ใบความรู้หน่วยที่ 2 ชื่อรายวิชา เครื่องรับโทรทัศน์ หน่วยที่2 การทางานของภาคจ่ายไฟและการใช้เครื่องมือวัดทดสอบ การปรับแต่งตรวจซ่อมเครื่องรับโทรทัศน์
สอนครั้งที่ 4 – 6 จานวน 18 ชั่วโมง
แนวคิด การทางานของเครื่องรับโทรทัศน์ เริ่มต้นการทางานจากภาคจ่ายไฟเป็นต้นไป ภาคจ่ายไฟ เรียกว่า เพาเวอร์ซัพพลาย ( Power Supply) การจ่ายไฟจะต้องจ่ายแรงดันไฟ DC ให้กับวงจรภาคต่าง ๆ ของ เครื่องรับโทรทัศน์ วิธีก็คือ จะต้องนาเอาไฟ AC ที่ใช้ในอาคารบ้านเรือนจะมีแรงดันไฟ 220 VAC มาทาการ เร็กติฟายเออร์ (Rectifier) คือเปลี่ยนจากไฟ AC ให้เป็นไฟ DC แล้วจึงจ่ายไฟ DC ไปเลี้ยงวงจร ขั้นตอนการเกิดแสงที่หน้าจอโทรทัศน์มี 5 ขั้นตอน คือ 1) ภาคจ่ายไฟต้องทางานได้ก่อน 2) ต้องมีไฟ 6-12 VDC สตาร์ต Hor 3) Hor-OSC ทางานที่ความถี่ 15,625 Hz (PAL) 4) Hor-Driver ทางาน 5) Hor-Output ทางาน แล้วมีโหลดอีก 2 ตัว คือ FBT และ H-Yoke สาระการเรียนรู้ ในเครื่องรับโทรทัศน์ขาวดาจะใช้วงจรเพาเวอร์ซัพพลายแบบธรรมดา คุณภาพอาจพอใช้ได้ต่างจาก เครื่องรับโทรทัศน์สีเพาเวอร์ซัพพลายต้องถูกออกแบบอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาอยู่ตลอดเวลา ส่วนมาก วงจรเพาเวอร์ซัพพลายของโทรทัศน์สีจะเป็นแบบสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย ภาคจ่ายไฟเครื่องรับโทรทัศน์สีจอ ภาพ CRT จอภาพ Pasma จอภาพ LCD และจอภาพ LED มีความ แตกต่างกันในส่วนของจอภาพในการแสดงผลเท่านั้น ส่วนภาคจ่ายไฟยังคงเป็นภาคจ่ายไฟแบบ สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อนักเรียน เรียนจบแล้วสามารถ 1. อธิบายการทางานวงจรเร็กติฟายเออร์และเพาเวอร์ซัพพลายแบบสวิตชิ่งได้ถูกต้อง 2. อธิบายการทางานบล็อกไดอะแกรมของภาคจ่ายไฟได้ถูกต้อง 3. อธิบายวิธีการควบคุมสัญญาณ EMI และสัญญาณ RFI ได้ถูกต้อง 4. อธิบายการทางานวงจรเมนเร็กติฟายได้ถูกต้อง 5. อธิบายการทางานเพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ได้ถูกต้อง 6. อธิบายการทางานวงจรป้องกันได้ถูกต้อง 7. อธิบายเทคนิควิธีการตรวจซ่อมได้ถูกต้อง 8. แสดงวิธีการใช้มัลติมิเตอร์และออสซิสโลสโคปวัดสัญญาณได้ถูกต้อง 9. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครูสามารถสังเกตเห็นได้ ในด้านความมีมนุษยสัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความเชื่อมั่นในตนเอง ความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที
วงจรเร็กติฟายเออร์และเพาเวอร์ซัพพลายแบบสวิตชิ่ง วงจรเร็กติฟายเออร์แบบธรรมดา วงจรเร็กติฟายเออร์แบบธรรมดา เป็นวงจรเร็กติฟายเออร์พื้นฐานทาการเปลี่ยนจากไฟเอซี (AC) ให้เป็นไฟดีซี ( DC) แล้วนาไปเลี้ยงวงจรต่าง ๆ วงจรลักษณะนี้ถ้าแรงดันไฟเอซีเปลี่ยนแปลง แรงดันไฟดีซี เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ปัจจุบันจะไม่นิยมนามาใช้ แต่เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาขั้นพื้นฐานก่อนที่จะศึกษาวงจร ที่สูงขึ้น คือ ลิเนียร์เรกูเลเตอร์ 12.7 VDC +B1 R1
D1
T1 18 VAC
220 VAC
8 VDC +B2
C1
C2
LOAD
รูปที่ 2.1 วงจรเร็กติฟายเออร์แบบธรรมดา การทางาน จากปลั๊กไฟฟ้าต่อภายในบ้านพักอาศัย จะมีค่า 220 VAC เข้าที่ขดไพรมารี่ของทรานสฟอร์เมอร์ T1 ขดเซ็คคั่นดารี่ลดแรงดันไฟลงเหลือ 18 VAC ต่อไปเข้าไดโอด D1 ไดโอด D1 ด้านแอโนด คือจุดสิ้นสุดไฟ AC ส่วนด้านแคโทด จะเป็นจุดเริ่มต้นไฟ DC เรียกว่าการ เร็กติฟายเออร์ไฟจะไปทาการชาร์จและดิสชาร์จที่ C1 ได้แรงดันไฟประมาณ 12.7 VDC (Vin x 0.707 V) จุดนี้ เรียกว่า +B1 เมื่อแรงดันไฟกระแสตรงไหลผ่าน R-Filter (R1) จะทาให้แรงไฟลดลงเหลือ 8 VDC จุดนี้เรียกว่า + B2 ทั้ง +B1 และ +B2 จะสามารถต่อไปเลี้ยงวงจรต่าง ๆ เรียกว่า “โหลด” (Load)
การทางานของวงจร เร็กติฟายเออร์ แบบเรกูเลเตอร์ 18 VAC
TR1
D1
C1
R2
R1 ZD1
C3 C2
รูปที่ 2.2 วงจรเรกูเลเตอร์เบื้องต้น
LOAD
การทางาน แรงดันไฟ 18 VAC ผ่านเข้าวงจรเร็กติฟายเออร์ คือ ไดโอด D1 แรงดันไฟกระแสตรงส่วนหนึ่งเข้า ขาคอลเล คเตอร์ของทรานซิสเตอร์เรกูเลเตอร์ อีกส่วนหนึ่งจะผ่าน R1 มาเป็นแรงดันไฟเบส ไบอัส โดยมี ซีเนอร์ Z1 เป็นตัวรักษาระดับแรงดันไฟ เมื่อมีแรงดันไฟเบส ไบอัส ทาให้ทรานซิสเตอร์ทางาน ความ ต้านทาน ระหว่างขาคอลเลคเตอร์กับขาอิมิตเตอร์ของทรานซิสเตอร์ลดลง ทาให้แรงดันไฟจากขาคอลเล คเตอร์ผ่านออก จากขาอิมิตเตอร์ได้ แรงดันไฟที่ออกจากขาอิมิตเตอร์ จะผ่าน R2 เพื่อจ่ายให้กับวงจรหรือโหลดต่อไปขาเบส ของทรานซิสเตอร์ มีซีเนอร์ Z1 เป็นตัวรักษาระดับแรงดันไฟทาให้แรงดันไฟออกที่ขาอิมิตเตอร์มีค่าคงที่ 1. เมื่อมีแรงดันไฟกระแสตรงต่อไปเข้าขาคอลเล คเตอร์ จะยังไม่มีแรงดันไฟออกไปที่ขาอิมิตเตอร์ เพราะความต้านทานระหว่างขาคอลเลคเตอร์กับอิมิตเตอร์จะสูงมาก (ไม่มีแรงดันไฟที่ขาเบส) 12 VDC -
รูปที่ 2.3 การจ่ายไฟเข้าขาคอลเลคเตอร์ (ไม่มีแรงดันไฟที่ขาเบส) 2. ทรานซิสเตอร์จะนากระแสได้ก็ต่อเมื่อมีเบส ไบอัส จะทาให้ความต้านทานระหว่างขาคอลเล คเตอร์ กับอิมิตเตอร์ลดลง ทาให้แรงดันไฟกระแสตรงจากขาคอลเลคเตอร์ผ่านออกขาอิมิตเตอร์ได้ 12 VDC
12 VDC
12 VDC R1
10V
รูปที่ 2.4 การจ่ายไฟให้ทรานซิสเตอร์ 3. จากข้อ 2 การให้แรงดันไฟฟ้าจากคอลเล คเตอร์ออกไปขาอิมิตเตอร์มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับค่า แรงดันไฟของเบส ไบอัส จะกล่าวได้ว่าแรงดันไฟออกจากขาอิมิตเตอร์จะมากหรือน้อยถูกกาหนดด้วยค่า แรงดันไฟ “เบส ไบอัส” เบส (B) ไบอัส ความต้านทานระหว่าง C กับ E แรงดันไฟที่ออกจากอิมิตเตอร์ (E) ไม่มี (0) มากสุด ไม่มี (0V) น้อย 2 V จะเริ่มลดต่าลง มี 2 V ปานกลาง 5 V จะลดลงปานกลาง มี 5 V มาก 10 V จะลดลงมาก มี 12 V หมายเหตุ แรงดันไฟเข้าขาคอลเล คเตอร์ออกขาอิมิตเตอร์ หรือแรงดันไฟเข้าขาอิมิตเตอร์ออกขา คอลเลคเตอร์ขึ้นอยู่กับชนิดของทรานซิสเตอร์ PNP หรือ NPN
R901 18 VDC
+B1 R903
+B2
LOAD
Q901 R906 R906
Q902 R904
VR901 R907
รูปที่ 2.5 วงจรเรกูเลเตอร์ การทางาน รูปที่ 2.5 แรงดันไฟดีซี 18 V คือ +B1 จะแบ่งทางเดิน ดังนี้ 1. ผ่าน R901 ไปยัง +B2 กระแสจะไม่เพียงพอเลี้ยงวงจร จนกว่าทรานซิสเตอร์ Q901 ทางาน 2. เข้าสู่ขาอิมิตเตอร์จะยังไม่มีแรงดันไฟที่ขาคอลเลคเตอร์ เพราะไม่มีเบส ไบอัส 3. ผ่าน R903 ไปเบส ไบอัส ทรานซิสเตอร์ Q901 ขณะนี้แรงดันไฟเบส ไบอัส จะไปกาหนด ให้ ความต้านทานระหว่างขาอิมิตเตอร์กับคอลเลคเตอร์มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแรงไฟเบส ไบอัส ถ้ามากแรงดันไฟ ออกจากคอลเลคเตอร์ก็จะมาก ถ้าเบส ไบอัสน้อย แรงดันไฟออกจากคอลเล คเตอร์ ก็จะน้อย แรงดันไฟดีซีที่ ออกจากขาคอลเลคเตอร์ คือ +B2 ประมาณ 12 V จะไปเลี้ยงวงจรต่าง ๆ สภาวะไฟปกติ (AC 220 โวลต์) สภาวะไฟปกติ หมายถึงไฟบ้าน มีค่าเท่ากับ 220 VAC จะทาให้การทางานภาคเร็กติฟายเออร์ ได้ไฟ +B1 คือ 18 V แรงดันไฟส่วนหนึ่งจะเข้ามาขาอิมิตเตอร์ของทรานซิสเตอร์ Q901 อีกส่วนหนึ่งจะไหล ผ่าน R903 ไปเป็นเบส ไบอัส ทาให้ความต้านทานระหว่างขาอิมิตเตอร์กับคอลเล คเตอร์ลดลงจนกระแส สามารถจะไหลผ่านจากขาอิมิตเตอร์สู่คอลเลคเตอร์ได้ ทาให้ขาคอลเลคเตอร์มีค่าเท่ากับ 12 V แรงดันไฟนี้ถือ ว่าเป็นค่าปกติของ +B2 เพื่อจะไปเลี้ยงวงจรต่าง ๆ ของเครื่องรับโทรทัศน์ สภาวะไฟมากกว่าปกติ ( AC สูงกว่า 220 โวลต์) เมื่อผ่านวงจรเร็กติฟายเออร์ จะทาให้ได้แรงดันไฟดีซีสูงขึ้นประมาณ 20 V ขณะนี้เบส ไบอัส ของทรานซิสเตอร์ Q901 เพิ่มขึ้น ทาให้มีแรงดันไฟออกที่ขาคอลเล คเตอร์มากขึ้นด้วย (+B2 มากกว่า 12 V) แรงดันไฟส่วนหนึ่งจะย้อนกลับผ่าน R906,VR901,R906 มาเป็นเบส ไบอัส ของทรานซิสเตอร์ Q902 (เบส ไบอัส จะมากขึ้นกว่าปกติ) ทาให้ความต้านทานระหว่างขาคอลเลคเตอร์กับอิมิตเตอร์ของทรานซิสเตอร์ Q902 ลดลง เบส ไบอัส Q901 ลดลงมาระดับปกติ ดังนั้นไฟ +B2 ก็จะได้ 12 V
สภาวะไฟฟ้าน้อยกว่าปกติ ( AC ต่ากว่า 220 โวลต์) เมื่อผ่านวงจรเร็กติฟายเออร์ จะทาให้ได้แรงดันไฟดีซีประมาณ 16 V (ต่ากว่าปกติ) ขณะนี้เบส ไบอัส ของทรานซิสเตอร์ Q901 ก็จะลดลงทาให้แรงดันไฟดีซีออกที่ขาคอลเล คเตอร์ลดลงด้วย (แรงดันไฟ+ B2 ต่ากว่า 12 V) แรงดันไฟส่วนหนึ่งจะย้อนกลับผ่าน R906,VR901,R906 เป็นเบส ไบอัส ของทรานซิสเตอร์ Q902 ทาให้ความต้านทานระหว่างขาคอลเลคเตอร์กับอิมิตเตอร์เพิ่มขึ้น จะส่งผลให้เบส ไบอัส Q901 เพิ่มขึ้น มาสู่ระดับปกติ ดังนั้นแรงดันไฟ +B2 ก็จะได้ 12 V ปกติ
ภาคจ่ายไฟแบบลิเนียร์ เรกูเลเตอร์ +B1 D807 D809
C801 T801 18 V 0V
F801
18 V
(Load)
DC 12V D806
Q804
+B2
(Load)
D801 C806
C802
Q803 R804
D802
C807
R805 C808
R801
SW801
C809
R802
Q806
VR801
C803
220 VAC
F802
C804
C805
R803
ZD808
R806
รูปที่ 2.6 ภาคจ่ายไฟแบบลิเนียร์ เรกูเลเตอร์ ไฟ 220 VAC ผ่านสวิตช์ SW801 ฟิวส์ F801 ไปทรานสฟอร์เมอร์ T801 ด้านเซ็คคั่นดารี่ ไฟลดค่าลง เหลือเพียง 0–18 VAC ขากลางหรือเซ็นเตอร์แทร็ป จะต่อผ่านฟิวส์ F802 ลงกราวด์ ไฟ 1 8 VAC ผ่าน D801 โดยมี C801 เป็นวงจรสนัปเปอร์และส่งผ่าน D802 โดยมี C802 เป็นวงจรสนัปเปอร์และฟิลเตอร์ด้วย C803 ได้แรงดันไฟ 12 VDC แรงดันไฟส่งไป 3 ทาง ทางที่ 1 แรงดันไฟจาก D801 และ D802 มารอที่ ขาคอลเลคเตอร์ของ Q804 ทางที่ 2 แรงดันไฟจาก D801 และ D802 ส่งผ่าน D809 เป็นไฟ +B ไปจ่ายให้กับ โหลด (ไฟเลี้ยงภาคเสียง) ทางที่ 3 แรงดันไฟจาก D801 และ D802 ไปรอที่ขาคอลเล คเตอร์ของ Q803 และ ส่งผ่าน R801 และ R802 เพื่อลดระดับแรงดันไฟจ่ายไบอัสขาเบส Q803 โดยมี ZD805 รักษาระดับแรงดันไฟ คงที่ส่งผลให้ Q803 มีไบอัส ความต้านทานระหว่างขาคอลเล คเตอร์กับอิมิตเตอร์ต่าลง ส่งแรงดันไฟจากขา คอลเลคเตอร์ไปอิมิตเตอร์ จ่ายไฟให้กับขาเบสของ Q804 ทาให้ความต้านทานระหว่างขาคอลเล คเตอร์กับ อิมิตเตอร์ของ Q804 ต่าลง ส่งแรงดันไฟจากขาคอลเลคเตอร์ไปอิมิตเตอร์ไปเลี้ยงวงจรภาคต่างๆ (+B)
กรณีแรงดันไฟเกินแล้ววงจรสามารถกลับมาจ่ายได้ปกติ Q803 และ Q804 ได้รับไบอัสสูงเกิน จะมีแรงดันไฟออกจากขาอิมิตเตอร์ของ Q804 สูงกว่าปกติ แรงดันไฟดังกล่าว ส่งผ่าน R805 และ VR801 ไปไบอัสขาเบสของ Q806 มาก ส่งผลให้ไปดึงแรงดันไฟ ขาเบส ไบอัส Q804 ให้ต่าลง Q804 จ่ายไฟได้น้อยลงจนสู่สภาวะปกติ กรณีแรงดันไฟต่าแล้ววงจรสามารถกลับมาจ่ายได้ปกติ Q803 และ Q804 ได้รับไบอัสต่ากว่าปกติ จะมีแรงดันไฟออกจากขาอิมิตเตอร์ของ Q804 ต่ากว่าปกติ แรงดันไฟดังกล่าว ส่งผ่าน R805 และ VR801 ไปไบอัสขาเบสของ Q806 ต่า ก็ไปดึงแรงดันไฟขาเบสของ Q804 ได้น้อย Q804 ก็ทางานได้มากขึ้น แรงดันไฟออกจากขาอิมิตเตอร์ของ Q804 สูงขึ้น Q804 จ่ายไฟ ได้สูงขึ้นจนสู่สภาวะปกติ Q804
+B1
+B2
Q803
R801
แรงดันไฟจากหน่วยคอมพาเรเตอร์ Q806
R802 C804
ZD808 C805
รูปที่ 2.7 วงจรทรานซิสเตอร์เรกูเลเตอร์
