Learning center Urban Forest

Page 1

Learning center

A BOOK ABOUT LEARNI NG CENTER.

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center Urban Forest

Amphoe Muang , Samut Prakan


เนื่องจากจังหวัดสมุทรปราการ เป็ นจังหวัดทีม่ คี วามเจริญเข้ามา ประชากรหนาแน่นขึน้ มีโรงงานนิคม อุตสาหกรรมเกิดขึน้ มากมาย มีการลุกลํ้าพืน้ ทีส่ เี ขียวทําให้ทรัพยากรทางธรรมชาติลดน้อยลงแต่ยงั มีพน้ื ทีส่ ี เขียวทีย่ งั หลงเหลืออยูค่ อื ป่ าชายเลนตามแนวชายฝั ง่ ป่ าไม้ในคุง้ บางกระเจ้าและพืน้ ทีส่ เี ขียวตามบ้านเรือน พืน้ ทีส่ เี ขียวมีบทบาทสําคัญกับการดํารงชีวติ ของมนุษย์ โดยเฉพาะชุมชนเมือง นับว่าเป็ นพืน้ ทีท่ เ่ี ป็ น “ปอด” คอยดูดซับมลพิษต่างๆ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เพิม่ ออกซิเจนให้คนเมืองช่วยบรรเทาปั ญหาภาวะโลก ร้อน รักษาสมดุลทางสิง่ แวดล้อม สร้างขึน้ มาเพือ่ รองรับ นักเรียน นักศึกษา ชาวบ้านชุมชนป่ าชายเลนแนวอ่าวไทยและผูค้ นทีส่ นใจหรือรักใน การปลูกต้นไม้และอยากเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว เป็ นแหล่งเรียนรูพ้ น้ื ทีส่ เี ขียวของคนในจังหวัด เป็ นศูนย์กลางการ เรียนรูเ้ กีย่ วกับ ต้นไม้ ระบบนิเวศป่ าชายเลนของสมุทรกราการ ระบบนิเวศป่ าไม้ การขยายพันธุ์ การดูแล รักษาต้นไม้การปลูกพืชไร้ดนิ สําหรับคนทีอ่ ยากปลูกพืชผักในอาคารทีม่ พี น้ื ทีน่ ้อยและให้ชมุ ชนเมืองกเห็น ความสําคัญของพืน้ ทีส่ เี ขียว . . .

ทีต่ งั ้ โครงการ: ถ.สุขมุ วิท อ.เมือง จ.สมุทรปราการ ผูอ้ อกแบบ: นางสาวกิรณา อินอยู่ อาจารย์ทป่ี รึกษา: อาจารย์พลพัฒน์ นิลอุบล

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2 0 2 1 Le a r n i n g c e n t e r

Project Detail


ARCH สารบัญ

ส่วนที่ 1 บทนํา ทีม่ า ความสําคัญ วัตถุประสงค์โครงการ กลุ่มเป้ าหมาย

หน้า 4-7

ส่วนที่ 2 ความเป็ นไปได้โครงการเบือ้ งต้น ทีส่ อดคล้องกับ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม 8 - 14 ส่วนที่ 3 วิเคราะห์ทต่ี งั ้ โครงการ

15 - 19

ส่วนที่ 4 การกําหนดพืน้ ทีอ่ งค์ประกอบโครงการและแสดงการคํานวนพืน้ ทีโ่ ครงการ

20 - 36

ส่วนที่ 5 การศึกษาอาคารตัวอย่าง

37 - 42

ส่วนที่ 6 การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคาร วัสดุและวิธกี ารก่อสร้างทีเ่ หมาะสม ส่วนที่ 7 การศึกษาและสรุปข้อกฎหมาย และข้อกําหนดทีเ่ กีย่ วข้อง

43 - 52 53 - 59

ส่วนที่ 8 แนวคิดในการออกแบบเบือ้ งต้นการจัดวางองค์ประกอบ

60 - 63

ส่วนที่ 9 ความก้าวหน้าและการตรวจแบบร่าง

64 - 65

ส่วนที่ 10 ผลงานการออกแบบ

66 - 94


เนื่องจากจังหวัดสมุทรปราการ เป็ นจังหวัดทีม่ คี วามเจริญเข้ามา ประชากรหนาแน่นขึน้ มี โรงงานนิคมอุตสาหกรรมเกิดขึน้ มากมาย มีการลุกลํา้ พืน้ ทีส่ เี ขียวทําให้ทรัพยากรทาง ธรรมชาติลดน้อยลงแต่ยงั มีพน้ื ทีส่ เี ขียวทีย่ งั หลงเหลืออยูค่ อื ป่ าชายเลนตามแนวชายฝั ง่ ป่ าไม้ ในคุง้ บางกระเจ้าและพืน้ ทีส่ เี ขียวตามบ้านเรือน

Learning center

พืน้ ทีส่ เี ขียวมีบทบาทสําคัญกับการดํารงชีวติ ของมนุษย์ โดยเฉพาะชุมชนเมือง นับว่า เป็ นพืน้ ทีท่ เ่ี ป็ น “ปอด” คอยดูดซับมลพิษต่างๆ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เพิม่ ออกซิเจน ให้คนเมืองช่วยบรรเทาปั ญหาภาวะโลกร้อน และรักษาสมดุลทางสิง่ แวดล้อม

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Introduction


ปั ญหา พืน้ ทีป่ ่ าชายเลนลดลงเกิดจากสาเหตุหลายประการ คือ การขยายตัวของประชากรทําให้มกี ารพัฒนา กิจกรรมต่างๆ ทีส่ าํ คัญคือ การประมงและการเพาะเลีย้ ง สัตว์น้ํา การทํานากุง้ การทําเหมืองแร่ การเกษตร กรรม การขยายตัวของแหล่งชุมชน การสร้าง ท่าเทียบเรือ การสร้างถนนและสายส่งไฟฟ้ า การอุตสาหกรรม และโรงงานไฟฟ้ า การขุดลอกร่องนํ้า การทํานาเกลือ การตัดไม้เกินกําลังการผลิตของป่ า และกิจกรรมอื่น สาเหตุ หลายกิจกรรมเกิดขึน้ ในพืน้ ทีป่ ่ าชายเลนเป็ นเพราะเห็นว่าการใช้ประโยชน์ในพืน้ ทีป่ ่ าชายเลน มี กฎหมายและระเบียบ ข้อบังคับไม่รดั กุม ทําให้มผี บู้ กุ รุกจํานวนมาก และความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับป่ าชาย เลนยังไม่เพียงพอและยังไม่ถกู ต้องทําให้ไม่เห็นความสําคัญของป่ าชายเลน

