22222

Page 1

9/19/2019

เทคนิคการสรางขอสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดย ดร.ชมนาด พรมมิจิตร วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม

Ph.D. (Educational Research, Measurement, and Statistic) E-mail : pchommanat@gmail.com

1

ภาพการวัดประเมินผล การทดสอบ • สอบยอย • สอบกลางภาค • ปลายภาค • ปากเปลา • การบาน 2

การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง • สังเกต • สัมภาษณ • ปฏิบัติจริง • ทําโครงงาน • ทํารายงาน • บันทึกการเรียนรู • ฯลฯ


9/19/2019

ทฤษฎีการเรียนรู เบนจามิน บลูมและคณะ (Bloom et al, 1956) ไดจําแนกจุดมุงหมายการเรียนรูออกเปน 3 ดาน คือ 1. ดานพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) 2. ดานทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) 3. ดานจิตพิสัย /เจตพิสัย (Affective Domain) 3

ทฤษฎีการเรียนรู (ตอ)

4


9/19/2019

ทฤษฎีการเรียนรู (ตอ)

5

ทฤษฎีการเรียนรู (ตอ)

6


9/19/2019

7

เมื่อกําหนดโจทยปญหาเรื่องการบวกแลว นักเรียนสามารถแสดงวิธีทําไดถูกตองทุกขอ สถานการณ + พฤติกรรม + เกณฑ

8


9/19/2019

ทดลองทําแบบทดสอบกันหนอยนะคะ

9

ทดลองทําแบบทดสอบกันหนอยนะคะ 1. สามารถบอกชื่อของพันธุโคเนื้อในประเทศไทยได 2. สามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการตัดตอพันธุกรรมพืชในปจจุบัน 3. สามารถวางแผนการจัดคายวันเด็กได 4. สามารถอธิบายความหมายของขอความที่อานได 5. สามารถเลือกรับประทานอาหารไดถูกตามสุขลักษณะได 10


9/19/2019

แบบทดสอบ แบบทดสอบอัตนัย Subjective Test

แบบทดสอบปรนัย Objective Test

11

แบบทดสอบอัตนัย ชนิดจํากัดขอบเขต ในการตอบคําถาม 12

ชนิดขยายความ


9/19/2019

แบบทดสอบอัตนัย ชนิดจํากัดขอบเขตในการตอบคําถาม

ตัวอยาง • จงบอกประโยชนของการออกกําลังกายมาพอสังเขป • จงอธิบายกระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืชมาอยางละเอียด

13

แบบทดสอบอัตนัย ชนิดขยายความ ตัวอยาง • ทานมีความคิดเห็นอยางไรตอคํากลาวที่วา “กระบวนการจัดการเรียนรูจะตองควบคูกับกระบวนการวัดผล และประเมินผล”

• จงเขียนแนวทางการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใน การประกอบอาชีพเกษตรกร 14


9/19/2019

หลักการสราง แบบทดสอบอัตนัย ชนิดขยายความ • • • • • • •

เขาใจงาย ตรงประเด็น วัดสิ่งที่ตองการจะวัด ตรงจุดประสงคการเรียนรู กระตุนสติปญญาระดับสูง ไมควรมีขอใหเลือก กําหนดคะแนนในแตละขอ เหมาะสมกับเวลา

15

ขอดีของขอสอบอัตนัย 1. สามารถวัดกระบวนการคิด และความสามารถในการเขียน 2. วัดความคิดสรางสรรค และความสามารถในการประเมินคาไดดี 3. สามารถวัดเจตคติขอคิดเห็นตาง ๆ ไดดี 4. มีความสะดวกและงายตอการออกขอสอบ 5. ผูตอบมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นอยางเต็มที่ 16


9/19/2019

ขอจํากัดของขอสอบอัตนัย 1. การใหคะแนนไมแนนอน คะแนนที่ไดขึ้นอยูกับผูตรวจ เชน อารมณเจตคติลายมือ 2. ไมครอบคลุมเนื้อหา เพราะออกขอสอบไดนอย 3. ตรวจใหคะแนนยาก เสียเวลามาก 17

แบบทดสอบ แบบปรนัย แบบเติมคํา แบบจับคู แบบถูก-ผิด แบบเลือกตอบ 18


9/19/2019

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) ใชเมื่อไหร 1. ผูสอบจํานวนมาก 2. ตองการนําขอสอบวิเคราะหและเก็บไวในคลังขอสอบ 3. ตองการออกใหครอบคลุมเนื้อหา 4. วัดความรู ไมใชวัดทักษะ หรือเจตคติ 19

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) รูปแบบคําถามแบบเลือกตอบ 1. แบบคําถามสมบูรณ 1.1 ใหเลือกคําตอบที่ถูกตอง ใครคือ ผูประดิษฐอักษรไทย?

20

ก. ...............

ค. ..............

ข. ...............

ง. ...............


9/19/2019

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) 1.2 ใหเลือกคําตอบที่ดีที่สุด หากไมมีสอมพรวน อุปกรณชนิดใดเหมาะสมในการพรวนดินมากที่สุด? ก) ไมจิ้มฟน ข) มีดปอกผลไม

ค) ชอนปลูก ง) ดามไมกวาด 21

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) บุคคลในขอใดปฏิบัติตนไดเหมาะสมที่สุดตามมารยาทไทย? ก. สมหญิง นุงขาวหมขาวไปงานศพ ข. สุมาลี นัง่ พับเพียบบนรถเมล ค. สมชาย เงียบและตั้งใจฟงการปราศรัยในหองประชุม

การกระทําของใครที่แสดงถึงความเมตตากรุณาไดเหมาะสมที่สุด? ก. สมใจไลตีสุนัขที่กัดแมว ข. สุดา เอาลูกไกไปใหจระเขกิน ค. ………................................ 22


9/19/2019

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) 1.3 ใหเลือกคําตอบที่ใกลเคียงที่สุด ตัวเลขในขอใดเปนผลลัพธที่ใกลเคียงของ (38,000 + 59,700) – 356? ก) 95,000 ข) 96,000 ค) 97,000 ง) 9,8000 23

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) สารเคมีใดที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับขี้เถา? ก) น้ําสมสายชู

ข) แชมพู ค) ดางทับทิม การกระทําของใครที่มีลักษณะใกลเคียงกับคําพังเพยที่วา “ขี่ชางจับตั๊กแตน”? ก. สมหมายบริจาคเงินชวยเหลือคนถูกน้ําทวมจนหมดกระเปา

ข. สมใจ ค. ……………………...... 24


9/19/2019

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) 2. แบบเติมประโยคใหไดความดีที่สุด 2.1 แบบใหเติม 1 แหง เรานิยมนําทองแดงมาทําสายไฟมากกวาอลูมิเนียมเพราะ..............? ก. มีราคาถูกกวา ข. มีน้ําหนักเบากวา ค. นําไฟฟาไดดีกวา ง. มีความทนทานกวา 25

