ปท ี ี่
22 ©ºÑº·Õ่ 280/µØÅÒ¤Á 2557
Audax TCHA Amphawa 200BRM
Learn to Ride#4 ■ âÅ¡ÍÕ¡ãºà¾×่ÍËÑÇ㨹ѡ»˜›¹ ■ à¡ŒÒÍÕ้ÊÔ§Ë ¹Ñ¡»˜›¹ »˜›¹à·Õ่ÂÇËÂǹËÂÒ§ 3 ■ ¡ÒÃ㪌¨Ñ¡ÃÂÒ¹ã¹âÍ«Ò¡ŒÒáÅÐâµà¡ÕÂÇ ■ BB30 สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 1 »‡Í§¡Ñ¹à¢‹ÒàÊ×่ÍÁ´ŒÇµ¹àͧ ■ Âѧä§!? 㪌àºÒÐÅ็ͤ¨Ñ¡ÃÂÒ¹!
เรื่อง zangzaew
จักรยานงานศิลป์ คันเดียวในโลก!
จั
กรยานที่ ผู ้ ใช้ น� ำ พาไปขี่ ไ ปปั ่ น นอกจากจะ เป็ น พาหนะและอุ ป กรณ์ อ อกก� ำ ลั ง กายแล้ ว ยังบ่งบอกถึงความเป็นตัวตนเฉพาะของผูข้ ปี่ น่ั อีกด้วย ไม่ว่าจะเป็นการตกแต่ง ติดตั้งอุปกรณ์เสริม หรืออื่นๆ นอกจากเพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการ ใช้งานแล้ว ยังแฝงไปด้วยความแตกต่างที่ไม่ต้องการ ให้เหมือนใคร ด้วยความรู้สึกเดียวกันนี้จึงกลายเป็นที่มาของ การรับผลิตจักรยานในแบบของตัวเองทีไ่ ม่เหมือนใคร ของกลุ ่ ม นั ก ปั ่ น ผู ้ ห ลงรั ก จั ก รยานชื่ อ ว่ า “lov” (love our valley) โดยเจ้ า ของจั ก รยานเป็ น ผูก้ ำ� หนดแนวทางของลวดลาย สีสนั ทีต่ นเองต้องการ แล้วทีมศิลปินของ lov จะน�ำไปพัฒนาให้เป็นลวดลาย ที่มีองค์ประกอบศิลปะสวยงาม ลงตัว จากนัน้ จะน�ำเฟรมจักรยานพร้อมอุปกรณ์ตา่ งๆ
เข้าสูส่ ตูดโิ อแล้วพ่นด้วยสี Glasurit 90 Waterbourne หรื อ ที่ รู ้ จั ก กั น ดี ใ นวงการท� ำ สี ร ถยนต์ ร ะดั บ หรู เรียกกันว่า “สีนกแก้ว สูตรน�้ำ 90 ไลน์” ทั้งระบบ สีที่ผสมน�้ำแล้วพ่นลงบนผิวเฟรมโดยไม่มีส่วนผสม ของทินเนอร์ แน่นอนว่าเฟรมที่ต้องเลือกใช้คือเฟรมวัสดุ คาร์บอนด์คุณภาพสูง รวมถึงอุปกรณ์ประกอบต่างๆ เพือ่ ความสวยงามเรียบเนียน และกลายเป็นจักรยาน ซึ่งบ่งบอกตัวตนของผู้ครอบครองโดยแท้.. ทั้งหมดคืองานศิลปะบนเรือนร่างของจักรยาน เกิดจากการผสมผสานแนวคิดโดยเจ้าของจักรยาน และศิลปิน lov ซึ่งร่วมมือกันเป็นหนึ่งเดียว.. ซึ่งเรา คงไม่ตอ้ งเอ่ยถึงเรือ่ งราคากันละ.. เพราะว่าจะมีเพียง คันเดียวในโลกนั่นเอง! ■ ที่มา www.lovbikes.com สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 3
สารสองล้อ ได้รบั การสนับสนุนโดย ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สารสองล้อ ฉบับที่ 280/ตุลาคม 2557 ISSN 1513-6051
3 7 8 10 12 14 16 22 24 26 28 30 34 35 40 42 44 46
จักรยานงานศิลป์คันเดียวในโลก! ยังไง!? ใช้เบาะล็อคจักรยาน! ประชาสัมพันธ์ เก้าอี้สิงห์นักปั่น ปฎิทินทริป กิจกรรมเดือน พ.ย. Car Free Day 2014 666Bikes Shop โลกอีกใบเพื่อหัวใจนักปั่น ป้องกันเข่าเสื่อมด้วยตนเอง Learn to Ride #4 Audax TCHA Amphawa 200BRM ปัน่ ด้วยกัน ปันด้วยใจ ครบรอบ 22 ปี รฟม. ปั่นเที่ยวยูนนาน..หยวนหยาง ตอนที่ 3 การใช้จักรยานในโอซาก้าและโตเกียว BB30 บริจาคจักรยาน สินค้าสมาคมฯ
บทบรรณาธิการ
จั
ดได้ว่าเป็นความคึกคักและเติบโตอย่างเห็นได้ชัด เมื่อ กิจกรรมการรณรงค์ปน่ั จักรยานในเดือนกันยายนของทุกจุด ในประเทศไทย ถูกขานรับจากประชาชนคนไทยผูใ้ ช้จกั รยานกัน เป็นจ�ำนวนมาก อีกทั้งถูกขานรับจากบรรดาหน่วยงานเอกชน บริษทั ห้างร้าน ตลอดจนศูนย์การค้า ต่างน�ำช่วงจังหวะเหมาะนี้ มาร่วมจัดกิจกรรมและงานแฟร์มากมาย ทัง้ ระยะสัน้ ถึงระยะยาว เป็นการตอกย�้ำถึงความชัดเจนของกระแสการใช้จักรยานได้ เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม.. ถือว่าการใช้จักรยานในประเทศไทยเรานั้น ยังเป็นเพียงคนกลุ่มน้อยๆ ในเมืองใหญ่ ซึ่งสภาพโดยรวมถูก ถ่ายเทไปยังการใช้ยานพาหนะส่วนตัวเป็นหลัก แน่นอนว่าการ ที่จะท�ำให้เกิดความเข้าอกเข้าใจ หรือมองไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อเป้าหมายแห่งการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขนั้น ต้องอาศัย เวลาและปัจจัยหลายอย่าง ซึง่ สิง่ เหล่านี.้ . เชือ่ ว่าทัง้ ภาคเอกชนและหน่วยงานรัฐบางส่วน ต่างเห็นความส�ำคัญในสิง่ นีต้ รงกัน แต่สำ� หรับเรา.. ผูใ้ ช้จกั รยาน.. ไม่ว่าเพื่อสุขภาพหรือการเดินทางก็ตาม ควรเป็นจุดเริ่มต้นของ การเห็นความส�ำคัญในการใช้จักรยาน จากจุดเล็กๆ เกาะกลุ่ม เป็นจุดใหญ่ กระทั่งกลายเป็นพลังแห่งมวลชนคนใช้จักรยาน ใช้ทางร่วมกันกับผู้อื่นๆ ในสังคมไทยเรานี้อย่างมีความสุข บรรณาธิการสารสองล้อ วัตถุประสงค์ของสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย 1. ส่งเสริมการใช้จักรยานในทุกกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ อาทิเช่น เพื่อสุขภาพและพลานามัย การคมนาคม การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และนันทนาการ 2. ส่งเสริมการแก้ไขปัญหาจราจรด้วยการใช้จักรยานทั่วประเทศ 3. เป็นองค์กรประสานงานระหว่างผู้ใช้จักรยานทั่วประเทศและในระดับสากล 4. อนุรักษ์ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม 5. ร่วมกันท�ำกิจกรรมเพื่อสาธารณะประโยชน์ และสันติภาพของมวลมนุษยชาติ 6. เป็นศูนย์กลางในการสือ่ สาร ส่งเสริมความสัมพันธ์อนั ดี ยกย่อง ให้กำ� ลังใจ และให้ความช่วยเหลือ เกื้อกูลกันในหมู่สมาชิก ที่ประกอบคุณงามความดี ช่วยเหลือสังคมและส่วนรวม 7. ไม่ด�ำเนินกิจกรรมทางการเมือง เจ้าของ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา มงคล วิจะระณะ บรรณาธิการ วรวุฒิ วรวิทยานนท์ กองบรรณาธิการ ศักดิ์รพงค์ เกรียงพิชิตชัย, สุปรียา จันทะเหลา บัญชี วิภาดา กิรานุชิตพงษ์ ฝ่ายทะเบียน ปิยนุช เสวตวิวัฒน ฝ่ายสมาชิกสัมพันธ์ ฐนวัฒน์ กลิ่นน้อย พิมพ์ที่ บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จ�ำกัด โทร. 02-214-4660, 02-214-4370 โทรสาร 02-612-4509 ส�ำนักงาน สมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย 2100/33 ซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 22 (สาธุประดิษฐ์ 15 แยก 14) ถนนนราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ แขวงช่ อ งนนทรี เขตยานนาวา กรุ ง เทพฯ 10120 โทร. 02-678-5470 โทรสาร 02-678-8589 เวบไซต์ www.thaicycling.com Fan Page: facebook.com/TCHAthaicycling อีเมล์ tchathaicycling@gmail.com สนใจสมัครสมาชิกสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย เพื่อสิทธิพิเศษในการร่วมกิจกรรมและ รับสารสองล้อฟรี สมาชิกรายปี 200 บาท ( ต�่ำกว่า 15 ปี 80 บาท ) สมาชิกตลอดชีพ 2,000 บาท ติดต่อได้ที่ โทร. 02-678-5470 โทรสาร 02-678-8589 หรือสมัครออนไลน์ได้ที่ http://www.thaicycling.com/member อีเมล tchamember@gmail.com
ภาพปกโดย สาธิต ภัทโรภาส
ขอบคุณฟอนต์ ซูเปอร์มาร์เก็ต จาก f0nt.com
จักรยานล้านไอเดีย เรื่อง zangzaew
ยังไง!? ใช้เบาะล็อคจักรยาน!
