archmsu2019thesis_Sampan

Page 1









คณะกรรมการสอบวิ ท ยานิ พ นธ์ ได้ พิ จ ารณาวิ ท ยานิ พ นธ์ ข อง นายสั ม พั น ธ์ อิ น ทรสมบั ติ แล้ ว เห็ น สมควรรั บ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลั ก สู ต รปริ ญ ญาสถาปั ต ยกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะกรรมการรับรองวิทยานิพนธ์ ................................................................ คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์) ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ................................................................ (อาจารย์ ดร. นิลปัทม์ ศรีโสภาพ)

หัวหน้าสานักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์

................................................................ (อาจารย์ดร.วรวรรณ เนตรพระ)

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

มหาวิ ท ยาลั ย อนุ มั ติ ใ ห้ รั บ วิ ท ยานิ พ นธ์ ฉ บั บ นี้ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลั ก สู ต ร ปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม



ชื่อวิทยานิพนธ์ ชื่อผทู้ำวิทยานิพนธ์ อาจารย์ที่ปรึกษา สาขาวิชา ปีการศึกษา

สนามกีฬาฟุตบอล นครราชสีมา สเตเดียม นายสัมพันธ์ อินทรสมบัติ อาจารย์ ดร.วรวรรณ เนตรพระ สถาปัตยกรรม 2562

บทคัดย่อ เนื่องจากสโมสรนครราชสีมา มาสด้า เอฟซี เป็นสโมสรที่มีจำนวนแฟนบอลมากเป็นอันดับต้นๆของไทยลีก แต่ ในปัจจุบันทางสโมสรยังไม่มีสนามเป็นของตัวเอง สนามที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน คือ สนาม กีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 ซึ่งเป็นของ กกท. ทำให้การใช้งานสนามทำได้ไม่สะดวก เพราะต้องแบ่งการใช้งานกับ กกท. เวลาจะปรบัปรุง สนามก็ทำได้ยาก สนามนครราชสีมา สเตเดียม มี วัตถุประสงค์เพื่อให้สโมสรได้มีสนามที่มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเองและมี มาตรฐานสามารถจัดการแข่งขันในระดับนานาชาติได้ในอนาคต เป็นศูนย์รวมของแฟนบอลของสโมสร วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของสเตเดียม การใช้งานสเตเดียมในกีฬาฟุตบอล มาตรฐานการออกแบบสนามฟุตบอลในระดับ ฟีฟ่าและเอเอฟซี และศึกษากลุ่มเป้าหมายที่มีความหลากหลาย นำมา วิเคราะห์หาข้อมูลในการออกแบบด้านแนวคิด การเลือกที่ตั้งโครงการ พื้นที่ใช้สอย และโครงสร้าง เพื่อหาแนวทางในการ ออกแบบอาคารสเตเดียม ให้ได้ตามมาตรฐานของฟีฟ่าและเอเอฟซี รองรับกิจกรรมการใช้งานได้อย่างเหมาะสม 1.

2. 3.

4.

