สารสองล้อ กรกฎาคม 2554

Page 1

1


2


3


หยุดไม่ได้..หากหัวใจอยากปัน่

สำหรับผูท้ รี่ กั การออกกำลังกายด้วยจักรยาน

หรือนิยมการเดินทางด้วยจักรยาน มักจะมีความ างหนึ่งที่เหมือนกันคือ หากช่วงใดเวลาใด

บทบรรณาธิการ รูไม่้สไึกด้อย่ออกแรงปั ่นจักรยานแล้วละก็ จะรู้สึกเหมือน ขาดอะไรไปอย่างในชีวิตประจำวัน ผู้ที่ใช้จักรยาน เดิ น ทางสม่ ำ เสมอจะรู้ สึ ก ถึ ง ความสะดวกยามเมื่ อ ใช้ จั ก รยานในการเดิ น ทาง

โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมืองใหญ่ (เมืองที่เหล่านักปั่นจักรยานกลับรู้สึกว่าเป็นเมืองที ่ เล็กมาก) มองไปทางไหนจะพบแต่ปญ ั หาการจารจร ผิดกับผูใ้ ช้จกั รยานซึง่ สามารถ ปัน่ ไปได้ทกุ ทีท่ กุ เวลาและแทบจะทุกเส้นทาง ทำให้ถงึ ทีห่ มายได้ดงั ใจ ไม่เกิดอาการ หงุดหงิดไปกับการนัง่ จับเจ่าเผาผลาญพลังงานโลกอยูใ่ นพืน้ ทีแ่ คบๆ ของรถยนต์ การเดินทางด้วยจักรยานนัน้ นอกจากจะเกิดความสะดวกและประหยัดแล้ว

ยังจะได้เรือ่ งของสุขภาพทีด่ ตี ามติดมาด้วยเป็นของแถม จึงมักจะพบว่า..ผูท้ ไี่ ด้เริม่ ต้น

ใช้จกั รยานแล้ว มักจะชืน่ ชอบทีจ่ ะใช้ตอ่ เนือ่ งตลอดไป เว้นเสียแต่บางโอกาสทีจ่ ำเป็น

ต้องใช้ยานพาหนะอย่างอืน่ เช่นเดียวกับผูใ้ ช้จกั รยานทีใ่ ห้เกียรติกบั วารสาร “สารสองล้อ”

ในฉบับนี้ ผูซ้ ง่ึ มาพร้อมกับจักรยานยีห่ อ้ ดังนับแต่อดีต พร้อมกับเรือ่ งราวประสบการณ์ ของความรักในจักรยานมาถ่ายทอดให้อา่ นกัน อันเป็นการยืนยันถึงแนวคิดข้างต้น ของประโยชน์ทไี่ ด้รบั จากการปัน่ จักรยานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ เชือ่ อย่างทีส่ ดุ ว่า.. ความสนุกเมือ่ ครัง้ วัยเยาว์กบั การขีจ่ กั รยานอย่างสนุกสนาน

ยังคงซ่อนอยูใ่ นความทรงจำของทุกคน และเชือ่ อีกเช่นกันว่า บัดนีจ้ งั หวะเวลาอัน เหมาะสมทีจ่ ะปลุกความทรงจำในอดีตให้กลับมาสูก่ ารเริม่ ต้นปัน่ จักรยานกันอีกครัง้ ได้

มาถึงแล้ว หาโอกาสคว้าจักรยานของคุณออกมาปัน่ จักรยานด้วยกันสิครับ แล้วความ

รูส้ กึ แห่งการเอือ้ เฟือ้ เกือ้ กูลต่อเพือ่ นมนุษย์และโลกใบนีจ้ ะเกิดขึน้ จนสัมผัสได้อย่างเต็มอิม่ บรรณาธิการสารสองล้อ ขอเชิญส่งข้อเขียนบทความเกี่ยวกับจักรยาน เพื่อเป็นวิทยาทานแบ่งปันประสบการณ์แก่ สมาชิกผูใ้ ช้จกั รยาน ดังนี ้ • ประสบการณ์ประทับใจ • แนะนำเส้นทางน่าปัน่ จักรยาน • เกร็ดความรูน้ า่ สนใจเพือ่ นักปัน่ ส่งบทความขนาดตัวอักษร ๑๖ พอยต์ ไม่เกิน ๑ หน้า A4 พร้อมภาพประกอบ (ถ้ามี) ไปที่ email: tchathaicycling@gmail.com บทความทีไ่ ด้รบั การคัดเลือกลงวารสารสารสองล้อ จะได้รบั ของทีร่ ะลึกจากสมาคมฯ

สารสองล้อ ได้รบั การสนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

นักปัน่ บนปก..ประวัติ พิศทุ ธ์สนิ ธ์ สมาชิกสมาคมจักรยาน เพือ่ สุขภาพไทย / ภาพ ZangZaew SnapRider

สารสองล้ อ ฉบับที่ ๒๔๑ / กรกฎาคม ๒๕๕๔ ISSN ๑๕๑๓-๖๐๕๑

แวดวงสองล้อ......................................................... ๕ ปั่นไปปลูกไป ด้วยใจรักษ์สิ่งแวดล้อม...................... ๗ ปั่นสนุก..ครบทุกรสชาติ.......................................... ๘ ปั่นซำเหมาวงกลม... ............................................... ๙ ทริปปั่นไปกิน ณ ตลาดพระประแดง...................... ๑๐ ทริปพิชิตเส้นทางท่องบูรพาชลทิต....................... ๑๑ เตรียมตัวให้พร้อมกับ Car Free Day 2011... ๑๒ ปฏิทินทริป............................................................. ๑๓ ราเล่ย์ตำนานแห่งจักรยาน..................................... ๑๔ FirnessLifeStyle 5................................................. ๑๖ สรุปทริปรีไซเคิลที่อุทัยธานี................................... ๑๘ ปั่นจักรยานชมกรุง สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี...... ๒๐ ปั่นจักรยานชมกรุง ตามรอยสกุลบุญนาค....... ๒๒ สรุปทริปปั่นไปกิน..ย่านตลาดพลู......................... ๒๔ การขี่จักรยานแบบท่องไป ๑................................. ๒๖ ปั่นสนุกไปกับโทรศัพท์มือถือ!............................... ๒๘ สินค้าสมาคมฯ....................................................... ๓๐ ขอบคุณผู้บริจาค................................................. ๓๑

สนใจสมัครสมาชิกสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย เพื่อสิทธิพิเศษในการร่วมกิจกรรมและรับสารสองล้อฟรี สมาชิกรายปี ๒๐๐ บาท ( ต่ำกว่า ๑๕ ปี ๘๐ บาท) สมาชิกตลอดชีพ ๒,๐๐๐ บาท ติดต่อได้ทโ่ี ทร. ๐๒-๖๑๒-๔๗๔๗, ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๐ หรือสมัครออนไลน์ได้ท่ี http://www.thaicycling.com/member เจ้าของ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา มงคล วิจะระณะ บรรณาธิการ วรวุฒิ วรวิทยานนท์ กองบรรณาธิการ นัทติยา

วิริยวัฒน์, กัญญพัฒน์ บัณฑุกุล, นนลนีย์ อึ้งวิวัฒน์กุล ประสานงานและบัญชี วิภาดา กิรานุชิตพงษ์ สมาชิก สุทธิชัย สุศันสนีย์ พิมพ์ที่ บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จำกัด โทร. ๐๒-๒๑๔-๔๖๖๐, ๐๒-๒๑๔-๔๓๗๐ โทรสาร ๐๒-๖๑๒-๔๕๐๙ สำนักงาน สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย

๘๔๙/๕๓ จุฬาซอย ๖ ถนนบรรทัดทอง แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทร. ๐๒-๖๑๒-๔๗๔๗, ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๐ โทรสาร

๐๒-๖๑๒-๕๕๑๑ เวบไซต์ www.thaicycling.com Fan Page: facebook.com/TCHAthaicycling อีเมล์ tchathaicycling@gmail.com

4


5


แวดวงสองล้อ

สองขาปั่น รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม

เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๔ สมาคม จักรยานเพือ่ สุขภาพไทย ร่วมกับบริษทั ทีทซี ี น้ำดืม่ สยาม จำกัด และองค์กร สากลโลก 350.org ร่วมกันจัดกิจกรรม รณรงค์พิทักษ์สิ่งแวดล้อม จากกิจกรรมที่สามารถทำ

ได้ง่าย เริ่มจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวก่อนเป็นอันดับแรก เช่นการใช้จักรยานแทนการใช้รถยนต์ในการเดินทาง

ระยะใกล้ๆ ชาวจักรยานและกลุม่ ผูร้ กั สุขภาพ ร่วมกันปัน่

จักรยานรณรงค์ไปตามท้องถนน เริม่ ต้นจากลานคนเมือง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ปั่นจักรยานไปศิริราช พยาบาล เพือ่ ร่วมลงนามถวายพระพร จากนัน้ ปัน่ จักรยาน รณรงค์ให้ประชาชนออกมาใช้สิทธิเลือกตั้ง และสิ้นสุด ด้วยการปั่นจักรยานไปปลูกต้นไม้พันธ์หายาก ณ สวน วชิรเบญจทัศ (สวนรถไฟ) ซึ่งประกอบไปด้วยพันธ์ุต้นไม้ อนุ รั ก ษ์ อาทิ ต้ น กลี บ ทอง ต้ น เสลา ต้ น ตี น เป็ ด น้ ำ

ต้นจิก และต้นลำนวน

Bangkok Car Free Sunday

เชิญชวนผู้ใช้จักรยานเพื่อการเดินทาง ร่วมกันไป แสดงพลังของคนใช้จักรยาน ในกิจกรรม Bangkok Car Free Sunday ซึ่ ง ได้ รั บ การสนั บ สนุ น โดยกรุ ง เทพ

มหานคร ด้วยการจัดสรรเส้นทางสำหรับการปัน่ จักรยาน ในวั น อาทิ ต ย์ ที่ ๑๐ กรกฎาคม และ อาทิ ต ย์ ที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๔ เป็นการปิดถนน ๑ เลนให้ผใู้ ช้จกั รยาน ได้ ร่ ว มใช้ เ ส้ น ทางอย่ า งสะดวกปลอดภั ย ตั้ ง แต่ เวลา

๐๗.๐๐ น. ถึ ง ๑๔.๐๐ น. บนเส้ น ทาง สาทร ->

หลั ง สวน -> ชิ ด ลม -> ราชดำริ -> สี ล ม ->สาทร เป็นความพยายามในการผลักดันโดยกลุ่ม BKK BIKE

(www.facebook.com/bkkbike) หากโครงการได้รับ ความร่วมมือร่วมใจจากผู้ใช้จักรยาน จะมีการพิจารณา จัดกิจกรรมลักษณะนี้อย่างต่อเนื่อง ฉะนั้นเหล่านักปั่น จักรยานทัง้ หลาย เชิญไปร่วมแสดงพลังของผูใ้ ช้จกั รยาน กัน..อย่าได้พลาดด้วยประการทั้งปวง

เชิญร่วมโครงการ CAR FREE DAY 2011 กับนักปั่นนครปฐม

โครงการปีนี้จัดขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติเนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๗ รอบขององค์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ซึ่งถือเป็นปีมหามงคลของปวงชนชาวไทย ชมรมจักรยานเพื่อสุขภาพจังหวัดนครปฐมชวนร่วมกิจกรรม การเปิดเส้นทางท่องเที่ยวใหม่คือเส้นนครปฐม-คลองจินดา อำเภอสามพราน เส้นทางทิวทัศน์สวยงามลัดเลาะไปตาม ไร่ สวน ในหมูบ่ า้ น โดยได้รว่ มกับสวนสามพรานโรสการ์เด้นท์ เปิดบริการให้เข้าชมสถานทีท่ อ่ งเทียวฟรี พร้อมรับประทาน อาหารร่วมกันโดยได้จัดอาหารไว้เลี้ยงทั้งสองมื้อ เปิดรับจำนวน ๕๐๐ คน รายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อได้ที่ นายธวัชชัย เอกธุระประคัลภ์ ( mr.t ) ๐-๘๑๘๔-๓๑๕๕

6


ท่องเที่ยวสูตรใหม่ ปัน่ ไปปลูกไป ด้วยใจรักษ์สง่ิ แวดล้อม กว่ า ๒๐๐ ชี วิ ต ของคาราวานเหล่ า นั ก ปั่ น จั ก รยานที่ พ ร้ อ มใจไปร่ ว มกิ จ กรรม

พิเศษ ซึ่งการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยสำนักงานนครนายกจัดขึ้น ภายใต้นโยบายที่ว่า “เที่ยวหัวใจใหม่ เมืองไทยยั่งยืน” อันเป็นแผนการรณรงค์ให้เกิดการท่องเที่ยวอย่างรู้ค่า และเป็นการสร้างความเข้าใจถึงความสำคัญของการรักษาแหล่งท่องเที่ยวให้คงอยู่ต่อไป อย่างยั่งยืน กิจกรรมครั้งนี้เริ่มต้นด้วยการนำคณะนักปั่นจักรยานท่องเที่ยวเดินทางไปกับขบวน รถไฟสายตะวันออกหัวลำโพงถึงปราจีนบุรี เพื่อเริ่มพิธีเปิดโครงการที่นั่น โดยมีนาย

บูรณศักดิ์ ฤกษ์สำรวจ ผูอ้ ำนวยการสำนักงานท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทยสำนักงานนครนายก เป็นผู้กล่าวรายงาน และนายศิลาชัย สุหร่าย ผู้อำนวยการภูมิภาคตะวันออกเป็นผู้กล่าว เปิดงาน ก่อนที่จะมีกิจกรรมตีธงเปิดงานปล่อยขบวนคาราวานจักรยาน โดยนายศิลาชัย สุหร่ายและนายชาญวิทย์ จารุสมบัติ รองกรรมการผู้จัดการบริษัท ดั๊บเบิ้ลเอ (๑๙๙๑) จำกัด (มหาชน) คาราวานจักรยานทุกเพศวัยต่างเคลื่อนขบวนไปตามเส้นทาง มุ่งสู่แหล่งท่องเที่ยว ต่างๆ ในจังหวัดปราจีนบุรี เช่น แหล่งเรียนรูแ้ พทย์แผนไทยและสมุนไพร ณ ตึกเจ้าพระยา อภัยภูเบศร ตื่นตาตื่นใจกับตะเกียงโบราณนับหมื่นที่ถูกสะสมไว้อย่างดี ณ พิพิธภัณฑ์

อยู่สุขสวรรณ์ ก่อนจะปั่นจักรยานไปสู่แนวกันชนอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ “แก่งหินเพิง” และแยกย้ายกันไปพักท่ามกลางธรรมชาติที่ผึ้งหลวงแค้มป์กราวด์และวังตะพาบรีสอร์ท กิจกรรมสำคัญในวันที่สองคือการปั่นจักรยานสู่อุทยานแห่งชาติทับลาน พื้นที่ผืน ป่ามรดกโลกเขาใหญ่-ดงพญาเย็น ป่าลานผืนสุดท้ายของไทย ที่สมบูรณ์ทั้งพืชพรรณและ พันธุ์สัตว์ แต่ทว่า.. เมื่อลานต้นแม่ออกดอกแล้วจะทิ้งตัวตายไป โดยทิ้งเมล็ดลานไว้ใต้ต้น ทำให้กลายเป็นข้อจำกัดในการขยายต้นลานเป็นวงกว้าง เสี่ยงต่อการสูญพันธ์ุอย่างมาก จึงก่อเกิดกิจกรรมชวนนักปั่นทั้งหลาย มาช่วยกันส่งเมล็ดลานให้กระจายเป็นวงกว้าง

ด้วยการเล็งและยิงเมล็ดลานให้กระจายไปทั่วผืนป่า เช่นเดียวกับกิจกรรมที่นักท่องเที่ยว รูปแบบอื่นได้มาร่วมกัน ผู้ที่สนใจกิจกรรมลักษณะนี้ สามารถติดต่อได้ที่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานนครนายก โทร. ๐-๓๗๓๑-๒๒๘๒, ๐-๓๗๓๑-๒๒๘๔ ตั้งแต่เวลา ๐๘.๓๐-

๑๖.๓๐ น. หรือที่ www.tat8.com

7


รหัสทริป ๔๙๐ • อาทิตย์ที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ • เวลา ๐๗.๐๐ - ๑๗.๐๐ น.

