PIM Innovation Contest 1-2017 Programme

Page 1













โครงการ My Right คณะศิลปศาสตร

ที่มาของโครงการ : จากการสำรวจยอดการใชสิทธิ์แลกซื้อจากราน 7-11 ในเขต BN 4/3 จำนวน 39 สาขา พบวาเฉลีย่ หนึง่ สาขาในหนึง่ วันมีลกู คากลับมาใชสทิ ธิแ์ ลกซือ้ เพียงรอยละ 32.92 เน�อง มาจาก เม�อลูกคาตองการใชสทิ ธิแ์ ลกซือ้ ลูกคาสวนใหญมกั ลืมนำใบเสร็จมาหรือทำใบเสร็จหายไป นอกจากนี้ ใบเสร็จ บางสวนก็จาง จนไมสามารถใชงานได จึงไดเกิดเปนนวัตกรรม “My Right” ซึ่งจะชวยใหลูกคาเก็บและใชงานสิทธิ์แลกซื้อ ไดงายขึ้น

รายช�อสมาชิก :

1. นางสาวณัฐธยาน สาริกา 2. นางสาวธราธร วงศพานิช 3. นางสาวเบญญา เกิดสมนึก 4. นางสาวรัญชนญนันท กอนอินทร 5. นางสาวโสมนัส พรมมา

อาจารยที่ปรึกษาโครงการ : 1. อาจารยพิชญา ติยะรัตนาชัย 2. อาจารย ดร.ฐิติมา กมลเนตร

การดำเนินงาน 1. ออกแบบรูปแบบการใชงาน โดยไดรับตนแบบและแรงบันดาลใจมาจาก M-Stamp ของแอพพลิเคชั่น 7-11 2. สรางตนแบบฟงกชั่น “My Right” โดยมีลักษณะการใชงานในการเก็บ และใชสิทธิ์แลกซื้อ เหมือนกับ M-Stamp คือ การสแกนบารโคด และ การกดเบอรดวยตนเอง 3. นำตนแบบใหลูกคาทดลองและสำรวจความคิดเห็นจากลูกคา พบวาลูกคา พึงพอใจกับรูปแบบและวิธีการใชงาน แตยังมีขอเสนอแนะในเร�องของการ กดเบอรดวยตนเอง รูปแบบตัวอักษรและสีสันของฟงกชั่น 4. นำตนแบบกลับมาแกไข ในสวนของรูปแบบตัวอักษร สีสัน และวิธีการใชงาน โดยเปลี่ยนจากการกดเบอรดวยตนเองเปนการบอกเบอร ใหกับพนักงาน ตามขอเสนอแนะจากลูกคา 5. นำตนแบบใหลูกคาทดลองและออกสำรวจความคิดเห็นและความพึงพอใจ จากลูกคาอีกครั้ง การใหลูกคาทดลองนี้เปนแคเพียงการทำใหลูกคาเห็นภาพและเขาใจวิธีการ ใชงานฟงกชั่น “My Right” นวัตกรรมจริงจำเปนตองมีการติดตั้งฟงกชั่น “My Right” เปนสวนหนึ่งกับระบบของแอพพลิเคชั่น 7-11

ผลลัพธ : จากการนำตนแบบฟงกชั่น “My Right” ใหลูกคาไดทดลอง จำนวน 100 คน จากราน 7-11 สาขาสาธิต PIM และสาขา หมอชิต 2 จุด 6 พบวา ลูกคารอยละ 87 เห็นวาฟงกชน่ั “My Right” ทำใหการใชสทิ ธิแ์ ลกซือ้ งายขึน้ นอกจากนี้ ลูกคารอยละ 90 เห็นวา การเก็บสิทธิแ์ ลกซือ้ ไวบนแอพพลิเคชัน่ มีสว นทำใหลกู คากลับมาใชสทิ ธิแ์ ลกซือ้ ซึง่ ชวยสงเสริมใหรา น 7-11 มียอดการใช สิทธิ์แลกซื้อเพิ่มขึ้นจากรูปแบบสิทธิ์แลกซื้อจากทายใบเสร็จ และยังสรางความสะดวกใหกับลูกคาของราน 7-11 อีกดวย


โครงการปลอกหูหิ้ว คณะศิลปศาสตร

ที่มาของโครงการ : ประเทศไทยติดอันดับ 5 ของโลกที่ปลอยขยะลงทะเล โดยกวารอยละ 13 ของขยะเหลานัน้ เปนถุงพลาสติก เราจึง คิดคนนวัตกรรมทีจ่ ะทำใหรา นสะดวกซือ้ 7-11 เปนสวนหนึง่ ที่จะชวยประเทศรักษาสิ่งแวดลอมโดยการลดใชถุงพลาสติก นวัตกรรมนี้มีช�อวา “ปลอกหูหิ้ว” จากกระดาษรี ไซเคิล สำหรับใสเคร�องด�ม All Café แทนที่การใชถุงพลาสติก อีกทั้งยังชวยใหลูกคาถือเคร�องด�มสะดวกขึ้นอีกดวย

รายช�อสมาชิก :

