Introduction to Gemology
อัญ มณีว ิท ยาเบื้อ ง ต้น
บทที่ 1 บทนำา (Introduction)
ความหมายของอัญ มณี (Definition of gemstones) อัญ มณี(gemstone) หมายถึง “ แร่ หรือหิน หรือสิ่งที่เกิด ขึ้นเองตามธรรมชาติ รวมทัง้ สารอินทรีย์ ทีเ่ มือ ่ นำามาขัดมัน และเจียระไนให้ได้ สัดส่วนแล้ว มีความสวยงาม และความคงทนถาวร สามารถนำาไปทำาเครื่องประดับได้ อัญ มณีว ิท ยา (Gemology) หมายถึง วิทยาศาสตร์สาขาหนึ่ง ทีศ ่ ึกษาเกี่ยวกับอัญมณี รวมถึงแหล่งกำาเนิด (source) การ อธิบายลักษณะต่าง ๆ (description) การเกิด (origin) การจำาแนก ชนิด (identification) การจัดคุณภาพ (grading) ตลอดจนการ ประเมินราคา (appraisal)
คุณ สมบัต ข ิ องแร่ท ี่จ ัด เป็น อัญ มณี 1. 2. 3. 4. 5.
มีความสวยงาม (Beauty) => สี (colour), ประกาย (brilliant), ความใสสะอาด (clarity) มีความคงทนถาวร (Stability) => ความแข็ง (hardness), ความเหนียว (toughness), ความมีเสถียรภาพ (stability) มีความหายาก (Rarity) ความนิยม (Fashion) พกพาได้สะดวก (Portable)
1.2 การจำา แนกประเภทและชนิด ของอัญ มณี
แบ่งแบบกว้าง ๆ ได้ 3 กลุม ่ คือ 1) กลุม ่ แร่ => เป็นกลุ่มใหญ่ที่สุด 2) กลุม ่ หิน เช่น ลาพิซ ลาซูลี (Lapis lazuli) ออบซิเดียน (obsidian) 3)
กลุม ่ สารอินทรีย์ เช่น มุก (pearl), อำาพัน (amber) ปะการัง (coral)
การจำาแนกเป็นกลุม ่ แร่ แบ่งย่อยออกเป็น 1)
ประเภท (Species) => มีส่วนประกอบทางเคมีที่ แน่นอน & โครงสร้างเฉพาะตัว เช่น - แร่ประเภทคอรันดัม (corundum) มีสูตรเคมีเป็น Al2O3 รูปผลึกอยู่ในระบบ Hexagonal มีหลายสี - แร่ประเภทเบริล (beryl) มีสูตรเคมีเป็น Be3Al2Si6O18 รูปผลึกอยู่ในระบบ Hexagonal มีหลายสี
ชนิด (Variety) => แบ่งย่อยออกมาจาก species โดยพิจารณาจากสี การกระจายตัวของสี ความ ใส และ/หรือปรากฏการณ์ทางแสง เช่น อัญมณีประเภทคอรันดัม (corundum) แบ่งออก เป็นชนิด (variety) - ทับทิม (ruby) => สีแดง ต่าง ๆ ตามสี ได้แก่ - ไพลิน (blue sapphire) => สีนำ้าเงิน 2)
- บุษราคัม (yellow sapphire) => สีเหลือง -แซปไฟร์สตาร์ => แสดง ปรากฏการณ์
3)
ตระกูล (Group) => มีสูตรเคมีตา่ งกันเล็กน้อย แต่มโี ครงสร้างและ สมบัตต ิ า่ ง ๆ ใกล้เคียงกัน เช่น
แร่ในตระกูลการ์เนต (Garnet Group) แบ่งได้หลาย ประเภท คือ - ประเภทไพโรป (Pyrope Species) Mg3Al2Si3O12 - ประเภทแอลมันดีน (Almandine Species) Fe3Al2Si3O12
- ประเภทกรอสซูลาไรต์ (Grossularite Species)
Ca3Al2Si3O12 เช่น ชนิดเฮสโซไนต์ (Hessonite variety)
ชนิดซาโวไรต์ (Tsavorite variety)
ชนิดดีแมนทอยด์ (Demantoid variety)
