Aerocomfort 3.0 ปกป้องจักรยานยามเดินทาง!
ต้
องบอกว่า.. ส�ำหรับจักรยานคันเก่งของนักปั่น ระดับโปร ที่มักจะต้องพกพาจักรยานไปร่วม ประลองความเร็วหรือความท้าทายยังสนามต่างๆ แล้วนั้น กระเป๋าบรรจุจักรยานที่แข็งแรง คุณภาพสูง ซึ่งสามารถสร้างความมั่นใจได้ว่า จักรยานราคาแพง คันโปรดนั้น จะได้รับการปกป้องและดูแลเป็นอย่างดี ไม่มีความเสียหายเกิดขึ้นให้สะเทือนใจ คงต้องเลือกกันเสียหน่อย.. อย่างเช่นกระเป๋าใส่จกั รยานเพือ่ การเดินทางรุน่ Aerocomfort 3.0 ของแบรนด์ Scicon หนึ่งใน 2 │ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560)
ผู้ผลิตกระเป๋าจัดเก็บจักรยานชั้นน�ำของโลก Aerocomfort 3.0 เป็นกระเป๋าบรรจุจักรยาน ส�ำหรับการเดินทาง ที่ถูกออกแบบให้เลือกใช้ได้กับ จักรยานถึง 3 รูปแบบ ไม่วา่ จะเป็นเสือหมอบ เสือภูเขา และจักรยานไตรกีฬา สามารถบรรจุจกั รยานได้กระชับ พอดี โดยไม่ต้องถอดแฮนด์หรือหลักอาน ด้านล่างของกระเป๋ามีล้อพร้อมฐานที่แข็งแรง ไม่ช�ำรุดง่ายแม้ว่าจะถูกกระแทก ด้านข้างยังมีแผ่น พลาสติกทีแ่ ข็งแรง อยูใ่ นต�ำแหน่งทีส่ ำ� คัญเพือ่ ปกป้อง ชุดเกียร์ของจักรยานได้พอดี
มีช่องส�ำหรับใส่ล้อพร้อมและซิบปิดมิดชิดอยู่ ภายใน โดยไม่ให้เกิดการกระแทกหรือเสียดสีกบั เฟรม โครงสร้างภายในของฐานกระเป๋า ออกแบบให้ พอดีกบั เฟรมจักรยาน สามารถปรับระดับความสูงและ ความกว้างให้พอดีกับขนาดของจักรยานได้ และยังมี แกนขนาด 12 มิลลิเมตร ซึ่งสามารถใช้ได้กับจักรยาน แบบดิสก์เบรค ส�ำหรับจักรยานแบบไตรกีฬา โครงสร้างด้านบน ส่วนหน้าสามารถใส่แอโรบาร์ได้ และส�ำหรับจักรยาน แบบเสือภูเขา สามารถใส่แฮนด์จักรยานได้เพียงแต่
ต้องปลอดล็อคคอแฮนด์ เพื่อหมุนแฮนด์ให้อยู่แนว เดียวกับเฟรมจักรยาน มีนำ�้ หนักทีเ่ บามากเฉลีย่ ทัง้ สามรูปแบบ มีนำ�้ หนัก กระเป๋าโดยรวมเพียง 8 กิโลกรัมเท่านั้น สนนราคา 899 ดอลล่ า ร์ ส หรั ฐ ประมาณ 31,500 บาท ที่มา sciconbags.com สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560) │ 3
สารสองล้อ ฉบับที่ 308 / กุมภาพันธ์ 2560 ISSN 1513-6051
บทบรรณาธิการ คนรักสุขภาพ.. กับคนรักสัตว์เลีย้ ง.. ก็เป็นคนกลุม่ เดียวกันได้ และมักจะพบเห็นได้บ่อยขึ้น ส�ำหรับนักปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ ผู้มักจะน�ำพาเพื่อนซี้สี่ขาไปออกก�ำลังกายสัมผัสอากาศบริสุทธิ์ ยามเช้าๆ ตามพื้นที่เส้นทางของสวนสาธารณะหรือเส้นทาง ชุมชนท่องธรรมชาติ
จากประสบการณ์ ที่ ไ ด้ มี โ อกาสพบพานมาด้ ว ยตนเอง กับเพื่อนนักปั่นบางท่านน�ำพาสุนัขคู่ใจไปวิ่งตามจักรยานเพื่อ ออกก�ำลังกาย แต่ดว้ ยความรูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์ ท�ำให้ทา้ ยทีส่ ดุ เกิด ความเสียใจต่อการสูญเสียเพื่อนตัวน้อยไปอย่างไม่น่าจะเกิดขึ้น
2 ปกป้ อ งจั ก รยานยามเดิ น ทาง! 5 แวดวงสองล้อ 8 เพือ่ ผลักดันการ ใช้จักรยานอย่างยั่งยืน 10 ปั่นกับ เพื่อนซี้สี่ขาผู้รู้ใจ 13 ในน�้ำมีแต่ยา ในนามีสารพิษ 16 เมือ่ ใดทีไ่ ม่ควรออก ก�ำลังกาย 18 วิธีปะยางด้วยตัวเอง ส�ำหรับมือใหม่ 22 ปักหัวดิ่งลงลิ่วๆ จาก ลูกูฮู้ สู่..ลี่เจียง 26 ท่องญี่ปุ่น ส่องวิถีชีวิตกับจักรยาน 30 สมัคร สมาชิกสมาคมฯ 31 สินค้าสมาคมฯ
จึงขอน�ำเสนอเนือ้ หาสาระทีจ่ ะเป็นข้อมูลเบือ้ งต้น ส�ำหรับ ความเข้าใจและวิธีปฏิบัติกับเพื่อนซี้สี่ขา กับการน�ำพาไปปั่น จักรยานออกก�ำลังกายกับคุณได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย และ เป็นประโยชน์ ท�ำให้ช่วงเวลาแห่งการเสริมสร้างสุขภาพทั้งคน และสุนัขนั้น ก่อเกิดประโยชน์ด้วยกันทั้งสองฝ่ายอย่างเต็มที่ ในสารสองล้อฉบับนี้ และขอน�ำเสนอความตั้งใจกับแผนกิจกรรมปั่นจักรยาน ของสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ภายใต้แนวคิดการปั่น จักรยานแบบช่วยเหลือตัวเองในระยะทาง 100 กิโลเมตรชื่อว่า TCHA100 ท่านใดสนใจขอเชิญไปร่วมกิจกรรมเพื่อเสริมสร้าง ประสบการณ์จักรยานเช่นนี้กันได้ครับ บรรณาธิการสารสองล้อ
สารสองล้อ ได้รับการสนับสนุนโดย ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) วัตถุประสงค์ของสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย 1. ส่งเสริมการใช้จักรยานในทุกกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ อาทิเช่น เพื่อสุขภาพและพลานามัย การคมนาคม การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และนันทนาการ 2. ส่งเสริมการแก้ไขปัญหาจราจรด้วยการใช้จักรยานทั่วประเทศ 3. เป็นองค์กรประสานงานระหว่างผู้ใช้จักรยานทั่วประเทศและในระดับสากล 4. อนุรักษ์ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม 5. ร่วมกันท�ำกิจกรรมเพื่อสาธารณะประโยชน์ และสันติภาพของมวลมนุษยชาติ 6. เป็นศูนย์กลางในการสื่อสาร ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดี ยกย่อง ให้ก�ำลังใจ และให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกันในหมู่สมาชิก ที่ประกอบคุณงามความดี ช่วยเหลือ สังคมและส่วนรวม 7. ไม่ด�ำเนินกิจกรรมทางการเมือง เจ้าของ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา มงคล วิจะระณะ บรรณาธิการ วรวุฒิ วรวิทยานนท์ ออกแบบรูปเล่มโดย บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จ�ำกัด โทร. 02-214-4660 โทรสาร 02-612-4509 ส�ำนักงาน สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย 2100/33 ซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 22 (สาธุประดิษฐ์ 15 แยก 14) ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-678-5470 โทรสาร 02-678-8589 เวบไซต์ www.thaicycling.com Fan Page: facebook.com/TCHAthaicycling อีเมล์ tchathaicycling@gmail.com สนใจสมัครสมาชิกสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย เพื่อสิทธิพิเศษในการร่วมกิจกรรม สมาชิกรายปี 200 บาท ( ต�่ำกว่า 15 ปี 80 บาท ) สมาชิก ตลอดชีพ 2,000 บาท ติดต่อได้ที่ โทร. 02-678-5470 โทรสาร 02-678-8589 หรือสมัครออนไลน์ได้ท่ี http://www.thaicycling.com/member อีเมล tchamember@gmail.com ขอบคุณฟอนต์ ซูเปอร์มาร์เก็ต จาก f0nt.com
แวดวงสองล้อ
สามารถส่งข่าวประชาสัมพันธ์ของท่านมาได้ที่ กองบรรณาธิการสารสองล้อ email: tchathaicycling@gmail.com หรือโทรสาร 02-678-8589
ปัน่ เทีย่ วตามรอยอารยธรรมโบราณ นครราชสีมา 25-26 กุมภาพันธ์ 2560 ชมรมจักรยานเพื่อคุณภาพชีวิตร่วมกับชมรม จักรยานเพื่อสุขภาพอ�ำเภอพิมาย ชวนปั่นจักรยาน สัมผัสชนบท ตามรอยอารยธรรมโบราณ เมืองโบราณ ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ มหัศจรรย์ปราสาทหิน พิมาย พุทธสถานในศาสนาพุทธลัทธิมหายานทีม่ ขี นาด ใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทยงดงามอลังการ สะท้อนความ รุ่งเรืองในอดีต และแหล่งโบราณคดีบ้านปราสาท อ� ำ เภอโนนสู ง พลาดไม่ ไ ด้ กั บ การแสดงประกอบ แสง เสียงขนาดเล็ก วัฒนธรรมประเพณีที่ต้องมาชม ให้ได้สักครั้งหนึ่ง กับค�ำขวัญที่ว่า เมืองปราสาทหิน ถิ่นไทรงาม เรืองนามประเพณี ผัดหมี่พิมาย ค่าสมัครร่วมกิจกรรมเพียง 1,680 บาท รวมค่ารถบัส ปรับอากาศ 2 ชั้น ค่าอาหารเพื่อสุขภาพ 3 มื้อ ที่พัก ค่าธรรมเนียมเข้าชมสถานที่ต่างๆ ประกันอุบัติเหตุ สอบถามรายละเอียดได้ที่ ผู้พันป๊อก 081-720-3356
