TFPA Trade & Technical Weekly Brief: 1-9 January 2011

Page 1

TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF THAI FOOD PROCESSORS’ ASSOCIATION www.thaifood.org TUNA

ฟรี!!

SEAFOOD

FOR: 1-9 JANUARY 2011 FRUIT & VEGETABLE

SWEET CORN

VOL.2

PINEAPPLE

ISSUE.1

DATE: 10 JANUARY 2011

FOOD INGREDTENTS & READY TO EAT

TRADER

ั ิ ค้าและระเบียบปฎิบ ัติของกรมศุลกากร ภายใต้ความตกลงเขตการค้า สมมนาเรื อ ่ ง “กฎว่าด้วยถิน ่ กาเนิดสน ้ า ี ค่าใชจ เสรี” ระหว่างว ันที่ 13 มกราคม 2554 – 30 พฤษภาคม 2554 ไม่เสย ่ ย ** ร ับจานวนจาก ัด**

อย. คุมเข้มผูป้ ระกอบการยกระด ับการ ผลิตอาหาร ๔ ประเภทมุง ่ สู่ GMP USFDA เตรียมปร ับรูปแบบ Nutrition Facts สาหร ับชาว อเมริก ัน

ิ ธิ 5 ปี มติให้เว้นการเพิกถอนสท ิ ธิซอ ื้ นา้ ตาลทรายโควตา และได้ร ับสท ค. ปี 2554

ปภ.รายงานมีพน ื้ ทีป ่ ระสบภ ัยแล้ง แล้ว 5 จ ังหว ัด ่ ออกไทยก ับกฎแหล่งกาเนิด เพิม ่ โอกาสสง

ิ ค้าใหม่ภายใต้ระบบ GSP อียู สน

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 1


CONTENTS ข้อมูลด้านเทคนิค

สถานการณ์ดา้ นการค้า

4 RAPID ALERT SYSTEM FOR FOOD AND FEED ของ สหภาพยุโรป ระหว่างว ันที่ 1- 9 ม.ค. 2554

11 เพิม ่ โอกาสส่งออกไทยก ับกฎแหล่งกาเนิดสินค้า ใหม่ภายใต้ระบบ GSP อียู

5 USFDA เตรียมปร ับรูปแบบ Nutrition Facts สาหร ับชาว อเมริก ัน เอกสารแนบ 1 ่ สารอ ันตราย 5 มะก ันถอนสาร Saccharin จากรายชือ

้ ค่าแรง สภาอุตฯโอดเหมือนถูกม ัดมือชก ขูป 11 พิษขึน ่ ี หน้าลดคน แจง 15 อุตฯกระทบ

5 กระเชา้ ของขว ัญปี ใหม่ตอ ้ งแสดงฉลากอาหาร! ั 5 แคนาดาเรียกคืนงา หวน ่ ั ปนเปื้ อนซลโมเนลลา

12 ครึง่ ปี หล ังยอดส่งออกอาหารหดต ัว 12 ระว ังวิกฤตอาหารในแอฟริกา-เอเชีย

6 ออสเตรเลีย: ระบบตรวจสอบสินค้าอาหารนาเข้า เอกสาร แนบ 2 6 อย. คุมเข้มผูป ้ ระกอบการยกระด ับการผลิตอาหาร ๔ ประเภทมุง ่ สู่ GMP เอกสารแนบ 3

สรุปการประชุมคณะร ัฐมนตรี

อ ัตราแลกเปลีย ่ น 13 อ ัตราแลกเปลีย ่ น ้ ขย ับแน่ 14 ธปท.เตือนร ับมือดอกเบีย

7 สรุปการประชุมครม. ว ันอ ังคารที่ 4 มกราคม 2554 เอกสาร แนบ 4 7 สรุปการประชุมครม. ว ันอ ังคารที่ 28 มกราคม 2553 เอกสารแนบ 5

้ ดอกเบีย ้ 0.25% มุง 14 ธนาคารกลางจีนประกาศขึน ่ ควบคุมแรงกดด ันด้านเงินเฟ้อ 14 ทิศทางหยวน

สถานการณ์ดา้ นประมง

ั้ ้ ระยะสนไว้ 14 โกลด์แมน แซคส ์ คาดเฟดตรึงดอกเบีย ใกล้ระด ับ 0% จนถึงปี 2555

8 ราคากุง้ เวียดนามทาสถิตส ิ ง ู สุด

สถานการณ์ดา้ นการเกษตร 9 ปภ.รายงานมีพน ื้ ทีป ่ ระสบภ ัล้งแล้ว 5 จ ังหว ัด ั พช 9 ภาวะศก.การเกษตรหด0.9% ผลพวงนา้ ท่วม-ศตรู ื ระบาด สศก.คาดปี หน้าขยาย1.4-2.4% 27

ั ันธ์ ประชาสมพ ั 15 ขอเชิญเข้าร่วมสมมนาเรื อ ่ ง “กฎว่าด้วยถิน ่ กาเนิด สินค้าและระเบียบปฎิบ ัติของกรมศุลกากร ภายใต้ความ ตกลงเขตการค้าเสรี” เอกสารแนบ 7

้ ราคา ร้องคน.อนไม่ 9 เตรียมร ับมือปุ๋ยสูตรขึน ั้ อยูย ่ เู รียพุง ่ 420$ ื้ นา้ ตาล 10 มติให้เว้นการเพิกถอนสิทธิ 5 ปี และได้ร ับสิทธิซอ ทรายโควตา ค. ปี 2554 เอกสารแนบ 6 ้ ปี 10 ชงคงเก็บเงินนา้ ตาลโลละ5บาทถึงสิน ั ดาห์ของ 10 สรุปสถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสบป

ั สบปะรดและน า้ ตาล

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 2


ิ ค้าจากประเทศไทยทีแ่ สดงใน RAPID ALERT SYSTEM FOR FOOD AND FEED ของสหภาพยุโรป สน ระหว่างว ันที่ 1- 9 มกราคม 2554 (สินค้าทีเ่ กีย ่ วข้องก ับสมาคมฯ)

NOTIFICATION TYPE

NOTIFICATION DATE

LAST UPDATE

REFERENCE

FROM

PRODUCT

SUBSTANCE/HAZARD

Border Rejection

03/1/2011

03/1/2011

2011.AAD

FINLAND

fresh leaf vegetable and fresh spinach

Salmonella bovismorbificans and Salmonella Ndolo

Source: http://ec.europa.eu/food/food/rapidalert/rasff_portal_database_en.htm

้ Salmonella เปนแบ *เชือ สา าร เ ลอน ไ

เร

เปน อน ไ สรา สอร์ อ

สแกร ลบ

แฟลกเ ลลา อ รอบ ั

้ เ รญไ กเ น S.gallinarum และ S.pullorum เ อ

ในส า ะ

้ Salmonella เ อ ลา าร า กัน

า เป นอ

น แ ละ น

ลัก

ออก เ น รอ

้ ในมนุษย์ ะไ รับเ อ ้ ปะปน ากับน้ า และอา าร และบา *สาหร ับการติดเชือ อา ั า บานเรอน เปน า ะ

รั ้ อา เก

ากสั

้ Salmonella ไ แก โร กระเ าะอา าร และลาไสอักเสบ โร โล *สาหร ับโรคทีเ่ กิดจากเชือ และไ ไ ฟอ ์

...................... .........................

เ์ ล ้ เปน

..................... .......................

......

การแจ้ง เตอ ื น มี 3 ประเภท

1. Information Notifications เปนการแ เ อนเ อ การ ร บสน าอา ารและอา ารสั ์ า เส ส อ า ปลอ ั อ น แ ์ ละสั ์ และสน า ั ไ เ าส อ ลา รอ ไป าก อ ลา อ ประเ ส า กอน แล ประเ ส า กอน ไ าเปน อ าเนน า รการเร น อสน า ั กลา 2. Alert Notifications เปนการแ เ อนเ อ การ ร บสน าอา ารและอา ารสั ์ า เส ส อ า ปลอ ั อ น แ ์ ละสั ์ และเ าส อ ลา แล โ ประเ ส า กไ การ าเนน า รการใ า รการ น อสน า ั กลา เ น การ อนสน า รอ เร ก นสน า าก อ ลา 3. Border Rejection เปนการแ เ อนสน าอา ารและอา ารสั ์ ร บ าไ ไ า รฐาน อ

EU โ

ประเ

ส า ก าเนน า รการปฏเส การนาเ า

านนาเ า

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 3


เก็บตกข่าวปี 2553 สานัก านอา ารและ า แ ส รัฐอเ รกา รอ US Food and Drug Administrator (USFDA) facts) าการ ั ในประเ นรปฉลากโ นาการ (Nutrition) เ าะส และเปน อ การสา รับผบรโ า อเ รกัน พบว่า า อเ รกันส นใ ญ อ การฉลากโ นาการ เนนใ บ บอก า ลั านใน น แ ลอร (Calories) ซ าน เปน รอ ละปร า แนะนา อ ัน (Percentage of daily) รอ ปร า รบรโ อ น (Service size or service per container)

USFDA เตรียมปร ับรูปแบบ Nutrition Facts สาหร ับชาวอเมริก ัน ทีม ่ า: น อ ์ ั ฉร ะเ ออ สา กรร อา าร ส าบั นอา าร น ั 7 . . 2553

้ ร ับปรุงระเบียบการแสดง ผลการ ั น้ FDA จะนาไปใชป ิ ค้าทีจ ข้อมูลฉลากโภชนาการในสน ่ าหน่ายในประเทศ โดยหล ังปิ ดร ับข้อคิดเห็ นในเดือนธ ันวาคม 2553 แล้ว จะ ประกาศเป็นแนวทางการดาเนินงานภายในกลาง ่ ออกสน ิ ค้าอาหารสาเร็ จรูป ปี 2554 ซงึ่ ผูป ้ ระกอบการสง ไปสหร ัฐฯควรติดตาม เนือ ่ งจากอาจทาให้ตอ ้ งเปลีย ่ น ฉลากอาหารใหม่ได้ รา ละเอ ั เอกสารแนบ 1

กระเชา้ ของขว ัญปี ใหม่ตอ ้ งแสดงฉลากอาหาร! ทีม ่ า: า อ . เ อน ัน า

2553

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ ่ ง การแสดงฉลาก ของอาหารจ ัดรวมในภาชนะ กา น ใ อา าร ากก า น น รอ น เ กันแ ลา าน นซ ั ร อ ใน า นะเ กัน การ อ เ อ า นา ไ า ะเปนกระเ า ะกรา กลอ เปน อา าร อ แส ฉลากโ ออา ารแ ละรา การ บรร และ ันเ อนป อา เ อเปน อ ลใ กับ ้ และปอ กันอัน รา ผบรโ ผบรโ ในการเลอกซอ ะ ไ รับ ากผล ั ฑ์ อา ซงึ่ ประกาศฯ มีผลบ ังค ับ ้ งแต่ ใชต ั้ ว ันที่ 15 ธ ันวาคม 2553 เป็นต้นไป

มะก ันถอนสาร Saccharin ื่ สารอ ันตราย จากรายชอ ทีม ่ า: กอ 16 . . 2553

ั แคนาดาเรียกคืนงา หวน ่ ั ปนเปื้ อนซล โมเนลลา ทีม ่ า: กอ

ื่ สาน ักงานปกป้องสงิ่ แวดล้อมสหร ัฐฯ (EPA) ได้ถอนชอ ื่ สารอ ันตราย เนอ าก สาร Saccharin ออกจากรายชอ ไ ลักฐาน า า าส ร์ ารอ รับเ อ ั นัน ้ EPA ไ ระบ าสารนไ้ เปนอัน รา อส า น ์ แ เ นัน ้ EPA ไ ระบใ สาร Saccharin เปนสาร อ ะเร (carcinogen) สาร Saccharin เปนสารใ า าน ไ ใ า า อา ารและใ า าน ากก าน้ า าล น อน ้ ก 300 เ า สารนีถ ู ใชใ้ นอุตสาหกรรมเครือ ่ งดืม ่ เค้ก ขนม ปังกรอบ ลูกอม เครือ ่ งปรุงรส และผลไม้แปรรูป

น ั

29 . . 2553

สาน ักงานตรวจสอบอาหารแคนาดา (CFIA) และ McCormick เตือนไม่ควรบริโภคงาและงาผสม สมุนไพรของบริษ ัท Club House One Step Lemon and Herbs Seasoning, Club House Sesame Seed, Sysco Sesame Seed และ Trade East ั ื้ ซล Sesame Seed เนือ ่ งจากเกรงว่าอาจปนเปื้ อนเชอ โมเนลลา ซงึ่ ขณะนี้ McCormick แคนาดา ลอนดอน ิ ค้าด ังกล่าวแล้ว ซ ออนแทริโอ ได้สม ัครใจเรียกคืนสน ผล ั ฑ์เ ลาน้ การ า นา ั แ นา า แ อ า ไรก ั ไ รา านผป ากการบรโ สน าเ ลาน้

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 4


ข่าวต้อนร ับปี 2554

Australian Quarantine and Inspection Service หรือ AQIS มีแผนการตรวจสอบอาหารนาเข้า (Imported Food Inspection Scheme หรือ IFS) เริม ่ บ ังค ับใชเ้ มือ ่ ว ันที่ 20 ก ันยายน 2553 ทีผ ่ า่ นมา

ิ ค้าอาหาร ออสเตรเลีย: ระบบตรวจสอบสน นาเข้า ทีม ่ า: น อ ์ ั ฉร ะเ ออ สา กรร อา าร ส าบัน อา าร เผ แ รเ อน ัน า 2553

สาน ักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ออก ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบ ับที่ 193) พ.ศ. 2553 (ฉบ ับที่ 2) เพือ ่ กาหนดวิธก ี ารผลิต เครือ ่ งมือ เครือ ่ งใชใ้ นการผลิต และการเก็ บร ักษาอาหาร (GMP) เพิม ่ เติมอีก 4 ประเภทได้แก่

อย. คุมเข้มผูป ้ ระกอบการยกระด ับการผลิต อาหาร ๔ ประเภทมุง ่ สู่ GMP า: อ

น ั

5 . . 2554

1. อาหารพร้อมปรุง ไ ากกันเปนส น และ ั ร เ กัน ี่ งของสน ิ ค้าอาหารต่อการเกิดอ ันตราย ความเสย แบ่งเป็น 2 ระด ับ คือ ี่ ง (RISK FOOD) ลกากร ะส 1. อาหารกลุม ่ เสย สน าอา าร ั ้ (100%) า ใ AQIS ร สอบเบอ ้ น และ าร า าเนนการ า า เ าะส อไป 2. อาหารทีต ่ อ ้ งเฝ้าระว ัง (SURVEILLANCE FOOD) น าน AQIS ะส ั แ นสน า อา ารในแ ละลอ าน นรอ ละ 5 เ อ ร สอบ นอก ากน้ AQIS ั ส อ ล เก อ กับสน า เ น ผนา เ า ผผล รอประเ แ ล กาเน สน า ใ FSANZผาน า ระบบอเลก รอนกส์ เร ก า Custom Integrated Cargo System อ ล ั กลา ไ ผล อการ ส ั อ า สา รับสน าอา าร ผานการ ร สอบ รอ ั อ ในกล า เส า (Low Risk) ะสา าร ระบา สน าเ อ า นา ไ าก ร บ าสน าไ ผานเก ฑ์ า รฐาน AQIS ะ าร าเร ก น (recall) รอเ ก อน (withdraw) สน าออก าก อ ลา ซ ผนาเ า ะ อ รับผ อบ าใ า ในการ าเนนการ ั้ รายละเอียดได้ด ังเอกสารแนบ 2

ั เ ร ส นประกอบ า แ ก เปน ไ ใน น า นะ

2. ผลิตภ ัณฑ์ขนมอบ เปนผล ั ฑ์สาเร รป รอ บรโ ัน า ากแป เปนอ ป ์ ระกอบ ลักและ าใ สก โ ใ า รอน เ น โ นั เ ก แ รกเกอร์ ั เฉ าะ เปนผล ั ฑ์สาเร รป ้ สตว์ 3. ผลิตภ ัณฑ์จากเนือ รอ บรโ ัน เ น บ อ ปลากรอบปร รส ้ หมี่ ๋ ว และเสน 4. ก๋วยเตีย ลัก ะเปนเสน รอแผน า ากแป า เ าเปนอ ป ์ ระกอบ ลัก และใ ล กในน้ าเ อ กอนบรโ โ อา เปนเสนส เสนก แ และเสนแ ก ไ ้ งแต่ ้ ะมีผลบ ังค ับใชต ประกาศฯ ฉบ ับนีจ ั้ ว ันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2554 เป็นต้นไป ส นผผล เ อ า นา รอผนาเ า เ อ า นา อา ารอ กอนประกา ฯ ฉบับนใ้ บั ับ อ ปฏบั ใ เปนไป า ประกา น้ า ใน 2 ป นับ ากประกา ฯ ฉบับนใ้ บั ับ อ ัน 16 นา . .2556 าก อส สั ประการใ อสอบ า ไ กอ บ อา าร สานัก าน ะกรร การอา ารและ า กระ ร สา าร ส โ ร ั ์ 02 590 7214, 02 590 7173 และ 02 590 7185 ใน ันและเ ลารา การ รายละเอียดได้ด ัง เอกสารแนบ 3

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 5


สรุปการประชุมครม. ว ันอ ังคารที่ 4 มกราคม 2554 ที่

เรือ ่ ง

สาระสาค ัญ

้ ังค ับกฎกระทรวง การขยายระยะเวลาการใชบ กาหนดงานและจานวนเงินทีล ่ ก ู จ้างต้องส่งเข้า กองทุนเพือ ่ การส่งคนต่างด้าวกล ับออกไปนอก ราชอาณาจ ักรฯ

7.

กระ ร แร าน

า ระ ะเ ลาการใ บั

าน นเ น ลก า

อ ส เ ากอ

ับกฎกระ ร กา น

นเ อการส

รา อา า ักร และ ลักเก ฑ์และ

หน้า

น า

านและ

6.

า กลับออกไปนอก

การในการส เ น การออกใบรับ นั สอ

รับรอ และใบแ น นั สอรับรอ การส เ น

. . 2553 ออกไปเป็นว ันที่ 1

มีนาคม พ.ศ. 2555 13.

การดาเนินการตามข้อมติคณะมนตรีความ มนคงแห่ ่ั งสหประชาชาติเกีย ่ วก ับการควา ่ บาตร สาธารณร ัฐประชาธิปไตยคองโก

า 30

า รการ าบา รสา าร รัฐประ า ปไ กา น 2554)

อ โก ออกไป น

10

ัน

16.

รายงานด ัชนีราคาผูบ ้ ริโภคทว่ ั ไปและด ัชนี ้ ฐานของประเทศเดือน ราคาผูบ ้ ริโภคพืน พฤศจิกายน 2553

ั นรา าผบรโ เ อน ฤ กา น 2553 เ ากับ 108.75 โ เ ส น ้ าก เ อนเ กัน อ ป ผาน ารอ ละ 2.8 เปนการเ น ้ ในอั รา เ ากับเ อน ลา ผาน า (ซ ส น ้ รอ ละ 2.8 ) โ เฉล 11 เ อนแรก อ ป 2553 น้ เ ส น ้ รอ ละ 3.4

12

17.

สรุปสถานการณ์ภ ัยพิบ ัติดา้ นการเกษตรปี2553 ครงที ั้ ่ 46

สถานการณ์อุทกภ ัย ไ

14

า:

า: www.thaigov.go.th น ั

4 กรา

2554 รายละเอียดด ังเอกสารแนบ 4

สรุปการประชุมครม. ว ันอ ังคารที่ 28 มกราคม 2553 ที่ 12.

17.

เรือ ่ ง

สาระสาค ัญ

มาตรการภาษีเพือ ่ สน ับสนุนการควบรวมกิจการ กรณีการยกเว้นภาษีเงินได้สาหร ับเงินปันผล กาหนดให้มาตรการภาษีเพือ ่ สน ับสนุนการ ปร ับปรุงโครงสร้างองค์กรเป็นมาตรการถาวร

ะรัฐ น รเ น อบฯและอน ั า ในประ

ิ ธิประโยชน์ในการ การขยายระยะเวลาการให้สท ปร ับปรุงโครงสร้างหนี้

ลักการรา

ระรา กฤ ฎกาออก า

การ กเ นรั ฎากร (ฉบับ

ะรัฐ น รเ น อบฯ สาระสาค ัญ กเ น า เฉ าะ และอากรแส รอบร ั

18.

ลรั ฎากร า

หน้า

อน ั

ากั

า ในประ

14

รก า น ากั

ลรั ฎากร า

..) . . .... และรา กฎกระ ร

า ในประ

. . ....

กัน

ระรา กฤ ฎกาออก า

การ กเ นรั ฎากร (ฉบับ ( . . ....) ออก า

ล าเ

ป์ ใ แกผประกอบก การซ เปนบร ั

เปนบร ั ในเ รอเ

ลักการรา

..)

12

ลรั ฎากร า

การ า นา

ฉบับ

14 ..

นส ้ ญ

ากบัญ ลก น้ 31.

มาตรการกาก ับดูแลสินค้าสาค ัญ 204 รายการ และบริการ 20 รายการ ประจาเดือนธ ันวาคม 2553

33

1. กล Sensitive List (SL) สน า 9 รา การและบรการ 1 รา การ 2. กล Priority Watch List (PWL) สน า 6 รา การ และบรการ 1 รา การ 3. กล Watch List (WL) าน น 189 รา การ และ บรการ 18 รา การ

32.

ด ัชนีราคาส่งออก – นาเข้าของประเทศ และด ัชนี ภาวะธุรกิจส่งออกเดือนตุลาคม 2553

ั นรา าส ออก- นาเ า อ ประเ ส ออกเ อน ลา

2553 ส

ในรปเ นเ ร ญส รัฐ

ั นรา า

น ้ รอ ละ 1.3 และ ั นรา านาเ า ส

34

น ้

รอ ละ 1.4

า:

า: www.thaigov.go.th น ั

28 ัน า

2553 รายละเอียดด ังเอกสารแนบ 5

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 6


ข่าวต้อนร ับปี 2554

่ ออกอาหารทะเลเวียดนาม สมาคมผูผ ้ ลิตและสง ่ ออกกุง้ เวียดนามปี 2553 (VASEP) เปิ ดเผยว่า ยอดสง สูงเป็นประว ัติการณ์โดยคิดเป็นมูลค่าถึง 2 พ ันล้าน ดอลลาร์สหร ัฐ เพิม ่ จากปี 2552 ทีม ่ ม ี ล ู ค่า 1.69 พ ันล้าน ดอลลาร์สหร ัฐ นา Nguyen Huu Dung รอ ประ าน อ VASEP า าเปนผล า ากการ าฟาร์ ก า แน ปฏบั าใ า น ้

ราคากุง้ เวียดนามทาสถิตส ิ ง ู สุด า : กอ 5 กรา

2554

นา Nguyen Minh Tam ผเ

าญ อ VASEP เป เผ

่ ออกกุง้ 210,000 ต ัน 11 เ อนแรก อ ป 53 เวียดนามสง คิดเป็นมูลค่า 1.83 พ ันล้านต ัน กุง้ เป็นทีต ่ อ ้ งการหล ัก ่ ออกในญีป ของตลาดสง ่ ่ น สหร ัฐฯ สหภาพยุโรป โดย ตลาดใหญ่ทส ี่ ด ุ ของเวียดนามคือ ญีป ่ ่น ุ ซ ปร า การ นาเ าก ากเ นา เ น ้ ากป 2552 เปน 21.7% รอ 600,000 ัน และ เปน ล าการนาเ าก เ น ้ 29% รอ 550 ลาน อลลาร์ส รัฐ ะ ส รัฐฯ ลา ส ออกก อัน ับ 2 อ เ นา ปร า นาเ าก เ นา เ น ้ 16% รอ 42,441 ัน และ เปน ล าการนาเ า เ น ้ 34.6% รอ 450 ลาน อลลาร์ส รัฐ

รา าก อ เ นา ในส รัฐฯ ารา า ส อ 12 อลลาร์ส รัฐ อกโลกรั ซ เ น ้ 20-30% เ อเ บกับป 2552 เนอ ากเ น้ า น ั รั ล อา เ กซโกเ อกลา ป 2553 ส นการส ออกก เ นา ไป ั ส า โรป ใน 11 เ อนแรก อ ป 2553 เปนปร า 40,000 ัน รอ เปน ล า 290 ลาน อลลาร์ส รัฐ ปร า การส ออกป 53 เ น ้ 8.1% ล าการส ออกเ น ้ 16.8% แ ั ้ น้ รา าก ในเ นา กเ ส เปนประ ั การ ์เ นกัน เนอ าก ปร า ก ใน ลา นอ น ้ ฟาร์ เ าะเล ้ ก บรเ สา เ ล ปากแ น้ าโ ล ล 16,000 เฮก าร์ เ ลอ 550,600 เฮก าร์

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 7


เก็บตกข่าวปี 2553

้ ราคา เตรียมร ับมือปุ๋ยสูตรขึน ไม่อยูย ่ เู รียพุง ่ 420$

ร้องคน.อน ั้

ที่มา: ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 27 ธ.ค. 2553 ปภ.รายงานมีพน ื้ ทีป ่ ระสบภ ัล้งแล้ว 5 จ ังหว ัด า: ThaiPR.net น ั

22 ัน า

2553

์ อ บ กร ปอ กันและบรรเ าสา นา บล ์ ส น ้ ที่ ้ จ าร ั กลา า ขณะนีม ี ังหว ัดประกาศพืน

ประสบภ ัยพิบ ัติกรณีฉุกเฉิน (ภ ัยแล้ง) แล้ว จานวน 5 จ ังหว ัด 35 อาเ อ 243 าบล 872 บาน แ กเปน า เ นอ 2 ั ั ไ แก กาแพงเพชร พะเยา า ะ ันออกเฉ เ นอ 2 ั ั ไ แก อุดรธานี สุรน ิ ทร์ า กลา 1 ั ั ไ แก ประจวบคีรข ี ันธ์ ั ้ น้ ประ า น ไ รับผลกระ บ ากส านการ ์ ั แล สา าร อ อ า เ ลอไ า สา นนร ั 1784 ลอ 24 ั โ เ อประสานใ การ เ ลอ โ น อไป

ผูป ้ ระกอบการปุ๋ยจานวนหนึง่ ได้ยน ื่ ขอปร ับราคาปุ๋ย ้ ก 5-10% ก ับกรมการค้า สาเร็ จรูปบรรจุกระสอบขึนอี ภายใน (คน.) โ ใ เ ผล ั บ (แ ป๋ ) ากการนาเ า เปนสั ส น ากก า 80% ปรับรา าส น ้ อ า อเนอ นับ ั ้ แ เ อนกัน า น ผาน า น ะน้ ั บบา รา การปรับส น ้ 10-20% ไปแล อา เร ปรับ น ้ เปน 420 เ ร ญส รัฐ/ ัน (ประ า 12,900-13,000 บา / ัน) ากรา าเ ในเ อนกรกฎา 2553 เ 280 เ ร ญ ส รัฐ/ ัน แ กร การ า า ในกลับ บ รา า า ปลกป๋ ส รนอ ้ ันละ 11,000 บา ส ผลใ ผประกอบการ า น เฉล ันละ 2,000-3,000 บา ด ังนนแนวโน้ ั้ มสถานการณ์ ้ ใกล้เคียงก ับ ราคาปุ๋ยใน ปี 2554 มีโอกาสทีจ ่ ะปร ับสูงขึน ราคาปุ๋ยปี 2551...อาน อ ลก http://www.prachachat.net/view_news.php?newsid=02i nv04271253&sectionid=0203&day=2010-12-27

ภาวะศก.การเกษตรหด0.9% ผลพวงนา้ ั พช ท่วม-ศตรู ื ระบาด สศก.คาดปี หน้าขยาย 1.4-2.4% 27 า: แน

นา น ั

27 . . 2553

์ นา ระ ส ร ร .เก รและส กร ์ เป เผ า สานัก านเ ร ฐก การเก ร (ส ก.) ไ ั าประ า การอั ราการเ รญเ บโ า เ ร ฐก การเก รในป 2553 ซ บ า มีการหดต ัวลงร้อยละ 0.9 สาเหตุ สาค ัญมาจากปัญหาภ ัยธรรมชาติ เริม ่ จากภ ัยแล้ง ั พช ่ งต้นปี รวมถึงปัญหา และแมลงศตรู ื ระบาดในชว ่ งปลายปี อุทกภ ัยในชว

โ เ อ าแนกเปนรา สา า บ า สา า า า ั ล รอ ละ 1.7 ส นสา าประ า า า ั เ น ้ รอ ละ 1.2 เนอ าก า อ การเปน ั บในการแปรรปเ อ ส ออกเ น ้ นา อ า สกล เล า การ ส ก. เป เผ แน โน เ ร ฐก การเก ร ในป 2554 า า ะ า ั ใน รอ ละ 1.4 - 2.4 ซ เปนผล ากการ า ั เ น ้ ั้ ผลผล และรา า … อาน อ ลก http://www.naewna.com/news.asp?ID=242408

