วิปัสสนาชีวิต

Page 1


Vipassana2008.pmd

1

10/12/2552, 13:25


ชือ่ หนังสือ ISBN :

วิปสสนาชีวิต พระครูปลัดวีระนนท วีรนนฺโท 978-974-372-463-3

ภาพประกอบโดย วิชา นนทแกว พิมพครัง้ ที่ ๔

ตุลาคม ๒๕๕๑

จำนวน

๑๐,๐๐๐ เลม

จัดพิมพโดย

โครงการพิมพหนังสือธรรมะวัดปาเจริญราช ๑๒/๑๙ คลอง ๑๑ ต.บึงทองหลาง อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี โทร.๐๒-๙๙๕-๒๑๑๒ โทรสาร.๐๒-๙๙๕-๒๔๗๗ WWW.WATPACHAROENRAT.COM

พิมพแจกเปนธรรมทาน สนใจปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐานสี่หรือผูมีจิตศรัทธาทาน ใดประสงคพมิ พหนังสือธรรมะของวัดแจกเปนธรรมทานสอบถาม รายละเอียดไดที่วัด หนังสือเลมนีพ้ มิ พดว ยกระดาษถนอมสายตา (green-read) พิมพที่

หอรัตนชัยการพิมพ ๓๓/๒๘ ซอยเพชรบุรี ๕ เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทร ๐ ๒๒๑๕ ๙๖๘๑-๓, ๐ ๒๒๑๖ ๙๔๖๔ โทรสาร ๐ ๒๒๑๖ ๙๔๖๕ Dhammaintrend ร่วมเผยแพร่และแบ่งปันเป็นธรรมทาน Vipassana2008.pmd

2

10/12/2552, 13:25


คำปรารภ ขาพเจาไดจัดพิมพหนังสือวิปสสนาชีวิตใหเปนธรรมทาน เพือ่ จุดมงุ หมายดังนี้ :๑. เพื่อชวยเผยแพรพระพุทธศาสนาดานปฏิบัติ ๒. เพื่อใหทุกคนเขาใจในการปฏิบัติอยางถูกตอง ๓. เพื่อเปนคูมือของผูที่จะลงมือปฏิบัติแตขาดครูอาจารย และ สถานที่ ๔. เพือ่ ใหทกุ คนพบความสุขทีแ่ ทจริงจากการปฏิบตั แิ ละเขาใจ ชีวิตตัวเองมองตัวเองรู ๕. เพื่ออนุเคราะหผูมีเวลานอยอยูบาน เมื่อไดอานหนังสือเลม นี้แลวก็สามารถปฏิบัติเองได เมื่อทานไดรับหนังสือเลมนี้แลวโปรดทำความเขาใจและลงมือ ปฏิบัติดวยตนเอง แลวทานจะไดพบความสุขที่แทจริงของชีวิต ทานจะมัวนิ่งเฉยอยูใยเลา ลงมือปฏิบัติวิปสสนาสมาธิกันเถิด เพื่อประโยชนทั้ง ๓ คือ ประโยชนชาตินี้ ประโยชนชาติหนาและ ประโยชนอยางยิ่ง คือพระนิพพาน

เทคนิคการเจริญกรรมฐานเพื่อใหเกิดสมาธิโดยงาย

กรรมฐาน หรือกัมมัฏฐาน มี ๒ อยาง คือ ๑. สมถกรรมฐาน คือ กรรมฐานทีท่ ำใหใจสงบงาย ๒. วิปสสนากรรมฐาน คือ กรรมฐานทีท่ ำใหเกิดปญญา กรรมฐานทัง้ ๒ อยางนี้ ตองอิงอาศัยซึง่ กันและกัน โดยเฉพาะอยางยิง่

Vipassana2008.pmd

3

10/12/2552, 13:25


4

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

ในการพิจารณาสภาวธรรรมตางๆ ในการปฏิบตั วิ ปิ ส สนากรรมฐานขัน้ สูง ตองอาศัยสมถกรรมฐานเปนพื้นฐาน เปนพลังในการเจริญปญญา

การปฏิบัติเพื่อใหสมาธิตั้งมั่นไดเร็วและงาย มีดังนี้

๑. ตองมีองคภาวนา เชน พองหนอ- ยุบหนอ พุทโธ หรือ สัมมา อะระหัง เปนตน เสียกอน ตัวอยางเชน การภาวนา "พุทโธ" ขั้นแรก สติของเราตองอยทู ี่คำวา "พุทโธ" โดยเอาสติมาจับอยู ที่ปลายจมูก ใหรูตรงที่ลมกระทบเวลาหายใจเขาและหายใจออกอยาง ชัดเจนและละเอียด ขัน้ ทีส่ อง คือ การตามลมเขา ตามลมออก โดยการภาวนา "พุท" เวลาหายใจเขา และกำหนดภาวนาวา "โธ" เวลาหายใจออก ใหเอาจิต ไปจดจออยทู ลี่ มหายใจเขาออกตลอดเวลา โดยไมใสใจกับสิง่ ทีม่ ากระทบ จากภายนอก หรือ ภายใน จิตจึงจะเปนสมาธิไดเร็ว ตอจากนั้นไมวา จะเกิดอะไรขึ้นก็ตาม ถามุงไปทาง ฌานหรือฌานสมาบัติ ก็ใหภาวนา พุทโธ อยางตอเนือ่ งตลอดไป พรอมกำหนดจิตลงสสู ภาวธรรมทีก่ ำลัง เกิด ที่กำลังเห็นในขณะนั้น ขณะที่จิตดิ่งลงสูองคฌาน ก็มีสติรู และ ปลอยลงไปตามองคฌาน เพือ่ ใหเปนไปตามธรรมชาติของพลังอำนาจ สมาธิ จนกวาจะไมมีความรูสึกทางกาย วารางกายเรามีอยู เราจะเห็น แตดวงจิตเปนอยางเดียว ไมมอี ารมณอนื่ แทรก นีเ้ รียกวา "องคฌาน" ๒. วิธีการยกจิตขึ้นสูองคฌาน ใหผูปฏิบัติกำหนดรูเสมอวา ขณะนี้เรากำลังทำอะไรอยู (กลาวคือ อยูในสมาธิ) เพื่อไมใหจิต สัดสายออกไปขางนอก ถาจิตสัดสายออกไปขางนอกเมื่อใด ให กำหนดภาวนาอยางมีสติ โดยคอยๆ ดึงจิตมาดูทฐี่ านของจิต คือทีห่ วั ใจ

Vipassana2008.pmd

4

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

5

ทีเ่ รียกวา "หทัยวัตถุ" แลวกำหนดองคบริกรรมตอไปวา "พุทโธ พุทโธ" หรือ คำบริกรรมอยางใดอยางหนึ่งอยางรวดเร็วและถี่ โดยไมเวนใหมี ชองวาง เพื่อปองกันไมใหความคิดอื่นมาแทรก และขณะที่ผูปฏิบัติ กำลัง จะออกจากองค ฌ านใดองคฌ านหนึ่ง เมื่อ กำหนดไดแ ลว ให กำหนดจิตจำสภาวะของขณะจิตนัน้ วาอยใู นอาการใด แลวจึงคอยผอน ลมหายใจยาวออกมาเบาๆ พรอมกับถอยจิตออกจากองคฌานนัน้ ๆ และ ใหจำสภาวะนัน้ ใหได กลาวคือ เมือ่ ผปู ฏิบตั จิ ะเขาสสู มาธิในบัลลังกตอ ไป ใหกำหนดลมหายใจยาวๆ ทั้งเขาและออกพรอมกับนอมจิตเขาสู องคฌานทีอ่ อกมาในครัง้ กอน นีเ้ รียกวา การตอองคฌาน หรือ ตอสภาว ฌาน ๓. การยกจิตขึ้นสูสภาวฌานหรือฌาน ผูปฏิบัติจะตองอาศัย พื้นฐานของสมถะเปนกำลัง เพื่อนำไปพิจารณาสภาวธรรมที่เกิดขึ้น ในปจจุบนั ขณะนัน้ ใหไดอยางตอเนือ่ ง แจมแจง ชัดเจน หากสมาธิออ น ผูปฏิบัติจะไมสามารถอดทนตอสภาวะของเวทนาได การพิจารณา สภาวธรรมที่เกิดขึ้น ไมวาจะเปนทุกขเวทนา หรือสุขเวทนาจะตอง อาศัยสมาธิที่ตั้งมั่นเปนองคฌานมาเปนกำลังอยางมาก นอกจากนี้ใน การเขาไปพิจารณาอาการตางๆ ทีเ่ กิดขึน้ กับฐานตางๆ ทีก่ ระทบ ทีบ่ บี คั้น ทั้งสภาวะภายนอกและภายใน จะตองอาศัยองคฌานเปนพื้นฐาน เปนกำลังของจิต เพื่อเขาไปพิจารณาสภาวธรรมทั้งหลายทั้งปวงใน ขณะนั้นๆ ๔. การภาวนาที่จะใหเกิดสมาธิอยางรวดเร็ว และมีสภาวะที่ ชัดเจน แจมแจง ผูปฏิบัติจะตองมีสมาธิที่ตั้งมั่น แนวแนเปน "เอกัค คตารมณ" (เปนอารมณเดียว) ไมหวั่นไหวตอสภาวะเล็กๆ นอยๆ

Vipassana2008.pmd

5

10/12/2552, 13:25


6

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

ตัวอยางเชน ในการภาวนา "พองหนอ-ยุบหนอ" ผปู ฏิบตั จิ ะตองกำหนด รู และมีความรูสึกที่อาการพอง และอาการยุบของทองเพียงอยางเดียว โดยไมเผลอสติ ตองมีความรูที่ชัดเจนเหมือนกับการนั่งดูทีวี หรือ นั่ง มองดูนกบินในทองฟา หรือ มองดูคนปวยหายใจระรัวๆ อยูบนเตียง พยาบาล ใหเห็นภาพชัดเจน คือ เห็นอาการที่ทองพอง ทองยุบ อยาง แนชัดเสียกอน อยาไปใสใจกับสภาวะอารมณเล็กๆ นอยๆ ที่เกิดขึ้น ภายในจิต หรือที่มากระทบจากภายนอก ถาหากผูปฏิบัติไปใสใจ กำหนดตามสภาวะทีก่ ระทบ หรือสิง่ ทีม่ ากระทบ และสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ภาย ในจิต อารมณกรรมฐานของเราก็จะรั่ว และไหลไปตามสภาวะเล็กๆ นอยๆ นั้น ทำใหไมเกิดสมาธิที่ตั้งมั่นไมมีพลังของสติที่จะไปกำหนด ทำใหผูปฏิบัติเกิดความทอแทเหนื่อยหนายตอการปฏิบัติ ทัง้ นีเ้ ปนเพราะผปู ฏิบตั ไิ มเขาใจชัดเจนในองคภาวนา หรือฐาน ทีจ่ ติ ไปกำหนดดู จึงทำใหหลายตอหลายคนไมสามารถปฏิบตั ไิ ด และ เบื่อหนายตอการปฏิบัติ และบอกวาไมไดอะไรเลย บางครั้งก็กลาววา ตนเองไมมบี ญ ุ หรือมีบญ ุ นอย นีค้ อื ความเขาใจผิดของผปู ฏิบตั ิ หากทาน ใดอยากปฏิบตั ิกรรมฐานไมวาจะเปนสมถะหรือวิปสสนา ก็ตองอาศัย ฐานที่ตั้งเปนจุดยืนใหไดเสียกอน ดังนั้นไมวาจะภาวนาอะไร จะตองทำเชนนี้เสมอ จิตจึงจะเกิด สมาธิ เมือ่ สมาธิตงั้ มัน่ มีจดุ ยืน และรฐู านของการปฏิบตั ดิ แี ลวเราก็จะ สามารถกำหนดพิจารณาไปตามสภาวะไดอยางงายดาย เปรียบเหมือน ลมพัดตนออ และพอลมหยุดพัด ตนออก็ตั้งตรงขึ้นมา ฉันใดก็ฉันนั้น เมื่อพลังสมาธิมั่นคงแลว สภาวะที่มากระทบกระทั้งจากภายนอกและ ภายในจิตก็ไมหวั่นไหว สามารถกำหนดพิจารณาได รูเทาทันไดตอ