ปลวกแดงใจเกินร้อย ครั้งที่ 1 วันอาทิตย์ที่ 19 มีนาคม 2560 ขอเชิญร่วมการแข่งขันปลวกแดงใจเกินร้อย ครั้งที่ 1 ในวันอาทิตย์ที่ 19 มีนาคม 2560 จะมี รายละเอียดการแข่งขันเป็นประเภทจักรยานเสือภูเขา ชายและหญิง และแจกถ้วยทุกรุน่ ทุกคน (รับแค่ 1,000 คนเท่านั้น) และมีรางวัลพิเศษให้กับคนที่เข้าล�ำดับ 1-10 ของแต่ละรุน่ อีก และหมายเลขหลังเสือ้ จะมีการ จับรางวัลพิเศษอีก งานนี้ค่าสมัครแค่ 300 บาท มีอาหารฟรีแจก ถ้วยทุกคน และยังมีการจับรางวัลพิเศษจากหมายเลข หน้ า รถจั ก รยานของแต่ ล ะท่ า นด้ ว ย กติ ก าง่ า ยๆ ใครที่ขี่เข้าเส้นชัยครบตามเวลา เอาป้ายที่ติดหน้า จักรยานมารับถ้วย ส่วนป้ายหลังเสื้อเอาไว้รับรางวัล พิ เ ศษจากการจั บ รางวั ล หมายเหตุ ค ่ า สมั ค ร VIP 1,000 บาท ติดต่อสอบถามได้ที่ นางสาวชัญญาภัค บุญเลิศ (มิ้น) 083-0788-361 สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560) │ 5
ผู้หญิง...รักษ์ปั่น @ เกาะหมาก วันที่ 31 มีนาคม 2560 - 02 เมษายน 2560 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) โดย ส�ำนักงานตราด ร่วมกับ ชมรมจักรยานคอฟฟีไ่ บค์ ขอต้อนรับทุกท่านเข้าสู่ “พืน้ ทีม่ หัศจรรย์” ดินแดน แห่งเส้นทางสีเขียว ที่ทุกท่านจะได้โลดแล่นไปกับช่วงเวลาแห่งการพักผ่อน ชมทัศนียภาพทะเลตราดมุมสูงแบบพาโนรามา ฟ้าสวย ๆ น�ำ้ ใส ๆ ให้เลือกถ่าย รูปอย่างจุใจ สัมผัสสีสนั ตะวันออกและความความเก๋ไก๋สไตล์ลกึ ซึง้ กับวิถชี วี ติ ชาวเกาะทีส่ งบเรียบง่าย ออกไปปัน่ จักรยานสูดอากาศสดชืน่ แล้วแวะอิม่ อร่อย กับอาหารทะเลสด ๆ ทีห่ าได้รอบเกาะ พร้อมทีพ่ กั ติดชายหาดบรรยากาศดีทนี่ ี่ “เกาะหมาก” จังหวัดตราด โดยจัดกิจกรรม Koh Mak Low Carbon Lady Cycling 2017 ผูห้ ญิง... รักษ์ปั่น @ เกาะหมาก (กิจกรรมนี้จัดขึ้นเพื่อผู้หญิงโดยเฉพาะ) ระหว่างวันที่ 31 มีนาคม 2560 - 02 เมษายน 2560 เส้นทางรอบเกาะหมาก จังหวัดตราด ค่าสมัครเข้าร่วมกิจกรรมท่านละ 4,500 บาท รับสมัครจ�ำนวนจ�ำกัด 300 ท่าน เท่านั้น ท่านสามารถโอนเงินค่าสมัครได้ที่ น.ส.ศศินนั ท์ เลิศศรีพรชัย เลขทีบ่ ญ ั ชี 743-2-83239-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเซ็นทรัล พระรามที่ 2 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://goo.gl/VvYSLM หรือที่ Facebook: COFFEEBIKECLUB TC100 สนาม 2 ผลไม้หลักสี่ เพลินวานรักษ์หลักห้า ไหว้พระหลวงพ่อโต อาทิตย์ที่ 2 เมษายน 2560 กิจกรรมปัน่ หลบลมร้อนเข้าชมสวนผลไม้ ของดี พร้อมด้วยผลไม้หลากหลาย มะม่วงคลายร้อนกับ ใกล้เมืองหลวง ชิมผลไม้รสดี บรรยากาศชายน�้ำบ้าน น�ำ้ จิม้ จากตาลมะพร้าวสดๆ ชมพูพ่ นั ธ์พเิ ศษใหญ่หวาน สวน ตลาดเพลินวานของโบราณที่ต้องหอบลูกจูง ชุม่ ฉ�ำ่ 4 ลูก 1 กิโลกรัม มะพร้าวน�ำ้ หอมของดีทมี่ ชี อื่ มา หลานไปชม ตลาดน�้ำที่ซุกซ่อนตัวอยู่ใกล้ตลาดชื่อดัง นาน ล�ำไยสายพันธ์ใหม่ลกู โตรสชาติดอ้ ยกว่าของจาก อย่างตลาดน�ำ้ ด�ำเนินสะดวก ตลาดน�ำ้ อัมพวา TC100 ภาคเหนือไม่มากดีกว่าของที่ปลูกแถวเขาใหญ่ กล้วย น�ำท่านเปิดมิติตลาดน�้ำ “ตลาดน�้ำหลักห้า” ตลาด น�้ำว้าต้นแบบและส้มโออัมพวา มีให้ชิมกันตลอดทาง น�้ำยามเย็น ที่จะท�ำให้คุ้มค่ากับเวลาของเพื่อนนักปั่น ปั่นออกก�ำลัง Endurance กิน Clean สูดอากาศที่
LA Bicycle, AIS และ ICC จับมือเปิดตัวทีมจักรยานไทย โรงแรมอนันตรา สยาม กรุงเทพฯ นายสุรสิทธิ์ ติยะวัชรพงศ์ ประธานกรรมการบริหาร LA Bicycle Group ผูผ้ ลิตจักรยานแบรนด์ LA และจักรยาน Hi end แบรนด์ Infinite จักรยานแบรนด์คนไทยคุณภาพ ระดับสากล พร้อมด้วยผู้บริหารระดับสูงของบริษัทแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) ผู้น�ำด้านการสื่อสาร และ นายบุญเกียรติ โชควัฒนา ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้อ�ำนวยการบริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายเสื้อผ้า ร่วมแถลงข่าวร่วมมือสนับสนุนทีมจักรยานไทยพร้อมเปิดตัวทีมจักรยาน “Infinite AIS Cycling Team 2017” นายสุรสิทธิ์ กล่าวว่า การจัดตัง้ ทีมแข่งจักรยาน Infinite เป็นการ ส่งเสริมภาพลักษณ์และเจาะกลุ่มเป้าหมายในด้านการตลาด เพื่อแสดงถึงคุณภาพของจักรยาน Infinite ที่มี ประสิทธิภาพสามารถใช้แข่งขันในระดับโลกได้ ซึง่ ปัจจุบนั ทีม Infinite Cycling Team เป็นทีมเดียวทีใ่ ช้จกั รยาน แบรนด์ไทย และอยูใ่ นทีมระดับ UCI Continental ได้รบั การรับรองจาก องค์กรสหพันธ์จกั รยานนานาชาติ หรือ UCI และได้รบั เชิญไปแข่งขันในรายการใหญ่ทวั่ โลก โดยปีนที้ มี แข่งจะใช้ชอื่ ทีมว่า “Infinite AIS Cycling Team 2017 ” ซึ่งถือเป็นโอกาสที่ดีที่ AIS บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านการสื่อสารของประเทศไทยได้เข้ามาร่วมสนับสนุนทีม อย่างเป็นทางการ และจะร่วมจัดกิจกรรม จัดท�ำแคมเปญต่างๆเพื่อส่งเสริมการตลาดให้กับลูกค้า นอกจากนี้ “Infinite AIS Cycling Team” ยังได้รบั การสนับสนุนชุดทีมแข่ง จาก บริษทั ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ผลิตเสื้อผ้าชั้นน�ำแบรนด์ Le Coq และเสื้อผ้าอื่นๆ แบรนด์ BSC สดชื่น บรรยากาศสายตาที่เขียวชอุ่มตลอดทาง ก�ำหนดการปัน่ สนาม 2 วันอาทิตย์ที่ 2 เมษายน 2560 รับสมัครจ�ำนวน 2,000 ท่าน ไม่รวมกลุ่ม Exclusive ที่ได้สมัครล่วงหน้าไปแล้ว ไม่ต้องรีบออก เร็วชมบรรยากาศสวนให้เต็มที่ สูดอากาศบริสทุ ธิ์ เส้น ทางปลอดภัยไร้ควันพิษ ปล่อยตัวชุดละ 500 ท่าน จ�ำนวน 4 ชุด และอาจเปิดส�ำรองให้ในกรณีทมี่ ผี สู้ นใจ มากกว่าที่ก�ำหนด สนามนี้จะพาท่านร่วมสร้างกุศลด้วยกัน ถ้า
จุดหมายที่เรามุ่งไปท�ำให้เกิดการหมุนเวียนทางการ ค้าขายได้ต่อเนื่อง ติดเป็นตลาดที่มีเอกลักษณ์และมี ผู้คนไปเยือนมากขึ้น กุศลนี้จะส่งให้พวกเราท่าน ได้ เป็นผูส้ ร้างทีอ่ ยูท่ กี่ นิ ให้กบั ชุมชนในระยะยาว เป็นการ สร้างกุศลชนิดถาวร ที่เกิดจากการให้จะส่งผลกลับ มายังพวกท่านในอนาคตอย่างเต็มเปี่ยมไปด้วยกัน มาร่วมปั่นสร้างกุศลไปด้วยกันครับ ดูรายละเอียดและสมัครได้ที่ https://goo.gl/ BYoXs2
เพื่ อ ผลั ก ดั น การใช้ จั ก รยาน
อย่างยั่งยืน
วั
บันทึกปั่นส�ำรวจเส้นทาง TCHA100 สมุทรสาคร
ตถุประสงค์หลักของสมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย หรือ TCHA คือ ส่งเสริมการใช้จักรยานในทุก กิจกรรมที่เป็นประโยชน์ อาทิเช่น เพื่อสุขภาพ และ พลานามัย การคมนาคม ลดการเผาผลาญพลังงาน เชื้อเพลิง แล้วยังเป็นการสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิง อนุรกั ษ์ รณรงค์ ให้คนหันมาใส่ใจอนุรกั ษ์ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม ด้วยการจัดกิจกรรมต่อเนื่องในทุกเดือน อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง จัดด�ำเนินการสร้างสื่อ ประชาสัมพันธ์ความรูเ้ รือ่ งสุขภาพ เรือ่ งจักรยาน และ อืน่ ๆ ผ่านจดหมายข่าวสาร ทีช่ อื่ “สารสองล้อ” เดือนละ 1 ฉบับ ต่อเนื่องเรื่อยมาเป็นปีที่ 25 และปัจจุบันปรับ
8 │ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560)
