Workshop ADOBE INDESIGN CC for E-Book และ EPUB

Page 1

workshop

INDESIGN CC For E-Book& EPUB

โดย: นางสาวเบญจพร พุทธรรมมา อบรมให้: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี


สารบัญ E-Book มีอะไรดี? อีบุ๊ค ePub vs PDF หลักการออกแบบสิ่งพิมพ์ InDesign INSIGHT Introduce to Adobe InDesign Launch InDesign

1 1 1 9 10 11

Start Project การสร้างไฟล์งาน

16

E-BOOK WORKSHOP เตรียมไฟล์งาน Presentation

24 25

การเปิดใช้งาน ส่วนประกอบของ InDesign หน้าต่างการทำ�งาน Workspace

พาเนล Page การเพิ่มจำ�นวนหน้า การลบหน้ากระดาษ การย้ายหน้ากระดาษ เครื่องมือวาดรูปทรงเลขาคณิต การใช้เครื่องมือ Polygon Tool การวาดภาพด้วย Pen Tool การวาดภาพด้วย Pencil Tool การเลือกวัตถุด้วย Selection Tool การใส่สีให้วัตถุ สีพื้น (Fill) และสีเส้น (Stroke) กำ�หนดให้ใส่สีของวัตถุ หรือตัวอักษร (Swap Fill and Stroke) การเลือกสีจาก (Color Picker) การเลือกสีจาก Color Panal การเลือกสีจาก Swatches Panel การใส่สีด้วย Eyedropper Tool การใส่สีแบบไล่โทน (Gradient) การสร้างวัตถุโปร่งใส (Opacity)

เริ่มจากสร้างปกหน้า การตั้งค่าหน้า Master Page เพิ่มหน้ากระดาษเพื่อสร้างเนื้อหาส่วนต่างๆ เตรียมพื้นที่ให้กับสารบัญ กำ�หนดสไตล์ของหัวข้อที่จะนำ�ไปสร้างสารบัญ

11 11 14

16 18 18 19 19 20 20 21 21 21 21 21 22 22 22 23 23 23 23

26 27 28

28

28


เริ่มต้นจัดการกับเนื้อหา การดึงสารบัญ

29

เพิ่มลูกเล่นให้ E-book

32

การสร้างตาราง การแทรกไฟล์ VDO

การเพิ่มลูกเล่นของวัตถุด้วย Effect การใส่เงาให้ฉากหลังวัตถุ Effect: Drop shadow การเพิ่ม Transition การใส่ Animation ให้หน้ากระดาษ การใช้ Panel Timing การเพิ่มปุ่มใช้งาน การบันทึก และ แปลงไฟล์เป็นรูปแบบต่างๆ การ Save การ Package File การ Export File เป็น PDF (Print) การ Export เป็น Interactive PDF การ Export เป็น SWF

E-BOOK WORKSHOP ทบทวนความจำ� เตรียมสร้างชิ้นงาน ตั้งค่า Master Page

สร้างปกให้ EPUB สร้าง Style ให้กับตัวอักษร สร้างพื้นที่ให้สารบัญ คัดลอกข้อความมาใส่ Export file ให้เป็น .epub ขอบคุณข้อมูลดีๆจาก... ------------------------------------------------

29 30 31 32 32 33 33 34 35

36 36 37 38 38 39

40 41 41 42 42 43 43 43 44 45


E-Book มีอะไรดี? ยุคดิจติ ลั เป็นยุคทีน่ กั เขียน หรือคอลัมนิสต์ตอ้ งปรับตัวเข้าหา สือ่ ออนไลน์ และอิเล็กทรอนิกส์มากขึน้ ซึง่ อาจจะเปลีย่ นจากการ ทำ�งานส่งสำ�นักพิมพ์ เพือ่ ตีพมิ พ์ลงกระดาษแบบเดิมๆ ตอนนี้ กลายเป็นการทำ�สือ่ ทีเ่ รียกว่า eBook ซึง่ มีหลายช่องทางทีท่ �ำ ให้ นักเขียนหารายได้แบบออนไลน์ได้มากขึน้ โดยทีไ่ ม่ตอ้ งง้อสำ�นักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์แบบแต่กอ่ น นอกจากประโยชน์ทก่ี ล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีประโยชน์ในอีกหลายๆ ด้าน ดังนี้ รับกำ�ไรจากการขายไป 100% แม้ ว่า การตี พิม พ์ ง านเขี ย นกั บ สำ � นั ก พิ ม พ์ จ ะไม่ ต้อ งเผชิ ญ ความเสีย่ งเรือ่ งการขาดทุน แต่ตอ้ งแลกกับส่วนแบ่งรายได้นอ้ ยนิด จากสำ�นักพิมพ์เท่านั้น แต่ E-Book นั้นใช้ต้นทุนเพียงเล็กน้อย เพียงมีไอเดียเจ๋งๆ ก็มีโอกาสได้รับกำ�ไรที่มากขึ้น หรืออาจจะ เรียกได้ว่า 100% จากที่ลงแรงไป สิ่งที่จะได้กลับมา มันเป็นเงิน ของคุณคนเดียว! ต้นทุนในการผลิตที่ต่ำ�ลง สมัยก่อนหากต้องการจะทำ�หนังสือสักเล่ม คุณจะต้องสืบราคา ต้นทุนการพิมพ์หนังสือ และต้องยอมจ่ายต้นทุนการพิมพ์ รวมถึง ค่าจัดส่งหนังสือให้กบั ลูกค้า หรือกระทัง่ ยอมโดนหักค่าฝากขาย ในร้านหนังสือ แต่เมื่อก้าวเข้ามาสู่ยุคของ E-Book คุณไม่ต้อง เสียค่าพิมพ์แม้แต่บาทเดียว ลูกค้าสามารถซือ้ หนังสือคุณทัง้ เล่ม เพียงแค่กดคลิกเท่านั้น ไม่ต้องมีค่าจัดส่งใดๆ และตอนนี้ใน แอพพลิเคชั่นอีบุ๊คบางแห่งไม่ทำ�การเก็บส่วนแบ่งรายได้แล้ว เช่น Ookbee ดังนั้นคุณจะได้รายได้จากการขายแบบเต็มๆ โดยไม่ต้องลงทุนมาก ซื้อง่าย ขายเร็ว ประหยัดเวลาทั้งคนเขียน-คนอ่าน สำ�หรับ E-Book เพียงคลิกและดาวน์โหลด ไม่นานก็ได้อา่ นแล้ว ประหยัดเวลา ไม่ตอ้ งรอคอย จึงไม่ตอ้ งแปลกใจถ้าตลาด E-Book ไทยจะขยายตัวรวดเร็ว เพราะสามารถอำ�นวยความสะดวกให้ กับผู้ซื้อที่ไม่ชอบการรอนาน

E -book

4

Social Media เป็นการตลาดที่เข้าถึงง่าย เนือ่ งจากนักเขียนหน้าใหม่ มักมีปญั หากับการหาสปอนเซอร์ เพือ่ สนับสนุนเงินลงทุนซือ้ เนือ้ ทีโ่ ฆษณาราคาแพง แต่หากเป็น E-Book การแชร์ผลงานของคุณจะง่ายขึน้ เนือ่ งจากในบาง แอพพลิเคชัน่ ทีใ่ ห้บริการ E-Book มีการทำ� Referral Link หรือ “ลิ้งช่วยขาย” ให้คุณสามารถนำ�ไปแปะในหน้า เว็บไซต์ต่างๆ นอกจากนี้ ยังสามารถแชร์เนื้อหาบางส่วน จากหนังสือก็ยังทำ�ได้ เพราะตัวแอพพลิเคชั่นรองรับ กรณี ของ Ookbee เอง จะมีเมนูกดแชร์หน้าหนังสือจากใน แอพพลิเคชัน่ อยูแ่ ล้ว ซึง่ จะแชร์ผลงานของคุณไปบน Social Media ต่างๆ เช่น Facebook หรือ Twitter ที่จะช่วย ดึงดูดคนเข้ามาดูผลงานได้มากขึ้น โดยไมมีค่าใช้จ่าย E-Book แนบไฟล์วิดีโอ และไฟล์เสียงได้! การนำ�สือ่ ผสมอืน่ ๆ มาใช้ในงานหนังสือของตนเองจะเป็นการ ขยายตลาดให้เราได้ทางหนึ่ง ด้วยการเพิ่มลูกเล่นแก้เซ็งให้ กับคนอ่าน หากเปรียบเทียบกันระหว่างหนังสือที่มีแต่ตัว หนังสือ กับหนังสือที่มีทั้งภาพ วิดีโอ หรือเสียง แบบไหน น่าสนใจกว่ากันและในปัจจุบัน เพียงแค่คลิกก็ได้ฟังแล้ว โดยไม่ต้องเสียเวลาไปหาเครื่องเล่น รายได้อื่นๆ ที่เข้ามาเพราะคุณเป็นนักเขียน! บางครั้งนักเขียนก็เหมือนดารา เมื่อแนวคิดของคุณได้รับ การยอมรับในวงกว้าง มีคนให้ความสนใจมากมาย สื่อต่างๆ ก็จะวิ่งเข้าหาคุณ เช่น นิตยสาร เว็บข่าว รายการทีวี ฯลฯ และการได้รับเชิญไปร่วมงานต่างๆ นั้น คุณสามารถหาราย ได้จากส่งเหล่านี้ด้วย ซึ่งนับว่าเป็นผลพลอยได้จากชื่อเสียง ที่น่าเย้ายวนใจ


อีบุ๊ค ePub vs PDF เมือ่ เข้าสูย่ คุ ดิจติ อล นักอ่านทุกคนคงไม่มใี ครไม่รจู้ กั E-Book หรือ E-Magazine ด้วยการพกพาที่สะดวก และสามารถเปิดอ่านได้ ในทุกอุปกรณ์พกพา ทั้ง แท็บเล็ต และ สมาร์ทโฟน โดยไฟล์ E-book ที่นิยมใช้ในปัจจุบันนั้น จะมี 2 รูปแบบ คือ “.pdf” และ “.epub” ซึ่งทั้ง 2 ไฟล์นั้นจะมีคุณสมบัติเฉพาะตัวให้เลือกใช้ได้ตามความชอบ ดังนี้

PDF (Portable Digital Format)

ไฟล์พื้นฐานดิจิตอลที่พัฒนาโดยเครือ Adobe ตั้งแต่ปี 1993 และปล่อยให้ใช้ฟรีตั้งแต่ปี 2001 เป็นต้นมา ซึ่งก็ได้แพร่หลาย ในงานธุรกิจต่างๆ เพราะใช้ง่าย เปิดง่าย แก้ไขง่าย สั่งพิมพ์ง่าย ด้วยโปรแกรม Adobe Acrobat เป็นต้น

ePub (Electronic Publication)

ไฟล์ตระกูล XML หรือ Extensible Markup Language ซึ่งเป็นไฟล์ประเภทที่ออกแบบมาให้ตัวอักษรมีความยืดหยุ่น (Reflowable) ตามความต้องการของผูใ้ ช้ โดยจะสามารถแก้ไข ขนาดตัวอักษรเล็กใหญ่ และรูปแบบตัวอักษร หรือฟ้อนต์ ได้ตาม ความต้องการ ซึ่งไฟล์ XML พัฒนาโดย International Digital Publishing Forum หรือ IDPF