Vipassana2008.pmd

6

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

7

สภาวะอารมณที่เกิดขึ้น และเมื่อเรากำหนดตามฐานตางๆ ได อยาง สะดวกสบายเวลามีอารมณมากระทบ สภาวธรรมและฌาน ก็เกิดขึน้ ได งายในระยะเวลาอันสัน้ เหมือนกับทานพระโกณฑัญญะ ทีม่ จี ดุ ยืนตัง้ มัน่ ดีแลว ก็กำหนดรสู ภาวะตามทีเ่ กิดขึน้ ได ไดรแู ละไดเห็นอยางแจมแจง พิจารณาจนเกิดปญญา สามารถยกฐานะตนเองเปนอริยบุคคลไดโดยงาย ทำไมถึงตองมีองคภาวนา เพราะองคภาวนามีความสำคัญเปน อยางมากตอการปฏิบัติ อุปมาเหมือนดั่งเรือที่วิ่งอยูในแมน้ำ แตถามี เฉพาะเรือแตไมมีคนขับ เรือก็ไมสามารถที่จะวิ่งไปถึงจุดหมายปลาย ทางได สติที่กำหนดองคภาวนาก็เปรียบเสมือนคนจับหางเสือ หรือ เหมือนกับรถทีจ่ ำเปนจะตองมีคนขับทีร่ จู กั ทาง รจู กั วิธขี บั รถใหเดินทาง ไปถึงเสนชัยใหได แตถา ไมมคี นขับจับพวงมาลัยทีเ่ ขาใจและเกงก็ไม สามารถทีจ่ ะไปถึงเสนชัยไดเลย รถหรือเรือก็จะออกนอกเสนทางหรือ เดินทางไปไมไดไกลก็จะเกิดปญหาขึน้ ภายหลัง การปฏิบตั ทิ จี่ ะใหได ผลดีรอ ยเปอรเซ็นตนนั้ ผปู ฏิบตั จิ ะตองมี วิรยิ ะ มีสติ มีสมาธิ มีความ อดทนและมีปญญารูเทาทันตามความเปนจริง ที่เรียกวา รูอริยสัจสี่ รตู ามความเปนจริง ในปจจุบนั อารมณนนั้ ๆ ๕. การกำหนดจิตขึ้นสูวิปสสนา เมื่อจิตตั้งมั่นแลว จะตอง กำหนดภาวนาตามฐานทีก่ ระทบ เชน ตา เห็นรูป กำหนดทีต่ าวา "เห็นหนอ" หูไดยินเสียง กำหนดทีห่ วู า "ยินหนอ" จมูกไดกลิน่ กำหนดทีจ่ มูกวา "กลิน่ หนอ" ลิน้ รรู ส กำหนดทีล่ นิ้ วา "รหู นอ" คือ รรู ส เปรีย้ ว หวาน มัน เค็ม ตางๆ

Vipassana2008.pmd

7

10/12/2552, 13:25


8

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

กาย สัมผัส กำหนดวา "รหู นอ" คือ รสู มั ผัส เย็น รอน ออน แข็ง ใจ กำหนดวา "รหู นอ" รวู า ปรุงแตงหรือไมปรุงแตง กำหนด ทีต่ น จิต คือ ทีห่ วั ใจ นี่คือขั้นของการกำหนดวิปสสนากรรมฐาน คือ กำหนดตาม ฐานทีก่ ระทบ หรือฐานทีเ่ กิดโดยตรงปจจุบนั ขณะทันที พอกำหนดได ทัน หรือรูเทาทันตอสภาวะอาการที่มากระทบทั้งภายในและภายนอก ผูปฏิบัติตองมีสติระลึกรูอยูเสมอ โดยไมเผลอ นี้คือการกำหนดฐานที่ เกิดของจิต หรือวิปสสนากรรมฐาน ซึ่งมีอยู ๔ ฐานใหญๆ คือ การ กำหนดทีก่ าย กำหนดทีเ่ วทนา กำหนดทีจ่ ติ และกำหนดทีธ่ รรมารมณ เชน พอใจ ไมพอใจ ชอบ ไมชอบ เปนตน ขณะทีภ่ าวนา หรือ ปฏิบตั อิ ยู ไมวา จะยืน เดิน นัง่ นอน กิน ดืม่ ทำ พูด คิด ก็ใหมสี ติรอู ยตู ลอด นีเ้ รียกวา เจริญสติปฏ ฐาน ๔ โดยไม ใหจติ ออกนอกตัว จึงจะทำใหเกิดปญญาวิปส สนา หรือวิปส สนาภูมิ กาวยางแรกทีย่ ากยิง่ นักปฏิบตั ทิ กุ ทุกคน งวง ฟงุ และไมพอใจ บางครัง้ "นึกเสียใจสะกิดตาม" มันมิใชเรือ่ งงายนัก ฝกฝน ปฏิบตั ิ ภาวนา

ทุกสิง่ ชางสับสน นอมตนรับเอาขันติธรรม สงสัยเกียจครานโหมซ้ำ ไมนา ถลำมาเลยนะ ทีจ่ กั ไดลงมือทำ สิง่ ล้ำคา นำพาจิตพิสทุ ธิ.์ ..พุทธธรรม พระครูปลัดวีระนนท วีรนนฺโท

Vipassana2008.pmd

8

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

9

สารบัญ หนา เวลาทำความดี กำไรชีวิต

ผลของบุญและผลของบาป

ประโยชนของการเดินจงกรม การเดินจังหวะที่ ๑

เดินจงกรมจังหวะที่ ๑ - ๓

จิตเกิดเมตตาเองได แผเมตตา (บาลี)

Vipassana2008.pmd

9

๒๔ ๒๕

๑๙

๒๒

๑๖ ๑๗

๑๔

๑๔

๑๓

๑๒

๑๑ ๑๑

การนอนเจริญวิปสสนาสมาธิ วิปสสนา ๕ นาที

การนั่งเจริญวิปสสนาสมาธิ

เดินจงกรมจังหวะที่ ๔ - ๖

การเจริญสติปฏ ฐาน ๔

สมาทานวิปสสนากัมมัฏฐาน การเดินจงกรม

๒๙ ๒๙ ○

๓๐

10/12/2552, 13:25


10

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

แผเมตตา (ภาษาไทย-คำกลอน) อานิสงสของการแผเมตตา

จากพระคาถาธรรมบทมีอยู ๑๐ ขอ โสฬสญาณ

คุณลักษณะของโสดาบัน อานิสงสของวิปสสนา

คุณสมบัติของผูปฏิบัติธรรม ไตรลักษณของพระพุทธเจา ประโยชนของวิปสสนา พุทธประสงค

๓๒ ๓๔

๓๔

๓๒

๓๐ ๓๑

๓๕ ○

๓๖

๓๗ ๓๘

ภาคผนวก ประวัติพระครูปลัดวีระนนท วีรนนฺโท แนะนำหนังสือธรรมะ

Vipassana2008.pmd

10

๔๕

๕๑

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

11

เวลาทำความดี ๐๓.๓๐ - ๐๔.๐๐ น. ๐๔.๐๐ - ๐๖.๐๐ น. ๐๗.๐๐ น. ๐๘.๐๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑๐.๓๐ น. ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. ๑๖.๐๐ - ๑๗.๐๐ น. ๑๗.๐๐ - ๒๑.๐๐ น.

สัญญาณระฆัง สรีระกิจ สวดมนตทำวัตรเชา ปฏิบตั วิ ปิ ส สนากรรมฐาน รับประทานอาหารเชา ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน รับประทานอาหารเพล ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน ดืม่ น้ำปานะ สรีระกิจ สวดมนตทำวัตรเย็น ปฏิบตั วิ ปิ ส สนากรรมฐาน

ผทู มี่ อี นิ ทรียอ อ นก็หยอนใหนอ ยหนอย สวนผทู มี่ อี นิ ทรียแ กกเ็ พิม่ ขึน้ ไปอีกนิด สำนักนีม้ แี ตการปฏิบตั อิ ยางเดียวตลอดป มีอาจารยควบคุมในการ ปฏิบตั ิและสอบอารมณ

กำไรชีวิต

การทำมาหากินหาเก็บของมนุษย จะโดยการทำนา ทำสวน ทำไร คาขาย ราชการ เพือ่ นำมาเปนคาอาหารประจำวัน เพือ่ สรางทีอ่ ยู อาศัย คาเสือ้ ผาไวนงุ หม คายารักษาโรคเมือ่ ยามเจ็บไข อีกสวนหนึง่ ที่ เหลือเก็บไวใชในยามจำเปนบาง เอามาทำบุญบาง ทำไมเราจึงตอง ทำบุญ บุญคืออะไร เงินทองหามาเหนือ่ ยเกือบตาย นาจะเก็บเอาไว กลับเอามาทำบุญใหคนอืน่ เพือ่ อะไร สาเหตุทเี่ ราทำบุญก็เพราะเราเชือ่ วามีบญ ุ จริง ผลของบุญเราไดพสิ จู นแลววาคนเราทีเ่ กิดมาไมเหมือนกัน ก็เพราะทำบุญมาไมเทากัน นี่เองเปนสาเหตุที่บางคนรวย บางคนสวย

Vipassana2008.pmd

11

10/12/2552, 13:25


12

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

บางคนมีปญ  ญาดี บางคนมีปญ  ญาทราม บางคนมีอายุยนื บางคนมีอายุ สัน้ บางคนมีโรคนอย บางคนมีโรคมาก แตบางคนเกิดมายากจน ขีเ้ หร ขี้โรค ปญญาออน ทั้งๆ ที่ทุกคนไมมีใครตองการสิ่งที่ไมดี ทุกคน ตองการความดี พระพุทธเจาตรัสวาคนจนเพราะไมทำทาน คนรวย เพราะทำทาน คนสวย เพราะรักษาศีล คนขีเ้ หร เพราะไมรกั ษาศีล คนมี ปญญาดี เพราะชอบฟงธรรม ปฏิบัติธรรม คนอายุยืน เพราะไมเบียด เบียนชีวิตผูอื่น คนอายุสั้น เพราะชอบเบียดเบียนชีวิตของผูอื่น คนมี โรคนอย เพราะไมเบียดเบียนสัตว คนขีโ้ รค เพราะชอบเบียดเบียนสัตว ชอบทรมานสัตว กักขังสัตว เมือ่ เราไดพสิ จู นตามเหตุผลแลวก็เห็นจริง ตามทีพ่ ระพุทธเจาตรัสไว ดูทตี่ นเองบาง ดูทคี่ นอืน่ ใกลๆ เราบาง เมือ่ เรารเู ราเห็นอยางนีเ้ ราจึงทำบุญ เราอยากมีอายุยนื ไมมโี รคนอยจึงรักษาศีล เราอยากรวยจึงใหทานตามกำลัง เราตองการเปนคนมีปญ  ญา จึงตองฟง ธรรม เจริญภาวนา บางครัง้ ขีเ้ กียจ ก็ตอ งฝน เพราะไมตอ งการเปนคนโง

ผลของบุญและผลของบาป

บาปเป น สิ่ ง ที่ เ ศร า หมอง ให ผ ลเป น ความทุ ก ข บุ ญ คื อ สิ่ ง ที่ ผองใส ใหผลคือความสุข บาปเสมือนฝุนละอองหรือโคลนตม บุญ เสมือนน้ำชำระฝุน หรือโคลนตม ทุกคนเกิดมาตองมีบาปติดตัวมา ทุกคนจะมากหรือนอยเทานัน้ สวนของบุญทีเ่ ราทำใหมากแลว จะกลาย เปนบารมี บารมีเมือ่ เต็มบริบรู ณดแี ลว จะเปนพรสวรรค เปนเหตุใหเรา สมหวัง สมปรารถนา มนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ พรหมสมบัติ นิพพาน สมบัติ ลวนเกิดมาจากบุญทัง้ นัน้ ผทู พี่ น จากบาปเวรกรรม ไมตอ งไปใช กรรมในเมืองนรก ก็เพราะบุญ ทุกคนจึงควรทำบุญ เพือ่ เปนกำไรชีวติ

