพทเหมือนกัน ทุกภาษาหรือใชคำ�ศัพทที่เปนรูปแปรของคำ�ศัพทเดียวกัน มีทั้งสิ้น 484 หนวยอรรถ คิดเปนรอยละ 64.53 ของการ ใชคำ�ศัพททั้งหมด แบงออกเปน 2 ชนิดยอย ดังนี้ 1.1 การใชคำ�ศัพทรวมแท คือ การใชคำ�ศัพทเหมือนกันทั้ง 5 ภาษา ในเรื่องของพยัญชนะตน สระ และ พยัญชนะทาย แตตางกันที่เสียงวรรณยุกต โดยความตางของเสียงวรรณยุกตนั้นเปนความตางอยางมีปฏิภาคของ คำ�ศัพทรวมแททุกคำ� ซึ่งถือเปนเรื่องปกติของภาษาถิ่นตระกูลไท มีทั้งสิ้น 257 หนวยอรรถ คิดเปนรอยละ 53.10 ของ การใชคำ�ศัพทเหมือนกัน เชน หนวย​อรรถ กรรไกร

ญอ mit4 tat5

ผูไท mit3 tat5

โยย

ลาว

mit4 tat5

mit6 tat1

กะเลิง mit6 tat2

1.2 การใชค�ำ ศัพทรว มเสียงปฏิภาค คือ คำ�ศัพททมี่ ลี กั ษณะของเสียงปฏิภาคทีต่ า งกันอยางมีระบบ เพียงหนวยเสียงใดหนวยเสียงหนึ่งในคำ�ศัพทนั้น เชน พยัญชนะหรือสระ เปนตน มีอยูทั้งสิ้น 227 หนวยอรรถ แบง ออกเปน 6 ชนิดยอย ไดแก 1.2.1 คำ�ศัพทที่มีพยัญชนะตนตางกัน มี 35 หนวยอรรถ เชน ​หนวย​อรรถ กอไฟ

12

ญอ daN1 pHaj2

ผูไท daN1 faj2

โยย daN1 pHaj2

ลาว daN2 faj3

กะเลิง daN1 pHaj2


การ​ศึกษาเปรียบเทียบ​คำ�​ศัพท​ภาษา​ไท​ถิ่น​ใน​จังหวัด​สกล​นคร มุ​จลินทร ลักษณะ​วงษ

1.2.2 คำ�ศัพททมี่ สี ระตางกัน คือ คำ�ศัพททมี่ พี ยัญชนะตนและพยัญชนะทายเหมือนกันทัง้ หมด 5 ภาษา แตบางภาษามีสระแตกตางกัน มีทั้งสิ้น 49 หนวยอรรถ ตัวอยางเชน ​หนวย​อรรถ ผีเสื้อ

ญอ mEN2 ka2ba5

mEN2 ka2 b4

ญอ

kwaN

5

ลาว

mEN2 ka2 ba5

กะเลิง

mEN3 ka4 bia6

mEN2 ka2 ba6

ผูไท

kwaN

4

โยย

ลาว

kwaN

กะเลิง

kuaN

5

kwaN6

6

1.2.4 คำ�ศัพทที่มีสระและพยัญชนะทายตางกัน มี 48 หนวยอรรถ เชน หนวย​อรรถ การ​งาน

โยย

1.2.3 คำ�ศัพทที่มีพยัญชนะตนและสระตางกัน มี 20 หนวยอรรถ เชน หนวย​อรรถ กวาง

ผูไท

ญอ

ผูไท

we?3

wiak4

โยย wiak4

ลาว

กะเลิง

wiak6

wiak6

1.2.5 คำ�ศัพทที่มีพยัญชนะทายตางกัน มี 1 หนวยอรรถ คือ

หนวย​อรรถ ดอก​ปบ

ญอ

ผูไท

โยย

ลาว

กะเลิง

kan5 kHN1

kan4 kHN​1

kaN5 kHN1

kaN6 kHN1

kan6 kHN1

1.2.6 คำ�ศัพทที่มีพยัญชนะตน สระ และพยัญชนะทายตางกัน คำ�ศัพทที่มีการสลับที่ของพยางค คำ�ศัพทที่มีการลดพยางคหรือเพิ่มพยางค มี 74 หนวยอรรถ ตัวอยางเชน หนวย​อรรถ ประตู

ญอ

pHak tu 5

1

ผูไท

pHak tu 5

1

โยย

pHak tu 5

1

ลาว

pHak ka4 tu2 1

กะเลิง

pHak2 ka4 tu1

จากรูปแบบการใชค�ำ ศัพทเหมือนกันสามารถแสดงดวยแผนภูมเิ ปรียบเทียบเพือ่ ความชัดเจนไดดงั ตอไปนี้

13


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

แผนภูมิที่ 2 แสดงการใชคำ�ศัพทเหมือนกัน จำ�นวน​หนวย​อรรถ 25

7

300

22

7

250 200 150

1

20

35

50

48

49

74

100

0

1.1

1.2 1.2.1 1.2.2 1.2.3 1.2.4 1.2.5 1.2.6

1.1 การ​ใช​ศัพท​รวม​แท 1.2 การ​ใช​คำ�​ศัพท​รวม​เสียง​ปฏิภาค 1.2.1 คำ�​ศัพท​ที่​มพี​ ยัญชนะ​ตน​ตางกัน 1.2.2 คำ�​ศัพทท​ ี่​มสี​ ระ​ ตางกัน 1.2.3 คำ�​ศัพท​ที่​มี​พยัญชนะ​ตน​และ​สระ​ตางกัน 1.2.4 คำ�​ศัพท​ที่​มสี​ ระ​และ​พยัญชนะ​ทาย​ตางกัน 1.2.5 คำ�​ศัพท​ที่​มพี​ ยัญชนะ​ ทาย​ตางกัน 1.2.6 คำ�​ศัพท​ทมี่​ ี​พยัญชนะ​ตน สระ และ​พยัญชนะ​ทาย​ตางกัน

2. การใชคำ�ศัพทแตกตางกันบางภาษา คือ การใชคำ�ศัพทตั้งแต 2 คำ�ศัพทถึง 4 คำ�ศัพท ที่มีรูปแบบ การใชเหมือนกันและแตกตางกันบางภาษา มีทั้งสิ้น 266 หนวยอรรถ คิดเปนรอยละ 35.47 ของการใชคำ�ศัพททั้งหมด แบงออกเปน 5 ชนิดยอย ไดแก 2.1 การใชคำ�ศัพทเหมือนกัน 4 ภาษา แตกตางกัน 1 ภาษา มีอยูทั้งสิ้น 118 หนวยอรรถ แบง ออกเปน 5 ชนิดยอย ดังนี้ 6 2.1.1 (ญ = ผ = ย = ล) ≠ ก มี 26 หนวยอรรถ 2.1.2 (ญ = ย = ล = ก) ≠ ผ มี 43 หนวยอรรถ 2.1.3 (ญ = ผ = ย = ก) ≠ ล มี 20 หนวยอรรถ 2.1.4 (ญ = ผ = ล = ก) ≠ ย มี 18 หนวยอรรถ 2.1.5 (ผ = ย = ล = ก) ≠ ญ มี 11 หนวยอรรถ

ตัวอยาง (ญ = ย = ล = ก) ≠ ผ เชน หนวย​อรรถ

ญอ

โยย

ลาว

กะเลิง

ผูไท

รุงกินน้ำ�

huN4

huN6

huN6

huN6

pHi1 pHuN3 pHi1 pHaj2

_________________

14

สัญลักษณ = หมายถึง การ​ใชค​ ำ�​ศัพท​เหมือนกัน ( ) หมายถึง กลุม​ภาษา​ทมี่​ ี​การ​ใช​คำ�​ศัพท​เหมือนกัน อักษรยอ ญ หมายถึง ภาษาญอ ผ หมายถึง ภาษา​ผูไท ย หมายถึง ภาษา​โยย ล หมายถึง​ภาษา​ลาว​หรือ​ภาษา​อีสาน และ ก หมายถึง ​ภาษา​กะเลิง 6


การ​ศึกษาเปรียบเทียบ​คำ�​ศัพท​ภาษา​ไท​ถิ่น​ใน​จังหวัด​สกล​นคร มุ​จลินทร ลักษณะ​วงษ

ตัวอยาง (ญ = ผ = ย = ก) ≠ ล เชน หนวย​อรรถ ลื่นลม

ญอ

ผูไท

โยย

กะเลิง

ลาว

pHa2 lat2

pHa2 lat2

pHa2 lat4

pHa4 lat6

mn4

2.2 การใชคำ�ศัพทเหมือนกัน 3 ภาษา แตกตางกัน 2 ภาษา มีทั้งสิ้น 41 หนวยอรรถ แบงเปน 10 ชนิดยอย ไดแก 2.2.1 (ญ = ผ = ย) ≠ ล ≠ ก มี 3 หนวยอรรถ 2.2.2 (ญ = ผ = ล) ≠ ย ≠ ก มี 7 หนวยอรรถ 2.2.3 (ญ = ผ = ก) ≠ ย ≠ ล มี 6 หนวยอรรถ 2.2.4 (ญ = ย = ล) ≠ ผ ≠ ก มี 6 หนวยอรรถ 2.2.5 (ญ = ย = ก) ≠ ผ ≠ ล มี 6 หนวยอรรถ 2.2.6 (ญ = ล = ก) ≠ ผ ≠ ย มี 5 หนวยอรรถ 2.2.7 (ผ = ย = ล) ≠ ญ ≠ ก มี 2 หนวยอรรถ 2.2.8 (ผ = ย = ก) ≠ ญ ≠ ล มี 1 หนวยอรรถ 2.2.9 (ผ = ล = ก) ≠ ญ ≠ ย มี 1 หนวยอรรถ 2.2.10 (ย = ล = ก) ≠ ญ ≠ ผ มี 4 หนวยอรรถ ตัวอยาง (ญ = ผ = ย) ≠ ล ≠ ก เชน หนวย​อรรถ ​พะอง

ญอ

ผูไท

โยย

ลาว

กะเลิง

maj4 ?oN1

maj5 pa2 ?oN1

maj6 pa2 ?oN1

kn2

maj6 diaN6

ตัวอยาง (ญ = ผ = ล) ≠ ย ≠ ก เชน หนวย​อรรถ ชานเรือน

ญอ

san

2

ผูไท

san

2

ลาว

san

3

โยย

ka pN 2

1

กะเลิง kj1

2.3 การใชคำ�ศัพทเหมือนกัน 2 ภาษา แตกตางกัน 3 ภาษา มี 12 หนวยอรรถ แบงเปน 7 ชนิด ยอย ไดแก 2.3.1 (ญ = ผ) ≠ ย ≠ ล ≠ ก มี 1 หนวยอรรถ 2.3.2 (ญ = ย) ≠ ผ ≠ล ≠ ก มี 1 หนวยอรรถ 2.3.3 (ญ = ล) ≠ ผ ≠ ย ≠ ก มี 4 หนวยอรรถ 2.3.4 (ผ = ย) ≠ ญ ≠ ล ≠ ก มี 2 หนวยอรรถ 2.3.5 (ผ = ล) ≠ ญ ≠ ย ≠ ก มี 1 หนวยอรรถ 2.3.6 (ย = ล) ≠ ญ ≠ ผ ≠ ก มี 2 หนวยอรรถ 2.3.7 (ล = ก) ≠ ญ ≠ ผ ≠ ย มี 1 หนวยอรรถ ตัวอยาง (ญ = ย ) ≠ ผ ≠ ล ≠ ก เชน

15


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

หนวย​อรรถ

ญอ

โยย

ตายทั้งกลม

taj1 hua1 luk4

taj1 hua1 luk4

ตัวอยาง (ญ = ล ) ≠ ผ ≠ ย ≠ ก เชน หนวย​อรรถ ญอ ลาว กลอน(ประตู) kn1 kn2

ผูไท

ลาว

taj1 pHaj2 taj2 hoN1

ผูไท laj2

โยย ka2 cE1

กะเลิง taj1 mi2 hEN2

กะเลิง luk6 lat3

2.4 การใชคำ�ศัพทเหมือนกัน 3 ภาษา และอีก 2 ภาษา ใชเหมือนกัน มี 72 หนวยอรรถ แบงเปน 10 ชนิดยอย ไดแก 2.4.1 (ญ = ผ = ย) ≠ (ล = ก) มี 8 หนวยอรรถ 2.4.2 (ญ = ผ = ล) ≠ (ย = ก) มี 8 หนวยอรรถ 2.4.3 (ญ = ผ = ก) ≠ (ย = ล) มี 8 หนวยอรรถ 2.4.4 (ญ = ย = ล) ≠ (ผ = ก) มี 4 หนวยอรรถ 2.4.5 (ญ = ย = ก) ≠ (ผ = ล) มี 6 หนวยอรรถ 2.4.6 (ญ = ล = ก) ≠ (ผ = ย) มี 7 หนวยอรรถ 2.4.7 (ผ = ย = ล) ≠ (ญ = ก) มี 6 หนวยอรรถ 2.4.8 (ผ = ย = ก) ≠ (ญ = ล) มี 6 หนวยอรรถ 2.4.9 (ผ = ล = ก) ≠ (ญ = ย) มี 5 หนวยอรรถ 2.4.10 (ย = ล = ก) ≠ (ญ = ผ) มี 14 หนวยอรรถ ตัวอยาง (ญ = ผ = ย) ≠ (ล = ก) เชน

หนวย​อรรถ

ญอ

ผูไท

โยย

ชำ�รุด

pHe2

pHe2

pHe2

ลาว haN6

กะเลิง haN6

ตัวอยาง (ญ = ผ = ล) ≠ (ย = ก) เชน หนวย​อรรถ สอย​ผล​ไม

ญอ

ผูไท

ลาว

โยย

กะเลิง

tj3

tj3

tj4

mEn3

mEn3

2.5 การใชคำ�ศัพทเหมือนกัน 2 ภาษา อีก 2 ภาษา ใชคำ�ศัพทตางกัน และอีก 1 ภาษาก็ใชคำ� ศัพทตางกัน มี 23 หนวยอรรถ แบงเปน 13 ชนิดยอย ไดแก 2.5.1 (ญ = ผ) ≠ (ย = ล) ≠ ก มี 2 หนวยอรรถ 2.5.2 (ญ = ผ) ≠ (ย = ก) ≠ ล มี 2 หนวยอรรถ 2.5.3 (ญ = ผ) ≠ (ล = ก) ≠ ย มี 2 หนวยอรรถ 2.5.4 (ญ = ย) ≠ (ผ = ล) ≠ ก มี 2 หนวยอรรถ 2.5.5 (ญ = ย) ≠ (ผ = ก) ≠ ล มี 2 หนวยอรรถ 2.5.6 (ญ = ย) ≠ (ล = ก) ≠ ผ มี 2 หนวยอรรถ 2.5.7 (ญ = ล) ≠ (ผ = ย) ≠ ก มี 1 หนวยอรรถ

16


การ​ศึกษาเปรียบเทียบ​คำ�​ศัพท​ภาษา​ไท​ถิ่น​ใน​จังหวัด​สกล​นคร มุ​จลินทร ลักษณะ​วงษ

2.5.8 (ญ = ล) ≠ (ผ = ก) ≠ ย มี 2.5.9 (ญ = ล) ≠ (ย = ก) ≠ ผ มี 2.5.10 (ญ = ก) ≠ (ผ = ล) ≠ ย มี 2.5.11 (ผ = ย) ≠ (ล = ก) ≠ ญ มี 2.5.12 (ผ = ล) ≠ (ย = ก) ≠ ญ มี 2.5.13 (ผ = ก) ≠ (ญ = ย) ≠ ล มี ตัวอยาง (ญ = ล ) ≠ (ย = ก) ≠ ผ เชน

3 2 1 2 1 1

หนวยอรรถ หนวยอรรถ หนวยอรรถ หนวยอรรถ หนวยอรรถ หนวยอรรถ

หนวย​อรรถ

ญอ

ลาว

โยย

กะเลิง

ผูไท

นินทา

waw5 pHn5

waw6 pHn6

waw6 kHwan1

waw6 kHwan1

?a2 hi?5

ตัวอยาง (ญ = ก ) ≠ (ผ = ล) ≠ ย เชน หนวย​อรรถ พระจันทร์

ญอ

กะเลิง

dan

ผูไท

dan

1

ลาว

?i kN

1

1

4

?i kN 2

6

โยย

moN3

รูปแบบการใชคำ�ศัพทแตกตางกันบางภาษาทัง้ 5 ลักษณะดังกลาวสามารถแสดงดวยแผนภูมเิ ปรียบเทียบเพือ่ ความชัดเจนไดดังตอไปนี้ แผนภูมิที่ 3 แสดงการใชคำ�ศัพทแตกตางกันบางภาษา

300

26 6

จำ�นวน​หนวย​อรรถ

250 200

11 8

150

12

50

23

41

72

100

0

2.

2.1 2.2 2.3 2.4 2.5

การ​ใช​คำ�​ศัพท​ตางกัน​บาง​ภาษา 2. การ​ใช​คำ�​ศัพท​แตกตางกัน​บาง​ภาษา 2.1 การ​ใช​คำ�​ศัพท​เหมือนกัน 4 ภาษา แตกตางกัน 1 ภาษา 2.2 การ​ใช​คำ�​ศัพท​เหมือน กัน 3 ภาษา แตกตางกัน 2 ภาษา 2.3 การ​ใช​คำ�​ศัพท​เหมือนกัน 2 ภาษา แตกตางกัน 3 ภาษา 2.4 การ​ใช​คำ�​ศัพท​เหมือนกัน 3 ภาษา​และ​ อีก 2 ภาษา​ใช​เหมือนกัน 2.5 การ​ใช​คำ�​ศัพท​เหมือนกัน 2 ภาษา อีก 2 ภาษา​ใชค​ ำ�​ศัพท​ตางกัน​และ​อีก 1 ภาษา ก็​ใชค​ ำ�​ศัพท​ตางกัน

17


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ความสัมพันธของการใชคำ�ศัพทระหวางภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษา การหาความสัมพันธของการใชคำ�ศัพทระหวางภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษานั้น ผูวิจัยจะนำ�ขอมูลเฉพาะขอ 2 คือ การใชคำ�ศัพทแตกตางกันบางภาษา จำ�นวน 266 หนวยอรรถมาพิจารณา เพราะจะทำ�ใหเห็นความสัมพันธของ การใชค�ำ ศัพทระหวางภาษาไทถิน่ ทัง้ 5 ภาษา ไดอยางชัดเจน สวนขอมูลในขอ 1.1 การใชค�ำ ศัพทรว มแท (Common Cognate) จำ�นวน 257 หนวยอรรถและ ขอ 1.2 การใชคำ�ศัพทรวมเสียงปฏิภาค (Correspondent Cognate) จำ�นวน 227 หนวยอรรถจะไมนำ�มาพิจารณาหาความสัมพันธ ทั้งนี้เพราะการใชคำ�ศัพทเหมือนกันทุกภาษา ไมสามารถนำ�มา จัดกลุมภาษาเพื่อบอกความสัมพันธของกลุมยอยได ความสัมพันธของการใชคำ�ศัพทระหวางภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษาในจังหวัดสกลนคร สามารถแสดงดวยตาราง ไดดังตอไปนี้

2.2 การ​ใช​คำ�​ศัพท​เหมือนกัน 3 ภาษา แตกตางกัน 2 ภาษา 2.2.1 (ญ = ผ = ย) ≠ ล ≠ ก 2.2.2 (ญ = ผ = ล) ≠ ย ≠ ก 2.2.3 (ญ = ผ = ก) ≠ ย ≠ ล 2.2.4 (ญ = ย = ล) ≠ ผ ≠ ก 2.2.5 (ญ = ย = ก) ≠ ผ ≠ ล 2.2.6 (ญ = ล = ก) ≠ ผ ≠ ย 2.2.7 (ผ = ย = ล) ≠ ญ ≠ ก 2.2.8 (ผ = ย = ก) ≠ ญ ≠ ล 2.2.9 (ผ = ล = ก) ≠ ญ ≠ ย 2.2.10 (ย = ล = ก) ≠ ญ ≠ ผ 18

18

11

3 7 6

3

20 18 11

11

43 20

43

11

18 11

3 7

6 6

18 11

26 43

ลาว = กะเลิง

20

โยย = ลาว

26

โยย = กะเลิง

20 18

43 20 18

26

ผูไท = กะเลิง

26 43

ผูไท = ลาว

26 43 20

ผูไท = โยย

26

ญอ = กะเลิง

ญอ = ลาว

2. การ​ใช​คำ�​ศัพทแ​ ตกตางกัน​บาง​ ภาษา 2.1 การ​ใช​คำ�​ศัพทเ​หมือนกัน 4 ภาษา ตางกัน 1 ​ภาษา 2.1.1 (ญ = ผ = ย = ล) ≠ ก 2.1.2 (ญ = ย = ล = ก) ≠ ผ 2.1.3 (ญ = ผ = ย = ก) ≠ ล 2.1.4 (ญ = ผ = ล = ก) ≠ ย 2.1.5 (ผ = ย = ล = ก) ≠ ญ

ญอ = โยย

ความ​สัมพันธ​ของ การ​ใช​คำ�​ศัพท รูปแบบ​การ​ใช คำ�​ศัพท​และ​จำ�นวน

ญอ = ผูไท

ตารางความสัมพันธของการใชคำ�ศัพทระหวางภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษา

6 5

7 6

6 6

6 5

6 2 1

2 1

1 1

2

4

5

1 4

1 4


การ​ศึกษาเปรียบเทียบ​คำ�​ศัพท​ภาษา​ไท​ถิ่น​ใน​จังหวัด​สกล​นคร มุ​จลินทร ลักษณะ​วงษ

1 4

2.3.5 (ผ = ล) ≠ ญ ≠ ย ≠ ก 2.3.6 (ย = ล ) ≠ ญ ≠ผ ≠ ก 2.3.7 (ล = ก ) ≠ ญ ≠ ผ ≠ ย

1

ลาว = กะเลิง

โยย = กะเลิง

โยย = ลาว

ผูไท = กะเลิง

ผูไท = ลาว

ผูไท = โยย

2 ญอ = กะเลิง

ญอ = ลาว

ญอ = โยย

1

ญอ = ผูไท

2.3 การ​ใช​คำ�​ศัพท​เหมือนกัน 2 ภาษา แตกตางกัน 3 ​ภาษา 2.3.1 (ญ = ผ) ≠ ย ≠ ล ≠ ก 2.3.2 (ญ = ย) ≠ ผ ≠ ล ≠ ก 2.3.3 (ญ = ล) ≠ ผ ≠ ย ≠ ก 2.3.4 (ผ = ย) ≠ ญ ≠ ล ≠ ก ความ​สัมพันธ​ของ การ​ใช​คำ�​ศัพท รูปแบบ​การ​ใช คำ�​ศัพท​และ​จำ�นวน

2 1

2.4 การ​ใช​คำ�​ศัพท​เหมือนกัน 3 ภาษา และ​อีก 2 ภาษา ใช​เหมือนกัน 2.4.1 (ญ = ผ = ย) ≠ (ล = ก) 8 2.4.2 (ญ = ผ = ล) ≠ (ย = ก) 8 2.4.3 (ญ = ผ = ก) ≠ (ย = ล) 8 2.4.4 (ญ = ย = ล) ≠ (ผ = ก) 2.4.5 (ญ = ย = ก) ≠ (ผ = ล) 2.4.6 (ญ = ล = ก) ≠ (ผ = ย) 2.4.7 (ผ = ย = ล) ≠ (ญ = ก) 2.4.8 (ผ = ย = ก) ≠ (ญ = ล) 2.4.9 (ผ = ล = ก) ≠ (ญ = ย) 2.4.10 (ย = ล= ก) ≠ (ญ = ผ) 14 2.5 การ​ใช​คำ�​ศัพท​เหมือนกัน 2 ภาษา อีก 2 ภาษา ใช​คำ�​ศัพท​ตางกัน และ อีก 1 ภาษา ก็​ใช​คำ�​ศัพทต​ างกัน 2.5.1 (ญ = ผ) ≠ (ย = ล) ≠ ก 2.5.2 (ญ = ผ) ≠ (ย = ก) ≠ ล 2.5.3 (ญ = ผ) ≠ (ล = ก) ≠ ย 2.5.4 (ญ = ย) ≠ (ผ = ล) ≠ ก 2.5.5 (ญ = ย) ≠ (ผ = ก) ≠ ล 2.5.6 (ญ = ย) ≠ (ล = ก) ≠ ผ

8

8 8

8 8

8 4 6

7 6 5

8 4

4 6 7 6

8 8 4

6 7 6 6

6 7

6 5

6 5

6

14

2 2 2

6 14

5 14

2 2 2 2 2 2

2

2 2 19


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

1 3 2

2.5.11 (ผ = ย) ≠ (ล = ก) ≠ ญ 2.5.12 (ผ = ล) ≠ (ย = ก) ≠ ญ 2.5.13 (ผ = ก) ≠ (ญ = ย) ≠ ล รวม (มี​ทั้งสิ้น 266 หนวย​อรรถ)

1 3 2

2

2 1

1

1 125 135 140 126

95

ลาว = กะเลิง

โยย = กะเลิง

โยย = ลาว

ผูไท = กะเลิง

ผูไท = ลาว

1 ผูไท = โยย

ญอ = กะเลิง

ญอ = ลาว

ญอ = โยย

1 ญอ = ผูไท

2.5.7 (ญ = ล) ≠ (ผ = ย) ≠ ก 2.5.8 (ญ = ล) ≠ (ผ = ก) ≠ ย 2.5.9 (ญ = ล) ≠ (ย = ก) ≠ ผ 2.5.10 (ญ = ก) ≠ (ผ = ล) ≠ ย ความ​สัมพันธ​ของ การ​ใช​คำ�​ศัพท รูปแบบ​การ​ใช คำ�​ศัพท​และ​จำ�นวน

1 86

95

128 124 123

จากความสัมพันธของภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษาในตารางขางตนสามารถแสดงเปนแผนภูมิเปรียบเทียบเพื่อ ความชัดเจนไดดังตอไปนี้ แผนภูมิที่ 4 แสดงความสัมพันธของการใชคำ�ศัพทระหวางภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษา จำ�นวน​หนวย​อรรถ 14

3 12

4 12

12

12

6

8

13 5 12

140

5

0

160

86

95

100

95

120

80 60 40 20 0

ญ=ผ ญ=ย ญ=ล ญ=ก ผ=ย ผ=ล ผ=ก ย=ล ย=ก ล=ก ความ​สัมพันธ​ของ​การ​ใช​คำ�​ศัพท

ความสัมพันธของการใชคำ�ศัพทระหวางภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษา ไดแก ภาษาญอ ภาษาผูไท ภาษาโยย ภาษาลาว และภาษากะเลิง ในแผนภูมิขางตนไดแสดงใหเห็นดังนี้ 1. ภาษาญอและภาษาลาว มีการใชคำ�ศัพทเหมือนกันมากที่สุด จำ�นวน 140 หนวยอรรถ รองลงมาคือ ภาษาญอและภาษาโยย จำ�นวน 135 หนวยอรรถ และภาษาโยยและภาษาลาว จำ�นวน 128 หนวยอรรถ

20


การ​ศึกษาเปรียบเทียบ​คำ�​ศัพท​ภาษา​ไท​ถิ่น​ใน​จังหวัด​สกล​นคร มุ​จลินทร ลักษณะ​วงษ

2. ภาษาผูไทและภาษากะเลิง มีการใชคำ�ศัพทเหมือนกันนอยที่สุด จำ�นวน 86 หนวยอรรถ 3. ภาษาญอมีความสัมพันธกบั ภาษาลาวและภาษาโยย มากกวาภาษากะเลิงและภาษาผูไ ท โดยพิจารณา จากผลรวมของจำ�นวนหนวยอรรถของ ภาษาญอ = ภาษาลาว, ภาษาญอ = ภาษาโยย และภาษาโยย = ภาษาลาว คือ 140 + 135 + 128 = 403 มีอัตราสูงกวาผลรวมของจำ�นวนหนวยอรรถภาษาญอ = ภาษาผูไท, ภาษาญอ = ภาษา กะเลิง และภาษาผูไท = ภาษากะเลิง คือ 125 + 126 + 86 = 337 4. ภาษากะเลิงมีความสัมพันธกับภาษาญอ ภาษาลาว และภาษาโยย มากกวาภาษาผูไท โดยพิจารณาจาก ผลรวมของจำ�นวนหนวยอรรถภาษากะเลิงที่ใชเหมือนกับภาษาญอ ภาษาลาว และภาษาโยย คือ 126 + 123 + 124 = 373 มีอัตราสูงกวาผลรวมของจำ�นวน หนวยอรรถภาษาผูไทที่ใชเหมือนกับภาษาญอ ภาษาลาว และภาษาโยย คือ 125 + 95 + 95 = 315 ดังนั้น ภาษาญอ ภาษาลาว และภาษาโยย จึงเปนกลุมภาษาที่มีความสัมพันธดานคำ�ศัพทใกลชิดกันมาก ทีส่ ดุ ภาษากะเลิงเปนภาษาทีม่ คี วามสัมพันธดา นคำ�ศัพทใกลชดิ กับ 3 ภาษาแรกในลำ�ดับรองลงมา สวนภาษาผูไ ทเปน ภาษาทีม่ คี วามสัมพันธดา นคำ�ศัพทใกลชดิ กับภาษาอืน่ ๆ นอยทีส่ ดุ หรืออาจกลาวไดวา ภาษาญอ ภาษาลาว และภาษา โยย มีความสัมพันธดานคำ�ศัพทมากที่สุด รองลงมาคือ ภาษากะเลิง และภาษาผูไท ความสัมพันธดานคำ�ศัพทของภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษา ไดแก ภาษาญอ ภาษาผูไท ภาษาโยย ภาษาลาว และภาษากะเลิง จึงแบงออกไดเปน 3 กลุม คือ กลุมที่ 1 คือ ภาษาญอ ภาษาลาว และภาษาโยย กลุมที่ 2 คือ ภาษากะเลิง กลุมที่ 3 คือ ภาษาผูไท ความสัมพันธดงั กลาวตรงตามสมมติฐานของการวิจยั ในครัง้ นีท้ วี่ า คำ�ศัพทภาษาญอ ภาษาลาว และภาษา โยย มีความสัมพันธกันมากกวาคำ�ศัพทภาษากะเลิงและภาษาผูไท การอภิปราย​ผล จากผลการวิจยั และขอสรุปดังทีไ่ ดกลาวมาแลว ผูว จิ ยั ยังพบความสัมพันธดา นระบบเสียงและดานคำ�ศัพทจาก การเปรียบเทียบคำ�ศัพทของภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษาดังนี้ ดานระบบเสียง 1. ภาษาผูไทและภาษาลาวมีความสัมพันธในดานหนวยเสียงพยัญชนะตนเดี่ยว กลาวคือ ทั้งสองภาษามี จำ�นวนหนวยเสียงพยัญชนะตนเดี่ยวจำ�นวน 20 หนวยเสียงเทากันในขณะที่ภาษาญอ ภาษาโยย และภาษากะเลิง มี 19 หนวยเสียง โดยหนวยเสียง /f/ ในภาษาผูไทและภาษาลาวจะเปนปฏิภาคกับหนวยเสียง /pH/ ในภาษาญอ ภาษาโยยและภาษากะเลิง เชน หนวยอรรถ ดังตอไปนี้ ภษ. นอ. ฟอนรำ�

ญอ

ผูไท

โยย

ลาว

กะเลิง

pH n5

fn5

pHn6

fn6

pHn6

น้ำ�เดือด

pHot3

fot3

pHot3

fot3

pHot3

กอไฟ ฟาแลบ

daN1 pHaj2

daN1 faj2

daN1 pHaj2

daN1 faj2

daN1 pHaj2

pHa5 map4 lam3

fa5 lm3

pHa5 lam3

fa6 liam5

pHa5 n)ap6

21


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

นอกจากนั้นยังพบวาภาษาลาวเปนเพียงภาษาเดียวที่ไมมีหนวยเสียงพยัญชนะตนควบกล้ำ� เชน ภษ. นอ. กวักมือ ควาย

ญอ

ผูไท

โยย

ลาว

กะเลิง

kwak5 m2

kwak5 m2

kwak5 m2

kuak1 m3

kwak2 m2

kHwaj2

kHwaj2

kHwaj2

kHuaj3

kHwaj2

2. ภาษาญอ ภาษาโยย ภาษาลาว และภาษากะเลิง มีความสัมพันธในดานหนวยเสียงสระประสม คือ มีจ�ำ นวน 3 หนวยเสียงเทากัน ไดแก /ia,a,ua/ ในขณะทีภ่ าษาผูไ ทไมปรากฏหนวยเสียงสระประสม โดยคำ�ทีป่ ระกอบดวย สระประสม / ia,a,ua / ในภาษาญอ ภาษาโยย ภาษาลาว และภาษากะเลิง จะเปนปฏิภาคกับสระเดี่ยว / e, , o / ในภาษาผูไทตามลำ�ดับ เชน ภษ. นอ. ขยะแขยง บานเรือน ศีรษะ

ญอ

ผูไท

โยย

ลาว

กะเลิง

kHi3 diat2 han2 hua1

kHi4 det2 hn2 ho1

kHi5 diat2 han2 hua1

kHi5 diat4 hian3 hua1

kHi5 diat5 han2 hua1

นอกจากนั้นคำ�ที่ประกอบดวยสระเสียงยาวและพยัญชนะทาย / -k / ในภาษาญอ ภาษาโยย ภาษาลาวและ ภาษากะเลิง จะกลายเปนสระเสียงสั้นและพยัญชนะทาย / -? / ในภาษาผูไท เชน ภษ. นอ. การงาน โกหก

ญอ

ผูไท

โยย

ลาว

กะเลิง

wiak4

we?3

wiak4

wiak6

wiak6

kHi3 tua1

kHi4 to?1

kHi5 tua1

kHi5 tua1

kHi5 tua1

3. ภาษาผูไ ทและภาษาลาวไมมกี ารแตกตัวของหนวยเสียงวรรณยุกตในชอง B กลาวคือ B = 1234 ลักษณะ การไมแตกตัวของหนวยเสียงวรรณยุกตในชอง B นี้ เจมส อาร เชมเบอรเลน จัดวาเปนภาษากลุมลาว สวนการแตกตัวของหนวยเสียงวรรณยุกตในชอง C พบวาภาษาญอ ภาษาโยย ภาษาลาว และภาษา กะเลิง มีการแตกตัวแบบ C 1-234 ลักษณะการแตกตัวของเสียงวรรณยุกตระหวาง C 1 กับ C 2 หรือ C 1 ≠ C 2 ถือเปนลักษณะพิเศษของภาษากลุมลาวตามแนวคิดของ มารวิน บราวน อนึ่ง การแตกตัวของเสียงวรรณยุกตชอง B กับ DL นั้น พบวาหนวยเสียงวรรณยุกตในภาษาผูไท และภาษาลาวมีการแตกตัวเหมือนกันคือ B 1234 และ DL 123-4 เปนภาษากลุมลาว ลักษณะเชนนี้ตรงกับ ที่ เจมส อาร เชมเบอรเลน ไดเสนอผลของการใชเกณฑทางเสียงวรรณยุกตในการพิจารณากลุมของภาษา โดยพิจารณาจากความสัมพันธของหนวยเสียงวรรณยุกตในชอง B และ DL วา ภาษากลุมลาวจะมีความ สัมพันธแบบ B ≠ DL สวนภาษาที่ไมใชกลุมลาวจะมีความสัมพันธแบบ B = DL จากผลการศึกษาระบบเสียงวรรณยุกตของภาษาไทถิน่ ทัง้ 5 ภาษาในงานวิจยั ครัง้ นี้ พบวา ทุกภาษาจัดอยู ในภาษากลุมลาวตามเกณฑขอใดขอหนึ่งของเชมเบอรเลนและบราวน ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของพจณี ศรีธรราษฎร (2526) ที่พบวาภาษาผูไทที่อำ�เภอคำ�ตากลา อำ�เภอบานมวง อำ�เภอสวางแดนดิน อำ�เภอวาริชภูมิ

22


การ​ศึกษาเปรียบเทียบ​คำ�​ศัพท​ภาษา​ไท​ถิ่น​ใน​จังหวัด​สกล​นคร มุ​จลินทร ลักษณะ​วงษ

อำ�เภอพังโคน อำ�เภอพรรณานิคม และอำ�เภอกุสมุ าลย จังหวัดสกลนคร จัดเปนภาษากลุม ลาวเนือ่ งจากมีความสัมพันธ ของหนวยเสียงวรรณยุกตในชอง B และ DL เปนแบบ B ≠ DL อยางไรก็ตาม การที่ภาษาผูไทจัดอยูในภาษากลุมลาวดวยเกณฑดังกลาวนั้น ไมสอดคลองกับเสียง วรรณยุกตในภาษาผูไทดั้งเดิมที่มีหนวยเสียงวรรณยุกตชอง *BCD = 123-4 และB=DL และไมสอดคลองกับ ผลการศึกษาของอรพันธ อุนากรสวัสดิ์ (2536) ที่พบวาภาษาผูไทไมใชภาษากลุมลาว ทั้งนี้อาจเปนเพราะ อรพันธเก็บขอมูลภาษาผูไทที่อำ�เภอกุฉินารายณ จังหวัดกาฬสินธุ แตผูวิจัยเก็บขอมูลภาษาผูไทที่อำ�เภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร การที่ผลการวิจัยไมสอดคลองกันนั้นอาจเนื่องมาจากความแตกตางของพื้นที่วิจัยและมิติของเวลา ตลอดจนการไดรับอิทธิพลของภาษาที่อยูใกลเคียง ดานคำ�ศัพท 1. คำ�ศัพทภาษาผูไทมีลักษณะเดนและมีความนาสนใจเปนพิเศษ เนื่องจากมีการใชคำ�ศัพทเฉพาะถิ่นเปน จำ�นวนมาก เชน /ciaN1/ ‘(เดือน)ธันวาคม’ , /kHaw4 maj4/ ‘ขาวคั่ว’ , /na5 baw3/ ‘นองชายของพอ’, /ca2 loj1/ ‘กรวย’ , /sut5/ ‘มุง’, /?aN1/‘หนาอก’,​ /pHi1 pHuN3pHi1 pHaj2/ ‘รุงกินน้ำ�’ เปนตน ซึ่งคำ�ศัพท เหลานี้จะแตกตางจากภาษาไทถิ่นอีก 4 ภาษาอยางชัดเจน 2. คำ�ศัพทภาษากะเลิงเปนอีกภาษาหนึง่ ทีม่ ลี กั ษณะเดนและมีความนาสนใจเนือ่ งจากมีการใชคำ�ศัพทเฉพาะ ถิ่นมากเปนอันดับ 2 รองจากภาษาผูไท นอกจากนั้นผูวิจัยสังเกตวาคำ�ศัพท​ /ka4 bE?3​/ ‘จาน’ ในภาษากะเลิง นั้นไมนาจะเปนคำ�ศัพทของภาษาตระกูลไท ผูวิจัยสันนิษฐานวา คำ�ศัพทดังกลาวอาจไดรับอิทธิพลจากภาษาขา ภาษากะโส หรือบางก็เรียกรวมกันวาขากะโส ซึ่งเปนภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก โดยพบคำ�วา /ka brE?/ ใน ภาษาขา มีความหมายวา ‘ขัน’ (กัยสิทธิ์ วงศจำ�ปา 2524 : 24) ทั้งนี้อาจเกิดการกลายเสียงและกลายความหมายไป ในภาษากะเลิง 3. จากคำ�ศัพทในหมวดเครือญาติของภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษา แสดงใหเห็นวาภาษาญอ ภาษาลาว และภาษากะเลิง ใชคำ�ศัพทเรียกเครือญาติฝายพอและฝายแมแยกกันอยางชัดเจน แตภาษาผูไทและภาษา โยยไมมีการแยกระหวางคำ�ศัพทที่ใชเรียกญาติฝายพอและฝายแม ไดแก คำ�ศัพทที่ใชแทนหนวยอรรถ ‘นอง ชายของพอ’, ‘นองชายของแม’ และ‘นองสาวของพอ’, ‘นองสาวของแม’ ภาษาผูไทจะใชคำ�ศัพทเดียวกันคือ / na5 baw3/ และ /na5 saw1/ ตามลำ�ดับ คำ�ศัพทที่ใชแทนหนวยอรรถ ‘พอตา’, ‘พอสามี’ และ ‘แมยาย’, ‘แมสามี’ ในภาษาโยยจะใชคำ�ศัพทเดียวกัน คือ /pH4 tHaw4/ และ /mE4 tHaw4/ ตามลำ�ดับ 4. จากการใชคำ � ศัพทแตกตางกันบางภาษาของภาษาไทถิ่ น ทั้ ง 5 ภาษา ผู  วิ จั ย พบว า มี ลั ก ษณะที่ นาสนใจอีกประการหนึ่ง คือ มีคำ�ศัพทที่ออกเสียงเหมือนกันแตมีความหมายตางกันในอีกภาษาหนึ่ง ไดแก คำ�วา /sut 5/ ในภาษาผูไทหมายถึง มุง แต /sut 5/ ในภาษาโยยจะหมายถึงผาหม คำ�วา /biN5/ ในภาษาญอ, /biN5/ ในภาษาโยย, /biN6/ ในภาษาลาว และ /biN6/ ในภาษากะเลิงจะ หมายถึง คางคาวเล็ก แตในภาษาผูไท /biN4/ จะหมายถึง คางคาวใหญ คำ�วา /cia1/ ในภาษาญอ, /cia1/ ในภาษาโยย, /cia2/ ในภาษาลาว และ /cia2/ ในภาษากะเลิงจะ หมายถึง คางคาวใหญ แตในภาษาผูไท /ce1/ จะหมายถึงคางคาวเล็ก การใชคำ�ศัพทแตกตางกันในลักษณะเชนนี้อาจทำ�ใหเกิดความเขาใจผิดในการสื่อสารระหวางกันได ดังนั้น งานวิจัยนี้จะเปนประโยชนตอผูที่ตองติดตอสื่อสารกับกลุมคนที่พูดภาษาไทถิ่นตางๆ ในจังหวัดสกลนคร เพื่อชวยให เกิดความเขาใจที่ตรงกันและทราบวิวัฒนาการของคำ�หรือความหมายดวย 5. จากขอสรุปของงานวิจัยครั้งนี้ที่วา คำ�ศัพทภาษาญอ ภาษาลาว และภาษาโยย มีความสัมพันธ กันมากกวาภาษากะเลิงและภาษาผูไทนั้น สอดคลองกับผลการศึกษาของ พัชราภรณ เศวตสุวรรณ (2530) ที่เขียน วิทยานิพนธเรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบคำ�ศัพทภาษาถิ่นอีสานที่ไมรวมเผาพันธุภาษาไทยกลางกับภาษาตระกูล

23


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ไท” พบวาภาษาถิ่นอีสานมีความสัมพันธกับภาษาโยยมากที่สุด รองลงมาคือภาษาญอและภาษากะเลิง ซึ่งชวย ยืนยันใหเห็นชัดเจนวาทั้ง 3 ภาษา ไดแก ภาษาญอ ภาษาลาวหรือภาษาอีสาน และภาษาโยย เปนภาษาที่มีความ สัมพันธดานคำ�ศัพทอยางใกลชิด 6. การที่ภาษาญอ ภาษาลาว และภาษาโยย มีความสัมพันธดานคำ�ศัพทกันอยางใกลชิดนั้น หากยอนกลับ ไปดูประวัติศาสตรเกี่ยวกับถิ่นฐานเดิมของคนทั้งสามกลุมนั้นจะเห็นวาคนสามกลุมดังกลาวอาศัยอยูในบริเวณเมือง ตางๆ ของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สวนกลุม ผูไ ทเดิมอยูบ ริเวณสิบสองจุไท และกลุม กะเลิงนัน้ อยูบ ริเวณตะวันตกของเทือกเขาอาก ในประเทศเวียดนาม การอพยพยายถิน่ ของกลุม คนจากบริเวณทีแ่ ตกตางกันยอม ทำ�ใหมีความสัมพันธทางภาษาดานการใชคำ�ศัพทนอยกวากลุมคนที่อพยพมาจากที่เดียวกันหรือใกลเคียงกัน ขอเสนอ​แนะ 1. ศึกษาเปรียบเทียบคำ�ศัพทภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษาในจังหวัดสกลนครแยกประเภทตามหมวดคำ� เชน หมวดคำ�ลักษณนาม หมวดคำ�เครือญาติ หมวดคำ�ลงทาย เปนตน เพื่อใหเห็นความเหมือนและความแตกตางชัดเจน ยิ่งขึ้น 2. ศึกษาเปรียบเทียบการใชคำ�ศัพทภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษา ในจังหวัดสกลนครจากผูบอกภาษา 3 ระดับ อายุ เพื่อแสดงใหเห็นการเปลี่ยนแปลงของภาษาที่กำ�ลังดำ�เนินอยูและแนวโนมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อันจะเปน ประโยชนตอการวางแผนพัฒนาและอนุรักษภาษาไทถิ่นตางๆ ใหคงอยูตลอดไป ตลอดจนศึกษาเปรียบเทียบคำ�ศัพท ภาษาไทถิ่นทั้ง 5 ภาษาในจังหวัดสกลนครซ้ำ�อีกครั้งเมื่อเวลาผานไป เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางที่เกิดขึ้น 3. ศึกษาเปรียบเทียบคำ�ศัพทภาษาถิ่นตระกูลไทในจังหวัดอื่นๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีความ หลากหลายทางภาษาและกลุมชาติพันธุ เชน จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดกาฬสินธุ เปนตน เพื่อเปน การขยายองคความรูดานภาษาตระกูลไท 4. ศึกษาภาษาโยยและภาษากะเลิงในดานอื่นๆ เชน ดานหมวดคำ�หรือการเลือกใชคำ�ศัพทเพื่อสื่อสารกับ คนตางกลุม เปนตน เนือ่ งจากในปจจุบนั มีงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วของกับทัง้ 2 ภาษา ดังกลาวนัน้ นอยมาก อีกทัง้ จะเปนการชวย อนุรักษไมใหภาษาสูญไปตามกาลเวลา 5. ศึกษาแนวคิดและวัฒนธรรมของกลุม ชาติพนั ธุใ นจังหวัดสกลนครจากคำ�ศัพทในหมวดตางๆ โดยใชทฤษฎี อรรถศาสตรชาติพันธุ

24


การ​ศึกษาเปรียบเทียบ​คำ�​ศัพท​ภาษา​ไท​ถิ่น​ใน​จังหวัด​สกล​นคร มุ​จลินทร ลักษณะ​วงษ

บรรณานุกรม ภาษาไทย กอบกุล มาเวียง. (2533). คำ�ลักษณนามในภาษากะเลิง บานดงมะไฟ จังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. กันทิมา วัฒนะประเสริฐ และสุวัฒนา เลี่ยมประวัติ. (2531). รายงานการวิจัยเรื่องระบบเสียงภาษาลาวของ ลุมน้ำ�ทาจีน. พิมพครั้งที่ 2. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร. กัยสิทธิ์ วงศจำ�ปา. (2524). ภาษาขา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม. กาญจนา คูวัฒนะศิริ. (2524). วรรณยุกตในภาษาญอ. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. คณะกรรมการอำ�นวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ. (2543). วัฒนธรรมพัฒนา การทางประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญา จังหวัดสกลนคร. ม.ป.ท. เติม วิภาคยพจนกิจ. (2513). ประวัตศิ าสตรอสี าน เลม 1. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพสมาคมสังคมสงเคราะหศาสตรแหง ประเทศไทย. ทองคูณ หงสพันธุ. (2522). กลุมชาติพันธุและภาษาแถบลุมน้ำ�โขงของประเทศไทย. ในประมวลบทความเกี่ยว กับวัฒนธรรมเนื่องในนิทรรศการ “มูลมังอีสาน.” สกลนคร: สกลนคร การพิมพ. ______________. (2519). ภาษาถิ่นแถบภูพาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพการศาสนา. นันตพร นิลจินดา. (2532). การศึกษาเรื่องศัพทภาษาญอในจังหวัดสกลนคร ปราจีนบุรี และนครพนม. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร. เบญจวรรณ ตานนท. (2542). การศึกษาเปรียบเทียบคำ�ซอนภาษาไทยกลางและภาษาถิ่นอีสาน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปนกนก คำ�เรืองศรี. (2545). การแบงกลุมภาษาญอในภาคอีสานโดยใชระบบเสียงวรรณยุกต. รายงานการ ศึกษาคนควาอิสระปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. พจณี ศรีธรราษฎร. (2526). การศึกษาเปรียบเทียบวรรณยุกตภาษาถิน่ ผูไ ทยใน 3 จังหวัด. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. พระมหาณัฐพล โพไพ. (2543). วิเคราะหคำ�ศัพทเครือญาติของกลุมชาติพันธุไทยในภาคอีสาน. รายงานการ ศึกษาคนควาอิสระปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาไทคดีศกึ ษา (กลุม มนุษยศาสตร) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. พัชราภรณ เศวตสุวรรณ. (2530). การศึกษาเปรียบเทียบคำ�ศัพทภาษาถิ่นอีสานที่ไมรวมเผาพันธุ ภาษา ไทยกลางกับภาษาตระกูลไท. ปริญญานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม. เรืองเดช ปนเขื่อนขัติย. (2531). ภาษาถิ่นตระกูลไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย. ___________________. (2531). การศึกษาความสัมพันธของภาษาถิน่ โดยอาศัยคำ�ศัพท. ภาษาและวัฒนธรรม7 1 : 64-80. โรชินี คนหาญ. (2546). คำ�พื้นฐานภาษาผูไทย : การศึกษาตามแนวภาษาศาสตรเชิงประวัติ. วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วิไลวรรณ ขนิษฐานันท. (2520). ภาษาผูไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. วีระพงศ มีสถาน. (2548). สารานุกรมกลุมชาติพันธุในประเทศไทย “กะเลิง”. กรุงเทพฯ: เอกพิมพไทย จำ�กัด.

25


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

สมใจ ดำ�รงสกุล. (2548). สารานุกรมกลุมชาติพันธุ “ผูไทย”. กรุงเทพฯ: โรงพิมพสหธรรมมิก. สมิทธิชา พุมมา. (2546). การศึกษาเปรียบเทียบคำ�ศัพทภาษาไทถิ่นในจังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สรัญญา เศวตมาลย. (2542). การแบงกลุม ภาษาตามแนวภาษาศาสตรเชิงโครงสรางและเชิงประวัต.ิ กรุงเทพฯ: อักษรพัฒนา. สุรจิตต จันทรสาขา. (2542). สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคอีสาน เลม 5. กรุงเทพฯ: มูลนิธสิ ารานุกรมวัฒนธรรม ไทย ธนาคารไทยพาณิชย. ______________. (2523). ต�ำ นานพงศาวดารเมืองสกลนคร ฉบับพระยาประจันตประเทศธานี (โงนคำ� พรหม สาขา ณ สกลนคร). สกลนคร: โรงพิมพสกลนครการพิมพ. สุริยา รัตนกุล. (2531). นานาภาษาในเอเชียอาคเนย ภาค 1. นครปฐม: ศูนยวิจัยวัฒนธรรม เอเชียอาคเนย มหาวิทยาลัยมหิดล. สุวไิ ล เปรมศรีรตั น และคณะ. (2547). แผนทีภ่ าษาของกลุม ชาติพนั ธุต า งๆ ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ คุรุสภาลาดพราว. องคการบริหารสวนจังหวัด. (2528). ประวัติจังหวัดสกลนคร. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพจินดาสาสน. อรพันธ อุนากรสวัสดิ์. (2536). การศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงภาษาผูไทกับภาษาลาวโซง. วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สัมภาษณ ชัยมงคล จินดาสมุทร. ตำ�แหนงครู วิทยฐานะครูชำ�นาญการ โรงเรียนธาตุนารายณวิทยา จังหวัดสกลนคร และ นักวิชาการกลุมภูพานลุมน้ำ�โขง. สัมภาษณ 5 มกราคม 2551. ภาษาอังกฤษ Areeluck Tisapong. (1985). A Phonological description of the Kaloeng Language at Ban Dong Ma Fai Sakonnakorn. M.A. Thesis. Faculty of Graduate Studies of Mahidol University. Brown, Marin.J. (1975). The Great Tone Split : did it work in two opposite way? Studies in Tai Linguistics in Honor of William J. Gedney. Bangkok: Central Institute of English Language. . (1965). From ancient Thai to modern dialects. Bangkok: SocialScience Association Press of Thailand. Chamberlain, James R. (1975). A new look at the history and classification of the Tai language. In Study in Tai Linguistics in Honor of William J. Gedney. Bangkok: Central Institute of English Language : 49-46. Thepbangon Boonsner. (1985). A Phonological description of Yooy. M.A. Thesis. Faculty of Graduate Studies of Mahidol University.

26


การศึกษาการแปรของเสียง (mr) และ (ml​) ในภาษาไทยถิ่นสงขลา ตามปจจัยทางสังคม A Study of the Variation by Social Variables of (mr) and (ml) in Songkhla Dialect อภิชญา แกวอุทัย 1 Apichaya kaewuthai บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลา และศึกษา ความสัมพันธระหวางการแปรของเสียงดังกลาวกับปจจัยทางสังคม ไดแก อายุ เพศ และถิ่นที่อยูอาศัย โดยผูวิจัย ศึกษาตัวแปรอายุ 3 กลุม ไดแก กลุมวัยรุน (อายุ 15-25 ป) กลุมวัยผูใหญ (อายุ 35-45 ป) และกลุมวัยชรา (อายุ 55 ปขึ้นไป) ตัวแปรเพศ ประกอบดวยเพศชายและเพศหญิง และศึกษาตัวแปรถิ่นที่อยูอาศัย 2 ถิ่น คือ ชุมชนเมือง (เขตเทศบาลนครสงขลา อำ�เภอเมืองสงขลา) และชุมชนชนบท (ตำ�บลเกาะใหญ อำ�เภอกระแสสินธุ) ทั้งนี้ผูวิจัยเก็บ ขอมูลจากผูบ อกภาษาทัง้ หมด 120 คน และใชค�ำ ทดสอบทัง้ หมด 25 คำ� เปนคำ�ทีม่ เี สียง (mr) 12 คำ� และ (ml) 13 คำ� ผลการศึกษาพบวาเสียง (mr) มีรูปแปรทั้งหมด 14 รูปแปร โดยรูปแปร[m]ปรากฏมากที่สุด สวน (ml) มี รูปแปรทั้งหมด 6 รูปแปร รูปแปรที่ปรากฏมากที่สุด คือ[ml] จึงกลาวไดวาขณะนี้เสียง (mr) และ (ml) ในภาษา ไทยถิ่นสงขลากำ�ลังเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยเสียง (mr) มีแนวโนมที่จะวิวัฒนาการเปนเสียงพยัญชนะตนเดี่ยวเร็ว กวาเสียง (ml) ที่ยังคงปรากฏการใชเสียงพยัญชนะควบกล้ำ�ดั้งเดิมในจำ�นวนมากที่สุด เมื่อวิเคราะหความสัมพันธระหวางการแปรของเสียงดังกลาวกับปจจัยทางสังคมทั้ง 3 ปจจัยแบบไมควบคุม ตัวแปร พบวาปจจัยอายุและถิ่นที่อยูอาศัยมีความสัมพันธกับการแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่น สงขลา สวนปจจัยเพศไมมีความสัมพันธกับการแปรทางภาษาดังกลาว และเมื่อวิเคราะหความสัมพันธแบบควบคุม ตัวแปร พบวาการแปรของเสียง (mr ) มีความสัมพันธกับปจจัยอายุและถิ่นที่อยูอาศัย สวนปจจัยเพศไมมีความ สัมพันธกับการแปรของเสียง (mr) เชนเดียวกัน สำ�หรับการแปรของเสียง (ml) มีความสัมพันธกับปจจัยทางสังคม ทั้ง 3 ปจจัย ทั้งนี้ปจจัยทางสังคมที่มีความสัมพันธกับการแปรของเสียง (mr) และ (ml) มากที่สุด คือ ถิ่นที่อยูอาศัย รองลงมาคือ อายุ และเพศ ตามลำ�ดับ คำ�สำ�คัญ : 1. การแปรของเสียง. 2. ภาษาไทยถิ่นใต. 3. ปจจัยทางสังคม.

__________________

1

อาจารย ประจำ�คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

Abstract This research is intended to investigate whether the variation of (mr) and (ml) in Songkhla dialect correlates with social variables : the speaker ’s age, sex and locality. Included in this study are three age groups : youth (15 - 25 years of age), adult (35 - 45 years of age) and senior adult (55 years old or more). The study covers two sexes : male and female. Two localities were selected : Muang district (Songkhla municipal area) representing an urbanspeech community and Krasaesin district (Tambol Kohyai) representing a rural speech community. The field work was carried out by the researcher using 25 test words (12 test words of (mr) and 13 test words of (ml)) to elicit the data from 120 selected informants. The research results shows that (mr) has 14 variants : the dominant one is [m]. As regards (ml), it has 6 variants : the dominant one is[ml]. It can be concluded that (mr) and (ml) in Songkhla dialect are in the process of sound change. (mr) is likely to become an initial consonant sound while (ml) is likely to remain a consonant cluster. Without controlling for the other social variables, it is found that (mr) and (ml) in Songkhla dialect vary according to the social variables: age and locality but not sex. When controlling for other variables, the results also show that (mr) varies according to the social variables : age and locality but not sex. The (ml) sound varies according to each of the three social variables: age, sex, and locality. The speaker’s locality is the most significant variable of (mr) and (ml) while the speaker ’s sex is the least important variable. The speaker’s age is more significant than sex but not as significant as locality. Keywords : 1. Phonological Variation. 2. Southern Thai Dialect. 3. Social Variables.

28


การศึกษาการแปรของเสียง (mr) และ (ml​) อภิชญา แกว​อุทัย

บทนำ� เสียงพยัญชนะตนควบกล้ำ�*/mr /และ*/ml / เปนเสียงในภาษาไทดั้งเดิม (Proto-Tai) ที่ยังปรากฏ หลักฐานการใชอยูในชีวิตประจำ�วันของผูพูดภาษาไทย ถิน่ ใต โดยไมปรากฏในภาษาไทยถิน่ อืน่ เสียงพยัญชนะ ตนควบกล้ำ�นี้จึงเปนเอกลักษณที่โดดเดนในภาษาไทย ถิ่นใต แตปจจุบันผูวิจัยสังเกตเห็นวาเสียง /mr/ และ /ml/ กำ�ลังเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะภาษาไทย ถิ่นสงขลาซึ่งเปนจังหวัดที่เปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ ของภาคใต การพัฒนาจังหวัดสงขลาในดานตางๆ สงผล ใหการออกเสียง /mr/ และ /ml/ ของคนสงขลาเกิด การเปลี่ ย นแปลงโดยเฉพาะในกลุ  ม วั ย รุ  น ผู  วิ จั ย จึ ง สนใจศึกษาการแปรของเสียง (mr ) และ (ml ) ใน ภาษาไทยถิ่นสงขลาตามปจจัยทางสังคม ไดแก ถิ่นที่ อยูอาศัย อายุ และเพศของผูบอกภาษา เพื่อใหเห็น แนวโนมการเปลี่ยนแปลงของเสียงดังกลาว อันจะเปน หลั ก ฐานสำ � คั ญ ที่ ชี้ ใ ห เ ห็ น การเปลี่ ย นแปลงที่ กำ � ลั ง ดำ�เนินอยู และทิศทางการเปลีย่ นแปลงในอนาคต อีกทัง้ เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการแปรของภาษากับ ปจจัยทางสังคมอีกดวย วัตถุประสงคของการวิจัย คือ เพื่อศึกษาการ แปรของเสียงพยัญชนะตนควบกล้ำ� (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลา และเพื่อศึกษาความสัมพันธ ระหวางการแปรของเสียงพยัญชนะตนควบกล้ำ� (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลาตามปจจัยทางสังคม ไดแก อายุ เพศ และถิ่นที่อยูอาศัย ผูวิจัยไดกำ�หนดขอบเขตของการวิจัยครั้งนี้ คือ 1. ศึกษาเฉพาะเขตชุมชนเมือง คือ เขตเทศบาล นครสงขลา อำ�เภอเมือง จังหวัดสงขลา และเขตชุมชน ชนบท คือ ตำ�บลเกาะใหญ อำ�เภอกระแสสินธุ จังหวัด สงขลา 2. ศึกษากลุมตัวอยาง 3 กลุม คือ กลุมอายุ 15 - 25 ป, กลุมอายุ 35 - 45 ป และกลุมอายุ 55 ป ขึ้นไป 3. ศึ ก ษาเฉพาะการออกเสี ย งพยั ญ ชนะต น ควบกล้ำ� (mr ) และ (ml ) ในภาษาไทยถิ่นใตที่เปน คำ�พยางคเดียว จำ�นวน 25 คำ� ซึ่งคำ�เหลานี้รวบรวม มาจาก ธีระพันธ ล.ทองคำ� “แบบสอบถามสำ�หรับ

สำ�รวจเสียงและระบบเสียงในภาษาไทยถิ่นใต” (2521), พจนานุกรมภาษาถิน่ ใต (2525), ฉันทัส ทองชวย “รายการ คำ�สำ�หรับสำ�รวจเสียงและระบบเสียงภาษาไทยถิ่นใต” (2532), ฉันทัส ทองชวย “ภาษาและอักษรถิ่น (เนน ภาคใต)” (2534), อุดม หนูทอง และสืบพงศ ธรรมชาติ “คุยภาษาหาสารเลม 1-2” (2547) วิธีดำ�เนินการวิจัย 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2. คัดเลือกจุดเก็บขอมูล 2.1 เลื อ กพื้ น ที่ ที่ เ ป น ตั ว แทนของชุ ม ชน เมื อ ง คื อ เทศบาลนครสงขลา อำ� เภอเมื อ งสงขลา เนื่องจากเทศบาลนครสงขลาเปนที่ตั้งของเมืองเกามา แตครั้งอดีต ประชากรในเขตเทศบาลนครสงขลาสวน ใหญจึงเปนคนสงขลาแตดั้งเดิม อีกทั้งเทศบาลนคร สงขลามีสภาพทางสังคมและเศรษฐกิจที่เปนลักษณะ ของชุมชนเมือง ไดแก เปนศูนยกลางเศรษฐกิจและธุรกิจ เกือบทุกประเภท เปนศูนยกลางการบริหารราชการ แผนดินทางภาคใต มีสวนราชการตั้งอยูตั้งแตระดับ จังหวัด ภาค เขต และประเทศ เปนศูนยกลางทางการ ศึกษาของภูมิภาค และเปนศูนยกลางของการคมนาคม ติดตอภายในจังหวัด เปนตน 2.2 เลื อ กพื้ น ที่ ที่ เ ป น ตั ว แทนของชุ ม ชน ชนบท คือ ตำ�บลเกาะใหญ อำ�เภอกระแสสินธุ  เนือ่ งจาก อำ � เภอกระแสสิ น ธุ  มี ก ารปกครองสู ง สุ ด เพี ย งระดั บ ตำ � บล มี ส ถิ ติ จำ � นวนประชากรน อ ยที่ สุ ด ในจั ง หวั ด สงขลา และตำ � บลเกาะใหญ มี ส ภาพทางสั ง คมและ เศรษฐกิจแตกตางจากเทศบาลนครสงขลา กลาวคือ ประชากรในตำ�บลเกาะใหญสวนใหญประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เปนตำ�บลที่ไมใชเขตทองที่ที่มีสถานที่ ทองเที่ยว ความพลุกพลานและความหลากหลายของ คนจากทองถิ่นอื่นจึงมีนอยมาก อีกทั้งตำ�บลเกาะใหญ ยังมีสภาพภูมิประเทศเปนภูเขา มีพื้นที่สวนใหญติด ทะเลสาบสงขลา การคมนาคมเขาออกในหมูบานของ ตำ�บลนี้จึงมีนอย สงผลใหการติดตอสื่อสารกับคนใน ทองถิ่นอื่นมีนอยมาก 3. คัดเลือกกลุมตัวอยางเปนผูบอกภาษา โดย แบงกลุมผูบอกภาษาออกเปน 3 กลุมอายุ คือกลุมอายุ

29


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

15 - 25 ป (กลุมวัยรุน) กลุมอายุ 35 - 45 ป (กลุมวัย ผูใหญ) และกลุมอายุ 55 ปขึ้นไป (กลุมวัยชรา) 4. กำ�หนดจำ�นวนผูบอกภาษา ชุมชนละ 60 คน โดยแบงเปนชวงอายุละ 20 คน ในแตละชวงอายุแบงเปน เพศหญิง 10 คน และเพศชาย 10 คน 5. สรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย 5.1 รายการคำ� รายการคำ�ทีใ่ ชในการทดสอบ การแปรของเสียงพยัญชนะตนควบกล้ำ� (mr) และ (ml) ในภาษาถิ่นสงขลา ไดแก รายการคำ�ศัพทของเสียง (mr) ทั้ง 12 คำ�

รายการคำ�ศัพทของเสียง (ml) ทั้ง 13 คำ�

1.โมฺรง /mroN1/ ‘สำ�โรง’ 2.มฺรน /mron5/ ‘คำ�รน’ 3.โมฺระ /mro?2/ ‘ไมสวย ไมงาม’

1.เมฺลิน(ตา) /mln5/ ‘ลืมตา’ 2. เหมฺลอ /ml6/ ‘เซอ’ 3.เหมฺลิ่น /mln6/ ‘ลื่น’ 4.มฺลัก /mlak1/ ‘สำ�ลัก’ 5.แมฺละ /mlE?2/ ‘ชำ�แหละ’ 6.ไมฺล /mlaj1/ ‘กำ�ไล’ 7. แหมฺล็ด /mlEt6/ ‘เมล็ด’ 8.(ผัก)มฺลึ้ง /mlN1/ ‘ตำ�ลึง’

4. มฺรับ /mrap1/ ‘สำ�รับ’ 5.มฺราบ /mrap2/ ‘กำ�ราบ’ 6.เมฺริบ /mrp2/ ‘กำ�เริบ’ 7.ไมฺร /mraj1/ ‘กำ�ไร’ 8.หมฺระ /mra?6/ ‘มะระ’ 9.เมฺรย /mrj1/ ‘บนบาน’ 10.มฺรอบ /mrp2/ ‘หมอบ’ 11.แมฺร /mrE1/ ‘สะเก็ดแผล’ 12.แมฺร็ด /mrEt1/ ‘หมด’

5.2 แบบสอบถาม เรื่อง การศึกษาการแปร ของเสียง (mr ) และ (ml ) ในภาษาไทยถิ่นสงขลา ตามปจจัยทางสังคม ประกอบดวยประวัติสวนตัวของ ผูตอบแบบสอบถามเพื่อเปนหลักฐานอางอิงวาผูตอบ แบบสอบถามมีคุณสมบัติตามที่กำ�หนดไว และแบบ เก็ บ ข อ มู ล ทางภาษา ซึ่ ง ประกอบด ว ยส ว นที่ แ สดง รายละเอียดของวิธกี าร และเครือ่ งมือทีใ่ ชในการทดสอบ การออกเสียงพยัญชนะตนควบกล้ำ� (mr) และ (ml)

30

ในแตละคำ�ของผูบอกภาษา ทั้งนี้เพื่อความสะดวกของ ผูวิจัย และเพื่อใหเปนวิธีการเดียวกันในการเก็บขอมูล จากผูบอกภาษาแตละคน สวนที่เปนคำ�ถามนำ�เพื่อ ใหผูบอกภาษาพูดคำ�ที่ตองการวิเคราะหหนวยเสียง พยัญชนะออกมา และสวนทีเ่ ปนคำ�ตอบไวส�ำ หรับบันทึก การออกเสียงพยัญชนะควบกล้ำ�ในแตละคำ�ของผูบอก ภาษา นอกจากนี้ยังมีสิ่งของตางๆ ที่ใชเปนเครื่องมือ ประกอบคำ �สัมภาษณเพื่อชวยใหผูบอกภาษาเขาใจ คำ�ศัพทบางคำ�ไดงายยิ่งขึ้น

9. เมฺลือง /mlaN5/ ‘เปนมัน’ 10.หมฺลา /mla7/ ‘ลา’ 11.เหมฺละ /mle?6/ ‘มะลิ’ 12.เหมฺลือก /mlak6/ ‘เมือก’ 13.เหมฺลื่อย /mlaj6/ ‘เมื่อย’ 5.3 เครื่องบันทึกเสียง สมุดบันทึกขนาดเล็ก และปากกา 6. เก็บขอมูล การเก็บขอมูลผูวิจัยจะใชภาษา ไทยถิ่ น สงขลาในการสั ม ภาษณ เพื่ อ สร า งความ สนิทสนมเปนกันเองกับผูบ อกภาษา และเพือ่ ใหไดขอ มูล ที่เปนธรรมชาติจากผูบอกภาษา โดยจะเริ่มตนจาก ทักทาย และแนะนำ�ตัวกับผูที่อาจเปนกลุมตัวอยาง ได ในกรณีที่ผูถูกสัมภาษณมีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะ


การศึกษาการแปรของเสียง (mr) และ (ml​) อภิชญา แกว​อุทัย

เปนผูบอกภาษาไดแลว ผูวิจัยจะพูดคุยถามไถเรื่องราว รอบๆ ตัวของผูบอกภาษา เพื่อสรางความเปนกันเอง ประมาณ 10-15 นาที แลวเริ่มถามคำ�ถามจากแบบ สอบถามขอมูลสวนตัวของผูบอกภาษา ตอดวยคำ�ถาม เกี่ยวกับคำ�ศัพทตางๆ ซึ่งคำ�ถามที่ใชในการสัมภาษณ ผูบอกภาษาจะมีทั้งการใชของจริง หรือซักถามโดยการ ใชคำ�ถาม ในการสัมภาษณแตละคำ �ผูวิจัยจะบันทึก เสียงของผูบอกภาษาลงในแบบบันทึกขอมูลทางภาษา ขณะเดียวกันจะทำ�การบันทึกดวยแถบบันทึกเสียงไป พรอมกันดวยเพือ่ นำ�มาตรวจทานอีกครัง้ การเก็บขอมูล ผูบอกภาษาแตละคนจะใชเวลาประมาณคนละ 20 - 25 นาที 7. วิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัย ไดน�ำ เอาคาทางสถิตมิ าหาความสัมพันธระหวางตัวแปร ตามกับตัวแปรอิสระโดยใชอัตรารอยละ (Percentage) มาใชอธิบายถึงปริมาณการแปรของพยัญชนะตนแตละ เสียงแตละคำ� วามีการแปรมากนอยตางกันอยางไร แลวหาคาทางสถิติไคสแควร (x2) วามีความสัมพันธกับ ตัวแปรทางสังคมหรือไม 8. สรุปผล อภิปรายผลการวิจยั และนำ�เสนอผลงาน

ผลการวิจัย รูปแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทย ถิ่นสงขลา การแปรของเสียง (mr ) และ (ml ) ในภาษา ไทยถิ่นสงขลาทั้ง 25 คำ� ของกลุมตัวอยางทั้ง 120 คน เมื่อศึกษาโดยไมคำ�นึงถึงปจจัยทางสังคม ผูบอกภาษา ออกเสียง (mr) และ (ml)ทั้ง 25 คำ� เปนรูปแปรตางๆ ถึง 14 รูปแปร ทั้งรูปแปรที่เปนเสียงพยัญชนะตน ควบกล้ำ�[mr] [ml] รูปแปรที่เปนเสียงพยัญชนะ ตนเดี่ยว เชน[m] [l] [r] รูปแปรที่มีการแทรก เสียงสระ/a/ กลางคำ� เชน [​ ma ​-l​ ][m​ a-r]และรูป แปรทีเ่ ปนเสียงพยัญชนะอืน่ ๆ เชน [br] [bl] จาก คำ�ทีใ่ ชทดสอบทัง้ หมดพบวา รูปแปร[ml]ปรากฏมาก ที่สุด คือปรากฏถึงรอยละ 31.87 สวนรูปแปร[mr] ปรากฏอยูในลำ�ดับที่ 4 ซึ่งปรากฏในอัตรารอยละ11.23 จากความถีท่ ปี่ รากฏนีท้ ำ�ใหคาดการณไดวา เสียง (mr) มีแนวโนมที่จะวิวัฒนาการเปนเสียงพยัญชนะตนเดี่ยว หรือเสียงที่ไมมีควบกล้ำ�เร็วกวาเสียง (ml ) ที่ยังคง ปรากฏการใชในจำ�นวนมากที่สุด ดังแผนภูมิตอไปนี้

แผนภูมิที่ 1 อัตราการปรากฏของรูปแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลาทั้ง 25 คำ�

31 .