โครงการและผลการออกแบบสถาปัตยกรรมอาคาร สนามกีฬา นครราชสีมา สเตเดียม มขี้อมูลโดยคร่าว ดังนี้ ลักษณะโครงการ เป็นอาคารประเภทชุมนุมคน (สเตเดียม) มีองค์ประกอบ คือ ส่วนการแข่งขัน ส่วนอัฒจันทร์ 25,000 ที่นั่ง ส่วนสนับสนุนการแข่งขัน ส่วนสื่อมวลชน ส่วนอำนวยการแข่งและบริการ ส่วนสนับสนุนโครงการ ส่วนบริหาร ส่วนสนามซ้อมและศูนย์ฝึกเยาวชน โครงการมีพื้นที่ใช้สอยรวมประมาณ 111,000 ตารางเมตร โครงการตั้งอยู่ติดกับถนน ราชสีมา – ปักธงชัย ตำบลหนองกระทุ่ม อยู่ห่างจากตัวเมืองนครราชสีมา ประมาณ 6 กิโลเมตร อยู่ใกล้กับสถานีขนส่งผู้โดยสาร จ.นครราชสีมา แห่งที่ 2 ที่ดินมีขนาดประมาณ 111 ไร่ แนวความคิดในการออกแบบ ใช้ตราสโมสรมาถอดฟอร์มเพื่อใช้เป็นเปลือกอาคารให้มีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ ท่ี แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างแฟนบอลกับสโมสร และแสดงถึงความมีเลือดนักสู้ ใช้สีส้มซึ่งเป็นสีประจำสโมสร เป็นสี หลักของตัวอาคาร แนวคิดด้านการจัดวางผัง ใช้ตัวสเตเดียมเป็นจุดศูนย์กลาง เพื่อให้เกิดจุดนำสายตาไปสู่ตัวสเตเดียม อาคารมีรูปทรงโค้งกลม เปลือกอาคารตัดกันทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน มีความสูง 4 ชั้น มีอัฒจันทร์ 2 ชั้น ทางเข้า ของสเตเดียมมีทั้งหมด 4 ด้านหลัก คือ อัฒจันทร์ทิศเหนือ, ทิศใต้, ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก แบ่งเป็นทางเข้า ย่อยด้านละ 4 ทาง ทำให้มีทางเข้าสเตเดียมทั้งหมด 16 ทาง วางทิศทางสเตเดียมตามแนวทิศเหนือ-ใต้ เพื่อให้มีแดด แยงตาน้อยที่สุด การจัดวางโซนนิ่งจะวางตัวสเตเดียมอยู่ตรงกลาง ด้านหน้าจะเป็นพลาซ่า ส่วนด้านข้างและด้าน หลัง จะเป็นที่จอดรถ ส่วนที่จอดรถจะเป็นเส้นนำสายตาไปสู่สเตเดียม โครงสร้างหลังคาใช้โครงสร้างโครงถักสามมิติ

จากแนวคิดโครงการที่รูปทรงของสเตเดียมเป็นทรงโค้ง จึงเลือกใช้โครงสร้างโครงถักสามมิติ วัสดุที่ใช้เป็นเหล็ก เพื่อให้สามารถขึ้นรูปทรงโค้งได้ง่าย แข็งแรงและยื่นหลังคาได้ยาวขึ้น รูปแบบการสัญจรจะแบ่งตามประเภทของผู้ใช้งาน อย่างชัดเจน โดยการสัญจรของผู้ชมที่เป็นผู้ใช้งานหลักจะอยู่รอบสเตเดียม ท่ีแบ่งเป็น 4 ทางหลัก และแบ่งย่อยลงไปเป็น 16 ช่องทางเพื่อง่ายต่อการเข้าถึง ให้สามารถระบายผู้คนได้ดี นอกจากนี้ยังได้ออกแบบที่คำนึงความยั่งยืน ทั้งเรื่องของการ ให้ลมธรรมชาติเข้าสู่ตัวอาคาร การเก็บน้ำฝนมาใช้รดน้ำสนาม การออกแบบที่กล่าวมาจะสามารถต่อยอดการออกแบบ อาคารขนาดใหญ่ที่ต้องการพื้นที่และช่วงกว้างมากได้อีกด้วย



