E portfolio manual

Page 1


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

คำนำ คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio) ฉบับนี้จัดทาขึ้น เนื่องจากทางศูนย์ นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้เล็งเห็นความสาคัญของการนาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์มา ประยุ กต์ใช้ในการจัดการเรีย นการสอนสาหรับนิสิ ตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั ย โดยเนื้อหาในคู่มือฉบับนี้จะเน้น ขั้นตอนการพัฒนาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ ประเภทแฟ้มสะสมงานเชิงวิชาการ (Academic Portfolio) หรือ แฟ้มสาหรับผู้เรียน (Student Portfolio) แบ่งออกเป็น (1) Working Portfolio คือแฟ้มที่แสดงผลเกี่ยวกับการ เรียนและร่องรอยหลักฐานต่างๆ ที่ แสดงถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ และ (2) Presentation Portfolio คือแฟ้มสะสมงานที่ แสดงถึงความสามารถพิเศษ/ความเชี่ยวชาญของผู้พัฒนาแฟ้มสะสมงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิด ทักษะทางด้านเทคโนโลยี มีความรู้ในการบริหารจัดการงานสารสนเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ งช่วยให้นิสิตสามารถ สะสมผลงานของตนเอง และดาเนินการจัดเก็บผลงานระหว่างเรียนให้เป็นระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความ สะดวก รวดเร็ว ต่อการนามาทบทวน เผยแพร่ หรือนาเสนอผลงานของตนเอง นอกจากนี้ยังจะเป็นการส่งเสริมให้ นิสิตได้ฝึกใช้ทักษะความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ในการนาเสนอผลงานในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งแนวทางการนาเสนอ ความคิดเห็นในการดาเนินงานต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ ข้อมูล และผลงานที่นิสิตเก็บสะสมไว้จะถูกรวบรวมอยู่ในแฟ้ม สะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะช่วยให้ นิสิตมีข้อมูล เกี่ยวกับประวัติส่วนตัว ผลงานจากการเรียน และการจัดทา กิจกรรมต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเรียนของนิสิต และเป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ประโยชน์เพื่อต่อยอดใน โอกาสต่างๆ เช่น การสมัครเรียนต่อ และการสมัครงาน เป็นต้น คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio) ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อนิสิต อาจารย์ รวมทั้งผู้ที่สนใจศึกษาแนวทางการจัดทาแฟ้มสะสมงานงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio) ด้วยระบบ Blackboard Learning Management System ซึ่งเป็นระบบสนับสนุนการจัดการเรียน การสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสาหรับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไม่มากก็น้อย

คณะผู้จัดทา


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

สำรบัญ เรื่อง หน้า คานา .............................................................................................................................................................. ก สารบัญ ............................................................................................................................. ............................. ข เริ่มต้นการสร้าง e-Portfolio ........................................................................................................................ 1 การสร้าง Banner สาหรับ Header และ Footer ........................................................................................ 9 การเปลี่ยนพื้นหลัง ........................................................................................................................................ 15 การสร้างหน้าเมนู และ Artifact ................................................................................................................... 19 การแบ่งปัน (share) e-Portfolio ................................................................................................................. 30 ตัวอย่างผลงาน e-Portfolio ......................................................................................................................... 41 คณะผู้จัดทา ............................................................................................................................. ..................... 45


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

1


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

1. สร้าง Working e-Portfolio แล้วคลิกที่ Content Collection

2. สังเกตทีเ่ มนูด้านซ้าย คลิกที่ Portfolios จากนั้นคลิกที่ My Portfolios

1 2

3. คลิกที่ Create Personal Portfolios

2


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

1. 2. 3. 4.

ในส่วนของการจัดการกับ e-Portfolio แบ่งออกเป็น 4 เมนู ได้แก่ Properties แสดงการกาหนดชื่อและคาอธิบายของแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ Style แสดงการเลือกรูปแบบการจัดวางเมนู (Layout) รูปแบบพื้นหลัง (Background) รูปแบบตัวอักษร (Fonts) และรูปแบบของเมนู (Navigation Menu) Build แสดงการสร้างหน้าเพจของ e-Portfolio การกาหนดเมนูต่างๆ การสร้างหน้าอาทิแฟคต์ (Artifact) การใส่ Header และ Footer Settings แสดงการตั้งค่าของ e-Portfolio ได้แก่ สถานะของ e-Portfolio และการตั้งค่าการแชร์ e-Portfolio