เห็นได้ชัดกว่าไฟล์ทั้งสองรูปแบบ มีข้อเด่นข้อด้อยที่แยกออก จากกันอย่างชัดเจน แต่ขอ้ ดีอย่างหนึง่ ทีโ่ ดนใจคงไม่พน้ ความสะดวก ในการเปิดอ่าน เพราะเปิดอ่านได้ง่ายในหลายโปรแกรม แต่หาก พูดกันถึงเรื่องกราฟฟิกแล้ว การใช้ PDF อาจเป็นทางเลือกที่ดี กว่าสำ�หรับกลุ่มหนังสือประเภทนิตยสาร หนังสือภาพ หนังสือ นิทาน อะไรก็ตามที่มีภาพและต้องการคงรูปแบบการจัดวางไว้ ชัดเจน ส่วน ePub นัน้ เหมาะสำ�หรับหนังสือทีไ่ ม่ได้มรี ปู ภาพประกอบ มากนัก เน้นเป็นตัวหนังสือจำ�นวนมาก เช่น กลุ่มนิยาย ตำ�รา หรือหนังสือฮาวทูอน่ื ๆ เพราะสามารถปรับรูปแบบการอ่านให้เข้ากับ

ผูอ้ า่ นได้ ทัง้ ในเรือ่ งของขนาดตัวอักษร และรูปแบบตัวหนังสือ ซึ่งทั้งหมดนี้อยู่ที่ความเหมาะสมตามคุณเลือก หรือหาก ไม่ทราบว่าแบบใดดีที่สุด ก็ลองทำ�อีบุ๊คออกมาทั้ง 2 รูปแบบ เพื่อให้ผู้อ่านมีทางเลือกมากขึ้น ก็เป็นอีกหนทางหนึ่งที่น่า สนใจ

5

E PUB


หลักการออกแบบสิ่งพิมพ์ สิ่งพิมพ์ที่พบเห็นโดยทั่วไปประกอบด้วยองค์ประกอบสำ�คัญ หลายอย่าง ได้แก่ ตัวอักษร หรือข้อความ ภาพประกอบ เนื้อที่ว่าง และส่วนประกอบอื่นๆ การออกแบบสิ่งพิมพ์ต้องคำ�นึงถึง การ จัดวางองค์ประกอบต่างๆ ดังกล่าวเข้าไปด้วยกัน โดยใช้หลักการ ดังนี้ ทิศทางและการเคลื่อนไหว (Direction & Movement) เมื่อผู้รับสารมองดูสื่อสิ่งพิมพ์ การรับรู้เกิดขึ้นเป็นลำ�ดับ ตามการมองเห็น กล่าวคือ เกิดขึ้นตามการกวาดสายตา จากองค์ประกอบหนึง่ ไปยังอีกองค์ประกอบหนึง่ จึงมีความจำ�เป็น อย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องมีการดำ�เนินการวางแผน กำ�หนด และชักจูง www.metmuseum.org สายตาของผู้ รั บ สารให้ เ คลื่ อ นไหวไปทิ ศ ทางที่ ถู ก ต้ อ ง ทิศทางและการเคลื่อนไหว (Direction & Movement) ตามลำ � ดั บ ขององค์ ป ระกอบที่ ต้ อ งการให้ รั บ รู้ ก่ อ นหลั ง โดยทั่วไปหากไม่มีการสร้างจุดเด่นขึ้นมา สายตาของผู้รับสาร จะมองดูหน้ากระดาษที่เป็นสื่อพิมพ์ในทิศทางของตัวอักษร “Z” คือการมองที่มุมบนด้านซ้าย ไปด้านขวา แล้วไล่ระดับ ลงมาที่มุมล่างด้านซ้าย และไปจบที่มุมล่างด้านขวาตามลำ�ดับ การจัดองค์ประกอบที่สอดคล้องกับธรรมชาติของการมองนี้ เป็นส่วนช่วยให้เกิดการรับรู้ตามลำ�ดับที่ต้องการ เอกภาพและความกลมกลืน (Unity & Harmony) เอกภาพคือความเป็นหนึ่งเดียวกัน ซึ่งในการจัดทำ�เลย์เอาท์ (Layout) หมายถึงการนำ�เอาองค์ประกอบที่แตกต่างกันมา www.pinterest.com วางไว้ในพื้นที่หน้ากระดาษเดียวกันได้อย่างกลมกลืน ทำ�หน้าที่ สอดคล้องและส่งเสริมกันและกันในการสื่อสารความคิดรวบ การเลือกใช้องค์ประกอบที่มีความเท่ากัน ยอดและบุคลิกภาพของสื่อสิ่งพิมพ์นั้นๆ การสร้างเอกภาพนี้ สามารถทำ�ได้หลายวิธี เช่น 1. การเลือกใช้องค์ประกอบที่มีความเท่ากัน

เช่น การเลือกใช้แบบตัวอักษรเดียวกัน การเลือกใช้ภาพขาวดำ�ทั้งหมด เป็นต้น 2. การสร้างความต่อเนื่องกันให้องค์ประกอบ

เช่น การจัดให้พาดหัววางทับลงบนภาพ การใช้ตัวอักษรที่ เป็นข้อความ ล้อตามทรวดทรงของภาพ เป็นต้น

E -book

6


3. การเว้นพื้นที่ว่างรอบองค์ประกอบทั้งหมด

ซึ่ ง จะทำ � ให้ พื้ น ที่ ว่ า งนั้ น ทำ � หน้ า ที่ เ หมื อ นกรอบสี ข าว ล้อมรอบองค์ประกอบทั้งหมดไว้ภายใน ช่วยให้องค์ ประกอบทั้งหมดดูเหมือนว่าอยู่ด้วยกันเป็นกลุ่มก้อน ความสมดุล (Balance) หลักการเรื่องความสมดุลนี้เป็นการตอบสนองธรรมชาติ ของผู้รับสารในเรื่องของแรงโน้มถ่วง โดยการจัดวางองค์ ประกอบทั้งหมดในพื้นที่หน้ากระดาษ จะต้องไม่ขัดกับ ความรู้สึกนี้ คือจะต้องไม่ดูเอนเอียงหรือหนักไปด้านใด ด้านหนึ่ง โดยไม่มีองค์ประกอบมาถ่วงในอีกด้าน การจัด องค์ประกอบให้เกิดความสมดุลแบ่งได้ 3 ลักษณะคือ

mak002.deviantart.com การเว้นพื้นที่ว่างรอบองค์ประกอบทั้งหมด

1. สมดุลแบบสมมาตร (Symmetrical Balance)

เป็นการจัดวางองค์ประกอบโดยให้องค์ประกอบในด้าน ซ้ายและด้านขวาของพื้นที่หน้ากระดาษมีลักษณะเหมือน กันสองข้าง ซึ่งองค์ประกอบที่เหมือนกันทั้งสองด้านนี้ จะ ถ่วงน้ำ�หนักกันและกันให้เกิดความรู้สึกสมดุล 2. สมดุลแบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance)

เป็ น การจั ด วางองค์ ป ระกอบโดยให้ อ งค์ ป ระกอบ ในด้านซ้ายและด้านขวาของพื้นที่หน้ากระดาษมีลักษณะ ไม่เหมือนกันทั้ง 2 ข้าง แม้องค์ประกอบจะไม่เหมือนกัน ในแต่ละด้าน แต่จะถ่วงน�ำ้ หนักกันและกันให้เกิดความสมดุล

www.forwallpaper.com สมดุลแบบสมมาตร (Symmetrical Balance)

สมดุลแบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance)

3. สมดุลแบบรัศมี (Radial Balance)

เป็นการจัดวางองค์ประกอบ โดยให้องค์ประกอบแผ่ไป ทุกทิศทางจากจุดศูนย์กลาง สัดส่วน (Proportion) การกำ � หนดสั ด ส่ ว นนี้ เ ป็ น การกำ � หนดความสั ม พั น ธ์ ในเรือ่ งของขนาด ซึง่ มีความสำ�คัญโดยเฉพาะในหน้ากระดาษ ของสิ่งพิมพ์ที่ต้องการให้มีจุดเด่น เช่น หน้าปกหนังสือ เป็นต้น เพราะองค์ประกอบทัง้ หมดในสัดส่วนทีใ่ กล้เคียงกัน ในการกำ � หนดสั ด ส่ ว นจึ ง ต้ อ งพิ จ ารณาองค์ ป ระกอบ ทั้งหมด ในพื้นที่หน้ากระดาษไปพร้อมๆ กันว่าควรจะเพิ่ม หรือลดองค์ประกอบใด ไม่ใช่คอ่ ยๆ ทำ�ไปทีละองค์ประกอบ ความแตกต่าง (Contrast) เป็นวิธีการที่ง่ายที่สุด โดยการเน้นองค์ประกอบใด องค์ประกอบหนึ่งเด่นขึ้นมาด้วยการเพิ่มขนาดให้ใหญ่กว่า องค์ประกอบอืน่ ๆ โดยรอบ เช่น พาดหัวขนาดใหญ่ เป็นต้น ซึง่ โดยธรรมชาติแล้วผูด้ จู ะเลือกดูองค์ประกอบทีใ่ หญ่กว่าก่อน

imgsoup.com

www.athenna.com

สมดุลแบบรัศมี (Radial Balance)

7

E PUB


1. ความแตกต่างโดยขนาด

สามารถทำ�ได้งา่ ยโดยการเน้นให้องค์ประกอบหนึง่ เด่นขึน้ มา ด้วยการเพิม่ ขนาดให้ใหญ่กว่าองค์ประกอบ อืน่ ๆ โดยรอบ เช่น พาดหัวขนาดใหญ่ เป็นต้น โดยธรรมชาติแล้วผู้ดูจะเลือกดู องค์ประกอบที่ใหญ่กว่าก่อน 2. ความแตกต่างโดยรูปร่าง

เป็นวิธีที่เน้นให้องค์ประกอบหนึ่ง เด่นขึ้นมาด้วยการใช้รูปร่าง ทีแ่ ตกต่างออกไปจากองค์ประกอบอืน่ ในกระดาษ เช่น การไดคัต ภาพคนตามรูปร่างของร่างกายแล้วนำ�ไปวางในหน้ากระดาษ ที่มีภาพแทรกเล็กๆ ที่อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยม เป็นต้น 3. ความแตกต่างโดยความเข้ม

