คู่มือ อยุธยาฯ

Page 1

หัวเมืองจัตวา เช่นเดียวกับในสมัย กรุงธนบุรี หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ จัดการปฏิรูปการปกครองทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค โดยการปกครองส่วน ภูมิภาคนั้น โปรดให้จัดการปกครอง แบบเทศาภิบาลขึ้น โดยให้รวมเมือง ที่อยู่ใกล้เคียงกัน 3-4 เมือง

จัดตั้งมณฑลกรุงเก่าขึ้น ประกอบด้วย หัวเมืองต่างๆ คือ กรุงเก่าหรืออยุธยา อ่างทอง

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 17 Phra Nakhon Si Ayutthaya พระนครศรี อยุธยา คู่มือ ประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยาเคยเป็นราชธานี (เมืองหลวง) ของอาณาจักรอยุธยา หรืออาณาจักรสยาม (ไทยภาคกลาง) ในลุ่มแม่น�้ า เจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยา เป็นศูนย์กลางอ� า นาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับ หลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลาง การค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวม ทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคย สามารถขยายอาณาเขตประเทศราช ถึงรัฐชานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูใน ปัจจุบัน ตลอดระยะเวลา 417 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 1893 กระทั่งเสียกรุงแก่พม่า เมื่อ พ.ศ. 2310 ครั้นเมื่อพระเจ้าตากสิน มหาราชทรงสถาปนาราชธานีแห่งใหม่ ที่กรุงธนบุรี กรุงศรีอยุธยาก็ไม่ได้กลาย เป็นเมืองร้าง ยังมีคนที่รักถิ่นฐานบ้าน เดิมอาศัยอยู่และมีราษฎรที่หลบหนี ไปอยู่ตามป่ากลับเข้ามาอาศัยอยู่รอบๆ เมือง รวมกันเข้าเป็นเมือง จนทางการ ยกเป็นเมืองจัตวาเรียกว่า “เมืองกรุง เก่า” เมื่อ พ.ศ. 2325 ในรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช ทรงยกเมืองกรุงเก่าขึ้นเป็น
ขึ้นเป็น มณฑล มีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ ปกครอง โดยในปี พ.ศ. 2438 โปรดให้
ต่อมาทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้รวมเมืองอินทร์บุรีและเมือง พระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางและเป็น เขตเศรษฐกิจอุตสาหกรรมที่ส� าคัญ โดยมีผลิตภัณฑ์ มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน เคยมีชื่อ เสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่ส� าคัญ จังหวัด พระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดเดียวใน ประเทศไทยที่ไม่มีอ�าเภอเมือง แต่มี อ�าเภอ พระนครศรีอยุธยา เป็นศูนย์กลาง การบริหารจัดการด้านต่างๆ ชาว บ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “กรุงเก่า” หรือ “เมืองกรุงเก่า” ห่างจาก กรุงเทพมหานครประมาณ 75 กิโลเมตร
สระบุรี พระพุทธบาท ลพบุรี พรหมบุรี อินทร์บุรี และสิงห์บุรี

วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนส

โกมีมติให้ประกาศขึ้นทะเบียนอุทยาน

(Cordia dichotoma)

• ดอกไม้ประจ�าจังหวัด : ดอกโสน

chium rosenbergii)

ในปัจจุบัน ตามล�าดับ ส่วนการปกครองภายนอกบริเวณ ก�าแพงเมือง บริเวณนอกก�าแพงเมือง แบ่งออกเป็น 3 แขวง ได้แก่ แขวงขุน นคร

และต่อมามีการแบ่งออกเป็นแขวง ต่างๆ ดังนี้

และตะวันออกเฉียงเหนือของก� า แพง พระนครตั้งแต่ล� าน�้า ลพบุรีและลุ่ม น�้าป่าสัก ต่อมามีการแบ่งออกเป็นแขวง คือ ทางด้านตะวันตกเป็น แขวงนคร ใหญ่ และด้านตะวันออกเป็น แขวง นครน้อย • แขวงขุนอุทัย อยู่ทางใต้ตั้งแต่

เขตของแขวงขุนนครตลอดลงมายัง มายังแม่น�้ า เจ้าพระยาด้านตะวันออก ต่อมาได้มีการแบ่งออกเป็นแขวง คือ แขวงอุทัยใหญ่ และแขวงอุทัยน้อย • แขวงขุนเสนา อยู่ทางด้าน ตะวันตกมีอาณาเขตด้านเหนือจรด ตะวันตกเฉียงใต้ของแขวงขุนนครและ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 18 พรหมบุรีเข้ากับเมืองสิงห์บุรี รวมเมือง พระพุทธบาทเข้ากับเมืองสระบุรี ตั้งที่ ว่าการมณฑลที่อยุธยา และในปี พ.ศ. 2469 เปลี่ยนชื่อจาก “มณฑลกรุงเก่า”
“มณฑลอยุธยา” ซึ่งจากการจัดตั้ง มณฑลอยุธยามีผลให้อยุธยามีความ ส�าคัญทางการบริหารการปกครองมาก ขึ้น การสร้างสิ่งสาธารณูปโภคหลาย อย่างมีผลต่อการพัฒนาเมืองอยุธยาใน เวลาต่อมา จนเมื่อยกเลิกการปกครอง ระบบมณฑลเทศาภิบาล ภายหลังการ เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 อยุธยาจึงเปลี่ยนฐานะเป็นจังหวัด พระนครศรีอยุธยาจนถึงปัจจุบัน ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีนโยบายบูรณะ โบราณสถานภายในเมืองอยุธยา เพื่อเป็นการฉลอง
พุทธศตวรรษ ประจวบกับในปี พ.ศ. 2498 นายก รัฐมนตรีประเทศพม่าเดินทางมาเยือน ประเทศไทย และได้มอบเงินจ� า นวน 200,000 บาท เพื่อปฏิสังขรณ์วัด และองค์พระมงคลบพิตร เป็นการ เริ่มต้นบูรณะโบราณสถานในอยุธยา อย่างจริงจัง ซึ่งต่อมากรมศิลปากร เป็นหน่วยงานส� า คัญในการด� า เนิน การ จนองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และ
เป็น
25
ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เป็น “มรดกโลก” เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2534 มีพื้นที่ครอบคลุมในบริเวณ โบราณสถานเมืองอยุธยา สัญลักษณ์ประจ�าจังหวัด • ค�าขวัญประจ�าจังหวัด : ราชธานี เก่า อู่ข้าวอู่น�้า เลิศล�้า กานท์กวี คนดี ศรีอยุธยา เลอคุณค่ามรดกโลก • ตราประจ� า จังหวัด : รูปสังข์ซึ่ง ประดิษฐานอยู่ในพานแว่นฟ้าภายใน ปราสาทใต้ต้นหมัน • ต้นไม้ประจ�าจังหวัด : หมัน
(สะ-โหน) (Sesbania aculeata) • สัตว์น�้ า ประจ� า จังหวัด : กุ้ง ก้ามกรามหรือกุ้งสมเด็จ (Macrobra
การเมืองการปกครอง ประวัติการแบ่งเขตการ ปกครอง ในสมัยอาณาจักรอยุธยามีการ แบ่งการปกครองในราชธานีออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ การปกครองภายใน บริเวณก� า แพงเมือง และภายนอก บริเวณก� า แพงเมือง โดยในบริเวณ ก�าแพงเมืองก็จะแบ่งออกเป็น 4 แขวง ได้แก่ แขวงขุนธรณีบาล แขวงขุน โลกบาล แขวงขุนธราบาล และแขวงขุน นราบาล ต่อมาในสมัยอาณาจักรธนบุรี จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกล้าเจ้าอยู่หัวได้รวมทั้ง 4 แขวงภายใน ก�า แพงเมืองเป็นแขวงเดียวกัน เรียก ว่า แขวงรอบกรุง และขยายอาณาเขต ออกมาเท่าที่มีอยู่ในปัจจุบัน
กรุงเก่า
และแขวงขุนเสนา
และต่อ มาเปลี่ยนมาเป็นอ�าเภอรอบกรุง อ�าเภอ
และอ�าเภอพระนครศรีอยุธยา
แขวงขุนอุทัย
แขวงขุนนคร อยู่ทางทิศเหนือ

แขวง

อุทัยน้อย แขวงเสนาใหญ่ และแขวง

เสนาน้อย ต่อมาในรัชสมัยพระบาท

สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มี

การจัดระเบียบการปกครองเป็นมณฑล

เทศาภิบาล มีการรวมเมืองเข้าด้วย

กันเป็นมณฑล เปลี่ยนค� า เรียกเมือง

เป็นจังหวัด แขวงจึงต้องเปลี่ยนเป็น

อ�า เภอตามไปด้วย และต่อมาสมเด็จ

กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ เสนาบดี

กระทรวงมหาดไทยในขณะนั้นได้ทรง

ด�า ริว่า อ�า เภอแต่ละอ� า เภอมีพลเมือง

มากและมีท้องที่กว้าง จึงให้แบ่งเขต การปกครองออกไปอีกในทุกอ� า เภอ

ยกเว้นอ�าเภอรอบกรุง อ�าเภออุทัยใหญ่ และอ�าเภออุทัยน้อย ดังนี้

• อ�า เภอนครใหญ่ ให้ทางตอน

เหนือคงเป็นอ�าเภอนครใหญ่ และแบ่ง เขตท้องที่ตอนใต้ออกเป็นอ�าเภอนครใน

อ�า เภอนครน้อย ให้ทางตอน

และแบ่ง

ต่างๆ โดยในปี พ.ศ. 2443 เปลี่ยนชื่ออ�าเภออุทัยน้อยเป็นอ�าเภอพระราชวัง ในปี

(ขึ้นกับอ�าเภอบางไทร), กิ่ง อ�าเภอภาชี (ขึ้นกับอ�าเภออุทัย), กิ่งอ�าเภอบางซ้าย (ขึ้นกับอ�าเภอเสนา) และกิ่ง อ�าเภอบ้านแพรก (ขึ้นกับอ�าเภอมหาราช) ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นอ�าเภอตาม ล�าดับจนครบในปี พ.ศ. 2502

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 Phra Nakhon Si Ayutthaya พระนครศรี อยุธยา คู่มือ ตะวันตกของแม่น�้ า เจ้าพระยา ต่อมา ได้มีการแบ่งออกเป็นแขวง คือ แขวง เสนาใหญ่ ทางด้านตะวันตก และ
พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว แขวงในจังหวัด พระนครศรีอยุธยาจึงมีทั้งหมด 7 แขวง ได้แก่ แขวงรอบกรุง แขวงนครใหญ่ แขวงนครน้อย แขวงอุทัยใหญ่
แขวงเสนาน้อย ทางด้านตะวันออก ดังนั้น ในสมัยพระบาทสมเด็จ
เหนือคงเป็นอ�าเภอนครน้อย
เขตท้องที่ตอนใต้ออกเป็นอ� า เภอนคร กลาง • อ�าเภอเสนาใหญ่ ให้ทางด้านทิศ เหนือคงเป็นอ�าเภอเสนาใหญ่
เขตท้องที่ด้านทิศใต้ออกเป็นอ� า เภอ เสนากลาง • อ�าเภอเสนาน้อย ให้ทางด้านทิศ ใต้คงเป็นอ� า เภอเสนาน้อย และแบ่ง เขตท้องที่ด้านทิศเหนือออกเป็นอ�าเภอ เสนาใน ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่ออ� า เภอ
และแบ่ง
พ.ศ. 2446 เปลี่ยนชื่ออ�าเภอนครกลางเป็นอ�าเภอนครหลวงมาจนถึงปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2450 ได้แบ่งเขตท้องที่อ�าเภอพระราชวังด้านตะวันออกรวมกับอ�าเภออุทัย ใหญ่ด้านใต้ แล้วยกขึ้นเป็นอ�าเภออุทัยน้อย แทนอ�าเภออุทัยน้อยเดิมที่ได้เปลี่ยน ชื่อเป็นอ�าเภอพระราชวังเมื่อปี พ.ศ. 2443 และมีการเปลี่ยนชื่ออ�าเภอต่างๆ อีก ครั้งหนึ่ง เพื่อให้ตรงกับชื่อต�าบลที่ตั้งของที่ว่าการอ�าเภอ อ�าเภอต่างๆ ของจังหวัด พระนครศรีอยุธยาจึงได้มีการเปลี่ยนแปลงชื่อใหม่ ดังนี้ • อ�า เภอรอบกรุง เปลี่ยนเป็นอ� า เภอกรุงเก่า และเปลี่ยนเป็นอ� า เภอ พระนครศรีอยุธยา ตามล�าดับ • อ�าเภอนครใหญ่ เปลี่ยนเป็นอ�าเภอมหาราช • อ�าเภอนครใน เปลี่ยนเป็นอ�าเภอบางปะหัน • อ�าเภอนครน้อย เปลี่ยนเป็นอ�าเภอท่าเรือ • อ�าเภอนครหลวง คงเป็นอ�าเภอนครหลวงดังเดิม • อ�าเภอเสนาใหญ่ เปลี่ยนเป็นอ�าเภอผักไห่ • อ�าเภอเสนาใน เปลี่ยนเป็นอ�าเภอบางบาล • อ�าเภอเสนากลาง เปลี่ยนเป็นอ�าเภอเสนา • อ�า เภอเสนาน้อย เปลี่ยนเป็นอ� า เภอราชคราม และเปลี่ยนเป็นอ� า เภอ บางไทร ตามล�าดับ • อ�าเภอพระราชวัง เปลี่ยนเป็นอ�าเภอบางปะอิน • อ�าเภออุทัยใหญ่ เปลี่ยนเป็นอ�าเภออุทัย • อ�าเภออุทัยน้อย เปลี่ยนเป็นอ�าเภอวังน้อย และอีก 4 กิ่งอ�าเภอได้แก่ กิ่งอ�าเภอลาดบัวหลวง
2566

ดังกล่าวได้พัฒนาเป็นโครงการในแผนพัฒนา

นับแต่ พ.ศ. 2520 เป็นต้น

มา และใน พ.ศ. 2530 กรมศิลปากรได้เสนอแผนแม่บทนคร

ต่อมา พ.ศ. 2540 กรมศิลปากรได้ประกาศเขตโบราณสถานเพื่อ

ข้อมูล / ภาพประกอบ : thai.tourismthailand.org / th.wikipedia.org / silpa-mag.com สถานที่ส�าคัญ • ศูนย์ท่องเที่ยวอยุธยา (ATC) • ศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา • พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา • อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา • วัดพระศรีสรรเพชญ์ • พระราชวังโบราณ อยุธยา • พระที่นั่งวิหารสมเด็จ • พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท • พระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ • พระที่นั่งจักรวรรดิ์ไพชยนต์ • พระที่นั่งตรีมุข • พระที่นั่งบรรยงค์รัตนาสน์ • วัดไชยวัฒนาราม • วัดใหญ่ชัยมงคล • วัดสุวรรณดาราราม • วัดสะตือ • วัดตะโก • ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร • พระราชวังบางปะอิน • คลองรางจระเข้ • เพนียดคล้องช้าง • พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม • เขื่อนพระรามหก เขื่อนทดน�้ า แห่งแรกใน ประเทศไทย จุดเริมต้นของอุทยานประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา สู่มรดกโลกทางวัฒนธรรม อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ตั้งภายในเกาะเมือง อยุธยา อ�า เภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กรุง ศรีอยุธยาเป็นราชธานีส�าคัญอีกแห่งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของไทย ด�ารงความส�าคัญสืบเนื่องตั้งแต่ พ.ศ. 1893-2310 รวม 417 ปี ด้วย ภูมิสถานเมืองที่เอื้อต่อการติดต่อสัมพันธ์กับดินแดนต่างๆ ทั้งที่อยู่ ภายในผืนแผ่นดินและดินแดนโพ้นทะเล สร้างความมั่นคงทางการ เมืองการปกครองและความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ การศึกษาเกี่ยวกับโบราณสถานของกรุงศรีอยุธยาเริ่มขึ้นในรัช สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯให้พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) ขุดแต่งพระที่นั่ง บางองค์ในเขตพระราชวังหลวง ต่อมา ในสมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ริเริ่มโครงการบูรณะพระที่นั่งและวัดส�าคัญในกรุงศรีอยุธยา โดย มอบหมายให้กรมศิลปากรเป็นหน่วยงานด�าเนินการ หลังจากนั้นจึง มีโครงการส�ารวจ ขุดแต่งและบูรณะโบราณสถาน นับแต่ พ.ศ. 2512 เพื่อการอนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์แห่งนี้ น�ามาสู่การประกาศเขต โบราณสถานเมืองพระนครศรีอยุธยาใน พ.ศ. 2519 โบราณสถานส�าคัญในเขตพื้นที่นี้ อาทิ พระราชวังโบราณ วัด พระศรีสรรเพชญ์ วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วิหารวัด มงคลบพิตร ครอบคลุมพื้นที่รวม 1,810 ไร่ โครงการฯ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4
ประวัติศาสตร์แห่งนี้
การอนุรักษ์เพิ่มเติม ครอบคลุมพื้นที่เกาะเมืองอยุธยาและพื้นที่รอบ เกาะเมืองที่พบหลักฐานทางประวัติศาสตร์โบราณคดีรวม 3,000 ไร่ โบราณสถานส�าคัญในพื้นที่นี้ ได้แก่ พระราชวังจันทรเกษม ก�าแพง และป้อมปราการเมืองของกรุงศรีอยุธยา วัดไชยวัฒนาราม วัดพุทไธ สวรรย์ วัดพนันเชิง วัดภเขาทอง หม่บ้านโปรตุเกส หม่บ้านฮอลันดา หม่บ้านญี่ปุ่น ฯลฯ อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาได้รับการประกาศ เป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม ภายใต้ชื่อ นครประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา จากการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัย สามัญ ครั้งที่ 15 ณ กรุงคาร์เธจ ประเทศตูนีเซีย เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2534 นับเป็นมรดกโลกตามบัญชีในล�าดับที่ 576
ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาขึ้น เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนานคร

และอุทยานประวัติศาสตร์ให้เข้าไปศึกษาเรื่องราวในอดีตหลายแห่ง ฉะนั้นหากคุณไม่อยากรอวันหยุดยาว

ต้องจัดแล้ว!สายมู
ใครที่มีแผนจัดทริปทำาบุญใกล้กรุงเทพฯ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถือเป็นสถานที่ท่องเที่ยว ที่เต็มไปด้วยวัดแทบจะทั้งเมือง ทำาให้เมืองอยุธยาเปรียบเสมือน แหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ เพราะมีโบราณสถาน
äËÇŒ¾ÃÐ 9ÇÑ´
แนะนำาให้ออกเดินทางไหว้พระ เสริมดวง เสริมสิริมงคลแก่ตัวเอง และครอบครัว กับ 9 วัดอยุธยาแบบวันเดย์ทริป รับรองว่าอิ่มบุญสุขใจแน่นอน
Phra Nakhon Si Ayutthaya

ศรีอยุธยา ตามต� า นานกล่าวว่า เมื่อ ครั้ง พ.ศ. 1900 สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ขุด ศพเจ้าแก้วและเจ้าไท ซึ่งทิวงคตด้วย อหิวาตกโรคขึ้นมาเผา ที่ปลงศพนั้น โปรดให้สถาปนาเป็นพระอาราม นาม ว่า วัดป่าแก้ว ต่อมาคณะสงฆ์ส� านัก วัดป่าแก้วที่ได้บวชเรียนมา จากส�านัก รัตนมหาเถระในประเทศศรีลังกาคณะ สงฆ์นี้ได้เป็นที่เคารพเลื่อมใสแก่ชาว กรุงศรีอยุธยาเป็นอันมาก ท� า ให้ผู้คน ต่างมาบวชเรียนในส�านักสงฆ์คณะป่า แก้วมากขึ้น

จึง ทรงตั้งอธิบดีสงฆ์นิกายนี้เป็นสมเด็จ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 วัดใหญ่ชัยมงคล วัดใหญ่ชัยมงคล เดิมชื่อ “วัดป่าแก้ว” หรือ “วัดเจ้าไท” ตั้งอยู่ทางทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะพระนคร ปัจจุบันเป็นพื้นที่ต� า บลคลองสวนพลู อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จุดเด่นของวัดได้แก่เจดีย์ องค์ใหญ่ที่เชื่อกันว่า ได้รับการปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระนเรศวร มหาราช ที่ภายในได้มีการค้นพบชัยมงคลคาถาบรรจุอยู่ ภายในพระอุโบสถ เป็น ที่ประดิษฐานพระพุทธชัยมงคล พระประธานที่เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของวัด นอกจาก นี้แล้ว ภายในวัดยังเป็นที่ประดิษฐานศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ก่อสร้าง แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2544 อีกด้วย ประวัติ • สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น รัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรืออีกพระนามหนึ่งคือ สมเด็จพระเจ้า อู่ทองพระมหากษัตริย์ผู้สถาปนากรุง
สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง

ภายหน้าไปไม่มีกษัตริย์ที่จะได้กระท�า

ว่า สมเด็จพระมหาจักรพรรดิพ.ศ. 2104

ในรัชกาลของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

กระจายไปทั่วแคว้นทั่วแผ่นดิน สมเด็จพระนเรศวรจึงโปรดให้สร้างเจดีย์องค์ใหญ่

2 ประมาณ พ.ศ. 2309 อาณาจักรคองบองได้ยกพลมาประชิดพระนครศรีอยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 29 Phra Nakhon Si Ayutthaya พระนครศรี อยุธยา คู่มือ พระวันรัตน์ มีต�าแหน่งเป็นพระสังฆราช ฝ่ายขวาคู่กับสมเด็จพระพุทธโฆษาจาร ย์ซึ่งมีต� า แหน่งเป็นสังฆราชฝ่ายคัน ถธุระ กาลต่อมาเป็นที่พ� า นักของพระ ภิกษุคณะป่าแก้ว ซึ่งมี สมเด็จพระวัน รัตน์เป็นประธานสงฆ์ จึงได้ชื่อว่า วัดเจ้า พระยาไทยคณะป่าแก้ว เรื่องราวส� า คัญในประวัติศาสตร์ ของวัดป่าแก้วมีอยู่ว่า อุโบสถของวัด เคยเป็นที่ซึ่งคณะคิดก� า จัดขุนวรวง ศาธิราชกับท้าวศรีสุดาจันทร์มาประชุม เสี่ยงเทียนอธิษฐาน ครั้งนั้นได้รับผล ส�า เร็จจึงอัญเชิญพระเฑียรราชาลา ผนวช ขึ้นครองราชสมบัติทรงพระนาม
นั้นเอง ได้มีพระบรมราชโองการให้เอา สังฆราชวัดป่าแก้วไปส� าเร็จโทษ ฐาน ฝักใฝ่ให้ฤกษ์ยามแก่ฝ่ายกบฏพระศรี ศิลป์ พ.ศ. 2135 ในแผ่นดินของพระนเรศวรมหาราช มีเหตุการณ์ส�าคัญที่ชวนให้เข้าใจว่ามี การสร้างปฏิสังขรณ์เจดีย์ประธานวัด เพื่อเฉลิมพระเกียรติยศของพระองค์ที่ได้ ชัยชนะพระมหาอุปราชแห่งพม่า จึงท�าให้เชื่อว่าเป็นที่มาของชื่อวัดใหญ่ชัยมงคล เจดีย์ชัยมงคลอนุสรณ์แห่งชัยชนะอันยิ่งใหญ ที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงรบชนะ มังกะยอชวาพระมหาอุปราชาของหงษาวดี ที่ ต.หนองสาหร่าย จ.สุพรรณบุรี ในครั้งนั้นพม่าได้ยกทัพเข้ามาในขอบขันฑสีมา สมเด็จพระนเรศวรฯ และสมเด็จพระเอกาทศรถผู้เป็นพระอนุชาจึงได้น�าทัพไปรับศึก และได้ขับช้าง เข้าไปอยู่ในวงล้อมของข้าศึกทีคอยระดมยิงปืนเข้าใส่พระและพระคชาธาร โดยที่เหล่าแม่ทัพนายกองวิ่งตามพระองค์มาไม่ทัน พระองค์จึงประกาศด้วยพระ สุรเสียงอันดังว่า พระเจ้าพี่เราจะยืนอยู่ไยในร่มไม้เล่าเชิญออกมาท�ายุทธหัตถี ด้วยกัน
พระมหาอุปราชาของพม่าจึงไสยช้างออกมากระท�ายุทธหัตถีด้วย กันในการท�ายุทธหัตถีครั้งนั้นสมเด็จพระนเรศวรได้ทรงใช้พระแสงพลพ่ายฟาด ฟันพระมหาอุปราชาขาดตะพายแล่ง เมื่อกลับมาสู่พระนครแล้ว พระองค์ก็จะลงโทษเหล่าทหารที่ตามไปไม่ทัน ตอนกระท�าศึกยุทธหัตถี ซึ่งตามกฏระเบียบแล้วต้องโทษถึงขั้นประหารชีวิต ช่วง เวลาที่รออาญาสมเด็จพระพันรัตน พระสังฆราชพร้อมด้วยพระสงฆ์ 25 รูปได้ขอ ให้พระนเรศวรพระราชทานอภัยยกเว้นโทษให้กับทหารเหล่านั้น โดยให้เหตุผลว่า พระองค์เปรียบดังพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่แวดล้อมด้วยหมู่มารก่อนที่จะตรัสรู้ เป็นการประกาศเกียรติและบารมีความกล้าหาญและเก่งกาจของพระองค์ให้ขจร
ขึ้น เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะและความมีน�้าพระทัยของพระองค์ ที่มีต่อเหล่า ทหารเหล่านั้น และพระะราชทานนามว่า เจดีย์ชัยมงคล ในปี พ.ศ. 2135 มีความ สูง 1 เส้น 1 วา เป็นเจดีย์ ที่สูงที่สุดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามาจนทุกวันนี้ วัดป่าแก้ว หรือวัดเจ้าไท ต้องร้างลงเมื่อคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่
สมเด็จพระที่นั่งสุริยาตรมรินทร์โปรดเกล้า ให้ยกทัพเรือออกจากพระนครไปตั้ง อยู่ที่วัดป่าแก้ว แต่ทัพเรือสยามเสียทีข้าศึก พระยาเพชรบุรีถูกสังหาร กองทัพ อาณาจักรคองบองบางส่วนได้ยึดเอาวัดป่าแก้วเป็นฐานปฏิบัติการ เมื่อกรุง ศรีอยุธยาแตกใน พ.ศ. 2310 วัดแห่งนี้จึงได้ร้างลง • ยุคฟื้นฟู หลังจากที่วัดใหญ่ หรือ วัดป่าแก้ว หรือ วัดเจ้าไท ได้ร้างลงกว่า 400 ปี ได้ มีพระภิกษุ สามเณร แม่ชี กลุ่มหนึ่ง โดยการน�าของพระฉลวย สุธมฺโม ได้เข้า มาหักร้างถางพงที่รกเรื้อปกปิดอารามอันเก่าแก่แห่งนี้เพื่อเป็นที่ปฏิบัติธรรมได้ ประมาณ 4 ปี ท่านต้องการออกจาริกอีกครั้งจึงได้ไปนิมนต์พระครูภาวนาพิริย คุณ เจ้าอาวาส วัดยม อ�าเภอบางบาล ให้มาดูแลวัดใหญ่ชัยมงคลต่อ
ให้เป็นเกียรติยศไว้ในแผ่นดินเถิด
ยุทธหัตถีแล้ว