Vipassana2008.pmd

12

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

13

ของตนเอง ทรัพยสมบัติที่เราไดมา ถาเราใชจายเฉพาะในครอบครัว ของเรา ทรัพยก็มีประโยชนกับเราเพียงชาติเดียว ถาเราใชทรัพยนี้ ทำบุญบำเพ็ญกุศล ทรัพยก็จะเปนประโยชนกับเราทั้งชาตินี้และชาติ หนา ทานที่มีปญญาจึงควรใชทรัพยใหเปนประโยชนในโลกทั้งสอง

สมาทานวิปส สนากัมมัฏฐาน คำขอมอบการถวายตัวตอพระรัตนตรัย นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (วา ๓ หน)

อิมาหัง ภันเต ภะคะวา อัตตะภาวัง ตุมหากัง ปะริจจะชามิ ฯ ทุตยิ มั ป อิมาหัง ภันเต ภะคะวา อัตตะภาวัง ตุมหากัง ปะริจจะชามิ ฯ ตะติยมั ป อิมาหัง ภันเต ภะคะวา อัตตะภาวัง ตุมหากัง ปะริจจะชามิ ฯ ข า แต พ ระผู มี พ ระภาคเจ า ผู เ จริ ญ ข า พเจ า ขอมอบอั ต ภาพ รางกายชีวิตเพื่อเปนพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา ที่จะปฏิบัติพระ กัมมัฏฐานโดยการตัง้ สติกำหนดไวทลี่ มหายใจเขาออก ลมหายใจเขาก็รู ลมหายใจออกก็รู ๓ หน และ๗ หน ๑๐๐ หน และ๑,๐๐๐ หน นับแต บัดนีเ้ ปนตนไป ขอขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ จงบังเกิดใน ขันธสันดานของขาพเจาตั้งแตบัดนี้เปนตนไปเทอญฯ

Vipassana2008.pmd

13

10/12/2552, 13:25


14

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

คำสมาทานวิปสสนากัมมัฏฐาน อะหัง วิปส สนากัมมัฏฐานัง สะมาทิยามิ ทุตยิ มั ป อะหัง วิปส สนากัมมัฏฐานัง สะมาทิยามิ ตะติยมั ป อะหัง วิปส สนากัมมัฏฐานัง สะมาทิยามิ สัพพะทุกขะ นิสสะระนะ นิพานะ สัจฉิกะระนัตถายะ ขาพเจาขอสมาทานพระวิปสสนากัมมัฏฐาน แมในครั้งที่สอง แมในครัง้ ทีส่ าม ขาพเจาขอสมาทานพระวิปส สนากัมมัฏฐาน เพือ่ ทีจ่ ะ กระทำพระนิพพานใหแจง อันปนทีส่ นิ้ ไป แหงกองทุกขทงั้ ปวงเทอญฯ

การเดินจงกรม

การปฏิบตั วิ ปิ ส สนาสมาธิ ของพระพุทธเจานัน้ ตองเดินจงกรม กอนนั่งสมาธิทุกครั้ง ถาจะนัง่ สมาธิ ๕ นาที ตองเดินจงกรมกอน ๕ นาที ถาจะนัง่ สมาธิ ๑๕ นาที ตองเดินจงกรมกอน ๑๕ นาที ถาจะนัง่ สมาธิ ๓๐ นาที ตองเดินจงกรมกอน ๓๐ นาที ถาจะนัง่ สมาธิ ๑ ชัว่ โมง ตองเดินจงกรมกอน ๑ ชัว่ โมง ในประเทศอินเดีย มีทเี่ ดินจงกรมอยใู กลคนั ธกุฎขี องพระพุทธเจา ในวัดพระเชตวันมหาวิหาร ซึง่ แสดงวาวิชาวิปส สนาสมาธิมกี ารเดินจงกรม แนนอน และขางๆเจดียพุทธคยาก็มีที่เดินจงกรมของพระพุทธองค

ประโยชนของการเดินจงกรม

พระพุทธเจาตรัสไวในคัมภีรพระไตรปฎกวา การเดินจงกรมมี ประโยชน ๕ ประการ คือ

Vipassana2008.pmd

14

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

15

๑. ทำใหการเดินทางอดทนมาก ๒. ทำใหมีความพากเพียรดี ๓. ทำใหมีอาพาธแตนอย ๔. ทำใหชวยยอยอาหาร ๕. ทำใหสมาธิตั้งมั่นอยูไดนาน กอนเดินจงกรม ใหยืนตัวตรงอยากมหนาดูเทา ใหทอดสาย ตาไปขางหนาประมาณ ๔ ศอก มือทัง้ สองไขวไวขา งหลัง ใหภาวนาใน ใจวา "ยืน - หนอ" (๕ ครัง้ ) "อยากเดิน - หนอ" (๕ ครัง้ ) ขวายางหนอ - ซายยางหนอ เดินตามทีเ่ รากำหนดเวลาไว ๑. ยืนกำหนด (STANDING MEDITATION)

ยืนหนอ ๕ ครัง้ (STANDING STANDING STANDING STANDING STANDING)

Vipassana2008.pmd

15

10/12/2552, 13:25


16

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

การเดินจังหวะ ๑

การเดินมีจงั หวะ ๑ มี ๑ หนอ เมือ่ กาวเทาขวา ใหภาวนาในใจวา "ขวา" ใหจติ มาสัมผัสทีฝ่ า เทาขวา เตรียมตัวไวยงั ไมกา ว เมือ่ กาวเทา ขวาออกไป ใหภาวนาในใจวา "ยาง" เมื่อวางฝาเทาจดพื้น ใหภาวนา วา "หนอ" เมือ่ จะกาวเทาซาย ใหภาวนาในใจวา "ซาย" ใหจิตมาสัมผัสที่ ฝาเทาซาย เตรียมตัวไวยังไมกาว เมื่อกาวเทาซายออกไปใหภาวนา ในใจวา "ยาง" เมือ่ วางฝาเทาซายจดพืน้ ใหภาวนาในใจวา"หนอ" การ เดินจงกรมไมเดินเฉพาะตองเดินใหพรอมกันทัง้ กายและใจ ขณะทีเ่ ดิน จิตของผูเดินจะตองอยูที่เทาเสมอ จิตก็ตามการยางไปดวย การเดินจังหวะ ๑ จึงภาวนาในใจวา "ขวายาง - หนอ" "ซาย ยาง - หนอ" เมือ่ เดินไปสุดฝาหอง หรือสุดระยะทางทีก่ ำหนดไวใหหยุด แลวภาวนาวา "ยืน - หนอ" (๕ ครัง้ ) "อยากกลับ - หนอ" (๕ ครัง้ ) "กลับ - หนอ" (๕ ครัง้ ) การกลับตัว ใหหมุนกลับทางขวา โดยยกปลายเทาขวาแลวหมุน ตัวดวยสนเทาขวาพรอมกับภาวนาในใจวา "กลับ" ยกปลายเทาขวา "หนอ" หมุนเทาขวาไปหยุดในระยะประมาณ ๑ ฝามือ แลวภาวนาวา "กลับ - หนอ" "กลับ" ยกปลายเทาซาย "หนอ" หมุนสนเทาซายตามเทาขวาไปในระยะเทากัน

Vipassana2008.pmd

16

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

17

ใหภาวนา "กลับ - หนอ" สลับเทาขวาครั้งหนึ่ง เทาซายครั้งหนึ่ง ให ภาวนา คำวา "กลับ - หนอ" เรือ่ ยๆ ไปจนกวาจะหมุนกลับไปตรงกับ ทิศทางทีเ่ ราเดินทาง แลวภาวนาวา "ยืน - หนอ" (๕ ครัง้ ) "อยากเดิน - หนอ" (๕ ครัง้ ) แลวภาวนา "ขวายาง - หนอ" "ซายยาง - หนอ" เดินกลับไป กลับมา จนครบเวลาทีก่ ำหนดไว ระยะทางการเดินยาว ๖ กาวก็พอ หรือ ระยะจากฝาหองถึงฝาหอง หรือระยะจากหัวเตียงถึงปลายเตียงก็พอ

การเดินจงกรมมี ๖ จังหวะ จังหวะ ๑ ขวายาง - หนอ ซายยาง - หนอ

จังหวะ ๒ ยก - หนอ เหยียบ - หนอ (เหมือนกันทัง้ ๒ เทา)

จังหวะ ๓ ยก - หนอ ยาง - หนอ เหยียบ - หนอ

หมายเหตุ "ยก - หนอ" ยกเทาขึ้นตรงๆ "เหยียบ - หนอ" วางฝาเทาจดพื้นใหหางขางหนาประมาณ ๑ คืบ

Vipassana2008.pmd

17

10/12/2552, 13:25


18

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

จงกรมจังหวะ ๑

WALKING 1 STAGE

ขวายางหนอ

ซายยางหนอ

RIGHT GOES THUS

LEFT GOES THUS

จงกรมจังหวะ ๒

WALKING 2 STAGE

Vipassana2008.pmd

ยกหนอ

เหยียบหนอ

LIFTING

TREADING

18

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

19

จงกรมจังหวะ ๓

WALKING 3 STAGE

ยกหนอ

ยางหนอ

LIFTING

เดินจงกรมจังหวะที่ จังหวะ ๔ ยกสน - หนอ ยก - หนอ ยาง - หนอ เหยียบ - หนอ

Vipassana2008.pmd

MOVING

เหยียบหนอ

TREADING

๔-๖ จังหวะ ๕ ยกสน - หนอ ยก - หนอ ยาง - หนอ ลง - หนอ เหยียบ - หนอ

19

จังหวะ ๖ ยกสน - หนอ ยก - หนอ ยาง - หนอ ลง - หนอ ถูก - หนอ กด - หนอ

10/12/2552, 13:25


20

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

"ยกสน - หนอ" ยก - หนอ ยาง - หนอ ลง - หนอ ถูก - หนอ กด - หนอ

ยกสนขึ้น ปลายเทายังจดพื้นอยู ยางเทาไปแขวนไว กาวไปจนฝาเทาลงพื้น ลดเทาลงเล็กนอยอยาใหจดพื้น ลดลงมาแขวนไว ลดปลายเทาจดพื้น แตใหแขวนสนไวยังไมจดพื้น กดสนเทาลงเหยียบพื้น จงกรมจังหวะ ๔

WALKING 4 STAGE

ยกสนหนอ HEEL UP

Vipassana2008.pmd

ยกหนอ

LIFTING

20

ยางหนอ

MOVING

เหยียบหนอ

TREADING

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

21

จงกรมจังหวะ ๕

WALKING 5 STAGE

ยกสนหนอ HEEL UP

ยกหนอ

ยางหนอ

LIFTING

MOVING

ลงหนอ

ถูกหนอ

LOWERING TOUCHING

จงกรมจังหวะ ๖

WALKING 6 STAGE

ยกสนหนอ ยกหนอ HEEL UP

Vipassana2008.pmd

LIFTING

ยางหนอ

ลงหนอ

ถูกหนอ

กดหนอ

MOVING LOWERING TOUCHING PRESSING

21

10/12/2552, 13:25


22

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

ถาเราจะนัง่ สมาธิ ๕ นาที เราเดินจังหวะ ๑ นาน ๕ นาที โดย ไมตอ งเดินจังหวะ ๒ ก็ได ถาเราจะนัง่ ๑ ชัว่ โมง เราเดินจังหวะ ๑, ๒, ๓ และ ๔ อยางละ ๑๕ นาที ก็ไดหรือถาเราจะนัง่ ๑ ชัว่ โมง เราจะเดินจังหวะ ๔, ๕ และ ๖ อยางละ ๒๐ นาที ก็ได หรือเราจะนัง่ ๑ ชัว่ โมง เราจะเดินจังหวะที่ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ และ ๖ อยางละ ๑๐ นาทีกไ็ ด

