นายสุนทร ปานแสงทอง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายประภัตร โพธสุธน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นางสาวมนัญญา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้บริหาร ระดับสูง วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 17 Agriculture and Cooperatives กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
นายประยูร อินสกุล ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นางสาวนฤมล สงวนวงศ์ ผู้ช่วยปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายธิติ โลหะปิยะพรรณ ผู้ช่วยปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายอภัย สุทธิสังข์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายสุรเดช สมิเปรม รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายเศรษฐเกียรติ กระจ่างวงษ์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ระบบชลประทาน ส่งเสริมและพัฒนา
เกษตรกร ส่งเสริมและพัฒนาระบบ
สหกรณ์
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือ ส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก่อตั้ง ขึ้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระ
2442 มีพระบรมราชโองการแยก กรมเกษตรพานิชการออกมาตั้งเป็น กระทรวงใหม่ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตร
าธิการ มี เจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร) ขณะมี บรรดาศักดิ์ที่พระยาเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ เป็นเสนาบดีคนแรก
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 27 Agriculture and Cooperatives เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (Ministry of Agriculture and Cooperatives) เป็นหน่วยงาน ราชการส่วนกลางประเภทกระทรวง ของไทย มีหน้าที่เกี่ยวกับการเกษตร กรรม การจัดหาแหล่งน�้ า และพัฒนา
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในชื่อ กระทรวง เกษตรพานิชการ มี เจ้าพระยาภาสกร วงศ์ (พร บุนนาค) ขณะมีบรรดาศักดิ์ ที่ “พระยาภาสกรวงศ์ “ เป็นเสนาบดี คนแรก ใน พ.ศ. 2439 ได้ยุบรวมกระทรวง เกษตรพานิชการเข้ากับ กระทรวงพระ คลังมหาสมบัติ พร้อมกับลดฐานะลง เป็นกรมๆ หนึ่ง ในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ.
รวมตลอดทั้งกระบวนการผลิต และสินค้าเกษตรกรรม และราชการอื่น ที่กฎหมายก�าหนดให้เป็นอ�านาจหน้าที่
ประวัติ
โดยใช้ หอรัษฎากร พิพัฒน์ เป็นที่ท�าการชั่วคราว ใน พ.ศ. 2475 ได้มีการยุบรวมกระทรวง เกษตราธิการเข้ากับ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
of Agriculture and Cooperatives
Ministry
- ส�านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตร
และอาหารแห่งชาติ
- กรมฝนหลวงและการบินเกษตร - กรมการข้าว
- กรมหม่อนไหม
• รัฐวิสาหกิจ - องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร
- องค์การส่งเสริมกิจการโคนม แห่งประเทศไทย
- องค์การสะพานปลา
(อ.ต.ก.)
- การยางแห่งประเทศไทย (กยท.)
• อดีตรัฐวิสาหกิจทีก�ากับดูแล
- ส�านักงานกองทุนสงเคราะห์ การท�าสวนยาง (สกย.)
- องค์การสวนยาง (อสย.) - องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อ.อ.ป., โอนไปสังกัด กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)
• องค์การมหาชน
- สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)
- ส�านักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
- ส�านักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 28 และคมนาคม ใช้ชื่อว่า กระทรวงเกษตรพาณิชยการ ต่อ มาวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 ได้มีการเปลี่ยนแปลง ชื่อและอ� า นาจหน้าที่จากกระทรวงเกษตรพาณิชยการ เป็น กระทรวงเศรษฐการ ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2515 มี ประกาศของคณะปฏิวัติ ที่ 216 ก่อให้เกิดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ และมีปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คน แรก ได้แก่ ดร.ปรีดา กรรณสูต หน่วยงานในสังกัด • ส่วนราชการ - ส�านักงานรัฐมนตรี - ส�านักงานปลัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ - กรมวิชาการเกษตร - กรมประมง - กรมปศุสัตว์ - กรมชลประทาน - กรมพัฒนาที่ดิน - กรมส่งเสริมการเกษตร - กรมส่งเสริมสหกรณ์ - กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ - ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร - ส�านักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
1) พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรให้มีความมั่นคง
2) พัฒนาเศรษฐกิจการเกษตรให้เติบโตอย่างมีเสถียรภาพ
3) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพตลอดห่วงโซ่อุปทานให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
C
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 29 Agriculture and Cooperatives เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง ประจำ เครืองหมายราชการ และ ตราสัญลักษณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ค�าอธิบาย เป็นรูปวงกลมซ้อนกัน 2 วง ภายในวงกลมชั้นในเป็นพื้นสีเขียว มีลายกระหนก เปลวสีทองกึ่งกลาง เป็นรูปพระพิรุณทรงพระภูษาและฉลองพระบาทสีทอง พระหัตถ์ขวาทรงพระขรรค์ ทรงยืนบนหลังนาค ภายในวงกลมชั้นนอกเป็น พื้นสีขาว ด้านบนมีอักษรภาษาไทยสีเขียวเข้มว่า “กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์” ด้านล่างมีอักษรภาษาอังกฤษสีเขียวเข้มว่า “MINISTRY OF AGRICULTURE AND COOPERATIVES” ความหมาย • พระพิรุณ เป็นเทพแห่งน�้า เป็นที่นับถือกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณว่าเป็น ผู้บันดาลให้ฝนตก • นาค เป็นพาหนะของพระพิรุณ และเป็นก�าลังของการให้น�้า พระพิรุณทรงนาค เป็นเครื่องหมายแห่งความอุดมสมบูรณ์ วิสัยทัศน์ “ ภาคเกษตรมั่นคง เกษตรกรมั่งคั่ง ทรัพยากรเกษตรยั่งยืน “ พันธกิจ
และส่งเสริม
เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อน�ามาใช้ประโยชน์ 4) ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน ค่านิยมองค์การ “MOAC”
= Morality มีคุณธรรม
= Openness ตรงไปตรงมา
งานวิจัย
M
O
Accountability ตรวจสอบได้
A =
= Creativity มีความสามารถในการสร้างสรรค์ เป้าหมาย (1) ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศในสาขาเกษตรเพิ่มขึ้น (2) ผลิตภาพการผลิตของภาคเกษตรเพิ่มขึ้น
รายได้เกษตรกรเพิ่มขึ้นอย่างกระจายและต่อเนื่อง (4) ความมั่นคงด้านน�้าทางการเกษตรของประเทศเพิ่มขึ้น วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566
(3)
ที่ตั้ง : เลขที่ 3 ถนนราชด�าเนินนอก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 แจ้งเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ : moacbfa@gmail.com : 02-2815884 : 1170 (MOAC Call Center) : webmaster@opsmoac.go.th : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ : MOAC Thailand : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ช่องทางการติดต่อกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566
Preorder ให้แก่ผู้บริโภคทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ซึ่งจะช่วยกระจายสินค้า เกษตรและแก้ไขปัญหาสินค้าเกษตร ล้นตลาดในแต่ละฤดูกาลได้อย่างเต็ม รูปแบบ ทั งนี ผ้สนใจสามารถดาวน์โหลด แอป MOC Agri Mart ทังระบบปฏิบัติ การ Android และ iOS มาใช้งานฟรี! หรือเลือกซื อสินค้าผ่านเว็บไซต์ www.mocagrimart.com ได้เช่นกัน
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 31 Agriculture and Cooperatives เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง รัฐบาลเปิดตัว
MOC
ส่งเสริมการซื้อขายสินค้าเกษตรออนไลน์ ไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง ตามนโยบายรัฐบาลที่มุ่งขับ เคลื่อนการส่งเสริมธุรกิจ ออนไลน์แก่ผู้ประกอบการรายย่อย ในภาคการเกษตร เพื่อขายสินค้าถึง ผู้บริโภคโดยตรงไม่ต้องผ่านพ่อค้า คนกลาง ขณะนี้ กระทรวงพาณิชย์ได้ เปิดตัวแพลตฟอร์มเกษตรผลิตพาณิชย์ ตลาด ผ่านแอปพลิเคชั่นชื่อ “MOC Agri Mart” สามารถซื้อขายสินค้าได้ตลอด 24 ชั่วโมง และเป็นการเพิ่มทางเลือกให้ กับผู้บริโภค มีทั้งผัก ผลไม้ สินค้าเกษตร แปรรูป ผลิตภัณฑ์สมุนไพร เป็นต้น ซึ่ง ความส�าเร็จในครั้งนี้ เกิดขึ้นจากความ ร่วมมือกันระหว่างกระทรวงพาณิชย์ กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ร่วม กับด�าเนินการภายใต้วิสัยทัศน์ “เกษตร ข่าวสารแวดวง เกษตรฯ ผลิต พาณิชย์ตลาด” เพื่อพัฒนาภาค เกษตรไทยไปสู่เป้าหมายของการเป็น ศูนย์กลางสินค้าเกษตรและอาหาร คุณภาพของโลก มากไปกว่านั้น แอป MOC Agri Mart นี้ จะเป็นสื่อกลางในการให้ข้อมูลสินค้า เกษตร สินค้าชุมชน เเหล่งท่องเที่ยวเชิง เกษตร เเละข้อมูลอื่นๆ รวมทั้งสนับสนุน ให้เกิดการซื้อขายสินค้าเกษตรผ่าน ช่องทางออนไลน์ จากเกษตรกร ผู้ผลิต เเละผู้ประกอบการไปถึงมือผู้บริโภค โดยผ่านกลไกการท� า งานของเซลส์ แมนจังหวัด (พาณิชย์จังหวัด) และ เซลส์แมนประเทศ (ทูตพาณิชย์) ใน การระบายสินค้าเกษตรตามฤดูกาล ของแต่ละจังหวัดในลักษณะ
“แอปฯ
Agri Mart”
Suzuki CEO Tokyo City Seika Co. Ltd.
และผลิตผลส�าหรับพ่อค้าคนกลาง เป็น
ศูนย์กลางพบปะระหว่างผู้ประกอบการ
า คัญกับสุขภาพและการบริโภค อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและ ปลอดภัย ซึ่งสินค้าเกษตรไทยนับว่า ตอบโจทย์ความต้องการของผ้บริโภค ในญี่ปุ่น โดยเฉพาะผลไม้ที่ได้รับความ นิยม เช่น ทุเรียน มะม่วง กล้วย และ สับปะรด โดยทาง Mr.Tohiyuki Suzuki ก็ยินดีและพร้อมขยายความร่วม มือกับประเทศไทยอย่างเต็มที่
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 32
ศูนย์กลางยักษ์ใหญ่ใจกลางกรุงโตเกียว เตรียมดันสินค้าเกษตร
ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์หารือร่วมกับ Mr.Tohiyuki
เฉลิมชัย หารือ CEO ตลาดโทโยสุ
ผลไม้-พืชผักไทย เจาะตลาดแดนอาทิตย์อุทัย
ผู้บริหารตลาดToyosu (โทโยสุ) ซึ่ง เป็นตลาดปลาที่มีชื่อเสียงใจกลางกรุง โตเกียวที่ย้ายมาจากสึคิจิพร้อมเตรียม ขยายความร่วมมือในการกระกระจาย สินค้าเกษตรไทย โดยเฉพาะกลุ่มผล ไม้และพืชผักสู่ตลาดโทโยสุในอนาคต ส�าหรับตลาดโทโยสุ ของญี่ปุ่น นอกจาก มีชื่อเสียงโด่งดังในฐานะศูนย์กลาง ตลาดปลาและผลิตภัณฑ์ทางทะเลแล้ว ปัจจุบันยังมีกลุ่มสินค้าผักผลไม้ รวม ทั้งของช� า ต่างๆ โดยเป็นตลาดค้าส่ง
ชาวญี่ปุ่นและต่างประเทศ ซึ่งจุดเด่น ของตลาดโทโยสุเน้นให้ความส าคัญ กับมาตรฐานความปลอดภัยและ ความมั่นคงทางอาหาร มีการควบคุม อุณหภูมิที่เหมาะสมกับสินค้าแต่ละ ชนิด โดยการออกแบบโครงสร้างอาคาร ให้ง่ายต่อการรักษาความสะอาด มีการ รักษาสิ่งแวดล้อมและประหยัดพลังงาน โดยการใช้หลอดไฟ LED และพลังงาน แสงอาทิตย์ (Solar Energy) และจัด ให้มีพื้นที่สีเขียว มากกว่า 30% ของ พื้นที่ตลาด รวมถึงระบบการบ�าบัดน�้า เสียที่มหานครโตเกียวเป็นผู้รับผิดชอบ นอกจากนี้ ยังจัดเส้นทางคมนาคม เพื่ออ�านวยความสะดวก และที่ส�าคัญ เป็นแหล่งเชื่อมโยงกระจายสินค้าไป ยังตลาดอื่นๆ ในชุมชนและทั่วประเทศ ญี่ปุ่น “การหารือร่วมกันในครั้งนี้ ถือเป็น โอกาสอันดีของไทย ในการขยายฐาน การตลาดสินค้าเกษตรไทยไปส่ต่าง แดน โดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่น ซึ่งมี กลุ่มประชากรจ� า นวนมากที่ให้ความ ส�
ซึ่งนับ เป็นการเสริมสร้างความแข็งแกร่งของ ทั้งสองประเทศ และสร้างความมั่นใจ ในคุณภาพของสินค้าเกษตรร่วมกัน” ดร.เฉลิมชัย กล่าว
หมอดินอาสา และเกษตรกร ณ บ้าน
กลาง หมู่ที่ 2 ต� า บลยุหว่า อ� า เภอ
สันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับ
55 จังหวัดที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด
การเผาในพื้นที่เกษตรกรรมให้บรรลุ
ตามเป้าหมายการลดการปลดปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิให้เป็น
ให้
เพื่อไถกลบตอซังพืชพร้อมกันทั่วประเทศ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 33 Agriculture and Cooperatives เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง หวังสร้างความตระหนักรู้ให้เกษตรกรในพื้นที่ ฟื้นฟูคุณภาพดินสำาหรับการเพาะปลูก ตั้งเป้าสู่ Zero Carbon ในปี 2613 ปลัดเกษตรฯ Kick Off กิจกรรม “ไถกลบแทนเผา บรรเทามลพิษ พิชิตหมอกควัน” นายประยูร อินสกุล ปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เปิดเผย ภายหลังเป็นประธาน Kick Off กิจกรรม “ไถกลบแทนเผา บรรเทามลพิษ พิชิตหมอกควัน” พร้อมด้วย นาย ปราโมทย์ ยาใจ อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน ภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน
การเผา (Hot Spot) ทั่วประเทศผ่าน ระบบออนไลน์ ว่า กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ได้ให้ความส�าคัญกับการพร้อม ขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหา
พ.ศ. 2613 ตามที่ได้ให้ ค�ามั่นไว้ในเวทีโลก โดยกรมพัฒนาดิน ในฐานะหน่วยงานที่ร่วมส่งเสริมการ ลดก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่เกษตร ได้ ส่งเสริมให้เกษตรกรลด ละ เลิก การ เผาเศษวัสดุทางการเกษตร เปลี่ยนมา ใช้วิธีการไถกลบตอซังพืช แทนการเผา เพื่อหยุดยั้งปัญหาการปล่อยก๊าซเรือน กระจกจากการเผาวัสดุทางการเกษตร ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพ ของประชาชน เศรษฐกิจและการท่อง เที่ยวของประเทศ “การจัดงาน ไถกลบแทนเผา บรรเทา มลพิษ พิชิตหมอกควัน ปีงบประมาณ 2566 ในครั้งนี้ นับเป็นนิมิตรหมายที่ดี ที่ทุกภาคส่วน ได้ร่วมมือกันทุกวิถีทาง เพื่อหยุดการเผาในพื้นที่เกษตรกรรม สนับสนุนและผลักดันกิจกรรมของทุก หน่วยงานเพื่อให้เกิดความตระหนัก ร ถึงปัญหาจากการเผาที่ส่งผลต่อสิ่ง แวดล้อมและทรัพยากรดิน จึงขอให้ ทุกคนร่วมแรงร่วมใจ ไถกลบแทนเผา บรรเทามลพิษ พิชิตหมอกควัน เพื่อน� า มาซึ่งความมั่นคงของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยต่อไป” ปลัดเกษตรฯ กล่าว ด้าน นายปราโมทย์ ยาใจ อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน กล่าวเพิ่มเติมว่า “กรม พัฒนาที่ดินจัดงานดังกล่าวขึ้น โดยมีศนย์กลางการจัดงาน ณ บ้านกลาง หม่ที่ 2 ต� าบลยุหว่า อ� าเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมกับ 55 จังหวัดที่มีความเสี่ยง ต่อการเกิดการเผา (Hot Spot) ทั่วประเทศ มีการถ่ายทอดสดพร้อมกันผ่านระบบ Zoom conference Meeting และ Facebook live ผ่านเพจ กรมพัฒนาที่ดิน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยส่งเสริมให้เกษตรกรได้ตระหนักร้ถึงการท� าเกษตรกรรม ที่ไม่เผาฟางและตอซังพืช ช่วยให้ดินดีคงความอุดมสมบรณ์ไม่ถกท� าลาย และยัง ช่วยบ�ารุงดินให้มีอินทรียวัตถุเพิ่มขึ้น เกิดความสมดุลของระบบนิเวศดินแล้ว ยัง ส่งผลให้พื้นที่เกษตรกรรมที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดการเผาลดลง รวมถึงช่วยลด ปัญหาหมอกควันและฝุ่นละออง ส่งผลดีต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม และยังช่วย ลดผลกระทบต่อการเกิดภาวะโลกร้อน”
เครือข่าย การสาธิตการไถกลบตอซังพืช โดยปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เกียรติเป็นผู้น�าขบวนรถไถ
รวมทั้งมีการ แจกเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสดให้เกษตรกรร่วมหว่านเมล็ดพันธุ์ในแปลงสาธิตอีกด้วย
ศูนย์ภายในปี
ส�าหรับกิจกรรมภายในงานงานมีการจัดแสดงนิทรรศการร่วมกับหน่วยงานภาคี
เกษตรกรในภาวะดังกล่าว จึงเป็นการ ตอกย�้ า ว่าระบบสหกรณ์เป็นที่พึ่งของ สมาชิกเกษตรกรอย่างแท้จริง และเป็น สถาบันที่จะช่วยถ่วงดุลทางการตลาด กับภาคเอกชน