รูปแบบเป็นจดหมายข่าวออนไลน์ในแบบ ebook ซึ่ง เพิ่มความสะดวกมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังสอดคล้องกับ การร่วมลดปริมาณการใช้กระดาษลงอีกด้วย รวมถึง สื่ อ เว็ บ ไซต์ ที่ www.thaicycling.com, www. thaicycling.org และ www.facebook.com/ tchathaicycling ที่ผ่านมา สมาคมฯ ท�ำกิจกรรมต่างๆ มากมาย ไม่ว่าจะร่วมกับกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ใน โครงการจักรยานรักษ์สงิ่ แวดล้อม จัดสัมมนาวิชาการ ระดับชาติ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ริเริ่มกิจกรรมโครงการรีไซเคิลจักรยาน รับบริจาคจักรยานน�ำไปมอบให้กบั นักเรียนทัว่ ประเทศ ปี 2540 จัดกิจกรรม “โครงการจักรยานเพื่อ เมืองน่าอยู”่ อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ รณรงค์ให้ประชาชนหัน มาใช้จกั รยานในชีวติ ประจ�ำวันเพือ่ การออกก�ำลังกาย การท่องเที่ยว และการเดินทางเพิ่มขึ้น ต่อมาคณะกรรมการสมาคมฯ ได้สร้างสถิติโลก “ขบวนจักรยานทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก” (Largest parade of bicycles) ด้วยจ�ำนวน 3,515 คัน บนถนนลอยฟ้า บรมราชชนนี รับรองบันทึกอย่างเป็นทางการโดย Guinness world records ในปี 2559 ทีผ่ า่ นมา TCHA ได้มสี ว่ นร่วมในการ จัดกิจกรรม BIKE FOR DAD ซึ่งนับว่าเป็นศิริมงคล และความภาคภูมิใจของพวกเราเป็นอย่างยิ่ง นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมการกุศลอื่นๆ ที่ทาง สมาคมได้ทำ� เช่น โครงการรีไซเคิลจักยาน รับบริจาค
จักรยานน�ำมาซ่อม แล้วน�ำมอบให้นกั เรียนทัว่ ประเทศ อย่างต่อเนื่อง การมอบจักรยานจ�ำนวน 150 คันแก่ นักเรียนจังหวัดเชียงใหม่ และเชียงราย ร่วมโครงการ ศุภนิมิต ที่ ส� ำ คั ญ คื อ TCHA ได้ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรมปั ่ น จักรยานรณรงค์วัน Car Free Day ในประเทศไทย และร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงาน แห่งชาติกบั กรมควบคุมมลพิษ เริม่ จัดงานวัน Car free day 2543 โดยมีการวัดค่ามลพิษทีล่ ดลงในวันรณรงค์ และต่อมาคณะกรรมการสมาคมฯ ได้จัดกิจกรรม ดังกล่าวอย่างต่อเนื่องทุกปีจนถึงปัจจุบัน รวมถึงจัด ออกทริปตามสถานที่ต่างๆ เพื่อเป็นการรณรงค์ใน วงกว้างให้คนทัว่ ไปออกก�ำลังกายและลดมลภาวะจาก การใช้รถยนต์อีกด้วย ในสภาวะปัจจุบันที่มีผู้นิยมขี่จักรยานเพื่อการ ท่องเที่ยว และเพื่อการออกก�ำลังกายเป็นจ�ำนวนมาก สมาคมฯ จึงได้สนับสนุนกิจกรรมการปัน่ จักรยานทาง ไกลแบบพึ่งพาตนเอง หรือ Audax Randonneurs โดยร่วมกับ Audax Randonneurs Thailand จัด สนามปั่นจักรยานเพื่อสอบใบประกาศนียบัตรนักปั่น จักรยานทางไกลนานชาติ (BRM) ในระยะทาง 200, 300, 400 และ 600 กิโลเมตร ในปี 2559 TCHA ได้จดั กิจกรรมการปัน่ จักรยาน ระยะทาง 100 กิโลเมตรขึน้ เพือ่ พัฒนาศักยภาพการ ปั่นจักรยาน และเป็นการส่งเสริมการลดพลังงาน ส่งเสริมการเดินทางท่องเที่ยวดัวยจักรยาน โดยจัด กิจกรรมสามจังหวัดในสามสนาม คือ สนามที่หนึ่งจัดที่ โรงเรียนนายร้อย จ.ป.ร. นครนายก สนามที่สองจัดที่ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม สนามที่สามจัดที่ สัตหีบ ปี 2560 สมาคมฯ จะจั ด กิ จ กรรมการปั ่ น จักรยานในระยะ 100 กิโลเมตร ใช้ชื่อว่า TCHA100 ทั้งสิ้น 4 สนาม และทริปประเพณีอีก 1 สนาม ได้แก่ สนามที่หนึ่ง จัดในกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2560
ณ จังหวัดสมุทรสาคร สนามทีส่ อง จัดในปลายเดือนพฤษภาคม 2560 ณ ต�ำบลบางพระ จังหวัดชลบุรี สนามที่สาม จัดในกลางเดือนสิงหาคม 2560 ณ อ�ำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี สนามที่ ส่ี จั ด ในกลางเดื อ นตุ ล าคม 2560 ณ อ�ำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี และทริปประเพณี จัดในวันอาทิตย์ที่ 3 ธันวาคม 2560 เป็นการปัน่ จักรยานขึน้ เขาโจด อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ระยะ 100 กิโลเมตร ไต่ระยะความสูง ประมาณ 2,900 เมตร โดยเริ่มจากที่ว่าการอ�ำเภอ ศรีสวัสดิ์ ณ เขาโจดนี้ ระยะความสูงจัดว่าเป็นเส้นทางปัน่ จักรยานที่มีการจัดในระยะความสูงที่สุดในภาคกลาง ถือว่าเป็นอินทนนท์แห่งภาคกลาง เหมาะเป็นอย่างยิง่ ส�ำหรับนักปั่นที่จะซ้อมขาไปไต่ดอยอินทนนท์
นี่เป็นเพียงบางส่วนของผลงานที่ทางสมาคมฯ ได้จดั ขึน้ ยังมีกจิ กรรมดีๆ อีกมากมายทีเ่ ป็นประโยชน์ และน่าสนใจ ซึง่ สามารถติดตามการท�ำงานของสมาคม จักรยานเพื่อสุขภาพไทย ได้ที่ www.thaicycling. com และ www.facebook.com/tchathaicycling หรือติดต่อโดยตรงได้ที่ ส�ำนักงาน 2100/33 ซอยนราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ 22 (สาธุ ป ระดิ ษ ฐ์ 15 แยก 14) ถนนนราธิ ว าสราช นครินทร์ ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2612-4747, 0-2678-5470 เวลาท�ำการ 09:00 - 18:00 น. สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560) │ 9
ปั่นกับเพื่อนซี้สี่ขาผู้รู้ใจ ก
ารปัน่ จักรยานออกก�ำลังกายท�ำให้ได้ความสุขทางกายและทางใจ เป็นสิง่ ทีใ่ ครๆ ก็รกู้ นั ดี แต่สำ� หรับนักปัน่ จักรยานออกก�ำลังกายที่มีเพื่อนซี้สี่ขาผู้รู้ใจ ก็คงต้องการความสุขทางใจยิ่งขึ้นไปกว่านี้ และคงปรารถนา จะให้เพื่อนซี้สี่ขาได้ร่วมกิจกรรม ดื่มด�่ำความสุขเช่นนี้ไปด้วยกัน ดังนั้นก่อนที่จะพาสุนัขไปวิ่งออกก�ำลังกายเคียงข้างการปั่นจักรยานของคุณด้วยนั้น.. ควรจะต้องศึกษา ให้เข้าใจ เพื่อให้กิจกรรมส�ำหรับสุขภาพนี้เป็นผลดีกับทั้งคุณและเพื่อนซี้สี่ขาผู้รู้ใจ 1. ปรึกษาสัตวแพทย์
ให้สตั วแพทย์ตรวจเช็คเพือ่ นสีข่ าของคุณก่อนว่า เขามีความพร้อม ของร่างกายและมีความเหมาะสมส�ำหรับการออกวิ่งไปพร้อมกับการปั่น จักรยานออกก�ำลังกายของคุณด้วยหรือไม่ เนือ่ งจากแพทย์จำ� เป็นจะต้อง ตรวจสุขภาพของสุนัขก่อนว่า สุนัขพันธุ์นั้นๆ มีความแข็งแรงเพียงใด และมีขอ้ จ�ำกัดอะไรบ้างส�ำหรับกิจกรรมลักษณะเช่นนี้ เพือ่ ให้การไปออก ก�ำลังกายกับคุณนั้น เป็นประโยชน์และเป็นผลดีต่อเขามากที่สุด และไม่แนะน�ำส�ำหรับสุนัขที่มีน�้ำหนักต�่ำกว่า 12 กิโลกรัม หรือ มีอายุต�่ำกว่า 1 ปี 2. เตรียมตัวเองให้พร้อม
อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยพื้นฐานส�ำหรับการปั่นจักรยานออก ก�ำลังกาย คุณจ�ำเป็นต้องมีไว้ให้พร้อม ไม่ว่าจะเป็นหมวกกันน็อค ถุงมือ รองเท้า และเสื้อผ้าส�ำหรับปั่นจักรยานเพื่อออกก�ำลังกาย ควรจะมีสีสัน ที่สะดุดตา มองเห็นง่ายในระยะไกล อุปกรณ์ที่มีไว้ในยามฉุกเฉิน เช่น โทรศัพท์มือถือ บัตรประจ�ำตัว ยางอะไหล่ ชุดปะยาง เป็นต้น น�ำ้ เป็นสิง่ ส�ำคัญทีค่ ณุ จะต้องเตรียมไว้ ทัง้ ส�ำหรับตัวเองและส�ำหรับสุนขั ขอแนะน�ำว่า จักรยานประเภทเสือภูเขาเหมาะสมอย่างยิ่งส�ำหรับ กิจกรรมปั่นจักรยานออกก�ำลังกายกับเพื่อนซี้สี่ขาของคุณ เพราะจะมี ความมั่นคงในการทรงตัวในทุกสภาพถนนได้ดีที่สุด 3. เตรียมเพื่อนซี้ให้พร้อม
นอกจากตัวคุณเองแล้ว สุนัขเพื่อนซี้ที่จะน�ำพาไปด้วยจ�ำเป็นต้อง มีการเตรียมพร้อมเพื่อความปลอดภัยไม่แตกต่างกัน มีอุปกรณ์พิเศษที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ส�ำหรับน�ำพาสุนัขไปปั่น จักรยานด้วยโดยเฉพาะ เป็นอุปกรณ์ใช้จับยึดกับหลักอาน และมีท่อ อลูมิเนียมยาวเพียงพอส�ำหรับการรักษาระยะห่าง เพื่อให้สุนัขนั้นวิ่งคู่ ขนานไปกับจักรยานได้อย่างปลอดภัยโดยไม่เบียดหรือกระแทกชนกับ ล้อและจักรยาน 10 │ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560)
ภายในท่ออลูมเิ นียมมีชดุ เชือกพร้อมสายรัด มีความยาวพอเหมาะ และรัดตัวสุนัขที่บริเวณช่วงอกและขาหน้า โดยไม่รัดเข้ากับคอสุนัขโดย เด็ดขาด ขณะเดียวกับสายรัดก็มีความยืดหยุ่นที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้ แรงดึงขณะเคลื่อนไหวท�ำให้คุณต้องเสียการทรงตัวขณะปั่นจักรยาน และไม่ลมื ทีจ่ ะเผือ่ ตระแกรงหรือตะกร้าทีม่ ขี นาดพอเหมาะส�ำหรับ บรรทุกสุนัขของคุณยามที่มันเหนื่อยแล้วในช่วงขากลับ หรือเมื่อเห็น ว่าการออกก�ำลังนั้นเพียงพอแล้ว เพื่อไม่ให้สุนัขเหนื่อยจนเกินไป 4. ฝึกให้คุ้นชิน