อ
อกอาการหนักเหมือนกันนะ.. หากว่าการปั่น จักรยานออกไปนอกบ้าน แล้วต้องแบก “สายล็อค” จักรยานขนาดเขื่องไปด้วย เพราะยากที่จะไว้ใจได้ว่า ยามเมื่อจอดจักรยานเอาไว้แล้ว หลังจากเสร็จธุระ กลับมา.. จักรยานคันโปรดจะยังคงอยู่ ณ จุดเดิมหรือไม่? ไอเดียเสาะหาหนทางเพือ่ เสริมความสะดวกต่อ เพื่อนนักปั่นจักรยานด้วยกัน จึงบังเกิดขึ้น! SEATYLOCK™ คือผลแห่งความคิดสร้างสรรค์นนั้ เบาะนั่งจักรยานที่ถูกออกแบบให้ผสมผสาน เข้ากับอุปกรณ์ลอ็ คจักรยานแบบพับได้ จนกลายเป็น อุปกรณ์ชนิ้ เดียวกันซึ่งสามารถใช้งานได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว โดยอุปกรณ์ล็อคจะติดตั้งอยู่ด้านใต้ ของเบาะ ขณะเดียวกันยังมีชุดอุปกรณ์แบบปลดเร็ว ส�ำหรับจับยึดกับหลักอานปกติทั่วไป เมื่อต้องการใช้ล็อคจักรยาน เพียงปลดเบาะ
ออกจากหลักอาน และกางชุดล็อคออกเพื่อน�ำไป คล้องจักรยานเข้ากับโครงสร้างของที่จอดจักรยาน ได้ทันที แน่ น อนว่ า อุ ป กรณ์ ล็ อ คจั ก รยานนั้ น ได้ ถู ก ออกแบบและทดสอบความแข็งแรง ทนทาน ป้องกัน การตัด งัดแงะ จากเหล่ามิจฉาชีพได้เป็นอย่างดี SEATYLOCK™ ถูกออกแบบด้วยการเพิ่มเติม สีสันและรูปทรงไว้มากถึง 15 ลวดลาย เพื่อให้โดนใจ นักปัน่ หลากหลายแนว โดยเฉพาะนักปัน่ ทีใ่ ช้จกั รยาน เพื่อการเดินทางทั่วไป สนนราคาชุดมาตรฐานอยู่ที่ 75 USD (ประมาณ 2,400 บาท) คงจะพอเป็นอีกตัวเลือกหนึ่ง ส�ำหรับอุปกรณ์ ช่วยเสริมความมั่นใจ ในความปลอดภัยของตัวรถ จักรยานคันเก่งของคุณได้บ้าง ■ ที่มา www.foldylock.com
สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 7
ประชาสัมพันธ์
สามารถส่งข่าวประชาสัมพันธ์ของท่านมาได้ที่ กองบรรณาธิการสารสองล้อ email: tchajournal@gmail.com หรือโทรสาร 02-678-8589
อุปกรณ์เสริมส�ำหรับ Go Pro • ด้ามจับ 3 ทาง (3 Way)
อุปกรณ์อเนกประสงค์ที่เป็นได้ท้ัง ขาตั้งกล้อง, ไม้ถ่ายSelfie และด้ามจับ เพื่อความสะดวกในการใช้กล้อง GoPro ในการถ่ายรูปหรือ VDO ด้ามจับ 3 ทางมี ขนาดความยาวสุดที่ 50.8 เซนติเมตร และ สามารถหดเก็ บ ได้ เ ล็ ก สุ ด ในขนาดที่ 19 เซนติเมตร ราคา 2,550 บาท GARMIN Forerunner 15 นาฬิกาส�ำหรับนักวิ่งที่รักสุขภาพ Forerunner 15 นาฬิกา GPS ที่ เหมาะส�ำหรับนักวิ่งผู้รักสุขภาพ มาพร้อม กับเทคโนโลยี ANT+ สามารถเชื่อมต่อกับ อุปกรณ์ตรวจจับคลื่นหัวใจ หรือเชื่อมต่อ กับ Foot Pod เพื่อเก็บข้อมูลการวิ่งตลอด จนการเดินได้อย่างละเอียดแม่นย�ำ ไม่ว่า จะเป็นการวัดระยะทาง ความเร็ว และการ เผาผลาญแคลอรี่ สามารถอัพโหลดข้อมูล ไปยั ง เว็ บ ไซต์ Garmin Connect เพื่ อ บันทึกและแบ่งปันข้อมูลได้ ด้วยรูปลักษณ์ ของนาฬิกาที่มีตัวเรือนสีสดใส สวมใส่เบา สบาย มีให้เลือก 5 สี คือ สีด�ำ/เขียว สีฟ้า/ ขาว สีม่วง/ขาว สีแดง/ด�ำ และสีด�ำ/น�้ำเงิน จ�ำหน่ายในราคาเรือนละ 7,490 บาท ■ 8 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
• อุปกรณ์ยด ึ ติดอเนกประสงค์ (Sportsman Mount)
อุปกรณ์ที่ช่วยยึดติดที่ด้ามปืน คันธนู หรือ คันเบ็ดตกปลา ส�ำหรับเก็บภาพและ VDO ที่แปลก แหวกแนว จากกิจกรรมของผู้ใช้ เพื่อเก็บภาพและ VDO ไว้ในความทรงจ�ำจากกิจกรรมของท่าน อุปกรณ์ ยึดติดอเนกประสงค์มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ 10 มิลลิเมตร ถึง 23 มิลลิเมตร ราคา 2,550 บาท ■ ข้อมูลเพิ่มเติม : www.facebook.com/GoProThailand
ช่างคิดช่างประดิษฐ์ เรื่อง zangzaew
เก้าอี้..สิงห์นักปั่น
ค�ำว่า Randonne ur มาจาก ภาษาฝรัง่ เศสค�ำว่า randonnée หมายถึ ง การเดิ น ทา งไกล เที ย บ กั บ ภาษาอั ง กฤษตรง กั บ ค� ำ ว่ า Audax อั น เป็ น กิ จ กรรมปั ่ น จักรยานทางไกลที่ ก�ำลังเป็นกระแส อยู่ในประเทศไทยขณะนี้ 10 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
ค
รั้งใดที่ได้เห็นคนช่างคิดช่างประดิษฐ์ น�ำเอา ชิ้ น ส่ ว นต่ า งๆ ของจั ก รยาน ไปประดิ ษ ฐ์ ประดอยเป็นเครื่องใช้ หรือวัสดุรูปแบบอื่นๆ มัก เกิดความรู้สึกทึ่ง และกึ่งหลงรักแนวคิดของบุคคล เหล่ า นั้ น เสมอ.. จะด้ ว ยเพราะเราเข้ า ข้ า งคนรั ก จักรยานด้วยกันก็อาจจะเป็นได้ เช่นเดียวกับผลงานสร้างสรรค์ของสองผู้รัก จักรยานนาม ไซมอน เทย์เลอร์ และ แดนดริว แมคโดนัล ผูก้ อ่ ตัง้ บริษทั ทู เมคเกอร์ ซึง่ ใช้หอ้ งเล็กๆ ในฟาร์มที่เมืองเคนต์ (อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ ของสหราชอาณาจักร) สร้างผลงานเก้าอี้สุดหรูเพื่อ นักสะสมผู้หลงใหลจักรยานแนวนี้ขึ้นมา Randonneur Chair เก้าอี้ที่ประดิษฐ์ขึ้นมาจากเฟรมของจักรยาน ทางไกล หรือมักเรียกกันว่าจักรยานทัวริ่ง ตัวเฟรม ส่วนใหญ่จะเป็นโครงโลหะโครโมลี่คุณภาพสูง ถูกวัด ตัดเชื่อมต่ออย่างปราณีตสวยงาม มักจะเป็นงาน ประเภท “แฮนด์เมด” เมื่อผสมผสานกับจินตนาการ ด้านการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ระดับหรู เก้าอี้ตัวนี้ จึงประกอบไปด้วยความสวยงาม หรูหรา ส่วนประกอบของเบาะนั่ง พนักพิง ที่วางแขน และมือจับ ใช้หนังแท้วัสดุคุณภาพภายใต้แบรนด์ Brooks และไม่ลืมที่จะติดตั้งกระเป๋าใต้เบาะมาให้ ด้วยทางด้านหลัง ช่วงขาเก้าอี้เป็นส่วนของเฟรม จักรยาน มีขากระติกน�้ำสีเงินวาววับติดตั้งไว้ ส่วนล่างของขาเก้าอี้ออกแบบให้เป็นโลหะโค้ง ประดับไม้ กลายเป็นเก้าอี้โยกให้นั่งพักผ่อนอย่าง สบายอารมณ์.. นอกจากถู ก น� ำ ไ ปจั ด แสดงในงานมหกรรม นักออกแบบแล้ว ยังถูกน�ำไปจัดแสดงในงานโชว์ จักรยานซึ่งจัด ขึ้นช่วงปลายเดือนกันยายนที่ผ่านมา ณ เมืองเบอร์มิงแฮมของอังกฤษอีกด้วย.. ■ ที่มา www.twomakers.co.uk
โครงการปัน ่ จักรยานเพือ่ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
“ปั่นเทิดพระเกีย รติ 87 พรรษา ราชาของแผ่นดิน 50 ปี มช. ร่วมปั่นสานความดี ตามรอยพ่อ” วันเสาร์ที่ 6 ธันวาคม 2557 ณ ศาลาธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่ อ เป็ น การร่ ว มเฉลิ ม ฉลอง ในโอกาสครบรอบ 50 ปี แห่งการ สถาปนามหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ปี พ.ศ.2557 (50th CMU Anniversary) และเพื่ อ เป็ น การถวาย ความจงรั ก ภั ก ดี แ ด่ อ งค์ พ ่ อ หลวง ของปวงชน ชมรมจั ก รยานเพื่ อ สุขภาพจังหวัดเชียงใหม่ จึงได้จัด ท�ำโครงการเพื่อร่วมเฉลิมฉลองใน โอกาสครบรอบ 50 ปี แห่ ง การ
สถาปนามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย ได้รว่ มกับชมรมจักรยานจังหวัดต่างๆ เสนอต่อมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ สมาคมนักศึกษาเก่ามหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ในการจัดท�ำโครงการปั่น จักรยานเพื่อถวายความจงรักภักดี และร่วมแสดงพลังเสริมสร้างความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะ ตลอดจน ส่งเสริมให้คนมีสขุ ภาพพลานามัยทีด่ ี สมบูรณ์แข็งแรง ปลอดโรคภัยไข้เจ็บ
กิจกรรมมีขึ้นระหว่างวันที่ 6 - 10 ธันวาคม 2557 ดังนี้
วัน/เดือน/ปี วันเสาร์ที่ 6 ธ.ค. 2557
วันอาทิตย์ที่ 7 ธ.ค. 2557 วันจันทร์ที่ 8 ธ.ค.2557 วันอังคารที่ 9 ธ.ค.2557 วันพุธที่ 10 ธ.ค.2557 สนับสนุนกิจกรรมดีๆ โดย..
เวลา ก�ำหนดการ 7.30 น. - นักจักรยานรวมตัวกันบริเวณหน้าศาลาธรรม ภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 8.09 น. - ท�ำพิธี ป ล่อยขบวนจักรยานทางไกล 50 ปี มช.ร่วมปั่น สานความดี ตามรอยพ่อ โดยผูว้ า่ ราชการจังหวัดเชียงใหม่, มทบ. 33, อธิการบดี มช. และนายกสมาคมนักศึกษาเก่า มช. ใช้เส้นทางจังหวัดเชียงใหม่-จังหวัด ล�ำปาง ระยะทางประมาณ 100 กม. พักขบวน 7.30 น. - ออกจาก จังหวัดล�ำปาง-จังหวัดอุตรดิตถ์ ระยะทาง 141 กม. พักขบวน 7.30 น. - ออกจากจังหวัดอุตรดิตถ์-จังหวัดพิษณุโลก ระยะทาง 110 กม.พักขบวน 7.30 น. - ออกจากจังหวัดพิษณุโลก-อ.ชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ ระยะทาง 133 กม. พักขบวน 7.30 น. - ออกจาก อ.ชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ - โรงเรียนบ้านธรรมรักษ์ ซึง่ อยู่ ในความดูแลของวัดพระบาทน�้ำพุ จังหวัดลพบุรี ระยะทาง 128 กม.
ปฏิทินทริป
ปฏิทินทริป เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2557
รายการต่างๆ อาจจะเปลี่ยนแปลงได้ สอบถามรายละเอียดหรือสมัคร ร่วมทริปได้ที่ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย โทร. 0-2678-5470 email: tchathaicycling@gmail.com หรือติดตามรายละเอียดได้ที่ www.thaicycling.com, Facebook.com/TCHAthaicycling
Trips can be changed as appropriate English information, call Bob Tel. 08-1555-2901 email: bobusher@ksc.th.com
2 พฤศจิกายน 2557 (อาทิตย์)
2 November 2014 (Sunday)
มอบวัสดุอลูมิเนียม
Cycling trip to aluminum ring donations.
16 พฤศจิกายน 2557 (อาทิตย์)
16 November 2014 (Sunday)
ปั่นไปเยือนทางจักรยานสุวรรณภูมิ
Cycling trip to the Bicycle route at
23 พฤศจิกายน 2557 (อาทิตย์)
Suvarnabhumi Airport.
ปัน่ วันเดียวเทีย่ วตลาด วัดใหญ่สว่างอารมณ์ เกาะเกร็ด
23 November 2014 (Sunday)
29 - 30 พฤศจิกายน 2557
One day cycling trip to Wat Yai Swang Arom
ปั่นรักษ์พิทักษ์โลก เชียงคาน จังหวัดเลย
market at Koh Kred island.
13 - 14 ธันวาคม 2557
29 - 30 November 2014
ปั่นรักษ์พิทักษ์โลก จังหวัดแม่ฮ่องสอน
Bicycle trip to save the earth at Chiang Khan, Loei.
20 - 21 ธันวาคม 2557
13 - 14 December 2014
ปั่นรักษ์พิทักษ์โลก จังหวัดมุกดาหาร
Bicycle trip to save the earth at Mae Hong Son.
21 ธันวาคม 2557 (อาทิตย์)
20 - 21 December 2014
ปั่นวันเดียวเที่ยวตลาดโบราณบางพลี
Bicycle trip to save the earth at Muk Da Han. 21 December 2014 (Sunday)
One day cycling trip to Bang Pre old market.