“จะเห็นได้ว่าในสถานการณ์ที่ลาน เทเอกชนปิดการรับซื้อด้วยสาเหตุใด ก็ตาม สหกรณ์ก็ยังขับเคลื่อนได้เพื่อ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 34 ‘รมช.มนัญญา’ รุดแก้ปัญหาผลผลิตปาล์มล้นตลาด จ.กระบี่ ดันสหกรณ์รับซือปาล์มน�ามันช่วยเกษตรกร แก้ปัญหาความเดือดร้อน ราคาเป็นธรรม นางสาวมนัญญา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ กล่าวในโอกาส ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมชุมนุมสหกรณ์ ชาวสวนปาล์มน�้ามันกระบี่ พร้อมด้วย นายวิศิษฐ์ ศรีสุวรรณ์ อธิบดีกรมส่ง เสริมสหกรณ์ นางสาวอัญมณีถิรสุ ทธิ์ รองอธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ นายภัสชญภณ หมื่นแจ้ง รองอธิบดี กรมวิชาการเกษตร โดยมี นายอนุวร รตน์ โหมดพริ้ง รองผู้ว่าราชการจังหวัด กระบี่ นายสมชาย เทพจิตร ประธาน กรรมการชุมนุมสหกรณ์ชาวสวนปาล์ม น�้า มันกระบี่ จ� า กัด สมาชิกชุมนุม สหกรณ์ฯ เข้าร่วม ณ ชุมนุมสหกรณ์ ชาวสวนปาล์มน�้ า มันกระบี่ จ� ากัด ต�า บลคลองยาอ� า เภออ่าวลึก จังหวัด กระบี่ ว่า ปาล์มน้ ามันเป็นพืชเศรษฐ กิจที่ส� าคัญในเขตภาคใต้ กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ จึงได้มีแนวทาง ในการส่งเสริมการปลูกปาล์มน้ ามัน ในพื้นที่จังหวัดกระบี่ โดยใช้กลไก สหกรณ์ขับเคลื่อน ผ่านชุมนุมสหกรณ์ ชาวสวนปาล์มน�้ามันกระบี่ จ�ากัด ซึ่ง ขณะนี้พบว่า เกษตรกรในพื้นที่ประสบ ปัญหาราคาปาล์มตกต�่า และมีปัญหา การลักลอบปาล์มนอกโควต้าเข้ามา ในประเทศไทย จึงได้ขอความร่วมมือ ให้ชุมนุมสหกรณ์ฯ ด� า เนินการรับซื้อ ผลผลิตปาล์มน�้ามันจากเกษตรกรและ สมาชิกอย่างต่อเนื่องเพื่อช่วยเหลือ ประชาชน เนื่องจากพบว่า ลานเทของ เอกชนในพื้นที่หลายแห่งปิดการรับ ซื้อ ดังนั้น ขอให้สหกรณ์เป็นที่พึ่งของ เกษตรกรเพื่อช่วยเหลือบรรเทาความ เดือดร้อน ทั้งนี้ จากรายงานของประธานกรรมการ ชุมนุมสหกรณ์ชาวสวนปาล์มน�้ ามัน กระบี่ จ�ากัด ได้รายงานว่า ขณะนี้ราคา รับซื้อผลปาล์มดิบ ณ ปัจจุบัน วันที่ 20 ม.ค.66 อยู่ที่ 4.80 บาทต่อกิโลกรัม และพร้อมจะขยับราคารับซื้อเพิ่มเป็น 5 บาทต่อกิโลกรัม เพื่อช่วยเหลือสมาชิก ตามที่ได้ขอความร่วมมือให้ช่วยเหลือ
เป็นเรื่องการเมือง เพราะเชื่อว่าไม่มีใคร
เอาความเดือดร้อนของเกษตรกรมา
ส� าหรับกรณี
(ดีเอสไอ) จะเข้ามา ช่วยดแลเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว เบื้อง ต้นจะมีการหารือกับกรรมการสหกรณ์
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 35 Agriculture and Cooperatives เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง ช่วยเหลือสมาชิก จึงขอให้ทุกคนช่วย กันรักษาสหกรณ์ให้เกิดความเข้มแข็ง นอกจากนี้ได้ก� า ชับให้กรมวิชาการ เกษตรตรวจจับการน� า เข้าอย่างเข้ม งวด อย่างไรก็ตาม เรื่องการหยุดรับซื้อ ผลปาล์มจากเกษตรกรไม่อยากให้มอง
เป็นเครื่องมือทางการเมือง
ปัญหาโรงงานสกัดน�้ ามันปาล์ม สาขา อ� า เภอคลองท่อม ซึ่งเคยอย่ในการ ดแลของชุมนุมสหกรณ์ชาวสวนปาล์ม น�้ ามันกระบี่จ� ากัด ที่มีปัญหาเรื่องการ จัดท� า สัญญาซื้อขายโรงงานที่ไม่ชอบ ธรรม ขณะนี้ได้รับการประสานจากกรม สอบสวนคดีพิเศษ
ในวันที่ 25 ม.ค.นี้ เพื่อช่วยแก้ไขและ น� าโรงงานสกัดแห่งนี้กลับเข้ามาอย่ใน ความดแลของชุมนุมสหกรณ์ชาวสวน ปาล์มน�้ามันกระบี่ จ�ากัด ต่อไป” รมช. มนัญญา กล่าว ทั้งนี้ ได้เน้นย�้
อาชีพมาช่วยในการบริหารจัดการ สหกรณ์
แก่สมาชิก
ส่งออกซึ่งปาล์มจะต้องมีคุณภาพ เพื่อแข่งขันกับต่างประเทศ และผลัก ดันให้เกษตรกรชาวสวนปาล์มเข้า สู่ระบบมาตรฐาน RSPO (Roundtable on Sustainable Palm Oil) ซึ่ง เป็นมาตรฐานการผลิตปาล์มน�้ ามัน และน�้ า มันปาล์ม ที่ได้รับการยอมรับ ในระดับนานาชาติ เป็นมิตรกับสิ่ง แวดล้อมและรับผิดชอบต่อชุมชน เพื่อ สร้างความมั่นใจให้กับประเทศคู่ค้า จึง อยากเชิญชวนเกษตรกรชาวสวนปาล์ม ทั่วประเทศเข้ามาสู่ระบบนี้เพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ จังหวัดกระบี่ มีเกษตรกรปลูก ปาล์มน�้ามันจ�านวน 41,156 ราย พื้นที่ เพาะปลูกจ�านวน 1,151,415 ไร่ ผลผลิต ที่ได้ 3,345,467 ตันต่อปี ผลผลิตเฉลี่ย 3 ตันต่อไร่ มีสหกรณ์ที่ด� า เนินธุรกิจ รวบรวมผลผลิตปาล์มน�้ ามันจ�า นวน 14 แห่งส�าหรับชุมนุมสหกรณ์ชาวสวน ปาล์มน�้ามันกระบี่ จ�ากัด จดทะเบียน สหกรณ์เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2540 ด้วยทุนจดทะเบียน 60,000 บาท อีก ทั้ง ประธานชุมสหกรณ์ฯ ได้รายงาน ว่า ปัจจุบันชุมนุมสหกรณ์ฯ มีทุนด�าเนิน งานเพิ่มเป็น 391.18 ล้านบาท มี โรงงานสกัดน�้ า มันปาล์ม จ� า นวน 2 แห่ง คือ โรงงานสกัดน�้ ามันปาล์ม สาขา อ� าเภออ่าวลึก ขนาดก�าลังการผลิต 90 ตันทะลายต่อชั่วโมง สามารถรองรับ ผลผลิตปาล์มน�้ามันได้ 2,000 – 2,200 ตันต่อวัน และโรงงานสกัดน�้ ามันปาล์ม สาขาอ� าเภอคลองท่อม ขนาดก�าลังการ ผลิต 45 ตันทะลายต่อชั่วโมง สามารถ รองรับผลผลิตปาล์มน�้ามันได้ 1,200 –1,400 ตันต่อวัน ซึ่งปัจจุบันอยู่ในการ ครอบครองของบริษัทเอกชนแห่งหนึ่ง ส�า หรับผลการด� า เนินงานในปีบัญชี 2565 ในส่วนของโรงงานสกัดน�้ ามัน ปาล์ม สาขาอ� า เภออ่าวลึก สามารถ รวบรวมผลผลิตปาล์มน�้ ามันทั้งสิ้น จ�านวน 190,393.25 ตัน คิดเป็นมูลค่า 1,441.34 ล้านบาท สามารถจ�าหน่าย สินค้าที่ได้จากการแปรรูปผลผลิต ปาล์มน�้ า มัน ดังนี้ 1) น�้ า มันปาล์ม ดิบ จ�า นวน 32,020.43 ตัน มูลค่า 1,282.14 ล้านบาท 2) เมล็ดใน จ�านวน 10,058.90 ตัน มูลค่า 205.95 ล้าน บาท 3) กะลาปาล์ม จ�านวน 6,257.35 ตัน มูลค่า 22.86 ล้านบาท 4) ทะลาย เปล่า จ� า นวน 36,962.98 ตัน มูลค่า 5.25 ล้านบาท จากนั้น รมช.มนัญญา เดินทางเยี่ยม ชมแปลงสาธิตการผลิตปาล์มน�้ ามัน ของนายจรัส ปทุมสุวรรณ ประธาน กลุ่มแปลงใหญ่ต้นแบบ (ปาล์มน�้ามัน) สหกรณ์นิคมอ่าวลึก ณ ต� า บลคีรีวง อ�าเภอปลายพระยา จังหวัดกระบี่ ซึ่ง ได้รับใบรับรองมาตรฐาน RSPO โดย ด�าเนินกิจกรรมปลูกปาล์มและยังปลูก พืชร่วมและพืชแซมในสวนปาล์ม ท�า ให้สามารถจ าหน่ายเป็นรายได้เสริม เพิ่มขึ้น เช่น การปลูกสละร่วมในสวน ปาล์มน้ามัน โดยในพื้นที่ 3 ไร่ สามา รถจ าหน่ายสละได้90,000 บาทต่อปี สร้างรายได้เสริมได้เป็นอย่างดี
า ให้สหกรณ์หามือ
เพื่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุด
รวมถึงได้เน้นย�้ า เรื่องการ
ในกรณี
ของการตรวจสอบและด� า เนินคดีกับผู้ลักลอบน� า เข้าชิ้น
เกษตรกรและผ้บริโภคมั่นใจว่ากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ปกป้องอาชีพของเกษตรกรและได้คุ้มครองสุขภาพของผ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 36 รมว.เฉลิมชัย ฝังทำาลายหมูเถื่อน 7 แสน กก. มากที่สุดเป็นประวัติการณ์ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เป็นประธานในพิธีฝังท�าลาย ชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรของกลาง ลักลอบน� า เข้าผิดกฎหมายมากที่สุด ครั้งแรกในประวัติการณ์ จ�านวนทั้งสิ้น 723,786 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 123 ล้านบาท โดยมีนายณัฏฐกิตติ์ ของ ทิพย์ อธิบดีกรมการข้าว คณะผู้บริการ กระทรวงเกษตรฯ และเจ้าหน้าที่ที่ เกี่ยวข้องเข้าร่วมในพิธี ณ ศูนย์วิจัยและ พัฒนาอาหารสัตว์เพชรบุรี อ�าเภอชะอ�า จังหวัดเพชรบุรี ดร.เฉลิมชัย เปิดเผยว่า กรมปศุสัตว์และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องได้ร่วมกันปฏิบัติงานบังคับใช้กฎหมาย
ส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรอย่างเคร่งครัดเสมอมา การ ปราบปรามการลักลอบน�าเข้าชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกร อย่างผิดกฎหมาย เป็นการปกป้องเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรโดย เฉพาะรายย่อย และเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค เนื่องจากชิ้น ส่วนเครื่องในและ เนื้อสุกรที่ลักลอบน�าเข้าโดยไม่ผ่านการ ตรวจสอบอาจมีเชื้อโรคระบาดต่อสัตว์และไม่ปลอดภัย ต่อผู้บริโภค รวมถึงท�าลายกลไกราคาสุกรภายในประเทศ สร้างความเสียหายต่อระบบการเลี้ยงสุกรของประเทศไทย อย่างมหาศาล “การฝังท� าลายชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรของกลางใน วันนี้มีจ� านวนมากถึง จ�านวน 723,786 กิโลกรัม คิดเป็น ม ลค่า 123 ล้านบาท ซึ่งจ� า เป็นต้องใช้รถบรรทุกสิบล้อ พ่วง จ�านวน 35 เที่ยว รถบรรทุกสิบล้อ จ�านวน 3 เที่ยว รถ บรรทุกต้คอนเทนเนอร์ จ�านวน 1 เที่ยว ถือเป็นจ�านวนมาก ที่สุดในประวัติศาสตร์ที่เคยด� า เนินการมา และขอให้พี่น้อง
บริโภคอย่างเต็มที่ และยังคงด� าเนินการอย่างเข้มข้นต่อไป” ดร.เฉลิมชัย กล่าว ทั้งนี้ วิธีการฝังท�าลายชิ้นส่วนเครื่องในและเนื้อสุกรของกลาง เป็นไปตามมาตรฐานขององค์การสุขภาพสัตว์โลก (World Organization for Animal Health หรือ WOAH) ซึ่งเป็นวิธี ที่เหมาะสมในการท�าลายซากและของเสียจากสัตว์ปริมาณ มากที่สามารถท�าได้ง่าย ประหยัดค่าใช้จ่าย มีประสิทธิภาพ ในการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค และไม่กระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม
เกษตรและสหกรณ์เป็นประธานเปิด งานนิทรรศการ “เปิดบ้านฝนหลวง : Fonluang Open House” ณ บริเวณ ลานสนามหญ้า กรมฝนหลวงและการ บินเกษตร ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 25 –27 มกราคม 2566 เพื่อสร้างการรับรู้ และความเข้าใจเกี่ยวการน�าองค์ความ รู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีด้านการดัด แปรสภาพอากาศไปประยุกต์ใช้ในการ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติการฝน หลวงให้กับเจ้าหน้าที่ของกรมฝนหลวง แลการบินเกษตร พร้อมส่งเสริมให้เกิด ความเข้าใจอันดีและความเข้มแข็งของ หน่วยงาน และเพื่อเป็นการเผยแพร่
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 37 Agriculture and Cooperatives เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง ครบรอบ 10 ปี กรมฝนหลวงฯ “1 ทศวรรษแห่งการพัฒนา ต่อยอด ตามแนวพระราชดำาริ” เปิดนิทรรศการ “เปิดบ้านฝนหลวง” พร้อมจับมือ 3 หน่วยงาน แก้ปัญหาภัยแล้งและภัยพิบัต ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็น ประธานในพิธีงานวันคล้ายวันสถาปนากรมฝนหลวงและการบินเกษตร ครอบรอบปีที่ 10 “1 ทศวรรษแห่งการพัฒนา ต่อยอดตามแนวพระราชด�าริ” และได้อ่านสารอ�านวยพรและมอบโอวาทให้แก่คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่กรม ฝนหลวงและการบินเกษตร เพื่อสร้างขวัญและก� า ลังใจให้แก่บุคลากรกรมฝน หลวงและการบินเกษตรในการปฏิบัติหน้าที่ โดยมี นายธนา ชีรวินิจ เลขานุการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายสมเกียรติ กอไพศาล ประธาน คณะท�างานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายประยูร อินสกุล ปลัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และผู้บริหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เข้าร่วม ณ กรมฝนหลวงและการบินเกษตร ซึ่งตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา กรมฝนหลวง และการบินเกษตรมุ่งมั่นสืบทอดพระราชปนิธานของพระบาทสมเด็จพระบรมชน กาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในการแก้ปัญหาภัยแล้ง ไฟ ป่า หมอกควัน และยับยั้งความรุนแรงจากพายุลูกเห็บ ในขณะเดียวกันก็ยังมีการ วิจัย พัฒนาความรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านการดัดแปรสภาพอากาศอย่าง ไม่หยุดยั่งควบคู่ไปด้วย เพื่อสืบสาน รักษา และต่อยอดในการช่วยเหลือประชาชน ส�าหรับการก้าวเข้าสู่ปีที่ 11 กรมฝนหลวงและการบินเกษตรจะยังคงยึดมั่นที่จะ พัฒนาให้เป็นองค์กรอัจฉริยะด้านการบริหารจัดการน�้าในชั้นบรรยากาศและการ
บินเกษตรอย่างสมดุลและยั่งยืน
จากนั้นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ร่วมทดลองและเป็นวิทยากรให้ความรู้
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ยังได้
ความเดือดร้อนให้กับพี่น้องประชาชน จึงต้องขอขอบคุณและขอเป็นก� าลังใจ ให้เจ้าหน้าที่กรมฝนหลวงและการบิน
จึงต้องสร้างขวัญและก� า ลังใจให้กับผ ปฏิบัติงาน เพื่อให้ปฏิบัติตามภารกิจให้ เกิดประโยชน์สงสุดให้กับประเทศชาติ และส�าหรับการจัดงานนิทรรศการ “เปิด บ้านฝนหลวง” ในครั้งนี้ จะเป็นการ เผยแพร่ภารกิจของกรมฝนหลวงฯ
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผ
ท่านจะได้รับประโยชน์ เกิดความร ความเข้าใจ เกิดภาพลักษณ์อันดี และ ส่งเสริมให้กรมฝนหลวงและการบิน เกษตรสามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ภาคการเกษตรเกิด พัฒนา พี่น้องเกษตรกรและประชาชน ชาวไทยมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนต่อไป” ดร.เฉลิมชัย กล่าว
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 38 ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปเข้าใจ ในบทบาท หน้าที่ และภารกิจของกรม ฝนหลวงและการบินเกษตร นอกจาก นี้ ยังได้มีการเชิญนักเรียนและเยาวชน ในโรงเรียนต่างๆ ของพื้นที่กรุงเทพและ พื้นที่ใกล้เคียงเข้าร่วมงาน โดยภายใน งานมีการจัดแสดงเครื่องบินปฏิบัติการ ฝนหลวงยุคแรกเริ่มแบบ CESSNATU 206G
า การเมื่อเดือน
อากาศแบบเคลื่อนที่พร้อมเจ้าหน้าที่ ให้ความรู้ การน� า เสนอความรู้ด้าน วิชาการฝนหลวงในหัวข้อ เทคโนโลยี ฝนหลวง นวัตกรรมฝนหลวง และองค์ ความรู้ฝนหลวง พร้อมออกบูธกิจกรรม ต่างๆ ให้เยี่ยมชมมากมาย ไม่ว่าจะเป็น บูธนิทรรศการให้ความรู้เรื่องขั้นตอน การท� า ฝน แลปฝนหลวง การทดลอง วิทยาศาสตร์ด้านเคมี การทดสอบและ ตรวจวัดคุณภาพน�้ า ฝน การน� า เสนอ ระบบข้อมูลสนับสนุนการปฏิบัติการ ฝนหลวง บูธประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ช่องทางการติดต่อสื่อสารของกรมฝน หลวงและการบินเกษตร โดยแต่ละบูธ จะมีผู้เชี่ยวชาญและนักวิทยาศาสตร์
ซึ่งเข้าประจ�
มีนาคม 2522 การจัดแสดงบอลลูน ตรวจสภาพอากาศและรถตรวจสภาพ
ประจ�าบูธต่างๆ ด้วย นอกจากนี้ ภายในงานรัฐมนตรีว่าการ
เป็นสักขีพยานในพิธีลงนามบันทึกข้อ ตกลงความร่วมมือด้านวิชาการ โดย มี นายสุพิศ พิทักษ์ธรรม รองอธิบดี กรมฝนหลวงและการบินเกษตร รักษา ราชการแทนอธิบดีกรมฝนหลวงและ การบินเกษตร ลงนามร่วมกับ 3 หน่วย งาน โดยแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ 1) ด้าน การบริหารจัดการทรัพยากรน�้า ลงนาม บันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับการ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อร่วม กันด�าเนินงานเสริมสร้างความร่วมมือ วิชาการ ด้านการวิจัย และเปลี่ยนองค์ ความรู้ภารกิจที่เกี่ยวข้องกับหน่วย งาน อันน�ามาสู่การบริหารจัดการน�้าใน พื้นที่เกษตรน�้าฝนอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถรองรับภาวะวิกฤตและภัยพิบัติ ด้านน�้ า อย่างเหมาะสม และ 2) ด้าน การวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ลงนามความร่วมมือกับ บริษัท ไทยคม จ� า กัด (มหาชน) เพื่อ ร่วมกันด�าเนินงานวิจัยและพัฒนาด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในการเพิ่มประสิทธิภาพและสนับสนุน ภารกิจการดัดแปรสภาพอากาศ เพื่อ การบริหารจัดการน�้ า และภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ โดยด� า เนินโครงการ ประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติการฝน หลวง ในพื้นที่การเกษตรอาศัยน�้ า ฝน ด้วยเทคโนโลยีส� า รวจระยะไกลและ ปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเชิงดิจิทัลเพื่อ ติดตามและประเมินผลการด�าเนินงาน อันเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ทันสมัย และการยอมรับของประชาชน “วันนี้ถือเป็นอีกหนึ่งวันที่มีความส� าคัญ ของกระทรวงเกษตรฯ ที่กรมฝนหลวง และการบินเกษตรเป็นอีกหนึ่งหน่วย
งานที่มีความส� าคัญในการแก้ไขปัญหา
เกษตรทุกท่าน ในการปฏิบัติหน้าที่จน ส� าเร็จลุล่วง สามารถสนับสนุนให้บรรลุ วิสัยทัศน์ “การเป็นองค์กรอัจฉริยะด้าน บริหารจัดการน�้ าในชั้นบรรยากาศและ การบินเกษตรอย่างสมดุลและยั่งยืน” ของหน่วยงาน อย่างไรก็ตาม มุ่งหวัง ให้องค์กรเดินไปข้างหน้าอย่างมั่นคง
ซึ่ง
้เข้าร่วมงานทุก
เขตการค้าเสรีอาเซียน ASEAN Free Trade Area (AFTA)
ค้าโลก (World Trade Organization
เพื่อน�ามา
ใช้ท� า อาหารและอื่นๆ ผ่าน อย. ปีละ
ประมาณ 3,000 ล้านบาท
“แสดงให้เห็นว่าผ้ประกอบการลดการ
พึ่งพาผลผลิตของเกษตรกรภายใน
จึงมีการน� า เข้ามะพร้าวผล
า กะทิ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 39 Agriculture and Cooperatives เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง
‘นำาเข้ากะทินอก และมะพร้าวผลนอกโควต้า’ นางสาวมนัญญา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ใน การประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาราคาผล มะพร้าวตกต�่า กรมการค้าต่างประเทศ รายงานว่า มียอดน�าเข้ามะพร้าว ตั้งแต่ เดือน ม.ค.-พ.ย. 2565 ตามกรอบ
(WTO) รวม 130,000 ตัน โดยเป็นการ น�าเข้าตาม 2 กรอบดังกล่าว รวม 7,000 ตัน ที่เหลือเป็นการน� า เข้านอกกรอบ WTO ที่เสียภาษีร้อยละ 54 นอกจาก นั้น ส�า
และยา
า เข้าน�้ากะทิจากต่างประเทศ
‘รมช.มนัญญา’ เดินหน้าทวงราคามะพร้าวคืนให้เกษตรกรไทย หลังพบราคาตกจาก 2 สาเหตุ
และองค์การการ
นักงานคณะกรรมการอาหาร
รายงานว่า มียอดตัวเลขน�
โดยเมื่อผ่าน ขั้นตอนการตรวจเรื่องการปนเปื้อน หรือ เชื้อโรคและสารตกค้างตามกฎหมาย อาหารและยาแล้ว อย.
