learning center culture rice.

Page 1

LEARNING CENTER CULTURE RICE Pathum Thani Province


ที่ตั้ง ตาบล บ้านกลาง อาเภอ เมืองปทุมธานี จังหวัด ปทุมธานี พื้นที่โครงการ 7,034.44 ตารางเมตร ออกแบบโดย นางสาวนันทญา อิสรัญ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ Polpat Nilubon คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

PROJECT DETAILS

ศูนย์การเรียนรู้ประเพณีการหุงข้าวแช่จังหวัดปทุมธานี อาหารนอกจากจะเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สาคัญสาหรับคนเราแล้ว ยังสะท้อนเรื่องราวความเป็นมาและวิถีชีวิตของคน ในชุมชนได้เป็นอย่างดี "ข้าวแช่” เป็นหนึ่งในวัฒนธรรมทางด้านอาหารของชุมชนชาวมอญในจังหวัดปทุมธานี สมัยโบราณจะถือเอาวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ เป็นเทศกาลที่มีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง ข้าวแช่ หรือที่ชาว มอญเรียกว่า ”เปิงซังกราน” ศูนย์การเรื่องรู้แห่งนี้เพื่อที่จะอนุรักษ์การหุงข้าวแช่ เพราะในปัจจุบันอาหารมี มากมายทาให้อาหารสารับข้าววัง ไม่ค่อยเป็นที่นิยมรับประทาน จึงอยากให้ทุกคนได้รับรู้ถึงความอร่อย


สารบัญ

หน้า ส่วนที่ 01 ส่วนที่ 02 ส่วนที่ 03 ส่วนที่ 04 ส่วนที่ 05 ส่วนที่ 06 ส่วนที่ 07 ส่วนที่ 08 ส่วนที่ 09 ส่วนที่ 10

บทนาและความสาคัญ วัตถุประสงค์โครงการ กลุ่มเป้าหมาย ความเป็นไปได้ของโครงการเบื้องต้น ที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสังคม วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ กาหนดพื้นที่องค์ประกอบโครงการและการแสดงคานวณพื้นที่โครงการ การศึกษาอาคารตัวอย่าง การศึกษางานระบบบริการอาคาร ระบบโครงสร้างอาคาร วัสดุและอุปกรณ์ การศึกษาและสรุปข้อกฎหมาย แนวคิดในการออกแบบ ความก้าวหน้าและการตรวจแบบร่าง ผลงานการออกแบบ

4-5 6-19 20-27 28-46 47-56 57-65 66-70 71-73 74-75 76-104


INTRODUCTION อาหารนอกจากจะเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สาคัญสาหรับคนเราแล้ว ยังสะท้อนเรื่องราวความเป็นมาและวิถีชีวิตของคนใน ชุมชนได้เป็นอย่างดี "ข้าวแช่” เป็นหนึ่งในวัฒนธรรมทางด้านอาหารของชุมชนชาวมอญในจังหวัดปทุมธานี สมัย โบราณจะถือเอาวันสงกรานต์เป็นวันขึน้ ปีใหม่ เป็นเทศกาลที่มีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง ข้าวแช่ หรือที่ชาวมอญ เรียกว่า ”เปิงซังกราน” ศูนย์การเรื่องรู้แห่งนี้เพื่อที่จะอนุรักษ์การหุงข้าวแช่ เพราะในปัจจุบันอาหารมีมากมายทาให้ อาหารสารับข้าววัง ไม่ค่อยเป็นที่นยิ มรับประทาน จึงอยากให้ทุกคนได้รับรู้ถึงความอร่อย

ข้าวแช่มาจากไหน? “ข้าวแช่” เมนูอันหอมเย็นชื่นใจประจาหน้าร้อนจะเป็นตารับอาหารพื้นบ้านของชาวมอญ โดยชาวมอญจะเรียกว่า "เปิงด๊าดจ์" ซึ่ง "เปิง" แปลว่า "ข้าว" และ "ด๊าดจ์" แปลว่า "น้า" "เปิงด๊าดจ์" จึงมีความหมายว่า "ข้าวน้า" ที่นิยมทาขึ้น เพื่อถวายทวยเทพในเทศกาลตรุษสงกรานต์ โดยทาถวายแด่พระสงฆ์ และนาไปให้ผู้เฒ่าผู้แก่ที่เคารพนับถือ เพื่อความ เป็นสิริมงคลแก่ตนเอง

ความเป็นมา “ข้าวแช่มอญ”

หาดูได้จากตานานสงกรานต์มอญ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้จารึกไว้ที่ศาลาล้อมพระมณฑปทิศเหนือ ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลา ราม จานวน 7 แผ่น เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ เศรษฐีที่ไม่มีทายาท ทาการ บวงสรวงพระอาทิตย์ พระจันทร์ เป็นเวลา 3 ปี แต่ไม่สาเร็จจนถึงวันในคิมหันต์ ฤดูเจตมาส นักขัตตฤกษ์ต้นปีใหม่ เป็นวันมหาสงกรานต์ เศรษฐีจึงไปที่โคนต้น ไทรริมน้าพร้อมบริวาร และสั่งให้บริวารนาข้าวสารเมล็ดงามล้างน้าถึง 7 ครั้ง จนบริสุทธิ์หมดมลทินแล้วจึงหุงเพื่อบูชารุกขเทวดา พร้อมเครื่องเคียง โอชารส มากมายที่ประจงทาอย่างประณีต แล้วตั้งจิตอธิษฐานขอบุตร รุกขเทวดาจึง เมตตาให้เทพบุตรชื่อ ธรรมบาลกุมาร มาจุติเป็นบุตรเศรษฐี พร้อมกันนี้เมื่อ บุตรเกิดเศรษฐีได้สร้างปราสาท เจ็ดชั้นให้บุตรชายด้วย


วัตถุประสงค์ เพื่อที่จะอนุรักษ์ประเพณีการหุงข้าวแช่ที่ได้รับเข้ามาสู่สารับไทย เพราะในปัจจุบัน อาหารมีมากมาย ทาให้อาหารสารับชาววัง ไม่ค่อยมี การนิยมรับประทาน จึงอยากที่จะให้ความอร่อยของข้างแช่ให้ทุกคนได้ลอง และให้ทุกคนได้เห็นถึงความสาคัญของข้าว การปลูกข้าว ให้ความรู้ที่ถูกต้อง เพื่อให้คนในชุมชนได้ทากิจกรรมร่วมกัน และสร้างรายได้ให้กับ est planet in our Solar System. It’s the fourth-brightest object in the sky

กลุ่มเป้าหมาย

Yes, Saturn is the ringed one. This planet is a gas giant, and it’s composed mostly of hydrogen and helium


ความเป็นไปได้ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ

อาเภอเมืองปทุมธานี

จังหวัดปทุมธานี

1.เขตพื้นที่สีชมพู ที่ดินประเภทชุมชน ที่ดินประเภทชุมชน ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย พาณิชยกรรม เกษตรกรรม สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้เป็นไปตามข้อกาหนด ดังต่อไปนี้ 1.1 ให้ดาเนินการหรือประกอบกิจการได้ใน อาคารที่มีความสูงไม่เกิน 23 เมตร 1.2 ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละ15ของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ 2.เขตพื้นที่สีม่วง ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่ออุตสาหกรรม หรือเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม คลังสินค้า สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่นให้เป็นไปตามที่กาหนด สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่นให้เป็นไปตามข้อกาหนด ดังต่อไปนี้ 1.1 ให้ดเนินการหรือประกอบกิจการได้ใน อาคารที่มีความสูงไม่เกิน 16 เมตร 1.2 ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละ15ของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ


การปกครองส่วนภูมภิ าค (ตามกฎหมายลักษณะปกครองท้องที่) ออกเป็น 7 อาเภอ 60 ตาบล 529 หมู่บ้าน ลำดับ

ชื่อ อำเภอ

พืน้ ที่

ห่ำงไกล จำกตัว จังหวัด

1

เมือง ปทุมธานี

120.1 51

-

ก่อตั้ ง

ตำบ ล

หมู่บ้ำน

14

81

ประชำกรคน (พ.ศ.2554) 179,876

2

คลอง หลวง

299.1 52

22.1

7

71

239,172

3

ธัญบุรี

112.1 24

18.1

6

12

203,692

4

หนองเสือ 413.6 32

57.9

7

69

50,322

5

ลาดหลุม แก้ว

183.1 2

17.9

7

61

58,624

6

ลาลูกกา

297.7 1

39.4

8

114

240,178

94.96 7

8.1

11

58

52,563

7

สามโคก

จังหวัดปทุมธานีมีพื้นทีม่ ั้งหมด 955,535 ไร่ -เป็นพืน้ ทีเ่ กษตรกร 510,576 ไร่ -ครัวเรือนเกษตรกร 23,345 ครัวเรือน

พื้นที่การเกษตรมีอยู่ในทุกอาเภอ

และมีมากที่สุดในเขต -อาเภอหนองเสือ -อาเภอลาลูกกา -อาเภอลาดหลุมแก้ว -อาเภอคลองหลวง ตามลาดับโดยพื้นที่ของจังหวัดจะมีการทาการเกษตร ส่วนใหญ่เป็นที่นา ไม้ผล และไม้ยืนต้น ข้าวเป็นพืชเศรษกิจหลัก มีเนื้อที่ปลูก 311,184 ไร่ มีครัวเรือนเกษตรปลูกอยู่ 11,602 ครัวเรือน


ลักษณะทางภูมิภาค สภาพอากาศโดยทั่วไปของจังหวัดปทุมธานี แบ่งเป็น 3 ฤดู 1.ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์-เมษายน 2.ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือน พฤษภาคม-กันยายน 3.ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือน ตุลาคม-มกราคม สภาพภูมากาศของจังหวัดปทุมธานี เป็นแบบร้อนชื่น เช่นเดียวกับจังหวัดภาคกลางของประเทศ ภาวะอากาศและปริมาณน้าฝนโดย เฉลี่ยดังต่อไปนี้ มี.ค.-มิ.ย. อุณหภูมิเฉลี่ย 21-36 องศาเซลเซียส ก.ค-ต.ค. อุณหภูมิเฉลี่ย 23-34 องศาเซลเซียส พ.ย.-ก.พ. อุณหภูมิเฉลี่ย 21-36 องศาเซลเซียส ลักษณะของดิน พท้นที่จังหวัดส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่ม ดินมีลักษณะเป็นดินหนียวจัด สภาพดินเป็นกรดปานกลาง ถึงกรดจัด ค่า PH ประมาณ6-4 ซึ่งลักษณะดินภายในจังหวัด สามารถแย่งออกได้เป็น2กลุ่ม คือ 1.กลุ่มดินดี มีพื้นที่ประมาณร้อยละ30 2.กลุ่มดินนา มีสภาพเป็นกรดจัด มีพื้นที่ประมาณร้อยละ70 เนื้องจากสภาพดินเป็นดินเหนียวทาให้ การระบาไม่ดี และการไหลบ่าของน้าบนผิวเดินช้า ซึ่งไม่เหมาะสมกบการปลูกพืชไร่และการปลูกข้าวได้ผลผลิตต่า ซึ่งต้องมีการปรับปรุงโดยใช้ปูนขาว หรือปูนมาร์ลควบคู่กับการใช้ปุ๋ยเคมี เพื่อให้การเพาะปลูกได้ผลผลิคดีชึ้น