ชมเจดีย์ที่สูงที่สุดในพระนครศรีอยุธยา

ด้านหลังวัดมีต� า หนักสมเด็จพระ

นเรศวรมหาราช ให้ผู้นับถือศรัทธาเข้า

มากราบไหว้

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 30 วัดพนัญเชิงวรวิหาร ตั้งอยู่ที่หมู่ 2 ต� า บลคลองสวนพลู อ� า เภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิด วรวิหาร แบบมหานิกาย มีจุดเด่นส�าคัญ คือ พระพุทธไตรรัตนนายก หรือหล วงพ่อซ�าปอกง ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในพระนครศรีอยุธยา ประวัติ วัดพนัญเชิง เป็นวัดที่มีประวัติอันยาวนาน ก่อสร้างก่อนการสถาปนา กรุงศรีอยุธยา และไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่ชัดว่าใครเป็นผู้สร้าง ตามหนังสือ พงศาวดารเหนือกล่าวว่า พระเจ้าสายน�้าผึ้งเป็นผู้สร้าง และพระราชทานนาม ว่า วัดเจ้าพระนางเชิง และพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ อักษรนิติ์กล่าวไว้ว่า ได้สถาปนาพระพุทธรูปพุทธเจ้าพแนงเชิง เมื่อปี พ.ศ. 1867 ซึ่งก่อนพระเจ้าอู่ทองจะสถาปนากรุงศรีอยุธยาถึง 26 ปี พระพุทธไตรรัตนนายก หรือหลวงพ่อซ� า ปอกง เป็นพระพุทธรูปขนาด ใหญ่ และใหญ่ที่สุดในพระนครศรีอยุธยา หน้าตักกว้าง 20 เมตรเศษ สูง 19 เมตร เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย เคยได้รับความเสียหายในสมัยเสีย พระครูภาวนาพิริยคุณ (เปลื้อง วิสฏฺโฐ) ได้น� า คณะพระภิกษุสงฆ์ สามเณร และแม่ชี หักร้างถางพง ฟื้นฟู วัดแห่งนี้จนได้รับการยกฐานะจาก วัดร้างเป็นวัดราษฎร์ที่มีพระภิกษุจ� า พรรษา
วัดใหญ่ชัยมงคล
พิริยคุณ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูภาวนารังสี • ยุคปัจจุบัน หลังจากที่พระครูภาวนารังสีได้ มรณภาพในปี พ.ศ. 2536 พระปลัด แก่น ปุญฺญสมฺปนฺโน หรือปัจจุบัน เป็นพระครูพิสุทธิ์บุญสาร ได้รับการ แต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส
จนได้รับ การยกย่องให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง วัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น และส� า นักปฏิบัติธรรมประจ� าจังหวัด พระนครศรีอยุธยา แห่งที่ ๓ วัดใหญ่ชัยมงคลถือว่าเป็นวัดที่มี ความส� า คัญทางประวัติศาสตร์หลาย ยุคสมัย
มามาก
ในปี พ.ศ. 2500 โดยได้ชื่อว่า
ส่วนพระครูภาวนา
และได้ร่วมกับ คณะพระภิกษุสงฆ์ สามเณร และแม่ ชี พัฒนาวัดใหญ่ชัยมงคล
และเป็นวัดที่นักท่องเที่ยวนิยม
ด้ววยสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น
นอกจากนี้ บริเวณ รอบๆ ยังมีมีสวนหย่อมที่สวยงามให้พักผ่อน อีกด้วย เมื่อ พ.ศ. 2557 วัดใหญ่ชัยมงคล ได้รับการยกสถานะเป็นพระอาราม หลวงชั้นตรีชนิดสามัญ

พุทธศาสนิกชนชาวไทยเชื้อสายจีนว่า

หลวงพ่อซ� า ปอกง ค� า ว่า พแนงเชิง มี ความหมายว่า นั่งขัดสมาธิ ฉะนั้น ค�า

ว่าพระปฏิมากรใหญ่ที่วัดพนัญเชิงมี น�้า

หลวง พ่อโตเป็นพระองค์หนึ่งซึ่งเป็นที่เคารพ นับถือในหมู่ชาวจีนมากโดยเรียกกันว่า “ซ�าปอกง” นอกจากชาวไทยแล้วยังมีผู้ มีเชื้อสายจีนหลั่งไหลกันมากราบไหว้ บูชาจ�านวนมากและเป็นประจ�าทุกปี • พระพุทธรูปทองค�าในพระอุโบสถ

หน้า ตักกว้าง 3 ศอก สูง 4 ศอก มีสีทอง อร่ามใสเป็นเงาสะท้อนอย่างชัดเจน องค์กลางเป็นพระพุทธรูปปูนปั้นสมัย อยุธยาหน้าตักกว้าง 4 ศอก สูง 5 ศอก ส่วนพระพุทธรูปนากเป็นพระพุทธรูป สมัยสุโขทัยนั้นจะมีสีออกแดงๆ หน้า ตักกว้าง 3 ศอก สูง 5 ศอก กล่าวกันว่า พระพุทธรูปทองและนากนี้เพิ่งถูกพบ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 31 พระนครศรี อยุธยา คู่มือ กรุง แต่ก็ได้รับการบูรณะซ่อมแซมมา โดยตลอด จนกระทั่งในสมัยพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่ง กรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2394 ได้ โปรดเกล้าให้บูรณะใหม่หมดทั้งองค์
และพระราชทานนามใหม่ว่า พระพุทธ ไตรรัตนนายก หรือที่รู้จักกันในหมู่
(วัดพระแนงเชิง หรือ วัด พระเจ้าพแนงเชิง) จึงหมายถึงวัดแห่ง พระพุทธรูปนั่งปางมารวิชัยคือ หลวง พ่อโต หรือ พระพุทธไตรรัตนนายก นั้น เอง หรืออาจสืบเนื่องมาจากต�
นาน เรื่องพระนางสร้อยดอกหมาก
เมื่อ พระนางสร้อยดอกหมากกลั้นใจตาย นั้น พระนางคงนั่งขัดสมาธิ เพราะชาว จีนนิยมนั่งขัดสมาธิมากว่านั่งพับเพียบ จึงน�า มาใช้เรียกชื่อวัด บางคนก็เรียก ว่า วัดพระนางเอาเชิง ตามสาเหตุที่ ท�าให้พระนางถึงแก่ชีวิต ฉะนั้น ถ้าเรียก นามวัดตามความหมายของค�าว่า วัด พนัญเชิง ก็ย่อมหมายความถึงวัดที่มี พระพุทธรูปนั่งขัดสมาธิ คือหลวงพ่อโต (อ้างอิงจากประวัติวัดพนัญเชิงข้อมูล ของทางวัดในปัจจุบัน) จุดน่าสนใจ • หลวงพ่อโต หลวงพ่อโตหรือพระพุทธไตรรัตน นายกพระพุทธรูปศิลปะอู่ทองตอน ปลาย ปางมารวิชัย ขัดสมาธิราบ ขนาด หน้าตักกว้าง 14.20 เมตร สูง 19.20 เมตร วัสดุปูนปั้นลงรักปิดทอง หลวงพ่อ โตหรือพระพุทธไตรรัตนนายก หรือพระ โตของชาวอยุธยาองค์นี้ ถือกันว่าเป็น พระโบราณคู่บ้านคู่เมืองกรุงศรีอยุธยา มาแต่แรกสร้างกรุง พงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ระบุว่า สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1868 หรือสมเด็จพระ รามาธิบดีที่ 1 สถาปนากรุงศรีอยุธยา 26 ปีและเมื่อกรุงศรีอยุธยาใกล้จะ แตกปรากฏในค� า ให้การขาวกรุงเก่า ÇÑ´¾¹ÑÞàªÔ§ÇÃÇÔËÒÃ
ในพระอุโบสถวัดพนัญเชิงนั้นมี พระพุทธรูปส�าคัญ 3 องค์ คือ พระพุทธ รูปทองค�า พระพุทธรูปปูน และพระพุทธ รูปนาก พระพุทธรูปทองเป็นพระพุทธ รูปสมัยสุโขทัยท�าจากทองสัมฤทธิ์
ว่า วัดพนัญเชิง
คือ
พระเนตรไหลเป็นที่อัศจรรย์
Phra Nakhon Si Ayutthaya

พระนางสร้อยดอกหมากจึงตัดพ้อ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 32 ว่าเป็นพระทองและพระนากด้วยบังเอิญ เนื่องจากแต่เดิมที พระทั้งสององค์ถูกฉาบเคลือบด้วยปูน จนมีลักษณะคล้ายกับ พระพุทธรูปปูนปั้นทั่วไป สาเหตุคงเพราะว่าช่วงเวลาก่อนที่ กรุงศรีอยุธยาจะถูกข้าศึกบุกตีพระนคร คนในสมัยนั้นเกรงว่า พระพุทธรูปทองและพระพุทธรูปนากนี้จะถูกขโมยหรือเผาเอา ทองไปจึงได้ฉาบปูนเคลือบและปั้นปูนในขณะที่ปูนยังไม่แห้ง เพื่อท�าเป็นลายจีวรและลักษณะต่างๆ เช่น ปั้นรูปพระพักตร์ พระเกศา เพื่อให้เข้าใจว่าไม่ใช่พระทองค�าและพระนาก จน กระทั่งในภายหลังมีผู้ไปค้นพบว่าเป็นพระพุทธรูปทองค� า เนื่องจากเศษปูนได้กะเทาะออกมาและเนื้อภายในเป็นทอง จึงได้ค่อยๆ กะเทาะปูนออกให้หมด จึงได้เห็นว่าเป็นพระทอง ค�าทั้งองค์และน�ามาประดิษฐานอยู่ภายพระอุโบสถของวัด • เจ้าแม่สร้อยดอกหมาก นอกจากหลวงพ่อโตหรือเจ้าพ่อซ�าปอกง แห่งวัดพนัญ เชิง จ.พระนครศรีอยุธยา ที่ผู้คนมาสักการะกันอย่างหนาตา ทุกวันแล้ว ใกล้กันนั้นยังมี “ศาลพระนางสร้อยดอกหมาก” หรือ “ศาลเจ้าแม่แอเนี้ย” อันเป็นอนุสรณ์แห่งความรักที่จบลง ด้วยโศกนาฏกรรมในยุคก่อนสถาปนากรุงศรีอยุธยา ที่มีผู้คน ที่ต้องการขอพรแห่งความรักมาสักการะไม่น้อยเช่นกัน ตามต�านานพระราชพงศาวดารเหนือ กล่าวถึงพระนาง สร้อยดอกหมากไว้ว่า พระเจ้ากรุงจีนทรงมีบุตรบุญธรรม จากจั่นหมากชื่อว่า สร้อยดอกหมาก ครั้นนางจ� า เริญวัย เป็นสาวแรกรุ่นที่มาพร้อมรูปลักษณ์อันงดงาม โหรหลวงได้ ท�า นายว่าจะได้กษัตริย์กรุงอโยธยาเป็นพระสวามี พระเจ้า กรุงจีนจึงทรงมีพระราชสาสน์มาถวายพระเจ้าสายน�้ าผึ้ง พระเจ้าสายน�้ า ผึ้งหลังจากรับราชสาสน์จึงเสด็จไปกรุงจีน ด้วยเรือพระที่นั่งเอกชัยด้วยพระบารมีพระราชกุศลที่สั่งสม มาแต่ปางหลังน�
พระเจ้ากรุงจีนทรงโสมนัสเป็น ยิ่งนัก จึงมีรับสั่งให้จัดกระบวนแห่ออกไปรับพระเจ้า สายน�้าผึ้งเข้ามาภายในพระราชวัง พร้อมทั้งให้ราชาภิเษก พระนางสร้อยดอกหมากขึ้นเป็นพระมเหสีของพระเจ้า สายน�้ า ผึ้งเวลากาลผ่านไป พระเจ้าสายน�้ า ผึ้งจึงกราบ ถวายบังคมลาพระเจ้ากรุงจีนกลับพระนคร พระเจ้ากรุง จีนจึงพระราชทานเรือส�าเภา 5 ล�า กับชาวจีนที่มีฝีมือใน การช่างสาขาต่างๆ จ�านวน 500 คน ให้เดินทางกลับสู่กรุง อโยธยาด้วย เมื่อเดินทางถึงปากน�้ า แม่เบี้ย ใกล้แหลม บางกะจะ (บริเวณหน้าวัดพนัญเชิงในปัจจุบัน) พระเจ้า สายน�้ า ผึ้งเสด็จเข้าพระนครก่อน เพื่อจัดเตรียมต� า หนัก ซ้ายขวามาต้อนรับพระนางสร้อยดอกหมาก ครั้นรุ่งเช้าก็ จัดขบวนต้อนรับโดยให้เสนาอ�ามาตย์ชั้นผู้ใหญ่มาอัญเชิญ พระนางสร้อยดอกหมากเข้าเมือง โดยพระองค์ไม่ได้เสด็จ ไปด้วย พระนางสร้อยดอกหมากไม่เห็นพระเจ้าสายน�้าผึ้ง มารับก็เกิดความน้อยพระทัย จึงไม่ยอมเสด็จขึ้นจาก เรือ พร้อมกล่าวว่า “มาด้วยพระองค์โดยยาก เมื่อมาถึง พระราชวังแล้วเป็นไฉนพระองค์จึงไม่มารับ ถ้าพระองค์ ไม่เสด็จมารับ ก็จะไม่ไป” เสนาบดีน�าความขึ้นกราบทูล พระเจ้าสายน�้ า ผึ้งคิดว่านางหยอกเล่น จึงกล่าวสัพยอก ว่า “เมื่อมาถึงแล้ว จะอย่ที่นั่นก็ตามใจเถิด” ครั้นรุ่งขึ้น พระเจ้าสายน�้าผึ้งก็เสด็จมารับด้วยพระองค์เอง เมื่อเสด็จ
พระเจ้าสายน�้ า ผึ้งจึงทรงสัพยอกอีกว่า “เมื่อไม่อยากขึ้นก็จงอย่ที่นี่เถิด” ฝ่ายพระนางสร้อยดอก หมากได้ฟังดังนั้น
ก็เสียพระทัยยิ่งนัก จึงกลั้นพระหฤทัยจนถึงแก่ทิวงคต
า พาให้พระองค์ฝ่าภยันตรายไปถึงกรุง จีนด้วยความปลอดภัย
ขึ้นไปบนเรือส� า เภา
ต่อว่ามากมาย
เข้าพระทัยผิดคิดว่าตรัสเช่นนั้นจริงๆ

เครื่องยืนยันความสัมพันธ์แนบแน่น

ระหว่างไทย-จีนมาช้านานตั้งแต่สมัย

งานสืบสานประเพณีจีน เช่น งานเท

กระจาด งานล้างป่าช้าจีน เป็นต้น ศาลพระนางสร้อยดอกหมากนั้น

เต็มไปด้วยสถาปัตยกรรมและศิลปะ

ปูนปั้นสวยงาม ชั้นล่างเป็นเจ้าที่ ส่วน

ชั้น 2 ประดิษฐานเจ้าแม่กวนอิม

ก็เคยมีผู้ชายเข้าไปท�าความสะอาดพระรูปเจ้าแม่แล้วถึงแก่ความตายถึง 2 คน

การแห่เจ้าแม่ออกนอกศาลก็เพียงแต่ใช้วิธีอัญเชิญเอาเฉพาะกระถางธูป

สารทิศ เล่ากันว่าเมื่อประทับทรงเจ้าแม่สร้อยดอกหมากนั้น

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 33 พระนครศรี อยุธยา คู่มือ บนส�าเภาเรือพระที่นั่ง ที่ท่าปากน�้าแม่ เบี้ยนั่นเอง ยังความโศกสลดพระทัยแก่ พระเจ้าสายน�้าผึ้งยิ่งนัก จึงโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระศพมาพระราชทาน เพลิงที่แหลมบางกะจะ และสถาปนา บริเวณนั้นเป็นพระอารามนามว่า “วัด พระเจ้าพระนางเชิง” หรือ “พแนงเชิง” ซึ่งแปลว่า “พระนางผู้มีแง่งอน” พร้อม ทั้งสร้างศาลขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่ง ความรักนั่นก็คือ ศาลเจ้าแม่สร้อยดอก
หมากนั่นเอง และศาลแห่งนี้ยังถือเป็น
ก่อนอยุธยาจนปัจจุบัน ยังมีการจัด
แบบจีน ป้ายหน้าศาลมีทั้งอักษรไทย และจีน เขียนว่า
แยกจะได้ความว่า หญิงสาวผู้โศก เศร้า แต่หากแปลรวมจะหมายถึง พระ แม่ผู้เปี่ยมเมตตา ตัวศาลเป็นอาคาร ก่ออิฐถือปูน 2 ชั้น ตกแต่งลวดลาย
เปยเหนียง หากแปล
ซึ่ง นับถือกันว่าเป็นตัวแทนรูปเคารพของ พระนางสร้อยดอกหมาก อีกทั้งยังเป็น ที่ประดิษฐานรูปปั้นเจ้าแม่สร้อยดอก หมากที่แต่งองค์แบบจีน ชาวจีนให้ความเคารพนับถือมาก
ปิดทองหลวงพ่อโตในพระวิหารแล้ว จะต้องแวะมาสักการะองค์เจ้าแม่สร้อยดอก หมากด้วย ที่ส�าคัญศาลแห่งนี้ยังเก็บสมอเรือเก่าแก่ไว้อันหนึ่ง เชื่อกันว่าเป็นสมอ เรือของพระนางสร้อยดอกหมากนั่นเอง ความศักดิ์สิทธิ์และอภินิหารของเจ้าแม่ สร้อยดอกหมากมีผู้กล่าวขานมาเนิ่นนาน ว่ากันว่าท่านเป็นผู้ถือพระองค์ และมี รักเดียวใจเดียวต่อพระเจ้าสายน�้าผึ้ง ไม่โปรดให้ผู้ชายเข้าไปแตะต้องพระรูปของ ท่านไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น เมื่อหลายสิบปีก่อนเคยมีผู้ชายเข้าไปท�าความสะอาด พระรูปเจ้าแม่ ปรากฏว่าเมื่อชายผู้นั้นกลับไปบ้านก็เกิดเจ็บอย่างกะทันหันและ
ชายคนใดถูกพระวรกายของท่านแม้กระทั่งปัจจุบันนี้ เวลามีงานงิ้วเดือน 9 ของวัด พนัญเชิง ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับศาลเจ้าแม่สร้อยดอกหมาก จะมีการท�าพิธีบูชา เจ้าแม่
ออกไปเท่านั้น ในงานนี้จะมีบรรดาคนทรงเจ้าแม่สร้อยดอกหมากมาจากทั่วทุก
ร่างทรงซึ่งปกติจะ พูดภาษาจีนไม่ได้เลย ก็กลับกลายเป็นพูดจีนได้อย่างน่าอัศจรรย์ สมัยก่อนเจ้า หน้าที่ประจ�าศาลเจ้าแม่เป็นคนจีน ฟังภาษาจีนและพูดภาษาจีนได้เล่าว่า เจ้าแม่ สร้อยดอกหมากเคยถามหาทรัพย์สมบัติโบราณที่พระองค์น�ามาจากเมืองจีนและ เคยเก็บรักษาไว้ที่นี่ ตอนนี้เอาไปเก็บเสียที่ไหนแล้ว และที่ส�าคัญเจ้าหน้าที่ที่ดูแล ศาลเคยเห็นเจ้าแม่มาแล้ว ท่านจะแต่งชุดจีนสีขาว พระพักตร์สวยมาก ปัจจุบันความศักดิ์สิทธิ์ของเจ้าแม่ก็ยังคงมีอยู่ ใครมาบนบานขออะไรท่านไม่ ว่าจะขอลูก ขอความส�าเร็จหรือขอให้มีความรักก็มักจะได้ตามนั้น จนมีผู้น�าของ มาแก้บนเต็มไปหมด โดยส่วนมากจะบนด้วยสร้อยไข่มุก เครื่องส�าอาง สิงโตเชิด และเครื่องสังเวย ต�า นานรักเรื่อง “เจ้าชายสายน�้ า ผึ้งกับพระนางสร้อยดอกหมาก” ยังเป็น ต�านานแห่งการสร้างวัดพนัญเชิงวรวิหาร ซึ่งท�าให้ต่างมีความเชื่อกันว่า เจ้าแม่ สร้อยดอกหมากสามารถดลบันดาลให้ผู้ที่กราบไหว้ได้สมปรารถนาดังที่ขอไว้ได้ ทุกเรื่องทุกประการ Phra Nakhon Si Ayutthaya
แทบทุกคนเมื่อมา
ถึงแก่ความตายไปโดยไม่รู้สาเหตุ
และหากย้อนหลังไปอีกเหตุการณ์เช่นกรณีนี้
และเป็นความตายโดยฉับพลันทั้งสิ้น จึงเป็นที่รู้กันว่าเจ้าแม่ไม่ยินดีและไม่ยอมให้
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 34 วัดมเหยงคณ์ หรือ วัดมหิยงคณ์ มีความหมายถึง ภูเขา หรือ เนินดิน ค�า ว่า มเหยงคน์เป็นชื่อของพระธาตุที่มีความส�าคัญของศรีลังกา เรียกว่า มหิยังคณ์ เจดีย์ เดิมเป็นพระอารามหลวงฝ่ายวิปัสสนาธุระ วัดมเหยงคณ์ เป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ตั้งอยู่ในต� า บล หันตรา อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประวัติ ประวัติการสร้างวัดกล่าวถึง พระนางกัลยาณี พระมเหสีของเจ้าสามพระยา เป็นผู้สร้าง หลังจากที่เจ้าสามพระยา หรือ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 ทรง สร้างวัดกุฎีดาว ก่อนจะสถาปนากรุงศรีอยุธยาราว 40 ปี แต่กระนั้นตามพระราช พงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ กล่าวว่า ปีศักราชที่ 800 มะเมียศก หรือ ปี พ.ศ. 1981 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 ทรงสร้างวัดมเหยงคณ์ วัดมีความ เจริญรุ่งเรืองสืบมานานหลายร้อยปี กระทั่งมารกร้างและต้องท�าการปฏิสังขรณ์ ครั้งใหญ่ ในสมัยพระเจ้าท้ายสระ และรุ่งเรืองสืบมาจนถึงวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310 ได้ถูกท�าลายและทิ้งร้างอีกครั้ง จนเมื่อ พ.ศ. 2527 พระภาวนาเขมคุณ (หลวงพ่อสุรศักดิ์ เขมรังสี) เจ้าอาวาสวัดมเหยงคณ์ ได้จัดตั้งส�านักกรรมฐานขึ้น ที่วัดมเหยงคณ์ เพื่ออบรมวิปัสสนาให้กับบุคคลทั่วไป ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ ขึ้นทะเบียนวัดมเหยงคณ์เป็นโบราณสถานของชาติ ตั้งแต่วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2484 กระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งเป็นวัดเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2544 วัดมเหยงคณ์ เสนาสนะ ส่วนอุโบสถที่เป็นโบราณสถาน ตั้งอยู่บนฐานสูง 2 ชั้น ความกว้าง 18 เมตร ความยาว 36 เมตร มีประตูทาง เข้าด้านตะวันออก 3 ช่อง ด้านตะวันตก 2 ช่อง มีเจดีย์ฐานช้างล้อม อยู่ด้านหลัง อุโบสถทางทิศตะวันตก พ้นเขตก�าแพง แก้ว ลักษณะขององค์เจดีย์เป็นรูป แบบของลังกาเหนือ เหมือนเจดีย์ช้าง ล้อมที่สุโขทัย ภายในอุโบสถมี หลวง พ่อหินทรายศักดิ์สิทธิ พระประธานใน อุโบสถ ที่ยังคงปรากฏให้เห็นคือ หักล้ม ลงเป็นท่อน ลานดินรูปเกือบจะสี่เหลี่ยม จัตุรัส ที่เรียกว่า โคกโพธิ์ ด้านทิศตะวัน ออก ของเขตพุทธาวาส กว้าง 50 เมตร ยาว 58 เมตร สันนิษฐานว่า เคยเป็น พลับพลาที่ประทับของพระเจ้าหงสาว ดี พระเจ้าตะเบ็งชเวตี้

(พระอาจารย์แก้ว) (ธรรมทส ขนฺติพโล)

วัดตะโกสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2345 ได้

รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2541 เริ่มก่อสร้าง

พ.ศ. 2557

ด้วย

พุทธคุณมากมายหลายด้าน

หลวงพ่อรวย แห่งวัดตะโก

หากกล่าวถึงหลวงพ่อรวย แห่ง

วัดตะโก ถือได้ว่าเป็นพระเกจิอาจารย์

ที่มีชื่อเสียงอีกองค์หนึ่งในพื้นที่จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา เป็นที่นับถือของ

ผู้คนในพื้นที่ภาคกลาง และพื้นที่ทั่ว

ประเทศไทยที่เคารพศรัทธาเป็นอย่าง

มาก เพราะท่านถือได้ว่าเป็นพระ

เกจิอาจารย์ที่เปี่ยมด้วยเมตตาธรรม

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 35 Phra Nakhon Si Ayutthaya พระนครศรี อยุธยา คู่มือ วัดตะโก เป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะ สงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 2 บ้านตะโก ต�าบลดอนหญ้านาง อ�าเภอ
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปัจจุบัน
ภาชี
มีเจ้าอาวาสคือ พระครูปลัดจริยวัฒน์
ผู้ออกแบบเจดีย์คือ วนิดา พึ่งสุนทร (ศิลปินแห่งชาติ) และ ตะวัน วีระกุล วิศวกร บัญชา ชุ่มเกษร และองอาจ หุดากร เจดีย์มี 2 ชั้นร่วมสมัยมีลิฟต์ และบันไดภายใน ชั้นล่างเป็น เป็นห้อง โล่งกว้าง ชั้นบนประดิษฐานพระบรม สารีริกธาตุและรูปหล่อบูรพาจารย์ มี โลงแก้วบรรจุสังขารหลวงพ่อรวย ซึ่งไม่ เน่าเปื่อย ยังมีประติมากรรมรูปเหมือน หลวงพ่อรวยองค์ใหญ่ พระอุโบสถ์ หลังใหม่ประดิษฐานองค์พระประธาน ภายในมีภาพเขียนพุทธประวัติสวยงาม ถัดไปเป็นศาลาประดิษฐานหลวงพ่อ ทองค�า หลวงพ่อบุญญาฤทธิ์ และหลวง พ่อรวย นอกจากนี้ภายในบริเวณ วัด ตะโก ยังมีศาลากลางน�้า หลวงพ่อรวยเป็นเกจิอาจารย์ชื่อดัง ท่านได้สร้างวัตถุมงคลหลวงพ่อรวยที่ เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางมาก
พระมหาธาตุเจดีย์เมื่อปี
ÇÑ´µÐâ¡ สูง มีความเป็นอยู่สมถะ รวมทั้งศีลาวัตรปฏิบัติอันงดงาม ควรแก่การศรัทธาและ เคราพอย่างยิ่ง ประวัติ ชาติภูมิ หลวงพ่อรวย ถือก�าเนิดเมื่อ พ.ศ.2464 เป็นบุตรคนที่ 6 ใน จ�านวนพี่น้องร่วมอุทรเดียวกัน 8 คน (ชาย 3 หญิง 5) ของคุณโยมบิดา ชื่อ มี โยมมารดา ชื่อ สินลา ศรฤทธิ์ (บรรพบุรุษของสกุลศรฤทธิ์นี้ เป็นเชื้อสายชาว กรุงศรีสัตนาคนหุต) ณ บ้านตะโก หมู่ที่ 2 ต.ดอนหญ้านาง อ�าเภอภาชี จังหวัด พระนครศรีอยุธยา

4 ก็ออกจากโรงเรียน เมื่อท่านอายุ 16 ปี ได้บรรพชา

เป็นสามเณรที่วัดตะโก โดยมีพระสมุห์

บุญช่วย เจ้าอาวาสเป็นพระอุปัชฌาย์

ในที่ครองเพศพรหมจรรย์

เป็นที่รู้จักกันอย่างดี

2.หลวงพ่อแจ่ม วัดแดงเหนือ เชี่ยวชาญเวทมนต์คาถาอาคม ได้ ถ่ายทอดสรรพวิชาให้หลวงพ่อรวยทุก อย่าง อาศัยความขยันหมั่นเพียรและ ความตั้งใจมุ่งมั่นจึงก้าวหน้าอย่าง รวดเร็ว จนวิชาที่เล่าเรียนปฏิบัติเข้ม ขลังในพลังแห่งวิทยาคมสูงส่ง หลวงพ่อรวย วัดตะโก ท่านเป็น ผู้ไฝ่ในการศึกษา และมีความขยัน มั่นเพียร