า นาจ ในการติดตามปลายทางของสินค้าดัง
ไม่มีอ�
กล่าว จึงไม่ทราบว่ากะทิเหล่านั้นถูกน�า ไปใช้ในวัตถุประสงค์ใดบ้าง
สินค้าจ� า หน่ายในประเทศและส่งออก จึงส่งผลกระทบต่อราคามะพร้าวของ เกษตรกรไทยโดยตรง อีกทั้ง ภาค เอกชนยอมเสียภาษีน� าเข้ามะพร้าวนอกโควต้าเพื่อเลี่ยงการปฏิบัติตามเงื่อนไข ของคณะกรรมการพืชน�้ า มันและน�้ า มันพืช เช่น การกะเทาะเปลือกในโรงงาน เป็นต้น ดังนั้น การก� าหนดโควต้าน� าเข้ามะพร้าวของ คกก.พืชน�้ ามันฯ แต่ละ ปี จึงอาจไม่ใช่แนวทางแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน อีกทั้ง จะเห็นว่าขณะนี้ราคามะพร้าวขดส� าหรับท�ากะทิในท้องตลาด อย่ที่ 70 บาทต่อ กิโลกรัม ขณะที่ราคารับซื้อมะพร้าวผลจากชาวสวน อย่ที่ 5 - 12 บาทต่อผล จึง เป็นค�าถามว่า ส่วนต่างของราคานี้หายไปไหน แต่เอกชนกลับไปน�าเข้าน�้ากะทิปี ละ 3,000 ล้านบาท และยอมเสียภาษีนอกโควต้า WTO ร้อยละ 54 ท�าไมเราไม่ ช่วยกันซื้อมะพร้าวภายในประเทศ และให้ราคาที่เหมาะสมกับเกษตรกร เพื่อให้ เงินเหล่านี้กลับไปอย่ในมือเกษตรกร ต่างกับราคาน�้ ามันพืชที่ไม่เคยตกเลย ดังนั้น ต้องมาบรณาท� างานร่วมกันเพื่อช่วยแก้ไขปัญหา และให้เกษตกรรได้ราคาผลผลิต ที่เป็นธรรม” รมช.มนัญญา กล่าว นอกจากนั น รมช.มนัญญา ยังได้ก�าชับให้กรมวิชาการเกษตรตรวจมะพร้าว ทีมีการน�าเข้าทังในและนอกโควต้า 100% จากเดิมทีเป็นการสุ่มตรวจ รวม ถึงรวบรวมข้อมลการขอน�าเข้าว่ามีทังหมดกีบริษัท ปริมาณเท่าไหร่อย่างไร
ประเทศ
และน�้
เพื่อมาเป็นวัตถุดิบหรือ
ทั้งยังได้เข้าร่วมในการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ และ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ด้านข้าวและทัศนศึกษาดูงานตาม ที่กรมการข้าวจัดขึ้น ทั้งนี้ การสมัครเป็นชาวนาอาสาจะต้องมีความรู้ความสามารถ และความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับด้านการเกษตรอันเป็นประโยชน์
เกษตรกรรมในพื้นที่ที่สมัคร สามารถติดต่อประสานงานกับ เจ้าหน้าที่และเกษตรกรภายในพื้นที่ได้เป็นอย่างดี สามารถ น�าความรู้ เทคโนโลยี และข้อมูลข่าวสารที่ได้รับถ่ายทอดสู่ เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 40 กรมการข้าว ชวนชาวนามาร่วมเป็น “ชาวนาอาสา” จับมือยกระดับศักยภาพชาวนา นายณัฎฐกิตติ์ ของทิพย์ อธิบดีกรมการข้าว เปิดเผย ว่า กรมการข้าวมีเป้าหมายที่จะให้มีชาวนาอาสา ในทุกหมู่บ้านทั่วประเทศเพื่อเป็นเครือข่ายในการสนับสนุน และท�างานร่วมกันกับกรมการข้าว ซึ่งชาวนาอาสา เปรียบ เสมือนอาสาสมัครเกษตรที่ท� า หน้าที่ช่วยเหลือแนะน� า เกษตรกร เกี่ยวกับกิจกรรมการผลิตข้าว และช่วยเหลือ งานของกรมการข้าว โดยมีหน้าที่ประชาสัมพันธ์กิจกรรม หรือโครงการของกรมการข้าวให้ประชาชนในหมู่บ้านหรือ ชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม รวมทั้งให้ข้อมูลและแจ้งเตือนภัย ธรรมชาติแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งประสานงาน ช่วย เหลือ และให้ข้อเสนอแนะแก่กรมการข้าว รวมทั้งหน่วยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาด้านข้าวของเกษตรกร ในหมู่บ้านหรือชุมชนนั้น รวมถึงการจัดเก็บรวบรวมและ รายงานข้อมูลด้านการผลิต ผลผลิตข้าวและราคาผลผลิต ข้าวในพื้นที่ จัดท� า แผนพัฒนาการผลิตข้าวระดับต� าบล รายงานสถานการณ์การผลิตข้าวและพยากรณ์เตือนภัยการ ระบาด ของศัตรูข้าว และภัยธรรมชาติ ตลอดจนถ่ายทอด ความรู้ ให้ค�าแนะน�า และให้ค�าปรึกษาด้านข้าว อธิบดีกรมการข้าว กล่าวเพิ่มเติมว่า ส�าหรับผู้ที่เข้าร่วมเป็น
อีก
ชาวนาอาสานั้นจะได้รับสิทธิประโยชน์และสิ่งตอบแทน คือ ได้เข้าร่วมโครงการและกิจกรรมต่างๆ ของกรมการข้าว
โดยสามารถสมัครเข้าร่วมเป็น ชาวนาอาสา ได้ที่ศูนย์วิจัยข้าว ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว และ สถาบันวิทยาศาสตร์ข้าวแห่งชาติ ทั่วประเทศ
ต่อเกษตรกรและสังคม มีภูมิล� า เนาหรือประกอบอาชีพ
ทั้งคู่ค้า FTA และอาเซียน
ศรีอ่อน รัฐมนตรี
สหกรณ์ เปิดเผยว่า ประเทศไทย
ในฐานะประเทศผู้ผลิตและส่งออก
มิติ ทั้งการเปลี่ยนแปลงของสภาพ
ภูมิอากาศการเกิดโรคอุบัติใหม่-อุบัติ
งานได้ร่วมกันขับเคลื่อน ภายใต้ 5
ยุทธศาสตร์ของ ดร.เฉลิมชัย ศรีอ่อน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 41 Agriculture and Cooperatives เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง
เผย
ปี
โกยรายได้ทะลุ
ดร.เฉลิมชัย
ว่าการกระทรวงเกษตรและ
กระทรวงเกษตรฯ
สินค้าเกษตรไทย 11 เดือน
65
1.5 ล้านล้านบาท
สินค้าเกษตรอันดับ 13 ของโลกท�าให้ สินค้าเกษตรของไทยต้องพึ่งพาตลาด ต่างประเทศเป็นหลัก
ภายใต้ความท้าทายที่มากขึ้นในหลาย
แต่ปัจจุบัน สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศ
ซ�้า
และนวัตกรรม ความเข้มงวดของ กฎระเบียบทางการค้าและข้อตกลง ระหว่างประเทศ ความผันผวนทาง เศรษฐกิจ ตลอดจนความขัดแย้งทาง ภูมิรัฐศาสตร์ ท�าให้ต้นทุนการผลิตภาค การเกษตรเพิ่มสูงขึ้น แต่สถิติภาพรวม การส่งออกสินค้าเกษตรของไทยไปยัง ประเทศต่างๆ ทั่วโลกในช่วง 11 เดือน ของปี 2565 (มกราคม-พฤศจิกายน 2565) ยังคงแข็งแกร่ง โดยภาพรวม การค้าไทยกับทั่วโลก คิดเป็นมูลค่า 1,553,822
กับช่วงเดียวกันของปี
1,273,761
การก้าวกระโดดของเทคโนโลยี
ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบ
2564 ที่มีมูลค่า
ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 22) ซึ่งการด�าเนินงานต่างๆ ทุกหน่วย
สหดรณ์ ได้แก่ 1) ตลาดน�าการผลิต 2) เทคโนโลยีเกษตร 4.0 3) “3 S” เกษตร ปลอดภัย เกษตรมั่นคงและเกษตร ยั่งยืน 4) เกษตรกรรมยั่งยืน และ 5) บูรณาการท�างานเชิงรุกกับทุกภาคส่วน นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการ ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กล่าวเพิ่มเติมว่า หากพิจารณาเฉพาะ การค้าระหว่างไทยกับประเทศที่ ไทยท� า ความตกลงการค้าเสรี (Free Trade Agreement: FTA) ซึ่งไม่นับรวม ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เปรู ชิลี อินเดีย ฮ่องกง เมื่อเปรียบเทียบ กับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา พบ ว่า ภาพรวมการค้าอยู่ที่ 901,284 ล้าน บาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.52) โดยการส่ง ออกสินค้าเกษตรของไทย มีมูลค่ากว่า 698,500 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.82) และน�าเข้าเป็นมูลค่า 202,784 ล้านบาท ทั้งนี้ ไทยเป็นฝ่ายได้เปรียบ ดุลการค้าคิดเป็นมูลค่า 495,716 ล้าน บาท ตลาดส่งออกที่มีมูลค่ามากที่สุด ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น อินเดีย สาธารณรัฐ เกาหลี และออสเตรเลีย ตามล� าดับ ส�า หรับสินค้าเกษตรที่มีมูลค่าการส่ง ออกสูงสุด ได้แก่ ผลไม้ มูลค่า 164,793 ล้านบาท ของปรุงแต่งจากเนื้อสัตว์ ปลา หรือสัตว์น�้ า 97,145 ล้านบาท ยางพารา 83,919 ล้านบาท พืชผัก เพื่อบริโภค มูลค่า 49,052 ล้านบาท ผลิตภัณฑ์แป้งธัญพืช 41,451 ล้านบาท ไขมันและน�้ามันที่ได้จากสัตว์ หรือพืช มูลค่า 40,521 ล้านบาท และน�้าตาล และผลิตภัณฑ์จากน�้ า ตาล มูลค่า 33,638 ล้านบาท เป็นต้น ทั้งนี้ ส�าหรับความตกลงการค้าเสรีฉบับ ล่าสุดของไทย (RCEP) ที่มีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2565 พบว่า ภาพ รวมการค้ามีมูลค่ากว่า 1,286,028 ล้านบาท โดยการส่งออก มีมูลค่ากว่า 971,508 ล้านบาท และน�าเข้ามีมูลค่า กว่า 314,520 ล้านบาท นอกจากนี้ การค้าสินค้าเกษตรของไทย กับอาเซียน 9 ประเทศ ได้แก่ บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เมียนมาร์
ฟิลิปปินส์ สิงค์โปร์ และเวียดนาม ระหว่างเดือนมกราคม-พฤศจิกายน 2565 เปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกัน
ของปี 2564 พบว่า ภาพรวมการค้า
มูลค่าการค้ารวม 502,353 ล้านบาท
(เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.56) โดยการส่งออก
สินค้าเกษตรไทย มีมูลค่า 351,631
ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.55) และ
น�า เข้าเป็นมูลค่า 150,722 ล้านบาท ทั้งนี้ ไทยเป็นฝ่ายได้เปรียบดุลการค้า
200,909 ล้านบาท โดยที่
ไทยส่งออกไปยัง มาเลเซีย เป็นอันดับ
หนึ่ง และรองลงมา ได้แก่ อินโดนีเซีย
ตามล�าดับ สินค้าเกษตร
ไลน์ ท�าให้เกษตรกรสามารถท�าการผลิตได้อย่างต่อเนื่องและมีช่องทางในการ จ�าหน่ายสินค้าเกษตรมากขึ้น ซึ่งจะเป็นปัจจัยส�าคัญที่ผลักดันการค้าให้เติบโต ต่อไปในปี 2566
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 42
คิดเป็นมูลค่า
และกัมพูชา
ส่งออกสูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ (1) น�้ าตาลและผลิตภัณฑ์จากน�้าตาล อาทิ น�้ าตาลทราย มลค่า 74,985 ล้านบาท (2) เครื่องดื่ม อาทิ น�้าแร่ น�้าอัดลม นม ย เอชที นมถั่วเหลือง ม ลค่า 50,914 ล้านบาท (3) ของปรุงแต่งเบ็ดเตล็ดที่ บริโภคได้ อาทิ เต้าห ครีมเทียม ซอส พริก น�้ าปลา น�้ ามันหอย มลค่า 30,671 ล้านบาท (4) ของปรุงแต่งจากธัญพืช แป้ง และนม อาทิ อาหารทางการแพทย์ ส� าหรับเด็กเล็ก เส้นหมี่ วุ้นเส้น น้ดเดิล พร้อมปรุง มลค่า 26,080 ล้านบาท และ (5) เศษเหลือจากอุตสาหกรรมอาหาร เพื่อเป็นอาหารสัตว์ อาทิ อาหารสุนัขหรือแมว (ปลาบรรจุกระป๋อง) อาหารสัตว์ สัตว์ปีกเลี้ยง สุกร กุ้ง มลค่า 24,040 ล้านบาท จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่า สถิติการค้าสินค้าเกษตรไทยในตลาดโลกยังคง เติบโตได้ดีและสินค้าเกษตรไทยก็ยังเป็นที่ต้องการและยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น หลังจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาดของโควิด-19 ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผ่อนคลายมาตรการ Zero Covid ของ จีนประกอบกับรัฐบาลได้ส่งเสริมให้มีการส่งออกผ่านช่องทางรถไฟจีน-ลาว มาก ขึ้น ท�าให้กิจกรรมการผลิต การค้าและบริการต่าง ๆ การขนส่งสินค้า และการท่อง เที่ยวกลับมาด�าเนินการได้มากขึ้น ส่งผลให้เกษตรกรไทยมีการผลิตสินค้าเกษตร ที่มีคุณภาพมาตรฐานตรงกับความต้องการของตลาด นอกจากนี้ การด� า เนิน นโยบายและมาตรการของภาครัฐในด้านการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต การ ควบคุมคุณภาพมาตรฐาน
และการขยายช่องทางการตลาดทั้งออนไลน์และออฟ
ประชาชนลาว (สปป.ลาว) ในระหว่าง
วันที่ 25-28 มกราคม 2566 พร้อมด้วย
นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรม
วิชาการเกษตร นางสาวอัญมณี
MOU ไทย-สปป.ลาว
และกระทรวงกสิกรรมและป่าไม้
ปี 66 พุ่ง 6 แสนล้านบาท
สปป.ลาว ณ กระทรวง กสิกรรมและป่าไม้ นครหลวงเวียง
เปื้อนและปลอมปนสินค้าระหว่างขนส่งตลอดเส้นทางจนถึงประเทศจีน
มีความสัมพันธ์ที่
แน่นแฟ้นมาอย่างยาวนาน ซึ่งขณะ
นี้ประเทศไทยยังไม่สามารถส่งสินค้า เกษตรไปยังประเทศจีนได้โดยตรง
สปป.ลาวก่อน ดังนั้นหากมี
อุปสรรคติดขัดในจุดนี้ จะส่งผลกระ
ทบกับเกษตรกรไทยอย่างมาก
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 43 เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง ‘รมช.มนัญญา’ บินหารือ
กระชับความสัมพันธ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไทย
สปป.ลาว ดันส่งออก
เดินหน้าขยายโอกาสส่งออกสินค้าเกษตรไทย รมช.มนัญญา ไทยเศรษฐ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยก่อนการ เดินทางเยือนสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ถิรสุทธิ์ รองอธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ และ นายนิรันดร์ มูลธิดา รองอธิบดีกรม ส่งเสริมสหกรณ์ และคณะผู้บริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย ตลอดจนผู้ประกอบการจากภาคเอกชน ณ สนามบินสุวรรณภูมิ ว่า การเดินทาง เยือน สปป.ลาว ในวันนี้จะเข้าเยี่ยม คารวะรัฐมนตรีกระทรวงกสิกรรม
จันทร์ เพื่อกระชับความสัมพันธ์ของทั้ง สองประเทศให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น ตลอด จนส่งเสริมเจตจ� า นงและมิตรภาพที่ดี และเปิดโอกาสในการหารือโครงการ ร่วมกันระหว่างกรมวิชาการเกษตร ราชอาณาจักรไทย และ กรมปลูกฝัง สปป.ลาว ภายใต้กรอบบันทึกความ เข้าใจ (MOU) ระหว่างกระทรวงเกษตร และสหกรณ์
กระทรวงกสิกรรมและป่าไม้
“ไทย-สปป.ลาว
และป่าไม้
ราชอาณาจักรไทยกับ
สปป.ลาว
ต้องผ่าน
ซึ่งไม่ ได้มองว่า สปป.ลาวเป็นทางผ่าน แต่ มองว่าเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจที่จะ ขยายสินค้าจากไทยไปยังจีนซึ่งเป็น ตลาดใหญ่ โดยไทย และสปป.ลาว จะ ต้องหารือร่วมกันและท� างานอย่างใกล้ชิด ในการเป็นหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เพื่อการ เจริญเติบโตและการพัฒนาอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ยังเป็นการสร้างความเชื่อมั่น ให้กับ สปป.ลาวในเรื่องของสุขอนามัยพืชที่มีมาตรการตรวจอย่างเข้มข้นก่อนส่ง ออก รวมถึงประเด็นส�าคัญอย่างเส้นทางรถไฟ ไทย-ลาว-จีน เนื่องจากไทย - จีน มีข้อตกลงการส่งออกผลไม้ผ่านประเทศที่สาม ต้องปิดซีลต ้เพื่อป้องกันการปน
จึงจะขอ ความร่วมมือระหว่างขนส่งผ่าน สปป.ลาว นั้น ลดขั้นตอนการเปิดต้หรือ Break Seal ต้คอนเทนเนอร์ ยกเว้นกรณีมีข้อมลว่ามีการซุกซ่อนสิ่งผิดกฎหมาย ซึ่ง ทางฝ่ายไทยจะน� าตัวอย่างซีลและตัวอย่างใบรับรองสุขอนามัยพืชของไทยที่มี การปรับเปลี่ยนรปแบบรองรับการใช้งาน e-Phyto แสดงต่อทางการ สปป.ลาว ด้วย” รมช.มนัญญา กล่าว รมช.มนัญญา กล่าวเพิ่มเติมว่า การเดินทางครั้งนี้เป็นโอกาสดีของเกษตรกร และ ผู้ส่งออกของไทยที่ได้ร่วมเดินทางด้วย ที่จะได้รับทราบปัญหาที่ด่านของชายแดน ลาว เพื่อน�ามาแก้ปัญหาการแออัดที่ด่านไทย ลดความล่าช้าในการส่งออก ทั้งนี้ จะหารือในประเด็นที่ส� า คัญ อาทิ ระบบโลจิสติกส์ การอ� า นวยความสะดวก ทางการค้า ทั้งทางบกและทางอากาศ การพัฒนาความร่วมมือด้านสุขอนามัยพืช ไทย-ลาว เพื่อป้องกันโรคและศัตรูพืชในสินค้าเกษตรที่ส�าคัญ โดยมีเป้าหมายจัด ตั้งคณะท�างานร่วมไทย-ลาว (Working Group) ด้านวิชาการเกษตรและกักกันพืช ให้แล้วเสร็จภายใน 3 เดือน อีกทั้ง จะมีการหารือในเรื่องการน�าเทคโนโลยีของกรม วิชาการเกษตรไปขยายผลในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ โครงการ ศูนย์พัฒนาและบริการด้านการเกษตรห้วยซ้อน-ห้วยซั้ว ใน สปป.ลาว อีกด้วย รมช.มนัญญา กล่าวว่า จากนโยบายนายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ จันทร์โอชา Agriculture and Cooperatives
ของ สปป.ลาว ใน การอบรมให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้ม แข็งด้านระบบการท�าบัญชี และระบบ
การควบคุมภายในให้แก่สหกรณ์ของ สปป.ลาว จัดโปรแกรมศึกษาดูงานให้ แก่เจ้าหน้าที่ด้านสหกรณ์ของ สปป.
