Moocs
Massive Open Online Courses
TEEPAGON
SOSING GRAPHIC DESIGN FACEBOOK : teepagon.sosing
Email :
coppy009@gmail.com PHONE : 088-3098794 WEB : Bit.ly/teepagon
ค่าย MOOCs ยักษ์ใหญ่ในปัจจุบัน........................6 ค่าย MOOCs น้องใหม่มาแรง...............................8 E-learning...............................................................11 Massive Open Online Course..........................11 องค์ประกอบของรายวิชา MOOC.......................12 คุณสมบัติสำ�คัญสำ�หรับของ MOOCs.................12 หัวใจของ MOOC..................................................13 ลักษณะการเรียนของ Moocs..............................13 KHAN ACADMY..................................................14 Coursera........................................................15 UDACITY.................................................................16 edx.........................................................................17 โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย.........................18
3
MOOCs : แหล่งเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 MOOCs (มู้กส์) Massive Open Online Courses หมายถึง ระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ระบบ เปิดสำ�หรับมหาชน ซึ่งมีลักษณะให้เข้าเรียนได้ไม่จำ�กัด จำ�นวนคน เป็นระบบ “เปิด” ที่ทุกคนที่อยากเรียนจะต้อง ได้เรียน โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในการเรียน และใช้เทคโนโลยี ออนไลน์เป็นเครื่องมือ
4 Massive Open Online Courses
เทคโนโลยีนี้เริ่มต้นเมื่อปี 2008 เมื่อ ห้องเรียนในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง เปิ ด ให้ ผู้ ที่ ส นใจสามารถเข้ า เรียนออนไลน์ซึ่งนอกเหนือ จ า ก นั ก ศึ ก ษ า ใ น ห้ อ ง 25 คน แล้วคนอีกนับ พั น ค น ก็ ไ ด้ มี โ อ ก า ส ได้ เ รี ย นรู้ วิ ช านั้ น ด้ ว ย เครื่ อ งมื อ ในการทำ � MOOCs เป็นเทคโนโลยี ธรรมดา ๆ ที่เราคุ้ยเคย กันอยู่ เช่น เว็บไซต์ วิดีโอ บล็อก ฯลฯ เงื่อนไขใน การใช้งานข้อมูล เช่น ให้ใช้ งานได้อย่างเดียว ให้นำ�ไปเผย แพร่ได้ หรือให้นำ�ไปดัดแปลงแก้ไข ได้ขึ้นอยู่กับผู้พัฒนาแต่ละราย
5
ปัจจุบัน มี MOOCs Provider เพิ่ม มากขึ ้ น เรื ่ อ ยๆ โดย แ ต่ ล ะ แ ห่ ง จ ะ จั บ มื อ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ชื่ อ เสี ย งระดั บ โลกใน การผลิตสื่อการเรียนการสอนทั้งนี้ ช่อง ทางที่ บ ริ ษั ท และมหาวิ ท ยาลั ย จะสร้ า ง รายได้ ได้ แ ก่ กรณี ท ี ่ ผ ู ้ เ รี ย นต้ อ งการ ใบรั บ รองการจบหลั ก สู ต ร ค่ า ดำ � เนิ น การสอบ การช่ ว ยนำ � โปรไฟล์ ใ นการ เรียนไปเผยแพร่กับบริษัทจัดหางาน ฯลฯ
