Workshop on Microsoft Excel 2010

Page 1

Workshop on Microsoft Excel 2010

|1


Workshop on Microsoft Excel 2010

|2

สารบัญ เรื่อง หน้า การสร้างผลงานด้วยโปรแกรม Microsoft Excel 2010.................................................................................1 หน้าจอของของโปรแกรม MS-Excel 2010......................................................................................1 การป้อนข้อมูลลงในเซลล์..................................................................................................................3 การลบข้อมูล.....................................................................................................................................4 การล้างข้อมูล....................................................................................................................................5 การคัดลอกและการวางข้อมูล...........................................................................................................6 การย้ายข้อมูล...................................................................................................................................8 การปรับความกว้างของคอลัมน์........................................................................................................9 การปรับความสูงของแถว.................................................................................................................11 การลบคอลัมน์และแถว....................................................................................................................11 การแทรกคอลัมน์และแถว...............................................................................................................12 การแบ่งหน้าจอ................................................................................................................................13 การตรึงแนวหน้าจอ.........................................................................................................................15 การใช้ Keyboard shortcut ที่ควรทราบ.......................................................................................16 ตัวอย่างการออกแบบแบบรายงานคะแนนและผลการศึกษาของนักเรียน และแผนภูมิแสดงร้อยละของจานวนนักเรียน จาแนกตามระดับผลการเรียน................................................17 Workshop I : การสร้างแบบรายงานคะแนนและผลการศึกษาของนักเรียน................................................18 Workshop II : แผนภูมิแสดงร้อยละของจานวนนักเรียน จาแนกตามระดับผลการเรียน.............................29 ใบงานกิจกรรมการออกแบบแบบรายงานคะแนนและผลการศึกษาของนักเรียน แผนภูมิแสดงร้อยละของจานวนนักเรียน จาแนกตามระดับผลการเรียน......................................................33 แหล่งอ้างอิง..................................................................................................................................................34


Workshop on Microsoft Excel 2010

|1

การสร้างผลงานด้วยโปรแกรม Microsoft Excel 2010 โปรแกรม Microsoft Excel เป็นโปรแกรมหนึ่ง ที่จัดอยู่ในชุดของ Microsoft Office ประโยชน์ของ โปรแกรม MS-Excel มีความสามารถในด้านของการคานวณเกี่ยวกับตัวเลข การทาบัญชีรายรับ – รายจ่าย และการออกแบบและนาเสนอข้อมูลทางสถิต แผนภูมิ แผนภาพต่าง ๆ ลักษณะการทางานของโปรแกรม ใช้ ตารางตามแนวนอน (rows) และแนวตั้ง (columns) เป็นหลัก ซึ่ง เราเรียกโปรแกรมในลักษณะนี้ว่าเป็น “ตารางจัดการงาน (Spread Sheet)” ไฟล์ของ Excel เปรียบเสมือนหนังสือ 1 เล่ม ที่ประกอบไปด้วยหน้าหลายๆ หน้า ไฟล์ของ Excel เรียกว่า “สมุดงาน (Workbook)” และในแต่ละหน้า เรียกว่า “แผ่นงาน (Worksheet)” ในแต่ละแผ่นงาน จะ แบ่งออกเป็นตาราง ซึ่งประกอบไปด้วย ช่องตารางจานวนมาก ซึ่งเรียกว่า เซลล์ (Cell) เซลล์คือส่วนตัดกันของ แถวและคอลัมน์ ในแผ่นงานหนึ่งของ Excel จะมีแถวทั้งหมด 1,048,576 แถว และมีคอลัมน์ทั้งหมด จานวน 16,384 คอลัมน์ โดยเรียงชื่อตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ A จนถึง Z และ ต่อด้วย AA จนถึง AZ, BA จนถึง BZ ไปจนถึง XFD และในสมุดงานหนึ่งจะมีแผ่นงานได้จานวนมาก ขึ้นอยู่กับหน่วยความจาที่มีอยู่ใน เครื่องคอมพิวเตอร์ หน้าจอของของโปรแกรม MS-Excel 2010 หน้าจอของ Excel 2010 มีส่วนประกอบหลักที่ควรรู้จัก ดังนี้

แถบเมนูคาสั่ง


Workshop on Microsoft Excel 2010

|2

ส่วนบนของหน้าจอคือแถบเมนูคาสั่ง (Ribbon Tab) ซึ่งประกอบไปด้วย แท็บต่าง ๆ โดยปกติจะมี จานวน 7 แท็บ ได้แก่ หน้าแรก แทรก เค้าโครงหน้ากระดาษ สูตร ข้อมูล ตรวจทาน และมุมมอง และในแต่ละ แท็บ จะประกอบไปด้วยกลุ่มต่าง ๆ ซึ่งจะมีคาสั่งที่มักจะใช้ด้วยกัน รวมอยู่ในกลุ่มเดียวกัน ดังภาพ

    

 

แฟ้ม (File) แท็บแฟ้ม เป็นแท็บพิเศษไม่ถือเป็นแถบบนคาสั่งเมนูเพราะใช้จัดการเกี่ยวกับไฟล์ หรือ แฟ้ม เช่น การเปิด – ปิดไฟล์ การสร้างไฟล์ใหม่ การบันทึกไฟล์ ตลอดจนการตั้งค่าตัวเลือกต่าง ๆ เป็นต้น หน้าแรก (Home) เป็นแท็บที่รวมลักษณะการใช้งานทั่ว ๆ ไป เช่น การคัดลอก การวาง การกาหนด ตัวอักษร การจัดรูปแบบ การกรองข้อมูล ตลอดจนการค้นหาข้อมูล เป็นต้น แทรก (Insert) เป็นแท็บสาหรับแทรก ตาราง ภาพ รูปร่างอัตโนมัติ อักษรศิลป์ สัญลักษณ์ การ เชื่อมโยง เป็นต้น เค้าโครงหน้ากระดาษ (Page Layout) เป็นแท็บสาหรับการตั้งค่ากระดาษเพื่อพิมพ์ออกทาง เครื่องพิมพ์ เช่น ตั้งระยะขอบกระดาษ กาหนดขนาดกระดาษ พิมพ์แนวตั้งหรือแนวนอน เป็นต้น สูตร (formulas) ใช้แท็บนี้เมื่อต้องการคานวณค่าต่าง ๆ เช่น การหาผลรวม การเรียกใช้สูตรของ Excel เป็นต้น ข้อมูล (Data) แท็บนี้ใช้สาหรับการรับข้อมูลจากภายนอกเพื่อมาวิเคราะห์ใน Excel เช่น การนาเข้า ข้อมูลจากฐานข้อมูล Access เป็นต้น นอกจากนี้ยังใช้สาหรับการจัดการกับข้อมูลจานวนมาก ๆ เช่น การเรียงข้อมูล การกรองข้อมูล การจัดกลุ่มข้อมูล เป็นต้น ตรวจทาน (Review) เป็นแท็บหรับการตรวจความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ตลอดจนการจัดการ เกี่ยวกับแผ่นงาน เช่น การป้องกันการแก้ไขข้อมูลบนแผ่นงาน เป็นต้น มุมมอง (View) เป็นแท็บสาหรับแสดงแผ่นงานในมุมมองต่าง ๆ เช่น แบบปกติ แบบเต็มหน้า กาหนดให้มีหรือไม่มีเส้นตาราง ย่อ/ขยาย ตลอดจนการแบ่งหน้าจอออกเป็นส่วนๆ เป็นต้น