1.3 อัญมณีปลอม (Manmade Gemstones) => อัญมณีสังเคราะห์ (Synthetic gemstone) : ส่วนประกอบทางเคมี สมบัตท ิ างกายภาพ ทางแสง เหมือนของธรรมชาติมาก ตรวจสอบได้ยาก อัญมณี ทีน ่ ิยมสังเคราะห์ ได้แก่ เพชร ทับทิม แซปไฟร์ มรกต เป็นต้น => อัญมณีเลียนแบบ (Simulant or Imitation) : เหมือนของธรรมชาติแค่เพียงภายนอก เท่านัน ้ => อัญมณีประกบ (Assembled stone or Composite stone) : เป็นการนำาชิ้นส่วนของ
Doublets => ประกบ 2 ชั้น Natural corundum Synthetic corundum
Opal Doublet
Triplets => ประกบ 3 ชั้น
Opal Doublet
Green cementation
Colourless beryl
Foil Back => ใช้ foil หรือทาด้วยสีโลหะ (metallic paint) บริเวณด้านหลังอัญมณี gemstone
Foil or metallic paint
บทที่ 2 ระบบผลึกและสมบัติของอัญมณี (crystal system and Gemstone properties) 2.1 ระบบผลึก (Crystal system) แบ่งออกเป็น 6 ระบบ ตามลักษณะของแกนผลึกและมุม ระหว่างแกนผลึก ได้แก่ 1. ระบบไอโซเมตริก (Isometric System) 2. ระบบเตตระโกนอล (Tetragonal System) 3. ระบบออโธรอมบิก (Orthorhombic System) 4. ระบบโมโนคลินิก (Monoclinic System)
1. ระบบไอโซเมตริก
(Isometric System)
a 1 = a2 = a3 a1 ⊥ a2 ⊥ a3
พบ ได้แก่ cube, octahedron, dodecahedron มณี เช่น เพชร (diamond), สปิเนล (spinel), การ์เนตหรือโกเมน (
diamond
spinel octahedron
dodecahedron
garnet
2.
ระบบเตตระโกนอล (Tetragonal System)
a1 = a 2 ≠ c a1 ⊥ a 2 ⊥ c
รูปผลึกที่พบ ได้แก่ prism และ dipyramid พบในอัญมณี เช่น เซอร์คอนหรือเพทาย (zircon)
pyramid prism
Zircon crystal
3. ระบบออร์โธรอมบิก (Orthorhombic System)
a≠b≠c a⊥b⊥c
รูปผลึกทีพ ่ บ ได้แก่ prism, dipyramid และ pinacoid พบในอัญมณี เช่น โทแพซ (topaz), เพอรเิิดอท (peridot), คริสโซเบอริล (chrysoberyl)
pinacoid prism
dipyramid
topaz
Cyclic twin or “trilling” in chrysoberyl
4. ระบบโมโนคลินิก (Monoclinic System) a≠b≠c a ⊥ b, b ⊥ c แต่ a ⊥ c
รูปผลึกทีพ ่ บ ได้แก่ prism และ pinacoid พบในอัญมณี เช่น หยก (jade), มูนสโตน (moonstone)
orthoclase
5. ระบบไตรคลินก ิ (Triclinic System) a≠b≠c a⊥b⊥c
พบในอัญมณี เช่น เทอร์ควอยซ์ (turquois อะเมโซไนต์ (amazonite)
amazonite
6. ระบบเฮกซะโกนอล (Hexagonal System) มีแกน 4 แกน คือ a1, a2, a3 ยาวเท่ากัน แต่ไม่เท่ากับแกน c ทำามุมกัน 120O ในแนวระนาบและตัง้ ฉากกับแกน c แบ่งออกเป็น 2 division คือ
- เฮกซะโกนอล ดิวิชั่น (Hexagonal division)
- รอมโบฮีดรอล ดิวิชั่น (Rhombohedral divis
Hexagonal division
pinacoid
dipyramid
Aquamarine