ทริปวันเดียว

ปั่นสนุก..ครบทุกรสชาติ.. สู้แค่หมด..หนองจอก

อีกทริปทีส่ มาคมจักรยานเพือ่

สุขภาพไทยจะพาทุกท่านท่องเทีย่ ว ฝั่งตะวันออกของกรุงเทพฯ สัมผัส

เส้นทางหลากหลาย หลีกหนีความ วุน่ วายในเมืองกรุง มุง่ สูช่ ายทุง่ ซึง่ นับวันจะหาได้ยาก สัมผัส ธรรมชาติ ท้องนา ฝูงนกที่สวยงาม แวะเข้าชมศูนย์บริหาร กิจการศาสนาอิสลามแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติ ถนนคลองเก้า

แขวงหนองจอก กรุงเทพฯ ซึ่งเป็นของสำนักงานกรรมการ กลางอิสลามแห่งประเทศไทย พักเหนื่อยกับรับประทาน อาหารอิสลามอร่อยราคาแสนถูก ซึ่งเป็นที่ประทับใจของ ชาวจักรยาน “ร้านสู้แค่หมด”

จุดนัดพบที่ ๑ ที่ทำการสมาคมฯ จุฬา ซอย ๖

๗.๐๐ น. ล้อหมุนออกจากหน้าสมาคมฯ ไปวัดเสมียนนารี เพื่อรวมกับจุดที่ ๒ นำโดยคุณหล่อและคุณป้อม สุมาวงศ์

(กรุณารับประทานอาหารเช้ามาให้เรียบร้อยก่อน) จุดนัดพบที่ ๒ สวนวชิรเบญจทัศ (สวนรถไฟ) นำโดย

อาลิขิต (กรุณารับประทานอาหารเช้ามาให้เรียบร้อยก่อน) ๘.๐๐ น. ล้อหมุนจากสวนรถไฟไปรวมกับกลุม่ ทีม่ าจากหน้า

สมาคมฯ ที่หน้าวัดเสมียนนารี อาลิขิตรวมพลรอรับไม้สอง ปั่นไปตามถนนโลคัลโรด ดอนเมือง ขึ้นสะพานต่างระดับ เข้าฐานทัพอากาศ ออกถนนพหลโยธิน ปั่นเลียบเลาะริม คลองชมธรรมชาติ ตลอดเส้นทาง

8

๑๑.๐๐ น. ถึงศูนย์บริหารกิจการศาสนาอิสลามแห่งชาติ เข้าเยี่ยมชมภายในศูนย์ฯ เสร็จแล้วปั่นต่อไปอีกประมาณ ๑.๕ กิโลเมตรถึงร้าน “สู้แค่หมด” ขวัญใจชาวจักรยาน

รับประทานอาหารกลางวันเสร็จ นัง่ พักผ่อนหรือจะนอนก็ได้

เจ้าของร้านใจดี ๑๓.๓๐ น. รวมพลล้อหมุนกลับสวนรถไฟ และที่ทำการ สมาคมฯ ๑๖.๐๐ น. ถึงสวนรถไฟ แวะพักดืม่ น้ำเย็นๆ คลายร้อนในสวน ๑๗.๐๐ น. ถึงที่ทำการสมาคมฯ แยกย้ายกลับบ้าน... และ พกความสุข ความสนุก สุขภาพที่แข็งแรงกลับไปด้วย

รายละเอียดทริป

- ระยะทางไปกลับเริม่ ต้นจุดที่ ๑ ประมาณ ๑๓๐ กิโลเมตร

เริ่มต้นจุดที่ ๒ ประมาณ ๑๐๐ กิโลเมตร อาจมากหรือ น้อยกว่าได้ เป็นการสะสมระยะทาง - มือใหม่มาได้ ขีส่ บายๆ พักเป็นระยะๆ เพิม่ ประสบการณ์

การขี่เกิน ๑๐๐ กิโลเมตร - ไม่ต้องสมัคร มาตามเวลานัดได้เลย ตามจุดนัดพบทั้ง สองแห่งแล้วแต่สะดวกที่ใด ขอให้กรุณาตรงเวลา - ไม่เสียค่าใช้จ่าย (คกคจ.) นำทริป.... โดย อาลิขิต/คุณหล่อ คุณป้อมสุมาวงค์ ดูแลโดยคณะกรรมการ ผึ้งงาน

หมายเหตุ รายการข้างต้นอาจเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม


รหัสทริป ๔๙๑ • ศุกร์ที่ ๑๕ - จันทร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔

ทริปหลายวัน

ซำเหมาวงกลม... กรุงเทพฯ—นครนายก—

เขาใหญ่—น้ำตกสามหลั่น สระบุรี—กรุงเทพฯ

วั

นหยุดยาวววววทั้งที... มาปั่นจักรยานกันให้ชุ่มปอดดี กว่า...กับทริปซำเหมาที่ทุกท่านโหยหา..เตรียมแพค ของใส่เป้รวบรวมเพือ่ นสนิทคูใ่ จ ตรวจเช็คจักรยานคันโปรด ให้เรียบร้อย ครั้งนี้สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย จะนำทุกท่าน

ปัน่ ออกจากบ้านเป็นวงกลม..กรุงเทพฯ..นครนายก..เขาใหญ่..

น้ำตกสามหลั่นสระบุรี..กรุงเทพฯ ระยะทางกำลังสบายๆ ไม่หนักหรือน้อยเกินไป ถ้าพร้อมเตรียม..ลุยยยยย

ศุกร์ที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๔

๖.๐๐ น. พบกันที่สมาคมฯ ปั่นไปจุดนัดพบที่ ๒ สวนรถไฟ ๗.๐๐ น. ถึงสวนรถไฟ แวะทานอาหารเช้าตามอัธยาศัย (คกคจ.) ๘.๐๐ น. ล้อหมุน มุง่ สูโ่ รงเรียนนายร้อย จปร. จังหวัดนครนายก

สนุกกับการซ้อมยิงปืน ปีนเขา เล่นน้ำ สัมผัสธรรมชาติทบ่ี ริสทุ ธิ์ • การรับประทานอาหารระหว่างเส้นทาง คกคจ. • จุดพักกางเต้นท์ ณ โรงเรียนนายร้อย จปร. • ระยะทางวันนี้ประมาณ ๑๐๐ กิโลเมตร

เสาร์ที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๔

๗.๐๐ น. ปัน่ ออกไปหาอาหารอร่อยๆ ทานกันก่อน (คกคจ.) ๘.๐๐ น. ล้อหมุนไปตามเส้นทางนครนายก-ปราจีนบุร-ี มุง่ สู ่ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เรียนรูก้ ารปัน่ ขึน้ เขาอย่างสนุกสนาน • การรับประทานอาหารระหว่างเส้นทาง คกคจ. • จุดพักกางเต้นท์อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ • ระยะทางวันนี้ประมาณ ๙๐ กิโลเมตร

อาทิตย์ที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๔

๘.๐๐ น. ล้อหมุน เมือ่ มีขนึ้ ..ก็ยอ่ มมีลง..อำลาเขาใหญ่ ปัน่ เข้า

มวกเหล็ก สระบุรี วัดพุทธฉาย • การรับประทานอาหารระหว่างเส้นทาง คกคจ. • จุดพักกางเต้นท์ น้ำตกสามหลัน่ เล่นน้ำให้ชนื่ ใจ เย็นฉ่ำ • ระยะทางวันนี้ประมาณ ๑๓๐ กิโลเมตร

จันทร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔

๘.๐๐ น. เก็บข้าวของสัมภาระเตรียมปั่นกลับบ้าน สระบุรี-กรุงเทพฯ • การรับประทานอาหารระหว่างเส้นทาง คกคจ. • ระยะทางวันนี้ประมาณ ๑๑๐ กิโลเมตร ถึงสวนรถไฟแยกย้ายกันกลับบ้านแบบ..Happy...Happy...

รายละเอียดทริป

- สำหรับท่านที่ไม่เคยเดินทางไกล การตัดสินใจครั้งนี้ รับรอง

ไม่ทำให้เสียใจ แต่หากพลาดโอกาสไปมีแต่จะเสียดาย..ครัง้ หนึง่ ของชีวติ ... เราทำได้.. - ค่าใช้จา่ ยคนละ ๕๐๐ บาท เป็นค่ากางเต็นท์ทพี่ กั ค่าประกัน อุบัติเหตุ และค่ารถบริการบรรทุกเต็นท์และสัมภาระติดตาม อาหารทุกมือ้ ตามอัธยาศัย (คกคจ.) - ระยะทางรวมประมาณ ๔๓๐ กิโลเมตร หรือประมาณกิโลเมตร

ละ ๑ บาท! - ควรตรวจเช็คสภาพรถจักรยานให้พร้อมปั่น เบรก ยาง ล้อ

ไฟหน้า ไฟท้าย อืน่ ๆ - เตรียมสัมภาระเท่าทีจ่ ำเป็นจริงๆ - อย่าลืมเต็นท์ ถุงนอน ฟลายชีท หมวกกันกระแทก หมวกผ้า ครีมกันแดด รองเท้าแตะ ยางในอะไหล่ ชุดปะยาง ของใช้จำเป็น ของแต่ละคน สัมภาระทุกอย่างควรเก็บแบบกันฝนได้ - ใครจะแยกกลับก่อนช่วงไหน กรุณาแจ้งผูน้ ำทริปทราบด้วย - ควรปัน่ เป็นกลุม่ หรืออยูใ่ นขบวน เพือ่ ความเรียบร้อยปลอดภัย และไปพร้อมกัน ไม่ควรปัน่ ลำพังเพียงคนเดียวเพราะนอกจาก จะไม่สนุกแล้วยังอันตรายอีกด้วย - นำทริปโดย น้าหมี อาลิขติ คุณหล่อ ทีมคณะกรรมการ และ เหล่าผึง้ งาน สมัครได้ทสี่ มาคมฯ ๐๒-๖๑๒-๔๗๔๗, ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๐ แจ้งชือ่

นามสกุล อายุ เบอร์โทรศัพท์ให้ชดั เจนถูกต้อง แล้วโอนเงินเข้าบัญชี

ในนาม สมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย เลขที่ ๐๖๓-๒๕๒๒๗๖-๑ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาบรรทัดทอง กรุณาแฟ็กซ์ หรือเมล์ หลักฐานไปที่ ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๑ หรือ email ไปที่ tchathaicycling@gmail.com *รายการข้างต้นอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

9


รหัสทริป ๔๙๒ • วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๔ • เวลา ๐๙.๐๐ น.

ทริปวันเดียว

ทริปปั่นไปกินชิมอาหารอร่อย ครั้งที่ ๗

ณ ตลาดพระประแดง

ดังที่ได้เกริ่นให้มิตรรักแฟนเพลงทราบกันในทริปปั่น ไปกินฯ ย่านราชวัตร เมื่อเดือนที่ผ่านมาแล้วว่า ทริปในเดือน กรกฎาคมนี้ พวกเราจะนำท่านไปชมหิ่งห้อยที่นับวันจะหาชม ได้ยากแล้ว เนื่องจากการตัดต้นไม้ที่มีอยู่ทั่วกรุงเทพฯ และ การรุกคืบของสิ่งก่อสร้างเพื่อเป็นที่อยู่อาศัย โดยเฉพาะต้น ลำพูอันเป็นที่อยู่อาศัยและเป็นแหล่งอาหารของตัวหิ่งห้อย

ปัจจุบนั นีแ้ ทบจะนับต้นลำพูทเี่ หลือรอดจากการถูกตัดทำลายได้

ทำให้ระบบนิเวศน์เปลี่ยนแปลงไป ครัง้ นีข้ อนำท่านมาเปลีย่ นบรรยากาศกัน นอกจากได้ปนั่

ออกกำลังกายยามค่ำแล้ว ยังขอเสนอแหล่งที่ยังมีหิ่งห้อยให้ ชมกันอยู่ ซึง่ คุณโปสัน ประธานชมรมจักรยานบ้านบางกระสอ

ผู้อาศัยอยู่ในชุมชนได้กล่าวไว้ว่า “ที่นี่นับว่าเป็นแหล่งเดียวใน ย่านกลางกรุง ที่ยังมีหิ่งห้อยให้ได้ชมอย่างหนาตา และชุกชุม กว่าที่อัมพวาเสียอีก หิ่งห้อยร้อยระย้าเหมือนใครแอบเอาแสง ไฟไปติดไว้ตามต้นไม้ น่าดูน่าชมมากทีเดียว” จึงมั่นใจได้ว่า

ไม่ทำให้แฟนๆ ต้องผิดหวังอย่างแน่นอน จากนั้นเราจะปั่นไป ทานอาหารกันที่ย่านตลาดพระประแดง การชมหิง่ ห้อยครัง้ นี้ ถือว่าเป็นกรณีพเิ ศษมากๆ เพราะ

โดยปกติแล้วจะไม่อนุญาตให้ผู้คนเป็นจำนวนมากเข้าไปชม เนือ่ งจากจะเป็นการรบกวนความสงบและธรรมชาติของชุมชน ดังนั้นเมื่อเดินทางถึงจุดที่จอดจักรยานย่านพระประแดงแล้ว ต้องเดินเท้าอีกประมาณ ๒๐๐ เมตร เพื่อเข้าไปยังแหล่งที่มี หิง่ ห้อยอยู่ จึงขอความกรุณาท่านทีม่ าร่วมทริปทุกๆท่านรักษา ความสงบ ไม่ส่งเสียงพูดคุย เอะอะ เสียงดังทำความรำคาญ แก่ย่านชุมชนที่เราต้องเดินผ่าน

หน้าโรงแรมริเวอร์ไซด์>>สี่แยกถนนตก>>ขึ้นสะพานกรุงเทพ

>>ลงสะพานเลี้ยวซ้าย>>เข้าถนนราษฎร์บูรณะสายใน>> สวนสุขภาพคลองลัดโพธิ์>>เข้าซอยเพชรหึงซึ่งอยู่ตรงข้าม ตลาดบางน้ำผึ้ง พระประแดง ถึงจุดจอดรถจักรยาน มีน้องๆ ทีมงานเฝ้าจักรยานให้ ต้องเดินเท้าอีกประมาณ ๒๐๐ เมตร ไปยังจุดที่ชมหิ่งห้อย ขากลั บ หลั ง จากทุ ก ท่ า นชื่ น ชมกั บ ความงามของ

แสงไฟจากตัวหิ่งห้อยและธรรมชาติแล้ว จะนำท่านไปแวะ ทานอาหารย่านตลาดพระประแดง หลังจากนั้นนำปั่นกลับ เส้นทางเดิม ระยะทางทริปนี้ประมาณ ๕๐ กิโลเมตร นำทีมดูแลความสุข พร้อมความปลอดภัยให้กับทุกท่าน โดย ทีมงาน TCHA (สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย) ทีมงานอารมณ์ดี กลุ่ม COFFEE BIKE ทีมงาน กลุ่ม CHARM SQ การเตรียมตัว ๑. ต้องตรวจเช็คสภาพรถให้พร้อมใช้งาน ๒. ไฟส่องสว่าง ไฟหลัง และอุปกรณ์สะท้อนแสง ๓. หมวกกันกระแทก เพื่อความปลอดภัย ๔. จักรยานฟิกซ์เกียร์ ขอแนะนำให้ตดิ เบรคอย่างน้อยหนึง่ ข้าง ทริปนี้ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ แต่อย่าลืมนำเงินมาเพื่อทาน ของอร่อย และซื้อของฝากกลับไปให้คนที่บ้าน ทริปปั่นไปกิน ชิมของอร่อยนี้ จัดขึ้นทุกวันศุกร์กลางของ เดือน แต่อาจมีการเปลีย่ นแปลงได้ สามารถตรวจสอบกิจกรรม ได้ที่สมาคมฯ โทร. ๐๒-๖๑๒-๔๗๔๗, ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๐

คืนวันศุกร์ที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ๑๙.๐๐ น. นัดรวมพล หน้าสมาคมฯ ถนนบรรทัดทอง จุฬา ซอย ๖ ข้างสนามกีฬาแห่งชาติ ๑๙.๓๐ น. ล้ อ หมุ น ออกจากสมาคมฯ ไปยั ง เส้ น ทางถนน บรรทัดทอง>>ถนนพระราม ๔>>แยกถนนมหานคร>>เข้า ถนนสาธร>>ถนนเจริญราษฎร์>>เลี้ยวขวา ถนนพระราม ๓