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) 17+5 มีคาเปน..........? ก. 20 ค. 22 ข. 21 ง. 23 วันแมแหงชาติตรงกับวันที่..........? ก.12 มิถุนายน ค. 5 ธันวาคม ข.12 สิงหาคม ง. 1 มกราคม 26


9/19/2019

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) 2.2 แบบใหเติม 2 แหง คนไทยนิยมตั้งชื่อทองถิ่นตาม...........ภูมิประเทศหรือตาม...........ของ ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่นนั้น ก. ธรรมชาติ ชนิด ข. สัณฐาน ประเภท ค. ลักษณะ ความอุดมสมบูรณ ง. สภาพ ความหลากหลาย 27

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) 3. แบบอานภาพ หรือ เครื่องหมาย จากภาพ มีความหมายอยางไร? ก. หามจอด ข. หามเขา ค. หามตรงไป ง. หามเลี้ยวขวา 28


9/19/2019

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) 4. แบบคําถามปฏิเสธ 4.1 คําถามปฏิเสธ อุปกรณในขอใดไมใชมอเตอร? ก. วิทยุ ข. พัดลม ค. เครื่องเปาผม ง. เครื่องปรับอากาศ 29

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) 4.2 แบบคําตรงขาม คําในขอใดมีความหมายตรงขามกับคําวา “มา”? ก. .......... ข. .......... ค. ......... ง. ......... 30


9/19/2019

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) 5. แบบจัดประเภท 5.1 แบบพวกเดียวกัน สัตวในกลุมใดจัดเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนมทั้งหมด? ก. สุนัข โลมา มาน้ํา ข. แมว หนู จระเข ค. เสือดาว ละมั่ง วาฬ ง. ฉลาม สิงโต กระซู 31

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) 5.2 แบบตางพวก เครื่องดนตรีชนิดใดตางจากพวก? ก. ซออู ข. กีตาร ค. กลอง ง. ซึง 32


9/19/2019

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) 6. แบบขาด - เกิน 6.1 แบบขาด “ขอพบหัวหนาที่หองประชุมวันนี้” จากขอความขาดการระบุสิ่งสําคัญใดไป? ก. เวลา ข. บุคคล ค. สถานที่ ง. หัวขอประชุม 33

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) 6.2 แบบเกิน “โปรดกรุณาอยาใชมือจับตองภาพโบราณ” จากขอความ คําในขอใดที่ไมจําเปนตองมีในประโยค ก. โปรด ข. อยา ค. จับตอง ง. ภาพ 34


9/19/2019

แบบทดสอบปรนัย แบบเลือกตอบ (MCQ) (ตอ) 7. แบบอุปมา อุปไมย ประเมินผลกอนเรียน : ตรวจสอบพื้นฐาน ประเมินผลหลังเรียน : .............................. ก. ............................. ข. ............................. ค. ............................. ง. ............................. 35

หลักการสรางแบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบ 1. ตรงกับวัตถุประสงค 2. เนื้อหาเหมาะสมกับระดับของผูสอบ 3. แตละขอไมมีความสัมพันธกนั 4. วัดผลการเรียนในเนื้อหาที่สําคัญ 5. มีความจําเพาะเจาะจงในสาขาวิชานั้น 6. จํานวนเหมาะสมกับเวลา 7. มีความเที่ยงสูง 8. ความยากงายพอเหมาะ 36

9. ใชภาษาชัดเจน 10. แตละขอคําถามมีประเด็นเดียว 11. เขียนในรูป positive form 12. คําถามในรูป negative form ใหขีดเสนใต 13. ตัวเลือกควรเรียงลําดับ เชน ตัวเลข ความสั้น-ยาว 14. ยกเวนคําวา ถูกหมด ทุกขอที่กลาวมา ไมมีขอใดถูก 15. กระจายตัวถูก ผิด


9/19/2019

ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบ 1. การกําหนดวัตถุประสงคของแบบทดสอบ 2. การจัดทําตารางโครงสรางแบบทดสอบ (Test Blueprint หรือ Test Specification) 3. ทบทวนจุดประสงคการเรียนรู/ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง (Learning Objective / Learning Out come) 4. เขียนขอสอบ (Item Writing) (โดยเขียนขอสอบใหวัดไดตามจุดประสงคการเรียนรู Objective-based) 5. ทบทวน ตรวจทานความถูกตอง เหมาะสมของขอสอบ (Review) และปรับปรุงขอสอบ

6. จัดพิมพ / อัดสําเนา และ เย็บชุด/เลม แบบทดสอบ แลวบรรจุ ซอง / กลอง แบบทดสอบ เพื่อสงไปยังสนามสอบ 7. ดําเนินการสอบ 8. ตรวจคําตอบเพื่อใหคะแนนผลการสอบ 9. นําผลการสอบของนักศึกษามาทําการวิเคราะหคุณภาพ ขอสอบรายขอ (คา p, คา r) และคาความเชื่อมั่นของ แบบทดสอบทั้งฉบับ (KR - 20) 10.เก็บขอสอบที่ดีๆ ไวในคลังขอสอบ (Item Bank) และ ปรับปรุงขอสอบที่ยังไมเขาเกณฑขอสอบที่ดี เก็บไวเพื่อ นําไปใชในโอกาสตอไป

37

การกําหนดวัตถุประสงคของแบบทดสอบ รายวิชา ...............................

• เพื่อวัดความรูในเนื้อหาวิชาและความสามารถดานพุทธิพิสัย • ของนักศึกษา ใน รายวิชา ...................................................

จากวัตถุประสงคดังกลาว บงชี้วา แบบทดสอบที่สรางขึ้นเปนแบบทดสอบปลายภาค (Final Test) ที่วัดประเมิน เพื่อสรุปผลการเรียน หรือเพื่อประเมินผลรวม (Summative Evaluation) เพื่อนําคะแนนผลการสอบไปรวมกับคะแนนระหวางภาค เพื่อตัดสินผลการเรียนในรายวิชาดังกลาว

ลักษณะของแบบทดสอบ

38

1. ครอบคลุมหัวขอเนื้อหา / จุดประสงคการเรียนรู / ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ที่สําคัญ ๆ 2. วัดครอบคลุมความสามารถ (ดานพุทธิพิสัย) ที่ซับซอน หรือ ความคิดระดับสูง 3. เปนแบบ MCQ


9/19/2019

การจัดทําตารางโครงสรางแบบทดสอบ (Test Specification) (ตาราง 2 ทางที่แสดงความสัมพันธระหวางหัวขอเนื้อหาวิชาและความสามารถดาน พุทธิพิสัย)

39

รวม

หมายเหตุ

40

100

MC = ขอสอบแบบเลือกตอบ (multiple choice) ET = ขอสอบแบบเขียนตอบ/ความเรียง (essay test)

100

สรางสรรค

รวม (ขอ)

ประเมินคา

น้ําหนักความ สําคัญ

วิเคราะห

ตัวชี้วัด

นําไปใช

น้ําหนักความ สําคัญ

เขาใจ

หนวย

รู-จํา

ระดับพฤติกรรมพุทธิพิสัย


9/19/2019

สรางสรรค

วิเคราะห

รวม (ขอ)

