ที่มาและความสาคัญ
1
1.ที่มาและความสาคัญของปัญหา ประเทศไทยตงแตสมยอดต สถานภาพสตรนนคอนขางไม่เป็นที่ ยอมรบในสงคม แตมกจะถกมองเปนสงทดอยคณคา ไรความสามารถ ถูก กดข ขมเหง และกดกน ทงทางสงคม เศรษฐกจ และการเมอง ทงที่สตรีเอง ก็เป็นมนุษย์เช่นเดียวกับผู้ชาย การไม่เคารพในสิทธิสตรีตลอดจนการเลือก ปฏบตตอสตร อาจเปนเพราะแตเดมนนสงคมในสมยโบราณผชายจะมี ความรับผิดชอบในฐานะที่เป็นหัวหน้าครอบครัวซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทา ให้บทบาทของสตรีลดลง ทผานมานน มการเรยกรองเรองของสทธสตรในหลายๆประเทศอยหลายครง หรือแม้แต่การชุมนุมทางการเมืองเองก็มีการเรียกร้องอยู่เสมอ แต่กระนน การท สตรีที่จะได้รับความเคารพสิทธิสตรียังไม่เพียงพอ ยังเกิดเหตุการณืที่มีการข่ม เหง ทารณ ทารายรางการเกดขนอยบอยครง แมจะมการเรยกรองในทุกโอกาสที่ เกดขน เนองดวยกฎหมายทยงไมแขงแรงพอทจะจดการปญหาเหลานได ใน ปจจบนมองคกร มลนธ เพอสตรเกดขนมากมาย แตความเขาใจเรื่องของการ เรียกร้องสิทธิสตรีหรือเรื่องของสิทธิสตรี ยังไม่เป็นที่รู้จักในต่างเพศมากนัก การ ที่มีแหล่งที่สามารถให้ความรู้ ความเข้าใจ ที่สามารถจับต้องและเข้ามาศึกษาได้ จะเป็นประโยชน์ในอนาคต และยังเป็นแหล่งประวัติศาสตร์เพื่อให้ผู้หญิง ตระหนักถึงความสาคัญของสิทธิสตรีและใช้กฎหมายสิทธิสตรีในการดูแล ตัวเอง โครงการพิพิธภัณฑ์สตรี(WOMEN’S MUSEUM)เป็นโครงการที่เล่า ประวตศาสตรของการเรยกรองสทธสตรในอดต ทงตางประเทศและในประเทศ ไทยเอง โดยเลาความเปนมา การเรยกรองสตรครงแรก เหตการณสาคญทเกดขน บคคลสาคญทเปนสตรระดบโลก และการเรยกรองทมทงการสญเสีย หรือการ เรียกร้องที่นามาซึ่งการแก้ไขกฏหมาย การเล่าข่าวสารการเรียกร้องสิทธิสตรีใน ปจจบน การเพมความเขาใจของกลมทเรยกวาเฟมินีส และการจาลองความเป็น ผู้หญิง ที่ต้องแบกรับหลายอย่างด้วยสภาพทางกายภาพที่บอบบาง ดังนนการเพม ความเขาใจเรองของสทธสตรในแพรหลายนน ยอมสงผลใหเกดการ เปลี่ยนแปลงไม่มากก็น้อย จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น วิทยานิพน ธนจง ทาการศึกษาออกแบบโดยการมุ่งเน้นการเล่าประวัติศาสตร์ของการเรียกร้อง สทธสตร เพมความเขาใจและตระหนกใหเกดความเคารพในสทธสตร 2
2.วตถประสงคการศกษา 1 . เพื่อศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิสตรี แ ละ ประวัติศาสตร์การเรียกร้องสิทธิสตรี 2.วิเคราะห์ข้อมูลการออกแบบ เพื่อประยุกต์ใช้ใน การออกแบบอาคารพิพิธภัณฑ์ 3.เพื่อหาแนวทางในการออกแบบพิพิธภัณฑ์ที่มี เอกลักษณ์เฉพาะตัว 3.วตถประสงคโครงการ 1.เพื่อเป็นสถานที่จัดแสดงเรื่องราว ประวัติศาสต์ การเรียกร้องสิทธิสตรี ข้อมูลFEMINISMและองค์กรการ ช่วยเหลือ 2.เพื่อเป็นสถานที่ท่องเที่ยว หรือจุดรวมตัวของ สตรีที่ต้องวการกิจกรรมเพื่อเพื่อนสตรีด้วยกัน 4.ขอบเขตการศึกษา 1.ศึกษาการเรียกร้องสิทธิสตรีที่เป็นจุดเรมตนและ เหตุการณ์ในไทยเป็นหลัก 2.ศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายหลักคือกลุ่ม นักเรียนนักศึกษาอายุ 13-24 ปี และกลุ่มผู้ที่สนใจเรื่องของ สิทธิสตรี 5.ขอบเขตโครงการ โครงการพิพิธภัณฑ์สตรีเป็นโครงการที่เน้นก าร ออกแบบนิทรรศการถาวรเป็นหลัก ได้แก่ - สวนพนทการใชงานหลกของโครงการ - ส่วนนิทรรศการหมุนเวียนจัดแสดงข่าวสาร ปัจจุบันและอีเว้นต์ต่าง ๆที่เกี่ยวกับผู้หญิง - สวนพนทกจกรรมภายนอกอาคารใชสาหรับจัด กิจกรรมในโอกาสพิเศษต่างๆและมีเวทีสาหรับ รองรับ 1 เวที 6.ประโยชน์ของโครงการ - เป็นสถานที่ติดต่อสอบถามข้อมูลของมูลนิธิต่างๆ - เปนแหลงใหความร เพมความเขาใจ - เป็นทางเลือกของผู้ที่ต้องการบาบัด 3 W O M E N
4 วรรณกรรมทเกยวของและกรณศกษา
สาเหตุและปัจจัยที่ทาให้เกิดความไม่เสมอภาคระหว่างใช้และหญิงมาจากแนวคิดที่ว่าผู้ชายและหญิงมี