Workshop on Microsoft Excel 2010

|3

ในแต่ละช่องตาราง หรือ Cell จะสามารถบรรจุข้อมูลต่าง ๆ โดยพิมพ์ข้อมูลลงในช่องตาราง แต่ละ ช่อง เช่น ข้อความ ตัวเลข เป็นต้น เมื่อเวลาจะอ้างอิงถึงข้อมูล เราก็อ้างอิงถึง ช่องตาราง โดยการระบุ คอลัมน์ และแถว เช่น B4 หมายถึงช่องตารางที่ตรงกับ คอลัมน์ B และ แถวที่ 4 ดังภาพ

การป้อนข้อมูลลงในเซลล์ ข้อมูลในเซลล์ มีทั้งตัวเลขและตัวอักษร ตัวเลขสามารถนาไปคานวณค่าต่าง ๆ ได้โดยการระบุตาแหน่ง ของตัวเลข โดยปกติตัวเลขจะจัดชิดขวาของเซลล์ สาหรับข้อความหรือตัวอักษร จะจัดชิดซ้าย ในกรณีที่มีทั้ง ข้อความและตัวเลขภายในเซลล์เดียวกัน Excel จะถือว่าเป็นข้อความ ไม่สามารถนาไปคานวณได้ ดังนั้น ถ้า ต้องการนาตัวเลขไปคานวณ ต้องพิมพ์ตัวเลขนั้นๆ ในเซลล์ของตัวเอง และอ้างถึงในการคานวณการป้อนข้อมูล ลงใน Cell ยกตัวอย่างการป้อนข้อมูลลงในเซลล์ A1 ตามขั้นตอน ดังนี้ 1. นาเคอร์เซอร์ไปวางทีเ่ ซลล์ A1 แล้วคลิก 1 ครั้ง

2. พิมพ์คาว่าข้อความในช่อง A1 วรวรรณ วรวรรณ

3. พิมพ์เสร็จแล้ว กดปุ่ม Enter


Workshop on Microsoft Excel 2010

การลบข้อมูล การลบข้อมูลจะทาให้ข้อมูลนั้นหายไป และข้อมูลที่อยู่ในเซลล์อื่นมาแทนที่ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 1. พิมพ์ข้อมูลตามตัวอย่างต่อไปนี้

2. คลิกเลือก เซลล์ A2 3. บนแถบไปที่แท็บหน้าแรก -> กลุ่มเซลล์ คลิกปุ่ม ลบ ดังภาพ

4. ข้อมูลจะปรากฏ ดังนี้

5. จะเห็นว่า ชื่อสมศักดิ์หายไป และข้อมูลเลื่อนขึ้นมาแทนที่ (ถ้าสังเกตให้ดี จะเห็นว่า ข้อมูลเกิดการ ผิดพลาด ข้อมูลเดิม วิศนุ อายุ 30 เมื่อลบสมศักดิ์ออกไป ทาให้ข้อมูลเลื่อนในเซลล์ข้างล่างขึ้นมา แทนที่)

|4


Workshop on Microsoft Excel 2010

การล้างข้อมูล 1. พิมพ์ข้อมูลตามตัวอย่างต่อไปนี้

2. คลิกเลือก เซลล์ A2 3. บนแถบไปที่แท็บหน้าแรก -> กลุ่มเซลล์ คลิกปุ่ม ล้าง ดังภาพ

4. คลิกล้างทั้งหมด จะได้ผลดังนี้

|5


Workshop on Microsoft Excel 2010

การคัดลอกและการวางข้อมูล 1. พิมพ์ข้อมูลในเซลล์ตามตาแหน่งดังภาพ

2. ใช้เมาส์ลากตั้งแต่ A1 ถึง D4 (A1:D4) เพื่อกาหนดบริเวณที่ต้องการคัดลอก (หรือ คลิกเมาส์ภายใน บริเวณข้อมูล แล้วกด Ctrl c ก็ได้) 3. ที่แท็บหน้าแรก กลุ่มคลิปบอร์ด คลิกปุ่มคาสั่ง คัดลอก

4. จะเกิดเส้นประ เหมือนมดเดินรอบ ๆ บริเวณที่เลือก

5. นาเมาส์ไปวางบริเวณที่ต้องการวางส่วนที่คัดลอกนี้ เช่น B6 6. แท็บหน้าแรก กลุ่มคลิปบอร์ด คลิกปุ่มคาสั่ง วาง

|6


Workshop on Microsoft Excel 2010

|7

7. ข้อความที่คัดลอกจะมาปรากฏ ดังภาพ

8. สังเกตดูที่มุมล่างด้านขวา จะเห็นมีปุ่มทางลัด (Shortcut) ให้คลิกที่ลูกศร หรือกดปุ่ม Ctrl 9. จะเกิดตัวเลือกในการวางอีกหลายลักษณะ ดังนี้

o

o

o

วาง เป็นการวางแบบปกติ ถ้าข้อมูลที่คัดลอกเป็นสูตรจะคัดลอกสูตรและมีการปรับปรุงการอ้างอิงตาม ลักษณะของสูตรนั้น นอกจากนั้นยังมีตัวเลือกอื่นเช่น วางโดยไม่มีเส้นตาราง หรือวางแบบสลับแถวและ คอลัมน์ เป็นต้น วางค่า เป็นการคัดลอกและวางสิ่งที่เห็นปรากฏในเซลล์นั้น ๆ ถ้าเซลล์นั้นมีสูตร Excel จะตัดสูตรออกไป เหมือนการพิมพ์ป้อนข้อความตามปกติ ตัวเลือกการวางอื่น ๆ สามารถวางแบบเชื่อมโยง หรือ วางเป็นภาพ เพื่อนาไปใช้เป็นกราฟิกประกอบ โปรแกรมอื่น หรือเพื่อการนาเสนองาน เป็นต้น