12 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 13
TCHA ช่วนปั่นฯ
สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับทริปต่างๆ และการช�ำระค่าทริป ได้ที่ โทร. 02-678-5470 หรือ 081-902-2989
TCHA ชวนปั่นและร่วมกิจกรรม เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2557
ปั่นวันเดียว..เที่ยวตลาด กลายเป็นกิจกรรมที่น่าประทับใจ ส� ำ หรั บ สมาชิ ก ชาวจั ก รยานที่ ชื่ น ชอบ กิจกรรม ปั่นจักรยานวันเดียวด้วยการไป เที่ยวตลาดชื่อดัง นอกจากความหลาก หลายของเส้ น ทางที่ ไ ปกั น แล้ ว ยั ง ได้ ประทั บ ใจกั บ ตลาดและความสวยงาม ของวัดวาอารามในพื้นที่เดียวกัน.. และ แผนส�ำหรับกิจกรรมปั่นวันเดียว..เที่ยว ตลาด ครั้งต่อไปดังนี้ วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน 2557
- ปั่นวันเดียวเที่ยวตลาด วัดใหญ่สว่างอารมณ์ เกาะเกร็ด วันอาทิตย์ที่ 21 ธันวาคม 2557
- ปั่นวันเดียวเที่ยวตลาดโบราณ บางพลี ■
โครงการเรียกคืนวัสดุอลูมิเนียม เพื่อจัดท�ำขาเทียมพระราชทาน ครั้งที่ 5
อาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน 2557 อี ก หนึ่ ง กิ จ กรรมที่ ส มาคม จักรยานเพื่อสุขภาพไทยด�ำเนินการอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเป็ น ปี ที่ 5 ด้ ว ยการเชิ ญ ชวนเพื่ อ นๆ นั ก ปั ่ น จั ก รยานร่ ว มกั น สะสมวั ส ดุ อลู มิ เ นี ย มเพื่ อ น� ำ เข้ า โครงการ เรี ย กคื น วั ส ดุ อ ลู มิ เ นี ย มเพื่ อ จั ด ท�ำขาเทียมพระราชทาน โดยจะ น�ำวัสดุที่รับมอบจากทุกท่านไป มอบให้ บริษัท บางกอกแคนแมน นูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด ในปี ที่ ผ ่ า นมานั้ น การจั ด 14 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
กิ จ กรรมได้ มี จุ ด รวมพลเพิ่ ม ขึ้ น เป็น 10 จุด ทั่วกรุงเทพฯ และผู้ที่ ลงทะเบียนบริจาควัสดุอลูมิเนียม อย่ า งน้ อ ย 1 กิ โ ลกรั ม จะรั บ กระเป๋าเป้ที่ระลึก 1 ใบ ส� ำ หรั บ ในปี นี้ จ ะมี ร ายละเอียดอย่างไรนั้น ขอให้ทุกท่าน โปรดติดตาม แต่ที่ส�ำคัญคือ.. ขอ เชิญชวนทุกท่านช่วยกันรวบรวม วั ส ดุ อ ลู มิ เ นี ย มเตรี ย มกั น ไว้ ใ ห้ มากๆ เสียแต่วันนี้ ■
HAH HONG TRADING L.P. Tel : 02-225-0485, 02-222-1638 Fax : 02-226-3030
210 Luang Road, Pomprab, Bangkok 10100 e-mail : junior12@truemail.co.th
หจก. ฮะฮงพาณิชย โทร : 02-225-0485, 02-222-1638 แฟกซ : 02-226-3030
210 ถนนหลวง แขวงปอมปราบฯ กรุงเทพมหานคร 10100ออี280 เมล :(ตุ junior12@truemail.co.th สารสองล้ ลาคม 2557) │ 15
สรุปทริป
เรื่อง schantalao ภาพ สาธิต ภัทโรภาส / ฐนวัฒน์ กลิ่นน้อย / schantalao
CAR FREE DAY 2014 เปิดเมืองปั่น
ปิ
ดฉาก “เปิดเมืองปั่น” กัน ไปเป็ น ที่ เรี ย บร้ อ ยส� ำ หรั บ กิ จ กรรมรณรงค์ เ พื่ อ สั ง คมครั้ ง ยิ่งใหญ่ประจ�ำปี 2014 เมื่อวัน อาทิตย์ที่ 21 กันยายนที่ผ่านมา สร้างสรรค์โดยสมาคมจักรยาน เพื่อสุขภาพไทย โดยได้รับความ ร่วมมือจากพันธมิตรหลากหลาย วงการมาช่ ว ยกั น ลงไม้ ล งมื อ ลงแนวคิดเพือ่ ให้เกิดเป็นกิจกรรม เปิ ด เมื อ งปั ่ น พร้ อ มกั น ทั้ ง 77 จังหวัดทั่วประเทศ จุ ด หลั ก ของงานอยู ่ ที่ ท ้ อ ง สนามหลวงเช่นปีที่แล้ว ซึ่งเป็น จุ ด รวมพลนั ก ปั ่ น จาก 27 จุ ด ทั่วกรุงเทพฯ พร้อมใจกันลดใช้ รถยนต์นำ� จักรยานออกมาปัน่ เพือ่ เป็นการรณรงค์วันปลอดรถโลก
16 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
ปีนดี้ แู ล้วน่าจะมีชาวสองล้อ ออกมาร่วมปั่นกว่า 30,000 คัน ถือเป็นประวัตศิ าสตร์แห่งการรวม พลคนปั ่ น จั ก รยานครั้ ง หนึ่ ง เลย ทีเดียว! จากนั้ น ขบวนจั ก รยาน มุ่ง หน้าสู่ลานเซ็นทรัลเวิร ์ลเพื่อ ท�ำพิธีเปิดอย่างเป็นทางการโดย คุ ณ มงคล วิ จ ะระณะ นายก สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย พร้ อ มร่ ว มกิ จ กรรมชิ ง รางวั ล มากมาย และบางส่ ว นมุ ่ ง สู ่ ถนนสี ล มเพื่ อ ร่ ว มกิ จ กรรมของ กรุงเทพมหานครในการเปิดเป็น ถนนเมืองใจดี สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 17
กิ จ กรรมบริ เวณลานเซ็ น ทรัลเวิร์ลได้เริ่มตั้งแต่วันที่ 15-21 กันยายน 2557 พร้อมมีงานออก บูธร้านค้าและนิทรรศการจาก 7 มหาวิ ท ยาลั ย ที่ ร ่ ว มแนวคิ ด การ สร้างทางจักรยาน และในช่วงค�ำ่ ยังได้เปิดโอกาส 18 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
ให้นักปั่นน้องใหม่ที่สร้างชื่อจาก ทริปไนท์ไรด์จนโด่งดังในโซเชียล เน็ ต เวิ ร ์ ค มาร่ ว มเป็ น หั ว ลากจั ด ไนท์ทริปส�ำหรับ Car Free Day 2014 โดยเฉพาะ สารสองล้อขอเป็นตัวแทน ขอบคุ ณ ทุ ก ท่ า นที่ อ อกมาร่ ว ม
สร้างสรรค์กจิ กรรมนีอ้ ย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กับการสนับ สนั บ สนุ น และร่ ว มแรงร่ ว มใจ ส�ำหรับกิจกรรมที่ยิ่งใหญ่อีกครั้ง.. ในปีนี้ โดยจะได้นำ� ข้อเสนอแนะต่างๆ มาพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรมให้ เหมาะสมในปีต่อๆ ไป ■
CAR FREE DAY NIGHT RIDE 2014
สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 19
20 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 21
แนะน�ำร้านจักรยาน
22 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
666Bikes Shop
ข
ายจั ก รยานและอะไหล่ พ ร้ อ ม เซอร์ วิ ส มี ทั้ ง จั ก รยานฟิ ก เกี ย ร์ เสือหมอบ เสือภูเขา รถพับ ทัวริ่ง วินเทจ และอะไหล่ของแต่งมากกว่า 1,000 ชิ้น และอื่นๆ อะไหล่ทุกชิ้นยินดีรับผิดชอบ หลังการขาย ถ้าคุณคิดว่าคุณอยากจะ ซื้อจักรยานซักคัน และคุณอยากได้การ บริการที่ดีเป็นกันเอง ไม่รีบเร่งจนเกินไป มี ที่ นั่ ง พั ก สบายสบายในการตั ด สิ น ใจ ในบรรยากาศที่ ดี ติ ด ริ ม แม่ น�้ ำ สบายตา มีที่ทานอาหารและที่ช้อบปิ้งให้ส�ำหรับ คุณผู้หญิงเวลาที่มานั่งรอ มีพนักงานที่ พร้ อ มจะพู ด คุ ย กั บ คุ ณ ให้ ค� ำ ปรึ ก ษาใน ทุกเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับจักรยานแบบทีไ่ ม่ถามค�ำ ตอบค� ำ ไม่ ดึ ง หน้ า ใส่ ราคายุ ติ ธ รรมมี จรรยาบรรณ กับการรับผิดชอบหลังการขาย แบบอบอุ่น พร้อมมีโปรโมชั่นต่างๆ และ ของแถมมากมาย และที่พลาดไม่ได้เรามี ส่วนลดให้กับลูกค้าที่มาซื้อของทุกท่าน แน่นอน อยากให้คณ ุ มาสัมผัสทีร่ า้ น ของเราครับแล้วคุณจะพบกับค�ำว่าแตกต่าง นึกถึงจักรยานให้นึกถึง 6666ใบค์ ■ ท�ำเล : สะพานพุทธริเวอร์พลาซ่า ชั้น 2 เวลาท�ำการ : ทุกวัน (หยุดทุกวันอังคาร) 12.00-01.00 น. Tel. 088-643-0355 (โทรได้เวลาท�ำการ) E-mail : birth_ 666bikes@hotmail.com สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 23
เรื่อง zangzaew
โลกอีกใบเพื่อหัวใจนักปั่น
24 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
พั
ฒนาก้าวไกลของจินตนาการที่ ม นุ ษ ย์ ส ร้ า งสรรค์ โดยอาศัยเทคโนโลยีด้านกราฟิค คอมพิวเตอร์ จนท�ำให้ปัจจุบันนี้ มนุษย์สามารถสร้างภาพจ�ำลอง แบบ 3 มิติที่เสมือนจริง ปรากฏ ไปยั ง สื่ อ ต่ า งๆ มากมาย ไม่ ว ่ า จะเป็น.. ภาพยนตร์ วิดีโอเกม หรือรายการบันเทิง ตลอดจนสื่อ ความรู้ต่างๆ บนหน้าจอทีวี นั่ น คื อ สิ่ ง ที่ BKOOL ได้ ศึ ก ษาและน� ำ มาพั ฒ นาสู ่ โ ลก อี ก ใบเพื่ อ หั ว ใจนั ก ปั ่ น จั ก รยาน ด้ ว ยความรู ้ สึ ก ที่ เ สมื อ นจริ ง กั บ การเข้าสู่สนามแข่ง หรือเส้นทาง จักรยานซึ่งรายล้อมไปด้วยมิตร สหาย ตลอดจนกลุ ่ ม นั ก ปั ่ น รอบตั ว ทั้ ง ที่ เ ป็ น เพื่ อ นนั ก ปั ่ น ด้วยกัน.. หรือนักปั่นเสมือนใน ระบบคอมพิ ว เตอร์ ซึ่ ง จ� ำ ลอง สภาพแวดล้อมได้สมจริงอย่างน่า อัศจรรย์ BKOOL คืออุปกรณ์ฝกึ ซ้อม ปั่นจักรยานที่มาพร้อมเทคโนโลยี 3 มิติ แบบเดียวกับเกมออนไลน์ ซึ่งก�ำลังได้รับความนิยมทั่วโลก