เป็นความคิดที่มีอิทธิพลอยู่มากและหลายคนคิดว่าเป็นเรื่องปกติอยู่แล้วไม่น่าจะใส่ใจอะไรแตเนองจากสภาพทวไป
5 1.สิทธิและเสรีภาพของสตรี (ชนินทร์ ติชาวัน,2552) สทธหมายถงสงทไมมีรูปร่าง ซงมอยในตวมนษยมาตงแต่เกิดหรือ เกดขนโดยกฎหมายเพอใหมนษย์ ได้รับประโยชน์และมนุษย์จะเป็ นผู้ เลอกใชสงนนเองโดยไมมผใดบังคับ ได้ เสรีภาพหมายถึง การใช้สิทธิ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือกระทากา ร อย่างใดอย่างหนึ่งได้อย่างอิสระแต่ ทงนจะตองไมกระทบตอสทธิของ ผู้อื่นซึ่งหากผู้ใดใช้สิทธิเสรีภาพเกิน ขอบเขตจนก่อความเดือดร้อนต่อผู้อื่น ก็ย่อมถูกดาเนินคดีตามกฎหมาย 2.ความเสมอภาคของชายและหญิง ( พิมลพรรณ ขานพล, 2550: 36-37)
ความแตกตางกนเนองมาจากพนฐานทตางกนทงดานรางกายและจตใจ เนองจากธรรมชาตไดสรางทงสองเพศให ต่างกัน ผู้ชายมีสรีระที่แข็งแรงกว่าผู้หญิงจึงสมควรมีหน้าที่ปกป้องเพศหญิงซึ่งอ่อนแอกว่า ผู้ชายมีจิตใจที่เข้มแข็ง จึงสมควรเป็นผู้นาเป็นผู้ตัดสินใจผู้หญิงจึงสมควรเป็นผู้ตามและคอยดูแลปรนนิบัติผู้ใชเทานนซงความคดเหลานยง
ในสงคมปจจบนทบทบาทของผหญงมเพมมากขนผหญงมภาระหนาทการงานเคยงคกับผู้ชายและสังคมก็ไม่ ปฏเสธความสามารถของผหญง จงสมควรเรมมาพจารณาใหถองแทวาแนวคดดงกลาวนนยงคงเป็นจริงอยู่หรือไม่ เพียงใด ในปัจจุบัน การละเมิดสิทธิสตรียังดารงอยู่อย่างกว้างขวางแม้จะน้อยลงเมื่อเทียบกับ สมยทผานๆทงนเปน เพราะโครงสร้างทางการเมืองเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมที่ผู้ชายยังเป็นใหญ่ค่านิยมในสังคมไทยที่ ครอบงา สังคมให้ผู้หญิงอยู่ภายใต้อานาจเป็นมาอย่างต่อเนื่องสังคมยังมีทัศนะว่า ผู้ชายเป็นช้างเท้าหน้าผู้หญิงเป็นช้างเท้า หลง ผชายมภรรยาไดหลายคนผหญงตองทางานบาน เลยงลก มบทบาทสาคญในครวหรอถาผู้หญิงทางาน นอก บ้านก็ยังต้องกลับมาทางานในบ้านด้วย รวมถึงทัศนคติที่คิดว่าการที่ผู้หญิงออกมาเรียกร้ องสิทธิมากๆ ทาให้ ครอบครวเกดความแตกแยกสงคมปนปวน
อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) โดยมีแนวทางการพัฒนาตามที่สหประชาชาติกาหนด
เมื่อวันที่ 8 กันยายนพ
พุทธศักราช 2550 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันได้ให้ความ คุ้มครองรับรองสิทธิและสร้างหลักประกันรวมถึงกาหนดให้เป็น หนาทของรฐทตองคานงถงศกดศรความเปนมนุษย์และจะต้อง ส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างสตรีและบุรุษโดยกาหนดให้มี มาตราและกระบวนการต่างๆเพื่อขจัดอุปสรรคต่างๆที่เกิดจาก การเลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรมตลอดจนส่งเสริมให้บุ คคล สามารถใช้สิทธิเสรีภาพได้อย่างเท่าเทียมและเสมอภาคกัน อย่างไรก็ดีในทางข้อเท็จจริงยังคงปฏิเสธไม่ได้ว่าการ
6 ถึงแม้ว่าสังคมโลกยุคใหม่จะเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็วหลากหลายแนวคิดและพฤติกรรมต่างๆได้เกิดการ เปลยนแปลงและพฒนาไปในทศทางทดขน แตกยังมีบาง เหตการณจนสามารถเรยกไดวาเปนพฤตกรรม จนถงขน วัฒนธรรม ที่มีการเปลี่ยนแปลงที่มากน้อยหรืออาจไม่มีความ คืบหน้าเลยโดยเฉพาะในกรณีของสิทธิสตรีกับกลุ่มประเทศ ด้อยพัฒนาและกาลังพัฒนา ปัจจุบันแนวคิดว่าด้วยความเท่าเทียมของ สตรี และ บรษและแนวคดวาดวยสทธเสรภาพและศกดศรของมนุษย์ ปรากฏเปนทตระหนกของนานาอารยะประเทศทวโลกไดมี การเคลื่อนไหวเพื่อความเท่าเทียมกันระหว่างเพศก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงในหลายๆด้าน อาทิการให้ สิทธิแก่สตรีใน การเลอกตง และสทธเสรภาพอื่นๆอย่างกว้างขวางโดยได้มี องค์กรในระดับนานาชาติ อาทิ สหประชาชาติ ได้จัดทา อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรี ในทุก รูปแบบ(Convention on the Elimination of all forms of Discrimination Against Women-CEDAW) เมื่อพ.ศ 2522 โดยอนสญญาฉบบนมความมงหมายทจะคมครองสิทธิสตรี ให้มีสิทธิเท่าเทียมกับบุรุษ ประเทศไทยได้เห็นความสาคัญในการพัฒนาสิทธิ เสรีภาพของสตรีในทุกด้านโดยได้ร่วมลงนามเป็นภาคีใน