ได้รับความเดือดร้อนด้วยความเมตตา จึงเป็นที่รัก

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 36 ชีวิตในปฐมวัยมีความเป็นอยู่ เหมือนๆ กับเด็กในชนบททั่วไป คือได้ ช่วยเหลือพ่อแม่ประกอบอาชีพทาง ด้านเกษตรอันถือได้ว่า เป็นเมืองอู่ข้าว อู่น�้า มาแต่บรรพชน ทั้งช่วยเหลือเลี้ยงดู เลี้ยงสัตว์ เช่น วัว กระบือ มาโดยตลอด ส่วนด้านการศึกษาเมื่อท่านอายุได้ 12 ปี ได้เข้ารับการศึกษาเบื้องต้น ใน โรงเรียนวัดตะโก เพราะเด็กๆ ในสมัย นั้นยังไม่มีโรงเรียนประถมศึกษาของ ทางราชการในละแวกพื้นที่ต�าบลดอน หญ้านาง ต้องอาศัยพระสงฆ์เป็นครู สอนบนศาลาการเปรียญของวัด จนมี ความรู้อ่านออกเขียนได้ มีความรู้เทียบ ได้ชั้นประถมปีที่
ท่านได้ตั้งใจ ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยในด้าน พระคันถธุระ (พระปริยัติธรรม) สามารถ สอบได้นักธรรมชั้นตรี และเมื่อท่านอายุครบบวช ราว ปี พ.ศ.2484 ก็อุปสมบท ณ พัทธสีมา วัดตะโก โดยมีพระครูสุนทรธรรมนิวิฐ (หลวงพ่อชื่น) เจ้าอาวาสวัดภาชี เจ้า คณะอ� า เภอภาชีเป็นพระอุปัชฌาย์ พระปลัดจ้อย เจ้าอาวาสวัดวิมลสุนทร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระ สมุห์บุญช่วย เจ้าอาวาสวัดตะโก (ใน สมัยนั้น) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้ รับสมณะฉายาว่า ปาสาทิโก ครั้น อุปสมบทแล้ว อยู่จ�าพรรษาที่วัดตะโก เรื่อยมา ได้ศึกษาด้านคันถธุระพระ ปริยัติธรรมเพิ่มเติม จนสอบได้นักธรรม ชั้นโทใน พ.ศ.2485 และสอบได้นัก ธรรมชั้นเอกใน พ.ศ.2487 หลังจากจบนักธรรมเอกแล้ว ท่าน คิดว่าเพียงพอส� า หรับด้านคันถธุระ แล้ว เพราะพระที่อยู่ตามชนบทบ้าน นอกพอที่จะรักษาพระธรรมวินัยเพศ พรหมจรรย์ให้ รุ่งเรืองและเป็นน�าสอน ชาวบ้านได้ก็เป็นที่เพียงพอแล้ว หลัง จากนั้นท่านก็หันมาสนใจทางด้าน วิปัสสนาธุระโดยมองเห็นประโยชน์ใน ด้านการปฏิบัติ เมื่อเป็นเช่นนั้นก็ออก เดินทางไปฝากตัวเป็นศิษย์ศึกษาเรียน พระกรรมฐานกับครูบาอาจารย์เก่งๆ ในยุคนั้น อาทิเช่น 1.หลวงพ่อชื่น วัดภาชี อยุธยา เชี่ยวชาญด้านวิปัสนากรรมฐานที่สืบ ทอดพุทธาคมมาจากหลวงพ่อกลั่น วัด พระญาติ เป็นที่รู้จักกันดีในยุคนั้นซึ่ง มีศิษย์ที่ศึกษาวิชาจากหลวงพ่อกลั่น มากมาย อาทิเช่น หลวงพ่อใหญ่ หลวง พ่ออั้น หลวงพ่อเภา หลวงพ่อศรี หลวงปู่ ดู่ และหลวงพ่อชื่น ศิษย์หลวงพ่อกลั่นที่ กล่าวถึงทั้งหมดนี้ปัจจุบันได้มรณะภาพ ไปหมดแล้วซึ่งแต่ ละองค์ล้วนมีชื่อเสียง
จึงสามารถส� า เร็จในสรรพ ศาสตร์ทั้งหลายเหล่านั้น และน� า มา ช่วยเหลือสงเคราะห์ศรัทธาญาติโยมผู้
เคารพ และศรัทธาของ สานุศิษย์ยิ่ง ด้านการพัฒนาและการ พระศาสนา ท่านเป็นผู้เอาใจใส่ใน กิจแห่งสงฆ์ จนพระอารามรุ่งเรือง ดังปรากฏให้เห็นในปัจจุบัน ด้วยคุณู
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 37 Phra Nakhon Si Ayutthaya พระนครศรี อยุธยา คู่มือ วิหารพระมงคลบพิตร ตั้งอยู่ที่ต�า บลประตูชัย อ� า เภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ทางทิศใต้ของวัดพระศรีสรรเพชญ์ มีจุดเด่นที่ส�าคัญคือ เป็นวิหารเก่าแก่ใน เขตก�าแพงเมือง ที่ได้รับการบูรณะอย่างดี ภายในวิหารมีพระมงคลบพิตร พระพุทธรูปประธาน ขนาดใหญ่ที่เสียหายตั้งแต่เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง แต่ได้รับการบูรณะใหม่ทั้งหมด ด้วย ทองส�าริดหุ้มทองตามปัจจุบัน ประการต่างๆดังกล่าว จึงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯพระราชทาน สมณศักดิ์ เป็นพระครูชั้นสัญญาบัตร ที่ราชทินนาม พระครูสุนทรธรรมนิวิฐ หลวงพ่อรวย ได้มรณะภาพลงอย่างสงบเมื่อเวลา 21.00น. ของวันที่ 19 ก.ค. ที่ผ่านมา ที่โรงพยาบาลวิชัยยุทธ สิริอายุรวม 95 ปี 76 พรรษา และหลังจาก สังขารหลวงพ่อมรณภาพมา 100 วัน สังขารหลวงพ่อไม่เน่าไม่เปื่อยจึงท�าให้ คณะ สงฆ์และศิษยานุศิษย์ พร้อมใจกันเชิญสรีระสังขารของหลวงพ่อรวยบรรจุใส่โลง แก้วเพื่อให้ศิษยานุศิษย์ และพุทธศาสนิกชนได้กราบสักการะ ณ พระมหาธาตุ เจดีย์ปาสาทิโก วัดตะโกต่อไป ท�าให้เหล่าศิษยานุศิษย์เชื่อว่า การที่หลวงพ่อรวย สรีระสังขารไม่เน่าไม่เปื่อยมาจากการเป็นพระปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และเป็นสาย กรรมฐานที่ปฏิบัติมาอย่างยาวนาน จนกระทั่งได้รับการยกย่องว่า เป็นพระกรรม ฐานและเป็นพระเกจิชื่อดังรูปหนึ่งของประเทศ ในส่วนวัตถุมงคล ท่านเริ่มสร้างมาก่อน ปีพ.ศ.2512 ซึ่งถือเป็นวัตถุมงคล ยุคต้นของท่าน และนับแต่ปีพ.ศ.2513 เป็นต้นมา วัตถุมงคลของท่านมีการจัด สร้างหลายครั้ง หลายวาระ และหลายรุ่น ปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ในหลายๆ รุ่น มีค่านิยมสูง ด้วยปรากฏประสบการณ์มาแล้วกับผู้อาราธนาติดตัว วิหารพระมงคลบพิตร

โดยจะออกแบบให้ปูชนียสถานกลางแจ้งเหมือนไดบุตสึของ

ป.พิบูล

จึงได้เริ่มการบูรณปฏิสังขรณ์พระวิหารและองค์ พระพุทธเสียใหม่ดังที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ ในคราวบูรณะพระ มงคลบพิตรในปี พ.ศ. 2500 กรมศิลปากรได้พบพระพุทธรุ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 38 ประวัติ สันนิฐานว่า พระวิหารสร้างขึ้นในสมัยราวแผ่นดิน สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง โดยพระมงคลบพิตรเคย ประดิษฐานอยู่ที่วัดชีเชียงมาก่อน จนกระทั้งสมเด็จพระเจ้า ปราสาททองโปรดให้รื้อซากของวัดชีเชียง แล้วให้ชลอ พระพุทธรูปมาไว้ทางด้านทิศตะวันตก แล้วให้สร้างมณฑป ขึ้นครอบไว้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2246 สมัยสมเด็จพระเจ้าเสือ ยอด มณฑปต้องอสนีบาต (ฟ้าผ่า) ไฟไหม้เครื่องบนมณฑปหัก พังลงมาต้องพระเศียรหัก สมเด็จพระเจ้าเสือ จึงโปรดฯ ให้แปลงมณฑปเป็นวิหารแต่ยังคงส่วนยอดของมณฑปไว้ แล้วซ่อมพระเศียรพระพุทธรูปใหม่ กระทั่งในรัชกาล สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่หมด เปลี่ยน หลังคาคล้ายในปัจจุบัน เมื่อเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งสุดท้าย วิหารและพระพุทธรูปถูกไฟไหม้ ช�ารุดทรุดโทรม เครื่องบน วิหารหักลงมาต้องพระเมาฬี และพระกรข้างขวาหัก ในปี พ.ศ. 2474 พระยาโบราณราชธานินทร์ ต�าแหน่ง สุมุหเทศาภิบาลมณฑลอยุธยา คุณหญิงอมเรศร์สมบัติ กับพวก ได้ขอยื่นเรื่องซ่อมแซมวิหาร แต่รัฐบาลไม่อนุญาต เนื่องจากต้องการที่จะรักษาตามแบบอย่างทางโบราณคดี
แต่ด้วยเวลานั้นรัฐบาลยังไม่มีงบประมาณพร้อมในการ ด�าเนินการ ต่อมาในปี
ปบรรจุไว้ในพระอุระด้านขวา เป็นจ�านวนมาก ปัจจุบันเก็บ รักษาอยู่ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา และ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม พระมงคลบพิตร พระมงคลบพิตร เป็นพระพุทธรูปใหญ่หล่อด้วยทอง สัมฤทธิ์องค์เดียวในประเทศไทย ลงรักปิดทองมีแกนเป็นอิฐ ส่วนผิวนอกบุด้วยส�าริด ท�าเป็นท่อน ๆ มาเชื่อมกัน สูง 12.54 เมตร หน้าตักกว้าง 4 วาเศษ สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยสมเด็จ พระไชยราชา ราว พ.ศ. 2081 เดิมประดิษฐานอยู่กลางแจ้ง ต่อ มาในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญมา ไว้ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของวัดพระศรีสรรเพชญ์
ญี่ปุ่น
พ.ศ. 2499 รัฐบาลสมัยจอมพล
สงคราม

ถึง สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์

หรือพระเจ้าเอกทัศ) ว่า แรม 14 ค�่ า

เดือน 5 พม่าเอาปืนใหญ่มาตั้งที่ในวัด

ราชพฤกษ์และวัดกษัตราวาส

คือ เกตุมาลาท�าเป็นรัศมีเปลว องค์พระครองจีวรห่มเฉียง เปิดพระ อังสาขวา ชายจีวรยาวจรดพระนาภี ปลายแยกออกเป็นเขี้ยวตะขาบ ต่อมา มีการลงรักปิดทองประดับอย่างงดงาม ส่วนกลางฐานชุกชี ท� า เป็นผ้าทิพย์

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 39 Phra Nakhon Si Ayutthaya พระนครศรี อยุธยา คู่มือ “วัดกษัตราธิราชวรวิหาร”
อยู่ริมแม่น�้
ต.บ้านป้อม
จ.พระนครศรีอยุธยา เป็นวัดโบราณ ปรากฏหลักฐานพบว่ามีมาตั้งแต่สมัย กรุงศรีอยุธยา เดิมชื่อ วัดกษัตรา หรือ กษัตราราม หรือ กษัตราวาส ไม่ปรากฏ หลักฐานว่า ใครเป็นผู้สร้าง แต่ชื่อ ของวัดท� า ให้สันนิษฐานว่า คงเป็นวัด ที่พระมหากษัตริย์ หรือพระบรมวงศา นุวงศ์ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา พระองค์ ใดพระองค์หนึ่ง ทรงสร้าง วัดนี้จึงมีชื่อ ว่า วัดกษัตรา ซึ่งหมายความว่าเป็น วัดของพระมหากษัตริย์ หรือวัดของ พระเจ้าแผ่นดิน มีปรากฏในแผ่นดิน สมเด็จพระสุริยามรินทร์ (น่าจะหมาย
ตั้ง
า เจ้าพระยาฝั่งตะวันตก
อ.พระนครศรีอยุธยา
ยิงเข้ามา ในพระนคร ถูกบ้านเรือนราษฎรล้มตาย จ�านวนมาก วัดนี้คงถูกท�าลายเมื่อคราว ÇÑ´¡ÉѵÃÒ¸ÔÃÒªÇÃÇÔËÒà เสียกรุงศรีอยุธยาจึงถูกทิ้งร้างเรื่อยมา ครั้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรม หลวงอนุรักษ์เทเวศร์ (ทองอิน) กรม พระราชบวรสถานภิมุข (กรมพระราชวัง หลัง) ได้บูรณะวัดกษัตรา และได้ เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “วัดกษัตราธิราช” ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 2 สมเด็จเจ้าฟ้า กรมขุนอิศรานุรักษ์ (เกศ) ต้นราชสกุล อิศรางกูร ได้ปฏิสังขรณ์พระอาราม ในปี พ.ศ.2349 ให้เป็นวัดที่มีพระ สงฆ์จ� า พรรษา เป็นพระอารามหลวง ล�า ดับที่ 9 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่พระบาทสมเด็จพระชนกา ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ยกวัดกษัตราธิ ราชเป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิด วรวิหาร เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520 ปัจจุบัน มีพระญาณไตรโลก (สุชาติ ฐานิสสะโร) เป็นเจ้าอาวาส นับได้ว่าเป็นวัดที่สวยงามแห่งหนึ่ง ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ภายใน พระอุโบสถวัดกษัตราธิราชวรวิหาร ต.บ้านป้อม อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธกษัตราธิราช ซึ่งพระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหา ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร (ในหลวงรัชกาลที่ 9) ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม ขนาดองค์พระสูง 2.99 เมตร ฐาน กว้าง 2.09 เมตร ตั้งอยู่บนฐานชุกชี ใน ลักษณะประทับนั่งขัดสมาธิราบ ปาง มารวิชัย ใบหน้าลักษณะรูปสี่เหลี่ยม เม็ดพระศกมีขนาดเล็ก เหนือจากพระ อุษณีษะ
ปั้นเป็นลายประเภทราชวัตร ประดับ ประจ�ายาม ปั้นเป็นลายก้านขดมีการ ออกลายเป็นสัตว์หิมพานต์ ด้านล่างปั้น เป็นลายกรวยเชิง ลักษณะคล้ายกับผ้า ทิพย์

บิณฑ์ สลับกันเป็นระยะบนพื้นสีแดง

เพดานสลับไม้ลงรักปิดทองพื้นภายใน

พระอุโบสถปูด้วยหินอ่อนจากประเทศ

ด้านหลังสร้างเป็นมุขขนาดเล็กเรียกมุขเด็จประดิษฐานพระพุทธรูปปางป่าเลไลย

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 40 ส�าหรับพระอุโบสถที่พระประธาน ประดิษฐานอยู่ มีขนาด 9 ห้อง กว้าง 22 เมตร ยาว 46 เมตร ผนังก่ออิฐเจาะช่อง แสงแบบเสาลูกมะหวด ด้านหน้าพระ อุโบสถมีบันไดขึ้น 2 ทาง ช่องกลางก่อ เป็นซุ้มบัญชร ช่องหน้าต่าง ด้านหลังมี มุขเด็จ ท�าเป็นบันไดขึ้น 3 ทาง ที่ประตู กลางของมุขเด็จ ด้านหลังก่อเป็นซุ้มกั้น ห้องประดิษฐานพระพุทธปฏิมา ปางป่า เลไลยก์ ส่วนหลังคาพระอุโบสถช่อฟ้า ใบระกาหางหงส์ประกอบด้วยเครื่อง ไม้หลังคามุงด้วยกระเบื้องกาบู หรือ กระเบื้องกาบกล้วยดินเผา หน้าบัน ทั้ง 2 ด้าน จ�าหลักลายดอกพุดตาน มี สาหร่ายรวงผึ้งคั่นสลับระหว่างเสา ลงรักปิดทองประดับกระจก มีคันทวย รองรับระหว่างชายคา ที่แกละสลัก อย่างงดงาม สืบทอดรูปแบบมาจาก สมัยกรุงศรีอยุธยา ภายในพระอุโบสถเสากลมมีบัวที่
รองรับเครื่องบน
หัวเสาเป็นแบบดอกบัวตูมจ�านวน 6 คู่
เพดานเขียนลายทอง เป็นลายราชวัตร ดอกกลมและพุ่มข้าว
อิตาลีที่รัชกาลที่ 5 พระราชทานแด่ พระครูวินยานุวัติคุณ (ทรง ธัมมสิริโชติ) อดีตเจ้าอาวาส เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา หลังจากการก่อสร้างพระอุโบสถวัด เบญจมบพิตรฯ สิงที่น่าสนใจภายในวัด • พระอุโบสถ พระอุโบสถก่อด้วยอิฐถือปูน ยกพื้นสูงมีประตูทางเข้าด้านหน้า 2 ประตู อาคารพระอุโบสถมีขนาดกว้าง 22 เมตร ยาว 46 เมตร หลังคาซ้อน 2 ชั้น หน้าบันประดับหลายเครือเถา ลงรักปิดทองประดับกระจก ตัวพระ อุโบสถก่ออิฐเป็นผนังหนา เพื่อรองรับหลังคา ด้านนอกท�าเป็นเสาในตัวตาม แบบศิลปะอยุธยา ยอดเสาเป็นลายบัวแวง มีทวยไม้จ�าหลักรูปพญานาครองรับ ชายคาอยู่บนเสาทุกเสา ด้านหน้าประดับด้วยซุ้มบุษบกบัญชรตั้งอยู่บนแท่นใหญ่
ก์ หน้าต่างเจาะเป็นช่องเล็กๆ ระหว่างช่วงหน้าต่างประดับด้วยลายดอกไม้เครือ เถา ภายในพระอุโบสถบนฐานชุกชีประดิษฐานพระประธาน ซึ่งเป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชัย ประทับบนฐานบัวผ้าทิพย์ พระนามว่า พระพุทธกษัตราธิราช เป็น พระพุทธรูปในศิลปะอยุธยา ที่เพดานและขื่อประดับลายจ�าหลักลงรักปิดทองเป็น ช่องกระจกดอกจอกอย่างสวยงาม บนลานพระอุโบสถโดยรอบตั้งใบเสมาอยู่บน

รัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3 แต่ส�าหรับ พระพุทธรูปและพระศรีอาริยเมตไตรย นั้นเป็นศิลปะรัตนโกสินทร์ตอนต้น

22 เมตร 60 เซนติเมตร เชื่อกันว่า ประดิษฐานบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ

ไม้สิบสองประดับเป็นภาพนูนสูง ลาย อุณาโลมประดับอยู่ในส่วนหน้าบัน

และรูปเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง รวมทั้ง อุณาโลมเป็นลักษณะศิลปะอยุธยา

มี 4 องค์ อยู่ด้านหลังพระวิหาร และ เป็นที่บรรจุอัฐิอดีตเจ้าอาวาส ลักษณะ ของพระเจดีย์แสดงรูปศิลปะอยุธยา ตอนปลาย

วัดกษัตราธิราชได้รับการประกาศ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 41 Phra Nakhon Si Ayutthaya พระนครศรี อยุธยา คู่มือ ฐานบัว ลักษณะใบเสมาสลักจากหิน ตรงกลางสกัดเป็นเส้นโค้งคล้ายรูปหัวใจ มีแถบยาวตัดตรงกลางอันเป็นลักษณะของเสมาในสมัยอยุธยาตอนกลางถึงสมัย อยุธยาตอนปลาย • พระวิหาร ในวัดกษัตราธิราช มีพระวิหาร 4 หลัง คือ พระวิหารใหญ่
หลัง ตั้งอยู่ ด้านหน้าพระอุโบสถ และพระวิหารน้อย ๒ หลัง
พระอุโบสถด้านทิศตะวันออกและตะวันตก ส�าหรับพระวิหารใหญ่มีขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 13 เมตร 50 เซนติเมตร หลังคาเป็นชั้นลด 3 ชั้น พระวิหารหลังทิศใต้ ด้านหน้าท�าเป็นประตูซุ้มยอด มณฑป หน้าบันของพระวิหารด้านทิศเหนือ สลักเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ ล้อมรอบด้วยลายกระหนก ภายในพระวิหารบนฐานชุกชีประดิษฐานพระพุทธ รูปยืน ปางถวายเนตร และปางประทานอภัย รวม 2 องค์ ทีผนังโดยรอบมีร่อง รอยเจาะเป็นช่องส� า หรับประดิษฐาน พระพุทธรูปขนาดเล็ก แต่ปัจจุบัน ท�าเป็นหน้าต่างด้านละ
ภูริทัต ภายในพระวิหารด้านทิศใต้ ประดิษฐานพระพุทธรูปปางสมาธิเป็น พระประธาน และรูปพระศรีอาริยเมต ไตรยจีวรดอก ประดิษฐานอยู่ด้าน หน้าของพระประธาน ที่ผนังเจาะเป็น ช่องส� า หรับประดิษฐานพระพุทธรูป
ซึ่งลักษณะการเจาะผนังนี้
มีขนาดสูง
ไว้ด้วย พระปรางค์นี้ทรงฝักข้าวโพด ตรงเรือนธาตุมีจระน�าซุ้มทิศทั้ง
ามีรูปจ�า ลองเจดีย์ย่อมุม
เหนือซุ้ม ทั้งลักษณะของพระปรางค์
พระเจดีย์เหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสอง พระเจดีย์เหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสอง
2
ซึ่งตั้งอยู่ตรงมุมก�าแพงแก้วของ
3 บาน ส่วน หน้าบันของพระวิหารหลังใต้สลักภาพ พราหมณ์อาลัมพายน์จับพญานาค
ขนาดเล็ก
นิยมมากในสมัยอยุธยาตอนปลายถึง
• พระปรางค์ พระปรางค์ประธาน
4 ด้าน ภายในจระน�
ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ.2541 ตามประกาศในราช กิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 37 วันที่ 19 พฤษภาคม 2541

จึง ยังมิได้ซ่อมแซมให้คืนดีดั้งเดิมในรัชกาลนั้น ต่อมาสมเด็จ พระเจ้าปราสาททอง

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 42 วัดมหาธาตุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นหนึ่งในวัด ในเขตอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา วัดมหาธาตุ เป็นวัดที่มีความส�าคัญยิ่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา เพราะเป็นวัด ที่ประดิษฐานพระบรมธาตุใจกลางพระนคร และเป็นที่พ�านัก ของสมเด็จพระสังฆราชฝ่ายคามวาสีอีกด้วย วัดแห่งนี้จึงได้รับ การก่อสร้างและดูแลตลอดเวลาจวบจนถูกท�าลายและถูกทิ้ง ร้างลงหลังเสียกรุงครั้งที่ 2 ประวัติ วัดมหาธาตุเป็นพระอารามหลวง ตั้งอยู่ใกล้วัดราชบูรณะ ในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สร้างใน สมัย สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ขุนหลวงพะงั่ว เมื่อปี พ.ศ.1917 แต่ไม่แล้วเสร็จ ทรงเสด็จสวรรคตเสียก่อน และ ได้สร้างเพิ่มเติมจนเสร็จ ในสมัย สมเด็จพระราเมศวร โดยได้ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระปรางค์ประธาน และอัญเชิญพระบรม สารีริกธาตุมาบรรจุไว้ใต้ฐานพระปรางค์ประธานของวัด มหาธาตุ เมื่อปี พ.ศ. 1927 ซึ่งปรากฏในพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ÇÑ´ÁËÒ¸ÒµØ ความส� า คัญของวัดมหาธาตุนั้น นอกจากจะเป็นที่ ประดิษฐานองค์พระบรมสารีริกธาตุแล้ว ยังถือเป็นวัดที่ เป็นศูนย์กลางเมืองและเป็นสถานที่จัดพระราชพิธีต่าง ๆ ของกรุงศรีอยุธยา โดยมีสมเด็จพระสังฆราช ฝ่ายคามวาสี ประทับอยู่ภายในวัด ส่วนพระสังฆราช ฝ่ายอรัญวาสีนั้น ประทับอยู่ที่วัดป่าแก้ว (วัดใหญ่ชัยมงคล) นอกจากนี้ยัง เป็นสถานที่ๆ พระศรีศิลป์และจหมื่นศรีสรรักษ์ พร้อมคณะ ได้ซุ่มพลที่ปรางค์วัดมหาธาตุ ก่อนยกพลเข้าพระราชวังทาง ประตูมงคลสุนทร เพื่อจับกุมสมเด็จพระศรีเสาวภาคย์ ในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ปรางค์ของวัดองค์เดิม ที่สร้างด้วยศิลาแลง ยอดพระปรางค์ได้ทลายลงมาเกือบ ครึ่งองค์ถึงชั้นครุฑ แต่จะด้วยเหตุผลประการใดไม่ทราบ
ทรงบูรณะใหม่รวมเป็นความสูง 25 วา เมื่อปี พ.ศ. 2176 และในสมัยสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ เมื่อปี พ.ศ. 2275-2301 จนถึงช่วงเสียกรุงศรีอยุธยาครั้ง ที่ 2 วัดมหาธาตุโดนท�าลายจนเหลือเพียงซากปรักหักพัง และถูกทิ้งร้าง ต่อมายอดพระปรางค์ได้พังทลายลงมาอีก ครั้งในรัชสมัยรัชกาลที่ 5
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 43 Phra Nakhon Si Ayutthaya พระนครศรี อยุธยา คู่มือ สิงก่อสร้าง • พระปรางค์ขนาดใหญ่ ซึ่งในปัจจุบันพังทลายลงมา หมดแล้ว แต่ราชทูตลังกาที่ได้เคยมาเยี่ยมชมวัดมหาธาตุ ใน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศไว้ว่า ที่ฐานของพระปรางค์ มี รูปราชสีห์ หมี หงส์ นกยูง กินนร โค สุนัขป่า กระบือ มังกร เรียงรายอยู่โดยรอบ รูปเหล่านี้อาจหมายถึงสัตว์ในป่า หิมพานต์ที่รายล้อมอยู่เชิงเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นแกนกลาง ของจักรวาล • เจดีย์แปดเหลี่ยม เป็นเจดีย์ลดหลั่นกัน 4 ชั้น 8 เหลี่ยม ชั้นบนสุดประดิษฐานปรางค์ขนาดเล็ก ซึ่งเจดีย์องค์นี้จัดว่า เป็นเจดีย์ที่แปลกตา พบเพียงองค์เดียวในอยุธยา • วิหารที่ฐานชุกชี ของพระประธานในวิหาร กรม ศิลปากรพบว่ามีผู้ลักลอบขุดลงไปลึกถึง 2 เมตร จึงด�าเนิน การขุดต่อไปอีก 2 เมตร พบภาชนะดินเผาขนาดเล็ก 5 ใบ บรรจุแผ่นทองเบารูปต่างๆ • วิหารเล็ก วิหารเล็กแห่งนี้ มีรากไม้แผ่รากขึ้นเกาะเต็ม ผนัง รากไม้ส่วนหนึ่งได้ล้อมเศียรพระพุทธรูปไว้ • พระปรางค์ขนาดกลาง ภายในพระปรางค์ มีภาพ จิตรกรรม เรือนแก้วซึ่งเป็นตอนหนึ่งในพุทธประวัติ • ต� า หนักพระสังฆราช บริเวณพื้นที่ว่างทางด้านทิศ ตะวันตก เคยเป็นที่ตั้งพระต�าหนักพระสังฆราช ฝ่ายคามวาสี ราชทูตลังกาได้เล่าไว้ว่า เป็นต�าหนักที่สลักลวดลายปิดทอง มีม่านปักทอง พื้นปูพรม มีขวดปักดอกไม้เรียงรายเป็นแถว เพดานแขวนอัจกลับ (โคม) มีบังลังก์ 2 แห่ง จารึกแผ่นดีบุก เมื่อ พ.ศ. 2500 มีการขุดค้นพบจารึกแผ่นดีบุกบริเวณ กรุฐานพระปรางค์ พร้อมกับโบราณวัตถุอีกหลายอย่าง ตัว จารึกเป็นอักษรไทยอยุธยา เนื้อหาโดยสังเขปเป็นค� าอุทิศ ส่วนกุศลจากการหล่อพระพุทธพิมพ์เท่าจ�านวนวันเกิด การ ภาวนา และการบูชาพระรัตนตรัย ตอนท้ายระบุชื่อและอายุ ของผู้สร้างพระพิมพ์คือ พ่ออ้ายและแม่เฉา อายุ 75 ปี และ ระบุจ�านวนวันตามอายุของตนว่า “..ญิบหมื่นเจ็ดพันห้าร้อย วัน..” (หมายถึง 27,500 วัน ซึ่งหากค�านวณแล้วจะพบว่า จ� านวนวันมากกว่าตามความจริงเล็กน้อย) เนื้อหาในจารึก แผ่นนี้จึงท�าให้ทราบถึงการสร้างพระพิมพ์ในสมัยอยุธยาว่า นอกจากจะสร้างเพื่อสืบทอดศาสนาแล้ว ยังมีขนบการสร้าง ตามจ�านวนเท่ากับวันเกิดของตนด้วย

ประเทศไทยเป็นที่เชื่อได้ว่าเป็นประเทศเก่าแก่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน หลายร้อยปี ผืนพื้นดินนี้ผ่านพบเรื่องราวสุขทุกข์มามากมายเหลือคณานับ

นอกจากเหตุผลทางด้าน ประวัติศาสตร์แล้ว ความสวยงามยิ่ง

ใหญ่ของโบราณสถานในไทยยังคือว่า เป็นสิ่งที่เปี่ยมไปด้วยมนต์เสน่ห์เฉพาะ ควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้เช่นกัน ดังจะ เห็นได้ว่ามีโบราณสถานหลายแห่ง กลายมาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้ ความนิยมในปัจจุบัน

หรือได้รับการ

ประชาสัมพันธ์ในรูปแบบของแหล่งท่อง เที่ยว UNSEEN THAILAND ดังเช่นที่ วัดพระงาม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แห่งนี้ เป็นที่รู้จักกันดีในหมู่นักท่อง เที่ยวจากความสวยงามและบรรยากาศ อันเข้มขลังในบริเวณซุ้มประตูวัดที่มี รากต้นโพธิ์ใหญ่เลื้อยพันปกคลุมมา นานไม่ต�่ากว่าร้อยปี

ประวัติวัดพระงาม “วัดพระงาม” หรือชื่อเดิมคือ

งามมีแผนผังเป็นแบบที่นิยมในสมัย อยุธยาตอนต้นคือ หันหน้าไปทางทิศ ตะวันออก ขอบเขตของวัดก�าหนดจาก คูน�้าล้อมรอบทุกด้าน มีเจดีย์ประธาน อยู่หน้าโบสถ์

ถูก ดัดแปลงมาจากวิหาร เจดีย์ทรงกลมตั้ง อยู่บนฐานสี่เหลี่ยมซ้อนอยู่บนฐานแปด เหลี่ยม เจดีย์องค์นี้มีร่องรอยของการ พอกอีกชั้นหนึ่ง แต่ไม่ได้เปลี่ยนรูปทรง