ปรากฏตัวครัง้ แรกในงาน ยูโรไบค์ ที่ เ ยอรมั น นี ใ นเดื อ นสิ ง หาคมที่ ผ่านมา ด้วยการใช้จกั รยานคันโปรด ติดตัง้ เพือ่ ปัน่ ไปบนอุปกรณ์เทรนเนอร์ ซึ่ ง เชื่ อ มต่ อ กั บ โปรแกรม 3 มิตคิ ณ ุ ภาพเดียวกับโลกแห่งเกม พร้อมข้อมูลสถานที่และเส้นทาง ต่างๆ บนโลกใบนี้ ท�ำให้คณ ุ สามารถ เลื อ กเส้ น ทางปั ่ น จั ก รยานได้ มากมาย ไม่ว่าจะเป็น จีน ยุโรป หรืออเมริกา เป็นต้น สัมผัสความรู้บนเส้นทางที่ สมจริง ไม่ว่าจะเป็นเส้นทางบน ถนนราบเรียบ ไต่เนิน หรือปั่น ลุยไปในเส้นทางแทรค ถนนลูกรัง บนเส้นทางธรรมชาติ หลากหลาย ไปด้วยดิน หิน แม่น�้ำ ล�ำธาร.. ด้วยความฉลาดของเจ้า BKOOL ถึงกับประกาศว่า “รู้จักทุกพื้นที่ ของเส้นทางบนโลกใบนี้!” ข้ อ มู ล ต่ า งๆ จากการปั ่ น แต่ละครัง้ จะถูกบันทึกเข้าสูร่ ะบบ เพื่อน�ำไปพัฒนาการฝึกซ้อม การ ท� ำ ลายสถิ ติ หรื อ การเชื่ อ มโยง กั บ ระบบออนไลน์ ร ่ ว มปั ่ น ร่ ว ม แข่งไปกับผู้ใช้ BKOOL คนอื่นๆ ลั ก ษณะเดี ย วกั บ การเล่ น เกม
ออนไลน์ สามารถสนทนาระหว่าง ปั ่ น จั ก รยานด้ ว ยกั น ผ่ า นระบบ สื่อสารออนไลน์ด้วยเสียงได้แบบ เรียลไทม์ BKOOL จึ ง กลายเป็ น อุ ป กรณ์ เ ทรนเนอร์ ซึ่ ง รวม คุณสมบัติของการใช้ฝึกซ้อมปั่น จักรยานทั้งแบบจริงจัง และเพื่อ ออกก� ำ ลั ง แบบสมจริ ง รวมถึ ง การเป็นเกม 3 มิติ และโซเชี่ยล เน็ ต เวิ ร ์ ค เพื่ อ ผู ้ ที่ รั ก การปั ่ น จักรยานทุกรูปแบบ.. แว่วว่าบริษทั เอเซียอินเตอร์ เนชั่ น แนลบิ ส สิ เ นสแอนด์ เซลส์ จ� ำ กั ด (www.asiabike.com) ก�ำลังจะน�ำเข้ามาให้นักปั่นชาว ไทยได้สัมผัสกันเร็วๆ นี้ ■ ที่มา.. www.bkool.com
สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 25
สุขภาพนักปั่น
เรียบเรียงจากข้อมูลของ มูลนิธิหมอชาวบ้าน (Folk Doctor Foundation) www.doctor.or.th
ป้องกันเข่าเสื่อม ด้วยตนเอง เข่าเสื่อม” เป็นอาการที่รักษาไม่หายขาด และมักจะมีอาการปวดเรื้อรัง เป็นๆ หายๆ ถึงแม้ว่า จะเป็นอาการที่ไม่ร้ายแรงถึงชีวิต ผู้ป่วยมักทุกข์ ทรมาน ไม่สามารถท�ำกิจกรรมที่ตัวเองชอบ ปัจจัยหลักที่ท�ำให้เข่าเสื่อมคืออายุ เมื่ออายุ มากขึ้นย่อมมีอาการเสื่อมเป็นธรรมดา เช่นเดียวกับ กรรมพันธุ์ ปัจจุบนั มีการพบยีนทีม่ สี ว่ นท�ำให้เข่าเสือ่ ม ปัจจัยทั้ง 2 อย่างจะแก้ไขได้ยาก แต่ปัจจัยต่างๆ ต่อไปนี้ จะเป็นปัจจัยทีส่ ามารถแก้ไขได้ อาทิ ความอ้วน น�้ ำ หนั ก ตั ว มาก ผู ้ ห ญิ ง มี โ อกาสเป็ น มากกว่ า ชาย ผู้ที่มีเข่าชิดกันมากกว่าปกติ (valgus knee) เข่าโก่ง (varus knee) หรือมีเข่าแอ่นมาก มีประวัติบาดเจ็บ ของเข่า การท�ำงานหนัก และงานซ�ำ้ ชาก การเล่นกีฬา ที่มากเกินไปเช่นฟุตบอล ความยาวขาไม่เท่ากัน และ กล้ามเนื้อหน้าขาอ่อนแรง เป็นต้น
26 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
ป้องกันไม่ให้เข่าเสื่อมได้อย่างไร? จากความรูเ้ กีย่ วปัจจัยเสีย่ งข้างต้น สามารถน�ำ มาประยุกต์กบั การใช้ชวี ติ ไม่ให้เข่าเสือ่ มในอนาคตได้ ดังนี้ 1. อย่ากินและนั่งมากจนอ้วน
พบว่ า ถ้ า ลดน�้ ำ หนั ก ตั ว ลงได้ ป ระมาณ 5 กิโลกรัม สามารถลดความเสี่ยงที่จะเป็นโรคเข่าเสื่อม ได้ ถึ ง ร้ อ ยละ 50 การออกก� ำ ลั ง ด้ ว ยการเดิ น เร็ ว ปานกลางอย่างน้อยวันละครึ่งชั่วโมง ร่วมกับการ ควบคุมอาหารจะช่วยลดความอ้วนได้ดี 2. โครงสร้างเข่าผิดปกติ
ลักษณะของโครงสร้างเข่าปกติมีหลายชนิด (เข่าโก่ง เข่าชิด หรือเข่าแอ่น) ควรปรึกษาผูเ้ ชีย่ วชาญ เพือ่ หาทางแก้ไขตัง้ แต่อายุยงั น้อย หรือถ้าไม่สามารถ ท�ำอะไรได้ ควรใช้เข่าอย่างระมัดระวัง ไม่เสี่ยงเล่น กี ฬ าหนั ก ที่ ใช้ เข่ า มาก เช่ น แบดมิ น ตั น เทนนิ ส ฟุตบอล ไม่นั่งยอง หรือนั่งพื้นนานๆ
3. หลีกเลี่ยงการเล่นกีฬาปะทะที่จะน�ำมาซึ่งอาการ บาดเจ็บของเข่า
8. ท�ำการรักษา
4. ไม่ควรอยู่ในท่าคุกเข่า นั่งยอง ยืน เป็นเวลานาน
ถ้ า มี อ าการบาดเจ็ บ ของเข่ า มี อ าการบวม ต้องท�ำการรักษา และงดการท�ำกิจกรรมทีท่ ำ� ให้มอี าการ ปวดมากขึ้น เมื่อหายยังไม่สนิทต้องระวังไม่ให้เป็นซ�้ำ และอย่าปล่อยให้มีอาการเรื้อรัง
5. เลี่ ย งกิ จ กรรมที่ มี แ รงกระแทกหรื อ แรงบิ ด ต่ อ ข้อเข่าสูง
สวมใส่รองเท้าที่เหมาะกับกีฬาแต่ละประเภท เช่น รองเท้าวิ่งก็ควรมีส้นรองเท้าที่นิ่มรับแรงกระแทก ได้ดี รองเท้าส�ำหรับใส่เล่นแบดมินตันหรือเทนนิสควร มีพื้นบางเพื่อไม่ให้พลิกได้ง่าย เป็นต้น ■
ควรเล่นกีฬาเพือ่ สุขภาพ ไม่ใช่เอามัน ไม่ควร เสี่ยงปะทะ เอาชนะกันอย่างเอาเป็นเอาตาย ผู้ที่ต้องคุกเข่าท�ำงานอาจต้องหาวัสดุที่นิ่ม มารองบริ เวณเข่ า เพื่ อ กระจายแรงกด และให้ พยายามเปลีย่ นอิรยิ าบถบ่อยๆ เพือ่ ให้แรงกดทีข่ อ้ สลับเปลี่ยนที่ไปเรื่อยๆ เช่น การกระโดดซ�้ำๆ การยกของหนักเกิน ก�ำลัง การหมุนตัวด้วยการใช้หัวเข่า 6. ลองวัดความยาวขาดู
นอนหงาย ปล่อยขาตามสบายแต่ไม่กาง ให้ เพือ่ นคล�ำปุม่ กระดูกบริเวณทีเ่ ท้าสะเอว (anterior superior iliac spine, ASIS) และกลางตาตุ่มของ เท้าด้านใน วัดระยะห่างจากทัง้ 2 จุดในขาข้างหนึง่ ถ้าขาสองข้างยาวไม่เท่ากันเกิน 2 เซนติเมตร ต้อง เสริมรองเท้าในระยะที่ขาด
9. ไม่ควรใส่ส้นสูง จะท�ำให้เข่าแอ่น มีโอกาสที่เข่าจะเสื่อม ได้ง่าย
เอกสารอ้างอิง Zhang Y., Jordan J. Epidemiology of Osteoarthritis. Rheum Dis Clin N. Am. 2008; 34: 515–29.
7. ออกก�ำลังกล้ามเนื้อหน้าขาให้แข็งแรง
อาจใช้วิธีการที่ท�ำกันทั่วไป คือ ถุงทราย น�้ำหนัก 1-2 กิโลกรัม มาผูกกับข้อเท้า นั่งห้อยขา แล้วยกขึ้น-ลง ช้าๆ ถ้าได้ 10 ครั้ง แล้วเมื่อยพอดี ให้ท�ำซ�้ำอีก 2 เซท ถ้ายังง่ายไปก็เพิ่มน�้ำหนัก ถุงทรายทีละ 0.5 กิโลกรัม จนได้นำ�้ หนักทีย่ กได้ 10 แล้วเมือ่ ยพอดี หรือจะออกก�ำลังด้วยการยืนย่อเข่า ทั้ง 2 ข้างประมาณ 20 องศา ค้างไว้ 1 วินาที แล้ว เหยียดเข่า ท�ำซ�ำ้ ประมาณ 10 ครัง้ ถ้ารูส้ กึ ว่าง่ายไป อาจยื น ขาเดี ย วพิ ง ฝา ปรั บ จนท� ำ ได้ ป ระมาณ 10 ครั้ง แล้วเมื่อยพอดี ท�ำซ�้ำอีก 2 เซท
เราเป็นโรงงานผลิตและจ�าหน่าย เสื้อคอกลม เสื้อโปโล สินค้าพรีเมียม ด้วยประสบการณ์กว่า 20 ปี งานด่วนสั่งได้ ราคาเป็นกันเอง โทร. 089-487-8789 ภาณิดา เหมรัตสารสองล้ นากร อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 27
สรุปทริป
เรื่อง แอด Coolmaker • ภาพ Coffee Bike Club
Learn to Ride #4
28 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
น้
องต้ น คื อ หนึ่ ง ตั ว อย่ า งดี ๆ ของ ความตั้งใจ ความพยายามที่ไม่เคย ยอมแพ้ น้องต้นมาร่วมโครงการ Learn to Ride ตั้งแต่ครั้งที่ 1 ต่อเนื่องจนถึง โครงการครั้งที่ 4 แล้ว ด้วยน�ำ้ หนักตัวทีม่ าก รูปร่างใหญ่ เดินเร็วๆ ยังมีอาการเหนื่อยให้เห็น รอบ แรกๆ ของน้องต้น เรียกว่า ทรงตัวบนรถ จักรยานไม่ได้เลย ทั้งเกี่ยวขา หมดแรง ล้มลุก หัวเข่าลง ข้อศอกแตก แต่ก็ยังคง เห็นน้องต้นมาลงทะเบียนเรียนตลอด จนมาถึงครัง้ ล่าสุด ความไม่ยอมแพ้ทำ� ให้ วันนีน้ อ้ งต้นปัน่ จักรยานเป็นแล้ว แม้จะ
ยังไม่คล่องแคล่ว ทะมัดทะแมง แต่เป็น จุดเริ่มต้นที่ดีอย่างแน่นอน ส�ำหรับตัว น้องต้นเอง การปัน่ จักรยานจะกลายเป็น อีกกิจกรรมที่น้องต้นจะได้ท�ำเพื่อดูแล สุขภาพร่างกายของตัวเองต่อไป หวังใจว่า...ความส�ำเร็จเล็กน้อย ของผูช้ ายร่างใหญ่จะเป็นก�ำลังใจยิง่ ใหญ่ ให้ เ พื่ อ นๆ ที่ ป ั ่ น จั ก รยานไม่ เ ป็ น แต่ ก�ำลังสนใจการปั่นจักรยาน และเลือก การปั่นจักรยานเป็นการออกก�ำลังกาย ฝึกฝนตนเองจนท�ำส�ำเร็จแบบน้องต้น นะคร้าบบบบ ■
สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 29
สรุปทริป
เรื่อง/ภาพ schantalao
Audax TCHA Amphawa 200BRM
เ
ปิดตัวโปรเจ็คส�ำหรับขาแรงกันไปเป็นที่เรียบร้อย ส�ำหรับ Audax Randonneurs Thailand โดยสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทยได้ รับลิขสิทธิ์ในการเป็นผู้จัดกิจกรรมนี้ ส�ำหรับครั้งนี้เป็นรอบ Testrun หรือทดสอบเส้นทางจากสนามศุภชลาศัย สนามกีฬาแห่งชาติ - อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม มีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมทดสอบเส้นทางเป็น จ� ำ นวนกว่ า 150 ท่ า น ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากหน่ ว ยแพทย์ กู ้ ชี พ วชิรพยาบาลมาช่วยดูแลด้านความปลอดภัยตามแยกต่างๆ และตาม ปิดท้ายแต่ละกลุ่มเพื่อความอุ่นใจ นอกจากนี้ยังมีกลุ่ม Coffee Bike และสต๊าฟอาสาสมัครอีกหลายท่าน งานนี้ลุงบ๊อบและคุณจือเทงบ ท�ำของที่ระลึกแจก รวมถึงอาหารและขนมแบบไม่อั้น ลองมาดูรีวิวจาก ผู้เข้าร่วมกันสักท่านค่ะ คุณเทมส์ 30 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