.ศ 2528 และได้มีการปรับปรุงกฎหมาย ต่างๆใหสอดคลองกบพนธะกรณทงกฎหมายอาญากฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ตลอดจนกฎหมายและระเบียบต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ สิทธิสตรีอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอยางยงรฐธรรมนญแหงราชอาณาจกรไทย
เลือกปฏิบัติต่อสตรีการจากัดสิทธิและบทบาทของสตรี ยังคง หลงเหลืออยู่ในสังคมไทย
เพศเทานน เชนเนนระบบครอบครววาสงเสรมการ ครอบงาและเป็นการกาเนิดลักษณะของอานาจนิยมแต่ไม่ ตงคาถามทสาคญวาระบบครอบครวแบบนเกดขนได อยางไร อะไรคอสงผลกดนใหเกดครอบครวปจจุบัน
7 3.ทฤษฎีการเมือง ทฤษฎีการเมืองที่พยายามทา ความเข้าใจกับปัญหาความเสมอภาค ระหวางหญงและชาย รวมทงพยายาม อธิบายและแก้ไขประเด็นเรื่องเพศ มี ทงหมด 3 ทฤษฎีด้วยกันคือ ทฤษฎีเสรีนิยม (Liberalism) ทฤษฎีเฟมินิสม์ (Feminism) ทฤษฎีมาร์คซิสม์ (Marxism) ทฤษฎีเสรีนิยม (Liberalism) ในปัจจุบันแนวสตรีนิยมมักจะเน้นหนักในเรื่อง การปฏิรูปกฎหมายให้ชายและหญิงเท่าเทียมกันและมี การรณรงค์ให้การศึกษาผ่าน องค์กรอย่างสหประชาชาติ รูปแบบการรณรงค์ให้มีความเท่าเทียมทางเพศที่พบเห็น เ ป น น น น โ ย บ า ย ข อ ง อ ง ค ก ร ร ฐ ต่างๆ คือ Gender Mainstreaming ซึ่งเป็นการพยายามนาความเท่าเทียมทาง เพศเข้ามาปฏิรูปและกาหนดกฎหมายและระเบียบการ ทางานในทกหนวยงานแนวทางนมการนามาใชใน หน่วยงานของรัฐประเทศไทย และนาไปสู่การแก้ กฎหมาย เพอเพมความเทาเทยมทางกฎหมายใหกบ ผู้หญิงโดยเฉพาะในช่วงที่ใช้รัฐธรรมนูญปี 2540 และ รัฐธรรมนูญ 2550 เป็นต้น แนวคิดสตรีนิยมมอง ว่าผู้หญิงควรมีบทบาทในสังคมเท่ากับผู้ชายแต่ เป็น มมมองทไมสนใจความเหลอมลาทางชนชนและความ เหลอมลาภายในประชากรเพศเดยวกนเชนมการสงเสริม ใหผหญงขนมาเปนผบรหารมากขนแตไม่ถามว่าทาไม ต้องมีเจ้านายหรือผู้บริหารแต่แรกหรือมีการยินดีเมื่อ ผหญงขนมาเปนผนาประเทศ โดยไมสนใจวาสตรี เหลานนมาจากตระกลชนชนนาหรอไม และไมสนใจ ความสามารถของเขาที่จะเป็นผู้แทนของผู้หญิงส่วนใหญ่ ในสังคมอีกด้วย ทฤษฎีเฟมินิสม์ (Feminism) สาระสาคญของแนวนมองวาระบบปจจบนเป็น ระบบพ่อเป็นใหญ่ซึ่งหมายถึงการกดขี่ที่เพศชายกระทา ตอเพศหญง ทงภายในครอบครวและในสถาบนต่างๆของ สงคม ตนกาเนดแนวความคด มมาตงแตศตวรรษที่ 19 แตในรปแบบ ขบวนการปลดแอกสตร ในยคน แนวเฟ มินิสต์ มองขบวนการสังคมนิยมว่า เน้นแต่มิติ ด้าน เศรษฐกจ และยงมความลกซงไมเพยงพอ กรอบสาคญของแนวนใหความสาคญในเรอง
ระบบครอบครัวถูกครอบงาด้วยระบบอะไร และที่สาคัญ แนวความคดนมองวาผหญงควรสมานฉนทสามคคีกันไม่ วาจะรวยหรอจนหรออยชนชนใด ขอเรยกรองต่างๆจะ คล้ายแนวเสรีนิยมตรงที่เรียกร้องให้มีการปฏิรู ปกฎหมาย รณรงค์ให้การศึกษาและสนับสนุนให้สตรีเข้าไปมี บทบาทนาในสังคม โดยถือตาแหน่งผู้บริหารมากขนแต ในอีกด้านหนึ่งแนวเฟมินิสต์ กล้าที่จะวิจารณ์โครงสร้าง สังคม และแนวคิดจารีตของครอบครัว มากกว่าแนวเสรี นิยม ซึ่งเห็นได้จากการรณรงค์เรื่องสิทธิเจริญพันธุ์หรือ การทาแท้ง
8 ทฤษฎีมาร์คซิสม์ (Marxism) การวเคราะหเรองของการกดขทางเพศนน แนวมารคซสตมองว่าเราไม่สามารถแยกเรื่องการกดขี่ทางเพศออกจากปัญหาที่มาจากสังคมชนชนได เพราะพฒนาการของสงคมมนษยทผานมาในแตละระบบหลงยคบพการ ลวนแตเปนสงคมแหงความขดแยงทางชนชนทมพลงผลกดันทางด้านเศรษฐกิจ และสังคมมวลชนคนส่วนใหญ่ของโลกถูกคนจานวนน้อยที่ครอบครองส่วนเกินจากการผลิต กดขี่ขูดรีด ไม่ว่าจะเป็นเพศหญิงหรือชาย และในขณะเดียวกัน มีการจัดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างชายกับหญิงที่นาไปสู่การกดขี่ทางเพศ แนวความคิดมาร์คซิสต์ มองว่าการกดขี่ทาง เพศททาใหหญงเปนพลเมองชน 2 ไม่ใช่เรื่อง