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 8


ั สรุปสถานการณ์การผลิตและการตลาดรายสบป ั ดาห์ของสบปะรดและน า้ ตาล

ข่าวต้อนร ับปี 2554

ทีม ่ า: สานัก านเ ร ฐก การเก . . 2554

สบเนอ าก ลักเก ฑ์ในการใ น้ า าล รา โ า .ซ อ ใ ใ 70% อ ปร า ไ อไ กับ สอน. ากใ ไ ปร า ั กลา ะ ก ั ส ในการ อน้ า าล รา โ า . เปนเ ลา 5 ป ซ ในป 2553 ผประกอบก การใ น้ า าล รา ไ เก ฑ์ กา น ลา รา

ิ ธิ 5 ปี และได้ร ับสท ิ ธิ มติให้เว้นการเพิกถอนสท ื้ นา้ ตาลทรายโควตา ค. ปี 2554 ซอ ทีม ่ า: สานัก าน

ะกรร การออ และน้ า าล รา

ทงนี ั้ ้ คณะกรรมการอ้อยและนา้ ตาลทรายได้มก ี าร ประชุม ครงที ั้ ่ 10/2553 ไปแล้วเมือ ่ ว ันที่ 9 ธ ันวาคม ที่ ิ ธิ 5 ปี และได้ร ับ ผ่านมา ได้มม ี ติให้เว้นการเพิกถอนสท ื้ นา้ ตาลทรายโควตา ค. ปี 2554 เ อเปนการสนับสนน ซอ อ สา กรร ใ น้ า าล รา โ า . เปน ั บผล สน าส ออก ประกอบกับเ อไ ใ เก ผลกระ บ อปร า การ า นา น้ า าล รา า ในประเ (โ า ก.) รายละเอียดด ังเอกสารแนบ 6

ิ้ ปี ชงคงเก็บเงินนา้ ตาลโลละ5บาทถึงสน า:

ั ลก น ั

5 . . 2554

จากการพิจารณาของกองทุนอ้อยและนา้ ตาลทรายเห็ น ้ ราคา ควรว่าจะเสนอข้อมูลให้ สศช. เพือ ่ คงการขึน ิ้ ปี นา้ ตาลทรายกิโลกร ัมละ 5 บาทต่อไปจนกว่าจะถึงสน นี้ าก อ การใ กอ เส การเ

น ั

า นา เปนกลไกรัก า

ร า รา าน้ า าล รา ในประเ ประส

า การผล

แน โน รา าน้ า าล 3 ป า

แล า ไร แล

อ โร านน้ า าลประกอบกับ นา ั อ ใน

า น ้ เ นไ

้ ป ผาน า ….อาน อ ลก าก กอนสน http://www.komchadluek.net/detail/20110105/84743

ร น ั

27 . . 2553 – 2

ั 1. สบปะรด ้ ผลผล สับปะร ออกส ลา ใน ผลผลิต เพิม ่ ขึน เ อน ัน า 53 ประ า 0.24 ลาน ัน รอ รอ ละ 12.50 อ ปร า ผลผล ร 1.92 ลาน ัน เ น ้ าก 0.22 ลาน ัน อ เ อน ผาน า รอ ละ 9.09 และ เ น ้ าก 0.19 ลาน ัน ใน เ กัน อ ป ผาน า รอ ละ 26.32 ั ราคาสบปะรดโรงงาน ทรงต ัวใน นผ ้ ลผล ออกส ลา นอ เฉล ันละ 7,000 -7,500 ัน เนอ ากส า อากา ไ เออ ้ อาน าใ บั ับผลไ ออก อ า ไรก า ใน นใ้ กลเ กาล รส ์ าสและปใ ลา โรป ะลอ ้ ้ ผลผล การสั ซอ ส ผลใ โร านแปรรป ะลอการรับซอ ากเก รกร าใ รา า เก รกร า ไ อน า ร ั โ รา า เก รกร า ไ สัป า น ์ ้ ั น้ - สับปะร โร านกโลกรั ละ 5.89 บา เ น ้ าก กโลกรั ละ 5.88 บา อ สัป า ์ ผาน ารอ ละ 0.17 และเ น ้ ากกโลกรั ละ 4.19 บา ใน เ กัน อ ป ผาน า รอ ละ 40.57 - สับปะร บรโ กโลกรั ละ 8.55 บา เ น ้ าก กโลกรั ละ 7.97 บา อ สัป า ์ ผาน ารอ ละ 7.28 และเ น ้ ากกโลกรั ละ 5.99 บา ใน เ กัน อ ป ผาน า รอ ละ 42.74 2. อ้อยและนา้ ตาล - ภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ น บ ์ ร ารการผล สานัก าน ะกรร การออ และ น้ า าล รา ไ รา านการเกบเก ออ และการผล น้ า าล รา ั ้ แ ัน 28 ฤ กา น 2553 น ัน 28 ัน า 2553 า ออ เกบเก เ าโร านน้ า าลไป แล าน น 11,842,702 ัน ผล เปนน้ า าลไ 966,487 ัน แ กเปนน้ า าล รา บ 712,779 ัน และน้ า าล รา า 253,708 ัน า าน อ ออ เฉล 10.50 ซ.ซ.เอส. ผลผล น้ า าล รา เฉล อ ันออ 81.61 กก. อ ันออ - ภาวะการผลิตการตลาดและราคาในต่างประเทศ ้ า น้ า าล รา บ ลา น อร์กซอ ้ า ัน รา าซอ (SUGAR SPOT PRICE) เฉล สัป า น ์ ้ 38.65 เซน /์ ปอน ์ (กโลกรั ละ25.51 บา ) ส น ้ าก 38.16 เซน /์ ปอน ์ (กโลกรั ละ 25.17บา ) อ สัป า ก ์ อน รอ ส น ้ เปนรอ ละ 1.28

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 9


เก็บตกข่าวปี 2553

่ ออกไทยก ับกฎ เพิม ่ โอกาสสง ิ ค้าใหม่ภายใต้ระบบ แหล่งกาเนิดสน GSP อียู ทีม ่ า : กร การ า า ประเ

น ้ าแร ส าอ ฯโอ เ อน ก ั อ ก ป นาล น แ 15อ ฯ กระ บ ทีม ่ า:

น น ั

25 . . 2553

13 . . 2553

ิ ค้าใหม่ภายใต้ สหภาพยุโรปได้ออกกฎแหล่งกาเนิดสน ิ ธิพเิ ศษทางภาษีศล ระบบสท ุ กากรเป็นการทว่ ั ไป (GSP) โดยปร ับปรุงให้มค ี วามยืดหยุน ่ และสอดคล้องก ับ ิ ธิมากขึน ้ ซงึ่ กฎ กระบวนการผลิตของประเทศผูร้ ับสท ้ งแต่ ิ ค้าใหม่นจ แหล่งกาเนิดสน ี้ ะมีผลบ ังค ับใชต ั้ ว ันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป มีสาระสาค ัญ ด ังนี้ ้ ฎเดียวก ัน ิ ค้าในกลุม 1. กาหนดให้สน ่ เดียวก ันใชก (Sector-by-Sector) และ ั เป โอกาสใ ผรับส ฯ สา าร เลอกใ กฎ า า เ าะส กับกระบ นการผล ไ แ นกฎการเ ล า (Value-added) ไ าก าร า แล เ น ากฎการเปล น กั ฯ า เ าะส รอ าไ า ก า 2. อนุญาตให้ใชว้ ัตถุดบ ิ นาเข้าในการผลิตได้ใน ิ ค้าหน้าโรงงาน ้ ถึงร้อยละ 70 ของราคาสน อ ัตราทีส ่ ง ู ขึน ากเ กา น ไ เ รอ ละ 40 อ รา าสน า นา โร านเ านัน ้ ิ ค้า 3. ปร ับปรุงกฎเกณฑ์การสะสมแหล่งกาเนิดสน ิ ค้าข้ามภูมภ ให้สามารถสะสมแหล่งกาเนิดสน ิ าคได้ กลา อ ประเ ไ และประเ อ ในกล ASEAN อน สา าร สะส แ ล กาเน ฯ กับประเ อ ในกล SAARC (อนเ บั กลาเ ฐาน ล ั ฟ เนปาล ปากส าน และ ร ลั กา) ไ ากเ สา าร สะส แ ล กาเน ฯ ระ า ประเ อ ในกล า เ กันเ านัน ้ นอก ากน้ ประเ ผรับส ฯ ั สา าร นา ั บ ากประเ รก และ ประเ า า กล FTA กับส า โรปเ า าสะส แ ล กาเน ฯ (Extended cumulation) ไ อก ประเทศทีต ่ อ ้ งการสะสมแหล่งกาเนิดฯ ข้ามภูมภ ิ าคหรือ สะสมแหล่งกาเนิดฯ ก ับประเทศทีท ่ าความตกลง FTA ก ับ สหภาพฯ จะต้องยืน ่ คาร้องต่อคณะกรรมาธิการยุโรปเพือ ่ พิจารณาอนุญาต โ ะ อ ระบรา ละเอ เก กับสน า อ การสะส แ ล กาเน ฯ เ น กระบ นการผล รา า และ า อ ั บ ใ เปน น ผสนใ อ ราบ อ ลระบบ GSP สา าร อสอบ า อ ลเ เ ไ สานักส ประโ น์ า การ า โ ร. 025474819 รอสา นกร การ า า ประเ โ ร. 1385 และอา อ า เ บไซ ์ www.dft.go.th

ั แ น ากส าอ สา กรร แ ประเ ไ (ส.อ. .) นาโ นา ก รเ รญ รอ ประ าน ส.อ. . สา แร าน ไ เ า บนา เฉล ั รออน รัฐ น ร าการกระ ร แร าน ื่ 15 กลุม ส.อ.ท.ได้เสนอรายชอ ่ อุตสาหกรรมทีไ่ ด้ร ับ ่ ้ ค่าแรงขนต ผลกระทบหน ักจากการปร ับขึน ั้ า่ เชน ิ้ สว่ นยาน กลุม ่ อุตสาหกรรมรองเท้า เครือ ่ งนุง ่ ห่ม ชน ยนต์ ไฟฟ้าและอิเล็ กทรอนิกส ์ และอาหาร เป็นต้น ซ นา เฉล ั ไ รับ าร าไ แล โ แ า ะ นาไปเสนอ อรัฐบาลเ อ า า รการล ผลกระ บ อ ผประกอบการ ั กลา อา า รการ เ ลอ า าน า อ า ไรก า ผลกระ บ ากการปรับ น ้ าแร ส ผลใ ผประกอบการ าระ น นส น ้ นอก าก ผลกระ บ าเ นบา ปรับ ั แ า น ้ ซ าก ส านการ ์ ั ไ น ้ อา าใ ผประกอบการอา อ ปรับล าน นแร านล ใน ป นา ….อาน อ ลก http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1 293244678&grpid=03&catid=05

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 10


ข่าวต้อนร ับปี 2554

ี ระว ังวิกฤตอาหารในแอฟริกา-เอเชย นา เ

ร นบ ร ผอาน

า: ประ า า

การส าบันอา าร กลา า

สาหร ับภาวะอุตสาหกรรมอาหารไทย 10 เดือนแรก ้ ทงภาคการผลิ ของปี 2553 ขยายต ัวเพิม ่ ขึน ั้ ตและ ่ สงออกในอ ัตราร้อยละ 4.7 และ 6.9 โ า การ ส ออก า ั เ น ้ ากใน ร ปแรก และ ั ล ใน ร ป ลั เนอ ากปั ญ า า แ ลน ั บ าก า แปรปร น อ ส า อากา เ น น ั สาปะ ลั ผักผลไ เปน น ประกอบกับ อ เผ ญกับ า การ ์แ า อ เ น ่ ออกอาหารตลอดปี บา ใน ปลา ป โดยการสง 2553 คาดว่าจะมีมล ู ค่าเพียง 790,000 ล้านบาท ้ ร้อยละ 4.7 เพิม ่ ขึน

่ ออกอาหารหดต ัว ครึง่ ปี หล ังยอดสง า: ประ า า

รก

น ั

30 . . 2553

รก

น ั

3 . . 2554

อ ก ์ ารอา ารและการเก ร (FAO) ไ เผ แ รรา าน เ ราะ ์ า ร ลา อา ารโลก ฉบับลาส ออก าใน ิ ค้าเกษตรที่ เ อน ฤ กา น ผาน าระบ ภาวะราคาสน

ผ ันผวน การเปลีย ่ นแปลงของสภาพภูม ิอากาศ และโรค พืช จ ัดเป็นสาเหตุสาค ัญทีท ่ าให้การผลิตพืชผล การเกษตรในปี ทีผ ่ า่ นมาตกตา่ ซ ะกลา เปนสัญญา บ ้ กฤ อา าร ะเก น ้ ในป 2554 โ เฉ าะใน ป แอฟรกาและเอเ ากปั ญ าน้ า ในปากส านและ นใน ป ผาน า า แ แล เก น ้ ในรัสเซ ผลใ ส ๊อก า สาล า โ และอา าร น อน ล ล าก ปกอน นา น าใ FAO า การ ์ า รา าสน าเก รเ อเปน อา ารในป 2554 ะเ ส น ้ ก า 40% ใน นป ะ เ นเฟอ ากรา าอา าร ั อ ระ ับ 15%

โ การ าอา ารโลกในป 2553 า า ะ ล า 992,000 ลานเ ร ญส รัฐ า ั เ น ้ รอ ละ 9 ซ ไ ั รัก าการเปนประเ ผส ออกอา ารอัน ับ 12 อ โลกไ ไ แ ส นแบ ลา อา ารโลก อ ไ ปรับ ั น ้ ากรอ ละ 2.45 ในป 2552 าอ รอ ละ 2.58 ในปน้ ขณะทีแ ่ นวโน้มอุตสาหกรรมอาหาร ของไทยในปี ้ แต่อ ัตราขยายต ัวมี 2554 คาดว่าจะขยายต ัว เพิม ่ ขึน ่ ออกคาดว่าจะมี แนวโน้มตา่ กว่า ปี 2553 โดยการสง ้ ร้อยละ 2.5 มูลค่า 810,000 ล้านบาท ขยายต ัวเพิม ่ ขึน เมือ ่ เทียบก ับปี 2553 โ ปั ั สนับสนน าก า อ การสน าอา าร ใน ลา โลก แน โน เ ส น ้ เนอ ากประเ ผผล รา สา ัญไ รับ า เส า าก ั รร า การส ออกใน ร ปแรก ะ ั ล เ ราะ ไ รับ ผลกระ บ าก า ะการแ า อ เ นบา การ า แ ลน ั บร ั ้ น นการผล เ ส น ้ า รา า สน าเก รและรา าน้ า น ั สน า า าการส ออก ะ า ั เ น ้ ไ แก นา กระป๋ อ ปลาแ แ ปลากระป๋ อ ผลไ ส และแปรรป น้ า าล รา ฯลฯ สน า า าการส ออก ะล ล ไ แก ก ผักส และแปรรป และผล ั ฑ์ น ั สาปะ ลั "อ า ไรก า นาเปน าก ส า เอเ ร ั ้ เ นบา อ ไ น ้ ในป นา"…อาน อ ลก

าเ นสกล า แน โน แ

ใน า

http://prachachat.net/view_news.php?newsid=02inv0530 1253&sectionid=0203&day=2010-12-30

รา านฉบับน้ ั เ อน า ประเ ผนาเ าอา ารในโลก ะ อ เผ ญกับ าใ า านอา าร ส น ้ อ า ไ อา ลกเล ไ รอ กับ า การ ์ า ะสน าเก รเปนรา น ั อไปน้ 1) า การ า า ใน ลา โลก ะ การ ั ล ในบา เ อน แ โ า ร แล ั แน โน ะเ ปร า าก น ้ ะ รา าเ น ้ ปานกลา 2) น้ า าล การผล ในป 2554 ะเ น ้ ในระ ับ 168.8 ลาน ัน รอเ น ้ ากปกอน นา 7.7% เปนผลใ การ ผล น้ า าลในโลก ากก า า อ การบรโ ะ การ า การ ์ านการ าน้ า าลใน ลา โลก า า ะล ล 5% แ ะ รา าอ ในระ ับ อ ก า ส นปร า ัญ ใน ลา โลก แน โน ล ล 7% า การ า การ ์ อ FAO า บาร์เล ์ ล ล 35%, า โ ล ล 12% และ า สาล ล ล 10% อ า ไรก า ปร า สารอ า ใน ลา โลก ั แน โน เ น ้ 6% ะ รา าสน าเก ร ลา รา การ ะเ น ้ าก าร าปั ั านการผล เก น ้ เ อ 6 เ อน ผาน า โ เฉ าะการล ล อ การผล เปนผล ากส า อากา แปรปร นใน ลา ประเ ผเ าะปลก อา าร http://www.prachachat.net/view_news.php?newsid=02p01 04030154&sectionid=0201&day=2011-01-03

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 11


ทีม ่ า: นา ารแ

ทีม ่ า: นา ารแ

ประเ

ประเ

อ ล ัน

4,5,6,10,11,12,18,19,25,26,31 ัน า

2553 ไ

ั เล อั ราแลกเปล น าก นา ารแ

ประเ

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 12


เก็บตกข่าวปี 2553

้ ขย ับแน่ ธปท.เตือนร ับมือดอกเบีย ทีม ่ า: ไ

รัฐ 25 ัน า

2553

ทิศทางหยวน า: ไ

นา ประสาร ไ รรั น์ รกล ผ าการ นา ารแ ประเ ไ ( ป .) กลา ใน านเป านไ แลน ์ ส าร์ น ั น 20102011 า เศรษฐกิจของไทยในปี หน้านนจะขยายต ั้ ัว

่ ออกจะขยายต ัวได้ ้ 3-5% ในปี นี้ โดยภาคการสง เพิม ่ ขึน ในระด ับ 11-14% การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ้ 8ขยายต ัว 4-5% และมีการลงทุนภาคเอกชนทีเ่ พิม ่ ขึน 10% ซงึ่ ถือเป็นการฟื้ นต ัวทีด ่ ต ี อ ่ เนือ ่ ง "ธปท.คาดการณ์ ้ ะขยายต ัวในอ ัตรา 7-8% าไ ว่าเศรษฐกิจไทยในปี นีจ เก ปั ญ าน้ า เ อ าเ ร ฐก ไ ะแ ะระ ับส ส 8% อ า ไรก า ผลกระ บ เก น ้ ากปั ญ าน้ า ไ สรา า เส า ใ กับ า การเก ร เปน ล าก า 30,000 ลานบา " "อ ากเ อน นไ และ า รก ใ เ ร รอ รับ อกับ แน โน อกเบ ้ ะเปน า น ้ เ อกลับเ าส า ะปก ไ ใ อ ในระ ับ าเ อนใน กอน นา เ ราะ ากปลอ ใ อั รา อกเบ ้ านาน ไป แล อ แกปั ญ า ป .อา ะ อ น ้ อั รา อกเบ ้ อ า เร และแร ซ ส ผลกระ บ อเ ร ฐก และการปรับ ั อ า รก ากก า อ า ไรก า ป . ะ าร าผลกระ บการ น ้ อั รา อกเบ ้ อการ า ั อ เ ร ฐก ไ อ า ใกล ".

้ ดอกเบีย ้ 0.25% มุง ธนาคารกลางจีนประกาศขึน ่ ควบคุมแรงกดด ันด้านเงินเฟ้อ ทีม ่ า: อาร์ า ์ ไนน ์ น ั

ข่าวต้อนร ับปี 2554

27 . . 2553

โ ส ์ ัน

5 . . 2554

เ อป แล ลั าก รัฐบาล นเร ประกา า ะปลอ ใ าเ น นแ า น ้ บา ในเ อน . . าเ น นก ้ ป าเ น ปรับ น ้ า ละเลกละนอ และเ อ สน นก ปรับ น ้ โ ร 6.6% เ อเ บกับ าเ น อลลาร์ส รัฐ อเปนการปรับ น ้

าก ส

รั ้ แรกในรอบ 17 ป

สาน ักข่าวบลูมเบิรก ์ รายงานการคาดการณ์ของนาย เย็ นปิ งโฮ ห ัวหน้าฝ่ายยุทธศาสตร์การแปรเปลีย ่ นเงิน ี ของ เจ.พี. มอร์แกน เชส ที่ สกุลต่างประเทศในเอเชย ้ ยวนน่าจะปร ับขึน ้ มาอีกราวๆ ได้คาดการณ์ไว้ปีนีห 4.66.3% ใน ร ปแรกนัน ้ น ะเผ ญกับแร ก ัน ากปั ญ าเ นเฟอ า ในประเ อ ั กร น น ้ าอ า ร เร และนากลั เปนเ ใ นา ารกลา อ น อ ปรับ น ้ อกเบ ้ าแล 2 รั ้ เ อป แล และ นันอา ะเปนเ ผล าใ ใน ร ปแรก อ ป 2011 น้ าเ น น ะแ า น ้ าอ า อ าไ ใ นอ แ เ นออนใ รัฐบาล น ้านัก ้า นา า ลอ ก อ การ ส ออก และ า การผล อ ประเ ะ ั เปน ระเอก อ นอก อไป ั นัน ้ ในปนเ้ า า นไ าก แ บา เลกนอ ไ าก และ อ า า แบบฉบับ น รับ … อาน อ ลก http://www.posttoday.com

ั้ ้ ระยะสน โกลด์แมน แซคส ์ คาดเฟดตรึงดอกเบีย ไว้ใกล้ระด ับ 0% จนถึงปี 2555 ทีม ่ า: ฐานเ ร ฐก

น ั

5 . . 2554

้ อ ัตราดอกเบีย ้ ในประเทศ ธนาคารกลางจีนประกาศปร ับขึน ้ อีก 0.25% ทาให้ ทงเงิ ั้ นฝากและเงินกูป ้ ระเภท 1 ปี ขึน ้ เงินฝากขย ับขึน ้ มาอยูท อ ัตราดอกเบีย ่ ี่ 2.75% และอ ัตรา ้ เงินกูอ ดอกเบีย ้ ยูท ่ ี่ 5.81% ซ การปรับ น ้ อั รา อกเบ ้ ั กลา เก น ้ ลั ากอั ราเ นเฟอ อ นในเ อน . . ผาน า าส ส ส ในรอบ 28 เ อน ระ ับ 5.1% นา ั ไ นักเ ร ฐ าส ร์ าก อร์แกน สแ นเล ์ กลา า การปรับ น ้ อั รา อกเบ ้ อ นใน รั ้ น้ ะไ ผล เนอ าก นา าร า ์ อ น ะกา น อั รา อกเบ ้ เ นก ระ ะ า ใน นป และ า าใน 2 ไ ร าส า นา น ะปรับ น ้ อั รา อกเบ ้ 0.25% อ า นอ 3 รั ้ …อาน อ ลก http://www.ryt9.com/s/iq03/1056149

น ักเศรษฐศาสตร์โกลด์แมน แซคส ์ คาดการณ์ ั้ ้ ระยะสนไว้ ธนาคารกลางสหร ัฐ (เฟด) ตรึงดอกเบีย ใกล้ระด ับ 0% เนอ าก อั ราเ นเฟอ อ ส รัฐ ั อ ในระ ับ า และเฟ อา ั สนใ ร อั รา อกเบ ้ ้ ไ ใกลระ ับ 0% อไป ลอ ั ้ ป 2554 และอา ระ ะสัน อเนอ ไป ป 2555

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 13


ั ิ เข้าร่วมสมมนาเรื ขอเชญ อ ่ ง “กฎว่าด้วยถิน ่ ิ ค้าและระเบียบปฎิบ ัติของกรม กาเนิดสน ศุลกากร ภายใต้ความตกลงเขตการค้า เสรี” ระหว่างว ันที่ 13 มกราคม 2554 – 30 พฤษภาคม 2554 ณ ห้องประชุม ั้ 15 อาคาร 150 ปี กรมศุลกากร ชน

โ แบ การสั นาออกเปน 2 รอบ (รอบเ า) เ ลา 09.00-12.00 น. (รอบบา ) เ ลา 13.0016.00 น. ั ประส เ์ อเสร สรา า ร า เ าใ เก กับการ ั าเ การ าเสร และ ส เสร การใ ส ประโ น์ ากการ ั าเ การ าเสรใ กับผประกอบการ า เอก น กล สน า า ั ้ การนาเ าและส ออก เ อใ เก า เ าใ และปรับกระบ นการผล สน าใ สอ ลอ กับ ลักเก ฑ์ ะไ ผลประโ น์ าก นกาเน สน า ลอ นสา าร าร าเลอกใ ส เ ไ อ า เ าะส กอใ เก ประโ น์ส ส และเ อใ า เอก น า ร า เ าใ ใน กฎระเบ บและการปฎบั การ ลกากร า า กล ระ า ประเ าใ การปฎบั การ ัก า ในการแ นาเ าเปนไป า สะ กร เร ล าใ า ซ ะเปนการเ น ั โ การ สั นาประกอบ ส น เก อ กับการ ั าเ การ าเสร 10 เรอ ั น้ ี น-จีน (ต่อเนือ 1. การจ ัดทาเขตการค้าอาเซย ่ ง) ว ันพฤห ัสบดีท ี่ 13 มกราคม 2554 จานวน 600 คน ี น ภายใต้ความตกลงการค้าสน ิ ค้า (ATIGA) ว ัน 2. การจ ัดทาเขตการค้าเสรีอาเซย พฤห ัสบดีท ี่ 27 มกราคม 2554 จานวน 600 คน ี น-ออสเตรเลีย-นิวซแ ี ลนด์ ว ันศุกร์ท ี่ 28 มกราคม 3. การจ ัดทาเขตการค้าเสรีอาเซย 2554 จานวน 600 คน ี น-เกาหลี ว ันจ ันทร์ท ี่ 31 มกราคม 2554 จานวน 4. การจ ัดทาเขตการค้าเสรีอาเซย 600 คน ิ ค้าด้วยตนเองของผูส ่ ออกในอาเซย ี น (Self 5. การร ับรองถิน ่ กาเนิดสน ้ ง Certification) ว ันที่ 27, 28, 29 เมษายน 2554 จานวน 900 คน ั ิ ค้าด้วยตนเองในอาเซย ี น 6. การสมมนาเช งิ ปฎิบ ัติการ เรือ ่ งการร ับรองถิน ่ กาเนิดสน (Self Certification) ว ันที่ 27, 28, 29 เมษายน 2554 จานวน 300 คน 7. การจ ัดทาเขตการค้าเสรีไทย-ญีป ่ ่น ุ (ต่อเนือ ่ ง) ว ันพุธที่ 18 พฤษภาคม 2554 จานวน 600 คน ี น-ญีป 8. การจ ัดทาเขตการค้าเสรีอาเซย ่ ่น ุ (ต่อเนือ ่ ง) ว ันพฤห ัสบดีท ี่ 19 พฤษภาคม 2554 จานวน 600 คน 9. การจ ัดทาเขตการค้าเสรีไทย-เปรู ว ันพฤห ัสบดีท ี่ 26 พฤษภาคม 2554 จานวน 600 คน ั 10. การสมมนาเช งิ เปรียบเทียบระหว่างเขตการค้าเสรีไทย-อินเดีย และเขตการค้า ี น-อินเดีย ว ันจ ันทร์ท ี่ 30 พฤษภาคม 2554 จานวน 800 คน เสรีอาเซย อเ ญ าน รอผแ นเ าร การสั นา าน น 2 าน โ ไ เส าใ า ใ และ อ า กร าแ อผเ าร การสั นากลับไป ั โ รสาร 02-662-1883 รออเ ล์ nattavit.beer@gmail.com า ใน ัน ัน ร์ 9 กรา 2554 เ ลา 12.00 น. ัก อบ ระ และ ะ าเนนการ ั ส แกกร ลกากร อไป รายละเอียดด ังเอกสารแนบ 7

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 14


THAI FOOD PROCESSORS’ ASSOCIATION Tel : (662) 261-2684-6 Fax : (662) 261-2996-7 www.thaifood.org E-mail: thaifood@thaifood.org

Executive Director วิกรานต์ โกมลบุตร E-mail: vikrant@thaifood.org Administrative Manager ลินดา เปลีย ่ นประเสริฐ E-mail: linda@thaifood.org Trade and Technical Manager สุพ ัตรา ริว้ ไพโรจน์ E-mail: supatra@thaifood.org Head of Trade & Technical Division -Fruit and Vegetable Products

วิภาพร สกุลครู E-mail: vipaporn@thaifood.org Trade and Technical Officer Division - Fruit and Vegetable Products อ ัญชลี พรมมา E-mail:anchalee@thaifood.org ธณัฐยา จ ันทรศรี E-mail: tanatya@thaifood.org

Head of Trade & Technical Division- Fisheries Products ชนิกานต์ ธนูพท ิ ักษ์ E-mail: chanikan@thaifood.org สมาคมผูผ ้ ลิตอาหารสาเร็จรูป ขอขอบคุณเว็ ปไซต์ ด ังต่อไปนี้ Trade and Technical OfficerDivision -Fisheries Product

1. http://www.thannews.th.com

6. http://www.dailynews.co.th

นลินพรรณ อิม ่ สาระพางค์ E-mail: nalinpan@thaifood.org

2. http://www.thairath.co.th

7. http://www.acfs.go.th

วรวรรณ เมธีธาดา E-mail: worawan@thaifood.org

3. http://www.bangkokbiznews.com

8. http://www.posttoday.com

4. http://www.tnsc.com

9.http://www.matichon.co.th

Data Management Office

5. http://www.prachachat.net

ธนพร จุด ้ ศรี E-mail: thanaporn@thaifood.org Commercial Relation Executive ก ัญญาภ ัค ชินขุนทด E-mail:kanyaphak@thaifood.org

เสนอข้อคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะ

Administrator วสุ กริง่ รูธ ้ รรม E-mail:vasu@thaifood.org ศิรณ ิ ีย ์ ถิน ่ ประชา E-mail:sirinee@thaifood.org Accountant วิมล ดีแท้ E-mail: wimon@thaifood.org

………………………… ………………………… ………………………… …………………………

TFPA TRADE & TECHNICAL WEEKLY BRIEF 1-9 JAN 2011 VOL. 2 ISSUE. 1

Page 15


07/12/2553

World FOOD regulation news

USFDA

Nutrition Facts

. . . 0-2886-8088 3104 ! ornanong@nfi.or.th

(USFDA) !!" #$%

& '! #$(% ) *+, -' . ' ' &' ) Calories Serving size

,- ./0 1 2- , - - - 345 -3

6 /,- ! US Food and Drug Administration (USFDA) B C 5 D

E C 3 F 4 -, GH -,- (Nutrition facts) K -5 345 CL K M ,- 2- NEM / G H-. /, B H . 1 CO KN - - . PQC 5 !K B M 2- , - R 2-1M E4SCBHMC C Q 5 ,- 2 -

1M E 4 M - GH -,- 1 / M - - - K NEM / G

- - P - 1M - B0S M - S T TM 345 -5 , .- M ,-

- - - 1 - ,- B 3 45.