เจดีย์ ลักษณะของเจดีย์สามารถน�าไป เปรียบเทียบกับเจดีย์ที่สร้างขึ้นในสมัย อยุธยาตอนต้นและสืบต่อมาถึงอยุธยา ตอนปลาย ส่วนโบสถ์เป็นอาคารยกพื้น มีฐานรอบอาคาร

มีร่องรอยการสร้าง

ทับอาคารเดิม จากการขุดแต่งและขุด ค้นพบโบราณวัตถุจ� า นวนมาก เช่น ส่วนประกอบสถาปัตยกรรมประเภท

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 44
แม้ว่า วิทยาการทางเทคโนโลยีของเราจะพัฒนาไปได้ไกลสักเพียงไหน ก็ยังไม่สามารถที่ จะพาเราย้อนอดีตไปศึกษาเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจริงได้ ท�าได้แต่เพียงค้นคว้า ตั้งสมมติฐาน ท�างานวิจัย หรือรวบรวมหลักฐานทางประวัติศาสตร์มาประกอบกัน เป็นเรื่องราวเผยแพร่ให้รับทราบทั่วกันเท่านั้น ดังนั้นโบราณสถาน โบราณวัตถุที่ หลงเหลือยู่ในปัจจุบันนี้จึงควรค่าแก่การให้ความส�าคัญและอนุรักษ์ไว้เป็นอย่าง ยิ่ง
ÇÑ´¾ÃЧÒÁ
วัด ชะราม
การขุดแต่งทางโบราณคดีพบว่าวัดพระ
ตั้งอยู่บนเกาะนอกเมืองอยุธยา ไม่ปรากฏหลักฐานทางเอกสารว่าสร้าง ขึ้นเมื่อไหร่ อย่างไร แต่จากหลักฐาน
ซึ่งสันนิษฐานว่า

สามารถก� า หนดอายุได้ตั้งแต่สมัย

อยุธยาตอนต้น ปลายพุทธศตวรรษที่

ใจมาก ส�าหรับช่วงเวลาที่เหมาะสมใน การเข้าชมแสงลอดซุ้มประตูแห่งกาล เวลา ที่วัดพระรามนี้คือเวลา 17.00น. เป็นต้นไปจนกว่าฟ้าจะมืด หรือช่วงเช้า ตรู่หลังพระอาทิตย์ขึ้นก็ย่อมได้ และใน ช่วงเดือน ตุลาคม-พฤศจิกายน ในวัน ที่มีฝนตกอาจจะมีหมอกจางๆ เพิ่ม บรรยากาศด้วย เมื่อเดินลอดประตูแห่งกาลเวลา เข้าไปภายในบริเวณวัดจะพบกับเจดีย์ แปดเหลี่ยมซึ่งเป็นเจดีย์ประธานตาม แบบสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยา พระ อุโบสถและหลวงพ่อวัดพระงามให้ กราบสักการะ โดยดอกไม้บูชาพระของ ที่นี่จะจัดเป็นช่อขนาดประมาณฝ่ามือ ใช้ดอกไม้สดดูสดชื่นสวยงาม

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 45 Phra Nakhon Si Ayutthaya พระนครศรี อยุธยา คู่มือ ดินเผาปูนปั้น และโลหะ กระเบื้องมุง หลังคา ลวดลายปูนปั้นรูปนาค เทวดา เทพนม ตะปูจีน ฯลฯ ส่วนประเภทรูป เคารพทางศาสนาพบส่วนหน้าตักของ พระประธาน พระพุทธรูปส� า ริดทรง เครื่องปางสมาธิ นอกจากนี้ยังพบเครื่องมือเครื่องใช้ เช่น สิ่ว ผอบ หม้อก้นกลม เศษภาชนะ ดินเผาเนื้อแกร่งจากแหล่งเตาบ้านบาง ปูน เตาแม่น�้าน้อย เตาศรีสัชนาลัย เตา สุโขทัยภาชนะดินเผาต่างประเทศที่พบ มีเครื่องถ้วยจีน
ราชวงศ์หมิง
ญี่ปุ่น จากโบราณวัตถุที่พบทั้งหมด และลักษณะรูปแบบทางสถาปัตยกรรม
สมัยราชวงศ์หยวนและ
เครื่องถ้วยเวียดนามและ
19-20 ลงมาถึงอยุธยาตอนปลาย พุทธ ศตวรรษที่ 23-24 พบร่องรอยการบูรณะ หลายครั้ง และน่าจะถูกทิ้งร้างไปหลัง ช่วงกรุงศรี ฯ แตกครั้งที่สอง ในปี 2310 พระอุโบสถ เป็นอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด กว้าง 15 เมตร ยาว 34 เมตร มีมุกยื่น ออกมาทั้งด้านหน้าและด้านหลัง มี ประตูทางเข้าทั้งด้านหน้าและด้าน หลังด้านละ 2 บาน มีฐานชุกชีส�าหรับ ประดิษฐานพระพุทธรูปอยู่ทางทิศ ตะวันตกของอาคาร พระอุโบสถหลัง นี้ก็พบร่องรอยการบูรณะมาหลายครั้ง เช่นกัน จุดเด่นของวัดนี คือ ประตแห่ง กาลเวลา ซุ้มประตูวัดที่ปรากฏรากของ ต้นโพธิ์ใหญ่ซึ่งเป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ใน ศาสนาพุทธ อายุไม่ต�่ากว่า100 ปี เลื้อย พันปกคลุมอยู่โดยรอบซุ้มประตู ส่วน ล�าต้นก็เจริญเติบโตสูงขึ้นไปด้านบนซุ้ม ประแลดูคล้ายหลังคาโดมขนาดใหญ่ แต่เป็นหลังคาที่มองแล้วร่มรื่นสบาย ตาเหลือเกิน ยิ่งผนวกกับช่วงเวลายาม อาทิตย์อัสดง แสงอาทิตย์ที่คล้อยลงต�่า ค่อยๆ ลอดผ่านซุ้มประตูออกมาช้าๆ เพิ่มความเข้มขลังให้บรรยากาศรอบๆ จนดูเหมือนกับเชิญชวนให้เราก้าว
เข้าไปผ่ามิติสู่อดีต
อย่างไรอย่างนั้น
เป็นบรรยากาศที่สวยงาม น่าประทับ
สามารถ บูชาได้ตามก�าลังศรัทธา

ทางหลวงหมายเลข 309 กิโลเมตรที่ 26

แม้จะเป็นพุทธสถาน แต่วัด

ภูเขาทองยังเป็นชัยภูมิที่มีบทบาท

ส�า คัญในสงครามไทย-พม่าที่ท� า ให้

กรุงแตกทั้ง 2 ครั้ง โดยวัดได้ชื่อตาม

มหาเจดีย์ภูเขาทองที่มีความสูงถึง

พ.ศ. 2112 พระเจ้าบุเรง

นองจึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเจดีย์แบบ

มอญผสมพม่าก่อทับองค์เจดีย์เดิม

เหนือทัพไทยเอาไว้ แต่สันนิษฐานว่า

คงสร้างได้แต่ส่วนฐานทักษิณส่วนล่าง แล้วยกทัพกลับ

จากนั้นเมื่อสมเด็จพระนเรศวรทรง

กอบกู้เอกราชกลับคืนมาได้ใน พ.ศ.

2127 จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเจดีย์

แบบไทยไว้เหนือฐานแบบมอญและ พม่า จึงมีสถาปัตยกรรมหลายแบบ ผสมผสานกันอยู่ แต่เจดีย์ภูเขาทอง

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 46 วัดภเขาทอง
ตกเฉียงเหนือ ห่างจากพระราชวังหลวง
ตั้งอยู่ทางทิศตะวัน
ไปประมาณ 2 กิโลเมตร สามารถใช้ เส้นทางเดียวกับทางไปจังหวัดอ่างทอง
90 เมตร ตามพระราชพงศาวดารอยุธยา กล่าวไว้ว่า วัดภูเขาทอง สถาปนาใน รัชสมัยพระราเมศวร สมัยอยุธยาตอน ต้นในสงครามที่พระเจ้าบุเรงนองแห่ง พม่ามีชัยเหนืออยุธยาเมื่อครั้งเสียกรุง ครั้งที่ 1 ใน
ของวัดแห่งนี้ เป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะ
ที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน สันนิษฐานว่า
พระมหาธรรมราชาถึงสมัยพระเพท ราชา ระหว่าง พ.ศ. 2112-2246 ก่อน จะบูรณะใหญ่อีกครั้งสมัยพระเจ้าบรม โกศ ซึ่งเป็นช่วงอยุธยาตอนปลายแล้ว โดยปฏิสังขรณ์เป็นฐานทักษิณ 4 ชั้น รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีบันไดทั้ง 4 ด้านขึ้น ไปจนถึงฐานทักษิณชั้นบนสุด ซึ่งมีฐาน สี่เหลี่ยมขององค์เจดีย์ที่มีอุโมงค์รูปโค้ง เข้าไปข้างใน ประดิษฐานพระพุทธรูป 1 องค์ เหนือขึ้นไปเป็นฐานแปดเหลี่ยม องค์ระฆังและบัลลังก์ และเหนือขึ้นไปอีกคือปล้องไฉน ปลียอด และลูกแก้ว ซึ่งพัง ทลายในสมัยต้นรัตนโกสินทร์แต่ซ่อมแซมขึ้นใหม่ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม พ.ศ. 2499 โดยท�าลูกแก้วทองค�าหนัก 2,500 กรัม เป็นสัญลักษณ์การบูรณะใน วาระครบ 25 พุทธศตวรรษ ช่วงสงครามก่อนกรุงแตกครั้งแรก มีการขุดคลองมหานาคเป็นเส้นทาง คมนาคมส� า คัญระหว่างพระนครด้านแม่น�้ า ลพบุรีกับวัดภูเขาทอง ส่วนเขต พุทธาวาสเดิมยังหลงเหลือแนวก�าแพงแก้วล้อมรอบ 688 เมตร ภายในประกอบ ไปด้วยวิหารขนาดเล็ก อุโบสถใหญ่ด้านหน้ามีเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง 4 องค์ ทว่า หลังกรุงแตกครั้งที่ 2 วัดภูเขาก็กลับกลายเป็นวัดร้างเช่นเดียวกับทั้งกรุงศรีอยุธยา แต่ยังมีผู้คนจากทุกแห่งหนเดินทางมาสักการะพระมหาเจดีย์อยู่เช่นเดิม ดังปราก ฎในนิราศภูเขาทองของสุนทรภู่ในสมัยรัชกาลที่ 3 จนมาถึง พ.ศ. 2500 จึงได้มี พระสงฆ์มาจ�าพรรษาที่วัดนี้อีกครั้ง กรมศิลปากรได้สร้างอนุสาวรีย์พระนเรศวร ทรงม้าศึกกลางถนนทางเข้าวัดเพื่อเทิดพระเกียรติกษัตริย์นักรบผู้กอบกู้เอกราช ไว้ด้วย ÇÑ´ÀÙà¢Ò·Í§
ได้รับการบูรณะให้สูงใหญ่ในรัชสมัย

Check in Ayutthaya

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 พระนครศรี อยุธยา เมื่อพูดถึงเที่ยวอยุธยา หลายคนก็ต้องนึกถึงทริปไหว้พระตามวัดเก่าแก่ต่างๆ หรือ เที่ยวชมตามอุทยานประวัติศาสตร์ เพราะมีวัดที่มีประวัติศาสตร์และเรื่องราวมากมาย ที่สะท้อนให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองของยุคสมัยอดีต แต่ ... วันนี้เราจะพาทุกคนไปเที่ยวอยุธยาแบบใหม่ เพราะจะไม่เข้าวัด แต่ลัดเลาะไปดู ที่เที่ยวอยุธยาอื่น ๆ กันบ้าง แบบมุมมองใหม่ บรรยากาศดี ถ่ายรูปสวย เที่ยวใกล้ กรุงเทพ ไปเช้าเย็นกลับได้ มาดูกันสิว่ามีที่ไหนน่าแวะไปเช็คอินกันบ้าง เมองทไมไดมดแค“วัด”
Phra Nakhon Si Ayutthaya

เมื่อถึงบริเวณเกาะบางปะอิน

และประทับอยู่กับชาว บ้าน ในระหว่างประทับอยู่ ณ ที่นี้ สมเด็จพระเอกาทศรถได้หญิงชาว เกาะเป็นบาทบริจาริกา มีนามว่า “อิน” จึงเป็นเหตุให้คนทั่วไปเรียกเกาะนี้ต่อ มาว่า “เกาะบางปะอิน” ต่อมาเมื่อ พระองค์จะเสด็จกลับ พระองค์ก็ทรง พานางอินนี้กลับไปกรุงศรีอยุธยาด้วย นางอินผู้นี้จึงเป็นพระสนมในเวลาต่อ มา และมีพระราชโอรสด้วยกัน เล่ากัน ว่าพระราชโอรสพระองค์นั้น คือ สมเด็จ พระเจ้าปราสาททอง

เมื่อปี พ.ศ. 2175 หลังจากที่สมเด็จ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 48 พระราชวงบางปะอน พระราชวังบางปะอิน ตั้งอยู่ในต� าบลบ้านเลน อ� า เภอบางปะอิน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากเกาะเมืองลงมาทางทิศใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร เป็นพระราชวังโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระเจ้า ปราสาททอง เนื่องจากเป็นที่ประสูติของพระองค์ ใช้เป็นสถานที่ที่ทรงใช้ประทับ แรม ของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ด้วยเป็นพระราชวังใกล้พระนคร นั่นเอง หลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระราชวังบางปะอินถูกปล่อย ให้รกร้างมาระยะหนึ่ง
ได้ประพันธ์ถึงพระราชวังบางปะอินไว้ในนิราศพระบาท จนกระทั่ง ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้เริ่มการบูรณะพระราชวังขึ้น และ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้บูรณะครั้งใหญ่ โดยสร้าง พระที่นั่ง พระต�าหนัก และต�าหนักต่างๆ ขึ้นมากมายเพื่อใช้เป็นที่ประทับรับรอง พระราชอาคันตุกะ และพระราชทานเลี้ยงในโอกาสต่างๆ ปัจจุบัน พระราชวังบางปะอินอยู่ในความดูแลของส�านักพระราชวัง และยัง ใช้เป็นสถานที่แปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรม วงศานุวงศ์ รวมถึงประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้าย แต่ได้เปิดให้ประชาชน และนักท่องเที่ยวเข้าชมได้ โดยต้องแต่งกายให้สุภาพ ประวัติ มีเรื่องเล่าว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเอกาทศรถ ยังทรง ด�า รงพระยศพระมหาอุปราช วันหนึ่ง
ทรงว่ายน�้ า ขึ้นไปบนเกาะนี้ ซึ่งเดิมชื่อ “เกาะบ้านเลน”
แต่กลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้งโดยสุนทรภู่ซึ่งได้ตามเสด็จ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี
พระองค์ได้เสด็จประพาสทางชลมารค
เรือ พระที่นั่งถูกพายุใหญ่พัด ท� า ให้เรือ พระที่นั่งล่มลง สมเด็จพระเอกาทศรถ
พระเจ้าปราสาททองทรงขึ้นครองราชย์ แล้ว พระองค์ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้สร้างวัดขึ้นตรงบริเวณนิวาส

บางปะอินแห่งนี้จนสิ้นสุดสงคราม การเข้าชม ถึงแม้ว่าพระราชวังบางปะอินยัง

ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ พระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงเป็นสถาน ที่ในการประกอบพระราชพิธีสังเวย พระป้ายและต้อนรับพระราชอาคันตุกะ อย่างไรก็ตาม พระราชวังบางปะอินก็ ยังเปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยว ได้เข้าชมภายในพระราชวังได้ ส�าหรับพระที่นั่งวโรภาษพิมานนั้น ผู้ชายไม่ควรใส่กางเกงขาสั้น หรือสวม เสื้อที่ไม่สุภาพ สตรีต้องใส่กระโปรงเข้า ชมภายในพระที่นั่ง

และพระที่นั่งวโรภาษพิมานและ พระที่นั่งเวหาศน์จ�ารูญนั้น มีวิทยากร บรรยายความรู้เกี่ยวกับพระที่นั่งแต่ไม่ อนุญาตให้ถ่ายภาพภายในพระที่นั่ง ส่วนพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรนั้น ไม่ อนุญาตให้เข้าชมภายในพระที่นั่งได้ พระราชวังบางปะอิน เปิดให้เข้าชม ทุกวันในเวลาระหว่าง

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 49 พระนครศรี อยุธยา คู่มือ เวลานั้น ได้เร่งถวายความปลอดภัย
บางปะอินแห่งนี้ เนื่องจากพระนครถูก ทิ้งระเบิดอย่างหนัก นอกจากนี้นาย ปรีดียังได้ขออนุญาตจัดตั้งโรงเรียน ภายในพระราชวังบางปะอินเป็นการ ชั่วคราวด้วย เพื่อให้เชื้อพระวงศ์ บุตร หลานข้าราชบริพาร รวมทั้งบุตรหลาน ราษฎรทั่วไป ได้มีโอกาสศึกษาหาความ รู้ และเป็นการใช้เวลายามว่างให้เกิด ประโยชน์ ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์และ เชื้อพระวงศ์ก็ได้ประทับ ณ พระราชวัง
โดยมีบริการให้ยืม เครื่องแต่งกายได้บริเวณอาคารการ์ด ทหาร
08.00-16.00 น. โดยต้องแต่งกายในชุดสุภาพ และขณะ เข้าชมผู้ชมไม่ควรส่งเสียงดังรบกวน ผู้อื่น สถานเดิมของพระมารดา และได้พระราชทานนามว่า “วัดชุมพลนิกายาราม” และได้สร้างพระที่นั่งองค์หนึ่งเพื่อฉลองการที่พระราชเทวีประสูติสมเด็จพระเจ้า ลูกเธอ พระนารายณ์ราชกุมาร พระราชทานนามว่า “พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพย อาสน์” พระราชวังบางปะอินจึงเป็นสถานที่ประทับของพระมหากษัตริย์ในฤดู ร้อนสืบเนื่องกันมา จนกระทั่ง กรุงศรีอยุธยาได้เสียแก่พม่าเมื่อปี พ.ศ. 2310 ซึ่ง ท�าให้พระราชวังแห่งนี้ถูกปล่อยให้รกร้างไป พระราชวังบางปะอินกลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้ง เมื่อสุนทรภู่ได้ตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี ซึ่งได้เดินทางผ่านพระราชวังบางปะอิน และได้ประพันธ์ถึงพระราชวังแห่งนี้ใน นิราศพระบาท ว่า ร� าพึงพายตามสายกระแสเชียว ยิงแสนเปลียวเปล่าในฤทัยถวิล สักคร่หนึงก็มาถึงบางเกาะอิน กระแสสินธุ์สายชลเป็นวนวัง อันเท็จจริงสิงนีไม่ร้แน่ ได้ยินแต่ยุบลในหนหลัง ว่าทีเกาะบางอออินเป็นถินวัง กษัตริย์ครั งครองกรุงศรีอยุธยา ครั้นมาถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ พระองค์ได้เสด็จพระราชด�าเนินไปยังกรุงศรีอยุธยา ประพาสผ่าน พระราชวังบางปะอิน ทอดพระเนตรเห็นความร่มรื่นโดยรอบเป็นที่ต้องพระราช หฤทัย อีกทั้งยังเป็นเขตพระราชวังเก่าในสมัยกรุงศรีอยุธยา จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้บูรณะพระราชวังบางปะอิน โดยสร้างพระที่นั่งองค์หนึ่งเป็นที่ ประทับ เรือนแถวส�าหรับเจ้านายฝ่ายในหนึ่งหลัง พลับพลาริมน�้า และพลับพลา กลางเกาะ พร้อมทั้งปฏิสังขรณ์วัดชุมพลนิกายารามขึ้นใหม่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงพิจารณา เห็นว่า บางปะอินเป็นเกาะกลางน�้า มึความเงียบสงบ มีเส้นทางการเดินเรือได้ หลายทาง สมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร และเป็นสถานที่เสด็จประพาสของ พระบรมชนกนาถ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระที่นั่งและสิ่งก่อสร้าง ต่าง ๆ ส�าหรับแปรพระราชฐานดังที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง พระราชวังบางปะอินเป็นสถานที่ประทับหลบ ภัยของพระบรมวงศานุวงศ์ โดยนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ส�าเร็จราชการแทนพระองค์
Nakhon
และได้จัดให้มาประทับยังพระราชวัง
คงใช้เป็นสถานที่เสด็จแปรพระราชฐาน
Phra
Si Ayutthaya

มหาราช ยามเสด็จจากเมืองพิษณุโลก เพื่อมาเฝ้าพระราชบิดาที่กรุงศรีอยุธยา

พระราชวังแห่งนี้พระนเรศวรทรงใช้

เป็นกองบัญชาการรับศึกหงสาวดีเมื่อ

ปี พ.ศ. 2129 นอกจากนี้ยังเคยเป็นที่

ประทับของพระมหากษัตริย์และพระ มหาอุปราชที่ส�าคัญถึง 8 พระองค์ คือ

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จ พระเอกาทศรถ เจ้าฟ้าสุทัศน์ สมเด็จ พระนารายณ์มหาราช

บริเวณใกล้เคียงไว้เป็นจ�านวนมาก มา เก็บรักษาไว้ที่พระราชวังจันทรเกษม จน ในปี พ.ศ. 2445 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ ได้ทรง แนะน� า ให้พระยาโบราณราชธานินทร์ จัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์ ที่เรียกว่า โบราณ พิพิธภัณฑ์ โดยใช้ตึกโรงม้าพระที่นั่ง เป็นที่เก็บรวมรวม

ต่อมาในปี พ.ศ. 2447 พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระ ราชด�าริโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายวัตถุต่างๆ

จากโรงม้าพระที่นั่งเข้ามาเก็บรักษา และตั้งแสดงที่บริเวณอาคารพลับพลา จตุรมุข และต่อเติมระเบียงตามแนว อาคารด้านทิศเหนือและทิศตะวัน ออก เพื่อจัดตั้งวัตถุ

ใช้ชื่อพิพิธภัณฑ์

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 พพธภณฑสถานแหงชาต จนทรเกษม พระราชวังจันทรเกษม หรือ วังหน้า ตั้งอยู่ริมแม่น�้ า ป่าสัก (คลองคูขื่อหน้า) ต� า บลหัวรอ อ�า เภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เป็นพระราชวัง ที่ปรากฏหลักฐานตามพระราช พงศาวดารสันนิษฐานได้ว่า สร้าง ขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2120 ในสมัย สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เพื่อ ให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระนเรศวร
ศักดิ์
กรม พระราชวังบวรมหาเสนาพิทักษ์ ภายหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2310 พระราชวัง จันทรเกษมได้ถูกทิ้งร้างไป จนกระทั่ง ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2404 ทรงโป รดฯให้พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า ชิดเชื้อพงศ์เป็นแม่กองในการดูแล ก่อสร้างพระต� า หนักและพลับพลาที่ ประทับ จึงได้มีปรับปรุงบูรณะ เพื่อใช้ ส�าหรับเป็นที่ประทับในเวลาที่พระองค์ เสด็จประพาสพระนครศรีอยุธยา และ โปรดพระราชทานนามว่า พระราชวัง จันทรเกษม เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2436 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทาน พระราชวังจันทรเกษมให้เป็นที่ท�าการ ของมณฑลกรุงเก่า โดยใช้พระที่นั่ง พิมานรัตยาเป็นที่ท� า การ จนพระยา โบราณราชธานินทร์ ด�ารงต�าแหน่งสมุห เทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า ได้มีการจัด สร้างอาคารที่ท�าการภาค ขึ้น แล้วย้าย ที่ว่าการมณฑลจากพระที่นั่งพิมานรัต ยามาตั้งที่อาคารที่ท�าการภาค
ขุนหลวงสร
(พระเจ้าเสือ) สมเด็จพระเจ้าท้าย สระ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
พระยา โบราณราชธานินทร์ ได้รวบรวมวัตถุ สิ่งของส�า คัญในบริเวณกรุงเก่าและ
ศิลาจารึก และ ประติมากรรมต่างๆ
ว่า อยุธยาพิพิธภัณฑ์ ต่อมา ในวันที่

สร้างขนานไปกับแนวก�าแพงด้านทิศตะวันตกต่อ

ด�ารงต�าแหน่งสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า ระเบียงจัดตั้งศิลาจ�าหลัก

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 51 12 กุมภาพันธ์ 2479 กรมศิลปากร ได้ประกาศให้ อยุธยาพิพิธภัณฑ์เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ใน นาม พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม สถาปัตยกรรม สิ่งก่อสร้างที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน ส่วนใหญ่สร้าง ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งใช้เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์และที่ท�าการ มณฑลเทศาภิบาล จนกระทั่งในสมัยรัชกาลที่ 7 ได้มี การบูรณะซ่อมแซมอีกครั้ง • ก�าแพงพระราชวัง ปัจจุบันก่อเป็นก�าแพงอิฐ มีใบ เสมา มีประตูด้านละ 1 ประตู รวม 4 ด้าน แต่เดิมนั้น คาดว่ามีก�าแพง 2 ชั้น เช่นเดียวกับวังหลวง • พลับพลาจตุรมุข ตั้งอยู่บริเวณก�าแพงด้านหน้า ชานของพลับพลา ในสมัย ร.4 โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง อาคารพลับพลาทรงจตุรมุขแฝด เพื่อใช้เป็นท้องพระ โรงส�าหรับออกงานว่าราชการ และที่ประทับในเวลา เดียวกันต่อมาแต่เดิมทีบริเวณที่ตั้งพลับพลาจตุรมุข ซากแนวอาคารก่ออิฐถือปูน • พระที่นั่งพิมานรัตยา เป็นหมู่ตึกกลางพระราชวัง มี 4 หลัง คือ อาคารปรัศว์ซ้าย อาคารปรัศว์ขวา พระที่นั่งพิมานรัตยา และศาลาเชิญเครื่อง • พระที่นั่งพิสัยศัลลักษณ์ (หอส่องกล้อง) ตั้งอยู่ บริเวณก�าแพงด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ เป็นอาคาร หอสูง 4 ชั้น ที่สร้างขึ้นครั้งแรกในสมัยสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช ต่อมาในสมัย ร. 4 ได้ทรงสร้างขึ้น ใหม่อีกครั้งตามแนวรากฐานอาคารเดิม และใช้เป็นที่ ประทับทอดพระเนตรดวงดาว • ตึกโรงม้าพระที่นั่ง ตั้งอยู่ริมก�าแพงด้านทิศตะวัน ตกเฉียงเหนือ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน 2 ชั้น • อาคารสโมสรเสือป่า ตั้งอยู่บริเวณก� า แพง พระราชวังด้านทิศตะวันออก สร้างขึ้นในสมัย ร.6 ตึกที่ท�าการภาค (อาคารมหาดไทย) เป็นอาคารชั้น
กับทิศใต้
เดียว
สร้างขึ้นในสมัยพระยาโบราณราชธานินทร์
ใช้ส�าหรับเป็นที่เก็บรักษา บรรดาโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ
ระเบียงหลังคามุงสังกะสี
ทิศเหนือและทิศตะวันออก Phra Nakhon Si Ayutthaya
แต่เดิมสร้างเป็น
ยาวไปตามแนวก�าแพงด้าน

ให้อัญเชิญพระนามสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ผู้ทรงสร้างพระปรางค์วัดราชบูรณะเป็น นามพิพิธภัณฑ์ และเมื่อสร้างเสร็จแล้วพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา เป็น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่ที่ต�า บลประตูชัย ถนนปรีดีพนมยงค์ ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา นับเป็น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ แห่งแรกของไทยที่มีรปแบบการ จัดแสดงแบบใหม่คือ น�าโบราณวัตถุมาจัดแสดงจ�านวนไม่ มากจนเกินไปและใช้แสงสีมาท�าให้การน�าเสนอดน่าสนใจ ประวัติ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา สร้างขึ้นเนื่อง ในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จ พระราชด�า เนินทอดพระเนตรโบราณวัตถุที่พบจากกรุพระ ปรางค์ วัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500 มีพระราชปรารภกับรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ และอธิบดีกรมศิลปากรในสมัยนั้นว่า “โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุที่พบในกรุพระปรางค์วัดราช บรณะนี้ สมควรจะได้มีพิพิธภัณฑสถานเก็บรักษา และตั้ง แสดงให้ประชาชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยานี้ หาควร น� าไปเก็บรักษา และตั้งแสดง ณ ที่อื่นไม่” ด้วยเหตุนี้ กรมศิลปากรจึงได้สร้าง พิพิธภัณฑสถานแห่ง ชาติ เจ้าสามพระยา ขึ้นเพื่อเก็บรักษาจัดแสดงโบราณวัตถุ ที่พบจากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ และโบราณวัตถุพบใน พพธภณฑสถานแหงชาต เจาสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยใช้เงินบริจาคจากประชาชน และผู้บริจาคได้รับพระพิมพ์ที่พบจากกรุพระปรางค์วัดราช บูรณะเป็นการสมนาคุณ ทั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ
พระบรมราชินีนาถ
เมื่อ วันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2504 โบราณวัตถุที่ส�าคัญ อาทิ พระแสงดาบทองค�า ขนาด ยาว 115 ซม. กว้าง 5.5 สมัยอยุธยา ได้จากกรุพระปรางค์วัด
เสด็จพระราชด�าเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ

6 ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของกรมชลประทาน ลักษณะของเขื่อนเป็นบานเหล็กจ�านวน 5 ช่องท�า

หรือถ้าใครอยากถ่ายภาพเก็บไว้เป็นที่ ระลึก เชื่อนพระราม 6 เป็นสถานที่ที่เหมาะกับการ

ถ่ายภาพพระอาทิตย์ตกดินเช่นเดียวกัน นอกจาก นี้บริเวณริมเขื่อนมีศูนย์จ� า หน่ายสินค้าหนึ่งต� าบล

หนึ่งผลิตภัณฑ์ให้นักท่องเที่ยวได้ชมและเลือกซื้อ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 53 เขื่อนพระราม 6 เป็นเขื่อนทดน�้าแห่งแรกของ ประเทศไทย สร้างกันแม่น�้าป่าสักเพื่อเก็บน�้าไว้ใช้ใน การเกษตร เขื่อนพระราม 6 ตั้งอยู่ที่หมู่ 10 ต� า บลท่า หลวง อ� า เภอท่าเรือ เป็นเขื่อนทดน�้ า แห่งแรกของ ประเทศไทย
การเกษตร สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 เดิมชื่อ เขื่อน พระเฑียรราชา
หน้าที่เป็นประตูระบายน�้ า ขนาดใหญ่ สามารถส่ง น�้าให้พื้นที่เพาะปลูกกว่า 680,000 ไร่ นักท่องเที่ยว สามารถพักผ่อนหย่อนใจ สูดอากาศบริสุทธิ์ริมเขื่อน อันเงียบสงบ
สร้างกันแม่น�้าป่าสักเพื่อเก็บน�้าไว้ใช้ใน
ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นเขื่อนพระราม
กลับไปเป็นของฝาก เช่น ผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว ดอกไม้ประดิษฐ์จากกระดาษสา เป็นต้น เขื่อน พระราม 6 อยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยวชื่อดังอื่น ๆ ของ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เช่น วัดสะตือ และวัด ไก่แจ้เป็นต้น จึงเป็นแหล่งแวะพักผ่อนที่ดีก่อนออก เดินทางต่อ ผู้สนใจสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ โทร. 035-341333 เขอนพระราม 6 ราชบูรณะ พระเต้าทักษิโณทกทองค�า ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.7 ซม. สูง 18.5 ซม. สมัยอยุธยา ได้จากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ ช้างทรงเครื่องทองค�า ขนาด ยาว 15.5 ซม. สูง 12 ซม. สมัยอยุธยา ได้จากกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ
ศิลปวัตถุที่พบในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจากการขุด แต่งบูรณะโบราณสถาน ซึ่งจัดแสดง 3 อาคาร ซึ่งได้จัดแสดง เครื่องปั้นดินเผา และเครื่องถ้วย เงินตรา จัดแสดงศิลปะโบราณวัตถุที่พบในประเทศไทยตั้งแต่สมัย ทวารวดี ศรีวิชัย ลพบุรี เชียงแสน สุโขทัย อู่ทอง อยุธยา รัตนโกสินทร์ เพื่อใช้ใน การศึกษาเปรียบเทียบ ฯลฯ การให้บริการ 1.ให้บริการบรรยายน�าชมแก่ สถานศึกษา โรงเรียน สถาบัน ต่างๆ ทั้งในและนอกสถานที่ 2.ให้บริการจ� าหน่ายหนังสือ โปสการ์ด สิ่งพิมพ์ และ ของที่ระลึก เวลาท� าการ 9.00-16.30 น. เปิดให้เข้าชมวันอังคารถึงวันอาทิตย์ หยุดวันจันทร์ ไม่เว้นหยุดราชการและวันหยุดนักขัตฤกษ์
Nakhon Si
นอกจากนี้จัดแสดงในลักษณะของพิพิธภัณฑ์ที่อยู่ในแหล่งอนุสรณ์สถาน คือ จัดแสดงโบราณวัตถุ
Phra
Ayutthaya

แดนอันไกลโพ้น เข้ามาติดต่อท� า การ

ค้าขายกับกรุงศรีอยุธยา “ชาวฮอลันดา” (หรือ ประเทศ

เนเธอร์แลนด์) ก็เป็นชาติหนึ่งที่เข้า

แรกเริ่ม

ชาวฮอลันดายังน�าเข้านวัตกรรมแปลกใหม่ในสยาม

“ชาวฮอลันดา” เข้ามาสมัยพระ

นเรศวรมหาราช (พ.ศ. 2147) เพื่อเจริญ

สัมพันธไมตรี แต่ต่อมาในสมัยพระเจ้า

ปราสาททอง (พ.ศ. 2177) “วีโอซี” ได้

ให้ความช่วยเหลือทางทหาร สยามจึง

ตอบแทนโดยให้พื้นที่ก่อตั้งสถานีการ

ค้าที่ติดแม่น�้

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 54 บ้านฮอลันดา หลักฐานแห่ง ความรุ่งเรืองทางการค้าขายในอดีต ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี มีชาวต่างชาติหลายชาติมาจากดิน
มาติดต่อทางการค้าเช่นกัน
บรรณาการสยามที่ถูกส่งไปที่จีนใน สมัยราชวงศ์หมิง เนื่องจากจีนเป็น ตลาดใหญ่ที่สุดในเอเชีย และหากจะ ค้าขายกับจีน จะต้องเข้าไปในฐานะผู้ ถวายบรรณาการเท่านั้น แต่เมื่อมาติดต่อกับสยามก็พบว่า สยามมีอะไรมากกว่าที่เขาคิด
กวาง
จึงท�าให้วัตถุประสงค์ในการเข้ามาของ ชาวฮอลันดาเปลี่ยนไป ในยุคนั้นมีการตั้งบริษัท “วีโอซี” ซึ่ง เป็นบริษัทการค้าทางทะเลที่ใหญ่ที่สุด ในโลกในขณะนั้น เกิดจากการระดม ทุน ซื้อขายหุ้นกัน เพื่อเป็นการกระจาย ความเสี่ยงในการลงทุนไปยังผู้ร่วม ทุนต่างๆ “วีโอซี”มีเรือเดินสมุทรเกือบ 5,000 ล�า ลูกจ้างเกือบ 1,000,000 คน ส่งมาประจ�าการที่เอเชีย แค่พรรณนา เท่านี้ ท่านผู้อ่านก็คงเห็นความยิ่งใหญ่ ของบริษัทแห่งนี้แล้ว
เดิมทีเขาเข้ามาเพื่อหวังติดตามเรือ
สยาม เป็นดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก มีสินค้าที่ต้องการ ได้แก่ ไม้ฝาง หนัง
หนังปลากระเบน แร่ดีบุก เป็นต้น
า เจ้าพระยาและอยู่นอก เกาะเมือง ซึ่งก็คือบ้านฮอลันดาใน บานฮอลนดา ปัจจุบันนั่นเอง นอกจากการค้าขายแล้ว
อีกมากมาย เช่น เครื่องแก้ว ขวดไวน์ เครื่องเขียน แว่นสายตา กล้องส่องทางไกล เป็นต้น เป็นการเปิดโลกกว้างให้สยามเห็นถึงเทคโนโลยี นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ ในสมัยนั้นอีกด้วย ก่อนที่จะเสียกรุงศรีอยุธยา พม่าได้ล้อมกรุงศรีฯเอาไว้ จน พ.ศ.2308 ชาว ฮอลันดาและพวกวีโอซีจึงตัดสินใจอพยพคนออกจากกรุงศรีฯ จึงถือว่าเป็นการ สิ้นสุดในการค้าขายสมัยกรุงศรีอยุธยา จนกลางพุทธทศวรรษ 2360 และ 2370 เรือสินค้าของเนเธอร์แลนด์จึงเริ่ม กลับมาค้าขาที่กรุงเทพฯอีกครั้ง หลังจากนั้นรัชกาลที่ 5 เสด็จเยือนเนเธอร์แลนด์ เมื่อปี พ.ศ.2440 เพื่อขอวิศวกรชาวเนเธอร์แลนด์มาวางระบบชลประทาน ประตู น�้าที่ถูกสร้างตอนนั้นบางแห่งจ�านวนมากทั้งในและนอกกรุงเทพฯ ยังใช้งานจนถึง ปัจจุบันนี้ บทสรุป: จะเห็นได้ว่าชาวต่างชาติที่มาจากดินแดนอันไกลโพ้นทะเลนอกจาก เข้ามาเพื่อการค้าขายแล้ว ยังเป็นพันธมิตรช่วยสยามในเรื่องการเมือง การน�า นวัตกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามา ท�าให้สยามเจริญก้าวหน้า ยิ่งขึ้น และเป็นการผูกมิตรสัมพันธไมตรีตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบันอีกด้วย

ในสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ (พ.ศ. 2148-2153) รัฐบาลญี่ปุ่นได้

ออกหนังสือให้กับชาวญี่ปุ่นที่จะท� า ส�าเภาการค้าเรียกว่าใบเบิกร่องประทับ ตราแดง เป็นตัวกระตุ้นให้มีพ่อค้าชาว

เพราะเป็นทางเชื่อมผ่านระหว่างโลกตะวันออก (จีน)

และตะวันตก (กรีก โรมัน) จัดว่าเป็นเส้นทางสายไหมทางบก

เป็น หัวหน้าชาวญี่ปุ่นและเจ้ากรมอาสาญี่ปุ่น ซึ่งเป็นที่โปรดปรานของสมเด็จพระเจ้า ทรงธรรมเข้ารับราชการได้รับความดี ความชอบกระทั่งได้เป็นถึงออกญาเส นาภิมุข และได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าเมือง นครศรีธรรมราช

เธอเข้ารับ ราชการจนได้ต� า แหน่งท้าวทองกีบม้า หัวหน้าพนักงานวิเสทกลาง (ครัว) ดูแล ของหวานแบบเทศและน� า ของหวาน โปรตุเกสมาเผยแพร่ในเมืองไทย

ญี่ปุ่นจารึกอยู่ มีรูปสักการะเจ้าแม่กวนอิมของชาวญี่ปุ่น และกระสุนปืนใหญ่

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 55 พระนครศรี อยุธยา คู่มือ หม่บ้านญี่ปุ่น ตั้งอยู่ที่ต�าบลเกาะเรียน เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ชาว ต่างประเทศเข้ามาค้าขายใน กรุงศรีอยุธยามีจ�านวนมากขึ้น ที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยานั้นถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าโลกยุคโบราณที่ ส�า คัญแห่งหนึ่งก็ว่าได้
จึงมีชาวต่างชาติ เข้ามาท�าการค้าและต่อมาได้ตั้งรกรากอยู่ที่กรุงศรีอยุธยาเป็นจ�านวนมาก หนึ่ง ในนั้นคือชาวญี่ปุ่นที่เข้ามาสร้างหมู่บ้านญี่ปุ่นอยู่กันมากถึง 1,500 คน บริเวณ ริมฝั่งแม่น�้าเจ้าพระยาด้านตะวันออกหรือทางตอนใต้ของเกาะเมือง ด้านเหนือของหมู่บ้านญี่ปุ่นจะมีคลองเล็กๆ คั่นเป็นชุมชนอังกฤษและชุมชน ฮอลันดา ชาวญี่ปุ่นที่มาอยู่กรุงศรีอยุธยาแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ พ่อค้า โรนิน หรือนักรบญี่ปุ่นที่เข้ามาเป็นทหารอาสาญี่ปุ่นในอยุธยา และชาวญี่ปุ่นที่นับถือ ศาสนาคริสต์ ซึ่งเลือกจะออกจากประเทศเพื่อแสวงหาดินแดนที่มีเสรีภาพใน การนับถือศาสนา ตอกย�้าหลักฐานทางประวัติศาสตร์การตั้งรกรากของชาวญี่ปุ่น เมื่อมีการขุดค้นบริเวณวัดสิงห์ปากน�้า ใน พ.ศ. 2476 พบเศียรพระพุทธรูป 44 องค์ พระพุทธรูปองค์เล็ก 21 องค์ โซ่เหล็ก มีด โม่หิน กระทะ เหรียญอันนัม ชิ้นส่วน ดาบ เสื้อเกราะและพระโพธิสัตว์ ซึ่งฮิกาชิอนนะ คันจุ นักประวัติศาสตร์ชาวญี่ปุ่น บันทึกไว้ว่า พระโพธิสัตว์ทรงแบบเตาซาซุมะและหินกลมที่ขุดพบนี้น�ามาจาก ญี่ปุ่น ส่วนการส�ารวจบริเวณพื้นที่ตั้งหมู่บ้านญี่ปุ่นก็พบมีเสาไม้ซึ่งมีอักษรภาษา
หมูบานญปุน
ญี่ปุ่นออกเรือและเดินทางเข้าสู่อยุธยา มากขึ้น สินค้าที่ชาวญี่ปุ่นต้องการ ได้แก่ ไม้ฝาง หนังกวาง และของป่า อยุธยา เองก็น�าเข้าสินค้าจ�าพวกทองแดง ดาบ ญี่ปุ่น ไหม และเครื่องเคลือบต่าง ๆ โดย ชาวญี่ปุ่นในยุคนั้นที่เป็นที่รู้จักกันมาก ที่สุด ได้แก่ นางามาสะ ยามาดะ
ใช้ชีวิตอยู่เมืองไทย จนถึงบั้นปลายชีวิต อีกรายคือมารี ดอญา กีมาร์ เดอ ปี นา ลูกครึ่งญี่ปุ่น-โปรตุเกส ซึ่งสมรสกับ คอนสแตนติน ฟอลคอน หรือ ออกญา วิชาเยนทร์ เสนาบดีกรมท่าในสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ต�า
ทองหยอด
นอกจาก นิทรรศการวิถีชีวิต บุคคลส� า คัญและ การค้าไทย-ญี่ปุ่นในยุคนั้นแล้ว ยังมี สวนญี่ปุ่นริมแม่น�้ า เจ้าพระยาที่น่าไป เที่ยวชม ออกแบบโดยนักออกแบบสวน ชาวญี่ปุ่นชื่อ ฮิโรฮิสะ นาคาจิมา ที่มีผล งานในระดับนานาชาติ มีศาลาญี่ปุ่นให้ นั่งผ่อนคลายชมวิวริมน�้า ได้บรรยากาศ ญี่ปุ่นโดยเดินทางใกล้ ๆ เพียงแค่อยุธยา เท่านั้น Phra Nakhon Si Ayutthaya
เป็นต้น
รับขนมตระกูลทอง อย่างทองหยิบ
ฝอยทองนั่นเอง

ดี ทีพร้อมน�าเสนอให้แก่หน่วยงาน ของท่านได้เข้ามาร่วมสนุกและร่วม เรียนร้ไปด้วยกัน (กรุณาโทรศัพท์ นัดจองวันและรับทราบรายละเอียด ล่วงหน้า)

ส�า หรับนักท่องเที ยวทั วไป สามารถเข้ามาเดินชม ถ่ายรป และ เข้าร่วมกิจกรรมย่อยกับบ้านของ พ่อ อาทิ กิจกรรมสานปลาตะเพียน ใบลาน, กิจกรรมท�าไข่เค็ม, กิจกรรม ปลกข้าว,กิจกรรมปลกไม้มงคล

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 56 ศนย์การเรียนร้เศรษฐกิจพอเพียง
เป็นสถานที่เรียนรู้เชิงเกษตร
น�าเสนอแนวคิด แรงบันดาลใจ และการ สร้างจิตส�านึกดีๆ ผ่านหลักค�าสอนและ หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร(รัชกาล ที่ 9) เพื่อส่งต่อให้เด็กเยาวชน รวม ทั้งประชาชน ได้น� า ไปต่อยอดพัฒนา ตนเองและสังคมต่อไป ภายในมีการสาธิตและฐาน กิจกรรมการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอ เพียงให้ความรู้ด้านต่างๆ อาทิ • พื้นที่นา • พื้นที่เพาะปลูก • พื้นที่เลี้ยงสัตว์ • พื้นที่กักเก็บน�้า • สัมผัสกับสัตว์เลี้ยงต่างๆ อาทิ ไก่ เป็ด แพะ เป็นต้น ส�า หรับหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน บ้านของพ่อ มีกิจกรรมดี
บ้านของพ่อ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ที่ต้องการ
ศูนยการเรยนรู เศรษฐกจพอเพยง
บานของพอ

ราชด� า ริของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิ

ติ์ เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2527 มีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกอบรมงาน

ช่างฝีมือและศิลปะไทยแก่ประชาชน

ในพื้นที่

พระนครศรี อยุธยา เพราะค� า ว่าศูนย์ศิลปาชีพท� า ให้ หลายคนมักมองข้ามที่นี่ แต่รู้หรือไม่ ว่าภายในศูนย์ศิลปาชีพบางไทรไม่ ได้มีแค่การจัดแสดง สาธิต หรือเป็น ศูนย์พัฒนางานฝีมือ ยังมีส่วนอื่นซึ่ง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเหมาะส� า หรับ ครอบครัว
ให้ใช้เวลาเพลินๆ ทั้งวัน ศูนย์แห่งนี้สร้างขึ้นตามพระ
อันจะเป็นการเพิ่มรายได้พร้อม รักษางานศิลป์ไทยให้คงอยู่สืบไป ปัจจุบันศูนย์มีแผนกงานฝีมือต่างๆ มากกว่า 30 แผนก เช่น เครื่องสาน เครื่องเคลือบดินเผา เครื่องหนัง เครื่อง เรือนไม้ ตุ๊กตาชาววัง เป่าแก้ว แกะสลัก ปักผ้า ทอผ้า ฯลฯ เราสามารถเข้าชม ได้ตามความเหมาะสมทุกวัน ยกเว้น วันจันทร์ ตั้งแต่เวลาประมาณ 9.00 –16.00 น. ส�า หรับการท่องเที่ยวส่วนอื่นๆ ภายในศูนย์ศิลปาชีพบางไทร มีดังนี้ • สวนนก เลี้ยงนกประจ� า ถิ่นของ ไทยมากกว่า 100 ชนิด ทั้งนกพบได้ ศูนยศลปาชพบางไทร ทั่วไปและนกหายาก จุดเด่นคือกรงเปิดขนาดใหญ่ซึ่งมีสภาพแวดล้อมแบบสวน ป่าคล้ายคลึงธรรมชาติ ผู้เข้าชมสวนนกมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท เปิด 9.00-17.00 น. หยุดทุกวันจันทร์ • วังปลา หรือสถานแสดงพันธุ์สัตว์น�้า เป็นอะควาเรียมจัดแสดงพันธุ์ปลา น�้า จืดประจ� า ถิ่นทั้งเล็กและใหญ่ นอกจากนี้ยังมีนิทรรศการให้ความรู้เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อม และเรื่องราวด้านทรัพยากรน�้า ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมในการเข้าชม เปิด 10.00-16.00 น. หยุดทุกวันจันทร์ • หมู่บ้านศิลปาชีพ เรือนไทยสะท้อนให้เห็นถึงบ้านเรือนความเป็นอยู่ของผู้คน ในอดีตแต่ละภูมิภาค รวมทั้งจัดแสดงงานหัตกรรมของท้องถิ่นต่างๆ ไม่มีค่าใช้ จ่ายเพิ่มเติมในการเข้าชม เปิดทุกวัน 8.30-17.00 น. • ศาลาพระมิ่งขวัญ อาคารหลักของศูนย์ศิลปาชีพ ชั้นล่างเป็นสถานที่จ�าหน่าย ผลิตภัณฑ์ ชั้นสองและสามจัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับงานฝีมือแขนงต่างๆ แบ่ง เป็นทั้งหมด 5 ห้อง ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมในการเข้าชม เปิดทุกวัน วันธรรมดา 9.00-17.00 น. วันหยุดราชการ 9.00-18.00 น. นอกจากนี้ศูนย์ศิลปาชีพบางไทรยังตั้งอยู่ริมแม่น�้าเจ้าพระยา ริมน�้าจัดท�า เป็นสวนหย่อมและพื้นที่ส�าหรับพักผ่อนหย่อนใจ รับรองเลยว่าต้องใช้เวลาทั้งวัน เชียวล่ะหากอยากจะเที่ยวภายในศูนย์ให้หมดครบถ้วน Phra Nakhon Si Ayutthaya

ถือได้ว่าวัดนักบุญยอแซฟนั้นเป็นเช่น

อนุสรณ์และเป็นพยานยืนยัน

จัดขึ้นทุกปีในวันเสาร์สัปดาห์ที่ 3 ของ

เดือนมีนาคม การเข้าชมควรติดต่อขอนุญาต

จากบาทหลวงผ้รับผิดชอบก่อนล่วง

หน้า โทร. 0 3532 1447

58 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 โบสถ์เซนต์ยอเซฟ เป็นโบสถ์ คริสต์แห่งแรกในประเทศไทย ศิลป แบบฝรั่งเศส สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนกลาง โดยคณะธรรมฑูตน� า โดย
เดิน ทางมาเผยแผ่ศาสนาในดินแดนตะวัน ออกไกล และได้เข้าเฝ้าสมเด็จพระ นารายณ์มหาราชเพื่อขอพระบรมรา ชนุญาตในการสร้างวัด โรงเรียน และ โรงพยาบาลขึ้นในกรุงศรีอยุธยา โดย สมเด็จพระนารายณ์ได้พระราชทาน ที่ดินริมแม่น�้ า เจ้าพระยาเพื่อสร้างวัด และโรงเรียน เรียกกันว่า “ค่ายนักบุญ ยอแซฟ” แต่เมื่อครั้งเสียกรุงครั้งที่ 2 ได้ถูกเผาวอดไป วัดนักบุญยอแซฟใน ปัจจุบันสร้างโดยคุณพ่อแปร์โรซ์ ซึ่ง แล้วเสร็จในปี
สมัยพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
สี เหนือช่องหน้าต่าง พระแท่นหินอ่อน ลวดลายงดงาม
ใช้เป็นที่ประกอบศาสนกิจ ศูนย์รวม ศรัทธาแห่งชาวคริสต์มาจนปัจจุบัน
พระสังฆราชลังแบรต์ เดอลาม็อต และ พระสงฆ์ 2 รูป จากนครปารีส
พ.ศ. 2434 ตรงกับรัช
ตัว โบสถ์มีความสวยสง่าประดับกระจก
ซึ่งได้มีการบูรณะและ
ถึงจุด แรกเริ่มของการเผยแพร่ศาสนาคริสต์ ในประเทศไทย ดังที่ได้จารึกไว้ที่ประตู ด้านในของโบสถ์แห่งนี้ งานฉลองวัด
โบสถเซนตยอเซฟ

เป็นโซนพักผ่อนของควาญ

และช้าง ใครผ่านไปใครผ่านมาก็ป้อน กล้วยอ้อยให้ช้างยื่นงวงมางับได้จาก มือและเซลฟีกับช้างได้จากนอกลานที่ มีเชือกกั้นไว้

อีกส่วนที่น่าไปชมคือ ที่ถือเป็น ไฮไลต์เด็ด มีกิจกรรมถ่ายรูปคู่กับช้าง วันหยุดสุดสัปดาห์และวันหยุดนักขัต ฤกษ์ จะมีโชว์กิจกรรมประกอบจังหวะ ของช้างน้อยที่มีเสียงพากย์ประกอบ เรียกเสียงหัวเราะอย่างเอ็นดู และ กิจกรรมยอดฮิต ลอดท้องช้างเพื่อสิริ มงคลที่แฝงความตื่นเต้นจากวันแรกที่ มีช้างประจ�าการ 8

72

จึงผุดโครงการต่างๆ ที่สร้าง คุณูปการอย่างยิ่งต่อประเทศไทย อาทิ ศูนย์การผสมพันธ์ช้าง (สืบสานสาย พันธุ์) ช้างไทย โครงการอนุบาลช้าง

ความปรารถนาในการตั้งชื่อปางว่า วัง ช้างอยุธยา แล เพนียด เพราะค�าว่า

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 59 พระนครศรี อยุธยา คู่มือ วังช้างอยุธยาแลเพนียด อยู่ตรงข้ามกับคุ้มขุนแผน มีบริการขี่ช้างทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00-17.00 น. ราคาประมาณ 100-500 บาท ขึ้นอยู่กับระยะเวลา 15 หรือ 30 นาที แตกต่างจากเพนียดทุกแห่งในโลก เพราะตั้งเด่นเป็นสง่าอยู่ใจกลางเมือง ที่เป็นเช่นนี้เพราะตั้งใจให้วังช้างอยุธยา แล เพนียด เข้ามาเกื้อกูลการท่องเที่ยว ของเมืองเก่า ในวาระที่องค์กรยูเนสโกแห่งสหประชาชาติประกาศให้อุทยาน ประวัติศาสตร์อยุธยาเป็นมรดกโลก ซึ่งจัดงานเปิดตัวยิ่งใหญ่ เพราะน�าขบวนช้าง ใหญ่ถึง 109 เชือก มาท�าพิธีคล้องช้างตามต�าราหลวงเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2540 แล เพนยด เวลาผ่านไป 20 ปี วังช้างแห่งนี้ได้ กลายเป็นศูนย์กลางช้างรอบด้าน ทั้ง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวซึ่งภายในมี ลาน พักช้างใหญ่
เชือก ปัจจุบันมีลูกหลานเพิ่มขึ้นมากว่า
และมีช้างที่ตกลูกรวมทั้งสิ้น
น้อย โครงการบ้านพักช้างชรา โครงการ ฝึกช้างแบบต� า ราหลวงไม่ผิดไปจาก
แล แปลว่า แลมอง แลเห็น แลดู ส่วนค�าว่า เพนียดหมายถึงที่สถานจับช้างในสมัย โบราณ จึงรวมความได้ว่าเป็นสถาน ที่พักพิงและดูแลช้าง
100 เชือก
เชือก
วงชางอยุธยา
Phra Nakhon Si Ayutthaya

จากการเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็น ระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข

พนม ยงค์ หรืออ� า มาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์

นิวาสสถานหรือสถานที่อันเกี่ยวข้องกับตัวละครในนิทานพื้นบ้านชื่อดังอย่าง ขุนช้าง-ขุนแผนที่ท้องเรื่องสามารถอนุมานได้ว่าเป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นในสมัย กรุงศรีอยุธยาเป็นแน่

ชอบในหมู่เรือนไทยคหบดีโบราณ เหล่านี้และหมายมั่นจะอนุรักษ์ไว้ให้ลูก หลานได้ศึกษาเรียนรู้

เรือนไทยหมู่นี้ทั้งหมดจากบริเวณเกาะ ลอยวัดสะพานเกลือ มาตั้งอยู่ในที่ๆอยู่ ปัจจุบันและให้มีการก่อสร้างเพิ่มเติม พร้อมตั้งชื่อสถานที่นี้ว่า “คุ้มขุนแผน”

ภายในบริเวณคุ้มขุนแผนมีความ ร่มรื่น อากาศบริสุทธิ์จากไม้ยืนต้นและ ไม้ประดับมากมายรอบๆ สนามหญ้า

ด้วยอิฐมอญ ตัวเรือนเป็นเรือนไทย คหบดีโบราณท� า จากไม้ทั้งหลังยกพื้น สูงปล่อยใต้ถุนโล่งตามแบบเรือนไทย โบราณที่มักจะใช้พื้นที่ใต้ถุนบ้านท� า หัตถกรรมผ้าทอหรือกิจกรรมอื่นๆ และ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 ประจำ คุ้มขุนแผน สถาปัตยกรรมเรือนไทยคหบดีภาคกลางโบราณ เมืองกรุงเก่า คุ้มขุนแผน เป็นชื่อเรียกของหมู่เรือนไทยโบราณภาคกลางแบบเรือนคหบดี ไทย ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของพระวิหารพระมงคลบพิตร หันหน้าสู่ถนนศรีสรรเพชญ์ และถนนป่าตอง ต�าบลประตูชัย ตรงข้ามวัดพระราม เดิมเป็นจวนสมุหเทศาภิบาล มณฑลกรุงเก่า ของกรมขุนมรุพงศ์สิริพัฒน์ ตั้งอยู่บริเวณเกาะลอยวัดสะพานเกลือ ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับที่ว่าการมณฑล เมื่อได้ยินชื่อ “คุ้มขุนแผน” เชื่อว่าหลายท่านคงจะนึกไปถึงสถานที่อันเป็น
ละครขุนแผนเลยแม้แต่น้อย เพียงแต่หมู่เรือนไทยโบราณนี้ตั้งอยู่บนบริเวณที่ซึ่ง ประวัติศาสตร์ได้ระบุเอาไว้ว่าเคยเป็น คุกหลวง ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งระบุใน พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาว่า “คุกหลวงนั้นตั้งอย่เกือบกึ่งกลางเมืองใกล้ กับวัดเกษ ตะแลงแกง และที่ปลกพระเมรุมาศ โดยตัวคุกหลวงจะตั้งอย่บนเกาะ กลางคลองนครบาล” ซึ่งไปพ้องกับเรื่องราวในนิทาน ขุนช้าง-ขุนแผนที่ ตอนหนึ่ง ที่ขุนแผนนั้นต้องโทษคดีอาญามีค�าสั่งให้น�าตัวไปจองจ�าในคุกหลวง ดังความใน วรรณคดีตอนหนึ่งที่ว่า ฝ่ายพวกนครบาลได้รับสัง เข้าล้อมหน้าล้อมหลังอย่เป็นหม พาขุนแผนคุมออกนอกประ พระหมืนศรีเอ็นดร้องสังไป ฝากด้วยเถิดพ่อเจ้าทุกเช้าค�า จองจ�าแต่พออัชฌาสัย นครบาลรับค�าแล้วน�าไป เอาตัวเข้าคุกใหญ่ในทันที คุ มขุนแผน ด้วยเหตุนี้เองในปีพ.ศ. 2483 หลัง
ได้มีค�าสั่งย้ายหมู่
แต่แท้จริงแล้วสถานที่แห่งนี้มิได้เกี่ยวข้องอะไรกับตัว
นายปรีดี
มนูธรรมรัฐบุรุษอาวุโส ผู้มีความชื่น
กว้าง และสระน�้ า จากฝั่งแลเพนียด วังช้าง ทางเดินเข้าสู่ตัวเรือนไทยปู