เพาเวอร์ซัพพลายแบบสวิตชิ่ง เพาเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) ที่ใช้กับโทรทัศน์ยุคปัจจุบันจะใช้เพาเวอร์ซัพพลายแบบสวิตชิ่ง (Switching) เนื่องมาจากโทรทัศน์สีในปัจจุบันเข้าสู่โทรทัศน์ยุคไมโครคอมพิวเตอร์ภาคต่าง ๆ จะใช้ไอซี เกือบจะทุกภาค แต่ละภาคหรือแต่ละวงจรจะควบคุมด้วยแรงดันไฟฟ้า เช่น การค้นหาสถานีรับจะใช้หลักการ สังเคราะห์แรงดันไฟ (Voltage Synthesizer Tuning : VST) แรงดันไฟแต่ละระดับ ต้องมีประสิทธิภาพที่สูง มีความละเอียดและรักษาระดับแรงดันไฟได้คงที่สม่าเสมอ แต่ละบริษัทก็จะตั้งชื่อเพาเวอร์ซัพพลายของตัวเอง แต่หลักการจะคล้ายกันคือภาคจ่ายไฟจะเป็นแบบสวิตชิ่งหรือสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย การทางานของภาค จ่ายไฟแบบสวิตชิ่งโดยทั่วๆไป มีคุณสมบัติดังนี้ คือ
1. แรงดันไฟด้านอินพุต คือ ไฟเอซี (AC) ถ้าระดับแรงดันไฟเปลี่ยนแปลงในกรณีไฟไม่คงที่ เช่น ไฟตก หรือไฟเกิน แต่แรงดันไฟเอาต์พุตที่ไปเลี้ยงวงจรหรือโหลด (Load) จะคงที่สม่าเสมอ 2. วงจรสวิตชิ่งจะทางานที่ความถี่สูงใกล้เคียงกับความถี่ภาคฮอริซอน ทอล คือ ประมาณ 15 KHz ทาให้ง่ายต่อการจัดระบบกรองกระแส (Filter) เพราะใช้คาปาซิเตอร์ค่าต่า ๆ กระแสในวงจรก็เรียบพอ 3. ทรานสฟอร์เมอร์สวิตชิ่งมีขนาดเล็กมาก เมื่อเทียบกับเพาเวอร์ทรานสฟอร์เมอร์ในวงจรจ่ายไฟ 4. มีวงจรรักษาความปลอดภัยในกรณีโหลด (Load) ช็อตหรือขาด วงจรจะหยุดจ่ายไฟอย่างอัตโนมัติ วงจรจ่ายไฟแบบสวิตชิ่ง มีขั้นตอนอยู่หลายขั้นตอนในเบื้องต้นจะให้ศึกษาวงจรพื้นฐานก่อน โดยจะให้พิจารณาอุปกรณ์หลัก 3 อย่าง 1. ทรานสฟอร์เมอร์สวิตชิ่ง (Switching Transformer) 2. สวิตชิ่ง 3. แหล่งจ่ายไฟดีซี (DC - Volt) (SW)
(T) D1
+ -
+
S
P
300 VDC
0V
รูปที่ 2.8 วงจรสวิตชิ่ง ตาแหน่งสวิตช์อยู่สภาวะ “ON” การทางานสวิตชิ่งอยู่ตาแหน่งสภาวะ “ON” การทางาน กระแสไฟดีซีจากขั้วบวกจะผ่านสวิตช์ ผ่านทรานสฟอร์เมอร์มาครบวงจร ทาให้ ทรานสฟอร์เมอร์ทางาน เกิดอานาจเส้นแรงแม่เหล็กขณะนี้ทรานสฟอร์เมอร์จะยังไม่เกิดการชักนาแรงดันไฟ (SW)
(T) D1 100V
300 VDC
(DC)
P
S
รูปที่ 2.9 วงจรสวิตชิ่ง ตาแหน่งสวิตช์อยู่สภาวะ “OFF”
การทางานสวิตอยู่ตาแหน่ง สภาวะ “OFF” การทางานเมื่อสวิตช์มาอยู่ตาแหน่งสภาวะ OFF กระแสไฟฟ้าดีซีไม่ครบวงจรหรือขาด ทรานสฟอร์เมอร์ จะหยุดการทางาน จังหวะนี้เองทรานสฟอร์เมอร์จะยุบเส้นแรงแม่เหล็กก็จะก่อให้เกิดการชักนาแรงดันไฟจาก ขดไพรมารี่ (Primary) สู่ขดเซ็คคั่นดารี่ (Secondary) แรงดันไฟที่ปรากฏที่ขดเซ็คคั่นดารี่จะเป็นไฟ AC จะทา การเร็กติฟายด้วย D1 เพื่อจะได้ไฟดีซีไปใช้งานต่อไป ถ้าการทางานของสวิตช์ ON และ OFF สลับไปมาอย่างต่อเนื่องจะทาให้ ขดเซ็คคั่นดารี่มีไฟ AC อย่างต่อเนื่อง จากวงจรขั้นพื้นฐานเป็นการทางานของสวิตช์สลับกันไป-มา คือ สภาวะทางาน คือ สภาวะ ON กับ สภาวะหยุดการทางาน คือ สภาวะ OFF ขั้นตอนที่สาคัญ คือ การนาทรานซิสเตอร์มาแทนสวิตช์ ด้วยการกาหนดการทางานของขาเบส เมื่อต้องการให้ทรานซิสเตอร์อยู่ในสภาวะใดก็ตาม (ON หรือ OFF) ให้นาสัญญาณพัลส์ (Pulse) พัลส์จะมีช่วง บวกและช่วงลบของสัญญาณจึงจะกาหนดการทางานของทรานซิสเตอร์ 1. จากแหล่งจ่ายไฟ เอซี 220 โวลต์ เข้าสู่วงจรเร็กติฟายเออร์ คือ D1,D2 และ C1 2. วงจรเร็กติฟายเออร์ จะเปลี่ยนไฟดีซีประมาณ 300 VDC ส่งไปทรานสฟอร์เมอร์ T1 และ ทรานซิสเตอร์ Q1 3. ทรานสฟอร์เมอร์ สวิตชิ่ง (T1) ทางานอยู่ 2 สภาวะ คือ ทางาน ON และหยุดทางาน OFF อยู่ที่สัญญาณพัลส์จากภาคออสซิลเลเตอร์ จากการ ทางานของทรานซิสเตอร์ สวิตชิ่ง Q1 สภาวะทางาน ทรานสฟอร์เมอร์จะเกิดเส้นแรงแม่เหล็ก จังหวะต่อมาเป็นสภาวะหยุดทางานจังหวะนี้ทรานสฟอร์เมอร์จะยุบ เส้นแรงแม่เหล็กจะเกิดการชักนาแรงดันไฟจากขดไพรมารี่สู่ขดเซ็คคั่นดารี่ทาให้ขดเซ็คคั่นดารี่เป็นไฟสลับ 50-60Hz
DC
15 -25KHz
DC
D1 220VAC
AC D2
DC
C1 S
P T1 Q1
OSC
(OCP) (OVP)
รูปที่ 2.10 วงจรเพาเวอร์ซัพพลายแบบสวิตชิ่ง
(Load)
4. ทรานซิสเตอร์ สวิตชิ่ง ( Q1) การทางานเปรียบเสมือนสวิตช์ ( Switch) คือสามารถทางานและ หยุดทางาน โดยขาคอลเล คเตอร์และขาอิมิตเตอร์เป็นคล้ายกับสวิตช์ส่วนขาเบส เป็นตัวมากาหนดให้สวิตช์ สภาวะ ON และสภาวะ OFF เมื่อทรานซิสเตอร์สามารถทางานและหยุดทางานก็จะเป็นคล้ายสวิตช์ ON และ OFF สภาวะดังกล่าว จะส่งผลให้ทรานสฟอร์เมอร์ ON และ OFF ตามไปด้วย
จังหวะไบอัสเป็ น “ลบ”
“ ”
+ -
จังหวะไบอัสเป็ น “บวก” “ ”
+
OFF
+
ON
-
+ -
รูปที่ 2.11 สภาวะการทางานของทรานซิสเตอร์ 5. วงจรออสซิลเลเตอร์ จะมีหลายรูปแบบโดยทั่วๆ ไป มีหน้าที่สร้างสัญญาณช่วงบวกและช่วงลบ ส่งไปขาเบสของทรานซิสเตอร์ สวิตชิ่ง PWM(Pulse Width Modulator) คือสัญญาณรูปสี่เหลี่ยม
+ -
รูปที่ 2.12 สัญญาณ PWM (Pulse Width Modulator) 6. วงจรป้องกันโวลต์เตจเกิน ( OVP) กรณีใด ๆ ก็ตามที่วงจรเพาเวอร์แบบสวิตชิ่งจ่ายแรงดันไฟ เกินกาหนด เรียกว่า OVP (Over Voltage Protector) เช่น วงจรสวิตชิ่งผิดพลาดเองหรือวงจรภายใน เครื่องรับหรือโหลดขาดจะส่งผลให้การทางานของสวิตชิ่งผิดพลาด เมื่อวงจรตรวจสอบพบว่าวงจรสวิตชิ่ง จ่ายไฟเกิน จะส่งผลสัญญาณมาให้ออสซิลเลเตอร์หยุดการทางานก่อนที่วงจรต่าง ๆ จะชารุดเสียหาย
7. วงจรป้องกันกระแสเกิน ( OCP) ในกรณีใด ๆ ก็ตามที่วงจรเพาเวอร์แบบสวิตชิ่งกระแส เกินกาหนด เรียกว่า OCP (Over Current Protector) เช่น วงจรสวิตชิ่งผิดพลาดเองหรือวงจรภายใน เครื่องรับโทรทัศน์ คือ โหลดช็อต เมื่อวงจรตรวจสอบพบว่าวงจรสวิตชิ่งกระแสเกิน จะส่งสัญญาณให้ ภาคออสซิลเลเตอร์หยุดการทางานทันทีก่อนที่วงจรสวิตชิ่งจะชารุดเสียหาย ตัวอย่าง โทรทัศน์สี SHARP รุ่น 14C20 วงจรเร็กติฟายเออร์เริ่มต้นจากนาแรงดันไฟ 220 VAC มาเร็กติฟายเออร์ได้เป็นไฟ 311.08 VDC 311.08 V S701 220VAC
F701
D703
L701 C701
VA701
D704
R701
300 VDC C707
D702 D701 C803
C804
รูปที่ 2.13 วงจรเร็กติฟายเออร์วงจรรุ่น 14C20 การทางาน เมื่อเปิดสวิตช์ ( On SW) แรงดันไฟ 220 VAC ผ่านฟิวส์ F701 โดยมีวาริสเตอร์ VA701 ต่อระหว่างลายกับนิวตรอน ของชุดแรงดันไฟ AC ผ่านสวิตช์ S701 ผ่านไลน์ฟิลเตอร์ L701,C701 ทาหน้าที่ กรองสัญญาณรบกวนที่ปะปนมากับไฟเอซี การเร็กติฟายด้วย D701,D702,D703 และ D704 ได้แรงดันไฟ 311.08 VDC ตัวต้านทาน R701 จากัดกระแส เพราะขณะเปิดเครื่องจะเกิดการกระชากของกระแสอย่างรุนแรง กระแสส่วนหนึ่งจะผ่าน R01 ทาให้ลดการกระชากของกระแสฟิลเตอร์ด้วย C707 ได้แรงดันไฟ 300 VDC ซีฟิลเตอร์ C707 ทาการกรองกระแสดีซีให้เรียบแรงดันไฟดีซี 300 VDC ปรากฏที่ขั้วบวกของ C707 หรือตรงจุด Voltage output
300 VDC
T801
3 P
R803 R804
6 S
1
5
Q804 R815
รูปที่ 2.14 ตัวอย่างวงจรสตาร์ตออสซิลเลเตอร์ จากรูป 2.1 4 เมื่อแรงดันไฟ 300 VDC เข้าสู่สวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์ขา 3 แรงดันไฟออกขา 1 ต่อไปยัง ขาคอลเลคเตอร์ของทรานซิสเตอร์ สวิตชิ่ง Q804 ขณะนี้การทางานจะยังไม่เกิดขึ้นเพราะทรานซิสเตอร์ยังไม่ นากระแส วงจรสตาร์ ตออสซิลเลเตอร์ (Start Oscillator) ประกอบด้วย R803, R804 แรงดันไฟส่วนหนึ่งจะผ่าน R803, R804 ต่อเข้าขาเบสของทรานซิสเตอร์ สวิตชิ่ง Q804 จังหวะนี้ทรานซิสเตอร์จะนากระแสได้ กระแสจะ ไหลผ่านขาอิมิตเตอร์ผ่าน R815 ลงมากราวด์ เป็นอันเสร็จสิ้นหน้าที่ของสตาร์ ตออสซิลเลเตอร์ จากนั้น สามารถเอาผลจากการทางานของทรานสฟอร์เมอร์ T801 ที่ได้จากการทางาน ( ON) และหยุดการทางาน (OFF) เพื่อสร้างความถี่ออสซิลเลเตอร์ต่อไป จากรูป 2.1 5 เมื่อสวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์ T801 และทรานซิสเตอร์ สวิตชิ่ง Q804 ทางาน T801 ทางานจะเกิดสนามแม่เหล็กพองตัวตัดกับขดลวดขดอื่น ๆ ส่งผลให้เฟสของขั้วแม่เหล็กไฟฟ้าของ T801 ที่ขา 6 มีเฟสบวก ที่ขา 5 มีเฟสลบ ขา 6 จะจ่ายกระแสชาร์จผ่าน C810 และ R805 มาเสริมเบส ไบอัส ของ Q804 อีกส่วนหนึ่งจะไหลผ่าน D805 เข้าไปวงจรรักษากระแสคงที่ (Constant Current) ประกอบด้วย R808,R809,D807 และ Q803 กระแสที่ไหลผ่าน D805 จะถูกจากัดด้วย R808 ส่งไปขาอิมิตเตอร์ของ Q803 ส่วนหนึ่งส่งผ่าน D806 และ D807 เพื่อเป็นกระแสไบอัสไปขาเบสทาให้ค่าความต้านทานระหว่างอิมิตเตอร์ คอลเลคเตอร์ของ Q803 ลดลง ทาให้กระแสไหลจากขาอิมิตเตอร์ออกทางคอลเล คเตอร์ของ Q803 ไปเสริม กระแสของเบส ไบอัส ของ Q804 โดยมีไดโอด D806,D807 เป็นตัวรักษาระดับแรงดันไฟที่ขาเบสของ Q803 ให้คงที่ตลอดเวลาไม่ว่าแรงดันไฟที่ขา 6 ของ T801 จะเปลี่ยนแปลงก็ตาม
C814 D807
D806 4 S 5
R808 Q803 R809
T801
8 S 11
+26.4V
C816
C820
D805 9 S 10
6 C810
1
R805 Q804 R804
L801
7
P
S 12
3
R815
R803 300 VDC
รูปที่ 2.15 ตัวอย่างวงจรออสซิลเลเตอร์ให้แรงดันไฟคงที่ จากรูป 2.1 6 วงจรซอฟต์สตาร์ ตประกอบด้วย C80,R810,D808 การทางานจะทางานในจังหวะที่ T801 ขา 8 ขา 9 มีเฟสเป็นบวกและขา 10 ขา 11 มีเฟสเป็นลบ จะจ่ายแรงดันไฟผ่านไดโอด D812 ไปยัง วงจรภาคเอาต์พุตเป็นครั้งแรก ซึ่งจะตรงกับจังหวะที่ขดเซ็คคั่นดารี่ขา 4 มีเฟสเป็นบวก จ่ายแรงดันไฟผ่าน D809 โดยมี R810 ต่อลงกราวด์ ผ่าน D808,R807 มาเป็นเบส ไบอัส Q802 และจะทาให้เบส ไบอัส ของ Q804 ลดลงจน Q804 หยุดการทางาน คือ ทรานสฟอร์เมอร์สวิตชิ่งหยุดทางาน ยุบเส้นแรงแม่เหล็ก จังหวะนี้เองจะเกิดการชักนาแรงไฟฟ้าทาให้เกิดแรงดันไฟเอซีที่ขดเซ็คคั่นดารี่จึงนาแรงดันไฟขา 8 และขา 9 ไปเร็กติฟายเออร์ด้วย D812 เป็นไฟกระแสตรงไปเลี้ยงวงจรหรือโหลด (Load) ต่อไปจากนั้น การทางานก็จะ เริ่มต้นใหม่อีกครั้งหนึ่งและจะสลับการทางานและหยุดการทางานอยู่ตลอดเวลา D809 4 R810
C807
5
T801
D812 8
6 C810 R807
R806
1
C816
11 C814
D808 9 10
R805
Q802
7
Q804 R804
C809
R815
3
L801
12
R803 300 VDC
รูปที่ 2.16 ตัวอย่างวงจรซอฟต์สตาร์ต
+ 26.4 V C820
การควบคุมแรงดันไฟให้คงที่ จากรูป 2.17 แรงดันไฟขา 1 และขา 3 แรงดันไฟ 300 V เกินหรือเพิ่มขึ้น จะทาให้ขา 4 ของ T801 มีค่ามากขึ้น พบว่าวงจร ZD801 ทางานร่วมกับ Q801 จะทาการรักษาระดับแรงดันไฟตกคร่อม VR801 และ R813 เมื่อแรงดันไฟขา 4 ของ T801 เพิ่มขึ้น แรงดันไฟตกคร่อม VR801 และ R813 เปลี่ยนแปลง คือ มากขึ้น จะส่งผลให้ความต้านทานของ Q801 ขา E-C ลดลง ทาให้ Q801 จ่ายกระแสผ่าน R807 เข้าขาเบสของ Q802 ทาให้ Q802 ทางาน ไปดึงไบอัสของ Q804 ลดลง การทางานของ Q804 ลดลงตามระดับแรงดันไฟที่จ่าย เอาต์พุตก็ต่าลงจนสู่สภาวะปกติ คือ 26.4 V ในกรณีแรงดันไฟต่ากว่า 300 V การทางานจะตรงกันข้ามกับ จังหวะไฟเกิน 300 V จะทาให้ขา 4 ของ T801 มีค่าลดลง แรงดันไฟตกคร่อม VR801 และ R813 จะลดลง เบส ไบอัส ของ Q801 ลดลงทาให้การทางานของ Q802 ลดลง Q804 นากระแสเพิ่มมากขึ้น ทาให้ไฟไป เลี้ยงวงจรอยู่ระดับปกติ คือ 26.4 V ถ้าวงจรหรือโหลด ( Load) ทางานมากผิดปกติ เช่น โหลดช็อตดึงกระแสจากวงจรจ่ายไฟมากกว่าปกติ ทรานซิสเตอร์สวิตชิ่ง Q804 ทางานเกินกาลังก็จะชารุดเสียหายได้ จึงมีอุปกรณ์ที่ตรวจสอบ คือ C809,R806 เป็นตัวตรวจสอบกระแสเกิน เมื่อตรวจพบจะต้องส่งให้ Q804 หยุดการทางาน การทางาน C809 และ R806 อาศัยการจ่ายกระแสของขา 6 ของ T801 เปรียบเทียบกับขา 5 เมื่อวงจรโหลดเกิดดึงกระแสมาก ส่งผลให้ดึงกระแสที่ขา 6 ของ T801 มากขึ้น ทาให้ C809 เก็บประจุเร็ว มากขึ้นและคายประจุให้เข้าขาเบส Q802 เพิ่มขึ้น Q802 ก็จะดึงแรงดันไฟเบส ไบอัสของ Q804 ลดลงทาให้ Q804 ไม่สามารถทางานได้ วงจรสวิตชิ่งก็หยุดทางานจนกว่าการแก้ไขสถานการณ์ การช็อตวงจรหรือโหลด ช็อตได้รับการแก้ไข
