ใบความรู้หน่วยที่ 3 ชื่อรายวิชา หน่วยที่ 3
เครื่องรับโทรทัศน์ การทางานภาคฮอริซอนตอล
แนวคิด เมื่อภาคจ่ายไฟทางานได้แล้ว วงจรต่อไปต้องทางาน ให้อุปกรณ์เครื่องรับโทรทัศน์พร้อมที่จะทางานต่อไป
สอนครั้งที่ 7 – 8 จานวน 12 ชั่วโมง คือ ฮอริซอน ทอล ทาหน้าที่จ่ายไฟให้วงจรอื่น ๆ
สาระการเรียนรู้ ฮอริซอนทอลทางานเริ่มต้นด้วยแรงดันไฟสตาร์ตฮอร์ 6-12 V ที่มาจากภาคจ่ายไฟ เพื่อจ่ายไฟให้ระบบ ฮอร์ออสซิเลเตอร์ทางาน ผลิตความถี่ 15,625 Hz ในระบบ PAL ส่งสัญญาณไปขับฮอร์ไดร์เวอร์ แล้วส่ง สัญญาณต่อไปขับฮอร์เอาต์พุตให้ทางาน โดยมีโหลดของฮอร์เอาต์พุตอีก 2 ตัว คือ FBT และ H-YOKE ในการสแกนของลาอิเล็กตรอนเป็นระบบของการสร้างเฟรมภาพ ในเฟรมภาพที่เกิดขึ้นประกอบด้วย เส้นภาพทั้งหมด 625 เส้น ในระบบ CCIR หรือ 525 เส้น ในระบบ FCC การบังคับการสแกนทางแนวนอน เรียกว่า ภาคฮอริซอนทอล (Horizontal) คือเส้นสแกนฮอริซอนทอลไลน์ (Horizontal Line) เส้นนี้จะมองเห็น เรียกว่า แรสเตอร์( Raster) คือ เส้นที่เรียงจากขอบบนของภาพมาถึงด้านล่างของจอภาพ ในการบังคับการ สแกนทางแนวนอน มีจุดประสงค์ต้องทาให้เกิดสัญญาณกระแสรูปซอร์ทูธ (Saw Tooth) ความถี่ 15,625 Hz ไปปรากฏที่ ฮอโย้ค (H–Yoke) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อนักเรียน เรียนจบแล้วสามารถ 1. อธิบายการทางานฮอริซอนทอลระบบเคาท์ดาวน์ได้ถูกต้อง 2. อธิบายการทางานไอซี TDA8361 ได้ถูกต้อง 3. อธิบายการทางานฮอริซอนทอลแท่น H ได้ถูกต้อง 4. อธิบายการทางานฮอริซอนทอลแท่น J ได้ถูกต้อง 5. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครูสามารถสังเกตเห็นได้ ในด้านความมีมนุษยสัมพันธ์ ความมีวินัยความรับผิดชอบความเชื่อมั่นในตนเองความสนใจใฝ่รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที
วงจรเครื่องรับโทรทัศน์ได้พัฒนาขึ้นมาถึงจุดหนึ่ง จึงมีการค้นพบว่าการที่เอาสัญญาณซิงโครไนซ์ที่มา จากสถานีส่งเข้าสู่ระบบผลิตความถี่หรือระบบออสซิลเลเตอร์ ย่อมจะทาให้เกิดปัญหาสัญญาณรบกวนเกิดขึ้น จากระบบนี้ประการต่อมา หากสัญญาณที่เข้ามามีความแรงไม่เพียงพอย่อมจะทาให้สัญญาณซิงโครไนเซชั่น มีการหล่นหาย ระบบการทางานของฮอริซอน ทอลเราพบว่ามิใช่เพียงแต่จะเอาความถี่ฮอริซอน ทอลไปบังคับ ดีเฟล็คชั่นโย้คเท่านั้น ความถี่ของฮอริซอนทอลยังออกไปยังหม้อแปลงไฟสูง หรือ ฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์ ระบบการทางานที่ประกอบด้วยขดลวดจะสามารถกาเนิดสัญญาณรบกวนเพิ่มขึ้นและเป็นปัญหากับอุปกรณ์ทา ให้เกิด RFI และ EMI ดังนั้นเทคนิควิธีการของโทรทัศน์รุ่นใหม่ที่คิดค้นด้วยวิศวกรชาวเยอรมัน จึงไม่ประสงค์ที่จะเอา สัญญาณซิงโครไนซ์จากเครื่องส่งมาใช้งานได้โดยตรง แต่วงจรจะผลิตสัญญาณซิงโครไนซ์ขึ้นมาเอง โดยวงจร ที่ทาหน้าที่ผลิตสัญญาณซิงโครไนซ์จะมีการควบคุมเฟสหรือนาเอาสัญญาณซิงโครไนซ์ที่มาจากสถานีส่งมาช่วย ในการบังคับเฟสให้เครื่องส่งกับเครื่องรับมีความถี่เริ่มต้นและสิ้นสุดตรงกันเท่านั้น ระบบซิงค์ วงจรควบคุม ระบบสี
เพาเวอร์รีเซ็ต
คริ สตอล ออสซิลเลเตอร์ 3.58 MHz หรื อ 4.43 MHz
จูนนิ่ง
ควบคุมเฟส ฮอริ ซอนทอล
หารความถี่ ฮอริ ซอนทอล
ควบคุมสี ภาคสี
ตรวจสอบ เฟสความถี่
รูปที่ 3.1 ฮอริซอนทอลระบบเคาท์ดาวน์
วงจรขับ ฮอริ ซอนทอล
ความถี่ 15,625 Hz