Learning center

ผลกระทบ การเปลีย่ นแปลงพืน้ ทีป่ ่ าชายเลนดังกล่าวทําให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศป่ าชายเลน หลาย ประการ เช่น อุณหภูมนิ ้ําสูงขึน้ ปริมาณธาตุอาหารลดลง ความเค็มเพิม่ ขึน้ นํ้าขุน่ ข้น มีปริมาณสารพิษ ในนํ้า เกิดการพังทลายของดิน มีการเปลีย่ นแปลงชนิด ปริมาณและ ลักษณะโครงสร้างของพืชและสัตว์น้ํา ที่ สําคัญ คือมีผลกระทบต่อความสมดุลของระบบนิเวศในป่ าชายเลนและระบบนิเวศอื่นในบริเวณชายฝั ง่ และ ใกล้เคียง ป่ าชายเลน ซึง่ จะส่งผลกระทบไปถึงเศรษฐกิจและประชาชนและของประเทศโดยรวม และยากทีจ่ ะ ฟื้ นฟูให้ กลับเป็ นป่ าชายเลนทีอ่ ุดมสมบูรณ์เหมือนเดิมได้แม้จะต้องใช้เงินลงทุนมหาศาล

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Introduction


โครงการศูนย์การเรียนรู้สร้างขึน้ มาเพือ่ รองรับ นักเรียน นักศึกษา พ่อค้า แม่คา้ ตลาดต้นไม้และผูค้ นทีส่ นใจหรือรักในการปลูกต้นไม้และอยากเพิม่ พืน้ ทีส่ ี เขียว เป็ นแหล่งเรียนรูพ้ น้ื ทีส่ เี ขียวของคนในจังหวัด เป็ นศูนย์กลางการเรียนรู้ เกีย่ วกับ ต้นไม้ ระบบนิเวศป่ าชายเลนของสมุทรกราการ ระบบนิเวศป่ าไม้ การ ขยายพันธุ์ การดูแลรักษาต้นไม้การปลูกพืชไร้ดนิ สําหรับคนทีอ่ ยากปลูกพืชผัก ในอาคารทีม่ พี น้ื ทีน่ ้อยและให้ชุมชนเมืองเห็นความสําคัญของพืน้ ทีส่ เี ขียว • เพือ่ มุง่ เน้นให้เกิดการรักษาระบบนิเวศ และเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวให้กบั ตัวเองและเมือง

• เพื่อให้มแี หล่งเรียนรูใ้ นการอนุ รกั ษ์ เพิม่ พูล ให้การศึกษาความรูเ้ ป็ นเครื่องมือในการ สร้างจิตสํานึกด้านการรักษาระบบนิเวศและการร่วมกันสร้างพืน้ ทีส่ เี ขียวในทีอ่ ยู่ของ ตนเองได้

Learning center

• ประชาชนคนเมืองจะมีสว่ นร่วมในการจัดการ ร่วมคิด บํารุงรักษาระบบนิเวศทีเ่ หลืออยู่ ของคนเมืองและมีสว่ นร่วมในการเพิม่ พืน่ ทีส่ เี ขียว

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Objective


20 %

E m p lo y e e Ma n a g e r

50 %

Co m m o n p e o p le 9 0 %

Ve n d o r

S tu d e n t

Learning center

70 %

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Target Group


ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Possibility

Learning center


p h y s ic a l e n v ir o n m e n t

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Possibility

Learning center


p h y s ic a l e n v ir o n m e n t

H o s p it a l T e m p le

Learning center

S chool

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Possibility


physical environment การคมนาคมทางนํ้า อําเภอสมุทรปราการมีทา่ เทียบเรือขนส่งโดยสารสาธารณะ - ท่าเรือวิบลู ย 1 ศรี ตัง้ อยูท่ ต่ี าํ บลปากนํ้า อําเภอเมืองสมุทรปราการ - ท่าห้องเย็น ตัง้ อยูท่ ต่ี าํ บลท้ายบ้าน อําเภอเมืองสมุทรปราการ - ท่าสะพานปลา ตัง้ อยูท่ ต่ี า้ บลท้ายบ้าน อําเภอเมืองสมุทรปราการ อําเภอสมุทรปราการนอกจากจะมีทางหลวงสายหลัก-สายรองแล้ว ยังมีทางหลวงพิเศษ ทางพิเศษสายมอเตอร์ 1 เวย์ 1 และทางด่วน กาญจนาภิเษก โครงการรถไฟฟ้ าสายสีเขียว ช่วงแบริง่ -สมุทรปราการ ระยะทางประมาณ 25 กิโลเมตร

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2 0 2 1 Le a r n i n g c e n t e r

Possibility


ARCHITECTURE TECHNOLOGY2 0 2 1 Le a r n i n g c e n t e r

Possibility economically


economically

1.ธุรกิจจําหน่ายอาหารทะเล ความได้เปรียบของจังหวัดทีม่ ที างออกไปสูท่ ะเล ส่งผลให้อาหารทะเลหาทานได้ไม่ยากสําหรับทีน่ ้ี ส่วนเรือ่ งความสดใหม่ของ บรรดากุง้ หอย ปู ปลา แหล่งวัตถุดบิ สามารถหาซือ้ ได้งา่ ยจากตลาด 2.ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เมือ่ มีการสร้างรถไฟฟ้ าสายสีเขียว(ส่วนต่อขยายแบริง่ -บางปู) และสายสีเหลือง(ส่วนต่อขยายสําโรง-ลาดพร้าว) มีแนวโน้มว่า ตลอดเส้นทางนี้อาจเป็ นทําเลทีอ่ ยูอ่ าศัยหลักของสมุทรปราการ รายล้อมไปด้วยสิง่ อํานวยความสะดวกต่างๆ เช่น สถานศึกษา ทีม่ ชี อ่ื เสียง ห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ โรงพยาบาล สนามบิน และสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วสําคัญประจําจังหวัด ในอนาคตยังมีศนู ย์ ราชการแห่งใหม่ทจ่ี งั หวัดสมุทรปราการ มีแผนจะก่อสร้างขึน้ ในพืน้ ที่ 1,400 ไร่ แน่นอนว่าราคาทีด่ นิ ย่อมพุง่ สูง 3.ธุรกิจโรงแรมขนาดเล็ก สมุทรปราการเป็ นทีต่ งั ้ ของสถานทีส่ าํ คัญอย่างสนามบินสุวรรณภูม ิ ทําให้กลุ่มนักลงทุนเข้ามาสร้างธุรกิจจนเกิดความเจริญขึน้ 4.ธุรกิจการท่องเทีย่ ว ทรัพยากรธรรมชาติอย่างป่ าชายเลนสถานทีท่ างประวัตศิ าสตร์เช่น พระสมุทรเจดียก์ ลางนํ้า ป้ อมพระจุลจอมเกล้า รวมถึง ประเพณีรบั บัว และบางกระเจ้า ขุนสมุทรจีน ทีร่ ายล้อมไปด้วยป่ าชายเลน