รีวิวจากคุณเทมส์ Audax ID 335 ชมรมจักรยานเพื่อ สุขภาพบ้านบัวทอง การทดสอบสนาม 209 กิโลเมตร ไปกลับ สนามศุภชลาศัย -อัมพวา แบ่งเป็นช่วงๆ ได้ดังนี้ ช่วงแรกประมาณ 20 กิโลเมตร เป็นการปัน่ ชิวๆ บนถนนกรุงเทพฯ ยามเช้ า รถน้ อ ย มี เจ้ า หน้ า ที่ วชิ ร พยาบาลคอยอ� ำ นวยความ สะดวกให้ แต่..ผมก็ยงั มีหลง แหะๆ …หาซอยราษฎร์ พั ฒ นาไม่ เจอ ขี่ พ าเพื่ อ นเลยไปอี ก 2 กิ โ ล ขอโทษเพื่ อ นๆด้ ว ยนะครั บ ... 40 กิ โ ลเมตรต่ อมาปั ่ น บนถนน พระราม 2 สภาพถนนเรียบและ
กว้างพอสมควร แต่..ต้องขี่ไปกับ พี่ๆ รถยนต์คันใหญ่ๆ ใจต้องนิ่ง คุมรถให้ดีไม่หวั่นไหวกับแรงลม ดู ด จากรถใหญ่ ไปจนถึ ง CP1 วัดเกตุมดีศรีวราราม ออกจาก CP1 ไปกั น ต่ อ บนพระราม 2 อีกประมาณ 20 กิโลเมตร เลี้ยวเข้าสู่อัมพวา (จะ มีอยู่จุดหนึ่งที่ส�ำคัญคือ กิโลเมตร ที่ 95.8 ซ้ายที่วงเวียน) หากท่าน ไม่ไปตามจุดนี้แต่เลยแล้วไปเลี้ยว ซ้ายแยกถัดไป ท่านจะ .. หนึ่ง.. ไม่ได้ชมบรรยากาศ ถนนริมสวนริมน�้ำที่ร่มรื่นที่ทาง TCHA ออกแบบไว้ให้ ส อ ง . . ท ่ า น จ ะ ขี่ ต า ม
Cuesheet ต่อไม่ได้ มันจะไม่ตรง แล้ว มีหลงแน่นอนต้องถามทาง สาม.. ท่านอาจไปถึง CP2 โบสถ์แม่พระบังเกิดได้โดยขีต่ รงไป แต่ ร ะยะทางจะขาดไป 3-4 กิ โ ลเมตร (จึ ง อยากสอบถาม เพือ่ นๆ ทีไ่ ป Test run ทัง้ 150 ท่าน มีใครไปตามทาง Cuesheet ถูก ต้องบ้างครับ) เข้าพักที่ CP2 ทานก๋วยเตีย๋ ว อร่ อ ยๆ จากพี่ จื อ พั ก ขาแล้ ว ออกตัวกันต่อไป CP3 วัดบางตะคอย วัดใหญ่อยู่ริมถนน แต่ท�ำไมขี่เลย กัน 555 ก็ทางเข้าสังเกตยากจัง ต้องสังเกตทางเข้าแยกบ้านแพ้ว อยากได้ป้าย CP3 วางไว้ข้างหน้า สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 31
ชั ด ๆ เลยครั บ จะได้ ไ ม่ ขี่ เ ลย (ลูกชิน้ อร่อยนะครับ) อีกเรือ่ งหนึง่ แม้ ร ะยะทางจาก CP2-CP3 แค่ 50 กิโลเมตร แต่…อากาศร้อน แดดตอนเที่ยงๆ ท�ำให้ร่างกาย เสี ย น�้ ำ มากจริ ง ๆ น�้ ำ เติ ม มาแค่ 1 ขวดไม่พอครับ บอกเลย..ต้อง แวะปั้ม เสียเวลาเลย T_T ส่วน ข้ อ ดี ที่ ช อบมาก ก็ คื อ ลมแรง มาก.....ดันหลังกันสุดๆ ความเร็ว แตะ 34-35 แบบหน้าตาเฉย ^_^ ออกไป CP4 แวะนาวาไบค์ เปลี่ยนจักรยานเป็นดาฮอนแล้ว 32 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
ขี่ ต ่ อ เย้ ย … แค่ เ ดิ น ชมด้ า นใน ร้านเฉยๆ จ๊า ^_^ เฉาก๊วยอร่อย ดีครับแม้วา่ จะรีบกินเกินไป น�ำ้ ตาล ยังไม่ละลาย น�้ำแข็งยังไม่ทันเย็น เฉาก๊ ว ยหมดซะแระ 555 เอ๊ ะ ออกแนวปั ่ น ไปกิ น แฮะ ปั ่ น มา 180 กิโล ก็ยังชิวๆ อยู่ แ ต ่ … จ า ก นี้ สิ ห นั ง ชี วิ ต เข้ า สู ่ ก รุ ง เทพฯ เมื อ งฟ้ า อมรสู ่ จุด Finish ขี่ออกมาคนเดียวแล้ว บ้านนอกเข้ากรุงชัดๆ ตอนนี้ไม่มี เจ้ า หน้ า ที่ ม าคอยกั น รถให้ แ ล้ ว T_T รถก็ติดตามสไตล์กรุงเทพฯ
พยายามดูตาม Cuesheet ไป เรื่อยๆ แบบไม่แน่ใจว่าหลงหรือ มาถูกทางแล้ว จนมาเจอะสามย่าน เย้!! ไปถูกแล้ว แต่….ฝนลงเม็ด 5555 รถก็ติดต้องกระดึ๊บๆ ไป มี ใ ครหลงเส้ น ทางในกรุ ง เทพฯ บ้างครับ เพื่อนๆ test run แจ้ง ด้วยนะครับ พอถึงสนามศุภฯ ระยะหาย ไป 3 กิโลเมตร ปั่นรอบสนามอีก 4-5 รอบ ครบ 209 กิโลเมตร 9 ชั่วโมง 59 นาที 51 วินาที T_T น�ำ้ ตาจะไหล ซึง้ อ่ะ ได้เลขตัวเดียว
สนุ ก สนานนะครั บได้ ปั ่ น เรื่ อ ยๆ มี เ พื่ อ นใหม่ ๆ ช่ ว ยเหลื อ กั น ไป แล้วพบกันใหม่งานหน้าครับ ข้อเสนอแนะ 1. เส้ น ทางไปอั ม พวา มี เส้นทางรองสายอืน่ หรือเปล่าครับ เส้ น ทางนี้ ขี่ ร ่ ว มทางกั บ รถใหญ่ ร่วมๆ 160 กิโลเมตร ต้องใช้ความ ระมัดระวังมากจริงๆ ครับ เรียน พิจารณาด้วยครับ 2. เรื่ อ งการอ� ำ นวยความ สะดวกเพื่อความปลอดภัย เรื่อง
ความปลอดภัย ดีครับ ปลอดภัย อุ ่ น ใจขี่ ส บาย แต่ เจ้ า หน้ า ที่ จ ะ ดูแลได้ครอบคลุมแค่ไหนถ้าต้อง ดูแลนักปั่น 800-1000 คน ต้อง ใช้เวลาแต่ละจุดนานเกือบสีช่ วั่ โมง นะครั บ กว่ า นั ก ปั ่ น จะผ่ า นไป ทุกคนนะครับ 3. การดู แ ลในทุ ก จุ ด CP ดีมากครับ วันจริงรักษาคุณภาพ เพิ่มปริมาณครับ 4. เส้นทาง Cuesheet ที่ หลงกั น จะยื น ยั น หรื อ คงไว้ ค รั บ แล้วแต่ผจู้ ดั ครับ ส่วนในกรุงเทพฯ
ผมอาจจะหลงคนเดียวก็ได้ 555 บ้านนอกเข้ากรุง 5. สายรัดสะท้อนแสงจาก TCHA แจ่ ม มากครั บ ผม แผ่ น สะท้อนแสงที่ระลึกก็ชอบครับ โปรดติ ด ตาม Audax TCHA Cha-am 300BRM ใน วันที่ 4 ตุลาคม 2557 ซึ่งเป็นรอบ Testrun เช่นกันโดยใช้เส้นทาง เลี ย บชายทะเลบางขุ น เที ย น คลองโคน - ชะอ�ำ ■ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 33
สรุปทริป
เรื่อง/ภาพ schantalao
ปั่นด้วยกัน ปันด้วยใจ ครบรอบ 22 ปี รฟม.
กิ
จกรรมแรลลี่ จั ก รยานโดยการรถไฟฟ้ า ขนส่ ง มวลชนแห่ ง ประเทศไทย (รฟม.) ร่วมกับสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย (TCHA) จัดต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 2 เพื่อส่งเสริมให้ออกก�ำลังกายด้วย จักรยาน ครั้งนี้ได้น�ำเงินรายได้สมทบ “มูลนิธิขาเทียม ในสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี” เพื่อถวายแด่สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์ประธานมูลนิธิขาเทียมฯ ซึ่งจัดขึ้น เมื่อวันอาทิตย์ที่ 17 สิงหาคม 2557 ■
34 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
เรื่องเล่าชาวสองล้อ เรื่อง/ภาพ จารึก หลังสวน
ปั่นสองเดือนเที่ยวยูนนาน ตอน หยวนหยาง
ปัวางแผนอย่ ่ างดี ดูแผนที่ก�ำหนดจุดที่จะต้องปั่น นออกจากเมื อ งจิ น ผิ้ ง แค่ วั น แรก ก่ อ นปั ่ น ก็
ให้ถึงเมือง “เธอฉ่า” แต่เป็นเพราะมัวโอ้เอ้ ออกเริ่ม ปั่นเสียสาย ช่วงบ่ายเจอแต่ภูเขา ไต่เขาจนมืดสนิท ก็ไม่ถึงเสียทีเมืองที่ว่า ออกปากขอพักกับชาวบ้าน ไม่มีใครให้นอนสักคน เริม่ มีอาการใจเสียครับ ออกจะนึกไปในทางเรา คิดผิดหรือเปล่าทีเ่ ลือกมาปัน่ เจอเส้นทางแบบนี้ และ ท่ามกลางบรรยากาศแบบนี้ ตอนนี้มันรู้สึกสุดวังเวง ครับ กับถนนเล็กๆ กว้างแค่พอรถยนต์หนึง่ คันผ่านได้ บนถนนเงียบสงัด แต่ยังโชคดีครับ ยังไม่ถึงสี่ทุ่ม เจอร้ า นริ ม ทางเห็ น แต่ ไ กลเพราะเปิ ด ไฟดวงกลม แสงจ้าในเพิง ปัน่ ใกล้เข้าไปเห็นมีคนแต่งตัวเป็นคล้าย เหมือนคนเมือง ใส่เสื้อสีออกขาวแขนยาว ดูเหมือน ก�ำลังนั่งกินข้าวอยู่ที่ลานหน้าบ้าน ปั่นเข้าไปถึง เป็น คนหนุ่มสองคนวัยเกินสามสิบนั่งบนม้านั่งยาว ก�ำลัง นั่งดื่มกินก่อนกลับบ้านตามผับตามบาร์เหล้าเช่นเรา คนในเมือง บนโต๊ะมีขวดเหล้าเป็นหลักที่วางให้เห็น มีแม่ค้าเป็นหญิงชาวบ้านอายุราวห้าสิบ นั่งปิ้งชิ้น
ตอนที่ 3
เต้าหู้ขนาดลูกเต๋า ชายหนุ่มสองคนกินเต้าหู้ปิ้งเป็น กับแกล้ม ผมเข้าไปทักทาย เขาตอบกลับด้วยท่าทาง เป็นมิตร แสดงท่าทีขยับตัวให้ผมมีพื้นที่นั่งร่วมวง ผมแสดงท่าทางหิวข้าว จิ้มนิ้วไปที่เต้าหู้ ขอซื้อ กินหน่อย แม่ค้าท�ำกริยาแปลกใจผมบอกหิวข้าว แต่ ดันชี้สั่งกินเต้าหู้ สองหนุ่มช่วยแม่ค้าชี้แจงกับผมว่า เต้าหู้ปิ้งนี้ใช้กินเล่นกับเหล้าไม่ใช่ของกินให้อิ่มท้อง เช่นข้าว หลังจากนัน้ แม่คา้ ก็ลกุ ขึน้ เดินไปในครัว จัดการ หยิบตัวอย่างเส้นหมี่กลมขนาดเส้นเท่าไส้เดือนสีขาว ให้ผมดูเป็นผมเออออบอกใช่ละครับ เร่งท�ำมาหน่อย ผมหิวเต็มทีแล้ว แม่คา้ หายไปทิง้ เต้าหูท้ ป่ี ง้ิ ค้างให้หนุม่ ลูกค้าสองคน ปิ้งกินกันเอง ช่ ว งนี้ ล ะครั บ เป็ น ช่ ว งน่ า รั ก ที่ ผ มประทั บ ใจ อยากเล่าถึงรสชาติการเดินทางปั่นเที่ยวเล่นแบบนี้ เผื่อท่านใดติดใจ ไปปั่นเที่ยวแบบเดียวกันนี้บ้าง สามี ข องแม่ ค ้ า อายุ ค งจะไม่ น ้ อ ยกว่ า หกสิ บ รูปร่างผอมสูง เดินถือกระติกน�้ำร้อนพร้อมแก้วน�้ำ หนึ่งใบยื่นให้ผม เป็นของวิเศษส�ำหรับผมซึ่งก�ำลัง สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 35