ฮอริซอนทอลระบบเคาท์ดาวน์ ระบบการควบคุมการสแกนเส้นภาพแบบเคาท์ดาวน์( Countdown) ย่อ มาจากคาว่า ฟรีเควนซี่ เคาท์ดาวน์ ( Frequency Countdown) หมายถึง วงจร ที่ทาหน้าที่ในการหารความถี่ให้เป็นความถี่ต่าลง โดยระบบวงจรหารความถี่ดังกล่าวนี้มีพื้นฐานมาจากระบบของเครื่องส่ง พบว่าในวงจรของเครื่องส่งโทรทัศน์ จะมีการผลิตความถี่เท่ากับซับแคร์เรียของสี คือ ผลิตความถี่ 3.58 MHz ในระบบ NTSC และ ผลิตความถี่ 4.43 MHz ในระบบ PAL ความถี่ที่ผลิตขึ้นจะเป็น 3.58 MHz หรือ 4.43 MHz เป็นความถี่หลักที่ใช้หาร ความถี่ลงมาให้เป็นความถี่ 2 เท่า ของฮอริซอนทอล ซึ่งเรียกว่า อีควอไลเซอร์พัลส์ และหารความถี่ให้ต่าลง มาครึ่งหนึ่งเป็นความถี่ฮอริซอนทอล ถ้าความถี่ที่ส่งมาเป็นระบบ PAL ความถี่ฮอริซอนทอลจะเท่ากับ 15,625 Hz ยังมีการหารความถี่ให้ต่าลงมาเหลือเพียง 50 Hz สาหรับเวอร์ติคอล และสุดท้ายเอาความถี่เวอร์ติคอล หารลงมาอีกครึ่งหนึ่งเป็นความถี่ 25 Hz เรียกว่า ความถี่เฟรมซิงค์ เอาความถี่ 25 Hz ส่งกลับไปเทียบเฟส ให้กับวงจรผลิตความถี่ 4.43 MHz เรียกว่า เฟสล็อกลูพ (Phase Lock Loop) หรือ PLL เครื่องรับโทรทัศน์จึง ได้หันไปศึกษาวิธีการของวงจรเคาท์ดาวน์ ดังปรากฏตามบล็อกไดอะแกรมในรูปที่ 3.1 เพื่อประยุกต์ใช้กับ วงจรฮอริซอนทอลและเวอร์ติคอล ระบบดังกล่าวเริ่มตั้งแต่หน่วออสซิลเลเตอร์ทาการผลิตความถี่ 3.58 MHz หรือ 4.43 MHz ขึ้นมาเป็นครั้งแรก โดยการที่จะทาให้วงจรดังกล่าวนี้ผลิตความถี่ 3.58 MHz หรือ 4.43 MHz ขึ้นอยู่กับระบบสีของโทรทัศน์เครื่องนั้นจะเป็นระบบ NTSC หรือ ระบบ PAL ในส่วนของเครื่องรับโทรทัศน์ ที่ใช้งานในเมืองไทยจะเป็นระบบ PAL วงจรผลิตความถี่หรือหน่วยออสซิลเลเตอร์จะผลิตความถี่ 4.43 MHz ความถี่ 4.43 MHz เอาไปใช้ในวงจรที่เป็นระบบสีทางหนึ่ง อีกทางหนึ่งเมื่อได้ความถี่ 4.43 MHz ส่งความถี่ ดังกล่าวเข้าสู่วงจรผลิตความถี่ระบบจูนนิ่ง ทาการดักความถี่ตามระบบที่ต้องการ วงจรฮอริซอนทอล ซึ่งประกอบด้วยขดลวดไฟสูงจะเกิดผลของสัญญาณรบกวนอย่างต่อเนื่องและจะทาให้อุปกรณ์อย่างเช่น ฮอริซอนทอลเอาต์พุตเกิดความเสียหายในเวลาอันรวดเร็วหรือใช้งานไม่ทนทาน เมื่อผ่านจากวงจรจูนนิ่งของฮอริซอน ทอลมาแล้ว ต้องนาเอาความถี่ 4.43 MHz เข้าวงจรหารความถี่ เพื่อหารความถี่ออกมา 15,625 Hz ความถี่ที่เกิดขึ้นถือว่าเป็นความถี่ฮอริซอน ทอล แต่ความถี่ฮอริซอน ทอล ที่เกิดขึ้นจะมีคาบเวลาตรงกับเครื่องส่งหรือไม่ จะต้องมีการนาเอาความถี่ที่ได้มานั้นส่งไปยังวงจรควบคุมเฟส เปรียบเทียบกับสัญญาณซิงโครไนซ์ที่มาจากเครื่องส่ง ถ้าหากระบบของเฟสมีปัญหาจะบังคับกลับมายังหน่วย ออสซิลเลเตอร์ซึ่งเป็นหน่วยหารความถี่ฮอริซอนทอลต่อไป สุดท้ายความถี่ 15,625 Hz ที่ได้ส่งไปยังวงจรขับ เพื่อส่งต่อไปยังวงจรฮอริ ซอนทอลไดร์เวอร์ และ ฮอริซอนทอลเอาต์พุตต่อไป บล็อกไดอะแกรมทั่วไปในโทรทัศน์สีเป็นระบบฮอริซอนทอลฟรีเควนซี่เคาท์ดาวน์ การทางานของไอซี TDA8361 จากรูปที่ 3.2 เป็นการแสดงถึงบล็อกไดอะแกรมภายในของไอซี TDA8361 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ ฮอริซอนทอล ซึ่งไอซีดังกล่าวนี้จะเป็นไอซีที่ทาหน้าที่เป็นวงจรฟรีเควนซี่เคา ท์ดาวน์ ทาหน้าที่เป็นตัวกาเนิด ความถี่ฮอริซอนทอลและเวอร์ติคอล โดยระบบของการหารความถี่ให้ต่าลงมา ในส่วนของไอซี TDA8361 ซึ่งใช้อยู่ในแท่นเครื่อง J ของทีวีสียี่ห้อชาร์ป ประกอบด้วยวงจรของระบบ จ่ายไฟในการนาเอาแรงดันไฟส่งให้กับขาที่ 36 ของไอซีตัวนี้ แรงดันไฟดังกล่าวนอกจากจ่ายให้กับวงจรต่าง ๆ แล้วยังจ่ายให้จุดสาคัญอีก 3 จุด จุดแรกคือจ่ายให้กับวงจรเพาเวอร์รีเซ็ต เพื่อทาหน้าที่ในการบังคับการ ทางานของวงจรผลิตความถี่ให้ผลิตความถี่ ตั้งแต่ความแรงน้อย ๆ ไปหาความแรงมาก หรือเรียกว่าระบบ สตาร์ตอย่างนิ่มนวล ส่วนที่ 2 ของแรงดันไฟ ส่งให้กับวงจรเปรียบเทียบเฟสของสัญญาณในระบบซิงโครไนซ์