1M E40-,,- 2- .0 . -H-. /,

. B U M ,- F4-, GH -,- KB M1M E4 M-

Q1G- -,1VW

M B M , - 4 - B . 3 4 K (Calories) TVK 2- .[ CL M 45C / -[ K3 5 2- .

(Percentage of daily) M , C / -[ K . / G . (Serving size or serving per container) 1 - - B 3 4 5G-H 5 0Q B M D - H 0

!K 0-,H-. /, ,C 5 CaU - !K 1 M. TVK - Q0-, ,- / G - - ,/ C / -[ K -5 , .- M ,- 4 - 1 - ,- B 3 45.

N4,- ./0 B W W FDA 05 2-SCBHMB ,- C C Q 5 ,- 3 1M E 4 F4-, GH -,- B

/ M - - - K 02 - - B C 5 4 0-,Cb 1M / D B ! c .- 2553 34M. 05C 5,- CL 3 . - ,- 2- / - B !K ,4 - .G- B ,4- CO 2554 TVK NEM C 5, ,- / M - - - 2 - D 0 E C SC 6 R . / - N4,- ./0 B W W !K 0-, -0 2-B M M C4 K F4-, - - B S M ;<,) : http://www.foodnavigator-usa.com/ FM-IN-FC-01 Rev.1 $% 1 1

! " # "


ภ:

: !" # $ (Imported Food Inspection Scheme)

"* )# 3"4$ 5 + ,( 2553

(Imported Food Inspection Scheme)

/ : 1 / ภภภภ3

AQIS ภ/ ภ6 / ภ/ 78 1 9: ;< =

;/ > > ภ?> 3 ภ1 ภ> / > 3 1 @ / ภ?1>

: A

ภ: 20 ภ6. . 2553 =@ : 20 ภ6. . 2553

1 ภ4 FM-IN-FC-01 Rev.01 !"#$ %&' ภ( )* ภ+", ! - ( . /0 + ).!1 ภ- ( . '2 1


ภ:

: !" # $ (Imported Food Inspection Scheme)

(Imported Food Inspection Scheme) =@ 20 ภ6. . 2553 Australian Quarantine and Inspection Service $ AQIS "HI 3+ J K ' Jภ4ภ! +J"ภL& H !(J ).!H0 M( - J '"& ". a 1*4N 1K ภภภภ' , "#$ & + ' 1 O 43 P "- ' , "#$ .4 Q ภ'"' J&3 & #$N).!Q ,&4&3 ภภ", $ R '"& ". 4 + ภ!1+ ภ& + ' 1' , P "- ( H !' 5S # "#$ K ( K M4 +3 ' , P "- ( P 3 ' 4,. Jภ1- ภP 44 '%-S #).!,+ ( H. 4S - JH !" '"& ". & (( & R 3+( ! +3 J '"& ". ).! +T ). 4 (Australia New Zealand Food Standards Code $ the Code) S K& 1 1 ZZ &ภ,+1,%( P "- (Imported Food Control Act 1992) S K& ( & R ).!1 1 ZZ &4 Jภ.3 + P MH' 3ภ4P " J - J)* ภ& + ' 1 P "- (Imported Food Inspection Scheme $ IFIS) Q4 ' , P "- %ภN 4& J*3 ภ& + ' 1Q4 AQIS ] J ภ& + ' 1Q4 ภ' J "ภ& & + ' 1,+ (2 ภ& J- Jภ)'4J . ภ' , &. 4 ภ'3 J & + 3 J"#$ K 3+ J "ภ+- J 3 J FSANZ & + ' 1&3 MH ภภ] J 3+(($ ภ1 3+ J ( P K !4 1 R&3 J^ "#$ ' J,+ (( K K ,+ (H. 4S - J O ) .3J 4 P 3 T_ J ภ#1 M(3' 4,. J& (( & R $ - ภP 4&3 J^ "ภ+- J K 4P " ภ)ภM- $ P 3 K !4 1,%OS # & P .J )&3 ภ#1+3 "HI & ) J 2_J- ] '3J &3 MH JH !" ' ( $ P . ]J IFIS 4P " ภQ4 ภ4 4 1,+ ("' J- J' , &3 ภ"ภ4 & T_ J"HI 1*4N 1- J Food Standards Australia New Zealand (FSANZ)b "#$ "- ' 3( & ภ& + ' 1 " ( !'( Q4 FSANZ M4 )13J' , & ( !4 1- J,+ ("' J"HI 2 !4 1 ,$ ภ.%3("' J (RISK FOOD) ).! & J"/d !+ J (SURVEILLANCE FOODS) Q4 ( ( & ภ,+1,%( )&ภ&3 Jภ4 J ]

a b

Department of Agriculture, Fisheries and Forestry (DAFF) FSANZ "HI 3+ J ' ! M4 1ภ)&3J& ]J-_] & (1 1 ZZ &+3 4 + ( & R 3+( ! +3 J '"& ". ).! +T ). 4 (Food Standards Australia New Zealand Act 1991) 2 ภ4 FM-IN-FC-01 Rev.01 !"#$ %&' ภ( )* ภ+", ! - ( . /0 + ).!1 ภ- ( . '2 1


ภ:

: !" # $ (Imported Food Inspection Scheme)

ภ6 (RISK FOOD) 2 ภ4K 3K ภ.%3( Risk Food $ ( ,+ ("' J4 ' 5 O'%-).!,+ (H. 4S - JH !N N %.ภภ!'3J' , 4 Jภ.3 + ]J (4 (100%) ( J AQIS "#$ 4P " ภ& + ' 1"1$] J& ).!# O 4P " ภ& (,+ (" ( !'( )&3 ภ#1+3 "HI & J !4P " ภ) J2_J & #1&3 ' 5 O! K ภO #1+3 ' , K ภ.%3("' J' ( 2*3 ภ& + ' 1,%OS #M4 5 .o &ภP "- &4&3 ŕ¸

P + ' , P ( & +

!.4.J"HI .! 25 ).! ภ*3 ภ& + ' 1&4&3 ภ20 .o & _J !.4 P + ' , P ( & + .J" .$ .! 5 Q4 ' , K ภ.%3("' J !2 ภ,+1,%(& (( & ภp 4' 1 ).!ภภภ' , q (test and hold direction) T_ J !M(3M4 1 %Z &K P ภ( P 3 ภ+3 !( *(ภ4' 1 ' ( 2 $ 2_J,+ (H. 4S ภภภภภภ! # ภ$ % % & ' (ภภ) $ % ภ*# (ภ$ !# 100% ภ# ภ! # . ภ/ ! % 0 ภ! ;< ! (SURVEILLANCE FOODS) FSANZ ภP 4K ภ3 K "ภ4 & &3 '%-S #).!,+ (H. 4S - J( %L M4 K !4 1"1 1 J 3K ภ.%3(- J & J"/d !+ J (Surveillance Foods) T_ J AQIS !'%3(& +) ' , K )&3.!.o & P + .! 5 "#$ & + ' 1).!H !"( ,+ (' 4,. J&3 ( & R - J '"& ". ' J AQIS '3JK ภ1 FSANZ ภภ& +) ' , ). + J( - ( . "ภ+- Jภ1' , 4 Jภ.3 +H !ภ14 + " N3 * P " - * * . & $ H ! " ) .3 J ภP " 4 ' , Q 4 '3 J - ( . *3 J ! 1 1 " .o ภภ' " ภภ+3 Customs Integrated Cargo System Q4 - ( .H !ภ14 Jภ.3 + M(3( *.&3 ภ'%3(& +) ' , ! %1 ! ' # ( ภ2 $ 34 ! $ ภ5 D $

!ภภภ2 ภ! ภ) # ( tariff group !ภ! E ภ" F ภ6 !" ภG" ภHI J ! K - ] & & +) ' , 2 ภ'%3(( ! P "- ' 3ภ& + +", ! ' ภP 4 & #$N).! HrN + !+3 #1 &ภ, J"ภ!4 1 ภP 4M+ $ M(3 "N3 "4 +ภภ1& + ' 1ภH "Hst %. ' #L ภ5 (N & Q. ! ภ).!+ &2%" $ H ภK ! # L D ภMNO ภ! " "$ ! ภ!" # P G F JL " ภ5% S 100% !" I G 'P 1' , *3 ภ& + ' 1 $ 4 3K ภ.%3( ( ,+ ("' J& P (Low Risk) ! 3S K& ภ,+1,%(4 + ( & ภ' 4' 1 ).! !1 ' , ' (test and release direction) T_ J' ( 2 !1 ' , "#$ ŕ¸

P 3 M4 )( ! JM(3( *. 1 J,+ (H. 4S - J' , )&3 ภ*.ภ& + ' 1#1+3 ' , 4 Jภ.3 +M(3*3 "ภOv ( & R "ภ+- J AQIS !4P " ภ& (,+ (" ( !'( Q4 # O 4P " ภ" ภ,$ (recall) $ "#ภ2 (withdraw) ' , 4 Jภ.3 + ภJ&. 4 ]J ] * P "- !& J 1*4N 1,3 KN 3 K ภ4P " ภ]J (4

3 ภ4 FM-IN-FC-01 Rev.01 !"#$ %&' ภ( )* ภ+", ! - ( . /0 + ).!1 ภ- ( . '2 1


ภ:

: !" # $ (Imported Food Inspection Scheme)

3 1 >: 6 > > • Imported Food Control Act 1992 Online : http://www.daff.gov.au/aqis/quarantine/legislation/imported-food • Food Standards Code ;/ FSANZ Online : http://www.foodstandards.gov.au/foodstandards/foodstandardscode/ 3 1 >: • Imported Food Inspection Scheme Online : http://www.daff.gov.au/aqis/import/food/inspection-scheme

4 ภ4 FM-IN-FC-01 Rev.01 !"#$ %&' ภ( )* ภ+", ! - ( . /0 + ).!1 ภ- ( . '2 1


อย. คุมเข้มผู้ประกอบการยกระดับการผลิตอาหาร ๔ ประเภทมุ่งสู่ GMP อย.เข้ม! เพิ่มมาตรการการคุ้มครองผู้บริโภค ยกระดับให้อาหารอีก ๔ ประเภท ได้แก่ อาหารพร้อม ปรุง ผลิตภัณฑ์ขนมอบ ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ และก๋วยเตี๋ยว ต้องมีการผลิตให้ได้มาตรฐานตามหลักเกณฑ์ วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร (GMP) เนื่องจากสํารวจแล้วมีความพร้อม และเป็นอาหารที่มีการบริโภคอย่างแพร่หลาย และบางกลุ่มยังพบปัญหาการใช้วัตถุเจือปนอาหาร โดยเริ่ม บังคับใช้ ๑๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๔ นพ.พิพัฒน์ ยิ่งเสรี เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เปิดเผยว่า เพื่อเพิ่มความเข้มข้นใน การคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภค ตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้สํารวจพบว่าสถานที่ผลิตอาหารบางประเภท ควรมีการยกระดับการผลิต จึงได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ ๑๙๓) พ.ศ.๒๕๔๓ (ฉบับที่ ๒) เพื่อกําหนดวิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร (GMP) เพิ่มเติมอีก ๔ ประเภท ได้แก่ อาหารพร้อมปรุงที่ได้จัดเตรียมส่วนประกอบต่างๆ แยกจากกันเป็นส่วนๆ และจัดรวมเป็นชุดไว้ใน หน่วยภาชนะเดียวกัน เพื่อนําไปปรุงเป็นอาหารชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ชุดแกงส้ม ผลิตภัณฑ์ขนมอบที่เป็นผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปพร้อมบริโภคทันทีที่ทําจากแป้งเป็นองค์ประกอบหลัก และทําให้สุกโดยใช้ความร้อน เช่น โดนัท เค้ก แครกเกอร์ ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ เฉพาะที่เป็นผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปที่พร้อมบริโภคทันที เช่น หมูทุบ หมูหยอง ปลากรอบปรุงรส ก๋วยเตี๋ยว และเส้นหมี่ที่มีลักษณะเป็นเส้นหรือแผ่นทําจากแป้งข้าวเจ้าเป็นองค์ประกอบหลัก และ ใช้ลวกในน้ําเดือดก่อนบริโภค โดยอาจเป็นเส้นสด เส้นกึ่งแห้ง และเส้นแห้งก็ได้ ซึ่งประกาศฯ ฉบับนี้จะมีผล บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๔ เป็นต้นไป ส่วนผู้ผลิตเพื่อจําหน่ายหรือผู้นําเข้าเพื่อจําหน่ายอาหาร อยู่ก่อนประกาศฯ ฉบับนี้ใช้บังคับ ต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศนี้ ภายใน ๒ ปี นับจากประกาศฯ ฉบับนี้ ใช้บังคับ คือ วันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ เลขาธิการฯ กล่าวในตอนท้ายว่า อย.ขอให้ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติตามประกาศกระทรวง สาธารณสุขดังกล่าวโดยเคร่งครัด หากมีข้อสงสัยประการใด ติดต่อสอบถามได้ที่กองควบคุมอาหาร สํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข โทรศัพท์ ๐ ๒๕๙๐ ๗๒๑๔, ๐ ๒๕๙๐ ๗๑๗๓ และ ๐ ๒๕๙๐ ๗๑๘๕ ในวันและเวลาราชการ กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค วันที่ ๕ มกราคม ๒๕๕๔ ข่าวแจก ๑๕ /ปีงบประมาณ ๒๕๕๔


รายงานการประชุมคณะร ัฐมนตรี ครงที ั้ ่ 1/2554 ว ันที่ 4 มกราคม 2553

http://www.thaigov.go.th

ข่าวที่ 01/01 วันที่ 4 มกราคม 2554

้ 2 สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี นายอภิสท ิ ธิ์ เวชชาชีวะ วันนี้ เมือ ่ เวลา 09.00 น. ณ ห ้องประชุมชัน นายกรัฐมนตรี เป็ นประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี จากนัน ้ รองศาสตราจารย์ปณิธาน วัฒนายากร รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบต ั ห ิ น ้าทีโ่ ฆษก ประจําสํานักนายกรัฐมนตรี นายศุภชัย ใจสมุทร รองโฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี นายวัชระ กรรณิการ์ รองโฆษก ประจําสํานักนายกรัฐมนตรี และนายมารุต มัสยวาณิช รองโฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ได ้แถลงข่าวผลการประชุม คณะรัฐมนตรี สรุปสาระสําคัญได ้ดังนี้ กฎหมาย 1. เรือ ่ ง 2.

เรือ ่ ง

เศรษฐกิจ 3. เรือ ่ ง 4. เรือ ่ ง

5. 6.

เรือ ่ ง เรือ ่ ง

7.

เรือ ่ ง

8.

เรือ ่ ง

9.

เรือ ่ ง

ั สงคม 10. เรือ ่ ง 11. เรือ ่ ง 12.

เรือ ่ ง

่ มวลชน ร่างพระราชบัญญัตค ิ ุ ้มครองสิทธิเสรีภาพและส่งเสริมมาตรฐานผู ้ประกอบวิชาชีพสือ พ.ศ. .... ร่างพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกีย ่ วกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....

่ เบือ การเสนอพืน ้ ทีก ่ ลุม ่ ป่ าแก่งกระจาน เพือ ่ บรรจุไว ้ในบัญชีรายชือ ้ งต ้น (Tentative List) ขออนุมต ั งิ บประมาณรายจ่ายประจําปี งบกลาง (การจัดสรรงบประมาณสําหรับจ่ายเป็ นเงิน เพิม ่ การครองชีพชัว่ คราวแก่ครูโรงเรียนเอกชน โดยเบิกจ่ายในงบเงินอุดหนุน ลักษณะเงิน อุดหนุนทั่วไป) การปรับปรุงสวัสดิการเกีย ่ วกับการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลพนักงานสํานักงานธนานุเคราะห์ ผลการประชุมคณะกรรมการรัฐมนตรีพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ้ ครัง้ ที่ 4/2553 การขยายระยะเวลาการใช ้บังคับกฎกระทรวงกําหนดงานและจํานวนเงินทีล ่ ก ู จ ้างต ้องส่งเข ้า กองทุนเพือ ่ การส่งคนต่างด ้าวกลับออกไปนอกราชอาณาจักร และหลักเกณฑ์และวิธก ี ารใน การส่งเงิน การออกใบรับ หนังสือรับรอง และใบแทนหนังสือรับรองการส่งเงิน พ.ศ. 2553 รายงานผลการกู ้เงิน Short term facility สําหรับรัฐวิสาหกิจ วงเงินไม่เกิน 200,000 ล ้าน บาท รายงานผลการกู ้เงินเพือ ่ ปรับโครงสร ้างหนีพ ้ ันธบัตรออมทรัพย์ ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2548 ครัง้ ที่ 2 ทีค ่ รบกําหนดในวันที่ 15 กันยายน 2553

โครงการปี แห่งการรณรงค์สง่ เสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์ การใช ้เกณฑ์มาตรฐานและตัวชีว้ ด ั ความโปร่งใสทีก ่ ําหนดภายใต ้พระราชบัญญัตข ิ ้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ของหน่วยงานภาครัฐ ่ ารแข่งขันกีฬาเอเชีย ่ นเกมส์ รายงานผลการดําเนินงานตามโครงการผลไม ้ไทยคุณภาพสูก ครัง้ ที่ 16


2 ต่างประเทศ 13. เรือ ่ ง 14. 15.

เรือ ่ ง เรือ ่ ง

การดําเนินการตามข ้อมติคณะมนตรีความมัน ่ คงแห่งสหประชาชาติเกีย ่ วกับการควํ่าบาตร สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก การจัดทําบันทึกความเข ้าใจว่าด ้วยความร่วมมือด ้านการศึกษาระหว่างไทยและอินโดนีเซีย การประชุม International Forum on Tiger Conservation

เรือ ่ งทีค ่ ณะร ัฐมนตรีร ับทราบเพือ ่ เป็นข้อมูล 16. เรือ ่ ง รายงานดัชนีราคาผู ้บริโภคทัว่ ไปและดัชนีราคาผู ้บริโภคพืน ้ ฐานของประเทศเดือน พฤศจิกายน 2553 17. เรือ ่ ง สรุปสถานการณ์ภย ั พิบต ั ด ิ ้านการเกษตรปี 2553 ครัง้ ที่ 46 18. เรือ ่ ง รายงานสรุปสถานการณ์การท่องเทีย ่ วในอุทยานแห่งชาติชว่ งเทศกาลปี ใหม่ 19. เรือ ่ ง สรุปสถานการณ์ภย ั หนาว และการให ้ความช่วยเหลือ (ข ้อมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2553) แต่งตงั้ 20. เรือ ่ ง

แต่งตัง้ 1. แต่งตัง้ ข ้าราชการการเมือง

******************************** กรุณาตรวจสอบมติคณะรัฐมนตรีอย่างเป็ นทางการกับสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีอก ี ครัง้ หนึง่ สํานักโฆษกขอเชิญติดตามการถ่ายทอดสดการแถลงข่าวผลการประชุมคณะรัฐมนตรี ทุกวันอังคาร หรือวันทีม ่ ก ี ารประชุม ทางสถานีวท ิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ทาง F.M. 92.5 ในเขตกรุงเทพมหานคร ส่วนต่างจังหวัด รับฟั งได ้ทางสถานีวท ิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยประจําจังหวัด และติดตามมติคณะรัฐมนตรีทส ี่ ําคัญได ้ทางรายการ “เจาะลึก ครม.” ทางสถานีวท ิ ยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ทุกวันอังคารในเวลา 21.00-22.00 น. “หากท่านใดประสงค์จะขอรับข่าวการประชุมคณะรัฐมนตรีสมัครได ้ทาง www.thaigov.go.th


3

กฎหมาย ิ ธิเสรีภาพและสง ่ เสริมมาตรฐานผูป ี สอ ื่ มวลชน พ.ศ. .... 1. เรือ ่ ง ร่างพระราชบ ัญญ ัติคม ุ ้ ครองสท ้ ระกอบวิชาชพ คณะรัฐมนตรีอนุมต ั ห ิ ลักการร่างพระราชบัญญัตค ิ ุ ้มครองสิทธิเสรีภาพและส่งเสริมมาตรฐานผู ้ประกอบวิชาชีพ ่ มวลชน พ.ศ. .... ตามทีส สือ ่ ํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเสนอ และให ้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ พิจารณาแล ้วส่งให ้คณะกรรมการประสานงานสภาผู ้แทนราษฎรพิจารณา ก่อนเสนอสภาผู ้แทนราษฎรพิจารณาต่อไป ึ ษาของบุตร (ฉบ ับที่ ..) พ.ศ. .... 2. เรือ ่ ง ร่างพระราชกฤษฎีกาเงินสว ัสดิการเกีย ่ วก ับการศก คณะรัฐมนตรีอนุมต ั ห ิ ลักการร่างพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกีย ่ วกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามทีก ่ ระทรวงการคลังเสนอ และให ้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล ้วดําเนินการต่อไปได ้ ข้อเท็ จจริง กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอว่า เนือ ่ งจากพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกีย ่ วกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523 ซึง่ แก ้ไขเพิม ่ เติมโดยพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกีย ่ วกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2548 มาตรา 8 ตรี ิ ธิได ้รับเงินสวัสดิการเกีย ได ้กําหนดข ้อจํากัดสิทธิในกรณีผู ้มีสท ่ วกับการศึกษาของบุตรตามพระราชกฤษฎีกานี้ ผู ้ใดมีคส ู่ มรสที่ ิ ธิได ้รับเงิน สวัสดิการเกีย ิ ธิได ้รับเงินสวัสดิการเกีย มีสท ่ วกับการศึกษาของบุตรจากหน่วยงานอืน ่ แล ้วผู ้นัน ้ ไม่มส ี ท ่ วกับ การศึกษาของบุตรตามพระราชกฤษฎีกานี้ เว ้นแต่เงินสวัสดิการเกีย ่ วกับการศึกษาของบุตรทีไ่ ด ้รับจากหน่วยงานอืน ่ นัน ้ ตํ่ากว่า ิ ธิได ้รับเงินสวัสดิการเกีย เงิน สวัสดิการเกีย ่ วกับการศึกษาของบุตรตามทีก ่ ําหนดในพระราชกฤษฎีกานี้ ก็ให ้มีสท ่ วกับการศึกษา ของบุตรเฉพาะส่วนทีข ่ าดอยู่ โดยทีห ่ น่วยงานอืน ่ ได ้บัญญัตก ิ ฎหมายหรือกําหนดระเบียบ ข ้อบังคับไว ้เช่นเดียวกับบทบัญญัต ิ ิ ธิและคูส ของพระราชกฤษฎีกานี้ จึงเกิดปั ญหาว่าบุตรจะอาศัยสิทธิตามกฎหมายใด ซึง่ ทําให ้ผู ้มีสท ่ มรสไม่สามารถเบิกเงิน สวัสดิการเกีย ่ วกับการศึกษาของบุตรทัง้ จากทางราชการและหน่วยงานอืน ่ ได ้ สาระสาค ัญของร่างพระราชกฤษฎีกา กําหนดให ้ยกเลิกมาตรา 8 ตรี แห่งพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกีย ่ วกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523 ซึง่ แก ้ไขเพิม ่ เติมโดยพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกีย ่ วกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2548 (ร่างมาตรา 3) เศรษฐกิจ ื่ เบือ ้ ทีก ้ งต้น (Tentative List) 3. เรือ ่ ง การเสนอพืน ่ ลุม ่ ป่าแก่งกระจาน เพือ ่ บรรจุไว้ในบ ัญชรี ายชอ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในการเสนอพืน ้ ทีก ่ ลุม ่ ป่ าแก่งกระจาน ต่อศูนย์มรดกโลก กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส ่ เบือ เพือ ่ บรรจุไว ้ในบัญชีรายชือ ้ งต ้น (Tentative List) ต่อไป ตามทีก ่ ระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อมเสนอ ทัง้ นี้ ในการดําเนินการเสนอพืน ้ ทีก ่ ลุม ่ ป่ าแก่งกระจานเป็ นมรดกโลกให ้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อมรับไป ้ จงทําความเข ้าใจและให ้ได ้รับความร่วมมือจาก ประสานงานกับกระทรวงมหาดไทย และหน่วยงานอืน ่ ทีเ่ กีย ่ วข ้องเพือ ่ ชีแ ประชาชนและชุมชนในพืน ้ ทีด ่ ้วย สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อม (ทส.) รายงานว่า ่ แหล่งมรดกทางธรรมชาติพน ่ เบือ 1. การเสนอชือ ื้ ทีก ่ ลุม ่ ป่ าแก่งกระจาน เพือ ่ บรรจุในบัญชีรายชือ ้ งต ้น ั ญาคุ ้มครอง (Tentative List) ของศูนย์มรดกโลก กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส เป็ นการดําเนินการตามพันธกรณีในอนุสญ ั ญาคุ ้มครองมรดกโลก (Operational Guidelines for the Implementation มรดกโลก และตามแนวทางการอนุวัตตามอนุสญ of the World Heritage Convention) ซึง่ ก่อให ้เกิดสิทธิและหน ้าทีต ่ ามกฎหมายระหว่างประเทศ 2. พืน ้ ทีก ่ ลุม ่ ป่ าแก่งกระจานเป็ นแหล่งมรดกทางธรรมชาติของไทยทีม ่ ค ี ณ ุ ค่าความโดดเด่นระดับสากลที่ ั ญาคุ ้มครองมรดกโลกพิจารณาแล ้วเห็นควรจัดทํารายละเอียดเพือ ่ คณะกรรมการแห่งชาติวา่ ด ้วยอนุสญ ่ บรรจุไว ้ในบัญชีรายชือ เบือ ้ งต ้น (Tentative List) ของศูนย์มรดกโลก กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส จึงมีมติให ้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ


4 พันธุพ ์ ช ื นํ าความเห็นของทีป ่ ระชุมไปพิจารณาจัดทําเอกสารการนํ าเสนอพืน ้ ทีก ่ ลุม ่ ป่ าแก่งกระจานเป็ นมรดกโลก ซึง่ สาระสําคัญของการนํ าเสนอพืน ้ ทีก ่ ลุม ่ ป่ าแก่งกระจานเป็ นมรดกโลก สรุปได ้ดังนี้ ่ ทีอ 2.1 ข ้อมูลทั่วไป ประกอบด ้วย ภาคีสมาชิกผู ้จัดเตรียมการเสนอชือ ่ ยู่ สถาบัน/หน่วยงาน วันที่ เสนอ ไปรษณียอ ์ เิ ล็กทรอนิกส์ โทรสาร โทรศัพท์ ่ ของพืน 2.2 ข ้อมูลแหล่งมรดกทางธรรมชาติ ประกอบด ้วย ชือ ้ ที่ จังหวัด พิกด ั ทางภูมศ ิ าสตร์ 2.3 ข ้อมูลคุณลักษณะ พืน ้ ทีก ่ ลุม ่ ป่ าแก่งกระจานตัง้ อยูท ่ ศ ิ ด ้านลาดฝั่ งตะวันออกของเทือกเขาตะนาว ศรี ติดต่อกับผืนป่ าประเทศเมียนมาร์ มีพน ื้ ทีท ่ ัง้ หมดรวม 482,225 เฮกตาร์ ประกอบด ้วยพืน ้ ที่ 5 แห่ง คือ (1) เขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าแม่นํ้าภาชี (2) อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน (3) อุทยานแห่งชาติกย ุ บุรี (4) อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทย ่ มต่อระหว่างอุทยานแห่งชาติ ประจัน (อยูร่ ะหว่างการเตรียมการประกาศจัดตัง้ เป็ นอุทยานแห่งชาติ) และ (5) พืน ้ ทีแ ่ นวเชือ แก่งกระจานและกุยบุรี ในเขตป่ าสงวนแห่งชาติและเขตปลอดภัยทางทหาร พืน ้ ทีก ่ ลุม ่ ป่ าแก่งกระจานจัดอยูใ่ นเขตนิเวศอินโด มาลายัน (Indo-Malayan Ecoregion) กลุม ่ Tenasserim-South Thailand semi-evergreen rain forests ชนิดป่ าทีป ่ กคลุม พืน ้ ทีม ่ ากทีส ่ ด ุ คือป่ าดิบแล ้ง ปกคลุมพืน ้ ทีถ ่ งึ ร ้อยละ 59 เป็ นแหล่งต ้นนํ้ าของแม่นํ้าสําคัญ ได ้แก่ แม่นํ้าเพชรบุรี แม่นํ้าภาชี แม่ แม่นํ้าปราณบุรี และแม่นํ้ากุยบุรี 2.4 การมีคณ ุ ค่าความโดดเด่นเป็ นสากล : เป็ นศูนย์รวมความหลากหลายทางชีวภาพทีส ่ ําคัญทีส ่ ด ุ ั ว์อย่างน ้อย 720 ชนิด มีการกระจายพันธุจ แห่งหนึง่ ในเอเชีย โดยพบชนิดพันธุส ์ ต ์ ากถิน ่ อาศัยทางใต ้ขึน ้ ไปจนถึงบริเวณเหนือ สุด เช่น ไก่ฟ้าหน ้าเขียว นกบัง้ รอกปากแดง และนกปรอดสีนํ้าตาลตาแดง ปาดป่ าจุดขาว และค่างดํา เป็ นต ้น นอกจากนัน ้ ยัง เป็ นพืน ้ ทีร่ อยต่อระหว่างเขตภูมพ ิ ฤกษ์ (Floristic-provinces) 4 ลักษณะเด่น ได ้แก่ (1) Indo-Burmese หรือ Himalayan (2) Indo-Malaysian (3) Annamatic และ (4) Andamanese พบการปรากฏของพืชเฉพาะถิน ่ เช่น จําปี เพชร (Magnolia mediocris) และจําปี ดอย (M.gustavii) ซึง่ ราชอาณาจักรไทยพบเฉพาะในพืน ้ ทีก ่ ลุม ่ ป่ าแก่งกระจานเท่านัน ้ เป็ นแหล่งสําคัญ ของสัตว์ป่าทีใ่ กล ้สูญพันธุอ ์ ย่างยิง่ (Critically Endangered) คือ จระเข ้นํ้ าจืด และได ้รับการประกาศเป็ นมรดกแห่งอาเซียน เมือ ่ ปี พ.ศ. 2546 2.5 เกณฑ์ทเี่ หมาะสม : พืน ้ ทีก ่ ลุม ่ ป่ าแก่งกระจานตรงกับเกณฑ์ ข ้อที่ 10 คือ “ถิน ่ ทีอ ่ ยูอ ่ าศัยตาม ธรรมชาติทม ี่ ค ี วามสําคัญต่อการอนุรักษ์ ในถิน ่ ทีอ ่ ยู่ (In-situ conservation) ของความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึงถิน ่ ทีอ ่ ยู่ ของชนิดพันธุท ์ ถ ี่ ก ู คุกคามทีม ่ ค ี วามโดดเด่นเป็ นสากลทัง้ จากมุมมองของวิทยาศาสตร์หรือการอนุรักษ์ ” 2.6 การเปรียบเทียบกับพืน ้ ทีอ ่ น ื่ ทีม ่ ล ี ักษณะคล ้ายคลึงกัน : พืน ้ ทีก ่ ลุม ่ ป่ าแก่งกระจานเป็ นเขตนิเวศ ั ว์ป่าทุง่ ใหญ่นเรศวร-ห ้วยขาแข ้ง แต่ เดียวกันกับพืน ้ ทีแ ่ หล่งมรดกโลกทางธรรมชาติแห่งแรกของไทย คือ เขตรักษาพันธุส ์ ต ่ ชืน ้ มากกว่ามีสด ั ส่วน ตัง้ อยูห ่ า่ งไปทางตอนใต ้ของทุง่ ใหญ่นเรศวร-ห ้วยขาแข ้ง ประมาณ 220 กิโลเมตร จึงทําให ้มีความชุม ของป่ าดิบแล ้งมากกว่า และมีชนิดพันธุใ์ นเขต Sundiac ทีห ่ ลากหลายกว่า 4. เรือ ่ ง ขออนุม ัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี งบกลาง (การจ ัดสรรงบประมาณสาหร ับจ่ายเป็นเงินเพิม ่ การครอง ี ชว่ ั คราวแก่ครูโรงเรียนเอกชน โดยเบิกจ่ายในงบเงินอุดหนุน ล ักษณะเงินอุดหนุนทว่ ั ไป) ชพ คณะรัฐมนตรีพจ ิ ารณาการจัดสรรงบประมาณสําหรับจ่ายเป็ นเงินเพิม ่ การครองชีพชัว่ คราวให ้แก่ครูโรงเรียน เอกชน โดยเบิกจ่ายในงบเงินอุดหนุน ลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไป ดังนี้ 1.อนุมต ั งิ บประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 งบกลาง รายการเงินสํารองจ่ายเพือ ่ กรณีฉุกเฉิน หรือจําเป็ น จํานวน 267,359,608 บาท สําหรับจ่ายให ้ครูโรงเรียนเอกชน ตัง้ แต่เดือนพฤษภาคม – กันยายน 2553 2.อนุมต ั ใิ นหลักการให ้กระทรวงศึกษาธิการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 งบ กลางรายการเงินสํารองจ่ายเพือ ่ กรณีฉุกเฉินหรือจําเป็ น ภายในวงเงิน 641,663,058 บาท โดยให ้กระทรวงศึกษาธิการ ิ ธิให ้ถูกต ้องเป็ นปั จจุบน ตรวจสอบจํานวนครูทม ี่ ส ี ท ั ก่อนและขอรับการสนับสนุนงบประมาณ สําหรับโรงเรียนทีไ่ ด ้ตรวจสอบ ่ ครูผู ้มีสท ิ ธิแล ้ว โดยให ้ขอตกลงในรายละเอียดกับสํานักงบประมาณเป็ นรายไตรมาสต่อไปตาม ความถูกต ้องของบัญชีรายชือ ความเห็นของสํานักงบประมาณ สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) รายงานว่า 1. ศธ.ได ้จัดประชุมพิจารณารายละเอียดทีเ่ กีย ่ วข ้องร่วมกับผู ้แทนสํานักงบประมาณ (สงป.) และผู ้แทน


5 กระทรวงการคลัง (กค.) จํานวน 3 ครัง้ ซึง่ การประชุมครัง้ ที่ 3 เมือ ่ วันที่ 23 กันยายน 2553 ทีป ่ ระชุมมีมติเห็นชอบอัตราและ หลักเกณฑ์การจ่ายเงินเพิม ่ การครองชีพชัว่ คราวครูโรงเรียนเอกชน โดยเห็นชอบให ้รัฐจ่ายเงินเพิม ่ การครองชีพชัว่ คราวแก่ครู โรงเรียนเอกชนจํานวนกึง่ หนึง่ ของเงินเพิม ่ การครองชีพชัว่ คราวทีค ่ ํานวณได ้จากหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเพิม ่ การครองชีพ ชัว่ คราวของข ้าราชการ ซึง่ เป็ นไปตามความเห็นของ กค. ทีเ่ สนอต่อทีป ่ ระชุมคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 27 เมษายน 2553 และ เห็นชอบให ้การจ่ายเงินเพิม ่ การครองชีพชัว่ คราวไม่รวมถึงครูในโรงเรียนทีไ่ ม่รับเงินอุดหนุนรายบุคคล ิ ธิรับเงินเพิม 2. ในการนี้ ศธ. ได ้ตรวจสอบและจัดทําข ้อมูลครูทม ี่ ส ี ท ่ การครองชีพชัว่ คราวเป็ นรายบุคคลที่ ิ ธิ ณ เดือนพฤษภาคม เป็ นปั จจุบน ั (ข ้อมูลถึงเดือนสิงหาคม 2553) โดยหากพิจารณาตามอัตราและหลักเกณฑ์จะมีครูทม ี่ ส ี ท 2553 จํานวน 74,434 คน ต ้องใช ้งบประมาณสําหรับจัดสรรให ้ครูเดือนละ 53,471,921.50 บาท ระยะเวลาตัง้ แต่เดือน ้ 267,359,608 บาท และระยะเวลาตัง้ แต่เดือนตุลาคม 2553 – พฤษภาคม – กันยายน 2553 รวม 5 เดือน เป็ นเงินทัง้ สิน ้ 641,663,058 บาท กันยายน 2554 รวม 12 เดือน เป็ นเงินทัง้ สิน 5. เรือ ่ ง การปร ับปรุงสว ัสดิการเกีย ่ วก ับการเบิกจ่ายค่าร ักษาพยาบาลพน ักงานสาน ักงานธนานุเคราะห์ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบการปรับปรุงสวัสดิการเกีย ่ วกับการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลพนักงานสํานักงาน ธนานุเคราะห์ ตามทีก ่ ระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน ่ คงของมนุษย์เสนอ ซึง่ คณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ ในการประชุมครัง้ ที่ 10/2553 เมือ ่ วันที่ 11 ตุลาคม 2553 ได ้มีมติเห็นชอบแล ้ว ดังนี้ 1.ปรับปรุงค่าห ้องและค่าอาหารในการเข ้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการและ สถานพยาบาลของเอกชนสําหรับพนักงาน จากเดิมเบิกได ้ 800 บาท/วัน เป็นเบิกได ้ 1,000 บาท/วัน และบุคคลใน ครอบครัว จากเดิมเบิกได ้ 600 บาท/วัน เป็นเบิกได ้ 800 บาท/วัน ิ ธิเบิกค่ารักษาพยาบาลประเภทผู ้ป่ วยนอกในกรณีทไี่ ด ้รับอันตรายแก่กายหรือเจ็บป่ วย 2.ให ้พนักงานมีสท ให ้ใช ้สถานพยาบาลเอกชนหรือคลินก ิ แพทย์ ได ้ครัง้ ละไม่เกิน 500 บาท รวมปี ละไม่เกิน 3,600 บาท สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน ่ คงของมนุษย์ (พม.) รายงานว่า เนือ ่ งจากปั จจุบน ั ค่ารักษาพยาบาล โดยทั่วไปมีราคาเพิม ่ สูงขึน ้ ประกอบกับค่าครองชีพได ้เพิม ่ ขึน ้ ตามสภาวะเศรษฐกิจ เพือ ่ เป็ นการช่วยเหลือและบรรเทาภาระ ค่าใช ้จ่ายเกีย ่ วกับค่ารักษาพยาบาล อีกทัง้ เป็ นการเสริมสร ้างขวัญและกําลังใจให ้แก่พนักงานสํานักงานธนานุเคราะห์ ที่ ประชุมคณะกรรมการอํานวยการสํานักงานธนานุเคราะห์ จึงได ้มีมติให ้ปรับปรุงสวัสดิการเกีย ่ วกับการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ของพนักงานสํานักงานธนานุเคราะห์ตามทีเ่ สนอดังกล่าวข ้างต ้น ้ ทีพ 6. เรือ ่ ง ผลการประชุมคณะกรรมการร ัฐมนตรีพ ัฒนาพืน ่ เิ ศษ 5 จ ังหว ัดชายแดนภาคใต้ ครงที ั้ ่ 4/2553 คณะรัฐมนตรีรับทราบผลการประชุมคณะกรรมการรัฐมนตรีพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ้ (รชต.) ครัง้ ที่ 4/2553 เมือ ่ วันที่ 28 ธันวาคม 2553 ตามทีเ่ ลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการรัฐมนตรีพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ้ เสนอ โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ วันที่ 28 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการ รชต. ได ้พิจารณาผลการทบทวนโครงการภายใต ้แผนพัฒนาพืน ้ ที่ พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ้ ประกอบด ้วย โครงการประชาสัมพันธ์การดําเนินงานแก ้ไขปั ญหาในพืน ้ ที่ 5 จังหวัดชายแดน ภาคใต ้ ของ กรมประชาสัมพันธ์ วงเงิน 45.00 ล ้านบาท และโครงการปรับปรุงหออภิบาลผู ้ป่ วยหนัก โรงพยาบาลสงขลา นครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วงเงิน 162.45 ล ้านบาท มติคณะกรรมการ รชต. 1. อนุมต ั ก ิ ารปรับแผนการดําเนินโครงการประชาสัมพันธ์การดําเนินงานแก ้ไขปั ญหาในพืน ้ ที่ 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต ้ ของกรมประชาสัมพันธ์ เพือ ่ ไปฟื้ นฟูปัญหานํ้ าท่วมจํานวน 45.00 ล ้านบาท ตามทีก ่ รมประชาสัมพันธ์เสนอ 2. อนุมต ั ก ิ ารปรับแผนการดําเนินโครงการปรับปรุงหออภิบาลผู ้ป่ วยหนัก โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพือ ่ ไปใช ้ในการแก ้ไขปั ญหานํ้ าท่วมจํานวน 150.00 ล ้านบาท ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการเสนอ


6 ้ ังค ับกฎกระทรวงกาหนดงานและจานวนเงินทีล ่ เข้ากองทุนเพือ 7. เรือ ่ ง การขยายระยะเวลาการใชบ ่ ก ู จ้างต้องสง ่ ่ คนต่างด้าวกล ับออกไปนอกราชอาณาจ ักร และหล ักเกณฑ์และวิธก ่ เงิน การออกใบร ับ หน ังสอ ื การสง ี ารในการสง ื ร ับรองการสง ่ เงิน พ.ศ. 2553 ร ับรอง และใบแทนหน ังสอ คณะรัฐมนตรีอนุมต ั ห ิ ลักการร่างกฎกระทรวงกําหนดงานและจํานวนเงินทีล ่ ก ู จ ้างต ้องส่งเข ้ากองทุนเพือ ่ การส่ง คนต่างด ้าวกลับออกไปนอกราชอาณาจักร และหลักเกณฑ์และวิธก ี ารในการส่งเงิน การออกใบรับ หนังสือรับรอง และใบแทน หนังสือ รับรองการส่งเงิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามทีก ่ ระทรวงแรงงานเสนอ และให ้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ พิจารณาต่อไป สาระสาค ัญของเรือ ่ ง การกําหนดให ้หักเงินค่าจ ้างลูกจ ้างสัญชาติพม่า สัญชาติลาว และสัญชาติกม ั พูชา ทีอ ่ ยูร่ ะหว่างการต่ออายุ ใบอนุญาตทํางาน ย่อมก่อให ้เกิดภาระค่าใช ้จ่ายต่อค่าครองชีพของคนต่างด ้าว เป็ นเหตุให ้คนต่างด ้าวเหล่านีไ้ ม่ยน ื่ ต่ออายุ ใบอนุญาตทํางานและหลบหนีออกนอกระบบการผ่อนผัน นายจ ้างขาดแคลนแรงงานและหันไปใช ้แรงงานต่างด ้าวแบบผิด กฎหมายอีก ซึง่ จะทําให ้ภาครัฐไม่มข ี ้อมูลทีถ ่ ก ู ต ้องเกีย ่ วกับแรงงานต่างด ้าวทีจ ่ ะนํ ามาวางแผนบริหารจัดการแก ้ไขปั ญหา แรงงานต่างด ้าวได ้ นอกจากนี้ การอยูอ ่ ย่างผิดกฎหมายของแรงงานต่างด ้าวดังกล่าวจะส่งผลกระทบทีก ่ อ ่ ให ้เกิดปั ญหาด ้าน ต่าง ๆ เช่น ปั ญหาด ้านสาธารณสุขเนือ ่ งจากแรงงานต่างด ้าวดังกล่าวไม่ได ้รับการตรวจสุขภาพจึงอาจก่อให ้เกิดโรคติดต่อขึน ้ ปั ญหาอาชญากรรมทีไ่ ม่สามารถติดตามตรวจสอบได ้เมือ ่ มีการกระทําความผิด อีกทัง้ ยังส่งผลกระทบต่อตัวแรงงานต่างด ้าวที่ ไม่ได ้รับสิทธิตา่ ง ๆ ในการคุ ้มครองดูแลตามกฎหมาย และทีส ่ ําคัญทําให ้นโยบายการแก ้ไขปั ญหาแรงงานต่างด ้าวหลบหนี เข ้าเมืองไม่เป็ นไปตามเป้ าหมายทีร่ ัฐบาลกําหนด อันส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบการบริหารจัดการแรงงานต่างด ้าวที่ กระทรวงแรงงานดําเนินการอยูท ่ ัง้ ระบบ ดังนัน ้ เพือ ่ ให ้การบริหารแรงงานต่างด ้าวเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็ นการ บรรเทาความเดือดร ้อนของคนต่างด ้าวซึง่ เป็ นผู ้อยูใ่ ต ้บังคับของกระทรวงฉบับดังกล่าว กระทรวงแรงงานจึงเห็นควรขยาย ระยะเวลาการใช ้บังคับกฎกระทรวงกําหนดงานและจํานวนเงินทีล ่ ก ู จ ้างต ้องส่งเข ้ากองทุนเพือ ่ การส่งคนต่างด ้าวกลับออกไป นอกราชอาณาจักร และหลักเกณฑ์และวิธก ี ารในการส่งเงิน การออกใบรับ หนังสือรับรอง และใบแทนหนังสือรับรองการส่ง เงิน พ.ศ. 2553 ออกไปเป็ นวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2555 และในระหว่างนีก ้ ระทรวงแรงงานจะเร่งดําเนินการศึกษาวิจัยให ้เกิด ความชัดเจนเกีย ่ วกับการกําหนดงาน อัตราการส่งเงินเข ้ากองทุน และสัญชาติลก ู จ ้างซึง่ ได ้รับใบอนุญาตตามมาตรา 9 มาตรา 11 มาตรา 13 (1) หรือ (2) และมาตรา 14 ทีจ ่ ะต ้องส่งเงินเข ้ากองทุนเป็ นประกันค่าใช ้จ่ายในการส่งลูกจ ้างนัน ้ กลับออกไป นอกราชอาณาจักร รวมทัง้ ระดมความคิดเห็นจากผู ้อยูใ่ ต ้บังคับของกระทรวงและผู ้ทีเ่ กีย ่ วข ้องในระบบการจัดเก็บเงินเข ้า กองทุน เพือ ่ ให ้ระบบการจัดเก็บเงินค่าจ ้างของลูกจ ้างต่างด ้าวเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและไม่เป็ นภาระต่อลูกจ ้างและ นายจ ้างต่อไป 8. เรือ ่ ง รายงานผลการกูเ้ งิน Short term facility สาหร ับร ัฐวิสาหกิจ วงเงินไม่เกิน 200,000 ล้านบาท คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานผลการกู ้เงิน Short term facility สําหรับรัฐวิสาหกิจ วงเงินไม่เกิน 200,000 ล ้านบาท ตามทีก ่ ระทรวงการคลังเสนอ สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงการคลัง (กค.) รายงานว่า ได ้ดําเนินการจัดทําบันทึกข ้อตกลงว่าด ้วยการจัดหา Short term facility สําหรับรัฐวิสาหกิจกับสถาบันการเงิน จํานวน 6 แห่ง เมือ ่ วันที่ 7 พฤษภาคม 2552 วงเงินรวม 200,000 ล ้านบาท เพือ ่ ให ้ ้ ได ้โดยตรงเพือ รัฐวิสาหกิจสามารถกู ้เงินระยะสัน ่ เป็ นการเพิม ่ ความคล่องตัวในการบริหารและจัดการการกู ้เงินในประเทศของ รัฐวิสาหกิจ โดยมีโครงสร ้างการดําเนินการ ตลอดจนวิธก ี ารสอดคล ้องกับความต ้องการกู ้เงินของรัฐวิสาหกิจ รวมถึงสามารถ ใช ้เป็ นเครือ ่ งมือในการจัดสรรการกู ้เงินของภาครัฐไม่ให ้เกิดภาวการณ์กระจุกตัวในช่วงเวลาใดเวลาหนึง่ ได ้ ซึง่ ทีผ ่ า่ นมา กค. ได ้ดําเนินการจัดสรรเงินกู ้ Short term facility ไปแล ้วเป็ นจํานวน 1,000 ล ้านบาท ให ้แก่การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) กค. คํ้าประกันเต็มจํานวน


7 ้ ันธบ ัตรออมทร ัพย์ ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2548 ครงที 9. เรือ ่ ง รายงานผลการกูเ้ งินเพือ ่ ปร ับโครงสร้างหนีพ ั้ ่ 2 ที่ ครบกาหนดในว ันที่ 15 ก ันยายน 2553 คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานผลการกู ้เงินเพือ ่ ปรับโครงสร ้างหนีพ ้ ันธบัตรออมทรัพย์ ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2548 ครัง้ ที่ 2 ทีค ่ รบกําหนดในวันที่ 15 กันยายน 2553 ตามทีก ่ ระทรวงการคลังเสนอ สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงการคลัง (กค.) รายงานว่า 1. เมือ ่ วันที่ 15 กันยายน 2553 มีพันธบัตรออมทรัพย์ ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2548 ครัง้ ที่ 2 ครบกําหนดไถ่ ถอน จํานวน 5,000 ล ้านบาท ซึง่ กค. ได ้ดําเนินการปรับโครงสร ้างหนี้ จํานวนดังกล่าวทัง้ จํานวน โดยกู ้เงินระยะยาวโดยตั๋ว สัญญาใช ้เงิน อายุ 6 ปี จํานวน 5,000 ล ้านบาท จากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) อัตราดอกเบีย ้ เท่ากับอัตราดอกเบีย ้ BIBOR ลบ Spread ร ้อยละ 0.09 ต่อปี 2. สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได ้ดําเนินการประกาศ เรือ ่ งการกู ้เงินเพือ ่ ปรับโครงสร ้างหนีโ้ ดยตั๋วสัญญาใช ้ เงินในปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 ครัง้ ที่ 4 ลงวันที่ 13 กันยายน 2553 โดยได ้นํ าลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศ และงานทั่วไป เล่ม 127 ตอนพิเศษ 120 ง ลงวันที่ 14 ตุลาคม 2553 แล ้ว ั สงคม ่ เสริมการสวมหมวกนิรภ ัย 100 เปอร์เซ็นต์ 10. เรือ ่ ง โครงการปี แห่งการรณรงค์สง คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามมติทป ี่ ระชุมศูนย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนน ครัง้ ที่ 2/2553 เมือ ่ วันที่ 27 ตุลาคม 2553 ตามทีร่ ัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย รองประธานกรรมการและรองผู ้อํานวยการศูนย์อํานวยการความ ปลอดภัยทางถนน คนทีห ่ นึง่ ปฏิบต ั ห ิ น ้าทีแ ่ ทนประธานกรรมการและผู ้อํานวยการศูนย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนน เสนอ ดังนี้ 1. ประกาศให ้ปี 2554 เป็ นปี แห่งการรณรงค์สง่ เสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์ 2. ให ้หน่วยงานภาคราชการ องค์กรมหาชน รัฐวิสาหกิจและองค์กรปกครองส่วนท ้องถิน ่ มีมาตรการเพือ ่ รณรงค์สง่ เสริมการสวมหมวกนิรภัย ดังนี้ 2.1 ให ้หน่วยงานภาครัฐทุกแห่งกําหนดให ้บริเวณสถานทีร่ าชการเป็ นพืน ้ ทีส ่ วมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์ ในการขับขีร่ ถจักรยานยนต์ 2.2 ให ้หน่วยงานภาครัฐ องค์กรมหาชน รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท ้องถิน ่ ทุกแห่ง ถือ ปฏิบต ั ต ิ ามมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 28 เมษายน 2546 ซึง่ กําหนดมาตรการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมาย นโยบายความปลอดภัยทาง ถนนของข ้าราชการและเจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐไว ้แล ้ว โดยให ้ทุกหน่วยงานทัง้ ภาครัฐ องค์กรมหาชน รัฐวิสาหกิจ และองค์กร ปกครองส่วนท ้องถิน ่ แจ ้งกําชับให ้ข ้าราชการ พนักงาน เจ ้าหน ้าทีใ่ นสังกัดปฏิบต ั ต ิ นเป็ นตัวอย่างทีด ่ ใี นการปฏิบต ั ต ิ าม กฎหมาย นโยบายความปลอดภัยทางถนน เรือ ่ งการขับขีร่ ถจักรยานยนต์ต ้องสวมหมวกนิรภัยทุกครัง้ หากไม่ปฏิบต ั ต ิ ามถือว่า ฝ่ าฝื นกฎหมายและให ้ผู ้บังคับบัญชาพิจารณาดําเนินการลงโทษทางวินัยต่อไป ่ งสูงต่อการบาดเจ็บและเสียชีวต 2.3 เพือ ่ เป็ นการลดความสูญเสียในกลุม ่ ทีม ่ ค ี วามเสีย ิ จาก รถจักรยานยนต์ ได ้แก่ กลุม ่ เด็ก เยาวชน และกลุม ่ ผู ้ใช ้แรงงาน จึงเห็นสมควรให ้ส่วนราชการทีเ่ กีย ่ วข ้องดําเนินการดังนี้ 2.3.1 ให ้กระทรวงแรงงานขอความร่วมมือจากสถานประกอบการในการส่งเสริมให ้พนักงาน สวมหมวกนิรภัยทุกครัง้ ในการขับขีร่ ถจักรยานยนต์ 2.3.2 ให ้กระทรวงศึกษาธิการส่งเสริมให ้สถานศึกษาทัง้ ของภาครัฐและเอกชนจัดให ้มี มาตรการในการส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยของบุคลากรในสังกัด นักเรียน และนักศึกษา 2.3.3 ให ้กระทรวงมหาดไทยแจ ้งองค์กรปกครองส่วนท ้องถิน ่ ให ้ความร่วมมือในการรณรงค์ ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยในสถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท ้องถิน ่ 2.4 ให ้กระทรวงอุตสาหกรรม โดยสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อต ุ สาหกรรมทบทวนมาตรฐาน หมวกนิรภัยให ้เหมาะสมกับสภาพภูมอ ิ ากาศของประเทศไทย 2.5 ให ้กระทรวงสาธารณสุข จัดเก็บข ้อมูลสถิตก ิ ารบาดเจ็บจากอุบต ั เิ หตุทางถนนทีเ่ กีย ่ วข ้องกับการ ไม่สวมหมวกนิรภัย


8 2.6 ให ้ศูนย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนนร่วมกับหน่วยงานทุกภาคส่วนจัดให ้มีกจิ กรรม สนับสนุนโครงการปี แห่งการรณรงค์สง่ เสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์ สาระสาค ัญของเรือ ่ ง ตามทีค ่ ณะรัฐมนตรีได ้มีมติ (29 มิถน ุ ายน 2553) ศูนย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนนได ้จัดทําโครงการ “ปี แห่งการรณรงค์สง่ เสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์” เพือ ่ สนับสนุนการดําเนินงานทศวรรษแห่งความปลอดภัยทาง ถนนและแผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2552 – 2555 และเมือ ่ วันที่ 8 กันยายน 2553 ประธานกรรมการและ ผู ้อํานวยการศูนย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนนได ้อนุมต ั โิ ครงการปี แห่งการรณรงค์สง่ เสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์ และแต่งตัง้ คณะทํางาน ตามคําสัง่ ศูนย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนน ที่ 003/2553 ลงวันที่ 8 กันยายน 2553 โดยโครงการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ เป้ าหมาย และแนวทางในการดําเนินการ ดังนี้ 1. วัตถุประสงค์ : 1.1 เพือ ่ ผลักดันให ้ทุกภาคส่วนให ้ความสําคัญในเรือ ่ งการสวมหมวกนิรภัย 1.2 เพือ ่ ่ ารปฏิบต ขับเคลือ ่ นแผนปฏิบต ั ก ิ ารส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยไปสูก ั อ ิ ย่างเป็ นรูปธรรม 1.3 เพือ ่ ให ้ทุกภาคส่วนมีการนํ าเสนอ แผนงาน/โครงการสนับสนุนส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัย 1.4 เพือ ่ กําหนดกลไกกํากับ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงาน โครงการ ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยในทุกระดับ 2. เป้ าหมาย ผู ้ขับขีแ ่ ละผู ้โดยสารรถจักรยานยนต์สวมหมวกนิรภัยทุกครัง้ การดําเนินงาน ประกอบด ้วยกิจกรรมหลัก 5 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมหลักที่ 1 การผลักดันให ้ รัฐบาลประกาศให ้ปี 2554 เป็ นปี แห่งการรณรงค์สง่ เสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์ กิจกรรมหลักที่ 2 การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์และการให ้ความรู ้ด ้านการสวมหมวกนิรภัย กิจกรรมหลักที่ 3 การบังคับใช ้กฎหมาย กิจกรรมหลักที่ 4 การผลิต หมวกนิรภัยและการออกแบบหมวกนิรภัย กิจกรรมหลักที่ 5 การติดตามและประเมินผล 3. ศูนย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนนในคราวประชุม ครัง้ ที่ 2/2553 เมือ ่ วันที่ 27 ตุลาคม 2553 พิจารณาแล ้วเห็นว่า โครงการปี แห่งการรณรงค์สง่ เสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์ เป็ นโครงการทีม ่ ค ี วามสําคัญต่อ การลดอัตราการเสียชีวต ิ จากอุบต ั เิ หตุทางถนนและเป็ นการสนับสนุนแนวทางการดําเนินการตามแผนปฏิบต ั ก ิ าร “ทศวรรษ แห่งความ ปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2554 – 2563” และเห็นชอบเปิ ดตัวโครงการปี แห่งการรณรงค์สง่ เสริมการสวมหมวก นิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์ ในช่วงวันที่ 14 – 16 ธันวาคม 2553 ประกอบกับในปี 2554 เป็ นปี แห่งการเริม ่ ต ้นทศวรรษแห่งความ ปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2554 – 2563 ตามมติสมัชชาสหประชาชาติ และมติคณะรัฐมนตรี (29 มิถน ุ ายน 2553) ศูนย์ อํานวยการความปลอดภัยทางถนน จึงจําเป็ นต ้องเร่งกําหนดแนวทาง มาตรการในการรณรงค์การสวมหมวกนิรภัยให ้ทุกภาค ส่วนทีเ่ กีย ่ วข ้องนํ าไปดําเนินการให ้เกิดประสิทธิผล 11. เรือ ่ ง การใชเ้ กณฑ์มาตรฐานและต ัวชวี้ ัดความโปร่งใสทีก ่ าหนดภายใต้พระราชบ ัญญ ัติขอ ้ มูลข่าวสารของ ราชการ พ.ศ. 2540 ของหน่วยงานภาคร ัฐ คณะรัฐมนตรีรับทราบการใช ้เกณฑ์มาตรฐานและตัวชีว้ ด ั ความโปร่งใสทีก ่ ําหนดภายใต ้พระราชบัญญัตข ิ ้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ของหน่วยงานภาครัฐ ตามทีส ่ ํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเสนอ ดังนี้ 1. การดําเนินการตามโครงการจัดทําเกณฑ์มาตรฐานและตัวชีว้ ด ั ความโปร่งใสทีก ่ ําหนดภายใต ้ พระราชบัญญัตข ิ ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 2. โครงการหน่วยงานนํ าร่องในการปฏิบต ั ต ิ ามเกณฑ์มาตรฐานและตัวชีว้ ด ั ความโปร่งใสทีก ่ ําหนดภายใต ้ พระราชบัญญัตข ิ ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 สาระสาค ัญของเรือ ่ ง สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี (สปน.) รายงานว่า 1. สปน. โดยสํานักงานคณะกรรมการข ้อมูลข่าวสารของราชการได ้จัดทําโครงการจัดทําเกณฑ์มาตรฐานและ ตัวชีว้ ด ั ความโปร่งใสทีก ่ ําหนดภายใต ้พระราชบัญญัตข ิ ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 เพือ ่ กําหนดมาตรฐานความ โปร่งใสและเกณฑ์ชวี้ ด ั ในการประเมินความโปร่งใส และพัฒนารูปแบบและวิธก ี ารในการประเมินผลการปฏิบต ั งิ านของ หน่วยงานภาครัฐ รวมถึงการสนับสนุนและผลักดันให ้การปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายข ้อมูลข่าวสารของหน่วยงานภาครัฐเป็ นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ เพือ ่ ให ้เป็ นไปตามมติคณะรัฐมนตรี (11 เมษายน 2549 และ 1 กรกฎาคม 2551) ทีใ่ ห ้หน่วยงานของรัฐ