MOOCs ต่างจาก E-learning ตรงที่ E-learning จะเรียนเมื่อ ไหร่ก็ได้ แต่ MOOCs มีลักษณะ เหมื อ นหลั ก สู ต ร มี ร ะยะเวลา เปิด-ปิด เหมือนห้องเรียนปกติ ถูกกำ�หนดหัวข้อย่อยในรายวิชา ไว้แล้ว มีการวัดและประเมินผล มี การบ้าน มีกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ ทำ�งานกลุ่ม รวมทั้งให้ผู้เรียนช่วย กันตรวจงาน MOOCs หลายตัว สามารถให้ผู้เรียนเทียบหลักสูตร กั บ ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า ชื่ อ ดั ง หรือใช้อ้างอิงในการสมัครงานได้
6
ค่าย MOOCs ยักษ์ใหญ่ในปัจจุบัน
edX เป็น MOOCs ทีไ่ ด้รบั ความนิยมสูงสุดแต่การนำ� เ ส น อ เ นื้ อ ห า ไ ม่ ค่ อ ย น่ า สนใจ Google กำ�ลังจะ เข้าไปเป็นผูพ ้ ฒ ั นาปรับปรุง คาดว่ า น่ า จะมี อ ะไรแปลก ใหม่เข้ามาในระยะอันใกล้น้ี (www.edx.org)
Coursera ได้ชื่อว่าเป็น บิดาแห่ง MOOCs และ เป็น MOOCs ที่ใหญ่ที่สุด (www.coursera.org)
7
Udacity ได้รับการกล่าว ถึงว่าเป็น MOOSC ที่มี เสน่ห์ สนุก และน่าประทับใจ (www.udacity.com)
Khan Academy เป็น MOOCs สัญชาติอินเดียที่ ทำ�วิดีโอประกอบการสอน ได้เข้าใจง่าย และสนับสนุน ก ลุ่ ม ผู้ เ รี ย น ห ล า ย วั ย (www.khanacademy.org)
8
Open 2 study ออกแบบ ให้ มี ค วามคล่ อ งตั ว ในการ ใช้งานสูง เช่น สามารถลง ทะเบียนได้ในเวลาเพียง 20 วินาที (www.open2study.com)
Youtube Education เป็น MOOCs ของยูทูบ ที่ นำ�วิดีโอมาจัดระบบเป็น รายวิชาที่หลากหลาย
(www.youtube.com/education)
9
ค่าย MOOCs น้องใหม่มาแรง
TED.ED สอนโดยวิทยากร ที่ รู้ จ ริ ง มี ลี ล าการพู ด ที่ มี สีสัน หรือบางครั้งก็ทำ�เป็น แอนนิเมชั่นน่าชม (www.ted.com)
iTunes U เป็น MOOCs ของค่าย Apple รองรับ เฉพาะอุปกรณ์ของ iOS เท่านั้น มหาวิทยาลัยหลาย แห่ ง ของไทยกำ � ลั ง จะใช้ MOOCs รายนี้
(www.apple.com/ education/ipad/itunes-u)
10
MOOCs ได้ ช่ ว ยลดอุ ป สรรค สำ � คั ญ ใ น ก า ร ศึ ก ษ า ที่ ปั จ จุ บั น มี ค วามต้ อ งการในการ เรี ย นระดั บ อุ ด มศึ ก ษาสู ง เกิ น กว่ า ความ สามารถที่สถานศึกษาจะรองรับได้ รวมทั้งต้นทุน การศึกษาที่มีราคาแพง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาต่อ ในต่างประเทศ แต่ปัจจุบัน MOOCs ก็ยังมีข้อจำ�กัดบางด้าน เช่น ด้านภาษา มาตรฐานในการเทียบวุฒิ และยากที่จะพิสูจน์ได้ว่าผู้ที่สอบ กับผู้ที่ขอจบหลักสูตรเป็นคนเดียวกันหรือไม่ ฯลฯ สถิติผู้เรียนจนจบหลักสูตร MOOCs มีน้อยกว่าผู้ลงทะเบียนเรียนในสัดส่วนที่แตก ต่างกันมาก ซึ่งจริงๆ แล้วก็เป็นเรื่องธรรมดา เพราะถ้าผู้เรียนเรียนแล้วไม่ชอบหรือไม่ สนใจแล้วก็มีสิทธิ์ที่จะเลิกเรียนหรือเปลี่ยนไปเรียนวิชาอื่นได้ สถิติผู้ใช้ MOOCs ขณะนี้ส่วนใหญ่อยู่ในอเมริกาเหนือและยุโรป ส่วนเอเชียมีผู้เรียนเป็น สัดส่วน 24% ซึ่งส่วนมากได้แก่ ไต้หวัน ญี่ปุ่น จีน เกาหลีใต้ และสิงคโปร์ ซึ่งมหาวิทยาลัย ของสิงคโปร์กำ�ลังจะร่วมมือกับบริษัทแห่งหนึ่งในการทำ�หลักสูตรใน MOOCs เองด้วย ส่วนในประเทศไทย สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กำ�ลังทำ�โครงการ Thailand Cyber University ซึ่ง กำ�ลังจะพัฒนา E-Teacher E-Courseware และ E-Learning และหลายมหาวิทยาลัย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ก็เริ่มสนใจที่จะ ทำ�หลักสูตรใน MOOCs MOOCs จึงเป็นเทรนด์ของแหล่งเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สิ่งที่จะต้องมีควบคู่กับไปกับ เทคโนโลยีก็คือทักษะที่จำ�เป็นสำ�หรับอนาคต เช่น การคิดระดับสูง การยอมรับระหว่าง วัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์แปลความหมาย ความฉลาดทางสังคม ฯลฯ
11
e-learning คำ�ว่า อีเลิร์นนิง นั้นเป็นที่รู้จักกันทั่วไป ในวงการการศึ ก ษา ซึ ่ ง ปั จ จุ บ ั น สามารถ เข้ า ถึ ง หลั ก สู ต รการเรี ย นรู ้ ต ่ า ง ๆ ทางออนไลน์ และอุปกรณ์โมบายต่างๆ ได้ โ ดยสะดวก เทคโนโลยี ไอซี ที ก้าวหน้าไปไม่หยุดยั้งก็ทำ�ให้เทคโนโลยีด้านอีเลิร์นนิงมีการพัฒนา รู ป แบบและช่อ งทางใหม่ๆ เพิ่มขึ้น เป็น เงาตามตั ว และเทคโนโลยี ด้ านการ ศึกษาที่กำ�ลังถูกกล่าวขวัญถึงในปัจจุบันกันอย่างมากก็คือ “MOOC”
Massive Open Online Course (MOOCs) Massive ผู้เรียนลงทะเบียนได้มากกว่า 10,000 คน Open ไม่เสียค่าใช้จ่าย ใครๆ ก็ลงทะเบียนเรียนได้ Online
เรียนออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต
Course เปิดสอนได้ตลอดตามเวลาที่ต้องการได้
โดยไม่จำ�เป็นต้องขอรับประกาศนียบัตรผล
Moocs หมายถึ ง
การเปิ ด หลั ก สู ต รการเรี ย นการสอนแบบออนไลน์ แบบเปิ ด เสรี ที่ ไ ม่ ว่ า ใครก็ ต ามจากซี ก ไหนในโลกสามารถสมั ค รเข้ า เรี ย นได้ ไ ม่ จำ�กัดจำ�นวน โดยเฉพาะการศึกษาระดับสูงที่ในระบบการศึกษาเดิมนั้นจำ�กัด อยู่แต่เฉพาะคนจำ�นวนน้อยเท่านั้น
12
องค์ประกอบของรายวิชา MOOC
“เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง”
โดยต้อง
1. วิดีโอแบบสั้นๆหลาย ๆ ชุด เช่น 1.1 การพูดให้ข้อมูล 1.2 การยกตัวอย่างงาน 1.3 การทดลอง 2. เอกสารประกอบออนไลน์ 3. การสนทนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น 4. กิจกรรมออนไลน์ 5. การประเมินผลการเรียน 6. การทดสอบความเข้าใจ เช่น แบบเลือกตอบ แบบประเมินตนเอง
