Asean

Page 1

การเข้าสู่ประชาคม Asean


การเข้าสู่ประชาคม Asean

การเข้าสู่ประชาคม Asean สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) คำ�ขวัญ: “One Vision, One Identity, One Community” (หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม)

สัญลักษณ์ของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน)

� คือ รูปรวงข้าวสีเหลือง บนพื้นที่สีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้ำ�เงิน โดยมีความหมาย ดังนี้ รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ

2 หน้า

สีเหลือง

หมายถึง

ความเจริญรุ่งเรือง

สีแดง

หมายถึง

ความกล้าหาญและการมีพลวัต

สีขาว

หมายถึง

ความบริสุทธิ์

สีน้ำ�เงิน

หมายถึง

สันติภาพและความมั่นคง

หน้า 3


การเข้าสู่ประชาคม Asean กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) กฎบัตรอาเซียนจัดทำ�ขึ้นเพื่อรับรอง การเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ตามที่ผู้นำ�อาเซียนได้ ตกลงไว้ โดยต้องการให้อาเซียนเป็นองค์การ ระหว่างรัฐบาลที่มีประสิทธิภาพ มีสถานะทาง กฎหมายเป็นนิติบุคคล และสร้างประโยชน์แก่ ประชาชนอย่างแท้จริง นอกจากนี้ ในกฎบัตร อาเซียนยังได้ระบุประเด็นใหม่ที่แสดงความ ก้าวหน้าของอาเซียน อาทิ การมีเพลงประจำ� อาเซียน (ASEAN Anthem) การจัดตั้ง องค์กรสิทธิมนุษยชนของอาเซียน และการ จัดตั้งกลไกสำ�หรับการระงับข้อพิพาท เป็นต้น

4

หน้า

การเข้าสู่ประชาคม Asean

ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ความเป็นมา แนวคิดในการก่อตั้งประชาคมอาเซียนเกิดขึ้น ในเดือนธันวาคม พ.ศ.2540(ค.ศ.1997) เมื่อผู้นำ� อาเซียนได้รับรองเอกสาร วิสัยทัศน์อาเซียน 2020 (พ.ศ.2563) เพื่อกำ�หนดเป้าหมายว่า ภายในปีค.ศ. 2020 (พ.ศ.2563) อาเซียนจะเป็น � 1)วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2) หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างมี � 3) มุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอก � และ 4) ชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทร ต่อมาในการประชุมผู้นำ�อาเซียน ครั้งที่ 9 ระหว่างวันที่ 7-8 ตุลาคม พ.ศ.2546(ค.ศ.2003) ที่บาหลี ผู้นำ�อาเซียนได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความ ร่วมมืออาเซียน (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) เห็นชอบให้มีการ จัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) ซึ่งจะประกอบ ด้วย 3 เสาหลัก (pillars) ได้แก่ � 1.ประชาคมความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community–ASC) วัตถุประสงค์ที่จะทำ�ให้ ประเทศในภูมิภาคอยู่อย่างสันติสุข แก้ไขปัญหาภายใน ภูมิภาคโดยสันติวิธี และยึดมั่นในหลักความมั่นคงรอบ ด้าน โดยจะดำ�เนินการดังนี้� 1) ใช้ข้อตกลงและกลไกของอาเซียนที่มีอยู่แล้ว ในการเพิ่มศักยภาพในการแก้ไขปัญหาข้อพิพาทภายใน ภูมิภาค รวมทั้งการเผชิญหน้ากันภัยคุกความรูปแบบ ใหม่ เช่น การก่อการร้าย การลักลอบค้ายาเสพติด การค้ามนุษย์ อาชญากรรมข้ามชาติอื่นๆ และการขจัด อาวุธที่มีอานุภาพทำ�ลายล้างสูง

(2) ริเริ่มกลไกใหม่ๆ ในการเสริมสร้างความ มั่นคงและกำ�หนดรูปแบบใหม่สำ�หรับความร่วมมือ ด้านนี้ ซึ่งรวมถึงการกำ�หนดมาตรฐาน การป้องกัน การเกิดข้อพิพาท การแก้ไขข้อพิพาท และการสร้าง เสริมสันติภาพภายหลังการยุติข้อพิพาท � (3) ส่งเสริมความร่วมมือทางทะเล ทั้งนี้ ความร่วมมือข้างต้นจะไม่กระทบต่อความเป็นอิสระ ของประเทศสมาชิกในการดำ�เนินนโยบายการต่าง ประเทศ และความร่วมมือทางทหารกับประเทศนอก ภูมิภาค และไม่นำ�ไปสู่การสร้างพันธมิตรทางการ ทหาร