9 ถือปฏิบต ั ใิ นการนํ าเรือ ่ งการจัดระบบและดําเนินการเกีย ่ วกับการเปิ ดเผยข ้อมูลข่าวสารและการสนับสนุนส่งเสริมการมีสว่ นร่วม ของประชาชนเป็ นหนึง่ ในตัวชีว้ ด ั (KPI) ประสิทธิภาพของหน่วยงานของรัฐทุกแห่ง โดยมอบหมายให ้คณะกรรมการข ้อมูล ข่าวสารของราชการและสํานักงานคณะกรรมการข ้อมูลข่าวสารของราชการเป็ นองค์กรหลักในการติดตามประเมินผลความ โปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ ดังนัน ้ จึงเห็นสมควรนํ าเกณฑ์มาตรฐานและตัวชีว้ ด ั ความโปร่งใสทีก ่ ําหนดภายใต ้ พระราชบัญญัตข ิ ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ให ้หน่วยงานต่าง ๆ นํ าไปทดลองปฏิบต ั เิ พือ ่ ให ้การบริหารจัดการข ้อมูล ข่าวสารและการเปิ ดเผยข ้อมูลข่าวสารเป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานและตัวชีว้ ัด ดังกล่าวอย่างมีมาตรฐานและแนวทางเดียวกัน รวมทัง้ ให ้หน่วยงานสามารถประเมินผลการดําเนินการตามมาตรฐานและตัวชีว้ ัดโดยอัตโนมัตข ิ องตนเองได ้จากระบบ ประเมินผลตัวชีว้ ด ั (KPI Management) ทีส ่ ํานักงานคณะกรรมการข ้อมูลข่าวสารของราชการสร ้างขึน ้ ซึง่ จะช่วยส่งเสริมให ้ ประชาชนสามารถตรวจสอบการปฏิบต ั ห ิ น ้าทีข ่ องหน่วยงานภาครัฐได ้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน ้ 2. ในปี 2554 สปน. จะจัดให ้มีโครงการหน่วยงานนํ าร่องในการปฏิบต ั ต ิ ามเกณฑ์มาตรฐานและตัวชีว้ ด ั ความ โปร่งใสทีก ่ ําหนดภายใต ้พระราชบัญญัตข ิ ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ก่อน โดยจะเปิ ดรับสมัครหน่วยงานนํ าร่อง และทําการอบรมให ้ความรู ้อย่างเข ้มข ้นเกีย ่ วกับเกณฑ์มาตรฐานตัวชีว้ ัดความโปร่งใส และระบบสารสนเทศในการบริหาร จัดการข ้อมูลตามเกณฑ์มาตรฐานและตัวชีว้ ัดความโปร่งใสภายใต ้พระราชบัญญัตข ิ ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ที่ จัดทําขึน ้ เพือ ่ ให ้หน่วยงานนํ าร่องมีความรู ้ความเข ้าใจและสามารถนํ าไปปฏิบต ั ไิ ด ้อย่างถูกต ้อง และสามารถรายงานผลการ ปฏิบต ั ต ิ ามเกณฑ์มาตรฐานผ่านระบบสารสนเทศฯ ได ้ นอกจากนีร้ ะบบสารสนเทศดังกล่าว จะช่วยให ้ผู ้บังคับบัญชาสามารถ ตรวจสอบได ้ด ้วยตนเองว่าหน่วยงานของตนมีความพร ้อมในแต่ละด ้านเพียงใด รวมทัง้ เป็ นการยกระดับมาตรฐานการ ปฏิบต ั งิ านด ้านการให ้บริการแก่ประชาชนบนพืน ้ ฐานของความเท่าเทียมและมีมาตรฐานเป็ นหนึง่ เดียว อีกทัง้ ยังเป็ นการเตรียม ความพร ้อมในการรองรับการตรวจประเมินของหน่วยงานทีม ่ อ ี ํานาจหน ้าทีใ่ นการตรวจประเมินตามกฎหมายอืน ่ ด ้วย 3. เพือ ่ กระตุ ้นความสนใจและสร ้างความขวัญกําลังใจแก่หน่วยงานของรัฐในการปฏิบต ั ต ิ ามพระราชบัญญัต ิ ข ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 จึงได ้พิจารณากําหนดให ้หน่วยงานทีส ่ มัครใจเป็ นหน่วยงานนํ าร่องทีส ่ ามารถ ดําเนินการตามเกณฑ์มาตรฐานและตัวชีว้ ัดความโปร่งใสฯ ได ้เกินระดับทีก ่ ําหนดในแต่ละเกณฑ์มาตรฐานครบ 1 ปี เป็ น หน่วยงานทีจ ่ ะได ้รับโล่รางวัลโดยนายกรัฐมนตรีเป็ นผู ้มอบรางวัล ่ ารแข่งข ันกีฬาเอเชย ี่ นเกมส ์ ครงที 12. เรือ ่ ง รายงานผลการดาเนินงานตามโครงการผลไม้ไทยคุณภาพสูก ั้ ่ 16 ่ ารแข่งขันกีฬา คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานผลการดําเนินงานตามโครงการผลไม ้ไทยคุณภาพสูก ่ นเกมส์ ครัง้ ที่ 16 ตามทีก เอเชีย ่ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) รายงานว่า ่ นเกมส์ ครัง้ ที่ 1. นายกรัฐมนตรีได ้เห็นชอบให ้มีการนํ าผลไม ้ไทยไปร่วมสนับสนุนการจัดแข่งขันกีฬาเอเชีย 16 ณ นครกวางโจว มณฑลกวางตุ ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 12 – 27 พฤศจิกายน 2553 พร ้อมทัง้ มอบหมาย ให ้ กษ. รับผิดชอบในการจัดหาผลไม ้คุณภาพดีได ้มาตรฐานเพือ ่ มอบให ้สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึง่ กษ.ได ้มีคําสัง่ ที่ ่ นเกมส์ ครัง้ ที่ 175/2553 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2553 แต่งตัง้ คณะทํางานเตรียมการนํ าผลไม ้เข ้าร่วมในการแข่งขันกีฬาเอเชีย 16 โดยมีนายธรรมรัต หวั่งหลี ทีป ่ รึกษารัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็ นประธานคณะทํางานและมีผู ้แทน หน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้องของ กษ. กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการคลัง เข ้าร่วมพิจารณาวางแผนการ ดําเนินการนํ าผลไม ้ไทยเข ้าไปเลีย ้ งรับรองและมอบเป็ นของขวัญแก่แขกบุคคลสําคัญทีเ่ ข ้าร่วมพิธเี ปิ ดการแข่งขันกีฬา ่ นเกมส์ ทํากิจกรรมประชาสัมพันธ์ผลไม ้ไทยผลไม ้ เอเชีย ่ นเกมส์ ครัง้ ที่ 16 รวมทัง้ ได ้ร่วมกันกําหนดชนิดผลไม ้ทีจ เอเชีย ่ ะ ส่งไปใช ้ในกิจกรรมครัง้ นี้ รวม 10 ชนิด ปริมาณ 5 ตัน และสํานัก งบประมาณได ้อนุมต ั ใิ ห ้กรมส่งเสริมการเกษตร กษ. เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 งบกลาง รายการเงินสํารองจ่ายเพือ ่ กรณีฉุกเฉินหรือจําเป็ น รวม 11,005,900 บาท เพือ ่ เป็ นค่าใช ้จ่ายในการดําเนินงานโครงการฯ โดยความเห็นชอบของนายกรัฐมนตรี 2. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พร ้อมคณะผู ้บริหารระดับสูงของ กษ. ได ้เดินทางเยือนนคร กวางโจว ระหว่างวันที่ 9 – 13 พฤศจิกายน 2553 เพือ ่ เข ้าร่วมพิธส ี ง่ มอบผลไม ้และข ้าวหอมมะลิไทย รวมทัง้ หารือความ ร่วมมือด ้านการเกษตรกับนครกวางโจว เป็ นสักขีพยานการลงนามความร่วมมือทางการค ้าผลไม ้และความร่วมมือทางวิชาการ ้ 8 ฉบับ ซึง่ เกีย ด ้านการเกษตรระหว่างจีนและไทย รวมทัง้ สิน ่ วข ้องกับ กษ.จํานวน 2 ฉบับ คือ 1) หนังสือแสดงเจตจํานง


10 ความร่วมมือด ้านการวิจัยและฝึ กอบรมการเกษตรระหว่างสํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) กับศูนย์ ส่งเสริมเทคนิคด ้านการเกษตร นครกวางโจว 2) หนังสือแสดงเจตจํานงว่าด ้วยการตลาดสําหรับผลไม ้ไทย – นครกวางโจว ระหว่างองค์การตลาดเพือ ่ เกษตรกร (อตก.) กับบริษัทค ้าส่งผักและผลไม ้ตลาดเจียงหนาน ประชาสัมพันธ์ผลไม ้ไทย ณ ห ้างสรรพสินค ้าโลตัสซานหยวนหลี่ นครกวางโจว เยีย ่ มชมหน่วยงานตรวจสอบคุณภาพของการนํ าเข ้าผลไม ้ (China EntryExit Inspection and Quarantine : CIQ) กวางตุ ้ง และเยีย ่ มชมตลาดเจียงหนาน ซึง่ เป็ นตลาดค ้าส่งผักและผลไม ้ทีใ่ หญ่ ทีส ่ ด ุ ในภาคใต ้ของจีน 3. กษ. เห็นว่าการส่งผลไม ้และข ้าวหอมมะลิไทยไปให ้การรับรองบุคคลสําคัญทีเ่ ข ้าร่วมในพิธเี ปิ ดการ ่ นเกมส์ ครัง้ ที่ 16 นี้ เป็ นส่วนหนึง่ ทีท แข่งขันกีฬา เอเชีย ่ ําให ้ผลไม ้และข ้าวหอมมะลิของไทยเป็ นทีร่ ู ้จัก ยอมรับ และเกิดความ ต ้องการบริโภคมากขึน ้ จึงเห็นควรให ้ กษ. และหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้องดําเนินกิจกรรมส่งเสริมการตลาดและการบริโภคผลไม ้ ไทยให ้มากขึน ้ เพือ ่ ให ้เกิดการยอมรับทัง้ ด ้านคุณภาพมาตรฐานผลไม ้ ประโยชน์ของสินค ้าเกษตรและอาหารไทยในโอกาส ต่อไป ต่างประเทศ 13. เรือ ่ ง การดาเนินการตามข้อมติคณะมนตรีความมน ่ ั คงแห่งสหประชาชาติเกีย ่ วก ับการควา ่ บาตร สาธารณร ัฐประชาธิปไตยคองโก คณะรัฐมนตรีเห็นชอบรับรองการดําเนินการตามข ้อมติคณะมนตรีความมัน ่ คงแห่งสหประชาชาติ ที่ 1952 (ค.ศ. 2010) เกีย ่ วกับการควํ่าบาตรสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ขยายมาตรการควํา่ บาตรสาธารณรัฐประชาธิปไตย คองโก ออกไปจนถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554) เพือ ่ ให ้หน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้อง ได ้แก่ กระทรวงกลาโหม กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย สํานักงานสภาความมัน ่ คงแห่งชาติ สํานักข่าวกรองแห่งชาติ สํานักงานตํารวจ แห่งชาติ สํานักงานป้ องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และธนาคารแห่งประเทศไทย ถือปฏิบต ั ต ิ อ ่ ไป โดย สอดคล ้องกับกฎหมายภายในของไทย รวมทัง้ แจ ้งผลการดําเนินงานในส่วนทีเ่ กีย ่ วข ้องให ้กระทรวงการต่างประเทศทราบเพือ ่ ประโยชน์ในการรายงานต่อสหประชาชาติตอ ่ ไปด ้วย ตามทีก ่ ระทรวงการต่างประเทศเสนอ ึ ษาระหว่างไทยและอินโดนีเซย ี 14. เรือ ่ ง การจ ัดทาบ ันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านการศก คณะรัฐมนตรีเห็นชอบและอนุมต ั ต ิ ามทีก ่ ระทรวงศึกษาธิการเสนอ ทัง้ 3 ข ้อ ดังนี้ 1. เห็นชอบการจัดทําบันทึกความเข ้าใจด ้านการศึกษาระหว่างไทยและอินโดนีเซีย 2. อนุมต ั ใิ ห ้รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการเป็ นผู ้ลงนามฝ่ ายไทย 3. หากมีความจําเป็ นต ้องปรับปรุงแก ้ไขร่างบันทึกความเข ้าใจดังกล่าวทีไ่ ม่ใช่สาระสําคัญหรือไม่ขด ั ต่อ ผลประโยชน์ของไทย ให ้กระทรวงศึกษาธิการดําเนินการได ้ โดยไม่ต ้องนํ าเสนอคณะรัฐมนตรีเพือ ่ พิจารณาอีก สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) รายงานว่า 1. ในการประชุมคณะกรรมาธิการร่วมไทย-อินโดนีเซีย ครัง้ ที่ 6 เมือ ่ วันที่ 11 มิถน ุ ายน 2550 ณ กรุงเทพมหานคร ทีป ่ ระชุมได ้สนับสนุนให ้มีการจัดทําบันทึกความเข ้าใจด ้านการศึกษา (MOU) ระหว่างกัน เนือ ่ งจาก กระทรวงศึกษาธิการไทยและกระทรวงศึกษาธิการแห่งชาติอน ิ โดนีเซียมีการดําเนินกิจกรรมความร่วมมือทางด ้านการศึกษา ระหว่างกันในทุกระดับอย่างต่อเนือ ่ ง 2. เมือ ่ ปี พ.ศ. 2552 สถานเอกอัครราชทูตอินโดนีเซียได ้เสนอร่างบันทึกความเข ้าใจฯ ให ้ กระทรวงศึกษาธิการไทยพิจารณา โดย ศธ.ได ้ขอความร่วมมือหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้องในสังกัดพิจารณาประเด็นความร่วมมือ ด ้านการศึกษาระหว่างประเทศไทย และอินโดนีเซีย และได ้ส่งให ้กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) พิจารณาในเดือนสิงหาคม 2552 ซึง่ ศธ. ได ้มีการปรับแก ้ไขตามข ้อเสนอของ กต. และส่งให ้ฝ่ ายอินโดนีเซียพิจารณาในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ทัง้ นี้ ฝ่ ายอินโดนีเซียแจ ้งให ้ความเห็นชอบในร่างบันทึกความเข ้าใจฯ ในเดือนกันยายน 2553 โดยมีการปรับแก ้ไขข ้อความบางส่วน ซึง่ ไม่ใช่สาระสําคัญ ึ ษาแห่ง 3. ในปี 2554 กระทรวงศึกษาธิการของบรูไน ดารุสซาลาม จะเป็ นเจ ้าภาพจัดประชุมสภารัฐมนตรีศก ึ ษาของอาเซียน ครัง้ ที่ 6 ระหว่างวันที่ 26 – 29 เอเชียตะวันออกเฉียงใต ้ ครัง้ ที่ 46 ซึง่ จัดขึน ้ คูข ่ นานกับการประชุมรัฐมนตรีศก


11 ึ ษาของกลุม มกราคม 2554 ซึง่ เป็ นการประชุมระดับรัฐมนตรีศก ่ ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต ้ จํานวน 11 ประเทศ รวมทัง้ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการจากประเทศอินโดนีเซียและไทยด ้วย จึงนับว่าเป็ นโอกาสดีหากรัฐมนตรีจากทัง้ สอง ประเทศจะได ้มีการลงนามในบันทึกความเข ้าใจฯ ในช่วงเวลาดังกล่าว 4. ร่างบันทึกความเข ้าใจฯ มีวัตถุประสงค์เพือ ่ ใช ้เป็ นกรอบในการดําเนินความร่วมมือด ้านการศึกษาระหว่าง สองประเทศให ้บังเกิดผลเป็ นรูปธรรมและเกิดประโยชน์สงู สุดต่อการพัฒนาความร่วมมือด ้านการศึกษาระหว่างกัน โดยมี สาระสําคัญเกีย ่ วกับการพัฒนาเครือข่ายและการแลกเปลีย ่ นระหว่างผู ้บริหารการศึกษา เจ ้าหน ้าทีร่ ะดับสูง นักวิจัย ครู และ ่ การเรียนการสอน สือ ่ สิง่ พิมพ์ ข ้อมูลข่าวสาร การสอนภาษา การศึกษาดูงาน การฝึ กอบรม นักเรียน รวมถึงการแลกเปลีย ่ นสือ และการวิจัยในสาขาทีม ่ ค ี วามสนใจร่วมกัน 15. เรือ ่ ง การประชุม International Forum on Tiger Conservation คณะรัฐมนตรีรับทราบผลการประชุม International Forum on Tiger Conservation และเห็นชอบ มอบหมายให ้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อมเป็ นหน่วยงานหลักในการดําเนินงานตามแผนฟื้ นฟูประชากรเสือ โคร่งของโลกและปฏิญญาเซนต์ปีเตอร์สเบิรก ์ ทีป ่ ระเทศไทยได ้ร่วมให ้การรับรองในการประชุมดังกล่าว ตามทีก ่ ระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อมเสนอ สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อม (ทส.) รายงานว่า 1. ตามมติคณะรัฐมนตรี (2 พฤศจิกายน 2553) นายกรัฐมนตรีได ้มอบหมายให ้รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อมเป็ นผู ้แทนเข ้าร่วมการประชุม International Forum on Tiger Conservation ระหว่าง วันที่ 21 – 24 พฤศจิกายน 2553 ณ นครเซนต์ปีเตอร์สเบิรก ์ สหพันธ์รัฐรัสเซีย สรุปสาระสําคัญได ้ ดังนี้ 1.1 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อมได ้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรี ให ้ทําหน ้าทีห ่ วั หน ้าคณะผู ้แทนไทยในการประชุมสุดยอดผู ้นํ าด ้านการอนุรักษ์เสือโคร่งในครัง้ นี้ โดยได ้รับเกียรติอย่างสูงจาก สหพันธรัฐรัสเซีย และธนาคารโลกให ้เป็ นประธานกล่าวนํ าสรุปความเป็ นมาและเชิญรัฐมนตรีสงิ่ แวดล ้อมของประเทศต่าง ๆ ขึน ้ รายงานข ้อมูลของแต่ละประเทศ 1.2 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อมได ้แลกเปลีย ่ นประสบการณ์กบ ั นายก รัฐมนตรีแห่งสหพันธรัฐรัสเซีย ประเทศจีน ลาว เนปาล และบังคลาเทศ โดยเฉพาะเรือ ่ งแนวทางการสร ้างความร่วมมือให ้ ชุมชนรอบป่ ามีสว่ นร่วมอนุรักษ์ เสือโคร่ง ซึง่ นายกรัฐมนตรีแห่งสหพันธรัฐรัสเซียได ้เชิญชวนทุกประเทศร่วมให ้การรับรอง ปฏิญญาเซนต์ปีเตอร์สเบิรก ์ ทีม ่ ส ี าระสําคัญหลัก ดังนี้ 1.2.1 เพือ ่ ร่วมมือกันเพิม ่ จํานวนประชากรเสือโคร่งในป่ าของประเทศทีเ่ ป็ นแหล่งอาศัยของ เสือโคร่งเป็ นสองเท่าภายในปี 2565 (12 ปี ข ้างหน ้า) 1.2.2 เพือ ่ ป้ องกันและคุ ้มครองพืน ้ ทีอ ่ าศัยของเสือโคร่งและอนุรักษ์ ความหลากหลายทาง ชีวภาพอย่างมีประสิทธิภาพ 1.2.3 เพือ ่ ร่วมกันแก ้ไขปั ญหาการลักลอบล่าและค ้าสัตว์ป่าทีผ ่ ด ิ กฎหมาย โดยสร ้างความ เข ้มแข็งให ้กับกฎหมายระดับชาติ ความร่วมมือทวิภาคี และความร่วมมือพหุภาคี เช่น เครือข่ายการบังคับใช ้กฎหมายเพือ ่ ป้ องกันการลักลอบค ้าสัตว์ป่าทีผ ่ ด ิ กฎหมายของอาเซียน (ASEAN-WEN) เครือข่ายการบังคับใช ้กฎหมายฯ ของเอเชียใต ้ (SA-WEN) 1.2.4 การสร ้างความเข ้มแข็งในเวทีนานาชาติเกีย ่ วกับความร่วมมือ การประสานงานเพือ ่ อนุรักษ์ เสือโคร่ง 1.3 สําหรับประเทศจีนทีท ่ ก ุ ประเทศจับตามอง เนือ ่ งจากเคยมีรายงานจากองค์การป้ องกันการค ้า สัตว์ป่าทีผ ่ ด ิ กฎหมายระหว่างประเทศ หรือ TRAFFIC ว่าเป็ นแหล่งค ้าเสือโคร่งทีผ ่ ด ิ กฎหมาย นายกรัฐมนตรีจน ี ได ้ให ้คํามัน ่ ว่า ้ ส่วนและอวัยวะจากเสือโคร่งโดยเด็ดขาดแล ้วและได ้ให ้ความสําคัญกับการ จีนได ้ออกกฎหมายมาตัง้ แต่ปี 2536 ห ้ามใช ้ชิน ป้ องกันการค ้าเสือโคร่งระหว่างประเทศอย่างจริงจังด ้วย 2. ประเทศไทยได ้รับประโยชน์จากการเข ้าร่วมประชุมครัง้ นี้ ดังนี้ ่ ชมและยกย่องในเวทีโลกว่าเป็ นประเทศผู ้นํ าทีส 2.1 ได ้รับการชืน ่ ําคัญในการอนุรักษ์เสือโคร่ง


12 2.2 มีแผนการอนุรักษ์ และฟื้ นฟูประชากรเสือโคร่งทีม ่ ม ี าตรฐานระดับสากลและแผนดังกล่าวได ้รับ ความเห็นชอบแล ้วตามมติคณะรัฐมนตรี (16 พฤศจิกายน 2553) 2.3 ได ้แลกเปลีย ่ นและเผยแพร่องค์ความรู ้ด ้านการจัดการ การอนุรักษ์ และการวิจัยสัตว์ป่าในการใช ้ ข ้อมูลทางวิทยาศาสตร์ในการวางแผนการบริหารจัดการพืน ้ ทีป ่ ่ าอนุรักษ์ และติดตามประชากรเสือโคร่ง จนเป็ นทีย ่ อมรับใน ระดับสากลกับนักบริหารและนักอนุรักษ์ ระดับโลก 2.4 ได ้รับการสนับสนุนการดําเนินงานเพือ ่ อนุรักษ์ และฟื้ นฟูประชากรเสือโคร่ง และสัตว์ป่าทีส ่ ําคัญ ชนิดอืน ่ ๆ ตามแผนปฏิบต ั ก ิ ารฯ ทีจ ่ ด ั ทําไว ้ จากธนาคารโลกและองค์กรอนุรักษ์ ระดับโลก 2.5 เป็ นทีต ่ งั ้ ของศูนย์วจ ิ ัยและอนุรักษ์ เสือโคร่งระดับภูมภ ิ าคเพือ ่ เป็ นศูนย์กลางในการวิจัยฝึ กอบรม และเผยแพร่องค์ความรู ้ด ้านการอนุรักษ์ และวิจัยด ้านเสือโคร่งในภูมภ ิ าคเอเชีย 2.6 มีการหารือทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพือ ่ นบ ้านในการสร ้างความร่วมมือการอนุรักษ์ พืน ้ ทีป ่ ่ าระหว่างประเทศตามแนวชายแดน โดยเฉพาะโครงการอนุรักษ์ พน ื้ ทีป ่ ่ าบริเวณสามเหลีย ่ มมรกต ชายแดนไทย ลาว และกัมพูชา ชายแดนไทย-เมียนม่าร์ และชายแดนไทย-มาเลเซีย เรือ ่ งทีค ่ ณะร ัฐมนตรีร ับทราบเพือ ่ เป็นข้อมูล ้ ฐานของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2553 16. เรือ ่ ง รายงานด ัชนีราคาผูบ ้ ริโภคทว่ ั ไปและด ัชนีราคาผูบ ้ ริโภคพืน คณะรัฐมนตรีรับทราบข ้อมูลรายงานดัชนีราคาผู ้บริโภคทัว่ ไปและดัชนีราคาผู ้บริโภคพืน ้ ฐานของประเทศ เดือนพฤศจิกายน 2553 ของกระทรวงพาณิชย์ สรุปได ้ดังนี้ สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงพาณิชย์รายงานดัชนีราคาผู ้บริโภคเดือนพฤศจิกายน2553 เท่ากับ 108.75 โดยเพิม ่ สูงขึน ้ จากเดือน เดียวกันของปี ทผ ี่ า่ นมาร ้อยละ 2.8 เป็ นการเพิม ่ ขึน ้ ในอัตราทีเ่ ท่ากับเดือนตุลาคมทีผ ่ า่ นมา (ซึง่ สูงขึน ้ ร ้อยละ 2.8 ) ถือว่าเป็ น การขยายตัวในระดับทีเ่ หมาะสมกับเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของไทย โดยเฉลีย ่ 11 เดือนแรกของปี 2553 นี้ เพิม ่ สูงขึน ้ ร ้อย ละ 3.4 ซึง่ อยูใ่ นช่วงทีก ่ ระทรวงพาณิชย์คาดการณ์ไว ้ตัง้ แต่ต ้นปี (โดยคาดว่าปี นจ ี้ ะเพิม ่ ขึน ้ ระหว่าง ร ้อยละ 3.0 - 3.5 ) การฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจไทยจากภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าของโลกแสดงให ้เห็นถึงความแข็งแกร่งและโครงสร ้าง พืน ้ ฐานเศรษฐกิจทีด ่ ข ี องไทย โดยอัตราการเปลีย ่ นแปลงดัชนีราคาผู ้บริโภคเทียบกับเดือนเดียวกันของปี ทผ ี่ า่ นมาปรับตัวเข ้า ่ าวะทีม สูภ ่ เี สถียรภาพเป็ นลําดับตัง้ แต่เดือน ต.ค. 2552 ระดับร ้อยละ 3.5 ในเดือนพ.ค. สําหรับเดือน มิ.ย., ก.ค., ส.ค., ก.ย. และ ต.ค. ร ้อยละ 3.3, 3.4, 3.3, 3.0, 2.8 จนถึงเดือน พ.ย. ร ้อยละ2.8 แสดงให ้เห็นว่าภาวะเศรษฐกิจของไทยเติบโตมี เสถียรภาพดีอย่างต่อเนือ ่ ง แม ้ว่าช่วงสัปดาห์ท ี่ 3 และ 4 ของเดือนตุลาคม เกิดอุทกภัยหลายแห่งทั่วประเทศไทย แต่เนือ ่ งจากเศรษฐกิจ ของไทยมีเสถียรภาพดีและอยูใ่ นช่วงฤดูกาลของผลผลิตสินค ้าการเกษตรโดยเฉพาะผักและผลไม ้ ตลอดจนปั ญหาอุทกภัย เริม ่ คลีค ่ ลายลงในหลายพืน ้ ทีข ่ องประเทศ ส่งผลให ้ราคาสินค ้าโดยเฉพาะกลุม ่ อาหารสดในเดือนพฤศจิกายนปรับตัวเข ้าสู่ ภาวะปกติ ดัชนีราคาผู ้บริโภคในเดือนพฤศจิกายน 2553 เทียบกับเดือนตุลาคมทีผ ่ า่ นมาสูงขึน ้ ร ้อยละ 0.21 โดยมี ผลกระทบมาจากข ้าวแป้ งและผลิตภัณฑ์จากแป้ ง สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.25 ผักสด ลดลงร ้อยละ 2.03 ผลไม ้สด ลดลงร ้อยละ 0.31 ปลาและสัตว์นํ้า สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.77 เครือ ่ งประกอบอาหาร สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.67 ขณะทีข ่ องใช ้ส่วนบุคคล สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.18 ้ เพลิง สูงขึน เนือ ้ สัตว์ตา่ งๆ ลดลงร ้อยละ 0.09 ไข่ไก่ สูงขึน ้ ร ้อยละ 1.22 นอกจากนีร้ าคานํ้ ามันเชือ ้ ร ้อยละ 1.97 และสินค ้าใน หมวดเคหสถาน ลดลงร ้อยละ 0.04 มาตรการช่วยเหลือค่าครองชีพของรัฐบาลได ้แก่ ค่าไฟฟ้ า รถเมล์ฟรี การตรึงราคาแก๊สหุงต ้ม และการ ช่วยเหลือค่าชุดนักเรียนและอุปกรณ์การเรียน และการดูแลราคาสินค ้าของกระทรวงพาณิชย์อย่างใกล ้ชิด ยังคงมีสว่ นช่วยทํา ให ้ค่าครองชีพของประชาชนให ้อยูใ่ นภาวะทีแ ่ สดงเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ้ ฐานของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2553 โดย ด ัชนีราคาผูบ ้ ริโภคทว่ ั ไปและด ัชนีราคาผูบ ้ ริโภคพืน สรุปเป็ นดังนี้