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2 0 2 1 Le a r n i n g c e n t e r

Possibility


ARCHITECTURE TECHNOLOGY2 0 2 1 Le a r n i n g c e n t e r

Possibility economically


ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

SITE ANALYSIS

Learning center


ตัง้ อยูท่ างตะวันออกของโรงเรียนนายเรือ อยูท่ างใต้ของไปรษณียไ์ ทยสมุทรปราการ อยูท่ างเหนือของพิพธิ ภัณฑ์ทหารเรือ อยูท่ างตะวันตกของโรงงานผลิตตาข่าย อวนจับปลา

Learning center

ตัง้ ที่ : พืน้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยหนาแน่นมาก (ย.8) พืน้ ที่ : 2 ไร่ 75 ตารางวา ขนาด : 70 เมตร x 50 เมตร 3,500 ตารางเมตร

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

SITE


S IT E

1.ถนน สุขมุ วิท 2 เลน 16 เมตร 2. ซอยสุขมุ วิท 27

Learning center

PUBLIC TR AN S P O R T

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

ro a d s a ro u n d t h e p r o je c t


S IT E

มุมมองที่ 1 ทิศเหนือ ติดคลองเล็กๆ

มุมมองที่ 2 ทิศตะวันออก ติดโรงงาน ไทยนิตโต้เซโม โกลบอล

มุมมองที่ 4 ทิศตะวันตก ติดถนนสุขมุ วิท แนวรถไฟฟ้ าสีเขียวตรงข้ามคือโรงเรียนนายเรือ

Learning center

มุมมองที่ 3 ทิศใต้ ติดกับซอย เข้าไปโรงเรียนอนุ บาลสุวชิ า ถัดไปคือแปลงทีด่ นิ ว่าง

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Out side in


S IT E

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

In side out

Learning center


ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Area Requirement

Learning center


Area Requirement

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Area Requirement พืน้ ทีแ่ สดง วัฒนธรรมและ ภูมปิ ั ญญา ท้องถิน่ 25%

พืน้ ที่เรียนรู้ ตามอัธยาศัย 10%

พืน้ ที่การ เรียนรู้และให้ ความรู้ 35%

Learning center

ส่วนบริ การ 5% ส่วน สํานักงาน บริ การ โครงการ5%

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

พืน้ ที่ สร้างสรรค์โดย นักศึกษา20%


Area Requirement

ระยะเวลาเร่งด่วนคิดเป็ น 2 เท่า ของค่าเฉลีย่ /ชัวโมง ่ ดังนัน้ ต้องเตรียมพืน้ ที่ รองรับ 150 x 2 = 300คน / ชัวโมง ่ โดยยผูใ้ ช้หอ้ งโถงจะใช้เวลา 15 นาที ต่อคน ภายใน 1 ชัวโมง ่ รองรับผูใ้ ช้ 60 นาที / 15นาที = 4 ช่วง ดังนัน้ คิดเป็ นจํานวน 300 คน / 4 =75 คน / ช่วง • 1 คนใช้พน้ื ทีย่ นื 0.80 x 0.80 ประมาณ = 0.65 ตรม. • พืน้ ทีโ่ ถงรวม 300 คน x 0.65 ตารางเมตร = พืน้ ทีใ่ ช้สอย 195 ตารางเมตร • พืน้ ทีส่ ญ ั จรร้อยละ 40% (195 x 40 ) / 100 = 78 ตารางเมตร ดังนัน้ มีพน้ื ทีท่ งั ้ หมด 195 + 78 = 273 ตารางเมตร

Learning center

พืน้ ทีป่ ระชาสัมพันธ์ ขายตั ๋ว พืน้ ทีร่ วม 3.00*3.70 = 11.10ตร.ม จํานวน 4 ชิน้ 11.10 x 4 = 44.4

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

อาคารเปิ ดใช้งาน 9:00 – 21:00 เป็ นเวลา 12 ชัวโมง ่ ผูใ้ ช้บริการ 1500คน / วัน ปริมาณโดยเฉลีย่ ของผูใ้ ช้โถง 1800 คน/12 ชัวโมง ่ = 150 คน / ชัวโมง ่


Area Requirement ต้องการพืน้ ที่ 3.60x3.60 = 12.96 ตารางเมตร จํานวน 2 ชิน้ 12.96 x 2 = 25.92 ตารางเมตร ต้องการพืน้ ที่ 1.20x2.40 = 2.88 ตารางเมตร จํานวน 10 ชิน้ 2.88 x 10 = 28.8 ตารางเมตร Object Model ขนาด 1.80x1.80=3.24 ตารางเมตร

Learning center

ต้องการพืน้ ที่ 4.20x4.20 = 17.64 ตารางเมตร จํานวน 5 ชิน้ 17.64 x 5 = 88.2 ตารางเมตร

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

ความสําคัญของปอดคนเมือง / ปอดทีย่ งั หลงเหลืออยู่ / ทีม่ า ความสําคัญ


Area Requirement ต้องการพืน้ ที่ 15 x 8 = 120 ตารางเมตร จํานวน 5 ชิน้ 120 x 5 = 600 ตารางเมตร กิจกรรมดูนก ผีเสือ้ และแมลง ขนาด 1.20x1.20=1.44 ตารางเมตร ต้องการพืน้ ที่ 1.2x3.00 = 3.24 ตารางเมตร มีจาํ นวน 10 ชิน้ 3.24 x 10 = 32.4 ตารางเมตร

Learning center

ขนาด 0.60x0.60 = 0.36 ตารางเมตร ต้องการพืน้ ที่ 3.00x3.00 = 9.00 ตรม. จํานวน 5 ชิน้ 9 x 5 = 45 ตรม.

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

พืน้ ทีแ่ สดงต้นไม้ / ต้นโกงกาง /ต้นไม้ในระบบนิเวศป่ าชายเลน / สัตว์ในระบบป่ าชายเลน


Area Requirement

ธูปสมุนไพร

Learning center

ขนาด 0.60x0.60=0.36 ตารางเมตร ต้องการพืน้ ที่ 1.20x1.20 = 1.44 ตารางเมตร จํานวน 10 ชิน้ 1.44 x 10 = 14.4

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

ธูปสมุนไพร รูปแบบบอร์ดติดผนังขนาด 1.20 x 1.80 ตรม. ใช้พน้ื ทีจ่ ดั แสดง = 2.16 ตรม มีจาํ นวน 10 ชิน้ 2.16 x 10 ชิน้ = 21.6 ตรม. สาธิต การทําธูปสมุนไพร ขนาด 1.80x1.80=3.24 ตารางเมตร ต้องการพืน้ ที่ 4.20x4.20 = 17.64 ตารางเมตร จํานวน 10 ชิน้ 17.64 x 10 = 176.4 ตารางเมตร