เป็นวิธีที่เน้นให้องค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งเด่นขึ้นมา ด้วยการใช้เพิ่มหรือลดความเข้มหรือน้ำ�หนักขององค์ประกอบ นั้นให้เข้มหรืออ่อนกว่าองค์ประกอบอื่นที่อยู่ร่วมกันในหน้า กระดาษ เช่น การใช้ตัวอักษรที่เป็นตัวหนาในย่อหน้าที่ต้องการ เน้น เพียงย่อหน้าเดียวในหน้ากระดาษ เป็นต้น

imgkid.com สร้างจุดสนใจด้วยการ เน้นสัดส่วน (Proportion)

www.the-capsule.com ความแตกต่างโดยขนาด

4. ความแตกต่างโดยทิศทาง

ทิศทางเป็นวิธีที่เน้นให้องค์ประกอบหนึ่ง เด่นขึ้นมาด้วยการ วางองค์ประกอบที่ต้องการจะเน้นนั้นให้อยู่ในทิศทางที่แตกต่าง จากองค์ประกอบอื่นๆ ที่อยู่ร่วมกันในหน้ากระดาษ เช่น การ วางภาพเอียง 45 องศา ในหน้ากระดาษที่เต็มไปด้วยตัวอักษร ที่เรียง เป็นแนวนอน เป็นต้น จังหวะ ลีลา และการซ้ำ� (Rhythm & Repetition) การจัดวางองค์ประกอบหลายๆ ชิ้น โดยกำ�หนดตำ�แหน่ง ขององค์ประกอบให้เกิดมีช่องว่างเป็นช่วงๆ ตอนๆ อย่างมีการ วางแผนล่วงหน้า จะทำ�ให้เกิดจังหวะและลีลาขึ้น และหากว่า องค์ประกอบหลายๆ ชิ้นนั้นมีลักษณะซ้ำ�กันหรือใกล้เคียงกัน ก็จะยิ่งเป็นการเน้นให้เกิดจังหวะและลีลา ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ลักษณะตรงกันข้ามกับแบบแรก จังหวะและลีลาลักษณะนี้ จะก่อให้เกิดความรู้สึกที่ตื่นเต้นดูเคลื่อนไหวและมีพลัง

dhvanil.com จังหวะ ลีลา และการซ้ำ� (Rhythm & Repetition)

E -book

8

geekartgallery. blogspot.com ความแตกต่างโดยรูปร่าง

designspiration.net ความแตกต่างโดยความเข้ม www.pichaus.com

ความแตกต่างโดยทิศทาง


n

Design

INSIGHT

9

E PUB


Introduce to :

Adobe InDesign ตัวอย่าง นิตยสาร

voguethailand.com

archinect.com

ใบปลิว

pixelspace.wordpress.com

www.viva.org.uk

เนนูอาหาร

www.freepik.com

E -book

10

thaincd.com

ปัจจุบนั โปรแกรม Adobe InDesign หรือทีม่ กั เรียกสัน้ ๆ

ว่า “InDesign” ได้เข้ามามีบทบาทและเป็นที่นิยมเป็นอย่างมาก ในการจัดท�ำสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ รวมถึงเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เช่น นิตยสาร วารสาร โบรชัวร์ แผ่นพับ ตลอดจน อีบุ๊ก (E-Book) เพราะ InDesign เป็นโปรแกรมที่มีความสามารถทั้งในการ ออกแบบ และสร้างสรรค์ผลงานต้นฉบับได้อย่างรวดเร็วและ มีประสิทธิภาพ

ทรัพยากรที่ Adobe InDesign ต้องการ

InDesign เป็นโปรแกรมที่ท�ำงานเกี่ยวกับภาพและงานสื่อสิ่ง พิมพ์ ดังนัน้ จึงมีความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องท�ำงานกับไฟล์ภาพทีม่ คี วาม ละเอียดสูง และมีการดึงทรัพยากรภายในเครื่องคอมพิวเตอร์มา ใช้ค่อนข้างมาก เช่น การท�ำปกหนังสือ หรือการท�ำงานกับวีดิโอ ภาพเคลือ่ นไหว เช่น นิตยสารออนไลน์ ดังนัน้ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ ที่ใช้งาน จึงควรมีทรัพยากรขั้นต�่ำ ดังนี้ ส�ำหรับระบบ Windows OS CPU Intel Pentium 4 หรือ AMD Athlon 64 ขึ้นไป ระบบปฏิบัติการ XP Service Pack 3 หรือ Vista Service Pac 1 หรือ Seven หน่วยความจ�ำ (RAM) 1 GB พืน้ ทีว่ า่ งบนฮาร์ดดิส 1.6 GB ส�ำหรับการติดตัง้ โปรแกรม การ์ดหน้าจอแสดงผลทีค่ วามละเอียด 1024x768 แสดง สีระดับ 16 bit ไดรฟ์ DVD-ROM เพื่อใช้ติดตั้งโปรแกรมจากแผ่น DVD ติดตัง้ Adobe Flash Player 10 ขึน้ ไป ส�ำหรับการสร้าง งาน .swf อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ส�ำหรับเข้าใช้บริการออนไลน์ ต่างๆ ของ Adobe ส�ำหรับระบบ Mac OS CPU Multicore ขึ้นไป ระบบปฏิบัติการ Mac OS X v.10.5.9 หรือ v.10.6 หน่วยความจ�ำ (RAM) 1 GB พืน้ ทีว่ า่ งบนฮาร์ดดิส 2.6 GB ส�ำหรับการติดตัง้ โปรแกรม การ์ดหน้าจอแสดงผลทีค่ วามละเอียด 1024x768 แสดง สีระดับ 16 bit ไดรฟ์ DVD-ROM เพื่อใช้ติดตั้งโปรแกรมจากแผ่น DVD ติดตัง้ Adobe Flash Player 10 ขึน้ ไป ส�ำหรับการสร้าง งาน .swf อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ส�ำหรับเข้าใช้บริการออนไลน์ ต่างๆ ของ Adobe


1. แถบค�ำสั่ง (Menu bar) เป็นแถบเมนูที่ใช้เก็บค�ำสั่งหลักของโปรแกรม เราสามารถคลิก เม้าส์เรียกใช้ค�ำสัง่ ในแถบค�ำสัง่ ได้ โดยหากค�ำสัง่ ไหนมีรปู ลูกศรอยู่ ด้วย “ ” แสดงว่าค�ำสัง่ นัน้ ยังมี Option ทีเ่ ป็นค�ำสัง่ ย่อยให้เรา สามารถเลือกใช้ได้อีก ดังนี้ 1. คลิกเม้าส์ที่แถบค�ำสั่ง File

InDesign การเปิดใช้งาน ของโปรแกรม Adobe InDesign

สามารถท�ำได้ดังนี้ 1. คลิกที่ปุ่ม Start แล้วเลื​ือก All Programs > Adobe InDesign CC จากนั้นหน้าจอจะแสดงโปรแกรม InDesign ขึ้นมา 2. เมื่อเข้าสู่โปรแกรม InDesign จะประกฎหน้าต่าง Template ส�ำหรับการสร้างไฟล์งาน หากไม่ต้องการให้หน้าต่างนี้แสดง อีกในครั้งต่อไปให้คลิกเลือกที่ Don’t show again แล้วกด ปิดหน้าต่าง

2. คลิกเม้าส์ “

” เลือกแถบ ค�ำสั่งหลักเพื่อขยายค�ำสั่งย่อย

ส่ ว นประกอบของ InDesign เมื่อเริ่มต้นใช้งาน

หน้าจอจะประกอบไปด้วยส่วนประกอบต่างๆ ดังนี้

1. แถบค�ำสั่ง (Menu bar)

4. กล่องเครื่องมือ (Tools box)

3. แถบคอนโทรล พาแนล (Control Panel) 2. แถบโปรแกรม (Application bar)

5. พื้นที่การท�ำงาน (Artboard)

6. พาแนลต่างๆ (Dock Panel) ที่รวบรวมคุณสมบัติการทำ�งาน 11

E PUB


ในแถบค�ำสั่ง จะมีทั้งหมด 9 ค�ำสั่ง ดังนี้ File

เป็นค�ำสั่งที่เกี่ยวกับไฟล์งาน เช่น เปิดไฟล์ (Open) ปิดไฟล์ (Close) บันทึกไฟล์ (Save) การน�ำไฟล์อื่นๆ เข้ามาใช้ (Place) และการก�ำหนดคุณสมบัต้ของไฟล์ (Document Setup) เป็นต้น

Edit

เป็นค�ำสั่งเกี่ยวกับการปรับแต่งต่างๆ เช่น การย้อนกลับ (Undo / Redo) คัดลอก / ส�ำเนา (Copy) วาง (Paste) และการก�ำหนดค่าการท�ำงานของโปรแกรม (Preference)

Layout

เป็นค�ำสั่งที่เกี่ยวกับการวางหน้าเอกสาร เช่น เพิ่มหน้าเอกสาร (Add Page) ก�ำหนดระยะเส้นไกด์ และการ จัดคอลัมน์ (Margins & Columns) เลื่อนไปยังหน้าต่างๆ (Go to page) และการก�ำหนดเลขหน้า (Numbering & Selection Options)

Type Object

เป็นค�ำสั่งที่เกี่ยวกับการท�ำงานกับตัวอักษร ค�ำสัง่ ด้านการจัดการวัตถุ เช่น การจัดกลุม่ (Group) การจัดล�ำดับ (Arrange) และการปรับแต่งรูปทรง (Transform) รวมไปถึงการใส่เอฟเฟ็กต์เพิ่มเติม

Table

คือค�ำสั่งการใช้ตาราง เช่น การสร้างตาราง และการปรับแต่งรูปแบบของตาราง

View

ค�ำสั่งเพื่อก�ำหนดมุมมองของการแสดงผล และการย่อขยายวัตถุ

Window

ค�ำสั่งเพื่อใช้จัดรูปแบบหน้าต่างการท�ำงานและ panel เพื่อช่วยให้ท�ำงานได้สะดวกขึ้น

Help

ค�ำสั่งด้านการใช้งานและค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับโปรแกรม InDesign

2. แถบโปรแกรม (Application bar) เป็นแถบของโปรแกรม InDesign ส�ำหรับจัดระเบียบหน้าจอ และจัดการโปรแกรมซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ปุ่มย่อ-ขยายมุมมอง

ปุ่มเรียกใช้งาน Adobe Bridge

แสดงเครื่องมือต่างๆ

ปุ่มเปลี่ยนรูปแบบหน้าต่างการทำ�งาน

แสดงเครื่องมือต่างๆ

จัดเรียงหน้าต่างไฟล์งาน

ค้นหาคำ�ผ่านอินเตอร์เน็ต

ปุ่มปิด/ย่อ/ขยายหน้าต่าง

3. แถบคอนโทรล พาแนล (Control Panel) เป็นแถบตัวเลือกส�ำหรับก�ำหนดค่าต่างๆ ของวัตถุ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกแก่ผใู้ ช้ โดยจะปรับเปลีย่ นตัวเลือกไปตาม การใช้งาน ระหว่างวัตถุ และการท�ำงานกับข้อความ ให้สามารถก�ำหนดค่า สี ขนาด ต�ำแหน่ง และคุณสมบัติต่างๆ ของวัตถุและรูปแบบของ ข้อความที่เลือกได้ง่ายขึ้น รวมทั้งมีค�ำสั่งในการจัดวาง หรือตกแต่งวัตถุที่ใช้งานบ่อยๆ ให้เลือกใช้ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งหน้าต่างนี้จะ ปรากฏอยู่ด้านบนของหน้าต่างโปรแกรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้

Control Panel เมื่อเลือกทำ�งานกับวัตถุ

Control Panel เมื่อเลือกทำ�งานกับข้อความ

E -book

12


นอกจากนี้ ยังสามารถแยกคอนโทรลพาเนล ออกจากหน้าต่าง โปรแกรมเป็นอิสระ (Float) และย้ายไปวางยังต�ำแหน่งอื่นๆ ได้ เพื่อให้สะดวกในการใช้งานตามความถนัดของผู้ใช้ เช่น

1. คลิกเลือกตรงส่วนหัวของแถบค้างไว้ และลากออกมาวาง เพื่อแยกคอนโทรลพาเนลออกมา

4. กล่องเครื่องมือ (Tool box) เป็นส่วนทีร่ วบรวมเครือ่ งมือส�ำหรับสร้าง ปรับแต่ง และแก้ไขวัตถุ ซึง่ มีไอคอนให้เลือกใช้งานได้อย่างง่าย และรวดเร็ว โดยกลุ่มเครื่องมือจะแบ่งเป็นดังนี้

คลิกเปลี่ยนรูปแบบของกล่องเครื่องมือ กลุ่ม Selection tools เกี่ยวกับการ เลือกวัตถุ กลุ่ม Drowing and type tools เกี่ยว กับการวาดภาพและใส่ตัวอักษร

2.