ทริป ปั่นไปกินชิมอาหารอร่อย นี้จัดขึ้นทุกวันศุกร์กลางเดือนดังนี้ คืนวันศุกร์ที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๔ คืนวันศุกร์ที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๔ คืนวันศุกร์ที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๔ คืนวันศุกร์ทื่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ คืนวันศุกร์ที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๔ หมายเหตุ ตารางที่กำหนดขึ้นล่วงหน้าอาจมีการเปลี่ยนแปลง โปรดติดตาม รายละเอียดได้ทุกๆ เดือน สามารถตรวจสอบรายละเอียดปฏิทินทริปได้ที่นี่ http://bit.ly/TCHAtrips

กำหนดการ

10


รหัสทริป ๔๙๓ • วันที่ ๑๒ - ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๔

ทริปหลายวัน

ทริปพิชิตเส้นทาง

ท่องบูรพาชลทิต

ชิญชวนสมาชิกนักปั่นจักรยานผู้รักการท่องเที่ยวสัมผัส ธรรมชาติ ในกิจกรรมวิถีไทยต้านภัยโลกร้อน ทริปพิชิต

เส้นทางท่องบูรพาชลทิต ร่วมกับการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย

ภาคกลาง ระยอง จันทบุรี ตราด

กำหนดการ

๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๔ ๐๖.๐๐ น. พบกัน ณ ทีท่ ำการสมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย

พร้อมนำจักรยานขึ้นรถบรรทุกจักรยาน สามารถนำมาฝากไว้ ล่วงหน้าได้ที่ทำการสมาคมฯ กรุณาเขียนชื่อและระบุทริปติด ไว้กับตัวรถจักรยานด้วย ๐๗.๐๐ น. ออกเดินทางด้วยรถบัสปรับอากาศมุ่งสู่เทศบาล ตำบลปากน้ำประแส อำเภอแกลง จังหวัดระยอง แวะรับประทานอาหารเช้าระหว่างทาง (คกคจ.) ๑๐.๐๐ น. ถึงเทศบาลตำบลปากน้ำประแส พิธีปล่อยตัวโดย

การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทยภาคกลาง สำนักจังหวัดระยอง-

จันทบุรี-ตราด ปั่นจักรยานท่องเที่ยวชมศิลปวัฒนธรรม และ

วิถชี วี ติ ชาวปากน้ำประแส ชมทุง่ โปรงทอง อนุสรณ์เรือรบหลวง

ประแส วัดตะเคียนงาม ศาลกรมหลวงชุมพร ชมย่านชุมชน เก่าแก่เทศบาลปากน้ำประแส ๑๒.๐๐ น. ร่วมรับประทานอาหารกลางวันแบบพื้นบ้านใน เขตเทศบาลตำบลปากน้ำประแส ๑๓.๐๐ น. ปั่นท่องเที่ยวตามเส้นทางท่องเที่ยวเฉลิมบูรพา-

ชลทิต ถนนเลียบทะเลตะวันออกที่สวยที่สุดในประเทศไทย ระหว่างทางแวะเที่ยวชมแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เช่น ชายหาด

แหลมเสด็จ ศึกษาระบบนิเวศน์ ณ ศูนย์การศึกษาอ่าวคุง้ กระเบน

ในโครงการพระราชดำริ และเที่ยวชมพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำนานา ชนิด ร่วมกิจกรรมปล่อยสัตว์น้ำกลับสู่ท้องทะเล แวะพักแรม ที่หาดเจ้าหลาว จันทบุรี ระยะทางวันนี้ประมาณ ๕๐ กิโลเมตร วันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ สูตรมาตราฐาน ๖-๗-๘ ตื่น ๖.๐๐ น. ทานอาหาร ๗.๐๐ น. ล้อหมุน ๘.๐๐ น. ๐๘.๐๐ น. ล้อหมุน เดินทางลัดเลาะเลียบทะเลชายฝั่งจังหวัด จันทบุรไี ปตามเส้นทางท่องเทีย่ วเฉลิมบูรพาทิต เป็นถนนเลียบ ทะเลระหว่างเส้นทางชื่นชมทัศนียภาพที่สวยงามและแหล่ง ท่องเที่ยวในเขตอำเภอแหลมสิงห์ เช่น ชายหาดแหลมสิงห์ ตึกแดง คุกขี้ไก่ พิพิธภัณฑ์พาณิชย์นาวี ชมประวัติศาสตร์

ทางเรือ รับประทานอาหารกลางวันระหว่างทาง จากนัน้ มุง่ หน้า

สู่อำเภอท่าใหม่ ก่อนกลับสู่ที่พักหาดเจ้าหลาวจังหวัดจันทบุร ี ระยะทางวันนี้ประมาณ ๖๐ กิโลเมตร วันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๔ สูตรมาตราฐาน ๖-๗-๘ ตื่น ๖.๐๐ น. ทานอาหาร ๗.๐๐ น. ล้อหมุน ๘.๐๐ น. ปั่นจักรยานท่องเที่ยวสูดอากาศสดชื่นรับโอโซนให้เต็ม ปอด... สำหรับเส้นทางวันนี้กำลังมีการสำรวจ เพื่อรายงาน เส้นทางอันน่าสนใจให้ทราบ รายละเอียดต่างๆ รวมทั้งค่าใช้จ่ายสามารถสอบถาม ได้ที่ทำการสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย โทร. ๐๒-๖๑๒๔๗๔๗, ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๐, เวบไซต์ www.thaicycling.com หรือ Facebook.com/TCHAthaicycling ขอรั บ ประกั น ความสุ ข ความสนุ ก และราคาที่ น่ า -

ประทับใจ ดูแลสนับสนุนโดย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักจังหวัดระยอง จันทบุรี นำทริปโดย น้าหมี อาลิขิต

คุ​ุณหล่อ เจ้าเก่า สนใจร่วมทริป จองที่นั่งด่วน! แจ้งชื่อ-นามสกุล อายุ

เบอร์โทร พร้อมขนาดเสือ้ ด้วย กำหนดรับประมาณ ๕๐ ท่าน หรือ

หากแจ้งชือ่ ไว้มากเกินอาจเพิม่ ได้รวมแล้วไม่เกิน ๘๐ ท่าน

11


เตรียมตัวให้พร้อมกับ

ข่าวประชาสัมพันธ์

Car Free Day 2011

าทิตย์ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๔ เป็นนัดหมาย สำคัญของผู้ใช้จักรยานทุกท่านสำหรับกิจกรรม สำคัญแห่งปี “คาร์ฟรีเดย์” ซึ่งจะเป็นวันที่แสดงพลัง ของการร่วมรณรงค์ให้เกิดการตื่นตัวเพื่อลดพลังงาน

และหันไปใช้การเดินทางในรูปแบบอืน่ นอกเหนือจาก

การใช้รถยนต์ส่วนตัว เช่นการใช้รถจักรยาน หรือ การใช้ระบบขนส่งมวลชน เป็นต้น กิจกรรม “คาร์ฟรีเดย์” นั้นเริ่มต้นครั้งแรกใน ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๓๗ โดยมีประชาชนจำนวน ๘๔๘ เมืองจาก ๒๕ ประเทศ ทั่วโลก รวมมือร่วมใจกันทำให้เกิดกิจกรรมรณรงค์นี้ ขึ้นโดยพร้อมเพรียงกัน ในประเทศไทยเริ่มมีการรณรงค์ “คาร์ฟรีเดย์”

ครั้งแรกเมื่อปี ๒๕๔๓ จากโครงการ “๒๒ กันยา

จอดรถไว้บา้ น ช่วยกันประหยัดน้ำมัน” (Car Free Day)

โดยมีนายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น

ร่วมรณรงค์ดว้ ยการขีร่ ถจักรยานจากบ้านพิษณุโลกไป

ยังทำเนียบรัฐบาล หลังจากนัน้ จึงได้มกี ารจัดกิจกรรม

เช่นนี้ต่อเนื่องเกือบทุกปี รั้งล่าสุดเมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๓ มีกลุ่ม ผู้ใช้จักรยานมากกว่า ๔,๔๐๐ คน รวมตัวกัน

ตามจุดต่างๆ ทัว่ กรุงเทพฯ และปริมณฑลถึง ๑๙ แห่ง

เพือ่ จัดขบวนปัน่ จักรยานรณรงค์รอบทิศมุง่ สูล่ านคนเมือง

ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร และมีสมาชิกกว่า ๕๐๐ คนร่วมตั้งแถวเป็นรูปธงชาติไทย โดยมีสมาคม จักรยานเพื่อสุขภาพไทยเป็นผู้นำขบวน รวมทั้งส่วน ต่างจังหวัด ๗๖ จังหวัด จัดให้มีการรณรงค์พร้อมกัน

ค 12

ทั่วประเทศ นับเป็นความสำเร็จอันยิง่ ใหญ่ของชาวจักรยาน

ที่ได้ร่วมกันกับฝ่ายราชการและเอกชน ตลอดจน ประชาชนผู้ใช้จักรยาน แสดงถึงพลังและเจตนารมณ์ อันแน่วแน่ในการผลักดันให้เกิดสำนึกต่อสิ่งแวดล้อม อย่างสร้างสรรค์ ละวันอาทิตย์ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๔ ซึ่งกำลัง จะมาถึงนี้ เป็นกำหนดนัดหมายอีกวันหนึ่งของ กิจกรรม “คาร์ฟรีเดย์” ของปีนี้ ที่นักปั่นจักรยานจะ ได้แสดงความสามัคคีอย่างพร้อมเพรียง เพื่อให้เห็น ความสำคัญของการร่วมกันลดใช้พลังงาน เพราะ นอกจากจะช่วยประเทศชาติประหยัดเงินแล้ว ยังมี ข้อดีอีกมากมายทั้งลดปัญหามลพิษ ลดภาวะโลก ร้อน ลดปัญหาการจราจรและอุบัติเหตุ ตรียมตัวเตรียมจักรยานให้พร้อม คอยติดตามราย

ละเอียดของกิจกรรมสำหรับ “คาร์ฟรีเดย์ 2011”

ในวันอาทิตย์ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๔ ได้ในวารสาร “สารสองล้อ” ฉบับเดือนสิงหาคม ๒๕๕๔ นี้ หรือ ติดตามได้ที่ www.thaicycling.com และ www. facebook.com/TCHAthaicycling ส่วนต่างจังหวัด ทั่วประเทศโปรดแจ้งความประสงค์รับการสนับสนุน ร่วมรณรงค์ ที่สมาคมฯ หรือ tchathaicycling@ gmail.com หน่วยงานใดทีส่ นใจจะร่วมเป็นหนึง่ ในผูส้ นับสนุน

กิจกรรมสำคัญแห่งปีเช่นนี้ สามารถติดต่อได้ท่ี สมาคม จักรยานเพื่อสุขภาพไทย โทร. ๐๒-๖๑๒-๔๗๔๗, ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๐ โทรสาร ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๑

แ เ


ข่าวประชาสัมพันธ์

ปฏิทินทริป

เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๕๔ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ทริปหนองจอก ๑๕ - ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ซำเหมาวงกลม..กทม.-นครนายกสระบุร-ี กทม. คืนวันศุกร์ที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ปัน่ ไปกินชิมอาหารอร่อย (๗) ๑๒ - ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๔ สองล้อท่องระยองกับ ททท. ระยอง ๑๘ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๔ สองล้อท่องสิงคโปร์ คืนวันศุกร์ที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๔ ปัน่ ไปกินชิมอาหารอร่อย (๘) อาทิตย์ที่ ๔ กันยายน ๒๕๕๔ นำร่อง คาร์ฟรีเดย์ อาทิตย์ที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๔ นำร่อง คาร์ฟรีเดย์ คืนวันศุกร์ที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๔ ปัน่ ไปกิน ชิมอาหารเจส่งท้าย (๙) อาทิตย์ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๔ คาร์ฟรีเดย์ Car Free Day 2011 อาทิตย์ที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๔ สำรวจเส้นทางจักรยาน วงแหวนรอบใน ๘ - ๙ ตุลาคม ๒๕๕๔ ผักไห่ อยุธยา คืนวันศุกร์ที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๔ ปัน่ ไปกิน ชิมอาหารอร่อย (๑๐) ๒๒ - ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๔ กฐินสามัคคี กรุงเทพฯ-ชาติตระการ พิษณุโลก ๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ทริปพระประแดง คืนวันศุกร์ที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ปัน่ ไปกินชิมอาหารอร่อย (๑๑) ๑๙ - ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ รีไซเคิลจังหวัดน่าน ๑๐ - ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๔ ฉะเชิงเทรา อ่างฤ ๅไน คืนวันศุกร์ที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๔ ปัน่ ไปกินชิมอาหารอร่อย (๑๒) ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๔ ตลาดดอนหวาย คืนวันเสาร์ที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๔ ปัน่ ชมไฟวันคริสต์มาส

Sunday 10 July 2011 Visit Nong Chok Friday 15 – Monday 18 July 2011 Long Distance Trip Bangkok Nakhon Nayok - Saraburi - Bangkok. Friday 22 July 2011 After Work Trip to Taste Delicious Food #7 Friday 12 – Sunday 14 August 2011 Trip Rayong with The Tourism Authority of Thailand (TAT) Thursday 18 – Sunday 21 August 2011 Trip Singapore Friday 26 August 2011 After Work Trip to Taste Delicious Food #8 Sunday 4 September 2011 Pre Car Free Day Event Sunday 11 September 2011 Pre Car Free Day Event Friday 16 September 2011 After Work Trip to Taste Delicious Food #9 Sunday 18 September 2011 Bangkok Car Free Day 2011 Sunday 25 September 2011 Surveying Imagine Bicycle Lanes on Middle Ring Roads Saturday 8 – Sunday 9 October 2011 Pug Hai, Ayutthaya Friday 14 October 2011 After Work Trip to Taste Delicious Food #10 Saturday 22 – Wednesday 26 October 2011 Katin Trip to Chattrakarn, Phitsanulok (Katin is annual festival to present new robes to monks after the end of Buddhist Lent) Sunday 6 November 2011 Trip Phra Pradaeng Town Friday 18 November 2011 After Work Trip to Taste Delicious Food #11 Saturday 19 – Sunday 20 November 2011 Repair Bicycle at Nan Saturday 10 – Monday 12 December 2011 Ang Ru Nai, Chachoengsao Friday 16 December 2011 After Work Trip to Taste Delicious Food #12 Sunday 18 December 2011 Trip Don wai Floating market Saturday 24 December 2011 Christmas Light Decoration

หมายเหตุ : รายการต่างๆ อาจจะเปลี่ยนแปลงได้ สอบถามรายละเอียดหรือสมัครร่วมทริปได้ที่ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย โทร. ๐๒-๖๑๒-๔๗๔๗, ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๐ โทรสาร ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๑ email: tchathaicycling@gmail.com หรือติดตามรายละเอียดได้ที่ www.thaicycling.com หรือ Facebook.com/TCHAthaicycling Remarks: Trips can be changed as appropriate, English information, call Bob Tel. 081-555-2901, email: bobusher@ksc.th.com

13


เรื่อง/ภาพ ZangZaew

เรื่องจากปก

ราเล่ย์

ตำนานแห่งจักรยาน นับแต่อดีต..เท่าที่จำความ ได้ จักรยานยอดนิยมและ ถูกพบเห็นสัญจรไปมามาก

มายนั้ น ส่ ว นใหญ่ มี ต รา-

สั ญ ลั ก ษณ์ รู ป หั ว นกระสา

พร้อมคำว่า Raleigh ปรากฏ อยู่เสมอ มันคือจักรยานระดับตำนานที่กลายเป็น ของรักปักตรึงใจผู้ใช้พาหนะสองล้อมาจนถึงปัจจุบัน เช่นเดียวกับ อาสมบัติ หรือคุณประวัติ พิศุทธ์สินธ์ ผู้เป็นหนึ่งในนักปั่นหัวใจราเล่ย์ที่กรุณามาเป็นแขก พิเศษในฉบับนี ้ าสมบัตริ กั และสนใจจักรยานยีห่ อ้ ราเล่ยม์ าตัง้ แต่ สมัยเด็ก นับตั้งแต่เมื่อครั้งอาศัยอยู่ที่จังหวัด ตรัง ได้พบเห็นจักรยานยี่ห้อนี้เต็มไปหมด ตอนนั้น เคยมีโอกาสได้ขจ่ี กั รยานของน้า เป็นจักรยานสำหรับ