13 จากการสํารวจราคาสินค ้าและบริการทัว่ ประเทศจํานวน 417 รายการครอบคลุมหมวดอาหารและเครือ ่ งดืม ่ ่ สาร การบันเทิง การ เครือ ่ งนุ่งห่มและรองเท ้า เคหสถาน การตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล พาหนะ การขนส่งและการสือ อ่านการศึกษาและการศาสนา ยาสูบและเครือ ่ งดืม ่ มีแอลกอฮอล์ เพือ ่ นํ ามาคํานวณดัชนีราคาผู ้บริโภคทั่วไป ได ้ผลดังนี้ 1. ด ัชนีราคาผูบ ้ ริโภคทว่ ั ไปของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2553 ใน ปี 2550 ดัชนีราคาผู ้บริโภคทัว่ ไปของประเทศ เท่ากับ 100 และเดือนพฤศจิกายน 2553 เท่ากับ 108.75 (เดือน ตุลาคม 2553 คือ 108.52) 2. การเปลีย ่ นแปลงของด ัชนีราคาผูบ ้ ริโภคทว่ ั ไปของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2553 เมือ ่ เทียบ ก ับ 2.1 เดือนตุลาคม 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.21 2.2 เดือนพฤศจิกายน 2552 สูงขึน ้ ร ้อยละ 2.8 2.3 เฉลีย ่ ช่วงระยะ 11 เดือน (มกราคม - พฤศจิกายน ) ปี 2552 สูงขึน ้ ร ้อยละ 3.4 3. ดัชนีราคาผู ้บริโภคทั่วไปของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2553 เทียบกับ เดือนตุลาคม 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.21 (เดือนตุลาคม 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.03 ) เป็ นภาวะทีร่ าคาสินค ้าและบริการปรับตัวสูงขึน ้ เมือ ่ เทียบกับเดือนก่อนหน ้า โดยสินค ้าอาหารสดและสินค ้าอุปโภคทีร่ าคาปรับตัวสูงขึน ้ ได ้แก่ ข ้าวสารเหนียว ไข่ ไก่สด ปลาและสัตว์นํ้า เครือ ่ งปรุงอาหาร ้ เพลิง วัสดุกอ ้ ผ ้า ค่าของใช ้ส่วนบุคคลและสิง่ ทีเ่ กีย เครือ ่ งดืม ่ ไม่มแ ี อลกอฮอล์ ผักแปรรูปอืน ่ ๆ นํ้ ามันเชือ ่ สร ้าง ผ ้าและเสือ ่ วกับ ิ ค ้าราคาปรับตัวลดลง ได ้แก่ เนือ ทําความสะอาดในขณะทีส ่ น ้ สุกร ข ้าวสารเจ ้า ผักสดและผลไม ้สด นมและผลิตภัณฑ์นม ค่า อุปกรณ์การบันเทิงและเครือ ่ งบริภณ ั ฑ์อน ื่ ๆ 3.1 ดัชนีหมวดอาหารและเครือ ่ งดืม ่ สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.22 ( เดือนตุลาคม 2553 ลดลงร ้อยละ 0.39 ) สาเหตุสําคัญเป็ นผลจากราคาสินค ้าอาหารสดบางรายการมีระดับราคาสูงขึน ้ จากเดือนก่อนหน ้า ประกอบด ้วย ข ้าวสารเหนียว ร ้อยละ 1.52 ไข่ ร ้อยละ 1.16 ( ไข่ไก่ ไข่เป็ ด ไข่เค็ม ) จากภาวะผลผลิตไข่ไก่จากฟาร์มลดลงร ้อยละ10-20 เนือ ่ งจากแม่ไก่ ให ้ไข่น ้อยลงเป็ นผลกระทบจากสภาวะอากาศทีเ่ ปลีย ่ นแปลงฉั บพลันซึง่ เกิดขึน ้ ในเขตภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไก่สด ร ้อยละ 0.04 ปลาและสัตว์นํ้า ร ้อยละ 0.77 ( ปลาช่อน ปลาดุก ปลานิล ปลาทับทิม ) ผลกระทบต่อเนือ ่ งจากอุทกภัย ทําให ้ปลาและสัตว์นํ้าทีจ ่ ับได ้ลดลง เครือ ่ งปรุงอาหาร ร ้อยละ 1.46 ( นํ้ ามันพืช มะพร ้าวขูด นํ้ าปลา ซีอวิ๊ ซอสหอยนางรม ) เครือ ่ งดืม ่ ไม่มแ ี อลกอฮอล์ ร ้อยละ 0.02 ( เครือ ่ งดืม ่ รสชอกโกแลต นํ้ าผลไม ้ กาแฟร ้อน/เย็น กาแฟและชาสําเร็จรูปพร ้อมดืม ่ ) ผักแปรรูปอืน ่ ๆ ร ้อยละ 14.38 ( หัวหอมแดง กระเทียม ถั่วลิสง หน่อไม ้ต ้ม ) สําหรับสินค ้าทีร่ าคาปรับตัวลดลง ได ้แก่ เนือ ้ สุกร ร ้อยละ 0.35 ข ้าวสารเจ ้า ร ้อยละ 0.06 เป็ นผลจากสต๊อกข ้าวในประเทศของรัฐบาลและพ่อค ้ายังมีเหลืออยู่ ทําให ้พ่อค ้า ้ ผักสดและผลไม ้สด ร ้อยละ 2.03,0.31ได ้แก่ กะหลํา่ ปลี แตงกวา ผักกาดขาว ผักคะน ้า ผักชี มะนาว โรงสีชะลอราคารับซือ ต ้นหอม กล ้วยนํ้ าว ้า ส ้มเขียวหวาน ฝรั่ง เป็ นผลจากภาวะอุทกภัยเริม ่ คลีค ่ ลายลงในหลายพืน ้ ทีข ่ องประเทศ การขนส่งผลผลิต ่ ลาดมากขึน สินค ้าเกษตรจากแหล่งเพาะปลูกเริม ่ ดีขน ึ้ และเป็ นช่วงฤดูกาลของผักและผลไม ้บางชนิด ทําให ้ผลผลิตเข ้าสูต ้ นม และผลิตภัณฑ์นม ร ้อยละ 0.09 ( นมเปรีย ้ ว ครีมเทียม ) 3.2 ดัชนีหมวดอืน ่ ๆ ไม่ใช่อาหารและเครือ ่ งดืม ่ สูงขึน ้ ร ้อยละ0.20 (เดือนตุลาคม 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.28) ้ เพลิงในประเทศโดยเฉลีย สาเหตุสําคัญเป็ นผลกระทบจากราคาขายปลีกนํ้ ามันเชือ ่ ปรับสูงขึน ้ เมือ ่ เทียบกับเดือนก่อนหน ้า ร ้อย ละ 1.97 วัสดุกอ ่ สร ้าง ร ้อยละ 0.40 ( ปูนซีเมนต์ อิฐ และค่าแรงช่างไฟฟ้ า) จากภาวะอุทกภัยทําให ้ความต ้องการสินค ้าวัสดุ ้ ผ ้า ร ้อยละ 0.11 ( เสือ ้ บุรษ ้ สตรี เสือ ้ เด็ก ) ของใช ้ส่วนบุคคลและสิง่ ทีเ่ กีย ก่อสร ้างมีมากกว่าภาวะปกติ ผ ้าและเสือ ุ เสือ ่ วกับทํา ความสะอาด (ยาสีฟัน นํ้ าหอม ผลิตภัณฑ์ป้องกันและบํารุงผิว กระดาษชําระ ผงซักฟอก นํ้ ายาล ้างจาน นํ้ ายารีดผ ้า ) สําหรับ สินค ้าทีร่ าคาปรับตัวลดลงได ้แก่ ค่าอุปกรณ์การบันเทิง ร ้อยละ 0.02 ( เครือ ่ งรับโทรทัศน์ เครือ ่ งเล่นเทป-ดิสก์ เครือ ่ ง คอมพิวเตอร์ ) ค่าเช่าบ ้าน ร ้อยละ 0.09 และเครือ ่ งบริภณ ั ฑ์อน ื่ ๆ ร ้อยละ 0.20 ( พัดลม เครือ ่ งปรับอากาศ เครือ ่ งซักผ ้า ) 4. ถ ้าพิจารณาดัชนีเทียบกับเดือนพฤศจิกายน 2552 สูงขึน ้ ร ้อยละ 2.8 เป็ นการสูงขึน ้ ในอัตราทีส ่ งู ขึน ้ ต่อเนือ ่ งเป็ นเดือนที่ 14 สาเหตุสําคัญมาจากการสูงขึน ้ ของดัชนีหมวดอาหารและเครือ ่ งดืม ่ สูงขึน ้ ร ้อยละ 5.8 ได ้รับผลกระทบ มาจาก ดัชนีหมวด ข ้าว แป้ งและผลิตภัณฑ์จากแป้ ง ร ้อยละ 10.9 เนือ ้ สัตว์ เป็ ด ไก่ และสัตว์นํ้า ร ้อยละ 3.7 ไข่และ ผลิตภัณฑ์นม ร ้อยละ 3.4 ผักและผลไม ้ ร ้อยละ 24.5 เครือ ่ งประกอบอาหาร ร ้อยละ 4.0 เครือ ่ งดืม ่ ไม่มแ ี อลกอฮอล์ ร ้อยละ 1.1 และอาหารสําเร็จรูป ร ้อยละ 1.0 รวมทัง้ ผลกระทบจากดัชนีหมวดอืน ่ ๆ ไม่ใช่อาหารและเครือ ่ งดืม ่ ได ้แก่ หมวดพาหนะการ ่ สาร ร ้อยละ 0.9 (ยานพาหนะและนํ้ ามันเชือ ้ เพลิง) หมวดเคหสถาน ร ้อยละ 2.0 (ค่าเช่าบ ้าน ค่านํ้ าประปา ) ขนส่ง และการสือ


14 หมวดการตรวจรักษาและบริการ ส่วนบุคคล ร ้อยละ 0.6 (ค่ายาและเวชภัณฑ์ ค่าของใช ้ส่วนบุคคล ) หมวดการบันเทิง การ อ่าน การศึกษาและการศาสนา ร ้อยละ 0.5 (การบันเทิง การอ่านและการศึกษา)และหมวดเครือ ่ งนุ่งห่มและรองเท ้า ร ้อยละ ้ ผ ้า ) 0.1 ( ผ ้าและเสือ 5. ถ ้าพิจารณาดัชนีเฉลีย ่ เทียบกับช่วงระยะ11 เดือน (มกราคม - พฤศจิกายน ) ปี 2552 สูงขึน ้ ร ้อยละ 3.4 ้ เพลิง ร ้อยละ 14.7 ค่านํ้ าประปา ร ้อยละ 44.8 ค่ากระแสไฟฟ้ า ร ้อยละ1.2 สาเหตุสําคัญมาจากการสูงขึน ้ ของราคานํ้ ามันเชือ ผลิตภัณฑ์ยาสูบ ร ้อยละ 7.8 เครือ ่ งดืม ่ มีแอลกอฮอล์ ร ้อยละ 3.4 และค่าเช่าบ ้าน ร ้อยละ 0.3 และจากดัชนีหมวดอืน ่ ๆ ไม่ใช่ อาหารและเครือ ่ งดืม ่ สูงขึน ้ ร ้อยละ 2.1 ในขณะทีด ่ ัชนีหมวดอาหารและเครือ ่ งดืม ่ สูงขึน ้ ร ้อยละ 5.3 เป็ นผลจากการสูงขึน ้ ของ ข ้าว แป้ งและผลิตภัณฑ์จากแป้ ง ร ้อยละ 10.3 เนือ ้ สัตว์ เป็ ดไก่และสัตว์นํ้า ร ้อยละ 3.5 ไข่และผลิตภัณฑ์นม ร ้อยละ 3.2 ผัก และผลไม ้ ร ้อยละ 24.4 เครือ ่ งประกอบอาหาร ร ้อยละ 2.7 เครือ ่ งดืม ่ ไม่มแ ี อลกอฮอล์ ร ้อยละ 1.2 และอาหารสําเร็จรูป ร ้อยละ 0.9 เป็ นสําคัญ 6. ดัชนีราคาผู ้บริโภคพืน ้ ฐานของประเทศ (คํานวณจากรายการสินค ้าและบริการ 300 รายการ) คือ ดัชนี ราคาผู ้บริโภคทัว่ ไปของประเทศทีห ่ ักรายการสินค ้ากลุม ่ อาหารสด และกลุม ่ พลังงานจํานวน 117 รายการ คิดเป็ นประมาณร ้อย ละ 24 ของสัดส่วนค่าใช ้จ่ายทัง้ หมด ดัชนีราคาผู ้บริโภคพืน ้ ฐานของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2553 เท่ากับ 103.85 เมือ ่ เทียบกับ 6.1 เดือนตุลาคม 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.02 6.2 เดือนพฤศจิกายน 2552 สูงขึน ้ ร ้อยละ 1.1 6.3 เฉลีย ่ ช่วงระยะ 11 เดือน (มกราคม - พฤศจิกายน) ปี 2552 สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.9 ดัชนีราคาผู ้บริโภคพืน ้ ฐานของประเทศ เดือนพฤศจิกายน 2553 เมือ ่ เทียบกับเดือนตุลาคม 2553 สูงขึน ้ ร ้อย ละ 0.02 ( เดือนตุลาคม 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.11)โดยมีผลกระทบมาจากราคาสินค ้าหลายชนิดปรับตัวทัง้ สูงขึน ้ และลดลง ิ ค ้าทีม สินค ้าทีม ่ รี าคาสูงขึน ้ ได ้แก่ วัสดุกอ ่ สร ้าง สิง่ ทีเ่ กีย ่ วกับทําความสะอาดและค่าของใช ้จ่ายส่วนบุคคล ขณะทีส ่ น ่ รี าคา ลดลง ได ้แก่คา่ อุปกรณ์การบันเทิง ค่าเช่าบ ้านและเครือ ่ งบริภณ ั ฑ์อน ื่ ๆ 17. เรือ ่ ง สรุปสถานการณ์ภ ัยพิบ ัติดา้ นการเกษตรปี 2553 ครงที ั้ ่ 46 คณะรัฐมนตรีรับทราบข ้อมูลสรุปสถานการณ์ภย ั พิบต ั ด ิ ้านการเกษตรปี 2553 ครัง้ ที่ 46 ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2553 ประกอบด ้วย สถานการณ์ภย ั พิบต ั ด ิ ้านการเกษตร สถานการณ์นํ้า การช่วยเหลือด ้านการเกษตร ความก ้าวหน ้าการช่วยเหลือ เกษตรกรผู ้ประสบอุทกภัยปี 2553 กรณีพเิ ศษ และการช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยางพาราทีไ่ ด ้รับความเสียหายจากอุทกภัย วาต ภัย และดินถล่มของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สรุปได ้ดังนี้ สถานการณ์อท ุ กภ ัย ไม่ม ี สถานการณ์นา้ 1. สภาพนา้ ในอ่างเก็ บนา้ สภาพนํ้ าในอ่างเก็บนํ้ าขนาดใหญ่และขนาดกลางทัง้ ประเทศ (30 ธันวาคม 2553) มีปริมาณนํ้ าทัง้ หมด 53,267 ล ้านลูกบาศก์เมตร หรือคิดเป็ นร ้อยละ 72 ของความจุอา่ งเก็บนํ้ าขนาดใหญ่และขนาดกลางทัง้ หมด (ปริมาณนํ้ าใช ้ การได ้ 29,426 ล ้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็ นร ้อยละ 40 ของความจุอา่ ง) น ้อยกว่าปี 2552 (55,016 ล ้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็ น ร ้อยละ 75) จํานวน 1,749 ล ้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณนํ้ าไหลลงอ่างฯ จํานวน 42.36 ล ้าน ลบ.ม. ปริมาณนํ้ าระบาย จํ านวน 110.63 ล ้านลูกบาศก์เมตร สภาพนํ้ าในอ่างเก็บนํ้ าขนาดใหญ่ (30 ธันวาคม 2553) มีปริมาณนํ้ าทัง้ หมด 49,932 ล ้านลูกบาศก์เมตร หรือคิดเป็ นร ้อยละ 72 ของความจุอา่ งเก็บนํ้ าขนาดใหญ่ทัง้ หมด (ปริมาณนํ้ าใช ้การได ้ 26,409 ล ้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็ นร ้อย ละ 38 ของความจุอา่ ง) น ้อยกว่าปี 2552 (52,043 ล ้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็ นร ้อยละ 75) จํานวน 2,111 ล ้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณนํ้ าไหลลงอ่างฯ จํานวน 41.73 ล ้าน ลบ.ม. ปริมาณนํ้ าระบาย จํานวน 109.68 ล ้านลูกบาศก์เมตร


15

อ่างเก็ บนา้

1.ภูมพ ิ ล 2.สิรก ิ ต ิ ิ์ ภูมพ ิ ล+ สิรก ิ ต ิ ิ์ 3.แควน ้อยฯ

ั ิ ธิ์ สภาพนา้ ในอ่างเก็ บนา้ เขือ ่ นภูมพ ิ ล สริ ก ิ ต ิ ิ์ แควน้อยฯ และป่าสกชลส ท ้ ารได้ ปริมาณนา้ ไหลลง ปริมาตรนา้ ในอ่าง ปริมาตรนา้ ใชก ปริมาณนา้ ระบาย ฯ อ่างฯ % ปริมาตร ปริมาตร % ความจุ ความจุ ว ันนี้ เมือ ่ วาน ว ันนี้ เมือ ่ วาน นา้ นา้ อ่างฯ อ่างฯ 8,313 62 4,513 34 0.00 0.00 21.00 21.00 7,483 79 4,633 49 7.64 5.20 29.98 29.98 15,796 70 9,146 40 7.64 5.20 50.98 50.98 686

89

650

85

1.38

1.74

3.46

3.46

4.ป่ าสักชล 774 81 771 80 0.78 0.79 3.04 3.04 สิทธิ์ รวม 4 อ่างฯ 17,256 70 10,567 43 9.80 7.73 57.48 57.48 หน่วย : ล้านลูกบาศก์เมตร อ่างเก็บนา้ ทีอ ่ ยูใ่ นเกณฑ์นา้ น้อยกว่า ร้อยละ 30 ของความจุอา่ งฯ จานวน 1 อ่าง ้ าร ปริมาตรนา้ ใชก ได้ ปริมาตร % นา้ ความจุ อ่างฯ

ปริมาณนา้ ไหลลง อ่างฯ ว ันนี้ เมือ ่ วาน

ปริมาณนา้ ระบาย

อ่างเก็ บนา้

ปริมาตรนา้ ในอ่าง ฯ ปริมาตร % นา้ ความจุ อ่างฯ

ว ันนี้

เมือ ่ วาน

1.ปราณบุรี

96

38

0.12

0.22

0.22

28

หน่วย : ล้านลูกบาศก์เมตร

11

0.12


16 อ่างเก็ บนา้ ทีอ ่ ยูใ่ นเกณฑ์นา้ มากกว่าร้อยละ 80 ของความจุอา่ งฯ จานวน 18 อ่าง ดังนี้

อ่างเก็ บนา้

้ าร ปริมาตรนา้ ใชก ได้ ปริมาตร % นา้ ความจุ อ่างฯ 247 93 97 87 170 100

ปริมาณนา้ ไหลลง อ่างฯ ว ันนี้ เมือ ่ วาน

ปริมาณนา้ ระบาย ว ันนี้ เมือ ่ วาน

0.14 0.63 0.01

0.25 0.62 0.15

0.42 1.60 0.15

0.37 1.60 0.15

89

650

85

1.38

1.74

3.46

3.46

109 151 2,077 1,175 337

92 92 85 82 107

104 107 1,496 1,090 310

88 65 62 76 99

0.00 0.00 0.00 2.33 0.00

0.00 0.20 3.56 0.64 0.60

0.57 0.96 4.93 4.43 0.95

0.57 0.98 5.11 4.84 0.85

106

96

105

95

0.00

0.00

0.03

0.02

116 244 774 248

82 89 81 103

109 237 771 208

77 86 80 87

0.00 0.00 0.78 0.24

0.00 0.00 0.79 0.24

0.00 0.00 3.04 0.06

0.00 0.00 3.04 0.06

199 355

89 85

194 325

87 77

0.06 0.00

0.07 0.00

1.20 1.70

0.92 1.70

152

93

136

84

0.00

0.01

0.39

0.36

231

93

211

85

0.01

0.01

0.13

0.13

ปริมาตรนา้ ในอ่าง ฯ ปริมาตร % นา้ ความจุ อ่างฯ 269 102 101 90 176 104

1.แม่งัดฯ 2.กิว่ ลม 3.กิว่ คอ หมา 4.แควน ้อยฯ 686 5.ห ้วยหลวง 6.จุฬาภรณ์ 7.อุบลรัตน์ 8.ลําปาว 9. ลําตะ คอง 10.ลําพระ เพลิง 11.มูลบน 12.ลําแซะ 13.ป่ าสักฯ 14.กระ เสียว 15.ขุนด่านฯ 16.คลองสี ยัด 17.หนอง ปลาไหล 18.ประแสร์

หน่วย : ล้านลูกบาศก์เมตร 2. สภาพนา้ ท่า ปริมาณนํ้ าในแม่นํ้าปิ ง ชี และมูล ตามสถานีสํารวจปริมาณนํ้ าท่า กรมชลประทาน พบว่ามีปริมาณนํ้ าอยูใ่ น เกณฑ์ปกติ ยกเว้น แม่นํ้าวัง สถานี W.4A บริเวณบ ้านวังหมัน อําเภอสามเงา จังหวัดตาก แม่นํ้ายม สถานี Y.16 บ ้านบางระกํา อําเภอบางระกํา จังหวัดพิษณุโลก สถานี Y.17 บ ้านสามง่าม อําเภอสามง่าม จังหวัดพิจต ิ ร แม่นํ้าน่าน สถานี N.1 หน ้าสํานักงานป่ า ไม ้ อําเภอเมือง จังหวัดน่าน แม่นํ้าท่าตะเภา สถานี X.158 ทีส ่ ะพานบ ้านวังครก อําเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร ปริมาณนํ้ าอยูใ่ น เกณฑ์นํ้าน ้อย ปริมาณนํ้ าในแม่นํ้าเจ ้าพระยาไหลผ่านจังหวัดนครสวรรค์ 389 ลบ.ม./วินาที (ลดลงจากเมือ ่ วาน 24 ลบ. ม./วินาที) ปริมาณนํ้ าไหลผ่านเขือ ่ นเจ ้าพระยา 53 ลบ.ม./วินาที (ลดลงจากเมือ ่ วาน 8 ลบ.ม./วินาที)


17 รับนํ้ าเข ้าระบบส่งนํ้ าทุง่ ฝั่ งตะวันออก 138 ลบ.ม./วินาที (ลดลงจากเมือ ่ วาน 10 ลบ.ม./วินาที) และรับนํ้ าเข ้าระบบ ส่งนํ้ าทุง่ ฝั่ งตะวันตก 242 ลบ.ม./วินาที (ลดลงจากเมือ ่ วาน 2 ลบ.ม./วินาที) ปริมาณนํ้ าไหลผ่านเขือ ่ นพระรามหก 5 ลบ.ม./วินาที (เท่ากับเมือ ่ วาน) ่ ยเหลือด้านการเกษตร การชว การสน ับสนุนเครือ ่ งสูบนา้ เคลือ ่ นที่ จํานวน 221 เครือ ่ ง ในพืน ้ ที่ 19 จังหวัด ได ้แก่ ภาคเหนือ 1 จังหวัด จํานวน 1 เครือ ่ ง ภาคกลาง 11 จังหวัด 101 เครือ ่ ง ภาคใต ้ 7 จังหวัด จํานวน 119 เครือ ่ ง เครือ ่ งผลักดันนํ้ า 5 จังหวัด จํานวน 69 เครือ ่ ง ่ ยเหลือเกษตรกรผูป ความก้าวหน้าการชว ้ ระสบอุทกภ ัยปี 2553 กรณีพเิ ศษ เป็นเงิน ี หาย ความเสย ด้านพืช จ ังหว ัดประสบภ ัย จานวน 74 จ ังหว ัด พืน ้ ทีป ่ ระสบภัย 11.26 ล ้านไร่ แบ่งเป็ น ข ้าว 8.36 ล ้านไร่ พืชไร่ 1.87 ล ้านไร่ พืชสวนและอืน ่ ๆ 1.03 ล ้านไร่ ี หายสน ิ้ เชงิ (ณ ว ันที่ 24 ธ.ค. 53) จานวน 7.13 ล้านไร่ แบ่งเป็น ้ ทีเ่ สย สารวจแล้ว พบว่า เป็นพืน ้ 16,389.08 ล้าน ข้าว 5.88 ล้านไร่ พืชไร่ 0.89 ล้านไร่ พืชสวนและอืน ่ ๆ 0.36 ล้านไร่ คิดเป็ นวงเงินช่วยเหลือทัง้ สิน บาท ด้านประมง ั นา้ 179,161 ไร่ แบ่งเป็น ้ ทีเ่ พาะเลีย ้ งสตว์ จังหวัดประสบภัย จํานวน 68 จังหวัด สารวจแล้ว พบว่าพืน ั บ่อปลา 153,926 ไร่ บ่อกุง้ ปู หอย 25,235 ไร่ กระชง/บ่ อซเี มนต์ 466,885 ตารางเมตร เกษตรกร 124,299 ราย ้ 869.81 ล้านบาท คิดเป็ นวงเงินช่วยเหลือทัง้ สิน ั ด้านปศุสตว์ ั ตายและสูญ จังหวัดประสบภัย จํานวน 54 จังหวัด สารวจแล้ว (ข ้อมูล ณ วันที่ 22 ธ.ค. 53) พบว่า สตว์ ่ ยเหลือ 111.30 หาย จานวน 1,911,166 ต ัว แปลงหญ้า 9,003.25 ไร่ เกษตรกร 24,080 ราย คิดเป็นวงเงินชว ล้านบาท ่ ยเหลือ การชว ้ 192.52 ล ้านบาท แบ่งเป็ น 1. เงินทดรองราชการแล้ว รวมทัง้ สิน 1.1 เงินองค์กรปกครองส่วนท ้องถิน ่ 39.91 ล ้านบาท 1.2 เงินทดรองราชการในอํานาจนายอําเภอและผู ้ว่าราชการจังหวัด 119.58 ล ้านบาท 1.3 เงินทดรองราชการในอํานาจปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 33.03 ล ้านบาท 2. ขอเงินงบกลาง ั ว์ ส่งเอกสารให ้ ธกส. เพือ 2.1 กรมส่งเสริมการเกษตร กรมประมง กรมปศุสต ่ ขออนุมต ั เิ งินงวดแล ้ว ้ 12,028.60 ล ้านบาท แบ่งเป็ น ด ้านพืช 11,807.25 ล ้านบาท ด ้านประมง 209.07 ล ้านบาท ด ้านปศุสต ั ว์ 12.28 ล ้าน ทัง้ สิน บาท 2.2 ธกส. ขออนุมต ั เิ งินงวดจากสํานักงบประมาณ ครัง้ ที่ 1 จํานวน 2,500 ล ้านบาท 2.3 ธกส. โอนเงินให ้ ธกส. สาขา เพือ ่ โอนเข ้าบัญชีเกษตรกร ครัง้ ที่ 1 จํานวน 2,088.70 ล ้านบาท แบ่งเป็ น ด ้านพืช วงเงิน 2,073.38 ล ้านบาท เกษตรกร 89,901 ราย ในพืน ้ ที่ 20 จังหวัด ได ้แก่ จังหวัดเชียงราย ลําพูน พิษณุโลก ตาก กําแพงเพชร น่าน สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุทัยธานี ขอนแก่น มุกดาหาร นครพนม อํานาจเจริญ อุบลราชธานี อ่างทอง ปทุมธานี ชัยนาท ฉะชิงเทรา นครนายก จันทบุรี ด ้านประมง วงเงิน 15.32 ล ้านบาท เกษตรกร 5,824 ราย ในพืน ้ ที่ 5 จังหวัด ได ้แก่ จังหวัด มุกดาหาร หนองบัวลําภู อุดรธานี ชัยนาท ฉะเชิงเทรา


