หลักและทฤษฎีการสื่อสาร

Page 1

เทคโนโลยีการสื่ อสารเพือ่ การศึกษา (Communication Technology for Education) รหัสวิชา TN 54602


หลักการและทฤษฎี ของการสื่ อสาร


การสื การสื่ อ่ อสาร สาร ชีวติ เป็ นเรื่องของการเรียนรู้และสิ่ งหนึ่งทีส่ ำ าคัญ และต้ องมีการเรียนรู้คอื ความสั มพันธ์ หรือ มนุษยสั มพันธ์ เพราะทุกสิ่ งทุกอย่ างในโลกนีม้ กั เป็ น บทเรียนของกันและกัน ถ้ าไม่ ใส่ ใจเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ก็จะอยู่ในโลกนีด้ ้ วยความยากลำาบาก เพราะชีวติ จะมีคุณค่ าและรู้สึกมี ความสุ ขเมือ่ ได้ แสดงออกอย่ างทีร่ ้ ูสึก มีโอกาสเรียนรู้ เรื่องราวและสิ่ งใหม่ ๆ ตามทีเ่ ราต้ องการ


ความหมายของการสื ความหมายของการสื่ อ่ อสาร สาร จอร์ จ เอ มิลเลอร์ : เป็ นการถ่ ายทอดข่ าวสารจากทีห่ นึ่งไปยังอีก ทีห่ นึ่ง จอร์ จ เกิร์บเนอร์ : เป็ นการแสดงกริยาสั มพันธ์ ทางสั งคมโดยใช้ สั ญลักษณ์ และระบบสาร วิลเบอร์ ชแรมส์ : เป็ นการมีความเข้ าใจร่ วมกันต่ อเครื่องหมาย ทีแ่ สดงข่ าวสาร


การสื การสื่ อ่ อสาร สาร การสื่ อสาร (communication ) คือ กระบวนการแลกเปลีย่ นข้ อมูล ข่ าวสารระหว่ าง บุคคลต่ อบุคลหรือบุคคลต่ อกลุ่ม โดยใช้ สัญลักษณ์ สั ญญาณหรือพฤติกรรมทีเ่ ข้ าใจกัน โดยมีองค์ ประกอบ ดังนี้


โดยมี โดยมีอองค์ งค์ปประกอบที ระกอบทีส่ ส่ ำ าำ าคัคัญญคืคืออ ซึ่งมักเรียกกันว่ า

SMCR


ผ้ ูส่งสาร(Sender) คือ ผู้ทที่ าำ หน้ าทีส่ ่ งข้ อมูล สารไปยังผู้รับสารโดย ผ่ านช่ องทางทีเ่ รียกว่ าสื่ อ ถ้ าหากเป็ นการสื่ อสารทางเดียวผู้ ส่ งจะทำาหน้ าทีส่ ่ งเพียงประการเดียวแต่ ถ้าเป็ นการสื่ อสาร 2 ทาง ผู้ส่งสารจะเป็ นผู้รับในบางครั้งด้ วย ผู้ส่งสารจะต้ อง มีทกั ษะในการสื่ อสาร มีเจตคติต่อตนเอง ต่ อเรื่องทีจ่ ะส่ ง ต้ องมีความรู้ในเนือ้ หาทีจ่ ะส่ งและอยู่ในระบบสั งคมเดียว กับผู้รับก็จะทำาให้ การสื่ อสารมีประสิ ทธิภาพ


สาร(Message) ข่ าวสารทีด่ ี ต้ องแปลเป็ นรหัส เพือ่ สะดวก ในการส่ งการรับและตีความ เนือ้ หาสารของสาร และการจัดสารก็จะต้ องทำาให้ การสื่ อความหมาย ง่ ายขึน้


ช่ องทาง(Channel) ประสาทสัม ผัส ทั้ง ห้า คือ ตา หู จมูก ลิ้น และกายสัม ผัส และ ตัว กลางที่ม นุษ ย์ส ร้า งขึ้น มา เช่น สิ่ง พิม พ์ กราฟิก สื่อ อิเ ล็ก ทรอนิก ส์


ผ้ ูรับสาร(Receiver) คือ ผู้ทเี่ ป็ นเป้ าหมายของผู้ส่งสาร การสื่ อสารจะมีประสิ ทธิภาพ ผู้รับสารจะต้ องมีประสิ ทธิภาพ ในการรับรู้ มีเจตคติทดี่ ตี ่ อข้ อมูล ข่ าวสาร ต่ อผู้ส่งสารและต่ อตนเอง