นําไปใช

น้ําหนักความ สําคัญ

เขาใจ

จุดประสงค

รู-จํา

หนวย

ประเมินคา

ระดับพฤติกรรมพุทธิพิสัย

น้ําหนักความ สําคัญ

1. จํานวน และ การดําเนินการ 2. การวัด 3. เรขาคณิต 4. พีชคณิต หมายเหตุ

MC = ขอสอบแบบเลือกตอบ (multiple choice) ET = ขอสอบแบบเขียนตอบ/ความเรียง (essay test)

41

1. จํานวน และ การดําเนินการ 2. การวัด 3. เรขาคณิต 4. พีชคณิต รวม หมายเหตุ

42

MC = ขอสอบแบบเลือกตอบ (multiple choice) ET = ขอสอบแบบเขียนตอบ/ความเรียง (essay test)

สรางสรรค

ประเมินคา

รวม (ขอ)

วิเคราะห

น้ําหนักความ สําคัญ

นําไปใช

จุดประสงค

เขาใจ

หนวย

ระดับพฤติกรรมพุทธิพิบสัย

รู-จํา

น้ําหนัก ความสําคัญ


9/19/2019

30

รวม

สรางสรรค

4. พีชคณิต

สรางสรร ค

30

ประเมินคา

3. เรขาคณิต

ประเมิน คา

20

วิเคราะห

2. การวัด

น้ําหนักความ สําคัญ

นําไปใช

20

จุดประสงค

เขาใจ

1. จํานวน และ การดําเนินการ

ระดับพฤติกรรมพุทธิพิสัย รวม (ขอ)

รู-จํา

หนวย

น้ําหนัก ความสําคัญ

100 หมายเหตุ

MC = ขอสอบแบบเลือกตอบ (multiple choice) ET = ขอสอบแบบเขียนตอบ/ความเรียง (essay test)

43

44

20

3.เรขาคณิต

30

4.พีชคณิต

30

รวม

100

วิเคราะห

2.การวัด

รวม (ขอ)

นําไปใช

20

ระดับพฤติกรรมพุทธิพิสัย น้ําหนักความ สําคัญ

เขาใจ

1.จํานวน และ การดําเนินการ

จุดประสงค

รู-จํา

หนวย

น้ําหนัก ความสําคัญ


9/19/2019

1.จํานวน และ การดําเนินการ

20

2.การวัด

20

3.เรขาคณิต

30

4.พีชคณิต

30

รวม

100

หนวย

น้ําหนัก ความสําคัญ

สรางสรร ค

ประเมิน คา

วิเคราะห

ระดับพฤติกรรมพุทธิพิสัย นําไปใช

รวม (ขอ)

เขาใจ

จุดประสงค

น้ําหนักความ สําคัญ

รู-จํา

หนวย

น้ําหนัก ความสําคัญ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

45

46

1.จํานวน และ การดําเนินการ

20

2.การวัด

20

3.เรขาคณิต

30

4.พีชคณิต

30

รวม

100

1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

100

สรางสรรค

ประเมินคา

วิเคราะห

รวม (ขอ)

นําไปใช

ระดับพฤติกรรมพุทธิพิสัย เขาใจ

น้ําหนัก ความสําคัญ

รู-จํา

จุดประสงค


9/19/2019

3.เรขาคณิต

30

วิเคราะ ห

นําไปใช

เขาใจ

สรางสร รค

20

สรางสรรค

2.การวัด

รวม (ขอ)

ประเมิน คา

20

1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

ระดับพฤติกรรมพุทธิพิสัย

ประเมินคา

1.จํานวน และ การดําเนินการ

จุดประสงค

น้ําหนัก ความสําคัญ

รู-จํา

หนวย

น้ําหนัก ความสําคัญ

5 5 5 5 5 5 10 10 10 10 5 5 10 10

4.พีชคณิต

30

รวม

100

100

หนวย

น้ําหนัก ความสําคัญ

น้ําหนัก ความสําคัญ

47

48

20

1 2 3 4 1 2 3

5 5 5 5 5 5 10

30

1 2 3

10 10 10

1 2 3 4

5 5 10 10

1.จํานวน และ การดําเนินการ

20

2.การวัด 3.เรขาคณิต 4.พีชคณิต

30

รวม

100

100

วิเคราะห

นําไปใช

เขาใจ

ระดับพฤติกรรมพุทธิพิสัย รู-จํา

จุดประสงค

รวม (ขอ)


9/19/2019

2.การวัด

20 30

1 2 3

10 10 10

5 5 5

1 2 3 4

5 5 10 10

3 2 5 5

100

50

3.เรขาคณิต 4.พีชคณิต

30

รวม

100

สรางสร รค

20

ประเมิน คา

2 3 3 2 2 3 5

1 2 3 4 1 2 3

วิเคราะ ห

5 5 5 5 5 5 10

1.จํานวน และ การดําเนินการ

ระดับพฤติกรรมพุทธิพิสัย นําไปใช

รวม (ขอ)

เขาใจ

จุดประสงค

น้ําหนัก ความสําคัญ

รู-จํา

หนวย

น้ําหนัก ความสําคัญ

ประเมินคา

สรางสรรค

49

หนวย

50

น้ําหนัก ความสําคัญ

1. จํานวน และ การดําเนินการ

20

2. การวัด

20

3. เรขาคณิต

30

4. พีชคณิต

30

รวม

100

จุดประสงค 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4

น้ําหนัก ความสําคัญ 4 6 6 4 4 6 10 10 10 10 6 4 10 10

100

รวม

(ขอ)

2 3 3 2 2 3 5 5 5 5 3 2 5 5

50

ระดับพฤติกรรมพุทธิพิสยั

รู- จํา

เขาใจ

นําไปใช

วิเคราะห


9/19/2019

น้ําหนัก ความสําคัญ

หนวย 1.จํานวน และ การดําเนินการ

20

2.การวัด

20

3.เรขาคณิต

30

4.พีชคณิต

30

รวม

100

1 2 3 4 1 2 3

น้ําหนัก ความสําคัญ 4 6 6 4 4 6 10

1 2 3

10 10 10

1 2 3 4

6 4 10 10

จุดประสงค

100

รวม

(ขอ)

2 3 3 2 2 3 5

ระดับพฤติกรรมพุทธิพิสัย รู- จํา

เขาใจ

นําไปใช

วิเคราะห

1 2

2 2 1 1 2 1 3

5 5 5

2 2 2

3 2 2

1 1

3 2 5 5 50

1

2 2 3 3 29

1 1 7

1 1

1 1 14

ประเมินคา

1 1

1

51

แบบเขียนข้อสอบ

รายวิชา ......................................... ชันปี ท ี ......................................... หัวข ้อเนือหา ......................................... ระดับความสามารถ .........................................

จุดประสงค์การเรียนรู ้/ผลการเรียนรู ้ทีคาดหวัง .......................................................................................................... ประเด็นเนือหาวิชา/ความคิดรวบยอด/กระบวนการ ทีนํ ามาออกข ้อสอบ .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... ข ้อสอบ .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... เฉลยคําตอบ ..........................................................................................................

