COURSE OUTLINE

Page 1

1 จุดประสงค์ /มาตรฐาน/คาอธิบายรายวิชา หลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชี พ รหัสวิชา 2104-2214

สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ วิชาอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 1

2104-2214 อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 1 (Electronics Industrial 1)

3 (6)

จุดประสงค์ รายวิชา 1. เพื่อให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ควบคุมการเปิ ด-ปิ ดวงจร อุปกรณ์ทรานสดิวเซอร์ และ การประยุกต์ใช้งาน 2. เพื่อให้มีความสามารถในการวัดทดสอบอุปกรณ์ควบคุมการเปิ ด-ปิ ดวงจรอุปกรณ์ ทรานสดิวเซอร์ และการประยุกต์ใช้งาน 3. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทางานด้วยความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย มีลาดับขั้นตอนในการทางาน อย่างถูกต้องปลอดภัย มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจหลักการทางานและการใช้งานของอุปกรณ์ควบคุมการเปิ ด-ปิ ดวงจร และอุปกรณ์ ทรานสดิวเซอร์ 2. วัดและทดสอบระดับความเข้มของแสง อุณหภูมิ เสี ยง ความชื้ น PH ความดัน ความเร็ ว 3. วัดและทดสอบอุปกรณ์ควบคุมการเปิ ดปิ ดวงจร และอุปกรณ์ทรานสดิวเซอร์ 4. ตรวจซ่อมและบารุ งรักษาอุปกรณ์และวงจรอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิ โครงสร้าง การทางานและคุณลักษณะของอุปกรณ์ควบคุมการเปิ ดปิ ดวงจร อุปกรณ์ทรานสดิวเซอร์ ที่มีผลจากความร้อน แสง เสี ยง แรงกล สนามแม่เหล็ก ความชื้น ก๊าซ ควัน การประยุกต์ใช้งานเป็ นวงจรควบคุมแบบอัตโนมัติและวงจรอิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ


2 จุดประสงค์ /มาตรฐาน/คาอธิบายรายวิชา หลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชี พ รหัสวิชา 2104-2214

สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ วิชาอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 1

2104-2214 อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 1 (Electronics Industrial 1)

3 (6)

การวิเคราะห์ หลักสู ตรรายวิชา การเขียนร่ างรายละเอียดหลักสู ตรรายวิชาอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม 1 รหัสวิชา 2104-2214 สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ หลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2546 ของสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ซึ่งทาการวิเคราะห์หลักสู ตรในวิชาดังกล่าว เพื่อให้เหมาะสมกับการ จัดการเรี ยนของสาขางานอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต โดยคานึงถึงสิ่ งต่อไปนี้ 1. ความต้องการทางวิชาชีพ ( Requirement of vocation ) 2. คุณสมบัติของผูเ้ รี ยน ( Target population ) 3. หลักสู ตรกาหนด ( Existing syllabus ) 4. ความสัมพันธ์กบั วิชาอื่น ( Related program ) 5. ลาดับสิ่ งบอกกล่าว ( Sequence requirement ) 6. การประเมินวัตถุประสงค์ยอ่ ย 7. การเขียนแผนผังและการกาหนดเวลา 8. การวิเคราะห์หวั ข้อเรื่ องโดยบูรณาการเป็ นโครงการ/ชิ้นงาน 9. การกาหนดเนื้อหาของหน่วยการเรี ยน 10. การกาหนดกิจกรรมของหน่วยการเรี ยน 11. การกาหนดสื่ อและอุปกรณ์การเรี ยน 12. การวิเคราะห์แบบทดสอบ 13. การประเมินผลการเรี ยน รายละเอียดในการวิเคราะห์หวั ข้อต่างๆ มีดงั นี้ 1. ความต้ องการทางวิชาชีพ เมื่อเรี ยนวิชา อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 1 แล้วจะสามารถนาไปใช้ประกอบอาชีพได้ดงั นี้ 1.1 ช่างบารุ งรักษาระบบอิเล็กทรอนิกส์ ในงานอุตสาหกรรม 1.2 ช่างออกแบบระบบควบคุมอัตโนมัติ 1.3 ช่างออกแบบและติดตั้งระบบความปลอดภัยภายในบ้าน 1.4 ช่างออกแบบและติดตั้งระบบการประหยัดพลังงาน


3 จุดประสงค์ /มาตรฐาน/คาอธิบายรายวิชา หลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชี พ รหัสวิชา 2104-2214

สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ วิชาอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 1

2104-2214 อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 1 (Electronics Industrial 1)

3 (6)