คุณสมบัติสำ�คัญสำ�หรับของ MOOCs เป็นระบบเปิดหรือเรียนได้แบบเสรี โดยที่ผู้เรียนไม่จำ�เป็นต้องมีการลงทะเบียน เป็นนักเรียนหรือเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น รองรับผู้เรียนได้อย่างกว้างไกลและ รับจำ�นวนผู้เรียนมากได้ ซึ่งมีความแตกต่างกับการเรียนแบบเดิมๆ ที่รองรับ ผู้เรียนได้จำ�นวนน้อยเพราะต้องใช้ครูสอน ซึ่งทำ�ให้มีข้อจำ�กัดเรื่องอัตราส่วน ของครูกับคนเรียน ซึ่ง MOOCs ไม่มีข้อจำ�กัดนั้น เพราะสามารถรองรับผู้เรียน ได้แบบมหาศาล หรือคุณสมบัติอื่นๆ เช่น เนื้อหาที่นำ�มาให้เรียนเป็นเนื้อหา แบบเปิด (open licensing of content) เป็นต้น
แนวคิดที่เป็นแก่นของ MOOC
“หัวใจของ MOOC”
13
1. การเข้าถึง (Accessibility) : การเรียนผ่าน MOOC นั้นส่วนใหญ่จะไม่มีค่าใช้ จ่าย โดยผู้จัดทำ� และผู้ให้ทุนสนับสนุนเริ่มต้นด้วยแนวคิด “เราเป็นคนใจดี” (CSR) ไม่มีค่าใช้จ่าย (หรืออาจมีค่าใช้จ่ายถ้าแลกกับปริญญาบัตรจริง) ทำ�ให้ใครก็ตามที่มี อินเตอร์เน็ตก็สามารถเรียนได้ แต่ก็ต้องฟังภาษาที่เขาสอนรู้เรื่องด้วย ซึ่งส่วนใหญ่ก็ เป็นภาษาอังกฤษ 2. การปฏิสัมพันธ์ (Interaction) : การเรียนผ่าน MOOC นั้นผู้เรียนไม่ได้เพียงนั่ง ฟังอย่างเดียว ระหว่างดูวิดีโอไปจะมีคำ�ถามแทรกอยู่ตลอด ทำ�ให้ผู้เรียนต้องตั้งใจเรียน ตลอดเวลา นอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถตั้งคำ�ถามโดยให้เพื่อนนักเรียนที่มีอยู่ทั่วโลก มาช่วยกันมาตอบได้ 3. เสรีภาพ (Freedom) : ผู้เรียนจะเป็นใครอยู่ที่ไหน อายุเท่าไหร่ และมีพื้นฐานอะไร ไม่สำ�คัญมีสิทธิเข้าเรียนได้เหมือนกันหมด โดยสามารถเลือกวิชาที่อยากเรียนได้ ตามใจชอบ ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวบังคับ
ลักษณะการเรียนของ Moocs การเรียนลักษณะที่เรียกว่า MOOCs. หรือ Massive Open Online Courses ที่ใช้ หลักการนำ�เสนอแบบ Anyone Anywhere “ใครก็ได้ อยู่ที่ไหนก็เรียนได้” เริ่มได้รับ ความสนใจมากขึ้น และมีการเปิดหลักสูตรกันในมหาวิทยาลัยชั้นนำ�หลายแห่งทั่ว โลก โดยผู้ลงทะเบียนเรียน 60% มาจากต่างประเทศ สิ่งที่เป็นความท้าทายของระบบ MOOCs การศึกษาออนไลน์ ก็คือ แม้ว่าจะดึงดูดผู้เรียนได้จำ�นวนมาก แต่ส่วนใหญ่ เรียนไม่จบ จึงเป็นปัญหาให้ผู้ออกแบบระบบต้องไปวิเคราห์ โดยที่ผ่านมา มีเพียง 1 ใน 4 ที่เรียนโปรแกรม Open2Study ที่จบหลักสูตรตามกำ�หนด อย่างไรก็ตาม ผู้บริหารระบบOpen2Study มองในแง่ดีว่า เป็นเพราะโปรแกรมมีการเน้นคุณภาพ ที่เข้มข้น กว่ารูปแบบอื่น ๆ และจากที่มีการเปิดวิชาใหม่ขึ้นแทบทุกเดือน ทำ�ให้ คาดว่าภายในสิ้นปี 2013 Open2Studyจะมีวิชาเรียนเพิ่มขึ้นเป็นมากถึง 50 วิชา (ศิริพงษ์ วิทยวิโรจน์ 2556)
14
KHAN ACADEMY Salman Khan อดีตนักวิเคราะเฮจด์ฟันด์ผู้ก่อตั้ง Khan Academy
KHAN ACADEMY