ZD801 Q801
VR801 R813
D809 4
R812
R814
C807
5 6
C810 R807
R806
1
D812 8
L801 C816
11 C814 9 10
R805 7
Q804 Q802 C809
T801
R815
3
12
300 VDC
รูปที่ 2.17 วงจรป้องกันกระแสเกิน (Over Current Protection)
+26.4V C820
การวิเคราะห์การตรวจซ่อมภาคจ่ายไฟ ภาคจ่ายไฟหรือเพาเวอร์ซัพพลาย เป็นวงจรหลักวงจรหนึ่ง เพราะทาหน้าที่จ่ายไฟไปเลี้ยงวงจร ภายในเครื่องรับโทรทัศน์ ถ้าวงจรจ่ายไฟไม่ทางาน วงจรทั้งหมดภายในเครื่องจะไม่ทางานด้วย ต้องแยก ให้ออกว่าไฟไม่จ่ายเป็นเพราะโหลดของภาคจ่ายไฟเสีย หรือว่าอุปกรณ์ภาคจ่ายไฟเสีย วิธีการที่จะรู้ว่าเสียชุด ใด ระหว่างภาคจ่ายไฟกับเสียโหลดของภาคจ่ายไฟจะต้องปลดโหลดของภาคจ่ายไฟออกแล้วหาโหลดตัวใหม่ มาใส่แทน ถ้าเปิดเครื่องแล้วจ่ายไฟได้ปกติแสดงว่าเสียที่ชุดโหลดของภาคจ่ายไฟ แต่ถ้าปลดโหลดแล้วใส่ โหลดตัวใหม่เปิดเครื่องแล้วไฟไม่จ่าย แสดงว่าเสียที่ชุดภาคจ่ายไฟนั่นเอง
บล็อกไดอะแกรมของภาคจ่ายไฟ ภาคจ่ายไฟของทีวีชาร์ป รุ่นกู๊ดมอร์นิ่ง สามารถที่จะแสดงขั้นตอนของภาคจ่ายไฟในแท่น J หรือว่า ถ้าเป็นเครื่องรับที่มีขนาด 14 นิ้ว จะเป็นโมเดล 14 CT-400 โดยเริ่มที่มีการนาเอาไฟกระแสสลับ 220 VAC ผ่านเพาเวอร์สวิตช์ที่ทางานด้วยสวิตช์ S701 เข้าสู่วงจรกาจัดสัญญาณรบกวนความถี่สูงที่เรียกว่าการกาจัด RFI คือ วงจรไลน์ฟิลเตอร์ ถ้าเสียจะทาให้ภาคจ่ายไฟที่เป็นสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายถูกรบกวนจากสัญญาณ ภายนอก ความถี่วงจรภาคจ่ายไฟจะผิดไปหรือทาให้เกิดฮาร์โมนิคเข้ารบกวนระบบภาพ หลังจาก ที่ผ่านวงจรไลน์ฟิลเตอร์แล้วจึงจะส่งเข้าสู่วงจรเร็กติฟายเออร์ วงจรเร็กติฟายเออร์ ทาหน้าที่เปลี่ยนกระแสไฟฟ้าที่เป็นกระแสสลับให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรง จากกระบวนการเร็กติฟายเออร์จะถูกแยกออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนแรกถูกเปลี่ยนแรงดันไฟสูง ซึ่งมีค่า แรงดันไฟประมาณ 300 V ส่งผ่านหม้อแปลงสวิตชิ่ง T701 ไปทาการสวิตช์ให้เกิดสนามแม่เหล็กไฟฟ้าใน T701 เกิดการยุบและพองตัว โดยการทางานของเพาเวอร์เรกูเลเตอร์ ซึ่งเป็นทรานซิสเตอร์ สวิตชิ่ง ที่ทางานด้วย Q701 อีกทางหนึ่งจะทาการเร็กติฟายเออร์ออกมาเป็นแรงดันไฟต่า เพื่อส่งไปยังวงจรหน่วย ออสซิลเลเตอร์หรือเป็นแรงดันไฟสตาร์ตวงจรให้กับ IC701 ซึ่งเป็นไอซีที่ทาหน้าที่ในการควบคุมการทางานของ วงจรเพาเวอร์เรกูเลเตอร์ที่เป็นสวิตชิ่ง เมื่อวงจรเร็กติฟายเออร์ได้ทาการจ่ายแรงดันไฟกระแสสลับเป็นแรงดันไฟสตาร์ ตวงจรให้กับ IC701 วงจรภายในของไอซี ซึ่งเป็นวงจรผลิตความถี่จะทาการผลิตความถี่ ซึ่งเป็นความถี่สูงประมาณ 20 kHz ขึ้นไป โดยตัวที่จะทาหน้าที่ในการตั้งความถี่ออสซิลเลเตอร์ ได้แก่ หน่วยที่ต่ออยู่ที่ขา 10 และขาที่ 11 ของ IC701 วงจรดังกล่าวนี้ จะทาหน้าที่ในการผลิตสัญญาณที่เป็นสัญญาณพัลส์ส่งไปยังวงจรกาเนิดสัญญาณพัลส์ วิธมอด (PWM) ส่งออกทางขาที่ 14 ของ IC701 ไปบังคับการทางานของสวิตช์ชิ่งทรานซิสเตอร์ให้ทาการ ตัดต่อแรงดันไฟที่มาจากวงจรเร็กติฟายเออร์ 300 V เมื่อเพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ทาหน้าที่เป็นสวิตช์ตัดต่อกระแสเกิดสนามแม่เหล็กขึ้นภายในตัวของ หม้อแปลงสวิตชิ่ง T701 เกิดอานาจสนามแม่เหล็กไฟฟ้ายุบและพองตัวด้วยความถี่สู งจะถูกเหนี่ยวนาออกไป เป็นแรงดันไฟสาหรับขดลวดชุดเซ็คคั่นดารี่ในชุดต่าง ๆ 1. แรงดันไฟ 115 V เป็นแรงดันไฟที่จะจ่ายให้กับภาคฮอริซอนทอลเอาต์พุต 2. แรงดันไฟประมาณ 9 V ส่งไปภาคเสียงและส่งออกไปเรกูเลเตอร์เป็นแรงดันไฟ 5 V 3. แรงดันไฟจากชุดเร็กติฟายเออร์ 8–9 V เพื่อเอาไปจ่ายให้กับข้อมูลควบคุมจูนเนอร์
รูปที่ 2.18 บล็อกไดอะแกรมภาคจ่ายไฟแท่น J
R714
L701
TEA2261
9
IX1779CE
10
12
5
8
13
4
7
14
11
15
2 3
6
16
IC701
S701
1
220 V AC
F701
Q701 -
+
EMI
1
3
4
5
6
7
14
12 13
11
10
9
8
T701
115 V
9V
12 V
15 V
5V
+ 115 V
+5 V
+ B SOUND
+9 V
+12 V
+15 V
4. แรงดันไฟเร็กติฟายเออร์ 15 V ทาการเร็กกูเรเตอร์หรือเพาเวอร์ฟิลเตอร์ เพื่อให้เหลือเป็นแรงดันไฟ 12 V ไปจ่ายให้กับวงจรลูมิแนนซ์โครมิแนนซ์และวงจรอื่น ๆ และในขณะเดียวกันระบบควบคุมแรงดันไฟคงที่ ของวงจรภาคจ่ายไฟแบบเรกูเลเตอร์จะต้องมีการสารวจแรงดันไฟ เพื่อส่งกลับมาควบคุมการทางานจะ สามารถควบคุมไฟทางออกได้ โดยการปรับแรงดันไฟทางออกด้วย R714 วงจร R714 ต้องทางานควบคู่ไปกับ วงจร IC701 โดยการทาให้วงจรเออเรอร์แอมป์ภายใน IC701 ทราบว่าขณะนี้แรงดันไฟทางออกสูงหรือต่ากว่า ปกตินั้น จะต้องมีการป้อนกลับผลการทางานของภาคจ่ายไฟ หน่วยที่ทาหน้าที่ในการปรับแรงดันไฟหรือ หน่วยที่ทาหน้าที่เป็นเออเรอร์แอมป์ คอมพาราเตอร์ ทาหน้าที่เป็นตัวเปรียบเทียบสารวจให้ วงจรที่ทาหน้าที่ เป็นวงจรป้องกันก็จะทาหน้าที่ในการสารวจกระแสในวงจรว่ามีกระแสเกินปกติหรือไม่ ถ้ากระแสเกินปกตินั่น หมายความว่าเกิดปัญหาเกี่ยวกับโอเวอร์โหลดหรือว่า เกิดปัญหาเกี่ยวกับการลัดวงจรของโหลดภาคจ่ายไฟ จะต้องหยุดตัวเองให้ได้ ไม่เช่นนั้นแล้วจะทาให้เกิดปัญหาต่อเนื่องไปยังอุปกรณ์ตัวอื่น ๆ ในขณะที่วงจรที่ทาหน้าที่ในการควบคุมแรงดันไฟคงที่หรือวงจรเออเรอร์แอมป์ไม่สามารถที่จะทางาน ได้หน่วยควบคุมแรงดันไฟตรง จะต้องควบคุมมิให้แรงดันไฟทางออกจ่ายออกไปเกินปกติเพราะ ถ้าหากว่าวงจรควบคุมแรงดันไฟคงที่ไม่สามารถทางานได้แล้ว ย่อมทาให้แรงดันไฟทางออกสูงขึ้น แรงดันไฟสูงสุดที่บอกว่าเป็นแรงดันไฟ 115 V ขยับสูงขึ้นมาจนกระทั่งได้เป็นแรงดันไฟ 300 V ซึ่งจะ ทาให้ภาคฮอริซอนทอลเอาต์พุตดีเฟล็คชั่นโย้คหรือฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์เกิดความเสียหายระบบป้องกัน ดังกล่าวจะมีการใส่เข้าไปภายในของ IC701 IEC
CISPR EEC
VDE
VDE 0875 VDE 0879 Unitention high Frequency generation
VDE 0871 VDE 0872 Intentionnal high Frequency generation 10 kHz
0-10 kHz -
-
FCC Digital Data processing
FCC Digital Data processing combined with TV receivers as video display -
รูปที่ 2.19 แสดงรายละเอียดการแบ่งตามมาตรฐาน FCC และ VDE ในส่วนของแก้ไข RFI และ EMI
การควบคุม EMI และ RFI เมื่อวงจรภาคจ่ายไฟที่เป็นวงจรสวิตชิ่งและทางานร่วมกับหม้อแปลงความถี่สูง ปัญหาในเรื่องของ สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและปัญหาของสนามไฟฟ้าจะต้องเกิดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นจึงมีระบบมาตรฐาน ในการควบคุมสัญญาณรบกวนที่จะเกิดขึ้นจากระบบภายนอกของภาคจ่ายไฟและควบคุมความถี่ของภาค จ่ายไฟไม่ให้ไปรบกวนการทางานของวงจรในภาคอื่น ๆ จึงได้มีการออกกฎควบคุมมาตรฐานควบคุมการเกิด EMI และ RFI ขึ้นมา โดยคาว่า EMI ย่อมาจากคาว่า Electro Magnetic Interferences ซึ่งหมายถึงผลการ รบกวนที่เกิดจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนคาว่า RFI ย่อมาจากคาว่า Radio Frequency Interferences โดยมาตรฐานของระบบนี้จะควบคุมการแพร่กระจ่ายของความถี่สูงมิให้ออกไปทาให้เกิดปัญหากับอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นมาตรฐานของโรงงานที่จะต้องควบคุม ทั้ง FCC และ VDE ได้กาหนดให้วงจรที่จะมาต่อเข้ากับวงจรเมน AC ต้องกดดันความถี่สูง ซึ่งเป็น สัญญาณรบกวน RFI ด้วยมาตรฐาน 2 แบบด้วยกัน ในขั้นตอนแรกจะต้องควบคุมมิให้เกิดความถี่สูงในช่วง ความถี่ 0–10 kHz อย่างเช่น มาตรฐาน VDE ข้อที่ 0875 และมาตรฐาน VDE ข้อที่ 0879 ต่อมาในระบบ ที่ 2 จะต้องมีการควบคุมความถี่ที่เป็นความถี่สูงตั้งแต่ความถี่ 10 kHz ขึ้นไป ไม่ให้ออกมารบกวนเกินปกติ อย่างเช่น มาตรฐาน VDE ข้อที่ 0871 และมาตรฐาน VDE ข้อที่ 0872 เป็นต้น มาตรฐาน FCC โดยทั่วไปจะเป็นตัวกาหนด RFI ให้มีค่าคงที่ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ผลิตออกมาจาหน่ายใน ท้องตลาดจะต้องมีการควบคุมในเรื่องของพัลส์ มิให้พัลส์ในช่วงตั้งแต่ 10 kHz มีผลข้างเคียงกับอุปกรณ์อื่น ๆ ที่มาใช้งานร่วมด้วย ดังนั้นในส่วนของมาตรฐาน FCC และมาตรฐานการควบคุมของ VDE กล่าวว่าใน มาตรฐานของ FCC การควบคุม RFI และ EMI จะมีความใกล้เคียงกับมาตรฐาน VDE ซึ่งมาตรฐาน FCC ถือว่าเป็นสเป็คคลาส A ที่ครอบคลุมในส่วนของงานอุตสาหกรรม ครอบคลุมในส่วนของธุรกิจ ครอบคลุม ในส่วนของเศรษฐศาสตร์ ในขณะที่มาตรฐาน VDE มักจะไปเน้นในส่วนของงานอุตสาหกรรมเป็นหลักใหญ่ ถ้าหากว่ามาตรฐานเกรด A ของ FCC จะมาเปรียบเทียบกับมาตรฐานของ VDE เราจะเทียบกับมาตรฐานของ VDE ข้อที่ 0875/ N หรือมาตรฐาน VDE ข้อที่ 0871/ A,C ในส่วนอื่นๆ ที่เป็นมาตรฐาน FCC เกรด B จะไปควบคุมงานที่เกนมาตรฐานของเกรด A อย่างเช่น การกาหนดความถี่ในช่วง 400 kHz ถึง 30 MHz เป็นการควบคุม RFI และ EMI ชนิดพิเศษ ในขณะที่ มาตรฐาน VDE จะใช้มาตรฐานการควบคุมอยู่ในช่วง 15 kHz จะเป็นมาตรฐานการควบคุม RFI และ EMI แล้วก็ตามสเปคตรัม 10 kHz–30 MHz
RFI ที่เกิดเนื่องจากภาคเพาเวอร์สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย ในวงจรภาคจ่ายไฟที่เป็นสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายทุกแบบมีส่วนที่ทาให้เกิดสัญญาณรบกวน เรียกว่า สัญญาณ RFI เนื่องจากว่าเวลาของการเปลี่ยนแปลงของกระแสจากกระแสทางด้านขึ้นและกระแสที่ตกลงมา ในรูปแบบของการทางานแบบคอนเวอร์เตอร์ ( Converter Operation) ซึ่งหลักการดังกล่าวจะทาให้เกิด สัญญาณรบกวนจากการสวิตช์ของทรานซิสเตอร์ สวิตชิ่ง วงจรเร็กติฟายที่เป็นวงจรหลักใช้ไดโอดเป็นอุปกรณ์ ทางด้านเอาต์พุต ต้องทาหน้าที่เป็นตัวป้องกันให้กับทรานซิสเตอร์ จากหลักการนี้จะต้องทาให้ทรานซิสเตอร์ สามารถที่จะควบคุมตัวเองให้ได้ในที่สุด วงจรทางด้านอินพุตจะต้องมีระดับของสัญญาณรบกวนที่เป็น RFI ให้น้อยที่สุด ซึ่งจะทาให้เกิดสัญญาณรบกวนเป็นจานวนมากกับภาคจ่ายไฟ
วงจรฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์โดยส่วนใหญ่แล้ว กระแสของวงจรทางด้านอินพุตจะต้องออกมาใน รูปของสัญญาณรูปสามเหลี่ยม ( Triangular Input Current) ซึ่งสัญญาณที่เป็นรูปสามเหลี่ยมดังกล่าวนี้จะทา ให้เกิดสัญญาณรบกวนที่เป็น RFI น้อยกว่าสัญญาณที่อยู่ในรูปของสัญญาณสี่เหลี่ยม ( Rectangular Input Current) ดังนั้นในวงจรภาคจ่ายไฟที่เป็นภาคจ่ายไฟแบบฟีดฟอร์เวิร์ด และวงจรแบบบริดจ์ ( Feed-Forward or Bridge Converter) เป็นภาคจ่ายไฟที่ให้สัญญาณรบกวนน้อยกว่าภาคจ่ายไฟในระบบอื่น ๆ ค่าของระดับ แอมปลิจูดเป็น สัญญาณรบกวนความถี่สูง ( High Frequency Harmonics) หากใช้วิธีวิเคราะห์ด้ว ยหลักการ ของฟูเรียร์ (Fourier Analysis) พบว่าในสัญญาณที่เป็นเอาต์พุตรูปสามเหลี่ยม กระแสจะตกคร่อมที่อัตรา 40 เดซิเบล (40 Decibels Per Decade)