Workshop on Microsoft Excel 2010

|8

การย้ายข้อมูล การย้ายข้อมูล ในกรณีที่จะย้ายข้อมูล ให้ลากแถบสว่างให้ครอบคลุมบริเวณที่ต้องการย้ายเสียก่อน จากนั้น จึงใช้เมาส์คลิกที่ขอบ แล้วลากไปยังตาแน่งที่ต้องการ ตัวอย่าง ตั้งแต่เซลล์ B2 ถึง B5 (B2:B5) มีชื่อ 4 ชื่อ ต้องการย้ายข้อมูลนี้ ไปยังตาแหน่ง C2 ถึง C5 ทาได้ดังนี้

1. เลือกบริเวณข้อมูลที่ต้องการย้าย โดยใช้เมาส์คลิกที่ตาแหน่ง B2 คลิกเมาส์ค้างไว้แล้วลากลงมาที่ ตาแหน่ง B5 แล้วปล่อยเมาส์

2. นาเคอร์เซอร์ไปวางที่เส้นขอบ จะเห็นเคอร์เซอร์เปลี่ยนรูปเป็นลูกศร สี่ทิศทาง แสดงว่าเคลื่อนย้ายได้

3. กดเมาส์ค้างไว้ แล้วลากไปที่ตาแหน่งที่ต้องการย้าย ในที่นี้คือ คอลัมน์ C ขอให้สังเกต กรอบสี่เหลี่ยม ซึ่งจะเป็นบริเวณที่ข้อมูลที่ถูกย้ายจะมาปรากฏ


Workshop on Microsoft Excel 2010

|9

4. ปล่อยเมาส์ ข้อมูลจะถูกย้ายตามที่ต้องการ

การปรับความกว้างของคอลัมน์ 1) การปรับความกว้างคอลัมน์เดียว การทางานกับ Excel มักจะมีการปรับความกว้างของคอลัมน์ให้เป็นไปตามรูปแบบที่ต้องการ เช่น แบบฟอร์ม ตารางต่าง ๆ เป็นต้น 1. ถ้าต้องการขยายความกว้างหรือ ลดความกว้างของคอลัมน์ แต่ละคอลัมน์ ให้นาเคอร์เซอร์ ไปวางไว้ที่ เส้นขอบ ของคอลัมน์ที่ต้องการขยาย เมื่อเคอร์เซอร์เปลี่ยนรูปร่างเป็นลูกศร 2 หัว ดังภาพ ให้กดเมาส์ ค้างไว้ แล้วลากไปทางซ้ายหรือทางขวา ได้ตามต้องการ

2. ถ้าในกรณีที่ข้อมูลตัวเลขในช่อง Cell มีลักษณะ ##### แสดงว่า ความกว้างของ ช่อง Cell น้อยไป ให้นาเคอร์เซอร์ไปวางที่หัวคอลัมน์ และลากออกไป หรือดับเบิ้ลคลิกที่หัวของคอลัมน์ ก็ได้

3. ถ้าต้องการให้ขยายความกว้างของเซลล์ให้ครอบคลุมความยาวของข้อมูลในทุก เซลล์ของคอลัมน์นั้น ให้นาเคอร์เซอร์ไปวางที่บริเวณหัวของคอลัมน์และเมื่อเคอร์เซอร์เปลี่ยนเป็น ลูกศรสองหัว ให้ดับเบิ้ล คลิก ดังภาพ


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 10

4. จากนั้นจะได้ความกว้างของคอลัมน์ที่ครอบคลุมความยาวของข้อมูลที่มีในคอลัมน์นั้น เช่น

2) การปรับความกว้างหลายคอลัมน์ ในการจัดทาแบบฟอร์มตาราง มักจะต้องมีการจัดความกว้างของคอลัมน์หลายคอลัมน์ให้เท่าๆ กัน เช่น ตารางปฏิบัติงานล่วงเวลา ตารางคะแนนนักเรียน เป็นต้น การจัดความกว้างของคอลัมน์หลายๆ คอลัมน์ มีดังนี้ 1. เลือกคอลัมน์ที่ต้องการทาให้ความกว้างเท่ากัน โดยคลิกและลากบริเวณหัวคอลัมน์

2. ปรับความกว้างของคอลัมน์ ดังภาพ

3. เมื่อปล่อยเมาส์จะได้คอลัมน์ที่เท่ากันตามที่เลือก


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 11

การปรับความสูงของแถว การปรับความสูงของแถว ทาเช่นเดียวกับการปรับความกว้างของคอลัมน์ คือนาเคอร์เซอร์ไปวางไว้ที่ เส้นระหว่างแถวที่หัวแถว และลากเพื่อกาหนดความสูง ดังภาพ

การลบคอลัมน์และแถว สามารถที่จะเลือกลบคอลัมน์ทั้งคอลัมน์ หรือ ลบแถวทั้งแถวได้ จากตัวอย่างหากต้องการลบคอลัมน์ C และ D มีวิธีการ ดังนี้ 1. คลิกเลือกคอลัมน์ C และ D ดังภาพ

2. ไปที่แท็บหน้าแรก กลุ่มเซลล์ และคลิกคาสั่งลบ

3. จะเห็นว่าข้อมูลในคอลัมน์ C และ D จะถูกลบ และข้อมูลถัดไปจะเข้ามาแทนที่ ดังภาพ


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 12

4. จากข้อ 1 ถ้าต้องการล้างข้อมูล โดยไม่มีการเลื่อนข้อมูลในคอลัมน์ถัดไปมาแทนที่ข้อมูลเดิม ให้กดปุ่ม Delete บนแป้นพิมพ์ จะล้างข้อมูลโดยไม่เลื่อนข้อมูลมาแทนที่ ดังภาพ

5. เมื่อลบไปแล้ว แต่เปลี่ยนใจไม่ลบ ให้คลิกที่รูป คืนมาเหมือนเดิม

บนแถบเครื่องมือด่วน เพื่อขอข้อมูลที่ลบไปแล้ว

การแทรกคอลัมน์และแถว ในกรณีที่เราอาจต้องการเพิ่ม หรือแทรกคอลัมน์ ก็สามารถทาได้ โดยข้อมูลจะถูกแยกออกไปอีก 1 คอลัมน์ การเพิ่มคอลัมน์ ทาดังนี้ 1. คลิกที่ชื่อของคอลัมน์ จะเกิดแถบสว่างยาวตลอดคอลัมน์

