1
2
กระบวนการทางาน Goal ( เป้าหมาย ) เป้าหมายของรายงานฉบับนี้คือ ฟ้อนต์ลายมือ ภาษาไทย - อังกฤษ
Tools ( เครื่องมือหลัก ) - เทมเพลตที่เป็น Grid สาหรับเขียนฟ้อนต์ลายมือ
- ปากกาดา
3
- คอมพิวเตอร์
- เครื่องสแกนเนอร์
4
- โปรแกรม FontCreator
- โปรแกรม Adobe Photoshop
5
Do Did Done Do : มีขั้นตอนและหลักฐานแสดง ขั้นตอนการออกแบบฟ้อนต์ลายมือ ทัง้ ภาษาไทย - อังกฤษ จากโปรแกรม FontCreator ขั้นตอนที่ 1 ดาวน์โหลดเทมเพลตที่เป็น Grid สาหรับเขียนฟ้อนต์ลายมือ
ขัน้ ตอนที่ 2 สแกนภาพที่เขียนลงในคอมพิวเตอร์ทาการปรับตกแต่งภาพให้เกิดความคมชัด แล้วเลือก Save เทมเพลตให้เป็นไฟล์ JPG ขั้นตอนที่ 3 เปิดไฟล์เทมเพลตที่เราสแกนในโปรแกรม Photoshop เลือกเครื่องมือ Crop Tool แล้ว ครอบตัวอักษรที่ต้องการ จากนั้นก็ดับเบิ้ลคลิก หรือกด Enter ไปที่เครื่องมือ Magic Wand Tool แล้วกดที่พื้นที่สีขาว จากนั้นกด Ctrl + Shift + I และ กด Ctrl +x
6
ขั้นตอนที่ 4 เปิดโปรแกรม FontCreator เลือก File > Open > Font File
เลือก Font ต้นฉบับคือ AAA-Watin-new แล้ว Save As ให้เป็นชื่อของเราก่อนคือ AAA-WatinSaowalak-2012
ขั้นตอนที่ 5 เปิดไฟล์ที่เป็นชื่อเราขึ้นมา แล้วเลือกตัวอักษรที่เราทาไว้ในโปรแกรม Photoshop
7
จากนั้นกด Ctrl + v หรือ คลิกขวา Paste จะปรากฏภาพของตัวอักษรที่เราได้เลือกมา ให้เราปรับ ขนาด ให้พอดีกับสัดส่วนตามมาตรฐานของอักษรแต่ละตัวให้ครบทุกตัวในเทมเพลต
ขั้นตอนที่ 6 ดัดตัวอักษรทีเ่ ราได้ครอปมาให้สวยงามตามความเหมาะสม อาจคลิกขวาตรงจุด แล้ว เลือก Off Curve เพื่อทาเส้นให้โค้งมน หรือถ้ามีจุดมากเกินไปก็ลบออก
8
ขั้นตอนที่ 7 การจัดวางช่องไฟ ตาแหน่งระยะห่าง หน้า - หลัง ความสูง และกาหนดเส้นโครงสร้าง Guidelines ของตัวอักษร - Cap height คือ ความสูงของตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ - Median คือ ความสูงของตัวอักษรพิมพ์เล็ก - X-height คือ ระยะห่างระหว่างเส้นฐานจนถึงเส้น Median ซึ่งเป็นช่วงของตัวพิมพ์เล็ก - Baseline คือ เส้นฐาน
ขั้นตอนที8่ จัดระยะช่องไฟของอักษร ได้โดย คลิกขวา Properties
9
จากนั้นปรับระยะห่าง ตรง Glyph Metrics ให้มีค่าตรงตามความเหมาะสมของแต่ละอักษร ควรกด Test หรือ F8 เพื่อทาการตรวจระยะห่าง ช่องไฟ ความสูง โดยเราควรตรวจให้ครบถ้วนอย่าง ละเอียด โดยเฉพาะ สระและพยัญชนะในภาษาไทย
10
ขั้นตอนที9่ เมื่อเราจัดวางช่องไฟ ตาแหน่งระยะห่าง หน้า - หลัง ความสูง ของตัวอักษรครบทุกตัวแล้ว ให้คลิกไปที่ Font > Test เพื่อทดสอบการพิมพ์ ตรวจสอบระยะช่องไฟของแต่ละอักษร หากยังไม่ สมบูรณ์ ให้แก้ไขตามขั้นตอนที่ 8
ภาพที่ 2 ภาพแสดงการ Test ตัวอักษร ที่มา : สุทธิชัย อุดมทรัพย์
Did : ผลที่ได้รับคือ ฟ้อนต์ลายมือ ภาษาไทย - อังกฤษ จากโปรแกรม FontCreator จะได้ฟ้อนต์ชื่อ AAA-sutthichai-wartin-2012
11
12
13
14
ภาพที่ 3 ภาพแสดงฟ้อนต์ลายมือ ภาษาไทย - อังกฤษ ที่มา : สุทธิชัย อุดมทรัพย์
Done : ได้นาไปทดสอบ – สร้าง - ประยุกต์ - ใช้ประโยชน์ คือ นามาติดตั้งเพื่อใช้เป็นแบบพิมพ์ในรายงานของวิชาการออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์
ข้อมูลแบบตัวพิมพ์ ( Font Information ) ชื่อแบบตัวพิมพ์ (Typeface/Font Name ) ชื่อ AAA-Watin-sutthichai -2012 ประเภทของไฟล์ตัวพิมพ์ OpenType Layout, TrueType Outlines ออกแบบโดย นายสุทธิชัยอุดมทรัพย์ รหัสนักศึกษา 5411307357 ออกแบบตัวอักษรเพื่อการพิมพ์ ARTD2304 กลุ่มเรียน 102 สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 13 เดือน มกราคม พศ. 2556
ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาลาติน ( Latin Characters ) ได้แก่ ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwxyz!@#%^&*()_+|{}[]:"<>?;'",./\*-.=;'
ตัวอย่างรูปแบบตัวอักขระภาษาไทย ( Thai Characters ) ได้แก่ กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ๆๅ฿อะอาอุึอูอิอีออึ ือ่อ้อ๊ออ๋ ์อาเแโใไ?