3


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

4

Properties หน้าต่างแสดงการปรับแต่งรูปแบบของ e-Portfolio โดยมีการกาหนด 3 ส่วน ดังนี้ 1. Select Method เป็นการกาหนดรูปแบบให้เลือก 2 ลักษณะ คือ 1.1. Select Existing เป็นการเลือกรูปแบบสาหรับคณะ หรือหน่วยงานต่างๆ จะมีการกาหนด Template ของคณะนั้นมาให้สาเร็จรูป เช่น Title, Describtion, Header, Theme colour, Fonts เป็นต้น 1.2. Create New เป็นการสร้างโดยที่ใช้ Template พื้นฐานที่มีให้ สามารถปรับแต่งได้ด้วยตนเอง ในส่วนนี้ ขอให้เลือก Create New 1 2. General Information กาหนดข้อมูลพื้นฐานของ e-Portfolio กาหนดให้ใส่ข้อมูลดังนี้ 2.1. Title ใส่คาว่า Working e-Portfolio 2 2.2. Description ใส่ข้อมูล ชื่อ – นามสกุล และเลขประจาตัวนิสิต 3. Next Step คลิกทีป่ ุ่ม Save and Continue เพื่อบันทึก และเริ่มขั้นตอนต่อไป 3

1

2

3


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

เมนู Style เป็นรูปแบบของการปรับแต่ง e-Portfolio มีรายละเอียด ดังนี้ 1. Select Layout Theme เป็นการเลือกรูปแบบของการจัดวางเมนู โดยมีให้เลือก 4 รูปแบบ คือ

Layout 1 Layout 2 Layout 3 Layout 4

การจัดวางเมนูทางขวาระนาบเดียวกับ Header การจัดวางเมนูทางซ้ายระนาบเดียวกับ Header การจัดวางเมนูทางขวาใต้ระนาบของ Header การจัดวางเมนูกึ่งกลางใต้ระนาบของ Header

2. Design Background เป็นการออกแบบพื้นหลังของ e-Portfolio โดยมีรายการเลือกดังนี้

1 2 3 4

2.1. Background Color สามารถเลือกใช้พื้นหลังสีต่างๆ ที่กาหนดไว้ให้ได้ หรือสามารถพิมพ์โค้ดสี (Code color) ก็ได้ 1 2.2. Background Image แสดงรูปภาพที่เลือกใช้เป็นพื้นหลังของ e-Portfolio 2 ถ้าทาเครื่องหมายใน ช่อง “” ด้านล่าง คือการไม่ให้รูปภาพนั้นแสดงเป็นพื้นหลัง 3

5


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

2.3. New Background Image แสดงการเลือกรูปภาพจากไฟล์ในเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น 4 3. Font Settings เป็นการเลือกรูปแบบตัวอักษร โดยมีรายการเลือกดังนี้

3.1. 3.2. 3.3. 3.4. 3.5.

เปลี่ยนรูปแบบของตัวอักษร เปลี่ยนขนาดตัวอักษร เปลี่ยนสีตัวอักษร ปรับเปลี่ยนรูปแบบของตัวอักษรชื่อเรื่อง ปรับเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษรเมนู

4. Style Navigation Menu รูปแบบของส่วนเมนู โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1 2

3

4.1. Preview แสดงรูปแบบของเมนู 4.2. Style สามารถเลือกรูปแบบของเมนูได้ 2 รูปแบบ คือ 4.2.1. Text เมนูแบบตัวอักษร 4.2.2. Buttons เมนูแบบปุ่ม โดยสามารถเลือกรูปแบบของปุ่มได้ 4.3. Menu Font สามารถเลือกรูปแบบของตัวอักษรในเมนูได้ 2 แบบ คือ 4.3.1. Use Template Defaults ใช้รูปแบบเดิม 4.3.2. Customize Navigation Menu Font ปรับแต่งสีพื้นหลังของเมนู รูปแบบ ขนาด และสีของ ตัวอักษรเมนู 5. Next Step คลิกทีป่ ุ่ม Save and Continue เพื่อบันทึก และเริ่มขั้นตอนต่อไป

6


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

เมนู Build แสดงการสร้างหน้าเมนูต่างๆ และการสร้างหน้าเพจของ e-Portfolio แต่ละหน้า มี รายละเอียด ดังนี้ 1