แล้วจะเป็นลักษณะชานพักมีระเบียง

ก่อนที่จะเดินขึ้นบันไดด้านข้างเข้าไปยัง โถงกลางของเรือนที่ยกสูงขึ้นจากชาน

พักประมาณ 1 เมตรอยู่ด้านใน ห้อง

โถงกลางเป็นลักษณะพื้นที่โล่งสี่เหลี่ยม

ตรงช่องกลางของพื้นที่ยกพื้นสูงขึ้น ประมาณ 1 ฟุต มีเสารอบๆ 10 เสา ที่ค�้า ยันหลังคาด้านบนเอาไว้ หลังคา

ชานกว้าง

จั่วเหมือนกันทุกหลัง หลังคาทรงจั่วนี้

นอกจากท� า ให้อากาศถ่ายเทสะดวก

นอกจากเป็นแหล่งเรียนรู้แล้วยังเปิด ให้เช่าส�าหรับประกอบพิธีมงคลสมรสและถ่ายพรีเวดดิ้งในรูปแบบไทยโบราณ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 61 พระนครศรี อยุธยา คู่มือ ยังใช้ส�าหรับเป็นทางน�้าไหลผ่านในฤดู
น�้าหลาก บันไดทางขึ้นเรือนเมื่อขึ้นมา
หมู่เรือนไทยนี้เป็นทรงจั่วสูงชายคายื่น
ยาวเพื่อกันแดดและกันฝน
พูดคุย เตรียมข้าวของเพื่อจะไปท�าบุญ ที่วัดหรือแม้กระทั่งเมื่อนิมนต์พระสงฆ์ มาท� า บุญก็ล้วนแต่ใช้พื้นที่บริเวณ นี้ทั้งสิ้น ประกอบกับประเทศไทยมี สภาพอากาศที่ร้อนอบอ้าว หอนอน ของสมาชิกในบ้านที่เชื่อมต่อจากโถง กลางไปรอบด้านทั้งหมด จะตีฝากระ ดานเรือนกั้นห้องเป็นห้องเล็กๆ ไว้ใช้ เก็บข้าวของและหลับนอนในตอนกลาง คืนเท่านั้น ส่วนในตอนกลางวันสมาชิก ครอบครัวจะมารวมตัวกันอยู่ที่โถง กลางเป็นส่วนใหญ่เนื่องจากมีอากาศ ถ่ายเท ลมพัดเย็นสบายตลอดทั้งวัน หอ นอนของสมาชิกในครอบครัวจะเชื่อม ต่อจากโถงกลางด้วยระเบียงโล่งรอบ ชานกว้างที่ยกสูง หอนอนทุกหลังจะ แยกเป็นสัดส่วนด้วยฝากระดานเรือน
กลางเรือนกินบริเวณพื้นที่ส่วนใหญ่ ของเรือนไทยทั้งหมดเนื่องจากเป็น พื้นที่ส่วนกลาง ไว้ท� า กิจกรรมร่วมกัน ในครอบครัวเช่น การรับประทานอาหาร
หน้าหอนอนมีที่นั่งเล่นและบานประตู เพื่อเปิดเข้าไปด้านใน มีหลังคาทรง
แล้วยังมีประสิทธิภาพในการระบายน�้า ฝนได้รวดเร็วอีกด้วย นอกจากหอนอน แล้วจะมีในส่วนของเรือนครัวที่เชื่อม ต่อจากโถงกลางเช่นกัน โดยใช้ไม่ไผ่ตีระแนงเป็นฝาเรือนเพื่อระบายอากาศและ ควันฟืนไฟที่ใช้ท�า กับข้าว มีเตาไฟและหม้อไหจัดแสดงครัวจ�า ลองให้ได้ชมกัน เรือนไทยคุ้มขุนแผนนี้พื้นเรือนมีการขัดถูจนมันปลาบ เวลาเดินรู้สึกนุ่มเท้าไม่ สะดุดเสี้ยนไม้แต่อย่างใดแถมยังมีการจัดวางที่ค�านึงถึงทิศทางแดดและทิศทาง ลมเพื่อหลบแดด ท�าให้แดดส่องไม่ถึงและช่องลมต่างๆ
อีกด้วย คุ้มขุนแผนตั้งอยู่ที่ต� า บลประตูชัย อ� า เภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยสามารถจอดรถที่แลเพนียดวังช้างได้ แล้วเดินข้ามสะพาน มาประมาณ 100 เมตรก็จะพบกับ “คุ้มขุนแผน” สถาปัตยกรรมเรือนไทยคหบดี ภาคกลางโบราณแห่งเมืองกรุงเก่า พระนครศรีอยุธยา Phra Nakhon Si Ayutthaya
โดยรอบยังท�าให้รู้สึกเย็น สบายตลอดเวลา เรือนไทยคหบดีโบราณ “คุ้มขุนแผน”

อีกจุดเด่นของพุทธอุทยาน มหาราช คือมีตลาดของกินของฝาก เรียงรายตลอดทางเดินไปสักการะ หลวงปู่ทวด ทั้งอาหารมื้อหลัก อาหาร ว่าง ขนมไทยโบราณ เครื่องดื่ม พร้อม สินค้าโอท็อปมากมาย

มหาราช อยุธยา

พุทธอุทยาน

โครงการนี้ได้เริ่ม

ต้นเมื่อปี 2013 โดยคณะสงฆ์และ

ประชาชนในพื้นที่ร่วใจกันสร้างขึ้น มาโดยจะเห็นองค์หลวงปู่ทวดเด่นชัด ด้วยขนาดที่สูงถึง 51 เมตร และหน้า

ตักกว้าง 24 เมตร

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำ หลวงปู่ทวดองค์ใหญ่สีทองอร่าม สังเกตเห็นชัดจากริมถนนสายเอเชีย สร้างขึ้นเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ประชาชน ทั่วไป รวมทั้งตั้งใจให้เป็นหนึ่งใน
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ บนเนื้อที่กว่า 200 ไร่ ภายในอุทยานกว้างขวางร่มรื่น โอบล้อมด้วยบึงน�้าขนาดใหญ่ มีการจัด ท�าพื้นที่อย่างสวยงามให้ประชาชนมาก ราบไหว้องค์หลวงปู่ทวด พระภิกษุซึ่ง ชาวไทยให้ความเคารพอย่างสูงในทุก พื้นที่ทั่วประเทศ และยังถือเป็นสถานที่ ท่องเที่ยว สถานที่พักผ่อนหย่อนใจของ ผู้ผ่านเส้นทางไปมา และตลาดนาหลวงปูทวด พุทธอุทยานมหาราช
โครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาท
รวมถึงมีร้าน กาแฟริมน�้าบรรยากาศดีอีกด้วย ตลาดน�้าหลวงปู่ทวด
ภายในโครงการจะ มี ตลาดน�้าที่น่าเดินตกแต่งบรรยกาศ ได้สวยงามร่มรื่น จ�าหน่าย อาหาร ของ ที่ระลึก สินค้าโอทอป

(ลักษณะเป็นบ้านเรือนไทยหมู่ใหญ่

คงความเป็นสถาปัตยกรรมไทยแบบ

โบราณ) เป็นตลาดโบราณบรรยากาศ

ย้อนยุค ค�าว่า “ตลาดโก้งโค้ง”

า อโยธยาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมไทย นักท่องเที่ยวสามารถเดินชมร้านค้า

พระนครศรี อยุธยา คู่มือ ตลาดน�้าอโยธยาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ที่ พยายามคงความงามและคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมไทย ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ทั้งการแต่งกาย สถาปัตยกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี การละเล่น การแสดงพื้นบ้าน ของกินของใช้ยุคเก่า รวมไปถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่อย่าง ไทย ๆ ที่เรียบง่าย ตลาดน�้
บริเวณเรือนไทย และบนเรือ ที่มีรวมกันถึง 249 ร้าน เพื่อ ชมบรรยากาศตลาดโบราณ ชิมอาหาร และเลือกซื้อของกิน ของใช้กลับไปเป็นของฝาก นอกจากนี้ ยังสามารถใช้บริการ ล่องเรือชมตลาดน�้ า และสนุกสนานกับการแสดงละคร ประวัติศาสตร์ไทยได้อีกด้วย ตลาดโก้งโค้ง ตั้งอยู่หมู่ 5 ถนนบางปะอิน-วัดพนัญเชิง (ติดวัด บ้านเลน) ต� า บลขนอนหลวง อ� า เภอ บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งตั้งอยู่ใกล้กับบริเวณ “บ้านแสงโสม”
เป็นค�าที่ ใช้เรียกตลาดในสมัยโบราณ คือที่คนนั่ง ขายสินค้าจะนั่งอยู่บนพื้น คนที่มาซื้อ จะต้องโก้งโค้งเลือกดูสินค้าที่ตนสนใจ สถานที่แห่งนี้ในอดีตกาลเป็นด่าน ขนอน หรือ ด่านเก็บภาษีในสมัยอยุธยา และเป็นสถานที่ที่มีการซื้อขายแลก เปลี่ยนสินค้านานาชนิดทั้งที่เป็นสินค้า ชุมชนและสินค้าที่มาจากต่างเมือง ผู้ที่ ตลาดนาอโยธยา ตลาดโกงโคง สนใจสามารถเข้ามาสัมผัสบรรยากาศ เก่าๆ แบบสมัยกรุงศรีอยุธยา พบวิถี ชีวิตไทยในอดีต มีการจัดจ�าหน่ายพืช ผัก ผลไม้ปลอดสารพิษจากสวน สินค้า อุปโภคบริโภค รวมทั้งอาหารคาว หวาน นานาชนิด พ่อค้า แม่ค้าแต่งกายย้อน ยุค นอกจากนี้ในช่วงเช้าก่อนเปิดตลาด พ่อค้า แม่ค้า จะมีพิธีร�าวงถวายพ่อปู่ โสม สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในบริเวณตลาดแห่ง นี้ หากใครมาตอนเช้า ๆ หรือมากับเป็น หมู่คณะ ชาวตลาดสวมชุดไทยงดงาม จะออกมาร�ากลองยาวต้อนรับด้วย ไม่ เพียงเท่านั้น เหล่าบรรดาพ่อค้าแม่ขาย ก็แต่งกายชุดย้อนยุครอให้ลูกค้าได้ยล โฉมเช่นกัน สิ่งน่ารักๆ เหล่านี้นับเป็นอีก เสน่ห์หนึ่งของตลาดโก้งโค้งเลยก็ว่าได้ Phra Nakhon Si Ayutthaya

เฉียงใต้ ในบริเวณที่แม่น�้ า ป่าสักและ แม่น�้ า เจ้าพระเจ้าไหลมาบรรจบกัน เป็นแม่น�้ า เจ้าพระยาและไหลออกสู่ อ่าวไทย ซึ่งเป็นเส้นทางคมนาคมและ จุดยุทธศาสตร์ที่มีความส�าคัญส�าหรับ การติดต่อกับระหว่างโลกภายนอกกับ กรุงศรีอยุธยา

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 ป้อมเพชร สันนิษฐานว่าสร้างขึ้น ในในรัชสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชา พ.ศ. 2123 จากการขุดทางโบราณคดี พบว่าป้อมแห่งนี้มีการก่อสร้างทับซ้อน กันถึง 2 ครั้ง ครั้งแรกมีลักษณะเป็นรูป กลมมน ครั้งที่ 2 มีลักษณะเป็นรูป 6 เหลี่ยม สร้างทับลงบนฐานกลมมนเดิม สันนิษฐานว่าป้อมรูปกลมมนเป็นรูป แบบที่ช่างโปรตุเกสเป็นผู้ออกแบบ ดัง สะพานป่าดินสอ เป็นสะพาน เก่าแก่ที่ตั้งอยู่ใน ต� า บลประตูชัย อ�า เภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ใกล้กับ วัดบรม พุทธาราม ลักษณะของสะพานจะเป็น อิฐ พื้นสะพานนั้นก็จะปูด้วยอิฐตะแคง ใต้สะพานจะก่ออิฐสัน ตั้งเป็นลักษณะ ซุ้มโค้งรูปกลีบบัว มี 3 ช่องด้วยกัน โดยที่บริเวณช่องกลางนั้น จะมี ขนาดสูงกว่าช่องอื่นๆ ที่อยู่ทางด้าน ซ้ายและขวา ซึ่งสาเหตุที่ท� า แบบนี้ ก็ เพื่อให้เรือเล็ก รวมทั้งเรือที่มีประทุน หลังคาสัญจรไปมาได้ รูปแบบการสร้าง แบบนี้ สันนิษฐานว่าน่าจะได้รับอิทธิพล จากตะวันตก ในรัชสมัยสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช ปอมเพชร สะพานปาดนสอ ปรากฎหลักฐานในอาณานิคมหลายๆ แห่ง ที่ชาวโปรตุเกสยึดครอง ส่วนป้อม รูปหกเหลี่ยมคงสร้างขึ้นภายหลังโดย การออกแบบของชาวฝรั่งเศสนิยม สร้างดังจะเห็นได้จากป้อมเมืองลพบุรี และเมืองบางกอกที่สรา้งขึ้นในรัชสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ป้อมเพชรเป็นป้อมที่มีขนาดใหญ่ และมีความส� า คัญที่สุดในจ� า นวน 16 ป้อม ที่อยู่รอบพระนคร เนื่องจาก ท�า หน้าที่ในการป้องกันข้าศึกที่มา ทางน�้ า ตรงมุมพระนครด้ารตะวันออก
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 พระนครศรี อยุธยา คู่มือ 2566 Phra Nakhon Si Ayutthaya อยุธยา ... เมืองเก่าทีมีภาพจ�าจากวัฒนธรรม ในอดีตและอัตลักษณ จากความ หลากหลายเชื อชาติของชุมชนเมือง เก่าน รวมถึงเป นสถานที ท่องเที ยว โบราณ สถาน แต่วันน เราจะมาท�าให้รู้ว่า อยุธยา ไม่ได้มีดี เพียงแค่วัดโบราณ มีคาเฟสุดชิค มีสถานทีมีกิจกร รมสนกๆ อาหารอร่อย เหมาะการพักผ่อนส�าหรับ ท่านที ไม่อยากเดินพักผ่อนไกลจากกรุงเทพมาก ใช้เวลาไม่เกิน 1ชั่วโมงครึง หรือเดินทางไปกลับ เช้า-เย็นก็สะดวกสุดๆทั้งการเดินทางด้วยรถส่วน ตัว และขนส่งสาธารณะ หลังจากผ่านช่วงโควิดที ผ่านมาเรามาเริ มต้นท่องเที ยวและหาความสน ก กัน เรามาตะลุยอยุธยากรุงเก่ากันเถอะ ปักหมุดแลนมาร์คใหม่ ไม่ไป ไม่ได้แล้ว มีคาเฟ รมสน ใช้เวลาไม่เกิน 1ชั่วโมงครึ เช้า-เย็นก็สะดวกสุดๆทั้งการเดินทางด้วยรถส่วน
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำ Sriayuthaya Lion Park ÈÃÕÍÂظÂÒ äÅ อ้อน ปาร์ค ที่เที่ยวเปิดใหม่ อยุธยา สวนสัตว์ บรรยากาศดี ที่ให้ทั้งครอบครัวได้ชิลสนุกสนาน ใกล้ชิดสัตว์นานาชนิดๆ เป็นอีกหนี่ง ที่เที่ยว ครอบครัวใกล้กรุงเทพ ที่ห้ามพลาด ใครที่มองหา ที่เที่ยวใกล้กรุงเทพ เช้าไป เย็นกลับ ไปชิงไปเที่ยวกันได้ทั้งครอบครัว เรา ขอแนะน� า ให้หาเวลามาชิลกับ ที่เที่ยวเปิดใหม่ อยุธยา กันที่ Sriayuthaya Lion Park ศรีอยุธยา ไลอ้อน ปาร์ค ค่ะ เป็นสวนสัตว์ ที่บรรยากาศดี พื้นที่กว้างขวาง มีมุมถ่ายรูป ทั่วไปหมดทั้งพื้นที่ อีกทั้งยังให้เราได้ใกล้ชิด สุดๆ กับสัตว์นานาชนิดอีกด้วย งานนี้ เด็กๆ น้องๆ หนูๆ ต้องประทับใจมากๆ เลยทีเดียว ภายในพื้นที่ขนาดใหญ่ และมีสัตว์หลาก หลายชนิดอัดแน่นให้ชม ไม่ว่าจะเป็น ยีราฟ สิงโต ไลเกอร์ จระเข้ ช้าง ม้าลาย อูฐ เต่า ลิง ช้าง เป็ด เป็นต้น และยังมี Bird Dome เป็นโซนจัดแสดงนกแก้วสีสันน่ารัก ให้ได้ไป ชมกันแบบใกล้ชิด จุดเด่นคือ มีไลเกอร์(สิงโต +เสือ) และ ไลไลเกอร์ (ไลเกอร์+สิงโต) ซึ่ง ถือเป็นหนึ่งเดียวในประเทศไทย ศรีอยุธยาไลอ้อนปาร์ค

Sriayutthaya Lion Park

ส�า หรับค่าเข้าสวนสัตว์นั้น ราคาคนละ 100 บาท เด็ก 50 บาท สามารถน� า ไปแลกพวงกุญแจ หรือ ตะกร้าผัก มาได้คนละ 1 ชิ้นอีก หลังจากซื้อตั๋วเข้า ชมเรียบร้อย ด้วยความที่พื้นที่กว้าง ที่นี่จึงมีบริการรถ รับ-ส่ง ไฮไลท์ ของ ศรีอยุธยา ไลอ้อน ปาร์ค นอกจาก ความใหม่ และความเยอะของสัตว์แล้ว ก็กิจกรรมทั้งโชว์ ช้าง และลิงอุรังอุตัง รวมถึงการให้อาหารสัตว์ต่างๆอย่าง ใกล้ชิด รวมทั้ง ถ่ายรูปด้วย • จุดให้อาหารสัตว์ที่เป็นไฮไลท์ เช่น ให้อาหาร จรเข้ ปลาช่อนอเมซอน หนูคาปิบาร่า ฮิปโป กระต่าย ลิงกระรอก ปลาคาร์ฟ นกแก้ว ม้าแคระ • จุดถ่ายภาพกับสัตว์ เช่น นกแก้ว ลูกลิงอุรังอุตัง ลูกช้าง ลูกเสือ ลูกสิงโต ไลเกอร์ ไลไลเกอร์ ม้าแคระ งูหลาม วันและเวลาเปิดปิด เปิดบริการทุกวัน 8:30-17:00 น. ค่าใช้จ่าย ผู้ใหญ่ 100 บาท เด็ก 50 บาท(สูง 100-140 ซม.) เด็กเล็ก (สูงน้อยไม่เกิน 100 ซม.) เข้าฟรี Facebook : Sriayuthaya Lion Park - ศรีอยุธยา ไลอ้อน ปาร์ค
Nakhon Si Ayutthaya
Phra

Camping Fishing แพรี่

Zucata Farm & Cafe

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 2566 Facebook : Zucata Cafe’ Facebook : แพรี่ Camping Fishing ตกปลานอนแพ ริมแม่น�้ า เจ้าพระยา ที่เที่ยวอยุธยา สถาน ที่ที่เหมาะส� า หรับคนที่อยากปลีก วิเวกพักจากสังคมเมืองใหญ่ใกล้ ชิดธรรมชาติริมน�้ า เป็น บรรยากาศ ส่วนตัว ห้องนอนครบครัน และ สามารถตกปลา กุ้งแม่น�้ า มาท�า อาหารได้เองเลย เป็นธรรมชาติ ที่อุดมสมบูรณ์และปลาเยอะมากๆ สายกิจกรรมตั้งแคมป์ห้ามพลาด เด็ดขาด เเลนด์มาร์คแห่งใหม่ในจังหวัด อยุธยา ฟาร์มคาเฟ่ที่เปิดให้เข้า ชมฟรี ไม่มีค่าใช้จ่ายแต่มีค่า อาหารส� า หรับท่านที่อยากป้อน อาหารน้องๆแค่ 20บาท มีสัตว์ มากๆมายที่ให้เด็กๆได้ชม เช่น ยีราฟ อูฐ แกะ เต่าซูคาต้า ปลา คาร์ฟ กวาง กระต่าย นกยูง และอื่นๆอีกเพียบ หากไปเป็น ครอบครัวได้ถ่ายรูปบันทึกความ ทรงจ� า เป็นคาเฟ่ที่เปิดไม่นาน แต่การต้อนรับจากผู้คนล้นหลาม ที่ส�า คัญอาหารอร่อย ราคาไม่ แพง ถ่ายรูปสวยๆ จิบการแฟ ชิลๆได้เลย
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 2566 Facebook : กรุงเก่า On The Beach
Adventures อยุธยาจังหวัดที่ไม่มีทะเล แต่มี บรรยากาศชายหาดริมทะเล คาเฟ่ ที่ตกแต่งสไตร์บีชคาเฟ่ สุดชิค มี มุมถ่ายรูปทุกจุดของคาเฟ่ และ อาหารก็ได้อารมณ์ฟิวบรรยากาศ ริมทะเลมากๆ ไปตอนค�่ า ก็ได้ บรรยากาศดี โรเมนติก ดนตรี เพราะ อาหารเครื่องดื่มอร่อย เข้ากับบรรยากาศและที่ส� าคัญ พนักงานที่นี่อัธยาศัยดีมากๆ สนามขับรถATV แห่งเดียวในอยุธยา ไหว้พระเสร็จ มาขี่รถเอทีวี สนามสนุกๆ ขี่ได้ทุกวัย ต่อด้วย อาหารอร่อยๆ คาเฟ่ขนมหวานสูตรลับ บรรยากาศฟินๆ ริมแม่น�้ า ลพบุรี ใกล้เพนียดคล้องช้าง สนามสุดเอกตรีม EXTREAM ATV ADVENTURES ขับขี่ได้ทุกวัย จะลุย จะชิว ได้ทุกรูปแบบ Ayutthaya
Adventures กรุงเก่า
Nakhon Si Ayutthaya
Facebook : Ayutthaya ATV
ATV
On The Beach Phra
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 อยุธยา สวนน�้ า ใหญ่ อลังการ ใน จ.อยุธยา มีแยกระหว่างสระเด็กและสระผู้ใหญ่ มีเจ้าหน้าที่ คอยดูแลตลอดเวลา ในส่วนสถานที่ธรรมชาติ มากๆ มีมุมให้ถ่ายรูป เยอะ มีร้านอาหาร มีจุดนั่ง รอส� า หรับ ผู้ปกครองที่พาเด็ก ๆ มาเล่นน�้ า สวนน�้า Ayutthaya Water Park พิกัดอยู่ที่ อ� า เภอนครหลวง อยุธยา Night Market ตลาดย้อนยุคยาม ค�่า คืน ที่หาเที่ยวที่ไหนไม่ได้ง่ายๆ ต้องมา ที่นี่ ที่เที่ยวอยุธยา เท่านั้น ซึ่งภายในตลาด ก็จะมีของขายมากมาย อาหารอร่อย ถ่าย รูปเพลิน เดินกันไม่มีเหนื่อยเลยจ้า เพราะ ใครที่ได้มาที่นี่จะเพลิดเพลินไปกับความงาม ของตลาดที่ถูกประดับด้วยไฟสีเหลืองอ่อน ๆ บรรยากาศสมัยอยุธยาเมื่อหนึ่งร้อยปีก่อน และยังมีจุดแคร่ไม้ไผ่ใต้โคมไฟสวยๆ ที่ให้ นั่งทานกินอาหารกันชิลๆ กันอีกด้วย Ayutthaya Water Park Facebook : สวนนำ้าอยุธยาวอเตอร์ปาร์ค Ayutthaya water park Facebook : อยุธยาไนท์มาร์เก็ต-Ayutthaya Night Market Night Market
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน คู่มือ...อยุธยา

0-3533-6191, 08-1913,6811

08-1806-8917

0-3524-1751

08-9129-8684 ร้านโอเคกลาส.....................08-9239-3462

0-3531-4199, 0-3531-4128

0-3524-1648, .................. 0-3524-2909, 0-3524-2667

0-3525-1461

72 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ก กุญเเจ กระจก-ช่าง บจก.เอเชียกลาสคอนสตรัคชั่น
ร้านศรีอยุธยากระจก-อลูมิเนียม
กระจกรถยนต์ บจก.ไทยออโต้กลาส............
กระเบื้องเคลือบ-ผลิตภัณฑ์ บจก.ซีพีเซรามิค...................
กล้องวงจรปิด ก๋วยเตี๋ยว ร้านเพ็ญวัฒนา.(ย่งเฮงจั่น)
ร้านเจริญรุ่งเรือง.....................
ร้านก๋วยเตี๋ยวไก่แม่ประนอม .................. 0-3523-2476, 0-3525-1337 กล่องกระดาษ-ผลิต-จำาหน่าย บจก.เอส.เอ็น.พี.บรรจุภัณฑ์... 0-3527-5445 หจก.ฐิติการช่าง................. 0-3522-4251-2 กลึง-ผู้รับจ้าง-ผู้รับเหมา บจก.ทีดีอีอินดัสเทรียลไลซ์ 0-3571-3550-2 แก๊ส-ติดตั้ง ประเสริฐออโต้เซอร์วิส.......... 0-3523-4090, ..........................................08-1347-0972 บางปะอินสเปเชียลแก๊ส..... 0-3526-2630-1 ร้านกิตติชัยแก๊ส.................... 0-3525-1269, ............................................ 0-3523-2458 สิริรัฐก๊าซ.............................. 0-3524-2460
73 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน คู่มือ...อยุธยา กอล์ฟ-สนาม กก่อสร้าง-รับเหมาทั่วไป ก่อสร้าง-วัสดุ ส.รุ่งเรืองเสาเข็ม..................08-1947-6997 สุชาติอิควิปเม้นคอนสตรัคชั่น 0-3525-2153 หจก.ซีดับบลิวซัพพลายแอนด์เซอร์วิส 0-3523-6590-1 ป.เกียรติศักดิ์เสริมทรัพย์.... 0-3572-3446-8 บจก.อยุธยานานาภัณฑ์.......... 0-3524-4388 วงเดือนการผ้าใบ................... 0-3530-1581 ร้านศิริโรจน์พานิช.................. 0-3524-5880 บจก.บ้านแพนวิสาหกิจ.......... 0-3520-1461, ............................................ 0-3520-1451 บจก.ควอลิตี้คอนสตรัคชั่น 0-3522-1264-72 ร้านเจริญไพศาล..................... 0-3524-1801 ร้านไทยศรีพานิช.................... 0-3524-1801 ร้านประกิจพาณิชย์................ 0-3524-2986, 0-3521-0174 ร้านประมวลพาณิชย์............. 0-3525-1849, ............................................ 0-3525-1249 ร้านล้อซุ้ยเซ้ง........................ 0-3525-1093 ร้านวรภัณฑ์.......................... 0-3524-1077, ........................................... 0-3524-3383, 0-3524-5789 ร้านศิริโภคา........................... 0-3524-2605 บจก.สหกิจ........................... 0-3543-1500, 0-3534-1739 หจก.โสภณวัสดุก่อสร้าง.... 0-3521-1294-6, 0-3524-1011 บจก.วรวิทย์วัสดุก่อสร้างอยุธยา ........................................... 0-3524-1422, 0-3524-2258 อุตสาหกรรมซัพพลาย........ 0-3533-0963-5 กีฬา-อุปกรณ์-เสื้อ-จำาหน่าย เกษตร-ผลิตผล-อุปกรณ์ บจก.แหลมทองเกษตรภัณฑ์ .............. 0-3534-1342-3, 0-3534-1097, ............................................ 0-3534-1109