ก่อนออกปั่นไปกับสุนัขของคุณ จ�ำเป็นจะต้องฝึกสอนและสร้าง ความคุ้นเคยให้กับสุนัขของคุณเสียก่อน ด้วยการท�ำให้สุนัขนั้นเข้าใจว่า จักรยานเป็นมิตร ด้วยการวางขนมไว้ที่จักรยาน และให้สุนัขคอยส�ำรวจ จักรยาน จากนัน้ เริม่ ต้นพาเดินไปกับการจูงจักรยาน แล้วค่อยๆ พัฒนาขึน้ พยายามสร้างความรู้สึกในเชิงบวกให้กับสุนัข เพื่อให้เขารู้สึก สนุกสนานกับการร่วมเดินทางไปกับคุณและจักรยานของคุณ 5. เริ่มจากการเดิน
ค่อยสร้างการเรียนรู้ให้กับสุนัข โดยไม่ให้เขารู้สึกว่าถูกบังคับ แต่ ให้เขารู้สึกสนุกที่จะร่วมกิจกรรมไปกับคุณ เริ่มจากการพาจูงเดินไปกับ จักรยานช้าๆ เรื่อยๆ โดยไม่ได้บังคับเขา จากนั้นค่อยๆ พัฒนาให้เร็วขึ้น ทีละเล็กทีละน้อย จากนั้นคุณค่อยคร่อมจักรยาน พาสุนัขวิ่งเหยาะเคลื่อนที่ไปด้วย ฝึกหัดให้สุนัขรู้สึกคุ้นเคยกับการหยุด การชะลอ และลักษณะของการ ทรงตัวของคุณขณะทีอ่ ยูบ่ นจักรยาน เพือ่ ให้เขาสามารถวิง่ ไปด้วยได้อย่าง เป็นธรรมชาติ 6. ฝึกให้เข้าใจค�ำสั่ง
ค�ำสัง่ หรือวลีสนั้ ๆ จ�ำเป็นอย่างยิง่ ต่อการฝึกให้สนุ ขั เข้าใจค�ำสัง่ ของคุณ ไม่วา่ จะเป็นการสัง่ ให้ “ช้า” “หยุด” “หมุนหรือเลีย้ ว” หรือ “อยูน่ ง่ิ ” เพือ่ ท�ำให้สุนัขสามารถฟังค�ำสั่งและเคลื่อนไหวได้สัมพันธ์กับการเคลื่อนไหว ของจักรยาน 7. เลือกสถานที่อย่างเหมาะสม
การปั่นจักรยานไปกับสุนัขนั้นมีเงื่อนไขที่แตกต่างและค่อนข้าง เฉพาะตัว คุณจึงควรเลือกสถานที่หรือเส้นทางที่ปลอดภัย มีความกว้าง เพียงพอส�ำหรับจักรยานและสุนัขในการวิ่งเคียงข้างกันไป ต้องเป็นเส้นทางทีไ่ ม่มรี ถยนต์หรือยานพาหนะอืน่ ๆ ร่วมใช้เส้นทาง สวนสาธารณะที่อนุญาตให้พาสุนัขเข้าไปใช้ได้จึงมีความเหมาะสม หรือ เส้นทางในชนบทที่ไม่มีรถยนต์มาใช้ร่วม สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560) │ 11
ควรเป็นเส้นทางตรง ไม่คดเคี้ยวหรือมีจุดเลี้ยวมากเกินไป ไม่ลืมที่จะพิจารณาถึงความปลอดภัย ในเส้นทางที่ใช้ร่วมกับผู้คน อื่นๆ ด้วยเช่นเดียวกัน 8. เริ่มต้นช้าๆ และใช้เวลาไม่นาน
เนื่องจากสุนัขจะต้องวิ่งเคียงคู่ไปกับการปั่นจักรยานของคุณ ควร เริ่มต้นแบบช้าๆ แล้วค่อยเพิ่มความเร็วที่ไม่มากจนเกินไป เพื่อให้สุนัข สามารถเดินและวิ่งตามได้อย่างสบายๆ ไม่เหนื่อยจนเกินไป และไม่ควรใช้เวลาปั่นจักรยานพาสุนัขวิ่งต่อเนื่องกันนานเกินไป 9. คอยเพิ่มระยะทางและเวลา
เมือ่ ประสบการณ์ของสุนขั ในการวิง่ ควบคูไ่ ปกับจักรยานมีมากขึน้ สามารถค่อยๆ เพิ่มระยะทางและเวลาให้เหมาะสม เพื่อให้การออก ก�ำลังกายนั้นมีประสิทธิภาพและพัฒนา อย่างไรก็ตาม ควรตรวจสอบอุ้งเท้าของสุนัขอยู่เสมอว่า พบการ บาดเจ็บบ้างหรือไม่ เพราะต้องไม่ลมื ว่าสุนขั เขาวิง่ เท้าเปล่าตามธรรมชาติ แต่อาจจะบาดเจ็บจากสภาพของพื้นผิวถนนและเส้นทางที่ขุขระได้เช่น เดียวกัน หากพบว่าเขามีอาการบาดเจ็บ หรืออาการเหนื่อยล้า ไม่อยากวิ่ง ก็ควรจะต้องหยุดและพัก จากนั้นค่อยกลับมาเริ่มออกก�ำลังกายด้วยกัน ใหม่ในวันต่อไป 10. ระวังความร้อน
การเกิดความร้อนในร่างกายจนมากเกินไป ย่อมสร้างผลร้ายให้กบั สุนขั หรือแม้แต่ตวั คุณเองก็ตาม ดังนัน้ จึงควรสังเกตอาการของสุนขั ไม่ให้ เขาวิ่งจนเหนื่อยและเกิดความร้อนมากเกินไป เพราะอาจจะเกิดสภาวะ หัวใจเต้นแรงเร็วและผิดปกติ สังเกตดูว่าสุนัขเหนื่อยหอบมากเกินไปหรือไม่ มีน�้ำลายไหลมาก น�ำ้ ลายแตกฟองทีป่ าก ศรีษะสัน่ นัน่ คืออาการผิดปกติของความร้อนมาก เกินไปในร่างกาย ต้องหยุดวิ่ง และให้เขาได้พักในสถานที่ร่ม มีลมผัดผ่าน และให้น�้ำ ในอุณหภูมิปกติ ห้ามให้น�้ำเย็นโดยเด็ดขาด 11. อย่าฝืน..ใช้วิธีอื่นพาไปดีกว่า
แม้วา่ ใจของคุณอยากจะพาสุนขั ไปวิง่ เคียงข้างการปัน่ จักรยานของ คุณแค่ไหนก็ตาม แต่หากพบว่าสุนัขนั้นไม่มีความพร้อมที่จะท�ำกิจกรรม เช่นนัน้ กับคุณ จ�ำเป็นทีจ่ ะต้องหาอุปกรณ์สำ� หรับน�ำพาเขาไปปัน่ จักรยาน กับคุณได้ อาทิ ตระกร้าขนาดพอเหมาะ หรือรถพ่วงจักรยานที่สุนัข สามารถนั่งไปกับคุณด้วยได้ ขณะที่คุณปั่นจักรยานออกก�ำลังกาย 12 │ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560)
ข้อมูลและภาพประกอบจาก
นักเขียนรับเชิญ: นพ.วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ เรียบเรียงจากข้อมูลของ มูลนิธิหมอชาวบ้าน (Folk Doctor Foundation) www.doctor.or.th
ในน�้ำมีแต่ยา ในนามีสารพิษ น่
านเป็นหนึง่ ในจังหวัดภาคเหนือของประเทศทีเ่ งียบสงบ และน่าอยูส่ ำ� หรับหลายๆ คน ด้วยความ ชื่นชมในวัฒนธรรม ชีวิตความเป็นอยู่ และอัธยาศรัยของผู้คน จ�ำนวนนักท่องเที่ยวและผู้คนที่ หลั่งไหลเข้าไปเยี่ยมสถานที่ต่างๆในจังหวัดน่าน จึงมากขึ้นและมากขึ้นเรื่อยๆ โรงแรมใหม่ๆ รีสอร์ท และการลงทุนทางธุรกิจเริ่มเบ่งบานอย่างเห็นได้ชัด ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา กว่า 30 ปีทผี่ า่ นมา ปัญหาใหญ่อย่างหนึง่ ทีค่ นเมืองน่านต้องประสบคือ ผืนป่าแปลงใหญ่ใน 15 อ�ำเภอของจังหวัดค่อยๆ หดหายไป เกิดสภาวะภูเขาหัวโล้นซึ่งถูกทดแทนด้วยไร่ข้าวโพดและสวน ยางพารา ซึง่ เป็นสภาวะเช่นเดียวกับอีกหลายจังหวัดในประเทศ ขณะนีป้ ระเทศไทยมีปา่ ไม้เหลือเพียง 20 กว่าเปอร์เซ็นต์ของเนื้อที่ประเทศ หรือประมาณ 120 ล้านไร่ และมีอัตราการถูกบุกรุก ท�ำลาย ประมาณปีละ 1 ล้านไร่ ซึ่งถ้าอัตราการสูญสียป่าเป็นเช่นนี้ อีกไม่ถึง 100 ปี เราก็จะไม่มีป่าไม้หลง เหลือเลย แน่นอนว่าแปลงเกษตรที่เกิดขึ้นจากการบุกรุกป่าเหล่านี้ใช้สารเคมีเป็นจ�ำนวนมาก
สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560) │ 13
ในช่วงปี 2557 ที่ผ่านมามีการตรวจวิเคราะห์ ตรวจน�้ำอุปโภคบริโภคในจังหวัดน่าน โดยใช้ห้อง ปฏิ บั ติ ก ารของคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ม.นเรศวร ร่ ว มกั บ สาธารณสุ ข จั ง หวั ด และภาคี โดยสุ ่ ม เก็ บ ตัวอย่างตั้งแต่น�้ำใต้ดิน น�้ำดิบที่จะน�ำมาผลิตเป็น น�้ำประปา ไปจนถึงน�้ำดื่มบรรจุขวดที่ผลิตโดยองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ และเอกชนในพืน้ ที่ โดยตรวจหา การปนเปื้อนของยาก�ำจัดวัชพืช 3 ชนิด (Paraquat, Glyphosate, Atrazine) และยาฆ่าแมลง 1 ชนิด (กลุ ่ ม Chlorpyrifos) ผลลั พ ธ์ ที่ อ อกมาค่ อ นข้ า ง น่าตกใจว่า น�้ำเกือบทุกตัวอย่าง แม้กระทั่งน�้ำดื่ม บรรจุขวดพบปริมาณสารพิษเหล่านี้เกินมาตรฐาน ทั้งสิ้น บางจุดเกินเป็น 100 เท่าของที่ควรจะเป็น ในแต่ละปีประเทศไทยมีการใช้สารเคมีก�ำจัด ศัตรูพืชกว่า 400 ชนิด ในจ�ำนวนนี้มีถึงไม่น้อยกว่า 155 ชนิ ด ที่ เ ป็ น สารที่ มี อั น ตราร้ า ยแรง (Highly Hazardous Pesticide, HHPs) ซึ่งสารที่มีลักษณะ เข้าเกณฑ์ดังกล่าว จะมีคุณลักษณะ คือ - มีความเป็นพิษเฉียบพลันสูง - มีความเป็นพิษเรือ้ รัง เช่น ก่อมะเร็ง ก่อกลายพันธุ์ เป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์ รบกวนการท�ำงานของต่อมไร้ทอ่ - มีพิษต่อสิ่งแวดล้อม สะสมอยู่ในสิ่งแวดล้อม ได้ยาวนาน Glyphosate เป็นสารก�ำจัดวัชพืชที่มีปริมาณ
14 │ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560)