ลาว แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับครูบัญชี
อาสา และ Smart Farmer ของกรม ตรวจบัญชีสหกรณ์ แนะน�าการใช้งาน โปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์ครบวงจร
(Cooperative Full Pack Accounting Software : FAS) ให้แก่สหกรณ์ของ สปป.ลาว
ในส่วนของความร่วมกับกรมส่ง เสริมสหกรณ์ จะมีรายงานผลส� า เร็จ ของโครงการความร่วมมือด้านการ สหกรณ์ระหว่างประเทสไทย-สปป. ลาว โครงการพัฒนาสร้างความเข้ม แข็งให้แก่กลุ่มเกษตรกรและสหกรณ์ การเกษตร (สหกรณ์คู่แฝด ไทย-ลาว) การรายงานผลการประชุมหารือการ พัฒนาโครงการความร่วมมือด้าน การสหกรณ์ ระยะที่ 2 เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2565 ระหว่างกรมส่งเสริม สหกรณ์ ประเทศไทยกับกรมส่งเสริม การเกษตรและสหกรณ์ และพัฒนา
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 44 ที่ย�้าการเป็น “หุ้นส่วนยุทธศาสตร์เพื่อการเจริญเติบโตและการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน” พร้อมฟื้นฟูเศรษฐกิจ เชื่อมโยงการท่องเที่ยว-คมนาคม รอบด้าน กับ สปป.ลาว ลาวเป็นประเทศคู่ค้าอันดับที่ 18 ของไทย โดยในปี 2565 ไทย – ลาว มีมูลค่าการค้าชายแดนและผ่านแดนรวมสินค้าทุกประเภท ทั้งหมดรวม 5.5 แสน ล้านบาท และมีการคาดการณ์ว่าในปีนี้ ตัวเลขการส่งออกด่านชายแดนไทย - ลาว จะเพิ่มเป็น 6 แสนล้านบาท จากยอดการส่งออกสินค้าเกษตรที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น เป็น 50,000-60,000 ล้านบาท ซึ่งในปี
อยู่ที่
ล้านบาท ด่าน ศุลกากรที่ส�าคัญอันดับ 1 คือ ด่านมุกดาหาร มีมูลค่าการค้าชายแดนและผ่าน แดน คิดเป็นมูลค่าการส่งออกและน�าเข้าถึง 2.24 แสนล้านบาท รองลงมาคือ ด่านหนองคาย นครพนมและด่านเชียงของตามล�าดับ ส�าหรับภาพรวมสินค้าเกษตรในการค้าชายแดนและผ่านแดนทางบก ไทย-สปป. ลาว (ม.ค.-พ.ย. 2565) ในปี 2565 ไทย-ลาว มีมูลค่าการค้าชายแดน (สินค้าเกษตร ที่มีใบรับรองสุขอนามัยพืช) ส่งออก ปริมาณรวม 1.1 ล้านตัน คิดเป็นมูลค่า 3.5 พันล้านบาท โดยมีสินค้าเกษตรส่งออกไปลาวที่ส�าคัญคือ ไม้และผลิตภัณฑ์ กาก และของเหลือจากพืช อาหารสัตว์และผลิตภัณฑ์ ข้าว ผลไม้สด เป็นต้น ส�าหรับ การส่งออกผ่านแดนจากลาวไปจีน (สินค้าเกษตรที่มีใบรับรองสุขอนามัย พืช) มีปริมาณรวม 8.06 แสนตัน คิด เป็นมูลค่า 5.66 หมื่นล้านบาท ผ่าน ด่านตรวจพืชเชียงของ ด่านตรวจพืช นครพนม ด่านตรวจพืชมุกดาหาร และ ด่านตรวจพืชหนองคาย ตามล�าดับ นอกจากนี้ ยังเตรียมหารือกับกรม ตรวจบัญชีกลาง
2562-2564
30,000
ชนบท สปป. ลาว
2566
• จ�านวนร้านค้าที่เข้าร่วมจัดแสดงในงานเกษตรแฟร์ 2566 ประมาณ 1,400 ร้านค้า
• โซนการจัดงานภายในงานเกษตรแฟร์ 2566
ใหญ่ ตลาดโบราณ)
โซน B สีสันตะวันฉาย (ร้านค้า SME OTOP วิสาหกิจชุมชน)
C เทคโนโลยีสร้างสรรค์ (สินค้าเครื่องจักรกลทางการเกษตร
และเทคโนโลยีต่างๆ)
, สนามอินทรีจันทรสถิตย์ ติดชมรมดนตรีรวมดาว)
• ร้านค้านิสิต (2 จุด)
• เวทีการแสดงกลาง (พื้นที่ลานดาว หอประชุมใหญ่)
• ร้านอาหารสโมสรนิสิต (12 จุด)
นอกจากโซนต่างๆ ภายในงานแล้ว ส�านักส่งเสริมและฝึกอบรม
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 45 Agriculture and Cooperatives เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง เตรียมตัวให้พร้อม! งานเกษตรแฟร์ ปี 2566 จัดวันที่ 3-11 กุมภาพันธ์ 66 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ประกาศแล้วว่า การจัดงานเกษตร แฟร์ 2566 จะมีขึ้นในวันที่ 3-11 กุมภาพันธ์ 2566 โดยงานปี นี้มาพร้อมคอนเซปต์ “80 ปี เกษตรนนทรี น�าวิถีใหม่ ไทยยั่งยืน” • วัน -เวลา การจัดงานเกษตรแฟร์ 2566 วันศุกร์ที่ 3 -วันเสาร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2566 • สถานที่การจัดงานเกษตรแฟร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพมหานคร
โซน
,ตลาดน�้า
A ตลาดนนทรีวิถีเกษตร (ตลาดบก สินค้าบริโภค
โซน
โซน D สราญรมย์
เกษตร) โซน E ฟินสุดหยุดไม่ได้ (ร้านคาเฟ่ อุปกรณ์ตกแต่งบ้าน) โซน F รังสรรค์ สู่หรรษา (สัตว์เลี้ยงและอุปกรณ์) โซน G ครบเครื่องเรื่องอร่อย (สินค้าเกษตรอุปโภค บริโภค) โซน H Inter นานาชาติ งานวิจัย ร้านค้ามูลนิธิราชวงศ์ (นานาชาติ งานวิจัยมก. ร้านค้ามูลนิธิราชวงศ์ ) โซน J ของดีทั่วไทย ส่งใจถึงมือ (สินค้าจากหน่วยงานภาครัฐ และ แฟรนไซส์) โซน K ระดมชิม ระดมช็อป (สินค้าอุปโภค - บริโภค) โซน L สร้างสรรค์เรื่องงานดี (หน่วยงานพันธมิตร มก.เพื่อ เกษตรกร) โซน Food Truck (2จุด) โซน สวนสนุก (4 จุด) • ศนย์อาหาร (2จุด ได้แก่ แยกโรงเรียนอนุบาลคหกรรมศาสตร์
ชมพฤกษา (ต้นไม้ พันธุ์ไม้ และอุปกรณ์ทางการ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ยังเตรียมกิจกรรมสาธิต ONLINE “เกษตรแฟร์ 2566” โดยจะมีทังองค์ความร้ด้านการเกษตร การ แปรรปอาหาร ศิลปะ และสุขภาพ วันละ 3 ช่วงเวลา 3 ช่องทางรับชม
“Bangkok International Exotic Plants Show & Sale
ถือเป็นการรวมตัวของสวนต้นไม้ชั้นน�าทั้งในประเทศ และต่างประเทศที่ยิ่งใหญ่ที่สุด
อาทิเช่น Ecuador,
Malaysia, Indonesia, Singapore, Philippines, Taiwan, Japan, India, Vietnam, USA, Germany
และอีกหลากหลายสวนต้นไม้ชั้นน� า ในประเทศไทย
ให้เลือกสรรกันอีกมากมาย
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 46 Bangkok International Exotic Plant Show and Sale 1st Big Cactus 12th งานซื้อขายกระบองเพชรและไม้อวบน�้า รวบรวมสวน กันมาทั่วทิศ รอบนี้มีประกวดไม้ขวัญใจสื่อมวลชน ทั้ง 2 วัน 2 ประเภท คือ กระบองเพชรและไม้อวบน�้าใครมี ไม้สวย ไม้เด็ด ต้องยกมาประกวดกันที่ Big Cactus 12 หรือมาช็อปที่งานแล้วส่งประกวดได้เลย • ขวัญใจ Big Cactus ชนะเลิศ ได้รับโล่ห์ที่ระลึก Big Cactus 12 พร้อมเงินรางวัล 1,000 บาท • รางวัลชมเชย 1 รางวัล 500 บาท • ลุ้นรับ Big Voucher 100 บาท ส�าหรับซื้อของใน งาน วันละ 1 5รางวัล รวม 30 รางวัล เพียงร่วมกิจกรรม ในงาน
ครั้งที่ 1” ภายในพบกับสุดยอดต้นไม้หายาก ที่รวบรวมมาอย่างมากมายจากทั่วทุกมุมโลก ทั้ง ไม้ใบด่าง ต้นไม้สะสมที่หาชมได้ยาก ไม้ดอกไม้ ประดับหลากหลายสายพันธุ์ และมีงานนิทรรศการ แสดงโชว์ต้นไม้ที่สวยงามสุด Exclusive อีกทั้งงาน ประกวดต้นไม้ที่เรียกได้ว่า “Super Rare” ให้ได้ชม กันอย่างเพลิดเพลิน มากไปกว่านั้นคุณจะได้พบ กับผู้เชี่ยวชาญด้านต้นไม้ที่จะแบ่งปันความรู้และ ประสบการณ์กันภายในงานอีกด้วย
ๆ ที่เกี่ยวกับต้นไม้
นอกจากต้นไม้แล้วก็มีอุปกรณ์ต่าง
90 ราย
277 ราย ผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ 178 ราย
(ประมาณร้อยละ 4 ของผู้เดินทางสัญชาติเดียวกัน) ทั้งนี้ ประเทศไทยได้มีมาตรการเปิดรับนักท่องเที่ยวทั่วโลก โดยไม่ต้องกักตัวหรือมีผลตรวจโควิด-19 และขณะนี้หลาย ประเทศส่วนใหญ่ในทวีปยุโรปก็ใช้มาตรการเปิดประเทศแบบ ไม่ต้องกักตัวเช่นกัน อย่างไรก็ตาม บางประเทศ มีมาตรการ แตกต่างออกไป เช่น นักท่องเที่ยวต้องได้รับวัคซีนครบ 2 โดส อย่างน้อย 14 วัน
และรักษาหายดีแล้ว
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 47 สธ.เผยสถานการณ์โควิดลดลงจากสัปดาห์ก่อนถึงร้อยละ 32.3 ส่วนความเสี ยงจากนักท่องเทียวอยู่ระดับปกติ สายพันธุ์ที่พบในไทยมากที่สุดยังเป็นโอไมครอน BA.2.75 นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค เปิด เผยว่า สถานการณ์โควิด-19 ในประเทศไทยรอบ สัปดาห์ที่ผ่านมา (15–21 ม.ค. 2566) รายงานผู้ป่วยที่เข้า รับการรักษาในโรงพยาบาล 627 ราย เฉลี่ยวันละ
ผู้
ผู้เสียชีวิต 44 ราย เฉลี่ยวันละ 6 ราย ลดลงจากสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 32.3 โดย ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 มีผู้หายป่วย สะสม 2,593 ราย เสียชีวิต สะสม 167 ราย นพ.ธเรศ กล่าวว่า สถานการณ์ผู้ติดเชื้อชาวต่างชาติทุก สัญชาติที่เดินทางมาจากต่างประเทศ ตั้งแต่วันที่ 8-21 ม.ค. 2566 พบผู้ติดเชื้อ 8 ราย โดยมีอาการต้องเข้ารับการ รักษาในโรงพยาบาลเพียง 1 ราย และที่เหลือส่วนใหญ่ไม่มี อาการ สัญชาติที่ตรวจพบเชื้อ อันดับ 1 คือ จีน 3 ราย เมีย นมา กัมพูชา ญี่ปุ่น อังกฤษและเกาหลีใต้ อย่างละ 1 ราย อัตราการพบผลบวกต่อโรคโควิด-19 ในช่วงสัปดาห์ที่ 2 (8-14 ม.ค. 2566) พบร้อยละ 1.7 สัปดาห์ที่ 3 (15-21 ม.ค. 2566) พบเพียงร้อยละ 0.5 จากการเฝ้าระวังสายพันธุ์โค วิด-19 ในประเทศไทย โดยกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รายงานขณะนี้สายพันธุ์ที่ พบในไทยมากที่สุดเป็นสายพันธุ์โอมิครอน BA.2.75 (86%) ที่เหลือเป็นสายพันธุ์อื่นที่เคยพบในต่างประเทศ และจาก การเฝ้าระวังในกลุ่มผู้ที่ต้องเดินทางไปประเทศที่ก�าหนดให้ ตรวจ RT-PCR เป็นลบก่อนขึ้นเครื่องนั้น ห้องปฏิบัติการต่าง ๆ ได้รายงานข้อมูลการติดเชื้อโควิด-19 เข้าระบบโคแล็บ (CoLab) พบติดเชื้อประมาณ 300-400 ราย มีทั้งชาวไทย และ ชาวต่างชาติ โดยพบผลบวกในนักท่องเที่ยวชาวจีนเพียง 10 กว่าราย
ภายในระยะเวลาไม่เกิน 180-270 วัน หรือ ผู้ที่ติดเชื้อโควิด-19
หลักฐานการตรวจ RT-PCR ไม่เกิน 72 ชม. ก่อนเดินทาง หรือมีผลการทดสอบ Rapid Antigen Test ไม่เกิน 24 ชม. ก่อนเดินทาง เป็นต้น “ขอให้ประชาชนยังคงดูแลตัวเอง และปฏิบัติตามมาตรการ ป้องกันโควิด-19 สวมหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ เลี่ยง ที่แออัดสังเกตอาการตนเอง หากมีไข้ ไอ จาม คัดจมูก มี น�้ามูก จมูกไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รับรสชาติ ให้ตรวจ ATK ทันที เพื่อป้องกันการน� า เชื้อโควิด-19 หากมีข้อสงสัยสามารถ สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ สายด่วนกรมควบคุมโรค โทร. 1422” นพ.ธเรศ กล่าว Agriculture and Cooperatives
ป่วยปอดอักเสบ
มลพิษ “เผาพืชไร่” ดัน “ค่าฝุ่น” พุ่ง
สถานการณ์การเผาพืชไร่ในอุตสาหกรรม เกษตรตกอยู่ในสภาพที่เรียกได้ว่า
“คุมไม่อยู่”
โดยเฉพาะหมอกควันพิษต้นตอจาก “อ้อยไฟ
ไหม้” หรือการเผาไร่อ้อยเพื่อง่ายต่อเก็บเกี่ยว
ซึ่งเป็นวิธีการลดต้นทุนที่ชาวไร่ถือปฎิบัติกัน
เป็นปัญหาเรื้อรังก่อมลพิษ ซ�้าร้ายการ
ประเทศไทยจะสาหัสกว่า 3 ปีที่ผ่านมา
บทความเรื่อง “ท�ำไมต้องเผำอ้อย?”
โดย น.ส.ภัทรียา นวลใย ฝ่ายนโยบาย
โครงสร้างเศรษฐกิจ เผยแพร่ผ่าน
เว็บไซต์ bot.or.th เปิดเผยข้อมูลความ
ว่า การเก็บเกี่ยวอ้อยสามารถท�าได้ 2
วิธี วิธีแรก คือ การตัดอ้อยสด และวิธี
ที่สอง คือ การเผาอ้อยก่อนเก็บเกี่ยว
น้อย 3 ประการ
ประการแรก คือ อ้อยไฟไหม้ตัดง่าย
กว่าอ้อยสด ไม่ต้องเสียเวลาลอกกาบ
ใบ จึงตัดได้ในปริมาณที่มากกว่าอ้อย
สดประมาณ 2 เท่า และแรงงานตัดอ้อย
ไฟไหม้จะมีรายได้สูงกว่าตัดอ้อยสด
ประกอบกับปัญหาขาดแคลนแรงงาน
ยิ่งส่งผลให้แรงงานมีอ�านาจต่อรองใน
การตัดอ้อยไฟไหม้เพิ่มขึ้น
น�้า ตาลทราย โรงงานน�้ า ตาลทรายทั่ว
ประเทศ 57 โรง หลังจาก
มานาน
ลักลอบเผาอ้อยในปี 2566 มีแนวโน้มรุงแรงที่สุด ในรอบ 3 ปี ซ�้าเติมวิกฤต PM 2.5 ดับฝันรัฐบาล ไทยคุมปัญหาฝุ่นพิษ ขณะที่รัฐบาลท� า คลอดแผนปฏิบัติการเร่งด่วนก� า หนดการเผา อ้อยในฤดูการผลิตปี 2565/2566 เป็น 0% แต่ภายหลัง “เปิด หีบอ้อย” ฤดูการผลิต 2565/2566 เพียง 21 วัน มีการลักลอบเผาอ้อย ก่อนตัดส่งเข้าหีบโรงงานน�้าตาลมากถึง 2.3 ล้านตัน คิดเป็น 25.70% ส่งผลกระทบสร้างมลพิษทางอากาศรุนแรง ประมาณการณ์ว่าอ้อยที่ถูกลับลอบเผา 10 ล้านตันเทียบเท่าได้กับการเผาป่า 1 ล้านไร่ และปี
หากเกิดลักลอบ เผาอ้อยเพิ่มขึ้นอีก วิกฤตการณ์ฝุ่นพิษ
2566
หรือที่เรียกกันว่า “อ้อยไฟไหม้” ซึ่ง มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 60 ของ ปริมาณอ้อยทั้งหมด ซึ่งแรงจูงใจที่ ท�าให้เกิดการเผาอ้อยพบว่ามีอยู่อย่าง
ประการที่สอง คือ รถตัดอ้อยมีน้อย ต้นทุนที่สูง และไม่เหมาะสมกับพื้นที่ ประการที่สาม คือ โรงงานน�้ าตาลให้ คิวอ้อยไฟไหม้ก่อนอ้อยสด เนื่องจาก หากโรงงานไม่รีบซื้อภายใน 48 ชั่วโมง ค่าความหวานและน�้าหนักของอ้อยไฟ ไหม้จะลดลงเร็วกว่าอ้อยสด ส�า หรับสถิติการลักลอบเผาอ้อยอัน เป็นสาเหตุส� า คัญประการหนึ่งของ การเกิดฝุ่นพิษ PM 2.5 ในช่วง 3 ปีการ ผลิตที่ผ่านมา พบว่า ปี 2562/2563 มี อ้อยที่ถูกลักลอบเผา 37.18 ล้านตัน, ปี 2563/2564 มีอ้อยที่ถูกลักลอบเผา 17.61 ล้านตัน และปี 2564/2565 มี อ้อยที่ถูกลักลอบเผา 25.12 ล้านตัน ขณะที่ฤดูกาลผลิตใหม่ปี 2565/2566 คาดการณ์ปริมาณอ้อยรวมจะสูงถึง 106 ล้านตัน ที่น่าจับตาหลังเปิดหีบ อ้อยฤดูการผลิต 2565/2566 ได้ไม่ถึง เดือน มีการลักลอบเผาอ้อยก่อนตัดส่ง เข้าหีบโรงงานน�้าตาลมากถึง 2.3 ล้าน ตัน คิดเป็น 25.70% ทั้งนี้ หากโรงงาน น�้า ตาล ชาวไร่อ้อย และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องไม่ร่วมมือกันอย่างจริงจัง การ ลักลอบเผาอ้อยไม่ลดลง ปี 2566 จะส่ง ผลต่อสภาพมลพิษทางอากาศเข้าขั้น วิกฤตรุนแรง ข้อมูลจากส� า นักงานคณะกรรมการ
า
อ้อยและน�้
ตาลทราย (สอน.) เปิด เผยสถานการณ์อุตสาหกรรมอ้อยและ
“เปิดหีบ อ้อย” ฤดูการผลิต 2565/2566 ตั้งแต่ วันที่ 1 ธันวาคม 2565 ต่อเนื่องถึงช่วง เดือนมีนาคม-เมษายน 2566 ระหว่างที่ 1-21 ธันวาคม 2565 มีการลักลอบเผา อ้อยก่อนตัดส่งเข้าหีบโรงงานน�้ า ตาล มากถึง 2.3 ล้านตัน คิดเป็น 25.70% จากปริมาณอ้อยเข้าหีบรวม 9.09 ล้านตัน ทั้งนี้ ปริมาณอ้อยที่ถูกลักลอบเผาในฤดู การผลิต 2564/2565 พบว่า 5 จังหวัดที่ มีการเผามากที่สุด ได้แก่ นครราชสีมา 3.532 ล้านตัน, อุดรธานี 2.649 ล้าน ตัน, กาฬสินธุ์ 2.359 ล้านตัน, ขอนแก่น 1.952 ล้านตัน และเพชรบูรณ์ 1.950 ล้านตัน และ 5 จังหวัดที่สามารถบริหารจัดการ ควบคุมการลักลอบเผาได้ดีที่สุด คือ SpecialScoop Agriculture and Cooperatives
0.059 ล้านตัน อุตรดิตถ์
ล้านตัน ราชบุรี 0.070 ล้านตัน
0.073 ล้านตัน และ พิษณุโลก 0.078 ล้านตัน
หรับการน� า อ้อยเข้าหีบฤดูการผลิต
อ้อยถูกเผาเข้าหีบสูงสุด คือ โรงงานใน
กลุ่มบริษัทมิตรผล 5.36 ล้านตัน, กลุ่ม
บริษัทไทยรุ่งเรือง 3.86 ล้านตัน, กลุ่ม
บริษัทน�้า ตาลขอนแก่น 2.27 ล้านตัน
ตามล�าดับ
ทั้งนี้ การเผาอ้อยส่งผลให้เกิดควันไฟที่
ท�าให้เกิดฝุ่นพิษ PM 2.5 ขยายเป็นวง
กว้าง โดยเฉพาะในทั่วพื้นที่ภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และ
ภาคกลาง รวมถึงพื้นที่มีประชาชน
ขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไข
ปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” พ.ศ. 2562 -2567 ว่า กระทรวงอุตสาหกรรม
ได้ยกระดับการบูรณาการร่วมกับ
กระทรวงมหาดไทย และกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โดย สอน. จะแจ้งข้อมูลจุดที่มีการลับ
มือเท่าที่ควร
ส�า หรับสถานการณ์การเผาอ้อยใน อุตสาหกรรมน�้ า ตาลทราย ตลอดจน วิกฤตการณ์เผาพืชไร่ชนิดอื่นๆ โดย เฉพาะการเผาไร่ข้าวโพดเพื่อเตรียม พื้นที่เพาะปลูก
เกษตรพันธสัญญา
ก่อมลพิษทางอากาศมาอย่างยาวนาน ขณะที่แนวทางของรัฐในการควบคุม สถานการณ์เผาพืชไร่ที่ผ่านมานั้น
“ตีโจทย์ไม่แตก” เพราะ ไม่ได้สร้างกลไกปรับวิถีเกษตรกรชาวไร่ ชาวสวน เมื่อมาตรการต่างๆ ที่ผ่านมาของ รัฐดูจะไม่ได้ผลเท่าที่ควร แล้วจะท� า อย่างไรให้ได้รับความรวมมือจากทั้ง ภาคอุตสาหกรรมอ้อยและน�้าตาลทราย โรงงานน�้าตาลกับมาตรการรับซื้ออ้อย ไฟไหม้ เกษตรกรกับการเก็บผลิตผล อ้อยสด การสะสางปัญหาการเผาพืชไร่ อันต้นเหตุส�าคัญปัญหาฝุ่นพิษ PM 2.5 นับเป็นโจทย์ยากท้าทายความสามารถ ของภาครัฐ
cr. mgronline.com
จังหวัดสุโขทัย
0.064
ประจวบคีรีขันธ์
ส�า
2564/2565 พบกลุ่มโรงงานที่มีการรับ
อาศัยอยู่หนาแน่น และพื้นที่ท่องเที่ยว ส�าคัญในหลายจังหวัดและกรุงเทพฯ นายภานุวัฒน์ ตริยางกูรศรี รองปลัด กระทรวงอุตสาหกรรม รักษาการ เลขาธิการส� า นักงานคณะกรรมการ อ้อยและน�้าตาลทราย (สอน.) เปิดเผย แผนปฏิบัติการเร่งด่วนก�าหนดการเผา อ้อยในฤดูการผลิตปี 2565/2566 เป็น 0% ตามแผนขับเคลื่อนปฏิบัติการ
ลอบเผาอ้อยซ�้าซาก เพื่อให้หน่วยงาน ปกครองสามารถป้องปรามการลักลอบ เผา และเร่งดับไฟได้ทันท่วงที รวมทั้ง ขอร่วมมือกับโรงงานน�้ า ตาลเพื่อหา มาตรการสนับสนุนการไม่รับอ้อยที่ถูก เผาเข้าหีบฤดูการผลิตนี้ อย่างไรก็ดี อ้อยเป็นสินค้าเกษตรที่ ส�าคัญของประเทศ ทั้งในเรื่องของการ บริโภคและการแปรรูปเป็นพลังงาน ชีวมวล ซึ่งรัฐบาลได้ก� า หนดแนวทาง การยกระดับประสิทธิภาพแบบครบ วงจรตั้งแต่ภาคการเกษตร จนถึงภาค อุตสาหกรรม ประการส� า คัญต้องไม่ ให้การเก็บเกี่ยวผลผลิตอ้อยเป็นเหตุ ของปัญหามลพิษฝุ่น PM 2.5 น.ส.รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจ�า ส�านักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่าการแก้ ปัญหาฝุ่น PM 2.5 ในภาคการเกษตร ที่ มีสาเหตุหลักมาจากการตัดอ้อยไฟไหม้ ที่ผ่านมารัฐบาลได้ออกมาตราการส่ง เสริมการตัดอ้อยสด ผ่านการจ่ายเงิน ช่วยเหลือชาวไร่อ้อยเพื่อลดต้นทุนการ ตัดอ้อยสดโดยไม่ต้องเผาอ้อย ส�าหรับ ฤดูการผลิต 2565/2566 มีการอนุมัติงบ ประมาณช่วยเหลือเป็นจ�านวน 8,159 ล้านบาท นอกจากนี้ กระทรวงอุตสาหกรรมยัง ได้ด� า เนินโครงการให้กู้ยืมและชดเชย ดอกเบี้ย ปี 2565-2567 เป็นวงเงิน ปีละ 2,000 ล้านบาท ระยะเวลา 3 ปี รวมเป็น เงิน 6,000 ล้านบาท ให้กับชาวไร่อ้อย เพื่อชดเชยส�าหรับการจัดการแหล่งน�้า ซื้อเครื่องจักรกลการเกษตรในไร่อ้อย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอ้อย และแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5 ส�าหรับแนวโน้มราคาของอ้อยขั้นต้นใน ฤดูการผลิตปี 2565/2566 คาดการณ์ ว่า จะอยู่ที่ไม่ต�่ากว่าตันละ 1,000 บาท ซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยราคาน�้ า ตาลตลาด โลก หากราคา (รวมพรีเมี่ยม) อยู่ที่ ประมาณ 20.00 เซนต์/ปอนด์ อัตรา แลกเปลี่ยนอยู่ที่ 34 บาท/เหรียญ สหรัฐ ราคาอ้อยขั้นต้นจะสูงกว่าตันละ 1,000
อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ที่เกิดขึ้น สะท้อนว่ามาตรการรัฐเกี่ยวกับการ
บาท
จัดการลักลอบเผาอ้อยก่อนส่งเข้าหีบ โรงงานน�้ า ตาล ยังไม่ได้รับความร่วม
ผูกมัดชาวไร่ด้วยระบบ
เป็นปัญหาเรื้อรัง
พอ จะสรุปได้ว่า
แต่สิ่งหนึ่งที่ไม่เคยเปลี่ยนแปลงคือความไม่
“ส�ำนักงำนนวัตกรรมแห่งชำติ (องค์กำรมหำชน)” หรือ “NIA” หน่วยงานสนับสนุนการสร้างสรรค์นวัตกรรมทุกมิติ จะพาไปเปิดโลกนวัตกรรมเกษตรแนวใหม่เพื่อเป็นประโยชน์
ไว้ดังนี้
ListenField แพลตฟอร์มช่วยเกษตรกรวิเคราะห์ ข้อมูลการเกษตรได้อย่างแม่นย�า
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 51 Agriculture and Cooperatives เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง
ช่วยเกษตรกรไม่ยึดติดคำ�ทำ�น�ย ไร่นายุคสมาร์ทฟาร์ม ผลผลิตดีได้แบบไม่ต้องเดา หากย้อนไทม์แมชชีนจากอดีตจนถึงปัจจุบัน จะเห็น ได้ว่าภาคการเกษตรของไทยมีการเปลี่ยนแปลงมา หลายศตวรรษ
แน่นอน ท�าให้วิถีชีวิตของเกษตรกรถูกแขวนไว้บนความเสี่ยง ทั้งเรื่องของสภาพดินฟ้าอากาศที่ยากจะควบคุม จนเกิดเป็น ปัญหาโรคพืชหรือการปศุสัตว์ แรงงานภาคเกษตรมีแนวโน้ม ลดลง เกษตรกรมีอายุเฉลี่ยมากขึ้น บวกกับแนวทางการท�า เกษตรในอดีตมักอาศัยความเชื่อและวิถีการท� า ไร่ไถนาที่ สืบทอดต่อกันมา พึ่งพาสภาพดินฟ้าอากาศตามธรรมชาติ จึงท�าให้คุณภาพและปริมาณของผลผลิตไม่มีความแน่นอน ดังนั้น เมื่อโลกปัจจุบันหมุนเข้าสู่ยุคดิจิทัล เกษตรกรจึง จ�าเป็นต้องปรับตัวด้วยการน�าเครื่องจักรกล เทคโนโลยี และ นวัตกรรม เข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มากขึ้น อีกทั้งยังต้องเรียนรู้ศาสตร์และวิธีการใหม่ๆ เพื่อ ให้พร้อมรับมือกับภาวะทางธรรมชาติที่มีการเปลี่ยนแปลง จากปัญหาดังกล่าว จึงเกิดการท�าการเกษตรรูปแบบใหม่ ที่ เรียกว่า “เกษตรแม่นย�ำ หรือ Precision Agriculture” ซึ่ง เป็นการน� า เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความแม่นย� า สูง เช่น หุ่นยนต์ ระบบดาวเทียมจีพีเอส เซ็นเซอร์ตรวจสภาพดิน และอากาศ บิ๊กดาต้า ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และอินเตอร์เน็ต ของทุกสรรพสิ่ง (IoT) เข้ามาเสริมกระบวนการผลิตในทุก ขั้นตอนให้สอดคล้องกับสภาพของพื้นที่ มีการใช้ทรัพยากร ตรงตามความต้องการของพืชและสัตว์ และเตรียมพร้อม รับมือกับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงในอนาคต ตลอดจน น�าข้อมูลที่ได้รับมาบริหารจัดการพื้นที่เพาะปลูกหรือปศุสัตว์ ได้อย่างเหมาะสม โดยให้ความส�าคัญกับความปลอดภัยต่อ ผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