ข้าวนาปี หรือข้าวนาน้าฝน คือ ข้าวที่ปลูกในฤดูการทานาปกติ จึงใช้ภาษาอังกฤษตรงตัวว่า in-season rice เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคมและเก็บเกี่ยวสิ้นสุดไม่เกินกุมภาพันธ์

ลูกในนาปีคือ ‘ข้าวไวต่อช่วงแสง’

ไม่มีระบบชลประทานต้องอาศัยน้าจากฝนเท่านั้น

ข้าวนาปรัง คือ ข้าวที่ปลูกนอกฤดูการทานาปกติ ภาษาอังกฤษจึงใช้คาว่า off-season rice คือเริ่ม ตั้งแต่เดือนมกราคมนิยมปลูกในพื้นทีท่ ี่มกี ารชลประทานดี เช่น ในภาคกลาง เป็นต้น

ลูกในนาปรังคือ ‘ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง’

โดยอาศัยแหล่งน้าจากระบบชลประทาน


ข้างวัดจะมีนาข้าวเยอะ เพราะส่วนใหญ่จะเป็นชุมชน

ตลาดริมน้าวัดศาลเจ้า เป็น Matket สาคัญ ในอาเภอเมือง ใน ตลาดมีร้านข้าวแช่ชื่อดังหลายร้าน


ความเป็นไปได้ด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ


หน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ จานวน 46 แห่ง 1.เทศบาลตาบลบางหลวง 2.เทศบาลเมืองปทุมธานี 3.สานักงานคุมประพฤติจังหวัดสระบุรี 4.สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) 5.สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยนาท 6.สานักงานเกษตรอาเภอไพศาลี 7.สานักงานเกษตรอาเภอบ้านไร่ 8.สานักงานเกษตรอาเภอชนแดน 9.สานักงานกิ่งกาชาดอาเภอเสนา 10สานักงานการประถมศึกษาจังหวัดเพชรบูรณ์ 11.ศูนย์สื่อสารเขต 1 พระนครศรีอยุธยา 12.ศาลากลางจังหวัดอ่างทอง 13.ศาลากลางจังหวัดกาแพงเพชร 14.ศาลจังหวัดปทุมธานี แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว 15.เรือนจาจังหวัดนนทบุรี 16.สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดพิษณุโลก 17.สานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 6 18.สานักงานเหล่ากาชาดจังหวัดนครปฐม 19.สานักงานเหล่ากาชาดจังหวัด 20.สานักงานสหกรณ์จงั หวัดพิจิตร

21.สานักงานสรรพากรพื้นทีป่ ทุมธานี 1 22.สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขตเกษตรเศรษฐกิจที่ 17 23.สานักงานแรงงานจังหวัดปทุมธานี 24.สานักงานเร่งรัดพัฒนาชนบทจังหวัดนนทบุรี 25.สานักงานโยธาธิการจังหวัดชัยนาท 26.สานักงานพาณิชย์จงั หวัดเพชรบูรณ์ 27.สานักงานพาณิชย์จงั หวัดนครสวรรค์ 28สานักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 29.สานักงานป่าไม้อาเภอชัยบาดาล 30.สานักงานปศุสัตว์จังหวัดกาแพงเพชร 31.สานักงานประกันสังคมจังหวัดนครนายก 32.สานักงานบริการโทรคมนาคมสิงห์บรุ ี บริษัทกสท.โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) 33.สานักงานเทศบาลตาบลหนองหญ้าไซ 34.สานักงานเทศบาลตาบลทัพทัน 35.ที่ว่าการอาเภอองครักษ์ 36.ที่ว่าการอาเภอบางใหญ่ 37.ศูนย์ปฏิบัติการจราจรสถานีตารวจภูธรอาเภอหนองฉาง 38.สถานีตารวจภูธรอาเภอเมืองปทุมธานี 39.สถานีตารวจภูธรตาบลสวนพริกไทย 40.สถานีตารวจภูธรตาบลปากคลองรังสิต

41.สถานีตารวจภูธรตาบลบางพูน 42.สถานีตารวจภูธรจังหวัดปทุมธานี 43.สานักงานขนส่งจังหวัดปทุมธานี 44.สถานีตารวจภูธรตาบลปากคลองรังสิต 45.สถานีตารวจภูธรอาเภอเมือง 46.สถานีตารวจภูธรตาบลสวนพริกไทย


สถานศึกษา จานวน 52 แห่ง 1.โรงเรียนอนุบาลทินนโชติ 2.โรงเรียนสุลักขณะ 3.โรงเรียนสิงห์ปทุมราษฎร์วิทยา 4.โรงเรียนสารินันทน์ 5.โรงเรียนสาธิตแห่งวิทยาลัยรังสิต 6.โรงเรียนรังสิตวิทยา 7.โรงเรียนแม่พระมารีอุปถัมภ์ 8.โรงเรียนเมืองเอกศึกษา 9.โรงเรียนพิทักษ์นครินทร์ 10.โรงเรียนอนุบาลอูนากูล 11.โรงเรียนอนุบาลสุรัชนันท์ 12.โรงเรียนอนุบาลเมืองเอก 13.โรงเรียนอนุบาลปทุมธานี 14.โรงเรียนวัดหงษ์ปทุมาวาส 15.โรงเรียนวัดเวฬุวัน 16.โรงเรียนวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม 17.โรงเรียนวัดรังสิต 18.โรงเรียนวัดมะขามศรีพิทยาคาร 19.โรงเรียนวัดไพร่ฟ้า 20โรงเรียนวัดโพธิ์เลื่อน

21.โรงเรียนวัดเปรมประชากร 22.โรงเรียนวัดโบสถ์ 23.โรงเรียนวัดบางพูน 24.โรงเรียนวัดบางนางบุญ 25.โรงเรียนวัดบางตะไนย์ 26.โรงเรียนวัดบางเดื่อ 27.โรงเรียนวัดบางคูวัด 28.โรงเรียนวัดนาวง 29.โรงเรียนวัดเทียนถวาย 30.โรงเรียนวัดดาวเรือง 31.โรงเรียนวัดชินวราราม 32.โรงเรียนวัดฉาง 33.โรงเรียนวัดโคก 34.โรงเรียนวัดกุฏิทอง 35.โรงเรียนประคองศิลป์ 36.โรงเรียนปทุมวิไล 37.โรงเรียนปทุมธานีนันทมุณีบารุง 38.โรงเรียนบ้านใหม่วัฒนา 39.โรงเรียนบ้านพลอย 40.โรงเรียนบางโพธิ์เหนือ

41.โรงเรียนนานาชาติเพรทออสเตรเลีย 42.โรงเรียนเทศบาลเมืองปทุมธานี 43.โรงเรียนเทคโนโลยีแหลมทอง 44.โรงเรียนเทคโนโลยีปทุมธานี 45.โรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ 46.โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดี่ 47.โรงเรียนคณะราษฎร์บารุงปทุมธานี 48.โรงเรียนขจรทรัพย์ 49.โรงเรียนกาญจนาภิเษกสมโภช 50.วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 51.วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี 52.มหาวิทยาลัยรังสิต


ศูนย์รวมการซื้อ-ขาย จานวน 2 แห่ง 1.ห้างสรรพสินค้าเมืองเอกพลาซ่า

2.เทสโก้โลตัสซุปเปอร์สโตร์


การเดินทาง การคมนาคม จานวน 12 แห่ง

เส้นทางรถส่วนตัว แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3309-347 แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3035-346-3111 แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346-3035 แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307-346-3035ต.บางปรอก แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347-346 แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346-3309 แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346-3100 แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3100-306 แยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307-345 ด่านบางพูน-ขาออก ด่านบางพูน-ขาเข้า

ต.บ้านกระแชง อ.เมืองปทุมธานี ต.บางปรอก อ.เมืองปทุมธานี ต.บ้านฉาง อ.เมืองปทุมธานี อ.เมืองปทุมธานี ต.บ้านกลาง อ.เมืองปทุมธานี ต.บ้านกลาง อ.เมืองปทุมธานี ต.บางพูน อ.เมืองปทุมธานี จ. ถ.ติวานนท์ ต.บ้านใหม่ อ.เมืองปทุมธานี ต.บางคูวัด อ.เมืองปทุมธานี ต.บ้านกลาง อ.เมืองปทุมธานี ต.บ้านกลาง อ.เมืองปทุมธานี

เส้นทางรถประจาทาง

รถไฟ-รถไฟฟ้าที่ใกล้ที่สุด

รถเมล์สาย 33 (ปทุมธานี-สนามหลวง) รถเมล์สาย 90 (ท่าน้าบางพูน-แยกรัชโยธิน)

สถานีรถไฟคลองรังสิต สถานีรถไฟฟ้าสาย สีเขียว สถานีรถไฟฟ้าสาย สีแดง


สถานบริการด้านสุขภาพ จานวน 42 แห่ง 1.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล บ้านใหม่ 2.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล บางหลวง 3.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล บางคูวัด2 4.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล บางกะดี 2 5.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล บางเดื่อ2 6.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล บางเดื่อ1 7.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ตาบลหลักหก1 8.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ตาบลสวนพริกไทย 2 9.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ตาบลบางพูน2 10.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ตาบลบางพูน1 11.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ตาบลบางกะดี1 12.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ตาบลบางโพธิ์เหนือ 13.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล เฉลิมพระเกียรติ60 พรรษานวมินทราชินี 14.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล บ้านฉาง ถ.เทศบาล 2 15.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล บ้านกระแชง 16โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ตาบลสวนพริกไทย 17.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ตาบลบางพูด 18.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ตาบลบางคูวัด 19.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ตาบลบางขะแยง 20.สานักงานสาธารณสุขอาเภอเมืองปทุมธานี

21.สานักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี 22.สถานีอนามัยหมูท่ ี่ 6 ตาบลบางหลวง 23.สถานีอนามัยสวนพริกไทย 2 24.สถานีอนามัยวัดโคก WAT 25.สถานีอนามัยบ้านกระแชง 26.สถานีอนามัยบางโพธิเ์ หนือ 27.สถานีอนามัยบางคูวัด 1 28.สถานีอนามัยบางกระดี 2 29.สถานีอนามัยตาบลหลักหก 1 30.สถานีอนามัยตาบลสวนพริกไทย 31.สถานีอนามัยตาบลบ้านใหม่ 32.สถานีอนามัยตาบลบางพูน 1 33.สถานีอนามัยตาบลบางพูด 34.สถานีอนามัยตาบลบางเดื่อ 35.สถานีอนามัยตาบลบางเดื่อ 2 36.สถานีอนามัยตาบลบางคูวัด 2 37.สถานีอนามัยตาบลบางขะแยง 38.สถานีอนามัยตาบลบางกระดี 1 39.สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษานวมินทราชินี 40.โรงพยาบาลเมืองปทุม 41.โรงพยาบาลปทุมธานี 42.โรงพยาบาลกรุงสยามเซนต์คาร์ลอส