ผูห้ ญิงเรียกกันว่าราเล่ยส์ ปอร์ต แต่ไม่มปี ญ ั ญาซือ้ เอง

เพราะสมัยนัน้ ราคาคันละพันกว่าบาท ตอนนัน้ ทองคำ

ราคาบาทละสีร่ อ้ ย จักรยานคันหนึง่ ราคาพอๆ กับทอง

ถึ ง สี่ บ าทเลยที เ ดี ย ว (ลองเปรี ย บกั บ ราคาทองคำ

ปัจจุบนั เท่ากับว่า..ราคาจักรยานราเล่ยแ์ ม่บา้ นยุคนัน้

เทียบเท่ากับจักรยานแข่งเฟรมคาร์บอนเลยทีเดียว..อูวว์) “เสน่ห์ของจักรยานราเล่ย์คือ ขณะที่ปั่นจะ มีเสียงเพราะมาก มันดัง ติ๊ก ติ๊ก เสียงใสเชียวละ” อาสมบัติเล่าไปพร้อมๆ กับสีหน้าของคนมีความสุข เมื่อได้ระลึกถึงสิ่งที่ชื่นชอบ แม้ในวัยเด็กจะรู้สึกชอบ แต่ยังไม่เคยมีโอกาสเป็นเจ้าของ จนเวลาผ่านไป.. หลานๆ ซึ่งชอบจักรยานเช่นกันโดยเฉพาะเสือ-

14

ภูเขา มักจะไปเลือกหาจักรยานถูกใจกันทีย่ า่ นเซียงกง

บางนา และไปพบกับจักรยานคันนี้เข้า เขาจึงได้ซื้อ มาเก็บเอาไว้ที่บ้าน ส่วนตัวผมเองตอนนั้นขี่จักรยาน เสือภูเขายี่ห้อเมอริด้า ปั่นออกกำลังกายไปเรื่อยๆ แถวสวนรถไฟ จนวันหนึ่งแวะไปเยี่ยมหลานจึงได้พบ กับราเล่ย์คันนี้ รู้สึกถูกชะตาขึ้นมาทันที ไปทีไรเป็น ต้องเข้าไปชื่นชมตลอด จนทำให้หลานถึงกับเอ่ยปาก ถามว่า “อา..ชอบหรือ?” ผมก็บอกว่าชอบสิ เป็น อย่างนี้อยู่หลายครั้ง ในที่สุด.. วันหนึ่งเขาก็ปั่นจักรยานราเล่ย์คันนี้ หละไปหาผมถึงที่บ้าน พร้อมคำถามที่ว่า “อาอยาก ได้ไหม...คันเนีย้ ?” ไม่นา่ ถาม.. ผมย่อมไม่ปฏิเสธอย่าง แน่นอน เขาบอกว่าขายให้เท่ากับราคาที่ซื้อมาคือ สามพันบาท ผมจึงเพิ่มให้อีกห้าร้อยเป็นค่าที่เขาปั่น จักรยานคันนี้มาส่งให้ถึงบ้าน รเล่ยค์ นั นีไ้ ม่ใช่รนุ่ เก่าแล้วเพราะเป็นลักษณะไฮบริด คือเป็นกึ่งๆ เสือภูเขากับจักรยานถนน เพราะมี ตะเกียบหน้ามาพร้อมกับโช้ค เฟรมเป็นอลูมิเนียม วงล้ อ ขนาด ๗๐๐ แบบเดี ย วกั บ รถจั ก รยานถนน คาดว่าน่าจะอยู่ในราวๆ สามสิบกว่าปีมานี้เอง แต่ สภาพยังสวยนิ้งอย่างมาก เมื่ อ ได้ ม าแล้ ว จึ ง ต้ อ งแต่ ง ตั ว เสี ย หน่ อ ย คื อ เปลี่ ย นชุ ด ขั บ เคลื่ อ นซึ่ ง ทรุ ด โทรมมากจากเดิ ม ๗ เกียร์เป็น ๙ เกียร์ และทำให้ต้องเปลี่ยนมือเกียร์ไป ด้วยทั้งชุด ทั้งๆ ที่เสียดายของเก่า แต่สิ่งที่เปลี่ยน ใหม่ในราคาแพงกว่าตัวรถเสียอีกก็คือเบาะนั่งยี่ห้อ บรู้คส์ราคาสี่พันบาท ใช้จักรยานคันนี้มาได้หกปีแล้ว


เป็นจักรยานที่ขี่ดีมาก น้ำหนักเบา ขนาดอายุ ๖๘ ปี แล้ว.. ยังปั่นทำความเร็วขึ้นได้เกือบสี่สิบเชียวนะ

ในทางราบ “ปั จ จุ บั น นี้ ไ ปไหนมาไหนใช้ จั ก รยานตลอด นอกจากนั้นเป็นการขี่ออกกำลังกาย ขี่ไปเที่ยวกับ เพื่อนๆ และไปกับสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย เป็นสมาชิกสมาคมฯ มาได้ประมาณ ๗ ปีแล้ว เดิมที มีงานพิเศษอยู่ในสปอร์ตคลับของสนามม้า แต่เขามี แข่งม้าวันอาทิตย์ และสมาคมฯ มักจะจัดทริปกันใน วันอาทิตย์เสียด้วย สุดท้ายตัดสินใจลาออก เพราะ อยากขีจ่ กั รยานตลอดเสียแล้ว ตอนนีเ้ กษียณแล้วด้วย ครับ ผมไม่มีปัญหาเรื่องสุขภาพ มีแต่เรื่องสายตา

ไม่มโี รคประจำตัว ผมว่าการขีจ่ กั รยานมันมีสว่ นทีช่ ว่ ย

ได้มากเลยนะ หวัดก็ไม่เป็น...

วามฝันในตอนนี้ ไม่ ไ ด้ ม องอะไร ไกลไปกว่าคิดว่า อยาก จะเป็นสมาชิกสมาคม จั ก รยานที่ มี อ ายุ ม าก ที่สุดให้ได้ในอนาคต... ถ้ า อยู่ ถึ ง นะ...ฮา..

(หัวเราะชอบใจ)” อาสมบัตบิ อกเล่าเรือ่ งราวของตัวเองกับจักรยาน

คู่ใจราเล่ย์อย่างมีความสุข ก่อนจะทิ้งท้ายสรรพคุณ

ทีไ่ ด้จากการปัน่ จักรยาน นัน่ คือสุขภาพทีด่ ี มีความสุข

โดยเฉพาะอย่างยิง่ การได้ปนั่ เคียงคูไ่ ปกับจักรยานราเล่ย ์ คันโปรด จนทำให้ภาพของชายวัย ๖๘ ที่เห็นนี้...

หนุ่มกว่าความเป็นจริงของอายุมากมายทีเดียว

ราเล่ย์หนึ่งในจักรยานที่เก่าแก่ที่สุด

จักรยานอมตะสุดคลาสิคยี่ห้อราเลย์นี้ มีประวัติของการก่อกำเนิดตั้งแต่ปีค.ศ. ๑๘๘๗ จากปัญหาสุขภาพ ของชายอายุ ๓๘ ปีนามว่า เซอร์ แฟรงค์ บาวเดน (SIR FRANK BOWDEN) ที่แพทย์แนะนำว่าให้หาทางออก กำลังกายด้วยการปั่นจักรยาน จนเกิดความประทับใจ ตัดสินใจเดินทางไปยังถนนราเล่ย์ในเมืองนอตติ้งแฮมเพื่อ พบกับผู้ผลิตจักรยาน และขอซื้อกิจการจาก วู้ดเฮด, แองโกอิส และ เอลิส ซึ่งพวกเขาสามารถผลิตจักรยานได้ เพียงสัปดาห์ละสามคันเพื่อจำหน่าย สามปีหลังจากนั้นบาวเดนได้ก่อตั้งโรงงานผลิตจักรยานขึ้นพร้อมกับตั้งชื่อว่า ราเล่ย์ ไซเคิลส์ (Raleigh Cycles) เพื่อเป็นเกียรติแก่สถานที่ซึ่งให้กำเนิดจักรยานของเขาขึ้นมา จากนั้นโรงงาน จักรยานเรเล่ย์ได้เติบโตขึ้นอย่างมาก สามารถส่งจักรยานไปจำหน่ายทั่วโลก จนกระทั่งซบเซาลงเมื่อธุรกิจการผลิตจักรยานยนต์ ได้เติบโตขึ้นมาแทนที ่ สำหรับในประเทศไทยนั้น จักรยานราเล่ย์นับว่าเป็นพาหนะสองล้อที่เติบโตคู่กับคนไทยมายาวนานเกือบร้อยปี ผู้ที่นำ จักรยานยี่ห้อนี้เข้ามาจำหน่ายคือเจ้าของร้านจักรยาน “เซ่งงวนฮง” ซึ่งส่วนใหญ่ที่ขายดีจะเป็นจักรยานผู้หญิง เพราะว่าขนาด ของจักรยานเป็นมาตรฐานยุโรปจึงมีขนาดที่ใหญ่ รถสำหรับผู้หญิงจึงมีขนาดที่เหมาะกับชาวไทยเรามากกว่า ขายดีจนมีตัวแทน จำหน่ายทั่วประเทศ และแม้ว่าความนิยมของจักรยานจะซบเซาลงไปในระยะหลังของกิจการ แต่ปัจจุบันจักรยานกลับมาได้รับ ความนิยมมากขึ้น ตำนานของเซ่งงวนฮงจึงถูกปลุกขึ้นมาอีกครั้งอย่างน่าสนใจ โดยเปิดเป็นบริษัทนำเข้าจักรยานระดับพรีเมี่ยมอยู่ บนถนนเยาวราช

15


เรื่อง วชิรุฬ จันทรงาม

มุมสุขภาพ

Fitness Lifestyle 5

นตอนที่ ๔ เราได้คุยกันถึงเรื่องกีฬา ๖ ชนิดที่เผา ผลาญแคลอรี่ได้สูงสุด รวมถึงการเลือกใช้เสื้อผ้าที่ดี เหมาะกับการออกกำลังกาย คราวนี้เราจะมาคุยกันถึง เรื่องการปกป้องดวงตาของเราจากอันตรายต่างๆ เมื่อ เราใช้สายตากลางแจ้งกลางแดด ดวงตาของเราจะต้อง ได้รับการดูแล ทะนุถนอมให้อยู่รอดปลอดภัยตลอดไป เพราะนี่เป็นสิ่งสำคัญมากที่หลายคนมักมองข้าม ดวงตาเป็นอวัยวะที่สำคัญมาก เพราะทำหน้าที่ ในการมองเห็น การป้องกันและดูแลสุขภาพดวงตา เป็นสิง่ ทีค่ นทัว่ ไปมักมองข้าม ซึง่ อาจทำให้สญ ู เสียสายตา ถาวรจากการที่ไม่ได้รับการป้องกันรักษาตั้งแต่แรก วงตามีหน้าที่คล้ายกับกล้องถ่ายรูป โดยให้แสง ผ่านกระจกตาเข้าสู่รูม่านตา ซึ่งจะปรับเปลี่ยน ขนาดตามปริมาณแสงทีเ่ ข้ามาในลูกตา และจะถูกโฟกัส ที่บริเวณจอประสาทตา แล้วจึงส่งสัญญาณไปสู่สมอง เพื่อแปลผลเป็นภาพ เนื่ อ งจากนั ก ปั่ น จั ก รยานและผู้ ที่ อ อกกำลั ง

กลางแจ้ง จะใช้เวลาอยู่ท่ามกลางสายลมและแสงแดด เป็นเวลานานๆ เราจึงควรมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ โรคและอุบัติเหตุ เพื่อป้องกันและถนอมดวงตาของเรา ซึ่งจะแยกเป็น ๒ ส่วนคือ ส่วนแรกเกี่ยวกับโรคตาที่อาจเกิดขึ้นได้จากการ ที่เราใช้เวลาอยู่ท่ามกลางสายลมและแสงแดดนานๆ และส่วนที่สองเกี่ยวกับอุบัติเหตุ ๑. การใช้เวลาอยูท่ า่ มกลางสายลมและแสงแดด

เป็นเวลานานๆ เราจะได้รบั แสงยูวอี ย่างต่อเนือ่ ง นอกจาก จะส่งผลให้เกิดโรคตาเช่น ต้อเนือ้ ต้อลม ต้อกระจกแล้ว

ยังเสีย่ งต่อการเกิดโรคจอประสาทตาเสือ่ ม ซึง่ อาจทำให้ เกิดโรคตาเรื้อรัง และเกิดมะเร็งที่ผิวรอบดวงตาได้ เช่น

16

เดียวกับการเกิดมะเร็งผิวหนังทั่วไป เราป้องกันผิวหนังจากรังสียูวีด้วยครีมผสมสาร ป้องกันยูวี สำหรับดวงตาเราก็ต้องใส่ใจถึงอันตราย ของรังสียูวีที่มีต่อดวงตาด้วย รังสียูวีจากธรรมชาติและ ที่สังเคราะห์ขึ้นนั้น สามารถทำลายเนื้อเยื่อดวงตาได้ และสามารถแผดเผาผิวของดวงตาได้ เช่นเดียวกับอาการ ผิวไหม้ ารป้องกันเบื้องต้นที่สามารถทำได้ ด้วยการใส่ หมวกที่มีปีกกว้างกันแดด และใส่แว่นตากันแดด ที่เลนส์มีคุณสมบัติดูดซับหรือสะท้อนรังสียูวีได้ ยูวคี อื รังสีชนิดหนึง่ จากดวงอาทิตย์ทมี่ ชี ว่ งความถี่

ระหว่าง ๒๔๐ - ๔๐๐ นาโนเมตร มีพลังงานสูง สามารถ กระตุ้นให้ดีเอ็นเอเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพ ส่งผลให้ ผิวเปลี่ยนเป็นสีแทน เร่งอายุผิว และก่อให้เกิดเซลล์ มะเร็งได้ รังสียูวีแบ่งออกเป็น ๓ ชนิด คือ ยูวีเอ UVA

(ความถี่ระหว่าง ๓๑๕ - ๔๐๐ นาโนเมตร) ยูวีบี UVB (ความถี่ระหว่าง ๒๘๐ - ๓๑๕ นาโนเมตร) และ ยูวีซี UVC (ความถี่ระหว่าง ๑๘๐ - ๒๘๐ นาโนเมตร) UVC จะถู ก ชั้ น บรรยากาศของโลกสกั ด กั้ น

เอาไว้ เหลือเพียง UVA และ UVB ที่ทะลุผ่านมายัง

ผิวโลก นอกจากนี้รังสียูวีสามารถถูกสังเคราะห์ขึ้น และถูกปล่อยจากอุปกรณ์ต่างๆ ได้ด้วย เช่น หลอด ฟลู อ อเรสเซนต์ หลอดแบล๊ ค ไลท์ และหน้ า จอ คอมพิวเตอร์ รั ง สี ยู วี จ ะมี ค วามเข้ ม ข้ น มากในระหว่ า งเวลา ประมาณ ๑๐ โมงเช้าถึงบ่าย ๓ โมง ซึง่ สามารถสะท้อน บนพื้นผิวต่างๆ ได้ดีเช่น พื้นทราย ฉะนั้นปริมาณความ เข้มของรังสียูวีจึงมีค่อนข้างมาก ควรระมัดระวังเป็น


พิเศษบริเวณชายหาด ชายทะเล และ บริเวณกลางแจ้ง รังสียูวีจะกระตุ้นให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงต่อเซลล์เนื้อเยื่อของ สิ่งมีชีวิต และเกิดความผิดปกติของ ดวงตาได้มากมาย เลนส์ตาที่ดูดซับ ยู วี เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ ยู วี ไ ปทำ อันตรายต่อจอได้ เมื่อมีการสะสม ของรังสียูวีมากขึ้น เลนส์ก็จะขุ่นมัว และทำให้เกิดต้อกระจก ส่วนเยื่อบุตาและกระจกตาก็ เป็นด่านแรกที่ทำหน้าที่กรองรังสียูวีเช่นกัน เมื่อได้รับ ยูวีมากขึ้นก็จะทำให้เยื่อบุตาเกิดอาการระคายเคือง ตาแดง แสบตา น้ำตาไหล เมื่อเป็นมากเข้าก็จะเกิด เป็นต้อเนือ้ ต้อลม ต้อจะโตขึน้ เรือ่ ยๆ จนล้ำตาดำบดบัง การมอง ทำให้การมองเห็นผิดปกติ มื่อเราใส่แว่นกันแดด ความเข้มของแสงจะถูกเลนส์ สีกรองออกไป ทำให้แสงที่ผ่านเข้าสู่ดวงตาของเรา น้อยลง รูม่านตาของเราจะขยายใหญ่ขึ้น ปริมาณรังสี ยูวีก็จะทะลุผ่านเข้าสู่ดวงตาของเราได้มากขึ้นเช่นกัน นี่จึงเป็นเหตุผลที่ ทำไมเวลาเราเลือกซื้อแว่น กันแดด จึงจำเป็นต้องเลือกเลนส์ที่สามารถป้องกัน รังสียูวีได้ นั่นคือ ถ้าเราใส่เลนส์กันแดดที่ไม่ป้องกัน รังสียูวี กลับจะกลายเป็นอันตรายต่อดวงตาเรามากขึ้น กว่าเดิม ดังนั้น แว่นกันแดดแบรนด์เนมชั้นนำ จึงใส่ใจต่อ คุณภาพเลนส์กันแดดเพื่อสุขภาพดวงตาของผู้สวมใส่ และหากต้องการสั่งตัดเลนส์สายตา-กันแดด ก็ควร บอกทางร้านว่าต้องการเลนส์เคลือบ UVX