2 3

4 1. Create Page สร้างหน้าเพจต่างๆ หน้าเพจในส่วนนี้จะปรากฎเป็นเมนูต่างๆ ด้วย 2. Header สามารถสร้าง Header ของ e-Portfolio ได้ โดยสร้างจากเครื่องมือของ Blackboard ใช้รูปภาพ หรือ Flash (อาศัยการฝัง Code HTML) เป็น Header ได้ **ขนาดที่เหมาะสม คือ 900 x 200 px 3. Footer สามารถสร้าง Footer ของ e-Portfolio ได้ โดยสร้างจากเครื่องมือของ Blackboard ใช้รูปภาพ หรือ Flash (อาศัยการฝัง Code HTML) เป็น Footer ได้ **ขนาดที่เหมาะสม คือ 900 x 100 px 4. Next Step คลิกทีป่ ุ่ม Save and Continue เพื่อบันทึก และเริ่มขั้นตอนต่อไป

7


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

8

เมนู Settings เป็นการแสดงการตั้งค่าของ e-Portfolio มีรายละเอียด ดังนี้

1 2

3 1. Portfolio Status เป็นการแสดงสถานะในการจัดทาหรือเผยแพร่ e-Portfolio

เมื่อทาเครื่องหมายในช่อง  นั้น หมายถึง แฟ้มสะสมงานนั้นสมบูรณ์ เรียบร้อยแล้ว 2. Share Portfolio Settings การตั้งค่าการแบ่งปัน (share) e-Portfolio 2.1. เมื่อทาเครื่องหมายในช่อง  นั้น หมายถึง สามารถเปิดการแบ่งปัน (share) แฟ้มสะสมงานให้ผู้อื่นเข้ามาชมได้ 2.2. เมื่อทาเครื่องหมายในช่อง  นั้น หมายถึง ผู้ที่เข้ามาชม แฟ้มสะสมงานดังกล่าว จะไม่สามารถแสดงความคิดเห็น หรือมองเห็นการแสดงความคิดเห็นของผู้อื่นบน แฟ้มสะสมงานนั้นได้ 3. Next Step คลิกทีป่ ุ่ม Submit เพื่อบันทึกการแก้ไขทั้งหมด


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

9


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

ในขั้นตอนของการสร้างแบนเนอร์ใส่ใน Header จะสามารถออกแบบและสร้างได้ในโปรแกรม โฟโต้สเคป (Photoscape) ซึ่งเป็นโปรแกรม Freeware ที่ใช้ในการออกแบบงานประเภทกราฟิก มีความสามารถ ในการตกแต่งภาพ การสร้างภาพเคลื่อนไหว การจับภาพหน้าจอ เป็นต้น สามารถ download ได้จากเว็บไซต์ http://www.photoscape.org

1. ติดตั้งโปรแกรม Photoscape ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และเปิดโปรแกรม จะพบหน้าต่างของโปรแกรม ดังรูปภาพ

10


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

2. คลิกที่เครื่องมือ “แก้ไขภาพ” จะได้ตามภาพด้านล่าง

11


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

3. กาหนดขนาดของแบนเนอร์ โดยคลิกที่ปุ่ม “เมนู” เลือกคาสั่ง “ภาพใหม่” จะปรากฏหน้าต่างให้กาหนดขนาด ความกว้าง ความยาว และสีของพื้นหลัง กาหนดให้ความกว้าง = 900 px ความยาว = 200 px และกาหนดสี ตามต้องการ ตามรูปภาพด้านล่าง

12


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

13

4. จะได้แบนเนอร์ที่จะนาไปใส่ Header ที่มีขนาด 900 x 200 px ตามที่ต้องการ จากนั้นลงมือออกแบบ แบนเนอร์ของตนเอง โดยแนะนาเครื่องมือที่ใช้ในการออกแบบต่างๆ ดังนี้

Tool ใช้ในการ ตกแต่งภาพ เช่น แก้ตาแดง ลบตาหนิ เป็นต้น

เพิ่มวัตถุ ใช้ใน การเพิ่มรูปร่าง แทรกรูปภาพ จัดรูปแบบ ตัวอักษรต่างๆ

ตัดภาพ ใช้ใน การตัดภาพ ลักษณะต่างๆ

หน้าหลัก แสดงหน้า ของการเครื่องมือ ต่างๆ และการ ตกแต่งแบบปกติ

เครื่องมือใช้ในการสร้างกรอบ สามารถสร้างกรอบ ของภาพ ทาเส้นขอบ หรือใช้กรอบรูปสาเร็จ

5. เมื่อตกแต่งเสร็จเรียบร้อย จะได้ Banner สาหรับใส่ใน Header จากนั้นทาการ Save เป็นไฟล์รูปภาพ (นามสกุลไฟล์ .jpg) โดยคลิกที่ปุ่ม “บันทึก” 1 เลือก “บันทึกเป็น” 2 จะปรากฏหน้าต่างให้ทาการ บันทึก ตั้งชื่อไฟล์ และเลือก Save as type เป็น “JPEG (*.jpg*.jpeg)” 3 จากนั้นกดปุ่ม “Save” เพื4่อ บันทึกแบนเนอร์ดังกล่าว