สถานที่ท่องเที่ยว จานวน 2 แห่ง 1.สวนป่าไตรตรึงษ์ ถ.ปทุมสัมพันธ์ ต.บางปรอก อ.เมืองปทุมธานี

2.รอยพระพุทธบาทจาลองเขานางบวช ซ.3035 ต.บางปรอก อ.เมืองปทุมธานี


สถานีบริการเชื้อเพลิง จานวน 36 แห่ง 1.สถานีบริการน้ามันเอสโซ่ 2.สถานีบริการน้ามันเอสโซ่ 3.สถานีบริการน้ามันเอสโซ่ 4.สถานีบริการน้ามันเอสโซ่ 5.สถานีบริการน้ามันเอสโซ่ 6.สถานีบริการน้ามันเอสโซ่ 7.สถานีบริการน้ามันเอสโซ่ 8.สถานีบริการน้ามันพีที 9.สถานีบริการน้ามันพีที 10.สถานีบริการน้ามันปตท. 11.สถานีบริการน้ามันปตท. 12.สถานีบริการน้ามันปตท. 13.สถานีบริการน้ามันปตท. 14.สถานีบริการน้ามันปตท. 15.สถานีบริการน้ามันปตท. 16.สถานีบริการน้ามันปตท. 17.สถานีบริการน้ามันปตท. 18.สถานีบริการน้ามันบางจาก 19สถานีบริการน้ามันบางจาก 20.สถานีบริการน้ามันบางจาก

ซ.รังสิต-ปทุมธานี ต.บางพูน ซ.รังสิต-ปทุมธานี ต.บางพูน ซ.รังสิต-ปทุมธานี ต.บ้านกลาง ถ.ติวานนท์ ต.บ้านใหม่ ซ.307 ต.บางปรอก ซ.สะพานนนทบุรี-บางบัวทอง ต.บางคูวัด ซ.สะพานนนทบุรี-บางบัวทอง ต.บางคูวัด ซ.รังสิต-ปทุมธานี ต.บ้าน ซ.สะพานนนทบุรี-บางบัวทอง ต.บางคูวัด ซ.รังสิต-ปทุมธานี ต.บาง ซ.3100 ต.บ้านใหม่ ถ.ติวานนท์ ต.บางกะดี ซ.รังสิต-ปทุมธานี ต.บางปรอก ซ.สะพานนนทบุรี-บางบัวทอง ต.บางคูวัด ซ.307 ต.บางเดื่อ ซ.346 ต.บ้านฉาง ซ.สะพานนนทบุรี-บางบัวทอง ต.บางคูวัด ซ.รังสิต-ปทุมธานี ต.บางพูน ซ.3100 ต.บางพูน ถ.ติวานนท์ ต.บ้านกลาง

21.สถานีบริการน้ามันบางจาก ถ.พัฒนสัมพันธ์ ต.บางปรอก 22.สถานีบริการน้ามันบางจาก ซ.3111 ต.บางปรอก 23.สถานีบริการน้ามันบางจาก ซ.307 ต.บางเดื่อ 24.สถานีบริการน้ามันซัสโก้ ซ.รังสิต-ปทุมธานี 39 ต.บางพูน 25.สถานีบริการน้ามันซัสโก้ ซ.3111 ต.บางปรอก 26.สถานีบริการน้ามันเชลล์ ซ.3100 ต.บางพูน 27.สถานีบริการน้ามันเชลล์ ถ.ติวานนท์ ต.บ้านกลาง 28.สถานีบริการน้ามันเชลล์ ซ.รังสิต-ปทุมธานี ต.บ้านกลาง 29.สถานีบริการน้ามันเจ็ท ซ.รังสิต-ปทุมธานี ต.บางพูน อ 30.สถานีบริการน้ามันเจ็ท ซ.รังสิต-ปทุมธานี ต.บ้านกลาง 31.สถานีบริการน้ามันเจ็ท ซ.สะพานนนทบุรี-บางบัวทอง ต.บางขะแยง 32.สถานีบริการน้ามันเจ็ท ซ.3111 ต.บางปรอก 33.สถานีบริการน้ามันคาลเท็กซ์ ซ.รังสิต-ปทุมธานี ต.บางพูน 34.สถานีบริการน้ามันคาลเท็กซ์ ซ.3100 ต.บ้านใหม่ 35.สถานีบริการน้ามันคาลเท็กซ์ ซ.สะพานนนทบุรี-บางบัวทอง ต.บางขะแยง 36.สถานีบริการน้ามันคาลเท็กซ์ ซ.สะพานนนทบุรี-บางบัวทอง ต.บางคู


ที่พัก จานวน 4 แห่ง

1.โรงแรมไพน์เฮิรสท์ 2.โรงแรมดาร์ลิ่งอินน์ 3.โรงแรมไนซ์อินน์ 4.ปทุมธานีเพลส

ถ.เลียบคลองเปรม ต.บางพูด อ.เมืองปทุมธานี จ.ปทุมธานี ซ.307 ต.บางเดื่อ อ.เมืองปทุมธานี จ.ปทุมธานี ซ.3100 ต.บางพูน อ.เมืองปทุมธานี จ.ปทุมธานี ถ.ติวานนท์ ต.บางกะดี อ.เมืองปทุมธานี จ.ปทุมธานี


ศาสนสถาน จานวน 54 แห่ง 1.วัดหนองปรุง ถ.ทางแยกวัดหนองปรง ต.บาง 2.วัดหงษ์ปทุมาวาส (วัดมอญ) ถ.เทศปทุม ต.บางปรอก 3.วัดโสภาราม ถ.เทศสัมพันธ์ ต.บางป 4.วัดเสด็จ ถ.,บ้านกระแชง 11, ต.บ้านกระแชง 5.วัดสาแล ถ.,บ้านกระแชง 7, ต.บ้านกระแชง 6.วัดสังลาน ถ.บางกระดี่-ไทรน้อย ต.บางกะดี 7.วัดศาลเจ้า ถ.,บ้านกลาง 3/1, ต.บ้านกลาง 8.วัดเวฬุวัน ถ.เลียบคลองเปรม ต.บางพูด 9.วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม ซ.อบจ. ปท. 2005 ต.บางหลวง 10.วัดรังสิต ถ.เอกบูรพา 2,4 ต.หลักหก อ. 11.วัดมะขาม ถ.,บ้านกลาง 3/1, ต.บ้านกลาง 12.วัดไพร่ฟ้า ซ.อบจ. ปท. 1019 ต.บางเดื่อ 13.วัดโพธิ์เลื่อน ซ.บางกะพึง ต.บ้านกระแชง 14.วัดเปรมประชากร ถ.,วัดเปรมประชา 3, ต.บางพูน 15.วัดป่ากลางทุ่ง ถ.,วัดป่ากลางทุ่ง 4, ต.บางขะแยง 16.วัดโบสถ์ ถ.,บ้านกลาง 4/9, ต.บ้านกลาง 17.วัดบุญบางสิงห์ ถ.,กานันเหยิน สายเนตรงาม, ต.สวนพริกไทย 18.วัดบุญชื่นชู ถ.,ดี 2, ต.บางพูน 19วัดบางหลวง ถ.เทศสัมพันธ์ ต.บางหลวง 20.วัดบางโพธิ์ใน ถ.ท่าลาน-คลองน้าแล้ง ต.บางปรอก

21.วัดบางพูน 22.วัดบางนางบุญ 23.วัดบางตะไนย์ 24.วัดบางเดื่อ 25.วัดบางคูวัดใน 26.วัดบางคูวัดนอก 27.วัดบางคูวัดกลาง 28.วัดบางกระดี่ 29.วัดน้าวน 30.วัดเทียนถวาย 31.วัดตลาดเหนือ 32.วัดตลาดใต้ 33.วัดดาวเรือง 34.วัดดาวดึงษ์ 35.วัดชินวราราม 36.วัดฉาง 37.วัดโคก 38.วัดเกาะเกรียง 39.วัดเกริน 40.วัดกุฏิทอง

ซ.รังสิต-ปทุมธานี 43 ต.บางพูน ถ.,ใจเอื้อ 2, ต.บางขะแยง ซ.นบ. 3055 ต.บางคูวัด ซ.ปทุมธานี-สายใน ต.บางเดื่อ ถ.ราษฎรบารุง ต.บางคูวัด ถ.ราษฎรบารุง ต.บางคูวัด ถ.ราษฎรบารุง ต.บางคูวัด ถ.บางกระดี่-ไทรน้อย ต.บางกะดี ซ.ปทุมธานี-สายใน ต.บางขะแยง ถ.,ประสงค์อนุกูล, ต.บ้านใหม่ ถ.,วัดป่ากลางทุ่ง, ต.บางขะแยง ถ.,วัดตลาดใต้ 6, ต.บางขะแยง ซ.ปท. 5029 ต.บางพูด ซ.3100 ต.บ้านใหม่ ถ.,วัดชินวราราม, ต.บางขะแยง ซ.โสภา ต.บางปรอก ถ.เทศบาล 2 ต.บางปรอก ซ.นบ. 3055 ต.บางคูวัด ถ.บางกระดี่-ไทรน้อย ต.บางกะดี ถ.บางกุฏีทอง ต.บางกะดี

41.มัสยิดร่วมจิตต์มุสลิม ซ.โสภา ต.บางปรอก 42.มัสยิดยามีอุ้ลอิสลาม ถ.เรียบคลองบางโพธิ์เหนือ ต.บ้านฉาง 43.มัสยิดบ้านสวนพริกไทย ถ.,แมะสานิ, ต.บ้านกลาง 44.วัดนักบุญมาร์โก ถ.,ชุมชนเพชรปทุม 16, ต.บางปรอก 45.คริสตจักรรังสิต ถ.เอกทักษิณ ต.หลักหก 46.คริสตจักรปทุมธานี ซ.307 ต.บางปรอก อ. 47.วัดโสภาราม ต.บางปรอก 48.วัดเกริน ต.บางกะดี 49วัดบางพูน ต.บางพูน 50.วัดหนองปรง ต.บางเดื่อ 51.วัดน้าวน ต.บางหลวง 52.วัดบางคูวัดนอก ต.บางคูวัด 53.วัดชินวราราม ต.บางขะแยง 54.วัดโบสถ์ ต.บ้านกลาง


SITE ANALYSIS ตาบล บ้านกลาง อาเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี 12000 เทศบาลเมืองปทุมธานี