0-3522-6581-4

0-3525-2033

0-3525-1126, 08-1420-5973

0-3523-0112-3, 0-3527-5462-3

74 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน กลุ่มผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน กำาจัดปลวก ข ขนมปัง-ขนมอบและเค้กขายส่ง-ปลีกและผู้ผลิต บจก.ฟูรูทราโพเทล.............
รุ่งเบเกอรี่..............................
ร้านบริบูรณ์เบเกอรี่...............
ขนส่งสินค้าทางบก-บริการ หจก.อัจฉริยะคอนโทร.......
ข้าว-ผู้ค้า ข้าว-โรงสี โรงสีบุญส่งบ้านแพน............08-1933-4939 ของที่ระลึก ของฝาก

0-3525-8941-4

0-3531-1741-3

75 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน คู่มือ...อยุธยา ค คอมพิวเตอร์-อุปกรณ์ต่อพ่วงผู้จำาหน่าย บจก.สปีดพลัสเทคโนโลยี
เครื่องเขียน-ขายปลีก บจก.อุตสาหกรรมเครื่องเขียนไทย
คอนกรีต-ผลิตภัณฑ์ เครื่องเขียน-ขายส่ง-ผู้ผลิต ร้านดีจริงศึกษาภัณฑ์.............. 0-3521-1277 หจก.ป.วัฒนากรุ๊ป.(บึงง่วนจั๊ว) 0-3525-1282 เครื่องเสียง ร้านแจ่มมณีซาวด์.................08-1353-3590 บจก.โทโฮกุโอเนียร์................ 0-3533-0910 เครื่องจักรกล-ผลิต-จำาหน่าย หจก.เอกพงษ์ก่อสร้าง........ 0-3536-1132-3 บจก.เจมส์ซิตี้เอ็นจิเนียริ่งแมนนูแฟคเจอริ่ง
0-3526-2374 บจก.ไอดี.ซัพพลาย............0-3533-6233-7
08-6010-4881
เครื่องดื่ม-ผู้บรรจุและจัดจำาหน่ายขวดกระป๋อง บจก.โคคา-โคล่า.(ปท)..... 0-3535-0008-15 บจก.พี.เอ็กซ์ยูเนี่ยนแดรี่พล้าน
เครื่องใช้ไฟฟ้า-จำาหน่าย หจก.แหลมทองอยุธยาเอ็นจิเนียริ่ง 0-3525-2655 เครื่องสำาอาง-ผู้จำาหน่าย กาแฟทรีเมจิก......................08-9786-2929 เครื่องปรับอากาศ คลินิค คาร์แคร์ หจก.นวบดินทร์คาร์แคร์.......08-1835-7278 ค่ายมวย เครื่องถ่ายเอกสาร-บริการ บจก.อาร์-วายก็อปปี้ซัพพลาย 0-3521-1025 เครื่องประดับ บจก.อาควา.นิธิอาร่าคอร์ปอเรชั่น ........................................ 0-3571-6375-7 คลังสินค้า งานหล่อ-งานแกะ-งานสี ร้านเชิญแก้ววัสดุ................... 0-3538-9499

0-3523-4109, 0-3523-4110

76 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน จัดหางาน-บริการ บจก.เอ.ท็อปไทม์..................
ช ชมรม ชุบโลหะ เช็คปั๊ม-หัวฉีก เชือก-อวนดักปลา ซ ซื้อ-ขาย แลกเปลี่ยนรถบรรทุก ซ่อมบำารุง ช่างมอเตอร์-เครื่องจักร บจก.บางปะอิน.กรุ๊ป.............. 0-3522-0392 ด ดนตรี-เครื่อง-ผู้ผลิต สถาบันดนตรี.KPN............... 0-3533-7155 ดับเพลิง-เคมี ไดนาโม-ซ่อมและพันมัดข้าวต้ม ดูดวง ต ตัดเลเซอร์ ต้นไม้

0-3525-1383, 0-3532-2500

พรหมโฟโต้............................ 0-3524-1880

บ้านแพนโฟโต้เอ็กซ์เพรส....... 0-3520-1376 ถ่ายภาพ-บริการล้างอัด

0-3520-1376

0-3524-2500, 0-3524-1300

77 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน คู่มือ...อยุธยา เต็นท์ เต็นท์รถมือสอง ตัดเสื้อผ้า ร้านเด่นภูษา..........................
ถ ถมดิน ถ่ายภาพทางพาณิชยกิจ ร้านประเสริฐวีดีโอ................
ศรีอยุธยาโฟโต้เอ็กซ์เพรส...... 0-3525-1124 ถ่ายรูป-ล้างจัด-ขนาดฟิล์มขาวดำา และฟิล์มสี
ไนท์ดิจิตอลแล็บ................
บ้านแพนโฟโต้.......................
ท หมวดท่องเที่ยว นิสชินทราเวลเซอร์วิส 0-3535-6868-70 บจก.นิสชินทราเวลเซอร์วิส 0-3571-1720 พระอาทิตย์ทราเวลอยุธยา 08-9476-6487, 08-6568-3844 ทนายความ สนง.จิรศักดิ์.ธะนีสันทนายความ 0-3520-1364, 0-3521-6244, 08-1991-7702 ที่ดิน-ซื้อ-ขาย บจก.สหรัตนนคร............... 0-3536-4011-3 ที่นอน ท่าเรือ ท่าเรือป้าอ้วน.......................06-2235-1946
0-3523-1446-7

............................................ 0-3571-4555

ธ.กรุงศรีอยุธยา.จำากัด.(มหาชน).สาขาเสนา 0-3520-2009

ธ.ไทยพาณิชย์.จำากัด.(มหาชน).สาขาวังน้อย 0-3521-5404-8

ธ.ไทยพาณิชย์.จำากัด.(มหาชน).สาขาอยุธยา 0-3521-1530-3

ธ.กสิกรไทย.จำากัด.(มหาชน).สาขาวังน้อย 0-3521-5287

ธ.เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร.

0-3524-4841-3, 0-3525-1507

ธกส.อยุธยา.......................... 0-3525-2248

0-3521-7169-70

0-3524-2663

........................................ 0-3537-9350-2

........................................ 0-3532-3597-9

0-3534-1119

0-3533-7122-4

78
ประจำ�ปี 2566 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ทอง-ทองแดง-ช่าง ธ ธนาคาร บมจ.อยุธยา.แคปปิตอลออโต้ลีส
ทำ�เนียบธุรกิจ
สาขาพระนครศรีอยุธยา
ธ.กรุงไทย.สาขาสาขาโรจนะ0-3524-3829 ธ.กรุงไทย.สาขาเสนา.......
ธ.กรุงไทย.สาขาอยุธยา..........
ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาลาดบัวหลวง
ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาถนนโรจนะ
ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาท่าเรือ...
ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขานิคมอุตสาหรรมไฮเทค ........................................ 0-3531-4337-8 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาบางไทร 0-3574-1111-5 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาบิ๊กซีอยุธยา 0-3574-7152-4 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาประตูนำ้าพระอินทร์ 0-3521-9850-4 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาพระนครศรีอยุธยา 0-3524-1783 ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาวังน้อย
ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาศูนย์การค้าอยุธยาพาร์ค.
ธ.กรุงศรีอยุธยา.สาขาเสนา
ธ.กสิกรไทย สาขาตลาดอุสาหกรรมอุสาหกรรม ..บางประอิน..................... 0-3522-1954-5 ธ.กสิกรไทย.สาขาถนนโรจนะ 0-3521-3870-2 ธ.กสิกรไทย.สาขานิคมอุตสาหรรมไฮเทค 0-3535-1686 ธ.กสิกรไทย.สาขาตูนำ้าพระอินทร์ 0-3536-1124-6 ธ.กสิกรไทย.สาขาผักไห่ ............................................ 0-3539-1299 ธ.กสิกรไทย.สาขาเสนา.......... 0-3521-7333 ธ.กสิกรไทย.สาขาอยุธยา ............................................ 0-3525-2255 ธ.ทหารไทย.สาขาเทสโก.โลตัส 0-3574-2030 ธ.ทหารไทย.สาขาบางบาล 0-3530-7942-3 ธ.ทหารไทย.สาขาตูนำ้าพระอินทร์ 0-3521-9784-8 ธ.ทหารไทย.สาขาวังน้อย 0-3521-5649-51 ธ.ทหารไทย.สาขาอยุธยา 0-3524-1417-8 ธ.ทหารไทย.สาขาอยุธยา.พาร์ค ........................................ 0-3521-3061-2 ธ.ทหารไทย.สาขาอุทัย ............................................ 0-3533-5417 ธ.ไทนพาณิชย์.สาขาตลาดบางประอิน ............................................ 0-3526-1547 ธ.ไทยพาณิชย์.สาขาถนนโรจนะ 0-3521-3453-4 ธ.ไทยพาณิชย์.สาขาท่าเรือ 0-3534-1713 ธ.ทหารไทย.สาขาเทศโก้โลตัสเสนา 0-3520-2928-9 ธ.ไทยพาณิชย์.สาขาบางประอิน 0-3526-1980-4 น นิคมอุตสาหกรรม หสกิจท่าเรือ..........................0-3534-1500 นำ้าแข็ง
0-3527-1073
0-3520-2009

0-3572-2002

08-6058-8563,

79 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน คู่มือ...อยุธยา นำ้าดื่ม นำ้ามันรีไซเคิล บจก.วังจุฬา.ดีเวลลอปเม้นท์.(2004)
นวดแผนโบราณ-คาราโอเกะ อลิษานวดแผนไทย.............
นมเปรี้ยว-ผู้จำาหน่าย นำ้ามัน บ บัญชี-สำานักงาน เอส.แอนด์.เจ.การบัญชี......... 0-3524-3432 บ้าน-ที่ดินและสวนเกษตร บ้านเรือนไทยนางพยุง..........08-1757-9699 บ้านจัดสรร แบตเตอรี่ ป ประปา ประกันภัย-สำานักงาน สำานักงานAIA...................... 0-3570-0396,
ประดับยนต์ ป้าย ร้านอาณาจักรอิงค์เจ็ท........... 0-3533-5588,
0-3570-0395

0-3533-7002 ป.กิจทวีวัฒนา....................... 0-3525-4211

0-3524-1156 หจก.ม.บริการ........................ 0-3535-1251

0-3522-1422

0-3522-4089

80 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน
ปั๊มนำ้ามัน บจก.อยุธยาจังหวัดพาณิชย์....
ผ ผลไม้ ผลิตลูกอม บจก.อินปิสโก้.(ประเทศไทย) ............................................
ผ้าม่าน ร้านวารุณีผ้าม่าน....................
พ เพชรพลอย พลาสติก-รับฉีด จันเจริญโฟม...................... 0-3571-8050-5 ส.พลาสติก อยุธยา..............08-3077-2754 ฟ ฟาร์ม เฟอร์นิเจอร์-ผู้จำาหน่าย ไฟฟ้าโรงงาน-อุปกรณ์ หจก.โรจนะอีควิปเม้นท์.1994 0-3570-9816-9 บจก.ประสิทธิ์อุตสาหกรรม.ซัพพลาย .0-3522-6120-1, ................0-3533-0963-5,.0-3522-6528 ฟุตบอล-สโมสร บางปะอิน.อยุธยา.เอฟซี 08-1852-4206

0-3522-9399,

ร้านซาลาเปาอาม่า.................. 0-3523-2880

81 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน คู่มือ...อยุธยา ไฟฟ้า-เครื่องติดตั้ง-จำาหน่าย อยุธยาอุปกรณ์ไฟฟ้า
ภ ภัตตาคารและร้านอาหาร
ไอศกรีมกรุงเก่า...................08-1295-5014 บ้านไม้ริมนำ้า.......................... 0-3521-1516 ร้านอาหารสุนทรี.................... 0-3637-5072 ร้านเปี๊ยกก๋วยเตี๋ยวเรือ........08-1907-9054, 0-3524-5196 ร้านอาหารลูกศิษย์เท้ง............ 0-3524-1246 ร้านอาหารเอมโอษฐ........... 0-3536-6901-2 ร้านตุ๊ก-ตุ๊ก.ก๋วยเตี๋ยวไก่-เนื้อ 0-3538-1418, 08-1434-5184 ครัววังน้อย............................ 0-3527-2055 ร้านอาหารนิมิตดี.................... 0-3525-1033 ร้านลุงนวย........................... 0-3536-1248, ..........................................08-1657-7438

0-3525-1554, ..........................................08-4136-2366

82 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ร้านไก่ย่างแม่ผ่องศรี.............

0-3527-2055

0-3524-3354

บจก.เอเอสออโต้เทค............. 0-3534-5017

หจก.สมออโต้เซอร์วิส............ 0-3534-6357

0-3535-9333

83 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน คู่มือ...อยุธยา ครัวบ้านใหญ่.........................
ร้านอาหารสายนำ้าป้อมเพชร....
ม มอเตอร์ไฟฟ้า ร้านพินิจ.จ.อยุธยา.................
ไม้-ขายปลีก โรงไม้ขายถูก......................... 0-3539-1049 พงษ์รุ่งเรืองค้าไม้.................... 0-3520-1415 บจก.เอ็มแอนด์เอส.เทรด....... 0-3521-0056 พรพนาค้าไม้..........................
0-3525-2153
0-3524-1459 มีด-ผลิต-จำาหน่าย
ล.อรัญญิกพัฒนา...................
มอเตอร์-ศูนย์บริการ ร้านเอกเซอร์วิส..................... 0-3533-7025 สมชายมอเตอร์.................. 0-3533-5597-8 บจก.บางปะอินกรุ๊ป.......... 0-3522-0392-93 พินิจอยุธยา........................... 0-3525-2153 บจก.ศุภวิศว์ซัพพลายแอนด์เอ็นจิเนียริ่ง 0-3523-4753 แม่พิมพ์-ชุบแข็ง บจก.ควอริตี้.......................... 0-3528-7500 ย ยาสีฟัน ยางรถ-ผู้ผลิต-จำาหน่าย หจก.อยุธยาศูนย์ล้อ............... 0-3524-3165 บจก.เอเอสออโต้เทค............. 0-3534-5017 ยารักษาโรค-ผลิต-จำาหน่าย แม่อุ้ย.(ผงระงับกลิ่นกายและกลิ่นเท้า) 08-1876-3823, 08-1264-1924 ร รักษาความปลอดภัย บจก.ชัมม์.(ปท)..................... 0-3536-1639 บจก.เทมการ์ดเซอร์วิส........... 0-3533-0548 รถจักรยานยนต์และรถสกูดเตอร์ หจก..3.จ.เจริญทรัพย์............ 0-3527-1097 รถยก รับเหมาก่อสร้าง

บจก..ช..เชิดศิริวัฒน์............. 0-3539-1157

0-3534-6036-8, 0-3522-6268

0-3570-8301

08-1353-3590

0-3533-0785, ............................................ 0-3520-1478

0-3523-4090

84 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน รับเหมาทั่วไป
รางนำ้าฝน รถจักรยานยนต์-จำาหน่าย รถยนต์-ตกแต่ง-เครื่องเสียง บจก.เพาเวอร์ซาวด์................
ร้านแจ่มมณีซาวด์.................
รถมือสอง รถยนต์-อู่ซ่อม เฟรชโฟล์วเซอร์วิส...............
ร้านเอกเซอร์วิส.....................
รถยนต์-ทัวร์-รับส่งพนักงาน หจก.ชลอการท่องเที่ยว.....
หจก.สกุลนิทัวร์..................... 0-3534-5115 รถบรรทุก-ผู้ผลิต รถยนต์-ชิ้นส่วน-ขายปลีก บจก.เอช-วัน.พาร์ทส์.(ปท)
ประเสริฐออโต้เซอร์วิส...........
รอกเครนไฟฟ้า-จำาหน่าย-ติดตั้ง โรงงานลูกชิ้น
รถเทรนเลอร์ บจก.วีรวรรณ......................... 0-3526-1240 นิวอภิชาติ............................. 0-3537-9591 รีสอร์ท เรือต่อและซ่อม-อุปกรณ์-เครื่องใช้ คานเรือศรีเจริญ 0-3524-2503 รีไซเคิล รับดีดบ้าน โรงเรียน รร.อุดมศิลวิทยา.................... 0-3526-4100
รถแทรคเตอร์ให้เช่า
08-6393-5739
0-3533-7025
บจก.มีเทคอินเตอร์เนชั่นแนล 0-3531-4364-5 รถแทรคเตอร์-รถแม็คโฮ

0-3570-9091

0-3521-7138

0-3534-1088

0-3558-1970

85 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน คู่มือ...อยุธยา ม.เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
รร.เซนต์จอห์นบัปติสต์
รร.เทศบาลท่าเรือประชานุกูล
รร.ประชาศึกษา.(เคียงฮั้ว) ............................................
รร.คุมอง...........................
รร.ศรีประจันต์.เมธีประมุข
0-3521-1629
0-3532-3434-5
รร.ชุมชนโคกม่วง................... 0-3531-1267 รร.ไตรราชวิทยา................. 0-3574-1051-2 รร.วัดบ้านหว้า.....................08-1946-5385 รร.หนองนำ้าส้ม....................08-9672-9595 รร.วัดกระโดมทอง................. 0-3530-1529 รร.คุมอง.............................08-1337-2595 รร.วัดพระญาติการาม...........08-1947-8267 รร.วัดนางคุ้ม......................... 0-3522-3233 ว.เทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา 0-3533-5694 รร.ประเสริฐวิทยาทาน............
รร.จอมสุรางค์อุปถัมภ์............
รร.จิระศาตร์วิทยา..................
รร.ชุมชนป้อมเพชร................ 0-3524-1966 รร.วัดสำาพะเนียน................... 0-3538-6118 รร.บ้านคลองตะเคียน............. 0-3570-1205 รร.ประชาศึกษา..................... 0-3525-1629 รร.ประตูชัย........................... 0-3524-5419 รร.ประสาทวิทย์..................... 0-3520-1717 รร.เทคโนโลยีอยุธยา.............. 0-3524-5996 รร.เทพประสิทธิ์วิทยา............. 0-3539-1281 รร.บางปะหัน......................... 0-3538-1630
0-3534-1732
0-3525-2270
0-3524-1559

............................................ 0-3526-1922 รร.ปราสาททองวิทยา............. 0-3522-1243 รร.ภาชีสุนทรวิทยานุกูล.......... 0-3531-1274 รร.ยอเซฟอยุธยา................... 0-3570-5418

0-3531-1042 รร.ราษฎร์นิรมิตร.................... 0-3523-6221

0-3521-6543

0-3572-0063

0-3527-1123

0-3537-9182

0-3539-6085

0-3524-3207

86 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน รร.บางประอิน(ราชานุเคราะห์.1)
รร.ลาดงาประชาบำารุง.............
รร.วังน้อย(พนมยงค์วิทยา).....
รร.วังน้อยวิทยาภูมิ.................
รร.เทศบาลวัดกลาง................
รร.วัดกลางคลองสระบัว.........
รร.เทศบาลวัดเขียน................
รร.วัดโคกช้าง(ราษฎร์บำารุง)....
รร.วัดทำาใหม่..........................
รร.วัดพระญาติการาม.............
รร.วัดโพธิ์เผือก..................... 0-3579-3702 รร.เทศบาลวัดรัตนไชย...........
รร.รอตเสวกวิทยา..................
รร.ราฎร์บำารุงศิลป์..................
0-3527-1290
0-3534-2600
0-3532-8818
0-3525-1923
0-3535-6243
0-3533-0426
0-3524-3026
0-3524-1829 รร.วัดลาดบัวหลวง(สหมิตรศึกษา)
รร.วัดหัวหัวเวียง.(เขมะสุทธิวิทยาคาร)
รร.วัดใหญ่ชัยมงคล(ภาวนารังสี)
รร.วิเชียนกลิ่นสุคลธ์อุปถัมภ์
รร.ศรีบางไทร......................... 0-3537-1246 รร.ศิริเสนาวิทยา.................... 0-3524-1715 รร.อนุบาลศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ............................................ 0-3536-6016 รร.สาธิตสถาบันราชภัฎ........... 0-3524-5506 รร.อุดมศิลวิทยา................ 0-3526-4100-1 รร.อุทัย................................. 0-3571-1450 รร.เอกอโยธยา...................... 0-3571-9079 โรงเรียนกวดวิชา โรงเรียนคุมอง................... 0-3532-3434-5 โรงเรียนกวดวิชานัมเบอร์วัน 0-3524-5053 โรงเรียนกวดวิชาบ้านครูแอน 0-3532-1165 โรงเรียนกวดวิชาภัทรศึกษา..... 0-3524-4969 โรงเรียนกวดวิชาแม็กส์.อยุธยา 0-3533-5012 โรงเรียนกวดวิชาก้าวหน้าบ้านวิศวะ 0-3532-3474 สถาบันพัฒนาทักษะคณิตศาตร์.คิงแมทส์ ............................................ 0-3532-3280 โรงเรียนกวดวิชาเอ็นคอนเช็ป ........................................ 0-3534-5702-3 โรงพยาบาล รพ.บางไทร............................ 0-3537-1029 รพ.เสนา...... 0-3520-1037, 0-3521-7118 รพ.บางปะหัน........................ 0-3538-1635 รพ.มหาราช....................... 0-3538-9027-8 รพ.วังน้อย............................. 0-3527-1033 รพ.ราชธานี............................ 0-3533-5555 รพ.ศุภมิตรเสนา................ 0-3528-9572-9 รพ.บ้านแพรก........................ 0-3538-6121 รพ.ราชธานี...................... 0-3533-5555-60 รพ.โรจนเวช.......................... 0-3524-9249 รพ.ศุภมิตรเสนา.................... 0-3528-9573 รพ.พระนครศรีอยุธยา............ 0-3521-1888 รพ.ท่าเรือ.............................. 0-3534-1330 รพ.บางซ้าย........................... 0-3537-5223 รพ.บางไทร...................... 0-3537-1029-30 รพ.บางบาล....................... 0-3530-7746-7 รพ.ผักไห่............................... 0-3539-1309 รพ.ภาชี................................. 0-3531-1112 รพ.ลาดบัวหลวง.................... 0-3537-9094 ร้านเช่าชุด โรงพยาบาลสัตว์ โรงแรม-รีสอร์ท-เกสต์เฮ้าส์
0-3527-1010

0-3533-5887

0-3525-1774, ..........................................08-1351-2355

0-3525-1213

0-3521-0941,

0-3520-3190

0-3533-5483-91

0-2619-8352

0-3524-9600-49

JITVILAI.GROUP..AYUTTHAYA โรงแรมเวียงฟ้า...................... 0-3524-3252

0-3533-5483-91

0-3521-2149-50

08-1994-3863, 08-1450-2884

0-3572-0147

0-3570-3664-6

0-3527-2099

0-3524-4483

0-3533-7177

0-3532-1260

87 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน คู่มือ...อยุธยา โอเชี่ยน.โกล์ด.การ์ด..............
ดีโอลด์พาเลชรีสอร์ท............
พียู.เกสต์เฮาส์......................
อยุธยาเพลส.........................
ปิยวรรณรีสอร์ท.....................
วรบุรีอโยธยาคอนเวนชั่นรีสอร์ท
โรงแรมอยุธยาแกรนด์โฮเต็ล
บ้านไม้รีสอร์ท.....................
โฮมสเตย์คลองรางจระเข้
โรงแรมโรสอินน์...............
อยุธยากอล์ฟคลับ.............
โรงแรมกู๊ด.อินน์....................
โรงแรมกรุงศรีริเวอร์...............
แคทารีอยุธยา........................
บริษัทโชคนาบุญ.................... 0-3533-6408 โรงแรมเซเว่นอินน์..................
เดอะ.ลิม่า.เพลส.............
โรงแรมไทยไท.พาเลส ...................................... 0-3521-2338-40 โรงแรมนครอินน์.................... 0-3535-9160 บริษัทนำาชัยเสรีโฮลดิ้ง............ 0-3524-1444 บ้านจิตต์วิไล.......................... 0-3532-1260 โรงแรมบ้านแรมอินน์................ 0-3523-547 โรงแรมพร้อมสุขเพลส........... 0-3532-3999 โรงแรมพระอินทร์ราชา........... 0-3536-1081 โรงแรมริเวอร์วิวเพลส 0-3524-1444 บริษัทโรจนะเอสเตท.............. 0-3533-6933 โรงแรมโรสการ์เด้น................ 0-3524-3653 โรงแรมวรบุรี.อโยธายา.คอนเวนชั่น.รีสอร์ท 0-3524-9600-49 โรงแรมวิชัยเพลส77.............. 0-3533-5477 โรงแรมศรีอยุธยาธานี............. 0-3523-3041 โรงแรมแสงฟ้านนท์................
โรงแรมอยุธยาแกรนด์โฮเต็ล ......................................
บ้านจิตต์วิไล..........................
โรงแรมบ้านแรมอินน์................ 0-3523-547 โรงแรมพร้อมสุขเพลส........... 0-3532-3999 โรงแรมพระอินทร์ราชา........... 0-3536-1081 โรงแรมริเวอร์วิวเพลส............ 0-3524-1444 บริษัทโรจนะเอสเตท.............. 0-3533-6933 โรงแรมโรสการ์เด้น................ 0-3524-3653 โรงแรมวรบุรี.อโยธายา.คอนเวนชั่น.รีสอร์ท 0-3524-9600-49 โรงแรมวิชัยเพลส77.............. 0-3533-5477 โรงแรมศรีอยุธยาธานี............. 0-3523-3041 โรงแรมแสงฟ้านนท์................ 0-3520-3190 โรงแรมอยุธยาแกรนด์โฮเต็ล .......................................0-3533-5483-91 โรงแรมอยุธยาธานี................. 0-3523-2776 โรงแรมโรสอินน์..................... 0-3521-2150 โรงแรมอยุธยา................... 0-3523-2855-8 อุทัยคีรีรีสอร์ท................... 0-3577-3540-4 โรงแรมแอท.อยุธยา............... 0-3534-6747 โรงแรมแอมโปร.เรสชิเดนช์ 0-3533-5577 โรงแรมไอยูเดีย.ออน.เดอะ.ริเวอร์ 0-3532-3208 โรงกลึง โรงกลึงที.จี.แอสโซซิเอท....... 0-3526-1003, ............................................ 0-3526-1501 บจก.ทีเอสพีทูลแอนด์ฮาร์ดเวย์...................... ........................................ 0-3535-6893-4 ร้านผ้าใบ วงเดือนการผ้าใบ................... 0-3530-1581 โรงพิมพ หจก.โรงพิมพ์ศรีอยุธยา......... 0-3533-5377, 0-3533-5410 โรงพิมพ์เทียนวัฒนา.............. 0-3524-3386, 0-3532-3396 ล เลื่อย-โรง ป่าไม้สันติ.............................. 0-3528-3284 โรงเลื่อยจักรหว่าเฮงลี่............ 0-3533-5456 ว วัสดุก่อสร้าง แว่น
0-3533-5333
0-3580-1808-10

0-3521-2231, 08-1643-8351, 08-7810-4455

............................................0-3522-1287

.............................................0-3536-2016

............................................0-3537-1249

............................................0-3524-6947

............................................0-3536-0777

............................................0-3539-1789

88 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน เวดดิ้ง U.Smile.Studio..................
ศ ศูนย์คุ้มครอง ศูนย์การเรียนรู้ ศาลไม้ ส สหกรณ์ สปา สินค้ามือ 2 เสาเข็ม บจก.ศรีอยุธยาคอนกรีต..... 0-3536-1314-5 สังกะสี-สแตนเลส-ผลิต 0-3524-99878 สนามกีฬา สวน สักลาย สถานีตำารวจ สถานีตำารวจภูธรพระนครศรีอยุธยา .............................................0-3524-3444 สถานีตำารวจภูธรนครหลวง ...........................................08-7310-1441 สถานีตำารวจภูธรอำาเภอท่าเรือ ............................................0-3534-1111. สถานีตำารวจภูธรบางปะอิน.สาขาเชียงราก น้อย(โรงพักใหม่)
สถานีตำารวจภูธรพระอินทร์ราชา
สถานีตำารวจภูธรบางไทร
สถานีตำารวจภูธรบางปะอิน.(สาขาบ้านเลน)
สถานีตำารวจภูธรท่าช้าง
สถานีตำารวจภูธรผักไห่
สถานีตำารวจภูธรช้างใหญ่

............................................0-3536-6019

............................................0-3535-6181

............................................0-3527-2191

............................................0-3527-1063

............................................0-3575-0228

บจก.สาวิกา.สแตนเลส........08-1571-4251.