2 1

4

3


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

ในขั้นตอนของการสร้างแบนเนอร์ใส่ใน Footer ใช้วิธีการสร้างและออกแบบเช่นเดียวกันกับการสร้าง แบนเนอร์ใส่ใน Header แต่กาหนดขนาดของ Footer ให้มีขนาด 900 x 100 px จะได้รูปภาพ Footer ดังตัวอย่าง

14


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

15


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

ในการเปลี่ยนพื้นหลังของ e-Portfolio สามารถทาได้ 2 รูปแบบ ดังนี้ 1. การเปลี่ยนพืน้ หลังตาม Code color ของ Blackboard 2. การเปลี่ยนพื้นหลังโดยใช้รูปภาพ

การเปลี่ยนพื้นหลังตาม Code color ของ Blackboard สามารถทาได้ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. เมื่อเข้าสู่เมนู “Portfolio” จะปรากฏหน้าต่างดังภาพ เพื่อแสดงให้เห็นรายการของ e-Portfolio แต่ละ รายการ สามารถเลือกเข้าไปชม แก้ไข หรือลบ Portfolio แต่ละอันได้ คลิกที่ปุ่ม “Edit” เพื่อทาการแก้ไข

เปิด แก้ไข ลบ

2. เมื่อเข้ามาในเมนู “Edit Portfolio” ให้คลิกเลือก “Edit Style” ดังรูปภาพด้านล่าง

16


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

3. แสดงหน้าต่าง “Edit Style” ให้เลือกหัวข้อที่ 2 “Design Background” เลือกหัวข้อ “Background Color” สามารถคลิกเลือกสีที่ต้องการจาก หน้าต่าง Code color ที่ปรากฏได้ จากนั้นคลิกปุ่ม “Apply”

4. คลิกปุ่ม “Save and Continue” เพื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลง

5. จากนั้นกลับไปที่เมนู “Portfolio” และเลือก e-Portfolio ที่ได้ทาการเปลี่ยนพื้นหลัง จากนั้นคลิก “Open” เพื่อดูผลงาน

เปิด

17


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

การเปลี่ยนพื้นหลังโดยใช้รูปภาพ สามารถทาได้ตามขั้นตอนเหมือนกับการเปลี่ยนพื้นหลังตาม Code color ของ Blackboard (ขั้นตอนที่ 1 – 2 ) จากนั้นดาเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. แสดงหน้าต่าง “Edit Style” ให้เลือกหัวข้อที่ 2 “Design Background” เลือกหัวข้อ “New Background Image” จากนั้นคลิกที่ปุ่ม “Browse My Computer” จะปรากฏหน้าต่างเพื่อค้นหารูปภาพภายในเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่จะนามาทาเป็นภาพพื้นหลังของ e-Portfolio

2. คลิกเลือกรูปภาพที่ต้องการ 1 และคลิกปุ่ม “Open” 2 จากนั้นคลิกปุ่ม “Save and Continue” เพื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลง 3 และกลับไปดูผลของการเปลี่ยนพื้นหลังตามขั้นตอนเดิม (ขั้นตอนที่ 5) 3 1

2

18


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

19


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

ในขั้นตอนของการสร้างหน้าเมนู และการสร้างหน้าเพจของ e-Portfolio นั้น ต้องทาความเข้าใจหลักการ สร้าง ดังนี้คือ การสร้างหน้าเมนูให้กับ e-Portfolio ต้องอาศัยการสร้างที่เรียกว่า “Create Page” ซึ่งในการ สร้างหน้าเมนูนั้นขึ้นมา จะยังไม่สามารถใส่เนื้อหาต่างๆ ลงไปได้ จาเป็นที่จะต้องมีการสร้างหน้าเนื้อหา เพื่อให้ สามารถใส่เนื้อหาต่างๆ ลงไปในหน้าดังกล่าวได้โดยตรง แล้วจึงดึงข้อมูลไปส่ในหน้าเมนูนั้นได้ ซึ่งเรียกว่า “Create New Artifact” ดังนั้นจึงขอนาเสนอขั้นตอนในการสร้างเมนู และการสร้างหน้า Artifact ดังนี้

การสร้างเมนู สามารถทาได้ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. เมื่อเข้ามาในเมนู “Edit Portfolio” ให้คลิกเลือก “Build the Portfolio” ดังรูปภาพด้านล่าง

20


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

2. จะปรากฏหน้าต่าง “Build the Portfolio” ให้คลิกที่ปุ่ม “Create Page”