KHAN ACADEMY ก่อตั้งโดย Salman Khan ชาวอเมริกันเชื้อสายบัง คลาเทศ-อินเดีย ซึ่งเปิดสอนหัวข้อในระดับมัธยมเป็นหลักและขยายไปหลาก หลาย ซึ่ง Salman Khan มีอดีตเป็นนักวิเคราะห์ของบริษัทเฮจด์ฟันด์ และเคย เรียนจบทั้ง MIT และ Harvard Business School ซึ่งบังเอิญต้องมาช่วยสอน การบ้านหลานสาวทาง YouTube เมื่อคนดูแล้วชอบเลยได้รับการสนับสนุน จาก มูลนิธิ Bill & Melinda Gates ถึง 5.5 ล้านเหรียญสหรัฐ และได้เงิน รางวัลสนับสนุนอีกหลายแหล่ง และตอนนี้มีวิชาให้เรียนกว่า 3,000 บทเรียน แล้ว และมีคนเช้ามาเรียนกว่า 70,000 คนทุก ๆ วัน มีระบบติดตามประเมิน การเรียน และมีการให้ Badgeเป็นรางวัลรับรองความสำ�เร็จอีกด้วย ที่สำ�คัญ คือ ไม่มีค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเรียนใด ๆ ทั้งสิ้น
Coursera เป็น MOOC ที่ แสวงหากำ�ไร ก่อตัง้ โดย Andrew Ng และ Daphne Koller โปรเฟสเซอร์ดา้ น Computer Science จากมหาวิทยาลัย Stanford โดยร่วมกับ 62 มหาวิทยาลัย และเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ รวมทัง้ มหาลัยชือ่ ดัง อย่างเช่น Duke, California Institute of Technology, University of Illinois at Urbana Champaign เป็นต้น ทีน่ า่ สนใจก็คอื ตอนนีม้ มี หาวิทยาลัยหลาย ประเทศทั่วโลกเข้าร่วมทั้งจากเอเชีย ยุโรป และอาหรับ
Andrew Ng
Coursera
15
หลักสูตร : หลายร้อยวิชาจากเกือบร้อย มหาวิทยาลัยทั่วโลก มีวิชาหลากหลาย ตั้งแต่ computer science, math, business, humanities, social science, medicine, engineering, education การประเมินผล : ใช้ซอฟต์แวร์ในการตรวจ การบ้าน ข้อสอบประเภทปรนัย ส่วนอัตนัยจะใช้เพื่อน 5 คนช่วยกันตรวจ ปฏิ ส ั ม พั น ธ์ ข องผู ้ เ รี ย น : ผ่ า นทางกลุ ่ ม ออนไลน์ ฟ อรั ม และสามารถนั ด พบกั น ได้ ท าง meetup ซึ ่ ง มี ก ลุ ่ น นั ก เรี ย นจั ด นั ด พบกั น ตามเมื อ งต่ า ง ๆ ทั ่ ว โลก
Daphne Koller
เวลาในการเรี ย น : บทเรี ย นส่ว นมากมีว ัน สิ ่ ง ที ่ ผ ู ้ เ รี ย นได้ ร ั บ : เกี ย รติ บ ั ต รซึ ่ ง มี ล าย เริ ่ มต้ นและวั น สิ ้ น สุ ด ชั ด เจน โดยสามารถ เซ็ น ของอาจารย์ ค นสอนแต่ ไ ม่ ใ ช่ จ าก ย้อนกลั บ ไปดู ว ี ด ิ โ อย้ อ นหลังได้ตลอด มหาวิ ท ยาลั ย และเริ ่ ม มี บ างวิ ช าสามารถ เ ที ย บ โ อ น ห น่ ว ย กิ ต กั บ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ต่ า ง ๆ ได้ ท ั ่ ว สหรั ฐ อเมริ ก า
16
UDACITY
Sebastian
edX (edx.org)
Peter Norvig