ไลน์ฟิลเตอร์สาหรับเอซีอินพุตเพื่อกาจัดสัญญาณ RFI ในระบบของการกาจัดสัญญาณรบกวนเบื้องต้นของภาคจ่ายไฟแบบสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย วงจรเมนเอซีจะต้องมีการใส่วงจรฟิลเตอร์ที่เป็นวงจรดิฟเฟอเรนเชี่ยลและวงจรคอมมอนโหมด เพื่อกาจัด RFI (Differential and Common-Mode) โดยหลักการทั่วไป คือ การใส่ขดลวดคัปเปิลอนุกรมเข้าไปเอซีไลน์หรือ สายนาสัญญาณไฟบ้าน ในขณะที่ใช้คาปาซิ สเตอร์ต่อเข้าไปในลักษณะของการต่อคร่อมเข้ากับไลน์ เรียกว่า คาปาซิสเตอร์เอ็กซ์ (Cx) และระหว่างเส้นที่เป็นไลน์ไปหากราวด์ใช้คาปาซิ สเตอร์คร่อมไว้ให้เป็นคาปาซิ สเตอร์ เรียกว่า คาปาซิสเตอร์วาย ( Cy) ค่าคาปาซิ สแตนซ์และค่าอินดัคแตนซ์ของอุปกรณ์ ดังรูปที่ 2.20 จะให้มีค่า ดังต่อไปนี้ 1. คาปาซิสเตอร์เอ็กซ์ หรือ Cx จะให้ค่าอยู่ในช่วง 0.1-2 µF 2. คาปาซิสเตอร์วาย หรือ Cy จะให้ค่าอยู่ระหว่าง 2200 pF ถึง 0.033 µF 3. ค่าการเหนี่ยวนาของขดลวดหรือค่าของขดลวดหรือค่า XLจะให้อยู่ในช่วง 1.8 mH ที่ 25 A ถึง 47 mH ที่ 0.3 A L1 C1 (Y) LINE
R
C4 (X)
C3
LOAD
(X) C2 (Y)
รูปที่ 2.20 การกาจัด RFI ของภาคจ่ายไฟแบบสวิตชิ่งที่มีไลน์ฟิลเตอร์ในส่วนทางเข้าของไฟไอซี อุปกรณ์ที่เป็นอุปกรณ์ฟิลเตอร์ดังกล่าวนี้ ต้องมีการเลือกใช้ให้เหมาะกับความถี่เรโซแนนซ์ของวงจร โดยวงจรฟิลเตอร์ทางด้านอินพุตจะต้องมีการออกแบบให้มีค่าความถี่เรโซแนนซ์ต่ากว่าความถี่การใช้งานของ ภาคจ่ายไฟ จึงจะทาให้ผลของการเหนี่ยวนาสามารถที่จะลดสัญญาณรบกวนง่ายกว่าที่จะทาให้ความถี่สูงกว่า ความถี่ของภาคจ่ายไฟ
ค่าของรีซิสเตอร์ R จุดต่อคร่อมสายเอซี ในระบบของไลน์ฟิลเตอร์ ทาหน้าที่เป็นรีซิสเตอร์ที่จะเข้ามา รับการดิสชาร์จของคาปาซิ สเตอร์ X และทาหน้าที่เป็นตัวป้องกันวงจรลักษณะพิเศษตามมาตรฐาน VDE ข้อที่ 0806 และมาตรฐาน IEC–380 โดยในทางปฏิบัติตามมาตรฐาน IEC–380 ข้อที่ 8.8 มีค่าคาปาซิ สเตอร์ X ที่ใช้สาหรับกาจัดสัญญาณ RFI อยู่ที่ค่าความจุ 0.1 µF หากมีการกาหนดค่าของอุปกรณ์ขึ้นมาเช่นนี้แล้วย่อมสามารถที่จะหาค่าของรีซิสเตอร์ที่รับการคาย ประจุของคาปาซิสเตอร์ได้ตามสูตร R=
เมื่อ
T 2.21C
T เท่ากับ 1 วินาที คาปาซิสเตอร์ที่อยู่ในสูตรเป็นค่าคาปาซิสเตอร์ (CX) ซึ่งมีหน่วยเป็น µF
ตัวอย่างเช่น จงคานวณหาค่ารีซิสเตอร์ ซึ่งอยู่ในวงจรไลน์ฟิลเตอร์ที่อยู่ในรูปของ รูปที่ 2.21 โดยให้ค่าคาปาซิสเตอร์ C3(x) เท่ากับ C4(x) เท่ากับ 0.1 µF วิธีทา จากสูตรของการหาค่ารีซิสเตอร์ที่รับการคายประจุของคาปาซิเตอร์มีว่า R =
=
R ตามที่ปรากฏใน
T 2.2C 1 2.2 x 0.2
R = 2.2 MΩ L2
L1 C1 (Y)
LINE
R
C4 (X)
C3 (X)
LOAD C2 (Y)
รูปที่ 2.21 เอซีไลน์ฟิลเตอร์ที่ใส่โช้กเข้าไป 2 ตัว ทาให้วงจรมีคุณภาพดีขึ้น การทาสมดุลให้กับแรงดันที่มีสัญญาณรบกวนขึ้นมา ถ้าจะให้ดีกว่าวงจรของรูปที่ 2.20 จาเป็นต้องใส่ โช้ กที่เป็นเอ็ก ซ์ตร้าไลน์โช้ ก(Extra Line Choke) ซึ่งอยู่ในรูปของขดลวด L2 เข้าไป เพื่อกาหนดปริมาณ การชาร์จประจุของคาปาซิสเตอร์ C4(X)
ในส่วนรายละเอียดของวงจรที่เป็นส่วนของระบบการจ่ายไฟ ระบบที่สามารถแก้ปัญหาของ ภาคจ่ายไฟที่ออกแบบได้อย่างถูกต้อง นอกจากระบบของการฟิลเตอร์แล้วทรานซิสเตอร์ภาคเพาเวอร์หรือ ระบบเพาเวอร์เร็กติฟายจะต้องใช้งานร่วมกับความถี่สูง ทาให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับระบบกราวด์ของแท่นเครื่อง จะต้องมีฉนวน ซึ่งเป็นไมก้ารองไว้ เพราะหากมีการต่อเข้ากับแท่นเครื่องแล้วจะทาให้เกิดการเหนี่ยวนาเข้า กับกราวด์เอซี และทาให้เกิดเป็นความถี่รบกวนที่เป็น RF ขึ้นมาจากระบบนี้ โดยส่วนใหญ่แล้วถ้าหากมี การศึกษาระบบสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย สวิตชิ่งทรานซิสเตอร์ จะเป็นตัวถังแบบ TO-3 ซึ่งทางานอยู่ในช่วง ความถี่ 20 kHz ทางานกับอินพุตประมาณ 200–300 V ถ้ามีการติดตั้งกราวด์เข้ากับฮีตซิงค์ จะต้องมีไมก้า เป็นฉนวนและจะต้องควบคุมให้ RF เกิดขึ้นที่ 1 มิลลิแอมป์ สาหรับความถี่ 1 MHz ฉนวนที่เข้ามาชิลด์ จะต้องเป็นฉนวนที่มีการประกบทั้งทางด้านบนและทางด้านล่าง เรียกว่าฉนวนแบบแซนด์วิช ( Sandwich) กรณีของการชิลด์กราวด์ในลักษณะนี้เป็นวิธีการที่ไม่ต้องการให้เกิดเอฟเฟ็ กต์ ที่เรียกว่าชอร์ตเอาต์ (Shorts Out) การที่มีฉนวนเป็นระบบแซนด์วิชนี้ช่วยให้เกิดค่าคาปาซิแตนซ์ขึ้นโดยตัวของฉนวนเอง ค่าคาปาซิแตนซ์ ที่เกิดจากฉนวนดังกล่าวนี้จะกลายเป็นตัวช่วยลดความถี่ RF ที่เกิดขึ้นเป็นสัญญาณรบกวนอีกด้วย เมื่อมาพิจารณาในส่วนของวงจรในแท่นเครื่องของทีวีสียี่ห้อชาร์ป พบว่า เมื่อมีการนาเอาแรงดันไฟ 220 V ผ่านเพาเวอร์สวิตช์ เข้าสู่ระบบไลน์ฟิลเตอร์ มี VA701 ทาหน้าที่คล้ายกับรีซิสเตอร์ที่รับเอาดิสชาร์จ ของคาปาซิ สเตอร์ C701 ในขณะที่คาปาซิ สเตอร์ C701 เป็นคาปาซิ สเตอร์ที่เรียกว่าคาปาซิ สเตอร์ X ตาม หลักการของระบบไลน์ฟิลเตอร์ โดยมี L701 และ L702 ทาหน้าที่เป็นวงจรอะซิมมิตตรีให้กับแรงดันไฟที่ส่ง เข้ามาทางด้านอินพุต มีคาปาซิ สเตอร์ C707 และ C708 ซึ่งเป็นคาปาซิ สเตอร์ที่อยู่ในรูปของคาปาซิ สเตอร์ Y นอกจากนี้ L706 เป็นดีเก๊าซิ่งคอย อันเป็นขดลวดที่ใช้ในการล้างอานาจสนามแม่เหล็กตกค้างที่หน้าจอภาพ ทาหน้าที่เป็นตัวรับดิสชาร์จของคาปาซิ สเตอร์ C702 อยู่ในรูปของค่าคาปาซิ สเตอร์ X นี่คือระบบป้องกัน สัญญาณรบกวนที่เป็น RFI ของทีวีสียี่ห้อชาร์ป
VDE-0871 Frequency range 100 FCC Class A
EMI Emissions,dB.uF
80
VDE-0871/A,C VDE-0875/N VDE-0871/B VDE-0875/N-12
60 40 20
0.01
FCC Class B
To be Defined later By FCC
0.1
1.0
10
100
รูปที่ 2.22 กราฟของ FCC และ VDE ในกรณีที่ใช้ในการศึกษาเกี่ยวกับ RFI อันเป็นตัวทาให้เกิดการเหนี่ยวนาเป็นสัญญาณรบกวน
F701
S701
L701
PR701
L702 C707
220 VAC
VA701
C701
LOAD C702
C708
L706 ADG COIL
รูปที่ 2.23 ไลน์ฟิลเตอร์ของแท่นเครื่อง NO.Jของ SHARP วงจรเมนเร็กติฟาย เมื่อแรงดันไฟกระแสสลับ 220 V หรือว่าไฟบ้าน ส่งผลผ่านวงจรไลน์ฟิลเตอร์เข้ามา ส่งแรงดันไฟ ดังกล่าวนี้เข้าสู่วงจรเร็กติฟายเออร์ ซึ่งเป็นการเร็กติฟายแรงดันไฟออกมาเป็นแรงดันไฟ 300 V โดยวิธีการ ในการเร็กติฟาย คือ การนาแรงดันไฟบ้านส่งผ่านเข้ามาตรง ๆ โดยไม่มีหม้อแปลงไฟฟ้า ลักษณะนี้ย่อมจะทา ให้เกิดปัญหากับไดโอดเร็กติฟายเออร์เป็นอันมาก เราจะให้การเรียงกระแสจากไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นไฟฟ้า กระแสตรงที่เรียบทีเดียวเลยคงจะไม่ได้เพราะจะต้องใช้คาปาซิ สเตอร์ฟิลเตอร์ที่มีค่ามากใส่ไว้ในวงจรฟิลเตอร์ เพราะคาปาซิ สเตอร์ที่มีค่ามากย่อมจะมีการนาเอากระแสเหมือนกับการลัดวงจรของโหลดในระบบของการ เร็กติฟายเออร์ทาให้ไดโอด D701–D704 เกิดการระเบิดขึ้นมาก็เป็นได้ ระบบของการเร็กติฟายเออร์ของ แรงดันไฟดังกล่าวนี้ จึงใช้คาปาซิ สเตอร์ที่มีค่าความจุน้อย ๆ ถ้าค่าความจุของคาปาซิ สเตอร์ที่ใช้มีค่าไม่เกิน 50 µF ไม่จาเป็นต้องใช้รีซิสเตอร์ป้องกันกระแสกระโชก ( Rs) แต่ถ้าหากว่าคาปาซิ สเตอร์ที่ใช้มีค่ามากกว่า 50 µF จะต้องมีการใส่รีซิสเตอร์ป้องกันการกระโชก โดยเราตั้งสมมติฐานว่าระบบของการเรียงกระแสดังกล่าวนี้ หากว่าแรงดันไฟทางเข้ามีค่าขยับสูงขึ้น ย่อมจะทาให้แรงดันไฟดีซีทางออกจะต้องขยับสูงตามขึ้น ในเวลาที่ระบบไฟเกิดการกระโชกเปลี่ยนแปลง ชั่วขณะ คาปาซิ สเตอร์ C709 จะต้องรับภาระในการเก็บประจุ เพื่อจะกรองแรงดันไฟที่ขยับสูงขึ้นให้มีค่า แรงดันไฟได้เท่าเดิมคาปาซิสเตอร์ C709 จึงต้องใช้คาปาซิ สเตอร์ที่มีค่าความจุน้อย ๆ และมี R703 และ R704 ทาหน้าที่เป็นตัวที่จะรับการดิสชาร์จของคาปาซิ สเตอร์ C709 เพื่อจะทาให้คาปาซิ สเตอร์ C709 มีระดับของประจุไม่เต็มที่ 100 เปอร์เซ็นต์ จากผลการคานวณวงจรเร็กติฟายเออร์ พบว่าหากการเร็กติฟาย เออร์เป็นไปตามปกติ นั่นคือมีระดับแรงดันไฟเรียบเป็นไฟตรงเหมือนกับวงจรเร็กติฟายเออร์อื่น ๆ
C707 D703
D701 FROM LINE FILTER
R701
C706
R702 R703 180k
D704
D702
C709
C708
R704 180k
300V
รูปที่ 2.24 วงจรเร็กติฟายเออร์แรงดันไฟ 300 โวลต์ D701
D703
D702
D704
R701
220 VAC
R727
R726
R702
+300V C709
D713
L704
+12.4V START
C729
FB603
R723 8.2M
R724 8.2M
ZD714 13V
C720
C721 PIN 4 T 701
GND
รูปที่ 2.25 การเร็กติฟายเออร์แรงดันไฟชุดใหญ่กับชุดสตาร์ตวงจร วงจรเร็กติฟายเออร์ของภาคจ่ายไฟแบบสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย จะให้แรงดันไฟที่จ่ายออกไปเป็น แรงดันไฟดีซีนั้น มีค่าตั้งแต่ 290–300 V วงจรเมนเร็กติฟายเออร์ทางานร่วมกับระบบสวิตชิ่ง ทาให้ไดโอด เร็กติฟายเออร์มีปัญหากระทบมาจากความถี่สูงคาปาซิสเตอร์ C707,C708 และคาปาซิ สเตอร์ C706 ทาหน้าที่ ป้องกันไม่ให้ไดโอดเร็กติฟายเออร์เกิดการรั่วไหล จากกรณีที่จะต้องมีผลกระทบมาจากการรบกวนของ สัญญาณรบกวนความถี่สูง ระบบจ่ายไฟของทีวีสีชาร์ปแท่น J มีการเร็กติฟายเออร์ 2 ชุด ชุดหนึ่งเป็นแรงดันไฟบวก 300 V ซึ่งใช้ D701–D704 และทาการฟิลเตอร์ด้วยคาปาซิ สเตอร์ C709 ออกมาเป็นแรงดันไฟ 290-300 V ซึ่งเป็น แรงดันไฟหลักของระบบนี้ อีกชุดหนึ่งจะใช้การลดแรงดันไฟให้ต่าลงด้วยการใช้รีซิสเตอร์ R727 และ R726 โดยมีไดโอดเร็กติฟายเออร์ D713 และ C720 ทาหน้าที่เป็นวงจรฟิลเตอร์ สร้างเป็นแรงดันไฟสตาร์ ตวงจร ออสซิลเลเตอร์ให้กับระบบภาคจ่ายไฟแบบสวิตชิ่ง แรงดันไฟดังกล่าวจะเป็นแรงดันไฟประมาณ 8–11.8 V เป็นแรงดันไฟที่จ่ายให้กับไอซีที่ทาหน้าที่เป็นระบบออสซิลเลเตอร์ของภาคจ่ายไฟ
เนื่องจากระบบของภาคจ่ายไฟทางด้านไพรมารี่กับทางด้านเซ็คคั่นดารี่ของหม้อแปลงสวิตชิ่งไม่ใช้ กราวด์ร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาเรื่องไฟดูด การซ่อมวงจรในชุดนี้จึงต้องอาศัยกราวด์ของคาปาซิ สเตอร์ C709 หรือกราวด์ขั้วลบของชุด 300 V เราจะเรียกว่า กราวด์ร้อน หากพิจารณาจากวงจรที่เป็นวงจรรวมกราวด์ ของชุดเมนเร็กติฟายเออร์ คือ ขาที่ 4 ของสวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์ขาที่ 4 ของ T701 เป็นจุดคอมมอนกราวด์ ที่เป็นกราวด์ร้อน การตรวจซ่อมในส่วนของภาคจ่ายไฟในส่วนของไพรมารี่จะต้องมีการจับมิเตอร์เทียบกับ ขาที่ 4 ของ T701 ทุกครั้ง วงจรแคปริสเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย R723,R724,C729 และแท่งเฟอร์ไรต์ FB603 ทาหน้าที่ในการ เชื่อมกราวด์ระหว่างกราวด์ร้อนกับกราวด์แท่นเครื่องซึ่งเป็นกราวด์เย็น ยุติปัญหาสัญญาณรบกวนที่เป็น สนามแม่เหล็กไฟฟ้า เช่นเดียวกับภาคจ่ายไฟแบบเพาเวอร์คอนเวอร์เตอร์
เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ ภาคจ่ายไฟที่ใช้อยู่ในทีวีสีชาร์ป เรียกว่า เพาเวอร์คอนเวอร์เตอร์ (Power Converter) ซึ่งภาคจ่ายไฟ แบบเพาเวอร์คอนเวอร์เตอร์นี้ได้แยกชนิดออกเป็นชนิดต่าง ๆ เช่น ชนิดที่เรียกว่า บัคบูสต์คอนเวอร์เตอร์ (Buck–Boost Converter) ซึ่งระบบนี้จะใช้เคอเรนท์โช้ ก เป็นตัวสะสมพลังงานและใช้วงจรเร็กติฟาย เออร์ ทาหน้าที่ในการบูสต์แรงดันไฟขึ้นมา เพื่อจะให้ประหยัดแรงดัน พบเห็นกันมากในแท่นเครื่องของยี่ห้อฟิลิปส์ ไอทีที และโซนี่ คือ วงจรฟอร์เวิร์ดคอนเวอร์เตอร์ ( Forward Converter) เรียกกันในนามของวงจร บัคคอนเวอร์เตอร์ (Buck Converter) วงจรบัคบูสต์คอนเวอร์เตอร์หรือวงจรบัคคอนเวอร์เตอร์จะไม่มีอุปกรณ์ ที่เป็นวงจรป้องกันการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้าที่มาจากไฟบ้าน หรือไม่มีระบบที่เรียกว่าระบบไอโซเลชั่น (Isolation) หรือที่รู้จักกันในนามของแท่นเครื่องกราวด์ร้อน เพราะฉะนั้นในลักษณะดังกล่าวนี้หากว่าไดโอด เร็กติฟายเออร์เกิดการรั่วไหลแม้แต่เล็กน้อย ย่อมจะทาให้เกิดปัญหาไฟดูดคนที่เป็นช่างบริการและคนที่ไปจับ แท่นเครื่องได้ ความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตก็จะเกิดขึ้น ระบบแท่นเครื่องดังกล่าวถ้าหากว่าไม่เรียกว่าแท่นร้อนก็ จะเรียกว่าระบบออนเดอะไลน์สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย ON–the–line ( Switching Power Supply) บริษัทชาร์ป จึงได้เลือกเอาภาคจ่ายไฟแบบไอโซเลตฟลายแบ็คคอนเวอเตอร์มาใช้แทน เพื่อแก้ไขปัญหาในเรื่องของกระแส รั่วไหล ให้มีการแยกในส่วนกราวด์ของขดลวดชุดไพรมารี่กับกราวด์ของขดลวดชุดเซ็คคั่นดารี่ ดังที่เห็น ตัวอย่างวงจรเบื้องต้นของวงจรสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายระบบนี้ ถ้าหากไม่เรียกว่า ระบบไอโซเล ต (Isolated Fly back Converter) เราจะเรียกว่า ภาคจ่ายไฟระบบออฟเดอะไลน์ สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย ( Off–the– line Switching Power Supply) โดยระบบนี้สามารถที่จะอธิบายการทางานได้ดังต่อไปนี้ ในกรณีที่มีพัลส์บวกส่งเข้ามาทางด้านขาเบสของทรานซิสเตอร์ Q1 ให้พัลส์ที่ส่งเข้ามาทางขาเบส ของทรานซิสเตอร์เป็นค่า V1 ทาให้ทรานซิสเตอร์ดังกล่าวสามารถนากระแสไหลผ่านขดลวดไพรมารี่ กลายเป็นกระแส Ip ในตอนนี้ เมื่อทรานซิสเตอร์ Q1 กลายเป็นสวิตช์ออน ย่อมที่จะทาให้กระแสทางด้าน ไพรมารี่เริ่มต้นทาการสร้างกาลังงานหรือสะสมกาลังงาน (Storing Energy) การพองตัวของสนามแม่เหล็ก ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจะทาให้ขั้วกระแสไฟฟ้าระหว่างวงจรขดลวดทางด้านอินพุตและขดลวดทางด้านเอาต์พุตมีเฟส ตรงกันข้าม พลังงานดังกล่าวนี้เมื่อพิจารณาไปทางด้านเอาต์พุตย่อมจะทาให้เกิดการรีเวิร์สไบอัสสาหรับไดโอด
เมื่อทรานซิสเตอร์เข้าสู่ภาวะของการเทิร์นออฟ สนามแม่เหล็กที่เกิดการพองตัวจะเกิดการยุบตัว เกิดการเหนี่ยวนาตัดกลับ กรณีเช่นนี้ย่อมทาให้ไดโอด D เกิดการนากระแสไปชาร์จคาปาซิเตอร์เอาต์พุต ซึ่งอยู่ในรูปของ C และทาให้เกิดกระแสขึ้นกับโหลดเราเรียกกระแสนี้ว่า IL เพื่อจะให้สวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์ หรือเคอเรนท์โช้ กสามารถที่จะทางานจ่ายกระแสออกไปมาก ๆ ได้โดยที่ทรานสฟอร์เมอร์หรือเคอเรนท์โช้ ก มีขนาดเล็ก จึงจาเป็นต้องใช้ความถี่สูงเข้ามาทาการสวิตช์ ในทางปฏิบัติแล้วเราจึงพบว่าจาเป็นจะต้องมี คาปาซิเตอร์เอาต์พุตหรือวงจรเร็กติฟายเออร์ที่สามารถกดความถี่สูงที่เป็นสัญญาณยอดแหลมๆ จากระบบ สวิตชิ่งให้ลดน้อยลง มิเช่นนั้นทรานซิสเตอร์ทาหน้าที่สวิตช์จะมีปัญหา สวิตชิ่ง ทรานซิสเตอร์ ที่ใช้ในวงจรฟลายแบ็คคอนเวอร์เตอร์ต้องเลือกทรานซิสเตอร์ที่สามารถทน แรงดันไฟเทิร์นออนได้ค่าแรงดันไฟสูงสุดที่ทรานซิสเตอร์จะต้องทนได้ ในขณะที่เข้าสู่ภาวะเทิร์นออฟสามารถ คานวณได้ดังสมการ .....สมการที่ 1
VCEmax = Vin/(1 − Dmax)
เมื่อ
Vin คือ ค่าแรงดันไฟอินพุต Dmax คือ ค่าดิวตี้ไซเกิ้ลสูงสุด D
n: 1
IP
C
IL
RL
Vin Q1 V1
VCE
รูปที่ 2.26 ภาคจ่ายไฟแบบสวิตชิ่งที่ใช้ฟลายแบ็คคอนเวอร์เตอร์ จากสมการที่ 1 บอกให้รู้ว่า การจากัดปริมาณแรงดันไฟทางด้านคอลเล คเตอร์ของทรานซิสเตอร์ เพื่อจะให้ได้ค่าที่ปลอดภัยจะต้องคิดค่าดิวตี้ไซเกิ้ลที่มีค่าไม่มากนัก โดยปกติแล้วค่าดิวตี้ไซเกิ้ลอยู่ที่ระดับ 50 เปอร์เซ็นต์ลงมา ยกตัวอย่างเช่นค่า Dmax มีค่าน้อยกว่า 0.5 ในทางปฏิบัติจะใช้ค่าอยู่ที่ประมาณ 0.4 การจากัดปริมาณแรงดันไฟคอลเล คเตอร์สูงสุดหรือค่า VCEmax = 2.2 Vin และนั่นหมายความว่าในกรณีที่
เราเอาไปใช้กับแรงดันไฟ 300 V จะต้องให้ทรานซิสเตอร์ที่เป็นวงจรคอนเวอร์เตอร์ทนแรงดันไฟคอลเล คเตอร์ ไม่น้อยกว่า 800 V ในลักษณะของแรงดันออฟเดอะไลน์ (Off–the–line) ต่อมาในสภาวะที่ทรานซิสเตอร์ เข้าสู่สภาวะเทิร์นออน ในกรณีนี้กระแสคอลเล คเตอร์จะต้องไหลมากที่สุด เราสามารถที่จะหากระแส คอลเลคเตอร์ได้จากกระแสสูงสุดของขดลวดไพรมารี่ กระแสสูงสุดทางด้านไพรมารี่สามารถที่จะเขียนออกมา เป็นสูตรได้ว่า .....สมการที่ 2
Ic = IL /n = Ip
Ip คือ ค่ากระแสสูงสุดของขดลวดไพรมารี่ N คือ ค่าอัตราส่วนจานวนรอบระหว่างขดไพรมารี่กับขดเซ็คคั่นดารี่ IL
IS
IP
VI On
t 2Vin
T
Off
Vin
On
I out
รูปที่ 2.27 รูปสัญญาณที่เกิดจากวงจรไอโซเลตฟลายแบ็คคอนเวอร์เตอร์ ในกรณีที่เราคิดว่าวงจรดังกล่าวนี้มีค่าประสิทธิภาพ 80 เปอร์เซ็นต์ และให้ค่าดิวตี้ไซเกิ้ลหรือค่า dmax = 0.4 หรือเท่ากับ 40 เปอร์เซ็นต์ สามารถที่จะเขียนสูตรของกระแสคอลเลคเตอร์ออกมาใหม่ได้ว่า Ic = (6.2 Vout)/Vin
.....สมการที่ 3
ดังนั้นในการออกแบบวงจรสวิตช์ชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย จึงมีการออกแบบให้สามารถควบคุมแรงดันไฟ คอลเลคเตอร์ที่เป็นแรงดันไฟ VCE สูงสุดให้อยู่ในระดับปริมาณ 660 V ทรานซิสเตอร์ที่จะนามาใช้งานต้องมี อัตราการทนแรงดันไฟระหว่างคอลเลคเตอร์ถึงอิมิตเตอร์ได้ไม่น้อยกว่า 800 V ต่อมาในส่วนของอัตราการทน กระแสจะต้องออกแบบให้มีค่าไม่น้อยกว่า 2.5 A ดังนั้นเมื่อเราทราบเกี่ยวกับลักษณะของทรานซิสเตอร์ที่จะ นามาใช้งานในวงจรสวิตชิ่งแล้ว จึงสามารถนาเอาทรานซิสเตอร์เบอร์ต่าง ๆ มาใช้ในวงจรภาคจ่ายไฟได้อย่าง ถูกต้องมีประสิทธิภาพ ยกตัวอย่างทรานซิสเตอร์ที่เป็นเพาเวอร์สวิตช์ชิ่ง 3 เบอร์ด้วยกัน เช่น ยี่ห้อชาร์ป ในวงจรดังกล่าวนี้ใช้เบอร์ 2SD1884 ในขณะที่เราสามารถใช้เบอร์ BUH713 หรือเบอร์ S2000AF แทนกันได้
ดังนั้นในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบของการจ่ายไฟไม่สามารถที่จะหาทรานซิสเตอร์ตัวเดิมมาใส่ได้หรือ สามารถหาได้แต่มีราคาแพง สามารถที่นาทรานซิสเตอร์เบอร์อะไรมาใช้ในวงจรภาคจ่ายไฟและทรานซิสเตอร์ ดังกล่าวนั้น จะต้องเป็นทรานซิสเตอร์ที่จะต้องทางานกับความถี่สูงได้ ขั้นตอนในการออกแบบวงจรทางด้านเร็กกูเลเตอร์เอาต์พุตวงจรดังกล่าวจะเริ่มที่การนาเอาแรงดันไฟ 300 V ส่งผ่านเข้ามาที่ไดโอด D706 เป็นไดโอดที่จะทาหน้าที่กาจัดสัญญาณ RFI หรือเรียกว่าอาร์เอฟ ริปเปิ้ลรีเจ็คเตอร์ ก่อนที่จะส่งแรงดันไฟเข้าทางขาที่ 6 ของสวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์ T701 หรือ ทรานส์ฟอร์ เมอร์โช้ก และส่งออกทางขาที่ 1ของ T701 มารอที่ขาคอลเล็กเตอร์ของ Q701 ในขณะที่มีพัลส์บวกส่งผ่าน L705 ซึ่งเป็นวงจรปรับแต่งกระแสทางขาเบสของทรานซิสเตอร์ Q701 ส่งผ่าน C715 และมีD707 เป็นตัวบังคับปริมาณของแรงดันไฟ ในขณะนี้ย่อมจะทาให้ทรานซิสเตอร์ Q701 อยู่ในสภาวะเทิร์นออนมันจะนากระแสผ่าน R722 ครบวงจรได้ โดยรีซิสเตอร์ที่เป็นโหลด R722 จะทา หน้าที่ เป็นวงจรป้องกัน Q701 ไม่ให้เกิดความเสียหายในขณะที่อยู่ในสภาวะเป็นสวิตช์ออน ปริมาณกระแส สูงสุดที่ทรานซิสเตอร์จะต้องทนได้ ก็คือปริมาณของกระแสในจังหวะนี้และเป็นปริมาณของกระแสที่เรา เรียกว่าเป็นปริมาณกระแสของขดลวดไพรมารี่ (Ip) จังหวะต่อมาเมื่อสัญญาณพัลส์วิชมอด( PWM) ที่เป็นพัลส์ลบส่งเข้ามายังขาเบสของทรานซิสเตอร์ Q701 ทรานซิสเตอร์ Q701 เข้าสู่สภาวะการทางานออฟเดอะไลน์ ในขณะนี้ย่อมจะทาให้เกิดการเหนี่ยวนา กับขดลวด T701 ทางด้านเซ็คคั่นดารี่ ทาให้ขาที่ 13 เป็นเฟสบวก และขาที่ 14 ของสวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์ ดังกล่าวเกิดเป็นเฟสลบ ไดโอดเร็กติฟายทางด้านเอาต์พุตที่อยู่ในรูปของ D603 จึงสามารถที่จะจ่ายกระแส ของโหลดที่เป็น IL ออกไปทางด้าน C609 และ C610 เพื่อให้ C609 และ C610 ทาการเก็บประจุไว้ การดึง กระแสของวงจรจึงสามารถกล่าวได้ว่ามีการดึงกระแสไป จากภาคจ่ายไฟในขณะที่ทรานซิสเตอร์ Q701 เข้าสู่ สภาวะเทิร์นออฟ จึงทาให้ทรานซิสเตอร์ Q701 มีความปลอดภัย เพราะการจ่ายกระแสมิใช่การจ่ายกระแส ออกไปโดยตรงจากทรานซิสเตอร์ แต่จะใช้ขดลวดสวิตชิ่งของทรานสฟอร์เมอร์เป็นตัวจ่ายกระแสออกไป ในการทางานที่เกี่ยวข้องกับระบบสวิตช์และทรานสฟอร์เมอร์นี้เองย่อมจะทาให้เกิดเป็นแรงดันไฟสูง ซึ่งมีปริมาณเป็น 2 เท่า ของแรงดันไฟที่ขาคอลเล็กเตอร์ของทรานซิสเตอร์ Q701 ดังนั้นทรานซิสเตอร์ Q701 ที่ออกแบบมาจากบริษัทชาร์ป จึงจาเป็นต้องสามารถที่จะทดแทนแรงดันไฟได้ไม่น้อยกว่า 800 V เพราะหาก ดูรูปสัญญาณที่เกิดขึ้นจากวงจรภาคจ่ายไฟแท่น J จะพบว่าจะเกิดแรงดันไฟขึ้นที่ขาคอลเล คเตอร์เป็นค่า แรงดันไฟ 440 Vp-p ในขณะที่แท่น H จะเกิดเป็นแรงดันไฟ 540 Vp-p พร้อมกันนั้นในระบบของการควบคุมสัญญาณ EMI จะต้องมีการควบคุม RFI และสัญญาณ EMI ที่เกิดขึ้นจากระบบการทางานที่เกิดเป็นยอดแหลม ๆ เรียกว่า สไปค์ (Spike) อย่าให้มีปริมาณมากเกินไป ตามมาตรฐาน FCC และ VDE ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว วงจรสนับเปอร์ทางานโดย D705,C710,R705,C711 เป็นตัวกาหนดปริมาณของสัญญาณ RFI เอาไว้ ในกรณีที่เกิดยอดสไปค์แหลม ๆ ขึ้นมา เกิดขึ้นในขณะที่ ทรานซิสเตอร์ Q701 เข้าสู่สภาวะออฟ หรือเกิดขึ้นในขณะที่ศักย์ไฟขา 1 ของ T701 เป็นเฟสบวกและที่ขา 6 เทียบศักย์เป็นเฟสลบ กระแสดังกล่าวจะไหลผ่าน C711,C710 และ C713 ไปครบวงจร ยุติผลที่จะเกิดขึ้นกับ ทรานซิสเตอร์ ถ้าหากว่าคาปาซิเตอร์ดังที่ได้กล่าวมาเกิดการเก็บประจุได้เต็มที่แล้ว กระแสจะถูกส่งให้ไหล ผ่าน R705,D705 ซึ่งเป็นตัวกาจัดสัญญาณ RFI และไหลผ่าน D706
C712
R706 C608
C713 D706
L601
T701
6
D603
FB602
13
C710 D705
C711
C609
R705
L602 1
300V
C610
14
C715 PWM
L705
FB603
D707 Q701
115V OUT
C714 C729
R722
R723
R724