กับวงจรผลิตความถี่ฮอริซอนทอล และส่วนที่ 3 ส่งให้กับวงจรเปรียบเทียบเฟสชุดที่ 2 ซึ่งทาหน้าที่เป็นตัวส่ง ความถี่ฮอริซอนทอลไปใช้งาน วงจรผลิตความถี่ ซึ่งเป็นหน่วยออสซิลเลเตอร์จะเริ่มต้นผลิตความถี่ ระบบของการผลิตความถี่สามารถ เลือกได้โดยการควบคุมของคาสั่งที่มาจากไอซีไมโครคอมพิวเตอร์หรือไมโครโปรเซสเซอร์ ให้วงจรผลิตความถี่ เลือกความถี่ว่าจะผลิตความถี่ 4.43 MHz หรือ 3.58 MHz ย่อมขึ้นอยู่กับว่าระบบสีที่ใช้งานนั้นเป็ นระบบ PAL หรือระบบ NTSC เมื่อวงจรออสซิลเลเตอร์ทาการผลิตความถี่โดยคริสตอลที่ขา 34 และ ขา 35 ได้แล้ว ส่งเข้าสู่วงจร จูนความถี่ เพื่อกาจัดสัญญาณที่เรียกว่า ริงกิ้ง (Ringing) แล้วจึงส่งเข้าสู่วงจรหารความถี่ เพื่อหารความถี่ 4.43 MHz หรือความถี่ 3.58 MHz ให้ต่าลงมาเป็นความถี่เท่ากับความถี่ฮอริซอล ทอล 15,625 Hz หรือ 15,750 Hz ในกรณีของเครื่องที่ใช้ในประเทศไทย โดยปกติแล้วจะใช้ความถี่ในระบบ CCIR คือ หารจาก ความถี่ 4.43 MHz ให้เป็นความถี่ 15,625 Hz ความถี่ 15,625 Hz เป็นความถี่ฮอริซอน ทอล ตามบล็อกไดอะแกรมที่เขียนว่า ไลน์ออสซิลเลเตอร์ (Line Oscillator) ถูกส่งออกไป 3 ที่ ใหญ่ๆ ที่แรก คือ ส่งไปวงจรเปรียบเทียบเฟส ( Phase1) เพื่อทาหน้าที่ เปรียบเทียบกับสัญญาณซิงโครไนซ์ที่มาจากสถานีส่ง ส่วนที่ 2 ส่งไปยังวงจรคอยล์ ไซเดนซ์ (Coincidence) เพื่อทาหน้าที่เป็นวงจรสร้างคาบเวลาอ้างอิง สาหรับสัญญาณแซนด์คลาสเติลพัลส์ ซึ่งเป็นระบบที่จะต้องใช้ใน การแคลมป์สัญญาณภาพ ส่วนสุดท้ายความถี่ฮอริซอนทอล 15,625 Hz ส่งไปยังวงจรปรับเลื่อนเฟส ซึ่งเป็น ส่วนสุดท้ายก่อนส่งออกไปใช้งานทางขาที่ 37 ของไอซี บล็อกไดอะแกรมตามรูปที่ 3.2 จึงมีวงจรเปรียบเทียบเฟสอยู่ 2 วงจร วงจรเฟสชุดที่ 1 ทาหน้าที่เป็น ตัวเปรียบเทียบเฟสของความถี่ 15,625 Hz กับสัญญาณฮอริซอนทอลซิงค์ มาจากเครื่องส่งสัญญาณโทรทัศน์ สัญญาณภาพจากเครื่องรับโทรทัศน์จะถูกส่งเข้าทางขาที่ 13 ส่งเข้าสู่วงจร เพื่อแยกสัญญาณลูมิแนนซ์และ โครมิแนนซ์ ก่อนส่งเข้าสู่วงจรแยกความถี่เวอร์ติคอลและฮอริซอนทอล นาความถี่ฮอริซอน ทอลซิงค์ส่งเข้าไป ยังวงจรเฟสชุดที่ 1 และนาความถี่ซึ่งเป็นความถี่อ้างอิงแซนด์คลาสเติลพัลส์ ส่งเข้าไปเปรียบเทียบอีกตัวหนึ่ง ด้วยสัญญาณทั้งหมดนี้ เมื่อเปรียบเทียบทางเฟสเกิดขึ้นแล้วการบังคับการทางานจะถูกชดเชยด้วยวงจร เน็ตเวิร์คที่ขา 40 ของไอซี TDA8361 การบังคับผลการทางานจะบังคับเฟสกลับมายังวงจรไลน์ออสซิลเลเตอร์ ในที่สุด เพื่อทาให้เฟรมภาพฮอริซอนทอลระหว่างเครื่องส่งกับเครื่องรับมีเฟรมภาพของการเริ่มต้นและสิ้นสุด สัญญาณภาพตรงกันได้จังหวะเดียวกันมิเช่นนั้นแล้วจะทาให้เกิดปัญหาภาพล้มปัญหาภาพโย้ วงจรเปรียบเทียบเฟสชุดที่ 2 เป็นวงจรที่นาเอาความถี่ฮอริซอน ทอลไปเปรียบเทียบกับความถี่ ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงสุดท้ายของการทางาน นั่นก็คือจะต้องมีการนาเอาความถี่ฟลายแบ็คพัลส์ ส่งเข้าทางขา 38 ของไอซี TDA8361 วงจรออสซิลเลเตอร์ผลิตความถี่จากไอซี TDA8361 ส่งไปให้กับภาคฮอริซอนทอลไดร์เวอร์ (Horizontal Driver) วงจรไดร์เวอร์ มีการขับผ่านขดลวดของหม้อแปลงไปยังวงจรภาคฮอริซอน ทอลเอาต์พุต (Horizontal Output) ซึ่งสุดท้ายของวงจรฮอริซอน ทอลเอาต์พุต คือ การทางานผ่านดีเฟล็คชั่นโย้คและ ฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์ สัญญาณเมื่อผ่านกระบวนการต่าง ๆ ดังกล่าวนี้ย่อมจะมีเฟสในช่องสุดท้าย ต่างกับความถี่ต้นทาง ดังนั้นในวงจรเปรียบเทียบเฟสชุดที่ 2 จึงอาศัยการปรับแต่งแรงดันไฟที่ขา 39 เพื่อปรับ เลือกเฟสให้กับเฟรมภาพ เรียกวงจรในส่วนนี้ว่า การปรับหาเซ็นเตอร์ของฮอริซอนทอล (Hor–Center)
รูปที่ 3.2 บล็อกไดอะแกรมภายในไอซี TDA8361 (IC801 PAL/NTSC)
C820
X803 3.58 MHz
C819
X802 4.43 MHz
34
35
+ 12 V (S-SUPPLY)
D610
R627
40
C649
COINCIDENCE DETECTOR
POWER RESET
PHASE 1
C650
LINE OSCILLATER
R654
C648
TUNING
X-TAL OSCILATOR
D623 8.2 V
36
NOISE DETECTOR
PHASE 2
38
C606
H AND V SEPARATION
39
R614
R613
R641
R683
R640
LUMINANCE CHOMINANCE INPUT
TRAP AND TUNING
15,625 Hz
5 FBT (FBT PULSE)
+ 8 V FBT PULSE
13
12
37
TV CVS
C209