prism
Various colour of beryl
Apatite
Rhombohedral division รูปผลึกที่พบเป็น ฟอร์มผสม ระหว่าง rhombohedron และ scalenohedron rhombohedron
scalenohedron
พบใน corundum, quartz, tourmaline
corundum
Quartz
tourmaline
2.2 สมบัตต ิ า่ ง ๆ ของอัญมณี (Gemstone Properties) สมบัติทางกายภาพของอัญมณี (Physical Properties of Gemstones) 1) การแตก (breakage) แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ - แนวแตกเรียบ (cleavage) => แตกตามระนาบ โครงสร้างอะตอม Perfect octahedron in diamond Perfect rhombohedron in calcite
Imperfect prismatic in diopside Poor pinacoid in beryl
- แนวแตก (parting) => แตกตามระนาบ โครงสร้างที่ไม่แข็งแรง เช่น ใน corundum
Rhombohedron parting
Pinacoid parting
Parting in corundum
- รอยแตก (fracture) => แนวแตกอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ cleavage หรือ parting มีหลายแบบได้แก่
Conchoidal fracture
Even fracture
plintery or fibrous fracture Granular fracture
Uneven fracture
Step-like fracture
2) ความแข็ง (Hardness, H) => ความทนทานต่อการ ขีดข่วนหรือการขัดสี แบ่งเป็น scale เรียกว่า “โมห์ สเกล (Moh’s scale of Hardness)”
ค่าความแข็งเปรียบเทียบในสเกล ความแข็งของโมห์
3) ความเหนียว (Toughness) => ความทนทานต่อ การแตกหัก โค้งงอ การฉีกขาดหรือการบด แบ่งเป็น หลายระดับ exceptional excellent good poor เหนียวดีมาก เหนียวมาก เหนียวปานกลาง ไม่jade เหนียว corundum rose quartz topaz
4) ความมีเสถียรภาพ (Stability) => ความทนทานต่อ การซีดจางลงของสีเนือ ่ งจากแสง ความร้อนหรือสาร เคมี อัญมณีที่สซ ี ีดจางลงเมือ ่ โดนแสง kunzite
yellow-brown topaz
อัญมณีทไ ี่ ม่ทนทานต่อสารเค
6) ความถ่วงจำาเพาะ (Specific gravity; SG) => ค่า คงทีแ ่ สดงความหนาแน่นของ เนือ ้ สสาร นำ้าหนักของอัญมณีทช ี่ ั่งในอากาศ นำ้าหนักของอัญมณีทห ี่ ายไปเมือ ่ ชั่งในนำ้า ถ.พ. = มีค่าขึ้นอยู่กับปัจจัย 2 ประการ คือ ชนิดของอะตอมและวิธีการ จับตัวของอะตอมในโครงสร้าง
กราไฟต์ ค่า ถ.พ. = 2.23
diamond ถ.พ. = 3.52
วิธีการหาค่าความถ่วงจำาเพาะ - วิธี Hydrostatic Weighting => ใช้เครื่อง ชัง่ ดิจิตอล
นำ้าหนักของอัญมณีที่ชั่งในอากาศ
ถ.พ. = นำ้าหนักของอัญมณีทห ี่ ายไปเมือ ่ ชั่งในน
อัญมณีสแ ี ดง ชั่งในอากาศได้ 5 กะรัต (1.00 กรัม) ชั่งในนำ้า ได้ 3.75 กะรัต (0.75 กรัม) ค่า ถ.พ. = 5 = 5 5-3.75 1.25
อัญมณีสแ ี ดงเม็ดนี้ น่าจะเป็น “ทับทิม”
- วิธี Specific Gravity Liquid => ลอยในนำ้ายาที่ รู้คา่ ถ.พ.