การนั่งเจริญวิปสสนาสมาธิ นั่งกำหนด SITTING MEDITATION

๑. พองหนอ ๒. ยุบหนอ ๓. นัง่ หนอ ๔. ถูกหนอ

1. RISING 2. FALLING 3. SITTING 4. TOUCHING

Vipassana2008.pmd

22

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

23

กอนออกเดินจงกรม ทานควรปูผา สำหรับนัง่ สมาธิไวกอ น เมือ่ เดินครบกำหนดเวลาแลว ใหเดินชาๆ มาหยุดบนผาปูนงั่ แลวภาวนาใน ใจวา :"ยืน - หนอ" ๆ (๕ ครัง้ ) "อยากนัง่ - หนอ" ๆ (๕ ครัง้ ) "นัง่ - หนอ" ๆ (๕ ครัง้ ) แลวคอยๆ หยอนตัวลงชาๆ ปลอยมือทัง้ สองออก เมือ่ มือถูกพืน้ ให ภ าวนาในใจว า "ถู ก หนอ" เมื่ อ ก น ถู ก พื้ น ให ภ าวนาในใจว า "ถูก - หนอ" จนกวาจะนัง่ สมาธิเรียบรอย โดยใหนั่งหลับตา ตั้งตัวตรงตามแบบพระพุทธรูป ใหเทาขวา ทับเทาซาย มือขวาทับมือซาย ในลักษณะแบมือ เลือ่ นมือใหหวั แมมอื ทั้งสองชนกันเบาๆ ใหกำหนดจิตสัมผัสที่หนาทองระหวางสะดือกับ ลิน้ ป เมือ่ หายใจเขา ทองจะพอง เมือ่ หายใจออก ทองจะยุบ เมือ่ ไม รูสึกพอง ไมรูสึกยุบ ใหยกมือขวา จับทองดู จนรูสึกวามีพองจริง มียบุ จริง เมือ่ หายใจเขาทองพองใหภาวนาวา "พอง" เมือ่ พองไปจนสุด พอง ใหภาวนาวา "หนอ" เมื่อหายใจออกทองยุบใหภาวนาวา "ยุบ" เมือ่ ทองยุบไปจนสุดยุบ ใหภาวนาวา "หนอ" การนั่งสมาธิ จึงภาวนาในใจวา "พอง - หนอ" "ยุบ - หนอ" ตลอดเวลา อยาหยุดภาวนา ใหภาวนาไปจนครบเวลาที่กำหนดในการ เดินจงกรม ขอสำคัญตองนั่งใหไดปจจุบันอารมณกับทองพองและทองยุบ เมือ่ ทอง "พอง" ตองภาวนาวา "พอง" ทันที เมือ่ สุด "พอง" ใหภาวนา "หนอ" ทันที ใหเปนปจจุบนั อารมณ จิตจึงจะเสพสมาธิ (เปนสมาธิ)

Vipassana2008.pmd

23

10/12/2552, 13:25


24

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

ถาทองพองไปนานแลว เพิง่ ภาวนาวา "พอง" ตอภายหลังเชนนี้ เปนอดีตอารมณ หรือทองยังไมทันพอง ทานภาวนา "พอง" ลวงหนา ไปกอน เชนนี้เปนอนาคตอารมณ เมื่อเปนอดีตอารมณ หรืออนาคตเปนอารมณ จิตไมเสพสมาธิ ตองภาวนาจริงๆ ตองภาวนาใหเปนปจจุบันอารมณจริงๆ และตองให จิตสัมผัสอยหู นาทองจริงๆ ครบ ๓ จังหวะ เรียกวาจิตเสพสมาธิ แมทา น จะปฏิบตั ิเพียง ๕ นาที จิตก็เสพสมาธิ (เปนสมาธิ) ได การนอนเจริญวิปสสนาสมาธิ นอนกำหนด LYING MEDITATION

๑. พองหนอ ๒. ยุบหนอ ๓. นอนหนอ ๔. ถูกหนอ

1. RISING 2. FALLING 3. LYING 4. TOUCHING

Vipassana2008.pmd

24

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

25

การเจริญสติปฏ ฐาน ๔

๑. กายานุปสสนาสติปฏฐาน คือ การพิจารณารางกายวาเปน ของไมสวยไมงาม และมีการเสื่อมไป สลายไปอยูตลอดเวลา ถาทานปฏิบตั ไิ ปนานๆ อาการพอง - ยุบ อาจหายไป จิตไมรบั รู พอง ไมรบั รยู บุ หากเกิดอาการเชนนีใ้ หจติ ไปสัมผัสทีห่ วั ใจ แลวภาวนา วา "รู - หนอ" "รู - หนอ" ตลอดเวลา ถาถามวา "รู - หนอ" นัน้ รอู ะไร ตอบวา รูวา พอง ยุบ ไมมี จิตไมรับรู พองก็ดี ยุบก็ดี เปน "รูป" จิต (สิ่งที่รับรู) เปน "นาม" เมือ่ พอง ยุบ หายไป แสดงวา "นาม" ไมรบั รู "รูป" เราสามารถ แยกรูปแยกนามออกจากกันได ตั้งแตเรายังไมตาย พอง ยุบ เกิดขึน้ เรารู พอง ยุบ ยังมีอยู เรารู พอง ยุบ หายไป เรารู เชนนี้ เรียกวา เรามีสติรเู ห็น "ภายในกาย" ซึง่ ตรงกับภาษาบาลี วา "กายานุปสสนาสติปฏฐาน" ความจริง พอง ยุบ ยังมีอยู แตจติ ไมรบั รู พอง ยุบ เมือ่ พอง ยุบ หายไป จัดเปนอารมณของวิปส สนา เขาเขามาแสดง ๓ ประการ :๑. แสดงวา จิตเสพสมาธิสงู มาก ๒. แสดงวาจิตกำลังเดินญาณ อันเปนสภาวธรรม ของวิปส สนา ญาณ ๓. แสดงใหเราเกิดปญญาเห็นพระไตรลักษณของพระพุทธเจา (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)

Vipassana2008.pmd

25

10/12/2552, 13:25


26

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

เมือ่ จิตเสพสมาธิสงู จิตก็ไมเสพอารมณอยางอืน่ แมแตทอ งพอง หรือทองยุบจิตกับวัตถุก็มีลักษณะเหมือนกันตามหลักวิทยาศาสตร กลาววา "สิง่ สองสิง่ ในเวลาเดียวกัน จะอยทู เี่ ดียวกันไมได" ตัวอยางเชน ในหองน้ำเล็กๆ เรามีตุมน้ำพอดีกับหองน้ำมีเพื่อนนำตุมน้ำขนาดเดียว กันมาให เราจะนำตมุ ใหมนนั้ ใสในหองน้ำไมได ถาจะใสใหได ตองยก ตมุ เกาออกกอนจึงจะใสตมุ ใหมได เพราะวา "สิง่ สองสิง่ ในเวลาเดียวกัน จะอยูที่เดียวกันไมได" จิตเรานี้เหมือนกัน เมื่อจิตเสพสมาธิแลว จิตไมเสพอารมณ อยางอื่น แมแต ทองพอง ทองยุบ จิตก็ไมรับรู ทองพอง และทองยุบ ยังมีอยตู ามเดิม แตมันละเอียดมาก เมือ่ จิตกำลังรองไห ในเวลาเดียวกันนัน้ จิตจะหัวเราะไมได หรือ จิตกำลังหัวเราะอยูในเวลาเดียวกันจิตนั้นจะรองไหไมได มันคนละ วาระจิตกัน จะเกิดขึน้ พรอมๆ กันไมได จิตกับวัตถุ จึงเหมือนกันฉันใด ก็ฉันนั้น ๒. เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน คือ การพิจารณาถึงสิง่ ทีพ่ อใจ สิ่งที่ไมพอใจทั้งสิ่งที่สุขและทุกขใหรูเทาทันอารมณปจจุบัน นั่งสมาธิ ๕ นาที อาจไมเกิดเวทนา แตถานั่งนานๆ ๓๐ นาที หรือ ๑ ชั่วโมง จะเกิดเวทนาขึ้น เชนปวดกนกบ ปวดเอว ปวดหัวเขา ปวดกานคอ ปวดศรีษะ เปนตน จะทำอยางไร? ทานใหเอาจิตจากหนาทองมาสัมผัสที่เวทนา แลวภาวนาตามอาการของเวทนา เชน "ปวดหัวเขา" ใหเอาจิตจาก หนาทองมาสัมผัสที่หัวเขาแลวภาวนา "ปวดหนอ" ภาวนาตลอดเวลา

Vipassana2008.pmd

26

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

27

จนกวาความปวดจะหายไปตอหนา ความปวดเกิดขึ้น เรารู ความปวดยังมีอยู เรารู ความปวดหายไปแลว เรารู เชนนี้ เรามีสติรู "เวทนาในเวทนา" ซึง่ ตรงกับภาษาบาลีวา "เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน" (จิตคิดอะไรใหกำหนดอยางนั้นวาคิด หนอๆ จนความคิดหยุดคิด) เมื่ อ ความปวดหายไปแล ว ให นำจิ ต ไปสั ม ผั ส หน า ท อ งแล ว ภาวนา "พอง - หนอ" "ยุบ - หนอ" ตอไปใหม ๓. จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน นั่งนานๆ ไมมีเวทนา แตบางครั้งจิตเกิดฟุงซาน ทานใหนำจิต จากหนาทองไปสัมผัสที่หัวใจ แลวภาวนาในใจวา "ฟุงซาน - หนอ" ภาวนาตลอดจนกวาจิตจะหายฟุงซาน จิตฟุงซาน เรารู เรารู จิตกำลังฟุงซาน จิตสงบไมมีฟุงซานแลว เรารู เรามีสติรูจิตในจิต ซึ่งตรงกับภาษาบาลีวา "จิตตานุปสสนา สติปฏฐาน" (จิตคิดอะไรใหกำหนดอยางนั้นวาคิดหนอๆ จนความคิด หยุด) เมื่อจิตหายฟุงซานแลว ใหจิตไปสัมผัสที่หนาทอง แลวภาวนา "พอง - หนอ" "ยุบ - หนอ" ตอไปใหม

Vipassana2008.pmd

27

10/12/2552, 13:25


28

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

๔. ธรรมานุปส สนาสติปฏ ฐาน เมือ่ นัง่ นานบางทีไมมเี วทนาและไมมฟี งุ ซาน แตเกิดธรรมารมณ เชน ตาเห็นรูป เกิด รูปารมณ หูไดยินเสียง เกิด สัมธารมณ จมูกไดกลิ่น เกิด คันธารมณ ลิ้นลิ้มรส เกิด รสารมณ กายสัมผัส เกิด โผฏฐัพพารมณ ใจกระทบธรรม เกิด ธรรมารมณ ใหนอ มจิตไปสัมผัสตามอาการ แลวภาวนาตามอาการทีเ่ กิดขึน้ เชน ตาเห็นรูปนิมิต (ขณะนั่งหลับตาก็เห็นรูปนิมิตภายในได จัดเปน รูปารมณ) ใหนอ มจิตจากหนาทองมาสัมผัสทีต่ า แลวภาวนาวา "เห็น - หนอ" ภาวนาตลอดเวลา จนกวารูปารมณจะหายไป ตาเห็นรูปนิมิต เรารู ตายังเห็นรูปนิมิตมีอยู เรารู ตาไมเห็นรูปนิมิตแลว เรารู รูปนิมติ เปนธรรมารมณ เกิดทางตา ธรรมารมณ เกิดขึ้น เรารู ธรรมารมณ ยังมีอยู เรารู ธรรมารมณ หายไปแลว เรารู เรียกวาเรามีสติรูธรรมในธรรม ซึ่งตรงตามภาษาบาลีวา "ธรรมานุปสสนาสติปฏฐาน"

Vipassana2008.pmd

28

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

29

เมื่อรูปนิมิตหายไปแลว ใหจิตมาสัมผัสที่หนาทองแลวภาวนา "พอง - หนอ" ตอไป

วิปส สนา ๕ นาที

พุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ที่ทานหวังความสุขความสงบใน ปจจุบันชีวิต และหวังจะไดเกิดเปนสุขชาติตอไป ควรลงมือปฏิบัติ วิปส สนา คืนละ ๕ นาที ทุกๆ คืน ปฏิบตั เิ สร็จแลวใหแผเมตตาใหแก บิดา มารดา เจากรรมนายเวร ตลอดจนสรรพสัตวทงั้ ปวง

จิตเกิดเมตตาไดเอง

ถาอธิษฐานจิตวา จะปฏิบัติวิปสสนาคืนละ ๕ นาทีทุกๆ คืน ปหนึง่ มี ๓๖๕ วัน จะทำได ๓๖๕ x ๕ = ๑,๘๒๕ นาที คิดเปนชัว่ โมง ได เทากับ ๓๐ ชัว่ โมง ๒๕ นาที ปฏิบตั เิ ชนนี้ จิตจะเสพสมาธิ เมือ่ จิต เสพสมาธิไดบา ง จิตจะเกิดมีเมตตาไดเองอยางอัตโนมัตโิ ดยไมตอ งนัง่ คิด นั่งนึกนั่งตรึกตรอง หรือนั่งทำจิตวางใหจิตเกิดเมตตา เมื่อจิตเสพ สมาธิไดแลว จิตเกิดเมตตาไดเองอยางอัศจรรย ผปู ฏิบตั กิ ร็ สู กึ อัศจรรย ใจดวยตัวเอง หากท า นที่ ไ ม มี น าฬิ ก า ท า นจะใช ธู ป แทนนาฬิ ก าก็ ไ ด ธู ป ธรรมดายาว ๑ เซ็นติเมตรจะเทากับเวลา ๕ นาที ถาทานปฏิบตั ติ ิดตอ กันทุกๆ คืน จิตจะเสพสมาธิสงู จิตทีเ่ คยชินตอสมาธิ จิตจะตัง้ มัน่ ไมมี ความเศราโศก เมื่อจิตใกลจะดับจิตไมเศราหมอง สุคติก็ยอมเปนอัน หวังได ดังพุทธภาษิตวา "จิตเต อสังกิลฎิ เฐสุคติ ปาฏิกงั ขา" แปลความ วา "เมือ่ จิตใกลจะดับเปนจิตไมเศราหมองแลว สุคติยอ มหวังไดโดยไม ตองสงสัย"

Vipassana2008.pmd

29

10/12/2552, 13:25


30

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

เมื่อนั่งสมาธิครบกำหนดเวลาที่กำหนดไว ตองแผเมตตาใหแก บิดา มารดา เจากรรมนายเวร และสรรพสัตวทั้งหลาย เราตองเมตตา ทุกครั้ง วิปสสนาสมาธิเปนบุญแรงที่สุด จึงตองแผสวนบุญใหแก สรรพสัตว และเจากรรมนายเวร จิตก็จะเกิดเมตตาไดเอง

วิธแี ผเมตตา (บาลีแปล)

สัพเพ สัตตา สทาโหนตุ สุขะชีวโิ น ขอใหสรรพสัตวทงั้ หลายทีเ่ ปนเพือ่ นทุกข เกิด แก เจ็บ ตาย ดวยกันทั้งสิ้น อเวรา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดมเี วรซึง่ กันและกัน เลย อัพยาปชฌา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิดอยาไดเบียดเบียน ซึ่งกันและกันเลย อนีฆา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดมคี วามทุกขกายทุกข ใจเลย สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายและสุขใจ รักษา ตนใหพน จากทุกขภยั ทัง้ ปวง เทอญ

แผเมตตา (ภาษาไทย - คำกลอน)

ขอเดชะ บุญกุศลนี้ ถึงบิดา ทั้งลูกหลาน

Vipassana2008.pmd

ตั้งจิต แผไป มารดา ญาติมิตร

30

อุทิศผล ใหไพศาล ครูอาจารย สนิทกัน

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

ทั้งคนเคย ขอใหได ทั้งเจากรรม ขอใหทานได

รวมรัก สวนกุศล นายเวร สวนกุศล

31

สมัครใคร ผลของฉัน และเทวัญ ผลของฉันทุกทานเทอญ

อานิสงสของการแผเมตตา

การแผเมตตา มีอานิสงสมาก จากคัมภีรพระไตรปฎก ในสูตร วาดวย "เมตตานิสงั สสูตร" มีอยู ๑๑ ขอ คือ :๑. หลับอยูก็เปนสุข ๒. ตื่นอยูก็เปนสุข ๓. ไมฝนถึงสิ่งราย ๔. เปนที่รักของมนุษยทั้งหลาย ๕. เทวดายอมรักษา ๖. เปนที่รักของอมนุษยทั้งหลาย ๗. ไฟ ยาพิษ หรือศาสตราวุธไมกล้ำกลาย ๘. ทำใหจติ เสพสมาธิเร็ว และตัง้ มัน่ นาน ๙. มีผิวพรรณผุดผอง ๑๐. มีสติดี ไมหลงตาย ๑๑. เมื่อยังไมบรรลุโสดาบัน ตายไปยอมไปเกิดยังพรหมโลก

Vipassana2008.pmd

31

10/12/2552, 13:25


32

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

จากพระคาถาธรรมบทมีอยู ๑๐ ขอ

๑. มีอาหารมาก ๒. มีคนบูชามาก ๓. ไมมีศัตรูปองราย ๔. มีคนคอยตอนรับ ๕. มีเกียรติคุณสูง ๖. มียศ มีศกั ดิส์ งู ๗. มีความเปนใหญประดุจเทวดา ๘. ทำใหพืชพันธุธัญญาหารเจริญงอกงามดี ๙. เมื่อมีอันตรายใดๆ ยอมมีเทวดาและมีมนุษยชวยเหลือ ๑๐. ศัตรูประทุษรายไมได การแผเมตตา มีคุณประโยชนแกเราเปนอยางมาก เราชาวพุทธ ควรแผเมตตากอนนอนทุกๆ คืน ยอมมีประโยชนแกตนตามพุทธภาษิต ขางตน

โสฬสญาณ

การจะไดผานโสฬสญาณนั้น ขึ้นอยูกับวาสนาบารมีมาแตชาติ ปางกอนดวย เพราะวาบางทานพยายามปฏิบตั ิ ๓ เทอมติดตอกัน เปน เวลา ๖ เดือน แตไมสามารถจะผานโสฬสญาณได บางทานปฏิบตั ิ ๙ วัน ก็สามารถผานโสฬสญาณ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับบารมีแตละบุคคล

Vipassana2008.pmd

32

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

33

ถึงแมยังไมผานโสฬสญาณ โยคีผูปฏิบัติจะไดรับประโยชน อยางต่ำ ๑๑ ขอ คือ ๑. ผอนคลายความตึงเครียดแหงอารมณ ๒. เพิม่ พลานามัยทางจิตสูง จิตอิม่ เอิบผองใส ๓. เพิม่ พลังกาย ทำใหรางกายสมบูรณดี ๔. หลับงาย ตืน่ งาย ไมตอ งอาศัยนาฬิกาปลุก ๕. ไมฝนราย ๖. ความจำดี ความคิดมีระเบียบดีกวาเดิม ๗. เฉลียวฉลาด มีปญ  ญาไวดีกวาเดิม ๘. เกิดมีเมตตา มีความกรุณาสูงกวาเดิม ๙. ทำใหเปนคนขยันทำงาน ๑๐. ทำใหพักผอนรางกายดี ๑๑. มีความคิดกาวหนาอยูเสมอ ผูเขาอบรมวิปสสนาสมาธินั้น เมื่อปฏิบัติวิปสสนาเสร็จ ๑ ชุด ยอมจะตองแผเมตตาใหแกบดิ ามารดา เจากรรมนายเวร และสรรพสัตว จึงจะไดรบั อานิสงส ๒๑ ขอ ดังกลาวขางตนนัน้ เชน :- เมือ่ ยังไมบรรลุโสดาบัน เมือ่ ตายไป ยอมไปเกิดยังพรหมโลก - ไฟ ยาพิษ หรือศาสตราวุธไมกล้ำกลาย - ทำใหพืชพันธุธัญญาหารงอกงามดี - ศัตรูกระทำรายไมได - เมื่อมีอันตรายใดๆ ยอมมีเทวดาและมนุษยชวยเหลือ - โยคี ผู เ ข า ปฏิ บั ติ วิ ป ส สนาแม จ ะไม ไ ด ผ า นญาณก็ ไ ด รั บ ประโยชนแกตนเองมาก

Vipassana2008.pmd

33

10/12/2552, 13:25


34

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

คุณลักษณะของโสดาบัน

เมื่อมีวาสนาบารมีไดผานโสฬสญาณในครั้งแรกเพียงครั้งเดียว ยอมไดครองชีวิต "โสดาบัน" พวกโสดาบันยอมมีลักษณะเกิดขึ้นได เอง ๑๑ ขอ คือ ๑. ไมยึดมั่นถือมั่นในตัวเอง ๒. ไมมีความลังเลสงสัยในพระรัตนตรัย ๓. ไมมีความเห็นผิดจากคลองธรรม ๔. ไมมีความตระหนี่ ๕. ไมมีความอิจฉาริษยา ๖. ไมมีกามราคะชนิดรุนแรง ๗. ไมมีความโกรธชนิดรุนแรง ๘. ไมมคี วามลบหลู โออวด มารยาสาไถย ๙. ไมมีความถือตน ๑๐. ไมมอี คติ ๔ มีความยุตธิ รรมประจำใจ ๑๑. มีศีลบริสุทธิ์ ถาเปนฆราวาส จะมีศีล ๕ เปนนิจศีลตลอด ชีวิต ลักษณะของโสดาบัน ๑๑ ขอนี้ เขาเกิดของเขาเอง ไมตอ งนัง่ คิด นัง่ นึก นัง่ ตรึกตรองหรือขมจิตใหเกิด เขาจะเกิดเองอยางอัตโนมัติ โยคี ผูปฏิบัติก็รูสึกอัศจรรยใจ

อานิสงสของวิปส สนา

ผปู ฏิบตั วิ ปิ ส สนาทีม่ วี าสนาบารมียอ มไดผา นญาณ ๑๖ ทีเ่ รียกวา "โสฬสญาณ" จะมีอานิสงส ดังนี้ :-

Vipassana2008.pmd

34

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

35

จากพระคาถาธรรมบทมีอยู ๑๐ ขอ ผผู า นโสฬสญาณครัง้ แรก จะไดครองชีวติ "โสดาบัน" เปนผทู ี่ มีกระแสจิตไปสูนิพพาน อยางชนิดที่ไมมีทางถอยหลัง จะไดบรรลุ นิพพานในชาติที่ ๗ เปนอยางชา ตัดวัฏฏสงสารลงเหลือเพียง ๗ ชาติ หมายความวาจะกลับมาเกิดไดเพียง ๗ ชาติ เปนอยางมาก ผานโสฬสญาณครัง้ ที่ ๒ ผูไดผานโสฬสญาณครั้งที่ ๒ จะไดครองชีวิต "สกาทาคามี" ตัดวัฏฏสงสารลงเหลือเพียง ๑ ชาติ แลวไดบรรลุมรรคผลนิพพานใน โลกมนุษย ผานโสฬสญาณครัง้ ที่ ๓ ผไู ดผา นโสฬสญาณครัง้ ที่ ๓ จะไดครองชีวติ "อนาคามี" พวก อนาคามี กายแตกจากโลกนี้ไปยอมไปเกิดในสวรรคแดนสุทธาวาส แหงพรหมโลก แลวไดบรรลุมรรคผลนิพพานในพรหมโลกนั้น ผานโสฬสญาณครัง้ ที่ ๔ ผูไดผานโสฬสญาณครั้งที่ ๔ จะไดครองชีวิต "อรหันต" หมด วัฏฏสงสารไดบรรลุมรรคผลนิพพานในโลกมนุษย