กิตติกรรมประกาศ วิ ท ยานิ พ นธ์ ฉ บั บ นี้ สำ า เร็ จ ได้ ด้ ว ยความอนุ เ คราะห์ ข อง บุคคลหลายท่าน ซึ่งไม่สามารถจะนำามากล่าวได้ทั้งหมด ซึ่งผู้มี พระคุณท่านแรกที่ข้าพเจ้าใคร่ขอกราบขอบพระคุณ คือ อาจารย์ ดร.วรวรรณ เนตรพระ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่ช่วยคอย ให้ความรู้ คำาแนะนำา ตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่ทุกขั้นตอน เพื่อให้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สมบูรณ์ และสำาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบพระคุณสโมสรนครราชสีมา มาสด้า เอฟซี ที่ช่วย เหลือด้านข้อมูล ให้ความร่วมมือในการเก็บข้อมูล ให้ความรู้และ คำาแนะนำาด้านข้อมูลของสโมสร ทำาให้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สมบูรณ์ และสำาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบพระคุณ คณะกรรมกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ห้อง 4 และอาจารย์ในสาขาสถาปัตยกรรมทุกท่านที่แนะนำา แนวทางในเรื่องต่าง ๆ ทั้งด้านการทำางานและการออกแบบ เพื่อ ให้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ออกมาสมบูรณ์ ขอขอบพระคุณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและ นฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามที่เอื้อเฟื้อสถานที่ในการ ทำางานและการศึกษา ทั้งยังคอยมอบประสบการณ์ใหม่ที่ดีตลอด หลักสูตรการศึกษา ขอขอบคุณเพื่อน ๆ ในกลุ่มตรวจแบบและเพื่อน ๆ ใน สาขาวิชาสถาปัตยกรรม และเพื่อนรุ่น 19 และน้อง ๆ ชั้นปีอื่น ๆ รวมถึงเจ้าหน้าที่และบุคลากร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ช่วย เหลือในการจัดทำาวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ให้สำาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี สุดท้ายนี้ข้าพเจ้าใคร่ขอขอบพระคุณ คุณแม่ คุณพ่อ และ ทุก ๆ คนในครอบครัวที่อยู่เบื้องหลังความสำาเร็จในครั้งนี้ ที่คอย ให้กำาลังใจในการทำางานและสนับสนุนด้านทุนการศึกษาตลอดมา นายสัมพันธ์ อินทรสมบัติ ผู้จัดทำาวิทยานิพนธ์


Process Design Approach

Mass Development

1. รูปทรงแรกของตัวสเต เดียมที่ออกแบบ ใช้เป็นทรง สี่เหลี่ยม ซึ่งเป็นรูปทรงพื้น ฐาน แต่มีปัญหาเรื่องมุมมอง ของผู้ชมที่อยู่ตรงขอบสนาม จะมองเห็นได้ยาก 2.ต่ อ มาได้ เ ปลี่ ย นรู ป ทรง ของอาคารโดยการลบมุ ม ทั้งสี่ด้าน ทำ�ให้ตัวสเตเดียม มีรูปทรงที่ดูมีความต่อเนื่อง กว่าแบบแรก แต่รูปทรงนี้ก็ ยังมีเหลี่ยมมุม ทำ�ให้ยังดูไม่ ต่อเนื่องเท่าที่ควร

กำ�หนดทางเข้าของอาคารและมุมมองของอาคารให้อยู่ด้านทิศตะวันออก เพราะอยู่ติดกับถนนสายหลัก (ถนนราชสีมา-ปักธงชัย) และสามารถมอง เห็นอาคารได้ชัดเจน

3.จากที่ รู ปทรงทั้ งสองยั ง ดู มี ค วามไม่ ต่ อ เนื่ อ งทั้ ง เรื่ อ ง ของมุมมอง และด้านการใช้ งานจึงได้นำ�เส้นโค้งมาใช้กับ ด้ า นมุ ม ทั้ ง สี่ ข องสเตเดี ย ม ทำ�ให้เกิดความต่อเนื่องทาง สายตา และมีรูปทรงที่น่า สนใจกว่าทั้งสองแบบแรก

ที่จอดรถจะอยู่บริเวณด้านข้างและด้านหลังของสเตเดียม เพื่อให้สามารถ เข้าถึงสเตเดียมได้จากทุกทิศทาง ลดการสัญจรที่แออัด เส้นทางการสัญจรของผู้ใช้งานโครงการ

พลาซ่ า ด้ า นหน้ า ของอาคารเป็ น พื้ น ที่ ก่ อ นเข้ า ถึ ง สเตเดี ย มเป็ น ลาน อเนกประสงค์ และใช้เป็นที่รวมพลฉุกเฉิน เส้นทางของคนทั่วไป ทางเข้าสเตเดียม

6.2 การนำ�เสนอผลงานครั้งที่ 1 (Schematic Design)


การจัดวางผังโครงการ (Zoning)