สมบัติทางไฟฟ้าและแม่เหล็ก (Electricity and Magnetic properties) 1)
การนำาไฟฟ้าและการนำาความร้อน (Electro Conductivity and Thermal Conductivity) => เพชร ความร้อนได้ดีทส ี่ ุด
เครื่องจี้เพชร (Diamond Tester) ใช้หลักการนำาความร้อนของเพชร
2)
การนำาไฟฟ้าเมือ ่ ถูกกระตุ้นด้วยความดัน (Piezoelectricity or Pressure Electricity) เช่น ใน quartz, tourmaline
3)
การนำาไฟฟ้าเมือ ่ ถูกกระตุ้นด้วยความร้อน (Pyroelectricity) เช่น tourmaline
4)
ความเป็นแม่เหล็ก (Magnetism) เช่น magnetite, hematite
สมบัติทางแสงของอัญมณี (Optical Properties of Gemstones) สมบัติทางแสงทีเ่ ห็นได้ด้วยตาเปล่า 1)
ประกาย (Luster) : ปริมาณและคุณภาพของแสง ทีส ่ ะท้อนจากผิวอัญมณี => ประกายแบบโลหะ (metallic luster)
=> ประกายแบบไม่ใช่โลหะ (non-metallic luster) ได้แก่ - ประกายแบบเพชร (adamantine luster)
Diamond
ประกายกึ่งคล้ายเพชร (sub-adamantine luster)
zircon
demantoid garnet
ระกายคล้ายแก้ว (vitreous) => อัญมณีโปร่งแสงทัว ่ ไป
ruby
spinel
blue sapphire
- ประกายคล้ายนำ้ามัน (greasy or oilylook)
jade - ประกายคล้ายขี้ผึ้ง (waxy)
turquoise
- ประกายคล้ายยางไม้ (resinous)
amber - ประกายคล้ายไหม (silky)
tiger’s eye
amazonite
- ประกายมุก (pearl)
moonstone
pearl
2) การผ่า นของแสง (light transmission) => การยอมให้แสงผ่านและปริมาณของแสงทีผ ่ ่านอัญมณี
citrine โปร่งใส transpar ent
chrysoprase โปร่งแสง translucent
กึ่งโปร่งใส semi-transparent
malachite ทึบแสง opaque
กึ่งโปร่งแสง semi-translucent
3)
สีข องอัญ มณี (colour)
เมื่อแสงขาวซึ่งประกอบด้วย ช่วงคลื่น แสงตัง้ แต่สีแดงถึงม่วง ตกกระทบผิว
ช่วงแสงที่มนุษย์มองเห็น
อัญมณี แสงบางส่วนสะท้อน ออกมา (reflect) บางส่วนหักเห (refract) และ บางส่วนถูกดูดกลืนไว้ (absorb) ช่วงแสง
ทีเ่ หลือจะถู กปล่อยออกมาเข้ า Absorption spectrum ของ emeral emerald
สาเหตุการเกิดสีในอัญมณี (Cause of colour in gemstone) 1) ชนิดของไอออนในโครงสร้าง (Chromophores หรือ Dispersed Metal Ion) ได้แก่ ธาตุ Ti, Cr, V, Mn, Fe, Co, Ni และ Cu เช่น
Peridot มีสเี ขียวทีเ่ กิดจากธาตุ Fe2+
Chrysoberyl มีสีเหลืองทีเ่ กิดจากธาตุ F
แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ - Allochromatic gemstone => อัญมณีทม ี่ ส ี ีเกิดจาก ธาตุมลทินทีเ่ ข้าไปแทนทีธ ่ าตุหลักในปริมาณเล็กน้อย เช่น Ruby (Al2O3) มีสีแดงทีเ่ กิดจาก Cr3+
Blue spinel (MgAl2O4) มีสีนำ้าเงินทีเ่ กิดจาก
- Idiochromatic Gemstones => อัญมณีทม ี่ ีสีเกิด จากธาตุที่เป็นส่วนประกอบหลัก เช่น
Peridot (Fe,Mg)SiO4
Almandine garnet : F
Malachite : Cu2CO3(OH)2
Rhodochrosite :
2) ศูนย์กลางสี (Colour center) => ความผิดปกติ ของโครงสร้างภายในซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือ เกิดจากการฉายรังสีของมนุษย์ โดยอาจมีผลทำาให้ - ē ขาดหายไป เรียกว่า hole colour center - ē เกินมา เรียกว่า electron colour center พบในอัญมณี เช่น purple fluorite, green diamond, smoky quartz