15
ข้อความสาหรับการทดสอบการพิมพ์รับคาสั่งพิมพ์ และเพื่อแสดงตาแหน่งการ พิมพ์รูปอักขระที่ออกแบบ - จัดช่องว่าง ช่องไฟระหว่างรูปอักขระและระหว่างคา ทั้งชุดคือภาษาอังกฤษกับภาษาไทย In typography, a font is traditionally defined as a quantity of sorts composing a complete character set of a single size and style of a particular typeface. For example, the complete set of all the characters for “9-point Bulmer” is called a font, and the “10-point Bulmer” would be another separate font, but part of the same font family, whereas “9-point Bulmer boldface” would be another font in a different font family of the same typeface. One individual font character might be referred to as a “piece of font” or a “piece of type”.Font nowadays is frequently used synonymously with the term typeface, although they had clearly understood different meanings before the advent of digital typography and desktop publishing. ในทางวงการพิมพ์นั้นกล่าวถึงฟ้อนต์โดยทั่วไปว่า หมายถึงตัวอักษรที่ใช้เป็นแบบตัวเรียงพิมพ์เนื้อหา ที่มีขนาดและรูปแบบเป็นชุดเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่นแบบตัวอักษรที่ใช้ในการเรียงพิมพ์เนื้อหาที่ทา่ นกาลัง อ่านอยู่นี้ มีชื่อแบบตัวอักษรชุดนี้ว่า บางพูด(Bangpood) ที่ประกอบด้วยรูปอักขระ(Glyphs) ของตัว พยัญชนะ (Consonants) สระ(Vowels) วรรณยุกต์ (Tones) เครื่องหมายสัญลักษณ์(Signs and Symbols) วรรคตอน(Punctuation) อักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คากลอนไทยสาหรับใช้พิมพ์ทดสอบผลการออกแบบ แสดงโครงสร้างของตัวอักษร การจัด ระดับตาแหน่งรูปพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เครือ่ งหมายวรรคตอน การจัดระยะช่องไฟรอบรูปอักขระ หรือฟ้อนต์ส่วนภาษาไทย ที่สร้าง บันทึก ติดตั้ง และหรือทดสอบในโปรแกรมฟ้อนต์ครีเอเตอร์และัหรือ ด้วยโปรแกรมประยุกต์อื่นๆในระบบ เขามักใช้คากลอนนี้ ให้นักศึกษาคัดลอกไปวาง เปลี่ยนเป็นฟ้อนต์ที่ เราทา ตรวจสอบระยะช่องไฟกั้นหน้า-หลัง การประสมคาตาแหน่งสระและวรรณยุกต?ว่าตรงตาแหน่ง ตามหลักไวยกรณ์ของไทยหรือใหม่และบันทึกเป็นหลักฐานแสดงในรายงาน ภาษาอังกฤษให้ตรวจสอบดู ด้วยตาเองว่าระยะเป็นอย่างไร แล้วไปแก้ไขในตารางฟ้อนต์ และทดสอบใหม่ ซ้าๆ จนแน่ใจว่าเป็นระยะและ ตาแหน่งที่ถูกต้องแล้ว
16
คากลอนตรวจสอบแบบตัวอักษร ตาแหน่งพิมพ์ผสมคาไทย "เป็นมนุษย์สุดประเสริฐเลิศคุณค่า กว่าบรรดาฝูงสัตว์เดรัจฉาน จงฝ่าฟันพัฒนาวิชาการ อย่าล้างผลาญ ฤๅเข่นฆ่าบีฑาใคร ไม่ถือโทษโกรธแช่งซัด ฮึดฮัดด่า หัดอภัยเหมือนกีฬา อัชฌาสัย ปฏิบัติประพฤติกฎ กาหนดใจ พูดจาให้จะ๊ ๆจ๋า น่าฟังเอยฯ"
คาที่ควรนามาทดสอบคือ วิญูชน ภูปเตมี กตัญญู เกลื่อน เกลื้อน โหมโรง กระโปรง น้าใจ
17
การนามาติดตั้ง C:\WINDOWS\Fonts เพื่อใช้เป็นแบบพิมพ์ในรายงานของวิชาการออกแบบตัวอักษร เพื่อการพิมพ์ในโปรแกรมสร้างเอกสารต่างๆเช่น Microsoft Word
ลากไฟล์ตัวอักษรที่ชื่อ AAA-Watin-Saowalak-2012 มาใส่ในโฟลเดอร์ Fonts
18
เมื่อติดตั้งฟ้อนต์เรียบร้อยแล้ว ฟ้อนต์ทนี่ าไปใส่ใหม่ก็สามารถใช้งานได้ทันที
19