44
ใบเฉลยแบบฝึกหัด รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน
สัปดาห์ที่ 6 จานวน 4 ชั่วโมง
ตอนที่ 1 จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ 1. การต่อตัวต้านทานแบบขนานมีลักษณะอย่างไร วงจรไฟฟ้าแบบขนานเป็นวงจรที่มีโหลดตั้งแต่สองตัวขึ้นไป ต่อร่วมกันในระหว่างจุดสองจุด โดยให้ ปลายด้านหนึ่งของโหลดทุกตัวต่อร่วมกันที่จุด ๆ หนึ่ง (จุด X) และให้ปลายอีกด้านหนึ่งของโหลดทุกตัวต่อ ร่วมกันที่อีกจุดหนึ่ง (จุด Y) และต่อขนานกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า IT E
I1
I2
I3
I4
R1
R2
R3
R4
(จุด X)
+ -
(จุด Y) รูปที่วงจรไฟฟ้าแบบขนาน 2. ลักษณะสมบัติของวงจรไฟฟ้าแบบขนาน มีดังนี้ 1) แรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมที่ความต้านทานทุกตัวจะมีค่าเท่ากัน และเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่ง จ่าย ไฟฟ้า 2) กระแสที่ไหลในแต่ละสาขาย่อยของวงจรเมื่ อนามารวมกันจะมี ค่าเท่ากับกระแสที่ ไหลผ่านวงจร ทั้งหมดหรือกระแสรวมของวงจร 3) ค่าความต้านทานรวมภายในวงจรหาได้โดยเศษหนึ่งส่วนความต้านทานรวมมีค่าเท่ากับเศษหนึ่งส่วน ของความต้านทานแต่ละตัวรวมกัน ซึ่งจะมีค่าน้อยกว่าความต้านทานที่มีค่าน้อยที่สุด 4) กาลังไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ตัวต้านทานในแต่ละสาขาในวงจรเมื่อนามารวมกันก็จะมีค่าเท่ากับกาลังไฟฟ้า ทั้งหมดของวงจร ตอนที่ 2 จงแสดงวิธีทา 1. จากวงจรไฟฟ้าในรูปที่ ฝ-4.1 จงคานวณหาค่า ก. กระแสไฟฟ้า I1 , I2 , I3 , I4 และ IT ข. ความต้านทานรวม (RT) ค. กาลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทานแต่ละตัวและกาลังไฟฟ้ารวม (P1 , P2 , P3 , P4 ,PT ) ง. แรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน R1
45
ใบเฉลยแบบฝึกหัด รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน
สัปดาห์ที่ 6 จานวน 4 ชั่วโมง
IT I1 +
E=12V
-
I2
I3
I4
V1 R1=30W
R2=20W
R3=10W
รูปที่ ฝ-4.1 แบบฝึกหัดตอนที่ 2 ข้อ 1 วิธีทา ก. กระแสไฟฟ้า I1 , I2 , I3 และ IT
I1 E R1 12V 30W 0.4A กระแสไฟฟ้า I1 = 0.4 แอมแปร์
I2 E R2 12V 20W 0.6A
กระแสไฟฟ้า I2 = 0.6 แอมแปร์
I3 E R3 12V 10W 1.2A
กระแสไฟฟ้า I3 = 1.2 แอมแปร์
R4=30W
46
ใบเฉลยแบบฝึกหัด รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน
I4 E R4 12V 30W 0.4A กระแสไฟฟ้า I4 = 0.4 แอมแปร์
IT I1 I2 I3 I4 0.4A 0.6A 1.2A 0.4A 2.6A
กระแสไฟฟ้า IT = 2.6 แอมแปร์ ข. ความต้านทานรวม (RT)
RT E IT 12V 2.6W 4.62W
ความต้านทานรวม (RT) = 4.62 โอห์ม ค. กาลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทานแต่ละตัวและกาลังไฟฟ้ารวม (P1 , P2 , P3 , PT )
P1 I1E 0.4A12V 4.8W กาลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน (R1) = 4.62 วัตต์
P2 I2E 0.6A12V 7.2W
กาลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน (R2) = 7.2 วัตต์
สัปดาห์ที่ 6 จานวน 4 ชั่วโมง
47
ใบเฉลยแบบฝึกหัด รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน
สัปดาห์ที่ 6 จานวน 4 ชั่วโมง
P3 I3E 1.2A12V 14.4W กาลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน (R3) = 14.4 วัตต์