Area Requirement

Learning center

ระยะเวลาเร่งด่วนคิดเป็ น 2 เท่าของค่าเฉลีย่ / ชัวโมง ่ ดังนัน้ ต้องเตรียมพืน้ ทีร่ องรับ 50 x 2 = 100 คน / ชัวโมง ่ โดยทีผ่ ใู้ ช้บริการโซนจัดแสดงและกิจกรรม รวมจะใช้เวลาประมาณ โซนละ 30 นาที ต่อผูใ้ ช้ 1 คน ภายใน 1 ชัวโมง ่ รองรับผูใ้ ช้บริการได้ 60 นาที / 30 นาที = 2 นาที คิดเป็ นจํานวน 100 คน / 2 นาที = 50 คน / ชัวโมง ่ ดังนัน้ จะมีคนใช้โซนจัดแสดงและกิจกรรม 100 คน คิดเป็ น 50 คน / ชัวโมง ่ • 1 คนใช้พน้ื ทีย่ นื 0.80 ตารางเมตร • พืน้ ทีโ่ ถงรวม 50 คน / ชัวโมง ่ x 0.80 ตารางเมตร = 40 ตารางเมตร • พืน้ ทีส่ ญ ั จรร้อยละ 40% = 48 ตารางเมตร ต้องการพืน้ ที่ 15 x 8 = 120 ตารางเมตร รวม 40 ตารางเมตร + 48 ตารางเมตร = 88 ตารางเมตร จํานวน 4 ชิน้ 120 x 4 = 480 ตารางเมตร

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

โซนจัดแสดงการขยายพันธุไ์ ม้ทป่ี ลูกในพืน้ บริเวณบางกะเจ้าและพืชพันธุร์ มิ ฝั ง่ อ่าวไทยเช่นต้นโกงกาง ในพืน้ ทีป่ ่ าชายเลน เปิ ดใช้งาน 9:00 – 21:00 เป็ นเวลา 12 ชัวโมง ่ ผูใ้ ช้บริการ 600 คน / วัน ปริมาณโดยเฉลีย่ ของผูใ้ ช้โซนนี้ 600 คน / 12 ชัวโมง ่ = 50 คน / ชัวโมง ่


Area Requirement

Learning center

ดังนัน้ พืน้ ทีใ่ ช้งานทัง้ หมด = 301.8 + 90.54 = 392.34 ตารางเมตร จํานวน 2 ห้อง 392.34 x 2 = 784.68 ตารางเมตร

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

พืน้ ทีห่ อ้ งบรรยาย 200 ทีน่ งั ่ จํานวน 2 ห้อง ใช้เป็ นห้อง ขนาด 13 เมตร x 22 เมตร ความสูงห้องสูง 4 เมตร คิดเป็ น 286 ตารางเมตร พืน้ ทีห่ อ้ งควบคุมแสง เสียง ต้องการพืน้ ที่ 3.80 ตารางเมตร พืน้ ทีส่ าํ หรับเตรียมอาหารว่าง เตรียมของ 12 ตารางเมตตร ทางสัญจรคิดเป็ น 30 % ของพืน้ ทีใ่ ช้งาน 301.8 x 0.30 = 90.54 ตารางเมตร


Area Requirement

Learning center

ดังนัน้ พืน้ ทีใ่ ช้งานทัง้ หมด = 143.8 + 43.14 = 186.94 ตารางเมตร จํานวน 2 ห้อง 186.94 x 2 = 373.88 ตารางเมตร

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

พืน้ ทีห่ อ้ งบรรยาย 80 ทีน่ งั ่ จํานวน 2 ห้อง ใช้เป็ นห้อง ขนาด 8 เมตร x 16 เมตร ความสูงห้องสูง 4 เมตร คิดเป็ น 128 ตารางเมตร พืน้ ทีห่ อ้ งควบคุมแสง เสียง ต้องการพืน้ ที่ 3.80 ตารางเมตร พืน้ ทีส่ าํ หรับเตรียมอาหารว่าง เตรียมของ 12 ตารางเมตตร ทางสัญจรคิดเป็ น 30 % ของพืน้ ทีใ่ ช้งาน 143.8 x 0.30 = 43.14 ตารางเมตร


Area Requirement

Learning center

ดังนัน้ พืน้ ทีใ่ ช้งานทัง้ หมด = 40 + 12 = 52 ตารางเมตร จํานวน 2 ห้อง 52 x 2 = 104 ตารางเมตร

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

พืน้ ทีห่ อ้ งประชุม 18 ทีน่ งั ่ จํานวน 1 ห้อง ใช้เป็ นห้อง ขนาด 8 เมตร x 5 เมตร ความสูงห้องสูง 4 เมตร คิดเป็ น 40 ตารางเมตร ทางสัญจรคิดเป็ น 30 % ของพืน้ ทีใ่ ช้งาน 40 x 0.30 = 12 ตารางเมตร


Area Requirement ในส่วนบริการหนังสือ เปิ ดใช้งาน 9:00 – 21:00 เป็ นเวลา 12 ชัวโมง ่ มีจาํ นวนผูเ้ ข้าใช้ 300คน / วัน = 25 คน / ชัวโมง ่ ระยะเวลาเร่งด่วนคิดเป็ น 2 เท่า ของค่าเฉลีย่ /ชัวโมง ่ ดังนัน้ ต้องเตรียมพืน้ ทีร่ องรับ 25 x 2 = 50 คน / ชัวโมง ่ โดยทีผ่ ใู้ ช้บริการรวมจะใช้เวลาประมาณ 1 ชัวโมง ่ / ผูใ้ ช้ 1 คน คิดเป็ น 50 คน / ชัวโมง ่ ดังนัน้ จะมีคนใช้งานโซนนี้ 50 คน • 1คนใช้พน้ื ทีย่ นื 0.80 ตารางเมตร • 50 คน x 0.80 ตรม. = 40 ตารางเมตร • พืน้ ทีส่ ญ ั จรร้อยละ 40% = 32 ตารางเมตร รวม 40 ตรม. + 32 ตรม. = 72 ตารางเมตร

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

จากการเทียบโครงการห้องสมุดกําหนดให้ อัตราส่วนของผูใ้ ช้ 1 คนต่อหนังสือ 30 เล่ม ดังนัน้ จะได้จาํ นวนหนังสือ = 50 คน x 30 เล่ม = 1,500 เล่ม โดยจัดเก็บในชัน้ หนังสือ ขนาด กว้าง 0.50 x ยาว 1.45 x สูง 1.80 ซม. โดยทีต่ ู้ สามารถบรรจุหนังสือขนาด 0.21 x 0.30 x 0.10 ซม. ได้จาํ นวน 200 เล่ม ต้องให้ชนั ้ วางหนังสือ จํานวน 1,500 เล่มโดย 1,500 เล่ม / 200 เล่ม = 8 ตู้ ห้องเก็บของคิดเป็ น 5% ของห้องสมุด