ธรรมชาติและไม่ใช่นิสัยใจคอแท้ของชายอีกด้วย การ กดขี่ทางเพศเกี่ยวข้องกับการครอบครองทรัพย์สิน และการถายทอดมรดกของชนชนปกครองและ เกี่ยวกับการทาให้ภาระงานบ้านเป็นภาระปัจเจก ภายในครอบครว เครองมอสาคญของชนชนปกครอง คือความคิดจารีตเกี่ยวกับเพศและครอบครัว แนวคิด เกี่ยวกับครอบครัว ชายและหญิง เน้นว่าบทบาทหลัก ของหญิงอยู่ในบ้าน และยังเป็นผลให้คนรักเพ ศ เดยวกนกลายเปนพลเมองชน 3 อกดวย ดงนนการ แกปญหาตองอาศยทงการรณรงคเพอเปลยนค่านิยม คับแคบ และการต่อสู้กับโครงสร้างอานาจในสังคม ซงรวมทงรฐระบบชนชนและสถาบนครอบครัว
9 2.แนวคิดและหลักการออกแบบสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวข้อง พิพิธภัณฑ์ คอ สถานทเกบรวบรวม และจดแสดงสงตาง ๆ ทมความสาคญดานประวตศาสตร ศลปะวฒนธรรม หรอความรอื่น ๆ เพื่อให้เป็นประโยชน์ ต่อการศึกษา และให้ความเพลิดเพลินแก่ผู้ชม อาร์ต แกลอรี่ คือ สถานที่จัดนิทรรศการ และการขายงานศิลปะ มักเรียกว่า หอศิลป์ บางแหงมทงนทรรศการถาวรทจดแสดงตลอดทงปีมีการนาเสนอ คอลเลกชนเดยวกนเพอใหผเขารวมสามารถชนชมผลงานทหลากหลาย และนทรรศการชวคราวทตออายเปนระยะ ถงแมทงสองสถานทนจะจดแสดง ผลงานแตกตางกน แตการออกแบบเสนทางสญจรนนมลกษณะเชนเดยวกน หลักการออกแบบเส้นทางสัญจรภายในพิพิธภัณฑ์ และอาร์ตแกลอรี่ (Circulation design in museum and art gallery) การจัดทางสัญจร (Circulation) ภายในห้องแสดงเมื่อพิจารณาตามลักษณะแกนสัญจร หลักสามารถแบ่งได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ทางสัญจรแบบ Centralized System of Access : ข้อได้เปรียบ คือความสะดวกต่อการควบคุม และการดูแล คือ ผู้ชมถูกชักนาไปตามเส้นทาง ข้อ เสยเปรยบ คอถาสงของตาง ๆ ทจดแสดงกอนไมเกดความประทบใจแกผชมจะมผลตอสงแสดงทตองการชมโดยเฉพาะ ข้อดี •ควบคุม และรักษาความปลอดภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ •ใช้บุคลากรจานวนน้อย และกาหนดทศทางการเคลอนไหวของผชมไดทวถง ข้อเสีย •ไม่มีอิสระการเดินชม ต้องชมตามลาดับที่จัด การวางผงจดตามเสนทางเลอนไหลของผชมเดนตามเสนทางตามแผนทตายตวจากจดเรมตนถงจดสดทาย อาจหยดดเปนชวง ๆ ระบบ Centralized System of Access แบงออกเปนแบบยอย ๆ ดงน
Twisting Circuit
10 เส้นทางสัญจรแบบ Rectilinear
คือ การเคลื่อนที่ชมงานศิลปะ หรือนิทรรศการ เป็นแนวเส้นตรง ผลงานมักจัดแสดงอยู่สองข้างทาง เหมาะกับการจัดช่วง เดนในระยะสน ๆ เพราะอาจทาใหรสกเบอขณะชมผลงาน •จัดแสดงผลงาน และแสงไฟได้ง่าย •ประหยดพนท สามารถวางผลงานไดทงสองขางทาง •ผู้ชมอาจรู้สึกเบื่อหากเป็นเส้นทางตรงที่ยาวเกินไป
Circuit Rectilinear Circuit
เส้นทางสัญจรแบบ Twisting Circuit
คือ
เหมาะกบเฉพาะพนทท จาเป็นต้องใชแสงธรรมชาต หรอมพนทหลายชน ตวอยางเชน พนทจดแสดงทาง ลาดเวียนของ Bacc หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เป็นต้น •เหมาะกับพิพิธภัณฑ์ หรืออาร์ตแกลอรี่ที่ต้องการแสงธรรมชาติ •สามารถใชพนทบนได หรอทางลาดเวยนไดเกดประโยชน •หากมคนจานวนมาก อาจเกดการกดขวางเสนทางเดน จาเปนตองมพนที่ ค่อนข้างกว้าง
เส้นทางเดินที่เป็นวงจรแบบรอบโถงกลาง จากบันได หรอทางลาดกลางอาคารทเชอมตอระหวางชนแตละชน
11 เส้นทางสัญจรแบบ
out
Freely Lay out คอ ผงรปสานไปมาอยางอสระ ปกตมกใช้ ทางลาดเขาชวย และใชองคประกอบทนาสนใจเปนตวชกนาใหผคนเกด ความสนใจในผลงาน ผงแบบนผชมอาจหลงทางได ถาลกษณะแปลน เปนรปเลขาคณตเปนแบบตอเนองกนหมด •ผงเปนรปสานไปมาอยางอสระ ทาใหกระตนความสนใจของผชม •ผชมอาจจะหลงทางไดงาย หากผงเปนเรขาคณตแบบตอเนองกนมาก เกนไป เส้นทางสัญจรแบบ Comb Type Lay out Comb Type Lay out เป็นการจัดวางผังที่มีทางเดินกลางเป็ น หลก มกมสวนใหเลอกชมในเวลาเดยวกน ทางเขาอาจเปนด้านท้าย ดานใดดานหนง หรอมทางเขาอยตรงกลาง ผชมสามารถไปทางซ้าย หรอขวาได ผงสญจรแบบนถอเปนการเพมขอบเขตใหแกผชม •โดยผชมสามารถเลอกดไดหลายสวน •ไมเกดการแออดของผชม หากมผชมจานวนมาก เนองจากมพนท จดแสดงใหดหลายสวน ไมจาเปนตองดเปนลาดบ •เนองจากมพนทใหเลอกหลายสวน อาจทาใหผชม ชมผลงานได้ ไมครบ