Facade Design

1

2

4

3

1.การจัดวาง การจัดวางทิศทางของสนามแข่ง วางไปตามแนวทิศ เหนือ - ใต้ เพื่อให้มีแดดแยงตาน้อยที่สุด ผังโครงการ (Zoning) 2.พลาซ่าด้านหน้าอาคาร ออกแบบโดยให้มีลายพื้นที่สัมพันธ์กับ เปลือกอาคาร(Facade) ที่มีลักษณะเป็นลายไขว้กันและเมื่อมองจากด้านตัว พลาซ่าก็จะมีความต่อเนื่องกับตัวสเตเดัยม 3.ออกแบบพลาซ่าก่อนเข้าสู่สเตเดียมเป็นรูปวงกลมให้สัมพันธ์ กับรูปทรงของสเตเดียมและเพื่อง่ายต่อการสัญจรทำ�ให้สเตเดียมกลายเป็น จุดศูนย์กลางที่สามารถเข้าถึงได้รอบทิศทาง 4.ที่จอดรถ ออกแบบโดยใช้สเตเดียมเป็นศูนย์กลาง และให้ที่จอด รถแผ่ไปตามรูปวงกลม ทำ�ให้เกิดเส้นนำ�สายตาไปสู่สเตเดียม

แนวความคิดการออกแบบเปลือกอาคารใช้การถอดฟอร์จากโลโก้ ของสโมสรมาเป็นรูปร่างของ Facade และใช้สีส้ม ซึ่งเป็นสีหลักของสโมสร เป็นสีของอาคาร วัสดุใช้ Aluminium Composite แบบ Nanometer PVDF เคลือบด้วยผิวนาโน ทำ�ให้สามารถปกป้องผิวเคลือบจากสภาวะแวดล้อมที่ เป็นพิษ และยังสามารถทำ�ความสะอาดได้ด้วยการชะล้างของฝน

เส้นทางการสัญจรของผู้ใช้งานโครงการ

เส้นทางรถฉุกเฉิน เส้นทางสัญจรแขก VIP เส้นทางสัญจรสื่อมวลชน

พื้นที่ที่ออกแบบตามมาตรฐานเอเอฟซี (AFC) 1.จำ�นวนที่นั่งนักข่าว 75 ที่นั่ง ตามมาตรฐานการแข่งขัน AFC รอบ 16 ทีม และ 8 ทีม AFC Championleague 2.ซุ้มม้านั่งสำ�รองแต่ละทีมอย่าง น้อย 18 ที่นั่ง 3.ห้ อ งของเจ้ า หน้ า จั ด การ แข่งขันและนักกีฬา 4.สนามแข่งขัน 105*68 เมตร คำ � แนะนำ � จากอาจารย์ ใ น การนำ�เสนอครั้งที่ 1 1.ดู ค วามสั ม พั น ธ์ ข องพื้ น ที่ ใ น แต่ละโซนให้มีความสอดคล้อง ต่อเนื่องกัน 2.แยกประเภทพื้ น ที่ แ ละทาง สัญจรของผู้ใช้งานให้ชัดเจน 3.ต้ อ งมี เ ส้ น ทางให้ ร ถฉุ ก เฉิ น เข้าไปในสนามได้ 4.มี จุ ด รองรั บ ความปลอดภั ย ห้องพยาบาล ฯ 5.มีสิ่งอำ�นวยความสะดวก ร้าน ค้า ร้านขายของ จุดพักก่อนเข้า ชมการแข่งขัน ให้ผู้ใช้งาน


การนำาเสนอผลงานครังที่ 2 (Design #2)

คำ�แนะนำ�จากอาจารย์ในการนำ�เสนอครั้งที่ 2 1.การจัดพื้นที่เริ่มลงตัว ให้ดูเรื่องการสัญจรให้ดี แยก ทางสัญจรของผู้ใช้งานให้ชัดเจน อาจจะแบ่งเป็นทาง เข้า A ทางเข้า B ฯ เพื่อให้ผู้ใช้งานกระจายตัว ไม่ให้อัด อยู่ในที่เดียวมากเกินไป 2.ขยายประตูทางเข้าของรถฉุกเฉินที่จะเข้าไปในสนาม 3.แนวคิดด้านเปลือกอาคาร หาสิ่งที่สื่อถึงความเป็น โคราช และสอดคล้องกับสโมสร อาจจะไม่ใช่แค่ลายผ้า อย่างเดียว 4.เพิ่มรายละเอียดโครงสร้าง ข้อต่อที่เชื่อมโครงสร้าง เข้าด้วยกัน 5.วัสดุที่ใช้กับอาคารอาจจะเป็นวัสดุที่ออกแบบขึ้นมา เพื่อรองรับกับโครงสร้าง จะทำ�ให้อาคารมีความพิเศษ มากขึ้น