35

87

อัตราการปรากฏ (รอยละ)

23 .

73

30

25

8. 43

11 .

15

23

15 .

03

20

0. 03

0. 1

0. 16 0. 13

0. 36

0. 9

1. 33

5

1. 67

5. 03

10

0

รูปแปร

[ml][m] [l] [mr][mR][ma-l][r] [R] [bl][ma-r][b][br][bR][ma-R] 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

31


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

/a/เพื่อใหเปนคำ� 2 พยางค 3 รูปแปร คือ[ma-r] [ma-R] และ[ma-l] รูปแปรทั้ง 14 รูปแปรมีอัตรา การปรากฏมากนอยแตกตางกัน กลาวคือ รูปแปรที่เปน เสียงพยัญชนะตนเดี่ยว[m]ปรากฏมากที่สุด รองลง มาคือรูปแปรที่เปนเสียงพยัญชนะตนควบกล้ำ�[mr] และ[mR] ตามลำ�ดับ จึงเห็นไดวาขณะนี้เสียง (mr) ในภาษาไทยถิ่นสงขลากำ�ลังเกิดการเปลี่ยนแปลง โดย เสียงพยัญชนะตนควบกล้�ำ ดังกลาวมีแนวโนมทีจ่ ะกลาย เปนรูปแปรที่เปนเสียงพยัญชนะตนเดี่ยวหรือเสียงตาม แบบภาษาไทยมาตรฐานเพิม่ มากขึน้ ดังแผนภูมติ อ ไปนี้

รูปแปรของเสียง (mr) ในภาษาไทยถิ่น สงขลา จากการวิเคราะหการแปรของเสียง (mr ) ใน ภาษาไทยถิ่นสงขลาทั้ง 12 คำ� ของผูบอกภาษาทั้ง 120 คน ผูวิจัยพบวา (mr) มีรูปแปรทั้งหมด 14 รูป แปร ไดแก รูปแปรที่เปนเสียงพยัญชนะตนเดี่ยว 5 รูป แปร คือ [m] [l] [r] [R] และ[b] รูปแปร ที่เปนเสียงพยัญชนะตนควบกล้ำ� 6 รูปแปร คือ [mr] [mR] [ml] [bl] [br]และ[bR] และรูป แปรที่ เ ป น เสี ย งพยั ญ ชนะต น เดี่ ย วที่ แ ทรกเสี ย งสระ

แผนภูมิที่ 2 อัตราการปรากฏของรูปแปรของเสียง (mr) ในภาษาไทยถิ่นสงขลา

21

0. 07

0. 14

0. 14

0. 28

0. 76 0. 35

2. 78

5

3. 47

4. 31

10

7. 43

10 .

15

57

20

17 .

25

23 .

4

30

29 .

09

อัตราการปรากฏ (รอยละ)

0

รูปแปร

[m][mr][mR] [l][ml][ma-l][r][R][ma-r][bl][br][bR][b][ma-R] 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

รูปแปรของเสียง (ml) ในภาษาไทยถิน่ สงขลา จากการวิเคราะหการแปรของเสียง (ml ) ใน ภาษาไทยถิ่นสงขลาทั้ง 13 คำ� ของผูบอกภาษาทั้ง 120 คน ผูว จิ ยั พบวา (ml) มีรปู แปรทัง้ หมด 6 รูปแปร ไดแก รูปแปรทีเ่ ปนเสียงพยัญชนะตนเดีย่ ว 3 รูปแปร คือ [m]

32

[l]และ[b] รูปแปรทีเ่ ปนเสียงพยัญชนะตนควบกล้ำ� 2 รูปแปรคือ[ml] และ[bl] และรูปแปรที่เปนเสียง พยัญชนะตนเดี่ยวที่แทรกเสียงสระ /a/ เพื่อใหเปน คำ� 2 พยางค 1 รูปแปร คือ[ma-l] รูปแปรทั้ง 6 รูป

แปรมีอัตราการปรากฏมากนอยแตกตางกัน กลาวคือ


การศึกษาการแปรของเสียง (mr) และ (ml​) อภิชญา แกว​อุทัย

รูปแปรที่ปรากฏมากที่สุด คือ[ml] รองลงมาไดแก รูปแปร [l] [m] [ma-l] [bl] และ[b] ตาม ลำ�ดับ จะเห็นไดวารูปแปรที่เปนเสียงพยัญชนะตนควบ กล้ำ�ดั้งเดิม[ml]ยังเปนรูปแปรที่กลุมประชากรเลือก ใชมากที่สุด แตก็ยังมีการเลือกใชรูปแปรที่เปนเสียง พยัญชนะตนเดี่ยวหรือรูปแปรอื่นๆ ดวย จึงเห็นไดวา เสียง (ml) ในภาษาไทยถิน่ สงขลากำ�ลังเกิด การเปลีย่ น แปลงเชนเดียวกับเสียง (mr) แตมแี นวโนมทีจ่ ะเกิดการ เปลี่ยนแปลงชากวา เพราะประชากรกลุมตัวอยางยังคง รักษาเสียง (ml) ไวในอัตราสูงสุด ดังแผนภูมิตอไปนี้

ที่อยูอาศัย ผลการวิจัยมีดังนี้ การทดสอบการออกเสียง (mr) และ (ml) ของ ผูบอกภาษา 3 กลุม อายุทั้ง 25 คำ� และพิจารณารูปแปร ทีป่ รากฏเปนอัตราสูงสุดในแตละคำ� จะเห็นไดวา ในคำ�ที่ เปนเสียง (mr) ทั้ง12 คำ� ประชากรกลุมอายุ 15 - 25 ป ปรากฏรู ป แปร [ m r ] ซึ่ ง เป น รู ป แปรดั้ ง เดิ ม เพี ย ง 2 คำ� กลุมอายุ 35 - 45 ป ปรากฏรูปแปร[mr]จำ�นวน 7 คำ� สวนกลุม อายุ 55 ปขนึ้ ไปปรากฏรูปแปร[mr]ถึง 9 คำ� สำ�หรับคำ�ที่เปนเสียง (ml) ทั้ง 13 คำ� ประชากร กลุมอายุ 15 - 25 ปปรากฏรูปแปร[ml] ซึ่งเปน

แผนภูมิที่ 3 อัตราการปรากฏของรูปแปรของเสียง (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลา

60

54 .

42

อัตราการปรากฏ (รอยละ)

50

78

19 .

30

18 .

49

40

0. 19

10

1. 41

5. 71

20

รูปแปร

0

[ml] 1

[l] 2

[m] [ma-l] [bl] 3 4 5

ปจจัยทางสังคมกับการแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลา จากการศึกษาการแปรในการออกเสียง (mr ) และ (ml ) ในคำ�ที่ทดสอบทุกคำ�ของกลุมประชากร ตัวอยางที่มีความแตกตางกันในเรื่อง อายุ เพศ และถิ่น

[b] 6

รูปแปรดัง้ เดิมจำ�นวน 5 คำ� กลุม อายุ 35 - 45 ป ปรากฏ รูปแปร[ml]จำ�นวน 8 คำ� สวนกลุมอายุ 55 ปขึ้นไป ปรากฏรูปแปร[ml]ทั้ง 13 คำ� กลาวไดวาประชากร กลุม อายุ 55 ปขนึ้ ไป หรือประชากรวัยชรายังคงรักษาการ ออกเสียง (mr) และ (ml) แบบภาษาสงขลาดั้งเดิมไว

33


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

มากทีส่ ดุ และลดนอยลงในประชากรกลุม อายุ 35 - 45 ป หรือประชากรวัยผูใหญ สวนประชากรกลุมอายุ 15 - 25 ป ห รื อ ประชากรวัยรุน มีการเปลี่ยนแปลงในการออก เสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลาเปนเสียง พยัญชนะตนเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะแบบภาษาไทย มาตรฐานมากที่สุด ดานปจจัยเพศ จะเห็นไดวา คำ�ที่เปนเสียง (mr) ทั้ง 12 คำ� ประชากรเพศชายปรากฏรูปแปร[mr]ซึ่ง เปนรูปแปรดั้งเดิมจำ�นวน 4 คำ� สวนประชากรเพศหญิง ปรากฏรูปแปร[mr]จำ�นวน 6 คำ� สำ�หรับคำ�ทีเ่ ปนเสียง (ml) ทัง้ 13 คำ� ประชากรเพศชายปรากฏรูปแปร[ml] ซึ่งเปนรูปแปรดั้งเดิมจำ�นวน 8 คำ� สวนประชากรเพศ หญิงปรากฏ รูปแปร[ml]จำ�นวน 6 คำ� กลาวไดวา ประชากรเพศชายและเพศหญิงมีการเปลีย่ นแปลงในการ ออกเสียงพยัญชนะ ควบกล้ำ� (mr) และ (ml) ในอัตรา ที่ใกลเคียงกัน แตหากพิจารณาการออกเสียงในแตละ คำ�จะสังเกตไดวา ประชากรเพศชายมีแนวโนมที่จะเกิด การเปลี่ยนแปลงในการออกเสียง (mr) มากกวาเพศ หญิงสำ�หรับเสียงพยัญชนะควบกล้ำ� (ml ) ประชากร เพศหญิงมีแนวโนมทีจ่ ะเกิดการเปลีย่ นแปลงในการออก เสียง (ml) มากกวาเพศชาย สวนปจจัยถิ่นที่อยูอาศัย จะเห็นไดวา คำ�ที่เปน เสียง (mr) ทั้ง 12 คำ� ประชากรในชุมชนเมืองปรากฏ รูปแปร[mr]ซึ่งเปนรูปแปรดั้งเดิมจำ�นวน 2 คำ� สวน ประชากรในชุมชนชนบทปรากฏรูปแปร[mr]จำ�นวน 7 คำ� สำ�หรับคำ�ที่เปนเสียง (ml) ทั้ง 13 คำ� ประชากรใน ชุมชนเมืองปรากฏรูปแปร[ml]ซึ่งเปนรูปแปรดั้งเดิม จำ�นวน 6 คำ� สวนประชากรในชุมชนชนบทปรากฏ รูปแปร[ml] จำ�นวน 9 คำ� กลาวไดวาประชากรใน ชุมชนเมืองมีแนวโนมที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงในการ ออกเสียง (mr) และ (ml) ทัง้ 25 คำ� มากกวาประชากร ในชุมชนชนบท เมื่ อ วิ เ คราะห รู ป แปรในการออกเสี ย ง ( mr ) และ (ml) ทั้ง 25 คำ� ตามปจจัยอายุ เพศและถิ่นที่ อยูอาศัยรวมกัน พบวา การออกเสียง (mr) ในคำ�ทั้ง 12 คำ� คำ�วา โมฺระ/ mro?2/‘ไมสวย ไมงาม’ และ มฺรบั /mrap1/‘สำ�รับ’ เปนคำ�ทีผ่ บู อกภาษายังคงรักษา เสียงในแบบภาษาไทยถิ่นสงขลาแบบเดิมไวมากที่สุด

34

2​ สวนคำ�วา มฺรอบ/m​ r ​p​ /‘หมอบ’, แมฺร/m​r​E​1​/ ‘สะเก็ดแผล’และแมฺร็ด/ mrEt 1/‘หมด’ เปนคำ�ที่ ผูบอกภาษาออกเสียงเปลี่ยนแปลงเปนเสียงพยัญชนะ ตนเดี่ยวหรือเสียงตามแบบภาษาไทยมาตรฐานมาก ที่ สุ ด คำ � ทั้ ง 3 คำ � นี้ จึ ง เป น คำ � ที่ น  า จะสู ญ เสี ย เสี ย ง ควบกล้ำ�ไปในอนาคต สำ�หรับการออกเสียง (ml) ใน คำ�ทั้ง 13 คำ� คำ�วา เหมฺลอ /​m​l6​/‘เซอ’, มฺลัก / mlak 1/‘สำ�ลัก’, แมฺละ/ mlE? 2/‘ชำ�แหละ’, เมฺ ลื อ ง/ m ​l ​ a​N ​5 ​/ ‘เป น มั น ’ และเหมฺ ลื อ ก 6​ l​ a​k​ /‘เมือก’ เปนคำ�ที่ผูบอกภาษายังคงรักษา /m​ เสียงในแบบภาษาไทยถิ่นสงขลาแบบเดิมไวมากที่สุด และคำ�วา (ผัก) มฺลึ้ง / m​l N​1​/‘ตำ�ลึง’, แหมฺล็ด / mlEt 6/‘เมล็ด’, เหมฺละ/ mle? 6/‘มะลิ’และ หมฺลา /m​ l​ a​ 7​/‘ลา’ เปนคำ�ที่ผูบอกภาษาออกเสียง เปลี่ยนแปลงเปนเสียงพยัญชนะตนเดี่ยวหรือเสียงตาม แบบภาษาไทยมาตรฐานมากที่สุด จึงสันนิษฐานไดวา ในอนาคตคำ�เหลานี้นาจะเปนคำ�ที่สูญเสียเสียงควบกล้ำ� ไปเร็วกวาคำ�อื่นๆ การแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษา ไทยถิ่นสงขลาตามปจจัยทางสังคมแบบไมควบคุม ตัวแปร เมื่อผูวิจัยนำ�คาไคสแควรมาใชทดสอบหาความ สัมพัน ธระหวางตัว แปรภาษากับตั ว แปรสัง คมทั้ง 3 ตัวแปร ผลการศึกษาพบวา การแปรของเสียง (mr ) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลามีความสัมพันธกับ อายุของผูบ อกภาษา กลาวคือ กลุม วัยรุน วัยผูใ หญ และ วัยชรามีการออกเสียง (mr) และ (ml) แตกตางกันอยาง มีนยั สำ�คัญทางสถิตทิ รี่ ะดับความเชือ่ มัน่ 0.05 โดยวัยรุน จะออกเสียง (mr) และ (ml) แปรเปนเสียงพยัญชนะ ตนเดีย่ วหรือเสียงตามแบบภาษาไทยมาตรฐานมากกวา วัยผูใหญและวัยชรา ซึ่งเปนลักษณะที่แปรตามวัย กลาวคือประชากรวัยชราจะออกเสียง (mr) และ (ml) ตามแบบภาษาสงขลาดั้งเดิม ในขณะที่ประชากรวัย ผูใ หญและวัยรุน จะออกเสียงแปรเปนเสียงทีไ่ มมคี วบกล้ำ� ตามแบบภาษาไทยมาตรฐานในอัตราที่เพิ่มขึ้น ด า นความสั ม พั น ธ ร ะหว า งการแปรของเสี ย ง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลากับปจจัยเพศ พบวา การแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทย


การศึกษาการแปรของเสียง (mr) และ (ml​) อภิชญา แกว​อุทัย

ถิ่นสงขลาไมมีความสัมพันธกับเพศของผูพูด กลาว คือ ผูบอกภาษาเพศชายและเพศหญิงมีการออกเสียง (mr) และ (ml) แตกตางกันอยางไมมีนัยสำ�คัญทาง สถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 โดยคนที่มีเพศตางกันมี การเปลี่ยนแปลงใน การออกเสียง (mr) และ (ml) ที่ ไมแตกตางกัน ดังนั้นปจจัยเพศไมอาจเปนตัวแปรหรือ ตัวชี้ใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้ได สำ�หรับความสัมพันธระหวางการแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลากับปจจัยถิ่น ที่อยูอาศัย พบวา การแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิน่ สงขลามีความสัมพันธกบั ถิน่ ทีอ่ ยูอ าศัย ของผูพูด กลาวคือ ประชากรในชุมชนเมืองและชุมชน ชนบทมีการออกเสียง (mr) และ (ml) แตกตางกันอยาง มีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 โดย ประชากรในชุมชนเมืองมีการออกเสียง (mr ) และ (ml) เปลี่ยนแปลงเปนเสียงพยัญชนะตนเดี่ยวหรือ เสียงตามแบบภาษาไทยมาตรฐานมากกวาประชากรใน ชุมชนชนบท ทีย่ งั คงรักษาเอกลักษณของเสียงพยัญชนะ ควบกล้� ำ (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิน่ สงขลาดัง้ เดิม ไวไดอยางมั่นคง กลาวไดวาผลการศึกษาการแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลากับปจจัยทางสังคม โดยไมควบคุมตัวแปรอื่นนั้นพบวา ตัวแปรอายุและถิ่น ที่อยูอาศัยมีความสัมพันธกับการแปรของเสียง (mr ) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลาอยางมีนัยสำ�คัญทาง สถิติ สวนตัวแปรเพศมีความสัมพันธกับการแปรของ เสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิน่ สงขลาอยางไมมี นัยสำ�คัญทางสถิติหรืออาจกลาวไดวาตัวแปรเพศไมมี ความสัมพันธกับการแปรของเสียง (mr) และ (ml) ใน ภาษาไทยถิ่นสงขลา การแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษา ไทยถิ่ นสงขลาตามปจจัยทางสังคมแบบควบคุม ตัวแปร การวิเคราะหความสัมพันธระหวางการแปรของ เสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลากับปจจัย ทางสังคมเมื่อควบคุมตัวแปรอื่นๆ โดยเปรียบเทียบไป ตามกลุม ยอยทีส่ ดุ ทีม่ ตี วั แปรทางสังคม 2 ตัวแปรเทากัน ตางกันเฉพาะตัวแปรที่ศึกษา ผูวิจัยพบวาการแปรของ

เสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลาตามอายุ ของผูพูด เมื่อควบคุมตัวแปรเพศและถิ่นที่อยูอาศัย ตั ว แปรอายุ มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ การออกเสี ย ง ( mr ) เฉพาะในกลุมเพศชายในชุมชนชนบท และเพศหญิงใน ชุมชนชนบท พบวาวัยผูใหญและวัยชราทั้งเพศชาย และเพศหญิงในชุมชนชนบทยังคงรักษาเสียง[mr] ไวในอัตราสูงสุด ในทางกลับกันวัยรุนเพศชายและเพศ หญิงในชุมชนชนบทออกเสียง (mr) เปลี่ยนแปลงเปน เสียงพยัญชนะตนเดี่ยวหรือเสียงตามแบบภาษาไทย มาตรฐานมากที่สุด สำ�หรับเสียง (ml ) ตัวแปรอายุมี ความสัมพันธกบั การออกเสียง (ml) เฉพาะในกลุม เพศ ชายในชุมชนเมือง พบวากลุมวัยชราเพศชายในชุมชน เมืองยังคงรักษาเสียง[ml]ไวในอัตราสูงสุด และลด จำ�นวนลงในกลุมวัยผูใหญเพศชายในชุมชนเมือง สวน กลุม วัยรุน เพศชายในชุมชนเมืองออกเสียง (ml) เปลีย่ น แปลงเปนเสียงพยัญชนะตนเดี่ยว หรือเสียงตามแบบ ภาษาไทยมาตรฐานมากที่สุด สำ�หรับการแปรของเสียง (mr ) และ (ml ) ในภาษาไทยถิ่นสงขลาตามเพศของผูพูด เมื่อควบคุม ตัวแปรอายุและถิ่นที่อยูอาศัย พบวาตัวแปรเพศไมมี ความสัมพันธกบั การออกเสียง (mr)ของผูพ ดู สวนเสียง (ml) ตัวแปรเพศมีความสัมพันธกบั การออกเสียง (ml) เฉพาะในกลุมวัยผูใหญในชุมชนเมือง ซึ่งพบวากลุมวัย ผูใหญในชุมชนเมืองเพศหญิงยังคงรักษาเสียง[ml] ไวในอัตราสูงสุด ในทางกลับกันกลุมวัยผูใหญในชุมชน เมืองเพศชายออกเสียง (ml ) เปลี่ยนแปลงเปนเสียง พยัญชนะตนเดี่ยว [l] หรือเสียงตามแบบภาษาไทย มาตรฐานถึงครึ่งหนึ่ง คือ รอยละ 50 สวนการแปรของเสียง (mr) และ (ml) ใน ภาษาไทยถิ่นสงขลาตามถิ่นที่อยูอาศัยของผูพูดเมื่อ ควบคุมตัวแปรเพศและอายุ พบวาถิน่ ทีอ่ ยูอ าศัยมีความ สัมพันธกับการออกเสียง (mr) เฉพาะในกลุมเพศชาย วัยผูใหญและกลุมเพศหญิงวัยผูใหญ กลาวคือ กลุม เพศชายและเพศหญิงวัยผูใหญที่อยูในชุมชนชนบทยัง คงรักษาเสียง[mr]ไวในอัตราสูงสุด ในทางกลับกัน กลุมเพศชายและเพศหญิงวัยผูใหญที่อยูในชุมชนเมือง ออกเสียง (mr ) เปลี่ยนแปลงเปนเสียงพยัญชนะตน เดีย่ ว [m] หรือเสียงตามแบบภาษาไทยมาตรฐานมาก

35


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ที่สุด สำ�หรับเสียง (ml) ตัวแปรถิ่นที่อยูอาศัยมีความ สัมพันธกับการออกเสียง (ml) เฉพาะในกลุมเพศชาย วัยรุนและกลุมเพศชายวัยผูใหญ พบวากลุมเพศชายวัย รุนและกลุมเพศชายวัยผูใหญที่อยูในชุมชนชนบทยังคง รักษาเสียง[ml]ไวในอัตราสูงสุด ในทางกลับกันการ ออกเสียง (ml) เกิดการเปลี่ยนแปลงอยางมากในกลุม เพศชายวัยรุน และเพศชายวัยผูใ หญทอี่ ยูใ นชุมชนเมือง อภิปรายผลการวิจัย ผลการศึ ก ษาการแปรของเสี ย ง ( mr ) และ (ml ) ในภาษาไทยถิ่นสงขลาเปนการแปรที่มีความ สัมพันธกบั ปจจัยทางสังคม ไดแก อายุ และถิน่ ทีอ่ ยูอ าศัย สวนปจจัยเพศไมมีความสัมพันธกับการแปรทางภาษา ดังกลาว ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานบางสวน กลาวคือ ผูวิจัยตั้งสมมติฐานวาปจจัยทางสังคม ไดแก เพศ อายุ และถิ่นที่อยูอ าศัย มีความสัมพันธหรือมีอิทธิพลตอการ แปรของเสียงพยัญชนะตนควบกล้ำ� (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลา ทั้งนี้ผลการศึกษาพบวา ปจจัย เพศไมมีความสัมพันธกับการแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลา เพราะกลุมประชากรเพศ ชายและเพศหญิงมีการใชรูปแปรตางๆ ของเสียง (mr) และ (ml) ในลักษณะทีไ่ มแตกตางกัน ซึ่งผลการศึกษา นี้ไมสอดรับกับแนวคิดของนักภาษาศาสตรสังคม เชน โรเมน (Romaine 1978 : 155 อางถึงใน อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ 2544 : 49) กลาววา การจำ�แนกให แตกตางกันโดยเพศในภาษามีบทบาทสำ�คัญในกลไก การเปลีย่ นแปลงของภาษา และโดยสวนใหญแลวผูห ญิง มีสวนสำ�คัญในการริเริ่มใหมีการเปลี่ยนแปลง หรือสาน ตอใหเปลี่ยนแปลง หรืองานวิจัยของปาลีรัฐ ทรัพยปรุง (2537) ทีศ่ กึ ษาการแปรของเสียง (h)) ในภาษาถิน่ สงขลา เขตชุมชนเมืองตามปจจัยทางสังคม พบวาเพศหญิง อายุระหวาง 31 - 40 ป ทุกระดับการศึกษาในจังหวัด สงขลา ใชเสียง [N] เปนเสียงพยัญชนะตนในคำ�ที่ภาษา ไทยกรุงเทพฯใชอักษร < ง > ถือวาเปนเสียงที่ศักดิ์ศรี (prestige) มากกวาเพศชายที่อายุเทากันและระดับการ ศึกษาเดียวกัน ซึ่งใชเสียงตนแบบ คือ [h)] แตผลการ ศึกษาการแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทย ถิ่นสงขลากับปจจัยเพศในครั้งนี้สอดคลองกับผลการ

36

ศึกษาของนักวิจัยหลายทาน เชน เพ็ ญ พร ตั น วั ฒ นานั น ท (2525) ศึ ก ษาการ เปลี่ ย นแปลงเสี ย งพยั ญ ชนะต น กั ก สิ ถิ ล ในภาษาถิ่ น เชี ย งใหม พบว า เพศของผู  บ อกภาษาไม มี ค วาม สัมพันธกับการเปลี่ยนแปลงของเสียงพยัญชนะตนดัง กลาว หรืองานวิจัยของ อังสนา จามิกรณ (2532) ศึกษา การแปรในการออกเสียงพยัญชนะทายของคำ�ยืมภาษา อังกฤษที่ลงทายดวยเสียงเสียดแทรก – ปุมเหงือก : กรณีศึกษาของขาราชการกองทัพเรือไทย พบวาการ แปรของ (s ) ตามตัวแปรเพศโดยไมควบคุมตัวแปร อื่ น ๆ ตั ว แปรเพศไม มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ การใช เ สี ย ง [s] แตเมื่อควบคุมตัวแปรอายุและการไปตางประเทศ พบวาตัวแปรเพศมีความสัมพันธกับการใชเสียง [s ] ในกลุ  ม ข า ราชการกองทั พ เรื อ ที่ มี อ ายุ ม ากและที่ เ คย ไปตางประเทศเทานั้น จึงกลาวไดวาแมปจจัยเพศจะ ไมมีความสัมพันธกับการแปรของเสียง (mr ) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลา แตปจจัยเพศก็มีความ สัมพันธกับงานวิจัยในประเด็นอื่นๆ และผูที่สนใจจะ ศึกษาทางดานภาษาศาสตรสังคมก็ไมควรที่จะละทิ้ง การนำ�ปจจัยเพศมาใชในการศึกษา เพราะการวิจัยใน บางเรื่ อ งป จ จั ย เพศอาจมี ส  ว นสำ � คั ญ อย า งยิ่ ง ต อ การ เปลี่ยนแปลงหรือการเลือกใชภาษาของคน การนำ�ปจจัยอายุ ถิ่นที่อยูอาศัยและเพศเขามา พิจารณาในการศึกษาการแปรของภาษา นอกจากจะ ทำ�ใหเห็นความหลากหลายในการใชภาษาของคนตาง วัย ตางถิ่นที่อยูอาศัย และความหลายหลายในการ ใชภาษาของคนตางเพศกันแลว การแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิน่ สงขลายังเปนปจจัยสำ�คัญ ที่ แสดงใหเห็นแนวโนมของการเปลีย่ นแปลงดานเสียงของ ภาษาที่กำ�ลังดำ�เนินอยู (Sound change in progress) กระบวนการเปลี่ย นแปลงดานเสีย งในภาษาไทยถิ่น สงขลาที่กำ�ลังดำ�เนินอยู คือ การแปรของการออกเสียง (mr) และ (ml) ซึ่งเปนเสียงควบกล้ำ�ดั้งเดิมในภาษา ไทยถิ่นสงขลา เมื่อพิจารณาการใชรูปแปรของเสียง (mr) และ (ml) ของประชากรวัยชรา วัยผูใหญ และ วัยรุน จะเห็นวาประชากรวัยชราเปนกลุม ประชากรทีย่ งั คงรักษาการออกเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิน่ สงขลาเปนเสียง [mr]และ[ml] ซึง่ เปนลักษณะการ


การศึกษาการแปรของเสียง (mr) และ (ml​) อภิชญา แกว​อุทัย

ออกเสียงดั้งเดิมในภาษาไทยถิ่นสงขลาไวไดมากที่สุด ในขณะที่ประชากรวัยผูใหญและวัยรุนมีการออกเสียง (mr) และ (ml) เปนเสียงพยัญชนะตนเดี่ยวหรือเสียง ตามแบบภาษาไทยมาตรฐานมากกวาประชากรวัยชรา เมื่ อ พิ จ ารณาความสั ม พั น ธ ข องตั ว แปรถิ่ น ที่ อยูอาศัยกับตัวแปรภาษา ก็จะพบวาประชากรในชุมชน เมืองมีการเปลีย่ นแปลงในการออกเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลา เปนเสียงตามแบบภาษาไทย มาตรฐานมากกวาประชากรในชุมชนชนบท ลักษณะ การออกเสียงดังกลาวมานีแ้ สดงใหเห็นวา การออกเสียง พยัญชนะควบกล้ำ� (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่น สงขลามีแนวโนมที่จะเปลี่ยนแปลงไป หากพิจารณาเปรียบเทียบภาษาของประชากร วัยชราเปนตัวแทนภาษาในอดีต ภาษาของประชากร วั ย ผู  ใ หญ เ ป น ตั ว แทนภาษาในป จ จุ บั น และภาษา ของประชากรวัยรุนเปนตัวแทนภาษาในอนาคต การ เปลี่ยนแปลงการออกเสียง (mr) และ (ml) ในภาษา ไทยถิ่นสงขลามีแนวโนมที่จะเกิดขึ้นกับกลุมประชากร วัยรุนมากกวาวัยผูใหญและวัยชรา โดยเฉพาะกลุม ประชากรวัยรุนที่อาศัยอยูในชุมชนเมือง ทั้งนี้เพราะ วัยรุนเปนวัยที่ตื่นเตนกับการเปลี่ยนแปลงพรอมเสมอที่ จะรับสิง่ ใหมๆเขามาใชในภาษาพูดของตน วัยนีเ้ ปนวัยที่ ไวตอการรับคำ�ใหม เปนวัยที่เปนผูนำ�การเปลี่ยนแปลง ของภาษา (สุวฒ ั นา เลีย่ มประวัติ 2551 : 23) และสภาพ ชุมชนเมือง เปนชุมชนที่มีการเจริญเติบโตและมีการ ขยายตัว เปนสภาพที่เอื้ออำ�นวยใหมีการเปลี่ยนแปลง ทางภาษา ทำ�ใหปรากฏการณของการเปลี่ยนแปลงนี้มี ลักษณะทวีคณ ู อีกทัง้ เมือ่ ประชากรวัยผูใ หญและวัยชรา เสียชีวติ รูปแบบการใชภาษาของประชากรวัยผูใ หญและ วัยชราก็จะถูกเลิกใช คงเหลือแตภาษาของวัยรุนและ วัยเด็กเทานั้น อาจเปนไปไดวาในอนาคตการออกเสียง พยัญชนะควบกล้ำ� (mr) และ (ml) แบบภาษาไทยถิ่น สงขลาดัง้ เดิมจะมีใชนอ ยลงเรือ่ ยๆ จนในทีส่ ดุ อาจหายไป หรือไมปรากฏใช เพราะผูพ ดู ภาษาไทยถิน่ สงขลาเปลีย่ น มาใชหนวยเสียงพยัญชนะตนเดี่ยวหรือเสียงตามแบบ ภาษาไทยมาตรฐานแทน อยางไรก็ตามปรากฏการณการเปลีย่ นแปลงของ เสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลาไมไดเกิด

ขึน้ อยางงายดายรวดเร็ว และไมอาจรูช ดั เจนวาคำ�ใดจะมี การเปลีย่ นแปลงเสียงพยัญชนะตนเมือ่ ใด แตผลการวิจยั ครั้งนี้ สามารถมองเห็นแนวโนมของการเปลี่ยนแปลง หรือสามารถทำ�นายแนวโนมของการเปลี่ยนแปลงของ เสียง (mr) และ (ml) ไดวา คำ�ใดที่กลุมประชากรยัง คงรักษาการออกเสียงในแบบภาษาสงขลาดั้งเดิมอยู และคำ�ใดกำ�ลังจะสูญเสียเสียงควบกล้ำ�ไป อนึ่งจากการพิจารณาการออกเสียง (mr) และ (ml) ทั้ง 25 คำ� ของกลุมตัวอยางตามปจจัยทางสังคม ทั้ง อายุ เพศ และถิ่นที่อยูอาศัย พบวา คำ�วา โมฺระ 2​ 1​ /m​ r​ o​ ?​ /‘ไมสวย ไมงาม’, มฺรับ/m​ r​ a​ p​ /‘สำ�รับ’, 1​ เหมฺลอ/ m​l ​  6​/‘เซอ’, มฺลัก/​ m​ l​ a​ k​ /‘สำ�ลัก’, ​ 2 แมฺละ/ m​l ​E ​? ​/‘ชำ�แหละ’, เมฺลือง / m​l ​ a​N ​5​ /‘เปนมัน’และเหมฺลือก/ m​l ​a​k ​6​/‘เมือก’ เปนคำ� ที่ ผู  บ อกภาษายั ง คงรั ก ษาเสี ย ง ในแบบภาษาไทย ถิ่นสงขลาดั้งเดิมไวมากที่สุด เนื่องดวย คำ�วา โมฺระ /m​ ro ​? ​2​​/‘ไมสวย ไมงาม’, เหมฺลอ /m​ l ​6​/‘เซอ’, ​ เมฺลอื ง /m​l​​a​N5​/‘เปนมัน’และเหมฺลอื ก/m​ l ​ a​k6​/ ‘เมือก’ เปนคำ�พยางคเดียวที่มีใชเฉพาะในภาษาไทย ถิ่นใต ไมไดตัดคำ�หรือกลมกลืนเสียงมาจากภาษาไทย มาตรฐาน และเปนคำ�ที่ใชในชีวิตประจำ�วันของชาว สงขลาแม บ างคำ � จะมี คำ � พยางค เ ดี ย วในภาษาไทย มาตรฐานใหเลือกใชก็ตาม สวนคำ�วา มฺรับ/mrap1/ ‘สำ�รับ’, มฺลกั /mlak1/‘สำ�ลัก’ และ แมฺละ/mlE?2/ ‘ชำ�แหละ’ เปนคำ�ที่ในภาษาไทยมาตรฐานใชเปนคำ� 2 พยางค และไมพบการใชบอ ยในชีวติ ประจำ�วัน อีกทัง้ ลีลาการพูดของชาวไทยถิ่นใตสวนใหญมีลักษณะหวน และหวนสั้น การใชคำ�ที่หวนสั้นเปนนิสัยเปนเหตุใหเกิด การตัดพยางคของคำ�หลายพยางคที่ไดรับอิทธิพลมา จากภาษามาตรฐานทำ � ให เ ป น คำ � ที่ มี จำ � นวนพยางค นอยลง ดวยเหตุนี้จึงสงผลใหผูพูดภาษาไทยถิ่นสงขลา ยังคงรักษาการออกเสียงควบกล้ำ�ในแบบภาษาสงขลา ดั้งเดิมไว สวนคำ�วา มฺรอบ/ m​r ​ p​2/‘หมอบ’, แมฺร /m​r​E​1​/‘สะเก็ดแผล’, แมฺร็ด/​m​r​E​t​1​/ ‘หมด’, (ผัก)มฺลึ้ง/ m​l ​ N​1/‘ตำ�ลึง’, แหมฺล็ด/ m​l ​E ​t ​6​/ ‘เมล็ด’, เหมฺละ/m​ lE ​t ​6​​/‘มะลิ’ และหมฺลา /m​ la ​ ​7​/ ‘ล า ’ เป น คำ � ที่ ป ระชากรออกเสี ย งเปลี่ ย นแปลงเป น

37


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

เสียงพยัญชนะตนเดี่ยวหรือเสียงตามแบบภาษาไทย มาตรฐานมากที่สุด เนื่องจากคำ�ในภาษาไทยมาตรฐาน เขามามีอิทธิพลเปนอยางมากในชีวิตประจำ�วันของชาว สงขลา จึงสงผลใหผูพูดภาษาไทยถิ่นสงขลาเลือกใช รูปแปรตามแบบภาษาไทยมาตรฐานแทนรูปแปรที่เปน เสียงควบกล้� ำ (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิน่ สงขลาดัง้ เดิมเปนจำ�นวนมากที่สุดในคำ�เหลานี้ ผูวิจัยสันนิษฐาน ว า ในอนาคตคำ � ดั ง กล า วน า จะเป น คำ � ที่ สู ญ เสี ย เสี ย ง ควบกล้ำ�เร็วกวาคำ�อื่นๆ อยางไรก็ตามแมการออกเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลามีแนวโนมที่จะเปลี่ยนแปลงไป แตเมือ่ พิจารณาการออกเสียงคำ�ในแตละคำ�จะเห็นไดวา คำ�บางคำ�ประชากรยังคงรักษาเสียงดั้งเดิมอยูแตคำ� บางคำ�กำ�ลังจะสูญเสียเสียงควบกล้ำ� การเปลี่ยนแปลงของเสียง (mr) และ (ml) ใน ภาษาไทยถิ่นสงขลาที่เกิดขึ้นทั้ง 25 คำ�นั้น นอกจาก การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการนำ�เสียงในภาษาไทย มาตรฐานมาใชแทนเสียงในภาษาสงขลาแบบเดิม หรือ การตัดพยางคของคำ�หลายพยางคที่ไดรับอิทธิพลมา จากภาษามาตรฐานทำ � ให เ ป น คำ � ที่ มี จำ � นวนพยางค นอยลงแลว จะสังเกตไดวาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กับเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลายัง เปนการเปลี่ยนแปลงจากภายใน (internal change) กลาวคือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากกลไกและกระบวน การอื่นๆ ที่มิใชอิทธิพลของภาษาตางประเทศ และจัด อยูในประเภท การเปลี่ยนแปลงดานเสียงพยัญชนะ ซึ่ง เปนการสูญเสียง (sound loss, deletion, reduction, phonetic decay) คือการทีห่ นวยเสียงใดหนวยเสียงหนึง่ หรือทั้งกลุมของหนวยเสียงพยัญชนะบางเสียงบางกลุม สูญไป โดยอาจสูญในตำ�แหนงตนคำ� กลางคำ� หรือทาย คำ�ก็ได (สุวฒ ั นา เลีย่ มประวัติ 2551: 27-28) ดังนัน้ การ สูญเสียงพยัญชนะของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษา

38

ไทยถิ่นสงขลามีทั้งการสูญเสียงควบกล้ำ�เสียงที่ 2 หรือ สูญเสียงควบกล้ำ�เสียงที่ 1 เชน การออกเสียงคำ�บางคำ� ของผูบ อกภาษาบางคน เสียง /m/ จะสูญไป หรือบางคำ� เสียง /r/, /l/สูญไป เชน เหมฺลอ /m​ l​ 6​/ ‘เซอ’ ผูบอกภาษาโดยเฉพาะกลุมวัยรุนมักจะออกเสียง 6/ ซึง่ เกิดการสูญเสียงที่ 2 คือ /l/ คำ�วา เปน /m​ ​l ​a ​ ​7​/‘ลา’ ผูบ  อกภาษามักจะออกเสียงเปน หมฺลา /m 7​ /l​ a ​ / ตามเสียงในภาษาไทยมาตรฐาน ซึ่งเกิดการ สูญเสียงที่ 1 คือ /m/ เปนตน ขอเสนอแนะ ผู  วิ จั ย เห็ น ว า ยั ง มี ป ระเด็ น อื่ น ๆที่ น  า สนใจและ สามารถนำ�มาศึกษาไดในโอกาสตอไป ดังนี้ 1. ศึกษาการแปรของเสียง/br/และ/bl/ ซึ่งเปนเสียงพยัญชนะตนควบกล้ำ�ในภาษาตากใบ วามี การเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร 2. ศึกษาการแปรของเสียงพยัญชนะอื่นๆ เชน เสียง/str/ /?j/ หรือเสียง /f/ ในภาษาไทย มาตรฐานทีภ่ าษาไทยถิน่ ใตใชเปนเสียง/kw/วามีการ เปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร 3. ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บการแปรของเสี ย ง พยั ญ ชนะต น ควบกล้ำ � ระหว า งภาษาไทยถิ่ น ใต ใ น ประเทศไทยกับภาษาไทยถิ่นใตที่พูดกันทางตอนเหนือ ของประเทศมาเลเซียโดยเฉพาะในรัฐกลันตัน ไทรบุรี และปะลิส ซึ่งเปนรัฐที่มีผูพูดภาษาไทยถิ่นใตอยูเปน จำ�นวนมาก 4. ศึ ก ษาพั ฒ นาการของเสี ย งพยั ญ ชนะต น ควบกล้ำ� ในภาษาไทยถิ่ น ใต โ ดยใช วิ ธี ก ารทางภาษา ศาสตรเชิงประวัติ เพราะเปนประเด็นทีน่ า สนใจวาเหตุใด เสียงพยัญชนะควบกล้ำ�ในภาษาไทยถิ่นใตจึงมีมากกวา ถิน่ อืน่ ๆ และบางเสียงทีป่ รากฏในภาษาไทดัง้ เดิมจึงหลง เหลืออยูในภาษาไทยถิ่นใตเทานั้น


การศึกษาการแปรของเสียง (mr) และ (ml​) อภิชญา แกว​อุทัย

บรรณานุกรม ภาษาไทย กรมการปกครองจังหวัดสงขลา. (2550). ขอมูลประชากรและบาน. สงขลา: ศาลากลางจังหวัด. กรรณานุช ณ ถลาง. (2531). พยัญชนะควบกล้�ำ ในตำ�นานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ฉันทัส ทองชวย. (2532). รายการคำ�สำ�หรับสำ�รวจเสียงและระบบเสียงภาษาไทยถิ่นใต. สงขลา: ภาควิชา ภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา. _____________. (2534). ภาษาและอักษรถิ่น (เนนภาคใต). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. _____________. (2536). ภาษาและวัฒนธรรมภาคใต. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร. ณัฐวุฒ ิ พงศจนั ทรเสถียร. (2539). การแปรของสระสูงในภาษาสงขลาตามตัวแปรทางสังคม. วิทยานิพนธปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ธีระพันธ ล.ทองคำ�. (2521). แบบสอบถามสำ�หรับสำ�รวจเสียงและระบบเสียงในภาษาไทยถิ่นใต. โครงการ วิจัยภาษาไทยและภาษพื้นเมืองถิ่นตางๆ สถาบันภาษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. _______________. (2529). วิจัยภาคสนามทางภาษาศาสตร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บุปผาชาติ เรืองกูล. (2543). การศึกษาเปรียบเทียบการแปรของเสียงสระสูงในภาษาไทถิ่นไทรบุรีกับภาษา ไทยถิน่ สงขลาของผูพ ดู ทีม่ อี ายุตา งกัน. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. ประภาพรรณ เสณีตนั ติกลุ . (2528). การศึกษาเรือ่ งศัพทภาษาไทยถิน่ ใตจงั หวัดสุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช และสงขลา. วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปาลีรัฐ ทรัพยปรุง. (2537). การแปรของเสียง (h)) ในภาษาถิ่นสงขลา เขตชุมชนเมืองตามปจจัยทางสังคม. วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปราณี กุลละวณิชย และคณะ. (2535). ภาษาทัศนา. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: วัฒนชัยการพิมพ. เปรมจิต ชนะวงศ. (2545). ภาษาไทยถิ่นใต. พิมพครั้งที่ 2. นครศรีธ​ รรมราช: คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช. เพ็ญพร ตันวัฒนานันท. (2525). การเปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะตนกักสิถิลในภาษาถิ่นเชียงใหมกับ ตัวแปรทางสังคมบางประการ. วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาตรมหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. เรืองเดช ปนเขื่อนขัติย. (2531). ภาษาถิ่นตระกูลไทย. พิมพครั้งที่ 2. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. วิจินตน ฉันทะวิบูลย. (2499). ความแตกตางระหวางภาษากรุงเทพฯและภาษาสงขลา. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต ภาควิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิไลลักษณ เล็กศิริรัตน. (2539). สำ�นวนถิ่นใต : ความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรม. สงขลา: สถาบัน ราชภัฏสงขลา. วิไลวรรณ ขนิษฐานันท. (2526). ภาษาศาสตรเชิงประวัติ : วิวฒ ั นาการภาษาไทยและภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2525). พจนานุกรมภาษาถิ่นใต 2525. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ.

39


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

สมทรง บุรุษพัฒน. (2543). ภูมิศาสตรภาษาถิ่น. กรุงเทพฯ: เอกพิมพไทจำ�กัด. สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2534). สังคมวิทยาชุมชน : หลักการศึกษา วิเคราะห และปฏิบัติงานชุมชน. ขอนแกน: โรงพิมพมหาวิทยาลัยขอนแกน. สุจนิ แกวกลม. (2539). การแปรของการออกเสียงหนวยเสียงพยัญชนะตนระเบิดไมกอ งมีลมของผูพ ดู ภาษา ถิ่นพัทลุงที่มีอายุตางกัน. วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร. สุภาพ ขวัญฤทธิ์. (2530). ภาษาไทยถิ่นที่ใชในปจจุบัน จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา. สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ. (2545). เสียงและระบบเสียงภาษาไทย. นครปฐม: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ. (2551). การศึกษาภาษาถิ่น: ภาษาตระกูลไท. นครปฐม: โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร. สำ�นักงานจังหวัดสงขลา. (2550). ขอมูลจังหวัดสงขลาป 2550. สงขลา: สำ�นักงานจังหวัดสงขลา ศาลากลางจังหวัด. สำ�นักงานสถิติจังหวัดสงขลา. (2549). สถิติการโยกยายของประชากร. สงขลา: ศาลากลางจังหวัด. อภิชญา แกวอุทัย. (2551). การศึกษาการแปรของเสียง (mr) และ (ml) ในภาษาไทยถิ่นสงขลาตามปจจัย ทางสังคม. วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร. อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ. (2532). คำ�จำ�กัดความศัพทในภาษาศาสตรสังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. _________________. (2544). ภาษาศาสตรสงั คม. พิมพครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย. _________________. (2549). กวาจะเปนนักภาษาศาสตร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อัครา บุญทิพย. (2535). ภาษาถิ่นใต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางเขน. อังสนา จามิกรณ. (2532). การแปรในการออกเสียงพยัญชนะทายของคำ�ยืมภาษาอังกฤษที่ลงทายดวยเสียง เสียดแทรกปุมเหงือก : กรณีศึกษาของขาราชการกองทับเรีอไทย. วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อุดม หนูทอง และสืบพงศ ธรรมชาติ. (2547). คุยภาษาหาสารเลม 1-2. นครศรีธรรมราช: โรงพิมพไทม พริ้นติ้ง. ภาษาตางประเทศ Brown, Marvin J. (1965). From ancient Thai to modern dialects. Bangkok: Social Science Association Press of Thailand. Li, Fang Kuei. (1977). A Handbook of comparative Tai. Hawaii: University Press.

40


กวามโตเมืองไทยโซง Kwam To Muang Tai Song ทวี สวางปญญางกูร 1 Thawi Swangpanyangkoon บทคัด​ยอ​ บทความนีเ้ สนอคำ�แปลเปนไทยและเวียดนาม ตอนแรกของตำ�นานกวามโตเมืองฉบับภาษาไทยโซง (หรือลาว โซง) กับการพิมพภาษาไทยโซงดวยฟอนตคอมพิวเตอรทผี่ เู ขียนสรางขึน้ เองเปนครัง้ แรกในประเทศไทย ซึง่ วางอักษร ตามแปนภาษาไทย พรอมคำ�ถายถอดเสียงอาน ดวยสัทอักษรสากล IPA ชาวไทยโซงคือ เชือ้ สายชาวไทดำ� ซึง่ บรรพชนไดตดิ ตามกองทัพสยาม จากสิบสองจุไท ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ประเทศเวียดนาม เขามาอยูเมืองสยามเมื่อสองรอยกวาปมาแลว ชนชาติไทดำ�เปนกลุม ชนทีพ่ ดู ภาษาตระกูลไทกลุม หนึง่ ในประเทศเวียดนาม ตัง้ ถิน่ ฐานอยูใ นจังหวัดเดีย่ นเบียน และจังหวัดเซินลา เปนสวนมาก ในเวียดนาม ไดมีการรวบรวมเรื่องกวามโตเมืองไดประมาณ 30 กวาสำ�นวน ในการแปลกวามโตเมืองฉบับไทยโซงครั้งนี้ ผูเขียนไดรับคำ�ปรึกษาจากดร.หวางเลือง ผูทรงคุณวุฒิชาวไทใน เวียดนามและอาจารยชวลิต อารยุติธรรม นักวิชาการชาวไทยโซง อำ�เภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ดานคำ�อานผูเขียนใชสัทอักษรระบบเสียงของวิศรุต สุวรรณวิเวก จากวิทยานิพนธมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศิลปากร ป พ.ศ. 2524 อยางไรก็ดี หากมีขอบกพรองก็เปนของผูเขียนเองคนเดียว ฟอนตภาษาไทดำ� ภาษาเวียดนาม และ IPA ที่ใชในบทความนี้เปนผลงานออกแบบสวนตัวของผูเขียนเชนกัน คำ�สำ�คัญ: 1. ภาษาไทยโซง. 2. ประวัติชนชาติไทยโซง. 3. ภาษาไทดำ�.

__________________ 1 นักวิชาการอิสระ อดีตอาจารยพิเศษ โครงการลานนาปริญญาโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม และผูสรางฟอนตไทยโซง แปล และพิมพ


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

Abstract This article presents the translation into Thai and Vietnamese of the first section of the famous Tai Song (or Lao Song) chronicle “Kwam To Muang” typed with a computer font created by the author, Thailand’s first invention for a Thai keyboard layout. It also provides a phonetic transcription with IPA. . The Tai Song are the descendants of Black Tai people the Siamese troops brought to Siam from Sip Song Chu Thai, Northwestern Vietnam more than two centuries ago. Tai Dam or Black Tai are one of the Tai groups in Vietnam who speak a dialect of the Tai languages family, living mostly in Dien Bien and Son La provinces. In Vietnam, they have already collected more than 30 different versions of this Kwam To Muang. Hoang Luong, a Vietnamese scholar of Tai origin and Acharn Chavalit Arayayutitham, a Tai Song expert from Nakornpathom, Thailand, gave their valuable assistance with this translating work. For any imperfections that may exist, however, the responsibility is this author’s. For the phonetic transcription, the author follows Visarute Suvannavivak’s system as seen in his MA Thesis (Silpakorn University,1981.) The Vietnamese and IPA fonts used in this article were created by the author. Keywords : 1. Tai Song language. 2. Black Tai language. 3. Tai Song history.

42


กวาม​โต​เมือง​ไทย​โซง ทวี สวาง​ปญญา​งกูร

ความนำ� กวามโตเมือง สะกดตามเสียงอาน 8;k,Fmg,\ /kwa:m2 to2 mUaG2/ เปนตำ�นานของชนชาติไทดำ� ในเขตพายัพประเทศเวียดนาม ซึ่งตามประเพณีดั้งเดิมนั้น ใชอานเฉพาะในคืนสุดทายของงานศพกอนเผาและอาน หลังเที่ยงคืนเทานั้น ประเพณีหามไมใหอานเวลาอื่นและโอกาสอื่น วรรณคดีอันล้ำ�คาชิ้นนี้ จึงไมแพรหลายเทาที่ควร 8;k, “กวาม” หมายถึง “เรื่อง Fm “โต” เขียนดวย “ต” อักษรต่ำ�แปลวา “เลาเรื่อง” เสียงอานไมมีลม การ สะกดเปน “โ ท”ไมตรงนักเพราะ “ท ทหาร” เปนเสียงมีลม สวน F9 /to1/ ใช “ต เตา” เสียงสูง แปลวา “ตัว” เชน F9 <k “โตมา” แปลวา “ตัวหมา” wm “ไต” ก็เชนเดียวกัน ใชพยัญชนะ m “ตอ” อักษรต่ำ� ซึ่งไทยสยามไมมี มีแต “ต เตา” ตนฉบับที่ใชแปลนี้ เปนเอกสารถายสำ�เนา ไมทราบชื่อผูแตงและชื่อผูคัดลอก ไมทราบวันเดือนปที่คัดลอก มี เพียงคำ�วา “ของหนองซอ” เขียนไวที่หนาแรก หนองซอเปนหมูบานแหงหนึ่งของอำ�เภอเขายอย ในจังหวัดเพชรบุรี เรื่องเขียนบนสมุดกระดาษ ขนาด 10 x 32 เซ็นติเมตร สิบกวาปกอนนี้ มีผูรูชาวโซงคนหนึ่งจากเพชรบุรี ชื่อนายฮอย ไดสงเรื่องกวามโตเมืองฉบับอักษรโซงเรื่องนี้ ไปใหศนู ยไทศึกษาของชาวไทดำ�อพยพในรัฐไอโอวา สหรัฐอเมริกา ตอมาในป ค.ศ.1999 ศูนยฯ ไดตพี มิ เ ปนเลม ตัง้ ชือ่ ภาษาไทดำ�วา “กวามโตใหญ กวามไตปศู กึ ” (The great tale and the Odyssey of the war lords) แตไมไดพมิ พดว ย อักษรโซงตามตนฉบับจากเมืองไทย กลับพิมพใหมดว ยอักษรไทดำ�ในเวียดนามโดยใชฟอนตแบบ DOS ของ ศูนยฯ ผูเขียนไดเทียบแลว เห็นวาฉบับของผูเขียนกับของรัฐไอโอวา เปนเอกสารเรื่องเดียวกัน และทาง​รัฐไอโอวา ไดแกไขบางในบางตอน เนือ่ งจากเรือ่ งกวามโตเมืองนีม้ คี วามยาวพอสมควร ผูเ ขียนขอเสนอตอนแรกเทานัน้ แลวคอยคิดหาทางนำ�เสนอ ตอนตอมา เพิ่มเติมในภายหลัง กวามโตเมืองฉบับไทยโซงเรือ่ งนีเ้ ริม่ ตนดวยการเลานิทานเรือ่ งฟาดินของไทดำ� เรือ่ งกำ�เนิดของมนุษย เกีย่ วกับ ตนกำ�เนิดของไทดำ�นัน้ ตำ�นานเลาวาแถนหลวงไดสง ทาวสวงและทาวเงินลงมาเมืองโอม เมืองอายแลวลงตอทีเ่ มืองลอ (จังหวัดเหงียโหลในเวียดนาม) จากเมืองลอคนไทก็บุกเบิกตอไปทางตะวันตก คอนหนึ่งไดเลาถึงปูเจาลางเจือง สุดทายไปถึงเมืองแถงแลวตั้งหลักอยูที่เมืองหมวย กวามโตเมืองไทยโซงฉบับทีแ่ ปลนี้ มีอายุเกาแกพอสมควร เพราะมีตวั อักษรหลายตัวทีไ่ มพบในแบบเรียนหรือ วิทยานิพนธสมัยนี้ ยังมีราชาศัพทภาษาเวียดนามซึ่งเขาใจยาก กับพระนามจักรพรรดิเวียดนามหลายพระ​องค การ สะกดบางคำ� ก็แปลกจากปจจุบันบาง มองในภาพรวมแลว กวามโตเมืองถือไดวาเปนวรรณคดีชิ้นเอกของไทยโซง ในประเทศไทย สมควรไดรับการศึกษาเผยแพร บทแปล g0k88vpsM\cd\8vpay\ bo /caw5 kO4 kOy4 hiaG1 kEG3 kOy4 faG2 nW4 เจาก็คอย เอียงหู และคอยฟง นะ Ba!n hazy nghie^ng tai ro^ji lắng nghe, nhew. -vp0ug]k]k\9k,xk\mk;.say\dvo bo /khOy5 ci3 law4 laaG2 taam1 paaG1 taaw6 ha;5 faG2 kOn3 nW4 ขาจะเลาเรื่องราวสมัยทาวใหฟง กอนนะ

43


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

Ta sez ke^\ chuye^!n xu_a, tho_ji ta!o cho ba!n nghe <az 0nc9djGxofUodjGxoYk /cU3 tE3 kO3 pen1 din1 kO3 pen1 ya5/ จงจำ�ไว เดิมทีเปนดิน เดิมทีเปนหญา

Ne^n nho_w, kho_\= <a^[u laj <a^{t, khởi đầu la co\

dj “กอ” แปลวาเมื่อเริ่มตน (in the beginning) ไมใช “ก็” ซึ่งตองเขียนเปน 8j และไมใช “กอสราง” djGxoakmj5t\Gsf /kO3 pen1 fa6 tO4 thuaG1 het3/ เดิมทีเปนฟาเทาดอกเห็ด Kho_\= <a^[u laj tro_[= to ba|[ng hoa na^{m mj “ตอ” คือ “เทา” 5t\ “ทวง” คือลักษณนามสำ�หรับดอกไม เชน lv\ 5t\ [vd w, /sOG1 thuaG1 bO?3 may6/ ดอกไม สองดอก djGxofUoG0fr^ /kO3 pen1 din1 cet3 pu2/ เดิมทีเปนดินเจ็ดภู Kho_\= <a^[u laj 7 ngo!n nuwi. พึงสังเกตการเขียน “สระ “อี” ในคำ�วา fUo “ดิน” กลาวคือหากไมมพี ยัญชนะทายติดตามในพยางคเปด จะเขียน บนสระ เชน fu “ดี” แตหากมีพยัญชนะทายติดตามในพยางคปด จะตองเขียนระหวางสองพยัญชนะ ในฟอนตอักษร ไทดำ�ของผูเขียนจึงมี “อี” สองตัว ใชในสองกรณีตางกัน ในแผนที่ คำ�วา “ดิน” หมายถึงประเทศ “ดินแกว” แปลวา “ประเทศเวียดนาม “ดินหาน” หมายถึง ประเทศจีน djGxoV^oe[j /kO3 pen1 hu2 naam6 bO3/ เดิมทีเปนรูน้ำ�บอ Kho_fi <a^ju laj mie!^ng gie^wng nu_o_wc djGxosUolk,glk /kO3 pen1 hin1 saam1 saw1/ เดิมทีเปนหินสามกอนเสา Kho_fi <a^ju laj ba hojn <aw loj lu_fa. djGxooegdkc8; /kO3 pen1 naam6 kaw5 kwE2/ เดิมทีเปนแมน้ำ�เกาแคว

44


กวาม​โต​เมือง​ไทย​โซง ทวี สวาง​ปญญา​งกูร

Kho_\= <a^[u laj 9 dojng so^ng djGxoxkdcmmk; v^ -v\ /kO3 pen1 paa?3 tE2 taaw4 ?u1 khOG1/ เดิมทีเปนปากแมน้ำ�ดำ� แมน้ำ�แดง แมน้ำ�อู แมน้ำ�โขง Kho_\= <a^[u sinh ra no_= so^ng >aj <o^\ vajo so^ng Thao , so^ng U, so^ng Me^ Ko^ng. cm “แต” หรือ “น้ำ�แต” ฝรั่งเรียกเปน Black River ภาษาเวียดนามวา “ซงดา” mjk; “ตาว” หรือ “น้ำ�ตาว” ฝรั่งเรียก Red River เวียดนามเรียกเปน “ซงหง” -v\ “ของ” คือ “โขง” ใน ภาษาไทย ,kbp\sv\czofUob,\]^, /ma2 yUaG4 hOG5 phEn3 din1 mUaG2 lum4/ มาทางดานแผนดินเมืองลางนั้น Ve^j phiwa mie^jn tra^jn gian ha! gio_wi, 9kdw;fkpskpw;gxk /taak3 way6 daay1 haay1 way6 paw3/ ถูกปลอยทิ้งวางเปลา Bi! bof tro^wng kho^ng, hoang so_, b,\ak,ux^g0kc5o}t\ /muaG2 fa6 mi2 pu3 caw5 thEn1 luaG1/ เมืองฟามีปูเจาแถนหลวง Cozi tro_ji cow Cu! Then Luo^ng ( Thie^n hoajng) 8jg[kxkdczofuob,\]6, w;fkpskpw;gxk /kO4 baw3 paa?3 phEn3 din1 muaG2 lum4 way5 daay1 haay1 way5 paw3/ ก็ไมเหลียวแลแผนดินเมืองลาง ละทิ้งไววางเปลา Cuzng kho^ng quan ta^m <e^n w tra^n j gian ha! gio_iw , bof hoang du, tro^n w g kho^ng, x^g0kc5o}t\0y\c9\0y\fk /pu3 caw5 thEn1 luaG1 caG3 tEG3 caG3 da1 ปูเจาแถนหลวงจึงแตงจึงเตรียม Cu! Then Luo^ng mo_wi sa|wp xe^wp คำ�วา “แตง ดา” มีใชในภาษาลานนาดวย แปลวา”จัด เตรียม” cxfOtp<kdg9kx^\

45


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

/pEt3 nuay3 maa?3 taw5 puG5 น้ำ�เตาปุงแปดลูก 8 voz ba^ju cxfglkmv\8eak /pEt3 saw1 tOG2 kam6 fa6/ เสาทองแดงค้ำ�ฟา 8 ตน 8 ca^y co^!t <o^jng cho^Wng tro_ji, dt\Otp<kdg9kx^\ /kuaG1 nuay3 maa?3 taw5 puG5 ภายในลูกน้ำ�เตาปุง Be^n trong voz ba^ju ,ulk,Vvplk,lU[lU\ayog-k.ook /mi2 saam1 hOy6 saam1 sip3 siG3 fan2 khaw5 na;2 na2/ มี สามรอยสามสิบชนิดพันธุขาวในนา Cow 330 gio^wng luwa ngoaji ruo^!ng, lk,Vvplk,lU[lU\ayoxk.ooe /saam1 hOy6 saam1 sip3 siG3 fan2 pa1 na;2 nam6/ มี สามรอยสามสิบชนิดพันธุปลาในน้ำ� Cow 330 gio^wng caw du_o_wi nu_o_wc, lk,Vvplk,lU[lU\ayoF8ob,\]^, /saam1 hOy6 saam1 sip3 siG3 fan2 kon2 muaG2 lum4/ สามรอยสามสิบชนิด พันธุคนเมืองลาง 330 gio^wng ngu_o_ji du_o_wi tra^jn gian, F,f<js,j,nb=\Glob=\avomjI /mot4 mO1 mO1 mU2 cUaG2 sen1 cUaG2 fOn2 tO4 nan5/ มดหมอ หมอมือ เครื่องเซนเครื่องพร เทานั้น Cow caff tha^jy cuwng, tha^jy bowi, <o^j vawi <o^j cuwng, .ldt\Otp<kdg9kx^\ ,u=6vyo=6bp\ /sa;3 kuaG1 nuay3 maa?3 taw5 puG5 mi2 cu4 ?an1 cu4 yUaG4/ ใสในน้ำ�เตาปุง มีทุกอยางทุกชนิด Cho vajo trong voz quaf ba^ju, cow <uz mo!i va^!t mo!i thu_w,