2. ไปที่ แท็บหน้าแรก กลุ่มเซลล์ คลิกคาสั่ง แทรก

3. คลิก 1 ครั้ง คอลัมน์ใหม่จะแทรกเข้าทางขวาของคอลัมน์ที่ถูกเลือก จากภาพ จะสังเกตเห็นว่า ข้อมูล เดิมถูกย้ายไปอีกคอลัมน์ และชื่อของคอลัมน์ จะยังคงเรียงเหมือนเดิม


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 13

4. การแทรกแถวก็ทาเช่นเดียวกัน โดยคลิกที่หัวแถวที่ต้องการแทรก และไปที่แท็บหน้าแรก กลุ่มเซลล์ และคลิกคาสั่งแทรก การแบ่งหน้าจอ เนื่องจาก Excel เป็น Sheet ใหญ่ บางทีเราต้องการดูข้อมูลจากหลาย ๆ แห่งพร้อม ๆ กัน หรือ ต้องการดูหัวตารางเพื่อทาให้การกรอกข้อมูลถูกต้อง ดังนั้นเราจึงมีความจาเป็นต้องแบ่งหน้าจอ Excel ออกเป็นส่วน ๆ ซึ่งสามารถ เลื่อน หรือ Scroll ดูได้ทุกส่วน ซึ่งมีวิธีการดังนี้ 1. ที่มุมบนด้านขวาต่อจาก Scroll bar และด้านล่างของหน้าจอ จะมีแถบสาหรับแบ่งหน้าจอ ดังภาพ

2. เมื่อนาเคอร์เซอร์ ไปวางที่ตาแหน่งตามภาพ เคอร์เซอร์จะเปลี่ยนเป็นรูปลูกศรสองทาง ซึ่งแสดงว่า สามารถลากแบ่งได้


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 14

3. ให้กดเมาส์และลากแบ่งหน้าจอได้ดังภาพ จะเห็นว่าสามารถเลื่อนแต่ละส่วนได้อย่างอิสระจากกัน ใน ภาพจะเห็นว่า คอลัมน์ B ถูกเลื่อนหายไป ทาให้คอลัมน์ ชื่อ-สกุล และ ที่อยู่ มาอยู่ใกล้กัน ทาให้ดู ข้อมูลได้ชัดเจนไม่ต้องเลื่อนไปมา ส่วนในแนวนอน จะเห็นข้อมูลถูกซ่อนออกไปหลายรายการ ทาให้ สะดวกในการเปรียบเทียบข้อมูลที่มีหลายข้อมูล

4. ยกเลิกการแบ่งหน้าจอ โดยการใช้เมาส์ลากเส้นแบ่งไปเก็บไว้ที่ด้านข้าง หรือด้านบน – ล่าง


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 15

การตรึงแนวหน้าจอ การเลือกวิธีของการแบ่งหน้าจออีกวิธีหนึ่งคือการทาให้หน้าจอส่วนหนึ่งไม่ เคลื่อนไหว ซึ่งต่างจากการ แบ่งหน้าจอ ที่หน้าจอทุกส่วนสามารถเคลื่อนไหวได้ด้วยการใช้ Scroll bar แต่การตรึงแนวหน้าจอจะทาให้ ส่วนที่ถูกตรึง ไม่เคลื่อนที่ มีประโยชน์ในการทาให้ส่วนหัวของตารางคงที่ ในขณะที่ส่วนที่เติมข้อมูลเคลื่อนที่ไป ได้เรื่อย ๆ การตรึงแนวทาได้ทั้งแนวนอนและแนวตั้ง โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ไปที่แท็บ มุมมอง กลุ่มหน้าต่าง คลิกตรึงแนว จะเกิดเมนูย่อยให้เลือก

  

ตรึงแนว จะตรึงแนว ณ ตาแหน่งของเคอเซอร์ โดยตรึงทั้งแนวนอนและแนวตั้ง ตรึงแถวบนสุด เป็นการตรึงแนว แนวนอนแถวบนสุด ตรึงคอลัมน์แรก เป็นการตรึงแนว แนวตั้งคอลัมน์แรก

2. การยกเลิกการตรึงแนว ให้คลิกที่คาสั่ง ตรึงแนว และคลิกยกเลิก


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 16

การใช้ Keyboard shortcut ที่ควรทราบ ปุ่ม Shortcut

ความหมาย/การกระทา โหมดการพิมพ์และการแก้ไข Ctrl + Enter ออกจากโหมดป้อนค่า หรือแก้ไข โดยไม่เปลี่ยนตาแหน่งเซลล์ F2 แก้ไขข้อมูลในเซลล์ Alt + Enter บังคับขึ้นบรรทัดใหม่ในเซลล์เดียวกัน F12 บันทึกเป็น Ctrl + C คัดลอกเซลล์ที่กาลังถูกเลือก Esc ยกเลิกการคัดลอก Ctrl + V วางเซลล์ที่คัดลอก Ctrl + X ตัดเซลล์ที่กาลังถูกเลือก Ctrl + Alt + V ถ้ามีการคัดลอกข้อมูลไว้แล้ว จะแสดงหน้าต่างการวางแบบพิเศษ โหมดการเลือกเซลล์ เลือกเซลล์ที่ติดกันทั้งหมด เช่น มีข้อมูลในเซลล์ A1 ถึง A20 ขณะนี้เคอร์เซอร์อยู่ที่ Ctrl + * เซลล์ A5 ถ้ากด Ctrl ค้างไว้และ กดเครื่องหมาย * บริเวณ A1 ถึง A20 จะถูกเลือก ข้อมูลที่ไม่ติดกับข้อมูลชุดนี้ จะไม่ถูกเลือก เลือกพื้นทีทั้งหมดของชุดข้อมูลนั้น ๆ ถ้ากด Ctrl + a อีกครั้ง จะเป็นการเลือกแผ่น Ctrl + A งานทั้งหมด Ctrl + Shift + ปุ่ม ขยายพื้นที่การเลือกเซลล์จนถึงจุดสิ้นสุดของชุดข้อมูล (ชุดข้อมูลคือบริเวณที่ไม่มีเซลล์ ลูกศร ว่างคั่น) เลือกบริเวณพื้นที่สี่เหลี่ยม ตั้งแต่เซลล์แรกที่คลิกไว้ ครอบคลุมถึงบริเวณที่คลิก เช่น Shift + คลิก คลิกที่เซลล์ B5 และ ไป Shift + คลิก ที่เซลล์ E30 บริเวณที่ถูกเลือกคือ B5:E30 Shift + ปุ่มลูกศร ขยายพื้นที่การเลือกเซลล์อีก 1 เซลล์ ตามแนวทิศทางลูกศร โหมดการเคลื่อนที่ไปยังเซลล์ต่าง ๆ Ctrl + G หรือ F5 เปิดหน้าจอให้พิมพ์ตาแหน่งเซลล์ที่ต้องการไป Home เลื่อนไปยังเซลล์แรกของแถวนั้น ปุ่มลูกศร เลื่อนตาแหน่งไปยังเซลล์ ซ้าย ขวา บน ล่าง ตามแนวทิศทางลูกศร เลื่อนตาแหน่งไปยังเซลล์ริมสุดของพื้นที่ ข้อมูลชุดนั้น ถ้าไม่มีข้อมูลจะเลื่อนไปยัง Ctrl + ปุ่มลูกศร ตาแหน่งบนสุด ล่างสุด ซ้ายสุด ขวาสุด ของแผ่นงาน ตามแนวทิศทางลูกศร Page Down/Up เลื่อนตาแหน่งขึ้น-ลง ครั้งละ 1 หน้า โหมดการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ Ctrl + F4 ปิดโปรแกรม Ctrl + N เปิดไฟล์ใหม่