ไม่ ว่ า เป็ น เลนส์ ส ายตาหรื อ กันแดด ก็ควรมีคุณสมบัติป้องกัน

ยูวีได้ จึงจะเป็นผลดีต่อสุขภาพของ ดวงตาท่านมากที่สุด ๒. อุ บั ติ เ หตุ ด วงตาที่ พ บได้

บ่อยคือ สิง่ แปลกปลอมเข้ากระจกตา

ซึ่งอาจเป็นเศษไม้ เศษทราย หรือ ปีกแมลงซึง่ สิง่ แปลกปลอมทีก่ ระเด็น

เข้าสูต่ าและเกาะอยูท่ ผ่ี วิ นอกกระจก ตา หรื อ เข้ า ไปฝั ง ชั้ น ในของเนื้ อ กระจกตา ถ้ารุนแรงมากอาจกระเด็น เข้าไปภายในลูกตา ทำให้เกิดการทำลายต่ออวัยวะ ภายในดวงตา • เมื่อมีสิ่งแปลกปลอมกระเด็นเข้าตาควรรีบพบ จักษุแพทย์ ไม่ควรรอจนกว่ามีอาการมาก เพราะอาจ มีการติดเชื้อที่รุนแรงได้ • แพทย์จะหยอดยาชาเพื่อนำสิ่งแปลกปลอม ออกจากกระจกตาและให้ยาปฏิชีวนะหยอดจนกว่าผิว กระจกตาจะกลับเป็นปรกติ • หากมี ก ารติ ด เชื้ อ ร่ ว ม ต้ อ งให้ ย าปฏิ ชี ว นะ ระยะยาว และบริเวณที่เคยมีการติดเชื้อ เมื่อหายแล้ว มักเกิดเป็นแผลเป็นฝ้าขาวที่กระจกตาดำ การป้องกันเบื้องต้น สามารถทำได้ด้วยการใส่ แว่นตากันแดด ที่เลนซ์มีคุณสมบัติยืดหยุ่น เหนียวไม่ แตกเมื่ อ ถู ก แรงกระแทก จะสามารถป้ อ งกั น สิ่ ง แปลกปลอมเข้ากระจกตาได้ดีทีเดียว    ขอให้ทุกๆท่านสนุกและมีความสุขกับวิถีชีวิต แบบ Fitness Lifestyle นะครับ

17


รหัสทริป ๔๘๖ • วันที่ ๒๘ - ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๔ เรื่อง หนูนา • ภาพ ลิขิต, อาซิว

สรุปทริป

รีไซเคิลจักรยานจักรยานเพื่อน้อง และร่วมปั่นที่อุทัยธานี

เริ่ ม ต้ น จากการอยากไป เที่ยวอุทัยธานี เห็น Facebook ของ BKK BIKE เชิญชวนสมัคร ร่ ว มทริ ป อุ ทั ย ธานี กั บ สมาคม จักรยานเพื่อสุขภาพไทย ก็เลย รีบสมัครร่วมทริป แต่การไปทริปนี้ต้องมีจักรยาน ด้วย เจ้าหน้าที่ของสมาคมฯ จึงแนะนำให้โทรคุย

กับพี่คากิ ได้คำแนะนำมาว่าให้ซื้อจักรยานที่ร้าน PROBIKE หลังสวนลุมพินี ากข่าวในเวบที่เชิญชวนร่วมซ่อมจักรยาน ซึ่ง เป็นการรีไซเคิลจักรยานแล้วมอบให้กับน้องๆ นักเรียนในทริปอุทยั ธานี จึงคิดว่าคงจะได้รบั คำแนะนำ จากพี่ๆ จึงขอติดตามไปดูการซ่อมจักรยาน ทำให้ได้ รู้จักตัวจริงอาสุทธิชัย พี่ป๋อง พี่เจ็ง (ครูสอนซ่อม จักรยาน ใส่ซี่ล้อจักรยาน ใส่ยางใน สูบลมล้อ) พี่อู๊ด พี่เจี๊ยบ และอีกหลายท่าน ได้เห็นบรรยากาศแบบ

พีๆ่ น้องๆ เป็นกันเอง รอยยิม้ และเสียงหัวเราะ ความ ตั้งใจ ความเหน็ดเหนื่อย แม้ว่าอากาศจะร้อนก็ตาม ได้ความรู้และคำแนะนำมาพอสมควร จึงตัดสินใจไป ซื้อจักรยานที่ร้านพี่ป้อมเสียเลยในวันนั้น แล้วยังขอ

18

ให้พี่ป้อมช่วยส่งจักรยานไปที่สมาคมฯ อีกด้วย (เย้! มีจักรยานไว้ขี่ไปร่วมทริปแล้ว) นแรกของทริ ป อุ ทั ย ธานี รู้ สึ ก ตื่ น เต้ น เพราะ

กลัวตกรถ นั่งแท็กซี่มาถึงสมาคมฯ ๖ โมงเช้า เห็นบรรยากาศของชาวคณะทีส่ มาคมฯ ต่างสนุกสนาน เฮฮาเป็นกันเอง มีน้ำใจช่วยเหลือกัน (มือใหม่อย่าง เรากับการปั่นจักรยาน อะไรจะเกิดมันก็ต้องเกิด ขอ ยอมรับเลยว่าไม่ได้เตรียมตัวอะไรมาก ไม่ได้ศึกษา แผนที่ เ ส้ น ทาง คิ ด ว่ า ปั่ น ตามเขาไป ไม่ ไ หวก็ พั ก ประมาณนั้น) เดินทางถึงองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเทโพ

จังหวัดอุทัยธานี ประมาณ ๑๐ โมงเช้า หลังเสร็จพิธี มอบจักรยานให้น้องๆ ประมาณบ่ายโมง เริ่มการปั่น เป็นทางการ ด้วยการปัน่ จักรยานผ่านตัวเมืองอุทยั ธานี

วั ด สั ง กั ส รั ต นคี รี จากนั้ น ปั่ น ไปวั ด ท่ า ซุ ง เข้ า ชม

พระอุโบสถหลังใหม่อันงามวิจิตรได้ ๓ นาที แล้วจึง ปั่นกลับที่พัก ณ รีสอร์ทพญาไม้ ระหว่างเส้นทางการปั่น พี่ๆ คอยให้คำแนะนำ ในการปั่นจักรยาน ไม่ว่าจะเป็นการปั่นที่ปลอดภัย ใช้เบรคอย่างไร เปลี่ยนเกียร์อย่างไร ตัวเองรู้สึกใน

วั


ช่วงแรกว่ายังต้องเหยียดแขนตึงเพื่อจับแฮนด์ให้ถึง หลังจากที่ได้ปั่นไปสักพัก ปั่นมากเข้าก็เมื่อยแขนขา เจ็บก้นชะมัดเลยค่ะ คิดว่าลองปั่นไปสักพักก่อน เพื่อ ตัวเองปรับตัวได้ (ยังไม่แน่ใจตัวเอง) คืนนั้นเลยหลับ สบายด้วยความอ่อนเพลีย นที่สอง (ยังเจ็บก้นอยู่) ร่วมปั่นสองน่องท่อง

สีเขียว สัมผัสวิถีชุมชน (ฅน) สองสายน้ำ เริ่ม จากการลงทะเบียนและร่วมพิธเี ปิดอย่างเป็นทางการ ในช่วงเช้าที่ลานสะแกกรังอันเป็นจุดเริ่มต้น จากนั้น จึงเริ่มปั่นจักรยานข้ามสะพานเล็ก เลาะเลียบชุมชน ริมแม่นำ้ ประทับใจกับการต้อนรับทีอ่ บอุน่ ของชุมชน ริมแม่น้ำ อิ่มอร่อย ไม่ว่าส้มโอ ขนุน ฝรั่ง ปลาหวาน น้ำเย็น ไปตลอดสองข้างทาง จนถึงจุดหมายที่ศูนย์ OTOP เมืองพระชนกจักรี ประมาณเที่ยง ร่วมรับประทานอาหารกับเพือ่ นนักปัน่ มากมาย

เป็นอันสิ้นสุดกิจกรรมในวันนี้ หลังจากนั้นสิ..จะต้อง ปั่นไปที่พักเพื่อกลับกรุงเทพฯ เพราะมัวโอ้เอ้เหลือ อยู่คนเดียว (ตัวเองก็หมดแรงซะแล้ว) จึงลองปั่น

ไปเองคนเดียว คาดว่าถามทางเขาไปเรื่อยคงถึง แต่ อากาศร้อนมากๆ แรงปั่นเริ่มหมด เห็นป้ายบอก อีก

วั

๘ กิโลเมตรถึงรีสอร์ท ใจแฟบลงทันที คิดในใจจะถึง ไหมเนี่ย!? แต่โชคยังดีเจออาสุทธิชัย จึงได้อาศัยนั่ง รถกลับไปถึงรีสอร์ทได้สบาย ดินทางกลับถึงกรุงเทพฯ โดยสวัสดิภาพ ต้องขอ

ขอบคุณน้ำใจของพีๆ่ ทุกคนทีห่ ว่ งใยในความปลอดภัย

ว่าจะกลับบ้านอย่างไร ทางเดียวกันปั่นไปด้วยกัน เพราะบ้ า นเราไกลสุ ด ถึ ง รั ง สิ ต คลองสาม ท้ า ยสุ ด

อาลิขิตชวนนั่งแท็กซี่ไปด้วยกัน ลงที่สายไหมก่อน แล้วไปคลองสาม ถึงบ้านด้วยความปลอดภัย ขอบคุณ จริงๆ คะ ความรูส้ กึ ของตัวเองนัน้ ตัง้ ใจกับการปัน่ ไปเรือ่ ยๆ

ให้ทนั ในทีม จึงไม่ได้ชนื่ ชมกับบรรยากาศสองข้างทาง

เมื่อใดที่สามารถปั่นปล่อยมือเหมือนน้าหมูได้ เฮฮา ทักทายกันได้ มีรอยยิ้มตลอด คงสนุกขึ้นละน่า (ปล. ว่ากันว่า..หากกลัวอะไร จะได้อย่างนั้น!)

19


รหัสทริป ๔๘๗ • วันอาทิตย์ที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๔ เรื่อง คุณเร • ภาพ Poom Siraprapasiri

สรุปทริป

ปั่นจักรยานชมกรุง

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และแล้วงานเลีย้ งก็ตอ้ งเลิกราน่าเสียดาย จริงๆ ทริปที่มีความรู้ติดตัวกลับบ้านให้ เพื่อนๆ สมาชิกได้จดจำประวัติศาสตร์ ของกรุงธนบุรี กับความเป็นมาเมื่อครั้ง อดีตว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง ในสมัยของ พระเจ้าตากสินมหาราชที่พระองค์ทรง กอบกู้บ้านเมือง ไม่ให้ตกอยู่ในการครอบครองของพม่า ริปนี้เป็นทริปในโครงการท่องเที่ยวกรุงเทพฯ ด้วยการ ปั่นจักรยานท่องเที่ยว โดยความร่วมมือกันระหว่าง

การท่องเทีย่ วกรุงเทพฯ และสมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย

ร่วมกับบริษทั MATER & MACO ผูส้ นับสนุนจักรยานสำหรับ ท่ อ งเที่ ย วให้ เ พื่ อ นสมาชิ ก ได้ ห ยิ บ ยื ม หลั ง จากที่ เราปั่ น ท่องเที่ยวกันมาแล้วหลายทริป ไม่ว่าจะเป็น ๑๕๐ ปีถนน เจริญกรุง ตลาดร้อยปีนางเลิ้ง ตามรอยสกุลบุญนาค และ จบท้ายด้วยทริปนี้ ตามรอยประวัตศิ าสตร์พระเจ้ากรุงธนบุรี ก่ อ น ๗ นาฬิ ก าเล็ ก น้ อ ย สวนหย่ อ มใต้ ส ะพาน

พระปิน่ เกล้าฝัง่ ธนบุรี มากมายไปด้วยเพือ่ นสมาชิกชาวจักรยาน

จากชมรมและกลุม่ ต่างๆ ดูกระปรีก้ ระเปร่ากันทัว่ หน้า ถึงแม้

จะมีฝนโปรยลงมาบ้าง เรานัดหมายกันจะไปปัน่ จักรยานตาม

รอยประวัติศาสตร์ของกรุงธนบุรี โดยมีมัคคุเทศก์ผู้รอบรู้ จากกรุงเทพฯ คือ คุณต่อ และ คุณเอ สองผู้เชี่ยวชาญด้าน ประวัตศิ าสตร์ของกรุงเทพฯ เป็นผูน้ ำชมและบรรยายความ

เป็นมาว่ามันเกีย่ วข้องกันอย่างไรในสถานทีต่ า่ งๆ ของทริปนี ้ ทริปนี้มีน้องๆ จากสามจังหวัดทางภาคใต้ มาร่วม ปั่นจักยานตามรอยประวัติศาสตร์พระเจ้ากรุงธนบุรีกับเรา ด้วยประมาณ ๗-๘ คน น้องๆ บอกว่าอยากเรียนรูว้ ฒ ั นธรรม ของชุมชน และอยากเรียนรู้ถึงความสำคัญในสถานที่ต่างๆ ทางประวัติศาสตร์ โดยได้พบเห็นสถานที่เหล่านั้นด้วยตา

ของตนเอง เป็นเรือ่ งทีน่ า่ รักจริงๆ อ้อ..ผมลืมไปมีทวี ถี า่ ยทำ

รายการด้วย ดูเหมือนจะเป็นช่อง ๑๑ ครับ ว้าว! ดังใหญ่

20

แล้วทริปนี้ ก่อน ๘ นาฬิกานิดหน่อยล้อเริ่มหมุน มุ่งหน้าไปสู ่ จุดแรกของโปรแกรมคือ วัดอัมรินทรารามเราใช้เวลาไม่นาน

จากจุดเริ่มทริป ไต่สะพานพระปิ่นเกล้าฝั่งธนบุรีก็มาถึง

วั ด อั ม ริ น ฯ หรื อ ที่ ช าวฝั่ ง ธนฯ เรี ย กขานว่ า วั ด หลวงพ่ อ

โบสถ์น้อย เราหยุดกันที่ใต้ร่มไม้ใหญ่ริมคลองบางกอกน้อย ใกล้ๆ วัด วิทยากรผู้มีความรู้ของเรา คุณเอ เล่าเรื่องราวถึง การสร้างบ้านแปลงเมืองในสมัยพระเจ้าตากสินทรงรวบรวม ไพร่พล สร้างสิ่งต่างๆ ในกรุงธนบุรีซ่องสุมกำลังผู้คนเพื่อ ต่อกรกับพม่าที่จ้องจะรุกรานบ้านเมืองของพระองค์ท่าน อยู่ตลอดเวลา เราใช้เวลาอยู่ตรงนั้นพอสมควร มัคคุเทศก์

ได้เชิญชวนเพื่อนสมาชิกเข้ากราบไหว้รอยพระพุทธบาท

และกราบขอพรจากหลวงพ่อโบสถ์นอ้ ยในวัดอัมรินทราราม

และกำชับเรือ่ งเวลาอย่านานเกินไป เพราะยังมีอกี หลายแห่ง

ที่เราจะเดินทางไป วั ด สุ ว รรณารามเป็ น จุ ด ที่ ส องที่ ค ณะไปเรี ย นรู้ ถึ ง ความเป็ น มา โดยใช้ เ ส้ น ทางเล็ ก ๆ ผ่ า นชุ ม ชนริ ม คลอง บางกอกน้อย ไม่นานเราก็มาถึงวัดสุวรรณาราม เป็นวัดที่ สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย สถานที่แห่งนี้สมเด็จ พระเจ้าตากสินใช้เป็นที่ประหารชีวิตแม่ทัพนายกองหรือ แม้แต่ทหารพม่า ในสมัยของพระองค์นน้ั แม่ทพั ทีถ่ กู ประหาร