2. คุณสมบัติของผู้เรียน การเรี ยนวิชาอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 1 จะต้องรู ้พ้นื ฐานและสภาพของผูเ้ รี ยนซึ่ งจะต้อง พิจารณาดังต่อไปนี้ 2.1 การศึกษา (Education) ผูเ้ รี ยนที่เรี ยนวิชาอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 1 จะต้องเรี ยนวิชา เหล่านี้มาก่อน 2.1.1 วิชางานไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องตัน รหัสวิชา 2100-1003 2.1.2 วิชาวงจรไฟฟ้ ากระแสตรง รหัสวิชา 2104-2202 2.1.3 วิชาวงจรไฟฟ้ ากระแสสลับ รหัสวิชา 2104-2203 2.1.4 วิชาเครื่ องมือวัดไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา 2104-2204 2.1.5 วิชาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา 2104-2205 2.1.6 วิชาวงจรอิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา 2104-2206 2.1.7 วิชาวงจรพัลส์และดิจิตอล รหัสวิชา 2104-2207 2.1.8 วิชาซิลสกรี นและวงจรพิมพ์ รหัสวิชา 2104-2223 2.2 คุณสมบัติทางกายภาพ (Physical Characteristics) เช่น เพศชายหรื อเพศหญิง อายุไม่ต่ากว่า 15 ปี ส่ วนสู งและน้ าหนักไม่จากัด 3. หลักสู ตรกาหนด จุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา คาอธิบายรายวิชา ได้จากหลักสู ตรของสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาซึ่ งเป็ นผูก้ าหนดขึ้น สาหรับรายละเอียดของเนื้อหารายวิชานี้ เน้นหนัก ให้ผเู้ รี ยนมีความรู้ ความเข้าใจหลักการทางาน การใช้งาน และมีความสามารถในการวัดทดสอบ อุปกรณ์เกี่ยวกับอุปกรณ์ควบคุมการเปิ ด-ปิ ดวงจร อุปกรณ์ทรานสดิวเซอร์ เช่น ระดับความเข้มของ แสง อุณหภูมิ เสี ยง ความชื้น PH ความดัน ความเร็ ว เป็ นต้น และการประยุกต์ใช้งานโดยการนา มาบรู ณาการเป็ นงาน/โครงงาน/ชิ้นงาน ซึ่งเน้นใหผูเ้ รี ยนมี กิจนิสัยที่ดีในการปฏิบตั ิงานเพื่อให้ถูกต้อง และปลอดภัย


4 จุดประสงค์ /มาตรฐาน/คาอธิบายรายวิชา หลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชี พ รหัสวิชา 2104-2214

สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ วิชาอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 1

2104-2214 อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 1 (Electronics Industrial 1)

3 (6)

4. ความสั มพันธ์ กบั วิชาอืน่ ในสาขางานอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต จัดแผนการเรี ยนตามหลักสู ตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประจาปี การศึกษา 2550 ในรายวิชาอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 1 ซึ่งเป็ นวิชาอยูใ่ นภาคเรี ยนที่ 2 ของระดับ ปวช.3 มีรายวิชาต่างๆ ที่มี ความสัมพันธ์กนั ซึ่งผูเ้ รี ยนได้ ศึกษาในรายวิชาพื้นฐานมาแล้ว ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 การจัดแผนการเรี ยนตามหลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขางานอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต ปี การศึกษา 2550 ระดับ ปวช.1 ระดับ ปวช.2 ระดับ ปวช.3 ภาคเรี ยนที่ 1 ภาคเรี ยนที่ 2 ภาคเรี ยนที่ 1 ภาคเรี ยนที่ 2 ภาคเรี ยนที่ 1 ภาคเรี ยนที่ 2 2104-2204 2104-2203 2104-2207 2104-2223 2104-2219 2104-2311 2104-2202 2104-2205 2104-2231 2104-2214 2104-2205 2104-2220 2104-5001 การเรี ยนวิชาอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 1 จะเรี ยนในภาคเรี ยนที่ 2 ระดับ ปวช.3 ดังนั้น จะส่ งผลให้กบั วิชาในระดับ ปวช.3 คือ โครงงาน และวิชาในระดับ ปวส.2 คือ อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 5. ลาดับสิ่ งบอกกล่าว ในการเรี ยนวิชาอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 1 จะเรี ยงลาดับเนื้อหาก่อนหลังโดยพิจารณาจากสิ่ ง ที่ง่ายไปยังสิ่ งที่ยาก และจากสิ่ งที่รู้แล้วไปยังสิ่ งที่ๆ ไม่รู้ เช่นผูเ้ รี ยนจะต้องเรี ยนเรื่ องความหมายของ อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม ระบบการควบคุมอัตโนมัติ หลักการทางานของอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ สวิตซ์ไฟฟ้ ากระแสตรง และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สวิตซ์ไฟฟ้ ากระแสตรง ก่อนที่จะเรี ยนเรื่ อง หลักการทางานของอุปกรณ์ทรานสดิวเซอร์ และระบบการป้ องกันอุปกรณ์ และจากนั้นจึงเรี ยนเรื่ อง หลักการทางานประยุกต์ใช้งานโดยการบรู ณาการเป็ นงาน/โครงงาน/ชิ้นงาน ได้แก่ เครื่ องตั้งเวลา เปิ ดปิ ดหลอดไส้ 40 วัตต์โดยใช้ไอซี 555 เครื่ องรดน้ าต้นไม้อตั โนมัติ ชุดปรับความเร็ วมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงด้วยอุณหภูมิ โคมไฟปรับแสงสว่างและสั่งงาน ซึ่งสามารถนามาประยุกต์ใน ชีวติ ประจาวันตลอดจนในงานอุตสาหกรรม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.