52

สรางสรรค


9/19/2019

แบบเขียนข้อสอบ

รายวิชา ชันปี ที หัวข ้อเนือหา

230 303 3 การสร ้างเครืองมือวัดผลสัมฤทธิ ั ทางการเรียนด ้านพุทธิพส ิ ย ระดับความสามารถ วิเคราะห์

จุดประสงค์การเรียนรู/้ ผลการเรียนรูท ้ คาดหว ี ัง ระบุจด ุ เด่น และ/หรือ จุดบกพร่องของข ้อสอบทีกําหนดให ้ได ้

53

ประเด็นเนือหาวิชา/ความคิดรวบยอด/กระบวนการ ทีนํามาออกข้อสอบ คําแนะนําในการสร ้างข ้อสอบแบบเลือกตอบ 1) ตอนนํา (stem) ของข ้อสอบอาจจะใช ้เป็ น “คําถาม” หรือ “ประโยค” ทีไม่สมบูรณ์ ก็ได ้ แต่ต ้องได ้ใจความชัดเจน 2) ตัวเลือกทุกข ้อต ้องมีความเหมาะสมและสอดคล ้องกับ “ตอนนํา” 3) ตัวลวงทุกตัวมีความเป็ นไปได ้ และน่าจะถูกเลือกโดยผู ้เรียนทีเรียนอ่อน ข้อสอบ จงพิจารณาข้อสอบต่อไปนีแล้วตอบคําถามข้อ 1-2 จ ังหว ัดเชียงใหม่ ก. เป็นทีราบเชิงเขา ข. อากาศหนาวเย็น ค. ปลูกลําไยมาก ง. ประชาชนมีความงามทงกายและใจ ั 1. ข ้อสอบมีจด ุ บกพร่องในเรืองใด เด่นชัดทีสุด ? ั เจน (1) ประเด็นทีถามไม่ชด (2) ตัวถูก ไม่ได ้ถูกต ้องตามหลักวิชา (3) ตัวเลือก บางข ้อ ไม่สอดคล ้องกับ “ตอนนํา” (4) “ตอนนํา” เป็ นประโยคทีไม่สมบูรณ์ เฉลยคําตอบ (1)

ตัวอยางการสรางขอคําถามใหสอดคลองกับจุดประสงค

ระดับความรูความจํา จุดประสงคการเรียนรู ผูเรียนสามารถบอกชื่อโรงเรือนเลี้ยงสัตวแบบตาง ๆ ได คําถาม ขอใด คือ โรงเรือน แบบเพิงหมาแหงน

ก. ....... ข. ...... ค. ..... ง. ..... จ. ..... 54


9/19/2019

ตัวอยางการสรางขอคําถามใหสอดคลองกับจุดประสงค

ระดับความเขาใจ จุดประสงคการเรียนรู ผูเรียนสามารถอธิบายหลักการสรางโรงเรือนเลี้ยงสุกรไดถูกตอง คําถาม ขอใดอธิบายหลักการสรางโรงเรือนเลี้ยงสุกรไดถูกตองที่สุด

ก. ....... ข. ...... ค. ..... ง. ..... จ. ..... 55

ตัวอยางการสรางขอคําถามใหสอดคลองกับจุดประสงค

ระดับการนําไปใช จุดประสงคการเรียนรู ผูเรียนสามารถนําเอาหลักการบํารุงดินไปใชไดถูกตอง คําถาม “จากการปลูกพืชของชาวบานพบวา ตนไมเติบโตชาแคระแกร็น เมื่อพิจารณาสีของดินพบวา เปนดินเหนียวมีสีเทา เมื่อขุดลงไปประมาณ 20 เซนติเมตร จะพบวา มีจุดสีเหลืองปะปน” จากสถานการณดังกลาว ควรจะมีวิธีการบํารุงดินอยางไร

ก. ....... ข. ...... ค. ..... ง. ..... จ. ..... 56


9/19/2019

ตัวอยางการสรางขอคําถามใหสอดคลองกับจุดประสงค

ระดับการวิเคราะห จุดประสงคการเรียนรู ผูเรียนสามารถวิเคราะหหลักการปลูกโรงเรือนไดถูกตอง คําถาม เพราะเหตุใดจึงควรสรางโรงเรียนตามแนวตะวันออก-ตะวันตก

ก. ....... ข. ...... ค. ..... ง. ..... จ. .....

57

ตัวอยางการสรางขอคําถามใหสอดคลองกับจุดประสงค

ระดับการสังเคราะห จุดประสงคการเรียนรู ผูเรียนสามารถวางแผนการปลูกพืชไดอยางเหมาะสม คําถาม สมมุติวานักศึกษามีที่ดินสําหรับเพาะปลูกจํานวน 1 ไร และมี งบประมาณอยูจํานวน 10,000 บาท จงวางแผนการปลูกพืชในระยะเวลา 1 ป

58


9/19/2019

ตัวอยางการสรางขอคําถามใหสอดคลองกับจุดประสงค

ระดับการประเมินคา จุดประสงคการเรียนรู นักศึกษาแสดงความคิดเห็นการปลูกพืชโดยคํานึงถึงความปลอดภัยของผูบ ริโภค คําถาม นักศึกษามีความเห็นดวยตอคํากลาวดังตอไปนี้หรือไม อยางไร จงใหเหตุผล “ทุกขั้นตอนการผลิตควรดําเนินการใหถูกตอง เปนไปในทิศทางเดียวกัน โดยเริ่มตั้งแต การปลูก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การลาง และตัดแตง การบรรจุหีบหอ การขนสง จงกระทั่งการขายผลผลิต” 59

การสรางขอสอบแบบเลือกตอบ ขอดีของขอสอบ แบบเลือกตอบ 1. 2. 3. 4.

60

สามารถวัดเนื้อหาไดครอบคลุม ตรวจใหคะแนนงายและรวดเร็ว การตรวจใหคะแนนมีความยุติธรรม มีความเปนปรนัย สามารถสรางใหวัดสมรรถภาพสมองดานตาง ๆ ตามลําดับขั้นของ ความรูได


9/19/2019

การสรางขอสอบแบบเลือกตอบ จุดบกพรองของขอสอบ แบบเลือกตอบ 1. เสียคาใชจายในการสรางและพัฒนาสูง 2. สามารถเดาคําตอบไดถูก เนื่องจากมีการกําหนดคําตอบ ใหเลือก

61

หลักการเขียนขอสอบแบบเลือกตอบ (1) เขียนคําถามใหเปนประโยคคําถามที่สมบูรณ (ไมดี) ภูเก็ตเปน ก. เกาะ ข. ภูเขา ค. จังหวัด ง. ทาจอดเรือ จ. แหลงทองเที่ยว

62

(ดีขึ้น) ภูเก็ตเปนชื่อของอะไร ก. ถนน ข. ภูเขา ค. แมน้ํา ง. เมือง จ. แหลงทองเที่ยว