คนหนึง่ ทีป่ ระวัตศิ์ าสตร์ได้บนั ทึกไว้คอื ยอคงหวุน่ คงเป็นคน

สำคัญของฝ่ายพม่าเป็นแน่จึงเป็นผู้ซึ่งถูกบันทึกชื่อเอาไว้


มัคคุเทศก์เล่าเรือ่ งให้เราฟังพอสังเขป ก่อนทีจ่ ะออกเดินทาง

ไปสูจ่ ดุ ทีส่ าม คือศาลาแดงแหล่งหล่อพระ “บ้านช่างหล่อ” ชุมชนศาลาแดงเป็นชุมชนหนึ่งที่มีความพลุกพล่าน มากในสมัยพระเจ้ากรุงธนนุรี ชุมชนนี้อยู่ใกล้จุดสำคัญของ

คูเมืองด้านทิศตะวันตก นอกจากเป็นทีค่ า้ ขายในสมัยนัน้ แล้ว

ชุมชนแห่งนีถ้ อื ได้วา่ มีฝมี อื ในการหล่อพระพุทธรูปได้สวยงาม มากไร้ที่ติ ปัจจุบันเหลือชุมชนในลักษณะนี้อยู่เพียง ๓ แห่ง ในประเทศไทย จุดที่ ๔ แหล่งนี้มีความหมาย กรมอู่ทหารเรือเป็น อีกหนึง่ สถานทีส่ ำคัญในสมัยเริม่ ก่อตัง้ กรุงธนบุรเี ป็นราชธานี

ได้รับความเมตตาจากผู้อำนวยการของโรงเรียนนักเรียน

กรมอูท่ หารเรือเป็นผูบ้ รรยายความเป็นมาของสถานทีแ่ ห่งนี้

ว่ามีบทบาทสำคัญอย่างไรในสมัยของพระเจ้ากรุงธนบุรี จุด เชือ่ มโยงระหว่างพระเจ้าตากสินต่อถึงรัชกาลที่ ๑ ต้นราชวงศ์ จักรี หลังจากนั้นได้แนะนำพาชมจุดต่างๆ ภายในกรม

อูท่ หารเรือพร้อมให้รายละเอียดว่า ในปัจจุบนั กรมอูท่ หารเรือ

ทำหน้าทีเ่ ป็นอูท่ ใ่ี ช้ตอ่ เรือพระทีน่ ง่ั ประจำรัชกาล (นารายณ์ ทรงสุบรรณ) และใช้เป็นที่ซ่อมบำรุงเรือพระราชพิธีต่างๆ พร้อมทั้งซ่อมบำรุงเรือขนาดกลางของกองทัพเรืออีกด้วย ได้ความรู้ได้เห็นกันแบบเต็มตากับสิ่งสำคัญที่กองทัพเรือ ดูแลอยู่ จากกรมอูฯ่ เรามุง่ สูอ่ นุสาวรียพ์ ระเจ้าตากสินมหาราช

อยูด่ า้ นหลังพระราชวังเดิมริมแม่นำ้ เจ้าพระยา อีกหนึง่ สถานที ่ สำคัญกับพระเจ้ากรุงธนบุรี มัคคุเทศก์ได้พาคณะเข้าคารวะ อนุสาวรียเ์ พือ่ เป็นสิรมิ งคล พร้อมฟังคำบรรยายจากเจ้าหน้าที่ กองทัพเรือพอสังเขป เสร็จแล้วพาชมป้อมซึ่งอยู่ด้านหลัง อนุสาวรีย์ของสมเด็จพระเจ้าตากสิน ใกล้เที่ยงเต็มที่แล้วฝนโปรยปรายเป็นระยะๆ คณะ ของเราก็ไม่ได้หวั่นไหว ยังคงเดินหน้าหาความรู้กันเต็มที่ บ้างหลบฝนใต้โคนไม้ใหญ่ บ้างก็สนทนากันกลางระอองฝน แข็งแรงจริงๆ วัดอรุณราชวรารามเป็นอีกแห่งที่มัคคุเทศก์อธิบาย ถึงความเป็นมาพอเข้าใจและบอกว่า หอพระในพระราชวัง ของพระเจ้าตากสินมีความสำคัญอย่างไรกับไพร่พลของ พระองค์ ที่พระองค์ท่านได้ซ่องสุมเพื่อกอบกู้บ้านเมือง พอ ให้เราได้เข้าใจเล็กน้อยหลังจากนั้นให้สมาชิกเที่ยวชมตาม อัธยาศัย บ้างก็ขึ้นบนเจดีย์พระปรางค์วัดอรุณอย่างตื่นเต้น โดยเฉพาะน้องๆ จาก ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้จะชื่นชอบ เป็นพิเศษ เก็บเกี่ยวความรู้ให้มากๆ นะน้องนะ จะได้นำไป เล่าเรื่องกลางคมขวานให้คนปลายด้ามขวานได้ฟังกัน ใกล้จดุ สุดท้ายคือวัดโมลีหรือวัดท้ายตลาด มัคคุเทศก์

เล่าเรื่องให้ฟังเพียงเล็กน้อยพอให้เข้าใจต่อเนื่องกับสถานที ่ ก่อนหน้านีว้ า่ เชือ่ มโยงกันอย่างไร สุดท้ายใครบางคนต่างพนมมือ

ขอพรจากพระในวิหารพร้อมๆ กัน เพื่อเป็นมงคลชีวิต จุดสุดท้ายคือศาลสมเด็จพระเจ้าตากสิน อยู่ข้างวัด หงส์ รั ต นาราม ฟั ง ความเป็ น มาของช่ ว งสุ ด ท้ า ย ปลาย

พระชนม์ชีพของพระเจ้าตากสินมหาราช ฟังคำวิเคราะห์ ข้อสมมุติฐานต่างๆ เกี่ยวกับการสิ้นพระชนม์ ว่าเกิดจาก สาเหตุใดกันแน่แท้ จากการประติดประต่อของผูร้ หู้ ลากหลาย ด้านประวัติศาสตร์ ให้คณะได้ไปทำการบ้านกัน มี ค วามสุ ข กั น ดี ค รั บ สมาชิ ก ทุ ก ท่ า น คงได้ ค วามรู้ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์กรุงธนบุรีไปตามควรพอหอมปาก หอมคอ โอกาสหน้ า มี ท ริ ป ดี ๆ อย่ า งนี้ จ ะเรี ย นให้ ท ราบ

กันอีก ขอให้จดจำทุกอย่างของวันนี้เอาไว้ให้ดีแล้วนำไป พินิจพิเคราะห์กันให้เข้าใจทุกอย่างนะครับ ขอขอบคุณ การท่องเที่ยวกรุงเทพฯ คุณต่อ คุณเอ ขอขอบคุณ บริษัท MATER & MACO เอื้อเฟื้อจักรยานให้ยืมปั่น ขอขอบคุณ กรมอู่ทหารเรือและเจ้าหน้าที่ทุกท่าน ขอขอบคุณ ชุมชนศาลาแดงและทุกวัดที่เข้าเที่ยวชม

21


รหัสทริป ๔๘๗ • ทริปวันเดียว • วันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๔ • เรื่อง/ภาพ แนน

สรุปทริป

ปั่นจักรยานชมกรุง

ตามรอยสกุลบุญนาค ครั้งแรกที่เห็นชื่อทริปก็รู้สึกเฉยๆ เพราะสถานทีเ่ หล่านัน้ เคยไปมาแล้ว แต่คดิ เผือ่ ว่าอาจจะช่วยอะไรได้บา้ ง

ทริปนีม้ พี ๆ่ี อาๆ จากสมาคมจักรยาน

เพือ่ สุขภาพไทยมาช่วยกันเยอะมาก

ทำให้เราสบายไป กลายเป็นผูร้ ว่ มทริปปัน่ ท่องเทีย่ วแทน

สังเกตดูสมาชิกทีป่ น่ั จักรยานล้วนแต่หน้าใหม่ๆ ทัง้ นัน้ อย่างน้อยพวกเขาก็ได้ลองปั่นบนถนนด้วยความรู้สึก ที่ปลอดภัย ริปนี้มีอะไรน่าสนใจและสนุกกว่าที่คิดไว้มาก เรียกได้ว่า..แม้จะจบทริปไปแล้ว แต่ยังอยากที่ จะไปเริ่มต้นตามรอยสกุลบุนนาคอีกรอบ เพราะยัง ไม่ได้เก็บรายละเอียดตามคำบรรยายของพี่ต่อและ ทีมงานเลย หลายจุดที่ผ่านบ่อยๆ และไม่เคยคิดว่า

จะมีอะไรน่าสนใจ อย่างเช่นทีว่ ดั ประยุรวงศาวาส ไม่คดิ

ว่าจะมีสวนร่มรืน่ อย่างเช่น “เขามอ” อยูภ่ ายในวัดด้วย..

ว้าว! แต่ทา่ ทางจะน่ากลัวในยามวิกาล เพราะมีแต่อฐั ิ ที่ญาติๆ นำไปฝากไว้ หรือแม้แต่เจดีย์องค์ใหญ่สีขาว ก็ยังไม่ได้มีโอกาสขึ้นไปชม พอได้รู้ประวัติแล้วทำให้ เที่ยวชมสนุกมาก รั้วที่เห็นนั้นดูธรรมดาแต่หารู้ไม่ว่า มันประกอบด้วยหอกและอาวุธต่างๆ ชาวบ้านจึง เรียกว่า “วัดรั้วเหล็ก” เคยมาที่สวนสมเด็จพระศรีฯ นี้หลายครั้ง แต่ ครัง้ นีเ้ ริม่ สังเกตว่าหลังจากมีกระแส Big Trees เกิดขึน้

22

ทำให้ทริปนีไ้ ด้ชมต้นไม้เขียวๆ ในสวนอย่างสนุก ทีส่ วน

มีจกั รยานสำหรับปัน่ รดน้ำในสวนด้วย ใครนะช่างประดิษฐ์

ไว้นา่ รักจริงๆ ว่างๆ ก็แวะไปช่วยกันปัน่ รถน้ำต้นไม้ได้นะ คยได้ยินชื่อ “วัดอนงคาราม” มานาน แต่เมื่อทราบ

ชื่อเดิมก็รู้สึกฮาดีนะ คือท่านผู้หญิงน้อยเป็นคน

เริม่ สร้าง แล้วมีพระยาโกษาธิบดีทชี่ อื่ ขำ มาช่วยทำต่อ

ก็เลยเป็นชื่อวัดน้อยทำขำมาทำแถมให้ ชื่อทางการ จึงเป็น “วัดน้อยขำแถม” นีถ่ า้ ขำไม่มาทำแถมให้ละ

ก็ไม่มที างเสร็จแน่ (ฮา) ไม่คดิ ว่าจะมีอะไรแต่พอได้ฟงั

ประวัตแิ ล้วดูของจริงตาม ทำเอาเข้าใจสถาปัตยกรรม ของวัด ที่ฟังแล้วก็แอบขำ ยำได้หลายชาติแต่ออกมา

ดูดี โดยเฉพาะ “สาหร่าย” ชอบมาก แต่...ติดอยูอ่ ย่าง

คือ ร่มของคนขายธูปเทียนหน้าโบสถ์ทำเอาขัดใจ ถ่ายรูปติดแล้วบดบังสิ่งสวยงาม อีกหนึ่งสิ่งที่วัดนี้

น่าสงสาร คือสายไฟระโยงระยาง ที่ติดตั้งแบบถาวร ฝากพวกเราช่วยส่งข่าวถึงสำนักงานเขตด้วยคะ


าวัดพิชยญาติการามเป็นครั้งที่สอง ครั้งแรกไม่ เข้าเพราะดูจากภายนอกแล้วไม่น่าสนใจ ครั้งนี้ คงเสียดายถ้าไม่ได้เข้าไปชม ขนาดเข้าไปแล้วยังติดใจ อยากไปอีกครั้ง อะไรจะน่ารักอย่างนี้ฝาผนังเพ้นท์ ลายดอกไม้ไปจนถึงหลังคา รอบๆ อาคารมีเรื่องราว ของสามก๊กแกะสลักไว้ ห้องข้างในเหมือนพิพิธภัณฑ์ เดินชมแล้วสนุกเพลินตา ยังไม่หมดแค่นน้ั ..วัดนีก้ ว้าง กว่าที่คิดมาก มองไปไกลสุดตาเห็นเจดีย์อยู่ข้างหน้า ชวนให้ขึ้นไปชม รอบวัดสะอาดตาเพราะมีอุบาสิกา มาถือศีลคอยดูแล ระหว่างเดินทางไปอีกสถานีฝนตกหนัก เราจึงพัก

อยูใ่ ต้สะพานฟังเรือ่ งราวของสกุลบุนนาคสนุกสนานมาก

จนแทบจะอยากให้ฝนตกแบบไม่ต้องหยุด สถานที่ น่าสนใจไม่เคยรูเ้ พราะถูกถมทีก่ ลายเป็นสวนสาธารณะ

ปลูกต้นไม้ไปอย่างน่าเสียดาย ทีจ่ ริงแล้วเป็นหลุมหลบภัย

สมัยสงครามโลก อยู่ข้างๆ โรงเรียนศึกษานารี

บทริปทีว่ ดั บุปฝาราม เห็นลายปูนปัน้ รูปพระอาทิตย์

ดูอินเตอร์เชียวละ ป้ายกายสิทธิ์ใช้สั่งประหาร

ชีวิตคนได้ เวลาล่วงเลยมาถึงบ่ายตั้งแต่เมื่อไรไม่รู้ตัว ยังไม่ได้กินอะไรเป็นอาหารเที่ยงกันเลย หลังจากเมื่อ เช้ารองท้องด้วยแซนด์วิสที่ได้รับแจก และย่อยหมด ไปกับทางเดินทางตั้งแต่วัดแรกแล้ว แอบไปเห็นสามสาวสวยจากทริปทีแ่ ล้วก็มาด้วย

เดีย๋ วนีส้ าวสวยหันมาปัน่ จักรยานแทนเดินห้างช็อปปิง้

กันแล้ว สองทริปแล้วนะ ถ้ามาติดๆ กันแบบนี้ แสดง ว่าคงติดใจแล้วสิ ฝากพี่ๆ อาๆ ช่วยแนะนำจักรยาน ให้สามสาวด้วย จะได้เป็นการประชาสัมพันธ์เพิ่ม สมาชิกให้กับสมาคมฯ เยอะขึ้น ยินดีต้อนรับคะ จบทริปแล้วหิวมากๆ ต้องขอแยกตัวไปทาน

อาหารก่อน.. ไม่ได้ไปส่งที่จุดเริ่มต้นนะ สวัสดีคะ

นักปัน่ ทุกท่าน

23


รหัสทริป ๔๘๘ • ทริปกลางคืน • วันศุกร์ที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๔ • เรื่อง/ภาพ แนน

สรุปทริป

ปั่นไปกินชิมอาหารอร่อย..