การน�ำเข้าสูงสุด มีมลู ค่าการตลาดสูงถึงเกือบหมืน่ ล้าน บาท จากปริมาณการน�ำเข้ากว่า 63 ล้านกิโลกรัมในปี 2557 ในสหรัฐอเมริกาเคยประสบปัญหาการปนเปือ้ น ในแหล่งน�ำ้ ใต้ดนิ น�ำ้ ดืม่ มาแล้ว นานาประเทศได้ทยอย ประกาศจ�ำกัดการใช้ไปจนถึงการยกเลิกการใช้ไปแล้ว เพราะพบว่าเหนีย่ วน�ำให้เซลมะเร็งแพร่กระจายเร็วขึน้ นอกจากนีย้ งั ไปจับกับโลหะหนักก่อให้เกิดโรคไตเรือ้ รัง รวมทั้งมีพิษต่อระบบประสาท นอกจากนี้ยังมีการ ตกค้างในน�ำ้ นมของแม่ทใี่ ห้นมบุตร จึงมีหลายประเทศ ที่เริ่มห้ามใช้และจ�ำหน่าย ในบางประเทศห้ามใช้ใน เขตสวน บ้านเรือน และพื้นที่สาธารณะ ส่วน Paraquat เป็นสารก�ำจัดวัชพืชทีม่ ปี ริมาณ การน�ำเข้ามากเป็นอันดับสอง คือ 21 ล้านกิโลกรัมใน ปี 2557 เป็นยาฆ่าหญ้าที่มีพิษสูงและไม่มียาต้านพิษ เป็นสารที่รบกวนการท�ำงานของต่อมไร้ท่อ เนื่องจาก เป็นสารเคมีที่ไม่ระเหย จึงแขวนลอยอยู่ในอากาศ เป็นอนุภาคและล่องลอยกระจายไปได้ มีการตกค้าง ที่ยาวนานในดินได้ถึง 20 ปี ในประเทศไทยมีรายงาน การตกค้างของยาตัวนี้ในแม่น�้ำเจ้าพระยา แม่น�้ำ ปากพนัง แม่น�้ำสงครามและแม่น�้ำจันทบุรี เกิดความ เป็นพิษต่อสัตว์น�้ำ ขณะนีม้ ปี ระเทศทีห่ า้ มใช้และห้ามจ�ำหน่ายโดย เด็ดขาดแล้วกว่า 30 ประเทศ รวมทัง้ ประเทศลาว และ กัมพูชา แต่ยังมีขายกันทั่วไปในประเทศไทย
ส่วนคลอร์ไฟร์ฟอสนัน้ เป็นสารก�ำจัดแมลงทีถ่ กู น�ำเข้าสูงสุดเป็นอันดับ 1 คือ 2 ล้าน 3 แสนกิโลกรัม ในปี 2557 และเป็นยาที่มักพบตกค้างอยู่ในผักต่างๆ ที่ขายอยู่เป็นประจ�ำ โดยเฉพาะถั่วฝักยาว กะหล�่ำปลี พริกชนิดต่างๆ รวมทัง้ ผลไม้หลายชนิด พิษของยาตัวนี้ เกิดขึ้นที่ระบบประสาทโดยตรง ส่งผลต่อความผิด ปกติทางอารมณ์ ภาวะซึมเศร้า โดยไปท�ำลายสารสื่อ ประสาท ท�ำให้สง่ ผลต่อพัฒนาการทางระบบประสาท ของทารก ซึ่งอาจมีผลไปตลอดชีวิต ในยุโรปมีการห้ามใช้ยาตัวนี้มาหลายปีแล้ว ใน สหรัฐอเมริกาก็มีการจ�ำกัดการใช้มากขึ้น ประเทศ เพื่ อ นบ้ า นเราอย่ า งสิ ง คโปร์ แ ละอิ น โดนี เ ซี ย ก็ เ ช่ น เดียวกัน แต่ในประเทศไทยยังขายกันอยูท่ วั่ ไปโดยเสรี ส�ำหรับ Atvazine เป็นยาฆ่าวัชพืชทีใ่ ช้กนั มากว่า 50 ปี มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์พบว่ายาตัวนี้ท�ำให้ Hormone ไม่สมดุลย์ในสัตว์ท�ำให้กบตัวผู้แปลงเพศ ล่าสุดพบว่าอาจมีผลต่อการท�ำงานของต่อมน�้ำนม ในคน ท�ำให้สหภาพยุโรป (อียู) สั่งห้ามใช้มาตั้งแต่ปี 2547, อาทราซีน เป็นสิง่ ทีต่ อ้ งสงสัยอันดับต้นๆ ว่าเป็น ต้นเหตุท�ำให้สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำทั่วโลกมีจ�ำนวนลดลง ปัญหาสารเคมีปนเปือ้ นในน�ำ้ และดิน เป็นปัญหา ใหญ่, เรื้อรัง และยาวนานมากส�ำหรับประเทศไทย ไม่ได้เกิดขึน้ และเป็นปัญหาเฉพาะในพืน้ ทีจ่ งั หวัดน่าน แต่เป็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ “ทุกย่อมหญ้า” ของประเทศ จน
ศจ.นพ.ประเวศ วะสี เคยกล่าวไว้ว่าขณะนี้คนไทย อาศัยอยู่บนแผ่นดิน “อาบยาพิษ” หลังจากรายการ พลิกปมข่าว ไทยพีบีเอส น�ำเสนอข่าวเรื่องสารเคมี ตกค้างในแหล่งน�ำ้ จังหวัดน่าน เมือ่ ต้นเดือนกรกฎาคม ที่ผ่านมา ก็เกิดความตื่นตัวในระดับจังหวัด โดยผู้ว่า ราชการจังหวัดน่านได้จัดการประชุมหารือแนวทาง แก้ไขปัญหาดังกล่าว ซึ่งมีค�ำถามตามมามากมายว่า คณะท�ำงานระดับจังหวัดจะจัดการกับปัญหาดังกล่าว อย่างไร หน่วยงานส่วนกลางที่เกี่ยวข้องทั้งกระทรวง เกษตรและสหกรณ์, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม, กระทรวงสาธารณสุข, นักการเมืองบาง คนที่อยู่เบื้องหลังธุรกิจค้ายาฆ่าวัชพืช, ยาฆ่าแมลงใน ประเทศไทย, ผู้ประกอบการแปลงสวนผักและผลไม้, ไร่ข้าวโพดคงต้องเป็นจ�ำเลยอันดับต้นส�ำหรับปัญหา ดังกล่าวนี้ ส่วนเราท่านทั้งหลายที่เป็นผู้บริโภค ก็คงต้อง ช่วยกันระแวดระวัง, มีจิตส�ำนึกด้านวิถีออแกนิค, การปลูกผักกินเอง, การกินผักและผลไม้อย่างมีสติ, ไปจนถึงการสร้างความรู้ ความตระหนักและความ เข้ า ใจกั บ ประชาชน ในการขั บ เคลื่ อ น การลดใช้ สารเคมีเพื่อช่วยลดปัญหา ที่ทุกวันนี้ แผ่นดินไทย ตกอยู่ในสภาพ “ในน�้ำมีแต่ยา ในนามีแต่สารพิษ” เต็มไปหมด...
สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560) │ 15
นักเขียนหมอชาวบ้าน: ธารดาว ทองแก้ว เรียบเรียงจากข้อมูลของ มูลนิธิหมอชาวบ้าน (Folk Doctor Foundation) www.doctor.or.th
เมื่อใดที่ไม่ควรออกก�ำลังกาย
16 │ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560)
ก
Designed by Lyashenko / Freepik
ารออกก�ำลังกายจะท�ำให้สขุ ภาพแข็งแรงขึน้ ทัง้ ร่างกายและจิตใจ ผูท้ อี่ อกก�ำลังกายเป็นประจ�ำ สม�ำ่ เสมอจะซาบซึง้ ในความจริงข้อนีเ้ ป็นอย่างดี บางคน บอกว่าการออกก�ำลังกายเหมือนยาเสพติดชนิดหนึ่ง เพราะถ้ า ประพฤติ ป ฏิ บั ติ จ นเป็ น กิ จ วั ต รหรื อ เป็ น นิสยั แล้ว หากไม่ได้ออกก�ำลังกายสักวันจะรูส้ กึ ไม่คอ่ ย สดชืน่ เท่าทีค่ วร ซึง่ เป็นความจริง (เพราะร่างกายไม่ได้ หลั่งสารสุข ‘เอนเดอร์ฟินส์’ ออกมา) อย่างไรก็ตาม แม้การออกก�ำลังกายจะมีผลดีตอ่ สุขภาพร่างกายมากมายนานัปการ แต่ก็มีหลายกรณี ที่เราควรระมัดระวัง หรืองดออกก�ำลังชั่วคราว ใน ภาวะใดภาวะหนึ่งต่อไปนี้คือ
1. เจ็บป่วยไม่สบาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าเป็น ไข้หรือมีอาการอักเสบที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย 2. หลังจากฟืน้ ไข้ใหม่ ๆ ทีร่ า่ งกายอ่อนเพลียอยู่ หากออกก�ำลังกายในช่วงนี้ จะท�ำให้รา่ งกายยิง่ อ่อนเพลีย และหายช้า 3. หลังจากกินอาหารอิ่มใหม่ ๆ เพราจะท�ำให้ เลือดในระบบไหลเวียนถูกแบ่งไปใช้ในการย่อยอาหาร เพราะฉะนั้นเลือดที่จะไปเลี้ยงกล้ามเนื้อส่วนที่ออก ก�ำลังกายก็จะลดลง ท�ำให้กล้ามเนือ้ หย่อนสมรรถภาพ และเป็นตะคริวได้ง่าย 4. ช่ ว งอากาศร้ อ นและอบอ้ า วมาก เพราะ ร่างกายจะสูญเสียเหงื่อและน�้ำมากกว่าปกติ ท�ำให้ ร่างกายอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย หรือเป็นลมหมดสติได้ (ส�ำหรับผู้ที่ร่างกายไม่แข็งแกร่งจริงอย่างนักกีฬา) อาการที่บ่งบอกว่าควรหยุดออกก�ำลังกาย
ในบางกรณีที่ร่างกายอาจอ่อนแอลงไปชั่วคราว เช่น ภายหลังอาการท้องเสีย อดนอน การออกก�ำลังกาย ที่เคยท�ำอยู่ตามปกติอาจจะกลายเป็นหนักเกินไปได้ เพราะฉะนั้นถ้าหากมีอาการดังกล่าวต่อไปนี้ แม้เพียง อาการเดียวหรือหลายอาการ ควรจะหยุดออกก�ำลังกาย ทันที นั่นคือ 1. รู้สึกเหนื่อยผิดปกติ 2. มีอาการใจเต้นผิดปกติ 3. อาการหายใจขัดหรือหายใจไม่ทั่วถึง 4. อาการเวียนศีรษะ 5. อาการคลื่นไส้ 6. อาการหน้ามืด 7. ชีพจรเต้นเร็วกว่า 140 ครั้งต่อนาที (ในผู้สูง อายุ) หรือ 160 ครั้งต่อนาที (ส�ำหรับหนุ่มสาว) จ�ำไว้ว่าหากมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ต้องหยุดออกก�ำลังกายทันที และนั่งพักหรือนอนพัก จนหายเหนื่อย และไม่ควรออกก�ำลังต่อไปอีกจนกว่า จะได้ไปพบแพทย์ หรือจนกว่าร่างกายจะมีสภาพ แข็งแรงตามปกติ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560) │ 17
วิธปี ะยางด้วยตัวเองส�ำหรับมือใหม่
แ
นะน�ำกันได้เสมอ ส�ำหรับนักปั่นจักรยานมือใหม่ เกี่ยวกับการดูแลตัวเองกรณี เกิดยางรัว่ ระหว่างปัน่ จักรยาน สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ คือการ “เตรียมความพร้อม” นัน่ คือ ซื้อชุดอุปกรณ์ปะยางส�ำหรับพกติดตัวไปด้วย พร้อมทั้งสูบลมขนาดพอเหมาะ ไม่เล็กและไม่ใหญ่จนเกินไป ควรเลือกซื้อสูบลมที่สามารถใช้ได้กับหัวสูบทั้งแบบ เล็กและแบบใหญ่ เพื่อความคุ้มค่าในการใช้งาน และไม่ลืมซื้อ “ยางในส�ำรอง” รุ่น เดียวกับที่ใช้ในจักรยานของตัวเอง พกติดตัวไปด้วยจะท�ำให้อุ่นใจมากยิ่งขึ้น และต่อไปนีค้ อื ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการปะยาง ทีน่ กั ปัน่ จักรยานมือใหม่และมือ เก่าควรทราบ ควรเรียนรูเ้ พือ่ ทีจ่ ะสามารถดูแลตัวเองหรือเพือ่ นนักปัน่ ด้วยกันได้ ใน ขณะเดินทางด้วยจักรยาน