SITE

GAS PIPELINES

ตาบล บ้านกลาง อาเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี 12000 เทศบาลเมืองปทุมธานี

TUNNEL WORKS

WATER TREATMENT PLANTS


SITE เส้นทางดวงอาทิตย์(Sun paths) ทิศทางลม(Wind patterns SITE


SITE มุมมอง (Views) SITE

มุมมองส่วนตัว (Private views out) มุมมองสาธารณะ (Public views in)


SITE การเข้าถึง (Access) SITE

เส้นทางสาธารณะ (Public routes) เส้นทางส่วนตัว (Private routes) การเข้าถึงยานพาหนะ (Vehicle access) ทางเดินเท้า (Pedestrian access)


SITE การรบกวน SITE

มลภาพทางเสียง

ฝุ่น ควัน


SITE LINKAGE

มหาวิทยาลัยปทุมธานี

วิทยาลัยเทคโนโลยี ปทุมธานี

โรงพยาบาลกรุงสยาม เซนต์คาร์ลอส

วัดมะขาม


SITE อาคารใกล้เคียง

บริษัทแอมแทค อี เอ็น เอม ประเทศไทยจากัด

มหาวิทยาลัยปทุมธานี

ช่างอะไหล่ยนต์ เซียงกง

บริษัทปิยมิตรอลูมินั่ม จากัด

วิทยาลัยเทคโนโลยี ปทุมธานี


AREA REQUIREMENT



คานวณพื้นที่โครงการ

ศูนย์การเรียนรูป้ ระเพณีการหุงข้าวแช่

ใน 1 วัน ศูนย์การเรียนรูเ้ ปิ ดบริการตั้งแต่ 9.00-17.00 = 8 ชัว่ โมง สามารถคิดพื้ นที่จากจานวนผูใ้ ช้โครงการ และ ระยะเวลาการใช้งานโดยผูใ้ ช้บริการดังนี้ ผูใ้ ช้บริการส่วนโถงต้อนรับ =1,000 คน จะได้ปปริมาณเฉลี่ยของผูใ้ ช้โถง 1,000คน/8 ชัว่ โมง = 125 คน

ระยะเวลาเร่งด่วนคิดเป็ น 2 เท่า ของค่าเฉลี่ย/ชัว่ โมง ดังนั้นจะติองเตรียมพื้ นที่รองรับ

=125x2 =250คน

โดยผูท้ ี่ใช้บริการโถงรวมจะใช้เวลาประมาณ 15 นาที ต่อผูใ้ ช้บริการ 1 คน ภายใน 1 ชัว่ โมงต้องสามารถร้องรับผูใ้ ช้บริการได้ =60นาที/15นาที =4ช่วง ดังนั้นโถงนี้ ต้อนรับคนเป็ นจานวน =250/4 =62คน/ช่วง แต่1คนใช้พนที ื้ ่ในการยืน 0.70 ตารางเมตร ดังนั้นพื้ นที่ของโถงต้อนรับรวม =250คน x0.70ตารางเมตร =175 ตารางเมตร โดยคิดพื้ นที่สญ ั จรร้อยละ 40 จะได้ =175x40/100 =70ตารางเมตร พื้ นที่รวมบริสุทธิ =245ตารางเมตร

แต่1คนใช้พนที ื้ ่ในการยืน 0.70 ตารางเมตร ดังนั้นพื้ นที่ของโถงต้อนรับรวม =62คน x0.70ตารางเมตร =43.4 ตารางเมตร โดยคิดพื้ นที่สญ ั จรร้อยละ 40 จะได้ =43.4x40/100 =17.36 ตารางเมตร พื้ นที่รวมบริสุทธิ =60.76 ตารางเมตร


ศูนย์การเรียนรูป้ ระเพณีการหุงข้าวแช่ พื้ นที่แสดงวัฒนธรรมส่วนท้องถิ่น 25% พื้ นที่จดั แสดงงาน 1 ต้องการพื้ นที่ 9 ตารางเมตร xจานวนที่จะจัดแสดงโดยประมาณต้องการพื้ นที่ 9 ม .X 20ม. = 180 ตารางเมตร

พื้ นที่จดั แสดงงาน2 ต้องการพื้ นที่ 3.6 ตารางเมตร xจานวนที่จะจัดแสดงโดยประมาณต้องการพื้ นที่ 3.6 ม .X 20ม. = 72 ตารางเมตร

Gallery 1 พื้ นที่ใช้ 5.7 ตารางเมตร

= 50 x 5.76 = 288 ตารางเมตร

โดยคิดพื้ นที่สญ ั จรร้อยละ 30 จะได้

= 89.4 ตารางเมตร = 374.4 ตารางเมตร


ศูนย์การเรียนรูป้ ระเพณีการหุงข้าวแช่ พื้ นที่แสดงวัฒนธรรมส่วนท้องถิ่น 25% ร้านข้าวแช่และเครื่องเคียงและอาหารอื่นๆ

ปริมาณผูเ้ ข้าชมสูงสุดในช่วงเทศกาล 1,000คน / วัน คาดว่ามีผใู ้ ช้ประมาณ ร้อยละ 50 มาใช้บริการที่รา้ นอาหารนี้ ดังนั้น จึงมีจานวนผูใ้ ช้รา้ นอาหารทั้งสิ้ น 500คน / วัน เวลาที่มีคนมาใช้มากที่สุด คือ ตั้งแต่ 11.00 –13.00น. เป็ นเวลา 120/นาที 1คนใช้เวลาทานอาหารเฉลี่ย 20 นาทีดงั นั้นสามารถแบ่งได้เป็ น 6 ช่วงใน 2 ชัว่ โมง ผูใ้ ช้ที่ยึดครองที่นัง่ ในห้องต่อ1ช่วง =500 / 6 = 84 คน ดังนั้นต้องจัดที่นัง่ = 84 ที่

ที่นัง่ โต๊ะ1จุดสามารถรองรับได้ 6ที่นัง่ ดังนั้นในส่วนร้านอาหารมีโต๊ะทั้งหมด 15 โต๊ะ (90/ 6)กิจกรรมนัง่ รับประทานอาหาร 1 โต๊ะ ใช้พนที ื้ ่ 7.7 ตร.ม. (จากมาตรฐาน) ดังนั้น พื้ นที่ ที่ตอ้ งใช้ต้งั โต๊ะ = 15 x7.7 = 115.5 ตรม. และมีพนที ื้ ่สญ ั จรระหว่างพื้ นที่สุทธิ : พื้ นที่สญ ั จร= 70: 30ดังนั้น มีพนที ื้ ่สญ ั จร30% = (115.5x30)/70 พื้ นที่รวมทั้งหมด 309.6 ตารางเมตร =49.5 ตร.ม. ทางสัญจรคิดเป็ น 30% ของพื้ นที่ใช้งานทั้งหมด = 309.6x0.30 = 92.88 ตร.ม ดังนั้ นพื้ นที่รวมทั้งหมด 92.88+309.6 = 402.48 ดังนั้นร้านอาหารต้องมีพนที ื้ ่ = 49.5+ 115.5 พื้ นที่รวมสุทธิ = 165 ตร.ม. รวมพื้ นที่รา้ นอาหาร 402.48+165=567.48 ตร.ม


ศูนย์การเรียนรูป้ ระเพณีการหุงข้าวแช่ พื้ นที่การเรียนรูแ้ ละให้ความรู ้ 35% ห้องบรรยาย จานวน 30 คน เวลาเปิ ดบริการ 9.00-17.00 น = 8ชม./ วัน 1 คนใช้พนที ื้ ่ 1.10 = 30x1.10 ตร.ม =33 ตร.ม คิดพื้ นที่สญ ั จร 30% =33x30/100 =9.9 ตร.ม ห้องเก็บของ 10% =42.9x10/100 =4.29ตร.ม พื้ นที่บริสุทธิ =47.19ตร.ม

ห้องบรรยาย จานวน 60 คน เวลาเปิ ดบริการ 9.00-17.00 น = 8ชม./ วัน 1 คนใช้พนที ื้ ่ 1.10 = 60x1.10 ตร.ม =66 ตร.ม คิดพื้ นที่สญ ั จร 30% =66x30/100 =19.8 ตร.ม ห้องเก็บของ 10% =85.8x10/100 =8.58 ตร.ม พื้ นที่บริสุทธิ =94.38ตร.ม

ห้องบรรยาย จานวน 120 คน เวลาเปิ ดบริการ 9.00-17.00 น = 8ชม./ วัน 1 คนใช้พนที ื้ ่ 1.10 = 120x1.10 ตร.ม =132 ตร.ม คิดพื้ นที่สญ ั จร 30% =132x30/100 =39.6 ตร.ม ห้องเก็บของ 10% =171.6x10/100 =17.16 ตร.ม พื้ นที่บริสุทธิ =188.76ตร.ม

ห้องบรรยาย จานวน 200 คน จานวน2ห้อง เวลาเปิ ดบริการ 9.00-17.00 น = 8ชม./วัน 1 คนใช้พนที ื้ ่ 1.10 =200x1.10 ตร.ม =220 ตร.ม คิดพื้ นที่สญ ั จร 30% =220x30/100 =66 ตร.ม ห้องเก็บของ 20% =286x20/100 =57.2 ตร.ม พื้ นที่บริสุทธิ =320.32= 640.64ตร.ม


ศูนย์การเรียนรูป้ ระเพณีการหุงข้าวแช่ พื้ นที่การเรียนรูแ้ ละให้ความรู ้ 35%

ห้องประชุมสัมนา จานวน 20 คน 1 คนใช้พนที ื้ ่ 1.50 x 1.50 ตร.ม

= 20 = 21.5

ตร.ม พื้ นที่เวที ห้องควบคุม ห้องเก็บของ พื้ นที่สุทธิ พื้ นที่สญ ั จร สรุปพื้ นที่

= 50 ตร.ม. = 6 ตร.ม = 5 ตร.ม = 21.5+50+6+5 = 82.5 ตร.ม = 82.5 x 30/100 = 24.75 ตร.ม = 82.5 + 24.75 = 107.25 ตร.ม

ห้องประชุมสัมนา จานวน 40 คน 1 คนใช้พนที ื้ ่ 1.50 = 40 x 1.50 ตร.ม = 60 ตร.ม พื้ นที่เวที = 50 ตร.ม. ห้องควบคุม = 6 ตร.ม ห้องเก็บของ = 5 ตร.ม พื้ นที่สุทธิ = 60+50+6+5 = 121 ตร.ม พื้ นที่สญ ั จร = 121 x 30/100 = 36.3 ตร.ม สรุปพื้ นที่ = 121 +36.3 = 157.30 ตร.ม

ห้องประชุมสัมนา จานวน 100 คน 1 คนใช้พนที ื้ ่ 1.50 = 100 x 1.50 ตร.ม = 150 ตร.ม พื้ นที่เวที = 50 ตร.ม. ห้องควบคุม = 6 ตร.ม ห้องเก็บของ = 5 ตร.ม พื้ นที่สุทธิ = 150+50+6+5 = 211 ตร.ม พื้ นที่สญ ั จร = 211 x 30/100 = 63.3 ตร.ม สรุปพื้ นที่ = 211 + 63.3 = 274.3 ตร.ม