การออกแบบเปลือกอาคาร จากการที่จังหวัดนครราชสีมามีชื่อเสียงใน เรื่องของผ้า และมีลายผ้าที่โดดเด่น จึงได้นำ�มาใช้ ในการออกแบบเปลือกอาคารทำ�ให้ได้รูปแบบของ เปลือกอาคารอาคารเป็นลายสี่เหลี่ยมทับซ้อนกัน เป็นรูปแบบของสเตเดียม Functional Diagram แบ่ ง การใช้ ง านพื้ น ที่ ใ ห้ จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกัน โดยคำ�นึง ถึ ง ผู้ ใช้ ง านให้ มี ค วามปลอดภั ย และสามารถสั ญ จรได้ ค ล่ อ งตั ว สามารถระบายคนได้ดี

Functional Diagram


การนำาเสนอผลงานครั้งที่ 3 (Final Design)


Site Plan

Legend 1.Plaza 2.สนามซ้อม 3.สำ�นักงานและส่วนฝึกซ้อมของสโมสร 4.ที่จอดรถคนทั่วไป 5.ที่จอดรถ VIP 6.ที่จอดรถสื่อมวลชน 7.ที่จอดรถผู้ชมทีมเยือน 8.ที่จอดรถเจ้าหน้าการแข่งขันและพนักงานของสโมสร 9.ที่จอดรถฉุกเฉินและหน่วยรักษาความปลอดภัย 10.พิพิธภัณฑ์และร้านขายของที่ระลึกสโมสร 11.ร้านอาหาร / เครืองดื่ม 12.ห้องน้ำ� 13.ห้องพยาบาล 14.ที่จอดรถจักรยานยนต์










การระบายอากาศภายในสเตเดียม เนื่องจากเป็นอาคารที่ รองรับคนจำ�นวนมาก ทำ�ให้ต้องออกแบบให้มีการระบาย อากาศที่ดี จึงได้ออกแบบตัว Facade อาคารให้มีช่องว่าง เพื่อให้ลมสามารถลอดผ่านเข้าในตัวอาคารได้

หลั ง คาของสเตเดี ย มมี ค วามสู ง จากที่ นั่ ง สู ง สุ ด ของ อัฒจันทร์ประมาณ 9 เมตร ทำ�ให้ระบายอากาศร้อน ได้ดี เพราะมีช่องอากาศขนาดใหญ่ และช่วยให้ระบาย ความร้อนออกไปได้เร็วขึ้น


ใช้หลังคา EFTE ที่มีความโปร่งแสง แต่ไม่โปร่งใส ทำ�ให้แสงเข้ามาได้บางส่วน เพื่อทำ�ให้ตัวอัฒจันทร์ ไม่มืดทึบเกินไป และสามารถกันแดดได้

มีการกักเก็บน้ำ�ฝน เพื่อไว้ใช้ในการรดน้�ำ สนามกีฬา และเก็บเป็นน้ำ�สำ�รองไว้ใช้ในยามฉุกเฉินโดยจะ เก็บไว้ที่ชั้น 4 ของสเตเดียม ซึ่งถังเก็บน้�ำ จะอยู่ทั้ง 4 ด้านของสเตเดียม





ภาพที่ 6.12 Detail A

ภาพที่ 6.13 Detail B




ทัศนียภาพภายนอกสเตเดียมด้านหน้า 1

ทัศนียภาพภายนอกสเตเดียมด้านหน้า 2


ทัศนียภาพภายในสเตเดียมอัฒจันทร์ฝั่งทิศตะวันออก

ทัศนียภาพภายในสเตเดียมอัฒจันทร์ฝั่งทิศตะวันตก (อัฒจันทร์ประธาน)