1
2 18 │ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560)
1. ตรวจสอบหารอยรั่วและดูขนาดของรูรั่ว หากว่าแผลที่รั่วนั้นมีขนาดใหญ่เกินไป จ�ำเป็นต้อง เปลี่ยนยางในเส้นใหม่ แต่หากว่ามีขนาดเล็ก สามารถ ท�ำการปะรูรั่วนั้นได้ไม่ยาก 2. จับจักรยานหงายขึ้น โดยวางบนพื้นด้วย แฮนด์และเบาะ ซึง่ จะค่อนข้างมัน่ คงส�ำหรับการเตรียม ถอดล้อได้ทั้งล้อหน้าหรือล้อหลัง 3. ปลดเบรคและถอดล้ อ ที่ ย างรั่ ว ออกมา ตรวจสอบจุดที่เกิดรอยรั่ว เช่นมองหาตะปู หรือของ แหลมคมทีท่ ำ� ให้เกิดยางรัว่ ซึง่ มักจะคาอยู่ ณ ต�ำแหน่ง ที่เกิดปัญหา
3
4
5
6
7
4. ปล่อยลมยางที่เหลืออยู่ ด้วยการใช้วัสดุ ขนาดเล็ก กดที่เดือยซึ่งอยู่ตรงกลางด้านในของจุด สูบลม 5. ใช้เครื่องมืองัดยาง ค่อยๆ งัดยางนอกออก เพื่อดึงยางในออกมา วิธีการคือใช้เครื่องมืองัดยาง งัดยางนอกจุดใดจุดหนึ่งก่อน และคาไว้ จากนั้นใช้ เครื่องมืออีกอันหนึ่งงัดยางส่วนที่เหลือ และค่อยๆ งัดยางนอกออก โดยเลื่อนต�ำแหน่งไปรอบๆ ขอบล้อ จนยางนอกหลุดออก และสามารถดึงยางในออกมา ได้สะดวก 6. การดึงยางในออกมา ต้องระมัดระวังขั้น ตอนในการปลดแกนวาวล์ส�ำหรับสูบลม ไม่ให้ไปบาด กับขอบล้อซึ่งเป็นอลูมิเนียมหรือโลหะ จนเกิดเป็น รอยรัว่ ไม่เช่นนัน้ จะต้องเปลีย่ นยางในเพียงสถานเดียว ส�ำหรับกรณีลอ้ หลังยิง่ ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ เพราะ ต้องปลดล้อออกจากโซ่และชุดเกียร์หลังอย่างระมัดระวังเช่นกัน 7. สูบลมเข้าไปในยางในให้มีปริมาณมากพอ ที่จะส�ำรวจดูเพื่อหาร่องรอยของจุดรั่ว 8. ส�ำรวจรอบๆ ยางในอย่างละเอียด ฟังเสียง ลมทีร่ วั่ ออกมา หรือหากว่ารอยรัว่ นัน้ มีขนาดทีเ่ ล็กมาก จนไม่อาจจะมองเห็นได้งา่ ยๆ สามารถน�ำยางในไปแช่ ลงในถังน�้ำ เพื่อสังเกตฟองอากาศซึ่งเกิดจากรอยรั่ว แล้วท�ำเครื่องหมายต�ำแหน่งที่รั่วเอาไว้
8 สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560) │ 19
9. ควรท�ำเครื่องหมายกากบาท ณ ต�ำแหน่ง รั่วให้ชัดเจนด้วยปากกาหรือชอล์ก หรือวัสดุส�ำหรับ เขียนแบบอื่นๆ ซึ่งสามารถหาได้ (การเตรียมอุปกรณ์ ให้พร้อมเอาไว้ จะเป็นวิธีที่ดีกว่า) หากระบุต�ำแหน่ง ที่พบไม่ชัดเจน อาจจะท�ำให้ต้องเสียเวลา มาค้นหา ต�ำแหน่งรั่วอีกครั้ง เนื่องจากต�ำแหน่งที่ระบุไว้..เลือน ลางหรือหายไป 10. ใ ช้ อุ ป กรณ์ ขั ด ผิ ว ยางในซึ่ ง มี ม าพร้ อ มกั บ ชุดปะยางที่จ�ำหน่ายในท้องตลาดทั่วไป บ้างอาจจะ เป็นแผ่นโลหะซึ่งมีหนามหรืออาจจะเป็นกระดาษ ทรายผิวหยาบ การขัดผิวยางใน ณ ต�ำแหน่งรอยรัว่ นัน้ จะช่วยให้ผิวยางมีคุณสมบัติเหมาะสมต่อการใช้กาว ยางยึดแน่นกับแผ่นปะยาง
9
10
11. ทากาวยางบนผิวยางใน ณ บริเวณทีม่ จี ดุ รัว่ ซึ่งได้ท�ำการขัดผิวแล้ว โดยทาเป็นวงกลมขนาดใหญ่ ใกล้เคียงหรือกว้างกว่าขนาดของแผนปะยางเล็กน้อย จากนั้นรอให้กาวยางแห้ง อาจจะใช้การเป่าลมเพื่อ ช่วยให้กาวแห้งเร็วขึ้น 11 12. ลอกแผ่นพลาสติกซึ่งปิดอยู่บนแผ่นปะยาง ออก ระวังอย่าให้นวิ้ มือสัมผัสกับส่วนทีพ่ ลาสติกปิดอยู่ เพื่อป้องกันไม่ใช้ไขมันบนนิ้วไปท�ำให้หน้าสัมผัสของ แผ่นปะยาง ต้องเสียคุณสมบัติในการยึดติด ซึ่งอาจ จะท�ำให้ประสิทธิภาพในการยึดเกาะกับผิวของยางใน ลดลงได้ หลังจากนั้นปิดแผ่นปะยางบนต�ำแหน่งที่ ทากาว พยายามให้จุดที่เป็นรูรั่วอยู่กึ่งกลาง แล้วใช้ นิ้วมือกดให้แน่น และปิดผนึกได้สนิททั่วแผ่นปะยาง ทั้งแผ่น 20 │ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560)
12
13
14
13. เมื่อกาวแห้งดีแล้ว ให้สูบลมทดสอบรอยรั่ว อีกครั้ง หากไม่รั่วแล้วให้ปล่อยลมออกจนพอเหลือ ลมอยู่ภายในเพียงเล็กน้อย แล้วท�ำการใส่ยางในกลับ เข้าไปในยางนอก เริ่มต้นจากสอดแกนสูบลมเขาไป ในขอบล้ออย่างระมัดระวัง อย่าให้ขอบล้อบาดแกน สูบจนเกิดรอยรั่วได้ 14. ใ ส่ ย างนอกกลั บ เข้ า ไปในขอบล้ อ โดย พยายามใช้ฝ่ามือและนิ้วกดขอบยางนอกให้เข้าไป อยู่ในขอบล้อโดยรอบของวงล้อ หากจ�ำเป็นต้องใช้ อุปกรณ์งัด ขอให้ระมัดระวังอย่างให้อุปกรณ์นั้นไป สร้างแผลหรือรอยรั่วกับยางในเด็ดขาด จากนั้นเติม ลมเข้าไปเล็กน้อย 15. ใส่ล้อกลับเข้าไปที่เฟรมหรือตะเกียบของ จักรยาน หากเป็นเบรคแบบวีเบรคหรือก้ามปู ให้ตดิ ตัง้ ต�ำแหน่งของเบรคกลับเข้าไปเหมือนเดิม กรณีลอ้ หลัง จะต้องวางต�ำแหน่งของโซ่ให้อยู่กับเฟืองชุดเกียร์ เสียก่อน แล้วจึงวางแกนล้อกลับเข้าไปในช่องของ ตะเกียบหลัง โดยอยู่ในต�ำแหน่งกึ่งกลาง จากนั้นจึง ล็อคแกนล้อให้แน่น
15 16. เ ติ ม ลมยางให้ เ หมาะสมกั บ ปริ ม าณและ แรงดันลม ตามที่ก�ำหนดเอาไว้บนยางที่ใช้ ซึ่งจะมี ระบุอยู่ที่ผิวของยางนอก อย่าเติมลมจนเกินขนาดที่ ก�ำหนด เพราะอาจจะเกิดอันตรายจากแรงดันของ ลมยางได้ จากนัน้ จับจักรยานคว�ำ่ ลงตามต�ำแหน่งเดิม เก็บอุปกรณ์และเครื่องมือให้เรียบร้อย และพร้อมปั่น จักรยานต่อไปได้ทันที 16
ข้อมูลและภาพประกอบจาก สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560) │ 21
เรื่องเล่าชาวสองล้อ
เรื่อง/ภาพ จารึก หลังสวน
ปั่นสองเดือนเที่ยวยูนนาน ตอนที่ 22 ปักหัวดิ่งลงลิ่วๆ จาก ลูกูฮู้ สู่..ลี่เจียง
22 │ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560)
มื้
อเช้าของสามวันในห้าวันที่เดินทาง ผมหาร้าน ข้าวร้านก๋วยเตี๋ยวไม่เจอเลย อาศัยกินขนมกรุบ กรอบของขบเคี้ยว ที่นักท่องเที่ยวขับรถผ่านจุดที่ผม กางเต็นท์นอนหยิบยื่นให้ตุนเป็นเสบียงตามที่เคยเล่า ให้ฟงั แล้ว ก็เป็นส่วนหนึง่ ของสิง่ ทีไ่ ด้จากนักท่องเทีย่ ว ร่วมเส้นทางที่ขับรถผ่าน หยิบยื่นให้กินทั้งยังมีเหลือ ตุนระหว่างเดินทาง บางเช้าแวะเวียนเข้าบ้านของ ชาวเขาที่เขาเผลอเปิดประตูอ้า ผมแค่ชะโงกยื่นหัว โผล่เข้าไปดู เจอเจ้าของบ้านก็ออกปากขอน�้ำร้อนมา ลวกบะหมี่ซองส�ำเร็จรูปกิน มีที่พิเศษเป็นมื้อเที่ยง มื้อหนึ่งที่แวะกินตอนผ่านหมู่บ้านชนบท คนขายเป็น สาวสวยวัยยังไม่น่าจะถึงสามสิบปี ผมกินเสร็จจะจ่าย เงินแต่เธอโบกมือไม่ยอมรับเงิน ปากเธอบอกท�ำนอง ว่าขอเลี้ยงคนแก่นักเดินทาง เลยนั่งพูดคุยบนเก้าอี้ ยาวถ่ายรูปสนุกกับเธอและลูกค้าของเธออีกกว่าชัว่ โมง ถือเป็นการเดินทางแบบสันทนาการ สนุกสนานส�ำราญ เบิกบานใจได้พดู คุยกับชาวบ้าน ตามเส้นทางทีป่ น่ั ผ่าน มีอีกมื้อเที่ยงมื้อใหญ่ที่ทั้งได้กินเต็มอิ่มและได้ พกเป็นเสบียงต่อยอดมือ้ ถัดไปแบบพกเอาไปเผือ่ แบบ เหลือเฟือ จนได้กินล้วนของดีๆ อีกสองมื้อ ก็ได้ร้าน อาหารที่เจ้าของเขาเมตตาคนเฒ่าปั่นจักรยานเที่ยว มือ้ นีข้ อผมเล่าให้ยาวละเอียดหน่อย วันนัน้ เป็น วันที่สี่ของวันสุกดิบหนึ่งวันที่จะเข้าถึงลี่เจียง ผมลง จากเส้นทางภูเขาช่วงก่อนจะข้ามอีกเทือกครัง้ สุดท้าย ลงมาสู่เมืองทันทีก็เห็นร้านอาหารใหญ่มากขนาดตึก