Learning center


Area Requirement

Learning center

ดังนัน้ พืน้ ทีโ่ ซนนี้จะมีพน้ื ทีใ่ ช้งานรวมทัง้ หมด 249.9 ตารางเมตร

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

ในส่วนco – working space ประกอบด้วย พืน้ ทีใ่ ช้งานแบบที่ 1 โต๊ะอ่านหนังสือ 10 ทีน่ งั ่ ต้องการพืน้ ที่ 2.40 x 2.40 = 5.76 ตรม. X 10 = 57.6 ตารางเมตร พืน้ ทีใ่ ช้งานแบบที่ 2 โต๊ะอ่านหนังสือ 10 ทีน่ งั ่ ต้องการพืน้ ที่ 3.18 x 1.42 = 4.51 ตรม. X 10 = 45.1 ตารางเมตร พืน้ ทีใ่ ช้งานแบบที่ 3 โต๊ะคอมคู่ 10 ทีน่ งั ่ ต้องการพืน้ ที่ 2.40 x 1.85 ตรม. = 4.44 ตรม. X 10 = 44.4 ตารางเมตร พืน้ ทีใ่ ช้งานแบบที่ 4 ชัน้ วางหนังสือ 20 ตู้ ต้องการพืน้ ที่ 2.45 x 2.10 ตรม. = 5.14 ตรม. X 20 = 102.8 ตารางเมตร


Area Requirement

พืน้ ทีเ่ คาร์เตอร์ประชาสัมพันธ์ 3.00 x 5.00 = 15 ตารางเมตร

ดังนัน้ พืน้ ทีโ่ ซนนี้จะมีพน้ื ทีใ่ ช้งานรวมทัง้ หมด 134.18 ตารางเมตร

Learning center

พืน้ ทีต่ เู้ ก็บของ 1.20 x 2.40 = 2.88 ตารางเมตร ทางสัญจรคิดเป็ น 30% ของพืน้ ทีใ่ ช้งาน 2.88 x 0.30 = 0.864 ตารางเมตร ดังนัน้ พืน้ ทีใ่ ช้งานทัง้ หมด = 2.88 + 0.864 = 3.744 ตารางเมตร

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

ห้องทํางานเจ้าหน้าทีจ่ าํ นวน 30 คน ห้องละ 4 คน จํานวน 8 ห้อง ในแต่ละห้องมีโต๊ะทํางาน พนักงาน อยู่ 4 ตัว • พืน้ ทีโ่ ต๊ะขนาด 2.40 x 1.35 ซม. = 3.24 ตรม. • ทางสัญจรคิดเป็ น 30% ของพืน้ ทีใ่ ช้งาน 3.24 x 0.30 = 0.97 ตรม. ดังนัน้ พืน้ ทีใ่ ช้งานทัง้ หมด = 3.24 + 0.97 = 4.21 ตารางเมตร จากนัน้ นําไปคูณจํานวนโต๊ะทัง้ หมด 4.21 x 4 = 16.84 ตารางเมตร 16.84 ตรม. x 8 ห้อง = 134.72 ตารางเมตร


Area Requirement 1.พืน้ ทีแ่ สดงปอดคนเมือง25% ส่วนโถงทางเข้า พืน้ ทีจ่ ดั แสดงทีม่ าปอดคนเมือง พืน้ ทีแ่ สดงต้นไม้ปอดคนเมือง / พันธุไ์ ม้ป่าชาย เลน พืน้ ทีแ่ สดงนก และสัตว์ในป่ าชายเลน 2.พืน้ ทีเ่ รียนรูแ้ ละให้ความรู้ 35% • ห้องบรรยาย 200 ทีน่ งั ่ 2 ห้อง • ห้องบรรยาย 80 ทีน่ งั ่ 2 ห้อง • พืน้ ทีห่ อ้ งประชุม 18 ทีน่ งั ่ 2 ห้อง

4.พืน้ ทีส่ าํ นักงานบริการโครงการ 5% 5.พืน้ ทีส่ ร้างสรรค์โดยนักศึกษา20% • พืน้ ทีจ่ ดั แสดงธูปสมุนไพร • พืน้ ทีส่ าธิตขยายพันธุพ์ ชื

317.4 142.92 600 77.4 1,137.72 784.68 373.88 104 1,262.56 321.9 72 393.9 268.9 212.4 568 780.4

Learning center

3.พืน้ ทีเ่ รียนรูต้ ามอัธยาศัย10% • โซนห้องสมุด อ่านหนังสือ • โซนนังเล่ ่ นชมสวน

ขนาดพืน้ ที่ (ตารางเมตร)

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

รายการ


Area Requirement 6.Support function • ห้อง CCTV • ห้องงานระบบ • ห้องเก็บของ • ห้องแม่บา้ น • ห้องเก็บขยะ

ขนาดพืน้ ที่ (ตารางเมตร) 25 25 20 20 10 125 5 ห้อง ต่อ100 คน 30ห้องx 2.73 = 81.9 30ห้องx 2.73 = 81.9 10ห้องx 2.73 = 27.3 10ห้องx 2.73 = 27.3 25ห้องx 2.73 =68.25 286.65

8.Circulation คิดเป็ น 30% ของพืน้ ที่

1,531.41

9.พืน้ ทีจ่ อดรถ

34x14.4=489.6 รวม

6,330.6

Learning center

7.ห้องนํ้า • พืน้ ทีแ่ สดงวัฒนธรรมและภูม ิ ปั ญญาท้องถิน่ • พืน้ ทีก่ ารเรียนรูแ้ ละให้ความรู้ • พืน้ ทีเ่ รียนรูต้ ามอัธยาศัย • พืน้ ทีส่ าํ นักงานบริการโครงการ • พืน้ ทีส่ ร้างสรรค์โดยนักศึกษา

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

รายการ


Area Requirement ตารางเมตร / คัน

คัน

พืน้ ทีแ่ สดงปอดคนเมือง 25%

1,137.72

120

9

พืน้ ทีเ่ รียนรูแ้ ละให้ความรู้ 35%

1,262.56

120

10

พืน้ ทีเ่ รียนรูต้ ามอัธยาศัย 10% พืน้ ทีส่ าํ นักงานบริการ โครงการ 5% พืน้ ทีส่ ร้างสรรค์โดย นักศึกษา20%

