มัTIE-DYE ด ย อWORKSHOP มมั ด ใจ The urban plant dyeing with shibori technique
มัดยอมมัดใจ
ยอ ม มัดใ
จ
มัด
Our first workshop are dyeing a fabrics from natural materials and artificial dyeing colors, allowing everyone to join the activity and to learn how to create a piece of art through the adjoining assist of skillful artists. This is our knowhow and the best workshop of us. Nowaday we have many workshop for support and also create the special workshop to fit in other requirements.
การยอมผาเปนงานศิลปที่อยูคูกับวัฒนธรรมมนุษยมาอยางยาวนาน ยอนหลังไปหลายพันปโดยประเทศจีนถือเปนชนชาติแรกที่ปรากฏหลักฐาน วามีการยอมผา (ตั้งแต 3,000 ป กอนคริสกาล) นอกจากนี้ยังพบชนชาติอื่นๆ ที่มีการยอมผา เชน ชาวยุโรปในยุคโลหะ (2,500 ถึง 800 ป กอนคริสตกาล) ชาวอินเดีย (2,500 ป กอนคริสตกาล) และชาวอียปิ ต (1,450 ป กอนคริสตกาล) ทีพ่ บหลักฐานการยอมผาดวยสีสนั หลากหลาย ในสมัยโบราณ มนุษยตกแตง ผาจากวัสดุธรรมชาติชนิดตางๆ เชน การใชใบไม ดอกไม หรือกิง่ ไม ยึดติดกับผาดวยไขขาว หรือเลือด อีกวิธหี นึง่ คือการถูวสั ดุทม่ี สี ตี า งๆ ลงบนผา ซึง่ มีขอ เสีย คือไมทนตอการซักลาง และการสวมใส จนกระทัง่ มนุษยสามารถคนพบวิธกี ารยอมผาดวยสีธรรมชาติโดยการนำผลไมหรือพืชทีใ่ หสี ไปตำใหละเอียดแลวนำมา ตมรวมกับผา ทำใหเสนใยผาเปลี่ยนสี และทนตอการซักลางมากขึ้น
สียอมธรรมชาติสวนใหญจะไดมาจากพืช หรือสัตว เชนสีแดง ไดมาจากครั่ง (LAC) ซึ่งเปนแมลงตัวเล็กๆ ที่เกาะกินน้ำเลี้ยงจากตนไม สีน้ำเงิน ไดจากคราม หรือหอม (INDIGO) สีดำ ไดมาจากผลของมะเกลือ (EBONY) พืชที่มนุษยเรียนรูจักการใชสีจากผลมะเกลือมาเนิ่นนาน สีเหลืองไดมาจากขมิ้น (TURMERIC) เปนตน ตั้งแตอดีตจวบจนถึงปจจุบันนี้ วิธีการยอมผายังคงใชวิธีที่ไมแตกตางมากนัก โดยการนำผาที่จะยอมไปชุบน้ำใหเปยกแลวนำ ไปตม หรือแชในน้ำสี เปนเวลาหลายชั่วโมง ผานกรรมวิธีในการผนึกสีที่แตกตางกันออกไป ตามชนิดของพืช และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
ในป ค.ศ. 1856 วิเลี่ยม เพอรคิน (William Perkin) ไดคนพบสีสังเคราะหโดยบังเอิญจากการพยายามสังเคราะหยาควินนิน เพื่อใชรักษาโรคมาลาเรีย ตั้งแตนั้นเปนตนมาถือเปนยุคที่ 2 ของ สียอมผาซึ่งเปนจุดสำคัญของการแบงแยกยุคสมัยของสียอมผาจากยุคสียอมธรรมชาติมาสูยุคสียอมสังเคราะห สืบเนื่องจากการคนพบของ วิเลี่ยม เพอรคิน ทำใหมีการคิดคนสีชนิดใหมๆ เพิ่มขึ้นประมาณ 500 กวาชนิดภายในป ค.ศ.1900 โดยประเทศอังกฤษ เยอรมันนี และฝรั่งเศส เปนประเทศ ที่มีการพัฒนาสีสังเคราะหมากที่สุด ในยุคที่ 2 นี้ การใชสีสังเคราะหเปนไปอยางแพรหลายจนแทนที่การใชสียอม ธรรมชาติโดยสิ้นเชิง
สียอมสังเคราะหสามารถใชยอมเสนใยที่ไดจากพืช (Cellulose) เชน ฝาย และเสนใยโปรตีนที่ไดจากสัตว (Protein) เชน ไหม และขนสัตว จนกระทั่งใน ชวงทศวรรษ 1920 ไดมีการคิดคนผาเสนใยสังเคราะหขึ้น ซึ่งเปนผลิตผลจากอุตสาหกรรมน้ำมัน เชน ไนลอน (Nylon) และ โพลิเอสเตอร (Polyester) สียอมสังเคราะหที่ใชอยูในสมัยนั้นไมสามารถยอมเสนใยสังเคราะหชนิดใหมนี้ได แตหลังจากนั้นไมนานก็ไดมีการคิดคนสีที่สามารถยอมเสนใยสังเคราะหได คือ สีดิสเพอร อะโซ (Disperse Azo) และใชมาจนถึงปจจุบันนี้ โดยสวนมากใชยอมผาโพลิเอสเตอร และในชวงทศวรรษ 1950 ถือเปนชวงที่สำคัญที่สุด ของการคิดคนสียอมสังเคราะห เพราะเปนชวงที่ สีรีแอคทีฟ (Reactive Dye) ถือกำเนิดขึ้น ซึ่งเปนสีที่มีความยิดเกาะกับเสนใยสูงโดยอาศัยพันธะทางเคมี ทำให ไ ด ผ ลลั พ ธ ค ื อ ความคงทนของสี ย อ ม และสี ท ี ่ ส ดใส
URBAN PLANT
จากประสบการณในการทำงานกับชุมชนที่หลากหลาย ทำให GoWentGone คิดคนกระบวกการเรียนรูที่มีความยืดหยุน สอดรับกับบริบทที่หลากหลาย ของชุมชนที่แตกตางกัน ทั้งชุมชนเมือง หรือชุมชนชนบท ดวยรูปแบบชีวิตที่ตางกัน รวมไปถึงพืชพันธุที่แตกตางกันในแตละพื้นที่ โดยเฉพาะชุมชนเมือง เราจึงสรางรูปแบบการยอมที่เรียกวัสดุใหสีโดยรวมวา URBAN PLANTS หรือ พืชชุมชนเมือง ซึ่งรวบรวมพืชที่หาไดใกลตัวในเขตเมือง สามารถทำเองได ในครัวเรือน มีกระบวนการที่ไมไดซับซอนมากนัก เพื่อใหเกิดกระบวนการเรียนรูอยางบูรณาการ และเกิดประโยชนสูงสุด
Natural Tie-Dye, Faculty of Education, Chulalongkorn University