รูปที่ 2.28 แนวคิดของภาคเรกูเลเตอร์เอาต์พุต ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า T701 จะมีปัญหาเกี่ยวกับการเกิดกราวด์ลูพ และกราวด์ลูพนั้น มีผลต่อการ เกิดสัญญาณ RFI ระบบการชิลด์ฮีตซิงค์จึงเข้ามามีบทบาท ดังที่ได้กล่าวมาตั้งแต่หลักการเบื้องต้น ขั้นตอน ของโรงงานนั้นอาจจะมีปัญหาในการประกอบหรือขั้นตอนในการประกอบเกิดขึ้น พนักงานประกอบอาจจะ ละเลยหรือโรงงานในบางประเทศไม่สามารถที่จะรับเอาเทคโนโลยีดังกล่าวนี้เข้ามา อาจจะไม่เข้าใจถึงเคล็ดลับ ของการออกแบบวงจร ซึ่งเป็นผู้ประกอบเครื่องดังกล่าวนี้ได้ คาตอบอยู่ที่คาปาซิเตอร์ C714 เพราะทาหน้าที่ ในการเสริมระบบกระบวนการระบายความร้อนที่เป็นระบบแซนด์วิชให้กับวงจรตัวนี้ การทางานในรูปแบบนี้ เรียกว่า ระบบไอโซเลต นั่นก็คือ กราวด์ของวงจรทางด้านไพรมารี่กับกราวด์ ของวงจรทางด้านเซ็คคั่นดารี่ไม่จาเป็นที่จะต้องมีการต่อถึงกัน และหมายถึงว่า กราวด์ของแท่นเครื่องกับ กราวด์ของภาคจ่ายไฟไม่ได้ต่อร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาไฟดูดในขณะที่เราไปจับแท่นเครื่อง ซึ่งในกรณีนี้จะทาให้ เกิดความปลอดภัยสาหรับผู้ ที่ทาการบริการเครื่องเป็นอย่างยิ่ง แท่นเครื่องดังกล่าวนี้เราเรียกว่า แท่ นเครื่อง ออฟไลน์หรือแท่นเย็น แต่การออกแบบวงจรแท่นดังกล่าวนี้จะต้องมีการควบคุมปริมาณของอานาจ สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่กระจายออกไปให้ได้ การที่ไม่มีจุดกราวด์ร่วมกันสาหรับความถี่สูงแล้ว ถือว่าจะมี ปัญหาเกี่ยวกับอานาจสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เป็นสนามไฟฟ้าเหนี่ยวนาเกิดขึ้นได้ เพื่อจะยุติสัญญาณ EMI ในกรณีที่เกิดปัญหาขึ้นมาระหว่างการถ่ายทอดพลังงานจากขดลวดไพรมารี่ไปยังขดลวดเซ็คคั่นดารี่ ถ้าการ ถ่ายทอดพลังงานจากขดลวดไพรมารี่ไปยังขดลวดเซ็คคั่นดารี่ถ่ายทอดออกไปไม่ได้ อาจจะเนื่องจากโหลดไม่ สามารถที่จะดึงพลังงานออกไปใช้งานได้หมด เพราะเราได้ศึกษาการทางานของเครื่องรับโทรทัศน์แล้วจะ พบว่าการดึงกระแสของเครื่องรับโทรทัศน์ย่อมขึ้นอยู่กับสัญญาณภาพ ขึ้นอยู่กับหน้าจอในขณะนั้นว่าจอมี ความสว่างมากหรือจอมีความสว่างน้อย ถ้าจอมีความสว่างมากย่อมทาให้วงจรดึงเอาพลังงานไปใช้งานได้มาก แต่ถ้าหากว่าจอภาพมีความสว่างน้อยย่อมจะมีการดึงเอาพลังงานออกไปใช้งานได้น้อย เพราะฉะนั้นปัญหา สัญญาณ EMI ที่เกิดขึ้นกับทรานสฟอร์เมอร์ระหว่างขดลวดไพรมารี่กับขดลวดทางด้านเซ็คคั่นดารี่ สามารถ แก้ปัญหาตรงนี้โดยการใช้ C729,R723 และ R724
ภาคจ่ายไฟของชาร์ป หลักสาคัญของภาคจ่ายไฟแบบฟลายแบ็คคอนเวอร์เตอร์ที่ใช้อยู่ในทีวีสียี่ห้อชาร์ป คือ IC701 ซึ่งใช้เบอร์ IX1779CE ซึ่งเป็นเบอร์ของชาร์ปและโซนี่ ซึ่งเทียบได้ TEA2261 ของทอมสัน โดยไอซีดังกล่าว จะทาหน้าที่เป็นวงจรพัลส์วิธมอดที่ออกแบบมาเพื่อใช้กับวงจรภาคจ่ายไฟที่เป็นสวิตชิ่งโดยเฉพาะ ดังนั้นไอซี ดังกล่าวเราอาจจะเห็นอยู่ในแท่นเครื่องของชาร์ปและทอมสันหรือโซนี่บางแท่น โดยชาร์ปได้เลือกเอาไอซี ดังกล่าวนี้มาใช้เพื่อออกแบบวงจรภาคจ่ายไฟ แยกกราวด์ระหว่างกราวด์ร้อนกับกราวด์เย็นออกจากกัน โดยวงจรการทางานนั้นสามารถที่จะดูได้จากรูปที่ 2.29 ซึ่งเป็นรูปที่แสดงการทางานของวงจรภาคจ่ายไฟ ขั้นต้น และหากจะศึกษาถึงลักษณะของโครงสร้างเบื้องต้นของไอซีดังกล่าว วงจรเร็กติฟายเออร์ทาการเรียงกระแสแรงดันไฟดีซีออกมาเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นแรงดันไฟหลัก 300 V ซึ่งไปให้กับวงจรเรกูเลเตอร์เอาต์พุต ส่วนที่สองแรงดันไฟที่จะส่งมาเพื่อสตาร์ ตวงจรหรือ เริ่มต้นให้ IC701 ผลิตความถี่หรือสัญญาณพัลส์ออกไปขับทรานซิสเตอร์ Q701 วงจรในรูปที่ 2.29 แรงดันไฟที่ส่งเข้ามาเพื่อสตาร์ตวงจรนั้นเป็นแรงดันไฟประมาณ 12.4 V มาจาก ระบบของการเร็กติฟายโดยไดโอด D713 วงจรเร็กติฟายซึ่งทางานโดย D713 มีการนาเอาแรงดันไฟ 220 VAC ส่งผ่าน R727 และ R726 เพื่อจะลดแรงดันไฟก่อนส่งเข้าสู่วงจรเร็กติฟายเออร์ เพื่อที่จะเร็กติฟายออกมาเป็น แรงดันไฟ 12.4 V เป็นแรงดันไฟสตาร์ ตวงจร แม้ว่าแรงดันไฟต้นทางจะมีการขยับขึ้นมาเกิน 220 V และ แรงดันไฟสตาร์ตวงจรจะส่งออกมาได้ไม่เกิน 12.4 V เนื่องจากมีซีเนอร์ไดโอด D714 ที่รักษาแรงดันไฟ 13 V บังคับไว้ แรงดันไฟดังกล่าวนี้จะส่งเข้าทางขาที่ 16 ของ IC701 และส่งผ่าน R712 เข้าไปยังขาที่ 15 ของ C701 โดยขาที่ 16 เป็นขาเพื่อการจ่ายไฟหรือเป็นขา +VCC IC701 ในขณะที่ขา 15 เป็นขาจ่ายไฟบวกสาหรับ วงจรไดร์เวอร์หรือวงจรไดร์คอยล์นั่นเอง ในการเริ่มต้นการทางานของวงจรนั้นขาที่ 15 และขาที่ 16 จะต้องมี แรงดันไฟขึ้นมาก่อน เพื่อจะทาให้วงจรออสซิลเลเตอร์ ซึ่งประกอบไปด้วยวงจรการกาหนดค่าเวลาคงที่ของ ออสซิลเลเตอร์อยู่ที่ขา 10 และ ขาที่ 11 ผลิตความถี่เป็นสัญญาณพัลส์ขึ้นมา ส่งสัญญาณพัลส์ดังกล่าวเข้าสู่ วงจรขับกระแส ซึ่งวงจรขับกระแสนั้นจะต้องรับแรงดันไฟมาจากขาที่ 15 ของ IC701 ก่อนที่จะส่งสัญญาณ พัลส์ออกไปทางขาที่ 14 ส่งสัญญาณพัลส์ผ่านวงจรปรุงแต่งสัญญาณอินพุตหรือปรุงแต่งรูปสัญญาณให้ขาเบส ของทรานซิสเตอร์ Q701 เพื่อให้ทรานซิสเตอร์ Q701 ทาหน้าที่เป็นสวิตช์ เมื่อ Q701 ทาหน้าที่เป็นสวิตช์ เรียบร้อยแล้ว จะทาให้เกิดการเหนี่ยวนาขึ้นในขดลวดชุดต่าง ๆ และจากหลักการนี้จะทาให้เกิดการเหนี่ยวนา ขึ้นในขดลวดขาที่ 3 และขาที่ 4 ของ T701 ซึ่งเป็นสวิตช์ชิ่งทรานสฟอร์เมอร์ พัลส์ดังกล่าวนั้นส่งเข้าสู่ไดโอด D709 และ R710 ทาการเร็กติฟายเออร์เป็นแรงดันไฟออกไปประมาณ 13 V ส่งย้อนกลับผ่าน D711 และ D720 ส่งเข้ามาให้ขาที่ 16 และขาที่ 15 ของ IC701 ตามลาดับ นั่นหมายความว่า เมื่อวงจรภาคจ่ายไฟ Q701 สามารถที่จะทางานได้แล้ว นาเอาแรงดันไฟที่ได้จาก ผลการทางานของสวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์ส่งเข้ามาเลี้ยงวงจร IC701 แทนแรงดันไฟสตาร์ ตวงจร D713 และ D711 จึงทาหน้าที่เป็นสวิตช์ป้องกันแรงดันไฟของแต่ละส่วนจะรบกวนซึ่งกันและกันนั่นเอง (Kick–Diode)
รูปที่ 2.29 วงจรการทางานของภาคจ่ายไฟในขั้นต้น
D712
12.4V START
+300V
HOT CHASSIS
C720
D713
16
12
L704
R712
15
5
D720
14
R706A
IC701
D711
13
11
10
L705
R711
R717
C724
D707
C715
C710
R702 220
C711
R722 0.27
FB701
Q701
R705
D705
D706
C713
C712
R710
C730
R706
C714
D709
C718
4
3
1
6
FB603
T701
14
13
R724
R723
C729
D603
C609
+115V
เมื่อวงจรภาคจ่ายไฟสามารถทางานได้แล้ว มีการเหนี่ยวนาแรงดันไฟออกไปทางด้านเซ็คคันดารี่ของ สวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์เป็นแรงดันไฟออกไปทั้งหมด 4 ส่วนด้วยกัน คือ แรงดันไฟ 115 V สาหรับวงจร ฮอริซอนตอลเอาต์พุต แรงดันไฟชุดต่อไปเป็นแรงดันไฟบวก 15 V ซึ่งแรงดันไฟดังกล่าวนี้จะถูกส่งไปยัง วงจรเรกูเลเตอร์เป็นแรงดันไฟ 12 V สาหรับภาคจังเกิ้ล ( Junkle) ซึ่งคาว่าจังเกิ้ล หมายถึง ไอซีตัวเดียว ประกอบด้วยภาคต่าง ๆ หลายภาค ตั้งแต่ภาคไอเอฟ ภาคลูมิแนนซ์ภาคโครมิแนนซ์หรืออื่น ๆ แรงดันไฟ ชุดที่ 3 เป็นแรงดันไฟบวก 13 V ใช้เป็นแรงดันไฟต้นทางสาหรับระบบเรกูเลเตอร์ +5 V ซึ่งเป็นแรงดันไฟ สาหรับข้อมูลดิจิตอล ชุดต่อมา คือ แรงดัน 11.3 V จะส่งไปให้กับวงจรภาคเสียงระบบเสียง 2 ภาษา หรือ ระบบมัลติเพล็กซ์ซาวด์และสุดท้ายก็คือแรงดันไฟประมาณ 16 V ที่จะส่งให้กับภาคซาวด์เอาต์พุตเป็นการแยก ระบบออกไป ด้วยตัวหม้อแปลงสวิตชิ่งที่มีขดลวดใหญ่กว่าทุกชุด เพราะระบบเสียงเป็นระบบที่ต้องการ กระแสนั่นเอง T701
11
F301
D302 C346 C347
16V TO SOUND OUTPUT
12 10
R636
R666
D613
R665
C682
+11.3V FOR MPX SOUND (+5VN)
C629
9
R637
R660
D614
+15V TO JUNKLE AND MAIN 12V
C630 C631
L603 13
D603
L602
FB601
C608 C609
14
รูปที่ 2.30 แรงดันไฟทางออกของภาคจ่ายไฟ
C610 115V TO HOR OUT
SRT
1 2
3 4
Vcc 16
IS APC
V+ 15
IN I-MAX
DRIVER OUT
GND
14 13
GND 5
12 PWM
6
ERROR AMP
7
PO CO
11 10
OVER VOLTAGE SAFETY 8
C2
CI
9
รูปที่ 2.31 โครงสร้างของ IC701 เบอร์ IX1779CE หรือ เบอร์ TEA2261 หากจะพิจารณาถึงโครงสร้างของ IC701 ซึ่งเป็นเบอร์ IX1779CE หรือ เบอร์ TEA2261 ว่ามีการจ่าย แรงดันไฟอยู่ 2 ชุด ชุดแรกคือ แรงดันไฟที่จ่ายเลี้ยงวงจรของภาคต่าง ๆ ถือว่าเป็นขารับแรงดันไฟบวก Vcc ต่อมาก็คือแรงดันไฟบวกที่จะส่งเข้ามายังขาที่ 15 ซึ่งเป็นแรงดันไปบวกสาหรับภาคขับกระแส แรงดันไฟ ดังกล่าวเป็นแรงดันไฟ 12 V หลังจากที่มีการจ่ายแรงดันไฟทั้ง 2 ชุดนี้ เป็นหน้าที่ของวงจรออสซิลเลเตอร์ ที่จะผลิตความถี่ประมาณ 15 KHz โดยตัวที่จะทาหน้าที่เป็นตัวกาหนดความถี่ ได้แก่ รีซิสเตอร์ออสซิลเลเตอร์ ที่ต่ออยู่ที่ขา 11 และคาปาซิเตอร์ เพื่อการออสซิลเลเตอร์ที่ต่อเอาไว้ที่ขา 10 หลังจากที่วงจรสามารถผลิต ความถี่ได้แล้ว จะส่งความถี่เข้าสู่หน่วยเปรียบเทียบหรือวงจรคอมพาราเตอร์สร้างเป็นสัญญาณพัลส์วิธมอด ต่อไป วงจรคอมพาราเตอร์หรือหน่วยพัลส์วิธมอดจะทางานด้วยการตั้งระบบแรงดันไฟคงที่หรือแรงดันไฟ อ้างอิงไว้ภายใน IC701 การที่จะทาให้พัลส์วิธมอดมีค่าดิวตี้ไซเกิ้ลมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการสารวจแรงดันไฟ ที่เป็นแรงดันไฟทางออกหรือแรงดันไฟที่เกิดจากการทางานของภาคจ่ายไฟ เอาแรงดันไฟดังกล่าวนั้นเข้ามา สารวจทางขาที่ 6 ซึ่งเป็นขาเออเรอร์แอมป์ (Error Amp) ถ้าหากแรงดันไฟทางออกมีค่าขยับสูงขึ้น แรงดันไฟ ที่ส่งกลับมาสารวจที่ขา 6 จะต้องสูงกว่าแรงดันไฟอ้างอิง ทาการบังคับให้หน่วยคอมพาราเตอร์ ผลิตสัญญาณ พัลส์วิธมอดที่มีค่าความถี่เท่าเดิม แต่ค่าดิวตี้ไซเกิ้ลของพัลส์มีค่าลดลง เพื่อทาให้การทางานของวงจรภาค จ่ายไฟลดต่าลงมา
ในทางตรงกันข้ามหากว่าวงจรภาคจ่ายไฟทาการจ่ายแรงดันไฟออกมาต่ากว่าปกติ การสารวจ แรงดันไฟกลับมายังขาที่ 6 ของ IC701 สารวจแรงดันไฟต่ากว่าแรงดันไฟอ้างอิงหน่วยคอมพาราเตอร์ จะเปรียบเทียบข้อมูลดังกล่าวออกมาส่งผลให้หน่วยสร้างสัญญาณพัลส์วิธมอด สร้างสัญญาณพัลส์วิธมอดที่มี ค่าดิวตี้ไซเกิ้ลค่ามากกว่าปกติได้ในที่สุด ในส่วนของวงจรผลิตความถี่ออสซิลเลเตอร์ อาจจะมีการควบคุมความถี่มาจากภายนอก เพื่อจะทา ให้เสถียรภาพของวงจรดียิ่งขึ้นหรืออาจจะป้องกันปัญหาความถี่จากวงจรภาคจ่ายไฟไม่ให้ไปรบกวนภาพ หลายวงจรจึงใช้วิธีการส่งสัญญาณพัลส์มาจากวงจรภาคฮอริซอนทอล พัลส์จากวงจรฮอริซอนทอลจะส่งเข้ามา ทางขาที่ 2 เพื่อเข้าสู่วงจรเฟสดีเทคเตอร์ก่อนจะมาบังคับการทางานของวงจรออสซิลเลเตอร์ ในส่วนของวงจร ทีวีสีชาร์ป ไม่ได้มีการส่งความถี่จากวงจรฮอริซอน ทอลเข้ามาควบคุมการทางานของวงจร ในขณะเดียวกัน ขาที่ 1 เป็นขาที่รับสัญญาณพัลส์มาจากสวิตชิ่งเรกูเลเตอร์ทรานสฟอร์เมอร์ เพื่อมาเปรียบเทียบกับความถี่ ของฮอริซอนทอล เมื่อทางเข้าของความถี่ฮอริซอนทอลที่ขา 2 ไม่ได้ใช้งานความถี่จากพัลส์ที่จะส่งเข้ามาทาง ขา 1 ของไอซีจึงไม่ได้มีการนาเอามาใช้งาน เช่นเดียวกันหมายความว่า ในวงจรเรกูเลเตอร์ของชาร์ป ไม่ได้มี การนาเอาวงจรเฟสดีเทคเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้อง เพื่อบังคับการผลิตความถี่ของวงจรออสซิลเลเตอร์แต่อย่างใด สามารถดูวิธีการที่จะบังคับความถี่นี้ได้จากวงจรของทอมสันแท่น ICC9 เป็นตัวอย่าง เมื่อได้สัญญาณความถี่พัลส์วิธมอดเป็นที่ถูกต้องเรียบร้อยแล้ว จะส่งสัญญาณดังกล่าวเข้าสู่วงจร โปรเท็คชั่นหรือวงจรป้องกันจะใช้วิธีการสารวจกระแสของการทางานของวงจรภาคเอาต์พุต โดยส่งเข้าทาง ขาที่ 3 ถ้ากระแสเกินปกติวงจรป้องกันจะทาการหยุดสัญญาณพัลส์ที่ส่งมาจากพัลส์วิธมอดมิให้ส่งเข้าสู่วงจร ขับกาลัง ถ้าหากกระแสในวงจรไม่สูงเกินปกติวงจรป้องกันจะส่งความถี่ของวงจรพัลส์วิธมอดออกไปยังวงจร ภาคขับกาลังได้ โดยตรงภาคขับกาลังจะขับกระแสออกไปยังขาที่ 14 ของ IC701 ซึ่งวิธีการขับกระแสให้กับภาคเอาต์พุตสามารถที่จะดูวิธีการต่าง ๆ ได้ดังรูปที่ 2.32 ได้มีการให้ตัวอย่าง ของการขับกระแสให้กับภาคเอาต์พุต 3 รูปแบบด้วยกัน โดยรูปแบบที่ 1 และรูปแบบที่ 2 ต้องอาศั ยแรงดันไฟ พูลอัพมาจากแรงดันไฟ 300 V เข้ามาช่วยด้วย ในขณะที่รูปแบบที่ 3 จะไม่อาศัยการพูลอัพกระแสให้กับ ขาเบสของทรานซิสเตอร์
DAMPER
+300V
SRT
220K
2.7uH
220K
T701 ZD 2.7V
39
14
S2000AF
470uF
1nF
BAT8 OLP 0.15/2W
ก. รู ปแบบที. ่ 1
1
DAMPER +300V SRT
120K x 5 T701 3.3uH
1N4001 x 3
22
47uF
14
BUH713 150pF 330
OLP 0.02/3W
.