และแนวทางต่อเกษตรกรให้สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบ
NIA แนะ 3 นวัตกรรม
การท�าเกษตรกรรมให้เป็นแบบรู้เขารู้เรา เพิ่มผลผลิตต่อไร่ ลดพื้นที่ปลูกและต้นทุนปัจจัยการผลิต และต่อยอดแนวคิด
“BCG Economy
Model” ที่ต้องการเร่งรัดการพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศให้ประสบความส�าเร็จด้วยแนวทางที่ ยั่งยืน โดยได้ส่ง “3 นวัตกรรมช่วยท�าการเกษตรแบบแม่นย�า ผลผลิตดีได้แบบไม่ต้องเดา”
“ลิสเซินฟิลด์”
สู่ แปลงเกษตรที่แม่นย�า การเก็บข้อมูลแปลงเกษตร คือหัวใจ ส�า คัญที่ช่วยให้ผลผลิตมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ปัญหา
ฟังทุกข้อมูลจากดินฟ้าอากาศและชาวนา
โดยลิสเซินฟิลด์ยังมีการลงพื้นที่เพื่อแบ่งปันข้อมล รับฟังปัญหา แนะน� าการใช้เครื่องมือซึ่งเป็นอีกกระบวนการ หนึ่งที่ช่วยให้แพลตฟอร์มสามารถน�
Zyan Dairy Farm แอปพลิเคชั่นช่วยบันทึกทุกข้อมูลการเลี้ยงวัวแบบละเอียด ทิ้งปากกาและกระดาษที่เคยใช้แล้วโหลด “Zyan Dairy Farm” ตัวช่วยบันทึกทุกข้อมูลการเลี้ยงวัวแบบละเอียด ด้วยวิถีความเคยชินที่มักจดบันทึกข้อมูลการเลี้ยงโค
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 52 SpecialScoop ของเกษตรกรไทยคือการมีข้อมูลไม่มากพอ เพราะไม่มีการ จัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ดังนั้น นวัตกรรม “Predictive Farming Platform” จึงเข้ามาช่วยแก้ปัญหาได้ตรงจุดด้วย ระบบประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกด้วยบริการ ที่หลากหลาย เช่น งานวิจัย การติดตั้งเซนเซอร์ในพื้นที่ การเกษตรไปจนถึงการพัฒนาแพลตฟอร์ม FarmAI ซึ่งเป็น เครื่องมือที่ช่วยให้เกษตรกรบันทึกความเคลื่อนไหวบนแปลง ผลผลิตของตัวเองได้ พร้อมฟังก์ชันอีกมากมายที่จ� า เป็น ต่อการท�าการเกษตร เพื่อพัฒนาผลผลิตของเกษตรกรให้มี คุณภาพมากขึ้น จุดเริ่มต้นของ “ลิสเซินฟิลด์” (ListenField) เกิดจาก ดร.รัส รินทร์ ชินโชติธีรนันท์ หรือ คุณนุ่น ต้องการต่อยอดงานวิจัย ของตัวเองในช่วงที่ก�าลังศึกษาต่อ ณ ประเทศญี่ปุ่น มาเป็น ธุรกิจนวัตกรรมด้านการเกษตรที่ประเทศไทย เพราะมอง ว่าการแก้ปัญหาด้านการเกษตรในยุคนี้ต้องไม่ใช้การคาด เดา แต่ Big Data หรือ นวัตกรรมจะเป็นเครื่องมือส�าคัญ ที่มาช่วยวิเคราะห์การท�าการเกษตรได้ทุกขั้นตอน ปัจจุบัน ListenField เปิดให้บริการแล้วใน 5 ประเทศ ได้แก่ ญี่ปุ่น ไทย อินเดีย เวียดนาม และสหรัฐอเมริกา มีเกษตรกรใช้ บริการมากกว่า 10,000 คน ลิสเซินฟิลด์ เป็นดีพเทคด้านการเกษตรที่ท� า การเก็บ ข้อมูลหลายมิติ เพื่อท� า แบบจ� า ลอง วิเคราะห์ พยากรณ์ ด้านสภาพอากาศและพืช ส� า หรับให้ข้อมูลที่ประโยชน์ต่อ เกษตรกรทั้งแบบเดี่ยวและกลุ่มในการบริหารจัดการอย่าง มีประสิทธิภาพ รวมถึงมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกด้วยการ ใช้ปัญญาประดิษฐ์ ร่วมกับองค์กรธุรกิจภาคการเกษตรและ สิ่งแวดล้อม สามารถให้บริการเข้าถึงข้อมูลได้หลากหลายทั้ง แอปพลิเคชันบนมือถิอ เว็บแดชบอร์ด และส่วนต่อประสาน โปรแกรมประยุกต์ (Application Program Interface หรือ API) ที่ตอบสนองการท�างานกับหลายภาคส่วน ปัจจุบันมี การให้บริการในประเทศญี่ปุ่น ไทย และบางส่วนของอินเดีย ในการเข้าถึงของลูกค้าแต่ละกลุ่มตั้งแต่เกษตรกร นักส่งเสริม ผู้ตรวจสอบ โดยหัวใจส�าคัญคือการเพิ่มคุณภาพผลผลิต การ ลดต้นทุน การบริหารความเสี่ยงจากสภาพอากาศ และเพิ่ม ช่องทางจัดจ�าหน่าย นอกจากนี้ นวัตกรรมดังกล่าวเปรียบ เสมือนตัวแทนผู้รับฟังเสียงจากดิน ฟ้า อากาศ และพืชผล และน�ามาบอกต่อเพื่อเป็นข้อมูลให้กับนักเพาะปลูกได้เติม สิ่งที่แปลงเกษตรมีความต้องการ ซึ่งท้ายที่สุดท้ายให้ผลผลิต ออกมามีคุณภาพ และตรงใจผู้บริโภค ดร.รัสรินทร์ เล่าว่า ประเทศญี่ปุ่นทั้งภาครัฐ เอกชน และ เกษตรกรให้ความส� า คัญกับเรื่องดาต้ามาก ละเอียดถึง ขนาดค� า นวณการด ดซึมน�้ า ระหว่างที่น�้ า ลงไปในดิน ซึ่ง ประโยชน์ของการเห็นคุณค่าในเรื่องดาต้านี้ ส่งผลให้ผลผลิต มีคุณภาพ มีราคามากขึ้น และตอบรับกับความต้องการของ ผ้บริโภค
พร้อมเปิดรับและ เรียนร้การใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ไปด้วยกัน
าไปปรับใช้ได้จริงและ สร้างระบบนิเวศได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งจากการลงพื้นที่จริง พบว่าเกษตรกรไทยรวมถึงประเทศอื่นๆ
ลงใน สมุด กระดาน หรือ ปฏิทิน ตามแต่ความสะดวกของเกษตรกร เป็นปัจจัยที่ท�าให้ข้อมูลประสิทธิภาพของโคนมไม่สมบูรณ์ จนไม่สามารถน�ามาวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตโคและ
เพื่อน�าข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในส่วน ที่เกี่ยวข้องต่อไปได้ จึงเป็นโจทย์ส�าคัญที่ท�าให้ บริษัท ซินเทล
การบริหารจัดการฟาร์ม
www.zyanwoa.com นอกจากแอปพลิเคชัน Zyan Dairy Farm แล้ว ZyanWoa Platform ยังมีแอปพลิเคชันอีกหลากหลาย เช่น Zyan Coop
เว็บแอปพลิเคชันส�าหรับสหกรณ์และหน่วยงานภาครัฐ Zyan
สามารถประเมิน เมินความเสี่ยงของเกษตรกรโคเนื้อแต่ละรายได้อย่างแม่นย�า ท�าให้โคเนื้อกลายเป็นสินทรัพย์ที่ตรวจสอบได้ และสามารถ
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 53 Agriculture and Cooperatives เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง ลิเจนท์ จ�ากัด เลือกที่จะออกแบบและพัฒนา “Zyan
Farm” แอปพลิเคชันที่มีฟีเจอร์ตอบโจทย์คนเลี้ยงโคนมมาก ที่สุด ใช้งานง่าย สะดวก มีฟังก์ชั่นช่วยบันทึกข้อมูลที่ส�าคัญ เช่น บันทึกพันธุ์ประวัติโค ข้อมูลการผสมพันธุ์ การตั้งท้อง การตลาด ฟังก์ชั่นระบบการแจ้งเตือนกิจกรรมที่เกษตรกร ต้องด� า เนินการในแต่ละวัน รวมถึงมีฟังก์ชั่นระบบบัญชี ฟาร์มบันทึกรายรับรายจ่าย พร้อมทั้งแสดงสถิติของฟาร์ม นอกจากนี้ ยังสามารถช่วยค�านวณประสิทธิภาพของโคนม ได้ทั้งรายตัวและรายฝูงด้วยการดึงข้อมูลทั้งหมดที่บันทึกไว้ มาวิเคราะห์ได้ทุกส่วน ซึ่งจะช่วยแก้ไขปัญหาข้อมูลฟาร์มไม่ ครบถ้วน และเป็นประโยชน์กับทุกภาคส่วนตั้งแต่เกษตรกร สหกรณ์ และสัตวแพทย์ ปัจจุบันมียอดสมัครการใช้งาน มากกว่า 9,000 ฟาร์มทั่วประเทศ ส�าหรับเกษตรกรที่สนใจ
Dairy
สามารถเข้าไปดูข้อมูลได้ที่
MCC เว็บแอปพลิเคชันบันทึกปริมาณน�้านมดิบ ส�าหรับจุด รวบรวมน�้านมดิบ ZyanVet แอปพลิเคชันบนมือถือส�าหรับ สัตว์แพทย์ ที่จะช่วยสร้างบริการออนไลน์ส�าหรับกลุ่มผู้เลี้ยง โคนมโดยเฉพาะ เช่น เกษตรกร สหกรณ์ จุดรวบรวมน�้านม ดิบ สัตว์แพทย์ หรือ ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ได้น�าไปพัฒนาระบบ การด�าเนินงานให้สะดวกสบาย และก้าวทันเทคโนโลยี e-Catt แพลตฟอร์มซื้อ-ขายโคเนื้อไทยออนไลน์ ยกระดับเกษตรไทยยุคดิจิทัล โคเนื้อเป็นหนึ่งในปศุสัตว์ที่ มีการเลี้ยงอย่างแพร่หลาย หากมองภาพรวมอุตสาหกรรม โคเนื้อชั้นดีในประเทศไทย พบว่าตลาดมีขนาดใหญ่ด้วย จ�านวนคนรักเนื้อที่เพิ่มขึ้น และเมื่อย้อนกลับไปในปี 2563 ไทยมีเกษตรกรเลี้ยงโคเนื้อ 9.2 แสนคน และมีการผลิตโค เนื้อ 1.25 ล้านตัวต่อปี แต่กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโคต้องเผชิญ ปัญหาด้านการเงินและการลงทุน ทั้งการเข้าไม่ถึงแหล่งเงิน ทุนหมุนเวียนที่จ�าเป็น การบริการประกันความเสี่ยง รวมถึง การเข้าถึงตลาดคุณภาพและการต่อรองราคาอย่างเหมาะ สมและเป็นธรรม ซึ่งล้วนเกิดจากข้อจ� า กัดด้านการเข้าถึง ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละราย จากปัญหาดังกล่าว บริษัท บีเวอร์เทค จ� า กัด ซึ่งมีความ เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการเกษตร ร่วมกับธนาคารเพื่อ การเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) สร้าง e-Catt แพลตฟอร์ม การตรวจสอบย้อนกลับ ซื้อขาย และแปลงโคเนื้อเป็นทุน แบบครบวงจร ซึ่งถูกออกแบบและพัฒนาให้มีระบบการ เลี้ยงโคที่ตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน เพื่อยกระดับการเลี้ยงโค ที่ดี ได้มาตรฐาน อีกทั้งยังช่วยให้เกษตรกรได้รับทราบข้อมูล ที่ชัดเจนเกี่ยวกับพันธุ์วัว จ�านวนของวัวในแต่ละพื้นที่ ราคา รวมถึงการอ� า นวยความสะดวกด้านการซื้อขายผ่านระบบ ออนไลน์ ช่วยท�าให้ธนาคาร บริษัทประกันภัย ตลอดจนผู้ ซื้อโคเนื้อ สามารถเข้าถึงข้อมูลการเลี้ยงโคของเกษตรกรราย ย่อยได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และทั่วถึง
สามารถซื้อขาย และสร้างรายได้ผ่านแพลตฟอร์ม ส่งผลให้เกิดการพัฒนา อาชีพเลี้ยงปศุสัตว์ให้ยั่งยืนต่อไป cr. thaiinnovation.center นวนคนรักเนื้อที่เพิ่มขึ้น
ใช้เป็นหลักทรัพย์ค�้าประกันเงินกู้กับธนาคารได้ นับเป็นการ เชื่อมโยงระบบบริหารจัดการข้อมูลประกันภัยของเกษตรกร กับบริษัทประกันภัย
และเกิดประโยชน์ต่อการบริหารจัดการ
ห่วงโซ่อุปทานการผลิตปศุสัตว์ อีกทั้งช่วยให้เกษตรกรเข้าถึง ข้อมูลและแหล่งเงินทุนจาก ธกส. ได้ง่ายขึ้น
เพียงแค่มีอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ได้
จุดประสงค์การพัฒนาระบบ
1. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการเก็บข้อมูลที่แท้จริงและเป็นระบบเพื่อ การบริหารจัดการได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี IoTs ให้สามารถใช้งานได้จริงอย่างต่อ เนื่องและเหมาะสมกับประเทศไทย ทั้งการใช้งานและราคา
2. เพื่อพัฒนาแพลตฟอร์มการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์ ทั้งส่วนของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ท าให้เกิดการ
IoTs ได้ง่ายมากขึ้น 3. เพื่อช่วยเกษตรกรในด้านการเก็บข้อมูลสิ่งแวดล้อมและ ความชื้นดิน สาหรับนามาวิเคราะห์และจัดการแปลงได้อย่าง เหมาะสม ทั้งด้านผลผลิตและโรคพืช
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 54 SpecialScoop “ไวมาก” เป็นนวัตกรรมพร้อมใช้ของเนคเทคที รวม เทคโนโลยี IoT Cloud Platform ของ NETPIE และ บอร์ดสมองกล เข้าด้วยกัน เป็นตัวช่วยในการมอนิเตอร์ และควบคุมสภาวะทีมีผลต่อการท�าเกษตรกรรม โดย จะท� า การจัดเก็บ จัดการข้อมูล อย่างเป็นระบบเพื อ ให้เกษตรกรจัดการแปลงเพาะปลูกได้อย่างถูกต้อง แม่นย�าและเหมาะสม “WiMaRC” นวัตกรรมเพื่อการเกษตรยุคใหม่ ไวมาก “WiMaRC” ย่อมาจาก Wireless sensor network for Management And Remote Control คือ ระบบตรวจวัดด้วยเซนเซอร์แบบเครือข่ายไร้สายเพื่อการ จัดการและควบคุมอัตโนมัติ ท�างานภายใต้ platform IoT cloud ของ NETPIE แสดงผลแบบเรียลไทม์ผ่านเว็บแอป พลิเคชัน เป็นระบบการเก็บข้อมูลและ รูปภาพเพื่อน�ามา วิเคราะห์ และบริหารจัดการพร้อมทั้งการติดตาม และ สั่งการอัตโนมัติหรือด้วยตนเองแบบเรียลไทม์ผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต รองรับเซนเซอร์หลากหลายรูปแบบ ทั้งแอ นะล็อก ดิจิทัล PWM* และ I2C พร้อมทั้งระบบเชื่อมต่อ คลาวด์เซิร์ฟเวอร์ ด้าน IoT ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ซึ่ง ระบบสร้างจากโปรแกรมโอเพ่นซอร์สทาให้ราคาย่อมเยาว์ *PWM : Pulse Width Modulation เป็นเทคนิคทีท�ำให้ เร ำสำมำ รถอ่ ำ น/เขียนข้อม ลแบบแอนะล็อกด้วย สัญญำณดิจิทัลได้ ระบบไวมากดีอย่างไร • สามารถติดตามผลการตรวจวัดค่าต่าง ๆ และรูปภาพ ผ่านเว็บแอปพลิเคชันแบบเรียลไทม์ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน
ก็สามารถดูข้อมูลได้ทันที • สามารถสั่งเปิดและปิดอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น ปั๊มน�้า วาล์วน�้า หลอดไฟ ประตูไฟฟ้า เป็นต้น ผ่านอินเทอร์เน็ตได้ • สามารถสร้างระบบอัตโนมัติที่ท างานภายใต้เงื่อนไข เซนเซอร์ได้ เช่น การรดน�้ า ตามความชื้นดิน การเปิด และปิดไฟตามความเหมาะสมของแสง การเปิดและปิด อุปกรณ์ระบายอากาศตามอุณหภูมิและความชื้นของโรงเรือน เป็นต้น • สามารถสร้างรูปแบบการเติบโตของพืช (CropPatterning) เพื่อติดตามการเจริญเติบโตของพืชที่เหมาะสม ส าหรับ การ ติดตามผลผลิตและวางแผนการตลาด • สามารถติดตั้งและใช้งานได้จริงทั้งงานภายในและงาน
•
ๆ
ภายนอกเช่นในแปลงการเกษตร และอาคารส�านักงาน เป็นต้น
สามารถถ่ายทอดความรู้แก่ผู้ที่สนใจทุกภาคส่วน
พร้อมทั้ง สามารถพัฒนาระบบได้ โดยไม่มีลิขสิทธิ์ใด
สร้าง
พัฒนา WiMarC มีการน�าไปใช้งานจริงในหลาย แปลงเกษตร จึงการันตีคุณภาพ ได้ว่า WiMaRC : ไวมาก เป็นนวัตกรรมพร้อมใช้ที่ตอบโจทย์ ประเทศด้านเทคโนโลยี 4.0 และเป็นตัวช่วยให้ เกษตรกรยุคใหม่สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ได้อย่างยั่งยืน
กับข้อมูลในการประมวลผลวิเคราะห์และสั่งการ เพื่อจัดการกับแปลงเกษตรได้อย่างแม่นย�า วิจัยพัฒนาโดย ทีมวิจัยเทคโนโลยีเกษตรดิจิทัล (DAT)
ด้านวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบและเครือข่า ยอัจฉริยะ (ITSN) ทีมวิจัยการวิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์ (HBA) กลุ่ มวิจัยวิทยาการข อมูลและการวิเคราะห (DSARU)
ข้อมูลการติดต่อ : ทีมวิจัยเทคโนโลยีเกษตรดิจิทัล (DAT)
ทีมวิจัยการวิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์ (HBA)
กลุ่มวิจัยวิทยาการข้อมูลและการวิเคราะห์ (DSARU)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ฝายกลยุทธวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี (SPD) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
(ITSN)
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 55 Agriculture and Cooperatives เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง ฟังก์ชันการท�างานของระบบ ตรวจวัดค่าต่างๆ
ข้อมูล แบบไร้สายไปจัดการข้อมูลและ สั่งการด้วยคอมพิวเตอร์ขนาด เล็กเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และส่งค่าไปยังคลาวด์เซิร์ฟเวอร์เพื่อแสดง ผล และจัดการแบบเรียลไทม์บนอินเทอร์เน็ต พร้อมทั้งส่งข้อมูลและ รูปภาพไปยัง Data server ทั้งในและนอกพื้นที่เพื่อบันทึกค่า และน�า ค่ามาประมวลผล ย้อนหลังติดตามและดาวน์โหลดค่าต่าง ๆ แบบเรียล ไทม์บนเว็บแอปพลิเคชัน กลุ่มเป้าหมาย • ผู้ที่ต้องการเก็บข้อมูลในพื้นที่นั้นๆ แล้วนาข้อมูลมาบริหารจัดการอย่าง เป็นระบบ ถูกต้อง และเหมาะสม เช่น - การเก็บข้อมูลค่าความชื้นดินที่เหมาะสมที่พืชต้องการ ในกรณี น�้าแล้งในแต่ละรอบการปลูก แล้วน ามาวิเคราะห์จัดการควบคุมให้ได้ ผลผลิตที่ดีขึ้นหรือเท่าเดิม - การเก็บข้อมูลของอุณหภูมิในโรงเรือน เพื่อน�าข้อมูลที่ได้มาปรับ ความสมดุลของระบบ ท�าความเย็นให้สอดคล้องกับสภาพอากาศด้าน นอก • ผู้ที่ต้องการระบบ IoTs เพื่อใช้ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านความปลอดภัย ด้านบริหารพลังงาน ด้านการเกษตร ด้านอุตสาหกรรม ด้านธุรกิจและ การศึกษา เป็นต้น อยากใช้ระบบ ท�าอย่างไร เริ่มต้นจะต้องมีความรู้เล็กๆ น้อยๆ ในการเข้าถึง เว็บไซต์ แต่ถ้าจะเป็นผู้สร้างและดูแลระบบเอง ต้องมีความรู้ทั้งด้านซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์ด้วย หากนอกเหนือจากนี้จะมีการท� า ได้ในหลายรูป แบบและมีเงินลงทุนต่างกัน ตัวอย่างเช่น • สามารถท�าได้เอง และใช้บริการ data server ฟรี • สามารถท�าได้เองแต่ต้องใช้บริการ data server ของเอกชน • จ้างศูนย์ฯ ดูแล • ท�า เองได้ทั้งหมด แต่ต้องได้รับการอบรมจาก ศูนย์ฯ เป็นต้น ด้วยความพร้อมของเทคโนโลยีและทีมวิจัยผู้
ด้วยเซนเซอร์ประมวลผลด้วยไมโครคอนโทรเลอร์ส่ง
รู้เท่าทันสภาพแวดล้อม และจัดการ
ด้านวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบและเครือข่ายอัจฉริยะ
ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี โทรศัพท์: 025646900 ต่อ 2344, 2351-54, 2357, 2359, 2361, 2383, 2384, 2404, 72732, 72744 อีเมล: business@nectec.or.th เว็บไซต์: www.nectec.or.th cr. nstda.or.th
112 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
18.5%CAGR และ 13.7%CAGR
ล�าดับ เนื่องจากไทยมีความได้เปรียบจากการได้รับการยกเว้นภาษีน�าเข้าในตลาด
อย่างไรก็ตาม ธุรกิจอาหารสัตว์เป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรมการผลิตในห่วงโซ่การ
Organization of United Nations (FAO)
สัตว์ปล่อยก๊าซเรือนกระจกถึง 45% ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด
(รูปที่ 1) เนื่องจากในกระบวนการผลิตต้องมีการ บุกรุกท�าลายป่า หรือแผ้วถางป่า เพื่อ ปรับเปลี่ยนมาเพาะปลูกพืชอาหารสัตว์ เช่น ถั่วเหลือง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อีก ทั้งในกระบวนการเพาะปลูกและเก็บ เกี่ยวพืชอาหารสัตว์ยังท� า ให้เกิดก๊าซ เรือนกระจก
นอกจากนี้ หากลงรายละเอียดไปใน แต่ละกลุ่มปศุสัตว์ โดยยกตัวอย่างการ
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกของภาคปศุสัตว์
Animal Investment Risk and Return (FAIRR) และ Food and Agriculture
า หรับการเลี้ยงสุกร ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุดราว 114 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบ เท่า คิดเป็นสัดส่วนถึง 63% ของการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดตลอด ห่วงโซ่การผลิตสุกร ซึ่งยิ่งสะท้อนว่าการ ผลิตอาหารสัตว์เป็นปัจจัยหลักที่ท�าให้ เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาค ปศุสัตว์
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 56 Insect Feed ตัวช่วยภาคเกษตรไทย ตอบโจทย์เทรนด์ความยั่งยืน นับตั้งแต่มีการระบาดของ COVID-19 การส่งออกอาหารสัตว์ของไทยเติบโต ได้อย่างโดดเด่น โดยในปี 2564 มูลค่าส่งออกอาหารสัตว์ของไทยมีมูลค่าถึง 2.45 พันล้านดอลลาร์สรอ. เป็นอันดับ 6 ของโลก โดยในปี 2562-2564 มีอัตรา การเติบโตในระดับสูงถึง 21.1%CAGR และเป็นการเติบโตดีกว่าผู้ส่งออกอาหาร สัตว์รายใหญ่อันดับ 1 และอันดับ 2 ของโลกอย่างเยอรมนีและเนเธอร์แลนด์ซึ่ง มีอัตราการเติบโตของการส่งออกอยู่ที่
อาเซียน และญี่ปุ่น
ผลิตสินค้าปศุสัตว์
เป็นอันดับต้นๆ ในภาคเกษตรและอาหาร ท�าให้หลายฝ่ายหันมาให้ความสนใจ กับการผลิตอาหารสัตว์ที่ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากขึ้น เช่น ในการ ประชุม Cop27 ที่นอกจากจะมีวาระพูดถึงการลดก๊าซเรือนกระจกในระบบการ ผลิตอาหารส�าหรับมนุษย์แล้ว ยังมีการให้ความส�าคัญกับการผลิตอาหารสัตว์ ที่ช่วยสนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคปศุสัตว์ด้วย ดังนั้น ใน บทความนี้ Krungthai COMPASS จึงน�าเสนอเรื่อง Insect Feed ซึ่งเป็นหนึ่ง ทางเลือกในเทรนด์อาหารสัตว์ที่น่าสนใจที่จะช่วยผู้ประกอบการรับมือกับความ ท้าทายจากกระแสลดโลกร้อนดังกล่าว กระบวนการผลิตอาหารสัตว์ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในสัดส่วนที่สูงแค่ไหน? การผลิตอาหารสัตว์เป็นกิจกรรมที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกในสัดส่วนสูงที่สุดใน ห่วงโซ่การผลิตปศุสัตว์ โดยจากข้อมูลของ Our world in data ระบุว่า ภาค ปศุสัตว์เป็นตัวการส�าคัญในการปล่อยก๊าซเรือนกระจก คิดเป็นสัดส่วนถึง 1 ใน 4 ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดของโลก และจากข้อมูลของ The Farm
ตาม
ซึ่งเป็นตลาดส่งออกส�าคัญ
ซึ่งปฎิเสธไม่ได้ว่าเป็นธุรกิจที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาก
กิจกรรมการผลิตอาหาร
ชี้ว่า
ตลอดห่วงโซ่การผลิตปศุสัตว์
ในสหภาพยุโรป จะพบว่า กิจกรรมการ ผลิตอาหารสัตว์ส�
ด้วยเหตุผลดังกล่าว ในช่วงที่
Insect Feed คืออะไร?