46


กวาม​โต​เมือง​ไทย​โซง ทวี สวาง​ปญญา​งกูร

x^g0kc5o}t\0y\.smk;lt\mk;b\o /pu3 caw5 thEn1 luaG1 caG3 ha;5 taaw6 suaG1 taaw6 GWn2 ปูเจาแถนหลวง จึงใหทาวสวง ทาวเงิน Cu! Then Luo^ng mo_wi sai Ta!o Xuo^ng, Ta!o Nga^n, gvkcxfOtp<kdg9kx^\ cxfglkmv\8eak /?aw1 pEt3 nuay3 maa?3 taw5 puG5 pEt3 saw1 tOG2 kam6 fa6/ เอาน้ำ�เตาปุง 8 ลูก เสาทองแดงค้ำ�ฟา 8 ตน Mang 8 voz ba^ju, 8 ca^y co^!t <o^jng cho^wng tro_ji, 0y\F]\,kmk\b,\Fv,b,\vkpojak /caG3 loG2 ma2 taaG2 muaG2 ?om1 muaG2 ?aay1 nO?4 fa6/ จึงลงมาทางเมืองอม เมืองอายนอกฟา Ro^ji xuo^wng tra^jn gian theo con <u_o_jng Mu_o_ng O*m, Mu_o_ng Ai ngoaji vojm tro_ji, oe0y\56,5t,b5\c5o /naam6 caG3 thum3 thuam5 thWG1 thEn1 น้ำ�จึงนองทวมถึงแถน Nu_o_wc la!i da^ng le^n nga^!p caf tro_ji, x^g0k0y\sk\oesk\mk\ /pu3 caw5 caG3 haaG3 naam6 haaG3 taaG2 / ปูเจาจึงเจอน้ำ�ทุกหนทาง Then Luo^ng ma|wc phafi nu_o_wc lu!t kha|wp no_i, .fskb[ooe0y\F9d wfFsdb[ooe0y\cs\ /day5 ha5 bUan2 naam6 caG3 tok3 day5 hok3 bUan2 naam6 caG3 hEG5/ ไดหาเดือน น้ำ�ถึงลด หกเดือนน้ำ�ถึงแหง >e^wn 5 thawng nu_o_wc mo_wi ruwt, 6 thawng nu_o_wc mo_wi ca!n, oe0y\cd;ofvolkd oe0y\8kdfvo:kp /naam6 caG3 kwEn1 dOn1 sa?3 naam6 caG3 kaak4 dOn1 saay2/ น้ำ�ถึงแหงมีดอนขึ้น น้ำ�ถึงแหงเห็นดอนทราย Nu_o_wc ruwt mo_wi no^fi co^jn, no^fi <o^ji cawt, x^g0kmk;b\o0y\p^Oy\b,\Fv,b,\vkpojak /pu3 caw5 taaw6 GWn2 caG3 yu3 mUaG2 ?om1 mUaG2 ?aay1 nO?4 fa6/ ปูเจาทาวเงินจึงอยูเมืองอม เมืองอายนอกฟา

47


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

48

Cu! Ta!o Nga^n bejn o_f la!i Mu_o_jng Ai ngoaji vojm tro_ji, 5kx^g0kmk;lt\ /tha5 pu3 caw5 taaw6 suaG1/ คอยทาปูเจาทาวสวง Cho_j Cu! Ta!o Xuo^ng, x^g0kmk;lt\ 0y\gvkcxfOtp<kdg9kx^\ /pu3 caw5 taaw6 suaG1 caG3 ?aw1 pEt3 nuay3 maa?3 taw5 puG5/ ปูเจาทาวสวง จึงเอาน้ำ�เตาปุงแปดลูก Cu! Ta!o Xuo^ng bejn la^wy 8 voz ba^ju, cxfglkmv\8eak F]\,kVvfOy\b,\]j /pEt3 saw1 tOG2 kam6 fa6 loG1 ma2 hOt4 naG5 muaG2 lO2/ แปดเสาทองแดงค้ำ�ฟาแปดตน ลงมา ถึงเมืองลอ 8 ca^y co^!t <o^jng cho^wng tro_ji, mang xuo^wng Mu_o_jng Lo b,\ ]H “เมืองลอ” คือ อำ�เภอวันเจิน๊ จังหวัดเหงียโหลในเวียดนามปจจุบนั อยูท ศิ ตะวันออกของเดีย่ นเบียน ชาวไทดำ�ในเวียดนามถือวาเมืองลอ เปนแหลงกำ�เนิดของชนชาติไทในเวียดนาม สวนเมืองแถงนัน้ เปนเมือง ที่บุกเบิกตอนหลัง ตามประเพณีไทดำ�ในเวียดนาม คำ�บอกทางจะนำ�ทางใหวิญญาณไปเมืองลอ x^g0kmk;lt\0y\gvk,JOy\b,\]j /pu3 caw5 taaw6 suaG1 caG3 ?aw1 mia2 naG3 muaG2 lO2/ ปูเจาทาวสวง จึงแตงงานที่เมืองลอ Cu! Ta!o Xuo^ng bejn ke^wt ho^n o_f Mu_p_jng Lo 0y\,u]^d=kpz^ @ 0y\.s=nmk;]j /caG3 mi2 luk4 caay2 phu5 nUG4 caG3 ha;5 cU4 taaw6 lO2/ จึงมีลูกชายคนหนึ่ง ตั้งชื่อวาทาวลอ Ro^ji sinh <u_o_!c mo^!t ngu_o_ji con trai, <a|!t te^n laj Ta!o Lo, @ เปนเครื่องหมายพิเศษ อานวา 1 พึงสังเกตวาในภาษาไทยโซง พบแตตัวเลขหนึ่ง ไมพบตัวเลขอื่น x^g0k0y\xyo<kdg9kx^\l^czofUob,\]6, /pu3 caw5 caG3 pan1 maa?3 taw5 puG5 su3 phEn3 din1 muaG2 lum4 ปูเจาจึงแบงน้ำ�เตาปุง สูแผนดินเมืองลาง Cu! mo_wi chia voz ba^ju xuo^wng tra^jn gian ha! giới, 0y\gvkwxb,\cd;b,\]k;lv\Otp<kdg9kx6\ /caG3 ?aw1 pay1 muaG2 kEw1 muaG2 laaw2 sOG1 nuay3 maa?3 taw5 puG5/ จึงเอาไปประเทศเวียดนาม ประเทศลาว น้ำ�เตาปุง สองลูก


กวาม​โต​เมือง​ไทย​โซง ทวี สวาง​ปญญา​งกูร

Bèn mang 2 võ bầu xuống nước Việt Nam và nước Lào lv\glkmv\8eak gvkwxb,\;j /sOG1 saw1 tOG2 kam6 fa6 ?aw1 pay1 mUaG2 wO2/ เสาทองแดงค้ำ�ฟา สองตน เอาไปเมืองวอ Mang 2 cây cột đồng chống trời xuống Mường Vo c9jFsdOtp<kdg9kx6\ Fsdglkmv\8eak /tE3 hok3 nuay3 maa?3 taw5 puG5 hok3 saw1 tOG2 kam6 fa6/ น้ำ�เตาปุงหกลูก เสาทองแดงค้ำ�ฟาหกตน 6 võ bầu, 6 cây cột đồng chống trời c];x6g0kmk;lt\ 0y\8nog,l^x^g0kmk;b\o /lEw6 pu3 caw5 taaw6 suaG1 caG3 kUn2 mUa2 su3 pu3 caw5 taaw6 GWn2/ แลวปูเจาทาวสวงจึงกลับมาอยูกับปูเจาทาวเงิน Xong rồi Cụ Tạo Suông bèn trở về với Cụ Tạo Ngân Oy\b,\Fv,b,\vkpmugdk /naG5 muaG2 ?om1 muaG2 ?aay1 ti4 kaw3/ ณ เมืองอม เมืองอายที่เดิม Tại Mường Ôm, Mường Ai, nơi cũ. 0y\xkd[ko;k\b,\w;8jx^g0kmk;]j /caG3 paa?3 baan5 waaG2 muaG2 waay6 kO4 pu3 caw5 taaw6 lO2/ จึงมอบบานวางเมืองไวที่ปูเจาทาวลอ Bèn giao bản mường lại cho Tạo Lo xMo-yowfw8[vooy\ /pian3 khan1 day1 kay2 bOn3 naG4/ เปลี่ยนผูกินเมือง Thay người cầm quyền cai trị x^g0kmk;]jGpf[koGpfb,\ /pu3 caw5 taaw6 lO2 yet4 baan5 yet4 muaG2/ ปูเจาทาวลอ สรางบานสรางเมือง Cụ Tạo Lo gầy dựng bản mường g]kgvk,J-7o=v\cdocmol^\ /law4 ?aw1 mia2 khUn5 cOG2 kEn1 tEn4 suG1/ แลวแตงงานและขึ้นปกครองเมือง

49


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

Đoạn kết hôn rồi lên nắm chính quyền g]kPy\wlGxoGsoOk x^g0kmk;b=\ /law4 NaG2 say5 pen1 hen1 na5 pu3 caw5 taaw6 cUaG2/ แลวยังใหกำ�เนิด แกปูเจาทาวเจือง Rồi còn sinh Cụ Tạo Chương x^g0k9kf^d 9kg}k x^g0k]e[]u x^]j]u /pu3 caw5 ta1 lu?3 ta1 law1 pu3 caw5 lap4 li2 pu3 lO2 li2/ ปูเจาตาลุก ตาเลา ปูเจาลับลี้ ปูลอลี Cụ Ta Lục, Ta Lau, Cụ Lắp Ly, Cụ Lo Ly. x^g0k-6oPu x^g0k]k\d;k\ x^g0k]k\b=\ mjoyo /pu3 caw5 khun1 Ni2 pu3 caw5 laaG2 kwaG1 pu3 caw5 laaG2 cUaG2 tO4 nan6/ ปูเจาขุนญี ปูเจาลางกวาง ปูเจาลางเจือง เทานั้น Cụ Khun Nhi, Cụ Lang Quang, Cụ Lang Chương, chỉ có thế. x^g0k8vp]M\l^\0^\.P /pu3 caw5 kOy4 liaG6 suG1 cuG1 Na;3/ ปูเจาคอยเติบโตขึ้นมา Cụ mới lớn dần lên 8U\rM\fk\lk\rM\b,\ /kiG2 piaG1 laaG2 saaG5 piaG1 muaG2/ รางสูงเทาโล เติบใหญตามเมือง Thân cao bằng khiên, người to theo bản mường x^g0kmk;]jGpf[koGpfb,\ /pu3 caw5 taaw6 lO2 yet4 baan5 yet4 muaG2/ ปูเจาทาวลอสรางบานสรางเมือง Cụ Tạo Lo xây dựng bản mường 8jwf}kpgkgmk}kpxu /kO4 day5 laay1 khaw5 taaw4 laay1 pi1/ ก็ไดหลายขาว เทาหลายป Cũng được nhiều mùa, nhiều năm 8U\Gxodk\fk\Gxog5k /kiG2 pen1 kaaG1 daaG1 pen1 thaw5/ รางกายทรุดและแกลง

50


กวาม​โต​เมือง​ไทย​โซง ทวี สวาง​ปญญา​งกูร

Cơ thể già yếu,gầy mòn g]kF]flMxko]kolM=t /law4 lot4 sia1 paan1 laan2 sia1 cua4/ แลวเลยสิ้นชีวิตไป Rồi từ trần đi Fd\l^g,g0kak -;u,kg,g0kF[o /koG1 su3 mUa2 caw5 fa6 khwi3 ma6 mUa2 caw5 bon2/ กางรมไปเฝาชั้นฟา ขี่มาไปหาเบื้องบน Che ô lên chầu trời, cưỡi ngựa lên chầu bề trên. g,l^r6flyo5Mo]Morko}t\mud;k\ /mUa2 su3 put4 san1 thian1 lian2 paan2 luaG1 ti4 kwaaG5/ ไปสูหวงสวรรคนิพานหลวงอันกวางใหญ Lên cõi Niết Bàn, Thiên Thai rộng lớn 0y\xkd[ko;k\b,\w;8jx^g0k9k}6d /caG3 pa?3 baan5 waaG2 muaG2 way6 kO4 pu3 caw5 ta1 lu?3/ จึงมอบบานวางเมืองไวใหแกปูเจาตาหลุก Bèn giao bản mường cho Cụ Ta Lục xMo-yowf[voOy\ /pian3 khan5 day1 bOn3 naG5/ เปลี่ยนตัวผูปกครอง Thay đổi người nắm chính quyền 9k}^ddUo]j}t\ 9kg}kdUo]j=k /ta1 lu?3 kin1 lO2 luaG1 ta1 laaw1 kin1 lO2 caa4/ ตาหลุกกินเมืองลอหลวง ตาเลากินเมืองลอจา Ta Lục cai trị Lo Luổng, Ta Lau cai trị Lo Cha ]e[]udUo]jYk ]vo]udUob,\rMody[b,\cr\ /lap4 li2 kin1 lO2 yaa1 lOn1 li1 kin1 muaG2 pian1 kap3 muaG2 pEG2/ ลับลีกินเมืองลอยา ลอนลีกินเมืองเปยนกับเมืองแปง Lắp Ly cai trị Lo Ya, Lon Ly cai trị Mường Piên và Mường Peng ]jYk “ลอยา” เมืองลอนัน้ กวางใหญ ถูกแบงเปนสามเมืองเล็ก จึงมีอกี ชือ่ วา “เมืองสามลอ” ไดแก “ลอหลวง ลอจา และลอยา”

51


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

-6ob]\.sGxo<j8j9k}^d -6o]H.shGxo<j8H9kg}k /khun1 lUaG1 ha;5 pen1 mO1 kO4 taa1 lu?3 khun1 lO2 pen1 mO1 kO4 taa1 law1 ใหขุนเลืองแปนหมอแกตาหลุก ใหขุนลอเปนหมอแกตาเลา Khun Lương được làm mo cho Ta Lục, Khun Lo làm mo cho Ta Lau x^9k}6d,u]6dlk,gdk /pu3 taa1 lu?3 mi2 lu?4 saam1 kaw5/ ปูตาหลุกมีลูกสามเกาคน (27 คน) Cụ Ta Lục có 3 lần 9 (=27) người con ในกวามโตเมืองฉบับไทดำ�ในเวียดนาม ปูตาหลุกมีลูกสองเกาคน (18 คน) เทานั้น x^9kg}k,u]^d:k;=kp /pu3 taa1 law1 mi2 lu?4 saaw2 caay2 ปูตาเหลามีลูกชาย 20 คน Cụ Ta Lau có 20 người con trai 0y\cz]6d=kpYkp]6dmk; /caG3 phE4 lu?4 caay2 yaay6 lu?3 taaw6/ จึงโยกยายลูกเตา Bèn chuyển con cháu g,dUoF9ddkstoemk;oecf\G<f /mUa2 kin1 tok3 kaa5 hua1 naam6 taaw4 naam6 dEG1 met3/ ไปกินดินแดนทางหัวแมน้ำ�ดำ� แมน้ำ�แดงหมด Đi cai trị toàn thể vùng đầu sông Đà sông Hồng.

52


กวาม​โต​เมือง​ไทย​โซง ทวี สวาง​ปญญา​งกูร

ภาคผนวก อักษรไทยโซง-ไทดำ�เปรียบเทียบ ทวี สวางปญญางกูร (ใชฟอนต BLT50 และ Thaisong ของผูเขียน) ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

อักษรไทดำ� พยัญชนะ d 8 S | \ 0 = l : I P f E 9 m 5 T O o [ { x X z a < , p

คำ�อาน

อักษรไทยโซ่ง

SongIPA

อักษรไทย

กอ กอ คอ คอ งอ งอ จอ จอ ซอ ซอ ญอ (นาสิก) ญอ (นาสิก) ดอ ดอ ตอ ตอ ทอ ทอ นอ นอ บอ บอ ปอ ปอ ฟอ ฟอ มอ มอ ยอ

d 8 S | \ 0 = l : K P f E 9 m 5

k k kh kh G G c c s s N N d d t t th th n n b b p p f f m m y

ก ก ข ค-ฆ หง ง จ ช ส ซ หญ (นาสิก) ญ(นาสิก) ด ด ต ต ถ ธ-ท หน น บ บ ป ป ผ ฝ หม ม หย-อย

O o [ { x r z a < , Y

53


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ลำ�ดับ

54

30 31 32 33 34 35 36 37 38

อักษรไทดำ� พยัญชนะ K } ] H ; s V v B

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

สระ Q t k e u n 6 G g G3k v C J G c F w .

คำ�อาน

อักษรไทยโซง

SongIPA

อักษรไทย

ยอ ลอ ลอ วอ วอ ฮอ ฮอ ออ ออ

p } ] L ; s V v B

y l l w w h h O O

ย หล ล หว ว ห ฮ ออ ออ

อัน อัว อา อำ� อี อื อู เอือ เอ เอา ออ เออ เอีย เอือ แอ โอ ไอ อา-อือ

I t k e u n 6 g G g-k v b J g c F w .

?an ?ua ?a ?am ?i ?U ?u ?Ua ?e ?aw ?O ?W ?ia ?Ua ?E ?o ?ay ?a;

อัน อัว อา อำ�-อัม อี อื อู เอือ เอ เอา ออ เออ เอีย เอือ แอ โอ ไอ ใอ


กวาม​โต​เมือง​ไทย​โซง ทวี สวาง​ปญญา​งกูร

ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

อักษรไทดำ� เครื่องหมาย M N q ƒ „ … † ‡ ˆ ‰ Š ‹ Œ & 4

คำ�อาน

อักษรไทยโซง

SongIPA

อักษรไทย

กน นึ่ง ซ้ำ�ลาย จา-อื้อ เปา ญี เหมา ซี ซา-อื้อ ซองา มด ซัน เฮา เม็ด กา-อื้อ

@ -

kon2 nUG4 sam6 lay2 ca;3 paw3 yi2 maw3 si1 sa;3 sOGa:4 mot4 san1 haw6 met4 ka;3

คน หนึ่ง ซ้ำ�คำ� ใจ เปา ยี เหมา สี ใส สงา เม็ด สัน เรา เส็ด ใก

55


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

บรรณานุกรม ภาษาไทย วิศรุต สุวรรณ​วิเวก. (2524). ระบบ​การ​เขียน​ของ​โซง. วิทยานิพนธ​ปริ­­ญญาศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา​ จารึก (ภาษาไทย) ภาควิชา​ภาษา​ตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย​ศิลปากร. พนิดา เย็น​สมุทร. (2524). คำ�​และ​ความ​หมาย​ใน​ภาษา​ลาว​โซง. วิทยานิพนธ​ปริ­­ญญา​ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึก (ภาษาไทย) ภาควิชา​ภาษา​ตะวันออก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย​ศิลปากร. สุรีย ทอง​คง​หา­. (2542). หนังสือ​วัฒนธรรม​ประเพณีไ​ทย​ซงดำ�​เลม ๑ เรื่อง​อักขรวิธีอักษร​โซง. ม.ป.ท.: ชมรม​ ไทย​ทรง​ดำ�​แหง​ประเทศ​ไทย. ชวลิต อาร​ยุติธรรม. (2552). เรื่อง​พิธีแปง​ขวัญ­. ม.ป.ท.: สมาคมไท​ดำ� (ประเทศ​ไทย). ปย​วรรณ สุข​เกษม. สุภาษิต​ไทย​โซง. ม.ป.ท.: โรงเรียน​วัด​ไผ​หูชาง จ.นครปฐม ทวี สวาง​ป­­ญญางกูร. (2548). ปฏิทินไท​ดำ�​ใน​เวียดนาม. วารสาร​มนุษ​ยศ​าสตร​ปริทรรศน 27, (ประจำ�​ภาคเรียน​ ที่ 1 ปการศึกษา 2548 มหาวิทยาลัย​ศรีนค​รินทร​วิโรฒ). ทวี สวาง​ป­­ญญางกูร. (2551). บทความ​ถิ่นฐานไท​ดำ�. วารสาร​ไทย​คดี​ศึกษา 4, 1 (มีนาคม 2551) สถาบันไทย​ คดี​ศึกษามหาวิทยาลัย​ธรรมศาสตร และ​ใน​วารสาร​ดำ�รง​วิชาการ คณะ​โบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร 6, 2 (ธันวาคม 2550). ภาษาไท​ดำ� Tai Studies Center, Iowa, USA. (1986). 8;k, Fm G,\ wm (The Chronical Book) Tai Studies Center, Iowa, USA. (1986). lU[ Fsd G=k wm de[ Cld G,\ c5\ (The Tai Federation and Dien Bien Phu) Tai Studies Center, Iowa, USA. (1999). 8;k, Fm .Ij 8;k, w9j x6j Cld (The Great Tale and The Odyssey of the Warlords)

56


ทำ�อยางไรถึงจะเรียนเกงคณิตศาสตร How to be good at learning mathematics ประเสริฐ เตชะนารา​เกียรติ 1 Prasert Techanarakiet บทคัดยอ การศึกษาเปนวิถที างหนึง่ ทีจ่ ะนำ�ไปสูก ารพัฒนาประเทศชาติใหเจริญรุง เรืองในทุกๆ ดาน ทุกหลักสูตรในระดับ มัธยมศึกษาจะบรรจุวชิ าคณิตศาสตรเปนวิชาพืน้ ฐานและวิชาเลือกเพิม่ เติมโดยเฉพาะหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย ในปจจุบนั ทีก่ �ำ หนดใหนกั เรียนทุกคนตองเรียนวิชาคณิตศาสตรพนื้ ฐาน เพราะวิชาคณิตศาสตรเปนวิชาทีฝ่ ก ทักษะการ คิดและการแกปญหา ซึ่งตางจากหลักสูตรในอดีต จากงานวิจัยของเจเอ็ม รอสส และ เอชอาร ซิมพสัน พบวาคะแนนวิชาคณิตศาสตรเปนตัวทำ�นายความกาว หนาในการเรียนในโรงเรียนทีด่ ที สี่ ดุ ในทุกระดับชัน้ นีค่ อื ความสำ�คัญของวิชาคณิตศาสตร ดังนัน้ ผูป กครองจึงจำ�เปนที่ จะหาวิธีทำ�ใหบุตรหลานของตนเรียนคณิตศาสตรเกง ทายที่สุดนี้ผูเขียนเห็นวา การที่นักเรียนจะเรียนคณิตศาสตรเกงตองมีองคประกอบครบถวนสมบูรณทั้ง สามดาน คือ 1. องคประกอบดานตัวนักเรียน ไดแก ความรูพื้นฐานเดิม เชาวปญญา เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร และการ ฝกทบทวนแบบฝกหัด 2. องค ป ระกอบทางโรงเรี ย น ได แ ก ความเป น ผู  นำ � ด า นวิ ช าการของอาจารย ใ หญ ห รื อ ผู  อำ � นวยการ ประสบการณการสอนของครู และบรรยากาศในชั้นเรียนที่กอใหเกิดการเรียนรู 3. องคประกอบทางบาน ไดแก รายไดของผูปกครอง การศึกษาของผูปกครอง การสงเสริมของผูปกครอง และการหมั่นดูแลกวดขันใหนักเรียนทำ�การบานและทบทวนแบบฝกหัด คำ�สำ�คัญ : การสอนคณิตศาสตร.

__________________

1

อาจารยประจำ�สาระคณิตศาสตร โรงเรียนสาธิต คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขต​พระราชวังสนาม​จันทร


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

Abstract Education is the primary tool to develop a country to be civilized in many aspects. All high school curricula contain both foundation maths and elective maths. Nowadays secondary high school students must learn basic mathematical subjects which differ from those learnt in the past. J. M. Ross and H. R. Simpson found that mathematics was the best indicator of learning progress at every levels. This is the importance of mathematics. Hence parents must find ways to encourage their children to be good at mathematics. The writer believes that students will be good at mathematics if the following three factors are employed: 1. Students’ factors; such as basic knowledge, intelligence, attitude towards learning mathematics and practicing with exercises. 2. Schools’ environment factors; such as leadership of the headmasters or principal, teachers’ experience and climate in the class for learning. 3. Home environment factors; such as income of parents, education of parents, assistance of parents and responsibility parents for doing homework and drilling. Keywords : Teaching of Mathematics.

58


ทำ�อย่างไรถึงจะเรียนเก่งคณิตศาสตร์ ประเสริฐ เตชะนารา​เกียรติ

ทำ�อยางไรถึงจะเรียนเกงคณิตศาสตร การศึกษาเปนวิถที างหนึง่ ทีจ่ ะนำ�ไปสูก ารพัฒนา ประเทศชาติใหเจริญรุง เรือง ถาประชากรมีการศึกษาทีด่ ี ประเทศยอมมีการพัฒนาอยางยั่งยืน ในประเทศไทยเริ่ ม ตื่ น ตั ว ในการบรรจุ วิ ช า คณิตศาสตรลงในหลักสูตรระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลาย พุทธศักราช 2544 และเริ่มใชในปพุทธศักราช 2545 ระบุใหทุกหลักสูตรตองเรียนวิชาคณิตศาสตร พื้ น ฐาน ส ว นนั ก เรี ย นที่ เ รี ย นด า นวิ ท ยาศาสตร แ ละ คณิตศาสตรตองเรียนวิชาคณิตศาสตรเพิ่มเติม ซึ่งตาง จากหลักสูตรในอดีตทีน่ กั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ที่เรียนดานภาษาไมตองเรียนวิชาคณิตศาสตร (สถาบัน สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2544 : 155-160) ทำ�ไมจึงตองเรียนคณิตศาสตรในทุกหลักสูตรของ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เพราะวิชาคณิตศาสตรเปน วิชาที่ฝกทักษะการคิดและการแกปญหา เปนการฝก ลับสมอง จากงานวิจัยของ เจเอ็ม รอสส และ เอชอาร ซิ ม พ สั น ก็ ไ ด ยื น ยั น ถึ ง ความสำ � คั ญ ของการเรี ย น คณิตศาสตรเกง เจเอ็ม รอสส และเอชอาร ซิมพสัน (Ross and Simpson 1971 : 49-61) พบวา คะแนนวิชา คณิตศาสตรเปนตัวทำ�นายความกาวหนาในการเรียน ในโรงเรียนที่ดีที่สุดในทุกระดับชั้น จึงตองเนนถึงความ สำ�คัญของวิชาคณิตศาสตร เพราะเวลาเรียนคณิตศาสตร นักเรียนตองใชความคิดและทักษะเพื่อแกปญหา เปน การฝกลับสมองไปในตัว ปจจัยที่สงผลตอการเรียนคณิตศาสตร มี 2 ปจจัยหลัก คือ ปจจัยดานสติปญญา และปจจัยอื่นๆ ที่ ไมใชดานสติปญญา ทฤษฎีที่กลาวอางถึงกันมากคือ ทฤษฎีสองตัวประกอบ (Spearman 1967 : 415) ปจจัยดานสติปญญานั้นเปนปจจัยที่ติดมาแต กำ�เนิด ยากที่จะแกไขเปลี่ยนแปลง ดังนั้นบทความ เรื่ อ งนี้ จ ะเน น ศึ ก ษาตั ว แปรที่ ไ ม ใ ช ด  า นสติ ป  ญ ญาที่ สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร ตัวแปรแรกที่จะกลาวถึงคือ ความรูพื้นฐานเดิม จากงานวิจัยของ ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ (2532 : 63-69) ไดศึกษา “ความสัมพันธระหวางองคประกอบ

ดานนักเรียน องคประกอบดานครู สภาพแวดลอมทาง บาน และสภาพแวดลอมทางโรงเรียนกับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 4 กรุงเทพมหานคร” กลุมตัวอยางประชากรเปน นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 4 ที่ เ รี ย นแผน วิทยาศาสตรและ คณิตศาสตร จำ�นวน 649 คน โรงเรียน ในกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา องคประกอบที่ สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของ นักเรียน คือ พื้นฐานความรูเดิม ระดับการศึกษาของ ผูปกครอง บรรยากาศและสภาพแวดลอมทางกายภาพ ทางดานการบริหารและการจัดการเรียน และพบวา ความรู  พื้ น ฐานเดิ ม กั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น คณิตศาสตรมีความสัมพันธกัน (คาสหสัมพันธเทากับ 0.594 ที่ระดับนัยสำ�คัญ 0.01) และความรูพื้นฐานเดิม สามารถทำ�นายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร ไดถึง 35.267 เปอรเซ็นต (R2 = 0.3529) ที่ระดับ นัยสำ�คัญ 0.01 สอดคลองกับ วสันต ธานินทรธราธาร (2542 : บทคัดยอ) ซึ่งศึกษาองคประกอบที่สงผลตอ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน อาชี ว ศึ ก ษาระดั บ ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ : กรณี ศึกษาวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม พบวา องคประกอบที่ สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของ นักเรียน คือ พื้นฐานความรูเดิม ระดับการศึกษาของ ผูป กครอง บรรยากาศและสภาพแวดลอมทางกายภาพ ทางดานการบริหารและการจัดการ ซึ่งแสดงวาความรู พื้นฐานเดิมเปนตัวทำ�นายที่ดีที่สุด จากงานวิจยั เกีย่ วกับตัวแปร ความรูพ นื้ ฐานเดิม แสดงใหเห็นวา ถานักเรียนไมมีพื้นความรูเดิมมากอน ก็จะเรียนคณิตศาสตรในชั้นสูงขึ้นไมรูเรื่อง ถึงเวลาแลว หรือยังที่ผูปกครองจะตองกวดขันใหบุตรหลานของตน ตั้งใจเรียนในชั้นตนๆ เพื่อที่จะไดมีพื้นฐานความรูที่ดี สามารถนำ�ไปใชเรียนในชั้นเรียนที่สูงขึ้น ตัวแปรตัวทีส่ องทีจ่ ะกลาวถึง คือ ความเปนผูน � ำ ดานวิชาการของอาจารยใหญหรือผูอำ�นวยการ จาก งานวิจัยของซุง ยุน จุน (Sung-Yun Jun 1981 : 2405A) ไดศึกษาเกี่ยวกับความเปนผูนำ�ดานการสอนของ อาจารยใหญ ความพอใจในการทำ�งานของครู และการ เลือกโปรแกรมการสอนแบบใหมที่มีผลตอผลสัมฤทธิ์

59


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นปที่ 4 พบวา การ สนับสนุนของผูมีอำ�นาจในการบริหารมีอิทธิพลอยางสูง ตอผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรียนอยางมีนยั สำ�คัญ ทางสถิติ ซึ่งสอดคลองกับประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ (2532 : 63 – 69 ) ที่พบวาความเปนผูนำ�ดานวิชาการ ของอาจารยใหญหรือผูอำ�นวยการมีความสัมพันธทาง บวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรอยางมีนัย สำ�คัญที่ระดับ 0.01 (r = 0.312) และสามารถทำ�นาย ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นคณิ ต ศาสตร ไ ด ถึ ง 11.397 เปอรเซ็นต ซึ่งชี้ใหเห็นวาถาโรงเรียนใดมีผูบริหารที่ สนใจและเอาใจใสทางดานวิชาการ ก็จะทำ�ใหผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตรเพิม่ ขึน้ ถึง 11.397 เปอรเซ็นต และสอดคลองกับกัลยา อินทรสาร (2540 : บทคัดยอ) ศึกษาองคประกอบที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ใน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา พบวา องคประกอบ ที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร คือ พื้นฐานความรูเดิม สภาพแวดลอมทางดานการบริหาร การจัดการ และสภาพแวดลอมทางกายภาพ ซึ่งองค ประกอบเหลานี้สามารถพยากรณการเปลี่ยนแปลงของ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไดประมาณรอยละ 26.77

ตัวแปรตัวตอไปทีจ่ ะกลาวถึง คือ ประสบการณใน การสอน วุฒิครู และขนาดของโรงเรียน จากงานวิจัย ของอุรี ลิ้มพิสุทธ (2526 : 59 – 65) พบวาตัวทำ�นาย ที่มีอิทธิพลสูงตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร คือ ขนาดของโรงเรียน ความเปนผูนำ�ดานวิชาการของ อาจารยใหญหรือผูอำ�นวยการ สามารถทำ�นายไดอยาง มีนยั สำ�คัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.01 สอดคลองกับอุทยั ตงั้ คำ�

60

(2528 : 58) พบวา ความเปนผูนำ�ดานวิชาการของ ผูอำ�นวยการเปนตัวทำ�นายที่สำ�คัญรวมกันทำ�นายผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ไดอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สวนงานวิจัยของประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ (2532 : 66 – 77) พบวาประสบการณในการสอน และขนาดของโรงเรี ย น (โรงเรี ย นขนาดเล็ ก คั ด เด็ ก ไมได ผิดกับโรงเรียนขนาดใหญสามารถคัดเด็กได) เป น ตั ว ทำ � นายผลที่ ทำ � ให ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น คณิตศาสตรเพิ่มขึ้นถึง 11.397 เปอรเซ็นต และ 1.809 เปอรเซ็นต ตามลำ�ดับ และวุฒคิ รูมคี วามสัมพันธทางลบ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร อาจเปน เพราะครูที่มีวุฒิสูงยังไมมีประสบการณในการสอน ซึ่ง สอดคลองกับ วสันต ธานินทรธราธาร (2542 : บทคัดยอ) ทีพ่ บวา องคประกอบทีส่ ง ผลตอผลสัมฤทธิท์ างการเรียน วิ ช าคณิ ต ศาสตร ข องนั ก เรี ย น คื อ บรรยากาศและ สภาพแวดลอมทางกายภาพดานบริหารและการจัดการ ตัวแปรที่ไดกลาวมาแลวคือ ความเปนผูนำ�ดานวิชาการ ของอาจารยใหญหรือผูอำ�นวยการ ประสบการณในการ สอน วุฒิครู และขนาดของโรงเรียน เปนองคประกอบ ทางโรงเรียนซึ่งเกิดจากการเขาเรียนในโรงเรียนนั้น ดังนั้น จึงทำ�ใหผูปกครองนิยมสงบุตรหลานเขาเรียนใน โรงเรียนขนาดใหญทมี่ ชี อื่ เสียง และเกิดปญหาการแขงขัน เขาเรียนสูง จากงานวิจัยที่ไดกลาวถึงชี้ใหเห็นวาผูปกครอง นักเรียนไมไดเขาใจผิดในการใหบุตรหลานเขาเรียนตอ แตการเรียนในโรงเรียนที่มีการแขงขันกันสูง สิ่งที่ตอง คำ�นึงถึงคือ สติปญญาหรือเชาวปญญาของนักเรียน ซึ่ง งานวิจัยสวนใหญทั้งในประเทศและตางประเทศพบวา เชาว ป  ญ ญามี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตร ดังเชน งานวิจัยของ จอหน เอฟ. โอ. คาเรย (Carrey 1978 : 2824-A) งานวิจัยของ สุวิมล วองวานิช (2522 : 48 – 49) และงานวิจัยของ ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ (2532 : 72 – 73) ดังนั้น ผูปกครองจึงควรคำ�นึงถึงสติปญญาของนักเรียนดวย ผูป กครองควรสงบุตรหลานเรียนในโรงเรียนระดับกลางๆ ที่ใกลเคียงกับระดับสติปญญาของบุตรหลานตนเพื่อจะ ไดเรียนทันเพือ่ น การไมยอมรับความจริงของผูป กครอง


ทำ�อย่างไรถึงจะเรียนเก่งคณิตศาสตร์ ประเสริฐ เตชะนารา​เกียรติ

พยายามหาทุกวิถที างเพือ่ จะใหนกั เรียนของตนเขาเรียน ในโรงเรียนที่มีการแขงขันกันสูงนั้นจะเปนผลเสียตอตัว นักเรียนเองมากกวา เพราะนักเรียนจะเรียนไมทนั เพือ่ น และเปนปมดอยติดตัวนักเรียน ตัวแปรทีจ่ ะกลาวถึงอีกตัวหนึง่ คือ เจตคติตอ วิชา คณิตศาสตร งานวิจัยของ ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ (2532 : 61–78) พบวา เจตคติตอ การเรียนคณิตศาสตรมี ความสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น คณิตศาสตร สอดคลองกับงานวิจยั ของอรัญญา นามแกว (2538 : บทคั ด ย อ ) ที่ พ บว า เจตคติ ต  อ การเรี ย น คณิ ต ศาสตร มี ค วามสั ม พั น ธ ท างบวกกั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตร ดังนั้นผูปกครองควรหาวิธีที่ จะทำ�ใหนกั เรียนในความปกครองของตนมีเจตคติทดี่ ตี อ วิชาคณิตศาสตร พูดงายๆ วาชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร ในทรรศนะของผูเขียนเห็นวา ผูปกครองควรจะ เอาใจใส ดูแลการทำ�การบานของนักเรียน โดยชวย ปรึ ก ษาและอธิ บ ายในกรณี ที่ นั ก เรี ย นทำ � ไม ไ ด หรื อ ถาไมสามารถทำ�ไดก็อาจจะหาครูมาชวยสอนเสริมและ อธิบายการบาน สวนครูผูสอนในชั้นเรียนควรสนใจ เอาใจใสดูแลการเรียนของนักเรียนและเฉลยการบาน เมื่อนักเรียนไมเขาใจ เพราะเมื่อนักเรียนสามารถทำ� การบานไดและเขาใจ ก็จะมีเจตคติทดี่ ตี อ วิชาคณิตศาสตร ตัวแปรลำ�ดับสุดทายที่จะกลาวถึง คือ รายได ของผูปกครอง ระดับการศึกษาของผูปกครอง และ การสงเสริมการเรียนของผูปกครอง ตัวแปรทั้งสามนี้ เปนตัวแปรที่เกิดจากปจจัยทางบาน หรือผูปกครองนั่น เอง จากงานวิจยั ของโรเบิรต เจไรท และ แอนดรูว  จีบนิ (Wright and Bean 1974 : 277 - 283) พบวารายได ของครอบครัวเปนตัวทำ�นายเกรดเฉลี่ยไดดีที่สุด ซึ่ง สอดคลองกับประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ (2532 : 63 – 69) พบวารายไดของผูปกครอง ระดับการศึกษาของ ผูปกครอง และการสงเสริมการเรียนของผูปกครอง

มีความสัมพันธทางบวกกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตรอยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ สอดคลองกับ วสันต ธานินทรธราธาร (2542 : บทคัดยอ) พบวาองคประกอบที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตรของนักเรียน คือ รายไดของผูปกครอง ดังนั้นผูปกครองทานใดที่ตองการใหบุตรหลานมีผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรสูง จำ�เปนตองลงทุน เพื่อการศึกษา เชน การเรียนพิเศษเพิ่มเติมในเนื้อหา ที่ไมเขาใจ ซึ่งสวนใหญผูปกครองที่มีฐานะดีและมีการ ศึกษาสูงมักจะทำ�อยูแลว คือจางครูที่มีความรูในวิชา คณิตศาสตรหรือวิชาอืน่ มาสอนเสริมเปนการสวนตัวหลัง เวลาเลิกเรียนเพือ่ เพิม่ เติมความรู  แตในบางครัง้ นักเรียน ที่มีฐานะยากจนก็เรียนคณิตศาสตรเกง ซึ่งอาจเกิดจาก การเห็นคุณคาของการเรียน ทำ�ใหตั้งใจเรียนมากขึ้น ดังนั้น ผูปกครองที่มีฐานะไมคอยดี อาจทำ�ใหนักเรียน ในความดูแลของตน เรียนเกงคณิตศาสตรไดโดยการชี้ ใหเห็นคุณคาของการเรียน ทายทีส่ ดุ นีผ้ เู ขียนเห็นวา การทีน่ กั เรียนจะเรียน คณิตศาสตรเกง ตองมีองคประกอบครบถวนสมบูรณ ทั้งสามดาน คือ 1. องคประกอบดานตัวนักเรียน ไดแก ความรู พื้นฐานเดิม เชาวปญญา เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร และการฝกทบทวนแบบฝกหัด 2. องคประกอบทางโรงเรียน ไดแก ความเปน ผูนำ�ดานวิชาการของอาจารยใหญหรือผูอำ�นวยการ ประสบการณการสอนของครู และบรรยากาศในชัน้ เรียน ที่กอใหเกิดการเรียนรู 3. องคประกอบทางบาน ไดแก รายไดของ ผูปกครอง การศึกษาของผูปกครอง การสงเสริมของ ผู  ป กครอง และการหมั่ น ดู แ ลกวดขั น ให นั ก เรี ย นทำ � การบานและทบทวนเนื้อหา

61


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

เอกสารอางอิง ภาษาไทย กัลยา อินทรสาร. (2540 ). องคประกอบที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สำ�นักงานการประถมศึกษา จังหวัด นครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ประเสริฐ เตชะนาราเกียรติ. (2532 ). ความสัมพันธระหวางองคประกอบดานนักเรียน องคประกอบดานครู สภาพแวดลอมทางบาน และสภาพแวดลอมทางโรงเรียนกับผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชามัธยมศึกษา บัณฑิต วิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วสันต ธานินทรธราธาร (2542). องคประกอบทีส่ ง ผลตอผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน อาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ : กรณีศกึ ษาวิทยาลัยเทคนิคนครปฐม. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2544). คูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. สุวมิ ล วองวานิช. (2522 ). สหสัมพันธพหุคณ ู ระหวางองคประกอบดานเชาวปญ  ญา กับผลสัมฤทธิท์ างการเรียน คณิตศาสตรของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 1. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวิจยั การศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อรัญญา นามแกว. (2538). ความสัมพันธระหวางความถนัดทางการเรียน เจตคติตอ การเรียนคณิตศาสตร กับ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ 6 สังกัดสำ�นักงานการประถม ศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชามัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อัจฉรา ไพจิตต. (2543 ). ปจจัยที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นประถม ศึ ก ษาป ที่ 6 ในโรงเรี ย นประถมศึ ก ษา สั ง กั ด สำ � นั ก งานการประถมศึ ก ษาจั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี . วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาหลักสูตรและวิธสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. อุทยั ตัง้ คำ�. (2528 ). ความสัมพันธระหวางสภาพสวนตัวนักเรียน สภาพแวดลอมทางบาน และโรงเรียนกับผล สัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาคณิตศาสตรชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 6 ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต ภาควิชาวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อุร ี ลิม้ พิสทุ ธิ.์ (2526). ความสัมพันธระหวางองคประกอบบางประการซึง่ ไมใชความสามารถทางสติปญ  ญา และ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. วิทยานิพนธปริญญา มหาบัณฑิต ภาควิชามัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ภาษาตางประเทศ Carrey, John F. O. (1978). The relationship between attitude toward school, sex, intelligence and academic achievement. Dissertation Abstracts Achievement. 39, (11) : 2824-A.

62


ทำ�อย่างไรถึงจะเรียนเก่งคณิตศาสตร์ ประเสริฐ เตชะนารา​เกียรติ

Jencks, Christopher. (1971). Social stratification and higher education. In Financing higher education : alternatives for the Federal Government. (p. 71–111). Edited by M. D. Orwing. The American College Testing Program. N.p. Ross, J. M., and Simpson, H. R. (1971). National survey of health and development ; 1 education attainment. The British Journal of Educational Psychology 41, (2) : 49 – 61. Spearman, Charles E. (1967). The doctrines of two factors. In Intelligence and ability. (p. 58-68). Edited by Stephen Wiseman. Harmendsworth: Penguin Books. Sung-Yun Jun. (1981). Principal leadership, teacher job satisfaction and student achievement in selected Korean Elementary Schools. Dissertation Abstracts Achievement. 42, (12) : 2405-A. Wright, Robert J. and Bean, Andrew G. (1974). The Influence of socioeconomic status on the predictability of college performance. Journal of Educational Measurement 11 : 277–283.

63



ความสัมพันธระหวางความยุติธรรมดานผลลัพธและดานกระบวนการ กับพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร และผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ ผานการรับรูการสนับสนุนจากองคกร The Relationship between Distributive and Procedural Justice and Organizational Citizenship Behavior and In-role Performance: The Mediating Effect of Perceived Organizational Support วิโรจน เจษฎาลักษณ 1 Viroj Jadesadalug บทคัด​ยอ​ บนพื้ น ฐานของทฤษฎี ก ารแลกเปลี่ ย นทางสั ง คมและบรรทั ด ฐานการตอบแทน นำ � ไปสู  ก ารศึ ก ษาที่ มี วัตถุประสงคเพื่อตรวจสอบ ปจจัยสาเหตุไดแก ความยุติธรรมดานผลลัพธ และความยุติธรรมดานกระบวนการ ที่มี ความสัมพันธกับปจจัยผล ไดแก พฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร และผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ โดยผานตัวแปรกลาง การรับรูการสนับสนุนจากองคกรโดยสำ�รวจขอมูลดวยแบบสอบถามจากตำ�รวจชั้นประทวน สำ�นักงานตำ�รวจภูธรภาค 3 ผลการวิจยั พบวา ความยุตธิ รรมดานผลลัพธและดานกระบวนการมีความสัมพันธทางบวก กับการรับรูการสนับสนุนจากองคกร สวนการรับรูการสนับสนุนจากองคกรมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการ เปนสมาชิกทีด่ ขี ององคกร แตไมมคี วามสัมพันธกบั ผลการปฏิบตั งิ านตามบทบาทหนาที่ สำ�หรับการทดสอบความเปน ตัวแปรกลาง พบวา การรับรูการสนับสนุนจากองคกรเปนตัวแปรกลางในความสัมพันธระหวางความยุติธรรมทั้งสอง ดานกับการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร แตไมมีลักษณะความเปนตัวแปรกลางในความสัมพันธระหวางความยุติธรรม ทั้งสองดานกับผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ ไดมีการอภิปราย สรุปผล และประโยชนของการศึกษา รวมทั้ง เสนอแนะการวิจัยในอนาคต คำ�สำ�คัญ : 1. การรับรูก ารสนับสนุนจากองคกร. 2. ความยุตธิ รรมดานผลลัพธ. 3. ความยุตธิ รรมดานกระบวนการ. 4. พฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร. 5. ผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่.

__________________

1

อาจารย ดร. ประจำ�​คณะ​วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย​ศิลปากร วิทยาเขต​สารสนเทศ​เพชร​บุรี


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

Abstract The basis of social exchange theory and the reciprocity norm, lead to the objective of this research: to investigate antecedent of Distributive Justice and Procedural Justice, in relation to Organizational Citizenship Behavior (OCB) and In-role Performance, through the mediate of Perceived Organizational Support (POS). The testing model uses data collected from questionnaires from provincial police region 3. The results reveal that Distributive Justice and Procedural Justice have a positive influence on Organizational Citizenship Behavior, but they do not have a positive influence on In-role Performance. In terms of Perceived Organizational Support it has a mediating effect on the relationship between both dimensions of Justice and Organizational Citizenship Behavior. However, Perceived Organizational Support has no mediating effect on the relationship between both dimension of Justice and In-role Performance. Finally, theoretical and managerial contributions are provided and suggestions for further research are introduced. Keywords : 1. Perceived Organizational Support. 2. Distributive Justice. 3. Procedural Justice. 4. Organizational Citizenship Behavior. 5. In-role Performance.

66


ความสัมพันธระหวางความยุติธรรมดานผลลัพธและดานกระบวนการกับพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร วิโรจน เจษฎาลักษณ

บทนำ� ประสิทธิภาพขององคกรเกิดขึ้นจากหลากหลาย ปจจัย สิ่งที่มีความสำ�คัญประการหนึ่ง คือ องคกรจะตอง ประกอบด ว ยบุ ค คลที่ ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ต ามบทบาทของ ตนเองอยางดี หรือมีผลการปฏิบตั งิ านตามบทบาทหนาที่ (In-role performance) และยั ง ต อ งมี พ ฤติ ก รรมที่ แสดงออกในลักษณะทีเ่ ปนประโยชนซงึ่ อยูเ หนือบทบาท หนาที่ของตนดวย พฤติกรรมเหลานี้เรียกวา พฤติกรรม การเป น สมาชิ ก ที่ ดี ข ององค ก ร (Organizational Citizenship Behavior: OCB) นับวาทุกองคกรตอง การพนักงานที่มีลักษณะเชนนี้ จากการศึกษาที่ผานมา นักวิจัยไดแบงรูปแบบของพฤติกรรมการเปนสมาชิก ที่ดีขององคกรไวหลากหลาย เชน Moorman (1991) แบงพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกรออกเปน 5 ดาน ไดแก การชวยเหลือผูอื่นโดยไมคำ�นึงถึงตนเอง ความมีน้ำ�ใจเปนนักกีฬา ความสำ�นึกในหนาที่การทำ� หนาที่พลเมืองที่ดี และการคำ�นึงถึงผูอื่น แนวความคิดเกีย่ วกับพฤติกรรมการเปนสมาชิก ทีด่ ขี ององคกร และผลการปฏิบตั งิ านตามบทบาทหนาที่ มักไดรบั การกลาวถึงควบคูก บั การรับรูก ารสนับสนุนจาก องคกร (Perceived Organizational Support: POS) โดย Eisenberger และคณะ (Eisenberger…et al. 1986) ไดนยิ ามการรับรูก ารสนับสนุนจากองคกร เปนความเชือ่ ของพนั ก งานเกี่ ย วกั บ การให ค วามสำ � คั ญ ในการ ชวยเหลือและดูแลเอาใจใสในความเปนอยูข องพนักงาน การรับรูการสนับสนุนจากองคกรของพนักงานไดรับ อิทธิพลมาจากนโยบายและการปฏิบัติตางๆ ที่แสดง ออกมาในรูปวัตถุหรือสัญลักษณแหงผลตอบ​แทนที่เปน ทัง้ รางวัลทีเ่ ปนตัวเงิน และเปนผลตอบแทนในรูปแบบอืน่ การรับรูการสนับสนุนจากองคกรจะทำ�ใหพนักงานเกิด ความรูสึกเปนภาระหนาที่และจะตองแสดงพฤติกรรม ที่ ส นั บ สนุ น เป า หมายขององค ก ร ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ข อง ตนเองเปนอยางดี เอาใจใสในสวัสดิภาพขององคกร และชวยเหลือองคกรใหบรรลุวตั ถุประสงค โดยพนักงาน สามารถทดแทนการเปนหนีบ้ ญ ุ คุณตอองคกรไดโดยผาน ความรูสึกที่ดี ความผูกพันธ ความจงรักภักดีตอองคกร หรือการแสดงพฤติกรรมทีด่ ตี อ องคกรและความพยายาม

ชวยเหลือองคกรในดานตางๆ การรับรูการสนับสนุนจากองคกรนี้จะขึ้นอยูกับ การดำ�เนินการขององคกรที่มีตอพนักงาน ถาพนักงาน เชื่อวาการสนับสนุนในรูปแบบตางๆ ไมวาจะเปนวัตถุ หรือสัญลักษณแหงผลตอบแทนหรือ รางวัลที่ตนไดรับ นัน้ มาจากความประสงคและเจตนารมณขององคกรเอง ก็จะทำ�ใหการรับรูของพนักงานเกี่ยวกับการสนับสนุน จากองคกรอยูในระดับสูง แตถาพนักงานเชื่อวาการ สนับสนุนอยางเดียวกันที่ไดรับนั้นเปนผลมาจากปจจัย ภายนอกหรื อ มาจากการถู ก ควบคุ ม และบั ง คั บ จาก ภายนอก เชน กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับของรัฐบาล หรือการมีสหภาพแรงงานที่เขมแข็ง ก็จะทำ�ใหการ รั บ รู  ข องพนั ก งานเกี่ ย วกั บ การสนั บ สนุ น จากองค ก ร เปนไปในทิศทางลบได (Eisenberger, Fasolo and Davis-LaMastro 1990) โดยตัวแปรที่มากอนการรับรูการสนับสนุนจาก องคกร จากการรวบรวมงานวิจัยที่เกี่ยวของ พบวามี ตัวแปรสำ�คัญ ที่ยังมีการนำ�มาศึกษาคอนขางนอย และ ยังไมไดแสดงใหเห็นความแตกตางอยางชัดเจน ซึง่ ผูว จิ ยั ไดน�ำ มาเปนปจจัยสาเหตุทมี่ ากอน ไดแก ความยุตธิ รรม ดานผลลัพธ (Distributive Justice) และความยุติธรรม ดานกระบวนการ (Procedural Justice) และปจจัยผล ไดแก พฤติกรรมการเปนสมาชิกทีด่ ขี ององค และผลการ ปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ ผูวิจัยสนใจที่จะศึกษาปจจัยตางๆ ดังกลาวกับ ตำ�รวจ กองบังคับการอำ�นวยการ ภูมิภาค 3 สำ�นักงาน ตำ�รวจแหงชาติ ซึ่งปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับงานธุรการ สารบรรณ ชวยอำ�นวยการ และงานเลขานุการ เปนตน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความสัมพันธของการรับรู ในความยุติธรรมดานผลลัพธ และดานกระบวนการ กับ พฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร และผลการ ปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ โดยผานการรับรูการ สนับสนุนจากองคกร เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ จากการศึ ก ษาทฤษฎี ตลอดจนเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวของ จึงนำ�มาสรางกรอบแนวคิดในการ

67


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

วิจยั สำ�หรับการศึกษาปจจัยสาเหตุไดแก ความยุตธิ รรม ดานกระบวนการ และความยุติธรรมดานผลลัพธ ที่มี ความสัมพันธกับปจจัยผล ไดแก พฤติกรรมการเปน สมาชิกที่ดีขององคกร และผลการปฏิบัติตามบทบาท หนาที่ และทดสอบความเปนตัวแปรกลางของการรับรู การสนับสนุนจากองคกร

เปนทางการ มีการกำ�หนดปริมาณของการแลกเปลี่ยน ที่มีความแนนอน ผูว จิ ยั มีความสนใจเกีย่ วกับบทบาทของกระบวน การแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นในองคกร โดยการนำ�ทฤษฎี การแลกเปลี่ยนทางสังคม มาเปนพื้นฐานของงานวิจัย ในขอบเขตนี้ การแลกเปลีย่ นทางสังคมจะทำ�ใหเกิดภาระ พฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร

ความยุติธรรมดานผลลัพธ Distributive Justice

Organizational Citizenship Behavior H6a, H6b

H1

H3

การรับรูการสนับสนุนจากองคกร

H5

Perceive Organizational Support H2

H4 H7a, H7b

ความยุติธรรมดานกระบวนการ

ผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่

Procedural Justice

In-role Performance

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย 1. ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทางสังคม ทฤษฏีการแลกแปลี่ยน (Exchange Theory) โดย Blau (1964) สามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท ได แ ก ทฤษฏี ก ารแลกเปลี่ ย นทางสั ง คม (Social Exchange Theory) และทฤษฏีการแลกเปลี่ยนทาง เศรษฐกิจ (Economic Exchange Theory) การแลก เปลี่ยนทางสังคม มีความคลายคลึงกับการแลกเปลี่ยน ทางเศรษฐกิ จ ในส ว นที่ ทำ � ให เ กิ ด ความคาดหวั ง เกี่ ย วกั บ ผลตอบแทนบางอย า งในอนาคต กล า วคื อ บุคคลมีความคาดหวังวาเขาควรจะไดรับสิ่งตอบแทน จากการลงทุนลงแรงในการแลกเปลี่ยนนั้น อยางไร ก็ตามการแลกเปลี่ยนทางสังคมมีความแตกตางจาก การแลกเปลี่ ย นทางเศรษฐกิ จ โดยการแลกเปลี่ ย น ทางสังคมไมไดใหความจำ�เพาะเจาะจงถึงลักษณะของ ผลตอบแทน และไม ไ ด เ กิ ด ขึ้ น ในลั ก ษณะของการ คำ�นวณผลไดผลเสียตลอดเวลา สวนการแลกเปลี่ยน ทางเศรษฐกิจจะอยูบนพื้นฐานของสัญญาที่มีลักษณะ

68

หนาที่ที่ไมเฉพาะเจาะจง เมื่อบุคคลหนึ่งปฏิบัติตอผูอื่น เปนอยางดี บุคคลนั้นก็จะมีความคาดหวังเกี่ยวกับผล ตอบแทนอยางแทจริง กลาวคือการแลกเปลีย่ นทางสังคม อยูบนพื้นฐานของความเชื่อมั่นวาการใหประโยชนหรือ การแสดงไมตรีจิตจะไดรับการตอบแทนในอนาคต การ แลกเปลีย่ นทางสังคมจึงตองอาศัยความไววางใจระหวาง กันดวย ทฤษฏีการแลกเปลี่ยนทางสังคมถูกนำ�มาใชใน งานวิจัยทางดานองคกรเพื่อเปนพื้นฐานสำ�หรับความ เขาใจในบทบาทขององคกรที่มีตอการสรางความรูสึก เปนภาระหนาที่ของพนักงานที่จะชวยเหลือองคกร และ แสดงพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร และเมื่อ นำ�ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทางสังคมมาใชในองคกรก็จะ พบความสัมพันธในการแลกเปลี่ยน 2 ประเภท คือ การ แลกเปลี่ยนระหวางองคกรกับพนักงาน และระหวาง หัวหนากับลูกนอง


ความสัมพันธระหวางความยุติธรรมดานผลลัพธและดานกระบวนการกับพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร วิโรจน เจษฎาลักษณ

2. บรรทัดฐานเกี่ยวกับการตอบแทน สำ � หรั บ แนวคิ ด บรรทั ด ฐานเกี่ ย วกั บ การ ตอบแทน ​(Reciprocity Norm) เปนลักษณะหนาที่ทาง ศี ล ธรรมและเป น กลไกเบื้ อ งต น ของการแลกเปลี่ ย น ความช ว ยเหลื อ หรื อ การให ป ระโยชน ซึ่ ง กั น และกั น เมื่อบุคคลใดก็ตามปฏิบัติตอผูอื่นเปนอยางดี จะทำ�ให บุคคลนั้นไดรับการปฏิบัติที่ดีตอบแทน เนื่องจากบุคคล ที่ ไ ด รั บ การปฏิ บั ติ ที่ ดี จ ากผู  อื่ น จะเกิ ด ความรู  สึ ก ถึ ง ภาระหนาที่วาจะตองตอบแทนในทางที่เปนประโยชน หรือตอบแทนดวยการปฏิบัติที่ดีในลักษณะใดลักษณะ หนึ่ ง กล า วคื อ บรรทั ด ฐานเกี่ ย วกั บ การตอบแทน ที่มีลักษณะทั่วไปจะสรางภาระหนาที่อันเปนประโยชน กั บ ฝ า ยหนึ่ ง เมื่ อ ฝ า ยนั้ น แสดงพฤติ ก รรมที่ เ ป น ประโยชนตอผูรับ ผูรับจะเกิดความรูสึกเปนหนี้บุญคุณ ตอผูใหซึ่งสามารถลดความรูสึกนี้ไดโดยการตอบแทน โดยอาจจะมีลักษณะเปนเงิน การชวยเหลือ การยอมรับ การให ค วามเคารพ มี ค วามรู  สึ ก ชอบพอ เป น ต น (Eisenberger…et al. 2001) เมื่ อ นำ � บรรทั ด ฐานเกี่ ย วกั บ การตอบแทนนี้ มาใช ใ นการศึ ก ษาความสั ม พั น ธ ร ะหว า งองค ก รกั บ พนักงาน เมื่อฝายหนึ่งไดรับการปฏิบัติที่ดีจะทำ�ใหเกิด การตอบแทนที่จะนำ�ไปสูผลลัพธที่เปนประโยชนกับ ทั้งสองฝาย พนักงานจะเกิดความรูสึกวาจะตองตอบ แทนตอการปฏิบัติที่เปนประโยชนที่ไดรับจากองคกร พนักงานมักจะไดรับการจูงใจใหตอบแทนองคกร โดย การปฏิบัติในแนวทางที่องคกรเห็นวาเกิดคุณคาและ มีความสำ�คัญ จากบรรทัดฐานเกี่ยวกับการตอบแทน การกระทำ � ขององค ก รที่ เ ป น ประโยชน ต  อ พนั ก งาน จะสรางภาระหนาที่แกพนักงานในการที่จะตอบแทนใน แนวทางทีเ่ ปนประโยชนตอ องคกร (Eigenberger…et al. 1986) การกระทำ�ขององคกรทีแ่ สดงถึงการดูแลเอาใจใส พนักงานจะสรางความรูสึกเปนภาระหนาที่ซึ่งจะชวย เพิ่มพฤติกรรมในการทำ�งานของพนักงาน กลาวคือ ผูรับการกระทำ�ที่เปนประโยชนจะเกิดความรูสึกเปนหนี้ บุญคุณซึ่งสามารถลดความรูสึกนี้ไดโดยการตอบแทน 3. ทฤษฎีการสนับสนุนจากองคกร ทฤษฎีการสนับสนุนจากองคกร (Organizational Support Theory : OST) ที่ เ กิ ด จากแนวคิ ด ของ

Eisenberger และคณะ (Eisenberger…et al. 1986) ซึ่ ง มี ค วามเชื่ อ ว า องค ก รจะมี ค วามสามารถรั ก ษา ทรั พ ยากรบุ ค คลที่ มี ค วามสำ � คั ญ อย า งยิ่ ง ต อ องค ก ร ไวไดนั้น จำ�เปนตองอาศัยความรูสึกนึกคิด ความเชื่อ ตางๆ ในสิ่งที่ดีตอองคกร ทำ�ใหพนักงานในองคกรมี ความผูกพันกับองคกร และการแสดงพฤติกรรมสำ�คัญ ที่เปนประโยชนตอองคกร ดังนั้นตองเกิดจากการที่ องคกรตองใหการสนับสนุนในดานตางๆ แกพนักงาน ไม ว  า จะเป น รางวั ล ที่ เ ป น ตั ว เงิ น การเลื่ อ นขั้ น เลื่ อน ตำ�แหนง การสนับสนุนในดานการยกระดับสภาพชีวิต ความเปนอยูใหดีขึ้น รวมทั้งการสนับสนุนในดานการ ยอมรับความคิดเห็น การมีสว นรวม การพัฒนายกระดับ ความรูความสามารถของพนักงานในองคกร เปนตน ซึ่งเมื่อองคกรมีการสนับสนุนในดานตางๆ ดังกลาวแลว ก็จะสรางการรับรูใหเกิดขึ้นกับพนักงาน ซึ่งเรียกวา การรับรูการสนับสนุนจากองคกร ทฤษฎีนี้ในชวงตน ไดมีผูนำ�มาใชในการศึกษาการรับรูการสนับสนุนของ องค ก รที่ มี ต  อ ความผู ก พั น ธ ข องพนั ก งานต อ องค ก ร แตในชวงหลังจากนั้น ไดศึกษาความสัมพันธกับตัวแปร อื่นๆ มากขึ้น ทั้งตัวแปรที่มากอน และตัวแปรที่เปนผล โดยปจจัยทีม่ ากอน ซึง่ มีผลตอการรับรูก ารสนับสนุนของ องคกร ที่นับวามีความเกี่ยวของกับการสนับสนุนดาน อื่นๆ ดวย ไดแก ความยุติธรรมดานผลลัพธ และความ ยุตธิ รรมดานกระบวนการ และการรับรูก ารสนับสนุนนัน้ ทำ�ใหเกิดผลในดานความรูสึกนึกคิดและพฤติกรรมของ พนักงานที่เปนประโยชนตอองคกร ในการวิจัยนี้ไดแก พฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร และผลการ ปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ 4. การรับรูการสนับสนุนจากองคกร จากการรวบรวมเอกสารงานวิจยั พบวา มีนกั วิจัยหลายทานไดใหค�ำ นิยามการรับรูการสนับสนุนจาก องคกรอยางหลากหลายแตเปนไปในแนวทางเดียวกับ Eisenberger และคณะ (Eisenberger…et al. 1986) ที่ นิยามไววา การรับรูก ารสนับสนุนจากองคกร (Perceived Organizational Support : POS) เปนความเชือ่ โดยทัว่ ไป ของพนักงานเกีย่ วกับการทีอ่ งคกรใหความสำ�คัญแกการ ชวยเหลือและดูแลเอาใจใสในความเปนอยูของพวกเขา นอกจากนี้ ยั ง มี นั ก วิ จั ย ที่ ใ ห ค วามหมายการรั บ รู  ก าร

69


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

สนับสนุนจากองคกรไวอีกวา เปนระดับที่องคกรหรือ ผูบ ริหารระดับสูงแสดงความเอาใจใสในความเปนอยูข อง พนักงานสวน George and Jones (1996) ใหความหมาย ไววา เปนระดับทีอ่ งคกรดูแลเอาใจใสในความเปนอยูข อง สมาชิก รับฟงขอรองเรียนตางๆ ของสมาชิก พยายาม ช ว ยเหลื อ สมาชิ ก เมื่ อ สมาชิ ก มี ป  ญ หาและปฏิ บั ติ ต  อ สมาชิกดวยความเปนธรรม โดยสามารถแบงการรับรู การสนั บ สนุ น จากองค ก รของบุ ค คลออกได เ ป น สอง ประเภท ไดแก ประเภทแรก บุคคลที่มีระดับการรับรู การสนับสนุนจากองคกรสูง จะมีความเชื่อวาองคกร จะใหคุณภาพชีวิตที่ดี และเห็นถึงความเสียสละในการ ปฏิบัติงานของตน รวมทั้งจะไดรับความชวยเหลือจาก องคกรหากมีปญ  หาเกิดขึน้ ประเภททีส่ อง บุคคลทีม่ กี าร รับรูการสนับนสนุนจากองคกรต่ำ� จะมีความเชื่อวา ตน กำ�ลังถูกละเลยและมองขามความรูความสามารถ กำ�ลัง ถูกเอารัดเอาเปรียบจากองคกรอยู และเชื่อวาอาจถูก โยกยายตำ�แหนงงาน หรือใหออกจากงานไดตลอดเวลา 5. ความยุติธรรมดานผลลัพธ ความยุติธรรมดานผลลัพธ (Distributive Justice) ใหคำ�นิยามไดวาเปนการรับรูถึงความยุติธร รมตอผลประโยชนทไี่ ดรบั จากองคกร ในลักษณะตางๆ ที่ เปนจำ�นวนเงิน หรือการไดรบั โอกาสทีเ่ ปนประโยชนอนื่ ๆ เชนการเลื่อนตำ�แหนง เปนตน (Niehoff and Moorman 1993 ; Rhoades, Eisenberger and Armeli 2001) ซึ่ ง มี ผู  ศึ ก ษาป จ จั ย ด า นการรั บ รู  ค วามยุ ติ ธ รรมด า น ผลลัพธโดยตรง หรือเปนการศึกษาถึงผลรางวัลที่ไดรับ จากองคกร ที่มีผลตอการรับรูการสนับสนุนจากองคกร อยูห ลากหลาย ดังเชน Allen, Shore and Griffeth (2003) ไดศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธของการรับรูในบทบาท การสนับสนุนจากองคกร กับการสนับสนุนในการปฏิบตั ิ ทางดานการสรรหาทรัพยากรมนุษย ทีม่ ตี อ กระบวนการ การลาออกจากงาน ซึ่งไดศึกษาจากพนักงานขายใน หางสรรพสินคาจำ�นวน 215 คน พบวา การมีสว นรวมใน การตัดสินใจของพนักงาน การไดรับผลตอบแทนอยาง ยุติธรรม และโอกาสในการไดรับความเจริญกาวหนา มีความสัมพันธทางบวกตอการรับรูการสนับสนุนจาก องคกร อยางมีนัยสำ�คัญจากการทดสอบดวยวิธีการ วิ เ คราะห เ ส น ทางความสั ม พั น ธ เ ชิ ง สาเหตุ ผลการ