3. จะปรากฏหน้าต่าง “Add Portfolio Page” ดังรูปภาพ ซึ่งในหน้านี้จะประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้

3.1. Page Properties ในส่วนนี้จะเป็นการกาหนดข้อมูลของเพจ ดังนี้ 3.1.1.Title ชื่อเพจ (เมนู) * กาหนดให้จาเป็นต้องกรอกข้อมูล 3.1.2.Description คาอธิบาย ใช้สาหรับกรอกคาอธิบายในหน้าเมนูดังกล่าว * กรอกหรือไม่กรอกก็ได้

21


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

3.2. Page Content ในส่วนนี้เป็นการสร้างหน้าเนื้อหาต่างๆ ให้มารวมอยู่ในเมนูนั้น สามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ 3.2.1. Browse คือการค้นหาหน้า Artifact ที่อยู่ภายใน Content Collection เพื่อดึงข้อมูลมาแสดงใน หน้าเมนูดังกว่า

3.2.2.Create New Artifact เป็นการสร้างหน้า Artifact ใหม่ เพื่อใส่เนื้อหาและเพิ่มลงในเมนูดังกล่าว

4. เมื่อคลิกปุ่ม “Submit” แล้ว จะกลับมายังหน้าต่าง “Build the Portfolio” อีกครั้ง และจะปรากฏเมนูขึ้นมา ใหม่ 1 จากนั้นคลิกที่ปุ่ม “Save and Continue” ดังรูปภาพด้านล่าง 2

2

1

22


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

5. เมื่อคลิกที่ปุ่ม “Save and Continue” เรียบร้อยแล้ว จะไปสู่หน้า “Setting” ให้คลิกที่ปุ่ม “Submit” จะ ย้อนกลับไปสู่หน้า “Edit Portfolio” อีกครั้ง

23


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

6. จากหน้าต่างที่ปรากฏ ให้คลิกที่ “View Portfolio” เพื่อแสดงหน้าต่างการนาเสนอ e-Portfolio เมนูที่สร้าง จะไปปรากฏอยู่ในแถบเมนูใต้ Header ในหน้าต่างการนาเสนอ e-Portfolio ดังรูปภาพ

24


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

ในขั้นตอนของการสร้างหน้า Artifact ขึ้นมา เพื่อใส่เนื้อต่างๆ ลงไปในหน้าเพจ หรือเมนูต่างๆ สามารถทา ได้ 2 วิธี ดังนี้ การสร้างหน้า Artifact ในหน้าเมนู 1. การสร้างหน้า Artifact ในหน้าเมนู เป็นการสร้างหน้า Artifact ในหน้าเมนูดังกล่าวโดยตรง โดยเลือกเข้าไปที่ เมนูที่ต้องการสร้าง Artifact ใหม่ และคลิกที่ปุ่ม “Create New Artifact” ดังรูปภาพด้านล่าง

2. จะปรากฏหน้าต่าง “Create Personal Artifact” ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้ 2.1. General Information เป็นส่วนของการกาหนดข้อมูลของหน้า Artifact ดังนี้ 2.1.1.Name ชื่อหน้า Artifact * กาหนดให้จาเป็นต้องกรอกข้อมูล 2.1.2.Description คาอธิบาย ใช้สาหรับกรอกคาอธิบายในหน้า Artifact ดังกล่าว * กรอกหรือไม่กรอกก็ ได้

25


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

2.2. Content ใส่เนื้อหาต่างๆ สามารถใช้เครื่องมือที่มีให้ของ Blackboard 1 เครื่องมือในการออกแบบ เนื้อหา 2 การแนบไฟล์ 3 หรือเลือกหน้า Artifact อื่นที่อยู่ภายใน Content Collection 4 วิธีใดก็ได้ 2

1

3

4

3. เมื่อใส่เนื้อหาเรียบแล้วในส่วนของ “Content” จากนั้น คลิกที่ปุ่ม “Submit” ในการบันทึกการสร้างหน้าเพจ นั้น

26


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

4. เมื่อคลิกปุ่ม “Submit” แล้ว จะกลับมายังหน้าต่าง “Build the Portfolio” อีกครั้ง และจะปรากฏ Artifact ใหม่ ในหัวข้อเมนูที่สร้างขึ้น 1 จากนั้นคลิกที่ปุ่ม “Save and Continue” ดังรูปภาพด้านล่าง 2 2

1

5. เมื่อคลิกที่ปุ่ม “Save and Continue” เรียบร้อยแล้ว จะไปสู่หน้า “Setting” ให้คลิกที่ปุ่ม “Submit” จะ ย้อนกลับไปสู่หน้า “Edit Portfolio” อีกครั้ง