UDACITY เป็น MOOC ที่แสวงหากำ�ไร ก่อตั้งโดย Sebastian Thrun ซึ่งเป็น VP ของ Google อาจารย์พาร์ทไทม์ จากมหาวิทยาลัย Stanford ร่วมกับ Peter Norvig โดยได้ติดต่อศาสตรา จารย์เก่งๆ จากหลายมหาวิทยาลัยเข้า มาสอน ดังนั้นจึงเน้นขายชื่อผู้สอน มากกว่าชื่อมหาวิทยาลัย โดยเน้นวิชา ทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ไ ด้ เ งิ น ทุ น ส นั บ ส นุ น จ า ก บ ริ ษั ท เวนเจอร์แคปิตอลมา 21 ล้านเหรียญ สหรัฐ
หลักสูตร : 28 วิชา ด้านธุรกิจ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ การประเมินผล : ใช้ซอฟต์แวร์ใน การตรวจการบ้าน ข้อสอบทั้งหมด ปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียน : ผ่านทาง กลุ่มออนไลน์ และสามารถนัดพบ กันได้ตามเมืองต่าง ๆ ทั่วโลก เวลาในการเรียน : ผู้เรียนสามารถ เริ่มเรียนเมื่อไหร่ก็ได้ตามอัธยาศัย สิ่งที่ผู้เรียนได้รับ : เกียรติบัตร แบ่งระดับความสามารถ 4 ระดับ มี บ ริ ก ารหางานด้ า นเทคโนโลยี กั บ บริษัทใหญ่ ๆ ให้ และโอนหน่วยกิต ได้ในบางวิชา
edx
17
edx เป็น MOOC ที่ไม่แสวงหากำ�ไร ก่อตั้งโดยมหาวิทยาลัย Harvard และ MIT โดยทั้งสองสถาบันได้ ลงเงินทุนสนับสนุนให้ถึง 60 ล้าน เหรียญสหรัฐ ตอนนี้วิชาเรียนยัง มาจาก Hardvard, MIT, และ UC Berkeley เป็นหลัก แต่ตอนนี้มีวิชา เรียนจากอีก 9 มหาวิทยาลัย เข้ามาร่วม และที่น่าสนใจ คือ กำ�ลังจะมีมหาวิทยาลัยจากทางเอเชียหลายแห่ง เช่น ปักกิ่ง, โซล, ฮ่องกง, เกียวโต และบอมเบย์ เข้าร่วม หลักสูตร : 68 กว่าวิชา จาก 12 มหาวิทยาลัย การประเมินผล : ใช้ซอฟต์แวร์ในการตรวจการบ้าน และข้อสอบทั้งหมด โดยการสอบบางวิชาจะต้องไป สอบที่ศูนย์สอบ
ปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียน : ยังมีน้อยเพราะเพิ่งเปิดได้ไม่นาน ที่ผ่านมามีแค่วิชาเดียว ที่มีการนัดพบกันในระดับภูมิภาค เวลาในการเรียน : ส่วนมากจะมีวันเริ่มและวันสิ้นสุดที่แน่นอน และสามารถลง ทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 2 สัปดาห์หลังจากเริ่มสอน สิ่งที่ผู้เรียนได้รับ : ได้รับเกียรติบัตร 2 ใบ ใบแรกรับรองว่าเรียนจบ อีกใบหนึ่งรับรอง ว่าสอบผ่าน โดยทั้งสองใบมีตราของ edX และตราของมหาวิทยาลัยต่อท้ายด้วย “X” เช่น HardvardX, MITX เป็นต้น
18
โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
ความจริ ง ประเทศไทยก็ มี ก ารให้ บ ริ ก ารความ รู้ทางออนไลน์มาเป็นระยะเวลานานพอสมควร แล้ ว อย่ า งเช่ น เว็ บ ไซต์ไทยกู๊ด วิว ดอทคอม (Thaigoodview.com) ที่เกิดจากหน่วยงาน เอกชนและรัฐบาลร่วมมือกัน, วิชาการดอทคอม (vcharkarn.com) ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี (สสวท), ทรู ปลู ก ปั ญญา (trueplookpanya.com) ของบริษัท ทรู คอร์ปอเรชัน จำ�กัด
