Public park

Page 1

ต้นไม้เล่า เรื่องราว

ต้นไม้ถือว่าเป็นหนึ่ง สมบัติอันสำคัญของประวัติศาตร์ ที่เติบโตมาพร้อมกับพื้นที่นั้นๆ ทั้งเป็นที่

เป็นสัญลักษณ์ การเข้าถึงการับรู้พื้นที่, ความสมบูรณ์ของพื้นที่และ เป็นขอบเขตของการอยู่อาศัย

พื้นที่ใกล้ริม น้ำฝั่ งพระนคร

4

สมัยรัชกาลที่ ๕ พื้นที่บริเวณ นี้จะเป็นที่อยู่อาศัยของคนทำ มาหากินทางของชาวบ้าน ที่ทำการเกษตร ปลูกไม้ผล

1

6 7

12 11

13 14

3

พื้นที่ริมน้ำ

20

15

เล่ากันว่าเคยเป็นที่ขึ้นของ ต้นลำพูขึ้นอยู่หนาแน่น ทำให้ มีอาชืพสำคัญ คือ การตัด รากของต้นลำพูมาทำ ฝาปิด ขวดยานัตย์ และ พ่อค้าแม่ค้า ที่พายเรือ จะใช้ดงลำพูเป็น ความหมายว่า ถึงคลองรอบ กรุงแล้ว

19

10

9 8

2

22

5

16

14

18

21

17

21 21

พื้นที่ใกล้ริมน้ำ ฝั่ งธนบุรี เป็นพื้นที่อยู่อาศัยของพวก ขุนนางสมัยก่อน ทำให้พื้นที่ บริเวณนี้เต็มไปด้วย บ้าน และสวนหย่อม ของเหล่า ขุนนาง

การเข้าถึง

23

ขอบเขตพื้นที่การใช้งาน

24

45

พื้นที่กิจกรรม พื้นที่พักผ่อน

44

29

25 26

สังคมพืชป่าชายเลน ประกอบไปด้วย พลูทะเล,แสม,ปรงทะเล

8

26

34

5 31

เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับประวัติศาตร์ ต้นไม้พื้นที่ให้กับชุมชนและโรงเรียน แสดงการกลับมาของระบบนิเวศที่หาย ไปให้กลับมา

27

30

กลุ่มต้นไม้

32

41

ไม้ผล

ไม้สวนไทย

35

42 43

33

ไม้น้ำกร่อย

44 1. ลานอนุสาวรีย์พระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลก 2. ทางเข้าลานอนุสาวรีย์ 3. ทางออกลานอนุสาวรีย์ 4. ลานกว้าง 5. พื้นที่เล่นปิงปอง 6. ส่วนที่นั่งพักคอย 7. คาเฟ่ 8. บ่อน้ำ 9. ระเบียงริมน้ำ 10. พื้นที่นั่งแบบกลุ่ม 11. สนามเล่นเด็ก 12. พื่นที่นั่งผู้ปกคลอง 13. ลานสนามหญ้า 14. พื้นที่จอดมอเตอร์ไซต์และ จักรยาน 15. ห้องน้ำ 16. ศาลานั่งคุย 17. จุดนัดพบ 18. ทางขึ้นสะพานป่าสัก 19. ปล่องระบายอากาศรสไฟฟ้า 20. อาคารเรียนรู้พืชน้พกร่อย 21. จุดนั่งพัก

28

ไม้ผลในยุค ร.5 ประกอบไปด้วย มะม่วง, มะปราง, พุทธรา

36

แสดงชนิดต้นไม้ที่รุ่งเรืองสมัย ร.๕ กลับมาให้เห็นเป็นเอกลักษณ์การเข้า ถึงการรับรู้ของพื้นที่

14

37

38

39

ไม้สไตล์สวนไทย ประกอบด้วย กราง, ตะเคียน, ยาง นา, หมากเขียว,ชงโค,ฉะพลู, สเหน่ห์จันทร์,วาสนา

19

40

เป็นการแสดงตัวตนของพื้นที่ฝั่ งธนบุรี ที่เคยเป็นพื้นที่อยู่อาซัยของขุนนาง สมัยก่อน รูปแบบชนิดต้นไม้สัมพันธ์การรับรู้การ เชื่อมต่อไปยังสวนสมเด็จย่าด้านข้าง

พื้นฝั่ งธนบุรี เป็นพื้นที่ที่มีการใช้งานอยู่ตลอดเวลาเนื่องจากใกล้กับชุมชนหลายชุมชน พื้นที่จึงถูกออกแบบให้ตัวพื้นที่ มีการเข้าถึงรับคนจำนวนมาก จากฝั่ งชุมชนกุฎีจีน เดินผ่านบรรยากาศสวนไปยัง ชุมชนคลองสาน ด้วยบรรยากาศต้นไม้แรกเริ่มที่เป็นริมน้ำไปยัง บรรยากาศร่มรื่น เขียวชอุ่มตลอดทั้งปีเชืีอมต่อกับพื้นที่สีเขียวบริเวณด้านข้าง

23.พื้นที่เดินริมน้ำ 24.คาเฟ่ 25.พืน้ที่วิ่งเล่นซ่อนแอบ 26.สนามแบตมินตัน 27.สนามฟุตบอล 28.ป้อมตำรวจ 29.ที่นั่งเดี่ยว 30.ลานแอโรบิค, ลานสาธารณะชุมชน 31.ทางขึ้นสวนลอยฟ้า 32.เครื่องเล่นออกกำลังกาย 33.พื้นที่นันทการ 34.พื้นที่รกล้าง 35.ทางวิ่ง 36.ห้องน้ำ 37.สำนักงาน, ส่วนดูแลความสะอาด 38.ลานทางเข้า 39.สนามเปตอง 40.โต๊ะหมากรุก 41.สนามบาส 42.สนามฟุตซอล 43.สนามตะกร้อย 44.พื้นที่ปลูกไม้อนุบาล 45.ห้องน้ำ

ผังบริเวณ 1:750

0

20

70

120

200

พื้นฝั่ งพระนคร พื้นที่ฝั่ งนี้มีการใช้งานของคนที่น้อยจากเดิม เนื่องจากการเข้าถึงที่ยากและขาดฟังชั่นในการเข้ามาใช้งาน พื้นที่นี้จึงถูกออกแบบ ให้ตัวพื้นที่มีกิจกรรม มากขึ้น ได้แก่ คาเฟ่ริมน้ำ บรรยากาศต้นลำพู , ลานสนามหญ้าสำหรับรับเทศกาลที่ต้องการพื้นที่จัดงาน เข้ามาจัด, รวมไปถึงสนามเด็กเล่น โต๊ะปิงปอง กลุ่มศาลาที่นั่ง และศูนย์เรียนรู้ต้นไม้ริมน้ำกร่อย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.