ตัตัววอย่ อย่าางแบบจำ งแบบจำาาลองทางการสื ลองทางการสื่ อ่ อสาร สาร


ปี 1954 Wilber schramm และ C.E. Osgood ได้ สร้ าง Model รูปแบบจำาลองเชิงวงกลมการสื่ อสาร เป็ นรูปแบบของการสื่ อสารสองทาง (Two-way Communication)



ปี 1954 Wilber schramm กล่ าวถึงพืน้ ฐาน ประสบการณ์ ร่วม (Field of Experience) ระหว่ างผู้ ส่ งสารและผู้รับสารว่ าจะต้ องมีประสบการณ์ ร่วมกัน เพือ่ สื่ อสารให้ เข้ าใจตรงกัน




แบบจำาลอง SMCR ของเบอร์ โล จะให้ ความสำ าคัญในปัจจัยต่ าง ๆ ทีม่ ีผลทำาให้ การสื่ อสารประสบผลสำ าเร็จได้ แก่ ทักษะในการสื่ อสาร ทัศนคติ ระดับความรู้ ระบบสั งคมและวัฒนธรรม ซึ่งผู้รับละ ผู้ส่งต้ องมีตรงกันเสมอ




วัวัตตถุถุปประสงค์ ระสงค์ขของการสื องการสื่ อ่ อสาร สาร การสื่ อสารในชีวติ ของแต่ ละบุคคลนั้นล้ วนมี วัตถุประสงค์ ทแี่ ตกต่ างกันออกไป และส่ งผลต่ อการดำาเนิน ชีวติ ได้ คอื ทำาให้ ไม่ รู้ สึกโดดเดีย่ ว ทำาให้ ทราบ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ สร้ างความสั มพันธ์ ทางสั งคม ทำาให้ เกิดการแสดงออก ทำาให้ เกิดการพักผ่ อนหย่ อนใจ ทำาให้ เกิดการเรียนรู้ ทำาให้ เกิดกำาลังใจ


ประเภทของการสื ประเภทของการสื่ อ่ อสาร สาร


ประเภทของการสื ประเภทของการสื่ อ่ อสาร สาร


ประเภทของการสื ประเภทของการสื่ อ่ อสาร สาร


ประเภทของการสื ประเภทของการสื่ อ่ อสาร สาร


ประสิ ประสิททธิธิภภาพของการสื าพของการสื่ อ่ อสาร สาร ตามองค์ ประกอบของการสื่ อสาร ทำาให้ เห็นว่ ามีปัจจัย หลายประการทีส่ ่ งผลต่ อประสิ ทธิภาพของการสื่ อสารได้ ดังนั้น จึงควรต้ องทำาความเข้ าใจเกีย่ วกับองค์ประกอบต่ างเพือ่ ช่ วยในการ วางแผนการสื่ อสาร โดยสามารถศึกษาได้ จากแบบจำาลองการ สื่ อสารของเบอร์ โล



รู ปแบบการสื่ อสารอย่ างมีประสิ ทธิภาพ Effective Communication Patterns



การสื การสื่ อ่ อสารที สารทีม่ ม่ ปี ปี ระสิ ระสิททธิธิภภาพสู าพสูงงโดยทั โดยทัว่ ว่ ไปจะเกิ ไปจะเกิดดจาก จาก การสื การสื่ อ่ อสาร สารต่ต่ออไปนี ไปนี้ ้ เป็ นการสื่ อสารทีท่ ้งั ผู้ส่งสารและผู้รับสารต่ างเผชิญ หน้ ากันในการสนทนา เช่ น บริการต้ องเข้ ามารับ order จาก ลูกค้า แพทย์ ต้องเข้ าตรวจรักษา สอบถามอาการกับคนไข้ เป็ นต้ น รู ปแบบการสื่ อสารทีส่ ร้ างความสนใจให้ แก่ ผ้ ูรับสาร อย่ างตรงไปตรงมา การสื่ อสารด้ วยวิธีนีจ้ ึงเป็ นรู ปแบบทีด่ ใี น การทีส่ ามารถสื่ อสารได้ อย่ างตรงไปตรงมาและมีข้อผิดพลาด ทางการสื่ อสารน้ อยมาก