70

ศึกษาของ Loi, Hang-yue and Foley (2006) ศึกษา ความสัมพันธระหวางการรับรูในความยุติธรรมดาน ผลลัพธกับความผูกพันตอองคกร โดยมีการรับรูการ สนับสนุนขององคกรเปนตัวแปรกลาง พบวา การรับรู ความยุติธรรมดานผลลัพธ มีความสัมพันธในทางบวก กับการรับรูการสนับสนุนขององคกร โดยการทดสอบ สมมติฐานโดยใช Hierachical regression ซึ่งสำ�รวจ ขอมูลจากทนายความจำ�นวน 514 คน ในเกาะฮองกง การศึกษาของ Hochwarter และคณะ (Hochwarter… et al. 2003) เกีย่ วกับความสัมพันธของการรับรูน โยบาย และผลลัพธของงาน โดยมีการรับรูการสนับสนุนจาก องคกรเปนตัวแปรกลาง ซึ่งใชวิธีการวิเคราะหเสนทาง ความสัมพันธเชิงสาเหตุ ดวยโปรแกรม LISREL เก็บ ขอมูลจากพนักงานเต็มเวลาที่ทำ�งานในมหาวิทยาลัย ขนาดใหญ ทางตะวั น ออกเฉี ย งใต ข องประเทศ สหรัฐอเมริกา จากการศึกษาพบวารางวัลและสภาพการ ทำ�งานจะสงผลตอการรับรูก ารสนับสนุนจากองคกรของ พนักงาน 6. ความยุติธรรมดานกระบวนการ ความยุตธิ รรมดานกระบวนการ (Procedural Justice) หมายถึ ง การรั บ รู  ใ นความยุ ติ ธ รรมด า น กระบวนการ ซึ่งเปนกระบวนการที่เปนทางการสำ�หรับ การตัดสินใจในการกำ �หนดและจัดสรรผลลัพธ หรือ ผลประโยชนในลักษณะตางๆ Moorman (1991) จาก ผลการศึกษาของ Loi, Hang-yue and Foley (2006) ศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรูใ นความยุตธิ รรมกับ ความผูกพันตอองคกร โดยมีการรับรูการสนับสนุนของ องคกรเปนตัวแปรกลาง พบวา การรับรูความยุติธรรม ดานกระบวนการ มีความสัมพันธในทางบวกกับ การรับรู การสนับสนุนขององคกร โดยการทดสอบสมมติฐาน โดยใช Hierachical regression ซึ่งสำ�รวจขอมูลจาก ทนายความจำ�นวน 514 คน ในเกาะฮองกง หรือจาก ผลการวิจัยของ Hochwarter และคณะ (Hochwarter… et al. 2003) ที่ศึกษากับหัวหนางานและลูกนองจำ�นวน 211 คู พบวาความยุติธรรมดานกระบวนการมีความ สัมพันธทางบวกกับการรับรูการสนับสนุนจากองคกร และการศึกษาของ Moorman, Blakely and Niehoff (1998) ทีศ่ กึ ษากับหัวหนางานและลูกนองในโรงพยาบาล


ความสัมพันธระหวางความยุติธรรมดานผลลัพธและดานกระบวนการกับพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร วิโรจน เจษฎาลักษณ

ทหารจำ�นวน 157 คู พบวาความยุติธรรมดานกระบวน การมีความสัมพันธทางบวกกับการรับรูการสนับสนุน จากองคกร 7. พฤติกรรมการเปนสมาชิกทีด่ ขี ององคกร จากทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทางสังคม เกี่ยว กับการแสดงการตอบแทนสิ่งที่ไดรับการสนับสนุนจาก องคกร ดวยการแสดงพฤติกรรมการเปนสมาชิกทีด่ ขี อง องคกร (Organizational Citizenship Behavior : OCB) ซึ่งในการศึกษานี้ ใหคำ�จำ�กัดความ พฤติกรรมการเปน สมาชิกที่ดีตอองคกร หมายถึง การแสดงพฤติกรรมของ บุคคลในการทำ�งานและดำ�รงอยูในองคกรนอกเหนือไป จากขอกำ�หนดในบทบาทหนาที่ (Coleman and Borman 2000) ดังนัน้ การทีอ่ งคกรตางๆ จะสามารถทำ�หนาทีไ่ ด อย า งสมบู ร ณ นั้ น นอกจากบุ ค คลในองค ก รจะต อ ง ทำ�งานที่ไดรับมอบหมายใหสำ�เร็จลุลวงแลวก็ยังจะตอง แสดงพฤติกรรมตางๆ ทีอ่ ยูน อกเหนือไปจากขอกำ�หนด ในบทบาทหนาทีข่ องตนดวย พฤติกรรมการเปนสมาชิก ที่ดีขององคกรประกอบดวย การชวยเหลือผูอื่นโดย ไมคำ�นึงถึงตนเอง การคำ�นึงถึงผูอื่นดวยการเห็นอก เห็นใจ ปองกันไมใหเกิดปญหาขึน้ มนี �้ำ ใจเปนนักกีฬา คือ การระงับยับยั้งการกระทำ�บางอยาง การอดทนอดกลั้น ต อ ความคั บ ข อ งใจ ความไม ส ะดวกสบายหรื อ ความเครียด การทำ�หนาที่ของพลเมืองภายในองคกร ดวยความรับผิดชอบและสรางสรรค รวมทัง้ มีความสำ�นึก ในหนาที่ คือการปฏิบัติที่เหนือไปจากขอกำ�หนดขั้นต่ำ� เกีย่ วกับกฎระเบียบนโยบายตางๆ เชน การตรงตอเวลา ความมีระเบียบ การใสใจในทรัพยสนิ ขององคกร เปนตน จากการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของพบวาการ รั บ รู  ก ารสนั บ สนุ น จากองค ก ร มี ค วามเกี่ ย วข อ งกั บ พฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร โดยรับรูการ สนับสนุนจากองคกร เปนตัวแปรเหตุที่มีความสัมพันธ กับการแสดงพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร จากการศึกษาของ Eisenberger, Fasolo and DavisLaMastro (1990) ไดศึกษาจากพนักงานที่ปฏิบัติงาน เปนรายชั่วโมงในโรงงานอุตสาหกรรมเหล็กขนาดใหญ จำ�นวน 109 คน พบวา การรับรูการสนับสนุนจาก องคกรมีความสัมพันธทางบวกกับการเปนสมาชิกที่ดี ขององคกร สอดคลองกับ Bell and Menguc (2002) ที่

ศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรูการสนับสนุนจาก องคกร ที่มีตอการรับรูในคุณภาพการใหบริการของ ลูกคา พบวา การรับรูการสนับสนุนขององคกรมีผล ทางบวกกั บ การเป น สมาชิ ก ที่ ดี ข ององค ก ร ศึ ก ษา จากพนักงานขาย ทางตอนเหนือของประเทศสหรัฐ อเมริกา จำ�นวน 276 คน ทดสอบสมมติฐานดวยการ วิเคราะหเสนทาง ในโมเดลเชิงสาเหตุ ตลอดจน Chen, Aryee and Lee (2005) ทดสอบความเปนตัวแปร กลางของโมเดลการรั บ รู  ก ารสนั บ สนุ น จากองค ก ร จากพนักงานชั่วคราวจำ�นวน 217 คน ที่ทำ�งานใน มหาวิทยาลัย พบวา การรับรูการสนับสนุนจากองคกร มีความสัมพันธกบั การเปนสมาชิกทีด่ ขี ององคกร รวมทัง้ ความสัมพันธในลักษณะดังกลาวที่ การรับรูก ารสนับสนุน จากองคกร มีลักษณะเปนตัวแปรเหตุ สอดคลองกับผล การศึกษา Ferres, Connell and Travaglione (2005) ; Piercy…et al. (2006) ; Kaufman, Stamper and Tesluk (2001) ; Moideenkutty…et al. (2006) 8. ผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ ผลการปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ (In-Role Performance) หมายถึง ผลการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้น จากภาระหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย จากองคกร Turnley และคณะ (Turnley…et al. 2003) มีงานวิจัยที่กลาวถึง ปจจัยที่สงตอผลการปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ ดังเชน การวิเคราะหงานวิจัยของ Rhoades and Eisenberger (2002) ที่ระบุการเพิ่มขึ้นของการรับรูการสนับสนุน จากองคกร จะเพิ่มผลการปฏิบัติงานตามหนาที่ของ พนักงาน และจากการศึกษาของ Eisenberger และ คณะ (Eisenberger…et al. 2002) ศึกษาเชิงทฤษฎี พบวา การรับรูการสนับสนุนขององคกรผานความรูสึก ในการตอบแทนจะเพิ่มผลการปฏิบัติงานตามบทบาท หนาที่ ผลการปฏิบัติงานที่นอกเหนือบทบาทหนาที่ และลดพฤติกรรมดานลบของพนักงาน และยังมีงาน วิจยั เชิงประจักษทศี่ กึ ษาในลักษณะการวิเคราะหเสนทาง ในโมเดลเชิงสาเหตุ พบวา การรับรูการสนับสนุนจาก องคกร มีความสัมพันธทางบวกกับผลการดำ�เนินงาน ของพนักงาน และมีลักษณะความเปนตัวแปรกลางใน ความสัมพันธระหวางการรับรูเกี่ยวกับนโนบายระดับ ตางๆ ขององคกร กับผลการดำ�เนินงานของพนักงาน

71


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ดวย รวมทัง้ การศึกษาของ Howes และคณะ (Howes… et al. 2000) พบวาการรับรูการสนับสนุนจากองคกร มี ความสัมพันธทางบวกกับ ผลการปฏิบตั งิ านของทีมงาน การศึกษาของ Lynch, Eisenberger and Armeli (1999) ศึกษาพนักงานหลายองคกร ในอเมริกาเหนือ ที่เขารวม ประชุม พบวา การรับรูการสนับสนุนจากองคกรใน ระดับสูง จะเพิ่มผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ และผลการปฏิ บั ติ ง านที่ อ ยู  น อกเหนื อ บทบาทหน า ที่ นอกจากนั้นยังมีการศึกษาของ Eisenberger และคณะ (Eisenberger…et al. 2001) ที่ศึกษาความสัมพันธ ของการรับรูก ารสนับสนุนจากองคกรผานความรูส กึ ของ การตอบแทน พบวา เมื่อพนักงานรับรูวาองคกรใหการ สนับสนุนก็จะมีความรูสึกตองตอบแทนและจะเปนการ เพิ่มผลการปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ และลดพฤติกรรม ในดานลบดวย ตลอดจนการศึกษาของ Stamper and Johlke (2003) ศึกษาความสัมพันธของความเครียด จากความขัดแยงและความไมชัดเจนในองคกร กับ ทั ศ นคติ ต  อ งานและผลการปฏิ บั ติ ง านในหน า ที่ โดยผานการรับรูการสนับสนุนจากองคกร พบวา การ รับรูก ารสนับสนุนจากองคกรมีลกั ษณะเปนตัวแปรกลาง จากการสำ�รวจเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วของกับผลการ ปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ จึงสรุปไดวา การรับรูการ สนับสนุนจากองคมีความสัมพันธทางบวกกับผลการ ปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ 9. ขอมูลกองบังคับการตำ�รวจภูธรภาค 3 สำ�นักงานตำ�รวจแหงชาติ พระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการ สำ�นักงาน ตำ�รวจแหงชาติ พ.ศ. 2548 และกฏกระทรวงแบงสวนรา ชการเปนกองบังคับการ หรือสวนราชการทีเ่ รียกชือ่ อยา งอื่นในสำ�นักงานตำ�รวจแหงชาติ พ.ศ.2548 ไดกำ�หนด หน ว ยงานปฏิ บั ติ ก ารระดั บ พื้ น ที่ อ อกเป น 10 กอง บัญชาการ ไดแก กองบัญชาการตำ�รวจนครบาล และ ตำ�รวจภูธรภาค 1-9 ตำ�รวจภูธรภาค 1-9 มีอ�ำ นาจหนาที่ ในเขตอำ�นาจรับผิดชอบ หรือเขตพื้นที่การปกครอง เกีย่ วกับการกำ�หนดยุทธศาสตร รวมทัง้ วางแผน ควบคุม ตรวจสอบ ใหค�ำ แนะนำ� และเสนอแนะการปฏิบตั งิ านตาม อำ�นาจหนาทีข่ องตำ�รวจภูธรภาค และหนวยงานในสังกัด การบูรณาการรวมกับหนวยงานตำ�รวจ หรือหนวยงาน

72

อื่นที่มีความสัมพันธเกี่ยวของในเขตรับผิดชอบ การ ควบคุม ตรวจสอบ แนะนำ�หนวยงานในสังกัดใหเปน ไปตามนโนยายของคณะกรรมการนโยบายตำ � รวจ แหงชาติ และสำ�นักงานตำ�รวจแหงชาติ การดำ�เนินการ เกีย่ วกับการจัดระบบงาน และบริหารงานบุคคล การเงิน การบัญชี การงบประมาณ การพัสดุ อาคารสถานที่ การดำ�เนินการปองกันและปราบปรามอาชญากรรม การรักษาความสงบเรียบรอย การบริการประชาชน การรักษาความมั่นคงภายใน การบรรเทาสาธารณภัย การจราจร การสรรหาบุคคลมารับราชการ การคนควา หาความรู การสรางและพัฒนาหลักสูตร ตำ�รวจภูธรภาค 3 รับผิดชอบ 8 จังหวัด ไดแก จ.นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ ยโสธร อุบลราชธานี และอำ�นาจเจริญ โดยมีทตี่ งั้ ตำ�รวจภูธรภาค 3 อยูที่ อ.เมือง จ.นครราชสีมา ในแตละตำ�รวจภูธรภาค จะมีการแบงสวนราชการ เปน กองบังคับการอำ�นวยการ มีอำ�นาจหนาที่และ ความรับผิดชอบในการดำ�เนินการเกี่ยวกับงานธุรการ สารบรรณ ชวยอำ�นวยการ งานเลขานุการของตำ�รวจ ภูธรภาค จัดระบบงานและบริหารงานบุคคล งานการเงิน การบัญชี การงบประมาณ งานพัสดุ อาคารสถานที่ งานพลาธิการ งานสงกำ�ลังบำ�รุง งานยานพาหนะ งาน สือ่ สาร การจัดทำ�ยุทธศาสตร แผนงาน โครงการ งานวิจยั งานประเมินผล งานเทคโนโลยีสารสนเทศ งานกฎหมาย และวินยั งานฝกอบรม งานชุมชนสัมพันธ วิเทศสัมพันธ งานสวัสดิภาพเด็ก เยาวชน และสตรี รวมทั้งปฏิบัติงาน สนับสนุนหรือปฏิบตั งิ านรวมกับหนวยงานอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ แบงออกเปน 1 งาน และ 5 ฝายดังนี้ 1. งานเทคโนโลยีสารสนเทศ รับผิดชอบงานเกีย่ ว กับเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ฝา ยอำ�นวยการ 1 (ธุรการและกำ�ลังพล) มีหนาที่ และความรับผิดชอบเกีย่ วกับงานธุรการ สารบรรณ งาน เลขานุการ งานบริหารงานบุคคล งานสวัสดิการ งาน ศึกษาอบรม และงานสรรหาของตำ�รวจ ภูธรภาค 3. ฝายอำ�นวยการ 2 (ยุทธศาสตร) มีหนาที่และ ความรั บ ผิ ด ชอบเกี่ ย วกั บ งานยุ ท ธศาสตร แผนงาน โครงการ งานงบประมาณ งานวิจัยและประเมินผล งานการขาว


ความสัมพันธระหวางความยุติธรรมดานผลลัพธและดานกระบวนการกับพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร วิโรจน เจษฎาลักษณ

4. ฝายอำ�นวยการ 3 (สงกำ�ลังบำ�รุง) มีหนาที่ และความรับผิดชอบเกีย่ วกับงานการเงิน และบัญชี งาน พลาธิการ งานพัสดุ งานสงกำ�ลังบำ�รุง งานยานพาหนะ งานสื่อสาร 5. ฝายอำ�นวยการ 4 (กฎหมายและวินยั ) มีหนาที่ และความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานคดีและวินัย การรับคำ� รองเรียน ขาราชการตำ�รวจวากระทำ�ผิดวินยั การพัฒนา ตรวจสอบ กลั่นกรอง วิเคราะหใหขอเสนอแนะ ขอ พิจารณาเกีย่ วกับงานดานกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ คำ � สั่ ง สำ � นวนการสอบสวนคดี อ าญาที่ อ ยู  ใ นความ รับผิดชอบของตำ�รวจภูธรภาค 6. ฝายอำ�นวยการ 5 (ชุมชนและมวลชนสัมพันธ) มีหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบเกีย่ วกับงานประชาสัมพันธ งานชุมชนและมวลชนสัมพันธ งานวิเทศสัมพันธ สมมติฐานการวิจัย Hypothesis 1 ความยุ ติ ธ รรมด า นผลลั พ ธ มีความสัมพันธทางบวกกับ การรับรูการสนับสนุนจาก องคกร Hypothesis 2 ความยุติธรรมดานกระบวน การมีความสัมพันธทางบวกกับ การรับรูการสนับสนุน จากองคกร Hypothesis 3 การรั บ รู  ก ารสนั บ สนุ น จาก องคกร มีความสัมพันธทางบวกกับ พฤติกรรมการเปน สมาชิกที่ดีขององคกร Hypothesis 4 การรั บ รู  ก ารสนั บ สนุ น จาก องคกร มีความสัมพันธทางบวกกับ ผลการปฏิบัติงาน

ตามบทบาทหนาที่ Hypothesis 5 พฤติกรรมการเปนสมาชิกทีด่ ี ขององคกร มีความสัมพันธทางบวกกับ ผลการปฏิบตั งิ าน ตามบทบาทหนาที่ Hypothesis 6a การรั บ รู  ก ารสนั บ สนุ น จาก องคกร เปนตัวแปรกลางในความสัมพันธระหวาง ความ ยุติธรรมดานผลลัพธและพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดี ขององคกร Hypothesis 6b การรั บ รู  ก ารสนั บ สนุ น จาก องคกร เปนตัวแปรกลางในความสัมพันธระหวาง ความ ยุตธิ รรมดานกระบวนการและพฤติกรรมการเปนสมาชิก ที่ดีขององคกร Hypothesis 7a การรั บ รู  ก ารสนั บ สนุ น จาก องคกร เปนตัวแปรกลางในความสัมพันธระหวาง ความ ยุ ติ ธ รรมด า นผลลั พ ธ แ ละผลการปฏิ บั ติ ต ามบทบาท หนาที่ Hypothesis 7b การรั บ รู  ก ารสนั บ สนุ น จาก องคกร เปนตัวแปรกลางในความสัมพันธระหวาง ความ ยุตธิ รรมดานกระบวนการและผลการปฏิบตั ติ ามบทบาท หนาที่ ระเบียบวิธีการวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ประชากรของการศึกษาเปนตำ�รวจชั้นประทวน ที่สังกัดกองบังคับการอำ�นวยการ ตำ�รวจภูธรภาค 3 สำ�นักงานตำ�รวจแหงชาติ มีจำ�นวน 163 คน ดังตอไปนี้

ตารางที่ 1 ประชากรและกลุมตัวอยาง หนวยงาน

จำ�นวนเจาหนาที่ประทวน

จำ�นวนกลุมตัวอยาง

ฝายอำ�นวยการ 1 ฝายอำ�นวยการ 2 ฝายอำ�นวยการ 3 ฝายอำ�นวยการ 4 ฝายอำ�นวยการ 5 รวม

31 34 38 30 30 163

20 20 20 20 20 100

73


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

การสำ � รวจครั้ ง นี้ ไม สำ � รวจงานเทคโนโลยี เนื่องจากมีเจาหนาที่ตำ�รวจปฏิบัติงานเพียง 3 นาย และไดมอบหมายใหทั้งหมดมาปฏิบัติงาน และขึ้นกับ การบังคับบัญชารวมกันกับ ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ ตำ�รวจภูธรภาค 3 ซึ่งเปนหนวยงานแยกตางหากจาก กองบังคับการอำ�นวยการ กลุมตัวอยาง การสุ  ม ตั ว อย า ง ใช วิ ธี ก ารสุ  ม อย า งง า ยจาก ตาราง (ศิริชัย กาญจนวาสี 2547) ฝายอำ�นวยการละ 20 คน รวมกลุมตัวอยางทั้งหมด 100 คน จำ�นวนตอบ กลับทั้งหมด 92 ชุด คิดเปนรอยละ 92 ซึ่งเปนไปตาม เกณฑของจำ�นวนตอบกลับแบบสอบถาม จะตองไมต่ำ� กวา รอยละ 20 (Aaker, Kumar and Day 2001) จำ�นวนผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ เปนเพศ ชาย คิดเปนรอยละ 65.2 อายุ 38 ป คิดเปนรอยละ 10.9 มีการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 59.8 ระยะ เวลาปฏิบตั งิ าน 7 ป คิดเปนรอยละ 7.6 สถานภาพสมรส คิดเปนรอยละ 79.3 รายไดทไี่ ดรบั อยูใ นระหวาง 10,00115,000 บาท คิดเปนรอยละ 47.8 และสวนใหญปฏิบัติ หนาที่อยูในสังกัดฝายกฎหมายและวินัย คิดเปนรอยละ 22.8 2. การวัดตัวแปร การวัดตัวแปรที่ศึกษา ใชแบบสอบถามแบบ มาตรประมาณคา Likert-scale จำ�นวน 5 ระดับ โดย ระดับ 1 เทากับเห็นดวยนอยที่สุด ถึง ระดับ 5 เทากับ เห็นดวยมากที่สุด โดยมีการวัดตัวแปรดังรายละเอียด ตอไปนี้

ความยุตธิ รรมดานผลลัพธ (Distributive justice) เปนการประเมินการรับรูเกี่ยวกับความยุติธรรมของ ผลลัพธ หรือการจัดสรรทรัพยากร ที่ไดรับจากองคการ จำ�นวน 5 ขอ ปรับจากแบบสอบถามของ Niehoff and Moorman (1993) จำ�นวน 5 ขอ ความยุติธรรมดานกระบวนการ (Procedural justice) เปนการประเมินการรับรูข องความยุตธิ รรมดาน กระบวนการ ซึง่ เปนการวัดทางดานการรับรูข องกระบวน การทีเ่ ปนทางการสำ�หรับการตัดสินใจในการกำ�หนดและ จัดสรรผลลัพธ จำ�นวน 6 ขอ ปรับจากแบบสอบถามของ Moorman (1991) จำ�นวน 6 ขอ การรับรูการสนับสนุนจากองคกร (Perceived Organizational Support: POS) วัดโดยปรับจาก แบบสอบถามของ Eisenberger และคณะ (Eisenberger… et al. 2001) จำ�นวน 9 ขอ พฤติ ก รรมการเป น สมาชิ ก ที่ ดี ข ององค ก ร (Organizational Citizenship Behavior: OCB) วัดโดย ปรับจากแบบสอบถามของ Coleman and Borman (2000) จำ�นวน 18 ขอ ผลการปฏิ บั ติ ง านตามหน า ที่ (In-Role Performance) วั ด โดยปรั บ จากแบบสอบถามของ Turnley และคณะ (Turnley…et al. 2003) จำ�นวน 5 ขอ 3. วิธีการ การหาความเชื่อมั่น (Reliability) ของขอคำ�ถาม แตละดาน ดวยคา Cronbach alphas ซึง่ มีคา อยูร ะหวาง 0.63 – 0.91 (Hair… et al. 2006) ดังแสดงรายละเอียด ในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 คาความเชื่อมั่นของเครื่องมือวัด ตัวแปร ความยุติธรรมดานผลลัพธ (DIS) ความยุติธรรมดานกระบวนการ (PRO) การรับรูการสนับสนุนจากองคการ (POS) พฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคการ (OCB) ผลการดำ�เนินงานตามบทบาทหนาที่ (INR)

74

คาความเชื่อมั่น (Cronbach Alpha) 0.63 0.63 0.73 0.91 0.85


ความสัมพันธระหวางความยุติธรรมดานผลลัพธและดานกระบวนการกับพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร วิโรจน เจษฎาลักษณ

สำ�หรับการทดสอบสมมติฐานของการวิจัย ใช การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) เพือ่ ทดสอบความสัมพันธของปจจัยตางๆ และ =

การทดสอบความเปนตัวแปรกลาง ซึ่งมีสมการที่ใชใน การทดสอบตามสมมติฐานดังตอไปนี้

β01 + β1DIS + ε

Equation 1: POS

Equation 2: POS = β02 + β1PRO + ε Equation 3: OCB = β03 + β1POS + ε Equation 4: INR = β04 + β1POS + ε Equation 5: INR = β05 + β1OCB + ε Equation 6a: OCB = β06 + β1POS + β2DIS + ε Equation 6b: OCB = β07 + β1POS + β2PRO + ε Equation 7a: INR = β08 + β1POS + β2DIS + ε Equation 7b: INR = β10 + β1POS + β2PRO + ε จากสมการทดสอบสมมติฐาน แสดงรายละเอียดของแตละตัวแปรดังนี้ DIS = Distributive Justice (ความยุติธรรมดานผลลัพธ) PRO = Procedural Justice (ความยุติธรรมดานกระบวนการ) POS = Perceived Organizational Support (การรับรูการสนับสนุนจากองคกร) OCB = Organizational Citizenship Behavior (พฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร) INT = In-role Performance (ผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่)

ผลการวิจัย ผลการวิจัยไดแบงการนำ�เสนอเปน 2 สวน โดย สวนที่หนึ่งนำ�เสนอดานความสัมพันธ และสวนที่สองนำ�

เสนอเกี่ยวกับการทดสอบสมมติฐาน ดังตารางที่ 3 และ ตารางที่ 4

ตารางที่ 3 คาเฉลี่ย คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหความสัมพันธ ตัวแปร คาเฉลี่ย (Mean) คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ความยุติธรรมดานผลลัพธ (DIS) ความยุติธรรมดานกระบวนการ (PRO) การรับรูการสนับสนุนจากองคกร (POS) พฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร (OCB) ผลการดำ�เนินงานตามบทบาทหนาที่ (INR)

DIS 2.87 0.64 0.62** 0.66** 0.39** 0.16

PRO

POS

OCB

INR

2.72 0.52

2.76 0.53

3.51 0.63

3.37 0.68

0.64** 0.24* 0.18

0.30** 0.19

0.62**

-

* p < 0.05, ** p < 0.01

75


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

จากตารางที่ 3 แสดงใหเห็นผลการวิเคราะห คาเฉลี่ย คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาความ สัมพันธ ของตัวแปรที่ศึกษา พบวาตัวแปรสวนใหญมี

ความสัมพันธกันแตมีเพียงตัวแปร ผลการปฏิบัติงาน ตามบทบาทหน า ที่ ไ ม มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ ตั ว แปรอื่ น ยกเวนพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร

ตารางที่ 4 การวิเคราะหความถดถอยเชิงพหุ ตัวแปรตน 1 POS

2 POS

สมมติฐานการวิจัย / ตัวแปรตาม 3 4 5 6a 6b OCB INR INR OCB OCB

0.54*** ความยุติธรรมดานผลลัพธ (DIS) 0.65*** ความยุติธรรมดานกระบวนการ (PRO) 0.36* การรับรูการสนับสนุนจากองคกร (POS) พฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีของ องคกร (OCB) 0.43 0.41 0.08 Adjusted R2 F 69.33*** 61.96*** 8.87*

0.33* 0.24 0.23 2.98

0.67***

0.09

0.95 0.29

0.14 0.70 0.38 51.91*** 8.13** 4.37*

7a INR 0.75

7b INR

0.18

0.14 0.14

0.14 1.59

0.02 1.71

* p < 0.05, ** p < 0.01, *** p < 0.001

ตารางที่ 4 เปนผลการวิเคราะหความถดถอย เชิงพหุ เพื่อทดสอบสมมติฐาน ซึ่งสามารถอธิบายไดดัง ตอไปนี้ สมการที่ 1 ความยุติธรรมดานผลลัพธมีความ สัมพันธในทางบวกกับการรับรูก ารสนับสนุนจากองคกร อยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติ (β=0.54, p<0.001) โดยมี ความสามารถในการพยากรณได รอยละ 43 จากผลการ วิจัยเปนไปตามสมมติฐานที่ 1 สมการที่ 2 ความยุติธรรมดานกระบวนการมี ความสัมพันธในทางบวกกับการรับรูการสนับสนุนจาก องคกร อยางมีนัยสำ�คัญทางสถิติ (β=0.65, p<0.001) โดยมีความสามารถในการพยากรณได รอยละ 41 จาก ผลการวิจัยเปนไปตามสมมติฐานที่ 2 สมการที่ 3 การรับรูการสนับสนุนจากองคกร มี ความสัมพันธในทางบวกกับพฤติกรรมการเปนสมาชิก ที่ดีขององคกร อยางมีนัยสำ�คัญทางสติถิ (β=0.36, p<0.05) โดยมีความสามารถในการพยากรณได รอยละ 8 จากผลการวิจัยเปนไปตามสมมติฐานที่ 3 สมการที่ 4 การรับรูการสนับสนุนจากองคกร มี

76

ความสัมพันธในทางบวกกับพฤติกรรมการเปนสมาชิก ที่ดีขององคกร อยางไมมีนัยสำ�คัญทางสถิติ (β=0.24, p>0.05) จากผลการวิจัยจึงไมเปนไปตามสมมติฐานที่ 4 สมการที่ 5 พฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีของ องคกร มีความสัมพันธในทางบวกกับผลการปฏิบัติงาน ตามบทบาทหนาที่ อยางมีนัยสำ�คัญทางสติถิ (β=0.67, p<0.001) โดยมีความสามารถในการพยากรณได รอยละ 38 จากผลการวิจัยเปนไปตามสมมติฐานที่ 5 สมการที่ 6a เมื่ อ มี ก ารควบคุ ม การรั บ รู  ก าร สนับสนุนจากองคกร ซึ่งเปนตัวแปรกลาง ผลปรากฏวา ความยุตธิ รรมดานผลลัพธมคี วามสัมพันธทางบวกอยาง มีนัยสำ�คัญทางสถิติกับ พฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดี ขององคกร (β=0.33, p<0.05) ขณะเดียวกัน การรับรูก าร สนับสนุนจากองคกร มีความสัมพันธอยางไมมนี ยั สำ�คัญ ทางสถิติ (β=0.09, p>0.05) แสดงวาการรับรูก ารสนับสนุน จากองคกรมีลักษณะเปนตัวแปรกลางในความสัมพันธ ระหว า งความยุ ติ ธ รรมด า นผลลั พ ธ แ ละพฤติ ก รรม การเปนสมาชิกทีด่ ขี ององคกร จากผลการวิจยั จึงเปนไป ตามสมมติฐานที่ 6a


ความสัมพันธระหวางความยุติธรรมดานผลลัพธและดานกระบวนการกับพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร วิโรจน เจษฎาลักษณ

สมการที่ 6b เมื่อมีการควบคุมการรั บ รู  ก าร สนับสนุนจากองคกร ซึ่งเปนตัวแปรกลาง ผลปรากฏ วา ความยุติธรรมดานกระบวนการมีความสัมพันธทาง บวกอยางไมมีนัยสำ�คัญทางสถิติกับ พฤติกรรมการเปน สมาชิกที่ดีขององคกร (β=0.95, p>0.05) ขณะเดียวกัน การรั บ รู  ก ารสนั บ สนุ น จากองค ก ร มี ค วามสั ม พั น ธ อยางไมมีนัยสำ�คัญทางสถิติ (β=0.29, p>0.05) แสดง ว า การรั บ รู  ก ารสนั บ สนุ น จากองค ก รมี ลั ก ษณะเป น ตัวแปรกลางในความสัมพันธระหวางความยุตธิ รรมดาน กระบวนการและพฤติ ก รรมการเป น สมาชิ ก ที่ ดี ข อง องคกร จากผลการวิจัยจึงเปนไปตามสมมติฐานที่ 6b สมการที่ 7a และ 7b จากผลการวิจัยในสมการ ที่ 4 การรับรูก ารสนับสนุนจากองคกร มีความสัมพันธใน ทางบวกกับพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร อยางไมมนี ยั สำ�คัญทางสถิติ ดังนัน้ การรับรูก ารสนับสนุน จากองคกรจึงไมมีลักษณะเปนตัวแปรกลางในความ สัมพันธระหวางความยุติธรรมดานผลลัพธและความ ยุติธรรมดานกระบวนการ กับผลการปฏิบัติงานตาม บทบาทหนาที่ ซึ่งสอดคลองกับผลการวิเคราะหทาง สถิติ ทั้งสองสมการ เมื่อมีการควบคุมตัวแปรกลางแลว ทั้งตัวแปรตนและตัวแปรกลางจึงมีความสัมพันธกับ ผลการปฏิบตั งิ านตามบทบาทหนาทีอ่ ยางไมมนี ยั สำ�คัญ ทางสถิติ จากผลการวิจัยจึง ไมเปนไปตามสมมติฐาน ที่ 7a และสมมติฐานที่ 7b อภิปราย จากผลการวิจัยแสดงใหเห็นวา ความยุติธรรม ดานผลลัพธ มีความสัมพันธกับการรับรูการสนับสนุน จากองคกร สอดคลองกับผลการศึกษาของการวิจัยที่ ผานมา เชน การศึกษาของ Loi, Hang-yue and Foley (2006) ศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรูในความ ยุติธรรมดานผลลัพธกับความผูกพันตอองคกร โดยมี การรับรูก ารสนับสนุนขององคกรเปนตัวแปรกลาง พบวา การรับรูความยุติธรรมดานผลลัพธ มีความสัมพันธใน ทางบวกกับ การรับรูการสนับสนุนขององคกร เปนตน และ ความยุติธรรมดานกระบวนการ มีความสัมพันธกับ การรับรูการสนับสนุนจากองคกร สอดคลองกับผลการ ศึกษาของ Hochwarter และคณะ (Hochwarter…et al.

2003) ที่ศึกษากับหัวหนางานและลูกนอง พบวาความ ยุติธรรมดานกระบวนการมีความสัมพันธทางบวกกับ การรับรูการสนับสนุนจากองคกร และการศึกษาของ Moorman, Blakely and Niehoff (1998) ที่ศึกษากับ หัวหนางานและลูกนองในโรงพยาบาลทหาร พบวาความ ยุติธรรมดานกระบวนการมีความสัมพันธทางบวกกับ การรับรูก ารสนับสนุนจากองคกร เปนตน รวมทัง้ การรับรู การสนับสนุนจากองคกร มีความสัมพันธกับพฤติกรรม การเปนสมาชิกที่ดีขององคกร สอดคลองกับผลการ ศึกษาของ Eisenberger, Fasolo and Davis-LaMastro (1990) ไดศึกษาจากพนักงานที่ปฏิบัติงานเปนราย ชั่วโมงในโรงงานอุตสาหกรรมเหล็กขนาดใหญ พบวา การรับรูการสนับสนุนจากองคกรมีความสัมพันธทาง บวกกับการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร สอดคลองกับ Bell และ Menguc (2002) ศึกษาความสัมพันธระหวาง การรับรูการสนับสนุนจากองคกร ที่มีตอการรับรูใน คุณภาพการใหบริการของลูกคา พบวา การรับรูการ สนับสนุนขององคกรมีผลทางบวกกับการเปนสมาชิก ที่ดีขององคกร ดังนั้น จากผลการวิจัยจึงแสดงใหเห็นวา เมื่อ ขาราชการตำ�รวจชัน้ ประทวน รับรูถ งึ ความยุตธิ รรมดาน ผลลัพธ และความยุติธรรมดานกระบวนการ ที่เกิดจาก การปฏิบัติขององคกร อยูในระดับสูง ก็จะทำ�ใหเกิดการ รับรูถ งึ การสนับสนุนขององคกรในระดับสูงดวย และจาก ทฤษฎีการแลกเปลีย่ นทางสังคม และบรรทัดฐานเกีย่ วกับ การตอบแทน ทำ�ใหบุคคลตองแสดงการตอบแทนดวย ความรูสึกและการกระทำ� ดังนั้น จึงทำ�ใหมีผลตอการ แสดงพฤติกรรมที่ดีตอองคกร และจะนำ�ไปสูการปฏิบัติ งานตามบทบาทหนาที่ ซึ่งเปนไปตามผลการวิจัย และ สนับสนุนการศึกษาของ Piercy และคณะ (Piercy… et al. 2006) ที่พบวาพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีของ องคกร จะมีความสัมพันธทางบวกและสามารถทำ�นาย พฤติกรรมที่แสดงออกในผลการปฏิบัติงานตามบทบาท หนาที่ ถึงแมวาจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่ เกีย่ วของกับความสัมพันธระหวางการรับรูก ารสนับสนุน จากองคจะแสดงใหเห็นวามีความสัมพันธในทางบวก และมีความสามารถในการพยากรณไดกต็ าม แตในการ

77


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ศึกษาครัง้ นีพ้ บวา การรับรูก ารสนับสนุนจากองคกรไมมี ความความสัมพันธกับผลการปฏิบัติงานตามบทบาท หนาที่ และการรับรูการสนับสนุนจากองคกร จึงไมเปน ตัวแปรกลางในความสัมพันธระหวางความยุตธิ รรมดาน ผลลัพธ และความยุติธรรมดานกระบวนการ กับผลการ ปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ดวยเชนเดียวกัน การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาวิจัยกับตำ�รวจชั้น ประทวน สังกัดกองบังคับการอำ�นวยการ ตำ�รวจภูธร ภาค 3 สังกัดสำ�นักงานตำ�รวจแหงชาติ ซึ่งเปนองคกร ที่ มี ลั ก ษณะเป น หน ว ยงานราชการ จึ ง มี วั ฒ นธรรม องคกรดานตางๆ โดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติ งาน มีความแตกตางจากองคกรธุรกิจโดยทั่วไป ดังนั้น การปฏิ บั ติ ง านของข า ราชการตำ � รวจจึ ง เป น ไปตาม วัตถุประสงคและเปาหมายขององคกรตามระบบการ บังคับบัญชาของลักษณะความเปนหนวยงานราชการ รวมทั้งการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่นั้นเกิดจาก ความสำ�นึกในหนาที่ของตำ�รวจ ที่มีลักษณะความเปน ผูมีอุดมการณสูงเมื่อเปรียบเทียบกับงานในสาขาอาชีพ ดานอื่น รวมทั้งจากความเปนระบบราชการ จึงมีระบบ การบริหารงานตามลำ�ดับขัน้ มีการประเมินผลการปฏิบตั ิ งานอยางชัดเจน การรับรูการสนับสนุนจากองคกรจึง สอดคลองกับผลการวิจัยที่ไมมีความสัมพันธกับผลการ ปฏิบตั งิ านตามบทบาทหนาที่ และดังนั้นจึงไมมลี กั ษณะ ความเปนตัวแปรกลางในความสัมพันธระหวางการรับรู ในความยุติธรรมดานผลลัพธและความยุติธรรมดาน กระบวนการ กับผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ ประโยชน 1. ประโยชนเชิงทฤษฎีและการวิจยั ในอนาคต (Theoretical Contributions and Future Direction for Research) งานวิจัยนี้กอใหเกิดประโยชนในเชิงทฤษฎีสอง ประการไดแก ประการแรก ลักษณะกรอบแนวคิดในการ วิจยั กอใหเกิดการบูรณาการทางทฤษฏีเกีย่ วกับการรับรู การสนับสนุนจากองคกร ใหเห็นปจจัยสำ�คัญที่มากอน ไดแก ความยุตธิ รรมดานผลลัพธและความยุตธิ รรมดาน กระบวนการ และป จ จั ย ที่ เ ป น ผลของการรั บ รู  ก าร

78

สนับสนุนขององคกรในลักษณะของการแสดงพฤติกรรม การเป น สมาชิ ก ที่ ดี ข ององค และผลการปฏิ บั ติ ง าน ตามหนาที่ ซึ่งการศึกษาปจจัยทั้งสองเปรียบเทียบกัน ทำ�ใหเห็นความแตกตางที่เกิดขึ้นอยางชัดเจน เนื่องจาก เปนปจจัยทีม่ ลี กั ษณะคลายกัน แตสามารถแยกออกจาก กันได ประการที่สอง เปนประโยชนทางทฤษฎีในการ ศึกษาเพื่อสรางความชัดเจนในลักษณะขององคกร ที่มี การบริหารในระบบราชการ และกลุม ตัวอยาง มีลกั ษณะ งานอาชีพที่เฉพาะเจาะจง มีความแตกตางจากงาน อาชีพอื่น สำ�หรับขอเสนอแนะสำ�หรับการศึกษาวิจัย ในอนาคต อาจมีการศึกษาเปรียบเทียบกลุมตัวอยางที่ มีลกั ษณะวัฒนธรรมการทำ�งานขององคกรทีแ่ ตกตางกัน หรืออาจศึกษาตัวแปรทีเ่ ปนผลจากการรับรูก ารสนับสนุน จากองคกรที่เปนกระบวนการทางความคิด และจิตใจ ของกลุมตัวอยาง กอนที่จะแสดงพฤติกรรมการเปน สมาชิกที่ดีขององคกร หรือการมีผลการปฏิบัติงานตาม บทบาทหนาที่ที่ดีขึ้น โดยตัวแปรสงผานดังกลาว ที่ นาสนใจ อาจเปนตัวแปรดานความไววางใจตอองคกร หรือตอหัวหนางาน หรือความรูสึกแหงการตอบแทน เปนตน 2. ประโยชนเชิงการจัดการ (Managerial Contributions) การศึกษาความสัมพันธของปจจัยสาเหตุ การ รับรูการสนับสนุนจากองคกร ในดานความยุติธรรม ด า นผลลั พ ธ และความยุ ติ ธ รรมด า นกระบวนการ กอใหเกิดประโยชนตอองคกร โดยทำ�ใหองคกรสามารถ สรางใหพนักงานเกิดการรับรูถึงสิ่งที่องคกรจัดใหอยาง ยุติธรมแลว ใหพนักงานมีความเขาใจที่ถูกตอง หรือ หากองคกรพิจาณาแลวเห็นวายังไมเกิดความยุติธรรม ก็สามารถนำ�มาปรับปรุงกระบวนและผลลัพธใหเกิด ความยุตธิ รรมขึน้ สรางการรับรูใ นการสนับสนุนทีอ่ งคกร มีใหกบั พนักงาน นอกจากนัน้ ยังเปนประโยชนตอ องคกร ในการทำ�ความเขาใจสภาพขององคกร และพฤติกรรม ของพนักงาน เพื่อประโยชนในการบริหารจัดการ และ การจูงใจพนักงานดวยวิธกี ารตางๆ และประโยชนในดาน การสรรหาทรัพยากรมนุษย เพื่อใหไดพนักงานที่มี คุณลักษณะที่พึงประสงคตอไป


ความสัมพันธระหวางความยุติธรรมดานผลลัพธและดานกระบวนการกับพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร วิโรจน เจษฎาลักษณ

สรุป จากการศึกษา ปจจัยสาเหตุไดแก ความยุตธิ รรม ดานกระบวนการ และความยุติธรรมดานผลลัพธ ที่มี ความสัมพันธกับปจจัยผล ไดแก พฤติกรรมการเปน สมาชิกที่ดีขององคกร และผลการปฏิบัติตามบทบาท หนาที่ โดยผานตัวแปรกลาง การรับรูการสนับสนุนจาก องคกร ผลการวิจยั พบวา ความยุตธิ รรมดานผลลัพธและ ดานกระบวนการมีความสัมพันธทางบวกกับการรับรู การสนับสนุนจากองคกร สวนการรับรูการสนับสนุน จากองคกรมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการ เปนสมาชิกที่ดีขององคกร แตไมมีความสัมพันธกับผล การปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ สำ�หรับการทดสอบ ความเปนตัวแปรกลาง พบวา การรับรูการสนับสนุน

จากองคกรเปนตัวแปรกลางในความสัมพันธระหวาง ความยุติธรรมทั้งสองดานกับการเปนสมาชิกที่ดีของ องคกร แตไมมีลักษณะความเปนตัวแปรกลางในความ สัมพันธระหวางความยุติธรรมทั้งสองดานกับผลการ ปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยเรื่องนี้สำ�เร็จไดดวยดี ผูวิจัยขอขอบคุณ พ.ต.ท. ดร.เกษมศานต โชตินาครพันธุ ที่ใหความ ชวยเหลือในการเก็บรวบรวมขอมูล และขอขอบคุณ ขาราชการตำ�รวจ สำ�นักงานตำ�รวจภูธรภาค 3 ซึ่ง เปนกลุม ตัวอยาง ทีไ่ ดตอบแบบสอบถาม เพือ่ เปนขอมูล สำ�หรับการวิเคราะหในการวิจัยนี้

79


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

เอกสารอางอิง ศิรชิ ยั กาญจนวาสี. (2547). สถิตปิ ระยุกตส�ำ หรับการวิจยั . พมิ พครัง้ ที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย. Aaker, D. A., Kumar, V. and Day, G. S. (2001). Marketing research. New York: John Wiley and Sons. Allen, D. G., Shore, L. M. and Griffeth, R. W. (2003). The Role of perceived organizational support and supportive human resource practices in the turnover process. Journal of Management 29 (1) : 99-118. Bell, S. J. and Menguc, B. (2002). The employee-organization relationship, organizational citizenship behaviors, and superior service quality. Journal of Retailing 78 (2) : 131-146. Blau, P. (1964). Exchange and power in social life. Social Behavior as Exchange. American Journal of Sociology 63 (6) : 597–606. Chen, Z. X., Aryee, S. and Lee, C. (2005). Test of a mediation model of perceived organizational support. Journal of Vocational Behavior 66 (3) : 457-470. Coleman, V. I. and Borman, W. C. (2000). Investigation the underlying structure of the citizenship performance domain. Human Resource Management Review 10 : 25-44. Eisenberger, R. ; Fasolo, P. and Davis-LaMastro, V. (1990). Perceived organizational support and employee diligence, commitment, and innovation. Journal of Applied Psychology 75 (1) : 51-59. Eisenberger, R. … et al. (1986). Perceived organizational support. Journal of Applied Psychology 71 (3) : 500-507. Eisenberger, R. … et al. (2001). Reciprocation of perceived organizational support. Journal of Applied Psychology 86 (1) : 42-51. Eisenberger, R. …et al. (2002). Perceived supervisor support: contributions to perceived organizational support and employee retention. Journal of Applied Psychology 87 (3) : 565-573. Ferres, N., Connell, J. and Travaglione, A. (2005). The effect of future redeployment on organizational trust. Strategic Change 14 (2) : 77-91. George, J. and Jones, G. (1996). The experience of work and turnover intention: interactive effects of value attainment, job satisfaction, and positive mood. Journal of Applied Psychology 81 : 318-325. Hair, J. F. … et al. (2006). Multivariate data analysis. 6th ed. New Jersey: Pearson Education International. Hochwarter, W. A. … et al. (2003). Perceived organizational support as a mediator of the relationship between politics perceptions and work outcomes. Journal of Vocational Behavior 63 (3) : 438-456. Howes, J. C. … et al. (2000). Who is supporting whom?: quality team effectiveness and perceived organizational support. Journal of Quality Management 5 (2) : 207-223. Kaufman, J. D., Stamper, C. L. and Tesluk, P. E. (2001). Do supportive organizations make for good corporate citizens? Journal of Managerial 13 (4) : 436-452. Loi, R., Hang-yue, N. and Foley, S. (2006). Linking employees’ justice perceptions to organizational commitment and intention to leave: The mediating role of perceived organizational support. Journal of Occupational and Organizational Psychology 79 : 101-120. Lynch, P. D., Eisenberger, R. and Armeli, S. (1999). Perceived organizational support: inferior versus superior performance by wary employees. Journal of Applied Psychology 84 (4) : 467-483.

80


ความสัมพันธระหวางความยุติธรรมดานผลลัพธและดานกระบวนการกับพฤติกรรมการเปนสมาชิกที่ดีขององคกร วิโรจน เจษฎาลักษณ

Moideenkutty, U. … et al. (2006). Comparing correlates of organizational citizenship versus in-role behavior of sales representatives in India. International Journal of Commerce & Management 16 (1) : 15-28. Moorman, R. H. (1991). Relationship between organizational justice and organizational citizenship behaviors: do fairness perceptions influence employee citizenship? Journal of Applied Psychology (76) : 845-855. Moorman, R. H., Blakely, G. L. and Niehoff, B. P. (1998). Does perceived organizational support mediate the relationship between procedural justice and organizational citizenship behavior? Academy of Management Journal 41(3) : 351-357. Niehoff, B. P. and Moorman, R. H. (1993). Justice as a mediator of the relationship between methods of monitoring and organizational citizenship behavior. Academy of Management Journal 36 : 527-556. Piercy, N. F. … et al. (2006). Driving organizational citizenship behaviors and salesperson in-role behavior performance: the role of management control and perceived organizational support. Academy of Marketing Science Journal 34 (2) : 244-262. Rhoades, L., Eisenberger, R. and Armeli, S. (2001). Affective commitment to the organization: the contribution of perceived organizational support. Journal of Applied Psychology 86 (5) : 825-836. Rhoades, L. and Eisenberger, R. (2002). Perceived organizational support: a review of the literature. Journal of Applied Psychology 87 (4) : 698-714. Stamper, C. L. and Johlke, M. C. (2003). The Impact of perceived organizational support on the relationship between boundary spanner role stress and work outcomes. Journal of Management 29 (4) : 569-588. Turnley, W. H. … et al. (2003). The impact of psychological contract fulfillment on the performance of in-role and organizational citizenship behaviors. Journal of Management 29 (2) : 187-206.

81



ยุทธศาสตรการสรางตัวแบบการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ในกลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง Strategies for Model Construction of Sustainable Tourism in Lower Central Plain Province

รวิวงศ ศรีทองรุง 1 Rawiwongs Srithongroong

บทคัดยอ การศึกษาเรื่อง “ยุทธศาสตรการสรางตัวแบบการทองเที่ยวอยางยั่งยืนในกลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง” มี วัตถุประสงคเพื่อ 1.) เพื่อศึกษาการกำ�หนดยุทธศาสตรและนโยบายการทองเที่ยวแหงประเทศไทยที่สงผลตอการ จัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 2.) เพื่อศึกษานโยบายและยุทธศาสตรการทองเที่ยวซึ่งนำ�ไปสูการสรางตัวแบบการ ทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน 3.) เพือ่ สรางตัวแบบการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืนในกลุม จังหวัดภาคกลางตอนลางใหสามารถรองรับ ความเปลีย่ นแปลงของโลกไปสูก ระแสชุมชนภิวตั น วิธกี ารศึกษาเปนการวิจยั เชิงคุณภาพ โดยการศึกษาวิเคราะหขอ มูล จากเอกสาร และการสัมภาษณเชิงลึกจากผูบริหารระดับสูง จำ�นวน 27 คน การ​สนทนา​กลุม จำ�นวน 63 คน ผลการวิจัยสรุปไดวา 1.) การวิเคราะหเชิงเอกสารพบวา การกำ�หนดนโยบายการทองเที่ยวของประเทศไทย ไมสามารถนำ�ไปสูการปฏิบัติอยางยั่งยืนอยางมีประสิทธิภาพเนื่องจากภาครัฐยึดหลัก การรวมศูนยอำ�นาจใน การบังคับบัญชา การบริหารจัดการภาครัฐจึงเปนจุดออนในการพัฒนาการทองเที่ยว ไดแก ขาดการวางแผน การใชทรัพยากรธรรมชาติ ขาดเอกภาพในการบูรณาการในการทำ�งานรวมกัน ชุมชนขาดโอกาสในการมีสวนรวม ในกระบวนการจัดการการทองเที่ยว 2.) ผลการสัมภาษณเชิงลึก พบวา การกำ�หนดยุทธศาสตรและนโยบายการ ทองเที่ยวยังไมประสบผลสำ�เร็จในทางปฏิบัติอยางยั่งยืน เนื่องจากอำ�นาจการตัดสินใจไมไดอยูที่ประชาชนเจาของ แหลงทองเที่ยว ควรปรับแนวทางบริหารจัดการใหชุมชนมีสวนรวมทุกขั้นตอน 3.) ผลการประชุมระดมความคิดเห็น ภาคประชาชนและทองถิน่ ในกลุม จังหวัดภาคกลางตอนลาง เห็นวา การจัดการการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน ควรเปนการ จัดการทองเที่ยวโดยชุมชน โดยภาครัฐและภาคเอกชนสนับสนุนอยางจริงจัง การวิจัยยังพบวา หากมีการกำ�หนด เกณฑตัวชี้วัดการทองเที่ยวชุมชนที่ชัดเจน นำ�ไปสูการสรางตัวแบบการทองเที่ยวโดยชุมชนที่คำ�นึงถึงความสมดุล ทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และมีการกระจายผลประโยชนอยางเปนธรรม คำ�สำ�คัญ : 1. ยุทธศาสตร. 2. ตัวแบบ. 3. การทองเที่ยวอยางยั่งยืน.

__________________ 1 นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณใน พระบรมราชูปถัมภ ปทุมธานี


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

Abstract The objectives of this study were to 1.) study Thai strategy and tourism policy formulation of tourism which affected sustainable tourism management. 2.) study the policy and tourism strategy which followed the sustainable tourism model construction. 3.) to construct a sustainable tourism model in the lower central plains provinces to enhance the support of globalization to localization. The study used a qualitative research method composed of documentary research, a focus group of 63 participants randomly drawn by purposive sampling methods and indepth interviews of 27 key informants. The findings of this study are as follows : 1.) the documentary research found that Thai strategies and sustainable tourism could not be implemented effectively due to the centralization in planning and managing. There were many weakness in management comprising of planning in natural resources utilization, lack of unity in integration and the community participation. 2.) the results of indepth interviews with tourism experts were similar to the documentary research because the decision making power did not belong to people who own the tourist places. The management should be changed to encourage more people to participation in various functions. 3.) the results of the focus group confirmed that a sustainable tourism model should be conducted by community base tourism and the government sector should be the facilitator. The study showed that the tourism indicators could create a localized tourism model which shows a balance of economic, social, cultural and environmental profit distribution. Keywords : 1. Strategy. 2. Model. 3. Sustainable Tourism.

84


ยุทธศาสตรการสรางตัวแบบการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน ในกลุม ​จงั หวัด​ภาค​กลาง​ตอน​ลา ง รวิวงศ ศรีทองรุง

คำ�นำ�และวัตถุประสงค รัฐบาลไทยใหความสำ�คัญกับการสงเสริมและ พัฒนาการทองเที่ยวมาอยางตอเนื่อง ดังปรากฏในแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 4 เปนตนมา อุตสาหกรรมการทองเที่ยวไทยมีศักยภาพเหนือคูแขง ทั้งในความหลากหลายของสถานที่ทองเที่ยว ที่พักที่มี ใหเลือกนานาชนิด ทั้งรูปแบบและราคา นิสัยคนไทย ที่ยิ้มแยมแจมใสรักการบริการ นับเปนจุดขายสำ�คัญใน การดึงดูดนักทองเที่ยว รวมถึงสินคาบริการที่มีคุณภาพ ดี ก ว า ในราคาสมเหตุ ส มผล และความพร อ มของ โครงสรางพื้นฐาน จากนักทองเที่ยวเพียงไมกี่หมื่นคน ในปเริ่มตน จนปจจุบันมีนักทองเที่ยวจากตางประเทศ เดินทางมาเที่ยวเมืองไทยปละกวา 14 ลานคน สราง รายไดเปนเงินตราเขาประเทศจำ�นวนมหาศาล (วินิจ รังผึ้ง 2550 : 3) นักทองเที่ยวนั้นมีทั้งชาวตางประเทศ และคนไทยเปนการกระจายรายไดไปสูทองถิ่นไดเปน อยางดี การดำ�เนินการสงเสริมการทองเที่ยวเปนการ เผยแพรภาพลักษณอันดีงามของประเทศ เผยแพรศิลป วัฒนธรรมอันทรงคุณคาไปสูสายตานานาชาติ เปนการ เสริมสรางมิตรภาพและความเขาใจดีของมนุษยชาติ ทั่ ว ทุ ก ภู มิ ภ าคได รู  จั ก ประเทศไทยว า มี ค วามพร อ ม ทุกอยางไมวา สิง่ ดึงดูดใจทางธรรมชาติ ความหลากหลาย ของอาหารและผลไม เปนศูนยกลางทั้งการบินของ ภู มิ ภ าค นั บ เป น ป จ จั ย สำ � คั ญ ที่ เ อื้ อ อำ � นวย ทำ � ให ประเทศไทยไดรับรางวัลประเทศที่ดีเดนหรือยอดเยี่ยม ในด า นต า งๆ เกื อ บทุ ก ป ล า สุ ด ในป พ.ศ.2553 กรุงเทพมหานคร และจังหวัดเชียงใหมไดรบั รางวัล The Best City Tourist Award เปนเมืองทองเที่ยวที่ดีที่สุด ในโลกอันดับหนึ่งและอันดับสอง จากนิตยสาร Travel and Leisure ของสหรัฐอเมริกา (วินิจ รังผึ้ง 2550 : 4) และ One of the best honeymoon place in the world สำ�รวจจากบริษัทนำ�เที่ยวการทองเที่ยวสเปน (ประชาชาติธุรกิจ 2553 : 2) อยางไรก็ตามถึงแมรัฐบาลไทยพยายามผลักดัน ใหประเทศไทยเปน “ศูนยกลางการทองเที่ยวแหง เอเชีย” (Tourism Capital of Asia) แตสภาวการณ เจริญเติบโตอยางรวดเร็วในภาคอุตสาหกรรมทองเที่ยว ของไทยไดสงผลกระทบตอวิถีชีวิตของประชาชนใน

ดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม ตอมา มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นของกระแสโลกจากโลกาภิ วั ต น ไ ป สูกระแสชุมชนภิวัตน จึงเกิดการปรับกระบวนทัศนของ การทองเที่ยว โดยคำ�นึงถึงสภาพแวดลอม เนื่องจาก สภาพอากาศและอุณหภูมิของโลกเปลี่ยนแปลงสาเหตุ เกิ ด จากมนุ ษ ยชาติ เ ป น ต น เหตุ ทำ � ให ก ารเกิ ด ก า ซ เรือนกระจก สงผลใหเกิดภาวะโลกรอนและอากาศ เปลี่ยนแปลง (Global Warming และ Climate Change) เกิดความแปรปรวนทางสภาพธรรมชาติ เกิดภัยพิบัติ ทั่วโลก เชน น้ำ�แข็งขั้วโลกเหนือละลาย เกิดพายุหิมะ แผนดินทรุด ดินถลม น้ำ�ทวม ทั่วทุกภูมิภาคของโลก ทำ�ใหทุกประเทศจำ�เปนตองคำ�นึงถึงวิถีการดำ�รงชีวิต ทีไ่ มท�ำ ลายสิง่ แวดลอม และเนนการจัดการการทองเทีย่ ว อยางยั่งยืน เพื่อใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงของ โลก (ภูวนิดา คุณผลิน 2550 : 48) ในกลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง (กลุมที่ 2) ประกอบดวย จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุร ี และประจวบคีรีขันธ เปนกลุมจังหวัดที่มีศักยภาพการ ทองเที่ยวสูงที่เปนศูนยกลางการผลิตและการแปรรูป สินคา ประมง และเกษตร แหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ แตการบริหารจัดการเชิงบูรณาการยังขาดประสิทธิภาพ (รพีพรรณ ทองหอ และคณะ 2549) มีการมองตางมุม ทีข่ าดการประสานงานหรือบูรณาการการทำ�งานรวมกัน อยางจริงจัง (เทิดชาย ชวยบำ�รุง 2548 : 72) ประชาคม การทองเที่ยวสวนใหญของไทย ยังขาดทักษะดานการ วางแผนยุทธศาสตรการทองเที่ยวในชุมชน ขาดจุด เนนวาจะจัดการทองเที่ยวในแนวทางที่มุงปริมาณหรือ มุง คุณภาพซึง่ เนนการทองเทีย่ วในกระแสทางเลือกใหม (Alternative) (เนาวรัตน พลายนอย 2545 : 125) ภาครัฐ มุงเนนการทองเที่ยวเชิงรายไดมากกวาการสรางความ สมดุลระหวางรายไดของการทองเที่ยวกับการอนุรักษ ระบบนิเวศรวมทั้งการสืบทอดอัตลักษณทางวัฒนธรรม สงผลถึงการนำ�ยุทธศาสตรการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ของภาครัฐ ไปสูการปฏิบัติทำ�ใหขีดความสามารถใน การแขงขัน เพื่อนำ�ไปสู The Green Destination ตาม ที่รัฐบาลกำ�หนดไว ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติฉบับที่ 9-10 ยังไมปรากฏเปนรูปธรรมชัดเจน ศักยภาพในการทองเที่ยวและขอจำ�กัดของกลุมจังหวัด

85


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ภาคกลางตอนลาง คือ (จิตศักดิ์ พุฒิจร 2548 :9-10) ผูเกี่ยวของขาดความรูความเขาใจการมีสวนรวมการ วางแผน การบริหารจัดการแหลงทองเทีย่ ว ระบบบริหาร ขอมูลขาดประสิทธิภาพ ผูใหบริการดานการทองเที่ยว ขาดจิตสำ�นึกและความรูค วามเขาใจในการใหบริการและ ขาดทักษะทางภาษาและบางจังหวัดมีปญ  หาดานมลพิษ สิง่ แวดลอม ผูว จิ ยั จึงมีความประสงคจะศึกษาวิจยั หัวขอ “ยุทธศาสตรการสรางตัวแบบการจัดการทองเทีย่ ว อยางยั่งยืนในกลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง” โดย มีวัตถุประสงคการวิจัยดังนี้

1. เพื่ อ ศึ ก ษาการกำ � หนดยุ ท ธศาสตร แ ละ นโยบายการทองเที่ยวของประเทศไทยที่สงผลตอการ จัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 2. เพือ่ ศึกษานโยบายยุทธศาสตรการทองเทีย่ ว ซึ่งนำ�ไปสูการสรางตัวแบบการทองเที่ยวอยางยั่งยืน 3. เพื่อสรางตัวแบบการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ในกลุ  ม จั ง หวั ด ภาคกลางตอนล า งให ส ามารถรองรั บ ความเปลี่ ย นแปลงของโลกไปสู  ก ระแสชุ ม ชนภิ วั ต น (Localization) ดังมีกรอบแนวคิดในการวิจัยดังตอไปนี้

ยุทธศาสตรการบริหารจัดการการทองเที่ยวอยางยั่ง ยืน ปจจัยนำาเขา

การบูรณาการการจัดการการทองเที่ยว

1. องคประกอบของการทองเที่ยว - ปจจัยโครงสรางพื้นฐาน - ผลิตภัณ ฑทองเที่ยว - ระบบมาตรฐานและความปลอดภัย - อนุรักษศิลปวัฒนธรรม - สิ่งแวดลอม - การตลาดและการประชาสัมพันธ

1. การบริห ารจัดการภาครัฐ - งบประมาณ - บุคลากร - สาธารณูปโภค - การตลาดและการประชาสัมพันธ 2. ภาคเอกชน - ธุรกิจบริการ - เครือขายสารสนเทศ - การตลาดและการประชาสัมพันธ 3. ภาคทองถิ่น - รักษาทรัพยากรทองเที่ยวและสิ่ง แวดลอม - รักษาความปลอดภัยในแหลงทองเที่ยว - อำานวยความสะดวกและใหบริการ - ชุมชนมีสวนรวมในการจัดการ

2. ยุทธศาสตรการทองเที่ยว - ระดับชาติและระดับกระทรวง - ระดับกลุมจังหวัด - ระดับจังหวัด 3. แนวโนมสถานการณการ ทองเที่ยว - กระแสชุมชนภิวัตน

วิธีดำ�เนินการวิจัย การวิจัยเรื่อง ยุทธศาสตรการสรางตัวแบบ การทองเที่ยวอยางยั่งยืนในกลุมจังหวัดภาคกลาง ตอนล า ง เป น การวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพ (Qualitative Research) โดยการศึกษาวิเคราะหขอมูลสามด า น (Triangulation) ใชเทคนิคการตรวจสอบสามเสาชนิด ตางวิธี เปนการยืนยันขอมูลสามดานเชื่อมโยงซึ่งกัน และกัน ผูว จิ ยั ไดน�ำ กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี (Theoretical

86

การสรางตัวแบบการทองเที่ยวอยาง ยั่ง ยืนในกลุมจังหวัด ภาคกลางตอนลาง 1. บริหารจัดการโดยชุมชน 2. ภาครัฐและภาคเอกชน สนับสนุน อยางเปนระบบ 3. คำานึงถึงความสมดุลดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม 4. อนุรักษศิลปวัฒนธรรมและใช ทรัพยากรอยางประหยัด

Framework) ทางรัฐประศาสนศาสตร เชน ทฤษฎี บูรณาการของระบบ (Cohen 1968) และทฤษฎีแนวคิด เกี่ยวกับการบริหารราชการ (Peters 1996) มาใชเปน แนวทางวิเคราะหกระบวนการการบริหารจัดการของ หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน กลุม/องคกรตางๆ ใน ชุมชนทีม่ ภี ารกิจทีเ่ กีย่ วของกับการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน โดยมีขอบเขตในการศึกษาดังนี้


ยุทธศาสตรการสรางตัวแบบการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน ในกลุม ​จงั หวัด​ภาค​กลาง​ตอน​ลา ง รวิวงศ ศรีทองรุง

1. แหลงขอมูลดานพื้นที่ พืน้ ทีท่ ใี่ ชส�ำ หรับการศึกษาวิจยั เปนการศึกษา เชิงคุณภาพแบบกำ�หนดพื้นที่ศึกษา เปนวิธีการศึกษา เฉพาะกรณี (Case Study) ผูว จิ ยั เลือกศึกษาวิจยั ตัวแทน จังหวัดที่มีชื่อเสียงตามหลักการจัดการการทองเที่ยว แบบยั่งยืนของ UNWTO (The United Nations World Tourism Organization 2006 : 17) เลือกจังหวัดเพชรบุร ี และประจวบคีรีขันธ เปนการศึกษาแหลงทองเที่ยว อยางยัง่ ยืน 2 ประเภท คือ แหลงทองเทีย่ วทางวัฒนธรรม (จังหวัดเพชรบุรี) และแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ (จังหวัดประจวบคีรีขันธ) โดยกำ�หนดพื้นที่ศึกษาใหมี ขอบเขตชัดเจนดังนี้ 1.1 จังหวัดเพชรบุรี : แหลงทองเที่ยวทาง วัฒนธรรม เลือกแหลงพื้นที่ 3 แหง คือ พระราชวัง รามราชนิเวศน อุทยานประวัติศาสตรพระนครคีรี และ

วัดมหาธาตุวรวิหาร 1.2 จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ : แหลงทองเทีย่ ว ทางธรรมชาติ เลือกพืน้ ที่ 3 แหง คือ หาดหัวหิน หาด เขาเตา และเขาตะเกียบ