คอนโทรลพาเนลถูกแยกออกมา โดยสามารถนำ�ไปจัด วางในพื้นที่การทำ�งานที่ต้องการได้

นอกจากนั้นเรายังสามารถจัดต�ำแหน่งของคอนโทรลพาเนล ได้ โดยคลิกที่ และเลือกลักษณะการจัดต�ำแหน่งได้ 3 แบบ คือ Dock at Top จัดต�ำแหน่งให้อยู่ด้านบนของ หน้าต่างโปรแกรม Dock at Buttom จัดต�ำแหน่งให้อยู่ด้านล่าง ของหน้าต่างโปรแกรม Float ก�ำหนดให้แยกคอนโทรลพาเนล ออกมาเป็นอิสระ

กลุ่ม Transformation tools เกี่ยวกับ การปรับแต่งวัตถุ กลุม่ Modification and Navigation tools เกีย่ วกับการดวัตถุและปรับมุมมอง กลุม่ เครือ่ งมือในการเลือกสีวตั ถุ และสีเส้นขอบวัตถุ กลุม่ เครือ่ งมือทีเ่ กีย่ วกับการดูชน้ิ งาน

5. พื้นที่การท�ำงาน (Artboard) เป็นส่วนที่แสดงผลในการจัดวางวัตถุ Layout ซึ่ง การตั้งค่าขนาดของพื้นที่การท�ำงาน สามารถเลือก ขนาดได้จาก การตั้งค่าชิ้นงาน ดังนี้

1. เลือกที่ File

คลิกเลือกลักษณะการจัดตำ�แหน่งของคอนโทรลพาเนล

3. เลือกที่ Document 2. เลือกที่ New

13

E PUB


6. พาเนลควบคุมการท�ำงาน (Panel) “พาเนล” เป็นหน้าต่างย่อยที่รวบรวมคุณสมบัติการท�ำงานของเครื่องมือต่างๆ ให้เราเลือกปรับแต่งการใช้งานได้ง่ายๆ โดยไม่ ต้องเปิดหาที่แถบค�ำสั่ง (InDesign จะมีพาเนลมากมายซึ่งจะขอกล่าวในล�ำดับต่อไป) เราสามารถเปิด/ปิดพาเนลได้จากค�ำสั่ง Window แล้วเลือกชือ่ พาเนลทีเ่ ราต้องการ แสดง ซึ่งจะเห็นได้ว่าถ้าพาเนลไหนถูกเปิด อยู่ จะมีเครื่องหมายถูกหน้าชื่อพเนลนั้นๆ และถ้าไม่ต้องการแสดงพาเนลใด ให้คลิก เลื อ กที่ พ าเนลนั้ น อี ก ครั้ ง เพื่ อ ยกเลิ ก เครื่องหมายถูกออก หรือจะคลิกเม้าส์ที่ปุ่ม เพื่อปิดพาเนลนั้นก็ได้

คลิกเลือกที่ Window บน Menu bar เพื่อเลือก เปิด / ปิด หน้าต่าง พาเนล

หน้าต่างการท�ำงาน Workspace เป็นส่วนประกอบส�ำคัญในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน ซึ่งมีผลต่อการใช้งานเครื่องมือต่างๆ ในการออกแบบให้สะดวกรวดเร็วขึ้น และการตอบสนองผู้ใช้ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งเราสามารถจัดการหน้าต่างการท�ำงานให้เหมาะสมกับงานที่ท�ำได้ รูปแบบมาตรฐาน รูปแบบของหน้าต่างการท�ำงานส�ำเร็จรูปทีโ่ ปรแกรมได้จดั วาง ไว้ให้ส�ำหรับผู้ใช้งาน เพื่อความสะดวกในการเลือกใช้งานที่ เหมาะสมกับความต้องการ มีดังนี้

Advance

รูปแบบขั้นสูง

Book

รูปแบบส�ำหรับจัดหน้าหนังสือ

Essentials

รูปแบบพื้นฐาน แสดงพาเนล ที่ใช้บ่อย

Interactive

รู ป แบบส�ำหรั บ งานทั่ ว ไป ที่มีการโต้ตอบ

Interactive for PDF รูปแบบส�ำหรับงาน PDF ที่มี การโต้ตอบ Printing and Proofing รูปแบบส�ำหรับงานสิ่งพิมพ์

1. คลิกเลือกที่ Window 2. คลิกเลือกที่ 3. คลิกเลือกรูปแบบ บน Menu bar

E -book

14

Workspace

Workspace ที่ต้องการ

Typography

รูปแบบส�ำหรับงานด้านตัวอักษร


รูปแบบที่เราสร้าง เราสามารถย้ายเครือ่ งมือและพาเนลให้เหมาะสมกับการใช้งานของเรา และบันทึกหน้าต่างการท�ำงาน เก็บเป็นรูปแบบของเรา เองไว้เรียกใช้ซ�้ำครั้งต่อไปได้ รูปแบบทีส่ ร้างเก็บไว้

บันทึรปู แบบ

ลบรูปแบบ

การบันทึกรูปแบบ 1. เลือกค�ำสั่ง Window>Workspace>New Workspace ตั้งชื่อให้กับรูปแบบของหน้าต่างการท�ำงาน 2. ก�ำหนดค่าเพิ่มเติม โดยคลิกเลือกเพื่อก�ำหนด ให้จดจ�ำต�ำแหน่งของพาเนล (Panel Location) และการจดจ�ำต�ำแหน่งของ เมนู (Menu Customisation) 3. คลิกที่ปุ่ม OK

1. ตั้งชื่อให้กับรูปแบบ 3. คลิกที่ปุ่ม OK

2. กำ�หนดค่าเพิ่มเติม การลบรูปแบบ 1. เลือกค�ำสั่ง Window>Workspace>Delete Workspace... เลือกชื่อรูปแบบที่ต้องการลบ 2. คลิกที่ปุ่ม Delete

1. เลือกชื่อรูปแบบ

2. คลิกที่ Delete

15

E PUB


ปรากฏหน้าต่าง New Document ข้นมา เพื่อให้ก�ำหนดรูปแบบของหน้าระดาษ

Project ในบทนีเ้ ราจะเริม่ ต้นจากการสร้างชิน้ งานตัง้ แต่ในขึน้ ตอนกสน สร้างไฟล์งาน การเปิดไฟล์ การบันทึกไฟล์ รวมถึงการเพิ่มและ การลดจ�ำนวนหน้า ซึ่งเป็นพื้นฐานของการท�ำงานก่อนที่จะ สร้างสรรค์งานในบทต่อไป

การสร้างไฟล์งาน ขัน้ ตอนแรกของการสร้างชิน้ งาน คือ ต้องก�ำหนดรูปแบบและ องค์ประกอบต่างๆ ให้เหมาะสมกับชิน้ งาน ซึง่ การสร้างไฟล์งาน ใน InDesign มีอยู่ด้วยกัน 2 รูปแบบ คือ 1. สร้างไฟล์งานใหม่ (Document, Book, Libraly) 2. สร้างไฟล์งานจากต้นแบบ (Template) สร้างไฟล์งานใหม่ (Document, Book, Libraly) เป็นการสร้างชิน้ งานใหม่ทงั้ หมด โดยใช้ค�ำสัง่ File > New ซึง่ จะมีให้ 3 ตัวเลือก ดังนี้ Document สร้างไฟล์งานใหม่ (นามสกุล .indd) ซึง่ เราต้อง ก�ำหนดขนาด และความละเอียดของไฟล์งาน Book สร้างหนังสือใหม่ (นามสกุล .indb) ซึ่งคือกลุ่มของ ไฟล์งาน ที่น�ำมารวมเป็นเล่ม Libraly สร้างคลังใหม่ (นามสกุล .indl) ส�ำหรับใช้เก็บภาพ หรือข้อความทีใ่ ช้ซำ�้ บ่อยๆ ในบทนีจ้ ะกล่าวถึงการสร้างงานใหม่ (นามสกุล .indd) ก่อน ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ เลือกค�ำสั่ง File > New > Document

การก�ำหนดรูปแบบของไฟล์ สามารถท�ำได้ดังนี้ Document Preset เลือกรูปแบบที่โปรแกรมก�ำหนด ให้ (Default) หรือเลือกก�ำหนดรูปแบบเอง (Custum) Intent เลือกลักษณะชิ้นงาน งานสิ่งพิมพ์ (Print) หรืองานด้านเว็บ (Web) Number of page ก�ำหนดจ�ำนวนหน้า Start Page

ก�ำหนดเลขหน้าเริ่มต้น

Facing Pages ก�ำหนดลั ก ษณะหน้ า กระดาษ แสดงทีละหน้า หรือแสดงสองหน้า Master Text Frame ก�ำหนดให้สร้างกรอบข้อความใน Master Page (หน้าต้นแบบที่เมื่อเราสร้างหน้าใหม่ในไฟล์ งาน หน้านั้นจะมีหน้าตาเหมือนหน้ามาสเตอร์) Page Size ก�ำหนดหน้ากระดาษ โดยโปรแกรม จะมีขนาดกระดาษมาตรฐานให้เลือก ดังนี้

E -book

16


มาตรฐาน

ความหมายของมาตรฐาน

Letter Legal Tabloid Letter-Half Legal-Half A5 A3 A4 B5 Compac Disc Monitor

กระดาษจดหมาย กระดาษมาตรฐานที่ให้ในสหรัฐอเมริกา หนังสือพิมพ์ขนาดเล็ก ครึ่งหนึ่งของกระดาษ Letter ครึ่งหนึ่งของกระดาษ Legal กระดาษมาตรฐาน A5 กระดาษมาตรฐาน A3 กระดาษมาตรฐาน A4 กระดาษมาตรฐาน B5 ซองใส่ซีดี ขนาดจอแสดงภาพ

Custom

กำ�หนดเองในช่อง width และ Height

ขนาด 215.9x279.4 mm 215.9x355.6 mm 279.4x431.8 mm 139.7x215.9 mm 177.8x215.9 mm 148x210 mm 297x420 mm 210x297 mm 176x250 mm 120x120 mm 600x300, 640x480 760x420, 800x600 984x588, 1024x768 1240x620, 1280x800

Width

ก�ำหนดความกว้างของกระดาษ

Height

ก�ำหนดความสูงของกระดาษ

Orientation

ก�ำหนดการจัดวางหน้าแบบแนวตั้ง (Portrait) หรือจัดวางหน้าแบบแนวนอน (Landscape)

Columns

ก�ำหนดจ�ำนวนคอลัมน์ในช่อง Number และก�ำหนดระยะห่างของคอลัมน์ในช่อง Gutter A

B C D

A. พื้นที่หน้าคู่ เส้นสีด�ำ (Spread) B. พื้นที่หน้าเดี่ยว เส้นสีด�ำ (Page) C. ระยะกั้นหน้า เส้นสีบานเย็น (Margin guide) D. ระยะคอลัมน์ เส้นสีม่วง (Column guide) E. ระยะตัดตกขอบเอกสาร เส้นสีแดง (Bleed area)