9/19/2019

หลักการเขียนขอสอบแบบเลือกตอบ (2) เนนเรื่องที่จะถามใหชัดเจนและตรงจุด (ไมดี) รัตนตรัย คือ

(ดีขึ้น) รัตนตรัย หมายถึงสิ่งใด

ก. ศีล

ก. ศีล

ข. ศาสนาพุทธ

ข. ศาสนาพุทธ

ค. ผาไตรจีวร

ค. ผาไตรจีวร

ง. แกวสามดวง

ง. แกวสามดวง

จ. พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ

จ. พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ

63

หลักการเขียนขอสอบแบบเลือกตอบ (3) ควรถามขอละปญหา (ไมดี) กรุงเทพมหานครเปนชื่อของอะไรอยูติด กับแมน้ําอะไร ก. อูเรือ - เจาพระยา ข. เมือง - ทาจีน ค. ถนน - บางปะกง ง. เมือง - เจาพระยา จ. ภาพ - ปาสัก 64

(ดีขึ้น) กรุงเทพมหานครอยูติด กับแมน้ําอะไร ก. เจาพระยา ข. บางปะกง ค. ปาสัก ง. ทาจีน จ. ปง


9/19/2019

หลักการเขียนขอสอบแบบเลือกตอบ (4) ไมควรใชคําถามปฏิเสธ หรือซอนปฏิเสธ (ไมดี) ถาไมกินผักบุงจะไมไดวิตามินอะไร ก. วิตามินเอ ข. วิตามินบี ค. วิตามินซี ง. วิตามินดี จ. วิตามินอี

(ดีขึ้น) ถากินผักบุงจะไดรับวิตามินอะไร ก. วิตามินเอ ข. วิตามินบี ค. วิตามินซี ง. วิตามินดี จ. วิตามินอี

65

หลักการเขียนขอสอบแบบเลือกตอบ (5) ถามคําถามที่ใหใชความคิด (ไมดี) สวนใดของพืชทําหนาที่รับออกซิเจน

66

(ดีขึ้น) คน : จมูก

ก) ใบ

ก) ใบ

ข) กิ่ง

ข) กิ่ง

ค) ราก

ค) ราก

ง) ดอก

ง) ดอก

จ) ลําตน

จ) ลําตน

, พืช : ……….


9/19/2019

หลักการเขียนขอสอบแบบเลือกตอบ (6) คําถามไมใชคําฟุมเฟอย (ไมดี) มนุษยมีวิธีเพิ่มพูนสมรรถภาพใหแกตนเอง เพื่อตอตานโรคภัยที่รายแรงไดหลายวิธี จงบอกวิธีที่สําคัญที่สุดที่เราควรปฏิบัติ เพื่อตอตานการติดตอของโรค ก. ฉีดวัคซีน ข. อยูหางผูปวย ค. กินวิตามิน ง. กินนอนเปนเวลา จ. ออกกําลังกาย

(ดีขึ้น) วิธีการปฏิบัติขอใดดีที่สุด เพื่อตอตานโรคติดตอ ก. ฉีดวัคซีน ข. อยูหางผูปวย ค. กินวิตามิน ง. กินนอนเปนเวลา จ. ออกกําลังกาย

67

หลักการเขียนขอสอบแบบเลือกตอบ (7) คําถามไมควรชี้แนะคําตอบ (ไมดี) ลําไสเล็กสวนตนมีหนาที่อะไร เกี่ยวกับอาหาร ก. ข. ค. ง. จ.

68

สรางน้ํายอย ดูดซึมอาหาร ขนสงเกลือแร ขับถายของสีย สรางวิตามินที่จําเปน

(ดีขึ้น) ขอใดคือหนาที่ของลําไสเล็กสวนตน ก. สรางน้ํายอย ข. ดูดซึมอาหาร ค. ขนสงเกลือแร ง. ขับถายของสีย จ. สรางวิตามินที่จําเปน


9/19/2019

เทคนิคการเขียนตัวเลือก (1) เขียนตัวเลือกใหเปนเอกพันธ นั่นคือตัวเลือกทุกตัว ตองเปนเรื่องราวเดียวกัน

(ไมดี) ขอใดไมเขาพวก ก. ข. ค. ง. จ.

(ดีขึ้น) นักรบโบราณนิยมใชอาวุธอะไร ก. ข. ค. ง. จ.

ชาง มา วัว ควาย มะเขือ

ดาบ ปนกล รถถัง เครื่องบิน จรวดนําวิถี

69

เทคนิคการเขียนตัวเลือก 2. เขียนตัวเลือกใหเปนอิสระขาดจากกัน (ไมดี) ประชากรของประเทศมีรายไดโดย เฉลี่ยตอเดือนประมาณเทาไร ก. ข. ค. ง. จ. 70

นอยกวา 3,000 บาท นอยกวา 4,000 บาท ประมาณ 5,000 บาท มากกวา 6,000 บาท มากกวา 7,000 บาท

(ดีขึ้น) ประชากรของประเทศมีรายได โดยเฉลี่ยตอเดือนประมาณเทาไร ก. ข. ค. ง. จ.

นอยกวา 3,000 บาท 3,000 - 3,999 บาท 4,000 - 4,999 บาท 5,000 - 5,999 บาท มากกวา 6,000 บาท ขึ้นไป


9/19/2019

เทคนิคการเขียนตัวเลือก (3) ความยาวของตัวเลือกควรเปนระบบ เรียงความยาวจากนอยไปมาก หรือมากไปนอย (ไมดี) H2O หมายถึง ก. ข. ค. ง. จ.

แอลกอฮอล ไฮโดรเจนเปอรออกไซด น้ํา คารบอนไดออกไซด โปตัสเซียม

(ดีขึ้น) H2O หมายถึง ก. ข. ค. ง. จ.

น้ํา โปตัสเซียม แอลกอฮอล คารบอนไดออกไซด ไฮโดรเจนเปอรออกไซด

71

เทคนิคการเขียนตัวเลือก 4. คําขยายประเภท “เทานั้น ทั้งหมด ทุกที เสมอ แนนอน” ไมควรใชกับ ตัวลวง เพราะจะทําใหผิด เดนชัดเกินไป

(ไมดี) ขอใดหมายถึงเงิน ก. ข. ค. ง. จ. 72

สิ่งที่สังคมกําหนด ธนบัตรเทานั้น ของที่ใชแลกเปลี่ยนทั้งหมด สิ่งที่เปนเหรียญทั้งหมด สิ่งที่มีคามากที่สุด

(ดีขึ้น) ขอใดหมายถึงเงิน ก. ข. ค. ง. จ.