Workshop on Microsoft Excel 2010

ตัวอย่างการออกแบบ แบบรายงานคะแนนและผลการศึกษาของนักเรียน และแผนภูมิแสดงจานวนนักเรียน จาแนกตามระดับผลการศึกษา

| 17


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 18

Workshop I การสร้างแบบรายงานคะแนนและผลการศึกษาของนักเรียน คาชี้แจง : ออกแบบแบบรายงานคะแนนและผลการศึกษาของนักเรียน ด้วยโปรแกรม Microsoft Excel 2010 ซึ่งประกอบด้วยข้อมูล ดังนี้ 1. ชื่อแบบรายงาน 2. ชื่อวิชา 3. ชื่ออาจารย์ผู้สอน 4. ระดับชั้น 5. จานวนนักเรียน 6. ตารางคะแนน (รวม 100 คะแนน) ประกอบด้วยข้อมูล ดังนี้ 6.1. เลขที่ 6.2. ชื่อ – นามสกุล 6.3. คะแนนเก็บ ภาคเรียนที่ 1 (20 คะแนน) แบ่งออกเป็น 6.3.1. คะแนนเก็บ ครั้งที่ 1 (10 คะแนน) 6.3.2. คะแนนเก็บ ครั้งที่ 2 (10 คะแนน) 6.4. คะแนนสอบ กลางภาค (30 คะแนน) 6.5. คะแนนเก็บ ภาคเรียนที่ 2 (20 คะแนน) 6.6. คะแนนสอบ ปลายภาค (30 คะแนน) 6.7. คะแนนรวม (100 คะแนน) 6.8. ระดับผลการเรียน 7. ตารางสรุปแบบรายงานคะแนนและผลการศึกษา ประกอบด้วยข้อมูลดังนี้ 7.1. คะแนนต่าสุด 7.2. คะแนนสูงสุด 7.3. คะแนนเฉลี่ย 7.4. จานวนผู้สอบผ่าน 7.5. จานวนผู้สอบไม่ผ่าน 7.6. จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียนระดับ 0 7.7. จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียนระดับ 1 7.8. จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียนระดับ 1.5 7.9. จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียนระดับ 2 7.10. จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียนระดับ 2.5 7.11. จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียนระดับ 3 7.12. จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียนระดับ 3.5 7.13. จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียนระดับ 4 8. แผนภูมิแสดงร้อยละของจานวนนักเรียน จาแนกตามระดับผลการเรียน


Workshop on Microsoft Excel 2010

ขั้นตอนในการออกแบบแบบรายงานคะแนนและผลการศึกษาของนักเรียน การตั้งค่าหน้ากระดาษ 1. ตั้งค่าแท็บ เค้าโครงหน้ากระดาษ (Page Layout) คลิกที่เมนู ระยะขอบ เลือก แคบ

2. ตั้งค่าชนิดกระดาษ คลิกที่เมนู ขนาด เลือก A4

3. ตั้งค่าการทางานบนแผ่นงานโดยเลือกแท็บ มุมมอง (View) คลิกเลือกที่ เค้าโครงหน้ากระดาษ

4. พื้นที่ในการทางานของแผ่นงานที่ 1 (sheet 1) จะประกอบด้วยคอลัมน์ A – J แถวที่ 1 – 50

| 19


Workshop on Microsoft Excel 2010

การกรอกข้อมูล ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. ทาการผสานเซลล์ ตั้งแต่เซลล์ A1:J2 โดยคลิกเมาส์ค้างที่ช่อง A1 และลากไปจนถึงช่อง J2

2. คลิกเลือกที่แท็บ หน้าแรก (Home) และคลิกที่ปุ่ม ผสานเซลล์

3. ผลลัพธ์ที่ได้คือ เซลล์ A1:J2 จะรวมกันเป็นเซลล์เดียว ตามรูปภาพ

9. กรอกข้อมูลในช่องดังกล่าวเป็นชื่อแบบรายงาน “แบบรายงานคะแนนและผลการศึกษา” 10. ผสานเซลล์ช่อง A3:B3 ใส่คาว่า “ชื่อวิชา” 11. ช่อง C3 กรอก “ชื่อวิชาที่สอน” 12. ผสานเซลล์ช่อง A4:B4 ใส่คาว่า “ชื่ออาจารย์ผู้สอน” 13. ช่อง C3 กรอก “ชื่ออาจารย์ผู้สอน” 14. ผสานเซลล์ช่อง A5:B5 ใส่คาว่า “ระดับชั้น”

| 20


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 21

15. ช่อง D5 กรอกคาว่า “ห้อง” 16. ผสานเซลล์ช่อง A6:B6 ใส่คาว่า “จานวนนักเรียน” 17. ช่อง D5 กรอกคาว่า “คน” 18. จะปรากฏข้อมูลตามภาพดังนี้

19. ช่อง C5 และ E5 จะทาการใส่ข้อมูลแบบรายการหล่นลง (Drop-down list) โดยเลื่อนไปทางานในหน้า ต่อไปทางขวามือ ซึ่งจะเริ่มตั้งแต่คอลัมน์ K – T และแถวที่ 1 – 50 20. ช่อง K1 กรอกคาว่า “ระดับชั้น” และช่อง L1 กรอกคาว่า “ห้อง” 21. ช่อง K2 ให้เว้นว่างไว้ ในช่อง K3 กรอกคาว่า “ม.1” และกดแป้น Enter จากนั้นคลิกที่ช่อง K3 เหมือนเดิม นาเม้าไปวางไว้ที่จุดสีดามุมซ้ายล่างของเซลล์ เคอเซอร์จะเปลี่ยนเป็นรูปเครื่องหมายบวกสีดา จากนั้นคลิกเมาส์ค้างไว้และลากลงมาจานวน 6 ช่อง ถึงช่อง K8 และปล่อยเมาส์ จะปรากฏการใส่ข้อมูล แบบอัตโนมัติ โดยมีข้อมูล ม.1 – ม.6 ตามรูปภาพ