E

Bleed Slug

ระยะตัดตกขอบเอกสาร ก�ำหนดระยะข้อมูลการพิมพ์ 17

E PUB


ค�ำสั่ ง ต่ า งๆ ในพาเนล Pages Master pages: พื้นที่ ส�ำ ห รั บ จั ด ก า ร ห น ้ า มาสเตอร์

พาเนล Page ในการจัดการกับหน้ากระดาษ การเพิม่ ลด ย้ายหน้า เราสามารถใช้พาเนล Page จัดการได้ ส�ำหรับพาเนลนี้ เรียกใช้โดยค�ำสั่ง Window > Pages หรือกดคีย์ลัด F12 และจะมีส่วนประกอบหลัก ดังนี้

Page: พื้ น ที่ ส�ำหรั บ จัดการหน้ากระดาษ แก้ไขขนาดหน้ากระดาษ ลบหน้ากระดาษ

จ�ำนวนหน้า เพิ่มหน้ากระดาษ การเพิ่มจ�ำนวนหน้า ท�ำได้โดยระบุจ�ำนวนหน้าที่เราต้องการเพิ่ม และระบุต�ำแหน่งที่เราต้องการแทรกหน้าใหม่ลงไป

2. เลือกที่คำ�สั่ง Layout > Pages > Insert Pages

1. คลิกเลือกพาเนล Pages แล้วคลิกเลือกหน้ากระดาษ ที่ต้องการแทรกหน้าเพิ่ม

3. กำ�หนดจำ�นวนหน้า และตำ�แหน่งของหน้าที่ ต้องการแทรก (แทรก 1 หน้าไว้หลังหน้าที่ 1 และ ใช้ต้นแบบ A Title) 4. เลือก OK เพื่อแทรกหน้ากระดาษ

E -book

18


การลบหน้ากระดาษ ท�ำได้โดยการใช้ค�ำสั่ง Layout ดังนี้

2. เลือกที่คำ�สั่ง Layout > Pages > Delete Pages

1. คลิกเลือกพาเนล Pages แล้วคลิกเลือกหน้ากระดาษ ที่ต้องการลบ

3. กำ�หนดหน้าที่ต้องการลบ 4. เลือก OK เพื่อลบหน้ากระดาษ การย้ายหน้ากระดาษ เราสามารถย้ายต�ำแหน่งของหน้ากระดาษ จากต�ำแหน่งหนึ่งไปยังอีกต�ำแหน่งหนึ่งในไฟล์งานพิมพ์ได้อย่างง่ายดาย ดังนี้

2. เลือกที่คำ�สั่ง Layout > Pages > Move Pages

1. คลิกเลือกพาเนล Pages แล้วคลิกเลือกหน้ากระดาษ ที่ต้องการย้าย

3. กำ�หนดหน้าที่ต้องการย้าย 4. เลือก OK เพื่อย้ายหน้ากระดาษ 19

E PUB


หน้าต่าง Move Page สามารถก�ำหนดค่าหน้ากระดาษที่ต้องการย้ายได้ดังนี้ Move Page ก�ำหนดหมายเลขหน้าที่ต้องการย้าย เช่น 2 หรือ 2-3 เป็นต้น Destination ก�ำหนดวิธีย้ายและหมายเลขหน้า ดังนี้ After Page ย้ายไปหลังหมายเลขหน้าที่เลือก Before Page ย้ายไปก่อนหมายเลขหน้าที่เลือก At Start of Document ย้ายไปเป็นหน้าแรกของสิ่งพิมพ์ At End of Document ย้ายไปเป็นหน้าสุดท้ายของสิ่งพิมพ์ Move to ก�ำหนดไฟล์งานพิมพ์ จะแสดงชื่อไฟล์งานพิมพ์ที่ก�ำลังเปิดอยู่ ถ้าเราเลือกที่ Current Document ก็จะย้ายไปอยู่ใน ไฟล์เดิม แต่ถ้าเลือกไฟล์งานพิมพ์อื่น ก็จะเป็นการย้ายไปที่ไฟล์งานพิมพ์นั้น Delete Page After Moving ใช้ในกรณีทยี่ า้ ยหน้าไปทีง่ านพิมพ์อนื่ ถ้าเลือกจะลบหน้าทีย่ า้ ยไปในไฟล์ตน้ ฉบับ แต่ถา้ ไม่เลือก หน้าที่ย้ายไปในไฟล์ต้นฉบับ จะยังอยู่เหมือนเดิม

เครื่องมือวาดรูปทรงเลขาคณิต ส�ำหรับเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวาดการวาดรูปทรงเลขาคณิต ทีม่ ลี กั ษณะตายตัว โปรแกรม InDesign ได้มีเตรียมมาให้ด้วยดังนี้

Regtangle Tool

ใช้ส�ำหรับวาดรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

Ellipse Tool

ใช้ส�ำหรับวาดรูปวงกลมหรือวงรี

Polygon Tool

ใชัส�ำหรับวาดรูปหลายเหลี่ยม

ในขณะที่วาดรูปเรขาคณิตนั้น เราสามารถกดคีย์ค�ำสั่งเพื่อให้เกิดรูปในลักษณะต่างๆ ดังนี้ 1. กดคีย์ <Shift> ค้างไว้ จะท�ำให้ได้รูปเรขาคณิตที่มีความสมมาตร เท่ากันทุกด้าน 2. กดคีย์ <Alt> ค้างไว้ จุดที่คลิกจะกลายเป็นจุดศูนย์กลางของรูปเรขาคณิต และจะเป็นการสร้างรูปเรขาคณิตออกมา จากจุดศูนย์กลาง การใช้เครื่องมือ Polygon Tool หลังจากเลือกใช้เครื่องมือสร้างภาพหลายเหลี่ยม เมื่อคลิกบนบริเวณหน้ากระดาษ จะปรากฎหน้าต่างการตั้งค่ารูปภาพ หลายเหลี่ยม ดังนี้

1. กำ�หนดความกว้าง 2. กำ�หนดความสูง 3. กำ�หนดจำ�นวนของด้าน

E -book

20

4. กำ�หนดลักษณะเพิ่มเติม ให้แต่ละด้านยุบเข้าไปเป็น ลักษณะของรูปดาว ซึ่งยิ่ง ใส่ตัวเลขที่มีค่ามาก มุมก็ จะยิ่งยุบเข้าไป


การวาดภาพด้วย Pen Tool Pen Tool เป็นเครื่องมือที่ใช้วาดเส้นไได้อย่างอิสระ โดยแต่ละส่วนของเส้นนั้น จะถูกเชื่อมต่อถึงกันด้วยจุดยึด (Anchor) ซึ่ง ภายในกลุ่มของ Pen Tool จะมีเครื่องมือต่างๆ ส�ำหรับปรับแต่งเส้นพาธให้เป็นรูปทรงต่างๆ ได้ตามที่ต้องการ ดังนี้

1. Pen Tool ใช้วาดเส้นด้วยปากกา 2. Add Anchor Point Tool ใช้เพิ่มจุดในแนวเส้นพาธ 3. Delete Anchor Point Tool ใช้ลบจุดในแนวเส้นพาธ 4. Convert Direction Point Tool ใช้ลบจุดในแนวเส้นพาธ การวาดภาพด้วย Pencil Tool Pencil Tool ใช้ส�ำหรับการวาดเส้นให้เป็นรูปต่างๆ ได้อย่างอิสระตามการลากเม้าส์ และยังสามารถท�ำการแก้ไขได้อย่างง่ายดาย โดยใช้เครือ่ งมือ Smooth Tool และ Erase Tool เส้นอิสระทีเ่ ราวาดด้วยดินสอนี้ จะประกอบด้วยจุดยืนทีถ่ กู วางในแนวโค้งของ เส้นโดยอัติโนมัติ ซึ่งจะขึ้นอยู่กับลักษณะเส้นที่วาด

1. Pencil Tool ใช้วาดเส้นอย่างอิสระ 2. Smooth Tool ใช้เพื่อตกแต่งเส้นให้โค้งเรียบ 3. Erase Tool ใช้ลบเส้นที่ไม่ต้องการ การเลือกวัตถุด้วย Selection Tool การเลือกวัตถุนั้นเป็นขั้นตอนเริ่มแรกในการท�ำงานกับวัตถุ โดยใช้ Selection Tool คลิกเลือกที่วัตถุที่ต้องการ ดังนี้ 1. สามารถเคลื่อนที่วัตถุที่ต้องการได้ด้วยการคลิกบนวัตถุนั้น 2. สามารถเลือกวัตถุที่อยู่บนหน้ากระดาษทั้งหมดพร้อมๆ กันได้โดยใช้ค�ำสั่ง Edit > Select all หรือกดคีย์ <Ctrl+A> 3. สามารถขยายหรือลดขนาดวัตถุได้

การใส่สีให้วัตถุ เมื่อเราวาดภาพวัตถุเรียบร้อยแล้ว ก่อนที่จะท�ำการลงสี เราจะมาเริ่มต้นรู้จักกับการเลือกใช้สีกันก่อน โดยใน InDesign จะมี กล่องเครื่องมือและพาเนลในการท�ำงานกับสีดังนี้ สีพื้น (Fill) และสีเส้น (Stroke) อยูใ่ นบริเวณกล่องเครือ่ งมือด้านล่าง ใช้เลือกสีพนื้ ของวัตถุ (Fill) และสีเส้นของวัตถุ (Stroke) ใช้ได้กับรูปทรงและ ตัวอักษร

สีพื้น สลับสีพื้น และสีเส้น สีเส้น ก�ำหนดการใส่สีให้วัตถุ หรือตัวอักษร

สีพนื้ ฐานของโปรแกรม

ก�ำหนดการใส่สี

21

E PUB


ก�ำหนดให้ใส่สีของวัตถุ หรือตัวอักษร (Swap Fill and Stroke)

Container

ก�ำหนดให้ใส่สีที่วัตถุ

Text

ก�ำหนดให้ใส่สีที่ตัวอักษร

Color

เป็นการก�ำหนดสีเพียงสีเดียวลงในพื้นที่หรือเส้นขอบของวัตถุ

Gradient

เป็นการระบายสีแบบไล่โทนสีให้กับพื้นที่ หรือเส้นขอบของวัตถุ

None

ไม่มีการใส่สีลงในพื้นที่ หรือเส้นขอบของวัตถุ

การเลือกสีจาก (Color Picker) Color Picker เปรียบเหมือนจานสีขนาดใหญ่ที่เต็มไปด้วยสีนับล้านสีให้เลือกใช้ตามสีสเปกตรัมที่ปรากฏ หรือตามการก�ำหนด ค่าสีเป็นตัวเลข ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้กันมากในการเลือกใช้สี รายละเอียดการใช้ Color Picker มีดังนี้

5. คลิก OK เพื่อใช้ค่าสีที่เลือก 1. เลือกวัตถุที่ ต้องการเปลี่ยนสี 2. ดับเบิ้ลคลิกที่สี พื้นหรือสีเส้น