ธนบัตร สิ่งมีคา เงินเหรียญ สิ่งที่สังคมกําหนด ของที่ใชแลกเปลี่ยน


9/19/2019

เทคนิคการเขียนตัวเลือก

5. ตัวเลือกไมควรมีประเภท “ถูกหมดทุกขอ” “ถูก ทั้ง ก และ ข” “ไมมีขอใดถูก” (ดีขึ้น) ชายที่มียีนแฝงของโรคธาลาสซีเมีย แตงงานกับ (ไมดี) ชายที่มียีนแฝงของโรคธาลาสซีเมีย แตงงาน หญิงที่มียีนแฝงของโรคธาลาสซีเมียชนิดเดียวกัน บุตร ของชายหญิงคูนี้จะมีโอกาสเปนโรคธาลาสซีเมียเทาไร กับหญิงที่มียีนแฝงของโรคธาลาสซีเมียชนิด ก. 20 % เดียวกัน บุตรของชายหญิงคูนี้จะมีโอกาสเปน ข. 25 % โรคธาลาสซีเมียเทาไร ค. 30 % ก. 25 % ง. 35 % ข. 50 % ค. 75 % จ. 40 % ง. 100 % จ. ไมมีขอ ถูก

73

เทคนิคการเขียนตัวเลือก 6. ตัวถูกไมควรยาวเกินไป (ไมดี) เด็กที่ฟนกําลังขึ้นควรบํารุงดวยอาหาร ประเภทใด ก. ข. ค. ง. จ. 74

ผักสด โปรตีน เครื่องใน อาหารทะเล อาหารประเภทที่มีแคลเซียมมาก

(ดีขึ้น) เด็กที่ฟนกําลังขึ้นควรบํารุงดวย อาหารประเภทใด ก. ข. ค. ง. จ.

เหล็ก วิตามิน ไอโอดีน ฟอสฟอรัส แคลเซียม


9/19/2019

เทคนิคการเขียนตัวเลือก 7. คําตอบถูกตองมีตัวเดียว 8. ควรกระจายตําแหนงตัวถูก

75

การกําหนดรูปแบบของขอสอบเลือกตอบ 1. แบบคําถามเดียว เปนขอคําถามที่มีคําถามเดียว และมีตัวเลือกเพียงชุดเดียว ขอใดคือปริมาณเวกเตอร ก. ข. ค. ง. จ. 76

งาน แรง พลังงาน ระยะทาง ปริมาณสาร


9/19/2019

การกําหนดรูปแบบของขอสอบเลือกตอบ 2. แบบตัวเลือกคงที่ เปนขอคําถามที่ใชชุดตัวเลือกชุดเดียว แตมีการกําหนดขอคําถามไวหลาย ๆ ขอใหตอบ

คําชี้แจง คําถามจากขอ 1 – 3 เปนประโยคขอความใหนักเรียนพิจารณาวาประโยคขอความแตละขอวา วัดระดับใด ก. ข. ค. ง.

ความรูความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห

1) ถาบานนักเรียนน้ําทวม สิ่งแรกที่ควรปฏิบัติคืออะไร 2) การวัดหมายถึงอะไร 3) การวัดและการประเมินผล แตกตางกันอยางไร

77

การกําหนดรูปแบบของขอสอบเลือกตอบ 3. แบบสถานการณ เปนการสรางสถานการณใหนักเรียนพิจารณาเพื่อตอบคําถามสถานการณใชไดหลายแบบ เชน ขอความ บทประพันธ รูปภาพ คําชี้แจง จงใชขอความนี้ตอบคําถามขอ 1 – 2 “อกแมนี้ใหออนหวิวสุดละหอย ทั้งดาวเดือนก็เคลื่อนคลอยลงลับไม สุดที่แมจะติดตามเจาไปในยามนี้” 1)แมมีความรูสึกอยางไร ก. วาเหว ข. ทอแท ค. กังวลใจ ง. หมดกําลังใจ 2) “สุดที่แมจะติดตาม” เพราะเหตุใด ก. แมหิวและออนเพลีย ข. มองไมเห็นทาง ค. ไมรูวาอยูที่ใด ง. แมจะเปนลม 78


9/19/2019

เปรียบเทียบขอดีและขอบกพรองของแบบทดสอบ

Thorndike and Hagen (1977) ไดเปรียบเทียบ ขอดีและขอบกพรองของแบบทดสอบอัตนัย / แบบสอบ เต็มคํา/ตอบสั้น และแบบสอบปรนัย ดังนี้

79

องคประกอบ 1. สามารถวัดความสามารถในการแกปญหา 2. สามารถวัดความสามารถในการจัดระบบ บูรณาการ และสังเคราะห 3. สามารถวัดความคิดริเริ่ม หรือนวัตกรรมใหมในการแกปญหา 4. สามารถแยกความสามารถในความรูออกจากทักษะการเขียน สะกดคํา และการใชภาษา ออกจากกัน 5. มีศักยภาพในการวินิจฉัยการเรียนรู 6. สามารถวัดไดครอบคลุมตามจุดประสงคของการเรียนการสอน 7. การปราศจาการเดาคําตอบ 8. มีความเที่ยงในการใหคะแนนระหวางผูตรวจ 9. สามารถจําแนกตามระดับความสามารถที่ตางกันได 10. สามารถตรวจใหคะแนน โดยผูที่ไมมีความรู หรือเครื่องตรวจได 11. สามารถตรวจไดอยางรวดเร็ว 12. ใชเวลาในการเขียนขอคําถามนอย ++ + --

80

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

วัดไดดี วัดไดบาง วัดไดเล็กนอย วัดไมได

อัตนัย ++ ++ ++

เติมคํา/ตอบสั้น + + +

ปรนัย ++ ---

--

-

++

--++ ----+

+ ++ +

++ ++ -++ ++ ++ ++ -


9/19/2019

องคประกอบ 1. สามารถวัดความสามารถในการแกปญหา 2. สามารถวัดความสามารถในการจัดระบบ บูรณาการ และสังเคราะห 3. สามารถวัดความคิดริเริ่ม หรือนวัตกรรมใหมในการแกปญหา 4. สามารถแยกความสามารถในความรูออกจากทักษะการเขียน สะกดคํา และการใชภาษา ออกจากกัน 5. มีศักยภาพในการวินิจฉัยการเรียนรู 6. สามารถวัดไดครอบคลุมตามจุดประสงคของการเรียนการสอน 7. การปราศจาการเดาคําตอบ 8. มีความเที่ยงในการใหคะแนนระหวางผูตรวจ 9. สามารถจําแนกตามระดับความสามารถที่ตางกันได 10. สามารถตรวจใหคะแนน โดยผูที่ไมมีความรู หรือเครื่องตรวจได 11. สามารถตรวจไดอยางรวดเร็ว 12. ใชเวลาในการเขียนขอคําถามนอย ++ + --