หน้า 5


การเข้าสู่ประชาคม Asean 2.ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กำ�หนดวัตถุประสงค์ตามวิสัยทัศน์อาเซียน 2020 � ที่จะให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆ ได้ โดย (1) มุ่งให้เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และการลดปัญหาความยากจนและความเหลื่อมล้ำ�ทาง สังคมภายในปี 2020 (2) ทำ�ให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิต เดียว (single market and production base) โดยจะริเริ่มกลไกและมาตรการใหม่ๆ ในการปฏิบัติตาม ข้อริเริ่มทางเศรษฐกิจที่มีอยู่แล้ว (3) ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิก ใหม่ของอาเซียนเพื่อลดช่องว่างการพัฒนาและช่วย ให้ประเทศเหล่านี้เข้าร่วมกระบวนการรวมตัวทาง เศรษฐกิจของอาเซียน (4) ส่งเสริมความร่วมมือในนโยบายการเงิน และเศรษฐกิจมหภาคตลาดการเงินและตลาดทุน การ ปะกันภัยและภาษีอากร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และการคมนาคม พัฒนาความร่วมมือด้านกฎหมาย การเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์โดยการยกระดับการศึกษาและการ พัฒนาฝีมือแรงงาน

3.ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC) มีจุดมุ่งหมาย ที่จะทำ�ให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อยู่ร่วมกันใน สังคมที่เอื้ออาทร ประชากรมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี � ได้รับการพัฒนาในทุกด้าน และมีความมั่นคงทางสังคม (social security) โดยเน้นความร่วมในภูมิภาค อาทิ (1) การพัฒนาสังคม โดยการยกระดับความเป็น อยู่ของผู้ด้อยโอกาสและผู้ที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร และส่ง เสริมการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันของกลุ่มต่างๆ ในสังคม � (2) การพัฒนาการฝึกอบรม การศึกษาขั้น พื้นฐานและสูงกว่า การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี การสร้างงาน และการคุ้มครองทางสังคม (3) การส่งเสริมความร่วมมือด้านสาธารณสุข โดยเฉพาะอย่างยิ่งการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ เช่น โรคเอดส์ โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง

(4) การจัดการปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม

(5) การส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเขียน นักคิดและศิลปินในภูมิภาค ต่อมาในการประชุมสุดยอดผู้นำ�อาเซียน ครั้งที่ 12 เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ.2550 ( ค.ศ.2007) ที่เซบู ประเทศฟิลิปปินส์ ผู้นำ�อาเซียน เห็นชอบให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียนให้แล้วเสร็จ ภายในปี พ.ศ.2558 (ค.ศ.2015)

การเข้าสู่ประชาคม Asean

สาธารณรัฐอินโดนีเซีย Republic of Indonesia ข้อมูลทั่วไป เมืองหลวง กรุงจาการ์ตา ภาษาราชการ ภาษาอินโดนีเซีย วันที่ประกาศเอกราชจากเนเธอร์แลนด์ 17 สิงหาคม พ.ศ.2488 (ค.ศ.1945) วันที่เป็นเข้าเป็นสมาชิกอาเซียน 8 สิงหาคม พ.ศ.2510 (ค.ศ.1967) การเมืองการปกครอง ประมุขและผู้นำ�รัฐบาล ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน ระบอบการปกครอง ระบอบสาธารณรัฐแบบประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเป็นประมุข เศรษฐกิจการค้า หน่วยเงินตรา รูเปียห์ สินค้านำ�เข้า

น้ำ�มัน เหล็ก ท่อเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก สิ่งทอ เคมีภัณฑ์

สินค้าส่งออก ก๊าซธรรมชาติ แร่ธาตุ ถ่านหิน ผลิตภัณฑ์จากไม้ สิ่งทอ สังคม ศาสนาหลัก อิสลาม

6 หน้า

หน้า

7


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.