27


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

6. จากหน้าต่างที่ปรากฏ ให้คลิกที่ “View Portfolio” เพื่อแสดงหน้าต่างการนาเสนอ e-Portfolio Artifact ใหม่ ที่สร้างจะไปปรากฏอยู่ในหน้าเมนูนั้น ในหน้าต่างการนาเสนอ e-Portfolio ดังรูปภาพ

28


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

การสร้างหน้า Artifact จากเมนู Personal Artifact 1. การสร้างหน้า Artifact จากเมนู Personal Artifact เป็นการสร้างหน้า Artifact โดยใช้เมนู “Personal Artifact” ที่อยู่ทางด้านขวาใต้เมนู “My Portfolios” จะปรากฏหน้าต่าง ดังรูปภาพด้านล่าง

2. คลิกที่ปุ่ม “Create New Artifact” จะปรากฏหน้าต่าง “Create Personal Artifact” จากนั้นดาเนินการ สร้างตามวิธีการเดิมในการสร้างหน้า Artifact ในหน้าเมนู (ขั้นตอนที่ 2 – 6)

29


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

30


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

เมื่อทาการตกแต่ง e-Portfolio เรียบร้อย เสร็จสมบูรณ์แล้ว การแบ่งปัน (share) e-Portfolio เพื่อให้ ผู้อื่นที่ได้รับอนุญาต หรือถูกเชิญจากเจ้าของ e-Portfolio สามารถเข้ามาดู e-Portfolio ดังกล่าวได้ มีขั้นตอน ในการแบ่งปัน (share) e-Portfolio 6 รูปแบบ ดังนี้

1. 2. 3. 4. 5. 6.

Users เลือกชื่อผู้ใช้ภายในระบบ Blackboard สาหรับการแบ่งปัน External Users เลือกชื่อผู้ใช้ภายนอกระบบ Blackboard สาหรับการแบ่งปัน Courses เลือกรายวิชาในระบบ Blackboard สาหรับการแบ่งปัน Organizations เลือกหน่วยงานหรือองค์กรที่มีในระบบ Blackboard สาหรับการแบ่งปัน Institution Roles เลือกเฉพาะกลุ่มหน่วยงาน หรือกลุ่มคนแบบสร้างกฎในการแบ่งปัน All System Accounts เลือกบัญชีผู้ใช้ที่มีอยู่ในระบบ Blackboard ทั้งหมดสาหรับการแบ่งปัน

ในการแบ่งปัน (share) e-Portfolio รูปแบบนี้ ใช้ในกรณีที่ผู้ใช้ต้องการที่จะเลือกแบ่งปัน e-Portfolio นี้ ให้เพียงบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือเป็นกลุ่มคนจานวนหนึ่ง ให้สามารถได้รับสิทธิ์ในการเข้าชม e-Portfolio โดยผู้ที่ไม่ได้รับสิทธิ์การแบ่งปัน (share) จะไม่สามารถเข้าไปดูได้ ขั้นตอนในการแบ่งปัน (share) e-Portfolio แบบ Users มีขั้นตอนดังนี้

31


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

1. ในหน้าต่าง “Edit Portfolio” ให้คลิกที่เมนู “Edit Settings” เพื่อทาการตั้งค่าแบ่งปัน (share) e-Portfolio

2. จะปรากฏหน้าต่าง “Settings” ให้คลิกเพื่อทาเครื่องหมาย ตามรูปภาพด้านล่าง ตามลาดับ

1 2

3

32


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

3. เมื่อคลิกที่ปุ่ม “Submit” แล้ว จะกลับมาที่หน้าต่าง “Edit Portfolio” อีกครั้ง ให้คลิกเลือกที่ “Shared Portfolio”

4. จะปรากฏหน้าต่าง “Shared Portfolio” ให้คลิกที่ปุ่ม “Shared with” และเลือก “Users” ดังรูปภาพ

33


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

5. จะปรากฏหน้าต่าง “Share Portfolio with Users” ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้ 5.1. Choose Users เลือกชื่อผู้ที่ต้องการแบ่งปัน (share) e-Portfolio * กาหนดให้จาเป็นต้องกรอกข้อมูล

5.2. Email Information เป็นการส่งอีเมล์ถึงผู้ที่ได้รับการอนุญาต หรือเชิญให้สามารถเข้าชม e-Portfolio ได้ (สามารถเลือกได้ว่าต้องการให้ส่งอีเมล์ถึงผู้ได้รับอนุญาต หรือถูกเชิญ ให้ทาเครื่องหมายในช่อง)