3. เลือกค่าสี

4.1 เลือกโทนสีที่ต้องการ

การเลือกสีจาก Color Panal จะใช้ในการก�ำหนดค่าสีพนื้ และสีเส้นด้วยค�ำสัง่ Window > Color > Color หรือกดคีย์ <F6> เพื่อเปิดพาเนล Color ซึ่งวิธีการใช้ มีดังนี้

1. เลือกวัตถุที่ ต้องการเปลี่ยนสี

2. ดับเบิ้ลคลิกที่สีพื้นหรือสีเส้น

3. เลือกค่าสี

E -book

22

4.2 ใส่ตัวเลขเพื่อกำ�หนดค่าสีในโหมดต่างๆ

4.1 เลื่อนแถบเพื่อเลือกโทนสีที่ต้องการ 4.2 . ใส่ตัวเลขกำ�หนดค่าสีในโหมดต่างๆ


การเลือกสีจาก Swatches Panel Swatches จะต่างจาก Color ตรงที่ Swatches เป็นเหมือนจานสี ส่วนตัว ใช้เก็บสีที่เราผสมแล้วถูกใจ หรือต้องการน�ำมาใช้บ่อย เรา สามารถเรียกใช้พาเนล Swatches ได้ทันที ด้วยการเปิดหน้าต่าง Swatches ที่ Window > Color > Swatches หรอกดคีย์ <F5> การใส่สีด้วย Eyedropper Tool เป็นเครื่องมือระบายสีให้กับวัตถุ โดยดึงสีของวัตถุอื่นมาใช้ หรือเป็นการคัดลอกสีมาจากวัตถุต้นแบบนั่นเอง ซึ่งเครื่องมือ Eyedropper Tool นี้ นอกจากจะคักลอกสีแล้ว ยังสามารถคัดลอกลักษณะของวัตถุนั้นๆ มาได้อีกด้วย โดยวิธีใช้มีดังนี้

2. เลือกที่เครื่องมือ Eyedropper Tool 1. คลิกเลือกที่วัตถุ

3. เลือกสีจากต้นแบบ

การใส่สีแบบไล่โทน (Gradient) เป็นค�ำสั่งที่ใช้ในการระบายสีแบบไล่โทนสีจากสีหนึ่งไปยังสีหนึ่ง ซึ่งเราสามารถสีแต่ละช่วงที่ใช้ และมุมของการไล่โทนสีได้อีก ด้วย โดยจะใช้งานควบคู่กันระหว่างพาเนล Gradient และ Gradient Swatch Tool และ Gradient Feather Tool ตัวอย่างสี แสดงตำ�แหน่งของจุดสีที่ปรับอยู่ สลับทิศทางการไล่เฉดสี จุดสีแต่ละจุด

กำ�หนดลักษณะการไล่สี ให้เป็นแบบ Linear หรือ Radial กำ�หนดค่ามุมเอียงของกาไล่สีแบบ Linear ปรับสมดุลสีระหว่าง 2 ฝั่ง ซ้ายและขวา

การสร้างวัตถุโปร่งใส (Opacity) ความโปร่งใส (Opacity) เป็นการก�ำหนดให้วัตถุ ที่ ซ้อนกันอยู่ด้านบนวัตถุอื่น มีความใสเหมือนกับกะจก ซึงท�ำให้มองผ่านวัตถุนไี้ ปเห็นอีกวัตถุหนึง่ ทีซ่ อ้ นกันอยู่ ด้านหลังได้ เราสามารถตัง้ ค่า Opacity ได้ทพี่ าเนล Effects โดย เลือค�ำสั่ง Window > Effects > หรือกดคีย์ลัด <Ctrl+Shift+F10> ซึง่ การปรับแต่งค่า Opacity เป็น 100% จะท�ำให้วตั ถุนนั้ เป็นวัตถุ “ทึบแสง” ซึง่ ถ้าปรับ ค่า Opacity เป็น 0% วัตถุนั้นจะล่องหนทันที

กำ�หนดค่า Opacoty เพื่อให้วัตถุ ทึบ หรือโปร่งแสง 23

E PUB


WORKSHOP

n

Design

E -book

24


เตรียมไฟล์งาน Presentation ในบทนี้ Workshop จะเป็นสร้าง Presentation เพื่อแนะนำ�สถาบัน โดยสามารถ เลือกใช้ไฟล์ที่มีในโฟลเดอร์ RMUTT Workshop ซึ่งจะประกอบไปด้วยชิ้นงานต่างๆ ไฟล์ต่างๆ ดังนี้ ความเป็นมา.docx วิสัยทัศน์ พันธกิจ.docx สัญลักษณ์.docx ราชมงคลทั้งเก้าแห่ง.docx RMUTT01.jpg RMUTT09.jpg RMUTT02.jpg RMUTT10.jpg RMUTT03.jpg RMUTT11.jpg RMUTT04.jpg RMUTT12.jpg RMUTT05.jpg RMUTT13.jpg RMUTT06.jpg RMUTT14.jpg RMUTT07.jpg RMUTT15.jpg RMUTT08.jpg RMUTT16.jpg VDO_RMUTT_001.mp4

1. เปิดโปรแกรม Adobe InDesign โดยการ double click ที่คำ�สั่ง Start > All Program > Adobe InDesign CC 2014 2. เลือกที่คำ�สั่ง File > New > Document 3. จากนั้นในหน้าต่าง New Document ให้ตั้งค่าตามภาพตัวอย่าง 4. จากนั้นคลิกที่ OK จะพบกับหน้ากระดาษ ว่างขึ้นมา

25

E PUB


เริ่มจากสร้างปกหน้า หน้าปกเปรียบเสมือนประตูหน้าบ้าน ซึ่งจะเป็นด่าน แรกในการต้อนรับแขกผูม้ าเยือน ดังนัน้ ความสวยงาม น่า มองของหน้าปกจึงเป็นสิ่งส�ำคัญ โดยการท�ำหน้าปกนั้น สามารถท�ำได้ง่ายๆ ด้วยเครื่องมือ Type Tool, Ellipse Tool, Selection Tool, Pen Tool และ Swatches ขั้นตอนการท�ำมีดังนี้ 1. ใช้เครื่องมือ Regtangle Tool สร้างสี่เหลี่ยมครอบ พื้นที่ทั้งหมด 1 ชิ้น

2. ใช้เครื่องมือ Regtangle Tool สร้างสี่เหลี่ยมครอบ ทับไปอีก 2 ชิ้น และเพิ่ม Stoke 2 px. 3. ใช้เครื่องมือ Type Tool พิมพ์ชื่อ สถาบันเป็น ภาษาไทย 1 บรรทัด (ขนาด 40 pt) และภาษาอังกฤษ 1 บรรทัด (ขนาด 24 pt) 4. ใช้เครื่องมือ Pen Tool สร้างเสีนตรงขึ้นมา 1 เส้น โดยให้จุดปลายเส้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม ด้วยการตั้งค่าที่ Stroke > End

5. เลือกคำ�สั่ง File > Place > เลือกที่โฟลเดอร์ RMUTT_workshop > เลือกไฟล์ RMUTT05.jpg > Open 6. สั่งให้ภาพไปอยู่หลั​ังข้อความด้วยการเลือก Selection Tool > คลิกขวาที่รูปภาพ > Arrange > Send Backward เพื่อขยับภาพไปไว้ด้านหลังข้อความ 7, เพิ่มภาพอีก 1 ภาพด้วยการเลือกคำ�สั่ง File > Place > เลือกที่โฟลเดอร์ RMUTT_workshop > เลือก ไฟล์ RMUTT04.jpg > Open

E -book

26


การตั้งค่าหน้า Master Page หน้ า Master Page นั้ น เปรี ย บเสมื อ นการตั้ ง ค่ า Template ให้กับหนังสือซึ่งจะท�ำให้หนังสือของเราดูมี ความเป็นหนึ่งเดียวของเนื้อหามากยิ่งขึ้น โดยการสร้าง Master Page สามารถท�ำได้ ดังนี้

1. เปิด Panel Pages ขึ้นมา จากนั้น double click เลือกที่ A-Master 2. จะมีหน้ากระดาษว่างๆ ขึ้นมา 2 หน้า เพื่อให้เรา กำ�หนดค่า Master Page ทั้งหน้าฝั่งซ้าย-ขวา 3. ลบกรอบข้อความเดิมในหน้า Master Page ออก 4. เลือกเครื่องมือ Pen Tool เพื่อสร้างรูปทรงตกแต่ง เล็กน้อยให้กับ Master Page ดังรูป 5. ใส่เลขหน้าให้ E-book ดังนี้ เลือกเครื่องมือ Type Tool เพื่อสร้างกรอบข้อความ จากนั้นเลือกที่คำ�สั่ง Type > Insert Special Charecter > Markers > Current Page Number 6. เปลี่ยนสีข้อความ และเลือกการจัดตำ�แหน่งข้อความ ให้เป็นแบบ Align Center ตามภาพ 7. คลิกที่เลขหน้า และคลิกขวาเลือก Copy และคลิก ขวาอีกครั้ง เลือก Paste เพื่อ คัดลอกตำ�แหน่งเลขหน้า ไป วางไว้ในหน้ากระดาษฝั่งขวามือ

8. จากนั้น Double click ที่หน้ากระดาษของ Pages เพื่อกลับเข้าสู่หน้าปกติ 27

E PUB


เพิ่มหน้ากระดาษเพื่อสร้างเนื้อหาส่วนต่างๆ เมื่อเราตั้งค่า Master Page แล้วการเพิ่มหน้ากระดาษ สามารถท�ำได้ ดังต่อไปนี้ 1. เลือกที่ Pages Panel

2. คลิกเลือกที่ A-Master Page และลากลงมาต่อท้าย หน้ากระดาษ ดังภาพ ซึ่งสามารถลลากหน้ากระดาษมาเพิ่มได้เรื่อยๆ ตามที่ เราต้องการ เตรียมพื้นที่ให้กับสารบัญ เพื่อความสะดวกในการจัดทำ�สารบัญ ควรมีการตั้งค่า Text Style ตั้งแต่เริ่มทำ�ชิ้นงาน ซึ่งจะช่วยลดการทำ�งานที่ซ้ำ�ซ้อนได้ โดยขั้นตอนการเตรียมสารบัญมีดังนี้ ก�ำหนดสไตล์ของหัวข้อทีจ่ ะน�ำไปสร้างสารบัญ

1. เปิด Styles Panel ขึ้นมาด้​้วยคำ�สั่ง Window > Styles > Paragraph Styles 2. คลิกที่ปุ่ม New Paragraph style เพื่อสร้าง style ของตัวเอง 3. Double click เลือกที่ Paragraph Style 1 เพื่อ ตั้งค่า ให้เป็น “Title syle” โดยสามารถตั้งค่ารูปแบบตัว อักษร ขนาดตัวอักษร และการย่อหน้าได้จากตรงนี้ จาก นั้น คลิกที่ OK เราก็จะมี Title syle 4. ทำ�วิธีเดียวกัน เพื่อตั้งค่า “Heading1” และ “Heading2” และ “Text” โดยให้มีลักษณะ และขนาด ของตัวอักษรต่างกันไป ดังนี้ Heading1 > Font: Supermarket Size: 16 pt. Color: Paper Heading2 > Font: Supermarket Size: 16 pt. Color: Red Text > Font: TH SarabunPSK Size: 16 pt. Color: Blcak

E -book

28


เริ่มต้นจัดการกับเนื้อหา 1. เลือกเปิดไฟล์ “ความเป็นมา.docx” ขึ้นมาเพื่อใช้เป็นข้อต้นฉบับ ในการจัดวางข้อความลงบน E-book

2. เลือก copy ข้อความมาทีละส่วนโดย แบ่งเป็นTitle Heading1, Heading2 และ Text ตามที่เราได้ตั้งค่าไว้ Title Heading1 Heading2

เลขหน้า

หากข้อความที่คัดลอก มาวางในกล่องข้อความ มีความยาวเกินพื้นที่ที่ เตรียมไว้ จะมีเครื่องหมายบวกสี แดงแสดงขึ้นมา ให้ 1. Double click ที่เครื่องหมาย บวก เพื่อแสดงเนื้อหาที่ถูกซ่อนอยู่ 2. หรือคลิก 1 ครั้ง เพื่อย้าย ข้อความที่ซ้อนอยู่นั้นไปแสดงใน หน้าถัดไป

การดึงสารบัญ เมื่อเราใช้ style ตัวเดียวกันกำ�หนดให้ข้อความเฉพาะ ที่เป็นหัวข้อในหนังสือเรียบร้อยแล้ว ต่อไปเราจะดึงหัวข้อ ที่เป็น Style ที่เราระบุไว้ออกมาเป็นสารบัญ ดังขั้นตอน ต่อไปนี้ 1. เลือกที่คำ�สั่ง Layout > Table of Contents...