(Insect Feed)
Insect Feed คือ อาหารสัตว์ที่น�าแมลงมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต
Bryan, Garnier & Co (2022) พบว่า การผลิต Insect Feed ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม น้อยกว่าการผลิตวัตถุดิบอาหารสัตว์ ดั้งเดิม เช่น ถั่วเหลือง ในหลากหลาย มิติทั้งในด้านการใช้ทรัพยากร
Potential Utilization of Insect Meal as Livestock Feed (2022)
Insect Meal to mix: Effect on fish feed pellet-All about Feed
7.5 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า หรือต�่ากว่าถึง 7 เท่า อีกทั้งยัง
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 57 Agriculture and Cooperatives เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง ผ่านมา บริษัทผลิตอาหารสัตว์และปศุสัตว์รายใหญ่ของโลก เช่น Cargill และ JBS ได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ซึ่งแนวทาง หนึ่งที่ได้ถูกหยิบยกขึ้นมาพัฒนา คือ อาหารสัตว์จากแมลงเพราะนอกจากจะตอบ โจทย์เรื่องการลดก๊าซเรือนกระจกแล้ว ยังช่วยให้สัตว์มีสุขภาพที่ดีขึ้น ซึ่งจะส่งผล บวกโดยตรงต่อผลผลิต อีกทั้งผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์จากแมลงยังมีแนวโน้มที่จะ ถูกน�ามาใช้อย่างแพร่หลายในอนาคตอีกด้วย ท�าความรู้จักกับอาหารสัตว์จากแมลง
โดยสามารถ แบ่งประเภท Insect Feed เป็น 2 กลุ่มหลักๆ คือ อาหารส�าหรับปศุสัตว์ และสัตว์น�้า คือ อาหารส�าหรับสุกร วัว ไก่ และอาหาร ส�าหรับกุ้ง ปลา โดยใช้แมลงมาเป็นวัตถุดิบในการผลิต เช่น หนอนนก แมลงวัน ลาย จิ้งหรีด ส�าหรับตัวอย่างบริษัทในต่างประเทศ ได้แก่ บริษัท Alltech Coppens ซึ่งเป็นบริษัท Startup สัญชาติเนเธอร์แลนด์ ที่ผลิตอาหารปลาจากโปรตีนแมลง หรือบริษัท Enviro flight เป็นบริษัท Startup สัญชาติสหรัฐ ที่ผลิตอาหารสัตว์ จากหนอนแมลงวันลาย อาหารสัตว์เลี้ยง คือ อาหารสุนัขและแมวที่ใช้แมลงเป็นวัตถุดิบในการผลิต เช่น หนอนนก แมลงวันลาย เป็นต้น โดยปัจจุบันพบว่ามีผู้ประกอบการอาหารสัตว์ เลี้ยงหลายรายหันมาพัฒนาผลิตอาหารสัตว์เลี้ยงจากแมลงมากขึ้น เช่น บริษัท Yora ซึ่งเป็นบริษัทสัญชาติอังกฤษที่ผลิตอาหารสัตว์ที่เหมาะส�าหรับสัตว์เลี้ยงที่ แพ้โปรตีนจากเนื้อสัตว์ชนิดอื่น หรือบริษัท Entoma บริษัทสัญชาติฝรั่งเศสที่ผลิต อาหารสัตว์เลี้ยง ซึ่งเหมาะส�าหรับสัตว์เลี้ยงที่แพ้ง่าย Insect Feed ใช้ทดแทนอาหารสัตว์ดั้งเดิมได้ 100% หรือไม่? สัดส่วนในการใช้ Insect Feed เพื่อทดแทนอาหารสัตว์ดั้งเดิมขึ้นอยู่กับประเภท ของสัตว์ ช่วงอายุของสัตว์ รวมทั้งสายพันธุ์แมลงที่น�ามาใช้เป็นวัตถุดิบ โดยจาก รายงานการศึกษาเรื่อง
ชี้ว่า อาหารของลูกสุกรควรใช้วัตถุดิบแมลงเป็นส่วนผสมประมาณ 3.5% ขณะที่อาหารของสุกรโตเต็มวัยควรใช้วัตถุดิบแมลงเป็นส่วนผสม 8% หรือจาก การศึกษาของ
(2018) ระบุว่า ในการผลิตอาหารสัตว์เลี้ยงจ�าพวกปลาควรมีการใช้วัตถุดิบแมลง เป็นสัดส่วน 75% นอกจากนี้ งานวิจัยเรื่อง Use of insects in poultry feed as replacement soya bean meal and fish meal in development countries ระบุว่า หากน�าโปรตีนจากแมลงวันลายผสมอาหารสัตว์เลี้ยงแทนกากถั่วเหลือง เป็นสัดส่วนประมาณ 23-45% จะท�าให้ไก่ออกไข่มากขึ้น โดยทั่วไปลักษณะผลิตภัณฑ์ Insect Feed มี 2 รูปแบบ 1) อาหารสัตว์ส�าเร็จรูป ซึ่งพร้อมใช้เลี้ยงสัตว์ โดยเป็นการผลิตที่ น�าวัตถุดิบจากแมลงมาผสมกับวัตถุดิบ อาหารสัตว์ประเภทอื่น เช่น ปลาป่น กากถั่วเหลือง เป็นต้น ตามสัดส่วน ที่เหมาะสมกับสัตว์แต่ละประเภท 2) อาหารสัตว์ที่จ�าหน่ายเป็นอาหารเสริม ที่มีคุณค่าทางอาหารสูง ซึ่งผู้เลี้ยงจะ ต้องน� า ไปผสมกับวัตถุดิบอาหารสัตว์ ประเภทอื่นเอง ซึ่งผู้ใช้สามารถเลือก ใช้ได้ตามความเหมาะสม ท�าไมจึงควรใช้ Insect feed 1. Insect Feed ส่งผลกระทบต่อสิ่ง แวดล้อมน้อยกว่ ำกำ รผลิตอ ำหำร สัตว์ดั้งเดิมที่ใช้กำกถั่วเหลือง ดังจะ เห็นได้จากการศึกษาของ
เช่น การใช้ที่ดิน การใช้น�้ า รวมทั้งผลกระ ทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพ อากาศ เป็นต้น (รูปที่ 3) ซึ่งสอดคล้อง กับข้อมูลของ Deutsches Institut für Lebensmitteltechnik (DIL) ซึ่งเป็น สถาบันวิจัยอุตสาหกรรม ในประเทศ เยอรมนี ระบุว่าการผลิต Insect Feed 1 กิโลกรัม ท�าให้เกิดก๊าซเรือนกระจกราว 1.1 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบ เท่า ต�่ากว่าอาหารสัตว์จากถั่วเหลืองซึ่ง อยู่ที่
ใช้น�้าในการผลิตน้อยกว่าถึง 330 ลิตร ท�าให้ปัจจุบันกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ได้มีการน� า แมลงมาผลิตเป็นอาหาร สัตว์อย่างแพร่หลาย เช่น บริษัท Better Origin ซึ่งเป็น Startup ในสหราช อาณาจักร ที่พัฒนาการผลิตอาหาร
ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์
0-2222-4739
0-2452-8518
0-2234-4334
0-32234-4050
0-2221-7220 บจก.กระสอบเกษตร.......... 0-2709-4060-1 บจก.กระสอบเคลือบเอเชียแปซิฟิค 0-2461-5774-5
บจก.กระสอบปากช่อง..... 0-2294-9222-41
........................................ 0-2226-5707-9
0-2267-2196
0-2472-4708
0-2236-6907
0-2462-5512
08-1647-8050
60
ประจำ�ปี 2566 ก ก� กระ บ บจก.ธนันต์กิตติ.....................
บจก.ลีแปะม้อ.......................
บจก.ไทยฟอร์โมซาพลาสติกอินดัสทรี
ทำ�เนียบธุรกิจ
หจก.เลี้ยงเช้งค้ากระสอบ.....
หจก..ศ.ไทยพาณิชย์..............
บจก.กระสอบแหลมทองอุตสาหกรรม
หจก.กรุงเทพคิมส่งหลี...........
บจก.กรุงเทพไทยโพลีพลาสติก ............................................
หจก.กิมส่งหลี.......................
หจก.คี้เช้งพาณิชย์.................. 0-2233-0109 บจก.เคียมฮั้วเช้ง................... 0-2221-3213
ก ย ไทยออคิดส์แอนด์แฟนซีพีชฟาร์ม
บจก.ดรีมฟลาวเวอร์อินเตอร์เนชั่นแนล 08-1694-2775 หจก.อุดมออคิดส์.................. 0-2510-9241 บจก.บางกอกฟลาวเวอร์เซ็นเตอร์ ............................................ 0-2421-0020 บจก.กุลธนาออร์คิดส์......... 0-2565-5463-4 ฟาร์มกล้วยไม้เกษมบุญชู ........................................ 0-2642-7522-3 ก จำ� น�ย บจก.ฟ้าใสการเกษตร......... 0-3423-4186-3 บจก.ตะนาวศรีไก่ไทย....... 0-3422-7288-95 บจก.บ้านไก่ไทย..................... 0-2587-0707 บจก.เกษมชัยฟาร์มกรุ๊ป......... 0-3430-1531 ชุนเซ้งฟาร์ม......................... 0-3732-4262, 0-3732-4263 ก ร� เก บจก.กิจทรัพย์อุดม................. 0-2513-4433 หจก.เกลือแหลมทอง............. 0-2437-1711 บจก.ฟาร์สเบ็ค................... 0-2539-0101-2
0-2236-8962
0-2675-8430
0-2221-3423
0-2468-4474
0-2437-3467
0-2477-3087-9
61 ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ บจก.อุตสาหกรรมเกลือ..........
บจก.เกลือเจริญอินเตอร์เนชั่นแนล
จิบฮั่วเฮงโรงเกลือทะเลแท้.....
บจก.อาณาจักรเกลือ..........
ก น เก รกรร หจก.รวมกิจพืชผล.................
ข � �ร จำ� น�ย ร น �ก แม่บ้านเกษตรนาดำา..............08-1966-5890 จิรวัฒน์ข้าวแต๋นหนองหล่าย ..........................................08-1992-8015 ร้านแม่บุญล้น......................08-1793-6851 ร้านติ๋มเค้กมะพร้าวอ่อน.......08-0619-8525 เ ีเก ร บจก.แองโกลไทยเคมีซัพพลาย ...................................... 0-2529-5658-61 บจก.ซีบราย์อโกรซายน์.......... 0-2158-4766 โพลีแอร์พลัส................... 0-2328-0455-57 ไทยอะโกรโทรสิก................... 0-2751-7048 บจก.นาโนเฮาส์...................... 0-2509-5910 หจก.แสงศิริอุบลเคมีเกษตร.... 0-4532-1775 บจก.เคมีเกษตร..................... 0-4284-1848 สหเคมีการเกษตร.................. 0-4281-1690 พงศ์ศักดิ์เคมีการเกษตร......... 0-4431-1134 บจก.จีเควส.(กุ้งทองไคโตซาน) 08-7764-6336 บจก.เวสโก้เคมี...................... 0-2932-4993 บจก.ชาร์ฟฟอร์มูเลเตอร์......... 0-2455-4193 ร้านพบพระเกษตรกรรม.......08-1822-5253 บจก.อรุณอะโกร.................... 0-2622-9839 บัวทองการเกษตร.................. 0-3548-1499 ร้าน.ดี.ดี.เคมีการเกษตร.......08-9044-4809
............................................
ไทยยงค์โรงเกลือ...................
โรงงานย่งง่วนเช่ง...................
0-2221-2681
บจก.ไทยศรันย์จักรกล.2007
..........................................08-1981-1539
0-3247-2316
นย� จำ� น�ย บจก.เอ.ที.เพื่อนเกษตรกรไทย ............... 0-5521-6009, 0-5532-6172-3
เ � กรร จำ� น�ย บจก.บี.เอ.เอส.(ไทย)............ 0-2664-9222
หัตถ์ตชัยพาณิชย์................... 0-4581-0660
บจก.ไอบีเอ..................... 0-3823-4215-19
ร้านยอดการเกษตร................ 0-3225-4068
บจก.พี.อาร์.กรีน..................08-9341-3122
บจก.ไอเอฟซี.ซีสเต็มส์...... 0-2998-7190-2
0-2294-3252-4
ร้านนิวอภิชาติ......................08-1651-4467
กนกโปรดักส์.......................08-0551-1957
0-4563-6159
08-1400-8319, 0-2616-3885
บจก.ซิลแมทช์........0-2203-0357.ต่อ.203
0-3231-2278-79
0-2553-1261
บจก.อโชคพัฒนา................... 0-4449-2136
0-4572-2443
62 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 ค เ ร �ย ร้านมิตรภาพเครื่องหวาย........
เ
ร
บจก.รุ่งสยามเคมเทรดดิ้ง
ร จกร จำ� น�ย บจก.ไมท์ตี้เอ็นจิเนยริ่ง.....
หจก.แสงจิตเครื่องจักรการเกษตร ............................................
เ ร จกรก�รเก ร
เ
เ ร ุปกร ก�รเก ร
เจริญพานิช............................
บจก.วาสเซอร์แคร์..............
บจก.ยโสธรศุภนิมิต...............
เ ร ทำ� � เยน เ ร �
0-3259-6046
0-3432-1555
0-2393-5460-1
0-2424-2120 บจก.เจเนอรัลฟาร์มซัพพลายส์........ 0-29124223-4
0-2546-2335
...................................... 0-3442-1148-52
63 ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ เ ินทุน กทร ย สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองกระทุ่มพัฒนา
ช �ก�
ีย บจก.กาแฟผงไทย..............
บจก.ใบชาอ๋องอิวกี่................
ศศิมาสมุนไพร.......................
เยน
ต เ � บ บจก.สยามโคอกริเวิลด์...........
� �ย บจก.ซิงหยาง.........................