H - Driver
ฮอริซอนทอลแท่น H วงจรเครื่องรับโทรทัศน์สียี่ห้อชาร์ป ในแท่น H เช่น โมเดล 21 CT-200 ใช้ไอซีในภาคฮอริซอน ทอล เบอร์ TDA8361 ดังปรากฏรายละเอียดในรูปที่ 3.3 โดยระบบฮอริซอน ทอลจะทางานได้ก็ต่อเมื่อ วงจรภาค จ่ายไฟได้จ่ายไฟมายังฮอริซอน ทอลจานวน 2 ชุดด้วยกัน โดยแรงดันไฟชุดแรกเป็นแรงดันไฟประมาณ 12 V จะถูกส่งผ่าน D610,R627 ทาการลดแรงดันไฟให้เหลือ 8.2 V โดยมีซีเนอร์ D623 และคาปาซิ สเตอร์ C648 ทาหน้าที่เป็นตัวรักษาแรงดันไฟคงที่ 8.2 V จ่ายไฟให้กับขาที่ 36 ของ IC801 ให้วงจรผลิตความถี่ฮอริซอนทอล สามารถผลิตความถี่ขึ้นมาได้ แรงดันไฟอีกชุดหนึ่ง คือ แรงดันไฟ 115 V จ่ายไฟให้กับวงจรภาคฮอริซอน ทอล ไดร์เวอร์และวงจรฮอริซอนทอลเอาต์พุต เมื่อ IC801 ได้รับแรงดันไฟที่ขา 36 เป็นไฟ 8.2 V วงจรผลิตความถี่หรือหน่วยออสซิลเลเตอร์จะทาการ ผลิตความถี่ 4.43 MHz โดยมีอุปกรณ์ที่สาคัญ คือ คริสตอล X802 ต่อไว้กับขาที่ 35 ของ IC801 ตามวงจร ในรูปที่ 3.3 ทาการผลิตความถี่ขึ้นมา โดยความถี่ดังกล่าวนี้จะถูกส่งเข้าสู่วงจรหารความถี่ เพื่อหารความถี่ลง มาเป็นความถี่ 15,625 Hz เป็นความถี่เท่ากับฮอริซอน ทอล IC801 ส่งเอาความถี่ 15,625 Hz ออกขาที่ 37 ส่งผ่าน R653,R659 ไปยังขาเบสของ Q601 ทาหน้าที่เป็นวงจรฮอริซอนทอลไดร์เวอร์ เพื่อจะให้ความถี่ฮอริซอน ทอลระหว่างเครื่องส่งกับเครื่องรับสามารถทางานด้วยเวลาถูกต้องตรงกัน จึงต้องมีวงจรควบคุมในเรื่องเฟสของสัญญาณ ระบบของการควบคุมเฟสหรือวงจรเฟสดีเทคเตอร์( PD) ประกอบด้วยวงจร 2 วงจร วงจรส่วนแรก ได้แก่ วงจรที่จะต้องทาหน้าที่ซิงโครไนซ์กันระหว่างความถี่ของ เครื่องส่งกับเครื่องรับ คือ วงจรเฟสดีเทคเตอร์ ซึ่งมีระบบฟิลเตอร์อยู่ที่ขา 40 ใช้วิธีการทางานโดยการนาเอา ความถี่ 15,625 Hz ที่หารความถี่ได้แล้ว ไปเปรียบเทียบเข้ากับสัญญาณซิงค์ที่มาจากสัญญาณภาพรวม ซึ่งสัญญาณภาพรวมจะส่งผ่าน C404 เข้ามาทางขาที่ 13 ของ IC801 วงจร ในส่วนนี้อาจเรียกว่า ระบบคอยล์ ไซเดนซ์ วงจรเฟสดีเทคเตอร์สาหรับฮอริซอน ทอลอีกส่วนหนึ่ง ได้แก่ การตรวจสอบความถี่สุดท้ายของระบบนี้ ส่งไปยังดีเฟล็คชั่นโย้ค หน้าที่สุดท้ายของระบบนี้จะอยู่ที่การเบี่ยงเบนลาอิเล็กตรอนให้การขีดหรือเขียนเส้น ภาพที่ปรากฏขึ้นบนจอภาพ สามารถที่จะตั้งเฟรมภาพระหว่างเครื่องส่งกับเครื่องรับได้ในเวลาตรงกัน แต่จาก เหตุผลดังกล่าวมาแล้วว่าวงจรสุดท้าย ซึ่งเป็นระบบของขดลวดอาจจะมีเฟสต่างไปจากความถี่ที่ IC801 ผลิตขึ้น ดังนั้นจึงต้องมีวงจรเฟสดีเทคเตอร์ชุดที่ 2 เข้ามาช่วยให้วงจรขับกระแส ซึ่งขับความถี่ออกไปยัง ทรานซิสเตอร์ Q601 ให้มีเฟสถูกต้อง ในระบบนี้จึงต้องส่งความถี่จากฟลายแบ็คพัลส์ ผ่าน R640 และ R641 เข้ามาทางขาที่ 38 เอามาเปรียบเทียบกับความถี่ที่ IC801 ผลิตขึ้น แก้ไขเฟสให้เฟสของความถี่ถูกต้องและ มีการปรับแต่งแรงดันไฟเข้าที่ขา 39 ของ IC801 เพื่อชดเชยในเรื่องของเฟส ในส่วนของวงจรฮอริซอน ทอลยังเกี่ยวข้องกับวงจรป้องกัน ( Protection) และวงจรควบคุมระบบ จ่ายไฟ ซึ่งประกอบด้วยการทางานของทรานซิสเตอร์ Q605,Q1002 และ Q1019 ทรานซิสเตอร์ทั้ง 3 ตัว เป็นทรานซิสเตอร์ในระบบดิจิตอล ( DTC) ซึ่งเป็นทรานซิสเตอร์ที่มีค่ารีซิสเตอร์ต่อไว้เป็นตัวจัดไบอัสให้ ทรานซิสเตอร์ในวงจรส่วนนี้หาก Q605 ซึ่งรับแรงดันไฟ +5 V เข้าทางขาอิมิตเตอร์ ไม่สามารถที่จะจ่าย กระแสออกไปยังขาคอลเล คเตอร์ เพื่อส่งผ่าน R650 และ R659 ไปยังขาเบสของ Q601 ได้ย่อมจะทาให้ ทรานซิสเตอร์ Q601 ซึ่งทาหน้าที่เป็นวงจรฮอริซอน ทอลไดร์เวอร์ ไม่สามารถที่จะทาการขยายความถี่ 15,625 Hz ส่งให้กับภาคฮอริซอน ทอลเอาต์พุตได้ นั่นหมายความว่า ฮอริซอน ทอลไม่สามารถทางานได้ ระบบไฟสูงและการจ่ายแรงดันไฟไปยังจุดต่าง ๆ ที่เป็นหน้าที่ของฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์ไม่สามารถที่จะ จ่ายออกไปได้จะทาให้เกิดอาการจอมืด