2. กำ�หนดชื่อสารบัญ และเลือก style ให้ชื่อสารบัญ 3. เลือก Style ที่จะนำ�ไปสร้างเป็นสารบัญ แล้วคลิกที่ ปุ่ม Add เพื่อเพิ่มสไตล์สำ�หรับใช้สรางสารบัญ

4. Style ที่เลือกจะเข้ามาอยู่ที่ช่อง Include Paragraph Styles 5. คลิกที่ปุ่ม OK

29

E PUB


6. คลิกเพื่อสร้างพื้นที่ให้สารบัญในหน้ากระดาษ จากนั้นเมื่อเราเลือกใช้ Style ที่กำ�หนดให้ปรากฏในสารบัญ ข้อความเหล่านั้นก็จะมาปรากฎบนหน้าสารบัญทันที คราวนี้ เมื่อมีพื้นที่ให้สารบัญแล้ว ก็สามารถสร้างเนื้อหาข้างใน โดยไม่ต้องกังวลเรื่องเลขหน้าในการทำ�สารบัญอีกต่อไป การสร้างตาราง

1. คลิกเลือกเครื่องมือ Type Tool 2. คลิกลากเพื่อสร้างกรอบพื้นที่ที่ต้องการสร้างตาราง 3. คลิกเลือกคำ�สั่ง Table > Insert Table

4. ในหน้าต่าง Insert Table ตั้งค่า Body Rows (จำ�นวน แถว) = 7 และตั้งค่า Columns (จำ�นวนคอลัมน์) = 3 เพื่อให้ พอดีกับเนื้อหาที่เตรียมไว้ *หมายเหตุ* จำ�นวน Body Rows และ Columns สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ตามข้อต้นฉบับ 5. คลิกที่ OK เพื่อสร้างตารางตามที่ตั้งค่าไว้ 6. ตารางจะปรากฏบนกรอบข้อความที่เราสร้างไว้ 7. เมื่อนำ�เม้าส์ไปชี้ที่เส้นตาราง จะมีลูกศรสีดำ�ปรากฏขึ้น ซึ่งสามารถคลิกเพื่อปรับขนาดความกว้างและความสูงของ ตารางได้ 8. เมื่อนำ�เม้าส์มาชี้ที่หน้าตาราง จะปรากฏลูกศรสีดำ� สามารถคลิกลากครอบพื้นที่ตาราง เพื่อปรับสีพื้น และสีเส้น ของตารางไปตามต้องการ

9. ตารางที่ผ่านการปรับขนาด สีพื้น และสีเส้นแล้ว

E -book

30


การแทรกไฟล์ VDO การแทรกไฟล์ vdo นั้นไม่ควรแทรกไฟล์วีดิโอที่มีความยาว เกิน 5-10 นาที เพราะการแทรกไฟล์วดี โิ อทีม่ ขี นาดยาว จะท�ำให้ การโหลดข้อมูลนั้นช้าตามไปด้วย ซึ่งขั้นตอนการแทรกไฟล์วีดิโอ มีดังนี้

1. เปิดพาเนล Medie ขึ้นมาด้วยคำ�สั่ง Window > Interactive > Media 2. เลือกคำ�สั้ง Place a video or audio file ที่มุมขวาล่าง ของหน้าต่าง Media 3. คลิกเลือกไฟล์วีดิโอที่ต้องการ แล้วคลิก Open 4. คลิกลากเพื่อสร้างพื้นที่ที่ต้องการวางไฟล์วีดิโอ 5. หน้าจอวีดิโอจะปรากฏบนหน้ากระดาษทันที 6. ที่หน้าต่าง Medie ให้ตั้งค่า Controler เป็น SkinOverall เพื่อใส่ปุ่มควบคุมการเล่นวีดิโอที่จำ�เป็นทั้งหมดบนหน้าจอวีดิโอ ได้แก่ Play, Pause, Stop, Timeline, Volume เป็นต้น

7. คลิกที่ปุ่ม ที่ซ้ายมือด้านล่าง ของหน้าต่าง Media จะมีหน้าต่าง Preview ให้สามารถทดสอบการเล่น วีดิโอได้

31

E PUB


เพิ่มลูกเล่นให้ E-book การเพิ่มลูกเล่นของวัตถุด้วย Effect

1. เลือกเปิด Panel Effects ด้วยคำ�สั่ง Window > Effect

2. เลือกวัตถุที่ต้องการใส่ effect 3. ในที่นี้ต้องการให้ ภาพดูโปร่งใส โดยการลดค่า Opacity จาก 100% ให้เหลือ 30% การใส่เงาให้ฉากหลังวัตถุ Effect: Drop shadow

1. คลิกที่วัตถุที่ต้องการใส่เงาให้ฉากหลัง 2. เลือกเปิด Panel Effects ด้วยคำ�สั่ง Window > Effect 3. คลิกเลือกที่ไอคอน “fx” ตรงด้านล่างของพาเนล แล้วเลือก คำ�สั่ง Drop Shadow 4. ในหน้าต่าง Effect ตั้งค่า Opacity = 12% เพื่อให้เงาไม่เข้ม จนเกินไป 5. คลิกที่ OK เพื่อใส่เงาให้วัตถุที่เลือก

6. รูปที่ได้ใส่เงาให้ฉากหลังแล้ว

E -book

32


การเพิ่ม Transition Transition เป็นการเพิ่มลูกเล่นในการเปลี่ยนหน้า เช่น ให้หน้าใหม่แทรกขึ้นมากลางหน้าเดิม หรือให้หน้าใหม่วิ่ง เข้ามาจากทางซ้ายมือ สามารถแปลงเพื่อใช้งานในไฟล์ .swf หรือไฟล์ flash และไฟล์ interactive pdf ได้ การใช้ transition เราจะกำ�หนดใน Panel PageTransitions ดังนี้

1. เปิด Panel Page Transitions โดยคำ�สั่ง Window > Interactive > Page Transiton 2. ไปที่ Panel Page เลือกหน้าที่ต้องการใส่ Transition 3. กลับมาที่ Panel Page Transitons เลือกรูปแบบ ของ Transitions ที่ต้องการ พร้อมกำ�หนดความเร็วของการ ปรากฏ เช่น ภาพตัวอย่างได้ตั้งค่า รูปแบบ Transitions : Fade Speed : Medium เป็นต้น 4. หากต้องการใส่ Transitions แบบเดียวกันทุกหน้า ให้ คลิกที่ปุ่มคำ�สั่ง Apply to All Spreads ที่ขวามือด้านล่าง ของ Panel Page Transitons การใส่ Animation ให้หน้ากระดาษ เป็นการเพิ่มการเคลื่อไหวให้กับวัตถุ ทั้งรูปทรง รูปภาพ และข้อความ ทำ�ให้วิ่งไปมาในหน้ากระดาษของเรา สามารถ แปลงเพื่อใช้งานในไฟล์ .swf หรือไฟล์ flash ได้เท่านั้น การ ใช้ animation เราจะต้องเลือกวัตถุที่ต้องการก่อน และ กำ�หนดการเคลื่อนไหวใน Panel Animation ดังนี้

1. เปิด Panel Animation ด้วยคำ�สั่ง Window > Interactive > Animation

33

E PUB


2. เลือกชื่อวัตถุที่ต้องการให้เคลื่อนไหว 3. เลือกรูปแบบการเคลื่อนไหว 4. ระบุความเร็วในการเคลื่อนไหว 5. ทิศทางการเคลื่อนไหว การหมุน และ ขนาดของวัตถุ

12. เหตุการณ์ที่จะให้แสดงการ เคลื่อนไหว

6. ให้วัตถุจางหาย 13. ระยะเวลา จำ�นวนครั้ง ที่แสดง หรือเล่นวนไปเรื่อยๆ

7. ให้ซ่อน animation หรือซ่อนวัตถุ เมื่อ Animation แสดงเสร็จ 8. เปิด Panel Preview

14. แปลงเป็น Motion Path 15. ลบ Animation ออกจากวัตถุ

9. แสดงวัตถุในตำ�แหน่งสุดท้าย 10. เปิด Panel Timing การใช้ Panel Timing เป็นเครื่องมือที่ต้องใช้คู่กันกับ Animation เพื่อ จัดลำ�ดับ Animation โดยจะใช้กับแอนนิเมชั่นที่ใช้ เหตุการณ์ On Page Load และ On Page Click เท่านั้น โดยเราสามารถเรียก Panel Timing ด้วยคำ�สั่ง Window > Interactive > Timing แล้วกำ�หนดค่าต่างๆ ดังนี้

1. เลือก On Page Load หรือ On Page Click ที่จะ จัดลำ�ดับ Animation 2. กำ�หนด เวลาหน่วงก่อนที่จะแสดง Animation 3. ลำ�ดับการแสดง Animation จากบนลงล่าง ซึ่ง สามารถใช้เม้าส์คลิกลาก เพื่อจัดลำ�ดับของ Animation ได้

E -book

34


การเพิ่มปุ่มใช้งาน ปุ่มกด (Button) เป็นการเพิ่มปุ่มเพื่อสั่งงาน สามารถ แปลงเพื่อใช้งานในไฟล์ .swf และไฟล์ Interactive PDF ได้ โดยการใช้งานปุ่มกด จะต้องมีการกำ�หนดค่าใน Panel Buttons and forms ดังนี้

1. สร้างกล่องข้อความขึ้นมา 3 กล่อง โดยให้แต่ละกล่อง มีข้อความดังนี้ 1. PREV 2. NEXT 3.TABLE CONTENT (ตามตัวอย่าง) 2. เปิด Panel Buttons and Forms ด้วยคำ�สั่ง Window > Interactive > Buttons and Forms 3. เลือกที่กล่องข้อความ PREV จากนั้น ไปที่ Panel Buttons and Forms และตั้งค่าดังนี้ 1. Type = Button 2. Name = PREV 3. Event = On Release or Tap 4. Action = + Goto Previous Page 5. Rollover = เปลี่ยนสีพื้นเป็นสีชมพูอ่อน 6.PDF Options = Printable