1. นางสาวกานตญาณี คุณช�น 2. นางสาวประดิภา สาระจันทร 3. นางสาวธมนวรรณ แกวระยับ 4. นางสาวสมฤทัย จันทรศรีเสาร 5. นางสาวพัชรวรรณ อักษรสวาสดิ์

อาจารยที่ปรึกษาโครงการ : 1. อาจารยพิชญา ติยะรัตนาชัย 2. อาจารย ดร.ฐิติมา กมลเนตร

การดำเนินงาน การจัดทำนวัตกรรมปลอกหูหิ้วสำหรับใสเคร�องด�ม All Café นั้น คณะผูจัดทำไดดำเนินการดังนี้ 1. ออกแบบนวัตกรรมตัวตนแบบจากกระดาษลังเหลือใชเพ�อใหลูกคาทดลองใชจริง 2. พัฒนาตัวตนแบบใหทนทานและสวยงาม โดยตัวตนแบบมีขนาดดังนี้ เสนผานศูนยกลาง 8.5 ซ.ม. สูง 6.5 ซ.ม. กระดาษหนา 270 แกรม และหูหิ้วยาว 18.5 ซ.ม. 3. ทดสอบความทนทานโดยการใสเคร�องด�มเย็นและปน ขนาด 16 ออนซ และ 22 ออนซ แลวแขวนไว ผลปรากฏวาตัวตนแบบ ปลอกหูหิ้วสามารถรับน้ำหนักไดทั้งเคร�องด�มเย็นและปนทุกขนาด และคงสภาพอยู ไดนานถึง 3 ชั่วโมง 4. นำตัวตนแบบไปใหลูกคาทดลองใชจริงและสอบถามความพึงพอใจทางดานรูปลักษณและการใชงาน

การจัดทำนีเ้ ปนเพียงตัวตนแบบเทานัน้ โดยนวัตกรรมจริงตองใชกระดาษทีผ ่ า น กระบวนการรี ไซเคิลจากโรงงานและนำมาตัดพิมพเปนปลอกหูหิ้ว ซึ่งจากการหาขอมูล โรงงานที่จัดทำปลอกไดใชกระดาษรี ไซเคิลในการผลิตอยูแลว จึงสามารถนำตัวตนแบบ ไปสั่งผลิตไดตามความตองการ

ผลลัพธ : หลังจากที่ ไดพฒ ั นาตัวนวัตกรรมตนแบบแลว คณะผูจ ดั ทำไดนำไปใหลกู คาทดลองใชจริง โดยกลุม ตัวอยางเปนพนักงาน บริษทั ทีท่ ำงานในอาคารบางกอกซิตท้ี าวเวอรจำนวน 187 คน โดยผลสำรวจพบวารอยละ 96.71 ของผูใชงานตองการให จัดทำนวัตกรรมออกมาใชจริง เพราะปลอกหูหว้ิ สามารถใชแทนถุงพลาสติกไดและชวยใหการถือเคร�องด�มสะดวกมากยิง่ ขึน้ อีกทั้งปลอกหูหิ้วยังชวยลดการใชถุงพลาสติกในรานสะดวกซื้อ 7-11 ซึ่งถือเปน การสงเสริมภาพลักษณองคกรในดาน ความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมไดอีกทางหนึ่ง


โครงการอุปกรณนับสุกรอัตโนมัติ คณะอุตสาหกรรมเกษตร

ที่มาของโครงการ : จากการฝกปฏิบัติงานในฟารมสุกร ไดพบปญหาวา เกิดขอผิดพลาดในการนับสุกรอยูบอยครั้ง และใชคนจำนวน มากในการนับแตละครั้ง สงผลใหสุกรเกิดอาการเครียด เน�องจากใชเวลาในการนับนาน และจึงมีแนวความคิดทีจ่ ะ แกไขปญหานี้

รายช�อสมาชิก :

1. น.ส.น้ำทิพย ขุนศรี 2. น.ส.ธัญรส ครองสกุล 3. น.ส.ประรุวรรณ มีรส 4. น.ส.พรพิกุล ตอทุน 5. นายกิตติศักดิ์ คงคิรินทร 6. นายอำนาจ อินทศรี

อาจารยที่ปรึกษาโครงการ : 1. อาจารยประชัน ฝายแกว

การดำเนินงาน 1. ศึกษาขอมูลและคนควาวิธีการแกไขปญหา 2. วางแผนการออกแบบผลงานและเตรียมวัสดุอุปกรณ ในการสรางผลงาน 3. สรางอุปกรณตนแบบตามที่ ไดออกแบบไว 4. ทดลองใชงานจริงภายในสถานฝกปฏิบัติงาน 5. ในการปรับปรุงครั้งที่ 2 ไดเปลี่ยนวัสดุอุปกรณ ใหมีความแข็งแรง อายุการใชงานนานและประสิทธิภาพที่สูงขึ้น

ผลลัพธ : 1. ลดแรงงาน 60% (จาก 5 คนเหลือ 2 คน) 2. ลดเวลาลง 50% (เดิม 60 นาทีเหลือ 30 นาที) 3. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. นับสุกรไดแมนยำไมตองนับซ้ำหลายครั้ง 5. ลดความเครียดของสุกร 6. มีความปลอดภัยในการปฏิบัติงานมากขึ้น



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.