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

อัตนัย ++ ++ ++

เติมคํา/ตอบสั้น + + +

ปรนัย ++ ---

--

-

++

--++ ----+

+ ++ +

++ ++ -++ ++ ++ ++ -

อัตนัย ++ ++ ++

เติมคํา/ตอบสั้น + + +

ปรนัย ++ ---

--

-

++

--++ ----+

+ ++ +

++ ++ -++ ++ ++ ++ -

วัดไดดี วัดไดบาง วัดไดเล็กนอย วัดไมได

81

องคประกอบ 1. สามารถวัดความสามารถในการแกปญหา 2. สามารถวัดความสามารถในการจัดระบบ บูรณาการ และสังเคราะห 3. สามารถวัดความคิดริเริ่ม หรือนวัตกรรมใหมในการแกปญหา 4. สามารถแยกความสามารถในความรูออกจากทักษะการเขียน สะกดคํา และการใชภาษา ออกจากกัน 5. มีศักยภาพในการวินิจฉัยการเรียนรู 6. สามารถวัดไดครอบคลุมตามจุดประสงคของการเรียนการสอน 7. การปราศจาการเดาคําตอบ 8. มีความเที่ยงในการใหคะแนนระหวางผูตรวจ 9. สามารถจําแนกตามระดับความสามารถที่ตางกันได 10. สามารถตรวจใหคะแนน โดยผูที่ไมมีความรู หรือเครื่องตรวจได 11. สามารถตรวจไดอยางรวดเร็ว 12. ใชเวลาในการเขียนขอคําถามนอย ++ + --

82

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

วัดไดดี วัดไดบาง วัดไดเล็กนอย วัดไมได


9/19/2019

องคประกอบ 1. สามารถวัดความสามารถในการแกปญหา 2. สามารถวัดความสามารถในการจัดระบบ บูรณาการ และสังเคราะห 3. สามารถวัดความคิดริเริ่ม หรือนวัตกรรมใหมในการแกปญหา 4. สามารถแยกความสามารถในความรูออกจากทักษะการเขียน สะกดคํา และการใชภาษา ออกจากกัน 5. มีศักยภาพในการวินิจฉัยการเรียนรู 6. สามารถวัดไดครอบคลุมตามจุดประสงคของการเรียนการสอน 7. การปราศจาการเดาคําตอบ 8. มีความเที่ยงในการใหคะแนนระหวางผูตรวจ 9. สามารถจําแนกตามระดับความสามารถที่ตางกันได 10. สามารถตรวจใหคะแนน โดยผูที่ไมมีความรู หรือเครื่องตรวจได 11. สามารถตรวจไดอยางรวดเร็ว 12. ใชเวลาในการเขียนขอคําถามนอย ++ + --

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

อัตนัย ++ ++ ++

เติมคํา/ตอบสั้น + + +

ปรนัย ++ ---

--

-

++

--++ ----+

+ ++ +

++ ++ -++ ++ ++ ++ -

อัตนัย ++ ++ ++

เติมคํา/ตอบสั้น + + +

ปรนัย ++ ---

--

-

++

--

+

++

วัดไดดี วัดไดบาง วัดไดเล็กนอย วัดไมได

83

องคประกอบ 1. สามารถวัดความสามารถในการแกปญหา 2. สามารถวัดความสามารถในการจัดระบบ บูรณาการ และสังเคราะห 3. สามารถวัดความคิดริเริ่ม หรือนวัตกรรมใหมในการแกปญหา 4. สามารถแยกความสามารถในความรูออกจากทักษะการเขียน สะกดคํา และการใชภาษา ออกจากกัน 5. มีศักยภาพในการวินิจฉัยการเรียนรู 6. สามารถวัดไดครอบคลุมตามจุดประสงคของการเรียนการสอน 7. การปราศจาการเดาคําตอบ 8. มีความเที่ยงในการใหคะแนนระหวางผูตรวจ 9. สามารถจําแนกตามระดับความสามารถที่ตางกันได 10. สามารถตรวจใหคะแนน โดยผูที่ไมมีความรู หรือเครื่องตรวจได 11. สามารถตรวจไดอยางรวดเร็ว 12. ใชเวลาในการเขียนขอคําถามนอย ++ + --

84

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

วัดไดดี วัดไดบาง วัดไดเล็กนอย วัดไมได


9/19/2019

องคประกอบ 1. สามารถวัดความสามารถในการแกปญหา 2. สามารถวัดความสามารถในการจัดระบบ บูรณาการ และสังเคราะห 3. สามารถวัดความคิดริเริ่ม หรือนวัตกรรมใหมในการแกปญหา 4. สามารถแยกความสามารถในความรูออกจากทักษะการเขียน สะกดคํา และการใชภาษา ออกจากกัน 5. มีศักยภาพในการวินิจฉัยการเรียนรู 6. สามารถวัดไดครอบคลุมตามจุดประสงคของการเรียนการสอน 7. การปราศจาการเดาคําตอบ 8. มีความเที่ยงในการใหคะแนนระหวางผูตรวจ 9. สามารถจําแนกตามระดับความสามารถที่ตางกันได 10. สามารถตรวจใหคะแนน โดยผูที่ไมมีความรู หรือเครื่องตรวจได 11. สามารถตรวจไดอยางรวดเร็ว 12. ใชเวลาในการเขียนขอคําถามนอย ++ + --

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

อัตนัย ++ ++ ++

เติมคํา/ตอบสั้น + + +

ปรนัย ++ ---

--

-

++

---

+ -

++ ++

อัตนัย ++ ++ ++

เติมคํา/ตอบสั้น + + +

ปรนัย ++ ---

--

-

++

--++

+ ++

++ ++ --

วัดไดดี วัดไดบาง วัดไดเล็กนอย วัดไมได

85

องคประกอบ 1. สามารถวัดความสามารถในการแกปญหา 2. สามารถวัดความสามารถในการจัดระบบ บูรณาการ และสังเคราะห 3. สามารถวัดความคิดริเริ่ม หรือนวัตกรรมใหมในการแกปญหา 4. สามารถแยกความสามารถในความรูออกจากทักษะการเขียน สะกดคํา และการใชภาษา ออกจากกัน 5. มีศักยภาพในการวินิจฉัยการเรียนรู 6. สามารถวัดไดครอบคลุมตามจุดประสงคของการเรียนการสอน 7. การปราศจากการเดาคําตอบ 8. มีความเที่ยงในการใหคะแนนระหวางผูตรวจ 9. สามารถจําแนกตามระดับความสามารถที่ตางกันได 10. สามารถตรวจใหคะแนน โดยผูที่ไมมีความรู หรือเครื่องตรวจได 11. สามารถตรวจไดอยางรวดเร็ว 12. ใชเวลาในการเขียนขอคําถามนอย ++ + --

86

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

วัดไดดี วัดไดบาง วัดไดเล็กนอย วัดไมได


9/19/2019

องคประกอบ 1. สามารถวัดความสามารถในการแกปญหา 2. สามารถวัดความสามารถในการจัดระบบ บูรณาการ และสังเคราะห 3. สามารถวัดความคิดริเริ่ม หรือนวัตกรรมใหมในการแกปญหา 4. สามารถแยกความสามารถในความรูออกจากทักษะการเขียน สะกดคํา และการใชภาษา ออกจากกัน 5. มีศักยภาพในการวินิจฉัยการเรียนรู 6. สามารถวัดไดครอบคลุมตามจุดประสงคของการเรียนการสอน 7. การปราศจากการเดาคําตอบ 8. มีความเที่ยงในการใหคะแนนระหวางผูตรวจ 9. สามารถจําแนกตามระดับความสามารถที่ตางกันได 10. สามารถตรวจใหคะแนน โดยผูที่ไมมีความรู หรือเครื่องตรวจได 11. สามารถตรวจไดอยางรวดเร็ว 12. ใชเวลาในการเขียนขอคําถามนอย ++ + --