22. ช่อง L2 ให้เว้นว่างไว้ ในช่อง L3 กรอกหมายเลข “1” และกดแป้น Enter จากนั้นใช้วิธีการใส่ข้อมูลแบบ อัตโนมัติเช่นเดิม โดยลากลงมาถึงช่อง L7 จะได้ช่อง L3:L7 ที่ปรากฏข้อมูลหมายเลข 1 – 5 ตามรูปภาพ


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 22

23. ทาข้อมูลให้เป็นแบบรายการหล่นลง (Drop-down list) โดยย้ายกลับมาทางานในหน้าที่ 1 คลิกที่ช่อง C5 จากนั้นเลือกแท็บ ข้อมูล (Data) จากนั้นคลิกที่ปุ่ม การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

24. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง ให้เลือกที่แท็บ ตั้งค่า ที่ช่อง อนุญาตให้: เลือกเป็น รายการ

25. เมื่อเลือกเป็น รายการ เรียบร้อยแล้ว จะปรากฏช่อง แหล่งข้อมูล: ให้คลิกที่ปุ่ม แหล่งข้อมูล

เพื่อเลือก


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 23

26. ลาดับต่อไปคลิกเมาส์ที่ช่อง K2 และลากลงมาถึงช่อง K6 ตามภาพ และข้อมูลการอ้างอิงจะไปปรากฏใน หน้าต่าง การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล จากนั้นคลิกที่ปุ่ม อีกครั้ง และคลิกปุ่ม ตกลง เพื่อปิด หน้าต่าง

27. ข้อมูลรายการแบบหล่นลง (Drop-down list) จะไปปรากฏในเซลล์ C5 ตามรูปภาพ

28. สาหรับในช่อง E5 ให้ใช้วิธีสร้างข้อมูลแบบหล่นลง (Drop-down list) เช่นเดียวกัน โดยอ้างอิงข้อมูลใน เซลล์ L2:L7 ดังรูปภาพ


Workshop on Microsoft Excel 2010

1. 2. 3. 4.

5. 6. 7. 8.

| 24

ส่วนที่ 2 ตารางคะแนน กาหนดส่วนต่างๆ ของตารางข้อมูล ดังนี้ ผสานเซลล์ช่อง A8:A9 และกรอกคาว่า “เลขที่” ผสานเซลล์ช่อง B8:C9 และกรอกคาว่า “ชื่อ – นามสกุล” ช่อง D8, E8, F8, G8 และ H8 กรอกคาว่า “คะแนนเก็บ”, “คะแนนเก็บ”, “คะแนนสอบ”, “คะแนนเก็บ” และ “คะแนนสอบ” ตามลาดับ เซลล์ D9, E9, F9, G9 และ H9 กรอกคาว่า “ครั้งที่ 1 (10)”, “ครั้งที่ 2 (10)”, “กลางภาค (30)”, “ครั้งที่ 3 (20)” และ “ปลายภาค (30)” ตามลาดับ จากนั้นทุกช่องคลิกที่ปุ่ม ตัดข้อความ เพื่อเป็นการ จัดรูปแบบข้อความในเซลล์

ผสานเซลล์ช่อง I8:I9 และกรอกคาว่า “คะแนนรวม” ผสานเซลล์ช่อง J8:J9 และกรอกคาว่า “ระดับผลการเรียน” เซลล์ A10:A29 กรอกเลขที่ตั้งแต่ 1 – 20 ผสานเซลล์ช่อง B10:C10 และกรอกชื่อ – นามสกุลของนักเรียน จานวน 20 คน

การหาผลรวมอัตโนมัติ 1. ช่อง I10 เป็นช่องคะแนนรวม ต้องการให้คานวณคะแนนของนักเรียนคนที่ 1ตั้งแต่เซลล์ D10:H10 ให้คลิก ที่ช่อง I10 และคลิกปุ่ม ผลรวมอัตโนมัติที่เป็นคาสั่งในเมนูด้านบน ดังรูปภาพ


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 25

2. จะปรากฏขอบเขตข้อมูลของการคานวณ ให้ใช้เมาส์ลากตั้งแต่เซลล์ D10:H10 เพื่อให้คานวณตั้งแต่ช่อง คะแนนเก็บครั้งที่ 1 ไปจนถึงช่องคะแนนสอบปลายภาค จากนั้นกดแป้น Enter 3. ใช้วิธีการคานวณแบบรวดเร็วได้ คือการคลิกที่ช่อง I10 และนาเมาส์ไปวางไว้ที่มุมซ้ายล่างของเซลล์ เคอเซอร์จะเปลี่ยนเป็นรูปเครื่องหมายบวกสีดา จากนั้นลากต่อลงมาจนถึงเซลล์ I29 จะคานวณผลรวมให้ อัตโนมัติทั้งชุด การสร้างสูตรโดยแทรกฟังก์ชัน เราต้องการให้ผลคะแนนที่ออกมาสามารถจัดเป็นระดับผลการเรียนตามเกณฑ์ของคะแนนได้ สามารถ ทาได้ตามขั้นตอนนี้ 1. คลิกที่ช่อง J10 เนื่องจากต้องการคานวณคะแนนรวมของนักเรียนคนที่ 1 ว่าอยู่ในระดับผลการเรียนเท่าไร โดยมีเกณฑ์ของคะแนน ดังนี้ คะแนนตั้งแต่ 80 คะแนน ขึ้นไป ระดับผลการเรียน 4 คะแนนระหว่าง 75 – 79 คะแนน ระดับผลการเรียน 3.5 คะแนนระหว่าง 70 – 74 คะแนน ระดับผลการเรียน 3 คะแนนระหว่าง 65 – 69 คะแนน ระดับผลการเรียน 2.5 คะแนนระหว่าง 60 – 64 คะแนน ระดับผลการเรียน 2 คะแนนระหว่าง 55 – 59 คะแนน ระดับผลการเรียน 1.5 คะแนนระหว่าง 50 – 54 คะแนน ระดับผลการเรียน 1 คะแนนตั้งแต่ 49 คะแนน ลงไป ระดับผลการเรียน 0 2. เริ่มต้นการสร้างสูตรโดยไปคลิกที่ช่อง แถบสูตร ตามรูปภาพ