คุณสมบัติของผูปฏิบัติธรรม

พระเจาอชาตศัตรู ตรัสถามพระตถาคตเจาวา "พระพุทธองค ผูทรงพระเจริญ ภิกษุผูปฏิบัติธรรมจะตองมีคุณสมบัติอยางไรบาง จึง จะสามารถบรรลุธรรมของพระพุทธองค" พระพุทธเจาตรัสตอบวา "มหาบพิตร ภิกษุทปี่ ฏิบตั ธิ รรม ตองมีคณ ุ สมบัติ ๕ ประการ คือ

Vipassana2008.pmd

35

10/12/2552, 13:25


36

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

ตองเคารพอาจารย ตองมีอาพาธแตนอย ตองปรารภความเพียร ตองไมพูดโออวดมีมารยาสาไถย ตองมีปญ  ญา พิจารณาเห็นการเกิด การดับ ของรูปนาม อยู

บอยๆ โยคีผปู ฏิบตั วิ ปิ ส สนาสมาธิ ทีม่ คี ณ ุ ลักษณะ ครบ ๕ ประการนี้ ยอมจะมีโอกาสไดผานโสฬสญาณไดโดยงาย ขอสังเกตของขาพเจา เปนความจริงตรงตามพุทธสุภาษิตนี้ ในขอ ๑ ถึงขอ ๔ นัน้ โยคีผปู ฏิบตั สิ ามารถมีไดทกุ ๆ ทาน แต ในขอ ๕ นั้นไมใครจะเกิดปญญาเห็นไตรลักษณของพระพุทธเจาได ทุกๆ ทาน ผูมีบารมีสูง เกิดปญญาเห็นไตรลักษณงายและรวดเร็ว ผูไมมี บารมีมาแตชาติกอน เกิดปญญาเห็นไตรลักษณเกิดยากมาก โยคีผูปฏิบัติที่มีจิ ตอิ่มในไตรลักษณแล วผานญาณ ๑๖ งาย เพราะวาญาณ ๑๖ นัน้ เกีย่ วของดวยกฎไตรลักษณทงั้ สิน้

ไตรลักษณของพระพุทธเจา

๑. อนิจจัง ไดแก ความไมเทีย่ ง ๒. ทุกขัง ไดแก ความทุกข ๓. อนัตตา ไดแก ความไมใชตวั ตน บังคับไมได พระพุ ท ธเจ า ตรั ส ว า “การปฏิ บั ติ ใ ดๆ ถ า เกิ ด ป ญ ญาเห็ น ไตรลักษณแลว การปฏิบตั นิ ั้นๆ เปนวิปส สนาสมาธิ ของเราตถาคต”

Vipassana2008.pmd

36

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

37

ประโยชนของวิปส สนา ๒๘ ขอ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖. ๑๗. ๑๘. ๑๙. ๒๐. ๒๑. ๒๒.

Vipassana2008.pmd

ทำใหเปนคนฉลาดเฉลียว ทำใหเปนคนรูจักปรมัตถธรรม ทำใหเปนคนมีศีลธรรม มีวัฒนธรรมดีงาม ทำใหเปนคนรักใครกัน สามัคคีกลมเกลียวกัน ทำใหเปนคนมีเมตตา กรุณา ทำใหเปนคนดีกวาคน ทำใหเปนคนไมเบียดเบียน ไมเอาเปรียบ ทำใหเปนคนรูจักตัวเอง รูจักปกครองตนเอง ทำใหเปนคนไมถือตัว ไมมที ิฏฐิมานะ ทำใหเปนคนชอบหันหนาเขาหากัน รักใครกนั ทำใหเปนคนหนักแนนในความกตัญู กตเวทิตา ทำใหเปนคนมีกาย วาจา และใจบริสทุ ธิส์ ะอาด ทำใหเปนคนมีความสุข ทำใหเปนคนพนจากความเศราโศก ทำใหเปนคนทีด่ บั ความทุกขทางกาย วาจา และใจ ทำใหเปนคนเดินทางถูกตองตรงกับพุทธประสงค ทำใหเปนคนไดบรรลุมรรคผลนิพพาน ทำใหเปนคนพนภัยในอบายภูมิ เปนคนดีกวาผไู มปฏิบตั ิ แมเขาจะมีอายุมากกวาเรา ๑๐๐ ป เปนปจจัยใหไดบรรลุนิพพานในชาติตอไป ทำใหกเิ ลส คือ โลภะ โทสะ โมหะ เบาบางลงได ทำใหเปนคนมีจติ ใจสุขมุ เยือกเย็นขึน้

37

10/12/2552, 13:25


38

๒๓. ๒๔. ๒๕. ๒๖. ๒๗. ๒๘.

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

ทำใหเปนคนมีสติสัมปชัญญะสูง ทำใหเปนคนมีความจำดี ทำใหโรคภัยบางชนิดหายไป เชน โรคหืด โรคประสาท เปนปจจัยทำคนใหไปสูสวรรค ทำใหคนมีความเลื่อมใสในพระรัตนตรัยยิ่งขึ้น ทำใหเปนคนดี วางาย สอนงาย สะดวกแกการปกครอง

พุทธประสงค

เมื่ อ องค ส มเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า ตรั ส รู แ ล ว ไม ท รงใฝ พระทัยที่จะตรัสสอนชาวโลก ทรงเตรียมเสด็จสูพระปรินิพพาน ทาว สหัมบดีพรหม ทรงทราบไดลงมากราบทูลใหทรงอยูแสดงธรรมแก ชาวโลก เพราะชาวโลกที่มีกิเลส ยังมีอยู เกรงวาพวกเขาจะพลาด โอกาสไดฟงพระธรรมของพระพุทธองคอยางนาเสียดายยิ่ง พระตถาคตเจาไดทรงทราบคำกราบทูล จึงทรงญาณตรวจดู ชาวโลก ไดทรงแบงชาวโลกออกเปน ๔ เหลา ทีเ่ รียกกันวา "พวกดอก บัว ๔ เหลา" ๑. พวกอุคฆฏิตัญู เปนพวกดอกบัวตูมที่พนน้ำแลว พอรับ แสงอาทิตยคือพระธรรมก็จะบานทันที เปนพวกที่ฉลาดมาก สามารถ บรรลุมรรคผลนิพพานไดโดยรวดเร็ว ๒. พวกวิปจิตญ ั ู เปนพวกดอกบัวตูมกำลังจะพนน้ำ สามารถ บรรลุนิพพานได แตบรรลุชากวาพวกแรก ๓. พวกเนยยะ เปนพวกดอกบัวตูมอยใู ตผวิ น้ำ สามารถบรรลุ นิพพานไดเชนเดียวกัน แตบรรลุชา

Vipassana2008.pmd

38

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

39

๔. พวกปทปรมะ เปนพวกดอกบัวออนอยูติดตม เปนโอกาส ดีของเตาและปลา ไมสามารถจะบรรลุนิพพานได เมื่อทรงทราบดวยพระญาณวาชาวโลก ๓ พวกนั้นสามารถ บรรลุนพิ พานได พระสัมมาสัมพุทธเจาจึงทรงแสดงธรรมตามคำกราบ ทูลของทาวสหัมบดีพรหมปรากฏตามคัมภีร พระไตรปฎก ซึ่งเปน ตัวแทนของพระพุทธองควา พระพุทธองคทรงเผยแพรศาสนาพุทธใน เรือ่ ง "ไตรสิกขา" คือ ศีล สมาธิ ปญญา อันมงุ ตรงไปสมู รรคผลนิพพาน ทรงขนสัตว สอนสัตวใหหลุดพนจากกิเลสตัณหา เพือ่ พาเขาสนู พิ พาน ตามที่พระพุทธองคไดตรัสรู ในคัมภีรพระไตรปฎกบางสูตร พระพุทธองคทรงอธิษฐานวา เราตถาคตจะอยูสอนชาวโลกใหพบนิพพาน ถาชาวโลกยังไมพบ นิพพาน เราตถาคตจะยังไมนิพพาน เราจะให "อิทธิบาทสี่" ประคอง ชีวิตไว จนกวาชาวโลกจะพบนิพพาน เราจึงจะนิพพาน แสดงชัดเจน ว า พระพุ ท ธองค ท รงสอนชาวโลกให บ รรลุ "นิ พ พาน" ด ว ย "ไตรสิกขา" บางสูตรพระจอมมุนเี จาตรัสวา ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย เธอ จะทำอยางไรก็ตาม เธอตองปฏิบัติวิปส สนาสมาธิดวย ๑. ถาเธอตองการศึกษาปริยัติธรรมเธอตองปฏิบัติวิปสสนา สมาธิดว ย ถาเธอปฏิบตั กิ เ็ ปรียบเหมือนเธอมีหมอขาวทีม่ ขี า วสุกอยเู ต็ม หมอ ถาเธอไมปฏิบตั กิ เ็ ปรียบเหมือนเธอมีหมอขาว แตไมมขี า วสุกใน หมอนั้น ๒. ถาเธอนิยมแสดงธรรมเธอตองปฏิบัติวิปสสนาสมาธิดวย ถาเธอปฏิบัติก็เปรียบแหมือนเธอมีสถานที่อยู โดยเธอไมตองกอสราง เอง ถาเธอไมปฏิบตั กิ เ็ ปรียบเธอเหมือนหนูทหี่ นูกำลังขุดรูจะอยู แตเมือ่

Vipassana2008.pmd

39

10/12/2552, 13:25


40

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

ขุดแลว มันก็ไมอยใู นรูทมี่ ันขุดนัน้ ๓. ถาเธอชอบสนทนาธรรม เธอก็ตองปฏิบตั วิ ปิ สสนาดวย ถา เธอปฏิบัติก็เปรียบเหมือนเธอมีมะมวงสุกแตมองดูผิวยังดิบ ถาเธอไม ปฏิบัติ ก็เปรียบเหมือนเธอมีมะมวงดิบแตมองดูผิวสุกนากิน ๔. ถาเธอชอบตรึกตรองธรรม เธอก็ตอ งปฏิบตั วิ ปิ ส สนาสมาธิ ดวย ถาเธอปฏิบัติก็เปรียบเธอเหมือนหวงน้ำลึก แตดูไมมีประกายเงา (น้ำนิ่งไหลลึก) ถาเธอไมปฏิบัติก็เปรียบเธอเหมือนหวงน้ำตึ้น แต ดูประกายเงาลึก ตามสูตรนี้ พระพุทธองคทรงมีพระประสงควา ผูชอบศึกษาปริยัติธรรม ก็ดี ผูชอบแสดงธรรม ก็ดี ผูชอบสนทนาธรรม ก็ดี ผูชอบตรึกตรองธรรม ก็ดี ผูนั้นตองชอบปฏิบัติวิปสสนาสมาธิดวย จึงจะสามารถรูแจง เห็นแจงในนิพพานไดโดยเฉพาะตน อันเปนพระประสงคอนั แทจริงที่ พระพุทธองคทรงอยูสอนชาวโลก ในคัมภีรพระไตรปฎกเลม ๓๓ ในหนา ๑๔๘ พระตถาคตเจา ทรงกลาววา ถาภิกษุไมปฏิบตั วิ ปิ สสนาสมาธิจนไดอธิศลี อธิสมาธิ อธิ ปญญาแลว ศาสนาของเราตถาคตจะถึงภัยพิบตั ิ ๕ ประการ ซึ่งหมาย ถึงความสิ้นสุดแหงพระพุทธศาสนา ในยุคปจจุบันนี้เราก็เห็นกันอยู เชน :ผูชอบเรียนปริยัติ แตไมชอบปฏิบัติวิปสสนาสมาธิดวย ผูชอบแสดงธรรม แตไมชอบปฏิบัติวิปสสนาสมาธิดวย