4. เลือกที่กล่องข้อความ NEXT จากนั้น ไปที่ Panel Buttons and Forms และตั้งค่าดังนี้ 1. Type = Button 2. Name = NEXT 3. Event = On Release or Tap 4. Action = + Goto Next Page 5. Rollover = เปลี่ยนสีพื้นเป็นสีชมพูอ่อน 6.PDF Options = Printable 35

E PUB


5. เลือกที่กล่องข้อความ NEXT จากนั้น ไปที่ Panel Buttons and Forms และตั้งค่าดังนี้ 1. Type = Button 2. Name = TABLE CONTENT 3. Event = On Release or Tap 4. Action = + Goto Page 5. Page =2 6. Rollover = เปลี่ยนสีพื้นเป็นสีชมพูอ่อน 7.PDF Options = Printable 6. เมื่อตั้งค่าปุ่ม ทั้ง 3 ปุ่ม เรียบร้อยแล้ว สามารถกด Preview ดูตัวอย่างการแสดงผลได้ *หมายเหตุ* การสร้างปุ่ม ควรสร้างในหน้า Master Page เพื่อให้การแสดงผลเหมือนกันทุกหน้า

การบันทึก และ แปลงไฟล์เป็นรูปแบบต่างๆ การ Save การบันทึกไฟล์ .indd หรือการบันทึกไฟล์เบื้องต้น สามารถทำ�ได้ดังนี้

1. เลือกที่คำ�สั่ง Files > Save หรือ กดคีย์ <Ctrl+S>

2. ตั้งชื่อไฟล์ > คลิก Save

E -book

36


การ Package File เป็นวิธีการบันทึกสำ�หรับส่งโรงพิมพ์ เพราะจะเป็นการดึง ข้อมูลทั้งหมดไว้ในโฟลเดอร์เดียวกัน เช่น ภาพประกอบ Font เป็นต้น เพื่อป้องกันการคลาดเคลื่อนของไฟล์ต้นฉบับ เมื่อสั่ง พิมพ์หนังสือ ขั้นตอนการ Pakage file มีดังนี้

1. เลือกคำ�สั่ง File > Package 2. จะมีหน้าต่าง Package ปรากฏขึ้นมา ให้คลิกที่ Package

3. จากนั้นคลิกที่ปุ่ม Continues 4. ตั้งชื่อโฟลด์เดอร์สำ�หรับ Package File ทั้งหมด > Package 5. โปรแกรมจะเริ่มทำ�การ Package ไฟล์ทั้งหมด

37

E PUB


การ Export File เป็น PDF (Print) การบันทึกเป็นไฟล์ .pdf ธรรมดา นั้นค่า Interactive ที่ เคยตั้งไว้ในไฟล์ต้นฉบับ จะไม่สามารถใช้งานได้ เช่น ปุ่มต่างๆ Transitions Animations และไฟล์วีดิโอ เป็นต้น โดยขั้นตอน การ Export มีดังนี้

1. เลือกคำ�สั่ง File > Export 2. ตั้งค่า File PDF หากต้องการให้ PDF แสดงเป็น หน้าคู่ ให้เลือกที่ Spread หรือหากต้องการให้แสดงผล แบบหน้าเดี่ยวให้เลือกที่ Pages 3. คลิกที่ Export เพื่อสร้างไฟล์ PDF สำ�หรับปริ้นท์

การ Export เป็น Interactive PDF Interactive PDF จะเป็นไฟล์ที่สามารถแสดงคำ�สั่ง Interactive ได้ ในบางจุด ยกเว้นคำ�สั่งปุ่มที่ระบุคำ�สั่ง GotoPage... ดังนั้นปุ่มที่สร้างให้ลิ้งค์ไปที่หน้าสารบัญ จะไม่สามารถใช้งานได้ ขั้นตอนการสร้าง Interactive PDF มีดังนี้

1. เลือกคำ�สั่ง File > Export 2. Save as Type ให้เลือกเป็น Adobe PDF Interactive และตั้งชื่อไฟล์ตามต้องการ > คลิก Save 3. คลิก Export อีกครั้ง

E -book

38


การ Export เป็น SWF การแปลงชิ้นงานให้เป็นไฟล์ .swf นั้นจะเป็นไฟล์ที่สามารถ คงคำ�สั่ง Inter Active ได้ครบถ้วนมากที่สุด โดยไฟล์วีดิโอ คำ� สั่งปุ่ม Transition รวมถึง Animations จะสามารถใช้ได้อย่าง สมบูรณ์ในไฟล์ชนิดนี้ ขั้นตอนการสร้างไฟล์ .swf มีดังนี้

1. เลือกคำ�สั่ง File > Export 2. ตั้งชื่อไฟล์ > เลือก Save as Type ให้เป็น SWF > Save 3. ตั้งค่า Options ของไฟล์ .swf ให้เลือก Incllude Interactive Page curl ด้วยทุกครั้ง > OK

39

E PUB


WORKSHOP

n

Design

E -book

40


ทบทวนความจ�ำ ดังที่ได้กล่าวเบื้องต้นไปแล้วว่า EPUB คือนามสกุลไฟล์ของ E-book อีกประเภทหนึ่งที่ได้รับความนิยมมาก ไม่แพ้ไฟล์ PDF ด้วยขนาดไฟล์ที่เล็กกว่า ไม่เปลืองเนื้อที่ อีกทั้งสามารถปรับ ขนาดตัวอักษรได้ โดยที่ไม่ต้อง Zoom เข้า-ออก เวลาอ่านให้ เสียอรรถรส แต่ข้อจำ�กัดของ EPUB นั้นคือ ไม่สามารถใส่ลูก เล่นกราฟฟิกลงไปได้มากนัก เนื่องจากลักษณะของไฟล์ที่ให้ อิสระในการปรับขนาดตัวอักษรดังนั้น หากใส่ภาพลงไปมากๆ จะทำ�ให้อ่านตัวอักษรยาก EPUB จะเป็นไฟล์ที่สามารถอ่านได้ด้วย E-Book Reader, Tablet, iPad, iPhone และ Smartphone ทุกรุ่น แต่ด้วย ข้อจำ�กัดของเครื่องมือเหล่านี้ที่ยังไม่มี Plugin Flashplayer สำ�หรับรองรับคำ�สั่งแบบ Interactive ดังนั้น การใส่ animation, transition, ไฟล์ VDO หรือปุ่มควบคุมก็จะไม่สามารถ ทำ�ได้ในไฟล์งานชนดนี้ิ หลังจากที่ได้ทบทวนความรู้เกี่ยวกับ EPUB ได้ต่อไปจะเป็น ขั้นตอนการทำ� EPUB ซึ่งจะอธิบายเป็นลำ�ดับดังนี้

เตรียมสร้างชิ้นงาน ก่อนที่จะสร้างชิ้นงาน EPUB นั้น ต้องภาพก่อนว่า ต้องการนำ� ไฟล์นี้ไปใช้กับอุกรณ์ประเภทใด เนื่องจากอุปกรณ์แต่ละชนิดมี ขนาดของหน้าจอที่แตกต่างกันไป ดังนั้น ไฟล์จะไม่สมารถนำ�ไป ใช้ข้ามอุปกรณ์ได้ โดยโดยแกรม InDesign จะมีตัวเลือกสำ�หรับ ตั้งค่าหน้าจอดังนี้ iPad iPhone Kindle Fire/Nook Android 10. โดยใน Workshop นี้จะทดลองทำ� EPUB สำ�หรับ ทำ� E-book ดังนั้น การตั้งค่าส่วนนี้ ให้เลือกที่ iPhone

41

E PUB


เมื่อเลือกตั้งค่าเบื้องต้นเสร็จแล้ว จะปรากฏ workspace ขึ้นมา ซึ่งจะเห็นได้ว่า หน้าตาและอุปกรณ์เครื่องมือ ยังคงเหมือน เดิม แต่ที่แตกต่างออกไปนั้นคือ พื้นที่สำ�หรับสร้างชิ้นงานนั้นมีขนาดเล็กลง

1. ตั้งค่า Master Page โดยใช้วิธี เดียวกันกับการสร้าง Master Page ใน E-book โดยในมาสเตอร์เพจ ให้ใส่เพียง เลขหน้า และกราฟฟิกเล็กน้อยเท่านั้น

2. สร้างหน้าปกให้ EPUB โดยใช้วิธี การแทรกภาพ แบบเดียวกันกับการแทรก ภาพ ใน E-book

E -book

42


3.

3. ตั้งค่า Style ให้กับตัวอักษร เพื่อเตรียมทำ� สารบัญ โดยใช้วิธีการสร้าง Style นั้นใช้แบบเดียวกับการ สร้าง Style ใน E-book หรือเพื่อความสะดวก เราสามารถดึงสไตล์จากไฟล์ Indesign ก่อนหน้านี้มาใช้งานได้เลย ตามวิธีการดังนี้ 1. เปิดพาเนล Paragraph Styles 2.

2. คลิกที่ Dropdown ของ Panel 3. เลือกที่ Load Paragragh Style 4. เลือกไฟล์ .indd ที่มีการตั้งค่า Style ไว้ > Open

1.

5. เลือก Style ที่ต้องการจากนั้นคลิกที่ OK ซึ่ง Style ที่ฌหลดมาแล้วนั้นเราสามารถปรับตั้งค่า ต่างๆ ของตัวอักษรเพิ่มเติมได้ตามความต้องการ

4. สร้างพื้นที่ให้สารบัญ โดยใช้วีธีเดียวกับการสร้างสารบัญใน E-book

5. คัดลอกข้อความจากมาใส่ โดยใช้ข้อมูลจากไฟล์ ประวัติความเป็นมา.docxลงมา วางตาม Style ที่ตั้งค่าไว้

43

E PUB


6. Export File ให้เป็น .epub โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกคำ�สั่ง File > Export 2. ตั้งชื่อ file > เลือก Save as Type ให้เป็น EPUB (Fixed Layout) > Save 3. ตั่งค่า Eport ให้ ค่า Navigation TOC เป็นแบบ Multi Level (TOC Style) 4. Click OK 7. นำ� EPUB ไปติดตั้งในอุปกรณ์ พร้อมใช้งานได้เลย

E -book

44


ขอบคุณข้อมูลดีๆจาก...

1. หนังสือ : สร้างงานสื่อสิ่งพิมพ์แบบมืออาชีพด้วย InDesign CC ฉบับสมบูรณ์ , สำ�นักพิมพ์ ; Graphic guru. 2. บทความ : การออกแบบสิ่งพิมพ์ต่างๆ - หลักการคอมพิวเตอร์กราฟิก , เว็บไซต์ ; http://www.academia. edu/9433298/การออกแบบสิ่งพิมพ์ต่างๆ - หลักการคอมพิวเตอร์กราฟิก/. 3. บทความ : 6 เหตุผลที่คุณจะรวยเพราะอีบุ๊ค! , เว็บไซต์ ; http://blog.ookbee.com/2015/03/03/5-6 เหตุผลที่คุณจะ รวยเพราะอีบุ๊ค!/. 4. บทความ : อีบุ๊ค ePub vs PDF แบบไหนเป๊ะ แบบไหนโดน?! , เว็บไซต์ ; http://blog.ookbee.com/2015/01/ อีบุ๊ค ePub vs PDF แบบไหนเป๊ะ แบบไ/. ...................................................................

45

E PUB



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.