3. ระบุสูตรที่ใช้คานวณเกณฑ์แรกก่อน คือ “คะแนนตั้งแต่ 49 คะแนน ลงไป ระดับผลการเรียน 0” หมายความว่า นักเรียนที่ได้คะแนนรวมน้อยกว่า 50 คะแนนลงไป จะได้ระดับผลการเรียนเป็น 0 การ เขียนสูตรโดยใช้คาสั่งต่อไปนี้ =IF(J10<50,“0”) 4. เขียนสูตรที่ใช้คานวณเกณฑ์ต่อไป คือ “คะแนนระหว่าง 50 – 54 คะแนน ระดับผลการเรียน 1” หมายความว่า นักเรียนที่ได้คะแนนรวมตั้งแต่ 50 คะแนน ไปจนถึง 54 คะแนน จะได้ระดับผลการเรียน เป็น 1 การเขียนสูตรให้เขียนต่อจากสูตรด้านบนโดยยังไม่ต้องวงเล็บปิด และใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่น ระหว่างสูตรไว้ จากนั้นพิมพ์ IF ตามโดยไม่ต้องพิมพ์เครื่องหมายเท่ากับ (=) ไว้ข้างหน้าแล้ว ในเกณฑ์นี้ จะต้องระบุเครื่องหมายน้อยกว่าหรือเท่ากับ (<=) เนื่องจากคานวณตั้งแต่คะแนน 50 – 54 คะแนน ดังนี้ =IF(J10<50,“0”, IF(J10<=54,”1” 5. เขียนสูตรที่ใช้คานวณเกณฑ์ต่อไปจนครบทุกเกณฑ์ สามารถแสดงเป็นตารางการเขียนสูตรการคานวณได้ ดังนี้


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 26

ตารางแสดงการเขียนสูตรคานวณตามเกณฑ์ของคะแนน เกณฑ์คะแนน คะแนนตั้งแต่ 49 คะแนน ลงไป คะแนนระหว่าง 50 – 54 คะแนน คะแนนระหว่าง 55 – 59 คะแนน คะแนนระหว่าง 60 – 64 คะแนน คะแนนระหว่าง 65 – 69 คะแนน คะแนนระหว่าง 70 – 74 คะแนน คะแนนระหว่าง 75 – 79 คะแนน คะแนนตั้งแต่ 80 คะแนน ขึ้นไป

ระดับผลการเรียน 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

การเขียนสูตร =IF(เซลล์อ้างอิง<50,“0” IF(เซลล์อ้างอิง<=54,“1” IF(เซลล์อ้างอิง<=59,“1.5” IF(เซลล์อ้างอิง<=64,“2” IF(เซลล์อ้างอิง<=69,“2.5” IF(เซลล์อ้างอิง<=74,“3” IF(เซลล์อ้างอิง<=79,“3.5” IF(เซลล์อ้างอิง>=80,“4”

** ก่อนการเขียนสูตรเสร็จ ให้พิมพ์วงเล็บปิดท้ายต่อกันตามจานวนวงเล็บของสูตรที่ใส่ทั้งหมด และกด แป้น Enter ถ้าสูตรที่พิมพ์ถูกต้อง โปรแกรมจะคานวณให้อัตโนมัติ แต่ถ้าไม่ถูกต้องต้องแก้สูตรและ ตรวจสอบอย่างละเอียด 6. ใช้วิธีการคานวณแบบรวดเร็วได้เช่นเดิม คือการคลิกที่ช่อง J10 และนาเมาส์ไปวางไว้ที่มุมซ้ายล่างของ เซลล์ เคอเซอร์จะเปลี่ยนเป็นรูปเครื่องหมายบวกสีดา จากนั้นลากต่อลงมาจนถึงเซลล์ J29 จะคานวณ ระดับผลการเรียนของนักเรียนทุกคนให้อัตโนมัติ 1. 2. 3. 4. 5.

ส่วนที่ 3 ตารางสรุปแบบรายงานคะแนนและผลการศึกษา เว้นช่องว่างตั้งแต่เซลล์ A30:J30 ผสานเซลล์ช่อง A31:J32 และกรอกคาว่า “ตารางสรุปแบบรายงานคะแนนและผลการศึกษา” ผสานเซลล์ช่อง A33:D33 และกรอกคาว่า “ผลรวม” เซลล์ E33 กรอกคาว่า “จานวน” และเซลล์ F33 กรอกคาว่า “หน่วยนับ” หลังจากนั้นผสานเซลล์และกรอกข้อความตามตารางที่กาหนดให้ ดังนี้ ผสานเซลล์ A34:D34 A35:D35 A36:D36 A37:D37 A38:D38 A39:D39 A40:D40 A41:D41 A42:D42

กรอกข้อความ คะแนนต่าสุด คะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ย จานวนผู้สอบผ่าน จานวนผู้สอบไม่ผ่าน จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 0 จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 1 จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 1.5 จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 2


Workshop on Microsoft Excel 2010

ผสานเซลล์ A43:D43 A44:D44 A45:D45 A46:D46

| 27

กรอกข้อความ จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 2.5 จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 3 จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 3.5 จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 4

6. ส่วนในช่อง F33 (หน่วยนับ) ให้กรอกข้อมูลตามเซลล์ ดังนี้ เซลล์ F34 F35 F36 F37 F38 F39 F40 F41 F42 F43 F44 F45 F46

กรอกข้อความ คะแนน คะแนน คะแนน คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน

7. ขั้นตอนสุดท้ายเป็นการคานวณค่าต่างๆ ของข้อมูลตั้งแต่ช่อง E34:E46 โดยใช้ 2 วิธีในการคานวณ คือ 7.1. วิธีการเลือกคาสั่งแบบการหาผลรวมแบบอัตโนมัติ ได้แก่ ค่าน้อยที่สุด (Min) ค่ามากที่สุด (Max) ค่าเฉลี่ย (Average) และนับตัวเลข (Count) ใช้การเลือกคาสั่ง “ผลรวมอัตโนมัติ” บนแถบเมนู ด้านบน ตามรูปภาพ ดังนี้


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 28

7.2. วิธีการสร้างสูตรโดยแทรกฟังก์ชัน โดยคาสั่งที่ใช้ในการเขียนสูตรมี ดังนี้ สูตรการคานวณจานวนผู้สอบผ่าน =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,”>=50”) สูตรการคานวณจานวนผู้สอบไม่ผ่าน =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,”<50”) จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 0 =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,0) จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 1 =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,1) จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 1.5 =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,1.5) จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 2 =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,2) จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 2.5 =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,2.5) จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 3 =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,3) จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 3.5 =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,3.5) จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 4 =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,4) ตารางสรุปวิธีการคานวณค่าของข้อมูลต่างๆ ในตารางสรุปแบบรายงานคะแนนและผลการศึกษา วิธีการคานวณ รายการข้อมูล คะแนนต่าสุด คะแนนสูงสุด คะแนนเฉลี่ย จานวนผู้สอบผ่าน จานวนผู้สอบไม่ผ่าน จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 0 จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 1 จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 1.5 จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 2 จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 2.5 จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 3 จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 3.5 จานวนผู้สอบที่ได้ผลการเรียน ระดับ 4