ภาพที่ 3 วัดมหาธาตุวรวิหาร

ภาพที่ 1 พระราชวังรามราชนิเวศน ภาพที่ 4 หาดหัวหิน

ภาพที่ 2 อุทยานประวัติศาสตรพระนครคีรี

ภาพที่ 5 หาด​เขาเตา

87


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ภาพที่ 6 เขาตะเกียบ

2. แหลงขอมูลดานบุคคล (Key Informants) ผูวิจัยเก็บขอมูลจากบุคคลโดยวิธีเลือกตัวอยางแบบ เจาะจง (Purposive Random Sampling) จำ�นวน 90 คน ดังนี้ 2.1 ผูบริหารระดับสูงภาครัฐ เอกชน ชุมชน ทองถิ่น และนักวิชาการที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการ การทองเที่ยว จำ�นวน 27 คน เก็บขอมูลโดยวิธีการ สัมภาษณเชิงลึก (Indepth Interview) 2.2 นักวิชาการ ผูบ ริหารจัดการการทองเทีย่ ว ผูมีสวนไดสวนเสียจากการทองเที่ยวและชุมชนเจาของ พื้นที่ในเขตกลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง (กลุมที่ 2) จำ�นวน 63 คน โดยวิธเี ลือกตัวอยางแบบเจาะจง จัดเก็บ ขอมูลและวิเคราะหผลสรุป โดยการประชุมกลุมยอย ระดมความคิดเห็น (Focus Group) ภาคประชาชน และ ทองถิ่น ตามกรอบแนวคิดของการวิจัย 3. แหลงขอมูลดานเอกสาร (Secondary Sources) ผู  วิ จั ย ได ศึ ก ษาค น คว า เอกสารต า งๆ เช น งานวิจัย วิทยานิพนธ บทความ วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพและเอกสารอิเลคทรอนิคสที่เกี่ยวของกับ การจั ด การการท อ งเที่ ย วอย า งยั่ ง ยื น แผนพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ยุทธศาสตรและแผนแมบท การทองเทีย่ วทัง้ ในระดับชาติ กระทรวง กรม กลุม จังหวัด และจังหวัด ซึ่งเปนพื้นที่ศึกษา 4. ประชากรและกลุมตัวอยาง (Population) ผูวิจัยใชวิธีการสุมแบบเจาะจง (Purposive Random

88

Sampling) จำ�นวน 90 คน 5. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 5.1 วิเคราะหเอกสารโดยใชวธิ กี ารวิเคราะห เชิงเนื้อหา (Content Analysis) 5.2 แบบสัมภาษณ (Interview) เปนแบบ สัมภาษณเชิงลึกแบบกึ่งมีโครงสราง (Semi Structure Indepth Interview) ศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของกับการ บริหารจัดการการทองเที่ยว เพื่อนำ�นโยบายไปสูการ ปฏิบัติที่สงผลตอการจัดการการทองเที่ยวอยางยั่งยืน และนำ�ไปสูแนวทางการสรางตัวแบบการทองเที่ยวโดย ชุมชน 5.3 การสนทนากลุม (Focus Group) มี รู ป แบบการจั ด การสนทนากลุ  ม โดยกำ � หนดประเด็ น สำ � คั ญ ในการประชุ ม ภาคประชาชนและท อ งถิ่ น ที่ เกี่ ย วข อ งกั บ การจั ด การการท อ งเที่ ย วอย า งยั่ ง ยื น ในกลุ  ม จั ง หวั ด ภาคกลางตอนล า ง (กลุ  ม ที่ 2) คื อ จังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ ที่เกี่ยวของกับ การบู ร ณาการการจั ด การการท อ งเที่ ย วอย า งยั่ ง ยื น ซึ่งนำ�ไปสูการสรางตัวแบบการจัดการการทองเที่ยว โดยชุมชน 6. การเก็บรวบรวมขอมูลและการวิเคราะห ขอมูล 6.1 ผูวิจัยสรางเครื่องมือในการวิจัยทั้งหมด 5 ชุด เปนแบบสัมภาษณเชิงลึกกึ่งโครงสรางแยกตาม ประเภทกลุม ตัวอยางเพือ่ สัมภาษณผทู รงคุณวุฒิ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคทองถิ่น จำ�นวน 27 คน กอนการนัด สัมภาษณ 15 วัน พรอมใบกำ�หนดนัดสัมภาษณและ ระบุชื่อผูประสานงานและเบอรโทรศัพทติดตอ เมื่อได ทำ�การสัมภาษณเรียบรอยแลว ผูวิจัยไดนำ�ขอมูลมา สังเคราะหเปนหมวดหมู ลงรหัสตามตัวชี้วัดในการ ปฏิบัติการ และวิเคราะหตามประเด็นกรอบแนวคิดของ การวิ จั ย สรุ ป ผลการสั ม ภาษณ โ ดยใช ก ารพรรณา วิ เ คราะห แ ละสรุ ป ข อ มู ล การสั ม ภาษณ เ ชิ ง ลึ ก ไว ใ น ตารางพรอมผลของการชี้วัดในการปฏิบัติการ 6.2 ผูว จิ ยั สรุปผลวิเคราะหขอ มูลเชิงเอกสาร โดยการวิเคราะหเชิงเนื้อหา (Content Analysis) โดย ศึ ก ษายุ ท ธศาสตร แ ละนโยบายการท อ งเที่ ย วของ ประเทศไทยทุกระดับ ตั้งแตระดับชาติ ระดับกระทรวง


ยุทธศาสตรการสรางตัวแบบการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน ในกลุม ​จงั หวัด​ภาค​กลาง​ตอน​ลา ง รวิวงศ ศรีทองรุง

กรม กลุม จังหวัด และจังหวัดเพชรบุรี และประจวบคีรขี นั ธ โดยนำ�ทุกแผนมาวิเคราะหใหครอบคลุม 4 ประเด็น คือ หลักการและเหตุผล ความคิดรวบยอด การนำ�นโยบาย ไปปฏิบัติ และสรุปผล 6.3 การประชุมระดมความคิดเห็นกลุมยอย ตามประเด็นสำ�คัญในกรอบแนวคิดของการวิจัย โดย ไดแบง กลุม การประชุมเปน 6 กลุม ๆ ละ 10-11 คน รวม 63 คน และนำ�ผลสรุปของการประชุมมาแยกเปนหมวด หมูและวิเคราะหเชิงเนื้อหาตามเหตุผลและขอสรุปของ การประชุม 6.4 นำ � ผลการประชุ ม ทั้ ง สามด า นมา วิเคราะหความเชื่อมโยงที่เกี่ยวของซึ่งกันและกัน โดย ใชเทคนิคการสรุปสะสม (Comulatative Summarization Technique) และการพรรณนาวิเคราะห (Descriptive Analysis)

ภาพที่ 7 ประชุมระดมความคิดเห็น

ภาพที่ 8 ประชุมระดมความคิดเห็น

ภาพที่ 9 ประชุมระดมความคิดเห็น

ผลการวิจัย การวิ จั ย เชิ ง คุ ณ ภาพโดยการวิ เ คราะห ข  อ มู ล สามเสาชนิดตางวิธี สรุปผลการวิจัยไดดังนี้ 1. ผลการวิจัยเชิงเอกสาร นโยบายและยุ ท ธศาสตร ก ารท อ งเที่ ย ว อยางยั่งยืนในระดับชาติ ระดับกระทรวงการทองเที่ยว และกีฬา การทองเที่ยวแหงประเทศไทย แผนแมบท กลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง (กลุมที่ 2) และจังหวัด เพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ นโยบายและยุทธศาสตร แตละรัฐบาลมีความแตกตางกันบางเล็กนอย อยางไร ก็ตามยังมีแผนการพัฒนาและสงเสริมการทองเที่ยว อยางยั่งยืนปรากฏชัดเจนในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติตั้งแตแผนที่ 6 เปนตนมา ทำ�ใหแผน ระดับกระทรวง กรม จังหวัด และกลุมจังหวัดเปนไปใน ทิศทางเดียวกัน มีแคมเปญที่สรางชื่อเสียง ทำ�ใหการ ทองเที่ยวของไทยเปนที่รูจักในหมูนานาชาติ ตั้งแต Amazing Thailand จนถึง Happiness on earth มีการ กำ�หนดเขตเศรษฐกิจพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยว มี การใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการ ภาครัฐ เอกชน และภาคทองถิ่น แตรัฐบาลทุกสมัย มุ  ง เน น การพั ฒ นาการท อ งเที่ ย วเพื่ อ การเพิ่ ม รายได คำ�นึงถึงปริมาณนักทองเที่ยวมากกวาคุณภาพ โดย ขาดการคำ�นึงถึงการสรางความสมดุลดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม ทำ�ใหเกิดผลกระทบ ตอวิถีชีวิต สังคม วัฒนธรรมของประชาชน เกิดแหลง ทองเที่ยวเสื่อมโทรม ปญหาขยะลนเมือง ปญหาการ

89


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ดัดแปลงวัฒนธรรมจนขาดอัตลักษณดั้งเดิม ที่สำ�คัญ การบริหารจัดการการทองเที่ยวยังอยูในระบบสั่งการ จากเบื้องบนสูเบื้องลาง (Centralization & Top down Policy) จึงทำ�ใหประชาชนขาดการมีสวนรวมในการ จัดการการทองเทีย่ วหรือมีสว นรวมนอย รายไดทเี่ กิดจาก การทองเที่ยวกระจุกตัวอยูในบางจังหวัดเทานั้น เชน กรุงเทพมหานคร เชียงใหม เชียงราย อยุธยา เปนตน ผลการปฏิบัติงานภาครัฐ เปนการบริหารแบบตางคน ตางทำ� ทัง้ ในสวนกลางและสวนทองถิน่ ขาดการประสาน งานรวมกันระหวางหนวยงาน ไมมีการติดตามประเมิน ผลแผนงาน งบประมาณดานการทองเที่ยวอยางจริงจัง (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 2549 : 78) การควบคุมคน งบประมาณ และแผนงาน ถูกกำ�หนด โดยสวนกลาง (เสรี วังสไพจิตร และคณะ 2549 : 115) การพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การทองเทีย่ วในป 2547-2548 เปนการพัฒนาที่เรงรีบ ขาดการมีสวนรวมของชุมชน ขาดความพรอมในองคประกอบเกือบทุกดาน (ทยิดา ยันตะบุษย 2549 : บทคัดยอ) ปญหาของอุตสาหกรรม การท อ งเที่ ย วไทยไม คำ � นึ ง ถึ ง ความสามารถในการ รองรับของพื้นที่จึงเกิดผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและ ความเสือ่ มโทรมของแหลงทองเทีย่ วทำ�ใหเกิดผลกระทบ มิ ติ ท างสั ง คมและวั ฒ นธรรม (อมรา พงศ ศ าพิ ช ญ 2543 : 101) สอดคลองกับงานวิจัยของ ดวงใจ หลอ ธนวนิชย (2550 : 145 ) สรุปผลการบริหารงานการ ทองเที่ยวภาครัฐวาเปนการดำ�เนินแนวคิดดานพัฒนา นิยม เนนการพัฒนาทองถิน่ สูค วามทันสมัยไปสูม าตรฐาน สากล ดำ�เนินนโยบายแบบเศรษฐกิจพึ่งพิงเงินทุนจาก ตางชาติ ทำ�ลายโอกาสเติบโตทางธุรกิจทองเทีย่ วขนาด กลางและขนาดยอมของคนไทยดวยกันเอง การสงเสริม และพัฒนาการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืนในทศวรรษทีผ่ า นมา จึงไมสามารถนำ�นโยบายไปสูก ารปฏิบตั ใิ หเห็นผลอยาง เปนรูปธรรมชัดเจน

90

2. ผลการวิจยั การสัมภาษณเชิงลึก ผูท รงคุณวุฒ ิ และผูเชี่ยวชาญดานการทองเที่ยว จำ�นวน 27 คน ผู  ใ ห สั ม ภาษณ เ ชิ ง ลึ ก ส ว นใหญ เ ห็ น ว า ประเทศไทยมีสิ่งดึงดูดใจเปนทุนทางสังคม และทุนทาง ทรั พ ยากรธรรมชาติ ค รบถ ว น การดำ � เนิ น งานด า น การทองเที่ยวที่ผานมานับวาประสบความสำ�เร็จมาก พอควรในดานการตลาดและการประชาสัมพันธ ใน วาระครบรอบ 50 ป ของหนวยงานการทองเที่ยวแหง ประเทศไทยไดผานการทำ�งานสงเสริมและพัฒนาการ ท อ งเที่ ย วจนได รั บ รางวั ล สุ ด ยอดเมื อ งท อ งเที่ ย วที่ ดี ทีส่ ดุ ในระดับโลก และระดับภูมภิ าคเปนจำ�นวนมากและ ตอเนือ่ ง แตหากพิจารณาในดานการจัดการการทองเทีย่ ว อยางยั่งยืน การพัฒนาการทองเที่ยวของไทย ยังขาด การคิ ด วางแผนการใช ท รั พ ยากรในแหล ง ท อ งเที่ ย ว อยางรอบคอบ ทำ�ใหเกิดผลกระทบดานสิง่ แวดลอมและ ความเสื่อมโทรมของแหลงทองเที่ยวและเกิดผลกระทบ มิติทางสังคมและวัฒนธรรม ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค ประชาคมทองถิ่น ควรกำ�หนดบทบาทความรับผิดชอบ ในหนาที่การจัดการการทองเที่ยวที่ชัดเจนและสามารถ นำ�ไปสูก ารปฏิบตั ไิ ด โดยมีการบูรณาการการปฏิบตั งิ าน รวมกันอยางเปนเอกภาพ ทีส่ �ำ คัญภาครัฐควรเปดโอกาส ให ภ าคท อ งถิ่ น ที่ เ ป น เจ า ของแหล ง ท อ งเที่ ย วเข า มา มี ส  ว นร ว มในกระบวนการจั ด การทุ ก ขั้ น ตอน ตั้ ง แต การตัดสินใจ การกำ�หนดนโยบายและโครงการ การ ดำ�เนินการ การประเมินผล และการแกปญหาที่เกิดจาก การพัฒนาการทองเที่ยวอยางตอเนื่อง การสัมภาษณเชิงลึกแสดงผลตัวชี้วัดระดับ ปฏิบัตกิ าร สอดคลองกับการศึกษาเชิงเอกสาร ดังแสดง ในตารางที่ 1.1


ยุทธศาสตรการสรางตัวแบบการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน ในกลุม ​จงั หวัด​ภาค​กลาง​ตอน​ลา ง รวิวงศ ศรีทองรุง

ตารางที่ 1.1 แสดงผลตัวชี้วัดระดับปฏิบัติการระดับมหภาค ชือ่ รหัส

ลำ�ดับคะแนน (จำ�นวนคน) นิยาม (ขอคำ�ถาม)

ไมมี ขอมูล

ไมสอดคลอง กัน

ต่�ำ

ปาน กลาง

สูง

รวม

สรุป

S1

การบูรณาการแผนยุทธศาสตรการทองเทีย่ ว ของประเทศไทยสอดคลองกันทุกระดับ สามารถนำ�ไปสูก ารปฏิบตั ไิ ด

-

-

12

15

-

27

ก า ร บู ร ณ า ก า ร แ ผ น ยุทธศาสตร การทองเที่ยว ของประเทศไทยสอดคลอง กับทุกระดับสามารถนำ �ไป สูก ารปฏิบตั ไิ ดปานกลาง

S2

มีการบริหารจัดการการทองเที่ยวอยางมี ระบบและมีการบูรณาการ ในการทำ�งาน รวมกัน

-

5

10

12

-

27

การบริหารจัดการ การทอง เทีย่ วอยางมีระบบและมีการ บูรณาการทำ�งานรวมกัน ใน เกณฑปานกลาง

S3

ป จ จั ย พื้น ฐานด า นการท อ งเที่ย วกลุ  ม จังหวัดภาคกลางตอนลางมีสง่ิ ดึงดูดใจและ สาธารณูปโภคทีม่ ศี กั ยภาพสูง

-

-

-

10

17

27

กลุมจังหวัดภาคกลางตอน ล า ง มี ป  จ จั ย พื้น ฐานด า น ก า ร ท  อ ง เ ที่ ย ว แ ล ะ สาธารณูปโภคทีม่ ศี กั ยภาพสูง

S4

มีระบบปองกันภัยและระบบสารสนเทศและ ระบบสาธารณูปโภคและการใหบริการที่ เปนมาตรฐานมากนอยเพียงใด

-

-

10

17

-

27

ระบบป อ งกั น ภั ย , ระบบ สารสนเทศและระบบ สาธารณูปโภคที่เปนมาตร ฐานอยูใ นระดับ ปานกลาง

S5

มีการสรางมูลคาเพิ่มใหแกผลิตภัณฑการ ทองเทีย่ วอยางสรางสรรคมากนอยเพียงใด

-

-

11

16

-

27

การสร า งมู ล ค า เพิ่ม ได แ ก ผลิตภัณฑการทองเทีย่ วอยูใ น ระดับปานกลาง

S6

มี ก ารพั ฒ นาด า นการตลาดและการ ประชาสัมพันธครบวงจรหรือไม

-

-

17

7

3

27

การพั ฒ นาการตลาดและ การประชาสัมพันธยั ง ขาด การบูรณาการทุกภาคสวน

S7

มีการพัฒนาฟน ฟู อนุรกั ษศลิ ปวัฒนธรรม และสิง่ แวดลอมใหเกิดความสมดุลหรือไม

-

-

15

10

2

27

มีการพัฒนาฟนฟู อนุรกั ษ ศิลปวัฒนธรรม และสิง่ แวดลอม นอย

S8

ชุมชนเจ า ของแหล ง ท อ งเที่ย วได รับ ผล ประโยชนจากการทองเทีย่ วอยางไร

-

-

14

13

-

27

ชุมชนเจาของแหลงทองเทีย่ ว ไดรบั ผลประโยชนจาก การ ทองเทีย่ วนอย

S9

กระแสชุมชนภิวตั นท�ำ ใหการบริหารจัดการ การทองเทีย่ วเปลีย่ นแปลงไปในทางทีเ่ กิด ประโยชนตอ ชุมชนเพียงใด

-

-

-

10

17

27

กระแสชุมชนภิวัตน ทำ�ให เกิ ด การท อ งเที่ย วบริ ห าร จัดการโดยชุมชน ชุมชนไดรบั ผลประโยชนสงู

S10

ยุทธศาสตรการสรางตัวแบบการทองเทีย่ ว อยางยั่งยืนจะสามารถนำ�ไปสูการปฏิบัติ ไดจริง

-

-

-

8

19

27

การสร า งตั ว แบบการท อ ง เที่ยวอยางยั่งยืน ยึดหลัก ใหชุมชนบริหารจัดการโดย คำ�นึงถึงความสมดุลทุกดาน สามารถนำ�ไปปฏิบตั ไิ ด

91


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

จากตารางที่ 1.1 ทำ � ใหเกิดแนวคิดเพิ่ ม เติ ม วา ควรมีการกระจายรายไดที่เกิดจากการทองเที่ยว อยางเปน ธรรม การพัฒนาการทองเที่ยวตองมีการ สนับสนุนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคเอกชน และคนในทองถิน่ จึงจะประสบความสำ�เร็จในการจัดการ คาดวาการจัดการทองเทีย่ วโดยชุมชนทีม่ เี กณฑตวั ชีว้ ดั ที่ชัดเจนจะเปนสวนหนึ่งในการพัฒนา การทองเที่ยว อย า งยั่ ง ยื น และนำ � ตั ว แบบไปปฏิ บั ติ ไ ด อ ย า งมี ประสิทธิภาพ 3. ผลการประชุมกลุมยอยเพื่อระดมความคิด เห็นภาคประชาชนและทองถิ่นในประเด็นที่เกี่ยวของ กับกรอบแนวคิดในการวิจยั ผูเ ขาประชุมตางตระหนักถึง คุณคาความสำ�คัญของสังคม วัฒนธรรม และสิง่ แวดลอม และภาคภู มิ ใ จในศิ ล ปวั ฒ นธรรมและอั ต ลั ก ษณ ข อง ท อ งถิ่ น โดยเฉพาะในจั ง หวั ด เพชรบุ รี แ ละจั ง หวั ด ประจวบคีรีขันธ มีจุดแข็งคือ ภาคประชาชน มีความ แข็งแกรงในการรักษาสิ่งแวดลอม และมีเครือขายภาค ประชาชนที่สรางความเขมแข็งในการทองเที่ยวอยาง

ยั่งยืนไดเปนอยางดี การทองเที่ยวจะทำ�ใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงภายในชุมชน คือ การถายทอดวัฒนธรรม ไปสู  สั ง คมภายนอก เกิ ด การอนุ รั ก ษ แ ละสื บ สาน วั ฒ นธรรม กระตุ  น ในชุ ม ชนหั น มาให ค วามสำ � คั ญ รักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติยิ่งขึ้น หากภาครัฐ มี ค วามจริ ง ใจในการสนั บ สนุ น ด า นงบประมาณ การใหความรูและทักษะดานการจัดการทองเที่ยวที่เปน มาตรฐานอยางตอเนือ่ ง รวมมือกับภาคเอกชนสนับสนุน ดานการตลาด การประชาสัมพันธ และประสานงานกับ ภาคทองถิ่นในการจัดการการทองเที่ยวอยางเปนระบบ จะทำ�ใหเกิดการทองเทีย่ วชุมชนทีส่ ามารถสรางงานสราง รายไดและทำ�ใหชุมชนเขมแข็ง การประชุ ม กลุ  ม เพื่ อ แสดงความคิ ด เห็ น ชี้ใหเห็นระดับตัวชี้วัดในการปฏิบัติการสอดคลองกับ การวิจยั เชิงเอกสาร และการวิจยั โดยการสัมภาษณเชิงลึก การจัดการการทองเที่ยวจะมีคุณภาพยั่งยืน หากรักษา ความสมดุลทุกดานไมวา เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และ สิ่งแวดลอม

ตารางที่ 1.2 แสดงผลตัวชี้วัดเชิงปฏิบัติการระดับจุลภาค ลำ�ดับคะแนน (จำ�นวนคน) ชือ่ รหัส

นิยาม (ขอคำ�ถาม)

ไมมี ขอมูล

ไม สอดคลอง กัน

ต่�ำ

ปาน กลาง

สูง

S1

การบู ร ณาการแผนยุ ท ธศาสตร ก าร ทองเทีย่ วของประเทศไทยสอดคลองกัน ทุกระดับสามารถนำ�ไปสูก ารปฏิบตั ไิ ด

-

-

-

40

S2

มีการบริหารจัดการการทองเทีย่ วอยางมี ระบบและมีการบูรณาการ ในการทำ�งาน รวมกัน

-

5

12

S3

ปจจัยพื้นฐานดานการทองเที่ยวกลุม จังหวัดภาคกลางตอนลางมีส่งิ ดึงดูดใจ และสาธารณูปโภคทีม่ ศี กั ยภาพสูง

-

-

-

92

รวม

สรุป

23

63

ก า ร บู ร ณ า ก า ร แ ผ น ยุทธศาสตรการทองเทีย่ ว ของประเทศไทยสอดคลอง กับทุกระดับสามารถนำ�ไป สูก ารปฏิบตั ไิ ดปานกลาง

42

4

63

ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร การทองเทีย่ วอยางมีระบบ และมีการบูรณาการทำ�งาน รวมกัน ในเกณฑปานกลาง

7

56

63

กลุ  ม จั ง หวั ด ภาคกลาง ตอนลาง มีปจจัยพื้นฐาน ด า นการท อ งเที่ย วและ สาธารณูปโภคทีม่ ศี กั ยภาพ สูง


ยุทธศาสตรการสรางตัวแบบการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน ในกลุม ​จงั หวัด​ภาค​กลาง​ตอน​ลา ง รวิวงศ ศรีทองรุง

ตารางที่ 1.2 (ตอ) ลำ�ดับคะแนน (จำ�นวนคน) ชือ่ รหัส

นิยาม (ขอคำ�ถาม)

ไมมี ขอมูล

ไม สอดคลอง กัน

ต่�ำ

ปาน กลาง

สูง

S4

มีระบบปองกันภัยและระบบสารสนเทศ และระบบสาธารณู ป โภคและการ ให บ ริ ก ารที่เ ป น มาตรฐานมากน อ ย เพียงใด

-

-

10

45

S5

มีการสรางมูลคาเพิ่มใหแกผลิตภัณฑ การทองเทีย่ วอยางสรางสรรคมากนอย เพียงใด

-

-

5

S6

มี ก ารพั ฒ นาด า นการตลาดและการ ประชาสัมพันธครบวงจรหรือไม

-

-

S7

มีการพัฒนาฟน ฟู อนุรกั ษศลิ ปวัฒนธรรม และสิ่ง แวดล อ มให เ กิ ด ความสมดุ ล หรือไม

-

S8

ชุมชนเจาของแหลงทองเที่ยวไดรับผล ประโยชนจากการทองเทีย่ วอยางไร

S9

S10

รวม

สรุป

8

63

ระบบปองกันภัย, ระบบ สารสนเทศและระบบ สาธารณู ป โภคที่ เ ป น มาตรฐานอยู  ใ นระดั บ ปานกลาง

45

13

63

การสรางมูลคาเพิ่มไดแก ผลิตภัณฑการทองเที่ยว อยูใ นระดับปานกลาง

28

20

15

63

การพัฒนาการตลาดและ การประชาสัมพันธยังขาด การบูรณาการทุกภาคสวน

-

38

21

4

63

มีการพัฒนาฟน ฟู อนุรกั ษ ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และ สิง่ แวดลอมนอย

-

-

35

25

3

63

ชุ ม ชนเจ า ของแหล ง ท  อ ง เ ที่ ย ว ไ ด  รั บ ผ ล ประโยชนจากการ ทองเทีย่ วนอย

กระแสชุมชนภิวัตนทำ�ใหการบริหาร จัดการการทองเที่ยวเปลี่ยนแปลงไป ในทางทีเ่ กิดประโยชนตอ ชุมชนเพียงใด

-

-

-

18

45

63

ก ร ะ แ ส ชุ ม ช น ภิ วั ต น  ทำ � ให เ กิ ด การท อ งเที่ย ว บริหารจัดการโดยชุมชน ชุมชนไดรบั ผลประโยชนสงู

ยุ ท ธศาสตร ก ารสร า งตั ว แบบการ ท อ งเที่ย วอย า งยั่ง ยื น จะสามารถนำ � ไปสูก ารปฏิบตั ไิ ดจริง

5

-

-

26

32

63

การสร า งตั ว แบบการ ทองเที่ยวอยางยั่งยืน ยึด หลั ก ให ชุ ม ชนบริ ห าร จัดการโดยคำ�นึงถึงความ สมดุลทุกดาน สามารถนำ� ไปปฏิบตั ไิ ด

ผลการประชุ ม กลุ  ม ย อ ยแสดงระดั บ ตั ว วั ด ใน การปฏิบัติการดังนี้คือ การบูรณาการแผนยุทธศาสตร การทองเที่ยวทุกระดับนำ �ไปสูการปฏิบัติไดในระดับ ปานกลาง มีการบริหารจัดการการทองเที่ยวอยางมี ระบบและมีการบูรณาการการทำ�งานรวมกันในเกณฑ ปานกลาง กลุม จังหวัดภาคกลางตอนลางมีปจ จัยพืน้ ฐาน

ด า นการท อ งเที่ ย วและสาธารณู ป โภค มี ศั ก ยภาพ สูง มีระบบปองกันภัย ระบบสารสนเทศอยูในระดับ ปานกลาง การสร า งมู ล ค า เพิ่ ม ให แ ก ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ทองเที่ยวอยูในระดับปานกลาง การพัฒนาตลาดและ การประชาสัมพันธยังขาดการบูรณาการทุกภาคสวน มีการฟนฟูอนุรักษศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอมนอย

93


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ชุมชนเจาของแหลงทองเที่ยวไดรับผลประโยชนจาก การทองเที่ยวนอย กระแสชุมชนภิวัตนทำ�ใหเกิดการ ทองเที่ยวโดยชุมชนและชุมชนจะไดรับผลประโยชนสูง นำ�ไปสูการสรางตัวแบบการจัดการการทองเที่ยวโดย คำ�นึงถึงความสมดุลดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม อยางไรก็ตามจังหวัดเพชรบุรี และประจวบคีรขี นั ธ มีโครงการพระราชดำ�ริจำ�นวนมากที่สามารถนำ�ไปสู การจัดการการทองเที่ยวทางเลือกใหม เพื่อแลกเปลี่ยน เรี ย นรู  แ ละการนำ � หลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาใช ใ น การแสดงวิ ถี ชี วิ ต ชุ ม ชน เพื่ อ พั ฒ นาการท อ งเที่ ย ว ที่ยั่งยืนได เปนการเผยแพรชื่อเสียงและพระเกียรติคุณ ของพระมหากษั ต ริ ย  ไ ทยรั ช กาลป จ จุ บั น ที่ ท รงมี พระกรุณาธิคุณตอพสกนิกรอยางยาวนาน และทำ�ให ประชาชนอยูด มี สี ขุ สิง่ สำ�คัญทีเ่ ปนจุดออนของการพัฒนา การทองเที่ยวอยางยิ่ง คือ ความไมสงบทางการเมือง ไดสรางความเสียหายใหแกชื่อเสียงของประเทศไทย โดยเฉพาะในชวงที่ผานมาระหวาง พ.ศ.2551-2553 เกิดปญหาความขัดแยงทางการเมือง สงผลกระทบตอ ภาพลักษณของประเทศไทยอยางมาก สรุป ส รุ ป ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห  ข  อ มู ล ส า ม ด  า น (Triangulation) ชนิดตางวิธีมีสวนที่สอดคลองกันทั้ง การวิจัยดานเอกสาร การสัมภาษณเชิงลึก และการ ประชุมระดมความคิดเห็นภาคประชาชนและทองถิ่น กลาวคือ การจัดการทองเทีย่ วโดยชุมชนสามารถกระทำ� ไดหากชุมชนมีความรูค วามเขาใจหลักการบริหารจัดการ มีทกั ษะดานการจัดการการทองเทีย่ ว สามารถสรางความ ภาคภูมใิ จ และการตระหนักในคุณคาของอัตลักษณของ

94

ทองถิ่นตนเอง เพื่อใชประโยชนในการสงเสริมการ ท อ งเที่ ย วอย า งระมั ด ระวั ง ไม ทำ � ลายสิ่ ง แวดล อ ม จั ด กิ จ กรรมที่ ส นั บ สนุ น การลดภาวะโลกร อ น จาก การวิเคราะหผลทุกดานเห็นพองกันวาเจาของพื้นที่ ท อ งเที่ ย วเป น ผู  เ ข า ใจป ญ หาของท อ งถิ่ น ได ดี และสามารถบริ ห ารจั ด การแก ป  ญ หาท อ งถิ่ น ได ใ น ที่สุด ควรสนับสนุนใหภาคทองถิ่นมีสวนรวมในการ จั ด การท อ งเที่ ย ว โดยมี ภ าครั ฐ และภาคเอกชนเป น ฝ า ยสนั บ สนุ น ในป จ จั ย ที่ ภ าคท อ งถิ่ น ต อ งการความ ช ว ยเหลื อ การมี ตั ว ชี้ วั ด การท อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชนที่ ชัดเจน (มิ่งสรรพ ขาวสะอาด และคณะ 2551 : 45-49) นำ � ไปสู  ก ารสร า งตั ว แบบการท อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชน ที่สามารถนำ�ไปสูการปฏิบัติไดจริง ผลการวิเคราะห สามดานจึงนำ�ไปสูแบบจำ�ลองการทองเที่ยวอยางยั่งยืน โดยชุมชนสามารถนำ�ไปปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม สุดทายผูว จิ ยั ขอเสนอแนะใหมกี ารศึกษาวิจยั เรือ่ ง อุทยานแหงชาติในเขตจังหวัดภาคกลางตอนลางเพือ่ การ ทองเที่ยวอยางยั่งยืน การศึกษาโครงการพระราชดำ�ริ เพือ่ การทองเทีย่ วทางเลือกใหม และอาหารฮาลาล เพือ่ การทองเทีย่ วทางเลือกใหมของไทย ซึง่ จะเปนการศึกษา วิจัยที่สามารถเผยแพรชื่อเสียงและอัตลักษณที่ดีของ ชาติ ด  า นการท อ งเที่ ย วให ลึ ก ซึ้ ง กว า งขวางในด า น วิชาการตอไป คำ�ขอบคุณ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารย ดร. อิมรอน มะลุลีม ศาสตราจารย ดร.บุญทัน ดอกไธสง พลเอก ดร.เกษมชาติ นเรศเสนีย ดร.สุพจน ทราย แกว ดร.บุญเลิศ ไพรินทร และศาสตราจารย ดร.สมบัติ กาญจนกิจ มา ณ โอกาสนี้


ยุทธศาสตรการสรางตัวแบบการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน ในกลุม ​จงั หวัด​ภาค​กลาง​ตอน​ลา ง รวิวงศ ศรีทองรุง

เอกสารอางอิง จิตศักดิ์ พุฒิจร. (2548). รายงานสิ้นสุดโครงการระยะที่ 1 แผนพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนในเขตภาค กลางตอนลาง. เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยศิลปากร. ดวงใจ หลอธนวณิชย. (2550). รัฐ ทุน ชุมชน การจัดการการทองเทีย่ วทีย่ งั่ ยืน. วิทยานิพนธดษุ ฎีบณ ั ฑิต สาขา รัฐประศาสนศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ทยิดา ยันตะบุษย. (2549). บทบาทขององคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน). วิทยานิพนธรฐั ศาสตรมหาบัณฑิต คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา. เทิดชาย ชวยบำ�รุง. (2548). ติดอาวุธทางปญญากระบวนการวิจยั และพัฒนากระบวนการเรียนรูภ าษาอังกฤษ เชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวมสูการพัฒนาการทองเที่ยวทองถิ่นยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย. นวรัตน พลายนอย. (2545). โครงการทักษะการทำ�งานและปจจัยเงื่อนไขในการพัฒนาทักษะการทำ�งานของ แรงงานภาคอุตสาหกรรมทองเทีย่ วในทองถิน่ : กรณีศกึ ษาในกลุม ประชาคม (Civic Group) ภาคเหนือ ตอนบน. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน). (2552). สำ�รวจความคิดเห็นดานธุรกิจทองเที่ยว. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 24 กันยายน 2553. จาก http://wwwpathaya.Dailynews.com. ประชาชาติธุรกิจ. (2553). ผูวากระทรวงการทองเที่ยวแหงประเทศไทย ผูนำ�ความสำ�เร็จเที่ยวไทย 5 พันธกิจ สรางทศวรรษที่ 5 สุดแกรง. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 24 ตุลาคม 2553. จาก http://www.promotionof TourismIndustryThroughDiplomy_cy. ภูวนิดา คุนผลิน. (2550). การบริหารการพัฒนายุทธศาสตรการทองเที่ยว. วิทยานิพนธดุษฎีบัณฑิต สาขา รัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง. มิ่งสรรพ ขาวสะอาด และคณะ. (2551). การพัฒนาการทองเที่ยวเชิงบูรณาการที่ยั่งยืนในลุมแมน้ำ�โขง 3. เชียงใหม: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม. รพีพรรณ ทองหอ และคณะ. (2549). แนวทางการพัฒนาการทองเทีย่ วภายใตศกั ยภาพและขอจำ�กัดของกลุม ภาคกลางตอนบน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง. วินิจ รังผึ้ง. (2550). 50 ป การทองเที่ยวไทย. [ออนไลน]. สืบคืนเมื่อ 24 ตุลาคม 2553. จาก http://www. mythailandandtoday.com. สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย. (2549). รายงานฉบับยอสำ�หรับผูบ ริหารโครงการศึกษาเพือ่ จัดทำ�แผน ปฏิบตั อิ ตุ สาหกรรมทองเทีย่ วแหงชาติ ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที ่ 9 (พ.ศ. 2545-2549). เชียงราย: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย. เสรี วังสไพจิตร และคณะ. (2549). โครงสรางของอุตสาหกรรมไทย. กรุงเทพฯ: ทุนวิจัยคณะกรรมการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต. อมรา พงศศาพิชญ. (2543). ความหลากหลายทางวัฒนธรรมกระบวนทัศนและบทบาทประชาสังคม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Cohen, P.S. (1968). Modern social theory. London: University of London. Peters, G.B. (1996). The Future of governing : four emerging models lawrence. Kansas city: The University Press of Kansas.

95


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

The United Nations World Tourism Organization. (2006). Sustainable tourism. [Online]. Retrieved March 21, 2010. from http://www.World Tourism org/frameset/frame_sustainable.html.

96


พัฒนาการ​ยาน​นางเลิ้ง The Development of Nang-Loeng Area สุภาภรณ จินดามณีโรจน 1 Suphaphorn Jindamaneerojana บทคัด​ยอ​ ย า นนางเลิ้ ง เป น ย า นเก า แก แ ห ง หนึ่ ง ของกรุ ง เทพมหานครมี พั ฒ นาการยาวนานกว า 200 ป เท า ที่ ผ  า นมาการศึ ก ษาย า นนี้ มั ก เน น ศึ ก ษาด า นสถาป ต ยกรรม การอนุ รั ก ษ แ ละผั ง เมื อ ง การศึ ก ษาในด า น ประวัติศาสตรเพื่อใหเห็นพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของยานนี้ยังศึกษากันไมมากนัก บทความนีจ้ งึ มุง ศึกษาพัฒนาการความเปนมาของยานเกาแหงนีโ้ ดยใชวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตรทอ งถิน่ ดวย การศึกษาและเก็บขอมูลจากเอกสารตางๆ แผนที่ ภาพถายทั้งเกาและใหม รวมทั้งรองรอยตางๆ ในชุมชนโดยการ สำ�รวจพื้นที่ และสัมภาษณผูรูใหเห็นพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงยานเกานี้ จากการศึกษาพบวายานนางเลิง้ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน (รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 3 พ.ศ. 2325 - 2394) เรี ย กว า บ า นสนามกระบื อ ในขณะนั้น มี พ้ืน ที่ส  ว นใหญ เ ป น นา เป น ไร ร กร า งอยู  น อกเขตกำ � แพงพระนคร ทางด า นตะวั น ออก มี ผู ค นทั้ง เขมร ลาว มอญ ญวนและชาวใต ก ลุ  ม หนึ่ง ตั้ง ถิ่น ฐานอยู  กัน อย า งเบาบาง มีวัดสนามกระบือเปนศูนยรวมจิตใจ ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2394 - 2411) โปรดเกล า ฯ ให มี ก ารขยายพระนครโดยการขุ ด คลองผดุ ง กรุ ง เกษมทำ � ให พื้ น ที่ บ ริ เ วณนี้ อ ยู  ภ ายในกำ � แพง พระนครและกลายเป น พื้ น ที่ ที่ ไ ด รั บ การพั ฒ นาให เ จริ ญ ขึ้ น และในรั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจาอยูหัว (พ.ศ. 2411 - 2453) มีการตัดถนนหลายสายผานยานนี้ มีการสรางวังเจานาย บานขุนนาง เกิดตลาด นางเลิ้ง ทำ�ใหยานนางเลิ้งกลายเปนศูนยกลางการคาและแหลงบันเทิงที่ส�ำ คัญแหงหนึ่งของกรุงเทพมหานครมานาน กวารอยป จวบจนเมื่อ 40 ปที่ผานมายานนางเลิ้งเริ่มซบเซาลงเพราะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการขยายตัว ของกรุงเทพมหานคร แตวันนี้ชาวนางเลิ้งยังมีความทรงจำ�มีความภาคภูมิใจในวันวานที่ผานมา ผลของการศึกษาจะชวยใหเกิดความรูความเขาใจเรื่องราวและผูคนยานนี้ คำ�สำ�คัญ: 1. บานสนามกระบือ. 2. นางเลิ้ง. 3. ตลาดนางเลิ้ง 4. โรงหนังนางเลิ้ง. 5. ตรอกสะพานยาว. 6. ตรอกละคร.

__________________

1

รองศาสตราจารย ประจำ�หมวดวิชาประวัติศาสตร คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

Abstract Nang-Loeng area is one of Bangkok’s oldest communities which has been through two-hundred-years of development. So far the studies on the area are mostly on architecture, conservation and city planning. However, an historical study on development and transition is still lacking. This article, therefore, aims to study the development of this ancient area through the local history approach. The emphasis will be based upon documents, maps, old and new photos, including ancient traces found in the community by survey of the area, and interviews of the local people. Consequently all types of information will be integrated in order to present the development and transition of this area. The research revealed that the area of Nang- Loeng in the early Rattanakosin period (in the reign of King Rama I - King Rama III, B.E.2325 – B.E.2394) was called Ban Sanam Krabue. The area was mostly rice fields and deserted plantations located outside of the eastern city wall. It was sparsely populated by Khmers, Laotians, Vietnamese and a group of southerners. Sanam Krabue temple was the spiritual centre for the people. Later on, in the reign of King Rama IV (B.E.2394 - B.E.2411), Phadung Krungkasem canal was excavated by the royal command to expand the city, which resulted in the inclusion of this area within the city walls. In the reign of King Rama V (B.E.2411-B.E.2453) Nang-Loeng became a developed area with residences for royalty and nobility. The establishment of Nang-Loeng market, together with the construction of many roads through this area made Nang-Loeng the centre of commerce and entertainment for more than a hundred years. It is only in the past 40 years that Nang-Loeng has declined. At present, people of Nang-Loeng have proud memories of days gone by and look forward to the renovation of Nang-Loeng to its former glory. The results of the study will initiate an understanding of the Nang-Loeng area and the local people. Keywords: 1. Ban Sanam Krabue. 2. Nang-Loeng. 3. Nang-Loeng market. 4. Nang-Loeng theatre. 5. Trok Saphanyao. 6. Trok Lakhor.

98


พัฒนาการยาน​นาง​เลิ้ง สุภา​ภรณ จินดามณี​โรจน

ยานนางเลิง้ เปนพืน้ ทีอ่ ยูร ะหวางคลองรอบกรุง กับคลองผดุงกรุงเกษม มีพฒ ั นาการยาวนานกวา 200 ป เคยเปนพื้นที่ทุงนาและมีผูคนอยูเบาบางนับแตสมัย กรุงรัตนโกสินทรตอนตน เมื่อเกิดการขยายตัวของ กรุงเทพฯในสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 ทำ�ให ย า นนางเลิ้ ง กลายเป น ที่ อ ยู  อ าศั ย ของผู  ค นทั้ ง ไทย เขมร ลาว ญวน และจีน หนาแนนขึ้น และนับตั้งแต สมัยรัชกาลที่ 5 เปนตนมา ยานนางเลิ้งคอยๆ พัฒนา กลายเป น ย า นที่ อ ยู  ข องเจ า นายกลายเป น ย า น ความเจริ ญ เกิ ด ตลาดนางเลิ้ ง ที่ ต  อ มากลายเป น ย า นศู น ย ก ลางการค า และแหล ง บั น เทิ ง ที่มีช่ือ เสี ย ง ยานหนึง่ ของกรุงเทพมหานครและสืบมานานกวา 100 ป เมือ่ ประมาณ 40 ปทผ่ี า นมาความรุงเรืองของยานนางเลิ้ง ตองพลิกผันกลายเปนเพียงความทรงจำ�ที่ผูคนทั้งใน ชุมชนและผูที่เคยไปเยือนไดเลาขานกันมาจนทุกวันนี้

ยานนางเลิ้ง ทองทุงกวางฝงตะวันออกเฉียงเหนือ ของพระนคร : บานสนามกระบือ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน (รัชกาล ที่ 1 - รัชกาลที่ 3 หรือ พ.ศ. 2325 - 2394) 70 ปแรก ของการสถาปนากรุงเทพมหานคร บริเวณนางเลิ้งมี สภาพเปนทองทุงอยูนอกกำ�แพงเมืองพระนครโดยมี คลองรอบกรุ ง คั่น อยู  มี ค ลองมหานาคอยู  ท างทิ ศ ใต ระยะนี้จึงมีผูคนอยูเบาบางทั้งชาวไทย เขมรและลาวที่ ถูกกวาดตอนมาเปนเชลยศึกและไดเคยชวยขุดคูเมืองและ สรางกำ�แพงพระนคร ยานนางเลิง้ ตัง้ อยูท างทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ของพระนคร เปนที่อยูประปรายของคนไทยบางและ เชลยศึกบางที่กวาดตอนมาทั้งเขมรและลาวที่ถูกเกณฑ ใหขุดคูสรางกำ�แพงพระนคร รวมทั้งมอญลองเรือมา ค า ขายและตั้ง บ า นเรื อ น นอกจากนี้ยัง มี ช าวใต ท้ัง

(ที่มา สมุดภาพแหงกรุงเทพมหานคร 220 ป, 2546 หนา 135)

99


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ชาวใตกลุมหนึ่งที่พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงโปรดเกลาฯ ให ตัง้ ถิน่ ฐานอยูบ า นสนามควายนั้นโปรดเกลาฯ ให เ ป น “ไพร ห ลวงเกณฑ บุ ญ ” ฝ ก เป น ชางปูนชางศิลาหลวง ชาวใตกลุมนี้ไดมี การนำ � เอาศิ ล ปะการแสดงของทางใต ประเภทโขน ละครชาตรี หนังตะลุง ลิเก และดนตรี ป   พ าทย เ ข า มาจนกลายเป น เอกลักษณและสรางชื่อเสียงสืบตอกันมา นาน และป จ จุ บั น ยั ง สื บ สานคงอยู  คู  กั บ ยานนี้ ที่สำ�คัญ คือ คณะครูพูน เรืองนนท และลูกหลานซึ่งเปนที่รูจักกันดีในปจจุบัน ผูคนทั้งไทย เขมร ลาว มอญ และ ชาวใตสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ มีวัด สนามกระบือ (หรือวัดสนามควาย) หรือ วัดแค ซึ่งสรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 เปน แผนผังแสดงแนวคลองและกำ�แพงพระนครในสมัยกรุงรัตนโกสินทร ศูนยรวมจิตใจและศูนยกลางชุมชน ตอนตน (ที่มา: กรุงเทพฯ 2489-2539, 2539 หนา 35) ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลา เจาอยูหัวรัชกาลที่ 3 (พ.ศ. 2364 - 2367) ชาวละคร ชาวตะลุง และชาวสงขลาที่ติดตามกองทัพ นี้ โ ปรดเกล า ฯ ให ขุ ด คลองแสนแสบต อ จากคลอง ของพระยาบรมมหาประยูรวงศ (ดิศ บุนนาค) ซึ่งไป มหานาคตัดไปออกแมน้ำ�บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ปราบกบฏที่ภาคใตเขามายังกรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จ ทำ � ให ก ารคมนาคมจากคลองมหานาคขยายออกไป พระนั่ง เกล า เจาอยูหัว จึง โปรดเกลาฯ ใหต้ัง ถิ่น ฐาน สูทองทุง และพื้นที่ดานตะวันออกของพระนครไปจนถึง อยูบริเวณนี้ดวย ซึ่งปรากฏชื่อเรียกบริเวณนี้ในสมัย จังหวัดนครนายกและปราจีนบุรี ทำ�ใหเกิดความสะดวก รัชกาลที่ 3 วา “บานสนามกระบือ” (ทิพากรวงศ (ขำ� ต อ การคมนาคมและการขนส ง จึ ง มี ผู  ค นสั ญ จรและ บุนนาค), เจาพระยา 2504 : 225-226) แตชาวบานมัก เกิดการคาแลกเปลี่ยนเพิ่มขึ้น สงผลใหผูคนอพยพ เรียกวา “บานสนามควาย” เขามาบริเวณยานสนามกระบือเพิ่มขึ้น บานสนามควาย หรือ บานสนามกระบือใน สมัยรัชกาลที่ 3 จึงเปนทุงกวางใหญมีผูคนหลายกลุม บานสนามกระบือมิใชพื้นที่นอกพระนครอีกตอไป จำ�นวนไมมากนักอยูกันอยางเบาบาง อันเปนพื้นที่นอก เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว พระนคร มีการใชเสนทางคมนาคมทางน้ำ �เปนหลัก รัชกาลที่ 4 (พ.ศ. 2394 - 2411) ทรงเสด็จเสวยราชย ทั้งคลองรอบกรุง (คลองบางลำ�พู คลองโองอาง) ออก ในปแรกทรงพิจารณาเห็นวาบานเมืองเจริญขึ้นผูคนก็ สูแมน้ำ�เจาพระยาทางดานเหนือและดานใต จากคลอง เพิ่มมากกวาเมื่อเริ่มสรางกรุงจึงโปรดเกลาฯ ใหมีการ รอบกรุ ง ผ า นคลองหลอดเข า คลองคู เ มื อ งเดิ ม เข า สู  ขยับขยายพระนครออกไปทางดานตะวันออกโดยการ ใจกลางพระนคร และจากคลองรอบกรุ ง ออกคลอง ขุด “คลองขุดใหม” หรือ “คลองผดุงกรุงเกษม” ขนาน มหานาคออกไปสูพื้นที่อันโลงกวางทางตะวันออกของ กับคลองรอบกรุง พรอมทั้งสรางปอมตามแนวริมคลอง พระนครได เสนทางเหลานี้ไดกลายเปนเสนทางแลก 8 ปอม เปลี่ยนการคาที่สำ�คัญตอมาดวย

100


พัฒนาการยาน​นาง​เลิ้ง สุภา​ภรณ จินดามณี​โรจน

แผนผังแสดงแนวคลองผดุงกรุงเกษมที่ขุดขึ้นใน รัชกาลที่ 4 (ที่มา: กรุงเทพฯ มาจากไหน?, 2548)

ผลของการขุดคลองนี้ทำ�ใหบานสนามกระบือ กลายเปนเขตพื้นที่ในพระนคร และเปนการเปดพื้นที่ การทำ�นา ทำ�สวนมากขึน้ เกิดเสนทางสัญจรทางน้�ำ เพิม่ ขึ้นอีก คือ คลองผดุงกรุงเกษมที่สามารถออกสูแมนำ�้ เจาพระยาทัง้ ทางดานเหนือ (บริเวณวัดเทวราชกุญชร หรือ วัดสมอแครง) ยานเทเวศร หรือผานลงไปทางดานใตผา น คลองมหานาคและยานวัวลำ�พอง (หัวลำ�โพง) ไปออกแมน�ำ้ เจาพระยาบริเวณวัดแกวแจมฟาบริเวณ สีพ่ ระยา นอกจากนีห้ ลังจากขุดคลองผดุงกรุงเกษมแลว พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวยังโปรดเกลาฯ ให ช าวญวนจากเมืองกาญจนบุรีกลุมหนึ่งที่ถูก กวาด ตอนมาตั้งแตครั้งรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา เจาอยูห วั ใหยา ยมาตัง้ บานเรือนทีร่ มิ คลองผดุงกรุงเกษม (ใกลสะพานจตุรพักตรรังสฤษดิ์) ฝงตรงขามวัดสนาม กระบือ ชาวญวนกลุม นีต้ อ มาไดรว มกันสรางวัดอนัมนิกาย ของตนขึน้ คือ วัดเกีย๋ งเพือ้ กตือ่ หรือทีช่ าวบานเรียกกัน ตอมาภายหลังวา วัดญวนนางเลิง้ เปนศูนยรวมในการ ปฏิบตั ศิ าสนกิจ ชุ ม ชนเริ่ ม ขยายมากขึ้ น ต อ มาพระบาท สมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ใหสราง วัดโสมนัสราชวรวิหารขึ้นริมคลองผดุงกรุ ง เกษมนี้

วัดสมณานัมบริหาร (วัดญวนนางเลิง้ ) (ทีม่ า : เก็บขอมูลวันที่ 24 พฤศจิกายน 2553)

และโปรดเกลาฯ ใหเปนพระอารามหลวงราชวรวิหาร ชั้ น โท ซึ่ ง วั ด นี้ ตั้ ง อยู  ด  า นตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของ วั ด สนามกระบื อ และในรั ช กาลนี้ ยั ง โปรดเกล า ฯ ให เปลี่ยนชื่อวัดสนามกระบือหรือวัดแค เปนวัดสุนทร ธรรมทานดวย นางเลิ้งกับการพัฒนาสูความทันสมัย หลังจากการเปดประเทศดวยการทำ�สนธิสญ ั ญา บาวริง ในป พ.ศ. 2398 สยามผูกพันกับเศรษฐกิจโลก มีชาวตางประเทศทั้งจีน ฝรั่งและแขกตางทยอยกันเขา มาตั้งหางรานและตัวแทนจำ�หนายสินคาในกรุงเทพฯ มี สินคาหลากหลายเขามาสูส ยาม เกิดธุรกิจโรงแรม ทาเรือ คาปลีก คาสง รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมการคาและธุรกิจใน กรุงเทพฯดวยการสรางสาธารณูปโภคที่ทันสมัยแบบ ตะวันตก เชน ไฟฟา ประปา รถเจ็ก รถลาก รถราง ไปรษณีย โทรศัพท โทรเลข ถนนหนทาง สะพานขามคลองใหรถ วิ่งและมีการสรางวัง สถานที่ราชการ อาคารตึกฝรั่ง

101


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ยานนางเลิ้ง พ.ศ. 2439 (ที่มา : แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2431-2474, 2527)

หองแถว ผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางโครงสราง กายภาพของกรุ ง เทพมหานครที ล ะน อ ย เพื่ อ ตอบ สนองการขยายตัวทางการคาภายในเมืองและการคา ระดับประเทศ กรุงเทพฯ คอยๆ พัฒนาเปนมหานคร ทางการคาในที่สุด ย า นสนามกระบื อ ซึ่ ง มี วั ด สุ น ทรธรรมทาน (วัดแค) และวัดโสมนัสราชวรวิหารซึง่ เปนวัดราษฎรและ วัดหลวงเปน ศูนยกลางของชุมชนก็เชนกันไดคอยๆ

พัฒนาขึ้น และทวีความสำ�คัญอยางเดนชัด หลังจาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาอยูห วั (พ.ศ. 2411-2453) ทรงขยายพระราชวังสวนดุสิตออกมานอกแนวคลอง ผดุงกรุงเกษม ซึง่ เปนคลองคูพระนครใหม พรอมกับมีการ ตัดถนนหลายสาย เชน ถนนราชดำ�เนิน (ใน กลาง และนอก) ถนนสามเสน ถนนกรุงเกษม ถนนหลานหลวง ถนนลูกหลวง ถนนนครสวรรค ถนนพะเนียง ถนน จักรพรรดิพงษ ถนนศุภมิตร ถนนพิษณุโลก อีกทั้ง

แผนที่แสดงถนนและคลองที่สำ�คัญยานนางเลิ้ง (ที่มา: ดัดแปลงจากแผนที่ Google Map)

102


พัฒนาการยาน​นาง​เลิ้ง สุภา​ภรณ จินดามณี​โรจน

ยังมีการสรางสะพานขามคลองตางๆ เพื่อใชในการ ขยายตัวริมคลองทั้งทางน้ำ�กอนในระยะแรกเริ่มและ สัญจรถึงกันไดสะดวก เปนการเปดพื้นที่นอกกำ�แพง ขยายมาบนบกริมคลอง ตอมาเกิดการขยายตัวการคา พระนครทั้ ง ด า นทิ ศ เหนื อ และทิ ศ ตะวั น ออก โดย ทางบกถั ด จากริ ม คลองเข า มาเล็ ก น อ ยเมื่ อ มี ก าร เฉพาะทางทิ ศ ตะวั น ออกบริ เ วณบ า นสนามกระบื อ สร า งถนนบริ เ วณบ า นสนามกระบื อ หลายสายดั ง ที่ ได รั บ การพั ฒ นาให ก ลายเป น พื้ น ที่ ท่ี มี ค วามเจริ ญ กลาวมาแลว โดยเฉพาะถนนตลาด (หรือตอมาเรียกวา และกลายเป น ย า นที่ผู ค นเข า ถึ ง ได ท้ัง การคมนาคม ถนนนครสวรรค ) ซึ่ ง ผ า นใจกลางย า นนี้ พร อ มทั้ ง ทางบกและทางน้�ำ มีการสรางอาคารรานคาที่อยูอาศัยสองฝงถนนตลาดนี้ นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา และสรางอาคารโรงตลาดขึ้นมาซึ่งปรากฎเรียกชื่อเปน เจาอยูหัวทรงพระราชทานที่ดินบริเวณพื้นที่นอกแนว ทางการวา ตลาดนางเลิ้ง คลองผดุ ง กรุ ง เกษมที่ เ ป ด ใหม บ ริ เ วณ บานสนามกระบือและใกลเคียงนี้ใหพระราช โอรสสรางวังตางๆ 10 กวาวัง บริเวณนี้ จึงกลายเปน “ยานวัง” เจานาย ไดแก วังกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (วังนางเลิง้ ) วังกรมหมื่นไชยศรีสุริโยภาส วังกรมหลวง สิงหวิกรมเกรียงไกร (วังสะพานขาว) วัง สมเด็จกรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ (วัง วรดิศ) วังจอมพลหลวงนครไชยศรีสุรเดช (วังมหานาค) วังจันทรเกษม วังสมเด็จเจาฟา กรมหลวงพิ ษ ณุ โ ลกประชานารถ (วั ง ปารุสกวัน) วังสมเด็จเจาฟากรมหลวงลพบุรี ราเมศร (วังลดาวัลย) วังกรมหลวงปราจิณ กิตบิ ดี วังกรมหลวงราชบุรดี เิ รกฤทธิ ์ (วังบาง ขุนพรหม) และวังกรมหลวงจันทบุรนี ฤนารถ เปนตน พรอมทัง้ เกิดการเปลีย่ นแปลงดวยการ รับวัฒนธรรมตะวันตกในรูปแบบการกอสราง วังและความนิยมในสินคาอุปโภคและบริโภค ของตะวันตกตามมามากขึน้ เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นและผูคนทั้ง พระบรมวงศานุ ว งศ ขุ น นาง เจ า นาย ขาราชการ ตางขยับขยายออกมาอยูนอก กำ � แพงพระนครมากขึ้ น เครื่ อ งอุ ป โภค บริโภคจึงเปนสิ่งจำ�เปน เกิดพื้นที่ทำ�การ คาขายใกลริมคลองผดุงกรุงเกษมเปนระยะ ตั้งแตปากคลองผดุงกรุงเกษมเรื่อยมาจน ตลาดนางเลิ้งตั้งอยูริมถนนตลาดระหวางวัดโสมนัสราชวรวิหารกับ ถึ ง บริ เ วณบานสนามกระบือ โดยเฉพาะ วัดสุนทรธรรมทาน (หรือวัดแค) (ถายโดย ฮันท, วิลเลีย่ ม พ.ศ. 2489 บริ เ วณย า นสนามกระบื อ ที่ อ ยู  ใ กล ค ลอง รหัส ภ WH .2 ภาคกลาง กลอง 3 /159 หอจดหมายเหตุแหงชาติ) ผดุ ง กรุ ง เกษมไดเกิดพื้นที่ทำ� การคาขาย

103


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ตลาดนางเลิ้ง ตั้งอยูริมถนนตลาดหรือถนน นครสวรรค เปดอยางเปนทางการ ณ วันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2443 (29 มีนาคม รศ.118) จนเปนขาวเดนขาวดัง ในยุคสมัยนั้นลงในหนังสือพิมพบางกอกสมัย ฉบับ 30 มีนาคม รศ. 118

ตลาดแห ง นี้ ไ ด ก ลายเป น ตลาดที่ ทั น สมั ย ตื่นตา ตื่นใจของผูคนโดยรอบและจากที่ตางๆ มีผูคน มาจับจายขาวของกันมากมาย ดังนิราศพระราชวังดุสติ กลาวไววา “ถึงตลาดนางเลิ้งดูเวิ้งวาง คณานางนำ�ชมชางคมสัน ​นั่งราน​ราย​ขายผัก​นา​รัก​ครัน ​หมสีสัน​แต​ราง​ดังนางใน พวกจีนไทยในตลาดก็กลัดกลุม ทั้งสาวหนุมแซอยูเด็กผูใหญ นั่งขายของสองขางหนทางไป ลวนเขาใจพอซัดชำ�นาญ” (สุจิตต วงษเทศ 2545 : 239)

104

ยานตลาดนางเลิ้งกลายเปนศูนยกลางเศรษฐกิจ แหงหนึ่งของกรุงเทพฯ อย า งไรก็ ต ามตลาดนางเลิ้ ง มิ ใ ช ตั ว อาคาร ตลาดเทานั้น แตหมายรวมถึงอาคารตึกหองแถวรอบๆ ตั ว ตลาด อั น ได แ ก ตึ ก ห อ งแถวหน า ตลาดริ ม ถนน นครสวรรค 2 ฝง ตอเนือ่ งมายังตึกแถวริมถนนกรุงเกษม ซึ่งสวนใหญมีอายุประมาณ 80-100 ป (สรางราวป พ.ศ. 2443 - 2473) ตอมามีการขยายสรางตึกแถวริม ถนนพะเนียงและริมถนนศุภมิตรเพิ่มขึ้นอีก ทำ�ใหตัว อาคารตลาดเปนใจกลางของยานการคากลุมนี้ ในอดีตตัวอาคารตลาดตรงกลางเปนตลาดสด เนนขายของสดทัง้ เนือ้ สัตว ของทะเล ผักและผลไมนานา ชนิดและตึกแถวรอบๆ ตัวตลาดของของสดบาง ของแหง เครือ่ งอุปโภคบริโภคหลากหลาย บางเปนรานอาหาร สวน ตึกแถวริมถนนตลาด ถนนกรุงเกษมจะเปนรานขายของ อุปโภคบริโภครวมทั้งของใชจากตางประเทศดวย การ คาจะเปดขายทัง้ วัน เจานาย ขาราชการทัง้ พลเรือนและ ทหารบริเวณโดยรอบและใกลเคียงตางมักพากันมาจับจาย ซือ้ ของกันคึกคัก รวมทัง้ ผูค นทีอ่ ยูไ กลออกมามักเดินทาง ไปซือ้ ของกันในยานนีท้ น่ี บั วาขายของทีท่ นั สมัยและเปน ยานศูนยรวมสินคามากมายหลากหลายที่โดดเดนของ กรุงเทพฯในยุคนัน้ ผู  ค นโดยเฉพาะคนจี น ค อ ยๆ เคลื่ อ นย า ย เขามาคาขายและตั้งถิ่นฐานอยูหนาแนนขึ้น สวนกลุม คนดั้งเดิมยังคงอยูรอบๆ วัดสุนทรธรรมทาน (วัดแค) และบริเวณรอบวัดโสมนัสราชวรวิหาร สวนชาวญวน จะอยู  บ ริ เ วณริ ม คลองผดุ ง กรุ ง เกษมฝ  ง ตรงข า มโดย อยูร อบๆ วัดเกีย๋ งเพือ้ กตือ่ หรือ วัดญวนนางเลิง้ ซึง่ ตอมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ พระราชทานนามวัดนี้ใหใหมคือ วัดสมณานัมบริหาร แตเนือ่ งจากอยูใ กลสะพานขาวจึงนิยมเรียกกันในระยะหลัง วา วัดญวนสะพานขาว อยางไรก็ตามยานตลาดนางเลิ้งกลายเปนถิ่น คาขายและอาศัยของชาวจีนที่กระจุกตัวอยูหนาแนนขึ้น และชาวจีนเหลานี้ไดรวมกันสรางศาลเจาเล็กๆ เปน ศาลไมไวตรงกลางตัวตลาด มีการอัญเชิญเจาหลายองค มาสถิ ต ย เช น เจ า พ อ กวนอู เพื่ อ สั ก การะให เ กิ ด ศิริมงคลตอชีวิตและการคา ชาวบานเรียกขานศาลนี้วา


พัฒนาการยาน​นาง​เลิ้ง สุภา​ภรณ จินดามณี​โรจน

(ที่มา : พินิจพระนคร 2475*2545 จัดพิมพโดยกรมแผนที่ ทหารสูงสุด และจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2549)

ศาลเจ า นางเลิ้ ง ต อ มาภายหลั ง ได มี ก ารขยั บ ขยาย สร า งเป น ศาลเจ า จี น ขนาดใหญ ก ว า ขึ้ น แทนและมี การอั ญ เชิ ญ สมเด็ จ กรมหลวงชุ ม พรเขตอุ ด มศั ก ดิ์ ม า ประทับที่ศาลนี้ดวย ตอมาเสด็จเตี่ยมีความสำ�คัญกลาย เปนเทพประธานของศาลนีเ้ นือ่ งจากชาวไทยเชือ้ สายจีน และชาวบานยานนางเลิ้งตางเคารพนับถือพระองคและ วังของพระองค คือ วังนางเลิง้ ยังตัง้ อยูใ กลตลาดนางเลิง้ อีกดวย ซึ่งปจจุบัน คือพื้นที่บริเวณสถาบันเทคโนโลยี ราชมงคล วิทยาเขตพาณิชยการพระนครดานริมถนน พิษณุโลก เชิงสะพานชมัยมรุเชฐ ดังนั้นปจจุบันศาลเจานางเลิ้งจึงนิยมเรียกวา “ศาลเสด็จพอกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์” หรือ “ศาล เสด็จเตี่ย” ดวย ซึ่งนอกจากจะมีการไหวเทพเจาจีนตาม ประเพณีจีนในวันตรุษจีน วันสารทจีนเปนหลักแลว ยัง มีงานใหญประจำ�ปที่สำ�คัญของศาลนี้และของยานนี้ คือ งานวันคลายวันประสูติของสมเด็จกรมหลวงชุมพรฯ ซึง่ ตรงกับวันที่ 19 ธันวาคมของทุกปโดยจัดเปนงานใหญ ราว 2-3 วัน มีงิ้ว มีลิเก มีละครชาตรี มีการเซนไหว และ แหองคเทพประธานของศาล ชาวบานและผูค นมากมาย เขารวมงาน เปนทีน่ า สังเกตวา เอกสารเกากอนและในรัชกาล ที่ 5 ตอนตนที่กองจดหมายเหตุมักเรียกยานนี้วาบาน สนามกระบือ (ชาวบานเรียกบานสนามควาย) และตอมา ปรากฏใชเรียก ถนนสนามกระบือ (ซึง่ ตอมามีการสราง วังริมถนนนี ้ จึงเรียกถนนนีใ้ หมวา ถนนหลานหลวง) วัด สนามกระบือ และตำ�บลสนามกระบือ แตนับตั้งแตมี

ศาลเจานางเลิ้งและองคกรม หลวงชุมพรฯ ภายใน ศาลเจานางเลิ้ง (ที่มา: เก็บขอมูลวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553)

105


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

การสรางตลาดนางเลิง้ และมีการเปดตลาดนีอ้ ยางเปน ทางการในปพ.ศ.2443 แลวหลังจากนัน้ ชือ่ สนามกระบือ หรือสนามควายคอยๆ หายไป คำ�วา “นางเลิง้ ” เริม่ เปน ทีร่ บั รูแ ละรูจ กั กันมากขึน้ แทนทีไ่ ปในทีส่ ดุ คำ�วานางเลิ้ง นักวิชาการและผูรูตางใหขอคิด ยังไมลงตัว บางวามาจากภาษาเขมรวา ฉนังเฬิง บางวา มาจากภาษามอญวา อีเลิ้ง เนื่องจากมีชาวมอญมักนำ� ภาชนะใสน�้ำ ทีเ่ รียกวา อีเลิง้ ใสเรือลองมาจอดขายทีย่ า น นี้ จึงเรียกบริเวณนี้วา อีเลิ้งที่ตอมาเพี้ยนเปนนางเลิ้ง อยางไรก็ตามยังไมพบหลักฐานลายลักษณอักษรวามี การใชเขียนเรียกยานนี้วา ฉนังเฬิง หรือ อีเลิ้ง การเรียกยานนีว้ า “นางเลิง้ ” เริม่ ปรากฏครัง้ แรก เมื่อใดไมทราบแนชัด แตเทาที่ปรากฏหลักฐานพบวา มีการใชค�ำ วา นางเลิง้ ในเอกสาร ในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั (พ.ศ. 2411-2453) เปนตนมา ไดแก ตำ�บลนางเลิง้ อำ�เภอนางเลิง้ และตลาดนางเลิง้ ตอมา ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2436-2468) มีการนำ�คำ�วานางเลิง้ ไปใชเรียกสถานทีต่ า งๆ ทีต่ ง้ั ขึน้ มาในพืน้ ทีน่ แ้ี ละบริเวณใกลเคียงอีก เชน โรงพัก ตลาดนางเลิง้ สนามมานางเลิง้ และโรงหนังนางเลิง้ เปนตน ยานนางเลิ้งศูนยกลางการคาและแหลงบันเทิง ในสมั ย พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจาอยูหัว (พ.ศ. 2453-2468) ทรงขยายและสรางความ เจริญสูพื้นที่นอกพระนครมาทางดานตะวันออกที่เปน ทุงนา “ทุงสมปอย” อีก ดวยการสรางตำ�หนักจิตร​ลดา รโหฐานที่ประทับของพระองคอีกแหงหนึ่ง บริเวณยาน นางเลิง้ จึงกลายเปนยานกลางกรุงมากขึน้ ตลาดนางเลิง้ คึกคักขึน้ ตอมามีการตัง้ โรงพักขึน้ ดานหนาตลาดนางเลิง้ ขามคลองผดุงกรุงเกษมไปเล็กนอยมีการตั้งสนามมา นางเลิ้ ง และเมื่ อ ผู  ค นมากขึ้ น จึ ง มี ก าร สร า งโรงหนั ง นางเลิ้ง และขางๆ โรงหนังนางเลิ้งเกิดแหลงผูหญิงขาย บริการที่เรียกวา “ตรอกสะพานยาว” เกิดมีโรงบอน และ โรงฝน อีกทั้งการแสดงศิลปะพื้นบาน ของกลุมตรอก ละครยานนี้โดงดังเฟองฟู โรงพักตลาดนางเลิ้ง เริ่มแรกเปนอาคารไม ตั้งอยูริมถนนตลาดหรือถนนนครสวรรคดานหนาตลาด นางเลิ้งใกลวัดโสมนัสราชวรวิหาร ซึ่งปรากฏในแผนที่