หนาวได้ที่เลยครับ รินน�้ำร้อนลงแก้วแล้วถือคลึงมือ พอจิบได้แล้วก็จบิ เรือ่ ยไป รูส้ กึ ดีขนึ้ รูส้ กึ ถึงความเป็น มิตรและอบอุ่น สองหนุม่ ช่วยกันปิง้ เต้าหูแ้ ล้วจิม้ เข้าปาก ส่วนผม ก็จิบน�้ำร้อน จนแม่ค้าเดินกลับมา ในมือถือชามใบโต ปากชามกว้างเกือบแปดนิ้ว กลิ่นไอร้อนพุ่งพวย โดน อากาศเย็นเป็นไอขาว วางลงกับโต๊ะพร้อมตะเกียบ หนึง่ คู่ ผมกินหมดชามนานกว่าสิบนาที พุย้ เส้นสองที ยกชามซดน�ำ้ หนึง่ ที สลับไปแบบนีเ้ พราะเขาไม่มชี อ้ น ให้ครับ กินอิม่ แล้ว.. ปากเริม่ พูดจาเล่าเรือ่ งประสบการณ์ ตลอดเส้ น ทางที่ ผ ่ า นมาให้ ส องหนุ ่ ม ร่ ว มม้ า นั่ ง ฟั ง ทัง้ ออกปากบอกเขามืดค�ำ่ ออกป่านนี้ ยังหาทีน่ อนไม่ได้ ตั้ ง ใจจะไปให้ ถึ ง เมื อ งเธอฉ่ า ไม่ รู ้ อี ก ไกลแค่ ไ หน อีกทัง้ มีทที า่ ว่าจะหมดแรงแล้ว อยากจะขอนอนแถวนี้ หนุม่ สองคนก็บอกว่าเมืองเธอฉ่าไปอีกไม่ไกล ใกล้จะ ถึงแล้วล่ะ ส่วนผมชักจะเริม่ งอแง พอได้นงั่ ก้นมันชักหนัก บอกไปว่าไม่อยากปั่นต่ออีกแล้วล่ะ จะขอนอนแถว ลานดินใต้พมุ่ ไม้ตรงโน้น ห่างไปประมาณสิบกว่าเมตร คุณน้าผู้หญิงแม่ค้า พอรู้ว่าผมจะนอนตรงที่ชี้ ส่ายหัวบอกท�ำนองนอนไม่ได้ แต่ผมก็ยนื ยันท�ำนองดือ้ แล้วล่ะครับตอนนี้ บอกคุณน้าผูห้ ญิงผมปัน่ ไม่ไหวแล้ว เหนือ่ ยมากและก็หนาวด้วย ผมท�ำท่าหนาวให้นา้ ผูช้ ายดู น้าผู้ชายหายเข้าบ้านไปครู่หนึ่ง หยิบเยือกน�้ำใสยัง กับตาตั๊กกะแตนส�ำนวนคนโบราณเขียน ยื่นให้ผม ผมดมกลิน่ เหล้าหอม คุณน้าพยักหน้าให้ผมท�ำนองดืม่ 36 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
ซะหน่อยจะได้อุ่นหายหนาว ผมรินเหล้าใส่แก้วขาว ที่คุณน้าผู้ชายส่งมาให้ ค่อยๆ จิบเหล้า กระดกหนัก ไม่ไหวครับ เหล้าแรงจริงๆ ผมเดินเข้าไปในบ้านที่ดูเหมือนจะเป็นส่วนท�ำ อาหารให้ลูกค้า เห็นเบียร์จีนวางเต็มชั้น จึงหยิบมา ขวดหนึ่งไม่ได้ถามราคา เปิดเบียร์ดื่ม ส�ำหรับผมคอ ระดับเด็กๆ กว่าอายุตัว กินเหล้าพื้นบ้านไม่ไหวครับ ก็นั่งกินแบบถ่วงเวลาให้มันดึก กะว่าหากคุณน้าทั้ง สองยังขืนไล่ ผมก็ไม่ไป ช่วงนี้นั่งดื่มเบียร์ไม่กังวลในสิ่งใดเลย ไม่กังวล ว่าค่าหมีท่ กี่ นิ นัน้ เขาจะคิดเงินเท่าไหร่ ค่าเบียร์จะแพง หรือเปล่าก็ไม่รู้ อาจจะมีกงั วลก็นดิ ๆ กลัวถูกโก่งราคา เพราะเราแสดงอาการคนเหนือ่ ยหมดท่ามา ท�ำแบบนี้ ในเวียดนามท�ำไม่ได้ครับ หัวแบะแน่นอน พออิ่มดีแล้ว หน�ำซ�้ำก�ำลังมึนได้ที่ อาการง่วง นอนก็กำ� เริบ แถมกังวลแบบคนขีเ้ หนียว ยังไม่ได้ควัก ตังค์จ่ายเขา ลุกขึ้นไปรื้อเต็นท์ออกจากตะแกรงรถ ท�ำท่าว่าจะไปกางเต้นท์ โดยทิ้งข้าวของและเบียร์ที่ ยังกินไม่หมดอยู่บนโต๊ะ ท�ำนองออกตัวเดี๋ยวกลับมา กินต่อ จ่ายตังค์ทีหลัง คุณน้าผู้ชายรีบเดินออกมา จากบ้าน มาดึงมือท�ำอาการห้ามไม่ให้กางเต็นท์ ท่ า นน� ำ หน้ า น� ำ ทางพาผม เดิ น ไปเปิ ด ประตู ห ้ อ ง ที่ บ ้ า นหลั ง ที่ ส อง ชี้ เข้ า ไปข้ า งในท� ำ นองบอกผม ให้นอนในห้อง เป็นห้องที่มีที่นอนผ้าห่มพร้อม แต่ในห้องก็ เป็นที่เก็บเครื่องมือการเกษตร และอีกเครื่องหนึ่งดู เหมือนจะเป็นเหมือนเครื่องรีดหรือกดหรือบีบหรือ คั้นหรืออะไรสักอย่าง ที่คุณน้าผู้ชายท�ำงานค้างอยู่ ผมเข้าไปในห้อง ดูสภาพแล้วถึงเข้าใจเป็นเครื่องโม่ บดคั้นถั่วเหลืองครับ คุณน้าผู้ชายยืนยันชี้ให้ผมนอนในห้อง แสดง ท่ า ทางให้ ผ มรู ้ ว ่ า เมื่ อ เข้ า นอนให้ ป ิ ด สวิ ท ช์ ไ ฟฟ้ า ตรงไหน ให้ปิดประตูยังไง ครับท่านอธิบายจบแล้ว ก็ท�ำท่าจะทิ้งผมไว้ในห้อง ผมก็เดินตามท่านออกมา ถามท่านว่าผมจะไปล้างหน้าล้างตาได้ที่ตรงไหน
ท่านก็กรุณาเดินน�ำผมไปหลังบ้านของหลังใหญ่ที่ ตั้งครัวท�ำร้านอาหาร ชี้ให้ผมดูจุดลานโล่งหลังบ้าน วางถังใหญ่สามถัง ท่านเปิดฝาปิดให้ผมดูมีน�้ำเต็มถัง มีสายน�้ำประปาภูเขาแหย่สายทิ้งคาไว้ ผมโล่งใจ มีที่ อาบน�้ำแล้วคืนนี้ แถมที่นอนก็ได้นอนในที่ปลอดภัย ผมเดิ น กลั บ ไปนั่ ง ในเพิ ง ดื่ ม เบี ย ร์ ห มดขวด จูงจักรยานเข้าไปเก็บในห้อง แล้วเดินออกไปอาบน�้ำ หลังบ้าน ระหว่างอาบน�้ำ ได้ยินเสียงเครื่องบดเมล็ด ถั่ ว เหลื อ งท� ำ งานเสี ย งดั ง โคร้ ง เคร้ ง ๆ ผสมครื ด ๆ ผมอาบเสร็จเดินกลับเข้าห้อง คุณน้าผู้ชายก็เลิก ท�ำงานพอดี บอกให้ผมพักผ่อน ผมมองไปทีโ่ ต๊ะในเพิง ลูกค้าหนุม่ สองคนไม่อยูแ่ ล้ว ตอนเข้านอนเริม่ หลับตา ถึงนึกทวนทบว่ายังไม่ได้จา่ ยตังค์ นอนนึกตัง้ โจทย์คดิ อยู่นานว่าตื่นเช้าก่อนร�่ำลากัน จะตอบแทนคุณน้า สองท่านเป็นเงินค่าห้องพัก ค่าหมี่ ค่าเบียร์ ค่าเหล้า สักเท่าไรดีหนอถึงจะไม่มากเกินหรือน้อยเกิน ผมนอนหลับสนิท ตืน่ หกโมงเวลาของเรา ถือว่า เจ็ดโมงเช้ายามสายบ้านเขา เปิดประตูห้องมองไปที่ ลานเห็นคุณน้าผูห้ ญิงง่วนอยูก่ บั การจัดเรียงเต้าหูแ้ ผ่น อยูบ่ นโต๊ะใหญ่ ถึงนึกร้องอ๋อ อาชีพหลักของสองท่าน คือ ท�ำแผ่นเต้าหูข้ ายส่ง ผมนึกในใจหลังเสร็จการล้าง หน้าแปรงฟัน จะขอแบ่งซื้อจากท่านซักแผ่น เอาไป ท�ำกับข้าว เสร็จเรื่องแปรงฟัน เดินกลับมาที่ห้องนอน สาละวนต้มกาแฟกินต่อ ท�ำตัวสุดสบายเหมือนพัก ในรีสอร์ท กลับมายืนตรงจุดที่ยืนแปรงฟันเปลี่ยน เป็นกิจกรรมกินกาแฟ ที่ตั้งของบ้านตั้งบนเนินสูง ทิวทัศน์หลังบ้านที่ผมยืนอาบน�้ำเมื่อคืน เป็นสุดของ ความสูงก้มมองเป็นโตรกเหวหลุบผลุบดิ่งลงลึกครับ ยืนมองวิวระหว่างแปรงฟัน ภาพไกลโพ้นเป็นเขา ซับซ้อน ทะเลหมอกในหล่มเหวใกล้มือ หากกล้าๆ ยืดตัวให้ยาวไปคว้าเมฆมาปั้น ดูท่าจะได้ เสร็จการกินดื่มกาแฟดูวิว อ้าว…นึกเสียดาย เต้าหูท้ เี่ ห็นวางบนโต๊ะกองเบ้อเริม่ หายวับไปหมดแล้ว แท้ที่จริงคุณน้าท่านก�ำลังจัดเต้าหู้ใส่ลงลัง เพื่อขน
ขึ้นรถกระบะเพราะมีลูกค้ามาจอดรับ ผมก็เลยอด กินครับ แต่โชคดีได้ของฟรีทดแทน ผมเข้าครัวของ คุณน้าผัดผักกินด้วยตนเอง ตอนท�ำท่าจะหุงข้าวตาม กิจวัตรที่ตั้งใจท�ำทุกวัน คุณน้าผู้ชายท่านเห็นก็ดึงมือ ให้ละจากการตวงข้าวสาร เดินน�ำผมพาไปเข้าครัว ส่วนตัว ที่แยกจากครัวท�ำอาหารขายร้านค้า เปิดฝา หม้อข้าว หม้อข้าวไฟฟ้า ข้าวสุกหุงใหม่ยังมีไอร้อน บอกผมคดข้าวกินจากหม้อนี้ ส่วนผักสดผมได้จาก หลังบ้าน เช้าตืน่ มา เห็นเพือ่ นบ้านเป็นผูห้ ญิงสองคนอายุ เกินหกสิบ ผมเดาเอาว่าคงเป็นคนพืน้ ทีแ่ ต่งชุดชนกลุม่ หาบกระจาดหรือบุ้งกี๋ใส่ผักเรียกไม่ถูก เดินจากถนน ลิ่วผ่านบ้านมุ่งไปที่สายยางน�้ำประปาภูเขา แหล่งน�้ำ ใช้อยูห่ ลังบ้าน เอาไปเทกองแล้วนัง่ ยองเลือกและล้าง ผักในกาละมังใบโต เป็นผักที่เพิ่งเก็บ รากยังติดขี้ดิน ส่วนใบจะติดขี้คนหรือเปล่า ไม่ได้ดมจึงไม่รู้ จึงเดินไปหาท่านทั้งสอง ขอผักท่านมาพอควร แก่การท�ำกินซักหนึ่งมื้อ เอาไปผัดในครัวส่วนท�ำ อาหารขายลูกค้า คุณน้าผู้หญิงเดินมาดูผมอาศัยครัว ท่าน ท่านยิ้มแบบเมตตาท�ำนองอนุญาตอยากหยิบ อยากฉวยอะไร ท�ำได้ตามสบาย ได้กบั ข้าวเป็นผักผัดใหม่สด มีขา้ วร้อนเต็มถ้วย ใหญ่ ตะเกียบก็พร้อมจะคีบหนีบอยู่ในมือ อ้าวมอง ออกไปหน้าบ้าน มีสาวน้อยแต่งชุดชนกลุม่ ตน แต่งตัว สวยจริงขีม่ อเตอร์ไซค์ใหม่คนั สวย เช็ดสะอาดไม่เปือ้ น ฝุน่ เข้ามาจอดทีล่ านหน้าบ้าน เดินมานัง่ ยังทีโ่ ต๊ะเดียว
สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 37
กับผม โต๊ะในบ้านมีตัวเดียวเป็นโต๊ะกลม แบบร้าน อาหารขายในบ้าน ส่วนในเพิงช่วงเช้าดูเหมือนลูกค้า จะไม่นิยมนั่ง เพราะแดดส่องถึง ผมนั่ ง จ้ อ งมองเธอ มื อ ถื อ ตะเกี ย บอ้ า ค้ า ง เธอสวยน่ารักแต่งกายชุดชนเผ่าเสื้อผ้าใหม่เอี่ยม เสื้อชั้นนอกสีด�ำ ปลายแขนยาวของเสื้อ มีชิ้นต่อเป็น ผ้างานปักเส้นไหมสีเงิน สวมทับเสื้อแขนยาวสีขาว แบะปกเปิดกว้างให้เห็นสายสร้อยเส้นเล็ก เป็นเครือ่ ง ประดับเสริมความงามชวนมอง นุง่ กางเกงขายาวสีดำ� ทรงลีบรัดน่อง เหนือน่องมองไม่เห็น เธอนุง่ กระโปรง ทับซ้อน เป็นกระโปรงจับกลีบเล็กๆ รอบตัว เหมือน กระโปรงแม้วทางเหนือบ้านเรา เย็บชิ้นปักสีแดง เป็นชายกระโปรง หน้าตาผ่องใส ทั้งทาแป้งนวลขาว เหมือนเด็กนักเรียนชั้นมัธยมรุ่นโบราณผัดหน้าขาว ไปโรงเรียน เธอไม่ ไ ด้ ท� ำ เมคอั พ ผมมองเธอได้ เ ต็ ม ตา ไม่อึดอัด ไร้ร่องรอยสิวฝ้า หากเธอท�ำหน้าท�ำตาหรือ ทาปาก ผมคงกลัวไม่กล้ามอง ผมเป็นคนแพ้สาวๆ ที่แต่งหน้าเป็นโรคกลัวไม่กล้ามอง มองหน้ามองตา แล้วก้มมองต�ำ่ ถึงเห็นเธอสวมรองเท้าหนังส้นสูงสีดำ� ขัดขึ้นเงามันแผล็บ ผมไม่ทันนึกอะไร มือไวกว่าปาก คว้ากล้องถ่ายรูปที่วางใกล้จานข้าว ออกปากบอก เธอด้วยกิรยิ าท่าทาง เอากล้องเป็นเครือ่ งมือสือ่ ภาษา ถึงกัน เธอเข้าใจครับผมขอเธอถ่ายรูป เธอยิ้มยินดี ลุกเดินจากโต๊ะไปยืนใต้ชายคาหน้าบ้าน คุณน้าผู้ชายยืนท�ำงานกลางลาน เห็นกิจกรรม เราสองคน คนแก่คือผมตั้งใจถ่ายรูปสาวน้อยน่ารัก ท่านคงจะคุน้ เคยเป็นลูกค้าประจ�ำ ก็เดินมาบอกสาวน้อย ผมรูใ้ จความ สาวน้อยรับค�ำ เดินตามน้าผูช้ ายออกไป ลานบ้าน ไปรับแดดยามเช้า ความหมายคือเธอได้ค�ำ แนะน�ำจากคุณน้าผูช้ าย จะถ่ายรูปได้สวย ต้องออกมา ยืนกลางแดด อยูใ่ ต้ชายคารูปถ่ายไม่สวย จะมืดเกินไป ครับสนุกกับการถ่ายรูปสาวน้อย จนกับข้าว เย็นหมด กลับมานั่งโต๊ะเดิม สาวน้อยก็สั่งหมี่เส้น ไส้เดือนชามโตมากิน ผมกินข้าวสวยของผม ต่างคน 38 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