ทัศนียภาพภายในสเตเดียมอัฒจันทร์ฝั่งทิศตะวันออก ชั้น 2

ทัศนียภาพภายในสเตเดียมอัฒจันทร์ฝั่งทิศเหนือ


ทัศนียภาพภายในสเตเดียมอัฒจันทร์ฝั่งทิศตะวันตก 2

ทัศนียภาพภายในสเตเดียมอัฒจันทร์ฝั่งทิศตะวันตก 3


ทัศนียภาพภายในสเตเดียม

ทัศนียภาพภายในสเตเดียมอัฒจันทร์ประธาน


ทัศนียภาพภายในสเตเดียมอัฒจันทร์ฝั่งทิศใต้

ทัศนียภาพภายในสเตเดียมอัฒจันทร์ฝั่งทิศใต้ 2


ทัศนียภาพภายในสเตเดียมชั้น 3

ทัศนียภาพภายในสเตเดียมทางเดินชั้น 2


ทัศนียภาพภายในสเตเดียมบันไดทางขึ้น ชั้น 4

ทัศนียภาพภายในสเตเดียมชั้น 1


ทัศนียภาพภายในสเตเดียม ห้องแต่งตัวนักกีฬา

ทัศนียภาพภายในสเตเดียม ห้องแถลงข่าว


ทัศนียภาพภายนอกสเตเดียมบริเซณที่จอดรถ

ทัศนียภาพภายนอกสเตเดียมทางเข้าด้านทิศใต้


คำ�แนะนำ�จากอาจารย์ในการนำ�เสนอครั้งที่ 3 1. แยกทางสัญจรของผู้ชม / แขก VIP / นักกีฬา / สื่อมวลชน ให้ เห็นเป็น Isometric ของแต่ละผู้ใช้งาน 2. เพิ่มรายละเอียดวิธีเก็บน้ำ�ฝน / วิธีการจ่ายน้ำ�รดสนาม 3. แก้ตำ�แหน่งของจอ Score Board 4. โครงสร้างบริเวณ Aproach ไม่ต้องมีเสาก็ได้ ใช้การออกแบบ โครงสร้างพิเศษเสริมเพื่อให้ทางเข้าไม่ถูกบัง 5. เพิ่มตำ�แหน่งของช่างกล้อง ว่าอยู่จุดไหน


ทัศนียภาพภายนอกสเตเดียม พลาซ่าด้านหน้าสเตเดียม


บทสรุปและข้อเสนอแนะ สรุปผลการออกแบบโครงการ วิทยานิพนธ์เรื่องนี้เกิดขึ้นจากการที่สโมสรนครราชสีมา มาสด้า เอฟซี เป็นสโมสรที่มีจำานวนแฟนบอลมากเป็นอันดับต้นๆ ของเมืองไทย แต่ว่าทางสโมสรยังไม่มีสนามฟุตบอลเป็นของตัว เอง ซึ่งทำาให้เกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น การต้องใช้สนามร่วมกับหน่วย งานอื่น ๆ การปรับปรุงสนามต่าง ๆ ต้องขออนุญาติจากเจ้าของ ก่อน ทำาให้การปรับปรุงอาจล่าช้าส่งผลต่อการแข่งขันต่าง ๆ อีก ทั้งเพื่อรองรับการแข่งขันระดับนานาชาติในอนาคต จึงได้เกิด โครงการสร้างสนามที่มีมาตรฐานระดับ AFC รองรับแฟนบอล ของสโมสรให้มีสิ่งอำานวยความสะดวกต่าง ๆ ระหว่างเข้าชมการ แข่งขัน เป็นศูนย์รวมของแฟนบอลสโมสรนครราชสีมา มาสด้า เอฟซี การทำาวิทยานิพนธ์นี้ได้มีการศึกษาข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยว กับการออกแบบสนามฟุตบอล มาตรฐานการออกแบบสนาม ฟุตบอลของ AFC และ FIFA และศึกษากลุ่มเป้าหมาย ( แฟน บอล ) ที่มีความหลากหลาย เพื่อนำามาวิเคราะห์พฤติกรรม การ ใช้งานต่าง ๆ แล้วนำามาสร้างแนวคิดให้เข้ากับโครงการ ออกแบบ พื้นที่การใช้งานให้เหมาะสมกับกุ่มเป้าหมาย อีกทั้งยังศึกษาการ เลือกที่ตั้งให้เหมาะกับโครงการตามข้อกำาหนดของ AFC ศึกษา โครงสร้างพาดช่วงกว้างที่เหมาะกับอาคารสนามกีฬา เพื่อนำา ข้อมูลที่ศึกษาและวิเคราะห์มาออกแบบโครงการให้ได้ตามจุด ประสงค์ การทำาวิทยานิพนธ์นี้ทำาให้ได้รับความรู้ด้านการออกแบบ สนามกีฬาประเภทสเตเดียม ทั้งมาตรฐานการออกแบบสนาม กีฬาระดับสากลของ AFC และ FIFA การได้ศึกษาและวิเคราะห์ พฤติกรรมหลากหลายของแฟนบอล ได้เข้าใจพฤติกรรมของแฟน บอลมากขึ้น รวมถึงการได้ศึกษาโครงสร้างพาดช่วงกว้าง ( Wide Span ) ที่เป็นโครงสร้างที่สามารถยื่นยาวได้มากกว่าโครงสร้าง ปกติ และสามารถปรับรูปทรงได้หลากหลาย ทำาให้เกิดเส้นสาย รูปทรงที่น่าสนใจในฟอร์มของอาคาร ซึ่งสิ่งต่าง ๆ ที่กล่าวมา เหล่านี้ สามารถนำาไปประยุกต์ใช้กับการออกแบบงานในอนาคต ได้อีกด้วย