106

กรุงเทพฯในป พ.ศ. 2450 เรียก “โรงพักตลาดนางเลิง้ ” แตขอมูลสถานีตำ�รวจนครบาลนางเลิ้ง กลาววา ตั้งขึ้น ในป พ.ศ. 2456 เดิมเรียกสถานีตำ�รวจแขวงนางเลิ้ง หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ไดเปลี่ยนชื่อ มาเปน “สถานีตำ�รวจนางเลิ้ง” และตอมาเปลี่ยนเปน “สถานีตำ�รวจนครบาลนางเลิ้ง” ในป พ.ศ. 2495 อาคาร หลังเดิมเปนไม มีสภาพทรุดโทรม คับแคบจึงยายไปอยู ทีใ่ หมใกลแยกสะพานผานฟา การมี ตำ � รวจไว ดู แ ลชุ ม ชนแสดงให เ ห็ น ถึ ง ความสำ�คัญของยานตลาดและชุมชนนี้ (พ.ศ. 245362468) มีการนำ�คำ�วานางเลิ้งไปใชเรียกสถานที่ตางๆ ทีต่ ง้ั ขึน้ มาในพืน้ ทีน่ แ้ี ละบริเวณใกลเคียงอีก เชน โรงพัก ตลาดนางเลิง้ สนามมานางเลิง้ และโรงหนังนางเลิง้ เปนตน สนามมานางเลิง้ ตัง้ อยูค ลองผดุงกรุงเกษมฝง ตรงขามกับตลาดนางเลิง้ เริม่ กอตัง้ ในป พ.ศ. 2459 โดย พระยาประดิพัทธภูบาลและพระยาอรรถการประสิทธิ์ ได ทู ล เกล า ถวายหนั ง สื อ ขอพระบรมราชานุ ญ าตตั้ ง สโมสรสนามมาแขงขึ้นเพื่อบำ�รุงพันธุมา โดยใชพื้นที่ หลวงซึ่งอยูใกลยานนางเลิ้งนี้ สนามมานางเลิ้งมีชื่อเรียกอยางเปนทางการ ว า ราชตฤณมั ย สมาคมแห ง ประเทศไทย ใน พระบรมราชูปถัมภ สมาคมนีจ้ งึ มีลกั ษณะเปนสโมสรที่ ดำ�เนินการบำ�รุงพันธุมา มีการสั่งพันธุมาผูจากอังกฤษ อาหรับ ออสเตรเลีย มาเมืองไทยเพื่อใหคนไทยหามา ตัวเมียมาผสมพันธุ และทีส่ �ำ คัญจะมีกจิ กรรมการแขงมา เปนหลักและตอมาไดมีกีฬาประเภทอื่นๆ ดวย ปจจุบนั สนามมานางเลิง้ มีอายุเกือบ 100 ปแลว ทำ�ใหยานนางเลิ้งมีผูคนมากหนาหลายตาจากหลายทิศ มาชุมนุมดูการแขงมาและที่ปฏิเสธไมไดก็คือการพนัน ชาวนางเลิ้งมักพูดถึงคนในชุมชนจำ�นวนหนึ่งยังชอบดู ชอบพนันมาดวยเชนกัน ย า นนางเลิ้ ง เป น ย า นของศิ ล ปะการแสดงที่ มีชื่อเสียงมานับแตสมัยรัชกาลที่ 5 โดยเฉพาะบริเวณ “ตรอกละคร” ซึ่งอยูติดถนนหลานหลวง (เดิมเรียกวา ถนนสนามกระบือ) และอยูติดวัดสุนทรธรรมทาน (หรือ วัดแค ระยะหลังชาวบานเรียกวาวัดแคนางเลิ้งไปดวย) มีทงั้ โขน ละคร หนังตะลุง ลิเก และดนตรีปพ าทย มีหลาย คณะ


พัฒนาการยาน​นาง​เลิ้ง สุภา​ภรณ จินดามณี​โรจน

แผนทีก่ รุงเทพฯ พ.ศ. 2450 ปรากฏชือ่ โรงพักตลาดนางเลิง้ (ทีม่ า : แผนทีก่ รุงเทพฯ พ.ศ. 2431 - 2474, 2527)

ราชตฤณมัยสมาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ(สนามมานางเลิ้ง) พ.ศ. 2489 และ ป พ.ศ. 2546 (ที่มา: สมุดภาพกรุงเทพฯ 220 ป : หนา 172 - 173)

คณะที่โดงดังเกาแกมีช่ือเสียงสืบทอดมาจน ทุกวันนี้ คือ คณะละครที่สืบเชื้อสายมาจากละครชาวใต ทีย่ า ยเขามาตัง้ ถิน่ ฐานในยานนีต้ ง้ั แตสมัยรัชกาลที่ 3 คือ คณะของนายพูน เรืองนนท ดังนัน้ บริเวณปากตรอกละคร จะมีปา ยติดไว “นายนนท บิดา คณะครูพนู เรืองนนท มีละคร หนังตะลุง ลิเก พิณพาทยไทย มอญ” บานเรือนในตรอกละครนี้เปนกลุมที่อยูอาศัย นับแตบรรพบุรษุ ครูพนู ครูพนู และภรรยาทัง้ หา ปจจุบนั

ลูกๆ หลานๆ ของครูพูนยังอาศัยอยู เมื่อเดินเขาตรอก มั ก พบชุ ด ละครแขวนอยู  และเห็ น ชาวละครป ก ชุ ด ละครอยู ขุนวิจิตรมาตราหรือนายสงา กาญจนาคพันธุ (พ.ศ. 2440 - 2523) ไดเลาเรื่องราวเกี่ยวกับกรุงเทพฯ สมัยเมื่อ 90 ปที่ผานมาวา จากสะพานผานฟาลีลาศ ลงไปเปนตำ�บลสนามควาย เปนถิ่นของกลุมละครชาตรี มีนายพูน เรืองนนท เปนโตโผละครชาตรีที่มีชื่อเสียง

107


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ที่ ห น า บ า นจะมีเสาเล็กๆ ปกไว ยอดเสามีกรวยใส ศรพระขรรค กระบองดาบเล็กๆ รวมทั้งธงแดงที่เปน เครื่องหมายวาที่นี่มีละครชาตรี “รับงานหา” เพื่อไป เลนในงานตางๆ และแกบนดวย (สงา กาญจนาคพันธุ 2523 : 99) ในอดีตยานหลานหลวงซึ่งเปนพื้นที่สวนหนึ่ง ของยานนางเลิ้งจึงมีช่อื มากเรื่องศิลปะการแสดง ที่ขาด ไมไดคอื การไดแสดงทีต่ ลาดนางเลิง้ ชาวบานทัง้ ใกลและ ไกลมักเลาถึงการไดชมละครและลิเกที่ตลาดนางเลิ้งถือ เปนเรือ่ งสนุกสนานนาชมมากในยุคนัน้ โรงหนังนางเลิ้งตั้งอยูขางตลาดนางเลิ้ง เปน อาคารไมคอนขางใหญ มีสองชั้น หลังมุงดวยสังกะสี ชาวบานเลาวาเดิมนาจะเปนโรงลิเกกอนแลวคอยปรับ สรางเปนโรงหนังเปนหนึ่งในโรงภาพยนตรของบริษัท พยนต พัฒ นาการ เป ด ฉายภาพยนตร ค รั้ง แรกในป พ.ศ. 2461 ไดรบั ความนิยมมากในขณะนัน้ ระยะแรกเปน หนังใบกอ น ตอมาจึงเปนหนังพากย ภายในโรงหนังจะมีท่ี นัง่ เปนมานัง่ ยาวเรียงราย ในป พ.ศ. 2475 ไดมกี ารเปลีย่ น ชื่อโรงหนังนางเลิ้งเปน “ศาลาเฉลิมธานี” เพื่อรวมเฉลิม ฉลองกรุงเทพฯ ครบ 150 ป ทุกวันนี้ชาวบานยังมีความทรงจำ�กับการชม ภาพยนตร กอนการฉายภาพยนตรจะมีแตรวงมาเลนหนา โรงภาพยนตรเชิญชวนผูคนมาชม บริเวณหนาโรงหนัง มีขนมของกินตางๆ วางขายและทีส่ �ำ คัญมิตร ชัยบัญชา ดาราภาพยนตรยอดนิยมสมัยกอนก็เคยอาศัยอยูยานนี้ และภาพยนตรเรือ่ งทีม่ ติ ร ชัยบัญชานำ�แสดงยังนำ�มาฉาย ที่โรงนี้กอนที่จะประสบอุบัติเหตุเสียชีวิตจากการแสดง

ตรอกละคร (ที่มา: เก็บขอมูล วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2553)

ศพของเขาไดฝง ไวทว่ี ดั สุนทรธรรมทาน (วัดแค นางเลิง้ ) สิ่ ง ที่ ต ามมากั บ ความเจริ ญ ของย า นตลาด ศูนยกลางการคาที่ผูคนคึกคักนอกจากโรงหนังแลว ใน ยุคกอนยังมีโรงฝน โรงบอน แหลงสถานหญิงขายบริการ หรือบานโคมเขียวตามมาดวย ยานนางเลิ้งก็เชนเดียวกันมี ตรอกสะพาน ยาว ซึง่ เปนตรอกเล็กๆ ขางโรงหนังนางเลิง้ เดิมตรอกนี้ เปนที่อยูอาศัยกอน เมื่อความเจริญเขามาสูยานนางเลิ้ง ตรอกนี้คอยๆ กลายเปนแหลงที่อยูของหญิงขายบริการ หรือโสเภณีไป ชาวบานเลาวากลุมผูชายที่มาเที่ยว

บริเวณตรอกละคร (ถายโดย ฮันท, วิลเลี่ยม พ.ศ. 2489 รหัส ภ WH 2 ภาคกลาง กลอง 3 / 159 หอจดหมายเหตุแหงชาติ)

108


พัฒนาการยาน​นาง​เลิ้ง สุภา​ภรณ จินดามณี​โรจน

โรงหนังนางเลิ้ง (ที่มา: เก็บขอมูลวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2553)

ฟนและดำ�เนินมาจนชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2484 - 2489) การคาหยุดชะงัก ไปอีกระยะหนึ่งแตเมื่อสิ้นสุดสงครามโลก ครั้งที่ 2 ในชวงตนปพ.ศ. 2489 การคา ย า นนี้ รุ  ง เรื อ งเช น เดิ ม โดยอาศั ย การ คมนาคมทางบกและทางน้� ำ ทางบกคือถนน รอบๆ ยานนางเลิ้งและผานนางเลิ้ง โดยมี ทั้งรถมา รถยนตและรถรางสายสีแดง สวน ทางน้�ำ ทีส่ �ำ คัญคือคลองผดุงกรุงเกษมยังคง คึกคักอยูดังที่เห็นจากภาพถายเกาที่ถาย ในป พ.ศ. 2489 ภาพเกาเหลานีล้ ว นถายในป พ.ศ. 2489 โดยนายวิลเลี่ยม ฮันท แสดงใหเห็น วาชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยานนาง เลิง้ มีบา นเรือนผูค นหนาแนนอยูบ ริเวณโดย รอบวัดสุนทรธรรมทาน ตลาดนางเลิ้ง และ วัดโสมนัสราชวรวิหาร การคมนาคมทางน้�ำ รอบพระนครยังคงมีอยูและคอนขางคึกคัก โดยเฉพาะยานนางเลิ้ง

วันนี้นางเลิ้งเปลี่ยนแปลงไป หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (หลัง พ.ศ. 2489) ยานนางเลิ้งและตลาดนางเลิ้ง มิตร ชัยบัญชา ขณะที่ยังมีชีวิตและโกศของมิตร ชัยบัญชา ยั ง รุ  ง เรื อ งอยู  เส น ทางคมนาคมทั้ ง ทาง ที่วัดสุนทรธรรมทาน (ที่มา: เก็บขอมูลวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2553) น้ำ�และทางบกยังคึกคัก แตหลังป พ.ศ. 2500 เป น ต น มาเส น ทางคมนาคม สวนใหญเปนคนตางถิ่นโดยเฉพาะทหารซึ่งอยูไมไกล ทางน้ำ � รอบๆ ย า นนี้ เ ริ่ ม ค อ ยๆ ลดความสำ � คั ญ ลง จากยานนี้ ยานที่มีความเจริญทางการคาเกือบทุกแหง เรื่ อ ยๆ เพราะบริ เ วณรอบนอกกรุ ง เทพมหานคร ในกรุงเทพฯยุคกอน รวมทั้งยานเยาวราชมักมีสถาน ได รั บ การพั ฒ นาขึ้ น เรื่ อ ยๆ ตามลำ � ดั บ มี ก ารสร า ง หญิงขายบริการเสมอ ถนนหนทางขยายมากขึ้ น ทั้ ง ทางฝ  ง ตะวั น ตก ในป พ.ศ. 2472 (ตรงกับรัชสมัยพระบาท และฝ  ง ตะวั น ออกของกรุ ง เทพมหานคร ทำ � ให ผู  ค น สมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 พ.ศ. 2468 ขยับขยายออกไปตั้งบานเรือน หางราน และเกิดหาง 2475) เกิดไฟไหมยานนางเลิ้งหลายครั้ง เชน ในเดือน สรรพสินคาที่ทันสมัยกวา ผูคนจึงไมจำ�เปนตองไป มกราคม พ.ศ. 2472 เกิดไหมหองแถวหลังโรงหนัง จับจายของในยานกลางเมืองเชนยานตลาดนางเลิ้ง นางเลิ้ง 7 หอง และบานเรือนชาวบาน 21 หลัง และใน บริ เ วณย า นนางเลิ้ ง ที่ เ คยเจริ ญ และคึ ก คั ก เดือนเมษายน พ.ศ. 2472 ไฟไหมตึกแถวเชิงสะพาน ในฐานะยานการคาที่ทันสมัยเริ่มไดรับผลกระทบ และ เทวกรรมรังรักษอกี หลายหอง (ราชกิจจา นุเบกษา เลม 46 คอยๆ ซบเซาลงอยางตอเนื่อง โดยเริ่มจากการที่ หนา 306 และ 3970) แตการคาขายของยานนางเลิง้ ก็ยงั เคยเปน “ยานวัง” ของพระราชโอรสและพระบรม

109


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ภาพถายทางอากาศ ชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ถายโดย ฮันท, วิลเลี่ยม พ.ศ. 2489 รหัส ภ WH 2 ภาคกลาง กลอง 3 / 159 หอจดหมายเหตุแหงชาติ)

ปากคลองผดุงกรุงเกษมที่เทเวศร เห็นเรือรับสงสินคาคับคั่ง เสนทางสูยานนางเลิ้ง (ที่มา: กรม​ศิลปากร​รวม​กับ​มูลนิธิ​ซิ​เมน​ตไทย 2539 : 146)

110

วัดโสมนัสฯ และ ยานตลาดนางเลิ้ง (ที่มา: ฮันท, วิลเลีย่ ม พ.ศ. 2489 รหัส ภ WH .2 กลอง 3 /159 หอจดหมายเหตุแหงชาติ)


พัฒนาการยาน​นาง​เลิ้ง สุภา​ภรณ จินดามณี​โรจน

ภาพตลาดนางเลิ้ง(ดานซาย) คลองผดุงกรุงเกษมที่ถูกขนาบ ดวยถนนกรุงเกษมและถนนลูกหลวง ผูคนยังสัญจรทางเรืออยู ในป พ.ศ. 2489 (ที่มา: ฮันท, วิลเลีย่ ม พ.ศ. 2489 รหัส ภ WH. 2 กลอง 3 /159 หอจดหมายเหตุแหงชาติ)

คลองผดุงกรุงเกษมหนาวัดโสมนัสฯ และหนายานตลาดนางเลิ้ง เห็นเรือชนิดตางๆขึ้นลองตลอดลำ�คลองขนานคูกับถนน กรุงเกษมและถนนลูกหลวง (ที่มา: ฮันท, วิลเลีย่ ม พ.ศ. 2489 รหัส ภ WH .2 กลอง 3 /159 หอจดหมายเหตุแหงชาติ)

วงศานุวงศและขาราชการชั้นผูใหญเริ่มคอยหมดไป นับตั้งแตเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ในป พ.ศ. 2475 และเมื่อตอมาเกิดการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ สังคมสงผลใหหลายวังถูกปรับเปนอาคารพานิช ที่อยู อาศัยทีท่ นั สมัย สถานทีร่ าชการและหนวยงานตางๆ จึง เหลือวังในยานนี้เพียงไมกี่วังที่ทายาทที่ยังสืบตอมา โรงฝน ที่ริมถนนกรุงเกษมยานตลาดนางเลิ้ง ที่ มี ผู  ค นจากที่ ต  า งๆมาใช บ ริ ก ารต อ งป ด ตั ว ลงในป พ.ศ. 2506 เนื่องจากการสูบฝนและการมีฝนไวใน ครอบครองกลายเปนเรื่องผิดกฎหมายในสมัยรัฐบาล จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ตรอกสะพานยาว ดานขางโรงหนังเฉลิมธานี ซึ่งเปนแหลงบันเทิงเริงรมยหรือยานโสเภณีราคาถูก ของตลาดนางเลิ้งที่โดงดังมานานไดถูกไหมเกือบหมด สิ้น ในป พ.ศ. 2513 เหลือบานผูหญิงโสเภณีอยูเพียงไม กีห่ ลัง อีก 3 ปตอ มาทางวัดสุนทรธรรมทานเจาของทีด่ นิ ไดนำ�พื้นที่บริเวณตรอกสะพานยาวพัฒนาเปนตึกและ อาคารที่อยูอาศัยแทน ตรอกสะพานยาวจึงเหลือแต ตำ�นานการเลาสูกันจนทุกวันนี้

ตรอกละคร ถัดตลาดนางเลิ้งเขาไปทาง ดาน ถนนหลานหลวงและติดกับวัดสุนทรธรรมทาน เปน กลุมบานเรือนศิลปนนักแสดงทั้งดนตรีปพาทย ละคร ชาตรี ลิเก หนังตะลุงที่มีชื่อเสียงยานหนึ่งของกรุงเทพ มหานคร โดยเฉพาะของคณะของครูพูน เรืองนนท ที่สืบเชื้อสายศิลปะการแสดงมาจากบรรพบุรุษที่อพยพ มาจากเมืองนครศรีธรรมราชนับแตสมัยรัชกาลพระบาท สมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว แตในป พ.ศ. 2525 ไดเกิด เพลิงไหมบานเรือนยานตรอกละครรวมทั้งไดเผาผลาญ อุปกรณการแสดงและตัวหนังตะลุงเสียหายอยางหนัก จนการสืบทอดการเลนหนังตะลุงตองเลิกไปโดยปริยาย อยางไรก็ตามลูกหลานนายพูน เรืองนนท ทีบ่ างสวนยัง สรางที่อยูใหมบริเวณที่เดิมไดพยายามรวบรวมอุปกรณ ที่ เ หลื อ อยู  แ ละสร า งขึ้ น มาใหม เ พื่ อ สื บ สานและดำ � รง ภูมิปญญาดานศิลปะการแสดง โดยเฉพาะดานดนตรี ปพาทย และละครชาตรีตอมาทามกลางกระแสความ นิยมที่ลดนอยถอยลงอยางมากมายในปจจุบัน ทุกวันนี้โขน หนังตะลุง ลิเก ยานนี้ไมมีแลว ยังคงมีแตละครหรือที่เรียกวาละครชาตรีหลานหลวง

111


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

และดนตรีปพาทยฝมือชั้นครูที่เปนทายาทของครูพูน เรืองนนท ปจจุบันทายาทของคณะครูพูน เรืองนนทท่ี ยังสืบทอดศิลปะการแสดงโดยเฉพาะละครชาตรี ไดแก คณะครูทองใบเรืองนนทของคุณบัวสาย เรืองนนท คณะกัญญาลูกแมแพน (หรื อ ละครรำ� ชาตรี กัญ ญา ทิพโยสถ) ของคุณกัญญา ทิพโยสถ คณะวันดีนาฏศิลป (หรือคณะวันดีลูกสาวครูพูนเรืองนนท) ของคุณวันดี เรืองนนท คณะครูพูนเรืองนนท ของคุณสุภาภรณ ฤกษะสาร และคณะกนกพรทิพโยสถ ของคุณกนกพร ทิพโยสถ สวนดนตรีปพาทยนั้นที่โดดเดนคือ ครูพิณ เรืองนนท ผูมีฝมือกลองและเครื่องหนังชั้นบรมครูใน ขณะนี้ และมีคณะศิษยเรืองนนทของคุณบุญสราง เรืองนนทผูสืบสานดนตรีปพาทยจากครูพูน เรืองนนท นอกจากนีย้ งั มีลกู หลานครูพนู เรืองนนทอกี หลายคนทีม่ ี ความสามารถเรือ่ งเครือ่ งหนัง ดนตรีปพ าทยซงึ่ มักไดรบั เชิญไปรวมเลนกับคณะอื่นๆ อยูเสมอ ในอดีตยานหลานหลวงซึ่งเปนพื้นที่สวนหนึ่ง ของยานนางเลิ้งจึงขึ้นชื่อเรื่องศิลปะการแสดง ที่ขาด ไมไดคอื การไดแสดงทีต่ ลาดนางเลิง้ ชาวบานทัง้ ใกลและ ไกลมักเลาถึงการไดชมละครและลิเกที่ตลาดนางเลิ้งถือ เปนเรือ่ งสนุกสนานนาชมมากในยุคนัน้

คุณกัญญา ทิพโยสถ

112

ครูพิณ เรืองนนท (ที่มา: เก็บขอมูลวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2553)

โรงหนังนางเลิ้ง หรือโรงหนังเฉลิมธานี เริ่ม กลายเปนโรงหนังที่ลาสมัย เดิมเคยมีผูคนมาชมภาพ ยนตร200-300 คน ตอมาเหลือเพียง 10-20 คนจน โรงหนั ง ประสบภาวะการขาดทุ น สภาพโรงหนั ง ทรุดโทรมลง ถึงจะทำ�การซอมบำ�รุงก็ไมคุมทุน ทาย ทีส่ ดุ โรงหนังจำ�ตองปดตัวลงในปพ.ศ. 2536 และไดกลาย เปนกุดงั เก็บของ แตดว ยรูปแบบอาคารโรงหนังเรือนไมที่ เกาและหาดูไดยากในกรุงเทพมหานคร เมื่อ 5 ปที่ผาน ชาวบานยานนางเลิ้งตระหนักเห็นความสำ�คัญและตื่น

การเลนละครชาตรี (ที่มา: เก็บขอมูลวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553)


พัฒนาการยาน​นาง​เลิ้ง สุภา​ภรณ จินดามณี​โรจน

ตัวพยายามชวยกันรณรงคการอนุรกั ษและอยากฟน โรง หนังนีใ้ หมชี วี ติ และใชเปนพืน้ ทีพ่ ลิกฟน ความเปนนางเลิง้ ขึ้นมากอนที่จะหายไปกลับการเปลี่ยนแปลงที่กำ�ลังเกิด ขึ้นอยางรุนแรงและรวดเร็วในปจจุบัน ตลาดนางเลิ้ง ทั้งตลาดสดและอาคารรานคา โดยรอบเริ่มคอยๆ ซบเซาลง ผูคนมาจับจายซื้อของ อุ ป โภคบริ โ ภคน อ ยลงเพราะผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงดังกลาวที่เกิดขึ้น รานคาตึกแถวโดยรอบ เริ่มปดตัวลง บางอพยพออกไปอยูแถบรอบนอก ที่ยัง คงเปดรานคาอยูก็ดำ�เนินกิจการเล็กๆ นอยๆ ที่ขาย ของสดประเภทเนื้อสัตว ปลา ของทะเล ผัก ผลไม มี ขายบาง แตไมมากนัก เกิดการปรับตัวของตลาดสดและ รานคาโดยรอบที่เดิมเปดขายของสด อาหาร ของใชทั้ง วัน มาเปลี่ยนเปนเนนการขายอาหารสำ�เร็จรูป เชน กวยเตี๋ยวเปด เปดยางหมูแดง ขาวแกง ขาวขาหมู มะหมี่เปด ขนมผักกาด ขนมกุยชาย อาหารตามสั่ง ไสกรอกปลาแหนม ขนมหวานชนิดตางๆ มากมาย เนน การขายชวงพักรับประทานอาหารกลางวันเปนหลักเพือ่ รองรับขาราชการ พนักงานบริษทั และชาวบานในยานนัน้ และลู ก ค า ขาประจำ � ในอดี ต ที ยั ง ติ ด ใจในรสชาดร า น อาหารและขนมที่อรอยสืบตอกันมาชานานของยานนี้

สนามมานางเลิ้ง หรือราชตฤณมัยสมาคม แหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ซึ่งปจจุบัน มีอายุ 90 กวาปแลวทำ�ใหยานนางเลิ้งยังพอมีผูคนมาก หนาหลายตาจากหลายทิศมาชุมนุมชมการแขงมาใน วันอาทิตยเวนอาทิตย และบางก็แวะมารับประทาน อาหารกันบางในชวงกลางวันและชวงค่ำ �เมื่อเลิกการ แขงมา ชาวนางเลิ้งจำ�นวนหนึ่งก็ชอบดู บางที่ติดพัน กับการพนันมาคงมีบา ง แตสนามมามิไดมแี ตการแขงมา แตยงั มีกฬี าอืน่ ๆ ใหเลน เชน กอลฟ เทนนิส แบทมินตัน และวายน้ำ� เปนตน บานญวนนางเลิ้ง ริมคลองผดุงกรุงเกษมซึ่ง มีวัดสมณานัมบริหารหรือที่เรียกกันวา วัดญวนนางเลิ้ง

113


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

บรรยากาศภายใน อาคารตลาดนางเลิ้ง (ที่มา: เก็บขอมูลวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2553)

หรือ วัดญวนสะพานขาว ทีอ่ พยพมาจากเมืองกาญจนบุรี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวนั้น ปจจุบันลูกหลานกลายเปนไทย แตยังคงสืบทอดการ นับถือพุทธศาสนาแบบอนัมนิกายและประเพณีพธิ กี รรม โดยเฉพาะพิธีไหวบูชานพเคราะห เปนตน ทุกวันนีย้ า นนางเลิง้ ยังมีผคู นทัง้ ไทย ลูกหลาน ไทยเชือ้ สายจีน และลูกหลานไทยเชือ้ สายญวนยังอยูร ว ม กันอยางเขาใจกัน มีปฏิสมั พันธกนั มาแตอดีตจนปจจุบนั โดยมีตลาดนางเลิ้งเปนศูนยกลาง การคมนาคมมายานนางเลิง้ ปจจุบนั ใชเสนทาง คมนาคมบกทางเดียว ถึงยานนางเลิง้ และโดยรอบจะมี

ถนนมากมาย แตสภาพการจราจรทีห่ นาแนนในปจจุบนั และการเดินรถในถนนโดยรอบมักเปนการเดินรถทาง เดียว ทำ�ใหการมาเยือนยานนางเลิง้ ไมสะดวกเพราะรถติด

บรรยากาศภายในตลาดนางเลิ้ง

114


พัฒนาการยาน​นาง​เลิ้ง สุภา​ภรณ จินดามณี​โรจน

และไมมีท่จี อดรถ รานคาพานิชและตลาดนางเลิ้งจึงยิ่ง ซบเซา หลายบานตองปดตัวลงอีกและจำ�นวนไมนอย อพยพออกไปหาทีอ่ ยูใ หม แตในขณะเดียวกันมีผอู พยพ เขามาอยูใ หมเพือ่ เปนแรงงานและทำ�งานยานกลางเมือง ทำ�ใหหลายจุดของยานนีก้ ลายเปนชุมชนแออัด แตเปนที่นาสังเกตวา ชาวบานทั้งที่อยูมานาน และทีอ่ พยพเขามาอยูใ หมมกั อยูร ว มกันไดอยางสมานฉันท ทุกคนสวนใหญมกั ไปทำ�บุญทีว่ ดั สุนทรธรรมทาน รูจ กั กัน

เกือ้ กูลกัน ผูค นทีย่ า ยไปอยูท อ่ี น่ื มักกลับมาเยีย่ มเยือนมิตร สหาย มาทำ�บุญ เพราะยังผูกพันคิดถึงนางเลิง้ และมักพูด เสมอวา “ฉันรักนางเลิง้ ” วั น นี้น างเลิ้ง เปลี่ย นแปลงไป แต ผู ค นย า น นางเลิ้งตางมีความทรงจำ�ที่ภาคภูมิใจในอดีตของตน มีตลาดนางเลิ้งตลาดโบราณที่ชาวบานเห็นคุณคา มี โรงหนังศาลาเฉลิมธานี (โรงหนังนางเลิง้ ) ทีอ่ ยูใ นสภาพ ทรุดโทรมแตชาวบานภาคภูมใิ จในความเปนโรงหนังเกา โบราณที่ ห าดู ไ ด ย ากในย า นเก า กรุ ง เทพมหานคร มีละครชาตรี ปพาทย ของทายาทครูพูน เรืองนนทท่ี พยายามสืบทอดมาจนทุกวันนี้ทามกลางกระแสความ นิยมการแสดงสมัยใหม ความสำ�นึกการเปนคนนางเลิง้ ยัง ปรากฏใหเห็น ทุกคนมีศนู ยรวมจิตใจทีว่ ดั สุนทรธรรมทาน วัดโสมนัสราชวรวิหาร และศาลเจาตลาดนางเลิง้ วันนี้ถึงนางเลิ้งจะเปลี่ยนแปลงไปอยางไรคน นางเลิ้งยังรักถิ่นฐานและภาคภูมิใจบานเกิดของตน

115


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

บรรณานุกรม หนังสือ กรมแผนที่ทหาร. (2542). แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2431-2474. กรุงเทพฯ: กองบัญชาการทหารสูงสุด. กรมแผนที่ทหาร. (2527). แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. 2431-2474. กรุงเทพฯ: กรม. กรมแผนที่ทหาร และจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. (2549). พินิจพระนคร 2475 - 2545. กรุงเทพฯ: กรม. กรมศิลปากรรวมกับมูลนิธิซิเมนตไทย. (2539). กรุงเทพฯ 2489-2539. กรุงเทพฯ: กรม. กฤตพร หาวเจริญ. (2546). บทบาทและการพัฒนาพื้นที่ยานนางเลิ้ง กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธการวางแผน ภาคและเมืองมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร. สำ�นักผังเมือง. (2546). สมุดภาพแหงกรุงเทพมหานคร 220 ป. กรุงเทพฯ: สำ�นัก. ณรงค โพธิพ์ ฤกษานันท. (2547). รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณเรือ่ ง ความผูกพันของประชาชนทีม่ ตี อ ชุมชน: กรณีศึกษาชุมชนตลาดนางเลิ้ง กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขต พาณิชยการพระนคร. ทิพากรวงศ (ขำ� บุนนาค), เจาพระยา. (2504). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ: องคการคุรสุ ภา. เทียมสูรย สิริศรีศักดิ์. (2543). การศึกษาเพื่อการอนุรักษยานนางเลิ้ง. วิทยานิพนธสถาปตยกรรมศาสตร มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปราณี กล่ำ�สม. (2549). ยานเกาในกรุงเทพฯ เลม 2. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ. พระครูวจิ ารณวรกิจและศิษยานุศษิ ย. (ม.ป.ป.). ประวัตวิ ดั สุนทรธรรมทานกับพระราชธรรมวิจารณ (ธูป เขมสิร)ิ . กรุงเทพฯ: บางกอกบล็อก. วิจิตรมาตรา (สงา กาญจนาคพันธุ), ขุน. (2542). กรุงเทพฯ เมื่อวานนี้. กรุงเทพฯ: สารคดี. ส. พลายนอย. (2544). เลาเรื่องบางกอก เลม 1-2. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: สายธาร. สงา กาญจนาคพันธุ. (2523). ถนนราชดำ�เนิน. เมืองโบราณ 6 (3) : 91-113. สุจิตต วงษเทศ, บรรณาธิการ. (2545). กวีสยามนำ�เที่ยวกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: มติชน. _______________________. (2548). กรุงเทพฯ มาจากไหน?. กรุงเทพฯ: มติชน. อลงกรณ เอี่ยมสกุลวิวัฒน. (2550). ปจจัยความตองการดานกายภาพของผูมีสวนไดสวนเสียที่มีผลตอการ พัฒนาเชิงอนุรักษตลาดเกานางเลิ้ง. วิทยานิพนธการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดลอมมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร. ฮันท, วิลเลี่ยม. ภาพถายทางอากาศบริเวณนางเลิ้ง ป พ.ศ.2489. รหัส ภ WH 2 ภาคกลาง กลอง 3 / 159 จาก หอจดหมายเหตุแหงชาติ สื่ออิเล็กทรอนิกส ประวัติสมาคมราชตฤณมัยสมาคมแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (สนามมานางเลิ้ง). [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 3 กันยายน 2553. จาก http://www.rtcot.com/pic%20total/history.htm ประวัตหิ นวยงาน สถานีต�ำ รวจนครบาลนางเลิง้ . [ออนไลน]. สืบคนเมือ่ 5 กันยายน 2553. จาก http://nangleng. metro.police.go.th/index.php?cat=1 แผนที่แสดงถนนและคลองยานนางเลิ้ง. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 3 กันยายน 2553. จาก http://googlemap.com

116


พัฒนาการยาน​นาง​เลิ้ง สุภา​ภรณ จินดามณี​โรจน

สัมภาษณ คุณกนกพร ทิพโยสถ คุณกัญญา ทิพโยสถ คุณบัวสาย เรืองนนท คุณบุษบา ทัพผล คุณพรศรี เรืองนนท คุณพัฒนา เรืองนนท คุณพิณ เรืองนนท คุณยอดหญิง จุยประเสริฐ คุณวันดี เรืองนนท คุณสุภาภรณ กฤษะสาร คุณสุวัน แววพลอยงาม คุณอำ�พัน ชาวตลาดนางเลิ้ง

วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2553 วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2553 วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2553 วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2553 วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553 วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553 วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553 วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2553 วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2553 วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2553 วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2553 วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2553 สิงหาคม-กันยายน พ.ศ. 2553

117



พระพิมพในประเทศไทยและเอเชียอาคเนย : ประติมานวิทยา หนาที่ใชสอย และบริบททางพิธีกรรม Buddhist Sealings in Thailand and Southeast Asia: Iconography, Function and Ritual Contexts บทความโดย ดร.ปเตอร สกิลลิ่ง (Dr.Peter Skilling) เรียบเรียงโดย ม.ล. สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์ 1 บทคัดยอ ดร.สกิลลิ่งไดสรุปถึงการวิจัยเรื่องพระพิมพของทานที่ท�ำ ตอเนื่องกันมาหลายชิ้นไววา บอยครั้งที่มีการคนพบ พระพิมพดินดิบและดินเผาไฟออนที่ทำ�จากตราประทับหรือแมพิมพ ตลอดทั่วทั้งเอเชียอาคเนย สวนใหญพบอยูตาม สถูปเจดีย แตทพี่ บอยูต ามถ้�ำ ตางๆ ก็มเี ชนกัน โดยเฉพาะอยางยิง่ มีการพบในประเทศไทยเปนจำ�นวนมาก ซึง่ ลวนสรางขึน้ มาตั้งแตราวพุทธศตวรรษที่ 12 เรื่อยมาจนถึงสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร พระพิมพเหลานี้มีหลากหลายรูปแบบ นับตั้งแตพระพิมพที่มีภาพพระพุทธเจา พระโพธิสัตวเดี่ยวๆ ไปจนถึงพระพิมพแบบที่มีภาพซับซอนขึ้น พระพิมพ บางแบบก็มลี กั ษณะรวมกันทีแ่ สดงถึง ‘โลกพุทธศาสนา’ อันยิง่ ใหญ พระพิมพบางแบบก็แสดงถึงลักษณะทองถิน่ หรือ บางก็แสดงถึงลักษณะเฉพาะแหลงทีพ่ บ พระพิมพบางแบบก็มอี กั ษรประกอบ ทัง้ ในคติพทุ ธศาสนา เชน พระคาถา เย ธมฺมา หรือนามของผูอุทิศ จากความจริงที่วาพระพิมพเหลานี้มีหลากหลายพิมพ ทั้งยังสรางขึ้นตอเนื่องมาเปนระเวลายาวนาน ในหลาย แหลงหลายพืน้ ที่ สิง่ นีไ้ ดน�ำ เราไปสูข อ สรุปวา การผลิตพระพิมพนบั เปนลักษณะเดนอันสำ�คัญในวัฒนธรรมพุทธศาสนา ของภูมิภาคนี้ก็วาได และโดยการใชเอกสารสันสกฤต เอกสารธิเบต และเอกสารพมาในยุคพุกาม บทความชิ้นนี้ของ ดร.สกิลลิ่ง จึงถือไดวาเปนการศึกษาตอยอด โดยการเสนอทฤษฎีใหมสำ�หรับพระพิมพที่มีตนกำ�เนิดมาจากอินเดีย จากการศึกษาจารึกที่ระบุนามผูอุปถัมภจากไทยและพมาทำ�ใหเราไดขอมูลเกี่ยวกับผูสรางหรือผูอุทิศ จุดมุงหมาย และสถานภาพทางสังคม จารึกทีป่ รากฏดานหลังของพระพิมพลว นแสดงถึงความตองการใหไดรบั ผลบุญ การหลุดพน และความหวังที่จะกาวไปสูพระนิพพานเชนพระพุทธองค (โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนภาคผนวกของบทความชิ้นนี้ นาสนใจมาก เพราะไดใหคำ�แปลลาสุดของคัมภีรสั้นๆ สำ�หรับพิธีกรรมที่ใชในการสรางพระพิมพ ซึ่งเขียนขึ้นโดยทาน อติศะ (Atiśa) ภิกษุชาวเบงกอล ผูเคยมาศึกษาพุทธศาสนายังเอเชียอาคเนย ภายหลังทานไดกลายเปนบุคคลสำ�คัญ ทางพุทธศาสนาในธิเบต) คำ�สำ�คัญ: 1. พระพิมพในประเทศไทย. 2. พระพิมพในเอเชียอาคเนย.

__________________

1

รองศาสตราจารย ประจำ�ภาค​วิชา​ศิลปะ​ไทย คณะ​วิจิตร​ศิลป มหาวิทยาลัย​เชียง​ใหม


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

Abstract by Peter Skilling Baked and unbaked clay artifacts produced from seals or molds, known as ‘sealings’ or ‘votive tablets’, are found throughout Southeast Asia, most frequently in proximity to stūpas, but also in caves. They are especially numerous in Thailand, where they were produced from about the seventh century up to the Ayutthaya and even Bangkok periods. They bear a rich variety of designs, from single Buddhas or Bodhisattavas to complex scenes. Some designs are common to the ‘greater Buddhist world’, others to the region, and others to specific sites. Some of the tablets are inscribed, either with Buddhist texts – about all the ubiquitous ye dharmā versa – or donative inscriptions. The fact that so many sealings were produced – in such variety, over such a long period, and at so many sites – leads us to conclude that the practice had considerable significance in the Buddhist cultures of the region. Using Sanskrit, Tibetan, and Pagan-period Burmese evidence, the paper proposes a new theory for the original Indic term for the sealings. Donative inscriptions from Siam and Burma are examined for the information they give about the donors, their motives, and their social positions. The inscriptions show that the donors produced the sealings in order to gain merit, liberation, and Buddhahood. An appendix gives a new translation of a short ritual text on the production of sealings, composed by the celebrated Bengali master Atiśa, who studied in Southeast Asia and later went on to become a key figure in the Buddhism of Tibet. Keywords: 1. Buddhist sealings in Thailand. 2. Buddhist sealings in Southeast Asia.

120


พระพิมพในประเทศไทยและเอเชียอาคเนย : ประติมานวิทยา หนาที่ใชสอย และบริบททางพิธีกรรม ม.ล. สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์

เราหลงเวียน วายใน วัฏสงสาร ผูสรางเรือน อาคาร อยูหนไหน จนความเกิด แกตาย หมุนเวียนไป ตองทุกขทน หมนไหม ในโลกา บัดนี้เรา ไดพบ ผูสรางเรือน ผูบิดเบือน สัจธรรม คือตัณหา เมื่อทำ�ลาย เพดาน ฝาหลังคา จิตก็พน มรณา เปนเสรี จากการติดตอแลกเปลี่ยนขอมูลซึ่งกันและกัน ดร.ปเตอร สกิลลิ่ง แหงสำ�นักฝรั่งเศสแหงปลายบูรพา ทิศ (EFEO) ซึ่งมาประจำ�อยูที่ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร ไดกรุณาสงผลงานวิจัยเรื่อง “พระพิมพในประเทศไทย และเอเชียอาคเนย : ประติมานวิทยา หนาที่ใชสอย และ บริบททางพิธีกรรม” (Buddhist Sealings in Thailand and Southeast Asia: Iconography, Function, and Ritual Context) มาใหผูเขียน บทความชิ้นนี้ไดรับการ ตีพิมพในหนังสือ Interpreting Southeast Asia’s Past: Monument, Image and Text ของสำ�นักพิมพ National University of Singapore Press โดยมี E.A. Bacus, I.C. Glover และ P.D. Sharrock เปนบรรณา ธิการ ซึ่งผูเรียบเรียงไดขออนุญาตผูวิจัยเพื่อเรียบเรียง ขึน้ เปนภาษาไทย ดวยเห็นวาจะเปนประโยชนตอ วงการ วิชาการ และตอประชาชนผูสนใจทั่วไป โดยเฉพาะ อยางยิง่ ในสังคมชาวไทยทีม่ คี วามเชือ่ ในเรือ่ งพระเครือ่ ง มากกวาชนชาติใดในภูมิภาคนี้ การศึกษาพระพิมพเนื่องในพุทธศาสนา ดร.สกิลลิ่งไดกลาวไวในงานวิจัยชิ้นนี้วา การ ศึกษาคนควาเกี่ยวกับพระพิมพนั้นนับเปนงานที่ยาก ลำ�บากมาก จากจำ�นวนของพระพิมพที่พบมากมาย

เพราะเปนสิง่ ทีใ่ ครๆ ก็สามารถสรางขึน้ ไดอยางงายดาย ดวยแมพมิ พ ขณะทีพ่ นื้ ทีข่ องขอมูลก็เปลีย่ นแปลงไมเคย หยุดนิ่ง มีการคนพบหรือมีรายงานการคนพบแหลง พระพิมพใหมๆ อยูเสมอ ทั้งในอินเดียและในเอเชีย อาคเนย ดร.สกิลลิ่งเองก็เคยรายงานถึงพระพิมพแบบ ล า สุ ด ที่ มี ก ารค น พบในเวี ย ดนามเมื่ อ ป พ.ศ. 2546 (Skilling 2003/4 : 273-287) เชนเดียวกับการคนพบ ในมาเลเซีย และชวาตะวันตก (Ferdinandus 2002, 2003) เมื่อไมถึงสิบปมานี้ ในบทความของอาจารยชิ้นนี้ ดร.สกิ ล ลิ่ ง ได จำ � กั ด การศึ ก ษาโดยเจาะจงเฉพาะ พระพิ ม พ ที่ มี ก ารค น พบในประเทศไทยมาจนถึ ง พุทธศตวรรษที่ 16-17 และพระพิมพพมาในยุคพุกาม ตอนตน ซึ่งจะเกี่ยวของหรือสัมพันธกับเรื่องราวของ ทานอติศะ ในยุครุงอรุณของพระพิมพในเอเชียอาคเนย อยางไรก็ตามที่นาสนใจคือ ดร.สกิลลิ่งไดกลาว ถึงความเขาใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับการศึกษาพระ พิมพที่ผานมา ​และเสนอวาพระพิมพในพุทธศาสนานั้น หาได เ ป น ของที่ ร ะลึ ก ของผู  จ าริ ก แสวงบุ ญ ตามที่ นักวิชาการยุคแรกๆ ไดตั้งเปนทฤษฎีไวไม 2 เพราะ พระพิมพที่พบในประเทศไทยเปนวัตถุที่สรางขึ้นตาม ประเพณีเฉพาะสถานทีใ่ ดสถานทีห่ นึง่ ทัง้ ทีเ่ ปนสถูปเจดีย หรือตามถ้ำ� มิไดเปนสิ่งที่ถูกนำ�มาจากแหลงตนกำ�เนิด ในอินเดีย ความคิดในเรื่องสังเวชนียสถาน 4 แหง ที่ ก ล า วถึ ง ในเอกสารต า งๆ ล ว นเป น เพี ย งเรื่ อ งของ อุดมการณ เพราะในความเปนจริงแลวพยานหลักฐาน ตางๆ ลวนบงชี้ใหเห็นวา การสรางพระพิมพนั้นเปน ประเพณีของคนในแตละทองถิ่น (แมวาจะใชแมพิมพ ที่อาจตกคางมาจากภิกษุอินเดียรุนแรกๆ ที่เขามายัง เอเชียอาคเนย: ​สุรส​วัสดิ์ ศุขสวัสดิ์) ดวยเหตุนั้นพระ พิมพจงึ ตองสรางขึน้ อยางสมบูรณถกู ตอง และสวยงาม เพ ราะถือวาเปนตัวแทนของพระพุทธเจาหรือพระโพธิสตั ว ดร.สกิลลิ่งยังกลาวอีกวา พระพิมพหาใชสิ่งที่สรางขึ้น

__________________ 2 ศ.ฟูเช เสนอวา กำ�เนิดของพระพิมพมีมูลเหตุมาจากสังเวชนียสถานสำ�คัญของพระพุทธเจา 4 ตำ�บล แนวคิดนี้ไดแพรหลายใน หมูนักวิชาการไทยยุคแรกๆ นับแตงานเขียนของ ศ.ยอรช เซเดส ดูรายละเอียดใน เซเดส 2516 : 23 และดู ดำ�รงราชานุภาพ 2502 : 7

121


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

เพื่อเปนหนทางไปสูสวรรคของคนในสังคมชั้นลางที่ มีขอ จำ�กัดทางเศรษฐกิจไม หากสรางขึน้ โดยศรัทธาจาก คนทุกหมูเหลา รวมไปถึงบุคคลชั้นสูงของสังคม เพราะ เราพบหลายครั้งวาจารึกดานหลังพระพิมพแสดงถึง สถานภาพอันสูงสงของผูสราง ซึ่งมีตำ�แหนงเปนถึง กษัตริยหรือเจานายในราชสำ�นัก ตลอดจนพระสงฆชั้น ผูใหญ นอกจากนี้เทคนิคการผลิตพระพิมพจำ�นวนมาก ในยุคแรกๆ ทำ�ใหเราทราบถึงขอความทีพ่ มิ พลงไปดวย ทั้งพระพิมพที่พบในอินเดียและเอเชียอาคเนย (Skilling 2005 : 682-683) สุดทาย ดร.สกิลลิ่งกลาววา ไมจำ�เปน เสมอไปที่ พ ระพิ ม พ จ ะต อ งถู ก สร า งขึ้ น เพื่ อ สื บ ทอด พระพุทธศาสนาภายหลังหาพันป เพราะแนวคิดเรื่อง พระพุทธศาสนาจะสิ้นสุดลงเมื่อพระพุทธศาสนาเจริญ มาถึงหาพันปนั้นเปนเพียงความเชื่อของลัทธิเถรวาท จากสำ�นักมหาวิหารในลังกา หลักฐานที่เกาที่สุดที่พอ จะกล า วได ค งอยู  ใ นยุ ค ของท า นพุ ท ธโษฆะในปลาย พุทธศตวรรษที่ 4-5 หรือกลาวอีกอยางหนึ่งไดวา แนว ความคิดนี้เปนบริบทหนึ่งของสำ�นักมหาวิหารที่ลังกา โดยเฉพาะ มิไดครอบคลุมไปถึงนิกายอื่นๆ เชน ลัทธิ มหายานซึ่งมีบริบทที่แตกตางกันออกไป การกำ�หนดความหมายของคำ� (Terminology) ขณะที่ ดร.สกิลลิ่งไดใชคำ�สองคำ�ในบทความนี้ เมื่อกลาวถึงพระพิมพคือ clay sealings และ tablets แตแทจริงแลวแตเดิมในอินเดียยอมมีคำ�อื่นที่ถูกใชโดย มีความหมายเฉพาะในแตละยุคสมัย ศัพทคำ�หนึ่งที่ เคยใชเรียกพระพิมพในอินเดียเหนือคือคำ�วา สัญจก (sañcaka) ซึ่งเปนคำ�ที่มาจากคัมภีรภาษาสันสกฤต ของฝาย ธิเบต และพบไดจากจารึกหลังพระพิมพของ พระเจาอนิรุทธแหงพุกาม คำ�วา สัญจก นี้มีรากศัพทมา จากภาษาสันสกฤตในวัฒนธรรมอินโด-อารยันยุคกลาง คือ สํจา (samฺcaa) ซึ่งภายหลังไดใชกันแพรหลายใน ภาษาอินเดียเหนือปจจุบันเชนภาษาเบงกาลีและภาษา พิหารี ซึ่งเปนบริเวณที่เคยมีการสรางพระพิมพกันอยา งกวางขวางมากอน รากศัพทของคำ�นีไ้ ดกลายมาเปนคำ� ที่ใชเรียกพระพิมพในภาษาธิเบตวา ซาซา (tsha tsha) หลักฐานทางวรรณกรรมที่มาจากคัมภีรตางๆ แสดงวา คำ�วา สัญจก ไมไดเกิดขึ้นอยางลงรอยกันเสียทีเดียว

122

ตัวอยางหนึ่งเห็นไดจากคัมภีรที่ใชในพิธีกรรมภาษา สันสกฤตชื่อ อาทิกรฺมปฺรทีป (Ādikarmapradīpa) ซึ่ง เขียนขึ้นโดยทานอนุปมวัชร (Anupamavajra) และ ไดรับการเรียบเรียงขึ้นใหมโดยปุสแซง (Poussin) จาก คัมภีรฉบับภาษาเนปาลของสมาคมรอยัลเอเชียติคใน กรุงลอนดอน โดยไดระบุถงึ คำ�ทีท่ า นไดถอดความออกมา เชนคำ�วา สรฺวก (sarvaka) จากคำ�ประกอบวา สรฺวก-ตา ทน (sarvaka-tādฺana) ซึง่ พบหลายแหงนัน้ สามารถอาน ไดอีกอยางวา สชฺยก (sajyaka) หรือ สจฺจก (saccaka) คำ�วา สรฺวก ซึง่ โดยตัวมันเองแลวหมายถึง “ทัง้ หมด” หรือ “ทุกๆ สิ่ง” (สรฺว + ก / sarva + ka) ซึ่งไมมีความหมาย ใดๆ ในบริบทดังกลาว แสดงใหเห็นวาไมมากก็นอยที่ ทานอติศะคงจะไดนำ�มาปรับใชใหมจนกลายเปนคำ�วา ซาซา ในคัมภีรธิเบตที่ทานเขียนขึ้น ซึ่งดูเหมือนวาจะมี เสียงอานใกลเคียงกับคำ�วา สัญจก นั่นเอง อันที่จริงแลวมีคัมภีรอินเดียเกี่ยวกับการสราง พระพิมพจำ�นวนมาก ซึ่งถูกรักษาไวไดโดยการแปล มาเปนภาษาธิเบต อาทิเชนคัมภีร “ขั้นตอนการผลิต พระพิมพ” ของทานสํวรภทฺร (Samฺvarabhadra) หรือ คัมภีร “คูมือพิธีกรรมสำ�หรับการสรางพระพิมพ” ซึ่งไม ระบุนามผูเขียน อยางไรก็ตามนาเสียดายที่เราไมพบ ตนฉบับภาษาสันสกฤตในอินเดียเลย มีคมั ภีรท นี่ า สนใจ อยูชิ้นหนึ่งคือคัมภีรประเพณีการสรางรูปพระพิมพของ สิตาตปตฺรา (Sitātapatrā) ซึ่งมีชื่อในภาษาสันสกฤตวา อารยะ สิตาตปตรา-สัญจ(ก)-วิธี (Ārya Sitātapatrāsañca(ka)-vidhi ) และคลาดเคลื่ อ นมาเป น อารยะ สิตาตปตรา-สาจฺฉวิธิ (Ārya Sitātapatrā-sācchavidhi) ซึง่ ดร.สกิลลิ่งกลาววาการศึกษาคัมภีรฉบับนี้จะทำ�ใหเรา เขาใจคำ�วา สัญจก ในคัมภีรอินเดียไดดีขึ้น ในทำ�นอง เดี ย วกั น ก็ ย  อ มทำ � ให เ ราเข า ใจประเพณี ก ารสร า ง พระพิมพในดินแดนเอเชียอาคเนยไดเชนกัน หลักฐานเกี่ยวกับคำ�ในภาษาอินเดียดังกลาว ยังพบไดจากพระพิมพในยุคพุกามตอนตน พระพิมพที่ สรางโดยพระเจาอนิรุทธระบุเรียกพระพิมพดวยคำ�วา สั(ญ)จก (sa(ñ)caka) หรือสัจจ (sacca) เชนขอความที่ ศาสตราจารยลซู (Luce 1969-70 : pl. 8a, b) ผูม ชี อื่ เสียง ด า นพม า ศึ ก ษาได ถ อดมาจากพระพิ ม พ อ งค ห นึ่ ง ว า “โอมฺ ส(ญ)จกทานปติ มหาราช ศฺรี อนิรุทฺธเทเวน กโต


พระพิมพในประเทศไทยและเอเชียอาคเนย : ประติมานวิทยา หนาที่ใชสอย และบริบททางพิธีกรรม ม.ล. สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์

ภาพที่ 1 พระพิมพดนิ เผาจากพุกาม (ดาน ภาพที่ 2 พระพิมพดนิ เผาจากพุกาม (ดาน ภาพที่ 3 พระพิมพดนิ เผาแบบปยู ในพิพธิ ภัณฑ หนา) ราวกลางพุทธศตวรรษ ที่ หลัง) มีจารึกที่ระบุชื่อพระเจา ที่ เ มื อ งศรี เ กษตร ยุ ค ก อ นพุ ก าม 16 ของ SEAMEO CHAT (ภาพ อนิ รุ ท ธแห ง พุ ก าม (ภาพโดย ถึ ง พุ ก า ม ต อ น ต  น ( ภ า พ โ ด ย โดยผูเรียบเรียง) ผูเรียบเรียง) ผูเรียบเรียง)

ภคโว”( om.

sa(ñ)cakadānapati mahārāja śrī

aniruddhadevena kato bhagavo) ซึง่ แปลวา “โอม บุญนี้

ไดสรางขึ้นโดยกษัตริยผูยิ่งใหญ พระเจาอนิรุทธผูมี ชือ่ เสียง ผูอ ทุ ศิ ของพระพิมพองคน”ี้ (Om. This Blessed One was made by the Great King, the glorious King Aniruddha, donor of the sa(ñ)caka) เปนตน สิ่งที่ นาสนใจคือเราพบคำ�วา สัญจก เฉพาะบนพระพิมพทถี่ กู สรางขึ้นในชวงยุคนี้ซึ่งเปนชวงเวลาแหงความรุงเรือง ของพุกาม หลังจากนัน้ คำ�คำ�นีก้ ส็ ญ ู หายไปจากบันทึกทัง้ หลายในยุคตอมา หากมีพระพิมพพุกามอีกแบบหนึ่งซึ่ง อาจอยูในสมัยของพระเจาอนิรุทธและกษัตริยพมาผูสืบ ราชสมบัติองคตอมา มีจารึกภาษาบาลีหรือบาลีผสม สันสกฤต อักษรมอญ ซึ่งกลาวถึงชื่อ ภควา (bhagavā) อีกคำ �หนึ่ ง ที่พบในพระพิมพหรือแผนประทับ ที่จ ารึ ก เปนภาษาบาลีดวยอักษรมอญคือคำ�วา ปติมา (patimā) พุทธฺ ปติมา (buddhapatimā) หรือ พุทธฺ รูป (buddharūpa) ซึ่งมักใชรวมกับคำ�วา มาปต (māpita) หรือ ‘ผูสราง’ จารึกมอญยังใชคำ�วา พุทฺธรูป (buddharūp) และยังมี คำ�ภาษามอญอีกคำ�หนึ่งคือคำ�วา จากฺ (kyāk) หรือ เจกฺ (kyek) ซึง่ แปลวา ‘ศักดิส์ ทิ ธิ’์ หรือ ‘พระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ’์

เมื่อใชรวมกันในรูปของคำ�วา จากฺพุทฺธ (kyāk buddha) ซึง่ ไดกลายมาเปนประเพณีของการเรียกพระพุทธรูปกัน ทั่วไป เชนเดียวกับที่เขมรก็มีคำ�ที่ใชเรียกพระพุทธรูป วา พฺระปฏิมา (brahฺ patฺimā) เชนกัน สวนคำ�ในภาษาไทยที่นิยมใชเรียกแผนพิมพดิน คือคำ�วา พระพิมพ ทั้งที่สรางขึ้นดวยดินเผาหรือดินดิบ ดร.สกิลลิ่งไดตั้งขอสังเกตวาที่มาของคำ�วา ‘พระพิมพ’ นี้ยังไมกระจาง ซึ่งควรจะตองมีการศึกษาคนควากัน ตอไป อาจารยกลาววาเทาที่ทราบเปนเรื่องยากมาก ที่เราจะพบคำ�คำ�นี้บนพระพิมพโดยตรง (ทานเองเคย เห็นในพระพิมพแบบพุทธศตวรรษที่ 24 เพียงหนึ่ง หรือสององคเทานั้น) คำ�วา พระพิมพ นี้ปรากฏขึ้น เปนครั้งแรกในเอกสารทางวิชาการโบราณคดีเมื่อพุทธ ศตวรรษที่ 25 นี้เอง นอกจากนี้หากพิจารณาในแงจารึก ที่พบในประเทศไทย เราจะพบวาองคพระพุทธรูปมัก ถูกเรียกขานดวยคำ�วา พระ หรือ พระเจา ในรายงาน ทางโบราณคดียังมีคำ�ที่ใชเรียกสถูปขนาดเล็กๆ อีก คำ�หนึง่ วา สถูปจำ�ลอง หรือ เจดียจ �ำ ลอง สถูปดินดิบ หรือ สถูปดินเผา หรือแมแตคำ�วา สถูปกะ ซึ่งจากที่กลาวมา อาจสรุปไดวา การใหความหมายกับคำ�ของคนในเอเชีย

123


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

อาคเนยแสดงใหเห็นชัดเจนวา รูปพิมพดินเหลานั้นคือ รูปของพระพุทธเจา และการผลิตเปนจำ�นวนมากๆ ก็ ทำ�ขึ้นเพื่อหวังผลบุญ การหลุดพน และพระนิพพาน พระพิมพกับภูมิศาสตร ดร.สกิลลิ่งเสนอวาจะเปนการดีหากมีการศึกษา พระพิ ม พ ใ นบริ บ ทของพื้ น ที่ ห รื อ แหล ง ที่ พ บ ทั้ ง นี้ เพราะแนน อนวาพระพิมพนั้นถูกผลิตขึ้นในระหวาง พิธีกรรมโดยเฉพาะเจาะจง และปรากฏขึ้นในแหลงที่ ทำ�พิธีโดยเฉพาะ นอกจากนั้นดวยสาเหตุวาพระพิมพมี รูปแบบหลากหลายตามพืน้ ทีแ่ ละแหลงทีพ่ บแหลงตางๆ ที่กระจายตัวอยูทั่วไป อยางไรก็ตามพระพิมพบางแบบ ก็มีการสงผานระหวางพื้นที่ตางๆ และการปรากฏขึ้น ของพระพิมพเหลานั้นยังสามารถใหขอมูลเกี่ยวกับการ แพรกระจายและพัฒนาการของประเพณีและพิธีปฏิบัติ ในลั ท ธิ ต  า งๆ ได อี ก ด ว ย ในพม า มี แ หล ง พระพิ ม พ ที่สำ�คัญอยู 3 แหลง ซึ่งในยุคแรกไดแกยะไข และ ศรีเกษตร และพุกามในยุคตอมา (สำ�หรับพระพิมพยะไข ดูใน Gutman 2001; พระพิมพศรีเกษตรดูใน Luce 1985; พระพิมพพกุ ามดูใน Luce 1967-70; และพระพิมพ ทั่วๆ ไปดูใน Mya 1965) อยางไรก็ตามพระพิมพสมัย พุกามยังถูกคนพบในบริเวณกวางใหญไกลลงไปทางใต ถึงเขตทะวาย ในประเทศไทยเองก็มีการคนพบแหลง พระพิมพทั้งในลุมน้ำ�เจาพระยา ที่ราบสูงโคราช และ ตลอดคาบสมุทรมลายู ซึ่งในเขตมาเลเซียนั้นยังมีการ คนพบพระพิมพจำ�นวนมากตามถ้ำ�ตางๆ อีกดวย (ดู ตัวอยางไดจาก Asian Civilizations Museum 2003 : 354-355; Lamb 1964; O’Connor 1974; Pattaratorn 2000; Piriya 1980) พระพิมพและพิธีกรรม ดร.สกิ ล ลิ่ ง กล า วว า เท า ที่ ท ราบ ในเอเชี ย อาคเนย เ องยั ง ไม มี ก ารค น พบเอกสารหรื อ คั ม ภี ร  ที่ กล า วถึ ง ความเชื่ อ และการสร า งพระพิ ม พ เ ลย การ ศึ ก ษาคั ม ภี ร  อิ นเดียอยางระมัดระวังอาจเปนหนทาง เดียวที่ชวยใหเราเขาใจบางสิ่งบางอยางที่มีลักษณะ เหมือนกันไดบาง แนนอนวามีคัมภีรอินเดียแพรกระ จายอยูในบริเวณนี้ ดังตัวอยางเชนงานของสเนลโกรฟ

124

ภาพที่ 4 พระพิ ม พ ดิ น เผาแบบยะไข จากพิ พิ ธ ภั ณ ฑ เ มื อ ง เมี้ ย วอู (อาจมี ที่ ม าจากศรี เ กษตร?) ราวกลาง พุทธศตวรรษที่ 12-13 (Pamela Gutman 2001)

(Snellgrove 2004 : 82-84) ที่กลาวถึงจารึกกลางพุทธ ศตวรรษที่ 16 พบทีว่ ดั สิธอรในจังหวัดกำ�ปงจาม ประเทศ กัมพูชา ซึ่งมีเนื้อหากลาวถึงการสอนคัมภีรมธฺยานฺต วิภาค (Madhyāntavibhāga) และ คัมภีรตตฺตฺวสํคฺรห (Tattvasamฺgraha) งานของ ดร.สกิลลิ่งกอนหนานี้ ได ร ะบุ ถึ ง หนึ่ ง ในคั ม ภี ร  ท างพุ ท ธศาสนาที่ เ ก า ที่ สุ ด ที่ หลงเหลืออยูในเอเชียอาคเนย คืออรรถกถา อภิสม ยาลํการ (Abhisamayālamฺkāra) ของทานธรรมกีรติ (Dharmakīrti) โดยใชเวลาเขียนสวนใหญอาจเปนในรัฐ เกดาหเมือ่ พุทธศตวรรษที่ 15 (Skilling 1997 : 187-194) แมวา ตนฉบับในภาษาสันสกฤตไดสญ ู หายไปแลว แตผล งานของทานธรรมกีรติยังคงอยูในฉบับแปลเปนภาษา ธิเบตโดยบัณฑิตอติศะชาวเบงกอล (ทีปํกร-ศฺรี-ชฺญาน / Dīpamฺkara-śrī-jñāna) ผูแตงคัมภีรสั้นๆ เกี่ยวกับการ สราง สัญจก หรือ ซาซา ตามประวัติกลาววาทานอติศะ ไดรบั การศึกษาในดินแดนสุวรรณภูมิ/ศรีวิชยั ในชวงสุด ทายที่ทานใชชีวิตอยูในธิเบตทานอติศะคุนเคยอยูกับ


พระพิมพในประเทศไทยและเอเชียอาคเนย : ประติมานวิทยา หนาที่ใชสอย และบริบททางพิธีกรรม ม.ล. สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์

การสรางพระพิมพเปนประจำ�ทุกวัน พระพิมพเหลานี้ เกี่ยวของกับคาถาเย ธมฺมา ซึ่งมักเขียนลงบนดานหนา หรือดานหลังของพระพิมพ ดร.สกิลลิ่งเคยกลาวไวกอน หนานี้แลววาพระคาถาดังกลาวซึ่งถูกเขียนลงบนสถูป พระพุทธรูป และภาพเขียน ลวนเกี่ยวของกับพิธีพุทธา ภิเษก อาจารยยังกลาวอีกวาพิธีพุทธาภิเษกในเนปาล ธิ เ บต และเอเชี ย อาคเนย ล ว นมี ก ารสวดบทคาถา ดังกลาวมาจนถึงปจจุบัน ผูอุทิศและแรงจูงใจที่เกี่ยวของกับพระพิมพ เราไดพบทั้งพระพิมพที่มีจารึกและไมมีจารึกใน อินเดีย เอเชียอาคเนย และในที่อื่นๆ พระพิมพที่มีจารึก สวนใหญจะเปนพระคาถาเย ธมฺมา มีไมมากนักที่มี จารึกธาราณีมนตรในภาษาสันสกฤต ปรากฤต หรือบาลี พระพิมพจากยะรังในภาคใตของประเทศไทยที่มีจารึก อริยสัจสี่นับเปนสิ่งที่หาไดยากมาก ดร.สกิลลิ่งกลาววา นอกเหนือจากนีม้ กั เปนจารึกทีก่ ลาวถึงการอุทศิ ดูเหมือน สิ่งนี้ถูกจำ�กัดอยูในบริเวณเอเชียอาคเนย โดยเฉพาะ อยางยิง่ ในทีร่ าบสูงโคราชและทีพ่ กุ าม ดร.สกิลลิง่ ยังกลาว อีกวาดูเหมือนประเพณีการจารึกบนพระพิมพดวยชื่อ และจุดมุงหมายของผูอุทิศจะไมเคยพบเห็นในอินเดีย ในวั ฒ นธรรมทวารวดีแถบลุมน้ำ�เจาพระยา หรื อใน คาบสมุทรมาเลย ในกรณี ข องจารึ ก มอญที่ พ บในประเทศไทย เชนในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือนั้น ดร.สกิลลิ่ง กลาววาดร.อุไรศรี วรศริน 3 นับเปนผูบุกเบิกการศึกษา รุนแรกๆ จากการศึกษา​ดร.อุไรศรีเสนอวาพระพิมพ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนใหญกำ�หนดอายุอยูใน ราวพุทธศตวรรษที่ 13-14 (Uraisi 1995 : 197) พระพิมพ กลุมนี้สวนใหญพบไดจากซากเจดียในอำ �เภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม และมักมีจารึกภาษามอญที่กลาว ถึงการสรางขึ้นเพื่อหวังผลบุญ โดยมีการใชคำ�ทั้งภาษา สันสกฤต (ปุณยฺ / punฺya) และภาษาบาลี (ปุญ ฺ / puñña