Weaving Freely Lay
Weaving
12 เส้นทางสัญจรแบบ Chain Lay out
Lay out เปนการวางผงแบบตอเนอง จดโดยจดแสดงท แตกตางกนมาเชอมตอกน มกมทางสญจรไหลเวยนเปนวงกลม โดย ไลดไปเปนลาดบ ๆ •ทาใหมหลากพนทจดแสดง สามารถแบงโซนผลงานแตละประเภท ได้ •ผชมสามารถเลอกดผลงานแตละพนทได •เนองจากมหลายพนทจดแสดงอาจทาใหผชม ชมผลงานไดไมครบ เส้นทางสัญจรแบบ Fan Shape Fan Shape คือ ทางสัญจรที่มีทางเข้าจากกลางผังรูปพัด การจัดแบบน ทาให้มโอกาสมากตอการเลอกชม แตผชมตองตดสนใจในการเลือกชม คอนเรว ในดานจตวทยาผชมอาจไมชอบผงสญจรลกษณะน เพราะรู้สึก วาเปนการบงคบเกนไป และทจดรวมตรงกลางทางเขามกจะเปนจุดที่ วนวาย •การจดผงสญจรรปพดจะทาใหผชมสามารถเลอกชมไดงาย •มีทางเข้าตรงกลาง หันหน้าเข้าหาจุดแสดงทาให้มองเห็นผลงานไดงาย •การจดแบบนจะทาใหผชมรสกอดอดไดงาย เพราะบงคับให้ตัดสินใจ เลือกชมผลงาน •จดทางเขามกกลาย เปนจดทว นวาย มก มผชมมาย นบรเวณน คอนขางมาก
Chain
เส้นทางสัญจรแบบ Star Shape
Star Shape เป็นผังสัญจรที่มีลักษณะคล้ายดาว
Star Shape ผชมจะไมสามารถเลอกชมได หรอเดนแยกไดสะดวกมากนัก การออกแบบผงใหแกนมความสมดลถอเปนสงสาคญในการเลอกใช้ผัง
•สามารถจดวางผลงานไดหลายสวน •ผู้ชมสามารถเดินชมผลงานแบบสลับซ้าย
•เหมาะสาหรบพพธภณฑ หรออารตแกลอรทตองการเพมลกเลนการเดน
13
หรือหวี การเลือกใช้ผัง
ลกษณะนเพราะอาจทาใหผชมเกดปญหาสบสนได
-ขวาได้
14 2. ทางสัญจรแบบ Decentralized System of Access : มทางออก และทางเขาสองทางหรอมากกวา ผชมอาจไมไดไปตามเสนทางทกาหนด สามารถเดนไปมาอยางอสระ ลกษณะเปนทางเดนในใจกลางเมอง (พพธภณฑอาจเปนสวนหนงของตวเมอง) วธนผชมอาจชมไมครบตอการชม ครงหนง ๆ อาจเขาชมครงตอไป ถอประโยชนดานสงคมจตวทยา (จตวทยาเกยวกบการเขาชม) มักเรียกเส้นทาง สญจรนวา ถนนนิทรรศการ ข้อดี
มความนาสนใจตอการจดแสดง •สามารถแบงกนหองทาให้เกดพนทจดแสดงมากขน •เกดการกระตนใหเดนดการแสดงอยางรวดเรวมากขน ข้อเสีย •ผเขาชมอาจไมรตาแหนง ควรมี Landmark •เกดมมบงไมสามารถมองเหนหองตางๆ ทาให้ดแลไมทวถง
•
ยกตัวอย่างเทคโนโลยีที่นามาใช้ในการจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์
15 1.โครงการมิวเซียมสยาม ิิภัฑ์การเรยนร สถาปนิก / ผู้ออกแบบ มาริโอ ตามานโญ ผู้ครอบครอง สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชติ (สพร) ปีที่สร้าง พ.ศ.2464-2549 ปีที่ได้รับรางวัล พ.ศ. 2549 ที่อยู่เลขที่ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เปนการเลาจากปากตอปาก โดยหองแรกมการตงคาถามวา เราเปนไทยจรงหรอ ซงในหองจะมโปรเจคเตอร์ขนาดใหญ่ ฉายอักษรบนกาแพงเงาที่สะท้อน หนชดไทยทตงเดนตรงกลาง เปนการเลาเรองงายๆ เพอใหเกดความเขาใจ เรองทหยบยกมาเปนเรองทคนเคยของคนไทยและเปนที่นาสนใจของทวโลก มีการออกแบบให้ผู้เข้าชมได้มีส่วนร่วมในการเล่น เพื่อให้ไม่เกิดความเบื่อหน่าย และการเล่าเรื่องราวที่คนสามารถสัมผัสกับเทคโนโลยีการจัดแสดง มทง เทคโนโลยีเก่าและใหม่ผสมผสานกัน
- จอสัมผัส - เครื่องฉายหนังแบบเก่า โดยการนาฟิล์มมาใส่ในเครื่องฉายแล้วหมุนเองด้วยมือ - การนาจานที่มีQR-CODE มาวางแลวภาพทฉายบนจานจะแสดงเปนรปอาหาร และขอมลของอาคารจานนน - มการนาลกบาศกไปวางตอกนและมการลงคกบภาพทฉายบนจอ เปนการเรยงภาพในรปแบบจกซอ
16 2.โครงการนิทรรน์รัตนโกสินทร์ ทตง เลขท 4 ถนนสนามไชยแขวงพระบรมมหาราชวังเขตพระนคร กรุงเทพฯ จากการวิเคราะห์อาคารเป็นอาคารที่มีการบูรณะจากอาคารเดิมให้เป็นอาคารที่มีความน่าสนใจ