รวมพื้ นการเรียนรูแ้ ละให้ความสุข 47.19+94.38+56.76+629.2+107.25+157.30+274.3=1,366.38 ตร.ม


ศูนย์การเรียนรูป้ ระเพณีการหุงข้าวแช่ พื้ นที่เรียนรูต้ ามอัธยาศัย 10% ส่วนพื้ นที่หอ้ งสมุดชุมชน เปิ ดใช้บริการ 9.00-17.00 = 8 ชัว่ โมง ผูใ้ ช้บริการ 250คน/วัน ปริมาณโดยเฉลี่ยของผูใ้ ช้ 200คน/8 ชม = 25คน/ชม ระยะเวลาเร่งด่วนคิดเป็ น 2 เท่า ของค่าเฉลี่ย/ชัว่ โมง ดังนั้นจะติองเตรียมพื้ นที่รองรับ

=25x2 =50คน/ชัว่ โมง

โดยผูท้ ี่ใช้เวลาประมาณ 1 ชัว่ โมง ต่อผูใ้ ช้บริการ 1 คน คิดเป็ น50คน/ชัว่ โมง ดั้งนั้นจะมีคนใช้งานโซนนี้ 50 คน 1 คนใช้พนที ื้ ่ยนื 0.70 ตารางเมตร 50คน x 0.70 = 35 ตารางเมตร พื้ นที่สญ ั จรร้อยละ 40% =14 ตารางเมตร รวม 35 ตารางเมตร + 14ตารางเมตร = 49 ตารางเมตร

จากการเทียบโครงการห้องสมุดกาหนดให้ อัตราส่วนผูใ้ ช้งาน 1 คน ต่อหนังสือ 30 เล่ม ดังนั้น จะได้จานวนหนังสือ = 50คนx30เล่ม = 1,500 เล่ม โดยจัดเก็บในชั้นหนังสือ ขนาด 0.50x1.45x1.80 ซม. หนังสือขนาด 0.21x0.30x0.10ซม. ได้จานวน200ต้องใช้ช้นั วาง ดังนั้นหนังสือจานวน 4,000เล่ม ต้องใช้ตวู ้ าง 6000เล่ม/200เล่ม = 30 ตู ้ ห้องเก็บของคิดเป็ น 5% ของห้องสมุด


ศูนย์การเรียนรูป้ ระเพณีการหุงข้าวแช่ พื้ นที่เรียนรูต้ ามอัธยาศัย 10% ชั้นเก็บหนั งสือ

ต้องการพื้ นที่

=2.10x2.45 = 5.15 ตารางเมตร มีจานวน 30 ตู ้ =5.15x30 รวมพื้ นที่ท้งั หมด = 154.5 ตารางเมตร

โต๊ะอ่านหนังสือ จานวน4ที่น้ัง ต้องการพื้ นที่ 2.30x2.50 = 5.75 ตารางเมตร โต๊ะอ่านหนังสือ1ชุด จะรับผูใ้ ช้งานได้4คน โต๊ะอ่านหนังทั้งหมด = 50/4 (จานวนคน/เก้าอี้ ) =13 ชุด รวมพื้ นที่ท้งั หมด = 5.75x13 =74.75 ตารางเมตร


ศูนย์การเรียนรูป้ ระเพณีการหุงข้าวแช่ พื้ นที่เรียนรูต้ ามอัธยาศัย 10% โต๊ะคอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ ต ต้องการพื้ นที่ 1.75x1.20 = 2.1 ตารางเมตร โต๊ะคอมพิวเตอร์ท้งั หมด =10 ชุด รวมพื้ นที่ท้งั หมด = 2.1x10 =21 ตารางเมตร

ส่วนฝากของ 50 คน พื้ นที่สุทธิ 10 Cir. 35% = 5 area = 15 ส่วนเจ้าหน้าที่ 1 คน พื้ นที่สุทธิ 4.5 Cir. 35% = 1.575 area = 6.08 ส่วนซ่อมแซมหนั งสือ1 คน พื้ นที่สุทธิ 3 Cir. 35% = 1.05 area = 4.05 ส่วนถ่ายเอกสาร 1 คน พื้ นที่สุทธิ 2.92 Cir. 30% = 0.876 area = 3.08 ดังนั้ น Library ก็จะมีพนที ื้ ่รวม = 272.00 ตารางเมตร พื้ นที่โถง Pre function คิดเป็ น 10% = 43.00 ตารางเมตร พื้ นที่รวมสุทธิ = 315.00 ตารางเมตร

เครื่องถ่ายเอกสาร ต้องการพื้ นที่ 1.20 x1.70= 2.04 ตารางเมตร เครื่องถ่ายเอกสารทั้งหมด =2 ชุด รวมพื้ นที่ท้งั หมด = 2.04x2 =4.08 ตารางเมตร

พื้ นที่รวมทั้งหมด 254.33ตารางเมตร ทางสัญจรคิดเป็ น 30% ของพื้ นที่ใช้งานทั้งหมด = 254.33x0.30 = 76.299ตร.ม ดังนั้นพื้ นที่ใช้งานทั้งหมด = 254.33+7.299= 330.629 ตร.ม รวมพื้ นที่สญ ั จรของพื้ นที่หอ้ งสมุด 330.629+315+49 =694.629 ตร.ม


ศูนย์การเรียนรูป้ ระเพณีการหุงข้าวแช่ พื้ นที่สร้างสรรค์โดยนักศึกษาเอง 20% พื้ นที่ขายของ OTOP จัดแสดงแบบที่ 1 วางสินค้าแบบติดผนัง ต้องการพื้ นที่ 1.50 ตร.ม. x 1.50 ตร.ม. = 2.25 ตร.ม. จานวน 5 ที่ = 2.25 x 5 = 11.25 ตร.ม.

จัดแสดงแบบที่ 2 วางสินค้าแบบลอยตัว ต้องการพื้ นที่ 2.60 ตร.ม. x 1.50 ตร.ม. = 3.90ตร.ม. จานวน 5 ที่ = 3.90 x 5 = 19.5 ตร.ม.

จัดแสดงแบบที่ 3 ตูแ้ สดงสินค้า ต้องกรพื้ นที่ 2.00 ตร.ม. x 2.70 ตร.ม. = 5.40 ตร.ม. จานวน 5 ที่ = 5.40 x 5 = 27 ตร.

จัดแสดงแบบที่ 4 Counter เก็บเงิน ต้องการพื้ นที่ 2.30 ตร.ม. x 1.20 ตร.ม. = 2.76 ตร.ม. จานวน 5 ที่ = 2.76 x 5 = 13.8 ตร.ม.


ศูนย์การเรียนรูป้ ระเพณีการหุงข้าวแช่ พื้ นที่สร้างสรรค์โดยนักศึกษาเอง 20% พื้ นที่สอนปลูกข้าว

ห้องสอนทาข้าวแช่และเครื่องเคียง

เวลาเปิ ดบริการ 9.00-17.00 น = 8ชม./วัน

เวลาเปิ ดบริการ 9.00-17.00 น = 8ชม./วัน

รองรับผูใ้ ช้โครงการ 50% ผูใ้ ช้โครงการต่อวันประมาณ250คน 50% = 50x250/100 = 125 คน

รองรับผูใ้ ช้โครงการ 40% ผูใ้ ช้โครงการต่อวันประมาณ200คน 40% =40x200/100 = 80 คน

1 คนใช้พนที ื้ ่ 2 ตร.

1 คนใช้พนที ื้ ่ 4 ตร.

=125x2 ตร.ม =250ตร.ม คิดพื้ นที่สญ ั จร 30% =250x30/100 =75 ตร.ม พื้ นที่รวมคือ =250+75 ตร.ม =325 ตร.ม

=80x4 ตร.ม =320 ตร.ม คิดพื้ นที่สญ ั จร 30% =320x30/100 =96 ตร.ม พื้ นที่รวมคือ =320+96 ตร.ม =415 ตร.ม


ส่วนสานักงานบริการโครงการ 5%

ศูนย์การเรียนรูป้ ระเพณีการหุงข้าวแช่

ส่วนต้อนรับ

ส่วน PANTRY

โถงทางเข้า 6 คน พื้ นที่สุทธิ 5.12 Cir 30 % 1.54 area = 6.66 ตารางเมตร

1 คน พื้ นที่สุทธิ 4.16 Cir. 20 % 0.83 area = 4.99 ตารางเมตร ห้องพักเจ้าหน้าที่ 5 คน พื้ นที่สุทธิ 26 Cir. 30 % 7.80 area = 33.80 ตารางเมตร ห้องเก็บเอกสาร 1 คน พื้ นที่สุทธิ 12 Cir. 30 % 3.60 area = 15.60 ตารางเมตร ห้องเก็บของ พื้ นที่สุทธิ 2.58 Cir. 30 % 0.77 area = 3.35 ตารางเมตร

ส่วนทางาน

ห้องผูอ้ านวยการ + ห้องน้ า 1 คน พื้ นที่สุทธิ 18.97 Cir. 30 % 5.69 area = 24.66 ตารางเมตร ห้องรองผูอ้ านวยการ + ห้องน้ า 1 คน พื้ นที่สุทธิ 16.97 Cir. 30 % 5.09 area = 22.06 ตารางเมตร ห้องเลขานุ การ 1 คน พื้ นที่สุทธิ 6 Cir. 30 % 1.80 area = 7.80 ตารางเมตร เจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการ 1 คน พื้ นที่สุทธิ 6 Cir. 30 % 1.80 area = 7.80 ตารางเมตร เจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ 1 คน พื้ นที่สุทธิ 4 Cir. 30 % 1.20 area = 5.20 ตารางเมตร เจ้าหน้าที่ฝ่ายนิ ติส่วนบุคคล 1 คน พื้ นที่สุทธิ 6 Cir. 30 % 1.80 area = 7.80 ตารางเมตร เจ้าหน้าที่ฝ่ายติดต่อประสานงาน 1 คน พื้ นที่สุทธิ 6 Cir. 30 % 1.80 area = 7.80 ตารางเมตร เจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียน 1 คน พื้ นที่สุทธิ 6 Cir. 30 % 1.80 area = 7.80 ตารางเมตร เจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินและการบัญชี 2 คน พื้ นที่สุทธิ 16 Cir. 30 % 4.80 area = 20.80 ตารางเมตร

ห้องน้ า

ห้องน้ าชาย พื้ นที่สุทธิ 6.9 Cir. 30 % 2.07 area = 8.97 ตารางเมตร ห้องน้ าหญิง พื้ นที่สุทธิ 7.8 Cir. 30 % 2.34 area = 10.14 ตารางเมตร