ความพิสดารของวงจรในแท่น H ของทีวีสียี่ห้อชาร์ปอยู่ที่วงจรป้องกัน ซึ่งส่วนใหญ่เราพบอยู่ใ นรูปแบบ ของวงจรทรานซิสเตอร์ แต่ทีวียี่ห้อชาร์ปแท่น H ดังกล่าวนี้บรรจุวงจรโปรเท็คชั่นไว้ในไอซีไมโครคอมพิวเตอร์ ให้ไอซีไมโครคอมพิวเตอร์ทาการสั่งตัดแรงดันไฟ หรือสั่งวงจรเข้าสู่ระบบสแตนด์บาย ในกระบวนการสุดท้าย ระบบของการป้องกันวงจรในยุคแรก ๆ ของทีวีสีชาร์ป รุ่น กู๊ดมอร์นิ่ง จะพบวิธีการของวงจรป้องกัน หรือวงจรโปรเท็คชั่น ใช้วิธีการนาเอาหน่วยโปรเท็คชั่นไปดึงแรงดันไฟรีเซ็ตในตัวไอซีไมโครคอมพิวเตอร์หรือ ไอซีไมโครโปรเซสเซอร์ ซึ่งส่งผลให้ไอซีไมโครคอมพิวเตอร์หรือไอซีไมโครโปรเซสเซอร์นั้นส่งระบบจ่ายไฟเข้าสู่ สภาวะของการสแตนด์บาย จากการพัฒนาของวันนั้นมาถึงวันนี้ หากมีปัญหาเกี่ยวกับฮอริซอนทอล เวอร์ติคอล และวงจรในส่วน ระบบเสียง ระบบโปรเท็คชั่นจะสั่งงานไปยังไอซีไมโครคอมพิวเตอร์ ให้เข้าสู่สภาวะของการสแตนด์บายหรือ คาสั่งเพาเวอร์ออฟ ทาให้ที่หน้าปัดเครื่องซึ่งเป็น LED สองสี ติดเป็นสีแดงขึ้นมา นั่นหมายความว่าตอนนี้ เครื่องกาลังเข้าสู่สภาวะสแตนด์บาย ถ้าไม่ใช่ระบบสแตนด์บายปกติ นั่นหมายความว่า เกิดความผิดพลาดขึ้น ในวงจรของแท่นเครื่องเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
รูปที่ 3.3 วงจรฮอริซอนทอลของ SHARP แท่น H (MODEL 21CT-200)
F.B. PULSE
CVS
C649
35
38
13
D610
C819
R641
C404
4.43 MHz
X202
R640
+12 V (SUPPLY)
40
R654
C650
IC801
36
39
R627
C606
+8V (FBT)
R613 H-CENT
R683
C648
15,625 Hz
R614
37
D623
+115V
R671
R653
R659
C610
H - Driver
C737
R1060
R1096
D1000 RED LED
+ 14 V +5 V (SUPPLY) (SUPPLY)
Q605 (DTC)
R650
L632
Q1019 (DTC)
R1126
+5V
T601
PROTECTION UNIT
Q1002 (DTC)
Q601
C611
R608
R609
R611
H - OUTPUT
R1044
L609
C615
10
C610
PIN 20 IC1001 POWER COMMAND FROM MICRO (L)
FB602
Q602
+115 V
9
FBT T602
1
TO ABL CUIRCUIT
C617
R674
H4
FU
EHT
จากรูปที่ 3.3 ขาเบสของทรานซิสเตอร์ Q1019 ซึ่งเป็นดิจิตอลทรานซิสเตอร์จะได้รับคาสั่งจาก ขา 20 ของ IC1001 ซึ่งเป็นไอซีไมโครคอมพิวเตอร์ เป็นคาสั่งเพาเวอร์ออน สภาวะโลว์ กรณีอย่างนี้ย่อมทา ให้ทรานซิสเตอร์ Q1019 ซึ่งเป็นดิจิตอลทรานซิสเตอร์ไม่สามารถนากระแสได้ ขาคอลเลคเตอร์ของ Q1019 มีสภาวะเป็นไฮ ส่งแรงดันไฟไปไบอัสทรานซิสเตอร์ Q1002 ทรานซิสเตอร์ Q1002 ดึงแรงดันไฟที่ ขาคอลเลคเตอร์ไปหากราวด์ ทาให้คอลเล คเตอร์มีสภาวะเป็นโลว์ เมื่อ Q1002 ขาคอลเลคเตอร์เป็นโลว์และ ขาคอลเลคเตอร์ของ Q1002 ไปต่อไว้กับขาเบสของ Q605 ทรานซิสเตอร์ Q605 ซึ่งเป็นดิจิตอลทรานซิสเตอร์ ชนิด PNP จึงสามารถที่จะนากระแสได้ ทรานซิสเตอร์ Q605 จึงนาเอาแรงดันไฟ 5 V เข้าทางขาอิมิตเตอร์ ผ่าน R650 และ R659 ไปเป็นไบอัสให้กับทรานซิสเตอร์ Q601 ต่อไปนั่นหมายความว่า Q601 มีความพร้อม ที่จะรับสัญญาณจาก IC801 เมื่อ Q605 สามารถนากระแสผ่าน R650 ได้แล้ว กระแสทางแรกส่งผ่าน R659 ซึ่งจะเป็นแรงดันไฟ ไปช่วยเหลือการไบอัสของ Q601 อีกทางหนึ่งจะแยกไหลผ่าน R653 และ R671 เพื่อไปไบอัสในระบบพูลอัพ ให้กับขาที่ 37 ของ IC801 ทาให้เอาต์พุตของ IC801 ในส่วนของฮอริซอน ทอลมีความพร้อมที่จะขับสัญณาณ ฮอริซอนทอลออกไปยัง Q601 เป็นที่เรียบร้อย ในทางกลับกันหากว่าวงจรไอซีไมโครคอมพิวเตอร์ สั่งเข้าสู่สภาวะสแตนด์บาย ย่อมจะทาให้ขาที่ 20 ของ IC1001 ซึ่งต่อไว้กับเบสของ Q1019 เข้าสู่สภาวะเป็นไฮ อิมพีแดนซ์ แรงดันไฟ 5 V จากระบบของ การจ่ายไฟจึงส่งผ่าน R1044 มายังขาเบสของ Q1019 ทาให้ขาเบสของ Q1019 มีสภาวะไฮ ทรานซิสเตอร์ Q1019 กลายเป็นสวิตช์ต่อวงจรทาให้ขาคอลเล คเตอร์ มีแรงดันไฟเท่ากับ 0 หรือ โลว์ ขาคอลเล คเตอร์ Q1019 ต่อไว้กับขาเบสของ Q1002 ทาให้ทรานซิสเตอร์ Q1002 กลายเป็นสวิตช์ ออฟ แรงดันไฟ 14 V จากภาคจ่ายไฟจึงส่งผ่าน R1060,R1069 และส่งผ่านไดโอดมายังขาคอลเล คเตอร์ของ Q1002 มีสภาวะ ไฮ และยังส่งไปยัง D1000 (LED สีแดง) ซึ่งเป็น LED แสดงผลอยู่ที่หน้าปัดเครื่องให้เปล่งแสงสีแดงออกมาบอก สภาวะของการตัดระบบการทางานของฮอริซอนทอล เมื่อ Q1002 อยู่ในสภาวะสวิตช์ออฟ หรือ คอลเลคเตอร์ของ Q1002 มีสภาวะเป็น ไฮ ขาคอลเลคเตอร์ ของ Q1002 ก็คือจุดเดียวกับขาเบสของ Q605 ซึ่งเป็นดิจิตอลทรานซิสเตอร์ชนิด PNP จึงทาให้ Q605 ไม่สามารถนากระแสได้ แรงดันไฟที่ส่งผ่านจากขาอิมิตเตอร์ออกไปยังขาคอลเล คเตอร์ Q605 ไม่สามารถ ส่งผ่านไปได้ ทาให้ไบอัสที่จะเกิดขึ้นกับขาที่ 37 ของ IC801 ไม่มีและไบอัสที่เป็นตัวช่วยสาหรับทรานซิสเตอร์ Q601 ไม่มีเช่นเดียวกัน วงจรฮอริซอน ทอลถึงแม้ว่าจะผลิตความถี่ได้ แต่ภาคฮอริซอน ทอลเอาต์พุต ไม่สามารถทางานได้ ฮอริซอน ทอลจึงทางานไม่สมบูรณ์และแน่นอนระบบของฮอริซอน ทอลเอาต์พุต ไม่สามารถทางานได้ แรงดันไฟสูงและแรงดันไฟที่จะจ่ายให้กับวงจรหน่วยต่าง ๆ ไม่สามารถที่จะจ่ายไฟไปได้
รูปที่ 3.4 ฮอริซอนทอลเอาต์พุตและฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์ แท่น H
+165V TO CRT
T601
+115V (SUPPLY)
L609
C855
L851
C737
Q602 H-OUTPUT
R622
FB602
D604
C624
R642
C616
C613
D609
C619
R611
L601
H-DY
R620
10
2
C614
L602
R617
R621
9
T602 FBT
4
5
7
8
1
R734
HOR PLUSE TO HOR PHASE,H-DL AND MICROCOMPUTER
C617
R674
R521
H4
FU
EHT
C734
D733
R731
D502
+12V
IC602
C510
+9V
+24V VERT OUT
ในส่วนของวงจรฮอริซอน ทอลเอาต์พุตได้แสดงไว้ในรูปที่ 3.4 สาหรับแท่นเครื่อง H ของทีวีสี ยี่ห้อชาร์ป รุ่น กู๊ดมอร์นิ่ง โหลดของฮอริซอน ทอลเอาต์พุตจะมีอยู่ 2 ส่วน ส่วนแรกคือฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์ (T602) กับโหลดส่วนที่ 2 ดีเฟล็คชั่นโย้ค (H–DY) ในส่วนของดีเฟล็คชั่นโย้คของทีวีสียี่ห้อชาร์ป ใช้วิธีการนาเอา ดีเฟล็คชั่นโย้คคร่อมไว้กับฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์ ระหว่างขาที่ 9 และ ขาที่ 10 วิธีการของดีเฟล็คชั่นโย้ค มีอยู่ 2 วิธี คือ ใช้ดีเฟล็คชั่นโย้คต่อคร่อมกับวงจรทรานซิสเตอร์หรือต่อไปหาไฟลบ อีกวิธีหนึ่งก็คือการเอา ดีเฟล็คชั่นโย้คต่อคร่อมฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์ ทั้ง 2 วิธี มีความแตกต่างในส่วนของเฟส ของการสแกน วิธีการดีเฟล็คชั่นโย้คไปขนานกับฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์ทาไมไม่เอาดีเฟล็คชั่นโย้คต่ออนุกรมกับ ฟลายแบ็คทรานส์ฟอร์เมอร์ไปหากราวด์ สามารถชี้แจงได้ในกรณีนี้ว่าเพื่อจะควบคุมลาอิเล็กตรอนให้สแกน โดยไม่มีการบูมหรือมีการบูมน้อยที่สุด และแสดงแรงดันไฟจากจุดต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากขดลวดของ ฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์ไปเลี้ยงวงจรต่าง ๆ เช่น แรงดันไฟที่ได้จากขา 2 ของฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์ T602 ถูกนาไปเร็กติฟายเป็นแรงดันไฟ 16 5 V เพื่อจะไปจ่ายให้กับวงจร RGB เอาต์พุต หรือแรงดันไฟที่เกิด จากขาที่ 8 ของฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์ จะนาเอาไปเร็กติฟายเป็นแรงดันไฟ 24 V สาหรับเวอร์ติคอล เอาต์พุตหรือแรงดันไฟที่เกิดจากขา 7 ของฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์ T602 นาเอาไปเร็กติฟายเป็นแรงดันไฟ 12 V และลดแรงดันไฟ 12 V ลงมาเป็นแรงดันไฟ 9 V สาหรับจ่ายให้กับวงจรลูมิแนนซ์และวงจรจูนเนอร์หรือ นาเอาพัลส์จากขาที่ 5 ของฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์ ส่งไปยังไอซีไมโครคอมพิวเตอร์ ส่งไปวงจรดีเลย์ไลน์ ส่งไปยังวงจรเปรียบเทียบเฟสให้กับฮอริซอนทอล