Vipassana2008.pmd

40

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

41

ผูชอบสนทนาธรรม แตไมชอบปฏิบัติวิปสสนาสมาธิ ดีแต สนทนาธรรม มักไมตองการปฏิบัติใหเกิดปญญา รูแจงเห็นจริงใน ธรรมนั้น ผูชอบตรึกตรอง แตไมชอบปฏิบัติวิปสสนาสมาธิใหรูแจงใน ธรรมนั้น ผูชอบสวดมนต แตไมชอบปฏิบัติวิปสสนาสมาธิ เพื่อใหรูแจง ตรงตามพุทธสุภาษิตที่ตนสวดนั้น ขาพเจามีความเห็นวา ถาพวกชอบสวดมนตนิยมลงมือปฏิบัติ วิปส สนาสมาธิดว ยแลว ก็เทากับทานถือเทียนดวงเล็กๆ แตจดุ ไฟมีแสง สวางไสว สวยงาม นาชม ถาพวกนิยมสวดมนต แตไมนิยมปฏิบตั วิ ปิ สสนา ก็เทากับทาน มีเทียนดวงใหญโต แตไมไดจุดเทียนนั้น แสงสวางไสวก็ไมมีปรากฏ เลย เพราะฉะนัน้ นักสวดมนต ควรเปนนักปฏิบตั วิ ปิ ส สนาของพระ พุทธเจาดวย พระอุปชฌายะจำนวนมาก ทานทำพิธีบวชพระ ทานไดสอน กัมมัฏฐานเบื้องตนแกพระบวชใหมที่ในโบสถ ทานไมนิยมปฏิบัติ วิ ป ส สนาสมาธิ ท า นได ทิ้ ง กั ม มั ฏ ฐานไว ใ นโบสถ ท า นดี แ ต บ อก กัมมัฏฐาน แตทา นเองไมปฏิบตั ติ รงตามทีส่ อนเขา ไมจริงใจในคำสอน ของตน ไมซื่อสัตยในคำสอนของตน ไมมสี ัจจะตอพระบวชใหม นับ วาไมจริงใจตอประชาชนชาวพุทธดวย พระบวชใหมกก็ ระทำตามอยาง พระอุปช ฌายะของตน โดยทิง้ กัมมัฏฐานไวในโบสถ ไมไดนำออกมา ปฏิบตั เิ หมือนอยางพระอุปช ฌายะ พระอุปช ฌายะของชาวไทยจำนวน

Vipassana2008.pmd

41

10/12/2552, 13:25


42

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

มากทีม่ คี วามประพฤติเชนนี้ ซึง่ ไมตรงกับ "พุทธประสงค" พระพุทธเจาทรงกลาวถึงภัยพิบตั ทิ จี่ ะเกิดแกพระพุทธศาสนา มี อยู ๕ ประการ มีพทุ ธดำรัสวา ดูกอ น ภิกษุผเู ห็นภัยในวัฏฏะทุกขทงั้ หลาย ถาพวกเธอไมอบรม กาย ไมอบรมศีล ไมอบรมสมาธิ ไมอบรมปญญาแลว พวกเธอยอมไม รแู จงในอธิศลี ไมรแู จงในอธิสมาธิ ไมรแู จงในอธิปญ  ญา เมื่ อเธอไมรูแจ งในอธิศีล ไมรูแจงในอธิสมาธิ ไมรูแจงใน อธิปญ  ญาแลว ภัยพิบตั ยิ อ มเกิดขึน้ แกศาสนาของเราตถาคต ๕ ประการ คือ ๑. เมือ่ เธอมีหนาทีใ่ นการอุปสมบทแกกลุ บุตร เธอก็ไมมคี วาม รู ไมมีความสามารถจะแนะนำกุลบุตรใหรูแจงในอธิศีล รูแจงใน อธิสมาธิ ใหรแู จงในอธิปญ  ญา กุลบุตรคนตอๆไป ก็ไมรแู จงในอธิศลี ในอธิสมาธิ และในอธิปญญาเชนเดียวกับเธอ นีค่ อื ..ภัยพิบตั เิ กิดแกศาสนาของเราคถาคต ในประการที่ ๑ ๒. เมื่ อ เพื่ อ นบรรพชิ ต ขอร อ งให เ ธอแนะนำในการปฏิ บั ติ วิปส สนาสมาธิ เธอก็ไมมคี วามรทู จี่ ะใหนสิ ยั แกเขาใหตรงตามหลักวิชา ของวิปสสนาสมาธิ นีค่ อื ..ภัยพิบตั เิ กิดแกศาสนาของเราคถาคต ในประการที่ ๒ ๓. เมือ่ เธอไมรแู จงในอธิศลี ในอธิสมาธิ ในอธิปญ  ญาแลว เธอ ยอมแสดงธรรมอยางผิด แตเธอก็ไมรูวามันผิด เพราะภาษิตของเรา จำนวนมากนัน้ กลาวไวลกึ ซึง้ เปนโลกุตตรธรรมและสูญญตาธรรม ซึง่ ผูรูแจงอธิศีล ในอธิสมาธิ ผูรูแจงในอธิปญญา จึงจะสามารถรูธรรมะ

Vipassana2008.pmd

42

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

43

อันลึกซึ้งได นีค่ อื ..ภัยพิบตั เิ กิดแกศาสนาของเราคถาคต ในประการที่ ๓ ๔. เมือ่ เธอไมรแู จง ในอธิศลี ไมรแู จงในอธิสมาธิ ไมรแู จงใน อธิปญ  ญา เธอก็ไมรแู จงในภาษิตของเรา พวกเธอตางพากันไปเอาใจใส ในบทกวี บทประพันธของคนอืน่ ทีเ่ ขาไดประพันธไว มีพยัญชนะสละ สลวย ไพเราะเพราะพริ้ง แลวเธอนำมายึดถือเปนภาษิตของเธอเพื่อ นำไปแสดงธรรม นีค่ อื ..ภัยพิบตั เิ กิดแกศาสนาของเราคถาคต ในประการที่ ๔ ๕. เมื่อเธออายุพรรษามากจนเปนพระเถระผูใหญ ก็จะเปน พระเถระทีม่ กั มาก ชอบประพฤติยอ หยอน เปนหัวหนาทีไ่ มดงี าม ชอบ ละเมิดศีล ไมมคี วามสำรวม ไมชอบความสงัดเงียบ ไมมคี วามเพียร เพือ่ ปฏิบตั ใิ หเขาถึงธรรมทีเ่ ธอยังเขาไมถงึ กุลบุตร ก็จะเอาเยีย่ งเธอ มีความ ประพฤติมักมากตามเธอไปดวย นีค่ อื ..ภัยพิบตั เิ กิดแกศาสนาของเรา คถาคต ในประการที่ ๕ จึงขอใหผเู ห็นภัยในวัฏฏสงสารทัง้ หลายชวยกันจรรโลงศาสนา ในดานปฏิบตั ิ เพือ่ จะไดละความเสือ่ ม ความชัว่ เริม่ ลงมือปฏิบตั วิ ปิ ส สนา สมาธิ เพือ่ เตรียมตัวกอนตาย และมีเสบียงติดตัวไปในสัมปรายภพ แม อยู ก็อยูอยางเปนสุข และเปนตัวอยางที่ดีตอชาวโลกตลอดไป

Vipassana2008.pmd

43

10/12/2552, 13:25


44

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

อุดมการณชาวพุทธ สรางความเขาใจอันดี ยึดถือพุทธวิธีเปนหลัก พิทักษพระพุทธศาสนา พัฒนาจิตตนใหผองใส พัฒนาสังคมไทยใหรมเย็น วีรนนฺโทภิกขุ

Vipassana2008.pmd

44

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

45

ภาคผนวก

Vipassana2008.pmd

45

10/12/2552, 13:25


46

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

ประวัตพิ ระครูปลัดวีระนนท วีรนนฺโท พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท เกิ ด เมื่ อ วั น อาทิ ต ย ที่ ๒๑ ตุ ล าคม พ.ศ. ๒๕๐๕ ขึน้ ๑๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ทีบ่ า นเลขที่ ๒๙ หมู ๖ ตำบลเมืองบัว อำเภอเกษตรวิสยั จังหวัดรอยเอ็ด การศึกษา - จบชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๕ (ม.ศ.๕) ทีโ่ รงเรียนจันทรุเบกษานุสรณ อำเภอเกษตรวิสยั จังหวัดรอยเอ็ด - จบปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาศาสนศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล - จบปริญญาโทศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษา มหา วิทยาลัยราชภัฏธนบุรี อุปสมบท ศึกษาพระธรรมวินยั และวิปส สนากรรมฐาน อุปสมบทป พ.ศ. ๒๕๒๕ นับถึงปจจุบนั (ป พ.ศ. ๒๕๕๑) ๒๖ พรรษา เปนลูกศิษยหลวงปพู มิ พา โกวิโท (หลวงปพู มิ พา เปนลูกศิษย หลวงปูฝน อาจาโร) พระครูปลัดวีระนนท วีรนนฺโท ไดจาริกธุดงคอยู ในปาและศึกษาการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานจากครูบาอาจารยสายพระ ปฏิบตั ใิ นปา เปนเวลา ๑๑ ป ตอมาไดรับนิมนตจากพระครูไพบูลยสมุทรสาร เจาอาวาสวัดศิลป

Vipassana2008.pmd

46

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

47

วิเศษศรัทธารามใหมาชวยสอนกรรมฐานที่วัดนี้ ซึ่งพระครูไพบูลยสมุทร สารเปนลูกศิษยหลวงปศู ขุ วัดคลองมะขามเฒา ขณะนัน้ พระครูไพบูลยสมุทร สารอายุได ๘๗ พรรษา และเปนพระอาจารยรปู หนึง่ ทีพ่ ระพิมลธรรม(สมเด็จ พระพุฒาจารย) วัดมหาธาตุฯ กรุงเทพฯ ใหความเคารพเปนอยางมากใน ขอวัตรปฏิบตั ขิ องทาน และนอกจากนีท้ า นยังเปนพระอภิธรรมมหาบัณฑิต ในยุคนั้นดวย พระครูปลัดวีระนนทไดเปนลูกศิษยของพระครูไพบูลยสมุทรสาร ในดานการปฏิบัติและศึกษาพระอภิธรรมอยางเครงครัด พระครูไพบูลย สมุ ท รสารจึ ง พาไปฝากเป น ลู ก ศิ ษ ย ข องพระพิ ม ลธรรมและได ศึ ก ษา ปฏิบตั สิ ติปฏ ฐาน ๔ วิธกี ำหนดพองหนอ ยุบหนอ จากทาน หลั ง จากนั้ น ได ไ ปศึ ก ษาการปฏิ บั ติ ธ รรมกั บ พระมหาสี ส ยาดอ (โสภณมหาเถระ) อดีตพระอาจารยใหญฝา ยวิปส สนาแหงประเทศพมาเปน เวลา ๑ ป (เดินธุดงคทงั้ ไปและกลับ )โดยไดศกึ ษาปฏิบตั ทิ ปี่ ระเทศพมา เมือ่ กลับมาประเทศไทยก็เขาศึกษาปฏิบตั ธิ รรมกับทานเจาคุณโชดก ญาณสิทธฺ ิ ที่ วิหารหลวงวัดมหาธาตุฯ เปนเวลา ๓ เดือน และในเวลาตอมาไดรบั การแนะ นำใหชวยเหลือในการสอนกรรมฐานในสถานที่ตางๆจนถึงปจจุบันนี้ ผลงาน ดานสาธารณประโยชนและดานเผยแผพระพุทธศาสนา - อดีตเจาอาวาสวัดปทุมคงคา อำเภอเกษตรวิสยั จังหวัดรอยเอ็ด - อดีตรักษาการตำแหนงเจาอาวาสวัดธาตุ อำเภอเกษตรวิสยั จังหวัด รอยเอ็ด - พระวิทยากรอบรมนักโทษประจำจังหวัดสมุทรสงคราม ในป พ.ศ. ๒๕๓๗-๒๕๔๐ - พระวิทยากรอบรมคายพุทธบุตร - พระวิทยากรในโครงการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานที่ยุวพุทธิก สมาคมแหงประเทศไทย