แ ล ะ ถ้ า เ ป็ น ร ะ ดั บ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ท า ง โครงการ Thailand Cyber University (TCU : Thaicyberu.go.th) ซึ่งเป็น โครงการภายใต้ สำ � นั ก งานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาของรัฐ (สกอ.) ก็ได้นำ�เสนอ บทเรียนออนไลน์เพื่อเรียนฟรีตามอัธยาศัย (self-pace) กว่า 600 รายวิชาแล้ว จากมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมมือในโครงการนี้ และปัจจุบันทาง TCU ก็กำ�ลังริเริ่มจะมีการ เรียนการสอนในรูปแบบ MOOC มาตรฐาน เรียกว่า Thai-MOOC โดยมีมหาวิทยาลัย ที่ เ ป็ น ผู้ ก่ อ ตั้ ง คื อ จ า ก จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก็ ห วั ง ว่ า เราจะได้ เ ห็ น บรรยากาศความตื่ น ตัวในการเรียนรู้ของคนไทยเพื่อเตรียมตัว ต้อนรับสู่ AEC ในไม่ช้านี้
19 ปัญหาและความท้าทายของ MOOC ปัญหาท้าทายมากที่สุดของ MOOC ก็คือ อัตราการเลิกเรียน หรือเรียนไม่จบยัง สูงมาก โดยครั้งหนึ่งได้มีการสำ�รวจพบว่ามีนักเรียนเข้าไปลงทะเบียนเรียนใน edX วิชา Circuits & Electronics จำ�นวนมากถึง 155,000 คน แต่มี 23,000 คน เท่านั้นที่ได้แต้มไปบ้าง (หมายถึงได้ลงมือทำ�แบบฝึกหัดอะไรไปบ้าง) แต่มีเพียง 9,300 คน ที่ผ่านการสอบกลางภาค พอถึงก่อนสอบปลายภาคก็เหลือนักเรียน แค่ 8,200 คน ซึ่งจากจำ�นวนนี้มี 7,000 คนเท่านั้นที่ผ่านหลักสูตรโดยสมบูรณ์ และจากการสำ�รวจเจาะลึกพบว่า มีเพียงครึ่งหนึ่งจากผู้เรียนจบเท่านั้นที่มีอายุอยู่ ในวัยเรียนมหาวิทยาลัยตามระบบ ที่สำ�คัญคือสองในสามของนักเรียนกลุ่มนี้ ยอมรับว่าเคยเรียนวิชาที่คล้ายกับวิชา Circuits & Electronics มาแล้ว แต่เกือบทุกคนบอกว่าการออกแบบหลักสูตรของ edX ดีกว่าที่เคยเรียน จะเห็นได้ว่า MOOC อาจเป็นช่องทางการเรียนเสริมที่ดีมากกว่าการเรียนที่ จะเอาประกาศนียบัตร แต่ทำ�อย่างไรถึงจะให้ผู้เรียนตั้งใจเรียนจนจบในอัตราส่วน ที่มากกว่านี้
โอกาสของคนทำ�อีเลิร์นนิง MOOC มีโอกาสที่จะไม่ใช่แค่มา “ปรับโฉม” รูปแบบการศึกษาในโลกยุคดิจิตอล เท่านั้น แต่อาจถึงขั้น “ปฏิวัติ” การศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับอุดมศึกษา กันเลยทีเดียว (แต่มหาวิทยาลัยในรูปแบบเดิมก็ยังคงอยู่) ซึ่งนอกจากจะเป็นการ เปิดประตูแห่งโอกาสอย่างกว้างขวางสำ�หรับนักเรียนแล้ว ยังเปิดโอกาสให้กับ นักพัฒนาสื่อการเรียนการสอนแบบดิจิตอล ไม่ว่าจะเป็นนักออกแบบการสอน (Instructional Designer), นักพัฒนาหลักสูตร (Courseware Engineer), นักออกแบบกราฟิก, นักถ่ายและตัดต่อวิดิโอ แม้กระทั่งครูอาจารย์ที่จะได้บทบาท เพิ่มเติมเป็นนักแสดง นักเล่าเรื่อง และนักเขียนบทอีกด้วย ซึ่งดูเหมือนงาน จะมากขึ้น แต่ความจริงแล้วงานสอนจะมีความสร้างสรรค์ และมีคุณภาพมากขึ้น แต่เหนื่อยที่ต้องพูดซ้ำ� ๆ กันน้อยลงมากมาย นอกจากนี้ยังมีโอกาสทำ�รายได้ มากขึ้นจากส่วนแบ่งของการสอนอีกด้วย (ภาสกร ใหลสกุล 2014)