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

อัตนัย ++ ++ ++

เติมคํา/ตอบสั้น + + +

ปรนัย ++ ---

--

-

++

--++ --

+ ++ -

++ ++ -++

อัตนัย ++ ++ ++

เติมคํา/ตอบสั้น + + +

ปรนัย ++ ---

--

-

++

--++ ---

+ ++ -

++ ++ -++ ++

วัดไดดี วัดไดบาง วัดไดเล็กนอย วัดไมได

87

องคประกอบ 1. สามารถวัดความสามารถในการแกปญหา 2. สามารถวัดความสามารถในการจัดระบบ บูรณาการ และสังเคราะห 3. สามารถวัดความคิดริเริ่ม หรือนวัตกรรมใหมในการแกปญหา 4. สามารถแยกความสามารถในความรูออกจากทักษะการเขียน สะกดคํา และการใชภาษา ออกจากกัน 5. มีศักยภาพในการวินิจฉัยการเรียนรู 6. สามารถวัดไดครอบคลุมตามจุดประสงคของการเรียนการสอน 7. การปราศจากการเดาคําตอบ 8. มีความเที่ยงในการใหคะแนนระหวางผูตรวจ 9. สามารถจําแนกตามระดับความสามารถที่ตางกันได 10. สามารถตรวจใหคะแนน โดยผูที่ไมมีความรู หรือเครื่องตรวจได 11. สามารถตรวจไดอยางรวดเร็ว 12. ใชเวลาในการเขียนขอคําถามนอย ++ + --

88

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

วัดไดดี วัดไดบาง วัดไดเล็กนอย วัดไมได


9/19/2019

องคประกอบ 1. สามารถวัดความสามารถในการแกปญหา 2. สามารถวัดความสามารถในการจัดระบบ บูรณาการ และสังเคราะห 3. สามารถวัดความคิดริเริ่ม หรือนวัตกรรมใหมในการแกปญหา 4. สามารถแยกความสามารถในความรูออกจากทักษะการเขียน สะกดคํา และการใชภาษา ออกจากกัน 5. มีศักยภาพในการวินิจฉัยการเรียนรู 6. สามารถวัดไดครอบคลุมตามจุดประสงคของการเรียนการสอน 7. การปราศจากการเดาคําตอบ 8. มีความเที่ยงในการใหคะแนนระหวางผูตรวจ 9. สามารถจําแนกตามระดับความสามารถที่ตางกันได 10. สามารถตรวจใหคะแนน โดยผูที่ไมมีความรู หรือเครื่องตรวจได 11. สามารถตรวจไดอยางรวดเร็ว 12. ใชเวลาในการเขียนขอคําถามนอย ++ + --

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

อัตนัย ++ ++ ++

เติมคํา/ตอบสั้น + + +

ปรนัย ++ ---

--

-

++

--++ ----

+ ++ -

++ ++ -++ ++ ++

อัตนัย ++ ++ ++

เติมคํา/ตอบสั้น + + +

ปรนัย ++ ---

--

-

++

--++ -----

+ ++ -

++ ++ -++ ++ ++ ++

วัดไดดี วัดไดบาง วัดไดเล็กนอย วัดไมได

89

องคประกอบ 1. สามารถวัดความสามารถในการแกปญหา 2. สามารถวัดความสามารถในการจัดระบบ บูรณาการ และสังเคราะห 3. สามารถวัดความคิดริเริ่ม หรือนวัตกรรมใหมในการแกปญหา 4. สามารถแยกความสามารถในความรูออกจากทักษะการเขียน สะกดคํา และการใชภาษา ออกจากกัน 5. มีศักยภาพในการวินิจฉัยการเรียนรู 6. สามารถวัดไดครอบคลุมตามจุดประสงคของการเรียนการสอน 7. การปราศจากการเดาคําตอบ 8. มีความเที่ยงในการใหคะแนนระหวางผูตรวจ 9. สามารถจําแนกตามระดับความสามารถที่ตางกันได 10. สามารถตรวจใหคะแนน โดยผูที่ไมมีความรู หรือเครื่องตรวจได 11. สามารถตรวจไดอยางรวดเร็ว 12. ใชเวลาในการเขียนขอคําถามนอย ++ + --

90

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

วัดไดดี วัดไดบาง วัดไดเล็กนอย วัดไมได


9/19/2019

องคประกอบ 1. สามารถวัดความสามารถในการแกปญหา 2. สามารถวัดความสามารถในการจัดระบบ บูรณาการ และสังเคราะห 3. สามารถวัดความคิดริเริ่ม หรือนวัตกรรมใหมในการแกปญหา 4. สามารถแยกความสามารถในความรูออกจากทักษะการเขียน สะกดคํา และการใชภาษา ออกจากกัน 5. มีศักยภาพในการวินิจฉัยการเรียนรู 6. สามารถวัดไดครอบคลุมตามจุดประสงคของการเรียนการสอน 7. การปราศจากการเดาคําตอบ 8. มีความเที่ยงในการใหคะแนนระหวางผูตรวจ 9. สามารถจําแนกตามระดับความสามารถที่ตางกันได 10. สามารถตรวจใหคะแนน โดยผูที่ไมมีความรู หรือเครื่องตรวจได 11. สามารถตรวจไดอยางรวดเร็ว 12. ใชเวลาในการเขียนขอคําถามนอย ++ + --

หมายถึง หมายถึง หมายถึง หมายถึง

อัตนัย ++ ++ ++

เติมคํา/ตอบสั้น + + +

ปรนัย ++ ---

--

-

++

--++ ----+

+ ++ +

++ ++ -++ ++ ++ ++ -

วัดไดดี วัดไดบาง วัดไดเล็กนอย วัดไมได

91

การสรางแบบทดสอบ โดย

ดร.ชมนาด พรมมิจิตร วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม Ph.D. (Educational Research, Measurement, and Statistic) E-mail : pchommanat@gmail.com

92


9/19/2019

93

ประเด็นในการพิจารณาข้อสอบ 1. ตรงกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม 2. ใชภาษาชัดเจน 3. แตละขอคําถามมีประเด็นเดียว 4. เขียนในรูป positive form 5. คําถามในรูป negative form ใหขีดเสนใต 6. ตัวเลือกควรเรียงลําดับ เชน ตัวเลข ความสั้น-ยาว 7. ยกเวนคําวา ถูกหมด ทุกขอที่กลาวมา ไมมีขอใดถูก

94


9/19/2019

เมื่อกําหนดโจทยปญหาเรื่องการบวกแลว นักเรียนสามารถแสดงวิธีทําไดถูกตองทุกขอ สถานการณ + พฤติกรรม + เกณฑ

95

96


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.