Vipassana2008.pmd

47

10/12/2552, 13:25


48

วิ ป ส ส น า ชี วิ ต

- พระวิทยากรโครงการโรงเรียนสีขาวประจำศูนยวิปสสนาเคลื่อนที่ แหงประเทศไทยวัดสุวรรณประสิทธิ์ บางกะป กรุงเทพฯ - พระวิทยากรอบรมพระวิปส สนาจารยประจำศูนยวปิ ส สนาเคลือ่ นที่ แหงประเทศไทยเมือ่ ป พ.ศ. ๒๕๓๐-๒๕๔๐ - พระวิทยากร ไดรบั นิมนตใหไปสอนทีป่ ระเทศสเปน (เปนพระรูป แรกในประเทศไทย) เปนเวลา ๕ เดือน ทัง้ ภาคปริยตั แิ ละภาคปฏิบตั ิ - พระสงฆไทยรูปเดียวที่ไดรับนิมนตไปสวดมนตแผเมตตาและนั่ง สมาธิภาวนาเพื่อสันติภาพโลกที่ประเทศทิเบต ในครั้งนั้นมีพระ สงฆเขารวมเจริญภาวนาจากประเทศ ทิเบตจีน และทีอ่ นื่ ๆ จำนวน กว า ๑๐,๐๐๐ รู ป โดยมี พ ระธิ เ บตระดั บ สู ง คื อ ระดั บ ริ น โปเช (RinPoche)ที่ ๒ (รองจากองคดาไล ลามะ) จำนวน ๑๒ รูป ซึง่ เกง ทางฌานสมาธิ เขารวมเจริญภาวนาในครัง้ นี้ เมือ่ ป พ.ศ. ๒๕๔๙ ฯลฯ ปจจุบัน - เจาอาวาสวัดปาเจริญราช อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี - พระวิทยากรอบรมพระนวกะประจำอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี - พระวิทยากรอบรมโครงการปฏิบัติธรรมของยุวพุทธิกสมาคมแหง ประเทศไทย - พระวิทยากรอบรมการปฏิบัติวิปส สนากรรมฐานใหแกนักเรียน นักศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร และ ตางจังหวัด - พระวิทยากรอบรมการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานใหแกหนวยงาน ทัง้ ภาครัฐและเอกชนตามทีไ่ ดรบั นิมนตมา - พระวิปส สนาจารยใหแกพทุ ธบริษทั ทีม่ าปฏิบตั วิ ปิ ส สนากรรมฐาน ทีว่ ดั ตลอดทัง้ ป

Vipassana2008.pmd

48

10/12/2552, 13:25


พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท วี ร นนฺ โ ท

49

งานดานหนังสือ - คสู รางคสู ม ( The happy couple) - พยากรณนอสตรานามุส - โลกลีล้ บั ในเมืองมนุษย - ธุดงคขา มแดน - วิปสสนาชีวิต - ธรรมะทวนกระแส - พุทธทำนาย ๑๖ ประการ ( 16 Predictions of The Buddha) - อิสระแหงจิต ปณิธาน

พระครูปลัดวีระนนทไดตั้งปณิธานแนวแนที่จะสรางวัดเพื่อเปน สถานที่ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานสำหรับพุทธบริษัท ทั้งชาวไทยและชาว ตางชาติ เพื่อเผยแผหลักธรรมคำสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา โดยเนนการสอนปฏิบตั วิ ปิ ส สนากรรมฐานตามแนวสติปฏ ฐาน ๔ ทานไดให ความสำคัญกับโครงการคายพุทธบุตร เพื่อใหเยาวชนไทยเติบโตเปนชาว พุทธทีด่ มี คี ุณธรรม เพือ่ เปนกำลังของประเทศชาติตอ ไป วัตรปฏิบตั ิ พระครู ป ลั ด วี ร ะนนท ได ส อนปฏิ บั ติ วิ ป ส สนากรรมฐาน ในโครงการปฏิบตั ธิ รรมของวัดทุกโครงการ และทานเปดโอกาสใหผปู ฏิบตั ิ ทัง้ ชาวไทยและชาวตางประเทศ เขาสอบอารมณกรรมฐานไดทกุ วัน หากไม มีกจิ ธุระใดๆทานจะรับแขกเวลา ๙.๐๐-๑๐.๓๐น. หรือชวงบายเวลา๑๔.๐๐๑๖.๐๐น. กัลยาณมิตรทานใดตองการเสวนาธรรมกับทานหรือตองการรับ หนังสือธรรมะเปนธรรมทาน สามารถติดตอสอบถามไดทวี่ ดั ทุกวัน

Vipassana2008.pmd

49

10/12/2552, 13:25


รายชือ่ ผรู ว มสมทบทุนพิมพหนังสือวิปส สนาชีวติ จำนวน ๕,๐๐๐ เลม คุณมนตรี ธนกรวุฒิกุล คุณไซหงส แซลิ้ม คุณภาสกร - คุณชสิศา ธนกรวุฒิกุล ด.ช. ธนกร - ด.ญ. ภนิดา ธนกรวุฒิกุล คุณสมชัย จิรภัลลพ คุณปฐมพงษ จิรภัลลพ คุณณัฐพล - คุณธัญนันท อารีประเสริฐสุข ด.ช. ชนสิทธิ์ - ด.ช. ณัฏฐ อารีประเสริฐสุข คุณสรัญญา วะราศี คุณวีรศักดิ์ สิทธิเจริญ ด.ญ. ลดา สิทธิเจริญ คุณมะลิ หมั่นมาก ด.ญ. กัญจนจิรัฏฐ กอนทรัพย คุณสุนันท จันทรเจริญ และครอบครัว คุณวรรณ คงวิโรจน และครอบครัว คุณอุไร บุญกัลยา และครอบครัว คุณสมภพ บุญกัลยา และครอบครัว คุณระดม เพ็ชรพรม คุณราชันย - คุณจุฑารัตน ถาวรจตุรวัฒน คุณกมลรัตน - ด.ช. ราชาวิทย ถาวรจตุรวัฒน คุณกฤษณา หิรัญสิริสมบัติ อุทิศใหบิดา-มารดา คุณกาญจนา บำนุราช และครอบครัว คุณศิริวรรณ - คุณกชพรรณ - คุณเกง คุณมณี วงศสินธุเชาว คุณไฉไล สมฉุน และครอบครัว

Vipassana2008.pmd

50

คุณพิสมัย สุจิตจร คุณแมวนิดา เทพอยูอำนวย คุณสุพล คุณพัชรภรณ - น.ส. เพียว สุดออน คุณครูสุกัญญา หมูเจริญ อุทิศใหบิดา, นองชาย คุณสมพร ดวงกัน พรอมบุตร, ธิดา และคุณปาทองดี จิอู คุณแมสุภาพร สุจิตจร คุณอัญชลี สุจิตจร คุณจารุณี จุลตระกูล อุทิศให ปูกิม, ยาชม จุลตระกูล คุณมาลัย - คุณประชุม ปทมขจร คุณประภัสสร จุลตระกูล อุทิศให นายสมยศ, ด.ญ. ผกามาศ จุลตระกูล คุณอภิสรา แตชะเสน คุณอุไร อนุ และครอบครัว คุณลอย เจริญสุข คุณศรีวัลย ปทมขจร คุณเสงี่ยม ปทมขจร คุณลูกชิ้น งามจิตประเสริฐ คุณจำปา แสงอุทัย คุณจำป เล็กใจซื่อ คุณพยนต บุญมา คุณณัฐฐวราษ ปยะธนวันต คุณกัญญนก ชัยจินดา และครอบครัว คุณณัชชา ธนกรวุฒิกุล

10/12/2552, 13:25


แนะนำหนังสือธรรมะ อิสระแหงจิต เลม ๑ และ เลม ๒

โดย : พระครูปลัดวีระนนท วีรนนฺโท รวมทำบุญ : ๒๕๙ บาท การปฏิบตั ทิ จี่ ะฝกกรรมฐานใหเกิดประโยชนจากการนัง่ กรรมฐาน จริงๆนั้น จะตองเลือกเอาเองวาทานจะภาวนาแบบใด โดยเพียง ทำความเขาใจใหดี ใหถกู ตองกอนจะลงมือปฏิบตั ิ เพราะคำภาวนา เปรียบเหมือนเชือกที่ผูกจิตไวไมใหหลุดออกนอกเสนทางในการ ฝกเบื้องตนเทานั้น แตเมื่อเขาใจ ทำไดดีแลว มีสมาธิดี จิตสงบ มากขึน้ มีสติแกกลามากขึน้ โดยไมหลงมายาแหงจิตแลว ก็ไมตอ ง มีคำภาวนา เพียงแตใหมีสติใหรูเทาทันอารมณปจจุบันเทานั้น ก็เพียงพอ คำตอบในหนังสือเลมนี้จะนำทางสวางไปสูความสุขที่ แทจริงของชีวิต

คสู ราง-คสู ม โดย : พระครูปลัดวีระนนท วีรนนฺโท แจกเปนธรรมทาน รวบรวมเรื่องที่เปนประโยชนสำหรับคูสมรสในอุดมคติ เปนเข็ม ทิศชวยชี้แนวทางในการปฏิบัติหนาที่ตอกันระหวางสามี ภรรยา หนังสือเลมนี้มีสองภาษาคือ ไทยและอังกฤษ

ธรรมะทวนกระแส โดย : พระครูปลัดวีระนนท วีรนนฺโท แจกเปนธรรมทาน เขียนจากการจดจำจากการปฏิบัติของผูเขียน จากการฝกของ ครูบาอาจารย และคำสอนที่ไดรับจากอาจารย ที่ไดเมตตาสั่งสอน เมื่อคราวเดินธุดงคในดงลึก

Vipassana2008.pmd

51

10/12/2552, 13:25


แนะนำหนังสือธรรมะ พุทธทำนาย ๑๖ ประการ โดย : พระครูปลัดวีระนนท วีรนนฺโท แจกเปนธรรมทาน เป น การพยากรณ พ ระสุ บิ น นิ มิ ต ของพระเจ า ปเสนทิ โกศล โดยองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา พระองค ทรงทำนายไว ๑๖ ประการ นอกจากนั้นยังไดกลาวถึง ความเปลี่ยนแปลงของโลก ในอดีต ปจจุบัน และที่ จะเกิดขึน้ ในอนาคต เพือ่ เปนขอเตือนใจ และควรตัง้ มัน่ อยูในความไมประมาท

คมู อื พุทธบริษทั

โดย : วัดปาเจริญราช แจกเปนธรรมทาน บทสวดมนต พ ร อ มคำแปล เพื่ อ ใช ใ นการสวดมนต สำหรับญาติโยมที่มาปฏิบัติที่วัด

MP3 ชุดธรรมปฏิบตั ิ โดย : พระครูปลัดวีระนนท วีรนนฺโท รวมทำบุญ : ๕๙ บาท MP 3 ธรรมบรรยายเกีย่ วกับวิธปี ฏิบตั วิ ปิ ส สนากรรมฐาน เบื้องตนและการตอบปญหาสภาวธรรมของผูปฏิบัติ

สนในหนังสือธรรมะหรือเปนเจาภาพจัดพิมพหนังสือธรรมะเลมใด ติดตอสอบถามไดที่วัด โทร 0-29952112 หรือ 086-3102566

Vipassana2008.pmd

52

10/12/2552, 13:25


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.