การหาผลรวม แบบอัตโนมัติ ค่าน้อยที่สุด ค่ามากที่สุด ค่าเฉลี่ย -

การสร้างสูตรโดยแทรกฟังก์ชัน =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,”>=50”) =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,”<50”) =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,0) =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,1) =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,1.5) =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,2) =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,2.5) =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,3) =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,3.5) =COUNTIF(เซลล์อ้างอิง:เซลล์อ้างอิง,4)


Workshop on Microsoft Excel 2010

Workshop II แผนภูมิแสดงร้อยละของจานวนนักเรียน จาแนกตามระดับผลการเรียน คาชี้แจง : ออกแบบแผนภูมิแสดงร้อยละของจานวนนักเรียน จาแนกตามระดับผลการเรียน ด้วยโปรแกรม Microsoft Excel 2010 ซึ่งประกอบด้วยข้อมูล ดังนี้ 1. ชื่อแผนภูมิ 2. รูปภาพแผนภูมิ 3. คาอธิบายแผนภูมิ 4. ร้อยละของข้อมูล การสร้างแผนภูมิ 1. คลิกที่แท็บ แทรก (Insert) และสังเกตที่หมวดของ แผนภูมิ เลือกที่คาสั่ง วงกลม ดังรูปภาพ

2. จากนั้นคลิกเลือก แผนภูมิวงกลม (Pie chart) ดังรูปภาพ

| 29


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 30

3. เมื่อคลิกเลือกแล้วจะปรากฏแท็บ ออกแบบ (Design) ซึ่งเป็นเครื่องมือของแผนภูมิ และปรากฏพื้นที่ของ แผนภูมิ สามารถทาการเคลื่อนย้ายได้

4. พิมพ์ข้อความในหน้าต่อไป โดยวางในเซลล์ใดก็ได้เรียงลาดับลงมา ดังนี้ เกรด 0 เกรด 1 เกรด 1.5 เกรด 2 เกรด 2.5 เกรด 3 เกรด 3.5 เกรด 4 5. หลังจากนั้นกลับไปคลิกที่แท็บ ออกแบบ (Design) อีกครั้ง เลือกที่คาสั่ง เลือกข้อมูล

6. จะปรากฏหน้าต่าง เลือกข้อมูล ที่ช่อง ช่วงข้อมูลแผนภูมิ ให้คลิกที่ปุ่ม และเลือกขอบเขตในการ คานวณ คือ เซลล์ E39:E46 เนื่องจากต้องนาเสนอร้อยละของผู้เรียนจาแนกตามระดับผลการเรียน

7. จากนั้นจะปรากฏขอบเขตของข้อมูลที่ทาการเลือก ในช่องรายการคาอธิบายแผนภูม (ชุดข้อมูล) จะขึ้นว่า “ชุดข้อมูล1” ส่วนช่องป้ายชื่อแกน (ประเภท) แนวนอน จะขึ้นประเภทที่แทนด้วยตัวเลข 1 – 8 ตาม จานวนข้อมูล


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 31

8. ทาการแก้ไขในส่วนช่องป้ายชื่อแกน (ประเภท) แนวนอน โดยคลิกที่ปุ่ม แก้ไข จะปรากฏหน้าต่างให้เลือก ช่วงป้ายชื่อแกน จากนั้นเลือกช่วงข้อมูลระดับผลการเรียนที่สร้างไว้ในหน้าอื่นที่พิมพ์ไว้ก่อนหน้า และคลิก ปุ่ม ตกลง

9. จะปรากฏรูปภาพแผนภูมิวงกลม พร้อมคาอธิบายแผนภูมิ ดังรูป เกรด 0 เกรด 1 เกรด 1.5 เกรด 2 เกรด 2.5 เกรด 3

10. จากนั้นเลือกรูปแบบเค้าโครงของแผนภูมิ ให้คลิกเลือก เค้าโครง6

11. จะปรากฏชื่อของแผนภูมิ และร้อยละของข้อมูล

ชื่อแผนภูมิ 0% 5% 5%

เกรด 0

10%

เกรด 1 25%

15%

เกรด 1.5 เกรด 2 เกรด 2.5

20%

20%

เกรด 3 เกรด 3.5


Workshop on Microsoft Excel 2010

12. จากนั้นคลิกที่ชื่อของแผนภูมิเพื่อทาการแก้ไขชื่อของแผนภูมิ จะได้แผนภูมิตามที่กาหนด แผนภูมิแสดงร้ อยละของจานวนผู้สอบ จาแนกตามระดับผลการ เรี ยน

10%

0% 5% เกรด 0

5% 25%

เกรด 1 เกรด 1.5

15%

เกรด 2 เกรด 2.5 เกรด 3 เกรด 3.5 เกรด 4 20%

20%

| 32


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 33

ใบงานกิจกรรม การออกแบบแบบรายงานคะแนนและผลการศึกษาของนักเรียน และแผนภูมิแสดงจานวนนักเรียน จาแนกตามระดับผลการศึกษา

เลขที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ชื่อ-นามสกุล

คะแนนเก็บ ครั้งที่ 1 (10 คะแนน)

คะแนนเก็บ ครั้งที่ 2 (10 คะแนน)

คะแนนสอบ กลางภาค (30 คะแนน)

คะแนนเก็บ ครั้งที่ 3 (20 คะแนน)

คะแนนสอบ ปลายภาค (30 คะแนน)

7 4 3 6 8 9 10 3 5 5 6 8 7 8 6 6 6 7 7 4

6 5 5 5 6 7 9 5 5 6 5 6 6 6 5 6 7 7 8 6

23 15 15 16 20 24 27 19 15 15 18 15 18 19 16 18 17 18 15 15

17 16 15 16 17 18 20 15 16 16 16 17 17 18 16 17 17 18 19 15

24 15 15 17 22 25 30 22 15 15 19 16 17 18 15 19 20 21 22 15


Workshop on Microsoft Excel 2010

แหล่งอ้างอิง นฤมล อันตะริกานนท์. การใช้ MS Excel 2010 เบื้องต้น [ออนไลน์]. 2555. แหล่งที่มา: http://www.crnfe.ac.th/excel2010/index.html [8 สิงหาคม 2556]

| 34


Workshop on Microsoft Excel 2010

| 35


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.