393.9

120

3

268.9

60

4

780.4

120

6

Support function 5 %

125

60

2

รวม

34

Learning center

ตารางเมตร

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

พืน้ ที่


ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Case Study

Learning center


Case Study

สถาปนิก

MUSEUM OF CONTEMPORARY ART

Yingliang Stone Natural History Museum

PHILADELPHIA, UNITED STATES

ATHINA, GREECE

XIAMEN, CHINA

SmithGroup

Vikelas Architects

Atelier Alter Architects

พืน้ ทีโ่ ครงการ / จํานวนชัน้ 7,153 ตารางเมตร / 6 ชัน้ 7,250 ตารางเมตร พืน้ ทีต่ งั ้ โครงการ

2,600ตารางเมตร

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

ทีต่ งั ้

Stephen A. Levin Building for Neural and Behavioral Sciences

Learning center


Case Study MUSEUM OF CONTEMPORARY ART

Yingliang Stone Natural History Museum

สถานทีน่ ้ีจดั วางตามการใช้งานรอบๆ บันได กลาง ซึง่ นําแสงธรรมชาติแบบกระจายผ่าน ลิฟต์แก้ว จากชัน้ สามขึน้ ไป พืน้ ทีจ่ ะถูก จัดเป็ นสองแกน บรรจบกันทีจ่ ดุ ของแกน หมุนเวียนในแนวตัง้ ซึง่ ทําหน้าทีเ่ ป็ น จุดอ้างอิงทีโ่ ดดเด่น โดยมีรายละเอียดที่ ซับซ้อนของแสงทีซ่ ่อนอยูแ่ ละสกายไลท์ ด้านบน

โครงการนี้เปลีย่ นหลักการของการผ่าหิน ซึง่ เฉพาะสําหรับการขุดหิน ให้เป็ นกลไก การแบ่งเชิงพืน้ ที่ เพือ่ ตัดพืน้ ทีล่ กู บาศก์ ตามนัน้ crystalloids ทีต่ ดั กันสามอันเข้าไปในพืน้ ที่ เอเทรียม แสงพีระมิดทรงสีเ่ หลีย่ มทอดตัว ยาวจากหลังคาอาคารถึงเพดานชัน้ หนึ่งเพือ่ นําแสงเข้าสูห่ อ้ งโถงพิพธิ ภัณฑ์ชนั ้ หนึ่ง

แนวคิดในการออกแบบ

• • •

ห้องเรียนห้องประชุมย่อย 35% • ห้องปฏิบตั กิ ารวิจยั แบบเปี ยก • 25% • สํานักงานคณาจารย์และนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาทีเ่ ชื่อมเข้า ด้วยกันกับพืน้ ทีต่ ่างๆ 20% หอประชุม 180 ทีน่ ั ่ง 10% ส่วนบริการ 5%

ห้องบรรยาย 20% บริการ 10% จัดแสดง 35%

• •

จัดแสดง 90% บริการ 10%

Learning center

องค์ประกอบโครงการและ สัดส่วนพืน้ ที่

• •

เป็ นศูนย์วทิ ยาศาสตร์แบบบูรณา การทีล่ ้าํ สมัย เป็ นศูนย์กลางทีโ่ ดดเด่นอาศัย ตําแหน่งทีอ่ ยูบ่ ริเวณจุดบรรจบกัน ของยานพาหนะและทางเดินเท้า เข้าสูว่ ทิ ยาเขต แผนและโครงการ ของบริเวณพืน้ ทีจ่ งึ กลายเป็ น จุดเชื่อมโยงทีส่ าํ คัญระหว่างพืน้ ที่ ใกล้เคียงและมหาวิทยาลัยโดยรอบ

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Stephen A. Levin Building for Neural and Behavioral Sciences


Case Study

ความสัมพันธ์ทว่ี า่ งใน อาคาร

MUSEUM OF Yingliang Stone CONTEMPORARY Natural History ART Museum

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Stephen A. Levin Building for Neural and Behavioral Sciences

Learning center


Case Study

วิเคราะห์การใช้ พืน้ ที่อาคาร

MUSEUM OF CONTEMPORARY ART

Yingliang Stone Natural History Museum

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Stephen A. Levin Building for Neural and Behavioral Sciences

Learning center


Case Study แผ่นหินปูนสีเหลือง

วัสดุหลักที่ประกอบ อาคาร

Yingliang Stone Natural History Museum เหล็ก และ คอนกรีต

คอนกรีต • ข้อดี

มีพืน้ ที่ชนั้ ใต้ดินหลายชัน้ มี พืน้ ที่ทาํ กิจกรรมเยอะและ แปลกดี

มีแนวคิดในการนําเรื่องของ หินที่เป็ นตัวจัดแสดงในงาน เอาออกมาใช้ในการ ออกแบบเช่นเรื่องของ เหลี่ยมมุม รูปทรง ฟอร์ม และสีของหินที่นาํ มาใช้ใน การออกแบบอาคาร

ปั ญหาเรื่องนํา้ กับพืน้ ที่ใต้ ดินเรื่องของความชืน้

ไม่มพี น้ื ทีบ่ รรยาย มี functionไม่หลากหลาย

มีfunction ทีย่ งั ไม่หลากหลาย

Learning center

ข้อเสีย

ทําห้องสโลปไว้ชนั้ ใต้ดิน อาจเพราะเพื่อ • จะได้ไม่มีเสียงรบกวนตอนบรรยาย มีการใช้facade เพือ่ บังแสงอาทิตย์ได้ 50%

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Stephen A. Levin Building MUSEUM OF for Neural and Behavioral CONTEMPORARY Sciences ART


ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Building systems and building structures

Learning center


B u ild in g s y s t e m s a n d b u ild in g s t r u c t u r e s

เลือกใช้ระบบ VRV เป็ นระบบปรับอากาศใช้น้ํายาปรับอากาศเป็ นสื่อความเย็น • ใช้ในพืน้ ทีท่ เ่ี ป็ นห้องห้องสมุด และส่วนสํานักงาน • ต้องมีพน้ื ทีว่ าง CDU

Learning center

เลือกใช้ระบบ water cooled water chiller เป็ นระบบทําความเย็นจากส่วนกลางใช้น้ําเป็ นสือ่ กลางทําความ เย็นมีกาํ ลังในการทําความเย็นสูง ซ่อมบํารุงได้จากส่วนกลาง • ระบายความร้อนด้วยนํ้าจึงต้องมี Cooling Tower • ใช้ในพืน้ ทีท่ เ่ี ป็ นห้องโถงใหญ่ บริเวณจัดแสดง • เสียงรบกวนน้อย • ต้องมีพน้ื ทีต่ ดิ ตัง้ มาก ต้องมีหอ้ ง chiller ต้องมีพน้ื ทีว่ าง AHU ต้องมีพน้ื ทีว่ าง Cooling Tower

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Air conditioning system


B u ild in g s y s t e m s a n d b u ild in g s t r u c t u r e s ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Sanitary system