5.3. Submit ขั้นตอนสุดท้ายในการบันทึกการแบ่งปัน e-Portfolio โดยคลิกที่ปุ่ม “Submit”

34


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

ในการแบ่งปัน (share) e-Portfolio รูปแบบนี้ ใช้ในกรณีที่ผู้ใช้ต้องการที่จะเลือกแบ่งปัน e-Portfolio นี้ ให้กับบุคคลที่ไม่ได้ใช้งานในระบบ Blackboard โดยใช้วิธีการเพิ่มอีเมล์ของผู้ได้รับสิทธิ์ ในการเข้าชม e-Portfolio และส่งอีเมล์ถึงผู้ได้รับอนุญาต ทาให้บุคคลภายนอกที่ได้รับการอนุญาตนั้น สามารถเข้าชม e-Portfolio นี้ได้ อีกทั้งยังสามารถสร้างรหัสป้องกัน (Password) ในการเข้าชมได้ด้วย กรณีที่ต้องการความปลอดภัย และเพื่อการยืนยันสิทธิ์ในการเช้าชม ขั้นตอนในการแบ่งปัน (share) e-Portfolio แบบ Externals Users โดยมีขั้นตอนตามวิธี การแบ่งปัน (share) e-Portfolio แบบ Users (ขั้นตอน 1 - 3) และมีขั้นตอนต่อไป ดังนี้ 1. จากหน้าต่าง “Shared Portfolio” ให้คลิกที่ปุ่ม “Shared with” และเลือก “Externals Users” ดังรูปภาพ

2. จะปรากฏหน้าต่าง “Share Portfolio with Externals Users” ซึ่งประกอบด้วย 5 ส่วน ดังนี้ 2.1. Email Recipients เป็นการระบุที่อยู่อีเมล์ (e-mail) ของผู้ที่ต้องการแบ่งปัน (share) e-Portfolio โดย สามารถส่งอีเมล์ถึงหลายคนได้ ด้วยการพิมพ์ที่อยู่อีเมล์ต่อกันและคั่นด้วยเครื่องหมาย “,” (Comma)

35


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

2.2. Email Information เป็นการส่งอีเมล์ถึงผู้ที่ได้รับการอนุญาต หรือเชิญให้สามารถเข้าชม e-Portfolio ได้ (สามารถเปลี่ยนแปลงชื่อหัวเรื่องของอีเมล์ฉบับนี้ได้ในช่องสี่เหลี่ยม

1

)

1

2.3. Portfolio Password เป็นการตั้งรหัสผ่านสาหรับการเข้าชม e-Portfolio โดยคลิกเลือกที่ และกรอกรหัสผ่าน อีกทั้งยังสามารถส่งรหัสผ่านที่ผู้ใช้ตั้งนี้ ส่งไปให้พร้อมกับอีเมล์การอนุญาตสิทธิ์ดังกล่าวได้ทันที โดยคลิกที่

2.4. Expiration กาหนดการหมดอายุของการได้รับสิทธิ์เข้าชม e-Portfolio ผู้ใช้สามารถตั้งระยะเวลาในการ อนุญาตให้เข้าชมได้ โดยคลิกเลือกที่ การหมดอายุ หรือไม่จากัดการหมดอายุได้ โดยคลิกที่

และกาหนดระยะเวลาใน

36


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

2.5. Submit ขั้นตอนสุดท้ายในการบันทึกการแบ่งปัน e-Portfolio โดยคลิกที่ปุ่ม “Submit”

ในการแบ่งปัน (share) e-Portfolio รูปแบบนี้ ใช้ในกรณีที่ผู้ใช้ต้องการที่จะเลือกแบ่งปัน e-Portfolio นี้ ให้กับรายวิชาที่เปิดใช้งานในระบบ Blackboard โดยใช้วิธีการค้นหารายวิชาที่ต้องการแบ่งปัน ให้กับผู้ที่ใช้งานอยู่ในรายวิชาดังกล่าวทั้งหมด สามารถได้รับสิทธิ์ในการเข้าชม e-Portfolio ของผู้ใช้ผ่านทาง ระบบ Blackboard รายวิชาได้ ขั้นตอนในการแบ่งปัน (share) e-Portfolio แบบ Courses โดยมีขั้นตอน ตามวิธี การแบ่งปัน (share) e-Portfolio แบบ Users (ขั้นตอน 1 - 3) และมีขั้นตอนต่อไป ดังนี้ 1. จากหน้าต่าง “Shared Portfolio” ให้คลิกที่ปุ่ม “Shared with” และเลือก “Courses” ดังรูปภาพ