เป็นต้น ฮอริซอนตอลแท่น J ในแท่นเครื่องที่เป็นแท่น J อย่างเช่นในโมเดล 14 CP–400,21CP–300 หรือ 21CP–400 จะมีการใช้ วงจรฮอริซอน ทอลเคาต์ดาวน์ มาจากหน่วยผลิตความถี่ 500 kHz ไอซีที่ทาหน้าที่เป็นวงจรฮอริซอน ทอล ได้แก่ ไอซี M52340SP ซึ่งเป็นไอซีในตระกูลของยี่ห้อมิซูบิชิ ควบคุมด้วยไมโครคอมพิวเตอร์เป็นข้อมูลที่ใช้ ในระบบอิน ทิเกรตอินเจ็คชั่นลอจิก ( Integrated Injection Logic) ซึ่งระบบนี้อาศัยการส่งข้อมูลที่เป็นข้อมูล อนุกรมและสัญญาณนาฬิกาเข้ามาบังคับ เพื่อควบคุมการเปลี่ยนเฟส ควบคุมฮอริซอน ทอลเซ็นเตอร์ ของระบบ ซึ่งเป็นความทันสมัยของรูปแบบหนึ่ง ระบบนี้สามารถดูได้ด้วยรูปที่ 3.5 ในบล็อกไดอะแกรมของ IC801 แท่น J ของทีวีสีชาร์ป รุ่น กู๊ดมอร์นิ่ง มีการจ่ายไฟเพื่อจะให้วงจร เริ่มต้นการทางานที่ขา 8 ของไอซี หลังจากนั้นแล้วหน่วยออสซิลเลเตอร์จะทาการผลิตความถี่ด้วย คริสตอล CF601 ต่อกับขา 14 ของไอซี ด้วยความถี่ 500 kHz หรือความถี่ 32 เท่าของความถี่ฮอ หลังจาก นั้นจะทาการหารความถี่ในหน่วยฮอริซอนทอลเคาท์ดาวน์ (Horizontal Countdown) หารลงมาให้ความถี่นั้น เท่ากับความถี่ฮอริซอน ทอล หลังจากได้ความถี่เท่ากับ 15,625 Hz ส่งความถี่ดังกล่าวนี้ไป 3 ทาง ทางที่ 1 ส่งไปวงจรเลื่อนเฟสของฮอริซอนทอลและส่งไปใช้งานที่ขา 13 ของไอซี ทางที่ 2 ส่งไปหารความถี่เป็ นความถี่ เวอร์ติคอล 50 Hz สาหรับวงจรเวอร์ติคอล ส่วนทางที่ 3 ส่งไปเปรียบเทียบเฟสในวงจรเฟสดีเทคเตอร์ เพื่อเปรียบเทียบกับสัญญาณซิงค์ที่มาจากสถานีส่ง วงจรเฟสดีเทคเตอร์มี 2 วงจร วงจรแรกเป็นตัวเปรียบเทียบ ระหว่างความถี่ที่ผลิตขึ้นมากับสัญญาณภาพรวม ซึ่งแยกเอาในส่วนสัญญาณฮอริซอน ทอลซิงค์มาทาการ ตรวจสอบเฟสวงจรที่ 2 จะเป็นวงจรเฟสดีเทคเตอร์ที่ได้จากการสารวจสัญญาณจากฟลายแบ็คหรือจุดสุดท้าย ของฮอริซอนทอล เพื่อส่งกลับมายังวงจรเปรียบเทียบเฟสขยับเฟสให้เฟรมภาพเป็นไปอย่างถูกต้อง ถ้าหากว่า เฟรมภาพที่เกิดขึ้นไม่ถูกต้องเราจะสั่งงานด้วยระบบ IIL ซึ่งสั่งงานมาทางขาที่ 11 และ ขาที่ 15 คาสั่งดังกล่าว นี้เป็นคาสั่งมาจากไมโครคอมพิวเตอร์
14 CF 601 500 KHz
COMPOSITE VIDEO IN
13
Vcc
I2 L Vcc
SERIAL CLOCK
8
10
11
VERT SECTION
HORIZONTAL COUNT DOWN
I2 C AND INTEGATED INJECTION LOGIC
HORIZONTAL COUNT DOWN
HORIZONTAL PHASE SHIFT
PHASE DETECTOR
PHASE DETECTOR
500 KHz OSILATOR
SYNC SEPARATOR
SCP
SERIAL DATA 15
SANDCASTLE PULSE
17
AFC1
HOR OUT
16
+Vcc 12
FLYBACK PULSE
IC 801 : M52340SP
รูปที่ 3.5 บล็อกไดอะแกรมของ IC801 แท่น J ใช้ M52340 SP ในภาคฮอริซอนทอลเคาท์ดาวน์ จากความถี่ 500 kHz (MODEL 14 CT400, 21CT400) เมื่อ IC801 ซึ่งเป็นไอซี เบอร์ M52340SP ส่งความถี่ฮอริซอนทอล ออกขาที่ 13 มีความแรงประมาณ 3 VP-P จะส่งความถี่ดังกล่าวนี้ผ่าน R607,R621 และ R620 ไปยังเบสของ Q602 ทาหน้าที่เป็นวงจร ฮอริซอน ทอลไดร์เวอร์ ทาการขับสัญญาณผ่าน T602 ทาหน้าที่ ฮอริซอน ทอลไดร์เวอร์ทรานสฟอร์เมอร์ (HDT) ในส่วนของทรานซิสเตอร์ Q602 เนื่องจากทรานซิสเตอร์ดังกล่าวมีโหลดเป็นหม้อแปลง ได้แก่ T602 เพื่อจากัดปริมาณของกระแสไม่ให้ไหลผ่าน Q602 มากเกินไป R619 จึงเข้ามามีบทบาท เพื่อถนอมอายุการ ใช้งานของทรานซิสเตอร์ Q602 เอาไว้ในสภาวะปกติ เนื่องจากเหตุผลที่ว่า Q602 มีโหลดเป็น ทรานสฟอร์เมอร์จึงจัดไบอัสที่ขาเบสของ Q602 ให้มีไบอัสประมาณ 0.3 –0.4 V เท่านั้น ประการต่อมาเมื่อ Q602 ทางานร่วมกับขดลวดเราจึงต้องมีวงจรสนับเปอร์ ได้แก่ C619 และมีวงจรดักความถี่ ได้แก่ R618 และ C618 ต่อคร่อม T602 ไว้ ในส่วนของฮอริซอน ทอลเอาต์พุตจะใช้ทรานซิสเตอร์ Q601 ทาหน้าที่เป็นฮอริซอน ทอลเอาต์พุต โดยเบสของ Q601 รับสัญญาณพัลส์จาก T602 ส่งผ่าน L605 เพื่อปรังแต่งแก้ไขสัญญาณทรานเชี่ยนท์ ที่เกิดขึ้น Q601 ทาหน้าที่ขับดีเฟล็คชั่นโย้คและฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์