อบต.ธนู................................0-3525-2235 อบต.บ้านชุ้ง.......................... 0-3576-0170

อบต.ลุมพี............................. 0-3579-6501

0-3526-2859, 0-3526-1560

สำานักงานพาณิชย์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ............................................0-3533-6525

............................................0-3525-1016

อบต.บ้านหว้า........................ 0-3535-0776

0-3535-9097, 08-1851-3539

89 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน คู่มือ...อยุธยา
สถานีภูธรอุทัย
สถานีตำารวจภูธรวังน้อย
สถานีภูธรวังน้อย
สถานีตำารวจภูธรบางปะหัน.(ใหม่)
สถานที่ราชการ สหกรณ์การเกษตรบางปะอิน
ชุมนุมสหกรณ์จังหวัดอยุธยา
สำานักงานที่ดินจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

เหล็กกล้า-โรงงานผลิตภัณฑ์ หจก.โลบราเดอร์เอ็นยิเนียริ่งแอนด์คอนแทร็ค

90 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน สาหร่าย-ผลิต-นำาเข้า บจก.เอส.แอนด์.ที.เยนเนอร์รัลฟู้ด ........................................0-3535-3571-2, ..........................................08-9203-7455 ห เหล็ก บจก.สยามไฟว์สตีบ.1995 0-3536-1906-10 บมก.ค้าเหล็กไทย.............. 0-3527-2550-2 บจก.จิรวัฒน์พิบูลย์................ 0-3536-1104 หจก.เจ้าปลุกค้าเหล็ก............. 0-3525-5254 หจก.วังน้อยโลหะภัณฑ์.......... 0-3527-1644
เตอร์ .............................................0-2294-1207 เหล็กกล้า-ผู้จำาหน่ายและคลังสินค้า บจก.กรุงเทพเหล็กกล้า 0-2294-1879-85 บจก.เคจีเอสสตีล............... 0-2689-9047-9 บจก.จุฑาวรรณ.................. 0-2294-0066-8

...................................... 0-2294-5809-11

........................................ 0-2705-2201-5

0-2705-0930-2

08-6127-9154

0-3571-8501-2

91 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน คู่มือ...อยุธยา บจก.สตีลแอนด์ทูลส์
บจก.สเปเชียลสตีล.แอนด์เซอร์วิส
บจก.สินไทยสเปเชียลสตีล
หัวฉีด-ทำาพรบ. ร้านอยุธยาดีเซล.....................0-3524-2576 อ อพาร์ทเม้นต์ อาหารสัตว์-ผู้ขาย กิตติศักดิ์เพ็ทมาร์ท................
แอร์-จำาหน่าย หจก.ยูทิลิตี้อินเตอร์เทค
0-3524-5076
เมืองทองเซอร์วิสและบริการ
บจก.ที.อาร์.แอร์เซอร์วิส ..........................................
อู่-อะไหล่ อุปกรณ์ของใช้ทั่วไป ร้านต้นมะขามเรือง................. 0-3524-2738 อุปกรณ์แต่งรถ อัลลอย-ตัด-พับ สาวิกาอัลลอย....................... 0-3522-6116 บจก.ชัยมงคลอุตสาหกรรมซัพพลาย 0-3533-0218 หจก.สุรพลการช่าง 0-3534-1420 บจก.แปซิฟิคอินซูเลติ้งเมททีเรียล.(ปท) 0-3533-0772-4 บจก.ทีดีดี.อินดัสเทรียลไลซ์ 0-3571-3550-2 บจก.แอดลาสคอปโก้ดีสแฮล์ม 0-3652-9006, 0-3566-1004 อาหาร-เครื่องปรุง บจก.รถรุ่งเรือง....................... 0-2617-9642 บจก.ศรีธรรมราชขนส่ง..... 0-2531-6916-20 อิเล็คทรอนิคส์-ผลิต ห้างสรรพสินค้า
0-3521-1456
92 ทำ�เนียบธุรกิจ ประจำ�ปี 2566 วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน จำาหน่ายรถไถ อาคาร สมบัติไพบูลย์.วิศวกรรม........ 0-3520-3111 อุตสาหกรรม บจก.ศูนย์เทคโนโลยีไฮเทคอยุธยา ............................................0-3535-0137 อาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์ อาหาร-นม-เนย ฟาร์ม แบตเตอรี่ อาหารขบเคี้ยว อิฐทนไฟ อาหารสัตว์ อาหาร-นม-เนย ฮ ไฮโดรลิค-อุปกรณ์จำาหน่าย บจก.อยุธยาไฮดรอลิค........... 0-3521-3597, 0-3533-5707 หจก.ซีดับบลิวซัพพลายแอนด์ซัพพลาย 0-3531-4198,
........................................ 0-3523-6590-1 ฮาร์ดแวร์-จำาหน่าย
วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 93 Phra Nakhon Si Ayutthaya พระนครศรี อยุธยา คู่มือ หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินชีวิตและสุขภาพ กองกำากับการสวัสดิภาพเด็กและสตรี ศูนย์ดำารงธรรม 1567 ศูนย์บริการข่าวอากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา 1182 ศูนย์บริการข้อมูลภาครัฐเพื่อประชาชน 1111 ศูนย์ประชาบดี 1300 ศูนย์ปรึกษาปัญหาชีวิต (สมาคมสะมาริตันส์แห่งประเทศไทย)02-7136793 ศูนย์ปลอดภัยทางนำ้า กรมเจ้าท่า 1199 ศูนย์รับแจ้งเบาะแสยาเสพติด (สนง.ปปส) 1386 ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ 192 สายด่วนการศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ) 1579 สายด่วนนิรภัย (สายด่วนกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย)1784 สายด่วนผู้บริโภคกับ อย. 1556 สายด่วนร้องทุกข์ สคบ. 1166 สายด่วนสุขภาพจิต (กรมสุขภาพจิต) 1323 อุบัติเหตุทางนำ้า กองบังคับการตำารวจนำ้า 1196 เบอร์โทรศัพท์ฉุกเฉินภายในจังหวัดที่ควรทราบ Emergency Phone Number หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน กองปราบปราม 1195 ตำารวจทางหลวง 1193 ตำารวจท่องเที่ยว 1155 บริการการแพทย์ฉุกเฉิน 1669 ศูนย์ควบคุมและสั่งการจราจร 1197 ศูนย์คุ้มครองผู้โดยสารรถสาธารณะ กรมการขนส่งทางบก 1584 ศูนย์จราจรอุบัติเหตุ จส.100 1137 ศูนย์บริการข้อมูลผู้ใช้ทางพิเศษ 1543 สถานีวิทยุ สวพ. 91 1644 สถานีวิทยุร่วมด้วยช่วยกัน FM 102.75 1677 เหตุด่วนเหตุร้าย 191 แจ้งอัคคีภัย สัตว์เข้าบ้าน 199 เบอร์โทรศัพท์ฉุกเฉินภายในจังหวัด 1584 02-2823892 ที่ควรทราบ

สถานีตำารวจภูธร บางซ้าย035595749

สถานีตำารวจภูธร บางไทร035371249

สถานีตำารวจภูธร บางบาล035726447

สถานีตำารวจภูธร บางปะหัน035381347

สถานีตำารวจภูธร บางปะอิน035246946

สถานีตำารวจภูธร บ้านขล้อ035778529

สถานีตำารวจภูธร บ้านแพรก035386117

สถานีตำารวจภูธร ปากท่า035715111

สถานีตำารวจภูธร ผักไห่ 035391789

สถานีตำารวจภูธร พระขาว035726666

สถานีตำารวจภูธร พระนครศรีอยุธยา035243444

สถานีตำารวจภูธร พระอินทร์ราชา035362017

โรจนะ035-249200 โรงพยาบาลศุภมิตรเสนา035-289-572 โรงพยาบาลเอเชียอินเตอร์เนชั่นแนล035-356888

พระอินทราชา0-3536-1262

สถานีดับเพลิง มหาพราหมณ์0-3530-8026

สถานีดับเพลิง เมืองอโยธยา0-3588-1574

สถานีดับเพลิง เมืองเสนา0-3520-1111

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 โรงพยาบาลในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา035-211888 โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช (วาสนมหาเถระ) นครหลวง 035-359970 โรงพยาบาลเสนา 035-352380 โรงพยาบาลท่าเรือ 035-341186 โรงพยาบาลบางซ้าย 035 375 908 โรงพยาบาลบางไทร 035371029 โรงพยาบาลบางบาล 035-302961 โรงพยาบาลบ้านแพรก 035-386222 โรงพยาบาลผักไห่ 035-391306 035246366 โรงพยาบาลภาชี 035-311112 โรงพยาบาลมหาราช 035-389027 โรงพยาบาลลาดบัวหลวง035-379094 โรงพยาบาลวังน้อย
โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช (นครหลวง) พระนครศรีอยุธยา 0-3535-9970 โรงพยาบาลอุทัย 035-356336 โรงพยาบาลการุญเวช อยุธยา035-315195 โรงพยาบาลพีรเวช 081-7765611 โรงพยาบาลราชธานี 035 335 555 โรงพยาบาลราชธานี
สถานีดับเพลิงในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถานีดับเพลิง ท่าเรือ 0-3534-1873 สถานีดับเพลิง บางปะหัน0-3538-1199 สถานีดับเพลิง บางปะอิน0-3526-2289 สถานีดับเพลิง บางไทร 0-3537-1032 สถานีดับเพลิง ผักไห่ 0-3539-1199 สถานีดับเพลิง
สถานีดับเพลิง
035-271033
พระนครศรีอยุธยา0-3525-1111
หมายเลขโทรศัพท์อื่นๆ สำานักงานประชาสัมพันธ์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 0-3533-6550 การไฟฟ้าพระนครศรีอยุธยา0-3524-4401 การประปาพระนครศรีอยุธยา0-3533-6625 สำานักงานขนส่งจังหวัดพระนครศรีอยุธยา035 335 432 สำานักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา035 336 554 สถานีตำารวจรถไฟอยุธยา035243175 สถานีตำารวจท่องเที่ยวพระนครศรีอยุธยา035 242 352 สถานีต�ารวจในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถานีตำารวจภูธรจักราช 035740222 สถานีตำารวจภูธรช้างใหญ่035366019 สถานีตำารวจภูธรท่าช้าง 035360777 สถานีตำารวจภูธร ท่าเรือ 035341111 สถานีตำารวจภูธร
นครหลวง035359767
สถานีตำารวจภูธร ภาชี 035311163 สถานีตำารวจภูธร มหาราช035389153 สถานีตำารวจภูธร มารวิชัย035786558 สถานีตำารวจภูธร ระโสม 035832171 สถานีตำารวจภูธร โรงช้าง035766104 สถานีตำารวจภูธร ลาดบัวหลวง035379784 สถานีตำารวจภูธร วังน้อย035214522 สถานีตำารวจภูธร เสนา 035201683 สถานีตำารวจภูธร อุทัย 035356247 ประจำ เมืองอโยธยา เมืองเสนา

จะมาเที่ยว

ประเทศไทยอย่างคึกคัก หลังจากจีนมี

การผ่อนคลายมาตรการโควิด-19 ด้วย การยกเลิกมาตรการกักตัวผู้ที่เดินทาง

จากต่างประเทศ ตั้งแต่วันที่ 8 มกราคม

2566 เป็นต้นไป

โดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

คาดว่า ในปี 2566 นี้ จะมีนักท่องเที่ยว

จีนเดินทางมาท่องเที่ยวประเทศไทย

มากกว่า 5 ล้านคน เฉพาะในช่วง

ไตรมาสแรก ตั้งแต่เดือนมกราคมถึง

เดือนมีนาคมนี้ น่าจะมีจ�านวนนักท่อง

เที่ยวจีนประมาณ 300,000 คน

การกลับมาของนักท่องเที่ยวจีน

หลังจีนผ่อนคลายมาตรการโควิด-19

ท�า ให้ประเทศไทยมีการเตรียมความ

แล้ว

ที่ประเทศใด ก็ไม่ร้จะไปป้องกันปิดกั้น ชาติใด เพราะการป้องกันประเทศจีน ประเทศเดียวไม่ใช่เป็นวิธีการแก้ปัญหา อาจจะมาจากประเทศใดก็ได้”

นายแพทย์ยง ระบุด้วยว่า จากผล การศึกษา “ประชากรไทยติดเชื้อไปแล้ว

70 เปอร์เซ็นต์ หรือประมาณ 50 ล้าน

คน ถ้าตรวจภมิต้านทานต่อเปลือกนอก ไวรัส จะพบว่าร้อยละ 96 ของประชากร

ไทย มีภ มิต้านทานรับร้แล้ว เกิดจาก การฉีดวัคซีน และ/หรือการติดเชื้อร่วม ด้วย

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 นักท่องเที่ยวจีนแห่มาไทย ตั้งการ์ดเอาไว้ ห้ามตก!! ปีนี้ธุรกิจการท่องเที่ยวของ ประเทศไทยก� า ลังฟื้นตัว จากสถาน การณ์โควิด-19
นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาท่อง เที่ยวประเทศไทย รวมถึงนักท่องเที่ยว จากประเทศจีนที่คาดว่า
ที่คลี่คลาย และจ�านวน
พร้อมเรื่องการอ� า นวยความสะดวก ด้านการท่องเที่ยวควบคู่กับการเตรียม ความพร้อมด้านสาธารณสุข นอกจากการเตรียมพร้อมของ
ยังมีการเตรี ยมพร้อมเรื่องระบบสาธารณสุข ที่ภาค รัฐยืนยันว่า ระบบสาธารณสุขของไทย สามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้ รวมถึง การให้ข้อมูลเกี่ยวกับการระบาดของโค วิด-19 ในเชิงวิชาการ จากที่มีข้อสังเกตว่า ในประเทศ จีนยังมีโควิด-19 ระบาด และนักท่อง เที่ยวจีนอาจน� า เชื้อโควิด-19 มาแพร่ ในประเทศไทย เรื่องนี้นายแพทย์ยง ภู่ วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะ ทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชา กุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิบายว่า “การรับนักท่องเที่ยวชาวจีนไม่ได้ น่ากลัวกว่าชาติอื่น เพราะสายพันธุ์ที่ ระบาดในจีน คือ BA.5 เป็นสายพันธุ์ที่ เคยระบาดในประเทศแล้ว ถ้ามาจาก จีนไม่น่าวิตก ถ้าจะกลัวต้องกลัวสาย พันธุ์ที่ยังไม่เคยระบาดในบ้านเรา การ เกิดสายพันธุ์ใหม่เกิดที่ไหนก็ได้บนโลก แต่ทั่วโลกมีระบบการเฝ้าระวังด้วยการ
ภาคการท่องเที่ยวแล้ว
ถอดรหัสพันธุกรรม เพื่อเฝ้าระวังอย
เมื่อยังไม่ร้ว่าสายพันธุ์ใหม่จะเกิด
และการระบาดของประเทศไทย ก� าลังอย่ในขาลงตามฤดกาล” ดังนั้น คนไทยไม่จ�าเป็นต้องวิตก ต่อนักท่องเที่ยวจ� า นวนมากที่จะเดิน ทางมาท่องเที่ยวประเทศไทย เพราะ ไทยใช้หลักการอยู่ร่วมกับโควิด-19 และ
Phra Nakhon Si Ayutthaya

ใต้มาตรการด้านสาธารณสุขที่รัดกุม

จะท�าให้เกิดความไม่คล่องตัว

เช็ค 5 มาตรการรับ “นักท่องเที่ยว” เริ่มใช้แล้ว เดินทางเข้าไทยต้องปฏิบัติ อย่างเคร่งครัด พบติดโควิด-19 ระหว่างเดินทางต้องรักษาก่อนเที่ยว น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รอง โฆษกประจ� าส�า นักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า เมื่อวันที่ 10 ม.ค. 66 กรม ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้

เดินทางชาวต่างชาติ (Public Health Measures for Foreign Travelers Entering Thailand) ซึ่งมาตราการ

10 ม.ค. 66 เป็นต้นไป โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ยกเลิกข้อก�าหนดตรวจเอกสาร รับวัคซีน ก่อนเดินทางเข้าประเทศไทย 2. ผู้เดินทางที่มาจากประเทศที่ ก�าหนดให้มีผล ตรวจ RT-PCR เป็นลบ ก่อนจะเดินทางออกจากประเทศไทย จะต้องมีประกันสุขภาพวงเงินไม่น้อย กว่า 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ ที่ครอบ คลุมกาารรักษา โควิด19 ตลอดช่วง ระยะเวลาที่อยู่ในประเทศไทยและ บวกเพิ่มอีก 7 วัน โดยเจ้าหน้าที่ด่าน ควบคุมโรคติดต่อจะสุ่มตรวจเอกสาร รับรองประกันสุขภาพของผู้เดินทาง จากต่างประเทศ หรือ “นักท่องเที่ยว” ดังกล่าวหากพบว่าไม่มีเอกสารประกัน สุขภาพ ผู้นั้นจะต้องซื้อประกันสุขภาพ ก่อนเข้าเมือง ทั้งนี้ ณ วันที่ 10 ม.ค. 66 ส�าหรับ ประเทศที่มีการก� า หนดให้ผู้เดินทาง หรือ “นักท่องเที่ยว” มีผล RT-PCR มี ผลลบก่อนจะออกจากประเทศไทย 2 ประเทศ ประกอบด้วย จีนแผ่นดินใหญ่

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 ใช้แนวทางด้านสาธารณสุขและการขับเคลื่อนเศรษฐกิจควบคู่กันในการบริหาร จัดการการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวที่จะเดินทางมาท่องเที่ยวประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นในปีนี้
ภาย
และมาตรการด้านการท่องเที่ยวที่ชัดเจน จึงถือเป็นสัญญาณที่ดีของการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว ที่คนไทยตั้งตารอ มานานกว่า 3 ปี รัฐบาลยอมปรับเกณฑ์คุมโควิด นทท. ต่างชาติ ยกเลิกตรวจหลักฐานวัคซีน หลังเอกชนท่องเที่ยวไม่พอใจ นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสุข เปิดเผยว่าได้ยกเลิกมาตรการการตรวจเอกสารการได้รับวัคซีนครบ 2 เข็มแก่นักท่องเที่ยวต่างชาติแล้ว หลังจากภาคการท่องเที่ยว ขอให้ทบทวน ค�าสั่งดังกล่าวมีขึ้นหลังผู้โดยสารจ�านวน 269 คน จากสาธารณรัฐประชาชน จีนเที่ยวบินแรก เดินทางถึงไทยแล้วเมื่อ 9 ม.ค. หลังจากจีนเปิดประเทศเมื่อ 8 ม.ค. นี่คือ ความเปลี่ยนแปลงล่าสุดของมาตรการรับนักท่องเที่ยวต่างชาติที่นาย อนุทิน เปิดเผยระหว่างการแถลงข่าวที่สนามบินสุวรรณภูมิเมื่อช่วงบ่าย หลัง จากมาตรการชุดใหม่ที่ออกมาเมื่อวันที่ 5 ม.ค. ส่งผลกระทบต่อนักท่องเที่ยวต่าง ชาติจากประเทศอื่น โดยผู้ประกอบการน�าเที่ยวต่างชาติจากอังกฤษ กลุ่มสแกน ดิเนเวีย เยอรมนี ฝรั่งเศส และรัสเซีย ต่างแสดงความกังวลผ่านมาทาง สมาคม ธุรกิจการท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต, พังงา และกระบี่ นายอนุทิน
โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 มีมติยกเลิกการตรวจเอกสารการได้รับวัคซีนครบ 2 เข็ม แก่ นักท่องเที่ยวต่างชาติตามมาตรการที่ออกมาก่อนหน้านี้ เนื่องจากเห็นว่า มีการฉีด วัคซีนทั้งในไทยและจีนจ�านวนมากแล้ว รวมถึงประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ดังนั้น การ มุ่งเน้นการแสดงหลักฐานการฉีดวัคซีน
ระบุถึงเหตุที่คณะกรรมการด้านวิชาการ ภายใต้พระราชบัญญัติ
ก�าหนดมาตรการสาธารณสุขในการเข้า ประเทศไทย ส�าหรับ “นักท่องเที่ยว” ผู้
ดังกล่าวมีผลตั้งแต่วันที่

(China Mainland) และ อินเดีย(India)

อย่างไรก็ตาม ส�า

หรับหรับผู้ ประกอบภารกิจรวมถึงลูกเรือ นักเรียน

อาจจะใช้หนังสือรับรองจากหน่วยงาน

เจ้าภาพหรือเอกสารแสดงถึงการมี

3. ผู้ที่ถือหนังสือเดินทางไทยและ

ได้รับการยกเว้นจากการตรวจสอบ

เอกสารประกันสุขภาพ

4. สายการบินต้องยึดตามข้อ ก�าหนดที่เกี่ยวข้องและปฏิบัติตามคู่มือ แนวทางตามความเหมาะสม เช่น ขอ ให้ผู้โดยสารสวมใส่หน้ากากตลอดการ

12.15 น. ของ 9 ม.ค. นาย

ทางมาประเทศไทยที่ท่าอากาศยาน

สุวรรณภูมิ หลังทางการจีนทยอยเปิด

ประเทศตั้งแต่วันที่ 8 ม.ค. ส�าหรับเที่ยวบินจากจีนที่รองนายก

ไตรมาสแรกในเดือน ม.ค.-มี.ค. 2566 มีประมาณ 3 แสนคน คิดเป็น 5% ของนัก

โดยคาดการณ์ถึงตัวเลขในแต่ละเดือน ได้แก่ เดือน ม.ค. 60,000 คน ก.พ. 90,000 คน และ มี.ค. 150,000 คน

มีระยะเวลาในการขอท�าหนังสือเดินทางและการขอ วีซ่า และรัฐบาลจีนยังไม่อนุญาตให้บริษัทน�าเที่ยวน�ากลุ่มทัวร์ออกนอกประเทศ ผู้เดินทางจะเป็นนักท่องเที่ยวที่เดินทางด้วยตัวเองและเป็นกลุ่มนักเดินทางระดับ บนที่มีก�าลังซื้อ การเปิดประเทศของจีนเกิดขึ้นท่ามกลางสถานการณ์โควิดในประเทศ ที่ องค์การอนามัยโลก (WHO) เอง ออกมาเตือนว่า จีนก�าลังรายงานผลกระทบ ที่แท้จริงของการระบาดของโรคโควิด-19 ต�่ากว่าความเป็นจริง โดยเฉพาะการ ก�าหนดนิยามสาเหตุการเสียชีวิตด้วยโควิด ซึ่ง ดร. ไมเคิล ไรอัน ผอ. ฝ่ายฉุกเฉิน ของ WHO บอกว่านิยามการระบุการตายนั้นแคบมากเกินไป รวมทั้งตัวเลขผู้ติด เชื้อที่รักษาตัวใน รพ. ผู้ป่วยไอซียู

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 Phra Nakhon Si
พระนครศรี อยุธยา คู่มือ
Ayutthaya
ประกันรูปแบบอื่นรับรองแทน
ผู้โดยสารที่เปลี่ยนเครื่องหรือต่อเครื่อง
เดินทาง ยกเว้นช่วงรับประทานอาหาร หรือในภาวะฉุกเฉิน 5. ผู้โดยสารที่มีอาการของโรคโค วิด19 ระหว่างเดินทาง ได้รับการแนะน�า
ถึงจุดหมาย
า ถามสามารถติดต่อ สายด่วนกรมควบคุมโรค 1422 หรือ ศึกษาข้อมูลที่เว็บไซต์ กรมควบคุมโรค 3 รัฐมนตรีต้อนรับ นทท. จีน เที่ยวบินแรก เวลา
อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และ
พร้อมด้วยนาย ศักดิ์สยาม ชิดชอบ รมว.คมนาคม
พิพัฒน์ รัชกิจประการ รมว.การท่อง เที่ยวและกีฬา จะให้การต้อนรับนักท่อง เที่ยวจากสาธารณประชาชนจีนซึ่งเดิน
ให้รับการตรวจโควิด19 เมื่อเดินทางมา
ส�า หรับผู้มีข้อค�
รมว.สาธารณสุข
นาย
รัฐมนตรีและคณะจะให้การต้อนรับใน ครั้งนี้ คือ เที่ยวบิน MF833 เดินทางมา จากเมืองเซี่ยเหมิน มีผ้โดยสารทั้งหมด 269 คน ก่อนหน้านี้
นายอนุทินกล่าวว่า จากการประมาณการนักท่องเที่ยวจีนใน
ท่องเที่ยวทุกชาติรวมกัน
กรมวิทย์ฯ สุ่มตรวจพบสายพันธุ์ XAY.2 ย�้าสายพันธุ์ในจีนเป็นของเก่า ไม่น่ากังวล นพ. ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ระวังสายพันธุ์โควิด-19 ในไทยว่าล่าสุด พบสายพันธุ์ XAY.2 จ�านวน 1 ราย ใน ไทย ซึ่งกรมได้ส่งข้อมูลเผยแพร่ไปยังฐานข้อมูล GISAID แล้ว กว่าความเป็นจริง ไมเคิล ผอ. ฝ่ายฉุกเฉิน บอกว่านิยามการระบุการตายนั้นแคบมากเกินไป รวมทั้งตัวเลขผู้ติด เปิดเผยการเฝ้า พบสายพันธุ์ XAY.2 จ�านวน 1 ราย ใน GISAID แล้ว
โดยจะเพิ่มขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจาก ปัจจุบันยังมีเที่ยวบินจ�ากัด

ไทยมีมาตรการป้องกันควบคุมโรคตามหลักวิชาการ

จะมีการติดตามและประเมินสถานการณ์

หลบภูมิและแพร่เร็วใกล้เคียงกับ XBB.1.5

อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวต่อถึงกรณีที่

จีนจะเปิดประเทศด้วยว่า จากข้อมูลการเฝ้าระวังสายพันธุ์

ที่ระบาดในจีน พบว่า 97% เป็นสายพันธุ์ BA.5.2 และสาย พันธุ์ BF.7 ซึ่งไม่ได้เป็นสายพันธุ์ใหม่ และไม่ได้มีการแพร่เร็ว

กว่าสายพันธุ์ในประเทศไทย พร้อมระบุว่า ไม่น่ากังวล

ยืนยันไทยพร้อมรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน

ปรับมาตรการตามเชื้อที่กลายพันธุ์

มา มีการประชุมหารือร่วมกันระหว่างกระทรวงสาธารณสุข

กระทรวงการต่างประเทศ และกระทรวงการท่องเที่ยวและ

กีฬา รวมถึงการประชุมของคณะกรรมการด้านวิชาการ ตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ซึ่งคณะกรรมการฯ มีความเห็น ตรงกันว่าควรปฏิบัติตามแนวทางโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง และปฏิบัติกับผู้เดินทางจากทุกประเทศอย่างเท่าเทียม ไม่ใช้

า ลวงด้วยความเชื่องมงาย ที่ยุให้ทิ้งหน้ากาก ไม่ว่าจะวัยผู้ใหญ่หรือเด็ก เพราะเวลาเกิดปัญหาขึ้นมา คน ที่จะต้องเผชิญกับวิกฤตินั้นคือตัวท่านและครอบครัวของ

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารท่องเที่ยวและการลงทุน ประจำาปี 2566 สายพันธุ์ XAY.2 เป็นลูกผสมระหว่างเดลตาสายพันธุ์ย่อย AY.45 กับ โอมิครอนสายพันธุ์ย่อย BA.4/5* ขณะนี้ทั่วโลกพบ 344 ราย อย่างไรก็ตาม คนที่อยู่ใกล้ชิดยังไม่พบการติดเชื้อ ส�าหรับสายพันธุ์ XBB.1.5 ที่มีการระบาดอย่างรวดเร็ว ในสหรัฐฯ จากการเฝ้าระวังยังไม่พบ ในประเทศไทย สาย พันธุ์หลักที่พบในขณะนี้เป็นสายพันธุ์ย่อยโอมิครอน BN.1.3 ซึ่งเป็นลูกหลานของ BA.2.75 ซึ่งข้อมูลความสามารถในการ
นายอนุทินกล่าวว่า
ในการเตรียมรับนักท่องเที่ยวที่ผ่าน
มาตรการด้านสาธารณสุข
ใดประเทศหนึ่ง
เพื่อกีดกันผู้เดินทางจากประเทศ
พร้อมกับยืนยัน ว่าระบบสาธารณสุขของไทยยังมีความพร้อมรองรับ
ในช่วงไตรมาสแรกของปี 2566 เพื่อปรับมาตรการตาม สถานการณ์ของเชื้อกลายพันธุ์ ‘หมอธีระ’ ย�้า จีนเปิดประเทศแล้ว การ์ดอย่าตก ชี้ โอมิครอนติดง่ายมาก นพ.“หมอธีระ” มั่นใจระลอกใหม่มาแน่ หลังเปิดรับนัก ท่องเที่ยว แต่ยังไม่ชัดช่วงไหน แนะคนไทยการ์ดอย่าตก จ�า เป็นต้องป้องกันตัวอย่างสม�่ า เสมอ การ์ดอย่าตก อย่า หลงไปกับค�
ท่านเอง ไม่ใช่แหล่งข่าวลวง ขอให้จดจ�ำบทเรียนควำม สญเสียตลอดสองปีกว่ ำทีผ่ ำนมำให้ดีว่ ำเกิดอะไรขึน มำบ้ ำง และเพรำะเหตุใด กำรใส่หน้ ำกำกอย่ ำงถกต้อง ระหว่ ำงใช้ชีวิตประจ�ำวันนอกบ้ ำน ทังท�ำงำน เรียน และ เดินทำงท่องเทียว จะช่วยลดควำมเสียงลงไปได้มำก ป้องกันตัวไม่ให้ติดเชือ หรือไม่ติดซ�ำ จะดีทีสุด ติดแล้ว ไม่จบแค่ชิลๆ แล้วหำย แต่ป่วยรุนแรง ตำย และเสียง ต่อ Long COVID อีกด้วย
และเป็นไปตามมาตรฐานโลกอยู่แล้ว
สถานการณ์ฉุกเฉิน ขณะนี้มีการใช้เตียงระดับ 2-3 เพียง 5.2% และมีแผนเตรียมความพร้อมหากพบการระบาดของ โรคที่รุนแรงเพิ่มขึ้น นอกจากนี้

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.