P4 I4E 0.4A12V 4.8W
กาลังไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน (R4) = 4.8 วัตต์
PT P1 P2 P3 P4 4.8W7.2W14.4W4.8W 31.2W หรือ
PT I T E
2.6A12V 31.2W
กาลังไฟฟ้ารวม (RT) = 31.2 วัตต์ 2. จากวงจรไฟฟ้าในรูปที่ ฝ-4.2 จงคานวณหาค่า ก. กระแสไฟฟ้ารวม (IT) ข. ความต้านทาน R1, R2 และ R3 ค. ความต้านทานรวม (RT) IT I1=2A
I2=5A
I3=10A
+
E=15V
-
R1
R2
รูปที่ ฝ-4.2 แบบฝึกหัดตอนที่ 2 ข้อ 2
วิธีทา
R3
48
ใบเฉลยแบบฝึกหัด รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน ก. กระแสไฟฟ้ารวม (IT)
IT I1 I2 I3 2A 5A 10A 17A กระแสไฟฟ้ารวม (IT) = 17 แอมแปร์ ข. ความต้านทาน R1, R2 และ R3
R1 E I1 15V 2A 7.5W ความต้านทาน (R1) = 7.5 โอห์ม
R2 E I2 15V 5A 3W ความต้านทาน (R2) = 3 โอห์ม
R3 E I3 15V 10A 1.5W ความต้านทาน (R3) = 1.5 โอห์ม
สัปดาห์ที่ 6 จานวน 4 ชั่วโมง
49
ใบเฉลยแบบฝึกหัด รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน ค. ความต้านทานรวม (RT)
RT E IT 15V 17A 0.88W
ความต้านทาน (RT) = 0.88 โอห์ม 3. จากวงจรไฟฟ้าในรูปที่ ฝ-4.3 จงคานวณหาค่า ก. กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R2 ข. แรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่าย (E) ค. ความต้านทาน R1 และ R3 IT=20A I1=2A E
I2
I3=10A
+
-
R1
R2=20W
R3
รูปที่ ฝ-4.3 แบบฝึกหัดตอนที่ 2 ข้อ 3 วิธีทา ก. กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R2 IT จาก
I1 I2 I3 I2 IT I1 I3 20A 2A 10A 8A กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน R2 = 8 แอมแปร์
ข. แรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่าย (E)
สัปดาห์ที่ 6 จานวน 4 ชั่วโมง
50
ใบเฉลยแบบฝึกหัด รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน
E I2R2 8A20W 160V แรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่าย (E) = 160 โวตล์ ค. ความต้านทาน R1 และ R3
R1 E I1 160V 2A 80W
ความต้านทาน (R1) = 80 โอห์ม
R3 E I3 160V 10A 16W
ความต้านทาน (R3) = 16 โอห์ม 4. จากวงจรไฟฟ้าในรูปที่ ฝ-4.4 จงคานวณหาค่า ก. แรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่าย (E) ข. กระแสไฟฟ้า I1 และ I3 ค. ความต้านทาน R2 และ R3 IT=20A I1 E
I2=2A
+
-
R1=10W
R2
P2=20W
รูปที่ ฝ-4.4 แบบฝึกหัดตอนที่ 2 ข้อ 4 วิธีทา
I3 R3
สัปดาห์ที่ 6 จานวน 4 ชั่วโมง
51
ใบเฉลยแบบฝึกหัด รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน ก. แรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่าย (E) จาก P2 I2E
E P2 I2 20W 2A 10V
แรงดันไฟฟ้าที่แหล่งจ่าย (E) = 10 โวลต์ ข. กระแสไฟฟ้า I1 และ I3
I1 E R1 10V 10W 1A
กระแสไฟฟ้า (I1) = 1 แอมแปร์
จาก
IT I1 I2 I3 I3 IT I1 I2 20A 1A 2A 17A
กระแสไฟฟ้า (I3) = 17 แอมแปร์ ค. ความต้านทาน R2 และ R3
R2 E I2 10V 2A 5W
ความต้านทาน (R2) = 5 โอห์ม
สัปดาห์ที่ 6 จานวน 4 ชั่วโมง
52
ใบเฉลยแบบฝึกหัด รหัส 2104-2002 ชื่อวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง หน่วยที่ 4 : วงจรไฟฟ้าแบบขนาน
R3 E I3 10V 17A 0.59W ความต้านทาน (R3) = 0.59 โอห์ม
สัปดาห์ที่ 6 จานวน 4 ชั่วโมง