37


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

38

2. จะปรากฏหน้าต่าง “Share Portfolio with Courses” ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน ดังนี้ 2.1. Choose Course เป็นการระบุเลือกรายวิชาที่ต้องการแบ่งปัน (share) e-Portfolio โดยกรอกรหัส รายวิชา (ID Courses) ลงในช่องสี่เหลี่ยม หรือคลิกปุ่ม

เพื่อค้นหารายวิชา * กาหนดให้

จาเป็นต้องกรอกข้อมูล

กรณีที่คลิกปุ่ม

จะปรากฏหน้าต่าง “Search for Courses” โดยสามารถเลือกค้นหา โดยใช้

รหัสรายวิชา ชื่อวิชา หรือคาอธิบายรายวิชาอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ โดยมีรายละเอียดดังรูปภาพด้านล่าง

กรอกข้อมูลรายวิชา ค้นหาแบบอนุกรม ค้นหาแบบเนื้อหาหรือแบบใกล้เคียง

ปรากฏผลลัพธ์รายวิชาที่ค้นหา จากนั้นคลิกเลือกรายวิชา ขอบเขตการค้นหา 1. Course Name (ชื่อรายวิชา) 2. Course ID (รหัส รายวิชา) 3. Description (คาอธิบายรายวิชา)

คลิกปุ่มเพื่อค้นหา คลิกเพื่อตกลง


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

2.2. Submit ขั้นตอนสุดท้ายในการบันทึกการแบ่งปัน e-Portfolio โดยคลิกที่ปุ่ม “Submit”

ในส่วนขั้นตอนของการเข้าชม e-Portfolio ที่ได้รับการแบ่งปัน (share) จากผู้ที่อนุญาตให้เข้าชม e-Portfolio มีดังนี้ 1. จากหน้าเมนู “Content Collection” สังเกตทางด้านซ้ายของ “Portfolios” ให้คลิกที่เมนู “Received Portfolios” เพื่อดู e-Portfolio ที่ได้รับแบ่งปันการเข้าชม

2. จะปรากฏหน้าต่าง “Received Portfolios” โดยจะสังเกตเห็น e-Portfolio ที่ได้รับการแบ่งปันให้เข้าชม และสามารถเลือกคลิกเข้าไปชม e-Portfolio แต่ละอันได้ สามารถจัดการในส่วนเมนูนี้ได้คือ การสร้าง โฟลเดอร์ (Folder) เพื่อจัดกลุ่มหรือรวบรวมกลุ่มของ e-Portfolio สามารถลบรายการ e-Portfolio ที่ไม่ ต้องการชมได้ ตลอดจนการย้ายรายการของ e-Portfolio ที่ได้รับการแบ่งปัน โดยมีรายละเอียด ตามรูปภาพ ด้านล่าง

39


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

40

สร้างโฟลเดอร์ (Folder)

ย้าย

ลบ

การสร้างโฟลเดอร์ (Folder) เพื่อจัดเก็บ e-Portfolio เป็นกลุ่มไว้ด้วยกัน คลิกเลือกรายการ e-Portfolio ข้อมูลการแบ่งปัน (share) e-Portfolio (ชื่อ-นามสกุล ผู้แบ่งปัน, รหัสผู้ใช้ (Username), วัน เวลาที่แบ่งปัน (share)) 3. เมื่อคลิกเลือกรายการ e-Portfolio ที่ได้รับการแบ่งปัน (share) จะสามารถเข้าสู่หน้า e-Portfolio ของผู้ใช้นั้น ได้ ดังรูปภาพ


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

41


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

ตัวอย่างหน้าแรกของ e-Portfolio

ตัวอย่างหน้าแสดงข้อมูลส่วนตัวใน e-Portfolio

42


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

ตัวอย่างหน้าแสดงผลการเรียนใน e-Portfolio

ตัวอย่างหน้าแสดงข้อมูลเกี่ยวกับรางวัลหรือผลงานที่เคยได้รับใน e-Portfolio

43


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

ตัวอย่างหน้าแสดงข้อมูลเกี่ยวกับประสบการณ์ส่วนตัวใน e-Portfolio

ตัวอย่างหน้าแสดงเกี่ยวกับการอ้างอิงข้อมูลใน e-Portfolio

44


คู่มือการจัดทาแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Portfolio)

ที่ปรึกษา นางประไพพิศ มงคลรัตน์ ผู้อานวยการศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะผู้จัดทา ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร. ประกอบ กรณีกิจ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร. จินตวีร์ คล้ายสังข์ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายธีรพล เพียรเพ็ง นิสิตระดับปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

45



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.