URBAN PLANT สั ญ ลั ก ษณ เ พื ่ อ การเรี ย นรู ก ระบวนการย อ มสี ธ รรมชาติ (Dyeing Symbolic)
แสงแดด
ช อ นชา
สารส ม 50 กรั ม
เกลื อ
ตอน้ำ 3 ลิตร
ปู น ขาว
ตอน้ำ 3 ลิตร
ตอน้ำ 3 ลิตร
ตั ว อย า ง
= เกลื อ 2 ช อ นชา ต อ น้ ำ 3 ลิ ต ร
มะกรู ด
ตอน้ำ 3 ลิตร
มังคุด : MANGOSTEEN (Garcinia mangostana)
หอมหัวใหญ : ONION (Allium cepa)
ดาวเรือง: Marigold (Tagetes erecta)
โคลน
ขมิ้นชัน : TURMERIC (Curcuma longa)
ทับทิม : POMEGRANATE (Punica granatum)
Techniques อุ ป กรณ แ ละเทคนิ ค ต า งๆ เพื ่ อ การสร า งลายมั ด ย อ ม
Techniques Ne-maki shibori here are an infinite number of ways one can bind, stitch, fold, twist, or compress cloth for shibori, and each way results in very different patterns. Each method is used to achieve a certain result, but each method is also used to work in harmony with the type of cloth used. Therefore, the technique used in shibori depends not only on the desired pattern, but the characteristics of the cloth being dyed. Also, different techniques can be used in conjunction with one another to achieve even more elaborate results. Kanoko shibori Kanoko shibori is what is commonly thought of in the West as tie-dye. It involves binding certain sections of the cloth to achieve the desired pattern. Traditional shibori requires the use of thread for binding. The pattern achieved depends on how tightly the cloth is bound and where the cloth is bound. If random sections of the cloth are bound, the result will be a pattern of random circles. If the cloth is first folded then bound, the resulting circles will be in a pattern depending on the fold used. Miura shibori Miura shibori is also known as looped binding. It involves taking a hooked needle and plucking sections of the cloth. Then a thread is looped around each section twice. The thread is not knotted; tension is the only thing that holds the sections in place. The resulting dyed cloth is a water-like design. Because no knot is used, miura shibori is very easy to bind and unbind. Therefore, this technique is very often used. Kumo shibori Kumo shibori is a pleated and bound resist. This technique involves pleating sections of the cloth very finely and evenly. Then the cloth is bound in very close sections. The result is a very specific spider-like design. This technique is very precise to produce this specific design. Nui shibori Fragment of a Kimono (Kosode) with Tie-dyeing (kanoko shibori) and silk and metallic thread embroidery, 17th century. Nui shibori includes stitched shibori. A simple running stitch is used on the cloth then pulled tight to gather the cloth. The thread must be pulled very tight to work, and a wooden dowel must often be used to pull it tight enough. Each thread is secured by knotting before being dyed. This technique allows for greater control of the pattern and greater variety of pattern, but it is much more time consuming. Arashi shibori Arashi shibori is also known as pole-wrapping shibori. The cloth is wrapped on a diagonal around a pole. Then the cloth is very tightly bound by wrapping thread up and down the pole. Next, the cloth is scrunched on the pole. The result is a pleated cloth with a design on a diagonal. "Arashi" is the Japanese word for storm. The patterns are always on a diagonal in arashi shibori which suggest the driving rain of a heavy storm. Itajime shibori Itajime shibori is a shaped-resist technique. Traditionally, the cloth is sandwiched between two pieces of wood, which are held in place with string. More modern textile artists can be found using shapes cut from acrylic or plexiglass and holding the shapes with C-clamps. The shapes prevent the dye from penetrating the fabric they cover.