ทัศนียภาพภายนอกสเตเดียมทางด้านทิศเหนือ

ปัญหาในการศึกษาข้อมูลและการออกแบบ - ปัญหาด้านการศึกษาข้อมูล การหาข้อมูลเกี่ยวกับสเตเดียมที่อาจจะต้องไปสำารวจ หรือหาข้อมูลในพื้นที่จริง ซึ่งต้องจัดการเวลา และกำาหนดเวลา สืบค้นข้อมูล เพราะการลงพื้นที่อาจจะมีปัญหาที่ไม่คาดคิดเกิด ขึ้น เช่น การไปดูการแข่งขันเพื่อสำารวจพฤติกรรมของแฟนบอล ที่เจอปัญหาด้านการเข้าไปสอบถามหรือสำารวจสเตเดียม เพราะ ตัวสนามมีการจัดระเบียบการสัญจรที่ยังไม่เป็นระเบียบ ทำาให้ การสัญจรวุ่นวายในวันที่มีผู้เข้าชมจำานวนมาก ปัญหาด้าน การสอบถามข้อมูล ทางสโมสรมีข้อมูลเชิงธุรกิจที่บางอย่างไม่ สามารถเปิดเผยได้ ทำาให้อาจต้องหาข้อมูลมาเปรียบเทียบแทน - ปัญหาด้านการออกแบบ ปัญหาที่พบจากการออกแบบ คือ การหาพื้นที่ตั้ง โครงการ เพราะเป็นโครงการที่มีขนาดใหญ่ที่จะเป็นจุดศูนย์รวม ของผู้คน ( ในโครงการนี้คือบริเวณตัวเมืองนครราชสีมา ) จึงหา พื้นที่ได้ค่อนข้างยาก ซึ่งแก้ปัญหาโดยการหาพื้นที่ที่ไกล้เคียงกับ เกณฑ์แต่อาจจะต้องถอยออกมาจากตัวเมืองที่เป็นศูนย์กลางเพื่อ ให้ได้พื้นที่ที่ต้องการ เนื่องจากเป็นโครงการที่มีขนาดใหญ่ จึงต้อง ออกแบบให้มีเอกลักษณ์โดดเด่น รวมถึงต้องคำานึงถึงการใช้วัสดุที่ เหมาะสม และคำานึงถึงความยั่งยืนและสิ่งแวดล้อมรอบโครงการ และปัญหาเรื่องความจุของสเตเดียมจากที่กำาหนดไว้ 25,000 ที่ นั่ง แต่หลังจากออกแบบ ได้ 17,000 ที่นั่ง เกิดจากการคำานวณ ที่นั่งผิดพลาดโดยไม่ได้คำานึงถึงการจัดวางเก้าอี้ให้เพียงพอ ซึ่ง ก่อนออกแบบได้คำานวณพื้นที่ไว้คร่าว ๆ แต่ว่าไม่ได้คำานวณอย่าง ละเอียด ทำาให้หลังจากออกแบบเรียบร้อยแล้ว ทำาให้ได้ที่นั่งไม่ เพียงพอตามที่คำานวณไว้