เชื่อมต่อกันและก็สามารถรับชมได้แบบต่อเนื่อง โดยแบ่งเป็น 2 เส้นทาง เส้นทางและประมาณ 2 ชวโมงแตละเสนกจะแยกชนเพอความตอเนื่องในการชม นิทรรศการ โดยแนวความคิดในการจัดแสดงเป็นนิทรรศการที่จะแสดงเกี่ยวกับเรื่องราวประวัติศาสตร์ ศิลปะและวัฒนธรรมโดยมีกลุ่มเป้าหมายหลักเป็นกลุ่ม เยาวชนเพื่อให้ตระหนักถึงความเป็นไทยโดยใช้วัฒนธรรมและการสร้างบรรยากาศในนิทรรศการแบบย้อนยุค รวมไปถึงมีเทคโนโลยีการจัดแสดงที่หลากหลาย อาทิป้ายไฟมัลติมีเดีย
มีการวางผังที่น่าสนใจเพราะมีการออกแบบให้นิทรรศการ
17
ความเป็นไปได้ของโครงการ
18 ความเป็นไปได้ด้านนโยบายและแผน - ดาเนินการปฏิรูปเพื่อให้ ผู้หญิงมีสิทธิที่เท่าเทียมในทรัพยากรทาง เศรษฐกจ รวมทงการเขาเปนเจาของทดน การควบคมทดินและ ทรัพย์สินในรูปแบบอื่นการบริการทางการเงิน การรับมรดก และ ทรัพยากรธรรมชาติ ตามกฎหมายของประเทศ - เพมพนการใชเทคโนโลยโดยเฉพาะเทคโนโลยสารสนเทศและ การสื่อสารเพื่อส่งเสริมการให้อานาจแก่ผู้หญิง - เลือกใช้และเสริมความเข้มแข็งแก่นโยบายที่ดีและกฎระเบี ยบที่ บังคับ ใช้ได้ เพื่อส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศ และการให้ อานาจแก่ผู้หญิงและเด็กหญิงทุกคนในทุกระดับ Sustainable Development Goals-SDGs คอ เปาหมายการพฒนาทยงยน โดยสหประชาชาติ (UNITED NATION : UN) มนโยบายการจดตงเปาหมาย การพฒนาทยงยน นโยบายของเปาหมายการพฒนาทยงยนทเกยวข้องในด้าน สตรี คือ เป้าหมายที่ 5 บรรลุความเท่าเทียมระหว่างเพศ และเสริมสร้างความ เขมแขง ใหแกสตรและเดกหญง มเปาประสงคทครอบคลม ดงน - ยุติการเลือกปฏิบัติทุกรูปแบบที่มีต่อผู้หญิงและเด็กในทุกที่ - ขจดความรนแรงทกรปแบบทมตอผหญงและเดกหญงทงในที่สาธารณะ และรโหฐาน รวมถึงการค้ามนุษย์ การกระทาทางเพศ และการแสวง ประโยชน์ในรูปแบบอื่น - ขจัดแนวปฏิบัติที่เป็นภัยทุกรูปแบบ อาทิ การแต่งงานในเด็กก่อนวัยอัน ควรโดยการบังคับ และการทาลายอวัยวะเพศหญิง - ยอมรับและให้คุณค่าต่อการดูแลและการทางานบ้านแบบไม่ได้รับค่าจ้าง โดยจดเตรยมบรการสาธารณะ โครงสรางพนฐานและนโยบายการ คุ้มครองทางสังคมให้ และสนับสนุนความรับผิดชอบร่วมกันภายใ น ครัวเรือนและครอบครัวตามความเหมาะสมของแต่ละประเทศ - สร้างหลักประกันว่า ผู้หญิงจะมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่และมีประสิทธิผลและ มีโอกาสที่เท่าเทียมในการเป็นผู้นาในทุกระดับของการตัดสินใจในทาง การเมืองเศรษฐกิจและภาคสาธารณะ - สร้างหลักประกันว่า จะมีการเข้าถึงสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญ พันธุ์และสิทธิการเจริญพันธุ์โดยถ้วนหน้า ตามที่ตกลงในแผนปฏิบัติการ ของการประชุมนานาชาติว่าด้วยประชากรและการพัฒนาและแผนปฏิบัติ การปกกงและเอกสาร ผลลพธของการประชมทบทวนเหลานน นโยบายบูรณาการการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ เกี่ยวข้อง แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาสตรี ระยะที่ 1 (พ.ศ.25632565) กรมกิจการสจรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนา สงคมและความมนคงของมนษย ประกอบดวย 5 ประการ
O
E N
W
M
1 (พ.ศ.2563-2565)
19 มาตรการที่ 1 ปรับเปลี่ยนเจตคติของสังคมในประเด็นความเสมอภาค เท่าเทียมกันระหว่าง หญิงชาย มาตรการที่ 2 เพมบทบาทการมสวนรวมเพอพฒนาสงคมและคุณภาพ ชีวิตแก่สตรีทุกกลุ่มและทุกระดับ มาตรการที่ 3 พฒนาเงอนไขและปจจยทเออตอการพฒนาสตรีที่มี ประสิทธิผลและเสมอภาค มาตรการที่ 4 กาหนดมาตรการเฝ้าระวังขจัดปัจจัยเสี่ยงป้องกันคุ้มครอง ช่วยเหลือและเยียวยา มาตรการที่ 5 สร้างความเข้มแข็งของกลไกและกระบวนการพัฒนาสตรี หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นโยบายบรฑาการการดาเนนงานของหนวยงานัาครฐและเอกชนท เกี่ยวข้อง แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาสตรี ระยะที่
กรมกิจการสจรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มนคงของมนษย ประกอบด้วย 5 ประการ กระทรวงการพฒนาสงคมและความมนคงของมนษย สานักงานรัฐมนตรี สานักงานปลัดกระทรวง 1.สานักงานเลขานุการกรม 2.กองยุทธศาสตร์และแผนงาน 3.กองคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ 4.กองส่งเสริมความเสมอภาคระหว่าง เพศ 5.กองส่งเสริมสถาบันครอบครัว 6.กลุ่มตรวจสอบภายใน 7.กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว โครงสรางการแบงสวนราชการกระทรวงพฒนาสงคมและความมนคงของ มนุษย์ (กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว) ตาม พ.ร.บ. ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2558
มีบทบาทในการพิทักษ์สิทธิและให้ความช่วยเหลือผู้หญิงที่ตกอยู่ในภาวะวิกฤติความรุนแรงจากภัยคุกคามทางเพศ
20 มลนภเิอนหญง มลนธเพอนหญง เปนองคกรพฒนาเอกชน กอตงขนเมอปลายป พ.ศ.2523 ภายใต้ชื่อ "กลมเิอนหญิง“ ได้รับการจดทะเบียนโดยกรุงเทพมหานคร เป็น"มลนภเิอนหญง" และมีฐานะเป็นนิติบุคคลจากกระทรวงมหาดไทยเมื่อ วันที่ 5 กันยายน พ.ศ.2534 มลนภเิื่อนหญิงมบทบาทสงเสรมแนวคดและความเขาใจบนพนฐานทวาหญงชายยอมมความเสมอภาคมาแต่กาเนิด สังคม จึงควรใช้มาตรฐานเดียวกันในการคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิส่งเสริมคุณภาพชีวิตหญิงชายตามหลักกฏหมายและสิทธิมนุษยชน โดยมูลนิธิฯ ใช้ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้หญิงเข้าใจในบทบาทสิทธิและหน้าที่นาไปสู่ความเข้มแข็ง และมอานาจตอรองเชงโครงสรางในตวบคคล เครอขายและกระบวนการเพอสรางพนท/องค์ความรู้จากประสบการณ์การ ทางาน/พัฒนาเป็นต้นแบบการขยายผล เพื่อเสริมพลังอานาจทางการเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา สังคมให้กับผู้หญิง เราเชื่อว่า หากสังคมดูแลผู้หญิงดี ผลประโยชน์กก็จะเกิดกับครอบครัวและสังคม มีศูนย์การทางานใน 4 ภาค กทม/ภาคใต้ จังหวัดสงขลา/ภาคเหนือที่เชียงใหม่/ภาคอีสานที่มุกดาหาร
การถูกข่มขู่คุกคามและเผยแพร่คลิปวิดีโอ การถูกทาร้ายโดยบุคคลในครอบครัวที่ส่งผลกระทบด้านร่างกา ย จิตใจ สิทธิ เสรภาพและความมนคงในชวตตงครรภและไมพรอมทจะรบผดชอบ/ท้องในวัยเรียน/ถูกแสวงหาประโยชน์ทางเพศ/การใช้ แรงงานที่ผิดกฏหมายจากกระบวนการค้ามนุษย์ ถูกเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรมหรือถูกเลือกปฏิบัติ ด้วยเหตุแห่งเพศ/เชอชาต/ ศาสนา เพื่อเป็นการแก้ปัญหาให้มีผลในเชิงโครงสร้าง ส่งเสริมความเข้าใจบริบทมิติหญิงชายในกระแสการพัฒนาของสังคม ยุคใหม่/สร้างความเข้มแข็งใหกับเครือข่ายขบวนการต่อสู้ของผู้หญิงเพื่อร่วมสร้าง ร่วมคิด ร่วมทาสังคมที่เสมอภาคและเป็น ธรรม ทตง มูลนิธิเพื่อนหญิง 386/61-62 รัชดาภิเษก 42(ซอยเฉลิมสุข)ถนนรัชดาภิเษก แขวง ลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ10900 โทรศัพท์ 0-2513-1001 (อัตโนมัติ 5 สาย) โทรสาร 0-2513-1929
21 มลนภผหญง เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ.2527 โครงการเล็กๆ สาหรบผหญงไดถอกาเนดขนโดยมีชื่อว่า "ศูนย์ข่าวผู้หญิง" ทาหน้าที่ให้ข้อมูลแก่ผู้หญิงที่ต้องการเดินทางไปทางานต่างประเทศ เ พ อ ป อ ง ก น ม ใ ห ผ ห ญ ง ต อ ง ถ ก ล อ ล ว ง ส ก า ร ค า ป ร ะ เ ว ณ ท ง ย ง ผ ล ตสื่อการ ศึกษาสาหรับผู้หญิงในสาขาอาชีพต่างๆ ต่อมาในปี พ.ศ.2528 ศูนย์ข่าวผู้หญิงได้ตระหนัก ถึงปัญหาความรุนแรงในครอบครัว จึงได้จัดทาโครงการบ้านพักผู้หญิงเพื่อให้ความ ชวยเหลอแกผหญงทประสบ ปญหาถกสามทารายรางกาย พรอมทงรณรงค์เผยแพร่ปัญหา ความรุนแรงในครอบครัว และได้จัดทาโครงการคาหล้า เพื่อกระตุ้นให้ชุมชนเข้ามามีส่วน รวมในการหยดยงการนาเดกเขาส กระบวนการคาประเวณ โดยเรมจากการใชหนังสือคา หล้าเผยแพร่ผ่านครูในโรงเรียนเพื่อเป็นสื่อการ ศึกษากับเด็ก นักเรียน ด้วยปัญหาสิทธิความไม่เท่าเทียมและการใช้ความ รุนแรงในรูปแบบต่างๆ ในปี พ.