ข. รู ปแบบที่ 2
2
DAMPER
SRT
+300V
3.3 uH
14
18
T701 ZD 3.9 V 4.7uF
2SD1004
1nF
220 OLP
ค. รู ปแบบที ่ 33 .
0.15/2W
รูปที่ 2.32 วิธีขับทรานซิสเตอร์เอาต์พุต
การควบคุมแรงดันไฟคงที่ การกาหนดแรงดันไฟทางออก สามารถที่จะกาหนดด้วยค่าดิวตี้ไซเกิ้ลของสัญญาณพัลส์วิธมอด ดังนั้นเราจึงพบว่า เมื่อภาคจ่ายไฟสามารถที่จะทางานได้แล้ว จะมีการส่งแรงดันไฟจากขดลวดขาที่ 3 และ ขาที่ 4 ของ T701 เพื่อทาการเร็กติฟายแรงดันไฟส่งให้กับ IC701 อย่างน้อย 2 ชุดด้วยกัน ชุดที่ 1 จะพบว่า มีการเร็กติฟายด้วยไดโอด D709 และฟิลเตอร์ด้วยคาปาซิ สเตอร์ C730 ก่อนที่จะส่งผ่านสวิตช์ไดโอด ที่ทางานด้วย D711 เพื่อส่งแรงดันไฟดังกล่าวไปเลี้ยง IC701 ขาที่ 16 และส่งผ่านรีซิสเตอร์ R712 ซึ่งเป็น รีซิสเตอร์ที่มีค่าน้อย ส่งไปเลี้ยงวงจรภาคเอาต์พุตที่ขา 15 โดยแรงดันไฟชุดนี้ เมื่อเริ่มต้นการทางานจะรับ แรงดันไฟจากวงจรเร็กติฟายโดยส่งผ่านรีซิสเตอร์ R727 และ R726 ผ่านสวิตช์ไดโอด D713 ส่งเข้ามาในตอน เริ่มต้น ทางที่ 2 ที่มีการนาเอาพัลส์จาก T701 ออกไปใช้งาน ส่งผ่านไดโอด D708 ให้ไดโอดดังกล่าว ทาหน้าที่ในการเร็กติฟายรวมกับรีซิสเตอร์ R725 และ C722 เพื่อส่งแรงดันไฟดังกล่าวนี้เข้าสู่วงจรสารวจ แรงดันไฟเป็นหน่วยเออเรอร์แอมป์ โดยแรงดันไฟดังกล่าวจะส่งเข้าสู่วงจรโวลเตลดิไวเดอร์ ซึ่งประกอบด้วย R713,R714,R715 และ R716 โดยในส่วนของวงจรโวลเตจดิไวเดอร์ดังกล่าวนี้ สามารถที่จะปรับแต่งผลของ การแบ่งแรงดันไฟโดยการปรับแต่งที่รีซิสเตอร์ R714 ซึ่งเป็นการปรับแรงดันไฟทางออก 115 V ของภาค จ่ายไฟนั่นเอง แต่มิใช่ว่าแรงดันไฟจะถูกปรับแต่งเฉพาะในส่วนของแรงดันไฟชุด 115 V เท่านั้น แต่แรงดันไฟ ทุกชุดที่เกิดจากการสวิตช์ของภาคจ่ายไฟจะถูกปรับแต่งโดยรวมที่ R714 ผลของแรงดันไฟตกคร่อมโดยเฉพาะ R714,R715 และ R716 ส่งไปสารวจขา 6 ของ IC701 เป็นขารับแรงดันไฟเออเรอร์แอมป์ ดังนั้นแรงดันไฟทางออกจึงสามารถเพิ่มขดลวดได้ด้วยการปรับแต่งรีซิสเตอร์ R714 จนกระทั่ง แรงดันไฟทางออกได้แรงดันไฟออกไปเป็นปกติ นั่นหมายความว่าในตอนนี้ชุดเออเรอร์แอมป์อยู่ในสภาวะปกติ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว แต่ถ้าหากแรงดันไฟที่ได้จากการทางานเกิดขยับต่าลงย่อมจะทาให้แรงดันไฟที่ขา 6 ของ IC701 ต่ากว่าแรงดันไฟอ้างอิงที่อยู่ภายในของ IC701 วงจรพัลส์วิธมอด ทาหน้าที่รขยายดิวตี้ไซเกิ้ล ส่งออกไปยังขาที่ 14 ให้สัญญาณพัลส์วิธมอดมีพัลส์ที่กว้างขึ้น ส่งผลทาให้ทรานซิสเตอร์ Q701นากระแสได้ นานขึ้น ผลของการนากระแสที่ยาวนานอย่างนี้ ย่อมทาให้พัลส์ที่เกิดขึ้นในขณะที่ทรานซิสเตอร์เข้าสู่ภาวะ เทิร์นออฟมีค่าแรงดันไฟที่ขาคอลเล คเตอร์สูงขึ้น เมื่อแรงดันไฟที่ขาคอลเล คเตอร์ของทรานซิสเตอร์ Q701 สูงขึ้นอย่างนี้ ย่อมจะทาให้แรงดันไฟที่ขดลวดชุดเซ็คคันดารี่ขยับเพิ่มสูงขึ้นตามมาด้วย ตามทฤษฎีนั่นคือ แรงดันไฟทางออกจะมีการขยับสูงขึ้น จนกระทั่งเข้าสู่สภาวะปกติ หากแรงดันไฟมีการส่งออกไปเป็นปกติ เรียบร้อยแล้ว แรงดันไฟที่ป้อนกลับมายังขาที่ 6 จะมีค่าเท่ากับแรงดันไฟอ้างอิงของหน่วยคอมพาราเตอร์ นั่นเอง สัญญาณพัลส์วิธมอดที่เกิดขึ้นก็จะมีค่าดิวตี้ไซเกิ้ลที่มีค่าคงที่ แน่นอนว่าการจ่ายแรงดันไฟก็สามารถที่ จะจ่ายแรงดันไฟออกไปให้มีค่าคงที่ด้วย ในทางกลับกันหากภาคจ่ายไฟจ่ายแรงดันไฟได้มากกว่าปกติ ผลของการป้อนย้อนกลับมาที่ขา 6 ของไอซีจะทาให้แรงดันไฟที่ขา 6 ของ IC701 มีค่าแรงดันไฟขยับสูงขึ้น เมื่อแรงดันไฟที่ขา 6 สูงกว่าค่า แรงดันไฟอ้างอิง ทาให้วงจรคอมพาราเตอร์ทางานน้อยลง ส่งผลไปวงจรพัลส์วิธมอดทาให้วงจรพัลส์วิธมอด บังคับดิวตี้ไซเกิ้ลของพัลส์ให้มีค่าน้อยลงหรือมีค่าแคบลง ส่งออกไปทางขาที่ 14 ของ IC701 ไปขาเบสของ ทรานซิสเตอร์ Q701 ด้วยค่าของพัลส์ที่แคบ ทรานซิสเตอร์ Q701 ทางานน้อยลง การสะสมกาลังงานของ T701 จึงสะสมกาลังงานได้ในเวลาสั้น ๆ เมื่อ Q701 กลายเป็นสวิตช์ออฟ ย่อมจะทาให้แรงดันไฟทางด้าน คอลเลคเตอร์มีค่าแรงดันไฟที่มีค่าไม่สูงนัก แรงดันไฟที่ส่งออกไปทางด้านเซ็คคั่นดารี่จึงมีค่าแรงดันไฟที่ขยับ ต่าลงมาจนเข้าสู่สภาวะปกติได้ในที่สุดแรงดันไฟทางออกเป็นปกติและแรงดันไฟที่ป้อนกลับไปยังขาที่ 6 ของ
IC701 จึงกลับเข้าสู่สภาวะปกติ คือ มีแรงดันไฟเท่ากับแรงดันไฟอ้างอิงเช่นเดียวกัน ระบบที่ทางานอย่างนี้ ย่อมจะทาให้แรงดันไฟทางออกสามารถที่จะรักษาให้มีการจ่ายแรงดันไฟออกมาคงที่ได้ ในสภาวะที่แรงดันไฟทางออกที่เป็นแรงดันไฟทางออก 115 V มีการรักษาระบบแรงดันไฟคงที่เอาไว้ ได้แล้วนั้น ถ้ามีการสารวจพัลส์ที่ขาคอลเลคเตอร์ของทรานซิสเตอร์ Q701 ได้แรงดันไฟประมาณ 440 Vp-p และถ้าหากว่าแรงดันไฟเกิดการเปลี่ยนแปลงพัลส์ขาคอลเล คเตอร์ของทรานซิสเตอร์ Q701 เกิดการ เปลี่ยนแปลงไปตามค่าดิวตี้ไซเกิ้ลของสัญญาณพัลส์วิธมอดด้วย
C709 R704
R702 R703 C718
D704
D702
D703
D701
R701
220 VAC
C712
D705
C713
D706
R706 R705
C711
T701(SRT) 7
6
C714
8
9
5 10 4
Q701
R727
3
R709 D708 R726
D717
C717 D709
C715
R710
R711 L705
R725
R708
D720
1 C730
D712
R713
R712
C720
C722 D714
C721
C724
L704
R717 C725
R714 9
10
11
8
7
6
12
13
14
15
16
3
2
1
IC 701 IX 1779 CE
R715
5
C727
R716
4 C728
C723 R718
R719
D715
R722
R721
12 13
D711
D713
C723
11
C718
R720
รูปที่ 2.33 รูปแบบโดยรวมของภาคจ่ายไฟที่มองจากชุดกราวด์ร้อน
14
รูปที่ 2.34 พัลส์ที่เกิดขึ้น 440 Vp-p ที่ขา C ของ Q701
วงจรป้องกัน ในกรณีโหลดเกิดการลัดวงจร ภาคจ่ายไฟของชาร์ปจะทางานได้อย่างไรโดยไม่ได้รับความเสียหาย พิจารณาไปที่รูปที่ 2.33 Q701 ขาอิมิตเตอร์ของ Q701 จะมี R720,R721 และ R722 ทางานร่วมกัน D715 ซึ่งเป็นไดแอคหน้าที่หลักคือ ขจัดสัญญาณรบกวนชั่วขณะ ในขณะที่โอห์มของรีซิสเตอร์ทั้งสามตัวนี้มีค่าโอห์ม ประมาณ 0.1 Ω ในภาวะปกติรีซิสเตอร์ที่เป็นโอเวอร์โหลดทั้งหมดมีแรงดันตกคร่อมไม่เกิน 0.15 V หากโหลดเกิด ลัดวงจรขึ้นย่อมจะต้องดึงกระแสจากทรานสฟอร์เมอร์ แน่นอนจะต้องบังคับให้ Q701 ทางานมากขึ้น กรณี อย่างนี้กระแสที่ไหลผ่าน R720,R722 จะมีค่ามากขึ้น ส่งผ่าน R719 ไปยังขา 3 วงจรป้องกันภายใน IC701 จะทาหน้าที่ตัดความถี่ออสซิลเลเตอร์ออกไป ทาให้ภาคจ่ายไฟสามารถหยุดได้เพราะไม่มีสัญญาณพัลส์ส่งออก ไปให้กับขาเบสของ Q701 ถึงแม้ว่า IC701 ยังคงผลิตความถี่ได้ ในกรณีที่แรงดันไฟเกิดสูงกว่าปกติ ขา 7 ของ IC701 ทาหน้าที่ในการสารวจแรงดันไฟ จะทาให้ภาค จ่ายไฟออกไปได้สูงสุดสาหรับชุด 115 V ได้ไม่เกิน 127 V เพราะหากว่าวงจรเออเรอร์แอมป์ ภายในไอซีเกิด ปัญหาใครจะเป็นตัวช่วย เพราะฉะนั้นขา 7 ของ IC701 จึงเป็นระบบดีซีคอนโทรลเลอร์ในการบังคับ ภาคจ่ายไฟไม่ให้จ่ายไฟสูงเกินจนกระทั่งแรงดันไฟทางออกเท่ากับ 300 V ขา 7 ของ IC701 จึงรับไฟมาจาก การสารวจแรงดันไฟ ในกรณีนี้จะสารวจแรงดันไฟมาจากวงจรเดียวกับวงจรเออเรอร์แอมป์โดยผ่าน R718 เข้าไป ในกรณีที่เกิดปัญหาโอเวอร์โวลเตจ ภาคจ่ายไฟจะตัดวงจรด้วยเช่นเดียวกัน ไม่ปล่อยให้แรงดันไฟขยับ สูงขึ้นจนกระทั่งถึง 127 V
รูปที่ 2.35 ภาคจ่ายไฟของแท่น H และแท่น 14B ในรูปแบบบล็อกไดอะแกรม
R711
220 VAC
8
7
6
5
4
I X 1 7 7 9 C E 9
10
11
12
13
14
15
2 3
16
13V
1
IC751
L702
Q701
1
4
3
6
Q702
5
10
11
12
116 V
+115V
+ 15 V
เทคนิคการตรวจซ่อม แนวการวิเคราะห์อาการเสียในภาคจ่ายไฟของแท่น J การที่จะตรวจสอบอาการเสียของภาคจ่ายไฟ จะต้องแยกระบบกราวด์ของภาคจ่ายไฟออกจากระบบ กราวด์ของแท่นเครื่องเสียก่อน จากรูป 2.33 คือในส่วนของกราวด์ของภาคจ่ายไฟให้เปรียบเทียบกับขั้วลบ ของคาปาซิ สเตอร์แรงดันไฟ 300 V หรือขั้วลบของ C709 หรือ วัดไฟลบที่ขา 4 ของสวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์ T701 ในกรณีที่ตรวจสอบแรงดันไฟทางออกของภาคจ่ายไฟ ต้องวัดเทียบกับกราวด์แท่นเครื่อง ในส่วนของภาคจ่ายไฟ หากภาคจ่ายไฟสามารถที่จะจ่ายแรงดันไฟออกไปได้ จะมีผลทาให้ LED ที่อยู่ ที่หน้าปัดเครื่อง ซึ่งเป็น LED D1023 จะต้องติดโชว์แสดงขึ้นมา เพื่อให้เจ้าของเครื่องรู้ว่าระบบการทางาน ของเครื่องเป็นไปตามปกติ ทุกส่วนของภาคจ่ายไฟเมื่อภาคจ่ายไฟทางา นจอจะสว่างหรือไม่เป็นอีกขั้นตอนหนึง่ 1. กรณีไฟไม่จ่าย ในกรณีที่แรงดันไฟไม่สามารถจ่ายออกไปได้ ในการดาเนินการตรวจซ่อมดังแนวทาง ตัวอย่างต่อไปนี้ 1.1 วัดแรงดันไฟ 300 V ที่ตกคร่อม C709 ว่ามีแรงดันไฟตกคร่อม 300 V วงจรเร็กติฟายเออร์ไม่ สามารถทางานได้ ให้ตรวจสอบ R กันกระโชก ซึ่งเป็น R701,R702 ฟิวส์ F701 1.2 หลักการเบื้องต้นของระบบสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายว่าภาคจ่ายไฟแบบนี้แม้ว่าโหลดจะเกิดการ ลัดวงจร จะไม่ทาให้รีซิสเตอร์กันกระโชกหรือฟิวส์เกิดปัญหาเพราะวงจรจะต้องหยุดตัวเองให้ได้ เมื่อเกิด ปัญหาดังกล่าว อุปกรณ์ที่ทาให้ฟิวส์และรีซิสเตอร์กันกระโชกขาด คือ วงจรเร็กติฟายและวงจรสวิตชิ่ง ทางด้านที่เป็นกราวด์ร้อนเท่านั้น อุปกรณ์ที่ทาให้ฟิวส์มีปัญหาคือไดโอดเร็กติฟายเออร์คือ D701,D702,D703 หรือ D704 เทอร์มิสเตอร์ TR701 วิธีการแยกตัวเสียในสองส่วนนี้ทาได้โดยการปลดดีเก๊าซิ่งคอยออก จ่ายไฟ เข้าสู่เครื่องอีกครั้ง
220V AC
D702
D704
D701
D703 R709
R702
C707
R735
L712 +300V
C703
C729
C709
R736
รูปที่ 2.36 ฟูลเวฟ/ฮาล์ฟเวฟ เร็กติฟายที่ใช้ไดโอดร่วมกัน
10.8V