Learning center


B u ild in g s y s t e m s a n d b u ild in g s t r u c t u r e s

ระบบนํ้าเสีย • ระบบนํ้าเสียแบบทัวไปโดยแยกเป็ ่ นระบบนํ้าเสียจากอ่างหน้า ระบบนํ้าเสียจากท่อ และระบบนํ้าเสียจากห้องครัว โดยระบายมาตามท่อแนวนอน แล้วมารวมกันในท่อ แนวตัง้ แล้วจึงนําไปบําบัดก่อนปล่อยสูท่ อ่ นํ้าเสียสาธารณะ โดยอุปกรณ์รว่ มระบบ ระบายนํ้าเสีย คือ ทีด่ กั กลิน่ ตะแกรงดักกลิน่ และทีด่ กั ไขมัน

ระบบบําบัดนํ้าเสีย • ระบบบําบัดนํ้าเสียแบบเติมอากาศ ระบบนี้เหมาะกับอาคารขนาดกลาง ซึง่ ง่ายต่อ การดูแลรักษา มีประสิทธิภาพดี และราคาไม่แพง

Learning center

ระบบโสโครก • ระบบนํ้าโสโครกเป็ นระบบทีร่ ะบายของเสียจากโถส้วม และโถปั สสาวะโดยระบบเดิน ท่อ จะมีทอ่ แนวนอนทีต่ ่อออกจากแหล่งกําเนิดสิง่ โสโครก และท่อแนวตัง้ ทีเ่ ป็ นท่อ รวมท่อแนวนอนก่อนนําไปยังถังบําบัด โดยอุปกรณ์รว่ ม คือช่องทําความสะอาดท่อ

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Sewage system


B u ild in g s y s t e m s a n d b u ild in g s t r u c t u r e s

Learning center

ระบบแสงสว่าง(Lighting) • การให้แสงทางตรง คือ แสงสว่างทีพ่ งุ่ ตรงจากจุด ระบบไฟฟ้ ากําลังแบบ Sub-station กําเนิดแสงมาสูส่ ายตาเราโดยตรงโดยไม่มวี สั ดุบงั เนื่องจากต้องการของกําลังไฟฟ้ าสูง เพือ่ ดวงโคมทีใ่ ห้แสงสว่างจะต้องสะท้อนแสงลงมาได้ ความสะดวกสบายของโครงการในการจ่ายปริมาณไฟฟ้ า ประมาณ 90 % โดยการให้แสงทางตรงนัน้ มักจะ จํานวนมาก จึงจําเป็ นต้องแยกหม้อแปลงไฟฟ้ าออกมา ใช้ในการให้แสงสว่างในสํานักงาน โถง ส่วนแสดง ต่างหาก โดยแยกส่วนเป็ นของภายในโครงการจาก แฟชันโชว์ ่ สว่ นแสดงนิทรรศการและสถานทีท่ ่ี ระบบไฟฟ้ าสาธารณะโดยทัวไป ่ ต้องการเน้นแสงเฉพาะ ระบบไฟฟ้ าฉุกเฉิน(Emergency System) • ระบบไฟฟ้ าฉุกเฉินแบบดีเซล เป็ นระบบทีท่ าํ งาน • การให้แสงกึง่ ตรง คือ การออกแบบให้แสงสว่าง อัตโนมัติ คือ หลังจากทีไ่ ฟฟ้ าเมนดับระบบจะ ออกจากด้านล่าง ของแหล่งกําเนิดแสงโดยตรง สตาร์ทเครือ่ งและมีสวิทซ์สบั เปลีย่ นจ่ายไฟให้ เพียงประมาณ 60-90% ของปริมาณแสงทัง้ หมด อุปกรณ์ไฟฟ้ าทีส่ าํ คัญ และกําหนดให้แสงส่วนทีเ่ หลือฉายขึน้ ไปกระทบ • ระบบไฟฟ้ าฉุกเฉินแบบแบตเตอร์ร่ี จะถูกติดตัง้ เพดานส่วนหนึ่งและสะท้อนกระจายออกไป การ เพือ่ ให้แสงสว่างในระหว่างทีร่ อไฟจากเครือ่ ง เลือกใช้แสงแบบกึง่ ตรงนัน้ จะใช้สาํ หรับสํานักงาน กําเนิดไฟฟ้ า ห้องเรียน และสถานทีต่ ่างๆทีต่ อ้ งการแสงสว่าง เฉลีย่ ในระดับทีเ่ สมอกันทัวบริ ่ เวณ

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Electrical system


B u ild in g s y s t e m s a n d b u ild in g s t r u c t u r e s

ระบบข่นส่งแนวดิง่ เช่น ลิฟต์ และ บันไดเลื่อน • ระบบขนส่งทางดิง่ ทีเ่ ลือกคือ ลิฟต์ระบบ Hydraulic • ไม่มหี อ้ งเครือ่ ง • ใช้กบั อาคารสูงไม่เกิน 25 เมตร

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Transportation system

Learning center


B u ild in g s y s t e m s a n d b u ild in g s t r u c t u r e s

Learning center

ระบบป้ องกันอัคคีภยั และระบบดับเพลิง(Fire Protection Extinguishers) ระบบป้ องกันอัคคีภยั ใช้แบบระบบทัง้ Smoke Detector และ Heat Detector ซึง่ เมือ่ เกิดเพลิงไหม้จะทํา การแสดงผลไปยังห้องควบคุมเพือ่ ส่งสัญญาณเตือนภัยไปยังระบบ Fire Detector System โดยระบบ Sprinkle ซึง่ เมือ่ โดนความร้อนจนถึงอุณหภูมทิ ก่ี าํ หนดไว้ ปรอท จะแตกและปล่อยนํ้าออก เนื่องจากมีประสิทธิภาพในการป้ องกันภัยทีด่ ี ระบบดับเพลิง • ชนิดสายสูบ เป็ นระบบท่อแห้งไม่มนี ้ําอยูใ่ นสภาวะท่อปกติแต่มอี ปู กรณ์ควบคุ นํ้าทีส่ ง่ มาในท่อระบบนี้จะใช้คนนําสายสูบใช้ได้กบั ทุกมุม ความยาวสายทัวไป ่ 15, 23และ30 เมตร • ชนิดโปรยนํ้าสามารถทํางานได้โดยอัตโนมัตคิ อื การเดินท่อไปตามฝ้ าเพดาน แบบ GRIDโดยเว้นระยะให้หวั ฉีดกระจายนํ้าออกไปซึง่ นํ้าในท่อจะมีความดัน พร้อมจ่าย

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Fire protection system


B u ild in g s y s t e m s a n d b u ild in g s t r u c t u r e s

ระบบโทรศัพท์(Telephone System) ระบบโทรศัพท์ภายในอาคารหลังจาก เชื่อมสายจากองค์การโทรศัพท์กบั ห้องชุมสายแล้ว สายโทรศัพท์จะแยก เข้าตูส้ าขา เพือ่ จัดระบบ และหมายเลข จากนัน้ จะส่งไปยังแผงควบคุมในแต่ละชัน้ • ระบบโทรศัพท์ ใช้สาํ หรับติดต่อระหว่างหน่วยงานในโครงการ •