ข้อเสนอแนะ การทำาวิทยานิพนธ์ในเรื่องที่มีความสนใจนั้นเป็นจุดเริ่ม ต้ น ในการศึ ก ษาและเรี ย นรู้ ที่ ต้ อ งการต่ อ ยอดองค์ ค วามรู้ แ ละ ไขข้อสงสัยต่อประเด็นที่เลือกนำามาศึกษา ผู้ศึกษาต้องศึกษา ค้นคว้าตลอด 1 ปีของการศึกษา ซึ่งหัวข้อที่เราสนใจนั้นจะเป็น แรงผลักดันให้เรามีความมุ่งมั่นที่จะผลิตงานออกมาได้ดี และ ทำาให้สนุกไปกับงานที่ทำา ทั้งในเรื่องการวิเคราะห์และแก้ไข ปรับปรุงผลงานให้ดีขึ้นไปอีกด้วย จากปัญหาที่พบเจอในการทำาวิทยานิพนธ์ เราควรจะ ตรวจสอบงานที่เราทำาอย่างรอบคอบก่อนที่จะลงมือในการทำา แบบจริง เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้ ควรตรวจ ทานรายละเอียดให้ดี แม้จะเป็นสิ่งเล็กน้อย และในปัจจุบัน การ ออกแบบอาคารประเภทสเตเดี ย มนั้ น มี ตั ว อย่ า งให้ เ ลื อ กดู ไ ด้ หลากหลาย ทำาให้ราสามารถนำามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับแนวคิด ได้ ซึ่งความยากของสเตเดียมนั้นจะอยู่ที่การออกแบบโครงสร้าง ให้ดูมีความน่าสนใจ มีเอกลักษณ์ และคำานึงถึงความเป็นไปได้ ของวัสดุที่ใช้ รวมถึงเรื่องการออกแบบพื้นที่ทางเข้า-ออก ของ โครงการ จะต้องออกแบบให้มีความชัดเจน เหมาะสมกับผู้ใช้งาน แต่ละประเภท แยกประเภทของการสัญจรให้ชัดเจนและคำานึง เรื่องการรักษาความปลอดภัย สามารถระบายผู้คนได้ดี การเลือกหัวข้อวิทยานิพนธ์ที่ตรงกับความสนใจเป็นการ ต่อยอดความรู้ที่ได้จากการเรียน นำามาประยุกต์ใช้กับวิทยานิพนธ์ ของเราและจะเป็นแรงกระตุ้นให้เราพัฒนาตนเองและพัฒนาผล งานให้ออกมาดีที่สุด


ภาพการนำาเสนอผลงาน

การนำาเสนอผลงานครั้งที่ 1

การนำาเสนอผลงานครั้งที่ 1

การนำาเสนอผลงานครั้งที่ 1


การนำาเสนอผลงานครั้งที่ 2

การนำาเสนอผลงานครั้งที่ 2



ประวัติผู้ทำ�วิทยานิพนธ์

ชื่อ - สกุล : นายสัมพันธ์ อินทรสมบัติ วันเกิด : 8 ตุลาคม 2539 สถานที่เกิด : รพ.มหาราช นครราชสีมา อ.เมือง จ.นครราชสีมา สถานที่อยู่ปัจจุบัน : 238 หมู่ 8 ต.โคกม้า อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ 31140 หมายเลขโทรศัพท์ : 099-501-6932 E - Mail Address : Tey579987@gmail.com, Sampan.int@msu.ac.th ประวัติการศึกษา พ.ศ.2554 สำ�เร็จการศึกษาจากโรงเรียนเมืองตลุงพิทยาสรรพ์ ( มัธยมศึกษาตอนต้น ) พ.ศ.2557 สำ�เร็จการศึกษาจากโรงเรียนเมืองตลุงพิทยาสรรพ์ ( มัธยมศึกษาตอนปลาย ) พ.ศ.2558 เข้าศึกษาระดับปริญญาตรี - สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง และนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.