ต่างอิม่ ก็นง่ั คุยกันต่อ เครือ่ งมือการคุย สือ่ ภาษาคุยกัน ผมอาศัยกล้องเปิดให้เธอดูรปู ถ่ายทีเ่ ทีย่ วปัน่ ในเวียดนาม เธอรับไปเปิดดูเกือบค่อนชั่วโมง นึกแบบข�ำขันตัวเองนะครับ นึกถึงธรรมชาติ เด็กสาว แต่งตัวสวยไปท�ำงาน พอใจที่คนออกปาก ชืน่ ชม เช่นผมออกปากขอถ่ายรูป เธอก็พอใจไม่มจี ริต ไม่มองเราไปในทางสัปดนเหมือนคนกรุง กิจกรรมช่วงเช้าวันนี้ แทนที่จะขมีขมันเตรียม ตัวรีบปัน่ แบบเข็ดขยาดจากเหตุเมือ่ วาน ปัน่ จนมืดค�ำ่ กลางทาง จิตใจหวาดไหว กลัวไม่มีที่นอน คร�่ำครวญ อยากถีบตัวเอง ด้วยเหตุออกสาย มันถึงปั่นไม่ถึงเป้า ไม่ถึงเมืองที่รู้ว่าจะมีโรงแรมให้นอน แทนทีจ่ ะเข็ดหลาบจดจ�ำ พอเจอความงามของ พื้นที่ๆ พัก เจอเจ้าของบ้านใจดี อีกทั้งสาวน้อยที่ได้ เจอะเจอ นั่งคุยจุ๊กจิ๊กไม่รู้ภาษากันเลย แต่สื่อความ เข้าใจ ได้ที่อยู่ของเธอเก็บไว้วันนี้ ก็ไม่มีปัญญาเขียน ไปหาเธอหรอก มันเป็นความสุขคุ้มกับการเดินทาง รอนแรมเที่ยวถึงต่างถิ่น เจอคนแปลกหน้าพูดจา
คนละภาษา ให้ความเป็นมิตร สนุกสุดเพลิน เวลา ช่วงนีม้ นั วิง่ เร็วเหลือเกิน คุยกันเกือบชัว่ โมง นับจากที่ เธอร่วมโต๊ะ ก่อนลาจากกัน เธอเดินไปหยิบน�้ำหวาน ด้วยตัวเองบนชัน้ วาง ของกินของดืม่ ถิน่ นีเ้ ขาไม่มตี แู้ ช่ เอามาวางบนโต๊ะสองขวด ส่งให้ผมขวดหนึ่ง ครั บ ก่ อ นจากกั น จริ ง เธอก็ ยั ง มี ใจเกื้ อ หนุ น คนเดินทาง เลีย้ งน�ำ้ หวานผมอีกด้วย เธอมีนำ�้ ใจจริงๆ ผมกลับเข้าห้องนอน จัดเก็บข้าวของ อ้าวเห็น เพือ่ นบ้านล้วนเป็นเพศหญิงวัยสาวหมูห่ นึง่ ประมาณ เจ็ดแปดคนเดินชักแถวมุ่งหน้ามา ต่างกับสาวน้อย คนงามที่แต่งกายชุดใหม่ กลุ่มสาวเหล่านี้แต่งกาย
ชนกลุ่ม เหมือนน้าผู้หญิงสองคนที่ยังคงล้างผักง่วน อยู่หลังบ้าน ดูเหมือนจะเป็นการระดมคนเป็นวัน ลงแขกลงแรงช่วยงาน ต่างช่วยล้างผัก จัดการขนโต๊ะ ขนเขียงมาวาง ตรงลานหน้าบ้าน ต่างช่วยหั่นผัก ตอนนีผ้ มมึนนึกไม่ออกแล้วครับ จากทีค่ ดิ ว่าระดมคน มาเก็บมาล้างผักเพือ่ เอาไปขายในเมือง ไม่ใช่เสียแล้ว เขามาช่วยกันท�ำต่อในขัน้ ตอนการล้างการหัน่ หัน่ ผัก เป็นฝอย ผมไม่ได้อยูต่ อ่ เลยไม่รขู้ นั้ ตอนสุดท้าย เขาจะ ยังไงกับผักจากเดิมกองโต เพราะเขาพักขั้นตอนเรื่อง ผักแค่นี้ หลังเสร็จงานหัน่ ผักเป็นฝอย โกยลงกาละมัง ใบโต ผมนึกว่าจะนั่งพัก ไม่ใช่อีกครับเดากิจกรรม เธอผิด ต่างหาที่นั่งได้ที่พอเหมาะ ต่างคนต่างหยิบ เอาเสื้อผ้างานถักจากในย่ามในถุง เอาออกมานั่ง ท�ำต่อ ผมก็หาเรือ่ งคุยท�ำกิจกรรมถ่ายรูปต่อ ความคิด จะเร่งปัน่ รีบออกเดินทางไม่แว่บมาซักนิด สักครูค่ ณ ุ ป้า ทั้งสองก็มาสมทบ ผมมีเรื่องท�ำให้ทั้งกลุ่มหัวเราะ เปิดปากเฮฮาทุกคน ผมถึงขัน้ โอบกอดคุณน้าสองท่าน ให้สาวๆ ถ่ายรูป ส่วนกลุ่มสาวๆ ท�ำได้แค่ไปขอนั่ง ข้างถ่ายรูปรวมกลุ่ม ผมเก็บมาดู นึกถึงตัวเองเมื่อคืน จากที่วิตกแทบตาย การกลับกลายเป็นเช้าตื่นขึ้นมา เจอประสบการณ์สดุ สนุก เป็นรสชาติของการเดินทาง เป็นที่สุด ที่อยากเล่าเผื่อกันฟัง สุดท้ายถึงเวลา เดอะโชว์มัสโกออน การปั่น ต้ อ งมี ต ่ อ ถึ ง เวลาเดิ น ทางผมเดิ น เข้ า ครั ว ไปหา คุณน้าผูห้ ญิงหยิบยืน่ เงินหยวน ส่งให้ทา่ นห้าสิบหยวน คิดเป็นเงินไทยประมาณสองร้อยห้าสิบบาท ท่านยิ้ม ใจดีแต่ไม่ยอมรับเงิน เอาเงินจุกคืนกระเป๋าผม ผมเดิน ไปหยิบขวดเบียร์เก่าทีก่ องข้างบ้าน ท�ำนองบอกท่าน เมื่อคืนผมกินเบียร์หนึ่งขวด ท�ำยังไงท่านก็ไม่ยอมรับ เงิน ส่วนน้าผู้ชายขับรถอีแต๋นเมืองจีน ออกจากบ้าน ก่อนหน้านี้นานแล้ว ผมร�่ำลาทุกคน แล้วผมก็ปั่นต่อ ออกเดินทาง เกือบสิบเอ็ดโมงเช้า มุ่งหน้าผ่านเมืองเธอฉ่า หวังสู่ ปลายทางเมืองหยวนหยาง... ■ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 39
Fitness Lifestyle 45 เรื่อง วชิรุฬ จันทรงาม
การใช้จักรยาน
ในกรุงโอซาก้าและกรุงโตเกียว
ไ
ม่อยากจะเปรียบเทียบกับที่บ้านเรา แต่นอกจาก ความสะอาดของบ้านเมืองที่สังเกตเห็นได้อย่าง ชั ด เจนแล้ ว ถนนหนทางในกรุ ง โอซาก้ า และกรุ ง โตเกียวนั้นเรียบมาก แม้ไม่ได้เรียบเป็นหน้ากลอง แต่ก็ไม่เป็นหลุมเป็นบ่อ ไม่เป็นลูกคลื่นอย่างถนนใน บ้านเราเลย (เราท�ำได้อย่างไรนะ) ถนนหนทางและทางเท้าในญี่ปุ่นน่าชื่นชม จริง น่าปั่นจักรยานจริงๆ! อดไม่ได้ทจี่ ะเก็บรูปภาพต่างๆ มาหลายร้อยภาพ ในฉบับนี้จึงอยากจะน�ำภาพมาแบ่งกันดู โดยเลือก เฉพาะที่เห็นว่าน่าสนใจ มีความแตกต่างไปจากใน เมืองไทยบ้านเรา ถือว่าเป็นข้อสังเกตที่พอจะสรุป เป็นข้อๆ แต่ไม่ครอบคลุมทั้งหมด โดยจะใช้ภาพเล่า เรื่องราวนะครับ
1) จักรยานในประเทศญี่ปุ่นมีการจดทะเบียน มีเลข
1
2
3
4
5
6
7
8
ทะเบียนกันทุกคัน
2) ไม่มีกฎบังคับให้ใส่หมวกกันกระแทก
สะดวกดีแต่ก็แลกกับความปลอดภัย
ดูแล้วก็
3) รถจักรยานอนุญาตให้ขี่บนทางเท้าได้ 4) ผู ้ ที่ ใช้ จั ก รยานในชี วิ ต ประจ� ำ วั น เป็ น ผู ้ สู ง อายุ
เสียส่วนใหญ่และใช้จักรยานแม่บ้าน
5) มีทางจักรยานส�ำหรับข้ามถนนคูไ่ ปกับทางม้าลาย
คนข้าม
6) การล็อครถจักรยานขณะจอด มีให้เห็นได้ทั่วไป 7) สถานบริการบางแห่งจะห้ามจอดรถจักรยาน 8) บางสถานที่จะมีที่จอดรถจักรยานไว้ให้อย่างเป็น
ระเบียบเรียบร้อย
40 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
9) รถจักรยานทีไ่ ม่ได้จอดในทีซ่ งึ่ จัดไว้ให้ จะถูกออก
ใบสั่งเพื่อไปเสียค่าปรับ
10) ใบสัง่ จะออกโดยเอกชน/สถานทีท ่ จี่ กั รยานท�ำผิด
กฎและใบสั่งจะถูกส่งต่อไปยังต�ำรวจจราจร
11-12-13) รถพับก็เป็นที่นิยมไม่น้อย 14) ป้ายก�ำหนดให้คนวิ่งสวนทางกับจักรยานซึ่งอยู่
กันคนละช่องทาง
15) ป้ า ยเตื อ น
อีก 150 เมตรจะถึงเขตคนเดิน/ เขตขี่จักรยาน
16) ป้ายแยกทางจักรยานและทางคนเดิน 17) ป้ายบอกเป็นทางลาดส�ำหรับจักรยานและรถเข็น
ผู้พิการ
18) ป้ายทางจักรยานให้ขี่บนทางเท้า 19) ป้ายเขตห้ามจอดจักรยานทิ้งไว้ 20) ป้ายเขตห้ามขี่จักรยาน แต่ลงเดินจูงรถได้ในวัด 21) ป้ายเขตห้ามวิ่งออกก�ำลังกาย/ห้ามขี่จักรยาน
หน้าพระราชวัง Imperial กรุงโตเกียว
22) ป้ายเขตห้ามขี่จักรยาน
หลายสิง่ หลายอย่างทีไ่ ด้พบเห็นมา แตกต่างไป จากในบ้านเรา มีการจัดระเบียบการใช้รถจักรยาน มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด จนมีความเป็น ระเบียบเรียบร้อยอย่างน่าชื่นชม เมืองไทยของเราคงจะก้าวไปสูจ่ ดุ นีไ้ ด้สกั วันหนึง่ เราทุกคนต้องมุง่ มัน่ และท�ำเป็นตัวอย่างทีด่ ี แล้วสิง่ ดีๆ ก็จะค่อยๆ เกิดขึ้นในสังคมไทยของเรา.. ■
เชิงช่างหนึ่ง เรื่อง ช่างหนึ่ง
C
BB30
ar Free Day 2014 ปีนี้ พี่น้องชาวจักรยาน ให้ความส�ำคัญกับกิจกรรม Car Free Day มากมายเช่นเคย กิจกรรมดีๆ แบบนี้เราจะพบเห็น พีน่ อ้ งนักจักรยาน หลากหลายรูปแบบ จักรยานแม่บา้ น เสือหมอบ เสือภูเขา แนววินเทจ รถพับ โอ๊วมากมาย ที่เข้าร่วมกิจกรรม หรื อ งานกิ จ กรรม เช่ น ออกบู ธ แสดงสิ น ค้ า บางเดือนมีมากถึงสองงาน จักรยานนี่มันได้รับการ ตอบรับดีจริงๆ แต่สิ่งที่ทุกท่านไม่ว่าจะปั่นจักรยาน อะไร ท่านก็ได้ สุขภาพทีแ่ ข็งแรงเป็นทีส่ ดุ ทุกท่านเลย ฉบับนี.้ . ขอแนะน�ำเรือ่ งราวของชุดกระโหลก BB30 โดยต้องมาท�ำความรู้จักกับเจ้าชุดกระโหลก แบบนี้เสียก่อน
เราจะรูไ้ ด้อย่างไรว่าเป็นชุด BB30 ส่วนใหญ่ชดุ BB30 จะใช้กับเฟรมอลูมิเนียม โดยในท่อของเฟรม บริเวณชุดกระโหลก จะมีรอ่ งเพือ่ ใช้สำ� หรับล็อคแหวน คลิป ด้านซ้ายและด้านขวาด้านละ 1 ช่อง หรือวัด ขนาดระยะเส้นผ่านศูนย์กลาง ค่าทีว่ ดั ได้จะเท่ากับ 42 มิลลิเมตร แหวนล็อคจะอยูด่ า้ นใน จากนัน้ จะเป็นลูกปืน และฝาปิดด้านนอกหรือซีลกันฝุ่นกันน�้ำอีกชั้นหนึ่ง 42 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