ย่านตลาดพลู

เกื อ บไม่ ทั น แล้ ว สิ เพราะ มั่วแต่นั่งทำงานอยู่ที่ออฟฟิศจน หนึ่งทุ่มถึงค่อยออกมา ปั่นลั้นลา มาสมาคมฯ ล่ ว งเลยไปทุ่ ม ครึ่ ง

พอดิบพอดี เห็นบรรดาสมาชิก

เสือ้ ส้มกระจายอยูท่ กุ พืน้ ที่ น่าจะมีประมาณ ๓๐ คน

แนนเองก็ใส่เสื้อสีส้มมากับเขาด้วยเหมือนกัน เป็น เสื้อจากกลุ่มคอฟฟี่ไบค์คลับ สงสัยจะมาช้าเกินไปยัง ไม่ทันได้สวัสดีทักทายใคร ก็ได้ยินเสียงปรี๊ดๆ เป็น สัญญาณให้ออกเดินทางได้ แฮะๆ ยังทันพอดี วันนี้เปลี่ยนจักรยานเอานอนจังมาปั่นปิดท้าย ขบวนอยูก่ บั คุณอ๋อ ข้อมูลทีไ่ ด้วนั นีค้ อื มีนกั ปัน่ จักรยาน

มือใหม่เยอะมาก บางคนเพิง่ ถอยจักรยานมาปัน่ วันนี ้ เป็นวันแรก พวกเรามาช่วยๆ กันดูแลคงไม่มีปัญหา

แอบยิม้ และดีใจ ทีม่ คี นใหม่ๆ มาสนใจจักรยานอีกแล้ว

ดีจัง ส้นทางวันนี้ คณะนักปัน่ ท่องราตรีเราเลีย้ วซ้ายจาก

ซอยสมาคมฯ ตรงไปทางพระราม ๔ ช่วงนี้ทิ้งช่วง

ขาดเป็นระยะๆ เนือ่ งจากไฟแดงเยอะมาก กลุม่ ทีป่ นั่

ผ่านไปได้ก็คอยจอดรอกันไป พอมาถึงถนนพระราม ๔ ได้เลี้ยวซ้ายเข้าถนนมหานคร ตรงไปแยกมเหสักข์ โห...ครานี้แดงสนิทติดไม่ขยับ อะไรจะติดขนาดนี้ จั ก รยานได้ ที โชว์ ค วามสามารถ คล่ อ งตั ว กั น สุ ด ๆ แทรกไประหว่างรถแต่ละคันที่จอดนิ่งสนิท ให้พวก เขาอิจฉาเล่น

24

อ้

าว...มี ห นึ่ ง คั น ยางรั่ ว มาช่ ว ยกั น หน่ อ ยเร็ ว

คอฟฟี่ไบค์.... เฮ้! หยุดกันหลายคัน ไม่เป็นไรไป ก่อนเลยเดี๋ยวทางนี้ คอฟฟี่ไบค์ ดูแลให้แบบ ๕ รุม ๑ อ๊ะอ๋า.. เป็นการปะยางนะ ไม่ได้ทำอะไรอย่างอื่น อย่าคิดมาก คุณอาคนหนึ่งขับรถเก๋งคันโตแบรนด์ดัง ลด กระจกลงมาถาม ว่าดูแลดีแบบนี้มาจากชมรมไหน กันเอ่ย เราตอบกลับไปว่า มาจากสมาคมจักรยาน เพื่อสุขภาพไทยคะ อยู่ที่จุฬาซอย ๖ ไว้มาปั่นด้วย กันสิคะ น่าสนใจ....น่าเสียได้เวลานัน้ ไม่ได้พกวารสาร “สารสองล้อ” ไปด้วย ไม่เช่นนั้นจะได้แจกให้ไป อ่านเล่นในรถ เพราะดูจากสีหน้าแล้ว คุณอาคงอยาก จะจอดรถทิง้ ไว้ตรงนัน้ แล้วลงมาปัน่ จักรยานกับพวก เราเลยทีเดียว แต่จำเป็นต้องกดกระจกขึ้นแล้วนั่งรอ รถติดต่อไป พวกเราไปก่อนนะคะ กลุ่มใหญ่จอดรอตรงแยกหลังจากข้ามสาทร มาด้วยกันไปด้วยกัน ถึงจะยางรั่ว ๑ คันเราก็รอกัน


ได้ เราใช้วอล์คกี้ทอล์คกี้ในการประสานงาน ทันทีที่ ได้รบั เสียงตอบว่า “ปะเสร็จแล้ว” ขบวนจึงเริม่ ออกตัว ทริปวันนี้ ได้เห็นผู้หญิงและเด็กหน้าตาไม่คุ้น มาปั่น ดูท่าทางของทุกท่านคล่องแคล่วไม่มีปัญหา ปั่นจนสุดถนนเลี้ยวขวาเข้าพระราม ๓ ตรงยาวไป ขึ้นสะพานกรุงเทพ บางคนใช้ทางเดินด้านข้างปั่นขึ้น บางคนก็ปน่ั บนถนนรถวิง่ ภาพทีเ่ ห็นในเวลานัน้ ฟ้อง อย่างชัดเจนว่า จักรยานครองถนนจริงๆ เกือบ ๗๐ คัน ปั่นพร้อมกันขึ้นสะพาน าเลี้ ย วขวาอี ก ครั้ ง ตรงแยกมไหสวรรค์ อ้ อ ม

สักนิดก่อนจะไปเติมพลัง ผ่านดาวคะนองจอด แวะปั๊มน้ำมันเพื่อเข้าสุขา และเติมน้ำดื่มก่อนปั่นต่อ ตรงผ่านดาวคะนอง ลอดใต้สะพานเข้าบางขุนเทียน ถนนเส้นนี้ไม่เคยเปลี่ยนแปลง แคบอยู่อย่างไรก็แคบ อยู่อย่างนั้น ย่านนี้เป็นบ้านที่ตัวเองเคยอยู่เดิม ใน สมัยก่อนทีร่ สู้ กึ ไกลมาก แต่ทว่า..เดีย๋ วนี้ ปัน่ จักรยาน

ไปแป๊บเดียวก็ถงึ ตัง้ แต่ใช้จกั รยาน เหมือนย่อกรุงเทพฯ ให้เล็กลงได้ ตามแยกใหญ่ แยกเล็ก ปั่นได้ไม่ต้อง

กังวล เพราะน้องๆ จาก คอฟฟีไ่ บค์ ช่วยกันกัน้ ทางให้

เดีย๋ วนีเ้ ป็นพีใ่ หญ่ไม่ตอ้ งทำงานแล้ว มีนอ้ งๆ ทำหน้าที่ แทนหลายอย่าง แค่พี่มาร่วมทริปให้สนุกก็พอน้อง บอกอย่างนั้น แนนอยู่หลังสุดก็ยังรอ น่ารักจริงๆ น้องๆ กลุ่มนี้ เลี้ยวขวาอีกทีเพื่อเข้าถนนเทิดไท ปั่นตรงไป ตามทางผ่านวัดหนัง ยาวต่อไปอีกแล้วไปกลับรถใต้

สะพาน ที่นั่นละ “ตลาดพลู” มาถึงที่หมายท้องยัง อิ่มอยู่ ตัดสินใจข้ามของคาวไปกินของหวาน ถึงจะ อิ่มก็ต้องไม่พลาด ไอศกรีมจี๊ดจาดต้องร้านนี ้ นอิม่ แล้วต้องซือ้ กลับไปฝากคนทีบ่ า้ นเสียหน่อย...

ขณะเดียวกัน มีเสียงกระซิบข้างๆ “ผมอยู่แถว

นีน้ ะ่ ” อะฮ่า..โชคดีเจอเจ้าถิน่ มีอะไรอร่อยๆ แนะนำบ้าง

นี่เลย...เช้าต้องข้าวหมูแดง กลางคืนต้องบะหมี่ ข้าว

หมูแดง กระเพาะปลา และไอศกรีม กลางวันขนมหวาน

ตรงนี้กุ้ยฉ่ายตรงนู้นอีกเยอะ.. เผลอครู่เดียว.. เสียง

ปรีด๊ ๆ ดังขึน้ อีกครัง้ เรียกให้กลับบ้าน มารวมตัวได้แล้ว ขากลับหลังจากเติมพลังกันจนอิม่ แปร้ พวกเรา

ปัน่ ไปตามเส้นทางลัด ตรงไปเลียบทางรถไฟ เลีย้ วซ้าย

ตรงยาวออกวงเวียนใหญ่ ระหว่างนั้นมียางรั่ว ๑ คัน เราจอดรอกันอีกครั้ง ถือเป็นการย่อยพอดี ก่อนที่จะ รีดพลังเพือ่ มาอัดกันขึน้ สะพานพระปกเกล้า เจ้สเุ กียง ยังปั่นขึ้นสบายๆ โดยไม่ต้องโยก ปั่นกันแวบเดียวถึง เยาวราชมียางรั่วอีกคัน แต่เราจะต้องรีบนำไอศกรีม กลับบ้านไปแช่เย็น จึงขอตัวตามกลุ่มแรกไปก่อน ว้าวๆ ทะลุเข้าทรงวาดหรือนี่ แบบนี้ไปส่งแนน ที่บ้านพอดี ทริปนี้ดีจังมาส่งถึงบ้านด้วย บ๊าย..บาย.. ขอบคุณทุกคน แล้วเจอกันทริปหน้า

นะ เท่าที่ได้ข้อมูลมาทริปนี้มียางรั่ว ๔ คัน ทริปหน้า

กิจกรรมปัน่ ไปกินชิมอาหารอร่อยทีย่ า่ นไหนกัน ติดตาม

อ่านในวารสาร “สารสองล้อ” ให้ดนี ะ เดีย๋ วจะหาว่า

ไม่ชวน..

กิ

25


เรื่อง Rainbow

เรื่องเล่านักปั่น

การขี่จักรยานแบบท่องไป ๑

ระสบการณ์การขี่จักรยานของผู้เขียน ไม่ได้ รอบรู้ไปทั่ว ตรงกันข้าม.. หากแต่จำกัดเฉพาะ อย่างยิ่ง ในครั้งแรกๆ ของการจับพาหนะสองล้อนี้ก็ เป็นไปอย่างสะเปะสะปะที่ยังไม่รู้แม้กระทั่งรสนิยม ของตนเอง ยังผลให้ซอ้ื จักรยานผิดสไตล์ไปจากความ เป็นตัวเรา ไปซื้อจักรยานแบบล้อโต แต่ว่ายามขี่ปั่น จริงกลับไม่เคยมีโอกาสเข้าป่าหรือทางลูกรังเลย เมื่อได้ใช้เวลาและประสบการณ์บนหลังอาน และลูกบันไดนานเข้า รสนิยมและความต้องการของ ตัวเองลึกๆ จึงถูกปลดปล่อยออกมา ผมจึงเรียกการ ขีจ่ กั รยานในแบบทีต่ วั เองชอบและสนใจว่าเป็น “การขี่ จักรยานแบบท่องไป” (Wandering round) างท่านอาจสงสัยว่า แล้วการขีแ่ บบท่องไปเรือ่ ยๆ นี้ก็คือแบบทัวริ่งใช่หรือไม่ ครับ...แรกๆ ผมก็ เข้าใจว่าเป็นเช่นนั้น แต่หลังจากถูกทักท้วงจากนัก จักรยานผูร้ อบรูใ้ นวงการทีใ่ ห้คำอธิบายคำว่า “ทัวริง่ ” ในหน้าเว็บจักรยานแห่งหนึง่ แจกแจงทีม่ าและลักษณะ ทีถ่ กู ต้องของพฤติกรรมการขีท่ วั ริง่ ให้เห็นว่าแตกต่าง จากการขีแ่ บบทีผ่ มกำลังสนใจ ผมจึงขอตัง้ นิยามใหม่ ถึงการขี่จักรยานตามสไตล์ของผมเองว่า เป็นการขี่ แบบ “ท่องไป” มิใช่ทวั ริง่ เพือ่ หลีกเลีย่ งความคาดหวัง ในพฤติกรรมระหว่างสมาชิกร่วมเดินทาง อีกประการหนึ่ง เป้าหมายที่คาดหวังในเบื้อง ปลายของการขีจ่ กั รยานแบบ “ท่องไป” ของผมเจือปน

26

ด้วยบุคลิกของการจาริกที่มิใช่การท่องเที่ยว แต่เป็น ทำความกระจ่างชัดกับสาระและสัจจภาพของโลกทัศน์ กับชีวทัศน์ทไ่ี ปพ้นจากการขีป่ น่ั เท่านัน้ แม้วา่ ในระหว่าง พฤติกรรมนัน้ จะมีอารมณ์รว่ มเดินทางแบบท่องเทีย่ ว และบันเทิงเป็นส่วนประกอบด้วยก็ตาม ซึง่ การเร่งรีบ

ขี่ปั่นให้ใช้เวลาที่น้อยที่สุด ในภูมิประเทศที่ไกลที่สุด เป็นสิ่งแรกๆที่ถูกตัดออกไปนานแล้ว ม้วา่ ...ในความพยายามครัง้ ต้นๆ ของการจับสังเกต อารมณ์ขณะขี่ปั่น อาจจะยังไม่ว่องไวในการเห็น ที่มาของความรู้สึกนั้นไม่ชัดเจน แต่นี่ต้องเรียกว่า เป็นเพราะความที่ยังไม่ชำนาญนั่นเอง ต่อเมื่อทักษะ

และความช่างสังเกต ความเป็นไปมิตภิ ายในทีก่ อ่ เกิด

คลีค่ ลายและข้อสรุปบ่อยครัง้ เข้า ถ้าผูข้ ปี่ นั่ ไม่อหังการจัด

และมีความอ่อนน้อมถ่อมตนอยู่บ้าง เขาย่อมพัฒนา ตรงนี้ได้ไม่ยากนัก สำหรับการขี่ปั่นแบบท่องไป และบัดดี้ผู้ร่วม เดินทางด้วยกัน ควรอย่างยิ่งที่เราจะปฏิบัติต่อกัน ด้วยความเอื้อรัก การขี่ปั่นจะต้องรอกันอย่างเป็นอื่น ไปไม่ได้ เป็นอะไรที่ไม่ใช่แบบแรงใครแรงมัน ตกเย็น ใครไปถึงก่อนก็ซกั ผ้าก่อนกินข้าวเสร็จก่อน แล้วนอน กระดิกเท้าเล่นต้อนรับ ใครไปช้า ย่อมต้องแสวงหา หนทางแก้ปัญหาของตนเอง แล้วก็ตะเกียกตะกาย ไปให้ถึงจุดนัดหมายให้ได้ อย่างนี้นักจักรยานทัวริ่ง ชอบทำกัน แต่นี่ไม่ใช่ท่วงท่าของการขี่แบบท่องไป


แน่นอน อย่างน้อยที่สุดการรอกัน ควรจะมองกัน เห็นเท่าที่สุดถนนหรือสุดสายตา สำหรับการขี่ปั่นแบบทัวริ่ง ผู้ปั่นจะเดินทางไป

แบบให้กำลังงานทีจ่ า่ ยลงไปสอดคล้องกับจังหวะรอบ ของตัวเองและระดับความฟิต โดยรถใครรถมัน ไป

กันเอง และถ้าการทีต่ อ้ งไปอย่างช้าลงเพือ่ รอผูท้ ชี่ า้ กว่า

ย่อมสร้างความเหนือ่ ยหน่าย และสิน้ เรีย่ วแรงลงก่อน ระยะอันควร จึงต้องขี่ปั่นแบบแยกกันไป ตกเย็นไป เจอกันที่จุดนัดหมาย อันนี้เป็นลักษณะของทัวริ่ง ารขี่จักรยานตามสไตล์ท่องไป เรียกร้องให้ผู้ เดินทาง ปรับตัวเข้าหากัน ที่ไม่เพียงดัดหลอม นิสยั ชอบไม่ชอบอะไร ยืดหยุน่ ยินยอมต่อเพือ่ นสมาชิก

เท่านัน้ แต่ตอ้ งปรับความเร็วของรถในการเดินทางด้วย

โดยคันที่ไปช้าที่สุด ย่อมต้องเป็นตัวกำหนดความเร็ว ของกลุ่มโดยธรรมชาติอัตโนมัติ ค่าที่ว่า คนที่เร็วกว่า ย่อมสามารถขี่ปั่นช้าได้ แต่คนที่ช้ากว่า ไม่สามารถขี่ ปั่นได้เร็วนั่นเอง ดังนัน้ ก่อนไปร่วมทริปใดๆ ควรกำหนดเสียก่อน

ว่า กลุ่มการเดินทางที่จะไปกันนั้น เป็นแบบขี่ปั่น

สไตล์แบบไหน ไม่ใช่สักแต่ว่าเป็นจักรยานแล้วก็จะ ไปด้วยลูกเดียว เมื่อเชี่ยวชาญก็น้อย ฟิตก็ไม่ฟิต แล้ว ยังห้อยตามเขาไป จึงต้องถูกทิง้ ให้แถกเหงือกอยูก่ ลาง แดดร้อนจ้าของบ่ายอันเปลี่ยวเหงา จนคำถามเชิง ลบต่างทยอยถามขึ้นมาไม่รู้จบ บั่นทอนการเดินทาง สำหรับกระแสการเรียกขานในวงการมักนิยม เรียกทริปใดๆ ก็ตามที่ไกลๆ ทุกชนิดว่า “ทัวริ่ง”