สรุปพืน้ ทีส่ ว่ นบริหารโครงการ

211.7ตารางเมตร


ส่วนบริการ 5%

ศูนย์การเรียนรูป้ ระเพณีการหุงข้าวแช่ ฝ่ ายงานรักษาความปลอดภัย

ส่วนบริการ โถงทางเข้า 6 คน พื้ นที่สุทธิ 3.84 Cir. 40 % 2.56 area = 6.40 ตารางเมตร ส่วนลงเวลาทางาน 8 คน พื้ นที่สุทธิ 6.55 Cir. 20 % 1.64 area = 8.19 ตารางเมตร พื้ นที่ส่วนบริการโครงการ 14.59 ตารางเมตร

ฝ่ ายเทคนิ คและช่างซ่อมบารุง หัวหน้าฝ่ าย 1 คน พื้ นที่สุทธิ 4.5 Cir. 30 % 1.93 area = 6.43 ตารางเมตร เจ้าหน้าที่ซ่อมบารุง 2 คน พื้ นที่สุทธิ 4.5 Cir. 30 % 1.93 area = 6.43 ตารางเมตร โรงซ่อมบารุง 1 คน พื้ นที่สุทธิ 20 Cir. 30 % 8.57 area = 28.57 ตารางเมตร พื้ นที่ส่วนพนักงานโครงการ 41.43 ตารางเมตร

ฝ่ ายงานรักษาความสะอาด หัวหน้าฝ่ าย 1 คน พื้ นที่สุทธิ 4.5 Cir. 30 % 1.93 area = 6.43 ตารางเมตร เจ้าหน้าที่ทาความสะอาด 2 คน พื้ นที่สุทธิ 6 Cir. 30 % 2.57 area = 8.57 ตารางเมตร ห้องเก็บอุปกรณ์เครื่องมือ 1 คน พื้ นที่สุทธิ 6 Cir. 30 % 2.57 area = 8.57 ตารางเมตร พื้ นที่ส่วนพนักงานโครงการ 23.57 ตารางเมตร

หัวหน้าฝ่ าย 1 คน พื้ นที่สุทธิ 3 Cir. 30 % 1.29 area = 4.29 ตารางเมตร เจ้าหน้าที่รกั ษาความปลอดภัย 1 คน พื้ นที่สุทธิ 9.45 Cir. 30 % 4.05 area = 13.50 ตารางเมตร ห้องเก็บพัสดุ 1 คน พื้ นที่สุทธิ 6 Cir. 30 % 2.57 area = 8.57 ตารางเมตร ห้องเก็บขยะ 1 คน พื้ นที่สุทธิ 14 Cir. 20 % 3.50 area = 17.50 ตารางเมตร สรุปพื้ นที่ส่วนพนักงานโครงการ 43.86 ตารางเมตร ห้องเครื่อง

ห้องเครื่องระบบปรับอากาศ (Chiller) 1 คน พื้ นที่สุทธิ 60 Cir. 20 % 15 area = 75.00 ตารางเมตร ห้องแผงควบคุมไฟฟ้ าหลัก (MDB) 1 คน พื้ นที่สุทธิ 31.2 Cir. 15 % 5.51 area = 36.71 ตารางเมตร ห้องเครื่องกาเนิ ดไฟฟ้ า (Generator) 1 คน พื้ นที่สุทธิ 20 Cir. 20 % 5 area = 25.00 ตารางเมตร ห้องควบคุม (Control Room) 1 คน พื้ นที่สุทธิ 12 Cir. 20 % 3 area = 15.00 ตารางเมตร ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด (CCTV) 1 คน พื้ นที่สุทธิ 2.55 Cir. 20 % 0.64 area = 3.19 ตารางเมตร ห้อง(/ลาน)หม้อแปลงไฟฟ้ า 1 คน พื้ นที่สุทธิ 37.21 Cir. 15 % 6.57 area = 43.78 ตารางเมตร ห้องปั๊ มน้ า (Pump) 1 คน พื้ นที่สุทธิ 49.92 Cir. 20 % 12.48 area = 62.40 ตารางเมตร ระบบบาบัดน้ าเสีย (Waste Water Treatment) 1 คน พื้ นที่สุทธิ 32 Cir. 20 % 8 area = 40.00 ตาราง เมตร ห้องซ่อมบารุง 1 คน พื้ นที่สุทธิ 9 Cir. 20 % 2.25 area = 11.25 ตารางเมตร ห้องเก็บอุปกรณ์เครื่องมือ (Store) 1 คน พื้ นที่สุทธิ 20 Cir. 20 % 5 area = 25.00 ตารางเมตร

สรุปพื้ นที่ส่วนห้องเครื่องโครงการ 337.33 ตารางเมตร


ศูนย์การเรียนรูป้ ระเพณีการหุงข้าวแช่

ส่วนบริการ 5% ช่วงเวลาที่ใช้ งาน (ชม)

รายละเอียด

จานวนผูใ้ ช้ (คน)

ส่วนบริการ

6

1

14.59

ฝ่ ายเทคนิ คและช่าง ซ่อมบารุง

2

1

41.43

ฝ่ ายงานรักษาความ สะอาด

3

1

23.57

ฝ่ ายงานรักษาความ ปลอดภัย

2

1

43.86

7

337.33

ห้องเครื่อง

จานวนห้อง

พื้ นที่ตอ่ ห้อง (ตรม.)

พื้ นที่รวม (ตรม.)

พื้ นที่สญ ั จร (30%)

พื้ นที่รวม+พื้ นที่สญ ั จร 30% (ตรม.)

อ้างอิง

รวมพื้ นที่ 460.78


ศูนย์การเรียนรูป้ ระเพณีการหุงข้าวแช่

ส่วนบริการ 5% ห้องน้ าสาธารณะ

ปริมาณสุขภัณฑ์ส่วนบริหารโครงการ ปริมาณผูใ้ ช้งาน 225 คน/ชม. ดังนั้นเลือกมาตรฐานการติดตั้งสุขภัณฑ์ที่ 201-400 คน สรุปปริมาณสุขภัณฑ์และพื้ นที่ - อ่างล้างหน้าชาย 0.60 x 1.00 2 ชุด = 1.2 ตร.ม. - อ่างล้างหน้าหญิง 0.60 x 1.00 2 ชุด = 1.2 ตร.ม. - โถปั สสาวะชาย 0.60 x 0.60 3 ชุด = 1.08 ตร.ม. - ส้วมชาย 0.85 x 1.25 3 ชุด = 1.06 - ส้วมหญิง 0.85 x 1.25 4 ชุด = 1.06 พื้ นที่สุขภัณฑ์สุทธิ = 5.6 ตร.ม. พื้ นที่สญ ั จร 30% 30 x 5.6 / 100 = 1.68 ตร.ม. สรุปพื้ นที่รวม = 4.04 + 1.12 = 7.28 ตร.ม.

ห้องน้ าชาย พื้ นที่สุทธิ 4.3 Cir. 20 % 0.86 area = 5.16 ตารางเมตร ห้องน้ าหญิง พื้ นที่สุทธิ 3.9 Cir. 20 % 0.78 area = 4.68 ตารางเมตร ห้องน้ าคนพิการ พื้ นที่สุทธิ 4 Cir. 30 % 1.2 area = 5.20 ตารางเมตร สรุปพื้ นที่ส่วนสนับสนุ นโครงการ 15.00 ตารางเมตร

จำนวน(คน) 1-200 201-400 401-600 601-800 801-1,000 1,001-1,200

อ่ำงล้ำงหน้ำ ชำย หญิง 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6

โถปั สสำวะชำย ชำย หญิง 2 3 4 5 6 7 -

ส้วม ชำย 2 3 4 5 6 7

หญิง 3 4 5 6 7 8

รำยละเอียด

จำนวน ผู้ใช้ (คน)

ช่วงเวลำทีใ่ ช้ งำน (ชม)

จำนวน ห้อง

พืน้ ทีต่ ่อ ห้อง (ตรม.)

พืน้ ทีร่ วม (ตรม.)

พืน้ ทีส่ ญ ั จร (30%)

พืน้ ทีร่ วม+พืน้ ทีส่ ัญจร 30% (ตรม.)

ห้องนา้ สาธารณะ

850

8

8

5.6

44.8

13.44

58.24

รวมพืน้ ที่ทงั้ หมด

58.24

ตร.ม. ตร.ม.

อ้ำงอิง


รายการ 1.พืน้ ที่แสดงวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 25 % -โถงทางเข้า -พืน้ ที่จดั การแสดง

จานวนผูใ้ ช้ (คน) 64

จานวนห้อง

1

2. พื้ นที่การเรียนรูแ้ ละให้ความรู ้ 35% -ห้องบรรยาย 30ที่นัง่ -ห้องบรรยาย 60ที่นัง่ -ห้องบรรยาย 120ที่นัง่ -ห้องบรรยาย 200ที่นัง่ -ห้องประชุมสัมมนา 20 ที่นัง่ -ห้องประชุมสัมมนา 40 ที่นัง่ -ห้องประชุมสัมมนา 100 ที่นัง่

30 60 120 200 20 40 100

1 1 1 2 1 1 1

3. พื้ นที่เรียนรูต้ ามอัธยาศัย 10% -ส่วนขอ CO – WORKINGSPACE

50

-

4.ส่วนสานักงานบริการโครงการ 5%

20

-

พื้ นที่ต่อห้อง (ตร.ม.)

245 1,193.88

47.19 94.38 188.76 640.64 107.25 157.30 274.3

พื้ นที่รวม (ตร.ม.) พื้ นที่แสดงวัฒนธรรมและภูมปิ ั ญญาท้องถิ่นทั้งหมด 1,438.88

พื้ นที่การเรียนรูแ้ ละให้ความรูท้ ้งั หมด 1,509.82

694.629

พื้ นที่เรียนรูต้ ามอัธยาศัยทั้งหมด 694.629

-

ส่วนสานักงานบริการโครงการ 211.7


รายการ

จานวนผูใ้ ช้ (คน)

จานวนห้อง

พื้ นที่ต่อห้อง (ตร.ม.)

พื้ นที่รวม (ตร.ม.)