เมื่อเข้าใจว่าชิ้นส่วนอุปกรณ์มีอะไรแล้วมารู้จัก เครื่องมือที่จะใช้กับกระโหลก BB30 กันต่อ 1. เครื่องมือดูดลูกปืน 1 ชุด 2. คีมหุบคลิป 1 ตัว 3. ประแจหกเหลี่ยม 1 ชุด 4. จารบี 5. ผ้าเช็คมือ 6. ค้อนพลาสติก ขัน้ ตอนการถอดประกอบ ชุดกระโหลก BB30 1. ใช้หกเหลี่ยม คลายน็อต ขาจานออก จากนั้นดูดขาจานออก มาจากแกน หมายเลข 1 2. ใช้คอ้ นเคาะทีแ่ กน เบาๆ ไป เรือ่ ยๆ แกนจะค่อยๆ เลือ่ นไปทางขวา 3. บูชหมายเลข 3 จะเลื่อน ออกมา ให้ดึงมันออกมา 4. ถอดขาจานออก เลือ่ นจาก ด้านซ้ายไปขวา ถ้าไม่ออกค่อยๆ ใช้ค้อนพลาสติกเคาะออกไปเรื่อยๆ 5. หลังจากถอดขาด้านขวา
ออกมาแล้ ว บางกรณี บู ช รองลู ก ปื น อาจจะติ ด ออกมาหรือไม่ตดิ ออกมา ขึน้ อยูก่ บั ความแน่นของแกน ขาจานหรือลูกปืน 6. หลังจากถอดขาจานและบูชรองลูกปืนออก มาแล้ว ขั้นตอนต่อไปใช้เครื่องมือดันลูกปืนออกมา 7. สวมตัวล็อคลูกปืนเข้าไปด้านในลูกปืน จาก นัน้ สวมตัวแกนล็อคลูกปืนเข้าไปทางด้านซ้าย เพือ่ ให้ ล็อคกับตัวล็อคลูกปืนด้านใน
8. สวมน็อตเข้าไปที่แกนล็อคลูกปืนจากทาง ด้านขวา ต่อไปน�ำตัวประคองลูกปืนมาสวมทางด้าน ซ้ายแล้วค่อยๆ หมุนตัวเครื่องมือทั้งสองด้าน ด้าน หนึ่งใช้ประแจหกเหลี่ยมขันแกนน็อตเข้าไปเรื่อยๆ ส่วนด้านซ้ายใช้มือจับตัวเครื่องมือไว้นิ่งๆ ลูกปืนจะ ถูกดันออกไปทางด้านซ้าย เองอัตโนมัติ
9. ลูกปืนจะถูกดันออกมาตามภาพพร้อมกับ แกนทีเ่ ราสวมเข้าไปล็อคลูกปืนทัง้ หมดออกมาแบบนี้ โดยลูกปืนจะอยูใ่ นตัวค�ำ้ ใช้เครือ่ งมือลูกปืนทีด่ ดู ออก มาจะมีสภาพสมบูรณ์เยี่ยงนี้
10. เมื่ อ ดู ด ลู ก ปื น ออกมาเรี ย บร้ อ ย สภาพ ตอนนีจ้ ะเป็นแบบนี้ แหวนล็อคจะอยูด่ า้ นใน จากนัน้ เอาคีมหุบแหวนหุบและดึงคลิปออกมา
11. หลังจากนั้นท�ำความสะอาดลูกปืนและ ชิ้นส่วนทุกชิ้น จากนั้นหล่อลื่นด้วยจารบี 12. ใส่แหวนล็อคเข้าไปทั้งสองด้าน ด้วยคีม หุบแหวน จากนั้นน�ำลูกปืนสวมเข้าไปในเครื่องมือ อัดลูกปืนทั้งสองข้างเข้าไปในเฟรม โดยตัวกดสวม เข้าไปทั้งสองด้าน แล้วค่อยๆ ขันน็อตเข้าไปด้วย หกเหลี่ยมด้านนึง อีกด้านนึงใช้มือประคองไว้ 13. ทาจารบีทีซีล และบริเวณขาจาน 14. สวมบูชเข้าไปในแกนขาจานด้านขวาและ สวมขาจานเข้าไปในตัวรถทางด้านขวา 15. ทาจารบี ฝ าปิ ด ลู ก ปื น ด้ า นซ้ า ยและซี ล ด้านซ้าย ต่อไปสวมบูชตัวรองเข้าไป และสวมขาจาน ด้านซ้ายเข้าไปตามล�ำดับ 16. ใช้หกเหลีย่ ม เบอร์เดียวกับล็อคของขาจาน อาทิ ขาจานชุดนีใ้ ช้เบอร์ 8 มิลลิเมตร ก็ขนั น็อตเข้าไป ให้แน่น จากนัน้ ทดลองหมุนขาจานดูวา่ ความคล่องตัว หรือความลื่นของขาจานเป็นอย่างไร เอาเป็นว่าต้อง หมุน ลื่นๆ หน่อย เพราะถ้าเราขัน แน่นเกินไป เราก็ปั่นชุดจานที่ฝืดๆ ไปตลอด เมื่อเราพอใจกับความลื่น ให้ล็อคน็อตทุกตัวอีกครั้ง แค่นี้เราก็จบการถอดประกอบ ชุดกระโหลก BB30 เป็นทีเ่ รียบร้อย แล้ว คราวนี้สามารถออกไปปั่นให้ สนุกได้แล้วครับ ■ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 43
บริจาคจักรยาน
โครงการต่อเนือ่ งทีส่ มาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย TCHA จัดขึน้ เพือ่ น�ำจักรยานเก่ามาบูรณะใหม่ และน�ำ ไปไปมอบให้กับน้องๆ เยาวชนตามที่ห่างไกล เพื่อใช้ในการเดินทางสัญจรไปโรงเรียน หรือส�ำหรับภารกิจอื่นๆ ตลอดจนออกก�ำลังกายในครอบครัวได้ โดยไม่ต้องพึ่งพาพลังงานสิ้นเปลืองด้านอื่น ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมบริจาคจักรยานที่ไม่ใช้แล้ว และยังอยู่ในสภาพที่สามารถซ่อมแซมขึ้นมาใหม่ได้ โดยสมาคมฯ มีกิจกรรมนัดซ่อมจักรยานเพื่อน้องๆ จากบรรดาอาสาสมัครมาช่วยกันซ่อมบ�ำรุงให้จักรยานที่ ได้รับบริจาคเหล่านี้ ฟื้นคืนชีพขึ้นมาใหม่ สามารถน�ำไปใช้งานได้อย่างเช่นปกติดังเดิม โดยมีโครงการน�ำจักรยาน เหล่านี้ไปส่งมอบให้กับเยาวชน ณ โรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ
ขอขอบคุณผู้บริจาค
1. ท.พ. อภิรักษ์ และ ด.ช. อชิตะ วุฒิฐานทวี บริจาคจักรยาน 5 คัน 2. Mr. Len Johnstone บริจาคเงิน 800 บาท
ถนนนราธิวาส
ติดตอสมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย รถไฟฟา BTS หรือประสงครวมโครงการรีไซเคิลจักรยานไดที่ ศาลาแดง รถไฟฟา BTS สำนักงาน สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ชองนนทรี ถนนสาทร 2100/33 ซอยนราธิวาสราชนครินทร 22 รถไฟฟา BTS BRT ชองนนทรี (สาธุประดิษฐ 15 แยก 14) สุรศักดิ์ ถนนนราธิวาสราชนครินทร แขวงชองนนทรี แมคโคร BRT เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-678-5470 ถนนจันทน รร.เซนยอเซฟฯ โทรสาร 02-678-8589 ซอย 15 นราธิวาสฯ 22 ที่ทำการสมาคมฯ BRT ถนนจันทน เวบไซต www.thaicycling.com (นราธิวาส ซอย 22) ถนนสีลม
ฯ
ุประดิษฐ
ถนนสาธ
สาธุประดิษฐ 15 แยก 14 ทางลงสาธุประดิษฐ
44 │ สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557)
น
ทางดว
โลตัสพระราม 3
ถนนพระราม 3
Fan Page: facebook.com/TCHAthaicycling อีเมล tchathaicycling@gmail.com
ปั่นวันเดียว..เที่ยวตลาด กิจกรรมพาปั่นเที่ยวตลาด ทีก่ ำ� ลังโดนสุดๆ อย่าพลาด.. อาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน 2557 ตลาด วัดใหญ่สว่างอารมณ์เกาะเกร็ด อาทิตย์ที่ 21 ธันวาคม 2557 ตลาดโบราณบางพลี พิเศษ! บัตรสมาชิกสมาคมจักรยานเพือ่ สุขภาพไทย ใช้สิทธิส่วนลดได้ที่
PRO BIKE ส่วนลด 15% โทร. 02-254-1077 WORLD BIKE ส่วนลด 20% โทร. 02-944-4848 THONGLOR BIKE ส่วนลด 10% ค่าอาหาร เครื่องดื่ม ยกเว้นเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ โทร. 02-712-5425 ZIP COFFEE (หมู่บ้านสัมมากร) ส่วนลดกาแฟ 10 บาท ส�ำหรับผู้ถือบัตรฯ และลด 20 บาท ส�ำหรับผู้สวมเสื้อจักรยาน TCHA ลายธงชาติ Steve Café & Cuisine ส่วนลด 10% ส�ำหรับค่าอาหาร โทร. 081-904-8444
จองด่วน!
โครงการเรียกคืนวัสดุอลูมเิ นียม เพื่อจัดท�ำขาเทียมพระราชทาน ครั้งที่ 5 อาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน 2557 เชิ ญ ชวนนั ก ปั ่ น ร่ ว มกั น เก็ บ รวบรวมสะสมวั ส ดุ อ ลู มิ เ นี ย มเพื่ อ น� ำ เข้าโครงการเรียกคืนวัสดุอลูมเิ นียมเพือ่ จัดท�ำขาเทียมพระราชทาน โดยจะร่ ว มกั น ปั ่ น จั ก รยานเพื่ อ น�ำวัสดุที่รับมอบจากทุกท่านไปมอบให้ บริษัท บางกอกแคนแมนนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด
สอบถามรายละเอียดได้ที่
02-678-5470
โฆษณาที่ตรงกลุ่มเป้าหมายเหล่านักปั่นมากที่สุด!
เปิดพื้นที่โฆษณาย่อยเป็นพิเศษ ส�ำหรับร้านค้าย่อยที่จ�ำหน่าย จักรยาน บริการซ่อมบ�ำรุง จ�ำหน่ายอะไหล่ รับประกอบจักรยาน เสื้อผ้า ร้านอาหารสินค้ามือสอง ของส่วนตัว บริการท่องเที่ยว หรืออื่นๆ เชิญจับจองด่วน พื้นที่ขนาด 3 คูณ 6 เซนติเมตร ราคาพิเศษในโอกาส เปิดพื้นที่ใหม่เพียง 1,000 บาทต่อครั้งต่อเล่มเท่านั้น ติดต่อด่วน โทร. 02-678-5470 หรือทางเวบไซต์ที่ http://bit.ly/TCHAminiAD
6 ซม. 3 ซม. โฆษณาตรงเป้าหมายและยังได้ร่วมสนับสนุนสมาคมฯ อีกด้วย! สารสองล้อ 280 (ตุลาคม 2557) │ 45
ÊÔ¹¤ŒÒÊÁÒ¤Á¨Ñ¡ÃÂÒ¹à¾×èÍÊØ¢ÀÒ¾ä·Â
เปนสินคาที่จำเปนสำหรับผูใชจักรยาน จัดจำหนายในราคามิตรภาพ ผลิตจากวัสดุคุณภาพดี สามารถเลือกซื้อไดที่ สมาคมจักรยาน เพื่อสุขภาพไทย 2100/33 ซอยนราธิวาสราชนครินทร 22 ถนนนราธิวาสราชนครินทร แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-678-5470 หรือสั่งซื้อทางไปรษณีย ดวยการโอนเงินเขาบัญชีของ สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย ประเภทบัญชีออมทรัพย ธนาคารกสิกรไทย สาขาโลตั ส พระราม 3 เลขที ่ 860-2-14222-2 แล ว กรุ ณ าแฟกซ ส ำเนาใบโอนไปที ่ โทรสาร 02-678-8589 หรื อ ส ง ทาง email: tchathaicycling@gmail.com
02
01
05 03
04
06 09
08
10
07 01 หมวกคลุมหนา 02 แถบเสื้อ 03 เสื้อจักรยาน 04 เสื้อจักรยาน 05 กางเกงขาสั้น SDL (สีฟาและสีเขียว) สะทอนแสง TCHA แขนสั้น TCHA แขนยาว รุนมาตรฐาน ใบละ 130 บาท สินคาหมดชั่วคราว ตัวละ 750 บาท ตัวละ 950 บาท ตัวละ 950 บาท 06 กางเกงขายาว 07 ถุงแขน 08 กางเกง 09 กางเกง 10 พวงกุญแจ SDL รุนมาตรฐาน สีดำ ขาสั้น รุนใหม ขายาว รุนใหม โปรดระวังจักรยาน ตัวละ 1,100 บาท คูละ 120 บาท ตัวละ 450 บาท ตัวละ 690 บาท ชิ้นละ 30 บาท