น เ �ะ ำ� ถ เ นเ บจก.มนต์ชัยการช่าง.บ้านโป่ง.(1985) 0-3550-0184-6 � ิก � �ร �น ถ่านอัดแท่ง.........................08-1867-7014 บจก.มนต์ชัยการช่างบ้านโป่ง 08-1806-1936 เ �ะ ำ� ธ ธน� �ร ธก ธกส..สาขาสีคิ้ว..................... 0-4441-1909 ธกส..สาขาสามพราน............. 0-3432-4070 ธกส.สาขาปราณบุรี................ 0-3262-1442 ธกส.สิงห์บุรี.......................... 0-3652-4219 ธกส.บางปะอิน...................... 0-3526-1560 น เ �ะ ำ� ป ก ชมรมบอนไซ.ฉะเชิงเทรา 08-1577-3751 กลุ่มชะอมเพาะเมล็ด...........08-1848-6472
�เ
บจก.ไพศาลโรจน์ทรานสปอร์ต
0-4224-4001
64 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 กลุ่มปลูกมะละกอ.ชะอม.แก้วมังกร ..........................................08-1977-2988 เมล็ดพันธ์แตงกวา...............08-1874-7901 นัทธพงษ์พันธ์ไม้..................08-1580-6064 กลุ่มต้นไม้มงคล.ต.ท่าผา 08-9910-6669 เมล็ดพันธ์ทานตะวันและข้าวสาลี 08-4002-0023 ตลาดต้นไม้ครบวงจร............08-1833-9487 เจริญสวนเฟื่องฟ้า.................. 0-3432-1786 ท ทร เ ร ุปกร บจก.สยามคูโบค้า.................. 0-2909-0300 บจก.จ.เจริญชัย.(นายเจ่า)...... 0-3524-1852 สยามยนต์แทรคเตอร์............. 0-3630-3515 สหชัยแทรคเตอร์................... 0-3622-1845 พินิจแทรคเตอร์..................... 0-3643-6202 พี.ที.จี.สตีลดีเวลลอปเม้นท์..... 0-4429-1790 รามอินทราธีรกิจ.................... 0-2971-8924 ราชบุรีแทรคเตอร์................... 0-3228-1055 เคแมนชั่น.......................... 0-2934-1203-5 ดี.เอ็มแมชีนเนอรี่.................. 0-2802-6660 เจริญโภคภัณฑ์วิศวกรรม........ 0-2675-9401 ณัฐพงษ์แทรคเตอร์................. 0-2691-4072 มิตรอะไหล่แทรคเตอร์............ 0-3536-1380 ณัฐวุฒิเครน........................... 0-3454-2628 พัฒนาเกษตรยนต์.................. 0-3643-6088 บจก.บีทีแทรคเตอร์................ 0-2215-4904 ท บนำ� จำ� น�ย สวนแตงกลการ...................... 035-599202 น นำ� �
65 ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ บจก.นำ้าตาลทรายกำาแพงเพชร ........................................ 0-2224-2994-8 น นำ�ป � เ ร ปรุ โรงงานนำ้าปลาศิริบางปู............ 0-2330-1888 โรงงานนำ้าปลาไทย.(ตราปลาหมึก) 0-2234-3402 นำ� น � จำ� น�ย บจก.ชัยเสรี........................... 0-3650-1025 เน �ย บจก.แหลมทองโปรตีนฟู้ด 0-2420-4717 นำ� หจก.สุพจน์การ์เด้นดีไซน์........ 0-2992-9363 บ เบ เ ผ้าห่ม.3.ฤดู........................08-1371-3589 สมุนไพรรีชสิทธิ์...................08-1432-2472 บจก.แดรี่โฮม.......................08-1876-7234 กรุงเทพเครื่องสวน................. 0-2618-4961 ป ปุย ปุย นิ นำ� ปุ๋ยมูลไส้เดือนแท้.100%.....08-3133-4114 บจก.เคโมคาฟ................... 0-2448-9104-5
2566 หจก.โปรบิซิเนสบุญทองสุข
..........................................09-3584-6654
ปุ๋ยนาโน.ทรานฟอร์ม...........09-8898-8294
บจก.ไทยธุรกิจเกษตร....... 0-2954-5777-84
0-2395-1012
บจก.แพลนโปรเทคอะโกร 08-9524-4315
บจก.ไบโอเกษตรกรรม........... 0-2570-5312 บจก.ไบโออาร์ท................. 0-2448-9104-5 บจก.ไทยฟาร์เมอร์โปรดักส์ซัคเซล 0-3499-3411-4
66
ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี
บจก.ไทยยูเนี่ยนโบน..............
บจก.เอ็กซ์ตร้าอโกรเคมีคอล
บจก.วาน.วี.พี.เปอร์ติไลเซอร์ ............................................ 0-2928-1299 ร เก รป �ร ........................................ 0-2986-1680-2 ร้านมาลีการเกษตร................. 0-2278-5016 บจก.ลุมพินีอุตสาหกรรม....... 0-2250-1144,
บจก.ไทยเซ็นทรัลเคมี............. 0-2639-8888
0-2312-1051, 0-2750-6852
67 ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ 0-2654-5449 ป � จำ� น�ย ป� ปรรป บจก.เอเชียผลิตภัณฑ์นำ้ามันพืช ............................................ 0-2512-1051 บจก.สุขสมบูรณ์.ชลบุรี ............................................ 0-3844-2999 บจก.ทักษิณอุตสาหกรรมนำ้ามันปาล์ม.(1993). ........................................ 0-2513-8747-9 ป ปศุสัตว์.จ.ขอนแก่น............... 0-4322-2154 ปศุสัตว์.จ.บึงกาฬ.................. 0-4249-2734 ปศุสัตว์.จ.บุรีรัมย์.................. 0-4461-1988
0-2986-3077, ............................................... 2986-3079 บจก.tim.food................... 0-2691-7886-8
0-3449-8246 บจก.ซีแพค............................ 0-2840-0058
บจก.ดารินกรีน....................... 0-2929-6739
0-2448-0327, 0-2885-0793-4
0-3555-1363
..(บจก.เห็ดสยาม)................. 0-2377-0680
68 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 ปศุสัตว์.จ.ราชบุรี................... 0-3233-7802 ปศุสัตว์.จ.เพชรบุรี................. 0-3242-4909 ปศุสัตว์.จ.เพชรบุรี................. 0-5672-2094 ปศุสัตว์.จ.ลำาพูน.................... 0-5351-1288 ปศุสัตว์.จ.พัทลุง.................... 0-7461-3297 ปศุสัตว์.จ.ชัยภูมิ.................... 0-4481-2334 ปศุสัตว์.จ.สุราษฎร์ธานี...........
ปศุสัตว์.จ.หนองคาย..............
ก บุษยาธรพืชผล.....................
หจก.กรีนเดลี่ฟู้ดส์.................
บจก.เอเยนต์เทรดเซอร์วิชส์ 0-2985-8601-2 บจก.ไทยเพื่องฟูเทรดดิ้ง......... 0-2520-3391 บจก.ยูนิตี้กูดส์....................... 0-2285-4115 บ บจก.เจริญอุตสาหกรรม..........
0-7727-2900
0-4425-1822
0-2832-6676
� ิก บจก.คิวแพ็คโปรเกรซ........
บจก.เอกสุวรรณเกษตร.(2001)
ร้านส่องแสงพาณิชย์..............
โรงงานสยามพลาสติกเกษตร
บจก.อุตสาหกรรมผ้าเคลือบพลาสติกไทย
บจก.เอ็มจีพี.สังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรม
ร้านหฤทัยกระถาง..............
บจก.สรมาคอนแทนเนอรแม็ก ............................................
�ร
0-2983-3695-6
0-2464-3260-6
0-2271-4213-6
0-2422-0813-4
0-2294-6674
69 ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ ฟาร์มเป็ดเสียเหลิง...............08-1864-6353 บจก.เจริญฟาร์ม................. 0-3436-3378-9 อุดมเกษตรฟาร์ม................... 0-3550-0993 เคทีฟาร์มเทรดดิ้ง................... 0-2382-0304 ศรีสวัสดิ์ฟาร์ม 081-0540806
70 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 �ร เ ลัลลิลณ์ฟาร์มเห็ด................08-9977-1414 ฟาร์มเส้นทางเห็ด.................08-1971-5155
........................................... 098-2653765 ฟาร์มเห็ดวิราภา...................08-1570-7068
0-4343-1068
0-4327-2909 มหพืชผล.............................. 0-4331-1198
0-4452-8311
0-2679-9112
0-5335-38410-5
0-3626-6316-9
08-1738-7277
0-3457-1059
ร้านวัดพร้าวพันธุ์ไม้..............08-9975-5533
ลัดดาการเกษตร.................... 0-2978-3282 บจก.ซีพีไอ.อะโกรเทค........... 0-7759-9680
บจก.เพื่อนเกษตรกร.............. 0-5321-1810
บจก.ที.เอส.เอ................... 0-2579-7761-2
บจก.อีสท์เวสท์ซีด................. 0-2831-7777
บจก.ที.อาร์.กรีน.................... 0-3879-7448
ข้าวโพดแปดแถว.................08-4866-1761 อำานาจดอกอุบล...................08-7082-2765
08-1943-2231, 08-1435-5332
ร้านราชพฤกษเกษตร.............. 0-2549-1294
บจก.ออไรซาเวิลด์..................
71 ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ ฟาร์มเส้นทางเห็ดบ้านผักน้ำาฟ้าbyส.รัตนตรัย
น ำ�ปะ ะ โชคประเสริฐลานมัน..............
สหสุรินทร์พืชผล....................
สถาบันพัฒนามันสำาปะหลังแห่งประเทศไทย
โรงงานอัดเม็ด.คำาปิงเกษตรกรรม 0-4485-9032 เ นธุ นธุ บจก.เอ.เอ็ฟ.เอ็ม.ฟลาวเวอร์ชีล
บจก.แปซิฟิคเมล็ดพันธุ์......
ตันหยงมัสเนอร์สเซอรี่.........
ร้านประสิทธิ์การค้า................
หจก.เจริญชัยค้าพืช................
ไร่ขิงพันธุ์ไม้........................
0-4347-0297 บจก.พืชพันธุ์ตราสิงโต............ 0-2887-6788 บจก.มอนซานโต้ไทยแลนด์..... 0-2793-4888 บจก.ฮอทีโกร......................... 0-5387-9224 � ิก ย� ย� � ปรีดาการเกษตร..................... 0-3238-3642 EIM SUK............................ 0-2908-8941 บจก.นูตริเคมส์...................... 0-2529-1301 บจก.พีชายน์.......................... 0-2582-1071 บจก.มิวไบโอเคม................... 0-2987-1935 บจก.สยามกรีนโปรดักส์......... 0-2533-8432 บจก.ไบโอเทค........................ 0-2908-3308 บจก.ซันฟีด........................... 0-2561-1461 บจก.บางกอกฟาร์ม................ 0-2914-1527 บจก.บ.บางกอกฟาร์ม............. 0-2581-6168
0-3236-2199 ป..ประทีปทอง.2000............ 0-3471-7829 ทรัพย์เจริญผลการเกษตร ............................................ 0-3626-6165
0-3499-2111 วันชัยการเกษตร.................... 0-4338-8068
พันล้านการเกษตร.................. 0-4327-4666
0-4578-1144
72 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 ศิริชัยเคมีการเกษตร...............
เกษตรรุ่งเรืองพัฒนา..............
เจริญสินการเกษตร................
ย� �ร� ร เร น ร เ �ะ ำ� เกษมโรงเรือน.061-1065107 ร � บจก.suppersave.1982..........044-670721 โรงสีกิจธนา....................... 0-3426-1288-9 สินศักดาการเกษตร................ 0-2985-5586 โรงสีทุ่งน้อย.......................... 0-3235-3122 โรงสีข้าวนำ้าพอง..................... 0-4243-1332 โรงสีข้าวทิพย์รุ่งเรืองกิจ.......... 0-4441-3058 โรงสีข้าวอุดรเอกสิริ............... 0-4729-0429 โรงสีโชคชัยรวงทอง............... 0-4409-1557 โรงสีข้าวเกษตรอินทรีย์........... 0-4385-9490 โรงสีเศรษฐกิจรวมผล............. 0-4553-6300 โรงสีข้าวหอมหนองหารไทยง่วน 0-4220-9133 โรงสีข้าวอุดรเอกศิริ............... 0-4229-0423 โรงสีข้าวอยุธยาค้าข้าว............ 0-2908-2742 อุดมข้าวสยาม....................... 0-2459-5454 โรงสีข้าวชัยรุ่งเรือง................. 0-4341-4674 โรงสีฉีเฉียงธงไชย.............. 0-4332-9930-1 โรงสีข้าววิเชียรทรัพย์............. 0-4526-7054 โรงสีธัญนคร.......................... 0-4433-2366 โรงสีข้าวโพนทอง................... 0-4229-0082 โรงสีข้าวพิบูลทองทวี.............. 0-4544-1084 ข้าวศรีไทยใหม่....................... 0-4794-1111 โรงสีธัญนคร.......................... 0-4433-2366 ร ทร เ ร เ ร จกรก�รเก ร บจก.พศุตม์.เอ็นเตอร์ไพร์...... 081-3999938
73 ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ ช้างแทรคเตอร์่........................ 034-571297 คนสร้างสวน.by.mr.seal...... 092-3650464 KL.จักรการเษตร................. 083-5635965 พีอาร์.จักรกลการเกษตร.......02-4293990-1 หจก.ดวงดีเทคโนโลยีการเกษตร.................... ........................................... 061-9695959 หจก.วี.บี.เค.โฟร์เอส...........02-6913203-4 บจก.ยูโรแทรค........................ 038-799911 เกษตรพอดี.......................... 097-1315052 ร เ ก ะ บจก.บุนย์วานิช...................... 0-2271-0967 ร �ร
08-5511-1609
0-8-5665-8088
0-3626-6748
74 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 รบ �ย ร ตลาดนัดสีเขียว.อ.กมลาไสย
รับซื้อนำ้ามันปาล์ม..............
ส.สมบูรณ์พืชผล....................
ป กรร กร ก�รเก ร
..........................................
0-2373-0020-1
0-4433-3388
75 ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ ชุมนุมสหกรณ์ยูเนี่ยนแห่งประเทศไทย
สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คขามทะเลสอ
สหกรณ์เคดิตยูเนี่ยนไทย.สาขาขอนแก่น
สหกรณ์การเกษตร.อ.ผาขาว 0-4281-8098 สหกรณ์การเกษตรโพนสวรรค์ 0-4259-5069 สหกรณ์การเกษตรนำ้าเย็น....... 0-4537-1039 สหกรณ์การเกษตร.จ.ชัยภูมิ 0-4278-1023 กร รบ สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี 0-3238-9234 สหกรณ์สวนการยาง.ขอนแก่น 0-4325-2216 สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
0-2561-4567 ชุมนุมสหกรณ์.จ.พระนครศรีอยุธยา ............................................ 0-3535-9097 สหกรณ์การเกษตร.(เนินนกทา) ............................................ 0-4578-1327 สหกรณ์เคดิตยูเนี่ยนไทย.(สาขาเชียงใหม่) 0-5339-0893 สหกรณ์เคดิตยูเนี่ยนบ้านหนองกระทุ่มพัฒนา 0-3259-6046 สหกรณ์สุราษฎร์ธานี.(จำากัด) 0-7744-1050 สหกรณ์ข้าวฉางอำานาจเจริญ 08-9849-9322 สหกรณ์การเกษตรกันทรลักษณ์ ............................................ 0-4566-1358 สหกรณ์การเกษตร.(สามหมอ) ............................................ 0-4486-1346 ำ�นก �น สนง.งานเกษตรกาฬสินธุ์........ 0-4381-1714 สมาคมค้าข้าวไทย.................. 0-2234-9187 สนง.ตลาดวโรรส................... 0-5323-5688 สถานีที่ดิน.จ.ขอนแก่น........... 0-4324-6759 เ นก ยเ ย ิน �เก ร ปรรป หจก.หกพันนา...................... 0-4548-2297, 08-1876-1971
0-4321-0763
............................................
76 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรบ้านป่าคา. 08-6092-7477 กลุ่มแม่บ้านสมุนไพรคุณธรรม 08-3255-0604 น ก น รร สวนกุหลาบอังกฤษ..............09-0702-4385 สวนเทพทิพย์โภคา...............08-9663-7298 สวนคุณปู่............................09-2403-9566 สวนสุนีย์พันธุ์ไม้..................08-7110-6283 สวนชนากานต์พันธุ์ไม้...........08-4908-1066 บุษกรพันธุ์ไม้.......................08-1192-9344 สวนบางไผ่พันธุ์ไม้................08-6569-6225 สวนไผ่ธิดาโชค...................08-1634-3646, ..........................................08-1424-4647 บจก.ชูนินนาทกรุ๊ป................. 0-3637-1131 สวนกล้วยไข่........................08-9085-0966 สวนคุณลี............................08-1886-7398
77 ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ ป เก ร � � บจก.เอกสุวรรณเกษตร.(2001) 0-2885-0793-4, 0-2448-0327 บจก.เค.ยู.การ์เด้นเซ็นเตอร์ 0-2272-4661-2 ชลกิจสปิงเกอร์....................08-6802-4195 ิน น ระบุรี ิน น กรนิ 6 6 5 เยนบริก�ร กิจการห้องเย็นสัตหีบ............. 0-3843-7402 ุปกร ก�รเก ร ร้านประสิทธิ์การค้า................ 0-3457-1059 วรพงษ์การเกษตร.(คุณทิพย์) 0-2272-4768-9 ร้านมาลีการเกษตร................. 0-2278-5016
78 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 หจก.สมพรพานิชการเกษตร ........................................ 0-3644-2474-5 ร้านนฤมลการเกษตร 08-5105-5614 ร้านประยูรการค้า.................08-1558-9221 ร้านนำาพาณิช......................... 0-4569-1488 บจก.อัศวคอนสตรัคชั่น ........................................ 0-3236-2586-7 บจก.ชุมสินอิมสปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต 0-3433-9751-5 บจก.ชินเกษม........................ 0-2448-1313 กรเดช.พืชผล........................ 0-4459-1081 ก บบ
0-2948-0456
0-3233-0088
0-2811-2405
0-2462-0756
79 ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์
ะ ก�รเก ร บจก.เค.เค..เกษตรกลการบ้านโป่ง
หจก.พี.อาร์.จักรกล................
หจก.สามัญตะวันซัพพลาย.....
บจก.อรุณไทยอิมสปอร์ตเอ็กซ์ปอร์ต 0-2403-8509 � �ร ปรรป วิสาหกิจชุมชนแปรรูปและผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตร....................08-6250-5751 บจก.โมเดอร์นฟู้ดอินดัสตรี้ 0-29798-6530 หจก.สหโภคภัณฑ์.................. 0-3242-7801 โรงงานนำ้าปลา.(ตราทิพย์รส).. 0-2234-3402 � �ร จำ� น�ย บจก.โพรเทคเตอร์นิวทริชั่น.(ประเทศไทย)...... ............................................ 0-3420-2480 บจก.เอ็นทีเจแมชชีนเนอร์....... 0-2915-7407 บจก.เคซีรุ่งเรือง..................... 0-4337-0333 รัตนอุตสาหกรรมการเกษตร ............................................ 0-2449-7590
บจก.เอบีแอนด์ดี.คลูลิ่ง.........
อาหาร.R3..........................08-1403-5965
0-29641-9510-4 บจก.เอเซียพลัส.................... 0-3543-1575
0-4327-2489
0-2937-4902 บจก.จีเอสอาร์โอ.................... 0-2524-2491
0-2923-99110
0-4324-2361
0-3499-2111
0-4231-2322-3
0-4453-8656
80 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566
บจก.พีเคพี.โอเวอร์ซีล์
บจก.เวทโปรดักส์แอนด์คอนสแตน
บจก.เอ็มจีเคมีคอล
ชัยสิทธิ์ฟาร์ม.........................
กรุงเทพโปรดิวส์.....................
เจริญโภคภัณฑ์อีสาน..............
ขอนแก่นฟูดส์โปรดักส์...........
พงษ์วัฒนาการเกษตร.............
บางกอกโนเวจ.......................
กว้างไพศาลฟาร์ม..................
เกษตรรุ่งเรืองพัฒนา
0-4428-6058
0-4327-2323
0-4545-1446
0-2655-1409
0-3548-1188
เกื้อกูลการเกษตร
เกษตรรุ่งเรืองสุรินทร์
กิจธนาอาหารสัตว์..................
การุณบราเชอร์.......................
กิตติธนาภัณฑ์ 0-2211-7860 � กรร � �ร บจก.เอสเอฟขอนแก่น.........
� �รกระป บจก.อุตสาหกรรมสัปปะรดกระป๋องไทย 0-3262-2059 บจก.ทิปโก้ฟู้ด.................... 0-2271-0041-3 บจก.มหาชัยอาหารไทย.......... 0-3481-2914 � �ร น อวนประมง............................ 0-3442-2012 บจก.ขอนแก่นแหอวน............ 0-2691-5256 ุปกร ป กน น ร�ย บจก..3.เอ็มประเทศไทย........ 0-2260-8577 บย� ร สหกิจตะพานหิน.................... 0-3534-1500 บจก.ไทยอบยาพืชไร่.............. 0-2457-4243 น นธุ เกษตรอินทรีย์.................... 0-2992-3104-5 สวนพิทักษ์..........................08-9249-1092 สวนชวนพิศชวนชม.......... 08-18722-0536
0-3426-1288
0-3659-9599
08-1988-4313
0-3555-1332, 0-3425-5655, 0-3425-7549
0-3423-0102
0-3439-5263, ............................................ 0-3439-5037
0-3439-1489
0-3425-8136
0-3422-7429-30 บจก.สยามเมทัลเทคโนโลยี
0-3895-7300-7, 0-3895-4313 บจก.อัสโน่โฮริเอะ.(ไทยแลนด์)
0-3895-4697, 0-3895-4692
บจก.อาร์พีทีเอเซีย................ 0-3895-5375, 0-3895-5380
บจก.อาร์วินเมอร์ริทอร์.(ประเทศไทย)
0-3895-4343-9, 0-3895-7372 บจก.อาโอยาม่าไทย........... 0-2756-5254-5 บมจ.เดอะโดเจเนอเรชั่น.... 0-2207-0970-1,
08-4782-7231
81 ใครเป็นใคร ในแวดวง เกษตรและสหกรณ์ � �รเ ริ ฮ ร ิก ป.สินยนต์อะไหล่..................
นครชัยศรีไฮโดรลิค................
นครปฐมกลการ....................
พรชัยการช่าง.........................
เอสพีสายไฮโดรลิก................
เอส-เอส.ไฮดรอลิก.........