ไปหมด แต่การขี่ปั่นแบบ “ท่องไป” กลับปราศจาก ชื่อเรียกให้ชัดเจน ดังนั้นผมจึงนิยามการขี่จักรยาน

แบบนีว้ า่ “ท่องไป” เพือ่ ให้มกี ารเรียกให้เข้าใจแยกแยะ

แตกต่างจากทัวริ่งนั่นเอง ต่มีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกันมาก ไม่ว่าจะเป็นการขี่ จักรยานแบบท่องไปหรือแบบทัวริ่ง หรือไม่ว่า จะเป็นแบบใดก็ตาม ก็คือ “การเกลี่ยกำลังงาน” ให้ สอดรับกับภารกิจของแต่ละเป้าหมายนั้นๆ หากใน การขี่ ปั่ น ครึ่ ง แรกของระยะทางแต่ ผู้ ปั่ น สิ้ น แรงไป

กว่าครึ่ง ย่อมเป็นเรื่องโง่เขลา สำหรับผมเองแล้ว ใช้กิจกรรมจักรยานไปใน บุคลิกของการ “ท่องไป” เพือ่ การจาริก (Pilgrimage)

ทีไ่ ม่ได้มเี ป้าหมายเพียงสนองตอบความอยากรูอ้ ยากเห็น

ในสิ่งแปลกใหม่ แต่คาดหวังยกระดับการตระหนักรู้

ในความเป็นจริงของโลกและชีวติ แบบสบาย ๆ ไร้แรง

กดดัน และมีบรรยากาศที่เป็นเสรีจากข้อกำหนดใน วินัยเช่นแบบบรรพชิตต่างๆ ดังนั้น อุปกรณ์สำคัญที่ขาดไม่ได้ ก็คือเครื่อง บันทึก ปากกาและกระดาษของชนิดที่สามัญที่สุด แต่จะเป็นเครื่องบันทึกรูปแบบอื่น ๆ ก็ย่อมได้ แต่ ผมว่าต้องมีอย่างหนึ่งอย่างใดกันทุกคน อนึง่ ...จากความเป็นจริงบางทริปของการเดินทาง

มีทว่ งท่าของการปัน่ “กึง่ ลักษณะ” ทีค่ าบเกีย่ วระหว่าง ทัวริ่งและแบบแข่งขัน หรือจะเรียกอีกอย่างก็ได้ว่า

เป็นการแข่งขันแบบไม่เป็นทางการในระยะทางทีไ่ กลๆ

ก็มี ซึ่งไม่ได้ผิดอะไร สำคัญก็ตรงที่เพื่อนสมาชิกที่ คาดหวังจะ “ไปด้วย” ควรแจ่มชัดเสียก่อนว่า ทริป ทีท่ า่ นประสงค์จะร่วมไปกับเขานีม้ ธี รรมชาติเป็นแบบ ไหน จะได้ไม่เสียความรู้สึกที่มีต่อกัน ต่างฝ่ายจะ

ได้ถึงเป้าประสงค์ของการเดินทางของตนเองอย่าง

ดีที่สุด

27


เรื่อง/ภาพ ZangZaew

อุปกรณ์นักปั่น

ปั่นสนุกไปกับ โทรศัพท์มือถือ! หา..! จักรยานเกี่ยวอะไรกับมือถือ รึเนี่ย!? หากเป็นในช่วงอดีตอาจจะ

เกิดอาการประหลาดใจได้ แต่ปจั จุบนั นี ้ หาได้เป็นเช่นนั้นไม่ เมื่อเทคโนโลยี พัฒนาขึน้ ทำให้เครือ่ งมือสือ่ สารอย่าง โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ กลายเป็ น หนึ่ ง ใน อุปกรณ์อัจฉริยะ ที่นักปั่นจักรยานสามารถนำมาใช้ ประโยชน์ได้อย่างน่าทึ่ง โทรศัพ ท์ มื อ ถื อ ที่ ใช้ ร ะบบปฏิ บั ติ ก ารณ์ iOS อย่าง iPhone หรือระบบปฏิบัติการ Android ของ ยักษ์ใหญ่ Google ซึ่งเปิดกว้างให้กับโทรศัพท์หลาย ยี่ห้อดัง อาทิ Samsung, LG ฯลฯ ต่างมีจุดเด่นตรง ความสามารถในการลงโปรแกรมหรือที่เรียกกันว่า แอพพริเกชั่น (App) สารพัดชนิด เพื่อขยายความ สามารถที่มีอยู่ เช่นเดียวกับ App ที่ชื่อว่า “Bike

MateGPS” ผลงานของบริษัท Zero One Mia

ผูพ้ ฒ ั นา App สำหรับมือถือรายหนึง่ ในประเทศเกาหลี

ความสามารถหลักๆ ของ BikeMateGPS มีดังนี ้

• บอกความเร็ ว ณ ขณะนั้ น ด้ ว ยมาตรวั ด

และเรือนไมล์ มีเข็มแสดงเช่นเดียวกับรถยนต์หรือ มอเตอร์ไซค์ • บอกระยะทาง สามารถเลือกหน่วยวัดแบบ กิโลเมตรและไมล์ได้ • บอกเวลารวมในการเดินทาง

28

• บอกตำแหน่งด้วยการจับสัญญาณดาวเทียม

GPS • คำนวณปริมาณแคลอรี่ที่ถูกเผาผลาญ • ถ่ายภาพพร้อมระบุพิกัด GPS ได้ในระบบ • บันทึกเส้นทางพร้อมข้อมูลได้อย่างละเอียด • มีระบบจัดเก็บข้อมูลพร้อมปฏิทิน • คำนวณข้อมูลรวมได้ • ส่งข้อมูลไปยัง email และเครือข่ายสังคม ออนไลน์ เช่น Facebook, Twitter • ควบคุมการเล่นเพลงเพือ่ ฟังในขณะใช้งานได้

ส่วนประกอบของ App

๑. ปุ่ ม คำสั่ ง สำหรั บ เล่ น เพลง, ล็ อ คหน้ า จอ, บันทึกภาพ และสัญลักษณ์แสดงความแรงสัญญาณ ดาวเทียม GPS ๒. ตัวเลขแสดงความเร็วสูงสุดและต่ำสุดทีท่ ำได้ ๓. บอกระยะทางและเวลาขณะปั่นจักรยาน ๔. ระดับความสูง ณ ตำแหน่งที่อยู่ ๕. ปริมาณแคลลอรี่ที่ถูกเผาผลาญ ๖. ปุม่ ควบคุมคือ การลบข้อมูลใหม่ การเริม่ ต้น

ใช้งาน ปุ่มหยุดชั่วคราวและใช้งานต่อเนื่อง ๗. ปุ่มบันทึกข้อมูลปัจจุบัน ซึ่งปุ่มนี้จะจัดเก็บ ข้อมูลล่าสุดเอาไว้ในระบบ และลบข้อมูลบนหน้าจอ ณ ขณะนั้น เพื่อสามารถเริ่มต้นใช้งานใหม่อีกครั้ง นั่นเอง ๘. Trip คือหน้าสำหรับใช้งานหลักแทนเรือน


แผนในอนาคต

ทีมผูพ้ ฒ ั นา App ตัวนี้ กำลังเร่งพัฒนาขีดความ

สามารถในเวอร์ชั่นต่อไป ให้ครอบคลุมการใช้งาน มากยิ่งขึ้น นั่นคือเพิ่มระบบฮาร์ทเรตเพื่อวัดอัตรา การเต้นของหัวใจขณะปั่นจักรยาน รวมถึงระบบวัด รอบขาในการปั่น เพื่อเพิ่มรายละเอียดในเก็บข้อมูล มากยิ่งขึ้น App สำหรับ iPhone ราคา ๒.๙๙ เหรียญ สหรัฐ (ประมาณ ๙๑ บาท) App สำหรับ Android ราคา ๑๕๑.๕๑ บาท ที่มา www.bikegazine.com เวบไซต์ผู้ผลิต http://bikemate.01mia.com

ไมล์จักรยานปกติได้เลย ๙. Route คือการดูรายละเอียดของเส้นทาง ตำแหน่งทีอ่ ยูป่ จั จุบนั โดยมีมมุ มองของแผนทีใ่ ห้เลือก ๓ รูปแบบ ซึ่งจะอ้างอิงกับข้อมูลแผนที่จาก Google Maps โดยตรง แสดงได้ทั้งแบบที่เป็นแผนที่ปกติ

ภาพจากดาวเทียม หรือรวมทัง้ สองลักษณะเข้าด้วยกัน ๑๐. History แสดงข้อมูลย้อนหลังที่จัดเก็บ เอาไว้ในแต่ละทริป บันทึกตามวันเดือนปีในปฏิทิน ทำให้สะดวกในการค้นหา ๑๑. Data เพื่ อ แสดงข้ อ มู ล ที่ จั ด เก็ บ อย่ า ง ละเอียด ทัง้ แผนที่ ภาพถ่าย เส้นทาง ระยะทาง ฯลฯ และยังสามารถจัดเก็บ หรือส่งออกข้อมูลไปยัง email หรือส่งไปยังเครือข่ายสังคมออนไลน์ ดูตัวอย่างที่ได้ ทดสอบการใช้งานที่ http://bit.ly/iRnxgY ๑๒. Option สำหรับการกำหนดข้อมูลหลัก เพื่อการใช้งาน เช่น กำหนดน้ำหนักของร่างกาย เพื่อ

นำไปคำนวณหาปริมาณแคลอรี,่ การกำหนดหน่วยวัด

ระยะทาง, การแสดงแผนที่, การลบข้อมูล ตลอดจน

วิธีการใช้งาน และเงื่อนไขทางด้านลิขสิทธิ์การใช้งาน App ตัวนี้จากบริษัทผู้ผลิต

แสดงข้อมูลเป็น ลักษณะกราฟ

ฟังเพลงขณะปั่น แสดงแผนที ่ จักรยานได้ เส้นทางปั่นที่บันทึกไว้

ข้อมูลพร้อมรายละเอียดครบถ้วนที่ถูกส่งขึ้นหน้าเวบ โดยผ่านทางอีเมล์ ให้เพื่อนนักปั่น ได้ชมและส่งความคิดเห็นได้ด้วย

29


สินค้าของสมาคม

เป็นสินค้าที่จำเป็นสำหรับผู้ใช้จักรยาน จัดจำหน่ายในราคามิตรภาพ สนใจเลือกซื้อได้ที่ทำการสมาคมฯ

โทร. ๐๒-๖๑๒-๔๗๔๗ เวลาทำการ ๐๙.๐๐ น. - ๑๘.๐๐ น. หยุดวันอาทิตย์ สั่งซื้อทางไปรษณีย์ โอนเข้าบัญชี ประเภทออมทรัพย์ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาบรรทัดทอง ในนาม

สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย เลขที่บัญชี ๐๖๓-๒-๕๒๒๗๖-๑ แล้วกรุณาแฟกซ์สำเนาใบโอนมาที ่ โทรสาร ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๑ หรือส่งทาง E-mail: tchathaicycling@gmail.com

๐๐๑ : หมวกคลุมหน้า ราคาใบละ ๑๒๐ บาท

๐๐๒ : ถุงแขน SDL สีดำ ราคาคู่ละ ๑๒๐ บาท

๐๐๓ : ถุงแขนลายธงชาติ ราคาคู่ละ ๑๕๐ บาท

๐๐๔ : สายรัดข้อเท้า เส้นใหญ่ ราคาชิ้นละ ๘๐ บาท เส้นเล็ก ราคาชิ้นละ ๓๐ บาท

๐๐๕ : เสื้อกั๊กสะท้อนแสง ราคาตัวละ ๑๘๐ บาท

๐๐๖ : เสื้อ TCC ตัวเล็ก ราคาตัวละ ๑๐๐ บาท

๐๐๗ : เสื้อจักรยานแขนสั้น ราคาตัวละ ๗๕๐ บาท

๐๐๘ : เสื้อจักรยานแขนยาว ราคาตัวละ ๙๕๐ บาท

๐๐๙ : เสื้อจักรยานสีขาว ราคาตัวละ ๓๐๐ บาท

๐๑๐ : กางเกงขาสั้น ราคาตัวละ ๖๕๐ บาท

๐๑๑ : กางเกงขายาว ราคาตัวละ ๘๕๐ บาท

๐๑๒ : ยางใน ไซต์ ๒๐ x ๑.๗๕ / ๒.๑๒๕ AV ราคาเส้นละ ๖๐ บาท

๐๑๖ : ยางในยี่ห้อ BONTRAGER ไซต์ ๒๖ x ๑.๗๕-๒.๑๒๕ ราคาเส้นละ ๑๕๐ บาท

๐๑๗ : ยางในยี่ห้อ BONTRAGER ไซต์ ๒๗ x ๗/๘-๑ ๗๐๐ คูณ ๑๘๐-๒๕๐ ราคาเส้นละ ๑๕๐ บาท

๐๑๔ : ยางใน ไซต์ ๗๐๐ คูณ ๒๕/๒๘/F/V ราคาเส้นละ ๘๐ บาท

๐๑๓ : ยางใน ไซต์ ๒๗ x ๑ ยกกำลัง ๑/๔ x ๑ ยกกำลัง ๓/๘ TR4 A ราคาเส้นละ ๖๐ บาท

จองด่วน!

๐๑๕ : ยางในยี่ห้อ BONTRAGER ไซต์ ๒๖ x ๑.๒๕-๑.๗๕ ราคาเส้นละ ๑๕๐ บาท

โฆษณาที่ตรงกลุ่มเป้าหมายเหล่านักปั่นมากที่สุด!

6 ซม. เปิดพื้นที่โฆษณาย่อยเป็นพิเศษ สำหรับร้านค้าย่อยที่จำหน่าย จักรยาน บริการซ่อมบำรุง จำหน่ายอะไหล่ รับประกอบจักรยาน เสือ้ ผ้า 3 ซม. ร้ า นอาหารสิ น ค้ า มื อ สอง ของส่ ว นตั ว บริ ก ารท่ อ งเที่ ย ว หรื อ อื่ น ๆ

เชิญจับจองด่วน พื้นที่ขนาด ๓ คูณ ๖ เซนติเมตร ราคาพิเศษในโอกาส เปิดพื้นที่ใหม่เพียง ๑,๐๐๐ บาทต่อครั้งต่อเล่มเท่านั้น ติดต่อด่วน

โทร. ๐๒-๖๑๒-๔๗๔๗, ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๐ หรือทางเวบไซต์ที่ http://bit.ly/TCHAminiAD โฆษณาตรงเป้าหมายและยังได้ร่วมสนับสนุนสมาคมฯ อีกด้วย!

30


ขอบคุณผู้บริจาค

คุณวัฒนา คงวัฒนานนท์ คุณพยุง ฉิมกุล คุณบุญศักดิ์ วีระวงศ์ชัย คุณกล้า บุญศักดิ์

ขอขอบคุณผู้บริจาค บริจาคจักรยาน ๑ คัน บริจาคจักรยาน ๓ คัน บริจาคจักรยาน ๒ คัน บริจาคจักรยาน ๒ คัน

พันจ่าอากาศเอก สุชาติ อยู่เย็น (ตลิ่งชัน) บริจาคจักรยาน ๒ คัน

คุณฐณัทพงศ์ สร้อยสุวรรณ คุณกัลยาณ์จิตร เหมือนเนื้อทอง (นนทบุรี) บริจาคจักรยาน ๖ คัน (ดอนเมือง กรุงเทพฯ) บริจาคจักรยาน ๒ คัน

คุณอนงพร เพชรฤทธ์ (กรุงเทพฯ) บริจาคจักรยาน ๒ คัน

คุณพันนิภา แจ่มสว่าง (เคหะชุมชนร่มเกล้า) บริจาค ๑๓ ซาก และจักรยานอีก ๔ คัน

คุณอรวรรณ์ ฐิตสุภรัตน์ บริจาคจักรยาน ๒ คัน

คุณสันสนี (ทวีวัฒนา กรุงเทพฯ) บริจาคจักรยาน ๖ คัน

สำหรับผู้ที่สนใจร่วมบริจาคจักรยาน อุปกรณ์ หรืออื่นๆ เพื่อนำไปใช้ในโครงการรีไซเคิล จักรยานของสมาคมฯ สามารถติดต่อได้ที่ทำการสมาคมฯ ถนนบรรทัดทอง จุฬาซอย ๖ ข้างสนามกีฬาแห่งชาติ โทร. ๐๒-๖๑๒-๔๗๔๗, ๐๒-๖๑๒-๕๕๑๐

31


32


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.