ศ. 2530 มลนธผหญงจงเกดขนเพอใหความชวยเหลอแกผหญงและเดกทประสบ ปัญหา เผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ ตลอดจนรณรงค์ให้สังคมได้ตระหนักถึงปัญหาที่ผู้หญิง เผชิญอยู่ในปัจจุบัน รวมถึงอบรมอาสาสมัครเพื่อคุ้มครองช่วยเหลือผู้หญิ ง และเด็กใน ชมชนทงชาวไทยและเยาวชนชาวเขาทประสบปญหาความรนแรงทางเพศ ความรนแรง ในครอบครว โดยการประสานงานและขอความสนบสนนจากองคกรทองถนและ หน่วยงานอื่น ๆ เพื่อร่วมกันรณรงค์เผยแพร่สร้างจิตสานึกของคน ในชุมชนให้ตระหนัก ถึงปัญหาที่เกิดกับผู้หญิงและเด็ก วตถประสงคการดาเนนงาน •ให้ความช่วยเหลือ แก่ผู้หญิงที่ทุกข์ยากและด้อยโอกาสในสังคม •ให้การศึกษา และผลิตสื่อที่เหมาะสมแก่ผู้หญิงในสาขาอาชีพต่างๆ •สนับสนุนสิทธิ ของผู้หญิงตามที่ระบุไว้ในปฏิญญาสากล ขององค์การ สหประชาชาติ •เพื่อวิจัยและเผยแพร่ข้อมูล ที่เกี่ยวกับผู้หญิงและดาเนินโครงการต่างๆ เพื่อการพัฒนาผู้หญิง •เพื่อร่วมมือกับองค์การสาธารณะประโยชน์อื่น •ส่งเสริมสิทธิของผู้บริโภค สื่อสารมวลชน และใช้สื่อสารมวลชนเพื่อ สาธารณะประโยชน์
22
วเคราะหทตงโครงการ
A
23 บางด้วน เขตภาษีเจริญ กทม. วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ
24 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ A - การคมนาคม : ในระยะ 500 เมตร มีป้ายรถเมล์ จานวน 4 ป้าย - ใกล้แหล่งสถานศึกษา ในระยะ 5 กิโลเมตร : มจานวนโรงเรยนทงหมด 19 โรงเรียน - ศกยภาพของพนท : ถนน2เลน ความกว้างถนนประมาณ 8เมตร - การเขาถงพนทโครงการ : อยู่บนถนนพุทธมณฑล สาย 1
B
25 บ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย กทม. วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ
26 - การคมนาคม : ในระยะ 500 เมตร มีสถานีรถไฟฟ้า บางขุนนนท์ มีสถานีรถไฟ จรัญ สนิทวงศ์ และมีป้ายรถเมล์ จานวน 4 ป้าย - ใกล้แหล่งสถานศึกษา ในระยะ 5 กิโลเมตร : มจานวนโรงเรยนทงหมด 18 โรงเรียน - ศกยภาพของพนท : ถนน3เลน ความกว้างถนนประมาณ 8เมตร - การเขาถงพนทโครงการ : อยู่บนถนนจรัญสนิทวงศ์ วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ B
C
27 บางบาหรุ บางพลัด กทม. วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ
28 - การคมนาคม : ในระยะ 500 เมตร มีสถานีรถไฟ บางบาหรุ และมีป้ายรถเมล์ จานวน 5 ป้าย - ใกล้แหล่งสถานศึกษา ในระยะ 5 กิโลเมตร : มจานวนโรงเรยนทงหมด 18 โรงเรียน - ศกยภาพของพนท : ถนน2เลน ความกว้างถนนประมาณ 6 เมตร - การเขาถงพนทโครงการ : อยู่บนถนนสิรินธร 3 4 3 3 5 4 4 4 4 4 2 2 13 17 12 วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ C
29
วิเคราะห์ผู้ใช้สอย
30 ผใชสอยโครงการ ประเัท เหตทมา จดมงหมาย หมายเหต นักเรียน,นักศึกษา ชมพิพิธภัณฑ์,ซอของ ที่ระลึก นิทรรศการ,ได้รับ ความรู้,ของที่ระลึก มาแบบกลุ่ม ผทสนใจนกวชาการ นกวจย ผหาแรง บันดาลใจ ชมพิพิธภัณฑ์,ซอของ ที่ระลึก นิทรรศการ,ได้รับ ความรู้,ของที่ระลึก มาเดี่ยว,มากลุ่ม เจ้าหน้าที่โครงการ ควบคุมและจัดการ ดูแลโครงการ อานวยความสะดวก ต่อผู้ที่มาใช้โครงการ 1.ประเภทผู้ใช้สอยและลักษณะผู้ใช้สอยโครงการ 1.1กลุ่มผู้ใช้โครงการหลัก - นักเรียนนักศึกษา อายุ13-23 ปี 2.2กลุ่มผู้ใช้โครงการรอง - ผู้ที่สนใจ อายุ 24 ปขนไป - นักวิชาการ นักวิจัย ผู้หาแรงบันดาลใจ 3.3ผู้ให้บริการ - ผู้บริหาร และพนักงาน
31
32
วิเคราะห์ประโยชน์ใช้สอย
33 พฤติกรรมการใช้สอยโครงการ
34
วิเคราะห์ความต้องการขนาด
พนทใชสอย
35
36 รวมพนทโครงการทงหมด 4323.65
37
วิเคราะห์กฏหมายและข้อบังคับ
ทเกยวของ
38
40
41
เฟมินิสต์ไม่ได้เกลียดผู้ชาย เพราะเฟมินิสต์ ต้องการเรียกร้องสิทธิเสรีภาพและการให้โอกาส ผู้หญิงอย่างเท่าเทียม เฟมินิสต์ย่อมมองเห็นถึง ความแตกต่างและเคารพความแตกต่างของทุกเพศ “ ”