5.พื้ นที่ สร้างสรรค์โดยนักศึกษา 20% -พื้ นที่สอนปลูกข้าว -ห้องสอนทาข้าวแช่และเครื่องเคียง -พื้ นที่ขายของ OTOP

125 80 -

พื้ นที่ที่สร้างสรรค์โดยนักศึกษทั้งหมด 1,037.06

1 3

325 415 297.06

6.ส่วนบริการ (Service) 5 % -ส่วนห้องเครื่องโครงการ -ห้องน้ าสาธารณะ

13 850

11 8

460.78 58.24

8. Circulation คิดเป็ น 30 % ของพื้ นที่

-

-

5,411.109x0.30=1,623.3327

5,411.109+1,623.3327= 7,034.4417

9. พื้ นที่จอดรถ

-

-

-

พื้ นที่จอดรถทั้งหมด 898.56

พื้ นที่ใช้งานส่วนบริการทั้งหมด 519.02


อัตราส่วนของพื้ นส่วนต่างๆและที่จอดรถ พื้ นที่

ตารางเมตร

ตารางเมตร / คัน

พื้ นที่แสดงวัฒนธรรมและภูมปิ ั ญญาท้องถิ่น 25%

1,438.88

240

6

พื้ นที่การเรียนรูแ้ ละให้ความรู ้ 35%

1,509.82

240

7

พื้ นที่เรียนรูต้ ามอัธยาศัย 10%

694.629

240

3

พื้ นที่ที่สร้างสรรค์โดยนักศึกษา 20%

1,037.06

240

5

ส่วนบริการ (Service) 5% ส่วนสานักงานบริการโครงการ 5%

คัน

519.02

240

3

211.7

240

1

ส่วนจอดรถ เนื่ องจากเป็ นอาคารขนาดใหญ่ จึงใช้อตั ราส่วนพื้ นที่ 120 ตร.ม/คัน พื้ นที่ท้งั โครงการ = 6,942.87ตารางเมตร มีที่จอดรถ = 7,034.4417/240 คัน =30 คัน เปรียบเทียบการคานวณที่ได้จากทั้ง 2 แบบ แบบที่ 1 25คัน แบบที่ 2 30คัน พิจารณาจากการคานวณปริมาณมากที่สุด

เลือกแบบที่ 2 = 30 คัน

รวม25

รถยนต์มีพนที ื้ ่ จอดรถ 12 ตารางเมตร ต่อคัน ที่จอดรถบัส 48.00 ตารางเมตร ส่วนจอดรถมอเตอร์ไซต์ 1.44 ตารางเมตร พื้ นที่สญ ั จร 50% สรุปพื้ นที่สว่ นจอดรถโครงการ

= 12 x 30= 360 ตารางเมตร = 48 x 5 = 240 ตารางเมตร = 1.44 x 16 = 23.04 ตารางเมตร = 491.52 ตารางเมตร = 898.56 ตารางเมตร


CASE STUDY


MLC Nicholas Learning Centre

Tainan Public Library ห้องสมุดสาธารณะไถหนาน

WERK12

ที่ต้งั

KEW, AUSTRALIA

No. 255, Kangqiao Avenue, Yongkang District, Tainan City

Business Park, Media Works Munich

สถาปนิ ก

McIldowie Partners

Mecanoo และMAYU Architects

4500 ตารางเมตร / 3 ชั้น

37,000 ตารางเมตร / 5 ชั้น

พื้ นที่โครงการ

พื้ นที่ต้งั โครงการ

7,700 ตร.ม./5จานวน 5 ชั้น


MLC Nicholas Learning Centre

Tainan Public Library ห้องสมุดสาธารณะไถหนาน

WERK12

สร้างสมดุลในการเข้าถึงใจกลางวิทยาเขต ด้วย ความอยูด่ ีมีสุข และการเรียนรูแ้ นวปฏิบตั ิที่ดีที่สุ

การออกแบบอาคารเน้นความกลมกลืนและเป็ นมิตรกับภูมิทศั น์โดยรวม เปิ ดโอกาสให้ผูค้ นได้เรียนรูก้ ารเติบโตของต้นไม้และความเปลี่ ยนแปลงของ ฤดูกาล นอกจากนี้ ยังได้แรงบันดาลในการตกแต่งมาจากวัด ซึ่งสูงโปร่ง สบายและเรียงรายไปด้วยระแนงไม้เป็ นระเบียบ

สร้างอาคารใหม่ที่มีความยืดหยุน่ และมีหลายชั้นที่เหมาะกับผูใ้ ช้ที่ แตกต่างกัน ในขณะที่ยงั คงรักษาพื้ นที่อุตสาหกรรมที่ มีแสงสว่าง เพียงพอและโปร่งสบาย ทั้ง 5 ชั้นมีความสูงเพดานมากกว่า 5 เมตร

-บูธนาเสนอพร้อมการประชุมทางวิดีโอ -สตูดิโอถ่ายทาฉากสีเขียว พื้ นที่สาหรับผูผ้ ลิต -และ ห้องสัมมนาในลักษณะที่เปิ ดกว้าง

-ห้องอ่านหนังสือทุกวันตลอด -ห้องสมุดมัลติมีเดีย คาเฟ่ โรงละคร -ห้องประชุม -สานักงาน -ห้องอเนกประสงค์ -พื้ นที่ผูผ้ ลิต ร้านหนังสือ

-ร้านอาหารและบาร์ -สานักงาน -ห้องออกกาลังกาย

ภาพรวมโครงการ

แนวคิดในการออกแบบ

องค์ประกอบโครงการ และสัดส่วนพื้ นที่


MLC Nicholas Learning Centre การจัดวางองค์ประกอบ

พื้ นที่ เรียนรู ้

พื้ นที่ พักผ่อน

Ent การสัญจรภายใน

Tainan Public Library ห้องสมุดสาธารณะไถหนาน

Double Corridor+Open Court

Ent

WERK12

Publice

Ent Publice Double Corridor+Open Court

Public e

Ent

Service ทางเดินรอบอาคาร

ความสัมพันธ์ที่วา่ งในอาคาร

B1


MLC Nicholas Learning Centre

Tainan Public Library ห้องสมุดสาธารณะไถหนาน

WERK12

ความสัมพันธ์ที่วา่ งในอาคาร

PLAN 1

PLAN 2


MLC Nicholas Learning Centre

WERK12

Tainan Public Library ห้องสมุดสาธารณะไถหนาน

ความสัมพันธ์ที่วา่ งในอาคาร

PLAN 3

PLAN 4


MLC Nicholas Learning Centre

ความสัมพันธ์ท่วี ่างในอาคาร

วิเคราะห์การใช้พืน้ ที่อาคาร

Tainan Public Library ห้องสมุดสาธารณะไถหนาน

WERK12


MLC Nicholas Learning Centre

วิเคราะห์การใช้พนที ื้ ่อาคาร

Tainan Public Library ห้องสมุดสาธารณะไถหนาน

WERK12


MLC Nicholas Learning Centre

วิเคราะห์การใช้พนที ื้ ่อาคาร

วิเคราห์ Solid และ Void

Tainan Public Library ห้องสมุดสาธารณะไถหนาน

WERK12


MLC Nicholas Learning Centre

Tainan Public Library ห้องสมุดสาธารณะไถหนาน

วิเคราะห์วสั ดุหลัก

ระแนงอลูมิเนี ยม คอนกรีต เหล็ก, กระจก

วิเคราะห์ขอ้ ดีและข้อเสีย ข้อดี

ข้อเสีย

WERK12

อิฐสี อ่อน

คอนกรีต

กระจก กระจก

ไม้

1. การแยกโซนพื้ นที่การเรียนรูไ้ ว้รอบอาคาร เป็ นพื้ นที่ เปิ ดหาพื้ นที่สีเขียว 2. การจัดพื้ นที่การใช้งานการเรียนรูท้ ี่ยืดหยุน่ และ ปรับเปลี่ยนได้โดยให้นักเรียนเป็ นศูนย์กลาง 3. มีการเพิ่มพื้ นที่สีเขียว บริเวณระเบียงของดาดฟ้ า เพิ่ม พื้ นที่การใช้สอย

1.มีการเพิ่มพื้ นที่สีเขียว สบายตาจากการอ่านหนังสือ หรือเล่นคอมพิวเตอร์ 2. เมื่อเข้าไปข้างในแล้ว เอเทรียมสูงสองเท่า ทาให้รสู ้ ึกโล่งสบาย 3. อาคารห้ที่พกั พิงแก่ผูม้ าเยือนทั้งภายในและภายนอก และสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ราบรื่นจากภายนอกและ ภายใน

1. พื้ นที่วา่ งในอาคาร ถูกใช้งานเป็ นพื้ นที่รวมตัวกัน เป็ น รูปแบบ Circulation แบบผ่าน ทาให้เมื่อเข้าไปใช้งาน 1.พื้ นที่ในอาคารทั้งหมดส่วนใหญ่เป็ นพื้ นที่ สาธารณะ จริงจะดูอึดอัดเล็กน้อย ทาให้รสู ้ ึกไม่มีความเป็ นส่วนตัว

1.เป็ นอาคารที่ดึงดูดความสนใจ ได้อย่างดี เพราะมีการ เคลื่อนไหวของตัวอักษรและสีที่โดดเด่น 2. มีทิวทัศน์อนั สวยงาม

1.มีการแบ่งการใช้งานแบบชัดเจน ทาให้ไม่มีการยืดหยุน่ ต่อผูใ้ ช้งาน


BUILDING SYSTEMS AND BUILDIN STRUCTURES


ระบบไฟฟ้ า (Electrical System)

ระบบไฟฟ้ ากาลัง (General Power System) พื้ นที่ที่ตอ้ งเตรียม 1. ห้อง MDB 2. ห้อง Generator ระบบไฟฟ้ าในอาคารขนาดใหญ่ MEA/PEA Distribution 24 KV/ 22 KV

HV Switchgear/ Ring Main Unit (RMU)

Generator 24 KV/ 22 KV

ATS

EMDB

EDB Electrical Shaft

Transformer (TR)

380 V

Electrical Room

Main Distribution Board (MDB) 380 V

Large motor Small motor Lighting Power outlet

Ring Main Unit (RMU)

Transformer (TR)

380 V

Distribution Board (DB)

380 V 220 V

380 V

Main Electrical Room

Panel Board (PB)

MDB

DB

DB

Generator

ATS


ระบบปรับอากาศและระบายอากาศ Water Cooled Water Chiller พื้ นที่ที่ตอ้ งเตรียม 1. ห้อง Chiller 2. พื้ นที่วาง Cooling Tower มักใช้กบั อาคารขนาดใหญ่ เสียงรบกวนน้อย / ต้องการพื้ นที่การติดตั้งมาก มากกว่า 250 ตันความเย็น Cooling Tower Plant Cooling Capacity

Chiller Plant

750 Tons

Counter Flow

Cross Flow

250 sq.m.

12 x 20 m.

12 x 15 m.

1,000 Tons

300 sq.m

12 x 25 m.

15 x 16 m.

2,000 Tons

4000 sq.m

12 x 40 m.

15 x 25 m.

3,000 Tons

500 sq.m

15 x 45 m.

15 x 35 m.

4,000 Tons

600 sq.m

15 x 55 m.

15 x 45 m.

10,000 Tons

1,500 sq.m

30 x 65 m.

30 x 55 m.

ความสูงจากพื้ นถึงฝ้ าอย่างน้อย 5-7 m. ความกว้างอย่างน้อย 8 m.