18 ่ ยเหลือเกษตรกรชาวสวนยางพาราทีไ่ ด้ร ับความเสย ี หายจากอุทกภ ัย วาตภ ัย ความก้าวหน้าการชว และดินถล่ม ้ 26,087.25 ไร่ เกษตรกร สํารวจความเสียหายแล ้ว( ณ 30 ธ.ค.53) พบสวนยางพาราทีเ่ สียสภาพสวนทัง้ สิน ้ จํานวน 191.38 ล ้านบาท แบ่งเป็ น ช่วยเหลืออัตราไร่ละ 6,007 บาท เป็ นเงิน 10,924 ราย คิดเป็ นเงินช่วยเหลือทัง้ สิน 156.71 ล ้านบาท และค่าปลูกซ่อมต ้นยางและคํ้ายันต ้นยาง จํานวน 134,594 ต ้น เป็ นเงิน 34.67 ล ้านบาท อยูร่ ะหว่างส่ง เอกสารให ้ ธกส. เพือ ่ ขออนุมต ั เิ งินงวดจากสํานักงบประมาณต่อไป ่ งเทศกาลปี ใหม่ 18. เรือ ่ ง รายงานสรุปสถานการณ์การท่องเทีย ่ วในอุทยานแห่งชาติชว คณะรัฐมนตรีรับทราบข ้อมูลรายงานสรุปสถานการณ์การท่องเทีย ่ วในอุทยานแห่งชาติชว่ งเทศกาลปี ใหม่ ของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อม สรุปได ้ดังนี้ 1. สถานการณ์ภาพรวม อุทยานแห่งชาติยอดนิยม เช่น เขาใหญ่ ดอนอินทนนท์ ฯลฯ มีนักท่องเทีย ่ วจํานวนมาก บ ้านพักและ ้ สุดเทศกาลปี ใหม่ ลานกางเต็นท์หมดทุกหลัง จํานวนนักท่องเทีย ่ วส่วนใหญ่อยูใ่ นความสามารถของการรองรับของพืน ้ ที่ เมือ ่ สิน นักท่องเทีย ่ วทัง้ หมดได ้ เดินทางกลับภูมล ิ ํานาอย่างปลอดภัย สําหรับสถิตน ิ ักท่องเทีย ่ ว สามารถนํ าเสนอได ้บางแห่ง ดังต่อไปนี้ อุทยานแห่งชาติแก่งกะจานจํ านวน 7,546 คน อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จํานวน 42,066 คน อุทยานแห่งชาติภก ู ระดึง จํานวน 6,646 คน อุทยานแห่งชาติเอราวัณ จํานวน 6,684 คน อุทยานแห่งชาติหมูเ่ กาะสุรน ิ ทร์ จํานวน 442 คน 2. การรักษาความปลอดภัย มีการจัดตัง้ หน่วยกู ้ภัยอุทยาน (Park Rescue) ในทุกอุทยานแห่งชาติ เหตุการณ์ ภาพรวมปกติ แต่มเี พียง 2 อุทยานแห่งชาติ ทีม ่ น ี ักท่องเทีย ่ วเสียชีวต ิ จากการเล่นนํ้ าตก จํานวน 2 ราย คือ อุทยานแห่งชาติ นํ้ าตกเจ็ดสาวน ้อย จังหวัดสระบุรี จํานวน 1 ราย และอุทยานแห่งชาติผาแต ้ม จังหวัดอุบลราชธานี จํานวน 1 ราย ซึง่ เจ ้าหน ้าที่ อุทยานแห่งชาติได ้ให ้การช่วยเหลือนํ าผู ้บาดเจ็บส่งโรงพยาบาลในพืน ้ ที่ แต่ไม่สามารถช่วยเหลือชีวต ิ ได ้ทัน กรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุพ ์ ช ื ได ้กําชับให ้อุทยานแห่งชาติทก ุ แห่งมีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยนักท่องเทีย ่ วอย่าง เข ้มข ้นมากขึน ้ แล ้ว 3. การห ้ามมิให ้นํ าเข ้าไปหรือจําหน่ายเครือ ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์ทก ุ ประเภทในอุทยานแห่งชาติ 3.1 สถานีโทรทัศน์ ช่อง 3 รายการเรือ ่ งเล่า เสาร์ – อาทิตย์ ประจําวันที่ 1 มกราคม 2554 ได ้มีการ สํารวจความคิดเห็นประชาชนเกีย ่ วกับการห ้ามนํ าเบียร์ – เหล ้า เข ้าอุทยานแห่งชาติ พบว่ามีคนเห็นด ้วยกับการห ้ามนํ าเบียร์ – เหล ้า เข ้าอุทยานแห่งชาติ ร ้อยละ 82.61 3.2 ทุกอุทยานแห่งชาติ สามารถประชาสัมพันธ์และควบคุมการห ้ามมิให ้นํ าเข ้าไปหรือจําหน่าย เครือ ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์ทก ุ ประเภทในอุทยานแห่งชาติได ้ดีในทุกอุทยานแห่งชาติ แต่มน ี ักท่องเทีย ่ วบางกลุม ่ ยังไม่ทราบข ้อมูลมา ก่อน จึงได ้ฝากเครือ ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์บริเวณด่านตรวจ ฯ ในหลายอุทยานแห่งชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จํานวน 10 ราย อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ ้า – หมูเ่ กาะเสม็ด จํานวน 17 ราย อุทยานแห่งชาติเอราวัณ จํานวน 20 ราย และอุทยาน แห่งชาติภก ู ระดึง จํานวน 12 ราย 3.3 มีเหตุการณ์สําคัญเกีย ่ วกับการดืม ่ แอลกอฮอล์ คือ ทีอ ่ ท ุ ยานแห่งชาติเขาใหญ่ บริเวณด่านตรวจ กม. 23 ถนนธนะรัชต์ เวลา 22.00 น. มีนักท่องเทีย ่ วชาย จํานวน 1 ราย ทีด ่ ม ื่ สุราจากสถานทีภ ่ ายนอกเขตอุทยานแห่งชาติเขา ใหญ่ และพยายามจะขับรถตู ้โดยสารผ่านด่านตรวจฯ เพือ ่ ทีจ ่ ะเข ้าไปรบกวนนักท่องเทีย ่ วในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ จึงได ้ ควบคุมตัวผู ้กระทําผิดส่งสถานีจํานวนหมูส ี อําเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ในเบือ ้ งต ้นพนักงานสอบสวนได ้ตัง้ ข ้อหาเมา สุราขับรถยนต์ 4. การให ้ความรู ้ด ้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ 4.1 อุทยานแห่งชาติทก ุ แห่ง มีเจ ้าหน ้าทีใ่ ห ้ความรู ้ด ้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะ อุทยานแห่งชาติยอดนิยมทีม ่ น ี ักท่องเทีย ่ วจํานวนมาก เช่น อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่มก ี ารบรรยายให ้ความรู ้แก่นักท่องเทีย ่ ว ด ้วยการฉาย วิดท ี ัศน์ บริเวณศูนย์บริการนักท่องเทีย ่ วเพือ ่ ปลูกจิตสํานึกด ้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ การให ้ความรู ้เหล่านี้ เป็ นบทบาทหนึง่ ของอุทยานแห่งชาติทจ ี่ ะช่วยสร ้างจิตสํานึกการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ 4.2 โครงการอาสาสมัครอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุพ ์ ช ื มีโครงการ อาสาสมัครช่วยเหลืองานอุทยานแห่งชาติ โดยมีอาสาสมัครจากหลายองค์กรมาร่วมงาน ได ้แก่ สมาคมอุทยานแห่งชาติ กลุม ่


19 ั ว์ป่า กลุม เยาวชนต ้นกล ้า กลุม ่ รักษ์ เขาใหญ่ กลุม ่ ใบไม ้ ชมรมคนรักษ์ สต ่ เยาวชน จากจังหวัดปราจีนบุรี ฯลฯ อามาสมัครเหล่านี้ ได ้มาสนับสนุนและช่วยเหลือการรณรงค์ ห ้ามมิให ้นํ าเข ้าไปหรือจําหน่ายเครือ ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์ ไม่ขบ ั รถเร็ว ไม่ทงิ้ ขยะ และ ไม่ให ้อาหารสัตว์ป่า โดยเริม ่ ต ้นดําเนินการทีอ ่ ท ุ ยานแห่งชาติเขาใหญ่ และจะขยายผลไปอุทยานแห่งชาติทส ี่ ําคัญในอนาคต ่ ยเหลือ (ข้อมูล ณ ว ันที่ 30 ธ ันวาคม 2553) 19. เรือ ่ ง สรุปสถานการณ์ภ ัยหนาว และการให้ความชว คณะรัฐมนตรีรับทราบข ้อมูลสรุปสถานการณ์ภย ั หนาว และการให ้ความช่วยเหลือ (ข ้อมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2553) ของกระทรวงมหาดไทย สาระสาค ัญของเรือ ่ ง สรุปสถานการณ์ภย ั หนาว และการให ้ความช่วยเหลือ (ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553- 3 มกราคม 2554) ดังนี้ 1. การคาดหมายลักษณะอากาศ (ระหว่างวันที่ 3-9 ม.ค. 2554) 1.1 กรมอุตน ุ ย ิ มวิทยา คาดหมายลักษณะอากาศว่า ในวันที่ 3 มกราคม 2554 บริเวณความกด อากาศสูงปกคลุมประเทศไทยตอนบน ทําให ้บริเวณดังกล่าวมีอากาศหนาวเย็นโดยทั่วไปกับมีหมอกในตอนเช ้า โดยมีนํ้าแข็ง บางพืน ้ ทีบ ่ ริเวณเขาสูงในภาคเหนือ ส่วนมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือทีพ ่ ด ั ปกคลุมภาคใต ้และอ่าวไทยมีกําลังค่อนข ้างแรง ทํา ให ้ภาคใต ้ตอนล่างมีฝนตกอยูใ่ นเกณฑ์เป็ นแห่ง ๆ ถึงกระจาย สําหรับคลืน ่ ลมในอ่าวไทยตอนล่างมีกําลังปานกลางในช่วงวันที่ 4 – 6 มกราคม 2554 ความกดอากาศสูงนีอ ้ อ ่ นกําลังลง แต่ยงั คงทําให ้ประเทศไทยตอนบนมีอากาศหนาวเย็นกับมีหมอกหนา ในหลายพืน ้ ที่ ส่วนภาคใต ้ตอนล่างมีฝนตกอยูใ่ นเกณฑ์เป็ นแห่ง ๆ และในช่วงวันที่ 7- 9 มกราคม 2554 บริเวณความกด อากาศสูงกําลังแรงอีกระลอกหนึง่ จากประเทศจีนจะปกคลุมประเทศไทยตอนบนอีก ทําให ้บริเวณดังกล่าวมีอณ ุ หภูมล ิ ดลง และมีลมแรงขอให ้ประชาชนดูแลรักษาสุขภาพให ้แข็งแรง 1.2 กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้ องกันและบรรเทาสาธาร ได ้จัดเจ ้าหน ้าทีเ่ ฝ้ าระวังติดตาม สถานการณ์ในพืน ้ ทีอ ่ ย่างต่อเนือ ่ งตลอด 24 ชัว่ โมง รวมทัง้ เตรียมเครือ ่ งมืออุปกรณ์ไว ้ให ้พร ้อม เพือ ่ สามารถช่วยเหลือ ผู ้ประสบภัยได ้ทันต่อเหตุการณ์ 2. การเตรียมการป้ องกันแลแก ้ไขปั ญหาภัยหนาวของกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้ องกันและบรรเทาสาธารภัย ได ้จัดตัง้ ศูนย์อํานวยการเฉพาะกิจป้ องกันและ แก ้ไขปั ญหาภัยหนาว ปี พ.ศ. 2553 –2554 ของจังหวัดขึน ้ ณ สํานักงานป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และจัดตัง้ ศูนย์อํานวยการเฉพาะกิจฯ อําเภอและองค์กรปกครองส่วนท ้องถิน ่ ทุกแห่งในเขตพืน ้ ที่ พร ้อมทัง้ แต่ตงั ้ เจ ้าหน ้าทีร่ ับผิดชอบ ประจําศูนย์ เพือ ่ เป็ นศูนย์ประสานงานในการให ้ความช่วยเหลือประชาชนทีไ่ ด ้รับความเดือดร ้อนจากสภาวะอากาศหนาวเย็นที่ เกิดขึน ้ นอกจากนี้ กระทรวงมหาดไทย ได ้จัดตัง้ ศูนย์รับบริจาคช่วยเหลือผู ้ประสบภัยหนาว ณ กรมป้ องกันและ บรรเทาสาธารณภัย และทีจ ่ งั หวัดทุกจังหวัดด ้วย 3. สถานการณ์ภย ั หนาว (ระหว่างวันที่ 1 พ.ย. 2553 – 3 ม.ค. 2554) ในขณะนีไ้ ด ้รับรายงานจังหวัดทีไ่ ด ้ประกาศเป็ นพืน ้ ทีป ่ ระสบภัยพิบัตก ิ รณีฉุกเฉิน (ภัยหนาว) เนือ ่ งจากมีสภาพ อากาศหนาว (อุณหภูม ิ 8.0 – 15.9 องศาเซลเซียส) ถึงหนาวจัด (อุณหภูมต ิ ํา่ กว่า 8.0 องศาเซลเซียส) จํานวน 26 จังหวัด ่ งสอน ลําปาง ลําพูน อุตรดิตถ์ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ได ้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย พะเยา เพชรบูรณ์ แพร่ ตาก น่าน แม่ฮอ นครพนม บุรรี ัมย์ มุกดาหาร มหาสารคาม ยโสธร เลย ศรีสะเกษ สุรน ิ ทร์ สกลนคร หนองคาย อุดรธานี อุบลราชธานี และ จังหวัดอํานาจเจริญ รวม 344 อําเภอ 2,668 ตําบล 33,997 หมูบ ่ ้าน 4. การให ้ความช่วยเหลือของหน่วยงาน 4.1 จังหวัดทีไ่ ด ้ประกาศเป็ นพืน ้ ทีป ่ ระสบภัยพิบต ั ก ิ รณีฉุกเฉิน (ภัยหนาว) ทัง้ 26 จังหวัด รายงานว่า ได ้มอบเครือ ่ งกันหนาวให ้แก่ประชาชนทีข ่ าดแคลนในพืน ้ ที่ โดยได ้รับการสนับสนุนผ ้าห่มกันหนาวจากองค์กรปกครองส่วน ท ้องถิน ่ กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย สํานักงานป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จํากัด ้ (มหาชน) เครือเจริญโภคภัณฑ์ สมาคม มูลนิธ ิ ไปแล ้ว รวม 360,258 ชิน


20 4.2 บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) ได ้ให ้การสนับสนุนผ ้าห่มกันหนาว จํานวน 200,000 ผืน เพือ ่ แจกจ่ายช่วยเหลือผู ้ประสบภัยหนาวในพืน ้ ที่ 15 จังหวัด ได ้แก่ จังหวัดนครพนม สกลนคร หนองคาย อุดรธานี ่ งสอน หนองบัวลําภู ขอนแก่น มหาสารคาม ร ้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ นคราชสีมา เชียงราย น่าน ลําปาง เชียงใหม่ และจังหวัดแม่ฮอ 4.3 หอการค ้าไทย –จีน และสมาคมแต ้จิว๋ แห่งประเทศไทย ได ้มอบผ ้าห่มช่วยเหลือภัยหนาว จํานวน 2,000 ผืน ผ่านรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย เมือ ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 โดยกระทรวงมหาดไทยได ้ มอบหมายให ้กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็ นหน่วยงานกลางในการนํ าผ ้าห่มกันหนาวไปแจกจ่ายแก่ผู ้ประสบภัย หนาวในพืน ้ ทีต ่ า่ ง ๆ 4.4 บริษัท ซีพ ี จํากัด (มหาชน) (เครือเจริญโภคภัณฑ์) ได ้ให ้การสนับสนุนผ ้าห่มกันหนาว จํานวน ้ จากกลุม 50,000 ผืน มูลค่า 12.5 ล ้านบาท ซึง่ จัดซือ ่ แม่บ ้านผู ้ผลิตผ ้าห่มนวม จังหวัดสกลนคร ตามนโยบายส่งเสริมอาชีพ และช่วยให ้เกษตรกรมีรายได ้เพิม ่ มากขึน ้ ของกระทรวงมหาดไทย และได ้มอบให ้รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย (นายชว รัตน์ ชาญวีรกูล) เมือ ่ วันที่ 2 ธันวาคม 2553 เพือ ่ แจกจ่ายช่วยเหลือผู ้ประสบภัยหนาว ในพืน ้ ที่ 10 จังหวัด ได ้แก่ จังหวัด เชียงใหม่ เชียงราย ลําพูน น่าน พะเยา สกลนคร นครพนม เลย อุดรธานี และจังหวัดขอนแก่น 5. สิง่ ของพระราชทานช่วยเหลือผู ้ประสบภัยหนาว กองงานพระวรชายาฯ ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงโปรดให ้ผู ้แทนพระองค์ เดินทางไปมอบถุงพระราชทานแก่ราษฎรทีป ่ ระสบภัยหนาวในพืน ้ ทีจ ่ ังหวัดเชียงราย เพชรบูรณ์ ขอนแก่น สกลนคร ลําพูน ่ งสอน น่าน พะเยา ตาก กาฬสินธุ์ เลย และจังหวัดสกลนคร รวม จํานวน 16,000 ถุง นมอัดเม็ดจิตรลดา 700 เชียงใหม่ แม่ฮอ กล่อง และนมสด 700 กล่อง อนึง่ ในช่วงวันที่ 28 –31 ธันวาคม 2553 ได ้เกิดฝนตกหนักต่อเนือ ่ งในจังหวัดนราธิวาส ทําให ้ เกิดนํ้ าท่วมในพืน ้ ที่ 3 อําเภอ ดังนี้ 1) อําเภอสุไหงโก-ลก นํ้ าท่วมบ ้านเรือนราษฎรทีบ ่ ริเวณชุมชนหัวสะพาน และชุมชนกอไผ่ อําเภอ ร่วมกับเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก อพยพราษฎร จํานวน 33 ครัวเรือน 175 คน ไปยังโรงเรียนเทศบาล 4 โดยผู ้ว่าราชการ จังหวัดนราธิวาสได ้ไปตรวจเยีย ่ ม และมอบถุงยังชีพ จํานวน 33 ชุด 2) อําเภอรือเสาะ นํ้ าท่วมถนนทางเข ้าหมูบ ่ ้านบาตง ตําบลบาตง รถยนต์ไม่สามารถสัญจรไป-มาได ้ สํานักงานป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนราธิวาส และองค์การบริหารส่วนตําบลบาตง จัดเรือบริการให ้ราษฎรเข ้า่ มูบ ออก สูห ่ ้านได ้ ผู ้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส มอบหมายให ้รองผู ้ว่าราชการจังหวัด (นายสามารถ วราดิศัย) ได ้ตรวจเยีย ่ ม และร่วมประชุมกับนายอําเภอรือเสาะ นายกองค์การบริหารส่วนตําบลบาตง และผู ้ทีเ่ กีย ่ วข ้อง ติดตามสถานการณ์นํ้าอย่าง ใกล ้ชิด 3) อําเภอระแงะ นํ้ าท่วมถนนบริเวณบ ้านตันหยงมัส ตําบลตันหยงมัส รถยนต์และรถจักรยานต์ ยังสามารถสัญจนไป-มาได ้ ผู ้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส มอบหมายให ้รองผู ้ว่าราชการจังหวัด (นายอุทาร พิชญาภรณ์) ไป ตรวจเยีย ่ มราษฎรผู ้ประสบภัย

แต่งตงั้ 20. เรือ ่ ง แต่งตงั้ 1. แต่งตงข้ ั้ าราชการการเมือง คณะรัฐมนตรีเห็นชอบการแต่งตัง้ นางอัญชลี เทพบุตร ให ้ดํารงตําแหน่งข ้าราชการการเมือง ตําแหน่ง เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ตามทีส ่ ํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเสนอ **********************


รายงานการประชุมคณะร ัฐมนตรี ว ันที่ 28 ธ ันวาคม 2553

http://www.thaigov.go.th

ข่าวที่ 01/12 วันที่ 28 ธันวาคม 2553

้ 2 สํ านั กเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ิ ธิ์ เวชชาชีวะ วันนี้ เมือ ่ เวลา 09.00 น. ณ ห ้องประชุมชัน นายอภิสท นายกรัฐมนตรี เป็ นประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี จากนั น ้ นายศุภชัย ใจสมุทร รองโฆษกประจํ าสํานั กนายกรัฐมนตรี นายวัชระ กรรณิการ์ รองโฆษกประจํ า สํ า นั ก นายกรั ฐ มนตรี และนายมารุต มัส ยวาณิช รองโฆษกประจํ า สํ า นั ก นายกรั ฐ มนตรี ได ้แถลงข่า วผลการประชุม คณะรัฐมนตรี สรุปสาระสําคัญได ้ดังนี้ กฎหมาย ั ว์เพือ 1. เรือ ่ ง ร่างพระราชบัญญัตส ิ ต ่ งานทางวิทยาศาสตร์ พ.ศ. .... 2. เรือ ่ ง ร่างพระราชบัญญัตริ ะเบียบข ้าราชการทหาร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชกฤษฎีกา การได ้รับเงินประจําตําแหน่งของข ้าราชการทหาร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ 3. เรือ ่ ง ร่างพระราชบัญญัตค ิ วามเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. .... 4. เรือ ่ ง ร่างพระราชบัญญัตป ิ ระกันวินาศภัย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัตป ิ ระกันชีวต ิ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ 5. เรือ ่ ง ร่างกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณ์ทรี่ ะลึก 100 ปี โรงเรียนวชิราวุธ วิทยาลัย พ.ศ. .... 6. เรือ ่ ง ร่างกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ์ วิธก ี าร เงือ ่ นไข และอัตราการจ่ายประโยชน์ทดแทนใน กรณีสงเคราะห์บต ุ ร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... 7. เรือ ่ ง ร่างระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด ้วยเบีย ้ ประชุมและประโยชน์ตอบแทนอืน ่ ของประธาน กรรมการ กรรมการ และอนุกรรมการ คณะกรรมการธุรกิจนํ าเทีย ่ วและมัคคุเทศก์ พ.ศ. .... เศรษฐกิจ 8. เรือ ่ ง รายงานการศึกษาและวิเคราะห์โครงการตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด ้วยการให ้เอกชนเข ้าร่วมงาน หรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 โครงการรถไฟฟ้ าสายสีนํ้าเงิน ช่วงหัวลําโพง – ่ – ท่าพระ ของการรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย บางแค และช่วงบางซือ 9. เรือ ่ ง ขออนุมต ั ข ิ ยายวงเงินและกู ้เงินสําหรับค่าจัดกรรมสิทธิท ์ ด ี่ น ิ โครงการทางพิเศษสายบางพลีสุขสวัสดิ์ ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย 10. เรือ ่ ง แนวทางการส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพในประเทศไทย 11. เรือ ่ ง การบริหารโครงการภายใต ้แผนปฏิบต ั ก ิ ารไทยเข ้มแข็ง 2555 12. เรือ ่ ง มาตรการภาษี เพือ ่ สนับสนุนการควบรวมกิจการ กรณีการยกเว ้นภาษี เงินได ้สําหรับเงินปั นผล 13. เรือ ่ ง การกู ้เงินของธนาคารอาคารสงเคราะห์ในปี งบประมาณ 2554 จํานวน 18,000 ล ้านบาท 14. เรือ ่ ง แนวทางการดําเนินการโฉนดชุมชน ้ กิจการ CDMA ในส่วนกลาง โดยการเข ้าซือ ้ ทรัพย์สน ิ และรับทราบ 15. เรือ ่ ง ขอยกเลิกโครงการเข ้าซือ แนวทางการดําเนินธุรกิจโทรศัพท์เคลือ ่ นทีร่ ป ู แบบใหม่ของบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) 16. เรือ ่ ง ขอรับการสนับสนุนงบประมาณการแก ้ไขปั ญหาความเดือดร ้อนของผู ้ร่วมพัฒนาชาติไทย 17. เรือ ่ ง กําหนดให ้มาตรการภาษีเพือ ่ สนับสนุนการปรับปรุงโครงสร ้างองค์กรเป็ นมาตรการถาวร 18. เรือ ่ ง การขยายระยะเวลาการให ้สิทธิประโยชน์ในการปรับปรุงโครงสร ้างหนี้


2

19. 20. 21.

เรือ ่ ง เรือ ่ ง เรือ ่ ง

22.