การสื่ อสารสองทางเป็ นการสื่ อสารทีม่ ีการโต้ ตอบกัน ไปมาของผู้ส่งสารและรับสารทั้งสองฝ่ าย การสื่ อสารรู ปแบบ นีจ้ ะไม่ สร้ างความสั บสนแก่คู่สนทนา อีกทั้งก่อให้ เกิดความ น่ าสนใจใครรู้ และเกิดสมาธิในการรับสารได้ ง่าย


การสื่ อสารโดยช่ องทางและสื่ อทีห่ ลากหลายเป็ นการ เลือกใช้ สื่อทีป่ ัจจุบันมีอยู่มากมายให้ เกิดประโยชน์ ในการสื่ อสาร โดยพิจารณาจากความเหมาะสมของเนือ้ หา สภาพแวดล้ อม ผู้รับและผู้ส่งสาร รวมไปถึงปัจจัยอืน่ ๆ ทีม่ ีผลต่ อการรับและส่ ง สารเพือ่ ให้ การส่ งสารรู ปแบบทีเ่ ลือกมานั้นเป็ นสารสื่ อสารทีไ่ ด้ ผลและเสริมสร้ างศักยภาพการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนได้ มากทีส่ ุ ด


ในแต่ และบุคคลจะสามารถรับสารในแต่ ละชนิดได้ แตก ต่ างกัน ขึน้ อยู่กบั ความชอบ ความถนัด ภูมหลังและปัจจัยด้ าน อืน่ ๆ การเลือกใช้ สารทีส่ ามารถส่ งถึงผู้รับได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ หรือส่ งสารได้ ในปริมาณมากพอกับความต้ องการของผู้รับสารก็ นับเป็ นรู ปแบบที่เหมาะสมของการสื่ อสารที่มปี ระสิ ทธิภาพ ทั้งนี้ เมือ่ สารถูกส่ งไปแล้วนั้นผู้รับซึ่งก็คอื เด็กและเยาวชนหากสามารถ นำามาใช้ ในการดำาเนินชีวติ หรือสามารถนำาไปใช้ พฒ ั นาศักยภาพ ของตนเองได้ อย่ างถูกต้ องการยิง่ แสดงให้ เห็นถึงความสำ าเร็จของ การสื่ อสาร ไม่ เพียงลบปัญหาด้ านอาการขาดสมาธิ แต่ ยงั สามารถ นำาสารทีไ่ ด้ รับไปพัฒนาตนเองให้ มศี ักยภาพสู งยิง่ ขึน้


ความแม่ นยำาเทีย่ งตรงในการรับสารนั้นต้ อง อาศัยปัจจัยหลายประการในการรับข้ อมูลข่ าวสาร อย่ างเทีย่ งตรง ทั้งประสบการณ์ การรับสาร ประสบการณ์ ในข้ อมูลข้ าวสารทีถ่ ูกส่ งมา อีกทั้งการ มีสติและสมาธิในการรับสื่ อทีส่ ่ งมาจะมีผลอย่ างสู ง ต่ อความแม่ นยำาเทีย่ งตรงของข้ อมูล


การสื่ อสารทีม่ ีประสิ ทธิภาพต้ องหลีกเลีย่ งอุปสรรคในการ สื่ อสารทีก่ ล่ าวมาข้ างต้ นทั้งหมดทั้งนีเ้ พราะ อุปสรรคการสื่ อสารที่ เกิดขึน้ จะเป็ นตัวสะท้ อนให้ เห็นว่าข้ อมูลทีถ่ ูกส่ งมามีความถูกต้ อง หรือคลาดเคลือ่ นเพียงใด การเกิดอุปสรรคต่ างๆ ข้ างต้ นก็นับเป็ น ปัจจัยทีก่ ่อให้ เกิดอาการขาดสมาธิในเด็กและเยาวชนด้ วยเช่ นกัน หากสามารถลบอุปสรรคต่ างๆ ไปได้ การสื่ อสารย่ อมประสบความ สำ าเร็จได้ ในทีส่ ุ ด


เล่นเกมส์กนั ดี กว่า..แบ่งกลุ่ม.. กลุ่มละ 10 คน



เฉลย..

น้ำ าตายายไหลย้ อย..หยดหล่ น ลงบนเปลือกหอย..ทีบ่ ้ านยาย บาน เกาะช้ าง เกาะเชือก เกาะม้ า เกาะหนู เกาะแมว เป็ นเกาะทีม่ ี ความสวยงามของประเทศไทย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.