หรือ ปุญ / puñ) จากขอความที่ปรากฏแสดงวาผูสราง พระพิมพเหลานี้สวนหนึ่งเปนกษัตริย ดังปรากฏชื่อ ผูส รางดวยคำ�วา กมรเตง และคำ�วา จักรวาทิน พระพิมพ จากเมืองฟาแดดสงยาง ในอำ�เภอกมลาไสย จังหวัด กาฬสินธุ ก็มีจารึกที่กลาวถึงคำ�วา จาก ของอาจารย ผูบวชหรืออุปชฌาย และคำ�วาอาจารย อาจารยอุไรศรี ยั ง ได ศึ ก ษาจารึ ก บนใบเสมาหิ น ในภาคตะวั น ออก เฉียงเหนืออีกดวย (Uraisi 1995 : 199-201) เชน ใบเสมา พบทีว่ ดั โนนศิลา อำ�เภอชุมแพ จังหวัดขอนแกน ซึง่ ลวน กลาวถึงคำ�วา ปุญญ จารึกวัดโนนศิลาหมายเลข 1 ยัง กลาวถึงความประสงคที่จะไดพบพระอารยเมตไตรยะ แต ที่ น  า สั ง เกตคื อ ดู เ หมื อ นว า ผู  อุ ทิ ศ จะมี ทั้ ง ชายและ หญิง รวมทัง้ พระสงฆและกษัตริย ขณะทีก่ ารศึกษาพระ พิมพจากนาดูนของรองศาสตราจารยมยุรี วีระประเสริฐ (Mayuree 1995 : 222-235) แสดงใหเห็นถึงคติการสราง พระพิมพเรื่องยมกปาฏิหาริยที่ปรากฏในกลุมนี้ดวย ดร.สกิลลิ่งยังไดเนนใหเราเห็นอีกวา การศึกษาคนควา ที่ผานมาสวนใหญลวนบงชี้ใหเห็นถึงความสำ�คัญของ วัฒนธรรมในบริเวณลุมแมน้ำ�ชี ซึ่งมักจะถูกมองวาเปน เพียงแหลงวัฒนธรรมหินตัง้ หรือเปนเพียงสวนหนึง่ ของ ‘วัฒนธรรมทวารวดีที่ยิ่งใหญ’ สวนในกรณีของพระพิมพจากพมาทั้งที่มีจารึก ภาษาสันสกฤต บาลี และภาษามอญโบราณ เรามักพบ เห็นไดจากพุกามในพมาตอนเหนือ ซึ่งจากการศึกษา จารึกเหลานัน้ ทำ�ใหเราทราบวาผูอ ทุ ศิ มีทงั้ กษัตริย ราชินี พระสงฆ และขุนนาง พระพิมพสวนหนึ่งซึ่งคนพบใน กรุ เ จดี ย  ช เวสั่ น ด อ ยั ง ได เ จาะจงถึ ง ผู  อุ ทิ ศ คื อ พระเจ า อนิรุทธ ผูปรารถนาจะไดพบพระนิพพานในยุคของ พระเมตไตรยะ ดร.สกิลลิ่งไดกลาวสรุปวา การสรางพระพิมพ ลวนมีแนวคิดเดียวกันคือทำ�ขึน้ เพือ่ ผลบุญ บางก็กลาวถึง การขอใหพบพระเมตไตรยะพระอนาคตพุทธเจา หรือ ขอใหบรรลุพระนิพพาน แนวคิดและพิธีกรรมเชนนี้ดู

__________________

3

ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขต​วัง​ทา​พระ

125


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ภาพที่ 5 พระพิมพดินเผาปางยมกปาฏิหาริยที่เมืองสา ภาพที่ 6 แมพมิ พพระพิมพรปู เหวัชระ แบบศิลปะเขมร ราวกลางพุทธศตวรรษ วัตถี แบบทวารวดี ราวกลางพุทธศตวรรษที่ ที่ 16-17 (Fukuoka Art Museum 2008) 14-15 (Fukuoka Art Museum 2008)

เหมือนวาจะแพรหลายไปทั่วทั้งโลกของพุทธศาสนา ในพุทธศตวรรษที่ 12-13 ซึ่งก็ไดรับการปรับมาเปน พิธีกรรมของแตละทองถิ่นเองอยางรวดเร็ว และตางก็มี แบบแผนของตนเอง โดยที่แมพิมพหรือแมพิมพจำ�ลอง จากอินเดียไดถูกนำ�มาใชดวย ทั้งนี้ดูเหมือนวาภาคใต จะเปนแหลงพระพิมพที่รับเอาประเพณีของฝายอินเดีย เหนือในยุคปาละและเสนะเขามามากทีส่ ดุ ดังปรากฏทัง้ รูปพระโพธิสัตว หรือรูปพระพุทธเจาลอมรอบดวยพระ โพธิสัตวทั้งแปด [คติ อัษฏมหาโพธิสัตว กลาววาบุคคล ทีอ่ ยูต รงกลางคือพระมหาไวโรจนะตามลักษณะวัชรธาตุ มณฑล : สุรส​วัสดิ์ ศุขสวัสดิ์] ทานยังย้ำ�ใหเห็นวาประติ มานวิทยาของพระพิมพยคุ แรกๆ ในดินแดนประเทศไทย ยังสะทอนใหเห็นความเปนอิสระของสังคมขณะนั้นใน การประยุกตลทั ธินกิ ายตางๆ เขามาตามทีเ่ ห็นเหมาะสม มากกวาจะตกอยูภ ายใตอทิ ธิพลของอินเดียแตฝา ยเดียว ดั ง เห็ น ได ว  า พระพิ ม พ ที่ พ บในวั ฒ นธรรมทวารวดี ลุ  ม แม น้ำ � ชี และจากยะรั ง หาได เ ป น เพี ย งการรั บ วัฒนธรรมจากอินเดียไม หากลวนมีลักษณะเดน และ ไดรับการขัดเกลาทั้งในแงของแนวคิดและการออกแบบ

126

อย า งไรก็ ต ามดั ง ที่ ด ร.สกิ ล ลิ่ ง ได ก ล า วมาแล ว ว า พระพิ ม พ อ าจเป น เครื่ อ งแสดงให เ ห็ น ถึ ง การปฏิ บั ติ พิธีกรรม ซึ่งในบางกรณีโดยเฉพาะอยางยิ่งในภาคใต เราอาจตรวจสอบย อ นไปถึ ง ต น ตอประเพณี ห รื อ คั ม ภี ร  อิ น เดี ย ฉบั บ ดั้ ง เดิ ม ได ขณะที่ ใ นบางกรณี เ รา ก็ไมสามารถทำ�ไดเชนนั้น สวนความเชื่อในเรื่องการ ผสมอั ฐิ ผู  ต ายลงไปในเนื้ อ มวลสารของพระพิ ม พ นั้ น ก็ยงั ตองมีการศึกษาคนควากันตอไป ซึง่ เปนไปไดวา อาจ มีการสืบทอดมาจากคำ�บอกเลามากกวาจะมีการบันทึก เปนเอกสาร แตไมวาจะอยางไรก็ตาม ประเพณีนั้น คงเปนสิง่ ทีแ่ สดงออกโดยมีจดุ ประสงคโดยเฉพาะ ทัง้ ยัง คงเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาและสถานที่อีกดวย ความเห็นเพิ่มเติมของผูเรียบเรียง จากการสำ � รวจในบริ เ วณคาบสมุ ท รไทยของ นักวิชาการทั้งไทยและตางประเทศมาเปนเวลานาน ทำ�ใหมีการคนพบพระพิมพดินดิบแบบศิลปะทวารวดี และศรีวิชัยเปนจำ�นวนมากตามถ้ำ�เขาหินปูนตางๆ ผล จากการศึกษาพระพิมพ 44 แบบจากบริเวณดังกลาวที่


พระพิมพในประเทศไทยและเอเชียอาคเนย : ประติมานวิทยา หนาที่ใชสอย และบริบททางพิธีกรรม ม.ล. สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์

ภาพที่ 7 พระพิมพธิเบตรูปนางตารา ราวกลางพุทธศตวรรษที่ 15-16 (Fukuoka Art Museum 2008)

จัดแสดงอยูในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ 5 แหง 4 ทำ�ให เราสามารถจัดกลุมพระพิมพภาคใตได 4 กลุมตาม ลักษณะ คือ พระพิมพที่มีรูปพระพุทธเจา พระพิมพที่มี รูปพระโพธิสตั ว พระพิมพทมี่ รี ปู เทพชัน้ รอง และพระพิมพ ที่มีรูปสถูป จากการวิเคราะหเราสามารถกำ�หนดอายุ พระพิมพทั้ง 4 กลุมนี้ไดเปน 2 ยุค ยุคแรกไดแก พระพิมพสมัยทวารวดี อายุราวพุทธศตวรรษที่ 13-14 ทั้งพระพิมพสมัยทวารวดีและพระพิมพรุนกอนหนานี้ (ราวพุทธศตวรรษที่ 10 หรือ 11 ถึงราวพุทธศตวรรษ ที่ 12) แสดงใหเห็นถึงพุทธศาสนาลัทธิเถรวาท ลัทธิ

สรวาสติวาท และลัทธิมหายาน ซึ่งอาจจะแพรมาจาก ภาคใตและภาคตะวันตกของประเทศอินเดีย ยุคที่สอง ไดแก พระพิมพสมัยศรีวิชัย อายุราวพุทธศตวรรษที่ 14-15 ซึ่งแมวาในระยะเวลาดังกลาวพุทธศาสนาทั้ง 3 ลั ทธิจ ะยั ง คงเปน ที่นั บ ถือกัน ตอมา แตอิทธิพ ลพุทธ ศาสนาลัทธิวัชรยานจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ประเทศอินเดียและจากชวาภาคกลางก็เริ่มปรากฏเดน ชัดขึ้น ประเด็ น ที่ อ าจเกี่ ย วข อ งกั บ งานวิ จั ย ของ ดร. สกิลลิ่งคือ สภาพแวดลอมของแหลงที่พบพระพิมพ เหลานี้ในบริเวณคาบสมุทรไทย-มลายู ซึ่งสวนใหญมัก พบในถ้ำ � เขาหิ น ปู น ซึ่ ง อยู  สู ง หรื อ เข า ไปถึ ง ได ย าก เนือ้ พิมพเองก็มกั ทำ�ดวยดินดิบตากแดดหรือเผาไฟออน นั ก วิ ช าการบางท า นถึ ง กั บ ตั้ ง ข อ สั ง เกตว า ลั ก ษณะ เนือ้ ดินของพระพิมพในถ้�ำ บางแหงทีเ่ ปอลิสก็ไดมวลจาก พื้นถ้ำ�นั่นเอง จึงไมนาจะเปนการทำ�ขึ้นเพื่อนำ�ติดตัว กลั บ ไปบู ช า ซึ่ ง ตรงกั บ ความเห็ น เรื่ อ งพิ ธี ก รรมของ ดร.สกิลลิ่ง เพราะเนื้อไมแกรง แตกหักไดงายมาก สันนิษฐานวาพระพิมพในคาบสมุทรไทย-มลายูเหลานี้ คงทำ�ขึ้นโดยการกดดินเหนียวลงไปในพิมพ จากนั้น แกะออกและนำ�ไปตากแดด เชนเดียวกับพระพิมพแบบ ปาละซึ่งพบที่กหุโชดาโรและสุฑเหรันโชดาโรในแควน สินท อายุราวพุทธศตวรรษที่ 12-16 และยังคงทำ�กัน อยูใ นธิเบต คติการสรางพระพิมพเหลานีย้ งั อาจเกีย่ วของ กับลัทธิการเคารพภูเขาอีกดวย สาธนาบทที่ 98 ใน สาธนมาลา (Sādhanamālā) ไดกลาวถึงถ้ำ�บนภูเขา ไววา ผูใดก็ตามที่ทำ�สมาธิภาวนาถึง ภควตี ในถ้ำ�ที่ สันโดษในภูเขา เขาผูนั้นจะไดเห็นพระนางดวยตาของ เขาเอง (ดูรายละเอียดใน Bhattacharyya 1958) ภูเขา ยังหมายถึงวังโปตะละอันเปนที่สถิตของพระโพธิสัตว อวโลกิเตศวร ดังทีห่ ลวงจีนเหีย้ นจังไดกลาวไวในบันทึก การเดินทางวาทานไดปนภูเขาที่อันตรายเพื่อขึ้นไป นมัสการพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร และเพื่อที่จะไดรับ

_______________

4

ดูรายละเอียดใน สุรสวัสดิ์ 2529

127


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ความรูแจงและอำ�นาจเหนือธรรมชาติ (สุภัทรดิศ ​ดิศกุล 2527) นาสังเกตวาความเชือ่ ดังกลาวทีว่ า ภูเขาเปนแหลง สันโดษเหมาะสมกับการเก็บพระพิมพดินดิบเพื่ออุทิศ ใหผตู าย ก็ตรงกับความเชือ่ ของมนุษยดงั้ เดิมบางกลุม ใน ดินแดนเอเชียอาคเนยวา ภูเขาเปนทีส่ ถิตของบรรพบุรษุ คติการบรรจุพระพิมพดนิ ดิบในถ้ำ�บนคาบสมุทร ไทย-มลายูนตี้ า งไปจากหมูเ กาะอินโดนีเซีย ซึง่ นิยมสราง สถูปดินดิบขนาดเล็ก (สถูปกะ) มากกวา และมักนิยม บรรจุพระพิมพที่มีรูปพระพุทธเจาไวภายในดวย (โดย ไมพบพระพิมพที่มีรูปพระโพธิสัตวในสถูปจำ�ลองเลย) สถูปจำ�ลองซึ่งมีพระพิมพบรรจุอยูนี้มักจะพบอยูใตฐาน รู ป เคารพหรื อ ใต ฐ านอาคารศาสนสถานรวมกั บ ของ มี ค  า อื่ น ๆ แหล ง ที่ พ บพระพิ ม พ ใ นอิ น โดนี เ ซี ย มี ทั้ ง ศาสนสถานบนภูเขาสูง และศาสนสถานในทีร่ าบเชิงเขา หรือที่ราบริมฝงแมน� ้ำ ตลอดจนทุงนาและเนินเขาเล็กๆ (ฟน โลฮุยเซนเดอลุย 2527) สันนิษฐานวาสถูปพระพิมพ

128

ที่ พ บร ว มกั น นี้ ค งสร า งขึ้ น เพื่ อ พิ ธี ก รรมทางศาสนา อยางใดอยางหนึ่ง อยางไรก็ตามเราก็ไมพบหลักฐานวา พระพิมพเหลานี้ท�ำ ขึ้นจากเถาถานหรือกระดูกผูตายดัง เชนในคาบสมุทรไทย-มลายู คำ�ขอบคุณ ขอขอบคุณ ดร.ปเตอร สกิลลิ่ง ที่อนุญาตใหทำ� การเรียบเรียงงานวิจัยของทานเปนภาษาไทยในครั้งนี้ และตองขอขอบคุณ รศ.ดร.บาลี พุทธรักษา วิทยาลัย พุทธศาสนานานาชาติ อำ�เภอสะเดา จังหวัดสงขลา ใน การตรวจทานและแกไขศัพทเฉพาะ-ชือ่ เฉพาะจากภาษา บาลีและสันสกฤตในบทความนี้ สุดทายตองขอขอบคุณ รศ.ดร.ม.ล.ภัทรธร จิรประวัติ ผูอำ�นวยการ The Asian Studies Program แหงมหาวิทยาลัยรัฐแคลิฟอเนีย ซาครา เมนโต ที่ไดกรุณาตรวจทานและใหความเห็นที่จำ�เปน


พระพิมพในประเทศไทยและเอเชียอาคเนย : ประติมานวิทยา หนาที่ใชสอย และบริบททางพิธีกรรม ม.ล. สุรสวัสดิ์ ศุขสวัสดิ์

บรรณานุกรม เซเดส, ยอรช. (2516). ตำ�นานพระพิมพ ศิลปะไทย: รวมบทความทางศิลปะ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร. ดำ�รงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา. (2502). ตำ�นานพุทธเจดีย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ รุงเรืองรัตน. ฟน โลฮุยเซนเดอลุย. แปลโดย ม.จ.สุภัทรดิศ ดิศกุล. (2527). วิวัฒนาการของเจดีย (สถูป) ในประเทศอินโดนีเซีย. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับพิเศษ. สุภัทรดิศ ดิศกุล, ม.จ. (2527). พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรอินเดีย. กรุงเทพฯ: องคการคาคุรุสภา. สุรสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา, ม.ล. (2529). การศึกษาพระพิมพภาคใตของประเทศไทย. วิทยานิพนธศลิ ปศาสตร มหาบัณฑิต (โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร) คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. Asian Civilizations Museum. (2003). The Asian civilizations museum A-Z guide. Singapore: Asian Civilizations Museum. Bhattacharyya, Benoytosh. (1958). The Indian buddhist iconography. 2nd ed. Calcutta: Sri Ramadrishna Printing Work. Ferdinandus, P. (2002). Recent archaeological excavations in Blandongan Site, Batujaya, Karawang, West Java. Jakarta: Badan Pengembangan Kebudayaan Dan Pariwisata Deputi Bidang Perestarian Dan Pengembangan Kebudayaan Bagian Proyek Penelitian Dan Pengembangan Arkeologi. Gutman, P. (2001). Burma’s lost kigdoms: splendor of Arakan. Bangkok: Orchid Press. Lamb, A. (1964). Mahayana buddhist votive tablets in Perlis. Journal of the Malaysian Branch of the Royal Asiatic Society 37(2). Luce, G.H. (1985). Phase of Pre-Pagán Burma. Oxford: Oxford University Press. ________. (1967-70). Old Burma-Early Pagán. Artibus Asiae supplementum 25. Locust Valley, New York: J.J. Augustin. Mayuree Viraprasert. (1995). Tablettes votives boudhiques contemporaines de la période de Dvāravatī découvertes à Nadun, Mahasarakham. Premier Symposium Franco-Thai [18-24 juillet 1988]: La Thaïlande des débouts de son histoire jusqu’au XVe siècle (ed. Khaisri Sri-Aroon et al.). Bangkok: Université Silpakorn. Mya, U. (1965). Votive Tablets of Burma. Pts. I and ii. Rangoon. O’Connor, S.J. (1974). Buddhist votive tablets and caves in Peninsular Thailand. Art and Archaeology in Thailand. Bangkok: The Fine Arts Department. Pattaratorn Chirapravati. (2000). Development of Buddhist traditions in Peninsular Thailand: A study based on vitive tablets (seventh to eleventh centuries). Studies in Southeast Asian Art: Essays in Honor of Stanley J. O’Connor. (ed. N. Taylor). Ithaca, New York: Southeast Asia Program Publications, Southeast Asia Program, Cornell University. Piriya Krairiksh. (1980). Art in Peninsular Thailand Prior to the fourteenth century A.D. Bangkok: The Fine Arts Department.

129


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

Rahman, Nik Hassan Shuhaimi bin Nik Abdul, ed. (1999). The Encyclopedia of Malaysia: Vol. 4, early history. Singapore: Archipelago Press. Skilling, P. (1997). Dharmakīrti’s Durbodhāloka and the literature of Śrīvijaya. Journal of the Siam Society 85. ________. (2003/4). Traces of the Dharma: preliminary reports on some ye dhammā and ye dhammā inscriptions from Mainland South-East Asia. Bulletin de l’École française d’Extrême-Orient 2003/4. ________. (2005). ‘Buddhist sealings’: reflections on terminology, motivation, donors’ status, school-affiliation, and print-technology. South Asian Archaeology 2001, Vol. II, Historical Archaeology and Art History. Ed. C. Jarrige and V. Lefevre. Paris: Éditions Recherches sur les Civilisations. Snellgrove, D. (2004). Angkor-Before and After: A cultural History of the Khmers. Bangkok: Orchid Press. Uraisi Varasarin. (1995). Les inscriptions mônes découvertes dans le Nord-Est de la Thaïlande. In Premier Symposium Franco-Thai [18-24 juillet 1988]: La Thaïlande des débouts de son histoire jusqu’au XVe siècle. Ed. by Khaisri Sri-Aroon … et al. Bangkok: Université Silpakorn.

130


ตลาดสด : การสรางเศรษฐกิจชาติในเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม Marketplaces : The Construction of National Economy with the Economic and Cultural Areas สุวิดา ธรรมมณีวงศ 1 Suwida Thammaneewong บทคัดยอ บทความเรื่อง ตลาดสด: การสรางเศรษฐกิจชาติในเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม มีวัตถุประสงคในการนำ�เสนอ ขอวิพากษตอการพัฒนาประเทศที่เนนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเปนเปาหมาย การพัฒนาตามแนวทางดังกลาว ไดทำ�ใหคุณคาของสังคมในดานอื่นๆ ขาดหายไป โดยเฉพาะการเขาถึงเสรีภาพในการประกอบอาชีพของประชาชน อยางเทาเทียมกัน และคุณคาของกลไกทางสังคมที่มีบทบาทในอดีตที่ขับเคลื่อนโดยระบบชุมชนอันเปนพื้นฐาน ของวัฒนธรรมไทย ระบบดังกลาวประกอบดวย เศรษฐกิจแบบครอบครัวที่ใชแรงงาน เศรษฐกิจชุมชนและเครือขาย งานวิจยั เกีย่ วกับตลาดสดและตลาดนัด รวมถึงการศึกษาระบบเศรษฐกิจของชุมชนตางๆ พบวาการสรางเศรษฐกิจชาติ จากเศรษฐกิจของประชาชนโดยใชแนวคิดเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม เปนการเปดพืน้ ทีใ่ หประชาชนมีเสรีภาพในการ ดำ�เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยางเทาเทียมทั้งในพื้นที่ชนบท และเมือง ดังนั้น ภาคสวนตางๆ ในสังคมรวมถึงรัฐ จึง ควรมีบทบาทในการสนับสนุนเศรษฐกิจของประชาชนควบคูไปกับเศรษฐกิจแบบทุนนิยม คำ�สำ�คัญ: 1. ตลาดสด. 2. เขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม. 3. เศรษฐกิจประชาชน. 4. เศรษฐกิจทางเลือก.

__________________ 1 ผูชวยศาสตราจารยประจำ�ภาควิชาสังคมศาสตร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร นครปฐม วิทยาเขต​พระราชวัง สนาม​จันทร


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

Abstract The article, Marketplaces: the Construction of the National Economy with Economic and Cultural Areas”, provides a critique of Thai development which emphasizes the economic growth orientation. This development has devitalized other social values, especially equal access to a variety of economic activities and the former leading social mechanisms. This social mechanism community system, was an economy based on the Thai cultural context and it was driven by the household and community sector and its network. Research on marketplaces and reviews on the community economy revealed that the concept of economic and cultural areas can strengthen people’s economy to formulate the national economy. Besides the capitalist system, every part of society, including the government, should take an active role to support economic sovereignty by taking into consideration the concept of the Economic and Cultural Area so that people can gain a wider view of economic activities in both local and city areas to create the National Economy. Keywords: 1. Marketplace. 2. Economic and cultural area. 3. People’s economy. 4. Alternative economy

132


ตลาดสด : การสรางเศรษฐกิจชาติในเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม สุวิดา ธรรมมณีวงศ

1. บทนำ� เครื อ ข า ยรอยเท า นิ เ วศน ข องโลก (Global Footprint Network) ไดรายงานคุณภาพการบริโภค ทรัพยากรของประเทศตางๆ ทั่วโลก หรือที่เรียกกวา “รอยเทานิเวศน (Ecological Footprint)” 2 ของป ค.ศ. 2006 (Global Footprint Network 2010) โดยคำ�นวณ การบริ โ ภคของผู  ค นบนโลกเมื่ อ เที ย บกั บ ทรั พ ยากร บนโลกที่รองรับ พบวาผูคนบนโลกไดใชทรัพยากร มากกวาทรัพยากรที่มีอยู กลาวคือโดยเฉลี่ยคนในโลก นี้ใชทรัพยากร 6.7 เอเคอรตอคน ในขณะที่มีทรัพยากร รองรับเพียง 5.1 เอเคอรตอคน หากพิจารณาที่รายได ของแตละประเทศพบวา ประเทศที่มีรายไดเฉลี่ยสูง ไดประทับรอยเทานิเวศนในเกณฑเฉลีย่ ทีส่ งู กวาประเทศ ที่มีรายไดต่ำ� และทวีปแอฟริกาประทับรอยเทานิเวศน ต่ำ � กว า ภู มิ ภ าคอื่ น ในขณะที่ ท วี ป อเมริ ก าเหนื อ โดย เฉพาะสหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป ไดประทับรอยเทา นิเวศนมากกวาทรัพยากรที่ทวีปจะรองรับได ตัวเลข ดังกลาวไดชใี้ หเห็นวา การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ใหเจริญเติบโตมากเทาใด กลับกอใหเกิดปญหาการใช ทรัพยากรธรรมชาติเกินขีดความสามารถที่ทรัพยากร ธรรมชาติจะรองรับ ตัวเลขดังกลาวสะทอนวา ประเทศที่ มีรายไดสงู บริโภคทรัพยากรมากกวาทีม่ รี ายไดต� ่ำ ดังนัน้ หากทุกประเทศมุง การพัฒนาทีเ่ นนรายได และการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจเปาหมายแลว ปญหาการขาดแคลน ทรัพยากรบนโลก เปนเรื่องที่ผูคนบนโลกไมสามารถ หลีกเลี่ยงได การมุงตัวเลขรายไดประชาชาติเปนเปาหมาย ในการพัฒนา ผานการสงเสริมเศรษฐกิจทุนนิยม โดย เฉพาะทุ น ขนาดใหญ ไ ร สั ญ ชาติ ที่ มี เ ป า หมายในการ ผลิตจำ�นวนมากเพื่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเปน เปาหมายหลัก ทำ�ใหขนาดของทุนกลายเปนขอไดเปรียบ ในการแขงขันในยุคโลกาภิวัตน ทุนขนาดใหญยังสราง

วัฒนธรรมการบริโภคทีม่ มี าตรฐานเดียวกันทัว่ โลก กลาย เปนระบบอาหารโลก และวัฒนธรรมการบริโภคสากล นอรเบอรก-ฮอดจ และคณะ (2545) ไดตงั้ ขอสังเกต วา ระบบอาหารโลกตั้งอยูบนฐานคิดของการใชที่ดิน เครื่ อ งจั ก รในการผลิ ต การแบ ง งานกั น ทำ � ระหว า ง ประเทศ การสรางมูลคาเพิ่มเพื่อการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ และการแขงขันผานกลไกตลาด ฐานคิดของ ระบบอาหารโลกจึงไปทำ�ลายคุณคาอื่นๆ เพราะตอง สัมพันธกับการผลิต การคาปลีก และการขนสงขนาด ใหญที่สิ้นเปลืองพลังงาน ทำ�ใหเกิดการถอยรน และ หดหายไปของเกษตรกรรายเล็ก ทุนทองถิ่นขนาดเล็ก และการสูญหายไปของวัฒนธรรมทองถิ่น วัฒนธรรม ชุมชน โดยเฉพาะความหลากหลายของระบบอาหาร ระบบอาหารโลกทำ � ให ค วามสั ม พั น ธ ท างเศรษฐกิ จ เปลี่ยนไปเนนการพึ่งพาทุนขนาดใหญ และเทคโนโลยี สมัยใหมมากขึ้น ทัง้ หมดนีจ้ ึงเปนผลกระทบทางลบหรือ เปนตนทุนของสังคม (Social cost) ที่สังคมตองสูญเสีย โดยเฉพาะการสูญเสียเศรษฐกิจแบบพึ่งพาอาศัยกัน แตละประเทศควรจะบริโภคทรัพยากรอยางไร เพื่ อ ไม ใ ห เ กิ น ความสามารถในการผลิ ต ของแต ล ะ ประเทศ และระบบอาหารโลกที่ ก ล า วข า งต น ทำ� ให คุณคาที่สำ�คัญขาดหายไปอยางไรบาง บทความนี้จึงมุง ตอบคำ�ถามวา การพัฒนาประเทศภายใตการสงเสริม การเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ของประเทศที่ มุ  ง การ ส ง ออกสิ น ค า และบริ ก าร และการลงทุ น ขนาดใหญ ไดทำ�ใหสังคมไทยเปลี่ยนไปอยางไร และเหตุใดการ พั ฒ นาประเทศควรเป ด โอกาสให ป ระชาชนมี สิ ท ธิ เสรีภาพในการดำ�รงชีพอยางทั่วถึงเทาเทียม 2. หาทศวรรษการพัฒนา กับสิ่งที่ขาดหายไปใน สังคม ผูเขียนเคยตั้งคำ�ถามเพื่ออภิปรายในชั้นเรียน

__________________ 2 หนวยวัดรอยเทานิเวศ เปนการวัดผลที่เกิดจากการที่คน ชุมชน องคกร หรือประเทศไดประทับรองรอยการใชชีวิตไวบน ระบบนิเวศของโลก โดยเปรียบเทียบกับเกณฑเฉลี่ยของปริมาณน้ำ�พื้นโลก พลังงาน ปาที่จะจัดการและดำ�รงอยูได (biocapacity) รายละ เอียดสืบคนที่ www.footprintnetwork.org

133


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

เกี่ยวกับเรื่อง “การเลือกระหวาง ไขสองฟอง” ที่มีที่มา และที่ไปแตกตางกัน โดยไขฟองแรกเกิดจากระบบการ ผลิตของแตละครัวเรือน แมไกจงึ มีชวี ติ ความเปนอยูต าม ธรรมชาติ ไขฟองทีส่ องเปนไขจากแมไกทเี่ กิดจากระบบ อุตสาหกรรม มีขั้นตอนการผลิตที่ซับซอน ไขฟองที่สอง ไดเกิดจากการสรางงานใหแกผูคนเปนจำ�นวนมาก และ ชวยสงเสริมใหเกิดธุรกิจเชือ่ มโยงมากมาย ผลปรากฏวา นักศึกษาใหเหตุผลการเลือกไขแตละฟอง จากจุดยืนที่ แตกตางกัน ดังนี้ นักศึกษากลุมที่เลือกไขฟองแรกใหเหตุผลวา การบริโภคไขไกที่เลี้ยงในครัวเรือน ทำ�ใหสุขภาพดี และยังไมทรมานไกโดยเลี้ยงในกรงขัง และการบริโภค ในครัวเรือนไมจำ�เปนตองบริโภคมากมายจนตองเลี้ยง ไขไกแบบฟองที่สอง ในขณะที่กลุมที่เลือกไขฟองที่สอง ตอบวา การมีชวี ติ อยูใ นเมืองทีต่ อ งพึง่ พารายไดจากการ ผลิต การจำ�หนาย การแปรรูปอาหารจากไขไกเพือ่ สราง รายได ชีวติ ในเมืองไมมพี นื้ ทีส่ �ำ หรับการเลีย้ งไก การซือ้ ไขไกครั้งละปริมาณมากเพื่อเก็บสำ�รองไวจึงจำ�เปนตอง เลือกไขแบบฟองที่สอง โดยเฉพาะการเปดรานขาย อาหารที่ตองใชไขในปริมาณมากๆ จากคำ�ตอบของนักศึกษา มีนัยวา การเลือก ไข ฟ องใดฟองหนึ่ ง เป น เลื อ กภายใต เ งื่ อ นไขการ ดำ�เนินชีวิตของแตละกลุมคน การเลือกไขแตละฟอง แมสะทอนเสรีภาพในการเลือก แตกเ็ ปนเสรีภาพภายใต เงื่อนไขที่กำ�กับอยูชุดหนึ่ง กลาวคือไขฟองแรก เลือก

ในสถานการณที่ผูคนตองการสุขภาพชีวิตที่ดี รวมทั้ง การคา การแขงขัน และการสะสมทุนมีบทบาทนอย ในขณะทีไ่ ขฟองทีส่ องเลือกภายใตเงือ่ นไขทีต่ อ งแสวงหา รายได การสะสมทุนเพื่อความเจริญเติบโต ความมั่งคั่ง ทางเศรษฐกิจเปนเปาหมาย ซึ่งไขฟองที่สองจึงสะทอน ทิศทางการพัฒนาประเทศตลอดกวา 50 ปที่ผานมา ซึ่งเนนการเปดกวางใหกับการเขามาของการคาและ การแลกเปลี่ยน การแบงงานกันทำ�ตามความชำ�นาญ เฉพาะอยาง โดยเฉพาะการเปดการคาอยางเขมขนผาน กลไก มาตรการของรัฐ และบรรษัทขามชาติ ซึ่งสราง ภาพใหเขาใจวาการเติบโตของตัวเลขรายไดประชาชาติ เหลานี้คือเปาหมายของการเติบโตทางเศรษฐกิจของ ประเทศ การให ค วามสำ � คั ญ กั บ การเจริ ญ เติ บ โตทาง เศรษฐกิจเปนดานหลัก และดานอื่นๆ เปนดานรองนั้น มีขอ คำ�ถามมากมาย ตัวอยางเชน สติกลิตซ และทีมงาน (2010) ไดเสนอใหจดั การกับความบกพรองบางอยางของ จีดีพี โดยเพิ่มมุมมองของครัวเรือน ใหความสนใจกับ กิจกรรมทางเศรษฐกิจสวนหนึ่งที่เกิดขึ้นนอกตลาด มี การบริการจำ�นวนมากทีค่ รัวเรือนผลิตใหแกตวั เองไมได ถูกคำ�นวณไวในการวัดรายไดและการผลิตอยางเปน ทางการ ทั้งๆ ที่บริการเหลานี้ถือเปนแงมุมสำ�คัญของ กิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ เช น กั น เช น เดี ย วกั บ มู ล นิ ธิ เศรษฐศาสตรแนวใหม (New Economics Foundation 2009) 3 ไดนำ�เสนอการวัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มี

__________________ 3 มูลนิธิเศรษฐศาสตรแนวใหม เปนกลุมนักคิด นักปฏิบัติที่ตรวจสอบ และนำ�เสนอ เศรษฐกิจที่เกี่ยวของชีวิตจริง โดยมีจุด มุงหมายเพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิต ดวยการคิดคนนวตกรรมใหมๆ ในการแกปญหาซึ่งทาทายเศรษฐศาสตรกระแสหลัก ทาทายปญหา สิ่งแวดลอม และประเด็นทางสังคม มูลนิธิทำ�งานในลักษณะภาคีเครือขาย และคำ�นึงถึงประชาชนและความอยูรอดของโลกเปนสำ�คัญ มูลนิธิเกิดขึ้นจากผูนำ�การประชุมสุดยอดวาดวยเศรษฐกิจแนวใหม (The other Economic Summit-TOES) ซึ่งหยิบยกประเด็นการ แกปญหาหนี้สินระหวางประเทศเปนวาระการประชุมของกลุมประเทศ G 7 และ G 8 (G8 มีประเทศสมาชิก 8 ประเทศคือ แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมัน รัสเซีย อิตาลี ญี่ปุน สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา) การทำ�งานของมูลนิธิฯ มุงนำ�เสนอเชิงนโยบายจาก ประสบการณการแกปญหาในเชิงปฏิบัติที่ไดผล โดยเฉพาะจากประชาชนในทองถิ่น รวมถึงสรางวิธีการใหมๆ ในการวัดความกาวหนา ของการยกระดับความอยุดีกินดี และความยั่งยืนของสิ่งแวดลอม มูลนิธิฯ ทำ�งานรวมกับสวนตางๆ ของสังคมในประเทศอังกฤษ และ ประชาคมประเทศตางๆ ทั่วโลก ทั้งในภาคประชาชน ภาครัฐ ภาคธุรกิจ และนักวิชาการ เพื่อสรางความเขาใจและยุทธศาสตรในการ เปลี่ยนแปลงมูลนิธิฯมีบทบาทโดดเดนในชวงป ค.ศ.1992-2003 และในเดือนกรกฎาคม 2006 มูลนิธิฯ ไดเสนอดัชนีความสุข (Happy Planet Index) เพื่อจะทาทายบรรดาดัชนีตางๆ ที่วัดความสำ�เร็จทางเศรษฐกิจ เชน ผลผลิตมวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product - GDP) ดัชนีวัดการพัฒนามุนษย (Human Development Index – HDI) รายละเอียดสืบคนที่ http://www.neweconomics.org/

134


ตลาดสด : การสรางเศรษฐกิจชาติในเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม สุวิดา ธรรมมณีวงศ

เปาหมายทีม่ ากกวาตัวเลขรายไดประชาชาติ แตมงุ เนน การเติบโตจากเศรษฐกิจภายใน ผนวกรวมเศรษฐกิจ คนเล็ก คนนอย เศรษฐกิจทีไ่ มเปนทางการ ภาคครัวเรือน และขนาดเล็กระดับทองถิน่ รวมถึงเปนเศรษฐกิจทีค่ ำ�นึง ถึงระบบนิเวศ ซึ่งเศรษฐศาสตรกระแสหลักมองขามไป เสกสรรค ประเสริฐกุล (2552) กลาววา การใหจดี พี ี มีบทบาทในดานหลัก ในขณะดานอื่นๆ เปนดานรอง หรือที่เรียกวาลัทธิบูชาจีดีพี หรือลัทธิเศรษฐศาสน ก็คือ การยึดถือการเติบโตทางเศรษฐกิจและผลประโยชนทาง เศรษฐกิจเปนจุดหมายสูงสุดของการขับเคลื่อนสังคม และกิจกรรมชีวิต โดยกำ�หนดใหดานอื่นๆเปนเพียง ด า นรอง ถื อ เป น วาทกรรมที่ ถู ก ผลิ ต ซ้ำ � แล ว ซ้ำ � เล า ทำ�ใหขาดสมดุลระหวางเศรษฐกิจและดานอื่นๆ ทั้ง ที่ จี ดี พี เ ติ บ โตอาจมี คำ � ถามถึ ง คุ ณ ค า ที่ แ ตกต า งกั น ดังกรณี ครอบครัวซาเลงจำ�นวน 6 คนบริโภคไข 3 ฟอง กับเศรษฐีนีวัยกลางคนซื้อไข 12 ฟอง มาทาหนา ทาสะโพก ทั้ ง สองกรณี อ าจมี มู ล ค า ไม เ ท า กั น แต คุณ คาสองกรณีนี้แตกตางกันดานคุณคา การเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจ จึงมิไดหมายถึงความเจริญทาง สังคมเสมอไป การยึดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ จึงไปหักลางคุณคาอื่นๆ เชน มิตรภาพ น้ำ�ใจ ความ เมตตากรุ ณ า ตลอดจนความสงบสั น ติ ท างด า นจิ ต วิญญาณ ประเพณี พิธีกรรม หรือคุณคาของกลไกเชิง สถาบัน เปนตน นักวิชาการเศรษฐศาสตรบางทานเชือ่ วา เศรษฐศาสตรกระแสหลักกำ�ลังสัน่ คลอน ขาดความเขาใจ มนุษยอยางครบถวนรอบดาน เศรษฐศาสตรกระแส หลักแยกเรื่องการใหคุณคาออกจากการศึกษาซึ่งเปน แนวทางของเศรษฐศาสตรทฤษฎี (Positive economics) (อภิชัย พันธเสน 2544 : 472-473) 4

กลาวโดยสรุป การมุงเนนการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจเปนดานหลักของการพัฒนาจึงทำ�ใหมูลคา มีความสำ�คัญมากเกินไป จนไปลด หรือบดบังคุณคา หลายๆ สวนของสังคม นิพนธ พัวพงศกร และคณะ (2552) ไดตั้ง ขอสังเกตวา การมุงความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เปนดานหลัก ไดกอใหเกิดปญหาชองวางการกระจาย รายไดเหลื่อมล้ำ�สูงขึ้น และยังพบการกระจุกตัวของ ทรัพยสินมีมากกวาการกระจุกตัวของรายได ซึ่งการ กระจุกตัวของทรัพยสินไดทำ�ใหเกิดการกระจุกตัวของ การเมือง อำ�นาจ และความขัดแยงทางการเมือง ผลคือ ประชาธิปไตยขาดเสถียรภาพ นอกจากนีป้ ญ  หาชองวาง การกระจายรายไดที่สูงขึ้นนั้น ก็เกิดจากบทบาทของรัฐ ที่ซ้ำ�เติมความเหลื่อมล้ำ�ผานนโยบาย มาตรการภาษี กลาวคือ ในประเทศกำ�ลังพัฒนาที่ปกครองดวยระบบ ประชาธิปไตย รัฐมักเปนตัวแทนของกลุมธุรกิจขนาด ใหญ เชน การผูกขาดในธุรกิจสวนใหญเกิดจากอำ�นาจ รัฐ นโยบายและมาตรการของรัฐกอใหเกิดคาเชา (สิทธิ พิเศษ หรือประโยชนที่มิควรไดแกนักธุรกิจใหญบาง ราย และนักการเมือง) ชองทางของนักธุรกิจใหญใน การใชอำ�นาจการเมืองเพื่อประโยชนตอธุรกิจทางออม (นักธุรกิจสรางความสัมพันธกับนักการเมืองดวยวิธี ตางๆ) และทางตรง (นักธุรกิจรายใหญเขาสูอำ�นาจ การเมืองโดยตรง) นอกจากนี้ โครงสรางภาษี และการ ใชจายของรัฐไมมีสวนชวยลดการกระจุกตัวของรายได และทรัพยสิน แม นิพนธ พัวพงศกร และคณะ (2552) จะ กลาววา นโยบายรัฐมีสวนซ้ำ�เติมความแตกตางของ รายไดผานนโยบาย และมาตรการภาษี แตเสกสรรค

__________________ 4 เศรษฐศาสตรทฤษฎี (positive economics) เรียกอีกชื่อหนึ่งวา เศรษฐศาสตรวิเคราะห มีวัตถุประสงคเพื่อแสวงหาความ รูความเขาใจในปรากฏการณตางๆ ทางเศรษฐกิจที่ถูกตองตามความเปนจริง ไมเกี่ยวของกับการตัดสินคุณคา (value judgment) ซึ่ง แตกตางจากเศรษฐศาสตรนโยบาย (normative economics) ที่มีวัตถุประสงคเพื่อควบคุมดูแลภาวการณทางเศรษฐกิจใหเปนไปตาม ที่ตองการ เปนวิธีการที่มุงแกปญหาหรือปรับปรุงสภาพเศรษฐกิจ โดยมีการตั้งเปาหมายและแสวงหาวิธีการที่จะบรรลุเปาหมายนั้นๆ เศรษฐศาสตรนโยบายจึงเกี่ยวของกับการตัดสินคุณคา รายละเอียดศึกษาไดจากวันรักษ มิ่งมณีนาคิน (2534)

135


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ประเสริฐกุล (2552) กลับเห็นวา ปญหาการกระจายราย ไดที่มากขึ้น มิใชเกิดจากนโยบายรัฐเทานั้น แตเกิดจาก สังคมมีการผลิตซ้�ำ อวิชชาเชิงโครงสรางผานนโยบายรัฐ หรือสถาบันตางๆ ดวย เชน กฎหมาย สถาบันศึกษา สื่อมวลชน ปญหาความเหลื่อมล้ำ�ทางเศรษฐกิจหรือการ กระจายรายได จึงเปนปญหาที่สังคมเลือก และหยิบ ยื่นผานกลไกเชิงสถาบันนอกเหนือจากกลไกรัฐ ซึ่งทั้ง หมดเปนเพื่อใหทำ�งานตามลัทธิบูชาจีดีพี ที่เสกสรรค เรียกวาเปนอวิชชาเชิงโครงสราง ดังนั้น กระบวนการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่มุงจีดีพีเปนเปาหมายจึง ทำ�ใหกลไกเชิงสถาบันตอกย้ำ� หรือสงเสริมการยึดจีดีพี เปนเปาหมายมากขึ้น อยางไรก็ตามในความคิดเห็น ของผูเขียนเห็นวา กลไกเชิงสถาบันเหลานี้ไมไดทำ� หนาที่ของตนเองอยางสมบูรณ หรือทำ�หนาที่บกพรอง ทำ�ใหปญหาความเลื่อมล้ำ�และการกระจายรายไดเกิด มากขึ้น ดังนั้น คุณคาของกลไกเชิงสถาบันที่มีอยูเดิม จึงหายไป การสนับสนุนใหกลไกราคาทำ�งานอยางเสรีเปน แนวคิดเบือ้ งหลังของการพัฒนาของไทยอีกประการหนึง่ เพราะเชื่อวาการใหเอกชนดำ�เนินการผลิต การแขงขัน จะกอใหประสิทธิภาพ และผูบ ริโภคจะไดประโยชน แต ตลอดกวาหาทศวรรษทีผ่ า นมาไดชใี้ หเห็นวา การพัฒนา เศรษฐกิจที่เชื่อในประสิทธิภาพของกลไกราคา ไมเกิด

ขึ้นจริง เพราะขนาดของทุนกลายเปนขอไดเปรียบใน การแขงขัน และเมื่อรัฐสงเสริมทุนขนาดใหญใหแขงขัน กับรายเล็กรายนอยในกิจการประเภทเดียวกัน รายเล็ก รายน อ ยย อ มหายไปจากระบบเศรษฐกิ จ ทำ � ให การผลิต การคาจึงดำ�เนินไปบนกลุมทุนขนาดใหญ และในระยะยาวก อ ให เ กิ ด การผู ก ขาดการผลิ ต และ การคา ดังตัวอยางการคาในตลาดสด โชหวย 5 เปรียบเทียบ กับหางคาปลีกขนาดใหญ ซึ่งจะกลาวในรายละเอียด ตอไป เสรี ภ าพของกลไกราคา อั น เป น รากเหง า ที่ ทำ�ใหเกิดความแตกตางในสังคมไทยนี้ ถือเปนโลกทัศน ในการมองโลกและชีวติ ผิดไปจากความจริง ซึง่ เสกสรรค ถือวาเปนความมืดทึบทางปญญา หรือเปนชีวิตที่ถูก ชี้นำ�ดวยอวิชชา (Ignorance) รังสรรค ธนะพรพันธุ (2538 : 111-150) เห็นวา ความขัดแยงในสังคมเศรษฐกิจไทย สวนหนึง่ โดยพืน้ ฐาน แลว เปนความขัดแยงในประเด็นเรื่องยุทธศาสตรของ การพัฒนา เพราะชนชั้นปกครองไทยผลักดันใหสังคม เศรษฐกิ จ ไทยเดิ น บนเส น ทาง “โลกานุ วั ต รพั ฒ นา (Washington Consensus) 6 เปนการเปลี่ยนแปลง นโยบายเศรษฐกิจไปตามแนวทางเสรีนิยม หรือเรียกวา ยุทธศาสตรการพัฒนาแบบเปด (Outward Orientation) ซึ่งเปดเสรีทางเศรษฐกิจ (Liberalization) การรักษา เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (Stabilization) การถาย

__________________ 5 คำ�วาโชหวย เดิมเรียกวา โชวหวย แยกศัพทไดวา โชว กับหวย คำ�วา โชว แปลวาหยาบ คำ�วา หวย แปลวาสินคา รวม ความแลวแปลวา สินคาหยาบๆ ความหมายดังกลาวเปนความหมายที่ใชกันในอดีตวา หมายถึงสินคาประเภทอาหารแหงที่จำ�หนายตา มรานคา ซึ่งมักจะเปนสินคาประเภทขาวสาร น้ำ�ตาล น้ำ�มันพืช หอม กระเทียม ขนมปงปบ ขนมปงกรอบ ถานสำ�หรับติดไฟ ฯลฯ สำ�หรับ สินคาที่เปนของใชในชีวิตประจำ�วันประเภทสำ�เร็จรูป จะมีจำ�หนายในรานที่เรียกวา เอี่ยจั๊บ (หากคนพื้นเมืองแตจิ๋วจะเรียกสินคาประเภท นี้วาตกเกี้ย) คำ�วาเอี่ยแปลวาของนอก คำ�วาจั๊บ แปลวา หลากหลาย รวมความแลวคือสินคาของนอกที่มีหลากหลาย ดังนั้น รานที่จำ� หนายสินคาประเภทนี้จะมีบางสวนที่มาจากตางประเทศ หรือสินคาที่ไมสามารถผลิตไดในทองถิ่น สินคาที่จำ�หนายไดแก สบู ยาสีฟน หวี ยาสระผม ผาขนหนู ผาเช็ดหนา น้ำ�หอม ฯลฯ สิ่งเหลานี้ไดผานกระบวนการผลิตในระบบโรงงานและซับซอนกวาสินคาประเภทโชวหวย ในอดีตรานที่จำ�หนายสินคาประเภทโชวหวย กับเอี่ยจั๊บจะแยกกัน หากขายทั้งสองประเภท จะจัดวางสินคาแยกกันอยางชัดเจน ปจจุบัน สภาพสังคมเปลี่ยนไป ในรานหนึ่งๆ จำ�หนายสินคาเหลานี้วางปะปนกันไป และเรียกรวมวา โชวหวย ทำ�ใหความหมายเดิมหายไป 6 ในทางเศรษฐศาสตรเรียกวา Outward Orientation หรือยุทธศาสตรการพัฒนาแบบเปด เปนการเปลี่ยนแปลงนโยบาย เศรษฐกิจไปตามแนวทางเสรีนิยมคือหมายถึงการเปดประตูการคาเสรีในสินคา บริการ และเปดเสรีทางการเงิน (รังสรรค ธนะพรพันธุ, 2538: 132-134)

136


ตลาดสด : การสรางเศรษฐกิจชาติในเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม สุวิดา ธรรมมณีวงศ

โอนการผลิ ต ไปสูภ าคเอกชน (Privatization) และ การลดการกำ�กับ การลดการควบคุม (Deregulation) ยุทธศาสตรโลกานุวัตรพัฒนาเปนยุทธศาสตรทตี่ อ งการ ประโยชนจากกระบวนการโลกานุวัตร ระบบเศรษฐกิจ จะไดประโยชนจากกระบวนการโลกานุวัตรก็ตอเมื่อ ระบบเศรษฐกิ จ เชื่ อ มสั ม พั น ธ กั บ ระบบทุ น นิ ย มโลก แตวาในชนบทมีกลุมชนในภูมิภาคตางๆ เลือกเสนทาง “ชุมชนทองถิ่นพัฒนา” หรือ Bangkok Consensus แนวทางดังกลาวไมตองการใหการผลิตยึดหลักความ ชำ�นาญพิเ ศษ หรือความไดเปรียบเชิงเปรี ย บเทีย บ ไมไดมีปรัชญาในการพัฒนาที่เนนเรื่องการอยูดีกินดี แตเนนเรื่องการอยูพอดีกินพอดี เนนเรื่องการกระจาย ความเสีย่ งของครัวเรือนเกษตร ความไมสามารถจัดการ กับกระบวนการโลกานุวัตรเปนปญหาใหญ เพราะจะ ทำ�ใหสังคมไมสามารถเดินบนเสนทางนี้ตอไปได และ ภายใตการกำ�หนดนโยบายและการเมืองที่เปนอยูนั้น เปนเรื่องยากที่จะหลีกเลี่ยงปญหาความขัดแยงที่จะเกิด ขึ้น (ผูเขียนเห็นวาขอเสนอของรังสรรค ธนะพรพันธุมี ความเปนจริงสูงขึ้น เพราะไดปรากฏแลววาการปะทะ นั้นเกิดขึ้นแลวและรุนแรงมากขึ้น หากสังคมไมกำ�หนด แนวนโยบายใหชัดเจน เพื่อใหประชาชนมีสวนรวมมาก ขึ้น ปรากฏการณความขัดแยงที่เกิดขึ้นในสองสามปที่ ผานมา สังคมกลับไมสรางกระบวนการเรียนรูเหตุแหง ความขัดแยงใหกับคนในสังคม แตกลับชูประเด็นความ รุนแรง ใครสรางความรุนแรง นำ�ผูไดรับความรุนแรงมา ขยายภาพ ฯลฯ โดยไมมงุ ประเด็นเหตุแหงความขัดแยง ความขัดแยงจึงคงดำ�รงอยู) กลาวไดวา ทิศทางการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ตองทบทวนใหม ใหเศรษฐกิจเติบโตอยางมีคุณภาพ

เป น การเติ บ โตที่ ผ นวกรวมเศรษฐกิ จ ของกลุ  ม คน จำ�นวนมาก แทนที่จะเปนคนจำ�นวนนอย ซึ่งการเติบ โตอยางมีคุณภาพตองคำ�นึงถึงเศรษฐกิจในมิติอื่นนอก เหนือจากเศรษฐกิจแบบตลาด เศรษฐกิจในลักษณะ ดังกลาวอาจรวมเรียกกวาเศรษฐกิจของประชาชนใน ชาติ มิใชเศรษฐกิจชาติ โดยเพิ่มสิ่งที่ขาดหายไปใน กระบวนการพัฒนาตามลัทธิบูชาจีดีพีนั่นคือ ความ สามารถในการเข า ถึ ง เสรี ใ นการประกอบอาชี พ อยางเทาเทียม หรือเพิ่มพื้นที่สำ�หรับเศรษฐกิจของ ประชาชน 3. ทางเลือกในการพัฒนาเพื่อสรางเสรีภาพในการ ดำ�รงชีพของประชาชน นักสังคมวิทยาตามแนวคิดหนาที่นิยม (สนิท สมัครการ 2540 : 1-11) ไดเทียบเคียงสังคมเหมือ นกับรางกายมนุษยวา สังคมประกอบดวยระบบยอยๆ ตางๆ แตละระบบ 7 ตางประสานการทำ�งานรวมกันเพื่อ เปาหมายเดียวกันคือเพื่อใหสังคมอยูไดยาวนานกวา มนุษยคนใดคนหนึ่ง ดังนั้นสังคมจำ�เปนตองสรางระบบ ยอยตางๆ ขึ้นเพื่อใหสังคม/ชุมชนสามารถเลี้ยงตนเอง ได (A self - sufficient of action) ตองมีวิธีการในการ จัดการ การควบคุมประชากรใหอยูรอดปลอดภัย ดวย วิธีการตางๆ อาจจะตองคิดคนเทคโนโลยี การแพทย หรือการรณรงคใหความรูแกคนในสังคม หรืออบรมขัด เกลาใหสมาชิกสืบทอดแบบแผนประเพณีในสังคม/ชุม ชนนั้นๆ อาจตองจัดหาสมาชิกใหมทดแทนสมาชิกเกา (ไมวาสมาชิกเกาจะถึงแกกรรมกอนวัยอันควร หรือถูก คุกคามจากภายนอกทำ�ใหเกิดบาดเจ็บ ลมตาย หรือการ อพยพของประชากร) ดวยวิธีการตางๆ เชน สรางแรง

__________________ ไดแก การสรางประชากร (Reproduction) การอบรมขัดเกลาและพัฒนาสมาชิก (Socialization) การทำ�หนาที่ในดาน เศรษฐกิจ (Economic functions) การรักษาความสงบเรียบรอยใหแกสมาชิกในสังคม (Orderfunctions) และหนาที่พื้นฐานประการ สุดทายคือ บำ�รุงขวัญและกำ�ลังใจใหกับสมาชิกในสังคม (Morality and Psychological Aspect) การทำ�หนาที่ทางเศรษฐกิจมีนัยยะวา สังคมหนึ่งๆ จะตองสรางเศรษฐกิจใหคนในชุมชนมีผลผลิตเพียงพอตอการดำ�รงชีพ หากมีจำ�นวนมาก ชุมชนก็มีวิธีการในการนำ�สวนเกิน ไปแปรเปลี่ยนเปนทรัพยากรอื่นๆ เชน แปรรูปผลผลิต การแลกเปลี่ยนกับตางชุมชน การคาขาย หรือการแจกจายแกผูดอยโอกาสในชุมชน /สังคม การสรางเศรษฐกิจชาติ มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งกิจกรรมที่แสวงหากำ�ไรและไมแสวงหากำ�ไร ซึ่งรวมเรียกกวาเศรษฐกิจชาติ

7

137


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

จูงใจใหเพิ่มสมาชิกใหม ดังนั้น สังคม/ชุมชนจำ�ตองทำ� หนาทีห่ ลายๆ สวนเพือ่ ใหระบบสังคมอยูร อดได “ระบบ สังคม” (Social System) จึงดำ�รงอยูไ ดนานกวาอายุของ มนุษยคนใดคนหนึง่ แมวา คนรุน เกาจะสูญหายไป ดังนัน้ ระบบสังคมจะประกอบดวยสวนตางๆ ทำ�หนาทีป่ ระสาน กันใหชีวิตดำ�เนินตอไปได แตละสังคม/ชุมชนมีลักษณะ สำ�คัญ 4 ประการที่แตกตางจากสังคม/ชุมชนอื่น คือ 1.) มีอาณาเขตตางๆ ที่ชัดเจน (Boundaries) ซึ่งจะ ทำ�ใหแยกความแตกตางจากสังคม/ชุมชนอื่นๆ 2.) มี ความสัมพันธระหวางสวนตางๆ (Interrelationships) ภายในสังคม/ชุมชน 3.) มีระบบยอยๆ ทำ�หนาที่ตางๆ ตามทีก่ �ำ หนดไว (Function) เพือ่ ใหแตละสวนมีกจิ กรรม และความสัมพันธตอกัน 4.) มีการประสานการทำ�งาน อยางสอดคลองกลมกลืน (Unity) เพือ่ มุง สูเ ปาหมายสวน รวมในสังคม/ชุมชน (Olsen 1991 : 39-40) จากการเปรียบเทียบสังคมมนุษยเหมือนสิ่งมี ชีวิต และการกลาวถึงลักษณะของระบบสังคมขางตน หากประยุกตใชแนวคิดดังกลาวเพื่ออธิบายรัฐในฐานะ เปนระบบยอยในสังคม จะสามารถอธิบายไดวา รัฐใน สังคมหนึ่งๆ เปนระบบกระทำ�การระบบหนึ่งในสังคม มีหนาที่ตัดสินใจโดยคำ�นึงถึงความตองการของบุคคล และสังคมโดยรวม บางสังคมเนนรูปแบบรัฐสวัสดิการ บางสังคมจะเนนเสรีภาพในการถือครองทรัพยสิน รัฐ จะแทรกแซงนอย หากผูบริโภค มีเหตุผล ผูผลิตมี ประสิ ท ธิ ภ าพในการผลิ ต มี จ ริ ย ธรรมในการดำ � เนิ น ธุรกิจ นอกจากนี้ ในสังคมแตละสังคมมีการดำ�เนินการ ทางเศรษฐกิจหลายรูปแบบ เชน บางสังคมเนนระบบ เศรษฐกิจทีใ่ ชกลไกตลาด (Market-Directed Economic System) บางสังคมอาจเนนระบบเศรษฐกิจที่มีการวาง แผนจากสวนกลาง (Command-Directed Economic System) หรือบางสังคมอาจใหความสำ�คัญกับระบบ เศรษฐกิจที่กำ�หนดจากประเพณี (Traditional-Directed Economic System) ตัวอยางระบบเศรษฐกิจทั้ง 3 รูป แบบ จึงแตกตางกันในการผลิต (Production) การบริโภค (Consumption) การจำ�หนาย (Distribution) นั่นคือ จะ ผลิตอะไร จำ�นวนเทาใด จะผลิตอยางไร และใครควรผลิต ผลผลิตที่เกิดขึ้นจะจัดสรรอยางไร เพื่อตอบสนองความ ตองการของสังคมไดอยางทั่วถึงเปนธรรม (McGann,

138

Marguardt & Routson 1979 : 15-35) ดังนั้น การทำ� หนาที่ตามบทบาทของรัฐจึงตองคำ�นึงถึงความแตกตาง กับระบบเศรษฐกิจแตละรูปแบบในสังคม เชนเดียวกับ ชัยอนันต สมุทวณิช ประธาน สถาบั น นโยบายศึ ก ษา (ศู น ย ข  อ มู ล ข า วสารปฏิ รู ป ประเทศไทย 2009 ; สถาบันนโยบายศึกษา 2546) ไดเคยกลาวไววา สังคมไทยมีความแตกตางทีเ่ ปาหมาย อุดมการณในการดำ�รงอยูใ นสังคม และแตละอุดมการณ ตองการยุทธศาสตรการพัฒนาแตกตางกัน ทั้งในดาน การจัดการศึกษา รวมถึงพรรคการเมืองที่หลากหลาย โดยเสนอวาสังคมไทยเปนสังคม 4 ฐาน คือ 1.) ฐาน ของผูดอยโอกาส อยูหางไกล ยากจนมากๆ ประมาณ 10 ลานคน 2.) สังคมแหงการพอเพียงที่มีที่ดินอาชีพ ในการอยูอยางพอเพียง ไมมีการสั่งสม 3.) สังคม ฐานานุภาพ เปนสังคมของคุณวุฒิ ที่ไมมีคุณภาพ และ 4.) สังคมแหงการแขงขันเพือ่ คากำ�ไรอยูย อดบนสุด เปน สังคมที่เชื่อมโยงกับสังคมโลกเรียบรอยแลวโดยวิถีชีวิต ทุกอยาง ซึ่งสังคมแตละฐานตองการพรรคการเมือง แบบหลายพรรค ตองการการจัดการศึกษาที่แตกตาง กั น ชั ย อนั น ต เ ห็ น ว า การเคลื่ อ นไหวทางสั ง คมและ ขับเคลื่อนมีความจำ�เปนและเกิด 2 แนวทางใหมเกิดขึ้น ซึ่งมีลักษณะทางอุดมการณออ นกวาแนวทางปฏิบตั ิ คือ กระแสโลกานุวัตรนิยม หรือโลกภิวัตน อาจจะสุดกู หรือ ไมสุดกูก็ได อีกแนวทางคือ แนวทางชุมชนที่อาจเสนอ ระบบเศรษฐกิจชนบท ซึ่งการเคลื่อนไหว 2 แนวทางนี้ ยังไมลงตัว ขอเสนอของชัยอนันตจึงสะทอนการวาง กลยุทธที่ดีตองสอดคลองกับความตองการของสังคม แตละฐานซึ่งมีความตองการแตกตาง โดยเฉพาะการ ขับเคลือ่ นสังคมไทยไปสูก ระแสโลกโดยไมละทิง้ แนวทาง ชุมชน และรัฐจึงมีสวนสำ�คัญในสนับสนุนใหเกิดสวนนี้ เสรี ลีลาลัย (2545 : 1-36) ไดเสนอใหสราง เศรษฐกิจชาติจากรากฐานเศรษฐกิจขนาดเล็กในระดับ ชุ ม ชน เรี ย กกว า เศรษฐกิ จ ชุ ม ชน เพราะที่ ผ  า นมา ไดพิสูจนแลววา เศรษฐกิจชุมชนมีปรัชญา เปาหมาย เพือ่ ประชาชนโดยรวม ลดทอนการขยายตัวของเศรษฐกิจ แบบทุนนิยมที่ทำ�ลายเศรษฐกิจรายยอยๆ ลงไปเรื่อย เศรษฐกิจชุมชนเปนการสงเสริมการผลิตจากภูมิปญญา ดำ�เนินงานบนฐาน “ทุนของชุมชน” และทุนทางสังคม


ตลาดสด : การสรางเศรษฐกิจชาติในเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม สุวิดา ธรรมมณีวงศ

การนำ�ทุนของชุมชนมาใชเพื่อชุมชนเปนสุข กินอิ่ม นอนอุน คุณภาพชีวิตดี เอื้ออาทร โดยชุมชนรวมกัน กำ�หนดวา จะผลิตอะไร ผลิตอยางไร ผลิตเพื่อใคร ซึ่ง สอดคลองกับพอพันธ อุยยานนท (2546 : 208-216) ได เสนอวาสมัยใหมควรอยูบ นพืน้ ฐานของการดำ�รงอยูข อง เศรษฐกิจครัวเรือนและเศรษฐกิจชุมชน โดยการสงเสริม ผูป ระกอบการรายยอย เพราะเปนเศรษฐกิจทีม่ กี ารปรับ ตัว มีความยืดหยุนสูงทั้งในแงของการใชแรงงานและ เวลา เนนการใชแรงงานเขมขน (labor- intensive) เปน แรงงานในครัวเรือน เปนเศรษฐกิจของผูผลิตรายยอยที่ ไมไดมจี ติ ใจแสวงหากำ�ไรสูงสุด ใชเทคโนโลยีแบบงายๆ ขนาดของตลาดเล็ก ไมมีการผูกขาดตัดตอน ระบบ เศรษฐกิจเชนนี้เปนระบบเศรษฐกิจที่มี “เสถียรภาพ” ในทางสังคมดวย ใชทุนนอยแหลงเงินทุนมาจากญาติ พี่นอง พึ่งพาวัตถุดิบจากตลาดในทองถิ่น ซึ่งขอเสนอ ดังกลาวชี้ใหเห็นวาความสำ�คัญของการสรางเศรษฐกิจ จากชุมชนหรือระบบเศรษฐกิจในทองถิ่น และมีลักษณะ ใกลเคียงกับที่กาญจนา แกวเทพ (2535 : 22-23) เห็น วา นอกจากระบบเศรษฐกิจแบบตลาดแลว คนในสังคม บางสวนก็ท�ำ งานภายใตความเชื่อ อุดมการณของระบบ เศรษฐกิจแบบอืน่ เชน ระบบเศรษฐกิจทีแ่ บบพึง่ พาอาศัย กัน ซึง่ เนนมิตดิ า นศีลธรรม มิตดิ า นความสัมพันธระหวาง มนุษย ที่หายไปจากระบบเศรษฐกิจแบบตลาด หรือ ตรงกับสังคมแหงความพอเพียงที่ชัยอนันต ไดกลาว ไวขางตน การสงเสริมเศรษฐกิจตามแนวทางชุมชนนับวา เปนเรื่องใหม และขอเสนอที่ตรงกับกลุมเศรษฐศาสตร แนวใหม (New Economic Foundation : 2009) ที่เชื่อ ในแนวทางดังกลาว เพราะเห็นวาเปนเรื่องเกี่ยวของกับ มนุษยและความสัมพันธกบั สรรพสิง่ รอบตัว (Economics as if people and the planet mattered) เศรษฐศาสตร แนวใหม มี ค วามมุ  ง หวั ง ที่ จ ะเพิ่ ม ความอยู  ดี กิ น ดี ข อง มนุษยและสังคม และสงเสริมใหพลเมืองสามารถรวมกัน แกไขปญหาและกำ�หนดอนาคตของตนเอง ขอเสนอของฉัตรทิพย นาถสุภา (2548 : 123-124) เปนขอเสนอที่สอดคลองกับการสงเสริมเศรษฐกิจตาม แนวทางชุมชน กลาวคือ ฉัตรทิพย ไดเสนอใหพิจารณา เขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม เปนแนวคิดเริ่มตนในการ