3) มลทินภายใน (Inclusion) : มีแร่อื่นซึ่งมีขนาดเล็ก เกิดเป็นมลทินอยู่ภายในเนื้อ
Aventurine quartz มีสีเขียวทีเ่ กิดจ arnelian มีสีแดงที่เกิดจากผลึ กแร่ ematite ขนาดเล็กทีอ ่ ยู่ภายใน ผลึกเล็ก ๆ ของแร่ fuchsite
Multi-colour gemstone => มีหลายสีในเม็ดเดียวกัน เช่น
Bi-colour and tri-colour tourmaline
Watermelon tourmaline
Colour zoning => แถบสีเข้ม-อ่อน
sapphir e
tourmalin
amethyst
Colour banding => แถบสีรูปแบบต่าง ๆ
Agate
malachite
rhodochrosite
4) ปรากฏการณ์ทางแสง (Optical phenomena or Sheen) เกิดจากการสะท้อนแสงจากด้านล่างหรือ จากโครงสร้างภายใน => ปรากฏการณ์ตาแมว (Chatoyancy or Cat’s eye) => การเหลือบแสงทีเ่ กิดจากมลทิน ภายในทีเ่ ป็นเส้นใย (fibrous), แท่งเข็ม (needles) หรือท่อกลวง (hollow tube) เรียงตัวกันอย่างหนา แน่น อัญมณีทพ ี่ บ เช่น chrysoberyl, quartz, beryl, diopside, zircon, scapolite และ opal Cat’s eye chrysoberyl
Cat’s eye diopside
Cat’s eye
=> ตาเสือหรือคตไม้สัก (Tiger’s eye) : แนว เหลือบแสงสีเหลือง-นำ้าตาล ใน quartz เกิดจากการ เข้าแทนทีข ่ อง quartz ในแร่ใยหิน (asbestos)
Tiger’s eye
=> ตาเหยี่ยว (Hawk’s eye) : เหมือน tiger’s eye แต่เป็นสีนำ้าเงิน-เทา
=> สตาร์หรือสาแหรก (Star or Asterism) : คล้าย cat’s eye แต่เป็นแนวเหลือบแสง 2 หรือ 3 ทิศทาง เกิดจากการเรียงตัวของมลทิน 2 หรือ 3 ทิศทาง อัญมณีทพ ี่ บ เช่น ruby, sapphire, garnet, spinel
Star ruby
Star sapphire 4 rays star garnet
Star spinel Star rose quartz
=> การเหลือบสี (Iridescence) เกิดจากการ รบกวนกันของแสงที่สะท้อนจากโครงสร้างภายใน ทีเ่ ป็นแผ่นบาง ๆ (thin film) ซึ่งอาจเป็นรอย แตกถี่ ๆ ขนานกัน, แถบการแฝด (twin lamellae) ระนาบ แนวแตกเรียบ (cleavage plane) หรือโครงสร้างที่ เป็นเม็ดกลมทีอ ่ ัดตัวกันแน่น (closely packed sphere) อัญมณีที่พบ ได้แก่ opal, labradorite, spectrolite, moonstone
opal
labradorite spectrolite
moonstone
การเหลือบสีใน opal => เรียกว่า การเล่นสี (Play of colour)
Silica gel or cristobalite (ขนาดเล็กมาก 150-30
Opal structure
ในช่องว่างมีนำ้า อากาศ หรือ silica เมือ ่ แสงตกกระทบช่องว่าง เหล่านีจ ้ ะเกิดการสะท้อนแสงเป็น ช่วงคลื่น pure spectral colour ทำาให้เรามองเห็นเป็นสีต่าง ๆ
Opal structure นาดของทรงกลมมีผลต่อสีที่เห็น => ขนาดเล็ก แสงสะท้อนเป็นช่วงสีนำ้าเงิน => ขนาดใหญ่ แสงสะท้อนเป็นช่วงสีแดง
การเหลือบสีใน feldspar เรียกว่า “Labradorescence” พบใน labradorite และ spectrolite เป็นการเหลือบสีเปลี่ยนจากเหลืองเป็น นำ้าเงินหรือเขียว เกิดจากการรบกวนกันของแสงทีส ่ ะท้อนออกมาจาก โครงสร้างทีเ่ ป็นชั้นบาง ๆ (lamellae) ซึ่งเป็นผลมา จากการแยกตัวของส่วนประกอบภายในโครงสร้าง
Labradorite
Spectrolite