ถ้าฟิวส์ยังมีปัญหาอยู่นั่นหมายความว่า ไดโอดเร็กติฟายเออร์มีปัญหา ถ้าถอดดีเก๊าซิ่งคอยออกแล้ว ปรากฏว่าฟิวส์เป็นปกติ นั่นหมายความว่า ความบกพร่องนี้เกิดจาก TR701 ในกรณีที่รีซิสเตอร์กันกระโชก เกิดการขาด สิ่งที่น่าสนใจก็คือไดโอดเร็กติฟาย D701–D704 และคาปาซิเตอร์ C709 นอกเหนือไปจากนี้ ได้แก่ สวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์ T701 และทรานซิสเตอร์ เอาต์พุต Q701 1. ในกรณีที่สารวจพบว่า Q701 ลัดวงจรเสียเอง ทาให้ฟิวส์หรือรีซิสเตอร์เกิดการขาดวงจร การที่ Q701 เกิดการลัดวงจรอาจเป็นเพราะอายุการใช้งาน Q701 หรือเกิดจากสวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์เกิดการ ลัดวงจร ในกรณีเช่นนี้ ถ้า Q701 เกิดการลัดวงจร เมื่อใส่เรกูเ ลเตอร์เอาต์พุตตัวใหม่เข้าไป ย่อมจะทาให้ ทรานซิสเตอร์เกิดความเสียหายได้ไม่ว่าจะใส่กี่ครั้งกี่ตัวก็ตาม เมื่อสารวจพบว่า Q701 เกิดการลัดวงจร ให้ ถอดทรานซิสเตอร์ตัวเก่าออกและยังไม่ต้องใส่ตัวใหม่เข้าไปจ่ายไฟเข้าสู่แท่นเครื่อง วัดแรงดันไฟที่ส่งออกจาก IC701 ขาที่ 14 มีแรงดันไฟไม่เกิน 1. 3 V หากมีแรงดันไฟสูงกว่าที่ว่าไว้นั้น แสดงว่า IC701 เป็นตัวที่ทาให้ เกิดปัญหากับ Q701 แต่ถ้าหากแรงดันไฟที่ออกจากไอซีเป็นปกติ ให้ปิดเครื่องใส่ทรานซิสเตอร์ตัวใหม่เข้าไป แล้วทาการลัดวงจรทางด้านไฟออกชุด 115 V เข้ากับแท่นเครื่องหรือกราวด์เย็นก่อนที่จะเปิดเครื่อง เมื่อเปิด เครื่องขึ้นมาหากฟิวส์ยังอยู่ในสภาพปกติ แสดงว่าสวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์ไม่มีจุดบกพร่อง ถ้าเปิดเครื่องขึ้น มาแล้วฟิวส์ขาดอีกนั่นหมายความว่าปัญหาที่ Q701 เสียเกิดจากทรานสฟอร์เมอร์ T701 เป็นต้นเหตุ 2. หากแรงดันไฟ 300 V มีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้ปิดเครื่องแล้วทาการสารวจว่าโหลดของภาค จ่ายไฟมีปัญหาอยู่หรือไม่ ถ้าโหลดของภาคจ่ายไฟเกิดลัดวงจร ภาคจ่ายไฟดังกล่าวนี้จะต้องหยุดการทางาน จากรูป 2.30 ดังนั้นให้ตัดไฟออกจากแท่นเครื่องเสียก่อน แล้วใช้มิเตอร์ตั้งย่านโอห์ม วัดคร่อมไปที่ไดโอด เร็กติฟายไฟทางออกของชุดต่าง ๆ คือ ให้วัดความต้านทาน D603,D302,D613 และ D614 วัดโดยการสลับ สายวัดเพื่อสารวจว่าโหลดของวงจรชุดไหนมีปัญหา ถ้าโหลดของชุดต่าง ๆ เป็นปกติ จะตั้งสเกล Rx1 ขึ้นครั้ง ไม่ขึ้นครั้ง เมื่อสลับสายมิเตอร์ ถ้าวัดแล้วปรากฏว่าเข็มมิเตอร์ขึ้นทั้งสองครั้งหมายความว่า โหลดของวงจร ชุดนั้นมีปัญหา ทาให้วงจรภาคจ่ายไฟไม่สามารถที่จะจ่ายไฟออกไปได้ 3. หากสารวจแล้วโหลดภาคจ่ายไฟไม่มีปัญหา ให้ตั้งมิเตอร์วัดแรงดันไฟ 300 V ที่ขาคอลเลคเตอร์ ของ Q701 เทียบกับขา 4 ของสวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์ว่ามีไฟ 300 V ที่ขาคอลเลคเตอร์ของ Q701 หรือไม่ หากไม่มีตัวที่เป็นปัญหาก็คือ D706 เกิดการขาดวงจรหรือตะกั่วที่บัดกรีหลุด หรือสวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์มี ปัญหา 4. วัดแรงดันไฟสตาร์ ตวงจรให้กับขา 16 ของ IC701 เทียบกับขา 4 ของสวิตชิ่ง T701 ต้องมี แรงดันไฟตั้งแต่ 10.8 V ถ้าแรงดันไฟดังกล่าวไม่มี อุปกรณ์ที่จะเกิดปัญหา ได้แก่ L704,D713,D711,R726 และ R727 เป็นต้น 5. สารวจแรงดันไฟสาหรับขับเอาต์พุต โดยการวัดไฟที่ขา 15 ของ IC701 ต้องมีแรงดันไฟตั้งแต่ 10.8 V เช่นเดียวกับขาที่ 16 หากแรงดันไฟดังกล่าวนี้ไม่มี ตัวที่เป็นปัญหา ได้แก่ R712 6. สารวจแรงดันไฟที่ขา 14 ของ IC701 มีแรงดันไฟอยู่ประมาณ 1 V หากแรงดันไฟที่ขา 14 ไม่มีเลย อาจเป็นเพราะว่าวงจรโปรเท็คชั่นกาลังทางานอยู่ ให้ไปสารวจรีซิสเตอร์โอเวอร์โหลดโปรเท็คชั่น คือ R720,R721,R722 และไดแอค D715 ว่าค่าของความต้านทานและเบอร์ของไดแอคดังกล่าวยังเป็นปกติหรือไม่ 7. สารวจความถี่จากหน่วยออสซิลเลเตอร์ด้วยมัลติมิเตอร์หรือออสซิลโลสโคป ที่ขา 10 ของ IC701 ว่ายังผลิตความถี่ได้อย่างต่อเนื่องอยู่หรือไม่
2. แรงดันไฟจ่ายเกินปกติ จากรูป 2.33 ในกรณีที่มีปัญหาเรื่องแรงดันไฟจ่ายเกินปกติ วงจรที่รับผิดชอบ ได้แก่หน่วยเออเรอร์แอมป์ วงจรดีซีคอนโทรล ซึ่งหน่วยเออเรอร์แอมป์และดีซีคอนโทรลจะรับแรงดันไฟ มาจากขา 6 ของ IC701 ส่งผ่านไดโอด D708 และ D725 ฟิลเตอร์ด้วย C722 ซึ่งเป็นวงจรดีซีคอนโทรล เพราะฉะนั้นในกรณีที่แรงดันไฟที่เกิดการจ่ายไฟสูงกว่าปกติ ให้สารวจ R725,R713 และ C722 เพราะหาก รีซิสเตอร์ทั้งสองตัวเกิดการขาดหรือยืดค่าย่อมจะเกิดปัญหาไฟจ่ายสูง ถ้า C722 เกิดรั่วหรือช็อตก็จะทาให้ ไฟจ่ายสูงเช่นเดียวกัน สุดท้ายคือ D708 ซึ่งเป็นไดโอดความถี่สูง ถ้าไม่สามารถทางานกับความถี่สูงได้ ภาคจ่ายไฟก็จะจ่ายแรงดันไฟสูงกว่าปกติ 3. แรงดันไฟจ่ายต่ากว่าปกติ แรงดันไฟทางออกจ่ายต่ากว่าปกติและให้ปรับ R714 และยังปรากฏว่ายัง ไม่เป็นผลให้สารวจแรงดันไฟที่ขา 16 ของ IC701 ถึง 12 V หรือไม่ ถ้าแรงดันไฟที่ขา 16 มีแรงดันไฟต่า นั่นแสดงว่า D709,R710 หรือ D711 ขาดวงจร ZD712 เกิดการรั่วไหล แต่ถ้าแรงดันไฟที่ขา 16 มีแรงดันไฟ ตั้งแต่ 10.8 V ขึ้นไป ถือว่าแรงดันไฟดังกล่าวนี้ปกติแล้วตัวที่ทาให้เกิดปัญหาไฟจ่ายต่า ได้แก่ R714 ยืดค่า R715,R716 ยืดค่าหรือขาดวงจร ภาคจ่ายไฟของแท่น H และแท่น 14B ในโทรทัศน์สีชาร์ปกู๊ดมอร์นิ่งรุ่นแรก ๆ เป็นรุ่นที่ผลิตในประเทศมาเลเซียใช้เป็นแท่น 14B ในปัจจุบัน มีการนาเอาวิธีการของภาคจ่ายไฟของแท่น 14 B มาอยู่ในแท่น H ไม่ว่าจะเป็นแท่น J แท่น H หรือแท่น 14B ไอซีที่ทาหน้าที่เป็นหน่วยพัลส์วิธมอดออสซิลเลเตอร์ก็คือ เบอร์ IX1779CE หรือ TEA2261 เหมือนเดิม เพียงแต่เปลี่ยนนัมเบอร์ของ IC701 มาเป็น IC751 ความแตกต่างของแท่น J กับแท่น H มีส่วนแตกต่างกัน ในส่วนของวงจรซอฟต์สตาร์ตระบบการจ่ายไฟของแท่นเครื่องชุดนี้เริ่มตั้งแต่การนาเอาไฟ 220 VAC เข้าสู่วงจร กาจัดสัญญาณรบกวนที่เรียกว่า ไลน์ฟิลเตอร์ L702 ก่อนทาการเร็กติฟายเออร์ออกมาเป็นแรงดันไฟ 300 V ส่งให้กับเพาเวอร์เรกูเลเตอร์ ซึ่งทางานด้วย Q701 อีกทางหนึ่งนาเอาแรงดันไฟจากชุดเร็กติฟายเออร์ ลดแรงดันไฟลงมาเป็นแรงดันไฟสตาร์ ตวงจร เพื่อจ่ายให้กับ IC751 ขา15 และขา 16 เพื่อเป็นการสตาร์ ต วงจรให้กับ IC751 ทาการผลิตความถี่ เพื่อให้หน่วยออสซิลเลเตอร์ทางาน IC751 ส่งสัญญาณที่เป็นพัลส์ออก ทางขาที่ 14 ไปบังคับ Q701 ทาหน้าที่เป็นสวิตช์ ทาให้สนามแม่เหล็กของสวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์เกิดการ เหนี่ยวนาออกไปทางขดลวดทางเซ็คคันดารี่มี Q702 มาทาหน้าที่ซอฟต์สตาร์ ต เพื่อให้การเริ่มต้นนิ่มนวล แรงดันไฟ 300 V ส่งเข้าที่ขา 6 ของสวิตชิ่งทรานสฟอร์เมอร์ส่งออกขาที่ 1 มารอที่ขาคอลเลคเตอร์ของ Q701 อีกส่วนหนึ่งเป็นแรงดันไฟ 10.8 V ส่งผ่าน L712 จ่ายเข้าไปยังขา 16 ซึ่งเป็นขาจ่ายไฟเลี้ยงวงจร และส่งผ่าน R704 ไปขาที่ 15 ของ IC751 ซึ่งเป็นขาจ่ายไฟให้กับไดร์เวอร์เอาต์พุต เมื่อจ่ายไฟให้ IC751 ทาให้วงจรออสซิลเลเตอร์ ซึ่งประกอบด้วย R706,C711 เกิดการผลิตความถี่ขึ้นมาส่งความถี่ดังกล่าวนี้เข้าสู่ หน่วยพัลส์วิธมอด ก่อนที่จะขับผ่านระบบไดร์เวอร์ส่งออกทางขาที่ 14 ของ IC751 ส่งผ่านระบบปรับแต่ง สัญญาณทางด้านขาเบสของ Q701 เมื่อความถี่ที่เป็นสัญญาณพัลส์ส่งมาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว Q701 จะทา หน้าที่เป็นหน่วยสวิตชิ่ง นาเอากระแสส่งผ่าน T701 ทาให้ T701 มีสนามแม่เหล็กยุบตัวและพองตัวเกิด แรงดันไฟชุดต่าง ๆ เพื่อจ่ายแรงดันไฟไปใช้งาน ฉะนั้นแรงดันไฟขาที่ 5 จะส่งผ่านไดโอด D705,R705 และ ฟิลเตอร์ด้วย C729 เป็นแรงดันไฟประมาณ 13 V ส่งไปขา 16 และ 15 ของ IC751 ทดแทนแรงดันไฟสตาร์ ต 10.8 V ทาให้ IC751 เข้าสู่การขับกระแสที่สมบูรณ์แบบ วิธีการนี้เรียกว่า วิธีการสตาร์ ตอย่างนิ่มนวล หรือ ซอฟต์สตาร์ต (Soft Start)
C724
R723 220 VAC
D702
D704
D701
D703
R720
6 C707
C717
R708
D707
C713
T701
D709 8
1 R709 D705
R705
5
C710
1
L712
2
16 R704
3
5
13
12
IC751 IX1779CE
15 11
10
7 L715
D708
R716
C720
14 8
9
Q701
4
R717 C729
C709
R706
C711
C712
C715 D710
R718/R721
รูปที่ 2.37 การใช้ Q701 ทาหน้าที่สตาร์ตวงจรของภาคจ่ายไฟในแท่น H มัลติมิเตอร์และออสซิลโลสโคป มัลติมิเตอร์แบบเข็ม มัลติมิเตอร์ (Multimeters) คือ เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่สามารถวัดปริมาณไฟฟ้าได้หลาย รูปแบบ แต่วัดได้ทีละปริมาณ โดยสามารถตั้งเป็นโวลต์มิเตอร์ แอมป์มิเตอร์ หรือโอห์มมิเตอร์ และสามารถ เลือก ไฟฟ้ากระแสตรง (DC) หรือไฟฟ้ากระแสสลับ ( AC) ได้ มัลติมิเตอร์บางชนิดมีคุณสมบัติการวัดเพิ่มเติม เช่น วัดค่าความจุ วัดความถี่และทดสอบทรานซิสเตอร์ เป็นต้น การแสดงผลของมัลติมิเตอร์แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) กับมัลติมิเตอร์แบบตัวเลข( Digital Multimeters) เพื่อให้เหมาะสมกับการทดลองซึ่งมัลติมิเตอร์แต่ละเครื่องจะมีรายละเอียดปลีกย่อยและข้อควรระมัดระวังใน การใช้งานแตกต่างกันไป โดยทั่วไปแล้วมัลติมิเตอร์จะสามารถใช้วัดปริมาณต่อไปนี้ - ความต่างศักย์กระแสตรง (DC Voltage) - ความต่างศักย์กระแสสลับ (AC Voltage) - ปริมาณกระแสตรง (DC Current) - ความต้านทานไฟฟ้า (Electrical Resistance) มัลติมิเตอร์บางแบบสามารถใช้วัดปริมาณอื่น ๆ ได้ เช่น กาลังออกของสัญญาณความถี่เสียง A( F Output) การขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์ DC ( Current Amplification,hFE) กระแสรั่วของทรานซิสเตอร์ (Leakage Current, lCEO) ความจุทางไฟฟ้า Capacitance) ( ฯลฯ
รูปที่ 2.38 มัลติมิเตอร์แบบเข็ม มัลติมิเตอร์แบบตัวเลข มัลติมิเตอร์แบบตัวเลข สามารถวัดปริมาณทางไฟฟ้าได้หลายประเภทเช่นเดียวกับมัลติมิเตอร์แบบเข็ม นอกจากนี้ยังสามารถวัดปริมาณกระแสสลับ วัดการขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์ วัดความจุไฟฟ้าและ ตรวจสอบไดโอดได้ ส่วนประกอบที่สาคัญของมัลติมิเตอร์แบบตัวเลข 1. จอแสดงผล (Display) 2. สวิตช์เปิด-ปิด (ON-OFF) 3. สวิตช์เลือกปริมาณที่จะวัดและช่วงการวัด (Range Selector Switch) 4. ช่องเสียบสายวัดร่วม : (COM) ใช้เป็นช่องเสียบร่วมสาหรับการวัดทั้งหมด (ยกเว้นการวัด CX และ hFE ไม่ต้องใช้สายวัด) 5. ช่องเสียบสายวัด mA สาหรับวัด DCA และ ACA ที่มีขนาด 0-200 mA 6. ช่องเสียบสายวัด 10A สาหรับวัด DCA และ ACA ที่มีขนาด 200 mA ถึง 10A 7. ช่องเสียบสาหรับวัดการขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์ 8. ช่องเสียงสาหรับวัดความจุไฟฟ้า 9. ช่องเสียบสายวัด Voltage นอกจากนี้บนแผงหน้าของมัลติมิเตอร์แบบตัวเลขยังมีสัญลักษณ์เพื่อความปลอดภัย ( Safety Symbols) กากับไว้ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สากลสาหรับเตือนผู้ใช้ให้มีความระมัดระวังในการใช้เครื่องมือ เพื่อความปลอดภัยแก่ ผู้ใช้เองและให้เครื่องมืออยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งานได้เสมอ สัญลักษณ์ที่กล่าวนี้ได้แก่
!
หมายถึง ให้ดูคาอธิบายในคู่มือ หมายถึง ความต่างศักย์ไฟฟ้าสูง
รูปที่ 2.39 มัลติมิเตอร์แบบตัวเลข ออสซิลโลสโคป ออสซิลโลสโคปหรือบางครั้งเรียกสั้นๆ ว่าสโคป (Scope ) ที่ใช้งานอยู่ทั่วไป ออสซิลโลสโคปจะใช้แสดง รูปคลื่นสัญญาณหรือช่วงห่างของสัญญาณโดยรูปคลื่นสัญญาณที่ได้อาจเป็นแบบไซน์แบบสี่เหลี่ยม แบบสามเหลี่ยมหรือแบบฟันเลื่อยเป็นต้น สาหรับความแตกต่างของรูปคลื่นสัญญาณจะขึ้นอยู่กับการวัดที่จุด ใด ๆ ภายในวงจร จากนั้นรูปคลื่นสัญญาณที่ได้จะไปปรากฏที่หลอดคาโทด( Cathoe–Ray Tube,CRT ) ซึ่งมี ลักษณะเป็นจอแสดงผลเช่นเดียวกับจอของเครื่องรับโทรทัศน์และจอของเครื่องคอมพิวเตอร์จากรูป คลื่นสัญญาณที่ปรากฏบนจอ CRT นี้ ทาให้สามารถวัดหรือคานวณหาคาบเวลา ความถี่และคุณลักษณะของ แอมปลิจูดเช่น ค่า rms, ค่าเฉลี่ย, ค่า peak to peak เป็นต้น
รูปที่ 2.40 ออสซิลโลสโคป