สรางเศรษฐกิจชาติ โดยกลาววา เศรษฐกิจชาติทแี่ ทจริง นั้นควรเปนการประกอบกันขึ้นของเขตเศรษฐกิจและ วัฒนธรรม และจะทำ�ใหเศรษฐกิจชาติมีความเขมแข็ง นอกจากนี้ ยังเห็นวาการศึกษาของประเทศที่ผานมา มักละเลยการทำ�ความเขาใจและเห็นคุณคาเขตชนบท ละเลยชีวิตและพลังงานของผูคนจำ�นวนมาก ในขณะที่ การศึกษาเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรมจะมีความ สำ�คัญหลายประการ กลาวคือประการแรก เปนการ มองแตละทองถิ่นมีวิถีชีวิตและเสนทางของตัวเอง เห็น พลังขับเคลื่อนและศักยภาพของทองถิ่น การศึกษาทาง วิชาการจึงจะสามารถชวยผลักดันการเปลีย่ นแปลง และ การพัฒนาประเทศไทย ประการทีส่ อง สังคมไทยประกอบ ดวยระบบทุนและระบบชุมชน ซึ่งระบบชุมชนประกอบ ดวยเศรษฐกิจแบบครอบครัวที่ใชแรงงาน สมาชิกของ ครัวเรือน เศรษฐกิจชุมชนและเครือขายเปนพืน้ ฐานของ สังคมและวัฒนธรรมไทย แตถกู ละเลย ทัง้ ทีร่ ะบบชุมชน ใหญกวาระบบทุน แตมนี กั วิชาการศึกษาและเขาใจนอย ประการทีส่ ามหนวยการผลิตของสังคมไทยคือครอบครัว เปาหมายเพื่อใหพอเพียงเลี้ยงครอบครัว มิใชเพื่อเก็ง กำ�ไร จะเนนการแลกเปลี่ยนอยางเขมขนภายในเครือ ญาติ และกิจกรรมทางเศรษฐกิจฝงตัวอยูในวัฒนธรรม มาชานาน แมระบบทุนนิยมจากภายนอกเขามาสถาปนา สถาบันทางเศรษฐกิจแบบใหม เบียดขับและครอบงำ� สถาบันแบบเกา แตกจิ กรรมทางเศรษฐกิจทุกสวนยังถูก กำ�กับดวยวัฒนธรรม เปนเศรษฐกิจทีป่ ระชาชนมีบทบาท การศึ ก ษาเขตเศรษฐกิ จ และวั ฒ นธรรมจะช ว ยฟ  น ฟู วัฒนธรรม ประการที่สี่เขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ประกอบกันเปนเศรษฐกิจชาติ และทำ�ใหมองเศรษฐกิจ ชาติในมุมมองใหม โดยพิจารณาการยึดโยงระหวาง เขตเศรษฐกิจตางๆ ดวยกัน เห็นความเปนประเทศชาติ จากการประกอบกันของเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม และการทำ � ความเข า ใจเขตเศรษฐกิ จ และวั ฒ นธรรม จะตองศึกษาความเชื่อมโยงของเขตฯ กับเขตอื่นใน ประเทศและบางเขตในประเทศอื่นในภูมิภาค ชวยให เห็นฐานะและบทบาทของทองถิ่นนั้นๆ ในกระบวนการ ประกอบขึ้นเปนชาติ และยกระดับวัฒนธรรมทองถิ่น หรือวัฒนธรรมชุมชนนั้นเปนวัฒนธรรมชาติ และเมื่อ วัฒนธรรมของชาวบานไดรับการยอมรับเปนแกนกลาง

139


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ของวัฒนธรรมแหงชาติ ประเทศชาติจึงจะเปนประเทศ ของชาวบานแทจริง ขอเสนอดังกลาวนับวาสอดคลองกับขอวิพากษ ของเสกสรรค ประเสริฐกุล (2552) ที่กลาววา ปญหา การพัฒนาที่ผานมา นักเศรษฐศาสตรมีสวนทำ�ใหการ ผลิตอวิชชาเชิงโครงสรางเกิดขึ้น เพราะไมมีพื้นที่ใหกับ คุณคา(Value judgment) และกลไกอื่นๆ ทำ�งานรวม กับกลไกตลาด ดังนั้นจึงเสนอใหเปดพื้นที่ใหกับคุณคา และกลไกเชิงสถาบันเขามารวมทำ�งาน นอกจากการ มองโลกแบบวัตถุวิสัย (Objective) ที่ผานมักใชการ คิดคำ�นวณเปนสำ�คัญ หรือการใชตรรถกะแบบนิรนัย (Deduction) ซึ่งยึดติดกับการตรวจสอบสถานการณที่ ควบคุ ม ตั ว แปรได รวมทั้ ง ให ใ ช วิ ธี ก ารแบบอุ ป นั ย (Induction) คือหากฎเกณฑทั่วไปจากความจริงที่เปน รู ป ธรรม เพราะสถานการณ ที่ เ ป น อยู  ใ นโลกมี มิ ติ หลากหลายและแปรเปลี่ยนอยูตลอดเวลา ฉัตรทิพย นาถสุภา (2548) เห็นวา ยุทธศาสตรการ สรางเศรษฐกิจชาติควรสงเสริมใหคนควา วิจัย เพื่อ สงเสริมสนับสนุนการสรางเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ใหมากขึ้น เพื่อประกอบกันเปนเศรษฐกิจชาติอยาง มั่นคงในระยะยาว การศึกษาเขตเศรษฐกิจที่เรียกวา เขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ที่ผานมามีคนจำ�นวนนอย ที่ศึกษา ซึ่งเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่ฉัตรทิพย กลาวถึงนั้น คือสังคมของผูคนในเขตพื้นทีหนึ่งซึ่งมี เอกลักษณทางวัฒนธรรมรวมกัน มีความเกี่ย วของ ปฏิสมั พันธภายในสูง อาจในแงภมู ศิ าสตร หรือเศรษฐกิจ การค า และการคมนาคม หรื อ การใช ภ าษาและ

นับถือศาสนาหนึ่งเดียวกัน หรือในทุกมิติที่กลาวมา ตัวอยางเชน เขตลุมน้ำ� เขตรอบอาวหรือทะเลสาบ เกาะๆ หนึ่ง เขตภาษาและศาสนาเดียวกัน เปนตน ประเทศชาติหนึง่ ๆ ยอมประกอบดวยเขตเชนนีห้ ลายเขต และไมจำ�เปนตองเปนเขตเดียวกันกับเขตการปกครอง ปจจัยที่ฝงลึกเปนรากของเศรษฐกิจและวัฒนธรรมคือ ภูมิศาสตร และวัฒนธรรม ดังนั้นผูเขียนเห็นวา ขอเสนอในแกไขปญหา ความเหลื่อมล้ำ�ของการกระจายรายได โดยสรางระบบ สวัสดิการพื้นฐาน ใหกลไกภาครัฐมีบทบาทนำ�ในการ แกไขผานมาตรการภาษี และคาใชจาย ตามที่นิพนธ พัวพงศกร และคณะ (2552) เสนอไวแลว นัน้ เปนขอเสนอ ตามแนวทางการพัฒนาบนแนวคิดเศรษฐกิจเสรีแบบ ผสม ที่สรางความมั่งคั่งของคนในชาติ พรอมกับความ เปนธรรมทางสังคมในดานเศรษฐกิจ จึงไมเพียงพอที่ จะสงเสริมการสรางเศรษฐกิจจากภาคประชาชน จาก ระบบชุมชน และการสรางคุณคาอื่นๆ ในสังคม ในหัวขอตอไปผูเขียนจึงพยายามนำ�ขอคนพบ จากการวิจัยเกี่ยวกับตลาดสดของผูเขียน 8 ซึ่งบงชี้ถึง คุณคา และความสำ�คัญของกิจกรรมดังกลาวในฐานะ เปนเศรษฐกิจของประชาชน รวมถึงสนับสนุนแนวคิด เขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของฉัตรทิพย นาถสุภา 4. ตลาดสด 9 : การสร า งเศรษฐกิ จ ชาติ ใ นเขต เศรษฐกิจและวัฒนธรรม อันที่จริงแลวแนวคิดเศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่ กลาวขางตน ดำ�รงอยูกับเศรษฐกิจไทยตลอดมาจนถึง

__________________ 8 การวิจัยเพื่อแสวงหาการมีสวนรวมของชุมชนในการพัฒนาตลาดในเขตเทศบาลนครนครปฐม. โดย สุวิดา ธรรมมณีวงศและ คณะ. 2549. 9 ตลาดตามความหมายในพระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กำ�หนดวา “เปนสถานที่ซึ่งปกติจัดไวใหผูคาใชเปนที่ชุมนุม เพื่อจำ�หนายสินคาประเภทสัตว เนื้อสัตว ผัก ผลไม หรืออาหารอันมีสภาพเปนของสด ประกอบหรือปรุงแลว หรือของเสียงาย ทั้งนี้ไมวา จะมีการจำ�หนายสินคาประเภทอื่นดวยหรือไมก็ตาม และหมายรวมถึงบริเวณซึ่งจัดไวใหผูคาใชเปนที่ชุมนุมเพื่อจำ�หนายสินคาประเภท ดังกลาวเปนประจำ�หรือเปนครั้งคราวหรือตามวันที่กำ�หนด” การนิยามตลาดยัง หมายถึงสถานที่ที่มีโครงสรางอาคารและไมมีโครงสราง อาคาร รวมถึงดำ�เนินการเปนประจำ�หรืออยางนอยสัปดาหละหนึง่ ครัง้ ดังนัน้ ตลาดสด และตลาดนัดทีเ่ กิดขึน้ ในภูมภิ าคตางๆ ของไทย จึงถือ เปน “ตลาด” ในความหมายทีบ่ ทความชิน้ นีก้ ลาวถึง

140


ตลาดสด : การสรางเศรษฐกิจชาติในเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม สุวิดา ธรรมมณีวงศ

ปจจุบัน แมจะขาดการสงเสริมสนับสนุนจากรัฐอยาง จริงจัง ซึ่งเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรมตั้งอยูจุดเนน แตกตางกัน แตเชื่อมโยงกัน ไดแก เขตเศรษฐกิจและ วัฒนธรรมบนอุดมการณการพึง่ ตนเอง และเขตเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมบนฐานการแขงขันและการพึง่ พาอาศัยกัน ของธุรกิจรายเล็ก กลาวคือ 1) เขตเศรษฐกิ จ และวั ฒ นธรรมบน อุดมการณการพึ่งตนเอง กรณีตวั อยางเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรมในอดีต เชนการศึกษาของพรพิไล เลิศวิชา (2543) ทีน่ �ำ เสนอการ ยึดโยงของระบบนิเวศในลุมน้ำ�ไชยา พุมเรียง ในอดีต บนฐานภูมินิเวศเดียวกัน กลาวคือทั้ง 5 ชุมชนมีระบบ นิเวศแตกตางกัน 5 ระบบนิเวศ และแตละระบบนิเวศมี ระบบการผลิตที่มีลักษณะเฉพาะ ไดแก พื้นที่ปาตนน้ำ� พื้นที่ราบลุม พื้นที่ชายฝงทะเล และพื้นที่รอยตอของ แตละระบบนิเวศ คือรอยตอระหวางพืน้ ทีต่ น น้�ำ กับพืน้ ที่ ราบลุม และรอยตอระหวางพื้นที่ราบลุมกับพื้นที่ชายฝง ทะเล ทั้ง 5 พื้นที่นี้ แมมีลักษณะเดนเฉพาะของตนเอง กลาวคือมีการพึง่ พาอาศัยซึง่ กันอยูส งู มีความมัน่ คงของ ระบบนิเวศหนึ่งขึ้นตอระบบนิเวศขางเคียง พรพิไล ได ชีใ้ หเห็นวาชุมชนลุม น้�ำ ไชยาในอดีต เศรษฐกิจของคนใน ลุมน้ำ�มิไดขึ้นตอตลาดภายนอกและไมเห็นความจำ�เปน ของการผลิตสูตลาด แตใหความสำ�คัญกับความมั่นคง ในการผลิตเพื่อบริโภคและความสามารถพัฒนาการ พึ่ ง ตนเองผ า นการแลกเปลี่ ย นกั บ ชุ ม ชนต า งพื้ น ที่ ซึ่งเศรษฐกิจที่อยูบนฐานการพึ่งพากันระหวางระบบ นิเวศแตละระบบไดกอรูปขึ้นเปนเศรษฐกิจลุมน้ำ�ไชยา ตอเมื่อระบบทุนนิยมจากภายนอกเขามา ทำ�ใหความ สัมพันธดังกลาวไดรับผลกระทบ ตัวอยางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมในปจจุบันที่ สะทอนการยึดโยงผานอุดมการณ ความเชื่อ ถักทอเปน เครือขายโยงใยขามภูมภิ าค และยังเชือ่ มโยงกับภายนอก ประเทศคือ เครือขายชาวอโศก การดำ�เนินกิจกรรมของ ชุมชนปฐมอโศกไดสะทอนแนวคิดและเปาหมายของ เศรษฐกิจเพือ่ ประชาชนชาวอโศกและเครือขาย เรียกวา เศรษฐกิจแบบสาธารณโภคี กลาวคือ ชุมชนปฐมอโศก เปนหนึ่งในเครือขายชาวอโศกที่เกิดขึ้นทั่วประเทศมี หลักธรรมทางพุทธศาสนาเปนเครื่องยึดเหนี่ยว สมณะ

โพธิรักษ หรือชาวอโศกเรียกวาพอทาน คือผูนำ�ทาง ศาสนาของชาวอโศกไดประยุกตแนวคิดพุทธศาสนามา อธิบายเรือ่ ง สาธารณโภคี โดยชี้ใหเห็นวาเปนเศรษฐกิจ ชนิดใหม ซึง่ สาธารณโภคีหมายถึงระบบสังคมแบบหนึง่ ที่เกิดขึ้นมาในสังคมโลกและระบบนี้มีความเปนอยูตาม ที่พระพุทธเจาตรัสไวในหลักสาราณียธรรม 6 สาธารณ โภคีคือการบริโภคเปนสาธารณะหมายความวา การมี ลาภที่ไดมาโดยธรรม ตางก็นำ�มารวมกันบริโภครวมกัน ไมสะสมเปนของสวนตัว ระบบสาธารณโภคีสื่อใหเห็น ความเปนสวนกลาง แทนการยึดถือทรัพยากรแบบ เปนปจเจกในระบบเศรษฐศาสตรทนุ นิยมทีก่ �ำ ลังเกิดขึน้ ทั่ ว โลกในขณะนี้ และสาธารณโภคี เ กิ ด ในชุ ม ชนได ไมใชเกิดไดแตในหมูนักบวช ในสาธารณโภคีจะอยู รวมกันอยางเปนหมูกลุม ชุมชนที่มีเมตตาจริงๆ มี ความรัก ความเคารพ ความชวยเหลือเกื้อกุล ความ พรอมเพรียงและความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือ เอกภาพ ดังนั้น ประชากรในชุมชนที่มีคุณภาพถึงขั้น สาธารณโภคีหรือบริโภคเปนสาธารณะ คนเหลานี้จะ มีกิเลสนอย ประพฤติตนในศีลในธรรม ไมสะสมไมถือ เปนของตนแตถือเปนสวนรวม และสะพัดออกสูสังคม สวนนอกไมสรางนิสัยกักตุน ทำ�ใหเกิดเศรษฐกิจแบบ บุ ญ นิ ย ม ชาวอโศกเชื่ อ ว า สั ง คมที่ มี เ ศรษฐกิ จ ถึ ง ขั้ น สาธารณโภคีเปนหนทางรอดของมนุษยชาติ ในขณะที่ เศรษฐกิจทุนนิยมเสรีกอ ความทุกขการสะสมทำ�ลายลาง (สมณะโพธิรักษ 2550 : 7-60) การศึกษากิจกรรมใน ชุมชนปฐมอโศกไดสะทอนใหเห็นแนวคิดสาธารณโภคี ทีป่ รากฏอยูเ บือ้ งหลังชุมชน รวมทัง้ การใชหลักบุญนิยม เปนสื่อกลางในการสรางสาธารณโภคี มีการแบงหนาที่ รับผิดชอบเพื่อเปาหมายโดยรวมของชุมชน กิจกรรม จึงเนนทุกมิติของชีวิต (ปจจัยสี่ และอื่นๆ รวมถึงการ ติดตอกับภายนอกในรูปการคา การแลกเปลี่ยน) ไมใช เปนผูผลิตหรือผูบริโภคอยางใดอยางหนึ่งแยกจากกัน กิจกรรมตางๆ ที่สรางขึ้นเรียกวาฐานงาน ฐานงาน เหลานี้เปนกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการดำ�รงชีพพื้นฐาน ทีจ่ �ำ เปน แตละฐานงานเปน “ทรัพยากรกลาง” ของชุมชน ทรัพยากรกลางนี้เองแสดงใหเห็นความเปนสวนรวม หรือเรียกวาเศรษฐกิจแบบสาธารณโภคี เครือขายชาว อโศกทีเ่ กิดขึน้ ทัว่ ประเทศถือเปนเขตเศรษฐกิจในรูปแบบ

141


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ใหมที่มีพื้นฐานบนความเชื่ออุดมการณเดียวกัน มีการ ระดมทรัพยากรรวมกันเพื่อการแลกเปลี่ยน การชวย เหลือเกือ้ กูล อาจเรียกวาเปนเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ที่กำ�ลังเกิดขึ้น และยังเชื่อมโยงกับเขตเศรษฐกิจและ วัฒนธรรมภายในประเทศและภายนอกประเทศ เชน สง ผลิตภัณฑแปรรูปสมุนไพรสวนที่เกินจากความตองการ ของเครือขายออกไปจำ�หนายตางประเทศ อีกตัวอยางคือเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของ ตำ�บลไมเรียง อำ�เภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เปน เขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่ผสมผสานระหวาง ระบบ นิ เ วศในพื้ น ที่ แ ละวิ ถี ก ารดำ � รงชี พ ที่ ต  อ งปรั บ เปลี่ ย น ใหเขากับสังคมสมัยใหม ที่ปรับระบบการผลิต การคา การแลกเปลีย่ น และสรางเศรษฐกิจชุมชนในรูปแบบใหม เริ่มจากการผลิตเพื่อตอบสนองความตองการบริโภค ของสมาชิก ขยายไปสูการผลิตสวนเกินเพื่อการคาโดย ยังคงมีฐานการผลิตที่ชุมชน เชนรวมกลุมทำ�โรงงาน แปรรูปขนมจีนจากขาวของชาวนา เพื่อบริโภคและ ขายสูตลาดภายนอก และพัฒนากิจกรรมอยางตอเนื่อง สัมพันธกนั จากกิจกรรมการผลิตไปสูก จิ กรรมการคาและ การเงิน เกิดธนาคารชุมชน การคากับสังคมภายนอก เพื่อพัฒนาความสามารถในการติดตอกับภายนอกและ พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ไมเรียงจึงเปนอีก ชุมชนหนึง่ ทีด่ �ำ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจมากมาย เพือ่ ลดรายจาย สรางรายไดใหแกชุมชนเปนหลัก เปาหมาย คื อ การพึ่ ง ตนเอง และดำ�รงชีพ อยางพอเพีย ง (เสรี พงศพิศ 2547)

2) เขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรมบนฐานการ แขงขันและการพึ่งพาอาศัยกันของธุรกิจรายเล็ก ตั ว อย า งเขตเศรษฐกิ จ และวั ฒ นธรรมที่ ก ล า ว ขางตน เปนกรณีศกึ ษาของวัฒนธรรมของเขตเศรษฐกิจ ในพื้นที่ที่มีระบบการผลิตทางการเกษตรเปนรากฐาน และสรางเครือขายการคาเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจเขต อื่น เขตเศรษฐกิจอีกลักษณะหนึ่งที่จะกลาวถึงคือ เขต เศรษฐกิจและวัฒนธรรมทีอ่ ยูบ นฐานการคา ซึง่ หมายถึง เปนศูนยรวบรวมผลผลิต และกระจายผลผลิตระหวาง ท อ งถิ่ น และภู มิ ภ าค เขตเศรษฐกิ จ และวั ฒ นธรรม ดั ง กล า วจึ ง เป น แหล ง กระจายสิ น ค า และบริ ก ารเพื่ อ การบริโภคในเมือง เปนแหลงรองรับผลผลิตจากภาค เกษตรกรรม 10 งานวิจัยเกี่ยวกับตลาดสดและตลาดนัดในเขต เทศบาลนครนครปฐม 11 พบวาเศรษฐกิจการคาของ ตลาดสดและตลาดนัด เปนเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม เพราะการคาในพื้นที่ดังกลาวเชื่อมโยงกับเครือขาย การคาอยางกวางขวางระหวางตลาดขนาดเล็กในจังหวัด นครปฐม และรองรับผลผลิตของเกษตรกรในจังหวัด ในภูมิภาคตะวันตก และภูมิภาคอื่นๆ ในขณะเดียวกัน ผูคาในตลาดสดและตลาดนัดมีความสัมพันธในลักษณะ การพึง่ พาอาศัยกัน กลาวไดวา การดำ�รงอยูข องตลาดสด และตลาดนัดไดเพิ่มเศรษฐกิจแหงการพึ่งพาอาศัยกัน ใหมีบทบาทมากขึ้น การเติบโตของเขตเศรษฐกิจและ วั ฒ นธรรมในตลาดสดและตลาดนั ด ได ส  ง เสริ ม ให เศรษฐกิจรายเล็ก รายนอยสามารถเติบโตไปพรอมๆ กับ

__________________ 10 งานวิจัยของพรพิไล เลิศวิชาและคณะ (2552: 283-297) ไดเสนอวาตัวอยางเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่เปนตลาดในทอง ถิ่นภาคเหนือที่เรียกวา “กาด” ซึ่งทำ�หนาที่รับใชทองถิ่น และสนับสนุนความอยูรอดและความเขมแข็งของชุมชนในอดีต (มีทั้งตลาดที่ ขายทุกเชา หรือทุกเย็น หรือเฉพาะบางวัน หรือตลาดในหมูบาน หรือตลาดเคลื่อนที่) ปจจุบันชุมชนไดคิดวิธีการจัดระบบตลาดเครือ ขายที่โยงใยตลาดตางๆ ที่กระจัดกระจายหลายเมือง หลายอำ�เภอใหอยูในระบบเดียวกัน ทำ�ใหตำ�แหนงแหงที่ของตลาดกระจายตัวใน จุดที่เหมาะสมกับชุมชน อยางไรก็ดี ตลาดลักษณะนี้ยังเนนการตอบสนองความตองการของทองถิ่น เนนการแลกเปลี่ยนอยางเทาเทียม กัน แตก็ยังไมสามารถแบกรับหนาที่ ที่จะเปนพลวัตผลักดันใหชุมชนกาวหนาขึ้นไปสูระดับการพัฒนาความรูและเทคโนโลยี ที่จะชวยยก ระดับชีวิตความเปนอยูของชุมชนใหกาวหนากวานี้ได เพราะมีสวนเกินจากกำ�ไรอยูนอยไป ในขณะที่งานวิจัยของผูเขียนมีจุดเนนเกี่ยว กับตลาดที่มีบทบาทเพื่อการคา การแลกเปลี่ยนกับชุมชนภายนอก ผูขายสวนใหญจึงเปนพอคา แมคา ตลาดในรูปแบบที่ผูวิจัยศึกษา ไดชี้ใหเห็นวา ไดชวยยกระดับชีวิตความเปนอยูของกลุมคนที่เกี่ยวของกับตลาดทั้งผูคา ผูผลิตอาหารแปรรูป เกษตรกร ฯลฯ 11 สุวิดา ธรรมมณีวงศและคณะ (เลมเดิม)

142


ตลาดสด : การสรางเศรษฐกิจชาติในเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม สุวิดา ธรรมมณีวงศ

การขยายตัวของตลาดสด และตลาดนัด นอกจากนี้ ตลาดสดและตลาดนัดยังเปนแหลง บมเพาะความรูค วามสามารถในการประกอบอาชีพ โดย เฉพาะผูป ระกอบการรายเล็กรายนอยไมถกู ปดกัน้ ในการ พัฒนาความรูความสามารถ ตลาดสดและตลาดนัดยัง เปนแหลงการจางแรงงานอยางเขมขน การสงเสริมเขต เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของตลาดสด และตลาดนัดจึง ชวยลดทอนการขยายตัวของเศรษฐกิจขนาดใหญ 12 และ สอดคลองกับขอเสนอนักวิชาการเศรษฐศาสตร (พอพันธ อุยยานนท 2546) ที่เห็นวาการพัฒนาเศรษฐกิจสมัย ใหมควรอยูบนพื้นฐานของการดำ�รงอยูของเศรษฐกิจ ครัวเรือนและเศรษฐกิจชุมชน โดยการสงเสริมผูป ระกอบ การรายยอย เพราะเปนเศรษฐกิจทีม่ กี ารปรับตัว มีความ ยืดหยุนสูงทั้งในแงของการใชแรงงานและเวลา มีการ ใชแรงงานเขมขน กลาวคือ จากงานวิจัยของผูเขียนพบวา มูลคาการคาใน ตลาดสดและตลาดนัดในเขตเทศบาลนครนครปฐมเมื่อ ปพ.ศ. 2548 มีปริมาณการคาในตลาดถึงกวา 28,000 ลานบาทเศษตอป หรือนับเปนรอยละ 23 ของจีดีพีใน จังหวัดนครปฐม 13 ยังไมนับรวมผูขายสงขนาดใหญที่ อาศัยโดยรอบตลาด ซึง่ จำ�หนายสินคาไปตางประเทศ 14 ตัวเลขเหลานี้เปนเครื่องชี้วาตลาดสดและตลาดนัดใน เขตเทศบาลมีทำ�ใหเศรษฐกิจทองถิ่นมีความเขมแข็ง นอกจากนี้ มูลคาการคาเหลานี้ เปนเศรษฐกิจของ ครัวเรือนในแตละตลาด จากการสำ�รวจพบวาจำ�นวน ผู  ค  า ในตลาดสดและตลาดนั ด เหล า นี้ มี จำ � นวนกว า

5,000 ราย 15 ยังไมนบั รวมผูค นทีอ่ ยูใ นธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง กับการคาในตลาด ไมวาจะเปนธุรกิจรับจางขนของ ธุรกิจรถขนสง ธุรกิจขายสินคาขางถนน ริมทางเทา ธุรกิจโตะจีนที่แปรรูปอาหารเพื่อการคา หรือธุรกิจอื่นๆ ที่นำ�ผลผลิตจากอาหารไปแปรรูปจำ�นาย ฯลฯ จึงกลาว ไดวา ตลาดในเขตเทศบาล เปนพื้นที่ที่การหมุนเวียน ของเศรษฐกิจในทองถิ่นอยูสูง รวมถึงเปนเศรษฐกิจที่ เกี่ยวของกับวิถีชีวิตของประชาชนอยางแทจริง และยัง สรางอาชีพ สรางงาน นอกจากมูลคาการคาแลว ตลาด ยังมีคุณคาใน มิติของการสงเสริมการพึ่งพาอาศัยกันระหวางตลาด ขนาดใหญกับตลาดขนาดเล็ก ผูคารายใหญกับรายยอย ผูคารายยอยในตลาดสดและตลาดนัด รวมถึงผูคากับ ผู  บ ริ โ ภค ทั้ ง ในจั ง หวั ด นอกจั ง หวั ด และในภู มิ ภ าค ใกลเคียง ผูขายในแตละตลาดยังเปนกลุมผูขายกลุม เดียวกันหรือเครือญาติ และผูขายบางรายทำ�การคาใน ตลาดมากกวา 1 ตลาด เนื่องจากแตละตลาดมีชวงเวลา ทีผ่ คู นจับจายใชสอยหนาแนนตางเวลากัน ทำ�ใหสามารถ ทำ�การคาในตลาดหนึ่งในชวงเวลาหนึ่ง และในอีกชวง เวลาหนึง่ สามารถทำ�การคาในอีกตลาดหนึง่ ได งานวิจยั ไดชใี้ หเห็นวา การคาในตลาดขนาดใหญจ�ำ นวน 4 ตลาด เปนแหลงรวบรวมสินคาจากจังหวัดใกลเคียง และภาค เหนือ ภาคใต และกระจายเขาสูตลาดสด ตลาดนัด และ รถเร ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล รวมถึงผูคาในตลาด เล็กๆ จะนำ�สินคาจากตลาดขนาดใหญไปจำ�หนายตาม ตลาดนัดในทองถิน่ โดยผูค า เหลานีจ้ ะใชความไววางใจ

__________________ 12 การสำ�รวจความเห็นของผูบริโภคเรื่องพฤติกรรมการไปจับจายใชสอยจำ�นวน 600 คนพบวา ผูบริโภคยังเห็นวาตลาดสด และตลาดนัด รวมถึงหางคาปลีกขนาดใหญ ยังมีความสำ�คัญตางกาลเทศะ โดยเฉพาะวัตถุประสงคของการไปจับจายใชสอย ลักษณะ ของผูบริโภคมีความสัมพันธตอตัดสินใจเลือกสถานที่ไปใชจาย 13 ที่มาสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2551). “Gross Regional and Provincial Products 2008 Edition“ [ออนไลน], สืบคนเมื่อ 12 มกราคม 2554 จาก http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=96 14 เปนธุรกิจสงออกสินคาเกษตรประเภทผัก เชน พริก ผักกวางตุง ผักกาดหอม ขาวโพดออน หนอไมฝรั่ง ใบมะกรูด ลูก มะกรูด ไปจำ�หนายยังประเทศสิงคโปร มาเลเซีย คิดเปนมูลคาหลายสิบลานบาทตอเดือน 15 ตัวเลขนี้นับจากผูคา 1 รายครอบครองพื้นที่การขาย 1 พื้นที่ ซึ่งในแตละพื้นที่ อาจเปนอาคารพาณิชย แผงลอย หาบเร กิจการแตละรายมีแรงงานในครอบครัวประมาณ 2-5 คน ไมนับรวมการจางแรงงานในธุรกิจแตละราย ดังนั้นจำ�นวนผูคนที่เกี่ยวของกับ การคาโดยตรงจึงนับหลายหมื่นราย

143


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

ในการส ง มอบสิ น ค า เพราะต อ งทำ� การค า กั น อย า ง ตอเนื่อง ตลาดนัดที่กระจายตัวตามหมูบานตางๆ หรือ ละแวกชุ ม ชน ยั ง เป ด พื้ น ที่ ใ ห กั บ เกษตรกรในพื้ น ที่ ใกล เ คี ย ง สามารถนำ � ผลผลิ ต มาจำ � หน า ยโดยตรง แกผูบ ริ โ ภค โดยเฉพาะตลาดนัดที่อยูไกลเขตเมือง และตลาดนัดเหลานี้ เปนตลาดที่ปรับตัวใหยืดหยุนเขา กับบริบทของแตละพื้นที่ กลาวคือ เมื่อตลาดนัดตั้งใน เขตพื้นที่หมูบานไกลเขตเมือง ตลาดนัดจะปรับตัวเปน ตลาดสด แตเมือ่ ตัง้ ใกลตลาดสดจะปรับตัวไปเนนการจำ� หนายสินคาแปรรูป สินคาทีม่ ใิ ชอาหาร และสินคาทันสมัย ในขณะที่ ตั้ ง ในบริ เ วณของห า งค า ปลี ก ขนาดใหญ ตลาดนัดจะปรับตัวไปเนนสินคาแปรรูปอาหารจำ�หนาย และสินคามิใชอาหาร และสินคาทันสมัยแตมีราคาถูก จากงานวิจัยเกี่ยวกับตลาดสดและตลาดนัดของ ผูเ ขียนไดท�ำ การสำ�รวจกลุม ผูค า เรรถกระบะ ซึง่ จะซือ้ ผัก สดจากตลาดขายสงขนาดใหญไปจำ�หนายในกรุงเทพฯ และจังหวัดใกลเคียง โดยเฉพาะในเขตโรงงานชานเมือง กรุงเทพฯ ตลาดนัดในเขตชานเมืองกรุงเทพฯ ตลาดนัด ในจังหวัดนครปฐมและจังหวัดใกลเคียง กลุมคนเหลานี้ ซือ้ ผักจากตลาดปฐมมงคล หรือตลาดทุง พระเมรุ โดยใช รถกระบะมาจับจายในชวงเวลาประมาณ 03.00-12.00 น. และ 16.00-21.00 น. โดยตลาดจะมีพื้นที่สำ�หรับการ จอดรถไดนาน และกลุมผูบริโภคเหลานี้จะนำ�สินคาที่ จับจายมาจัดแบงจำ�หนายปลีกเปนกำ�เล็กๆ กอนนำ� ไปขายตามตลาดนัดในชวงเย็น จำ�นวนผูคาเรเหลานี้ มีประมาณ 300 ราย เปนธุรกิจรายเล็กๆ ลงทุนซื้อผัก หลากหลายชนิดประมาณ 2,000-3,000 บาทตอวัน บาง รายลงทุนประมาณ 5,000 - 10,000 บาท และทำ�เปน ธุรกิจในครอบครัว กลุมคนเหลานี้เปนคนในอำ�เภอ

ตางๆ ของจังหวัดนครปฐม มีบางสวนมาจากพื้นที่อื่น เชน จังหวัดในภาคอีสาน โดยเชาบานพักอาศัยในเขต จังหวัดนครปฐมหรือใกลเคียงเพือ่ สะดวกตอการรับสินคา จากตลาดขายสงในเขตเทศบาลนครนครปฐมไปจำ�หนาย กลุมคนเหลานี้เปนกลุมคนที่ไดรับผลกระทบจากวิกฤต เศรษฐกิจกลางป 2540 เคยประกอบอาชีพเกษตรกรรม รับราชการ ลูกจางบริษัทเอกชน และรับจางในโรงงาน หรือรับจางกอสราง บางสวนออกจากงานดวยเห็นวา อาชีพนีเ้ ปนทางเลือกทีด่ กี วา และมีอสิ ระ ผูบริโภคตาม หมูบาน ตรอก ซอกซอยจึงสะดวก เพราะเปนการคา แบบสงตรงถึงบาน กลาวไดผูคาเรรถกระบะเหลานี้ กำ�ลังรุกคืบเขาถึงผูบริโภคไดอยางรวดเร็ว เปนการคา เชิงรุก สามารถเขาถึงผูบ ริโภครายเล็กรายนอย ในขณะที่ ตลาดสด หรือหางคาปลีกขนาดใหญมีขอ จำ�กัดในสวนนี้ ตลาดสดและตลาดนัด มิไดเปนตลาดแหงการ แขงขันเพื่อเขาถึงผูบริโภคเทานั้น หากยังเปนตลาด แหงการพึง่ พาอาศัยกัน มีความสัมพันธเชือ่ มโยงกันเปน เครือขาย โดยเฉพาะการเชือ่ มโยงในดานแหลงที่มาของ สินคา และกลุมผูขายในแตละตลาด เครือขายความ สัมพันธเหลานีเ้ ปนความสัมพันธบนฐานการพึง่ พาอาศัย กัน สงผลใหการคาเปนการคาบนความสัมพันธเชิงพึง่ พา และความสัมพันธเชิงการแขงขัน ผูขายแตละตลาด ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน และพัฒนาการคา ใหมปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ความเขมแข็งของเครือขาย การคานี้เอง ไดความเชื่อมโยงใหเกิดความเขมแข็ง ของการผลิตภาคเกษตรกรรมไปดวย เพราะเมื่อการคา ขยายตั ว การผลิ ต ภาคเกษตรกรรมก็ ย  อ มขยายตั ว ตามไป ตรงตามหลักเศรษฐศาสตรที่เรียกวาเกิดความ เชื่ อ มโยงไปข า งหลั ง (Backward linkage) 16 ปรากฏการณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น นี้ ถื อ เป น รากฐานการพั ฒ นา

__________________ 16 ผลเชื่อมโยง (linkage) คือความสามารถของอุตสาหกรรมหนึ่งในการสรางผลเชื่อมโยงใหมีการจัดตั้งหรือขยายตัวของ อุตสาหกรรมอื่น แบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ 1) backward linkage คือการเชื่อมโยงใหเกิดอุตสาหกรรมอื่นที่ขายผลผลิตใหอุตสาหกรรม นี้เพื่อใชเปนวัตถุดิบ 2) forward linkage คือการเชื่อมโยงใหเกิดอุตสาหกรรมอืน่ ทีใ่ ชผลผลิตของอุตสาหกรรมนีเ้ ปนวัตถุดบิ รายละเอียด ศึกษาไดจากวันรักษ มิง่ มณีนาคิน ( 2534: 180)

144


ตลาดสด : การสรางเศรษฐกิจชาติในเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม สุวิดา ธรรมมณีวงศ

เศรษฐกิจชุมชนทองถิ่นของจังหวัดนครปฐมใหมีความ เขมแข็งและยั่งยืน และความสัมพันธเชนนี้จะดำ�รงอยู ตอไปได ก็ดว ยเงือ่ นไขของการแขงขันบนฐานทีเ่ ทาเทียม กัน นั่นคือการปกปองมิใหทุนรายใหญเขามาแขงขันกับ ทุนรายเล็กรายยอย และกำ�กับใหทุนรายเล็กรายยอย แขงขันกันเองบนฐานการพัฒนาความรูความสามารถ มิใชการ “ทุม ทุน” หรือ “การทุม ตลาด” โดยนายทุนขนาดใหญ จากภายนอกจังหวัด ภายนอกประเทศ ดังเชนหางสรรพ สินคา ในปจจุบนั มิตคิ วามสัมพันธเชิงพึง่ พาในการทาง การคา เปนสิง่ ทีข่ าดหายไประบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ที่เนนการแขงขัน และการใชทุนเปนขอไดเปรียบในการ เบียดขับประชาชนรายเล็กรายนอยออกจากการแขงขัน แตตลาดกลับเพิ่มบทบาทของวัฒนธรรมใหทำ�งานรวม กับมิตเิ ศรษฐกิจ ตลาดจึงเปนเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ที่ ก  อ ให เ กิ ด การเกื้ อ กู ล ความมั่ น คงของเศรษฐกิ จ ประชาชนที่มีขนาดเล็ก และถักทอเปนเศรษฐกิจของ จังหวัด เศรษฐกิจภูมิภาค และเศรษฐกิจชาติ พื้นที่การ คาในตลาดยังสงเสริมเครือขายความรวมมือระหวาง ผูคาในภูมิภาคตางๆ สรางระบบความสัมพันธแบบ พึ่งพาอาศัยกัน และการเกื้อกูลระหวางรายเล็กและ รายใหญ รวมถึ ง สร า งผลเชื่ อ มโยง (Linkage) ต อ กิจกรรมทางเศรษฐกิจในภาคอื่นๆ กลาวไดวา หาก ตลาดสด ตลาดนัดไดรับผลกระทบทางการคา ยอม กระทบตอเศรษฐกิจของจังหวัดนครปฐมและจังหวัด ใกลเคียง กระทบตอทุนทางสังคม และกระทบตอวิถี ชีวิตผูบริโภค การสงเสริมกิจกรรมทางการคาในเขตเศรษฐกิจ ของตลาดในเขตเทศบาลนครนครปฐมถือเปนรูปแบบ หนึ่งของการนิยามเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรมในยุค สมัยใหมที่อยูบนฐานการแขงขันและการพึ่งพาอาศัย กันของธุรกิจรายเล็ก ซึ่งเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรมใน รูปแบบดังกลาวกำ�ลังมีบทบาทมากขึน้ ในยุคโลกาภิวตั น เนื่ อ งจากการขยายตั ว ของโลกาภิ วั ต น ไ ด ก  อ ให เ กิ ด การรุกคืบของทุนขนาดใหญ เบียดขับทุนรายเล็กราย นอย รวมถึงทำ�ลายวัฒนธรรมแหงการพึ่งพาอาศัยกัน แมกระบวนการโลกาภิวัตนจะรุกคืบไปไดอยางกวาง ขวาง แตกลับไมสามารถเขาถึงทุกพื้นที่ไดอยางทั่วถึง

กิจกรรมทางเศรษฐกิจบางประเภทสามารถแทรกตัว ในอยูภายได อาจเรียกกวา เขตเศรษฐกิจและวัฒธรรม เปนพื้นที่หนึ่งที่สามารถแทรกตัวภายใตกระบวนการ โลกาภิวัตน กรณีศึกษาตลาด ไดชี้ใหเห็นวา กิจกรรม ของการคาในตลาดไดสง เสริมวัฒนธรรมการพึง่ พาอาศัย กัน การสงเสริมธุรกิจรายเล็กรายนอย สงเสริมเศรษฐกิจ ทองถิ่น และรวมเปนเครือขายทางการคา จนเกิดกลไก การขยายตัวไปตามพื้นที่ตางๆ สามารถรุกคืบเขาถึง กลุมผูบริโภคไดอยางรวดเร็ว การสงเสริมเขตเศรษฐกิจ และวั ฒ นธรรมในรู ป แบบดั ง กล า ว จึ ง ช ว ยส ง เสริ ม เศรษฐกิจประชาชนใหเติบโตขยายตัวไปแยงชิงพื้นที่ ทางเศรษฐกิจของนายทุนขนาดใหญ ทุนขามชาติที่ ครอบครองเศรษฐกิจของประเทศไทยในขณะนี้ 5. บทสรุป การปรากฏขึ้นหางคาปลีกขนาดใหญ สะทอน การเกิดขึ้นของกระบวนการโลกาภิวัตน ที่กำ�ลังรุกคืบ ชวงชิงพื้นที่ทางเศรษฐกิจและทางวัฒนธรรมของผูคน รวมถึงสรางวัฒนธรรมโลกที่มาตรฐานเดียวกันใหเกิด ขึ้น เดวิด ฮารวีย (1995 อางใน อภิญญา เฟองฟูสกุล 2546 : 79-80) ชี้ใหเห็นวา ในยุคโลกาภิวัตนตรรกะ ของทุนนำ�ไปสูการบีบเวลาและพื้นที่ ทำ�ใหผลผลิตออก สูตลาดโลกในปริมาณมาก และระบบทุนจำ�ตองหาทาง กระตุนใหมีการบริโภคในอัตราที่เร็ว พรอมไปกับอายุ ใชงานสั้น และสรางระบบซูเปอรมารเก็ตเพื่อรองรับ ตรรถกะนี้ การเปลี่ยนแปลงดังกลาวสงผลตอจิตสำ�นึก ของผูคนที่เกิดคานิยมแบบแดกดวน การบริโภคแบบ สูตรสำ�เร็จ การบริโภคชัว่ วูบฉาบฉวย ทำ�ใหความผูกพัน ที่ลึกซึ้งกับผูอื่นหรือระบบคุณคาตางๆ ดูจะเลือนรางไป ซึ่งตลาดสดและตลาดนัดกำ�ลังถูกลบเลือนคุณคาตางๆ ดังไดกลาวมาแลว และหากรัฐ และภาคสวนตางๆ ใน สังคมไมเขาใจ และไมปกปอง สงเสริมสนับสนุน การ รุกคืบของกระบวนการโลกาภิวัตนจะแยงชิงพื้นที่ทาง เศรษฐกิจของประชาชน การปรากฏตัวของพลังทองถิน่ นิยมในสังคมไทย ปจจุบันเกิดขึ้นมากมาย ไมวาจะเปนขบวนการของ เครือขายชาวอโศกทั่วประเทศ ของไมเรียงอำ�เภอฉวาง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ของคี รี ว งอำ � เภอลานสกา

145


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งขบวนการเหลานี้คือ การ สร า งอั ต ลั ก ษณ ข องกลุ  ม ภายใต บ ริ บ ทวั ฒ นธรรม แตละพื้นที่ ที่มุงเนนประเด็นความเลื่อนไหลและการ ผสมผสานของโลกานุวัตรและพลังของทองถิ่น เรียกวา Globalization ซึง่ เปนความสนใจของผูท ศี่ กึ ษาขบวนการ เคลือ่ นไหวทางวัฒนธรรม (อภิญญา เฟอ งฟูสกุล 2546 : 88) เช น เดี ย วกั บ การปรากฏตั ว ของตลาดสดและ ตลาดนัดที่เนนการพึ่งพาอาศัยกัน และการสรางความ สัมพันธเปนเครือขายระหวางภาคสวนตางๆ ทั้งผูคาเร รถกระบะ เศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม ถือเปนการปกปอง

146

พืน้ ทีท่ างเศรษฐกิจของทองถิน่ อันเปนเขตเศรษฐกิจและ วัฒนธรรมบนฐานการแขงขันและการพึ่งพาอาศัยกัน ของธุรกิจรายเล็ก เพราะเปนวิถีการดำ�เนินชีวิตทาง เศรษฐกิ จ ที่ ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ แบบครอบครั ว ที่ ใ ช แรงงาน ซึ่งสะทอนอัตลักษณของเศรษฐกิจทองถิ่น ภายใตบริบทวัฒนธรรมแตละพื้นที่ ผูเขียนจึงเห็นวา แนวคิ ด เขตเศรษฐกิ จ และวั ฒ นธรรมควรได รั บ การ ส ง เสริ ม ให เ ป น ยุ ท ธศาสตร ก ารสร า งเสรี ภ าพทาง เศรษฐกิจของประชาชนอยางกวางขวาง


ตลาดสด : การสรางเศรษฐกิจชาติในเขตเศรษฐกิจและวัฒนธรรม สุวิดา ธรรมมณีวงศ

เอกสารประกอบการเรียบเรียง กาญจนา แกวเทพ. (2535). เศรษฐศาสตรที่เอื้อเพื่อชีวิต. สยามรัฐสัปดาหวิจารณ 38 (46) : 37-39. ฉัตรทิพย นาถสุภา. (2548). แนวทางและวิธีวิจัยสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพสรางสรรค. นอรเบอรก-ฮอดจ, เฮเลนา และคณะ. (2545). นำ�อาหารกลับบาน (Bringing the Food Economy Home: the social ecological and economic benefits of local food). ไพโรจน ภูมิประดิษฐ แปล . กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา. นิพนธ พัวพงศกร และคณะ. (2552). ทางรอดประเทศไทย: สูระบบสวัสดิการพื้นฐาน. ใน : การสัมมนาของ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยเรื่อง “ทางรอดของประเทศไทย” ครั้งที่ 1 . จัดโดยสถาบัน พระปกเกลา สมาคมนักขาวหนังสือพิมพแหงประเทศไทย สถาบันเพือ่ การพัฒนาประเทศไทยรวมกับ สำ�นักงาน กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ และสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ณ โรงแรมรามาการเดนส 12 กันยายน 2552. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 17 มกราคม 2554. จาก http://www.tdri.or.th/th/html/Rama200909-12.pdf พรพิไล เลิศวิชา. (2543). พลวัตเศรษฐกิจชุมชนลุม น้ำ�ไชยา-พุมเรียงในพลวัตวัฒนธรรมและเศรษฐกิจชุมชนทองถิน่ . ใน เอกสารประกอบการประชุมประจำ�ปวาดวยเรื่องชุมชนครั้งที่ 1 เรื่อง ชุมชนไทยทามกลางกระแส การเปลี่ยนแปลง. ณ อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ป วันที่ 30-31 พฤษภาคม 2543. พรพิไล เลิศวิชา และคณะ. (2552). เชียงใหม-ลำ�พูน เขตเศรษฐกิจวัฒนธรรม พลวัตและพัฒนาการ. เชียงใหม: บริษัทธารปญญา. พอพันธ อุยยานนท. (2546). เศรษฐกิจชุมชนหมูบานภาคกลาง. กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน. รังสรรค ธนะพรพันธุ. (2538). สังคมเศรษฐกิจไทยในทศวรรษ 2550: ยุทธศาสตรการพัฒนาในกระแส โลกานุวัตร. กรุงเทพ: ไวลาย. รามา การเดนส. 12 กันยายน 2552. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 17 มกราคม 2554. จาก http://www.tdri.or.th/th/html/ Rama2009-09-12.pdf วันรักษ มิ่งมณีนาคิน. (2534). พจนานุกรมศัพทเศรษฐศาสตร. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ศูนยขอมูลขาวสารปฏิรูปประเทศไทย. (2009). ศ.ดร. ชัยอนันต สมุทวณิช “การบริหารการศึกษาตามความตองการ ของสังคม” ปาฐกถาในงานสัมมนา “การบริหารการศึกษาตามความตองการของสังคม” (Education on Demand). ณ หอประชุมใหญ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร วันพุธที่ 24 กุมภาพันธ 2553. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 27 สิงหาคม 2553. จาก http://www.thaireform.in.th/reform-path/join-the-re form/39-2009-11-25-04-20-51/662-2010-02-24-11-20-29.html สติกลิตซ, โจเซฟ อี. และทีมงาน. (2010). วิพากษ จีดีพีฉบับวิชาการสําหรับ นักปกครอง นักการเมือง ผูวาง นโยบาย นักวิชาการ นักสถิติ เอ็นจีโอ และสือ่ สารมวลชน. ภัควดี (แปล) อภิชยั พันธเสน (บรรณาธิการ). สืบคนเมื่อ 20 สิงหาคม 2553. จาก thaiwellbeing.org/download/gdp_book.pdf สถาบันนโยบายศึกษา. (2546). ศ.ดร.ชัยอนันต สมุทวณิช วิพากษสังคมไทยหลัง 14 ตุลาคม. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 27 สิงหาคม 2553. จาก http://www.fpps.or.th/news.php?detail=n1062084908.news สนิท สมัครการ. (2540). วิธีการศึกษาสังคมมนุษยกับตัวแบบสำ�หรับศึกษาสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. สมณะโพธิรักษ. (2550). สาธารณโภคี เศรษฐกิจชนิดใหม. กรุงเทพฯ: กลั่นแกน.

147


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2553

สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2008). เศรษฐกิจนอกระบบกับการบริหารจัดการ ที่ดีของภาครัฐ. การสัมมนาประจำ�ป 2547 ณ ศูนยการประชุมและแสดงสินคาอิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี วันพฤหัสบดีที่ 24 มิถุนายน 2547. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 30 สิงหาคม 2551. จาก http:// www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=81 สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2551). Gross Regional and Provincial Products 2008 Edition. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 12 มกราคม 2554. จาก http://www.nesdb.go.th/Default. aspx?tabid=96 สุวิดา ธรรมมณีวงศ และคณะ. (2549). การวิจัยเพื่อแสวงหาการมีสวนรวมของชุมชนในการพัฒนาตลาดใน เขตเทศบาลนครนครปฐม. นครปฐม: โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร. เสกสรรค ประเสริฐกุล. (2552). เศรษฐศาสนกบั การผลิตอวิชชาเชิงโครงสราง (Economic Religion and The Production of Structural Ignorance). ปาฐกถา 60 ป ครั้งที่ 10 คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วัน จันทรที่ 19 ตุลาคม 2552 เวลา 14.00-15.30 น. ณ หองประชุมชั้น 5 คณะ เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร. [ออนไลน]. สืบคนเมื่อ 25 พฤษภาคม 2553. จาก http://www.prachatai.com/journal/2009/10/26271 เสรี พงศพิศ. (2547). จากไมเรียงถึงมะนิลา: จากรากหญาถึงแมกไซไซ. มติชนสุดสัปดาห 24 (1256) – 24 (1261) วันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2547 - วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2547. เสรี ลีลาลัย. (2545). บททดลองเสนอการสรางเศรษฐกิจชาติบนรากฐานเศรษฐกิจชุมชน. ใน เอกสารการประชุม เสนอผลงานวิจัยเรื่องเศรษฐกิจชุมชนลุมน้ำ�. เสนอที่โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพมหานคร วันที่ 25-26 ตุลาคม 2545 : 1-36. อภิชัย พันธเสน. (2544). พุทธเศรษฐศาสตร:วิวัฒนาการ ทฤษฎีและการประยุกตกับเศรษฐศาสตรสาขา ตางๆ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. อภิญญา เฟองฟูสกุล. (2546). อัตลักษณ (Identity). กรุงเทพฯ: คณะกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ สาขาสังคมวิทยา สำ�นักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ. Global Footprint Network. (2010). Footprint for Nations. [Online]. Retrieved August 24, 2010. from http://www.footprintnetwork.org/en/index.php/GFN/page/footprint_for_nations/ McGann, Anthony F., Marguardt, Raymond A. & Routson, Jack C. (1979). Introduction to business. New York: John Wiley & Sons. New Economic Foundation. (2009). About nef. [Online]. Retrieved August 24, 2010. from http://www. neweconomics.org Olsen, Marvin E. (1991). Societal dynamics : exploring macrosociology. Englewood Cliffs, N.J. : PrenticeHall.

148


​ราย​ชื่อผูทรง​คุณวุฒิอานบทความวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปที่ 30 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม พ.​ศ. 2553) จรัลวิไล จรูญโรจน, ผูชวยศาสตราจารย ดร.ม.ล. ภาควิชา​ภาษาศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัย​เกษตรศาสตร ฉัตรทิพย นาถสุภา, ศาตราจารย กิตติคุณ ดร. เมธีวิจัยอาวุโส สกว. ป พ.ศ. 2542 ขาราชการบำ�นาญ และอดีตคณบดี คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ดวงเงิน ซื่อภักดี, ผูชวยศาสตราจารย ดร. สาขา​วิชา​การจัดการ​การ​ทองเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร ​วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ทักษิณา คุณารักษ, รองศาสตราจารย ดร. สาขาวิชาการทองเที่ยว ภาควิชามนุษยศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ธนินทรัฐ รัตนพงศภิญโญ, อาจารย ดร. สาขา​วชิ าการ​จดั การ​ธรุ กิจท​ วั่ ไป คณะ​วทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศ​ ลิ ปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี ธีรศักดิ์ อุนอารมยเลิศ, อาจารย ดร. ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร นลินี ตันธุวนิตย, ผูชวยศาสตราจารย ดร. สาขา​สังคมวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร นวลฉวี แสงชัย, ผูชวยศาสตราจารย ดร. กลุม​วิชาการ​จัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแกน นิคม ตังคะพิภพ, ผูชวยศาสตราจารย ดร. ขาราชการบำ�นาญ ภาควิชาการวัดผลและวิจยั ทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และอาจารยพิเศษ ภาควิชาหลักสูตรและ​วิธีสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ​วิ​ทยา​เขต​พระราชวังสนาม​จันทร ประมวล ศิริผันแกว, ดร. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ผาสุข อินทราวุธ, ศาสตราจารย ดร. ภาค​วิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ ​ มาเรียม นิลพันธุ์, ผูชวยศาสตราจารย ดร. ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร ยงยุทธ ชูแวน, รองศาสตราจารย ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร เรืองเดช ปนเขื่อนขัติย, รองศาสตราจารย ดร. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน


ลิขิต กาญจนาภรณ, รองศาสตราจารย ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร วิชิต สุรัตนเรืองชัย, รองศาสตราจารย ดร. รองคณบดีฝายบริหาร คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา ศักดิ์ชัย สายสิงห, ศาสตราจารย ดร. ภาควิชาประวัติศาสตรศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ, รองศาสตราจารย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร โสมสกาว เพชรานนท์, รองศาสตราจารย ดร. ภาควิชาเศรษฐศาสตร คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร อรพัช บวรรักษา, รองศาสตราจารย ภาควิชา​ภาษา​ไทย คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัย​ธรรมศาสตร


รายละเอียดการเตรียมบทความเพื่อสงตีพิมพ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ 1. วัตถุประสงคการจัดพิมพ

เพื่อเผยแพรผลงานทางวิชาการสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ของนักวิชาการทั้งภายในและ ภายนอกมหาวิทยาลัย เปนสื่อกลางการแลกเปลี่ยนเรียนรูทางวิชาการในสาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และ ศิลปะ และสงเสริมใหนักวิชาการและผูสนใจไดนำ�เสนอผลงานวิชาการในรูปบทความวารสาร

2. กำ�หนดออก

ปละ 2 ฉบับ (มกราคม-มิถุนายน และ กรกฎาคม-ธันวาคม)

3. บทความที่รับตีพิมพ

1. บทความที่รับตีพิมพ ไดแก 1. บทความวิชาการ 2. วิทยานิพนธปริทัศน 3. บทความวิจัยจากงานวิจัย หรือวิทยานิพนธตนฉบับ 4. บทความปริทัศน 5. บทความพิเศษ 2. เปนผลงานใหมที่ยังไมเคยพิมพเผยแพรในสื่อใดๆ มากอน 3. ความยาวไมเกิน 15 หนา 4. สงตนฉบับ 3 ชุด พรอมไฟลขอมูลที่บันทึกลงแผน CD-ROM 1 แผน

4. การสงบทความ

1. สงเอกสารตนฉบับ 3 ชุด และ CD-ROM พรอมแบบฟอรมขอสงบทความเพื่อตีพิมพ ทางไปรษณีย มาที่ คุณปรานี วิชานศวกุล (บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร) 44/114 หมูบานเลิศอุบล ซอยพหลโยธิน 52 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 2. เมื่อไดรับบทความแลว บรรณาธิการจะแจงกลับไปยังผูเขียนบทความใหทราบทางใดทางหนึ่ง 3. ทุ ก บทความที่ ตี พิ ม พ จะได รั บ การกลั่ น กรองจากกองบรรณาธิ ก าร และผ า นการพิ จ ารณาจาก ผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชานั้น ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยอยางนอย 2 คน

5. ขอกำ�หนดการเตรียมตนฉบับ

1. ขนาดกระดาษ A4 พิมพดวย Microsoft Word for Window 2. ระยะหางจากขอบบนและซายของกระดาษ 1.25 นิ้ว จากขอบลางและขวาของกระดาษ 1 นิ้ว 3. ตัวอักษร ใชอักษรโบรวาลเลีย นิว (Browallia New) • ชื่อเรื่อง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาด 16 พอยท กลางหนา ตัวหนา • ชื่อผูเขียน ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขนาด 14 พอยท ชิดขวา ตัวหนา • บทคัดยอภาษาไทยและภาษาอังกฤษ - ชื่อ “บทคัดยอ” และ “Abstract” ขนาด 14 พอยท ชิดซาย ตัวหนา - รายละเอียดบทคัดยอ ขนาด 14 พอยท ชิดขอบซาย-ขวา ตัวธรรมดา - คำ�สำ�คัญ (Keyword) ขึ้นบรรทัดใหม ขนาด 14 พอยท ชิดซาย ตัวหนา สวนขอความของ คำ�สำ�คัญเปนตัวธรรมดา


• บทความ - หัวขอใหญ เวน 1 บรรทัด ชิดซาย ขนาด 14 พอยท ตัวหนา - หัวขอรอง ยอหนา 0.5 นิ้ว ขนาด 14 พอยท ตัวหนา - ขอความ ยอหนา 0.5 นิ้ว ชิดขอบซาย-ขวา ตัวธรรมดา - ใชตัวเลขอารบิคเทานั้น • รายละเอียดผูเขียนบทความ ประกอบดวย - ที่อยู ตำ�แหนงทางวิชาการ หนวยงานที่สังกัด อีเมลและโทรศัพทที่ติดตอไดสะดวก

6. การอางอิง 1. การอางอิงในเนื้อหาใชระบบนาม-ป (Name-year Reference) 1.1 การอางอิงในเนื้อหาจากสื่อทุกประเภท ลงในรูปแบบ “ชื่อผูเขียน ปพิมพ : เลขหนาที่ปรากฏ” อยูใน เครื่องหมายวงเล็บเล็ก 1.2 ผูเขียนคนไทยลงชื่อ-สกุล สวนผูเขียนชาวตางชาติลงเฉพาะนามสกุล ดังตัวอยาง - โสเกรติสย้ำ�วาการอานสามารถจุดประกายไดจากสิ่งที่นักอานรูอยูแลวเทานั้นและความรูที่ไดรับ มาไมไดมาจากตัวหนังสือ (แมนเกล 2546 : 127) - สุมาลี วีระวงศ (2552 : 37) กลาววา การที่ผูหญิงจะไปสื่อชักผูชายมาบานเรือนของตัวเองทั้งๆ ที่เขายัง ไมไดมาสูขอนั้น เปนเรื่องผิดขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี หมายเหตุ: ทุกรายการที่อางอิงในเนื้อหา ตองปรากฏในรายการบรรณานุกรมเสมอ 2. บรรณานุกรม (Bibliography) - การเขียนบรรณานุกรมใชรูปแบบของ APA (American Psychology Association) ดังตัวอยางตามชนิด ของเอกสารดังนี้ 2.1 หนังสือ ชื่อ-สกุลผูแตง. \\ (ปพิมพ). \\ ชื่อหนังสือ. \\ ครั้งที่พิมพ. \\ เมืองที่พิมพ: \ สำ�นักพิมพ. ตัวอยาง แมนเกล, อัลแบรโต. \\ (2546). \\ โลกในมือนักอาน. \\ พิมพครั้งที่ 4. \\ กรุงเทพฯ: \ พิฆเณศ พริ้นติ้ง เซ็นเตอร. สุมาลี วีระวงศ. \\ (2552). \\ วิถีชีวิตไทยในลิลิตพระลอ. \\ พิมพครั้งที่ 3. \\ กรุงเทพฯ: \ สถาพรบุคส. Greenthal, Kathryn, Kozal, Paula M., and Ramirez, Jan Seidler. \\ (1986). \\ American figurative sculpture in the Museum of Fine Arts, Boston. \\ 2nd ed. \\ Boston: \ Museum of Fine Arts. Tidd, J., Bessant, J. and Pavitt, K. \\ (2001). \\ Managing innovation. \\ 2nd ed. \\ Chichester: \ John Wiley and Sons. 2.2 บทความวารสาร ชื่อ-สกุลผูเขียน. \\ (ป) \\ ชื่อบทความ. \\ ชื่อวารสาร \ ปที่, \ (ฉบับที่) \ : \ หนาที่ปรากฏบทความ. ตัวอยาง ผอง เซงกิ่ง. \\ (2528). \\ ศิลปกรรมอันเนื่องกับไตรภูมิ. \\ ปาจารยสาร 12 (2) \ : \ 113-122. Shani, A., Sena, J. and Olin, T. \\ (2003). \\ Knowledge management and new product development: a study of two companies. \\ European Journal of Innovation Management 6 (3) \ : \ 137-149.


2.3 วิทยานิพนธ ชื่อผูเขียนวิทยานิพนธ. \\ (ปการศึกษา). \\ ชื่อวิทยานิพนธ. \\ ระดับปริญญา \ สาขาวิชาหรือภาควิชา \ คณะ \ มหาวิทยาลัย. ตัวอยาง ปณิธิ อมาตยกุล. \\ (2547). \\ การยายถิ่นของชาวไทใหญเขามาในจังหวัดเชียงใหม. \\ วิทยานิพนธปริญญา ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิภาคศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม. วันดี สนติวฒ ุ เิ มธี. \\ (2545). \\ กระบวนการสรางอัตลักษณทางชาติพนั ธุข องชาวไทใหญชายแดนไทย-พมา กรณีศกึ ษาหมูบ า นเปยงหลวง อำ�เภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม. \\ วิทยานิพนธปริญญาสังคมวิทยา และมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. 2.4 สื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ 2.4.1 หนังสือออนไลน (online / e-Book) ชือ่ ผูเ ขียน. \\ (ปทพี่ มิ พ) \\ ชือ่ เรือ่ ง. \\ [ประเภทของสือ่ ทีเ่ ขาถึง]. \\ สืบคนเมือ่ \\ วัน \ เดือน \ ป. \\ จาก \ แหลงขอมูล หรือ URL สรรัชต หอไพศาล. \\ (2552). \\ นวัตกรรมและการประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในสหัสวรรษใหม : กรณีการจัดการเรียนการสอนผานเว็บ (Web-Based Instruction : WBI). \\ [ออนไลน]. \\ สืบคน เมื่อ 1 พฤษภาคม 2553. \\ จาก http://ftp.spu.ac.th/hum111/main1_files. De Huff, E. W. \\ (2009). \\ Taytay’s tales: traditional Pueblo Indian tales. \\ [Online]. \\ Retrieved January 8, 2010. \\ from http://digital.library.upenn.edu/women/dehuff/taytay/taytay.html. 2.4.2 บทความจากวารสารออนไลน (online / e-journal) Author, A. A., & Author, B. B. \\ (Date of publication). \\ Title of article. \\ Title of Journal \\ volume (number) : pages. \\ [Online]. \\ Retrieved …month date, year. \\ from….source or URL…. ตัวอยาง Kenneth, I. A. \\ (2000). \\ A Buddhist response to the nature of human rights. \\ Journal of Buddhist Ethics 8 (3) : 13-15. \\ [Online]. \\ Retrieved March 2, 2009. \\ from http://www.cac.psu.edu/jbe/ twocont.html. Webb, S. L. \\ (1998). \\ Dealing with sexual harassment. \\ Small Business Reports 17 (5) : 11-14. \\ [Online]. \\ Retrieved January 15, 2005. \\ from BRS, File: ABI/INFORM Item: 00591201. 2.4.3 ฐานขอมูล ธนาคารแหงประเทศไทย. \\ (2550). \\ แรงงานตางดาวในภาคเหนือ. \\ [ออนไลน]. \\ สืบคนเมื่อ 2 กันยายน 2550. \\ จาก http://www.Bot.or.th/BotHomepage/databank /RegionEcon/ northern /public/Econ/ch 7/42BOX04. HTM. Beckenbach, F. and Daskalakis, M. \\ (2009). \\ Invention and innovation as creative problem solving activities: A contribution to evolutionary microeconomics. \\ [Online]. \\ Retrieved September 12, 2009. \\ from http:www.wiwi.uni-augsburg.de/vwl/hanusch/emaee/papers/Beckenbach_neu.pdf.


สงบทความไดที่ :

คุณปรานี วิชานศวกุล (บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร) 44/114 หมูบานเลิศอุบล ซอยพหลโยธิน 52 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 โทร. 080-5996680

ติดตอสอบถามไดที่ :

รศ.ระเบียบ สุภวิรี คุณปรานี วิชานศวกุล

E-mail: dawgrabiab107@gmail.com E-mail: pranee_aon1@hotmail.com

ผูเขียนบทความสามารถดาวนโหลดแบบฟอรมขอสงบทความเพื่อตีพิมพ ไดที่ http: //www.surdi.su.ac.th หรือ http://www.journal.su.ac.th


แบบฟอรมขอสงบทความเพื่อตีพิมพ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร์ และศิลปะ เรียน กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ขาพเจา ​ นาย ​ นาง ​ นางสาว ชื่อ-สกุล ภาษาไทย ....................................................................................................................... ภาษาอังกฤษ................................................................................................................. ตำ�แหนงทางวิชาการ ​  ศาสตราจารย  รองศาสตราจารย  ผูชวยศาสตราจารย  อาจารย ​  อืน่ ๆ (โปรดระบุ)......................................................................................................................... สถานที่ทำ�งาน .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. โทรศัพทที่ทำ�งาน.......................................................โทรศัพทมือถือ.................................................... โทรสาร......................................................................อีเมล................................................................... มีความประสงคขอสงบทความ เรื่อง ภาษาไทย............................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ภาษาอังกฤษ.......................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... กองบรรณาธิการสามารถติดตอขาพเจาไดที่  สถานที่ทำ�งาน ตามที่ระบุไวขางตน  สถานที่อยูที่ติดตอไดสะดวกรวดเร็ว ดังนี้ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. โทรศัพทที่ทำ�งาน.......................................................โทรศัพทมือถือ.................................................... โทรสาร......................................................................อีเมล................................................................... ลงชื่อ.................................................................... (...........................................................) วัน-เดือน-ป........................................................... สงใบสมัคร พรอมตนฉบับ 3 ชุด และไฟลขอมูลที่บันทึกลงแผน CD-ROM 1 แผน มาที่ คุณปรานี วิชานศวกุล (บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร) 44/114 หมูบานเลิศอุบล ซอยพหลโยธิน 52 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพฯ 10220 เฉพาะเจาหนาที่ วันทีร่ บั เอกสาร............................................................ลงชือ่ ผูร บั เอกสาร.............................................................



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.