ทีวีแท่น J ของชาร์ป รุ่นกู๊ดมอร์นิ่ง ควบคุมโดยระบบดิจิตอลหรือที่เรียกว่าระบบ I2C พร้อมกันนั้น การควบคุมระบบการทางานของภาคจ่ายไฟด้วย IC1001 ซึ่งเป็นไมโครคอมพิวเตอร์ IX2694CE จะส่งคาสั่ง เพาเวอร์ออกมาทางขาที่ 11 เป็นคาสั่ง ไฮ ส่งผ่าน R1019 เข้ามายังดิจิตอลทรานซิสเตอร์ Q606 เพื่อให้ Q606 ดึงแรงดันไฟที่จะส่งไปยังเบสของ Q605 ให้เป็น โลว์ ทาให้ Q605 ไม่สามารถจ่ายกระแสได้ แต่ถ้า เมื่อไรที่สภาวะขาที่ 11 ของ IC1001 เป็น โลว์ ย่อมจะทาให้ดิจิตอลทรานซิสเตอร์ Q606 ทางเอาต์พุต มีสภาวะเป็น ไฮ แรงดันไฟจากชุด 15 V ส่งผ่าน R661,R649 ไปยังเบส Q605 ได้ในที่สุด ทรานซิสเตอร์ Q605 ทาหน้าที่เป็นสวิตช์ต่อวงจรดึงเอาความถี่ที่มาจากขาที่ 13 ของ IC801 ลงกราวด์ นั่นหมายความว่า สัญญาณที่จะส่งผ่าน R621 และ R620 ไปยังเบสของ Q602 จะยุติลง ทาให้วงจรฮอริซอน ทอลหยุดทางาน ผลที่เกิดขึ้นก็คือเกิดอาการจอมืด นอกจากนี้แล้วคาสั่งในสภาวะสแตนด์บายส่งไปยังวงจรภาคเสียง เพื่อไป หยุดการทางานของภาคเสียงด้วยในเวลาเดียวกัน IC1001 เป็นไอซีเฉพาะของทีวีสีชาร์ป โซนี่และฟิลิปส์ ดังนั้นในกรณีที่ไม่สามารถที่จะหาเบอร์ IX2694CE มาทาการเปลี่ยนทดแทนอุปกรณ์ในส่วนนี้ได้ สามารถที่จะเอาเบอร์ของมิ ตซูบิชิมาทดแทนได้ เบอร์ที่ทดแทนได้นั้นก็คือเบอร์ M37221,M6-0515P เมื่อกลับไปดูวงจรแท่นเก่าของทีวีสีชาร์ป รุ่นกู๊ดมอร์นิ่ง เช่น แท่น14B ซึ่งเป็นแท่นที่สร้างความตะลึง ให้กับบรรดานักบริการทีวีสี ในแท่นเครื่องรับนี้ในวงจรฮอริซอนทอลใช้ IC801 เบอร์ TDA8362 ซึ่งเป็นเบอร์ ที่พัฒนาขึ้นมาจาก TDA8361 ในการพัฒนานั้นมีส่วนคล้ายคลึงกันอยู่หลายส่วน วงจรดังกล่าวต้องการ แรงดันไฟ 8.2 V จ่ายให้ขา 36 ของ IC80I ทาหน้าที่เป็นมัลติซิสเท็ม สามารถผลิตความถี่ได้ทั้ง 4.43 MHz และ 3.58 MHz เมื่อมีการจ่ายแรงดันไฟเข้ามาทางขาที่ 36 เรียบร้อยแล้ววงจรผลิตความถี่ 4.43 MHz ซึ่งมีคริสตอล X802 และ C819 ต่อไว้ที่ขา 35 จะเริ่มต้นผลิตความถี่ ในทางตรงข้ามถ้าหากระบบที่ใช้งานนี้จะเป็นอีกระบบ หนึ่งวงจรผลิตความถี่ด้วย X803 และ C820 ซึ่งต่อไว้ที่ขา 34 ของ IC801 ผลิตความถี่เป็นความถี่ 3.58 MHz ขึ้นมาทดแทน เมื่อหน่วยออสซิลเลเตอร์ทาการผลิตความถี่ 4.43 MHz ได้แล้ว ส่งความถี่ดังกล่าวนั้นเข้าสู่วงจร หารความถี่ เพื่อหารความถี่ลงมาให้เป็นความถี่ฮอริซอนทอลได้ความถี่เท่ากับ 15,625 Hz ส่งความถี่ดังกล่าว นี้ออกทางขาที่ 37 ของ IC801 เพื่อส่งไปยัง R653 และ R659 ไปยังขาเบสของทรานซิสเตอร์ Q601 ซึ่งทา หน้าที่เป็นวงจรฮอไดร์เวอร์ทรานซิสเตอร์ ในวงจรฮอไดร์เวอร์จึงขับกระแสออกไปยัง T601 คัปปลิ้งสัญญาณ ความถี่ฮอริซอนทอลไปยังเบสของ Q602 ทาหน้าที่เป็นวงจรฮอริซอน ทอลเอาต์พุต ทาการขับดีเฟล็คชั่นโย้ค ต่อคร่อมอยู่กับฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์ โดยตัวฟลายแบ็คทรานสฟอร์เมอร์นอกจากจะทาหน้าที่ผลิต แรงดันไฟสูงแล้ว ทาหน้าที่เป็นตัวจ่ายไฟให้กับวงจรต่าง ๆ เช่น จ่ายไฟ 24 V ให้เวอร์ติคอลเอาต์พุตจ่ายไฟ 15 V สาหรับวงจรไบอัสลูมิแนนซ์และโครมิแนนซ์ จ่ายสัญญาณพัลส์กลับไปยังวงจรฮอริซอน ทอลและจ่ายไฟ 170 V สาหรับภาพวิดีโอเอาต์พุต
รูปที่ 3.6 ฮอริซอนทอลของแท่น J ทีวีสี SHARP กู๊ดมอร์นิ่ง
IC1001 IX2694CE 11
R1019
+15V
R611
SOUND MUTE
Q606
IC801 MS2340SP 13
R649
R605
3Vp-p
+5V
C651
R648
C645
R607
Q605
R621
+170V TO R.G.B. OUTPUT
+115V
R620
C619
C855
L851
C610
Q602 H-DRIVE
C618
R618
R619
T602
R631
L605
D611
Q601 H-OUT
C638
FB602
D602
R615
R611
C611
TO DY
10
2
9
T601 FBT
3
4
5
7
8
1
GND
HV/EHT
HEATER
FBD
15V
24V
R610 C607
ABL