สองสามชัน้ สามสีค่ หู าอยูส่ ะดุดตา ทุกคูหาชัน้ ล่างเปิด หน้าร้านโล่งหมด พืน้ ทีข่ องส่วนเกือบเต็มหน้าร้านหนึง่ คูหา เขาจัดวางโชว์อาหารสารพัดหม้อและถาดที่ใส่ กับข้าวกับข้าวปรุงส�ำเร็จพร้อมตัก วางบนโต๊ะรูปตัว แอลลึกเข้าไปในร้านเกือบครึ่งห้อง มีกับข้าวให้เลือก เยอะจริงๆ แต่แปลกที่วางโต๊ะแค่โต๊ะกลมใหญ่มีเก้าอี้ ล้อมรอบเป็นชุดละสิบกว่าตัวได้แค่สามสีช่ ดุ ก็เต็มพืน้ ที่ ในร้านสามคูหา แต่เขาก็ยังมีพื้นที่โล่งหน้าร้านจัดวาง โต๊ะได้อีกสามสี่โต๊ะ ที่ผมว่าแปลกใจคือเขาไม่มีโต๊ะ เล็กๆ แบบนัง่ กันสีห่ รือหกคนเลย ล้วนเป็นโต๊ะกลมใหญ่ วางเก้าอีล้ อ้ มโต๊ะเป็นสิบตัวขึน้ ไป แปลกจริงๆ ทัง้ หมดนี้ สังเกตเห็นตอนไปยืนเก้กังจะสั่งอาหารกิน ไม่กล้าไป นั่งโต๊ะเขา เลยยืนรีรออยู่ ความจริงผมตัง้ ใจจะกินมือ้ นีใ้ ห้อลังการแบบจะ สัง่ กับข้าวมานัง่ กินในร้านซักห้าหกอย่างแบบเทกระเป๋า ให้หายหยาก ที่อดอยากกินของอร่อยมาสี่วันเต็มหลัง จากออกจากลูกฮู้ ู้ แต่เมือ่ ไปยืนหน้าหม้อหน้าถาดทีเ่ ขา ตักกับข้าวพร้อมบริการ มันเลือกไม่ถูกเยอะไปหมด เลยชีส้ ง่ เดช ซักพักทีก่ ำ� ลังมึนอยูไ่ ม่รจู้ ะไปนัง่ ทีโ่ ต๊ะไหน ด้วยโต๊ะมันใหญ่เกินกว่าที่จะไปนั่งคนเดียว เขาหิ้วถุง ใส่กล่องโฟมส่งให้ผม เปิดดูถงึ รูว้ า่ เขาตักแบบข้าวราด มาให้ใส่ในกล่องโฟม แบบหิ้วไปกินที่อื่น ไม่รเู้ พราะเขาเข้าใจผิด หรือเราสัง่ ผิด หรือลูกค้า แค่คนเดียวเขาจึงตักใส่กล่องโฟม ให้ไปกินทีอ่ นื่ ไม่รคู้ รับ ผมก็หิวทั้งขี้เกียจหิ้วไปหาที่กิน ก็ออกมาหน้าร้านดู สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560) │ 23
ท�ำเลซักพัก หน้าร้านของเขาต้องเทปูนท�ำเป็นขั้น กระไดสามขั้นจากระดับถนนขึ้นสู่หน้าร้านยาวตลอด สามคูหา ผมก็ตัดสินใจลงนั่งห้อยเท้าอยู่ปลายทางขึ้น ขั้นที่สองนั่นล่ะครับ นั่งลงเสร็จ ก�ำลังจะแกะถุงหิ้ว ล้วงกล่องโฟมมาพุ้ยกินด้วยตะเกียบ ก็มึนเมื่อมีหนุ่ม หน้าตาดีแต่งตัวดีมาโค้งค�ำนับ แล้วชี้ไปที่โต๊ะที่มีหญิง สาวสวยนัง่ พุย้ กินข้าวอยู่ หนุม่ เขาเชิญผมไปอาศัยร่วม นั่งกับโต๊ะเขาครับ ผมก็ลกุ ขึน้ เดินไปนัง่ ร่วมโต๊ะกับหนุม่ ทีเ่ ชิญและ สาวแฟนเขา วางกล่องโฟมลงบนโต๊ะ กะจะได้กนิ แบบ คนมีวัฒนธรรมหน่อย ดีกว่านั่งกินบนขั้นกระไดหน้า ร้านอักโขนัก ทั้งชื่นชมนึกในใจว่าพอใจที่หนุ่มจีนนี้ เขามีนำ�้ ใจ ไปเชิญให้มานัง่ ผมก็นงั่ กินตัง้ ใจจะกินสงบ ไม่รบกวนเขา แต่หนุ่มน้อยเขาเอามือมาแตะข้อศอกผมโดย สุภาพ พร้อมชี้นิ้ววนวงกลมรอบโต๊ะเขา เขามากิน กับหญิงสาวสวยวัยยี่สิบต้น ทั้งคู่น่าจะยังอยู่ในวัย นั ก ศึ ก ษา แต่ สั่ ง อาหารมาเต็ ม โต๊ ะ อาหารระดั บ ภัตตาคารครับที่ท�ำพร้อมกินที่วางบนโต๊ะแต่ละอย่าง นัน้ หนุม่ น้อยเขาเชือ้ เชิญให้ผมร่วมกินกับข้าวของเขา ด้วยนะครับ นอกจากเชิญร่วมโต๊ะแล้ว ผมเที่ยวในยูนนาน นานพอจนรู้ลักษณะนิสัย คนจีนที่มีฐานะ ว่าเรื่องกินนี่เป็นเรื่องใหญ่ การสั่ง 24 │ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560)
อาหารในร้านอาหารนี่ โดยเฉพาะกับมื้อเที่ยงและ มื้อเย็น จะสั่งมามากมายเต็มโต๊ะหลากหลายรายการ ชนิดกินยังไงก็กินไม่หมด ทุกโต๊ะทุกมื้อจะเป็นแบบนี้ โต๊ะหนุ่มสาวคู่นี้ก็เหมือนกัน อาหารกว่าเจ็ดแปด รายการ แต่ละรายการโดนคีบพร่องไปแค่เล็กน้อย ผมนั่งร่วมโต๊ะแค่แป้บเดียว หนุ่มน้อยและหญิงสาวก็ วางถ้วยข้าววางตะเกียบ ท�ำนองบอกว่าอิ่มทั้งคู่ ผม มองดูกับข้าวแต่ละอย่างพร่องไปจานละนิดหน่อย ทั้งคู่นั่งเป็นเพื่อนผมกินอิ่มจึงเรียกเก็บเงินแล้วขอตัว แยกจากผม ตามที่ เ ที่ ย วจนรู ้ ธ รรมเนี ย มเขาดี พ อควรอี ก นะแหล่ะ ผมรู้ว่าพอจ่ายตังค์เรียบร้อยแล้ว เจ้าของ ร้านอาหารก็จะโกยอาหารเหลือทิ้งลงถังหมด เก็บ จานเปล่าซ้อนกันได้ง่ายกว่า ผมต้องรีบลุกไปที่รถรื้อ กล่องเสบียงมาตักข้าวและเลือกกับข้าวที่ชอบ เอาไป ทัง้ หมดไม่มที ใี่ ส่ครับ นัง่ ซักพักเด็กลูกจ้างของร้านก็มา เก็บจานด้วยวิธีการอย่างที่เล่า เล่าแค่นี้ท่านอาจจะไม่เห็นจะมีสาระหรือสนุก ยังครับ..ยังไม่จบ ด้วยเป็นเวลาค่อนข้างบ่ายแล้ว ช่วง ผมนั่งลูกค้าเก่าก็เริ่มออกจากร้านไปเกือบหมดแล้ว ลูกค้าใหม่ก็ไม่ค่อยมี คงจะหมดช่วงเวลาการกินมื้อ กลางวันตามปรกติของผู้คนเมืองนี้ที่เป็นลูกค้ากัน ผม ก็เดินไปที่รถอีกครั้งไปหยิบสมุดบันทึก ตั้งใจจะเขียน
บันทึกกันลืม เดินกลับมานัง่ ทีเ่ ก้าอีต้ วั เดิม ผมเริม่ เขียน แค่แป้บเดียว เขียนบันทึกถ่ายทอดเหตุการณ์ทปี่ ระสบ วันนี้ลงหน้าว่างที่ยังเหลือท้ายเล่มสุดไม่กี่หน้า อาม่า.. ผมหมายถึงสตรีวัยอาวุโสก็เดินจากการนั่งพักดูแล ลูกค้าของแก เดินมาหาผม ผมก็นึกว่าอาม่าจะมา ไล่ผม เช่นทีเ่ คยโดนเรือ่ งกินเสร็จจ่ายเงินแล้วก็ตอ้ งลุก ให้เขาบริการที่แก่คนอื่น หาเป็นเช่นนั้นไม่ อาม่าเดินมาหาผมท�ำนองขอ ดูสมุดบันทึกของผม สมุดบันทึกของผมเล่มนี้เริ่มจาก หน้าแรก ผมเริ่มบันทึกจากที่เดินทางผ่านลาวหนึ่ง สัปดาห์ ผ่านเวียดนามหนึ่งเดือน และจีนเดือนกว่า แล้วนี่ เริ่มขลังด้วยรอยหมึกลายมือผมเขียนบันทึก เกือบเต็มเล่มหนาแล้ว อาม่าพลิกดูด้วยความสนใจสลับกับการมองดู หน้าผม สีหน้าท่านบอกอาการความเลื่อมใส ท�ำนอง อาแปะแก่คนนีอ้ เี ขียนหนังสือได้เป็นระเบียบสวยงาม
ด้วยหนังสือไทยตัวจิ๋วเรียงอัดเป็นแถวเต็มหน้าเกือบ เต็มเล่ม ท่านถือสมุดบันทึกของผมไปอวดหลายคน ในร้าน จนมีคนเดินตามอาม่ามาล้อมรอบผมต่างส่ง กริยาสีหน้ายกย่องเชิดชูผม ว่าผมเก่งคร้าบ ทีนคี้ นเก่งของอาม่า อาม่าจะปล่อยให้คดเสบียง เป็นเศษอาหารคนอืน่ เหลือกินก็ใช่ที่ อาม่าจัดการคว้า กล่องใส่เสบียงของผมเดินกลับเข้าไปในร้าน สักครูผ่ ม ก็ได้เสบียงเป็นของใหม่ อาม่าตักทุกอย่างจากหม้อ และถาดที่วางในร้าน คดลงกล่องส่งให้ผมครับ ท่าน ส่งกล่องเสบียงให้ผมพร้อมด้วยยิ้มแบบคนแก่ใจดี มีเมตตา ผมกอดท่าน ท่านกอดผม ก่อนผมลาท่าน และทุกคนทั้งลูกชายลูกสะใภ้และลูกจ้างสิบกว่าคน ต่างออกมายืนส่งผมที่หน้าร้านริมถนน ที่ผมตื้นตันใจ ผู้ใหญ่ส่งความใจดีเป็นตัวอย่างแก่เด็กน้อยผู้ชาย สองคน ผมเดาว่าเป็นหลานๆ ของอาม่า เด็กน้อยสองคน วิ่งไปหยิบขนมขบเคี้ยว คงเป็นของกินเล่นของแกเอง วิ่งตื๋อกลับมายื่นใส่มือผม ผมพกติดตัวไม่แกะกินจน กลับถึงเมืองไทย แค่หยิบล้วงมาดูระลึกถึงเรื่องนี้ อานิสงส์จากเรือ่ งทีเ่ จอความใจดีของอาม่านี้ แผ่ ไปถึงเพื่อนนักปั่นต่างชาติเป็นฝรั่งคนแปลกหน้าที่ผม ไม่รจู้ กั ไม่เคยเจอ ภายหลังผมกลับถึงบ้านหลังจากจบ ทริปปัน่ เทีย่ วยูนนาน เอาเรือ่ งนีไ้ ปเล่าด้วยปากเปล่าให้ เพื่อนฝูงฟัง เผอิญในกลุ่มเพื่อนที่ได้ฟังเรื่องอาม่าใจดี คดเสบียงให้ผมพกห่อกินกลางทาง เขาท�ำร้านอาหาร ใหญ่อยู่ริมถนนสายหลักชานเมืองกรุงเทพฯ มุ่งสู่ภาค ตะวันออก เป็นร้านอาหารประเภทมีรายการอาหารให้ ลูกค้าเลือกนับสีส่ บิ ห้าสิบรายการ เน้นหนักพวกส้มต�ำ ไก่ย่าง หลายวันต่อมาหลังจากนั้น เพื่อนคนนี้มาเล่า เรื่ อ งมี ฝ รั่ ง ปั ่ น จั ก รยานแต่ ง ตั ว มอซอปั ่ น จั ก รยาน ท่องเที่ยวแบบผมแวะไปกินอาหารร้านเขา เพื่อนผม บอกผมเขารีบไปต้อนรับขับสูเ้ จ้าฝรัง่ ผูโ้ ชคดีทกี่ ำ� ลังจะ ได้กินมื้อใหญ่ฟรีๆ เต็มอิ่ม เพื่อนผมสั่งสารพัดอาหาร จากเมนูทรี่ า้ นมีให้ฝรัง่ ปัน่ จักรยานมอซอได้กนิ เต็มโต๊ะ ด้วยนึกถึงความใจดีของอาม่าที่ดูแลผมตอนปั่นในจีน จากเหตุการณ์ที่เล่านี่ล่ะครับ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560) │ 25
Fitness Lifestyle 73 เรื่อง วชิรุฬ จันทรงาม
ท่องญี่ปุ่น ส่องวิถชี วี ต ิ กับจักรยาน
เ
ริ่มตั้งแต่ Fitness Lifestyle ตอนที่ 71 เราไปเที่ยว ญี่ปุ่นกัน ไปดูการใช้จักรยานในชีวิตประจ�ำวัน และ ไปเยี่ยมดูร้านขายจักรยาน ดูว่าเขามีการจัดร้านวิลิศ มาหราเพียงใด อย่างไร หรือไม่ เนื่ อ งจากมี ก ารโปรโมทการท่ อ งเที่ ย วไปยั ง Hokkaido อีกทั้งได้ทราบว่ามีกลุ่มอสังหาฯจากไทย ได้มีการไปซื้อสกีรีสอร์ต Kiroro จึงใช้โอกาสปลาย ฤดูหนาวราวต้นเดือนเมษายนไปเยี่ยมชมและพักที่ Kiroro Ski Resort สัก 4-5 วัน เมือ่ ตอนทีแ่ ล้ว Fitness Lifestyle 72 ได้แนะน�ำ Kiroro ski resort ไปพอควร และได้เล่าถึงเมือง Sapporo ซึ่งเป็นเมืองหลวงของเกาะฮอกไกโด เป็น อีกเมืองที่วางผังเมืองได้สวยงาม เป็นระเบียบ และ เข้าใจง่ายที่สุดในญี่ปุ่น ที่ Sapporo เดินเทีย่ วไม่มหี ลง อากาศเย็นสบาย ผู้คนไม่เร่งรีบ ไม่หนาแน่น เป็นเมืองที่ยังใช้จักรยาน ในชีวิตประจ�ำวันกันมากมาย เมืองนี้นิยมจักรยาน หลายแบบแม้กระทัง่ รถเสือหมอบ แต่สว่ นใหญ่จะเป็น จักรยานแม่บ้านที่เห็นได้ทั่วไป (ภาพ 1, 2) ซั ป โปโรมี ชื่ อ เสี ย งในเรื่ อ งอาหารและเบี ย ร์ เหมาะส� ำ หรั บ การเที่ ย วชมเกาะฮอกไกโดที่ ไ ด้ รั บ การออกแบบอย่างมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวโดยการขี่