ระบบโทรศัพท์สาธารณะสําหรับบุคคลทัวไป ่

ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด(CCTV System) ระบบรักษาความปลอดภัยรวม และแยกส่วนตามจุดสําคัญของอาคาร

ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ดแบบระบบรักษาความปลอดภัยรวมของอาคาร โดยจะมีการติดตัง้ กล้อง ตามตําแหน่งสําคัญ ได้แก่ ทางเข้า โถง ในลิฟท์ ร้านอาหาร และส่วนพืน้ ทีอ่ ่นื ๆ ซึง่ จอภาพ สามารถปรับเปลีย่ นการมองด้วยการตัง้ เวลาในการดู เพือ่ ให้เกิดการมองพืน้ ทีไ่ ด้อย่างทัวถึ ่ ง ในกรณีทอ่ี าคารมี ขนาดใหญ่และมีความต้องการในการรักษาความปลอดภัยสูง

Learning center

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Communication system


B u ild in g s y s t e m s a n d b u ild in g s t r u c t u r e s

ระบบควบคุมอัตโนมัติ การรวบรวมการตรวจสอบ และการควบคุมระบบ ต่างๆ เข้าด้วยกันโดยการนําระบบควบคุมโดย คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศมา ประยุกต์ใช้โดยมีรปู แบบการจัดการ

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Building management system

Learning center


B u ild in g s y s t e m s a n d b u ild in g s t r u c t u r e s

โครงสร้างหลัก เป็ นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก • มีความแข็งแรง ทนทาน • ทัง้ ปูนซีเมนต์ หิน กรวด ทราย เป็ นวัสดุทม่ี รี าถูกกว่าโครงสร้างเหล็ก จึงช่วยประหยัดค่าใช้จา่ ยได้ • การดูแลรักษาง่ายกว่าและถูกกว่าโครงเหล็ก ทัง้ ยังมีวธิ แี ก้ไขทีไ่ ม่ ยุง่ ยาก รวดเร็วกว่า

Learning center

โครงสร้างพืน้ ใช้พน้ื ระบบ post tension พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรง พืน้ ไร้คาน การก่อสร้างมีความรวดเร็วและสามารถลดต้นทุนการก่อสร้างได้ เช่น มีจุดเด่น ในการจัดสรรพืน้ ทีใ่ ช้สอยได้งา่ ยและสวยงาม สามารถจัดแบ่งพืน้ ทีใ่ ช้งานได้ อย่างอิสระ โครงสร้างทีน่ ้อยกว่าสามารถลดค่าก่อสร้างของงานฐานรากลง ลด ต้นทุนและระยะเวลาในการก่อสร้าง ประหยัดพืน้ ทีใ่ นการเก็บวัสดุ สามารถ ก่อสร้างในพืน้ ทีจ่ าํ กัดได้ ทําให้สามารถลดระยะเวลาก่อสร้างต่อชัน้ ได้

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Structural system


ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Laws and Requirements related

Learning center


Laws and Requirements related

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Laws and Requirements related

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Laws and Requirements related

Learning center

บันไดหนีไฟ

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

บันได


Laws and Requirements related

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

ทีจ่ อดรถ

Learning center


Laws and Requirements related ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

ทีจ่ อดคนพิการ

Learning center


Laws and Requirements related

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Design Idea

Learning center


Design Idea พืน้ ทีส่ แี ดงเป็ นพืน้ ทีท่ ต่ี ดิ กับถนน สายหลักมองเห็นโครงการได้ดี ได้รบั แสงช่วงบ่ายถึงเย็นและได้รบั มลพิษทางเสียง ฝุ่ น จากถนน พืน้ ทีส่ เี หลืองเป็ นพืน้ ทีท่ ต่ี ดิ แหล่ง นํ้าขนาดเล็กเหมาะแก่การ พักผ่อน ได้ลมจากทิศเหนือ ได้รบั แสงน้อย สงบมาก พืน้ ทีส่ มี ว่ งเป็ นพืน้ ทีท่ ต่ี ดิ กับถนน ซอย เลนเดียวมองเห็นโครงการ ได้ดบี า้ งเพราะมีพน้ื ทีว่ า่ งติดกับ D ได้รบั แสงแดดจัดทัง้ วันและ ได้รบั มลพิษทางเสียง ฝุ่ น จาก ถนนซอยเล็กน้อย

พืน้ ทีเ่ ขียวเป็ นพืน้ ที่ ทีอ่ ยูต่ รงกลาง แสงแดดไม่มาก ไม่รอ้ น สงบ ติดกับ B ทําให้เป็ นพืน้ ทีท่ ่ี สงบ เย็น

Learning center

พืน้ ทีฟ่ ้ าเป็ นพืน้ ที่ ทีต่ ดิ กัโรงงานผลิต อวนจับปลาได้รบั แสงน้อย

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

ศักยภาพของพืน้ ทีโ่ ครงการ


Design Idea

จากการวิเคราะห์ไซต์ ด้าน A ควรเป็ นส่วนต้อนรับและโถง เพราะเป็ น ส่วนทีต่ ดิ ถนนใหญ่และจะได้แสงช่วงบ่ายถึง เย็น ด้าน B ควร เป็ นส่วนพักผ่อน แหมาะกับการ เปิ ดกว้างชมวิว เพราะได้ลมจากทิศเหนือและ แหล่งนํ้า

ด้าน D ควรเป็ นส่วนเซอร์วซิ ด้าน E ควรเป็ นส่วน จัดแสดงงาน ห้อง บรรยาย

Learning center

ด้าน C ควรเป็ นส่วนแสดงกิจกรรม

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

ศักยภาพของพืน้ ทีโ่ ครงการ


Design Idea

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Feedback

Learning center


Feedback บรรยาย 200 ทีน่ งั ่ 910 ตารางเมตร บรรยาย 30 ทีน่ งั ่ 132 ตารางเมตร ห้องสมุด 472 ตารางเมตร ส่วนจัดแสดง ปอดคนเมือง 817 ตารางเมตร

ร้านอาหาร/ตลาด 557 ตารางเมตร

สํานักงาน 170ตารางเมตร

โถงส่วนต้อนรับ 196 ตารางเมตร

Learning center

พืน้ ทีจ่ อดรถ 532 ตารางเมตร

ประชุมสัมนา 20 ทีน่ งั ่ 128 ตารางเมตร

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Service ระบบปรับอากาศ


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


Design

ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center


ARCHITECTURE TECHNOLOGY2021

Learning center

Thanks!


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.