Air Duct ระบบท่อลม


ระบบสุขาภิบาล และระบบท่อภายในอาคาร ระบบจ่ายน้ าดีหรือประปา (Water Supply System) ระบบจ่ายน้ าประปาลง (Down feed Distribution System) ระบบจ่ายน้ าประปาวิธีนี้ นิ ยมใช้กบั อาคารสูง 3 ชั้นขึ้ นไป

ปริมาตรของถังเก็บน้ าด้านล่าง : ปริมาตรของถังเก็บน้ าบนหลังคา

2 ส่วน : 1 ส่วน

ระบบบาบัดน้ าเสีย/ระบบน้ าโสโครก ระบบบาบัดน้ าเสียแบบติดกับที่ (Onsite) ใช้ ถังบาบัดน้ าเสียชนิ ดเติมอากาศ คิดจากปริมาณน้ าใช้ต่อวัน ของอาคารแต่ละประเภท


ระบบการขนส่งในอาคาร (Transportation System) ระบบลิฟต์ที่ไม่มเี กียร์

ลิฟต์ (Lift)

1. ลิฟต์โดยสาร ใช้สาหรับรับส่งผูโ้ ดยสารทัว่ ไป 2. ลิฟต์บริการใช้สาหรับโดยสารหรือส่งของ 3. ลิฟต์ดบั เพลิง ใช้สาหรับขนส่งผูโ้ ดยสารทัว่ ไป แต่เมื่อเกิดเพลิงไหม้สามารถให้พนักงานดับเพลิงเข้ามาใช้ได้ 4.ลิฟต์ขนของ ใช้สาหรับขนของที่มีขนาด และ นาหนักมาก

สามารถแบ่งระบบลิฟต์ได้โดยการแยกประเภทของ Diving System แยกได้เป็ น 2 ประเภทดังนี้ 1. ไฮดรอลิค (Hydraulic Elevators) 2. สลิงดึง (Traction Elevators)

ลิฟต์ชนิดไม่มีเกียร์ (GEARLESS ELEVATORS)

ลิฟต์ชนิดมีเกียร์ (GEARED ELEVATORS)

บันไดเลื่อน (Escalator) 1. โครงสร้าง (Truss Structure) 2. ลูกขัน้ ( ขัน้ บันได (Steps) หรือ ชั้นเหยียบ ) และโซ่ลกู ขัน้ (Chain Guide) 3. ราวบันได หรือ ราวมือ (Handrail) 4. ลูกกรง (Balustrade) 5. ชุดอุปกรณ์ขบั (Motor Drive ) 6. อุปกรณ์ควบคุม (Control Equipment) 7. แผ่นพื้ น (floor plate)

ความเร็วของบันไดเลื่อน ต้องไม่เกิน 0.5 m/s


ระบบการป้ องกันอัคคีภยั และดับเพลิง องค์ประกอบของระบบป้ องกันอัคคีภยั ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ Fire Alarm Systems

ระบบที่ช่วยสนับสนุนการหนีไฟ - อุปกรณ์ส่องสว่าง - แผนที่สญ ั ลักษณ์ ทางหนี ไฟและ FHC - โทรศัพท์ฉุกเฉิน - ลิฟต์ฉุกเฉิน (Fireman Lift)

ระบบดับเพลิง - ระบบดับเพลิงด้วยน้ าชนิ ดสายสูบ - ระบบดับเพลิงด้วยน้ าชนิ ดโปรยน้าฝอย - เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ หรือเคลื่อนย้ายได้ - ระบบดับเพลิงแบบพิเศษ


ระบบรักษาความปลอดภัย (Security System)

ระบบควบคุมการเข้าออก Access control system Electric door lock หรือ กลอนแม่เหล็กไฟฟ้ า อาจจะใช้งานร่วมกับ ปุ่ มกด, เครื่องทาบบัตร,เครื่องแสกนลายนิ้ วมือ,เครื่องสแกนใบหน้า

ระบบกล้องวงจรปิ ด CCTV ระบบการบันทึกภาพเคลื่อนไหวที่ถูกจับภาพโดยกล้องวงจร ปิ ด ที่ได้ติดตั้งตามบริเวณต่างๆ มายัง เครือ่ งบันทึก (DVR) ส่วนรับภาพดูภาพซึ่งเรียกว่า จอภาพ (Monitor) และ บันทึกลงไปยังเครื่องบันทึก


ระบบจัดการอาคาร

ระบบควบคุมอัตโนมัติ (Building Automation System; BAS) ระบบ BAS จะทาการควบคุมและตรวจสอบการทางาน ของอุปกรณ์และประสานงานกับระบบต่างๆ ภายในอาคาร

ระบบคัดกรองบุคคลด้วยอุณหภูมิก่อนเข้าพื้ นที่ • เครื่องวัดอุณหภูมิได้อตั โนมัติโดยไม่ตอ้ งใช้เจ้าหน้าที่ • มีระบบแจ้งเตือนเมื่อมีบุคคลที่อุณหภูมิสูงเข้ามาใช้งาน • ในกรณีที่ผูใ้ ช้งานไม่สวมหน้ากากอนามัย ระบบสามารถแจ้งเตือนให้คนที่มาใช้งานสวมหน้ากากได้ • มีระบบบันทึกข้อมูลสถิติผูใ้ ช้งาน • มีระบบรูจ้ าใบหน้า สามารถตรวจสอบใบหน้าผูใ้ ช้งานได้วา่ อยูใ่ นระบบฐานข้อมูลที่เคยลงทะเบียนไว้หรือไม่ • ลดจานวนเจ้าหน้าที่ที่จุดคัดกรองบุคคล • ลดความเสี่ยงที่เจ้าหน้าที่จะได้รบั เชื้ อ หรือแพร่กระจายเชื้ อ

DIXELL ASIA SERVICE CENTER ถูกพัฒนาขึ้ นเพื่อรองรับการใช้งานจากผูใ้ ช้ XWEB Monitoring Systems ใช้ในการควบคุมและตรวจสอบระบบ ให้ผูใ้ ช้ได้รบั ประโยชน์สูงสุดจากการใช้งาน XWEB Monitoring System DIXELL ASIA SERVICE CENTER


โครงสร้างที่จะนามาใช้ในอาคาร

พื้ นไร้คานท้องเรียบ Flat Plate เป็ นคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced Concrete) โดยพื้ นคอนกรีตอาจถูก รองรับโดยตรงโดยเสา มักใช้ในช่วงความยาวไม่มากนักและน้ าหนัก บรรทุกไม่ หนักมาก เกิดจากแนวคิดที่ตอ้ งการเพิ่มจานวนชั้นของอาคารให้มากขึ้ นโดยใช้ ความสูงเท่าเดิม ช่วงระยะห่างของเสา 5 - 8 เมตร

ความหนาของพื้ นตา่ สุด ต้องไม่ น้อยกว่า 12 ซม. และประมาณค่าได้จาก L/36 เมื่อ L = ระยะระหว่างเสาที่กว้างที่สุด


LAWS AND REQUIREMENTS RELATER


บันได บันไดหนี ไฟ บันไดสาหรับผูพ้ ิการและคนชรา ทางลาดผูพ้ ิการ บันได ความกว้างสุทธิไม่นอ้ ยกว่า 1.50 เมตร บันไดห้องประชุมหรือห้องบรรยาย ความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 1.50 เมตร อย่างน้อยสองบันได ถ้ามีบนั ไดเดียวต้องมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร บันไดหนีไฟ บันไดหนี ไฟภายในอาคารกว้าง 0.80 ม.

-

ทางเดินภายนอกอาคารถ้าต่างระดับ 1.30 ซม. มีทางลาด 1:20 ทางลาดต้องกว้าง 0.90 ม. ลาดชัน 1:12 และยาวไม่เกิน 6 ม. ทางลาดยาว 1.80 ม.ขึ้ นไปต้องมีราวจับ

ช่องประตู 0.90 ม. ลิฟต์ 1.60x1.40 ม. และกระจกใสมองได้ท้งั ภายในและภายนอก กฎกระทรวงฉบับที่55 (พ.ศ.2543)

กฎกระทรวงคนพิการ (พ.ศ.2564)


สูงไม่เกิน 23 ม.

ว่างภายในอาคาร ความสูง ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ

ที่ดิน 15 %

ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยูอ่ าศัย พาณิชยกรรม เกษตรกรรม สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้เป็ นไปตามที่กาหนด ดังต่อไปนี้ (๑) ให้ดาเนิ นการหรือประกอบกิจการได้ใน อาคารทีม่ คี วามสูงไม่เกิน 23 เมตร (๒) ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละสิบห้าของทีด่ นิ ประเภทนีใ้ นแต่ละบริเวณ ผังเมืองรวมจังหวัดปทุมธานี (พ.ศ.2558)


ที่จอดรถ ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ

30 ตร.ม

=

ห้องโถงของภัตตาคารหรืออาคารขนาดใหญ่ ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่นอ้ ยกว่า 1 คัน ต่อพื้ นที่หอ้ งโถง 30 ตารางเมตร กฎกระทรวงฉบับที่ 64 (พ.ศ.2555)

-

ที่จอดรถขนานแนวทางเดิน 2.40 x 6.00 ม. ที่จอดรถตั้งฉาก 2.40 x 5.00 ม. ที่จอดรถทามุมมากกว่า30 2.40 x 5.50 ม. ที่จอดรถต้องแสดงเครื่องหมายขอบเขต กฎกระทรวงฉบับที่ 41 (พ.ศ.2537)

จานวนที่จอดรถตั้งแต่ 51 คัน แต่ไม่เกิน 75 คัน ให้มีที่จอดรถผูพ้ ิการไม่น้อยกว่า 3 คัน

กฎกระทรวงคนพิการ (พ.ศ.2564)


ความกว้างและตาแหน่ งทางเข้าออกของรถ

ทางเข้าออกของรถยนต์ตอ้ งกว้างไม่นอ้ ยกว่า 6 เมตร ในกรณีที่จดั ให้รถยนต์วิ่งได้ทางเดียว ทางเข้าและ ทางออกต้องกว้างไม่นอ้ ยกว่า 3.50 เมตร

กฎกระทรวงฉบับที่ 41 (พ.ศ.2537)


DESIGN IDEA


แนวคิดในการออกแบบ พิพิธภัณฑ์ประเพณีข้าวแช่ จังหวัดปทุมธาน ีเป็นการเล่าเรื่องรางของข้างแช่ ที่เริ่มตั้งแต่ พื้นที่ของ SITE ที่เริ่มตั้งแต่ถนนใน อาคารเป็นสีน้าตาลที่เหมือนกับหมอดิน แล้วในตัวอาคารที่มีการแบ่งพื้นที่อย่างชัดเจน ตั้งแต่พื้นที่สาธารณะขึ้นไปพื้นที่มี ความเป็นส่วนตัว เหมือนกับน้าที่อยู่ข้าว มีการแบ่งชั้นสีของน้า และกระจกที่เป็นสีขาวขุ่น ให้ความรู้สึกเหมือนกับสีของน้าที่ ซาวข้าว แล Facade ที่เป็นระแนงเป็นการดัดแปลงมาจากก้านและสีของข้าวที่ยังปลูกอยู่



FEEDBACK



DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN

ทางสัญจรแนวนอน

ทางสัญจรแนวตั้ง


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN


DESIGN



THANKS


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.