การเหลือบสีใน moonstone เป็นการเหลือบแสง นวล ๆ สีฟ้าถึงขาว เรียกว่า “Adularescence” เกิด จากการรบกวนกันของแสงที่สะท้อนจากโครงสร้าง ภายในทีเ่ ป็นรอยแตกขนานกันถี่ ๆ
Moonstone หรือ มุกดาหาร
=> การเปลีย ่ นสีหรือปรากฎการณ์อะเล็กซาน ไดรต์ (Colour change or Alexandrite คือการที่ อัญมณีเม็ดเดียวกันมีสีตา่ งกันเมื่อมองภายใต้แหล่ง กำาเนิดแสงที่แตกต่างกัน - เมื่อมองภายใต้หลอดทังสเตน จะเห็นเป็นสีม่วง ม่วงแดง หรือแดงอมนำ้าตาล - เมื่อมองภายใต้หลอดฟลูออเรสเซนส์ จะเห็นเป็นสี เขียว หรือเขียวอมนำ้าเงิน พบในอัญมณี ได้แก่ Alexandrite (chrysoberyl), corundum, spinel, garnet Alexandrite
Colour change garnet
=> Aventurescence เป็นการสะท้อนแสงทีเ่ กิด จากแร่มลทินขนาดเล็กจำานวนมากภายในอัญมณี ซึ่งอาจเป็นแผ่นเล็ก ๆ (disc-like) มีประกาย แวววาว (glittery effect) พบใน aventurine quartz และ sunstone
Aventurine quartz Sunstone สีเขียว ประกายแวววาวเนือ ่ งจาก มีสีส้มหรือแดง เนือ ่ งจากมลทิน มลทินแร่ fuchsite (mica) ทีเ่ ป็นทองแดงขนาดเล็ก
สมบัต ท ิ างแสงที่ต อ ้ งตรวจสอบด้ว ยเครื่อ งมือ ได้แ ก่ 1) การเรือ งแสง (fluorescence) เกิดจากการ ดูดกลืนแสงของอิออนบางตัวที่ อยู่ในโครงสร้าง ภายใต้รังสียูวี ตรวจสอบได้โดย เครื่องมือที่เรียกว่า “UV fluorescence lamp”
การเรืองแสง UV ของ ทับทิม
การเรืองแสง UV ของ เพชร
การเรืองแสงของ benioite
LWUV
SWUV
2) ค่าดัชนีหักเห (Refractive Index, RI) => ตัวเลข แสดงอัตราส่วนความเร็วขอ แสงในอากาศต่อความเร็วของแสงในอัญมณี ตรวจสอบได้โดยเครื่องมือทีเ่ รียกว่า “refractometer”
Refractom
3)
การกระจายแสง (Dispersion) => ค่าความแตก ต่างของค่าดัชนีหก ั เหของอัญมณี
4)
ลักษณะจักษุ (Optic character) - Isotropic => อัญมณีที่อยู่ในระบบ isometric มี แกนผลึกยาวเท่ากันทั้ง 3 แกน เมื่อแสงเดินทาง ผ่านเข้าไปในผลึก จึงเดินทางด้วยความเร็วเท่า กันทุกทิศทาง ทำาให้มีค่าดัชนีหก ั เหค่าเดียว เช่น diamond, spinel, garnet
- Anisotropic => อัญมณีระบบอืน ่ ๆ อีก 5 ระบบ เมื่อแสงเดินทางผ่านเข้าไปในผลึกจะเกิดการ เคลื่อนตัวแยกออกเป็น 2 ระนาบตัง้ ฉากกัน ทำาให้มี ค่าดัชนีหก ั เห 2 หรือ 3 ค่า
Polariscope
5) สีแฝด (Pleochroism) เป็นการเห็นสีของอัญมณี เม็ดเดียวกันเป็นสีตา่ งกันเมื่อมองในทิศทางต่างกัน
มักพบในอัญมณีที่เป็น anisotropic เช่น andalusite, tanzanite, tourmaline
andalusite
tourmaline
tanzanite
6)
แถบการดูดกลืนแสง (Absorption spectrum) เมื่อแสงเดินทางผ่านอัญมณีหรือสะท้อนจาก อัญมณี จะแสดงแถบสี (spectrum) ของทุก ช่วงคลื่นตั้งแต่ช่วงสีแดง (700-640 nm) จนถึง ช่วงสีม่วง (440-400 nm) แต่แถบสีนี้จะขาด หายเป็นเส้นหรือแถบสีดำาเป็นช่วง ๆ เกิดจาก การดูดกลืนช่วงแสงนี้ไว้โดยอัญมณี เรียกช่วง คลื่นนี้ว่า แถบการดูดกลืนแสง (Absorption spectrum)
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสอบแถบการดูดกลืน แสง เรียกว่า สเปคโตรสโคป (Spectroscope)