........................................ 0-2207-0910-1 สวนแม่แตงไผ่ทอง...............08-3573-4554 สวนมะนาวภูเขียว................08-1869-4882 สวนหม่องพันธุ์ไม้................08-1155-6199 ไร่อนุรักษ์............................09-8096-5981 บัวทองพันธุ์ไม้.....................08-9000-1334 บุษกรพันธุ์ไม้.......................08-1192-9344 สวนบางไผ่พันธุ์ไม้................08-6569-6225 สวนไผ่ธิดาโชค...................08-1634-3646, 08-1424-4647 บจก.ชูนินนาทกรุ๊ป................. 0-3637-1131 สวนกล้วยไข่........................08-9085-0966 สวนคุณลี............................08-1886-7398 บ้านสวนจันทร์สมุนไพร .............. 08-1941-5730,
สวนไผ่ปทุม.........................08-1348-4723 สวนแก้ววงศ์นุกูล................. 0-3858-4402, ............................................ 0-3858-3734 เกษตร-เบตล็ด หจก.ขันติหินอ่อน................. 0-3634-7242, 0-3634-7535 ณ.วิษณุหินอ่อน.................... 0-3633-4170, 0-3634-7145 สระบุรีหินอ่อนแกรนิต............ 0-3636-9058 ป.การช่าง............................. 0-3634-7092 หจก.จรัญ.13........................ 0-2410-1883 หจก.ชวงหงส์........................ 0-2611-6550 หจก.ชิดโชคเจริญ............... 0-2428-9892-3 โชคดีการค้า........................... 0-2457-1681 บจก.ลี้แปะม้อ....................... 0-2452-8518 ร้านตรีเทพสุทธิ์ธารา............... 0-3528-5685 บจก.เฮียบเฉ้งเฮง.............. 0-2225-4973-4 หจก.ย่งฮวดค้ากระสอบ......... 0-2221-0526 บจก.เอ็มอีพีอสังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรม. ........................................ 0-2271-4213-6 บจก.อุตสาหกรรมผ้าเคลือบพลาสติกไทย 0-2464-3260-6 หจก.หลีเชียงสหพาณิชย์........ 0-2221-6007 บจก.สีมาคอนแทนเนอร์แม็ก 0-2294-6674 บจก.กระสอบปากช่อง........... 0-2294-9222 บจก.กรุงเทพไทยโพลีเทคนิค 0-3420-6164 บจก.ต.ยิ่งเช้ง......................... 0-2895-6631
ตางชาติยอมรับสินคาของไทยเปนเรื่องยากมาก จึงทําใหสินคาเครื่องจักรไทยมี การจําหนายไปยังตางประเทศมีจํานวนนอย
ทางลูกคาไมตองจาย เงินใดๆ ทั้งสิ้น ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความ
วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสารดานการเกษตรและสหกรณ ประจําป 2566 คุณภาพ ของสินคาเครื่องจักรกลไทยในตลาดโลก คอนขางยากในการ แขงขัน เนื่องจากปญหาทั้งดานคุณภาพ และราคา เพราะการทําใหชาว
แตหลักการดังกลาว ใชไมไดกับ บริษัท ชางแทรกเตอร จํากัด อ.อูทอง จ.สุพรรณบุรี บริษัท ชางแทรกเตอร จํากัด ตั้งอยูที่ เลขที่ 209 หมู 9 ต.จรเขสามพัน อ.อูทอง จ.สุพรรณบุรี ซึ่งเปนตนตําหรับงานนวัตกรรม เครื่องจักรกล สําหรับงานเก็บเกี่ยว ออยมากวา 15 ป ผลิตภัณฑยอดนิยม ไดแก เครื่องตัดออยพวงขางรถแทรกเตอร และ เครื่องสางใบออย ตรา ชางแทรกเตอร สินคา เครื่องตัดออย และ เครื่องสางใบออย ของชางแทรกเตอร มีจุดเดน เริ่มตน ตั้งแตการออกแบบ ใหสามารถติดตั้งกับรถแทรกเตอรไดโดยไมมีการดัดแปลงรถ ใดๆ และเมื่อเสร็จสิ้นการใชงานสามารถถอดออกเพื่อใชรถแทรกเตอรทํางานกับ เครื่องมืออื่นๆไดอยางสะดวกสบาย ความแข็งแรง ก็เปนอีกจุดเดน เนื่องจากเครื่องตัดออยชางแทรกเตอร เปนเจา เดียวที่ใชเพลาขับใบมีดตรงระหวางหัวเกียร จึงมีความแข็งแรงสูงสุด ไมพบปญหา ขาดและพังในหนางาน เหมือนระบบโซ หรือระบบอื่นๆ ทั้งนี้ สาเหตุที่แบรนดอื่น ตองการใชเพลาขับใบมีดแตไมสามารถใชได เนื่องจากทาง บริษัทชางแทรกเตอร จํากัด
จึงทําใหมีความจําเปนตองใชวิธี การอื่นๆ
เปนการสงกําลังที่แข็งแรงสูงสุด หัวใจหลักสําคัญ นอกจากมีสินคาที่มี คุณภาพดี
จํากัด เปนเจาเดียวที่การันตีลูกคา ถา ทํางานไมไดจริง
รับผิดชอบสูงสุด ของทางบริษัท จึง ทําใหสินคาของทางบริษัท ไดรับการ ตอบรับสูงสุด จนมียอดขายอันดับ 1 ใน ประเทศไทย ตอเนื่องยาวนาน คุณจักรกฤษณ ทองไพโรจน (ประธาน บริหาร) บริษัท ชางแทรกเตอร จํากัด ได กลาวกับทีมงานวา เราตองการพัฒนา คุณภาพและมาตรฐาน และทําการคา ที่ยั่งยืน เราจึงกําหนด วิสัยทัศนบริษัท ในป 2023 เปนตนไป วา
สุพรรณบุรี
ไดมีการจดสิทธิบัตรลิขสิทธิ์เพียงเจาเดียว
ในการสงกําลัง ซึ่งในวงการ เครื่องจักรกลเกษตรรูดีวาเพลาตรง
ตองประกอบไปดวย การ บริการที่ดี โดยบริษัทชางแทรกเตอร
ช้างแทรกเตอร์
เคร�่องตัดออย SpecialScoop
ดังไกลทั่วโลก สินคาไทย
เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง จากวิสัยทัศนดังกลาวจะเห็นไดชัดเจนวาผูบริหารไดมอบนโยบายและทิศทางที่จะพัฒนา คุณภาพตอเนื่องและยั่งยืน จึงไมทําใหแปลกใจวาทางบริษัทฯ มีการเติบโตแบบกาวกระโดด ในทุกๆ ป ในชวง 3 ปที่ผานมา ทางบริษัทมีการขยายตลาดในตางประเทศ เปนจํานวนมาก ทั้งในตลาด เอเชีย อาทิ ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ฯลฯ รวมถึงในตลาด อินเดีย ทวีป ยุโรปและทวีปอเมริกา ไดมีการรวมมือกับทาง KAW GROUP ยักษใหญในวงการเครื่องจักร ในโรงงานนํ้าตาล แหงอินเดีย ที่มีการจําหนายเครื่องจักรไปทั่วโลก รวมกันสงออกเครื่องตัด ออย ชางแทรกเตอรในแบรนด Krushichang ไปยังตลาดอินเดีย ทวีปยุโรปและอเมริกา ซึ่ง ทางประธานของ KAW GROUP กลาววา จากเหตุและผลทั้งหมดที่กลาวมาจะเห็นไดชัดวาทาง บริษัทชางแทรกเตอร จํากัด เปนอีก หนึ่งความภาคภูมิใจของคนไทยที่สามารถนําสินคา ของไทยกาวไกลไปยังทั่วโลก
Agriculture and Cooperatives
SpecialScoop
สนใจสินคาคุณภาพ เครื่องตัดออย และ เครื่องสางใบออย ของแท ตราชางแทรกเตอร ติดตอ 089-907-6000 (คุณจักรกฤษณ ทองไพโรจน ประธานบริหาร) 098-828-8383 (คุณวรกันต หงษกา ผูจัดการทั่วไป) Email : changtracter@gmail.com www.changtractor.com Facebook : บริษัท ชางแทรกเตอร จํากัด
ใกล้บ้านเข้าใช้บริการได้สะดวกอะไหล่ถ ก เวลามีปัญหาสามารถติดต่อฝ่ายเทคนิคของ บริษัทฯ ได้โดยตรง สามารถแก้ไขหน้างานให้เราได้ทันโดยที่บางครั้งไม่ต้องน� าโดรนเข้าไปที่ ศนย์ NAcDrone มาช่วยทุ่นแรงการท�
ตอนนี้โดรนเพื่อการเกษตรในปัจจุบันพัฒนาจากเมื่อก่อนอย่างไร บ้างและคิดว่าในอนาคตโดรนเพื่อการเกษตร จะมีการพัฒนาไปอย่างไร
โดรนเพื่อการเกษตรในปัจจุบันมีการพัฒนาจากเมื่อก่อน
ระบบมีปัญหาค่อนข้างเยอะ
ท�าให้คนใช้งานสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ปลอดภัยและมีมาตรฐานมากขึ้น ในส่วนของ soft ware และ hard ware ก็จะมีการพัฒนาและปรับปรุงอยู่ทุกด้าน
เทคโนโลยีป้องกันประเทศ
ก็มีความร่วมมือกับทางสถาบัน
เขายังสามารถหาราย
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 93 สัมภาษณ์ผู้ใช้งานจริง
อนาคตโดรนเกษตร
มากขึ้นทั้งในเรื่องของการใช้พลังงานที่น้อยลง การท� า งาน ที่มีความแม่นย� า มากขึ้น ระบบมีปัญหาน้อยลง เกษตรกร สามารถฝึกและเรียนรู้ได้ผ่านระบบจ�าลองการฝึกบิน (Simulator) ก่อนที่จะเรียนรู้จริง เมื่อก่อนจะไม่มีระบบที่แม่นย�าเท่า ตอนนี้
ซึ่งตอนนี้ปัญหาน้อยมาก
เมื่อพ ดถึงอนาคตโดรนเพื่อการเกษตร เมื่อมีผู้ใช้ งานมากขึ้นแล้วเราไม่มีการก�าหนดเรื่องของมาตรฐานอาจ ท�าให้มีการน�าไปใช้อย่างไม่ถูกต้องได้ เพราะฉะนั้นในส่วน ของมาตรฐานและข้อบังคับต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นเกี่ยวข้องกับโด รนเพื่อการเกษตรทางบริษัทฯ
(DTI) เพื่อพัฒนาเรื่องของหลักสูตร โดรนการเกษตรภายในประเทศให้สามารถใช้งานได้อย่าง
แนะน�าถึงโดรนเกษตรให้แก่คนที่สนใจ ต้องเรียนไว้ตรงนี้ว่า โดรนเพื่อการเกษตรสร้างรายได้ให้จริงและก็มีหลายคนที่น�าโดรนไป ใช้ในไร่ของตัวเองแล้วรับจ้างฉีดพ่นให้กับเกษตรกรรายอื่นหรือญาติ พี่น้องที่ท� า เกษตรเหมือนกัน จนท� า ให้เขามีรายได้เลี้ยงชีพเพิ่มมาก ขึ้น อันนี้ก็เป็นส่วนหนึ่งของโดรนการเกษตรที่ไม่ใช่แค่เป็นโดรนเพื่อ มาฉีดพ่นแล้วลดต้นทุนการใช้งานอย่างเดียว
ได้เข้ามาสู่ครัวเรือนได้อย่างดีเยี่ยม
ใช้ NAcDrone มาตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2565 ที่เลือกใช้ NAcDrone เพราะว่ามีศนย์บริการ
างานในพื้นที่ของตัวเองได้เยอะแล้วยังสามารถรับจ้าง มีรายได้เพิ่มเติมเข้ามาในครอบครัว ขอแนะน�า NAcDrone ให้เป็นอีกหนึ่งตัวเลือกเพราะว่ามี การบริการหลังการขาย คุณเอกพัฒน์ ในตอนแรกได้ศึกษาโดรนไว้หลายค่ายแต่ที่เลือกใช้ NAcDrone เพราะว่าชอบรปทรงของโดรน แล้วก็ชอบแบบแขนกาง ราคาไม่ได้แรงมาก มีศนย์บริการที่มีมาตรฐานดีตัวโดรนของ NAcDrone บินง่ายไม่จุกจิกบ�ารุงรักษาง่ายโดยหลังจากที่ได้ซื้อโดรนของ NAcDrone ไปสามารถ ช่วยทุ่นแรงได้ดีมาก
ส� าหรับเกษตรกรหลายๆ ท่านที่คิดอยากจะมีโดรนแล้วก็ตอบโจทย์หลายๆอย่าง NAcDrone ก็เป็น 1 ในตัวเลือกที่ดี จริงๆ แล้วใช้บริการฉีดพ่นของ NAcDrone มา 2-3 ปีก่อนจะมาซื้อเอง มีนาเกือบ 100 ไร่ เลย ตัดสินใจที่จะซื้อเองบริษัทอย่ใกล้บ้าน ข้อดีของ NAcDrone คือศนย์บริการใกล้บ้านและอะไหล่ ก็หาง่ายไม่แพง ตั้งแต่ใช้มา NAcDrone ก็เข้ามาช่วยในเรื่องของประหยัดแรงงาน ประหยัด เวลา ประหยัดต้นทุน ดาบตำารวจวิชัย คุณอัศวิน โรมประเสริฐ ประธานกรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
นย์บริการ Agriculture and Cooperatives
คุณวันเพ็ญ
นอกจากใช้ส่วนตัวก็เริ่มมีรายได้เสริมจากการน� า โดรนออกไปรับจ้าง
SpecialScoop
โดรนกับวิถีเกษตรกรไทย
ตอนนี้โดรนเพื่อการเกษตรเป็นเทคโนโลยีที่เข้ามามีอิทธิพล กับวิถีเกษตรกรไทยไม่มากก็น้อย โดยโดรนเพื่อการเกษตรได้เข้า มาเพื่อช่วยแบ่งเบาภาระให้กับชาวนา ชาวสวน สามารถลดการ ใช้แรงงานลงแต่โดรนไม่ได้เข้ามาเพื่อแทนที่คน แต่เข้ามาเพื่อช่วย ทุ่นแรงให้พวกเขาเหนื่อยน้อยลง ท�างานได้ไวขึ้นและที่ส�าคัญที่สุด คือการสัมผัสกับสารเคมีนั้นก็จะลดลง
จากเมื่อก่อนจนถึงปัจจุบันโดรนเพื่อการเกษตรก็มีการพัฒนา มากยิ่งขึ้นนอกจากที่จะเอาไว้ใช้ในการฉีดพ่นน�้า ฉีดพ่นสารเคมี ตอนนี้ยังมีความสามารถในการหว่านข้าวและหว่านปุ๋ยได้เพิ่มขึ้น
อีกด้วย โดรนเพื่อการเกษตรได้เข้ามาท�าให้เป็นวิถีเกษตรกรไทย แบบสมัยใหม่ และคิดว่าในอนาคตก็จะถูกพัฒนามากยิ่งขึ้นไปอีก
สามารถดูได้จากตอนนี้ได้มีบริษัทฯ ส�าหรับจัดจ�าหน่ายโดรนเพื่อ การเกษตรมากขึ้นจากเมื่อก่อน มีการท�าการตลาดมากขึ้น แต่ NAc Drone ก็จะไม่หยุดอยู่กับที่อย่างแน่นอนโดยเราจะท�าการพัฒนา
(เค 1000 ลำา)
ในงานกู้ภัย แต่ละสถานการณ์ใช้โดรนต่างกันไหมแล้วต้อง ใช้โดรนแบบไหน แต่ละงานจะมีความแตกต่างกันไป มีทั้งโดรนยก น�้าหนักไว้ส่งของ โดรนถ่ายภาพมุมสูง โดรนใช้กล้องจับความร้อน สามารถแยกประเภทการใช้งานได้ตามหน้างานที่เจอ แต่แค่โดรน ถ่ายภาพก็สามารถน�ามาประยุกต์ใช้ช่วยในงานกู้ภัยได้หลักๆ เลย คือเพื่อถ่ายภาพมุมสูงหาทางเข้า – ออก ถ้างานที่ใหญ่ขึ้นก็ต้อง ใช้โดรนเฉพาะส�าหรับงานนั้นๆ
ความแตกต่างระหว่างการกู้ภัยแบบมีเทคโนโลยีในการให้ ช่วยเหลือดีกว่าอย่างไร ข้อดีของโดรนก็คือสามารถมองภาพมุม สูงและภาพมุมกว้างได้ ซึ่งปกติเราอยู่บนพื้นเราไม่สามารถรู้ได้ว่า ฝั่งตรงข้ามมีอะไร แล้วจุดส�าคัญของเหตุการณ์นั้นอยู่ตรงไหน เช่น เหตุไฟไหม้ก็สามารถหาบ่อน�้าหรือหาทางเข้า-ออกได้
เหลือเรื่องก� า ลังพลได้เยอะหากมีโดรนเข้ามาช่วยเหลือในงาน กู้ภัยหลายๆ ด้าน ในอนาคตคิดว่าโดรนเพื่องานกู้ภัยจะมีการ พัฒนามากขึ้นกว่าเดิม เช่น หุ่นยนต์กู้ภัยแทนคน หุ่นยนต์กู้ภัย แทนสุนัข ที่จะสามารถเข้าไปดับเพลิงหรือเข้าไปในพื้นที่เสี่ยงได้ แทนที่ของคนเพื่อลดการสูญเสียของเจ้าหน้าที่ทางด้านงานกู้ภัย
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 94
เพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการในการใช้งานของเกษตรกรมาก ขึ้น ราคาเข้าถึงง่ายมากขึ้น และจะพัฒนาในด้านอื่นๆ ให้ดียิ่งขึ้นต่อ ไปครับ
ซึ่งจะท�าให้ เราสามารถบริหารจัดการได้เร็วขึ้น แนวทางการกู้ภัยในอนาคต การใช้โดรนเพื่องานกู้ภัย เรา
คุณประสงค์ โรมประเสริฐ
สามารถใช้โดรน 1 ล�า กับเจ้าหน้าที่บังคับเพียง 1 คน ก็จะช่วย
คุณสิทธิพงษ์ คงยิ่งหาร (กับตันปิง) SpecialScoop
โดรนกับงานกู้ภัย
6.3 ไร่
ซึ่งโจทย์ของที่นี่ก็คือท� า อย่างไร 1 ไร่ 1
ล้านตามเศรษฐกิจพอเพียง อันนี้เป็นโจทย์
ส�า คัญที่เรามองว่าเกษตรกรท� า ให้ได้เงิน ขึ้นมาได้ 1 ปี 1 ไร่ 1 แสน ถือว่ายากพอ
สมควร แต่ต้นแบบที่เราจะท�าให้เห็นก็คือ
ท�าอย่างไร 1 ไร่ 1 ล้าน 6.3 ไร่ ก็ต้องได้ 6.3
ล้านบาท เพราะฉะนั้นแล้วก็เลยออกแบบ
สวนเกษตรดิจิตอลจะออกมาในรูปแบบ
คล้ายๆ กันกับสวนเศรษฐกิจพอเพียงหรือ
โคกหนองนาโมเดลแต่น�ามาประยุกต์ ทำายังไงถึงได้ประสบความสำาเร็จ
สวนเศรษฐกิจพอเพียงหรือโคกหนอง
เป็นสิ่งที่ได้คิดมาอย่างดีแล้ว แต่การที่เราน� า มาต่อยอดให้เกิดก� า ไร หรือเม็ดเงินที่เข้ามาในโครงการได้ต้องมี
จะท�าให้ดิจิตอลฟาร์ม 1 ไร่ 1 ล้านได้อันดับ แรกต้องคิดก่อนว่าที่มาของรายได้ มาจาก
ไหน 1.มาจากการขายผลิตภัณฑ์ 2.มาจาก การขายในเรื่องของความรู้หรือฝึกอบรม
3.มาจากการขาย Platform ในขณะเดียวกันดิจิตอลฟาร์มมีการ
ผลิตภัณฑ์ที่เราท�าจะขายให้ใครพอรู้แล้ว ว่าจะขายให้ใครก็มาสร้างเรื่องราวของ
ผลิตภัณฑ์นั้น เช่น เมลอนในดิจิตอลฟาร์ม
มีอยู่ 3 โรงเรือน โรงเรือนละ 300 ต้น ต้นละ
1 ลูก ใน 1 ลูกนั้นเราออกมาเป็นผลิตภัณฑ์
ที่เป็นเมลอนที่ขายใน Packaging ที่
สวยงาม ใน 300 ต้นจะก็จะมีรายได้เฉพาะ
เมลอนอย่างเดียวประมาณ 1.2 ไร่ ใน 1 ปี
750,000 บาทต่อ 1 ปี ในพื้นที่ 1.2 ไร่ และขณะเดียวกัน
เรียนรู้ มีคนมาเรียนรู้ มีรายได้ที่จะเข้ามา ในเรื่องของการฝึกอบรม ค่าที่พักที่จะเข้ามา รวมถึงเราก็จะมีรายจ่ายเรื่องการบ�ารุงรักษาอุปกรณ์ต่างๆ แต่เราโฟกัสแค่เราจะสร้างราย ได้ท�าอย่างไร 1 ไร่ 1 ล้าน เรามี 6 ไร่ก็ต้องมีรายได้เข้ามา 6 ล้านบาทต่อปี ก็เลยมีทั้งเรื่อง ของการอบรม ขายผลิตภัณฑ์ การปลูกพืชหลายชนิด ปลายน�้าส�าคัญที่สุดคือโครงการ
ที่เราต้องเล็งเห็นว่าสร้างผลิตภัณฑ์ขึ้นมาแล้วจะขายให้ใคร ผลิตภัณฑ์นั้นมีความเสี่ยง
ผลิตภัณฑ์บางอย่างก็ไม่สามารถขายออกได้หมด ถ้าไม่ ท�าการแปรรูปก็จะท�าให้เกิดความเสี่ยงที่ผลิตภัณฑ์นั้นจะเกิดความเสียหายโดยเปล่า ประโยชน์ เช่น สินค้าไม่ได้มาตรฐานตามต้องการของตลาด สินค้านั้นเป็นช่วงที่ในตลาด เยอะเกินไป อันนี้เป็นส่วนส�าคัญที่ดิจิตอลฟาร์มให้ความส�าคัญและในขณะเดียวกัน
การ ให้น�้าทั้งหมดก็เป็นส่วนหนึ่งที่อยากให้ทุกท่านน�าแนวคิดนี้ไปดูว่าการที่เราจะปลูกพืช
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านการเกษตรและสหกรณ์ ประจำาปี 2566 95 Agriculture and Cooperatives เกษตรและสหกรณ์ ใครเป็นใคร...ในแวดวง ทำ�อย่�งไร 1 ไร่
ล้าน ดิจิตอลฟาร์ม ความเป็นมาเป็นไปของดิจิตอล ฟาร์ม พื้นที่ดิจิตอลฟาร์มมีพื้นที่
1
กระบวนการและขั้นตอนที่ถูกต้อง
นาโมเดล
การที่
ปลูกพืชอยู่หลายชนิดเพื่อให้เกิดรายได้ และออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ที่สวยงาม และขายได้ อันดับแรกเราต้องรู้ก่อนว่า
จะปลูกเมลอนได้ 3 ครั้ง 1 โรงเรือนจะมี รายได้มากกว่า 250,000 บาท ถ้ารวม 3 โรงเรือนก็จะมีมูลค่ามากกว่า
ก็จะมีผลิตภัณฑ์อื่นๆที่นอกเหนือจากเมลอนที่จะจัดจ�าหน่าย ก็มีในส่วนของเห็ด ปลา การเพาะเนื้อเยื่อ การปลูกพืช การสร้างหลักสูตรการฝึกอบรม แนวคิดแนะนำาถึงคนที่สนใจ เราต้องท�าตั้งแต่ต้นน�้า กลางน�้าและปลายน�้า ต้นน�้า คือดูแลเรื่องของเมล็ดพันธุ์ที่น�าเข้ามาปลูก กลางน�้าคือการดูแลรักษา บ�ารุง มีศูนย์การ
โคกหนองนาโมเดลหรือโครงการต่างๆที่เป็นลักษณะคล้ายๆ
Application ในการปลูก การให้ปุ๋ย
หรือจะท�าสวนเกษตรอื่นๆให้ดูว่ากลุ่มลูกค้าเป็นใคร ตลาดน�าการปลูก ก็เป็นส่วนส�าคัญ
ดิจิตอลฟาร์มเป็นส่วนหนึ่ง
ตรงไหนที่จะขายไม่ได้ ผลิตภัณฑ์ทุกอย่างต้องแปรรูปได้ การแปรรูปผลิตภัณฑ์
การดูแลรักษาพื้นที่ในดิจิตอลฟาร์มมีการใช้