26 │ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560)
1
2 จักรยานชมอย่างสบายๆ (ภาพ 3, 4) มาฮอกไกโดครัง้ นี้ ตัง้ ใจไว้วา่ จะต้องมาเยีย่ มชม Shiroi Koibito Park ซึง่ เป็นโรงงานผลิตช็อกโกแลต สารพัดรูปแบบ ห่อในกล่องสีสวยน่ารัก บริษัทนี้ชื่อ อิชยิ ะ (Ishiya) ผลิตช็อกโกแลตยีห่ อ้ “ชิโรย โคอิบโิ ตะ”
4
3
5
7
6 (Shiroi Koibito) ออกสู่ตลาดมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 (ภาพ 5) และเพือ่ เป็นการโฆษณาประชาสัมพันธ์ จึงมี การสร้างสวนส�ำหรับพักผ่อนหย่อนใจ และมีมมุ สวยๆ ให้ถ่ายรูปมากมาย ทั้งหอนาฬิกา หอคอยขนม เค้ก บ้านรังนก รถไฟเล็ก ฯลฯ
สวนนี้อยู่ภายในบริเวณโรงงาน (ภาพ 6) เรา สามารถซื้อขนมและเครื่องดื่มมานั่งทานได้ มีร้าน ขนาดใหญ่ให้เลือกซื้อผลิตภัณฑ์และช็อกโกแลตใน รูปแบบต่างๆ หรือจะซื้อเป็นของฝากใครๆก็ได้ตาม อัธยาศัย (ภาพ 7) สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560) │ 27
9
8
10
11
12
13
14 28 │ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560)
15
16
17
18
เราสามารถเข้าชมภายในโรงงานได้เป็นรอบๆ ซึ่งจะได้เห็นกระบวนการผลิตช็อกโกแลต ตั้งแต่ต้น จนบรรจุห่อออกมาเป็นสินค้าส่งออกขาย (ภาพ 8) มีพิพิธภัณฑ์ของเล่นของสะสมหุ่นจ�ำลองจาก ภาพยนตร์และการ์ตนู ต่างๆ มากมายชนิดทีด่ กู นั เพลิน ได้เป็นชั่วโมงๆ ทีเดียว ชัน้ บนสุดเปิดเป็นร้านขายขนม เค้กและไอศกรีม หลากหลายชนิด (ภาพ 9, 10) อร่อยมากๆ (ขอบอก) พอดูเสร็จเดินกลับลงมาชั้นล่าง ก็จะผ่านร้าน ขนมน่ารักๆ น่าชิมอีกหลากหลาย (ภาพ 11, 12) และ พอเจอค�ำอธิบาย sea angel เป็นภาษาไทย (ภาพ13) ก็เข้าใจได้เลยว่าทีน่ มี่ คี นไทยมาเยีย่ มชมไม่นอ้ ยทีเดียว มาฮอกไกโดไม่ควรจะพลาดมาเยีย่ มชม ชิมและ ช็อบปิ้งที่นี่นะครับ มาชม Shiroi Koibito Park โรงงาน ช็อกโกแลตและสวนสวยแห่งเมืองซัปโปโร เวลาเปิด-ปิด: 09.00-18.00 น. (โรงงานเปิดรับ ผู้เข้าชมถึง 17:00 น.) การเดินทาง: รถไฟใต้ดิน สาย Tozai สถานี Miyanosawa ทางออก 2 แล้วเลี้ยวซ้าย เข้าถนน Miyanosawa 1jo dori เดินต่ออีก 2 บล็อก (300 เมตร) แล้วเลี้ยวขวาตรงไป ประมาณ 160 เมตร โรงงานจะอยู่ฝั่งตรงข้าม พิกัด GPS: 43.08873, 141.27177 พอออกมาจากโรงงานก็เย็นมากแล้ว อีกทั้ง อากาศก็หนาวมากขึ้นเป็นใจให้แวะทดสอบเครื่องดื่ม พื้นเมือง (ภาพ 14) และอาหารจีนที่มีพริกพอท�ำให้ หายคิดถึงเมืองไทยได้พอควร (ภาพ 15) รุ่งขึ้นก็จะมุ่งหน้าลงใต้เข้าโตเกียวแล้ว ลองเช็ค ดูจาก GPS ก็ปรากฏว่า ถ้าเดินเท้าจะใช้เวลา 8 วัน 18 ช.ม. (ภาพ 16) ถ้านั่งรถไฟก็จะใช้เวลา 8 ช.ม. (ภาพ 17) เลยเลือกเอาบินกลับดีกว่า แต่ต้องขอ เอกเขนกนอนบนหิมะสัง่ ลาซะก่อนนะครับ (ภาพ 18) พบกันใหม่ตอนหน้า ส่องร้านจักรยานทีโ่ ตเกียว สวัสดีครับ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560) │ 29
เชิญทุกท่านทีส่ นใจจักรยาน รวมถึง ความสนใจในการดูแลสุขภาพ และ ออกก�ำลังกาย ด้วยการขี่จักรยาน มาสมั ค รเป็ น สมาชิ ก ของสมาคม จั ก รยานเพื่ อ สุ ข ภาพไทย เพื่ อ โอกาสในการรับข่าวสาร ตลอดจน สิทธิประโยชน์มากมาย.. หรือสมัคร ผ่านระบบออนไลน์..ดังนี้ J สมาชิกประเภทบุคคล 1. อัตราค่าสมาชิกแบบรายปี 200 บาท 2. อัตราค่าสมาชิกแบบตลอดชีพ 2,000 บาท * กรณีต่ออายุสมาชิก ใช้อัตราเดียวกับแบบรายปี
J การช�ำระค่าสมัครสมาชิก สามารถช�ำระได้สองวิธีคือ 1. สมัครแบบออนไลน์ ด้วยการกรอกแบบฟอร์มผ่านทางเว็บไซต์ ได้ที่ www.thaicycling.com และท�ำการโอนเงิน J สิทธิประโยชน์ที่สมาชิกได้รับ ไปยัง.. ธนาคารกสิกรไทย 1. ช�ำระค่าทริปในราคาสมาชิก สาขาเทสโก้ โลตัส พระรามที่ 3 2. ช�ำระค่าสินค้าสมาคมฯ ในราคาสมาชิก 3. แสดงบัตรเพื่อรับส่วนลดร้านค้าร่วมรายการ ชื่อบัญชี สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย บัญชีเลขที่ 860-2-14222-2 เช่น ร้านจักรยาน ร้านอาหาร ฯลฯ 4. มีสิทธิในการเข้ารับเลือกเป็นคณะผู้บริหาร 2. ช�ำระด้วยเงินสด ณ ที่ท�ำการสมาคมฯ กิจกรรมสมาคมฯ 5. มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งคณะบริหารกิจกรรม 2100/33 ซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 22 (สาธุประดิษฐ์ 15 แยก 14) ถนนนราธิวาสราชของสมาคมฯ นครินทร์ ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 02-678-5470 โทรสาร : 02-678-8589 เวลาท�ำการ 09:00 น. - 18:00 น. E-mail: membertcha@gmail.com
30 │ สารสองล้อ 308 (กุมภาพันธ์ 2560)
ÊÔ¹¤ŒÒÊÁÒ¤Á¨Ñ¡ÃÂÒ¹à¾×èÍÊØ¢ÀÒ¾ä·Â
เปนสินคาที่จำเปนสำหรับผูใชจักรยาน จัดจำหนายในราคามิตรภาพ ผลิตจากวัสดุคุณภาพดี สามารถเลือกซื้อไดที่ สมาคมจักรยาน เพื่อสุขภาพไทย 2100/33 ซอยนราธิวาสราชนครินทร 22 ถนนนราธิวาสราชนครินทร แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-678-5470 หรือสั่งซื้อทางไปรษณีย ดวยการโอนเงินเขาบัญชีของ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ประเภทบัญชีออมทรัพย ธนาคารกสิกรไทย สาขาโลตั ส พระราม 3 เลขที ่ 860-2-14222-2 แล ว กรุ ณ าแฟกซ ส ำเนาใบโอนไปที ่ โทรสาร 02-678-8589 หรื อ ส ง ทาง email: tchathaicycling@gmail.com
02
01
05 03
04
06 09
08
10
07 01 หมวกคลุมหนา 02 แถบเสื้อ 03 เสื้อจักรยาน 04 เสื้อจักรยาน 05 กางเกงขาสั้น SDL (สีฟาและสีเขียว) สะทอนแสง TCHA แขนสั้น TCHA แขนยาว รุนมาตรฐาน ใบละ 130 บาท ตัวละ 250 บาท ตัวละ 750 บาท ตัวละ 950 บาท ตัวละ 950 บาท 06 กางเกงขายาว 07 ถุงแขน 08 กางเกง 09 กางเกง 10 พวงกุญแจ SDL รุนมาตรฐาน สีดำ ขาสั้น รุนใหม ขายาว รุนใหม โปรดระวังจักรยาน ตัวละ 1,100 บาท คูละ 120 บาท ตัวละ 450 บาท ตัวละ 690 บาท ชิ้นละ 30 บาท
All In Multitool
ชุดเครื่องมือฝังกระโหลก!
ง
านประดิษฐ์อีกชิ้นที่น่าสนใจ ไม่นอ้ ย ส�ำหรับนักปัน่ จักรยาน เสือภูเขาผู้ชื่นชอบการปั่นลุยไปยัง เส้นทางต่างๆ แต่ไม่อยากพกพา อุปกรณ์ให้หนักตัว หรือเกะกะไป กับตัวจักรยานที่ต้องบุกลุยไป ไ ข ค ว ง ที่ มี รู ป ท ร ง แ ล ะ ขนาดของหัวไขควงอันเหมาะสม ครอบคลุมการใช้งานกับทุกจุดของ จักรยานคันเก่ง ได้ถกู น�ำมารวมอยู่ ในชุ ด เครื่ อ งมื อ ขนาดกระทั ด รั ด ด้วยการออกแบบให้สามารถเก็บ
เข้าไปในช่องของชุดเฟืองหน้าแบบ กระโหลกกลวงได้พอดิบพอดี โดยอาศั ย การยึ ด ติ ด แบบ มิ ด ชิ ด ด้ ว ยแม่ เ หล็ ก ที่ มี แ รงยึ ด แข็งแรงเพียงพอต่อการยึดแน่น ไม่หลุดกระเด็นออกมาง่ายๆ ยาม ที่ต้องปั่นจักรยานในทุกรูปแบบ ภายในมีหกช่องส�ำหรับเก็บ หัวไขควงหกรูปแบบหลากขนาด มีปลายด้านหนึง่ เป็นข้อต่อทีห่ กั งอ เปลี่ยนองศาได้ ส่วนปลายอีกด้าน ออกแบบให้พอดีกับการออกแรง
กด ช่วยให้งา่ ยต่อการใช้งานกับทุก จุดที่เกิดปัญหา ผลงานการออกแบบของ ครู มั ธ ยมนั ก ประดิ ษ ฐ์ ห นุ ่ ม ชาว อิ ต าเลี ย นนามว่ า Giacomo Macoratti ผู้รักและหลงใหลใน การปั่นจักรยานเสือภูเขาเป็นชีวิต จิตใจ สนนราคา 93.52 ดอลล่าร์สหรัฐ หรือประมาณ 3,280 บาท ที่มา www.allinmultitool.co.uk