เรือ ่ ง

ั สงคม 23. เรือ ่ ง 24. เรือ ่ ง 25. เรือ ่ ง 26. เรือ ่ ง ต่างประเทศ 27. เรือ ่ ง 28. เรือ ่ ง 29. เรือ ่ ง ึ การศก ษา 30. เรือ ่ ง

รายงานผลการดําเนินงานของคณะกรรมการช่วยเหลือเกษตรกรและผู ้ยากจน รายงานสถานการณ์วส ิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปี 2552 และแนวโน ้ม ปี 2553 การรายงานผลการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เรือ ่ ง โครงการการจัดการเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลัง การยกเว ้นค่าผ่านทางพิเศษตามร่างประกาศกระทรวงคมนาคม เรือ ่ ง กําหนดให ้ทางพิเศษ ่ มทาง บูรพาวิถ ี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุร)ี ทางยกระดับด ้านทิศใต ้สนามบินสุวรรณภูมเิ ชือ ่ มต่อทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ กับทางพิเศษบูรพาวิถ ี พิเศษบูรพาวิถ ี และทางเชือ เป็ นทางต ้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถทีต ่ ้องเสียหรือยกเว ้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2553 แผนแม่บทระบบสถิตป ิ ระเทศไทย พ.ศ. 2554 - 2558 การดําเนินโครงการ “2554 ปี แห่งความปลอดภัย” ห ้ามมิให ้นํ าเข ้าไปหรือจําหน่ายเครือ ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์ทก ุ ประเภทในอุทยานแห่งชาติ การดําเนินงานสนับสนุนการจัดตัง้ คณะทํางานการสืบสวนอุบต ั เิ หตุทางถนนระดับจังหวัด ผลการประชุมรัฐมนตรีเอเปคด ้านโทรคมนาคมและอุตสาหกรรมสารสนเทศ ครัง้ ที่ 8 การขอตัง้ งบประมาณเพือ ่ จัดตัง้ หน่วยระวังภัยทางเศรษฐกิจของอาเซียน การบริจาคเงินสมทบกองทุนสิง่ แวดล ้อมของโครงการสิง่ แวดล ้อมแห่งสหประชาชาติ

่ กองทุน (กองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา) และ ขอพระราชทานชือ การขอลดหย่อนภาษีเงินได ้สําหรับเงินบริจาค เรือ ่ งทีค ่ ณะร ัฐมนตรีร ับทราบเพือ ่ เป็นข้อมูล 31. เรือ ่ ง มาตรการกํากับดูแลสินค ้าสําคัญ 204 รายการ และบริการ 20 รายการ ประจําเดือนธันวาคม 2553 32. เรือ ่ ง ดัชนีราคาส่งออก – นํ าเข ้าของประเทศ และดัชนีภาวะธุรกิจส่งออกเดือนตุลาคม 2553 33. เรือ ่ ง สรุปสถานการณ์ภย ั พิบต ั ด ิ ้านการเกษตรปี 2553 ครัง้ ที่ 45 34. เรือ ่ ง สรุปสถานการณ์ภย ั หนาว และมาตรการป้ องกันอุบต ั ภ ิ ย ั ในช่วงเทศกาลปี ใหม่ แต่งตงั้ 35. เรือ ่ ง แต่งตัง้ 1. การแต่งตัง้ คณะกรรมการแก ้ไขปั ญหาและพัฒนาระบบร ้านสหกรณ์ 2. การแต่งตัง้ ข ้าราชการพลเรือนสามัญให ้ดํารงตําแหน่งประเภทวิชาการระดับ ทรงคุณวุฒ ิ (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) 3. การแต่งตัง้ ข ้าราชการพลเรือนสามัญ (กระทรวงการต่างประเทศ) ******************************** กรุณาตรวจสอบมติคณะรัฐมนตรีอย่างเป็ นทางการกับสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีอก ี ครัง้ หนึง่ สํานักโฆษกขอเชิญติดตามการถ่ายทอดสดการแถลงข่าวผลการประชุมคณะรัฐมนตรี ทุกวันอังคาร หรือวันทีม ่ ก ี ารประชุม ทางสถานีวท ิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ทาง F.M. 92.5 ในเขตกรุงเทพมหานคร ส่วนต่างจังหวัด รับฟั งได ้ทางสถานีวท ิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยประจําจังหวัด ํ และติดตามมติคณะรัฐมนตรีทส ี่ าคัญได ้ทางรายการ “เจาะลึก ครม.” ทางสถานีวท ิ ยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ทุกวันอังคารในเวลา 21.00-22.00 น. “หากท่านใดประสงค์จะขอรับข่าวการประชุมคณะรัฐมนตรีสมัครได ้ทาง www.thaigov.go.th


3

กฎหมาย ั เพือ 1. เรือ ่ ง ร่างพระราชบ ัญญ ัติสตว์ ่ งานทางวิทยาศาสตร์ พ.ศ. .... คณะรั ฐ มนตรีอ นุ มัต ห ิ ลัก การร่า งพระราชบัญญั ต ส ิ ัต ว์เ พื่อ งานทางวิท ยาศาสตร์ พ.ศ. .... ตามที่สํ า นั ก งาน คณะกรรมการวิจั ย แห่ ง ชาติเ สนอ และให ส ้ ่ง สํ า นั ก งานคณะกรรมการกฤษฎีก าตรวจพิจ ารณา โดยให ้รั บ ความเห็ น ของ คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 7) เรือ ่ งเสร็จที่ 898/2550 และความเห็นของกระทรวงการคลัง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล ้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงสาธารณสุข สํานั กงบประมาณ สํานั กงาน ก.พ.ร. สํานั กงาน ศาลยุตธิ รรม และสํานักงานอัยการสูงสุด ไปประกอบการพิจารณาด ้วย แล ้วส่งให ้คณะกรรมการประสานงานสภาผู ้แทนราษฎร พิจ ารณา ก่ อ นเสนอสภาผู ้แทนราษฎรพิจ ารณาต่ อ ไป หากการตรวจพิจ าร ณาของสํ า นั ก งานคณะกรรมการกฤษฎีก าไม่ สอดคล ้องกับหลั ก การของร่า งพระราชบัญ ญัต ฯ ิ ให ้เสนอคณะรัฐ มนตรีอ ก ี ครั ง้ หนึง่ ทัง้ นี้ ให ้สํ า นั ก งานคณะกรรมการวิจั ย แห่งชาติรับความเห็นของสํานักงาน ก.พ. เกีย ่ วกับการดําเนินการจัดตัง้ หน่วยงานไปพิจารณาดําเนินการต่อไป 2. เรือ ่ ง ร่างพระราชบ ัญญ ัติระเบียบข้าราชการทหาร (ฉบ ับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชกฤษฎีกาการได้ร ับเงิน ประจาตาแหน่งของข้าราชการทหาร (ฉบ ับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบ ับ คณะรัฐมนตรี 1. อนุมต ั ห ิ ลักการร่างพระราชบัญญัตริ ะเบียบข ้าราชการทหาร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามทีก ่ ระทรวงกลาโหม เสนอ และให ้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล ้วส่งให ้คณะกรรมการประสานงานสภาผู ้แทนราษฎร พิจารณา ก่อนเสนอสภาผู ้แทนราษฎรพิจารณาต่อไป 2. อนุมต ั ห ิ ลักการร่างพระราชกฤษฎีกาการได ้รับเงินประจําตําแหน่งของข ้าราชการทหาร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามทีก ่ ระทรวงกลาโหมเสนอ และให ้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล ้วดําเนินการต่อไปได ้ 3. ให ้สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีการับความเห็นของกระทรวงศึกษาธิการไปประกอบการพิจารณาด ้วย 4. สําหรับภาระในด ้านงบประมาณและในด ้านบุคลากรให ้กระทรวงกลาโหมรับความเห็นของกระทรวงการคลัง สํานักงบประมาณ สํานักงาน ก.พ. และคณะกรรมการพิจารณาเงินเดือนแห่งชาติ ไปพิจารณาดําเนินการต่อไป ข้อเท็ จจริง กระทรวงกลาโหม (กห.) รายงานว่า โดยทีป ่ ั จจุบน ั การได ้รับเงินประจําตําแหน่งของข ้าราชการทหาร ซึง่ ดํ ารง ตําแหน่งทางวิชาการ กฎหมายกําหนดให ้เฉพาะผู ้ดํ ารงตํ าแหน่งทางวิชาการในโรงเรียนทหารเท่านั น ้ ไม่ครอบคลุมถึงผู ้ดํ ารง ่ ประเภทวิชาการ ตามบัญ ชีอัตราเงินประจํ า ตํ า แหน่ งทางวิช าการในสถาบันการศึกษาอืน ่ ในสังกัด กห. เห็ นควรกํ าหนดชือ ตํ า แหน่ งข ้าราชการทหาร ท ้ายพระราชบัญญั ตริ ะเบียบข ้าราชการทหาร พ.ศ. 2521 ซึง่ แก ้ไขเพิม ่ เติม โดยพระราชบัญ ญั ต ิ ่ ประเภทวิชาการ ตามทีบ ระเบียบข ้าราชการทหาร(ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2551 และกํ าหนดชือ ่ ัญญัตไิ ว ้ในมาตรา 8 และมาตรา 9 วรรคหนึง่ แห่งพระราชกฤษฎีกาการได ้รับเงินประจําตําแหน่งของข ้าราชการทหาร พ.ศ. 2553 ขึน ้ ใหม่ เพือ ่ ให ้ผู ้ดํ ารงตํ าแหน่ง ทางวิชาการในสถาบันการศึกษาสังกัด กห. ทุก สถาบันที่จัด การศึกษาในระดั บปริญ ญาตรีขน ึ้ ไป ได ้รั บเงินประจํ าตํ าแหน่ ง ประเภทวิชาการเช่นเดียวกับผู ้ดํารงตําแหน่งทางวิชาการในโรงเรียนทหาร สาระสาค ัญของร่างพระราชบ ัญญ ัติและร่างพระราชกฤษฎีกา 1. ร่างพระราชบัญญัตริ ะเบียบข ้าราชการทหาร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... มีสาระสําคัญให ้แก ้ไขความในบัญชีอต ั รา เงิน ประจํ า ตํ า แหน่ ง ข ้าราชการทหาร ท า้ ยพระราชบั ญ ญั ต ิร ะเบีย บข ้าราชการทหาร พ .ศ. 2521 ซึง่ แก ้ไขเพิ่ม เติม โดย พระราชบัญญัตริ ะเบียบข ้าราชการทหาร (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2551 จากความว่า “4. ประเภทวิชาการในโรงเรียนทหาร” เป็ น “4. ประเภทวิชาการในสถาบันการศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม” (มาตรา 3) 2. ร่างพระราชกฤษฎีกาการได ้รับเงินประจําตําแหน่งของข ้าราชการทหาร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... มีสาระสําคัญ ให ้แก ้ไขความในพระราชกฤษฎีกาการได ้รับเงินประจําตําแหน่งของข ้าราชการทหาร พ.ศ. 2553 จากความว่า “ประเภทวิชาการ ในโรงเรียนทหาร” ทุกแห่ง เป็ น “ประเภทวิชาการในสถาบันการศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม” (มาตรา 3)


4 3. เรือ ่ ง ร่างพระราชบ ัญญ ัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีเห็นชอบร่างพระราชบัญญัตค ิ วามเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. .... ทีส ่ ํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล ้ว ตามทีก ่ ระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน ่ คงของมนุษย์เสนอ และให ้ส่งคณะกรรมการ ประสานงานสภาผู ้แทนราษฎรพิจารณา ก่อนนํ าเสนอสภาผู ้แทนราษฎรพิจารณาต่อไป สาระสาค ัญของร่างพระราชบ ัญญ ัติ 1. กําหนดให ้มีคณะกรรมการส่งเสริมความเท่าเทียมกันระหว่างเพศ (คณะกรรมการ สทพ.) และกําหนดอํานาจ หน ้าที่ กําหนดคุณสมบัต ิ วาระการดํารงตําแหน่ง และการพ ้นจากตําแหน่งของกรรมการผู ้ทรงคุณวุฒ ิ (ร่างมาตรา 5 – ร่างมาตรา 10) 2. กําหนดให ้มีคณะกรรมการวินจ ิ ฉั ยการเลือกปฏิบต ั โิ ดยไม่เป็ นธรรมระหว่างเพศ (คณะกรรมการ วลพ.) และ กําหนดอํานาจหน ้าที่ (ร่างมารตรา 13 – ร่างมาตรา 14) 3. กําหนดให ้สํานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวรับผิดชอบงานธุรการและงานวิชาการของ คณะกรรมการ สทพ. และคณะกรรมการ วลพ. และกําหนดอํานาจหน ้าทีข ่ องสํานักงานฯ (ร่างมาตรา 16) 4. การกําหนดนโยบาย กฎ ระเบียบ ประกาศ มาตรการ โครงการหรือวิธป ี ฏิบต ั ข ิ องหน่วยงานของรัฐ องค์กร เอกชน หรือบุคคลใดในลักษณะทีเ่ ป็ นการเลือกปฏิบต ั โิ ดยไม่เป็ นธรรมระหว่างเพศจะกระทํามิได ้ (ร่างมาตรา 17) 5. กําหนดให ้บุคคลทีเ่ ห็นว่าตนได ้รับหรือจะได ้รับความเสียหายจากการกระทําในลักษณะทีเ่ ป็ นการเลือก ิ ธิยน ปฏิบต ั โิ ดยไม่เป็ นธรรมระหว่างเพศมีสท ื่ คําร ้องต่อคณะกรรมการ วลพ. โดยการร ้องขอดังกล่าวไม่เป็ นการตัดสิทธิผู ้ร ้องใน อันทีจ ่ ะฟ้ องเรียกค่าเสียหายฐานละเมิดต่อศาลทีม ่ เี ขตอํานาจ (ร่างมาตรา 18) 6. กําหนดให ้คณะกรรมการ วลพ. อาจกําหนดมาตรการชัว่ คราวก่อนมีคําวินจ ิ ฉั ยเพือ ่ คุ ้มครองหรือบรรเทาทุกข์ ่ แก่บค ุ คลซึงถูกเลือกปฏิบต ั โิ ดยไม่เป็ นธรรมระหว่างเพศเท่าทีจ ่ ําเป็ นและสมควรแก่กรณีก็ได ้ (ร่างมาตรา 19) 7. กรณีทค ี่ ณะกรรมการ วลพ. วินจ ิ ฉั ยว่า เป็ นการเลือกปฏิบต ั โิ ดยไม่เป็ นธรรมระหว่างเพศ ให ้มีอํานาจออก ่ คําสังตามทีก ่ ําหนดได ้ (ร่างมาตรา 20) ิ ธิ 8. กรณีคณะกรรมการ วลพ. มีคําวินจ ิ ฉั ยว่ามีการเลือกปฏิบต ั โิ ดยไม่เป็ นธรรมระหว่างเพศ ผู ้เสียหายมีสท ขอรับการสงเคราะห์ โดยการสงเคราะห์ผู ้เสียหายให ้กระทําโดยให ้ความช่วยเหลือ หรือให ้ความช่วยเหลือทางการเงินตามที่ กําหนด(ร่างมาตรา 24 และร่างมาตรา 26) 9. กําหนดให ้มีกองทุนส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศเพือ ่ เป็ นทุนใช ้จ่ายเกีย ่ วกับการส่งเสริมความเท่า ้จ่ เทียมระหว่างเพศ และกําหนดกรอบวัตถุประสงค์ของการใช ายเงินในกองทุน (ร่างมาตรา 29 – ร่างมาตรา 30) 10. กําหนดให ้มีคณะกรรมการบริหารกองทุน และกําหนดอํานาจหน ้าทีข ่ องคณะกรรมการฯ (ร่างมาตรา 31 และร่างมาตรา 33) 11. กําหนดบทกําหนดโทษ (ร่างมาตรา 34 – ร่างมาตรา 36) 4. เรือ ่ ง ร่างพระราชบ ัญญ ัติประก ันวินาศภ ัย (ฉบ ับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชบ ัญญ ัติประก ันชวี ต ิ (ฉบ ับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบ ับ คณะรัฐมนตรีอนุมต ั ห ิ ลักการร่างพระราชบัญญัตป ิ ระกันวินาศภัย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัต ิ ประกันชีวต ิ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... รวม 2 ฉบับ ตามทีก ่ ระทรวงการคลังเสนอ และให ้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ พิจ ารณา โดยให ้รั บความเห็ นของกระทรวงยุตธ ิ รรม และสํ านั ก งานศาลยุต ธ ิ รรม ไปประกอบการพิจารณาด ้วย แล ้วส่งให ้ คณะกรรมการประสานงานสภาผู ้แทนราษฎรพิจารณาก่อนเสนอสภาผู ้แทนราษฎรพิจารณาต่อไป


5 สาระสาค ัญของร่างพระราชบ ัญญ ัติ ประเด็น โครงสร ้างผู ้ถือหุ ้นของบริษัทประกันภัย

การบริหารจัด การของกองทุนประกันวินาศภัยและกองทุน ประกันชีวต ิ

กําหนดหลักเกณฑ์การจ่ายเงินจากกองทุนประกันวินาศภัย และกองทุนประกันชีวต ิ

ร่างพระราชบ ัญญ ัติประก ันวินาศภ ัยฯ และ ร่างพระราชบ ัญญ ัติประก ันชวี ต ิ กําหนดให ้บริษัทต ้องมีหุ ้นทีบ ่ ุคคลผู ้มีสัญชาติไทยถืออยู่ไม่ ตํ่ า กว่ า ร อ้ ยละเจ็ ด สิบ ห า้ ของจํ า นวนหุ น ้ ที่จํ า หน่ า ยได แ้ ล ว้ ิ ธิออกเสียงไม่ตํ่ากว่าร ้อยละ ทัง้ หมด ซึง่ หุ ้นดังกล่าวต ้องมีสท เจ็ ด สิบ ห า้ ของจํ า นวนสิท ธิอ อกเสีย งทั ง้ หมด และต อ้ งมี ่ อง กรรมการเป็ นบุค คลผู ้มีสัญชาติไทยไม่ตํ่า กว่า สามในสีข จํานวนกรรมการ (ร่างพระราชบัญญัตป ิ ระกันวินาศภัย แก ้ไข มาตรา 9 และร่างพระราชบัญญัตป ิ ระกันชีวต ิ ฯ แก ้ไขมาตรา 10) กําหนดอํานาจกระทํากิจการของกองทุนประกันวินาศภัยและ กองทุนประกันชีวต ิ เพิม ่ เติม 2 กรณี คือ 1) การกู ้ยืม หรือ ออกตั๋ ว เงิน หรือ ตราสารทางการเงินอืน ่ ทัง้ นี้ ต ้องเป็ นการ ิ ธิได ้รับชําระหนีท กระทําเพือ ่ ช่วยเหลือเจ ้าหนีซ ้ งึ่ มีสท ้ เี่ กิดจาก การเอาประกันภัย 2) เป็ นผู ้ชําระบัญชีบริษัททีถ ่ ูกเพิกถอน ใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันภัย (ร่า งพระราชบัญ ญั ต ป ิ ระกัน วินาศภัยฯ แก ้ไขมาตรา 80/1 และร่างพระราชบัญญัตป ิ ระกันชีวต ิ ฯ แก ้ไขมาตรา 85/1) กํ า หนดให ้เมื่อ บริษั ทถูก เพิก ถอนใบอนุ ญ าตประกอบธุรกิจ ิ ธิได ้รับชําระหนี้ทเี่ กิดจากการเอา ประกันภัยให ้เจ ้าหนีซ ้ งึ่ มีสท ิ ธิได ้รับชําระหนี้จากกองทุน โดยภายในสีส ่ บ ิ ประกันภัยมีสท วั น นั บ แต่ วั น ที่บ ริษั ทถู ก เพิก ถอนใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิจ ประกันภัย ให ้กองทุนประกาศให ้เจ ้าหนี้มายืน ่ ขอรับชําระหนี้ จากกองทุน (ร่า งพระราชบั ญ ญั ต ป ิ ระกัน วินาศภัย ฯ แก ้ไข มาตรา 80/5 และร่ า งพระราชบั ญ ญั ต ป ิ ระกั น ชีว ต ิ ฯ แก ้ไข มาตรา 85/5)

5. เรือ ่ ง ร่างกฎกระทรวงกาหนดล ักษณะของเหรียญกษาปณ์ทรี่ ะลึก 100 ปี โรงเรียนวชริ าวุธวิทยาล ัย พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีอนุมต ั ห ิ ลักการร่างกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณ์ทรี่ ะลึก 100 ปี โรงเรียน วชิราวุธวิทยาลัย พ.ศ. .... ตามทีก ่ ระทรวงการคลังเสนอ และให ้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล ้ว ดําเนินการต่อไปได ้ ข้อเท็ จจริง กระทรวงการคลังเสนอว่า ด ้วยโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัยได ้ขอความร่วมมือกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง จัดทําเหรียญกษาปณ์ทรี่ ะลึก 100 ปี โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ในวันที่ 29 ธันวาคม 2553 เพือ ่ เฉลิมพระเกียรติและน ้อมรําลึก ถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล ้าเจ ้าอยูห ่ วั ผู ้ทรงพระราชทานกําเนิดโรงเรียนมหาดเล็กหลวง หรือ โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ในปี พท ุ ธศักราช 2453 และเพือ ่ เผยแผ่พระเกียรติคณ ุ ให ้ไพศาลไปในทิศานุทศ ิ จึงได ้เสนอร่าง กฎกระทรวงดังกล่าว สาระสาค ัญของร่างกฎกระทรวง ร่างกฎกระทรวงกําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณ์ทรี่ ะลึก 100 ปี โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย พ.ศ. .... กําหนดลักษณะของเหรียญกษาปณ์ทรี่ ะลึก 100 ปี โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย ชนิด ราคา โลหะ อัตราเนือ ้ โลหะ นํ้ าหนัก ขนาด ิ บาท อัตราเผือ ่ เหลือเผือ ่ ขาด ลวดลาย และลักษณะอืน ่ ๆ ของเหรียญกษาปณ์โลหะสีขาว (ทองแดงผสมนิกเกิล) ราคายีส ่ บ ประเภทธรรมดา (จํานวนผลิตไม่เกิน 500,000 เหรียญ)


6

6. เรือ ่ ง ร่างกฎกระทรวงกาหนดหล ักเกณฑ์ วิธก ี าร เงือ ่ นไข และอ ัตราการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณี สงเคราะห์ บุตร (ฉบ ับที่ ..) พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีอนุมต ั ห ิ ลักการร่างกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ์ วิธก ี าร เงือ ่ นไข และอัตราการจ่ายประโยชน์ ทดแทนในกรณีสงเคราะห์บต ุ ร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามทีก ่ ระทรวงแรงงานเสนอ และให ้ส่งสํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดยให ้รับความเห็นของสํานักงาน ก.พ. ไปประกอบการพิจารณาด ้วย แล ้วดําเนินการต่อไปได ้ และ ให ้กระทรวงแรงงานรับความเห็นของสํานักงบประมาณไปพิจารณาดําเนินการต่อไป ข้อเท็ จจริง กระทรวงแรงงานเสนอว่า เนือ ่ งจากอัตราเงินสงเคราะห์บต ุ รเหมาจ่ายตามกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ์ วิธก ี าร เงือ ่ นไข และอัตราการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีสงเคราะห์บต ุ ร พ.ศ. 2549 ไม่สอดคล ้องกับสภาพทางเศรษฐกิจ และสังคมทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป และตําแหน่งข ้าราชการทีม ่ ห ี น ้าทีร่ ับรองการมีชวี ต ิ อยูข ่ องบุตรได ้มีการเปลีย ่ นแปลงโดย พระราชบัญญัตริ ะเบียบข ้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 จึงสมควรเพิม ่ อัตราเงินสงเคราะห์บต ุ รเหมาจ่ายให ้สอดคล ้องกับสภาพ เศรษฐกิจและสังคมในปั จจุบน ั และแก ้ไขเพิม ่ เติมตําแหน่งข ้าราชการทีม ่ ห ี น ้าทีร่ ับรองการมีชวี ต ิ อยูข ่ องบุตรให ้สอดคล ้องกับ พระราชบัญญัตด ิ ังกล่าว สาระสาค ัญของกฎกระทรวง 1. แก ้ไขเพิม ่ เติมอัตราประโยชน์ทดแทนในกรณีสงเคราะห์บต ุ รจากอัตราเหมาจ่าย 350 บาทต่อเดือนต่อบุตร หนึง่ คน เป็ นอัตราเหมาจ่าย 400 บาทต่อเดือนต่อบุตรหนึง่ คน (ร่างข ้อ 1 แก ้ไขเพิม ่ เติมข ้อ 3) ี 2. แก ้ไขเพิม ่ เติมตําแหน่งข ้าราชการทีม ่ ห ี น ้าทีร่ ับรองการมีชวต ิ อยูข ่ องบุตรให ้สอดคล ้องกับระบบจําแนก ตําแหน่งข ้าราชการตามพระราชบัญญัตริ ะเบียบข ้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 (ร่างข ้อ 2 แก ้ไขเพิม ่ เติมข ้อ 7 วรรค 2) ิ 3. กําหนดให ้ผู ้ทีม ่ ส ี ทธิได ้รับเงินสงเคราะห์บต ุ รอัตราเหมาจ่ายตามกฎกระทรวงกําหนดหลักเกณฑ์ฯ พ.ศ. ิ ิ ธิได ้รับเงินสงเคราะห์บต 2549 และยังคงมีสทธิได ้รับต่อเนือ ่ งถึงวันทีก ่ ฎกระทรวงฉบับใหม่มผ ี ลบังคับใช ้ ให ้ผู ้นัน ้ มีสท ุ รอัตรา ้บั เหมาจ่าย 400 บาท ตัง้ แต่วันทีก ่ ฎกระทรวงฉบับใหม่มผ ี ลใช งคับเป็ นต ้นไปจนครบตามสิทธิ (ร่างข ้อ 3) ้ ประชุมและประโยชน์ตอบแทนอืน 7. เรือ ่ ง ร่างระเบียบสาน ักนายกร ัฐมนตรี ว่าด้วยเบีย ่ ของประธานกรรมการ กรรมการ และอนุกรรมการ คณะกรรมการธุรกิจนาเทีย ่ วและม ัคคุเทศก์ พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการร่างระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด ้วยเบีย ้ ประชุมและประโยชน์ตอบแทนอืน ่ ของประธานกรรมการ กรรมการ และอนุกรรมการ คณะกรรมการธุรกิจนํ าเทีย ่ วและมัคคุเทศก์ พ.ศ. .... ตามทีก ่ ระทรวง การท่องเทีย ่ วและกีฬาเสนอ และให ้ส่งคณะกรรมการตรวจสอบร่างกฎหมายและร่างอนุบญ ั ญัตท ิ เี่ สนอคณะรัฐมนตรีตรวจ พิจารณา แล ้วดําเนินการต่อไปได ้ ข้อเท็ จจริง กระทรวงการท่องเทีย ่ วและกีฬาเสนอว่า 1. พระราชบัญญัตธิ รุ กิจนํ าเทีย ่ วและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 กําหนดให ้มีคณะกรรมการธุรกิจนํ าเทีย ่ วและ มัคคุเทศก์ โดยมีอํานาจหน ้าทีก ่ ําหนดแผนงานและมาตรการต่าง ๆ เกีย ่ วกับการส่งเสริม พัฒนาและกํากับดูแลธุรกิจนํ าเทีย ่ ว ้กฎหมายด และมัคคุเทศก์ ตราอนุบญ ั ญัตท ิ เี่ กีย ่ วข ้องกับการบังคับใช ้านธุรกิจนํ าเทีย ่ ว มัคคุเทศก์ และผู ้นํ าเทีย ่ วให ้มี ่ ประสิทธิภาพ ซึงคณะกรรมการธุรกิจนํ าเทีย ่ วและมัคคุเทศก์ ประกอบด ้วยคณะกรรมการทีไ่ ด ้รับการแต่งตัง้ จากภาคเอกชน โดยเป็ นผู ้แทนจากสภาอุตสาหกรรมท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทย ผู ้ประกอบธุรกิจนํ าเทีย ่ วและมัคคุเทศก์ และผู ้ทรงคุณวุฒซ ิ งึ่ เป็ นผู ้ประกอบวิชาชีพด ้านธุรกิจนํ าเทีย ่ วและเป็ นหรือเคยเป็ นอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา ดังนัน ้ เพือ ่ ความเหมาะสมแก่การ จ่ายเบีย ้ ประชุมของผู ้ประกอบวิชาชีพทีต ่ ้องมีหน ้าทีด ่ ําเนินการประชุมพิจารณาภารกิจข ้างต ้น จึงสมควรกําหนดอัตราเบีย ้ ประชุมและการเบิกจ่ายโดยอาศัยอํานาจตามมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัตธิ รุ กิจนํ าเทีย ่ วและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2551 ซึง่ บัญญัตใิ ห ้ประธานกรรมการ กรรมการ และอนุกรรมการ ได ้รับเบีย ้ ประชุมและประโยชน์ตอบแทนอืน ่ ตามระเบียบทีค ่ ณะรัฐมนตรี กําหนด 2. กรมการท่องเทีย ่ วได ้นํ าการเบิกจ่ายเบีย ้ ประชุมคณะกรรมการธุรกิจนํ าเทีย ่ วและมัคคุเทศก์ของการ ท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) และคณะอนุกรรมการธุรกิจนํ าเทีย ่ วและมัคคุเทศก์ของ ททท. ซึง่ เบิกจ่ายตามระเบียบ


7 สํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด ้วยประโยชน์ตอบแทนสําหรับประธานกรรมการและกรรมการธุรกิจนํ าเทีย ่ วและมัคคุเทศก์ พ.ศ. 2536 ข ้อบังคับการท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทย ว่าด ้วยเบีย ้ กรรมการของคณะอนุกรรมการทีค ่ ณะกรรมการธุรกิจนํ าเทีย ่ วและมัคคุเทศก์ ่ ิ ธิได ้รับเบีย แต่งตัง้ พ.ศ. 2538 และประกาศกระทรวงการคลัง เรือ ่ ง กําหนดรายชือคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการทีม ่ ส ี ท ้ ประชุมเป็ นรายเดือน และอัตราเบีย ้ ประชุมเป็ นรายเดือนและเป็ นรายครัง้ สําหรับกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการและ ผู ้ช่วยเลขานุการ พ.ศ. 2553 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2553 มาปรับปรุงและใช ้กําหนดเบีย ้ ประชุมของคณะกรรมการธุรกิจนํ า ่ เทีย ่ วและมัคคุเทศก์ และคณะอนุกรรมการธุรกิจนํ าเทีย ่ วและมัคคุเทศก์ ซึงกรมบัญชีกลางเห็นชอบด ้วยกับอัตราเบีย ้ ประชุม ของคณะกรรมการฯ และคณะอนุกรรมการฯ ดังกล่าวแล ้ว สาระสาค ัญของร่างระเบียบ 1. กําหนดอัตราการรับเบีย ้ ประชุมเป็ นรายเดือนของประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ คณะ กรรมการธุรกิจนํ าเทีย ่ วและมัคคุเทศก์ เปรียบเทียบกับอัตราทีใ่ ช ้อยูใ่ นปั จจุบน ั ร่างระเบียบสาน ักนายกร ัฐมนตรี ว่าด้วยประโยชน์ ตอบแทนสาหร ับประธานกรรมการและกรรมการ ธุรกิจนาเทีย ่ วและม ัคคุเทศก์ พ.ศ. 2536 - ประธานกรรมการ - รองประธานกรรมการ - กรรมการ (ข ้อ 3 และข ้อ 4)

3,750 3,375 3,000

บาท บาท บาท

้ ประชุม ร่างระเบียบสาน ักนายกร ัฐมนตรี ว่าด้วยเบีย และประโยชน์ตอบแทนอืน ่ ของประธานกรรมการ กรรมการ และอนุกรรมการ คณะกรรมการธุรกิจนา เทีย ่ วและม ัคคุเทศก์ พ.ศ. .... - ประธานกรรมการ 6,250 บาท - รองประธานกรรมการ 5,625 บาท - กรรมการ 5,000 บาท (ร่างข ้อ7)

2. กําหนดอัตราการรับเบีย ้ ประชุมเป็ นรายครัง้ ของประธานอนุกรรมการ รองประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ คณะกรรมการธุรกิจนํ าเทีย ่ วและมัคคุเทศก์ เปรียบเทียบกับอัตราทีใ่ ช ้อยูใ่ นปั จจุบน ั ้ ประชุม ข้อบ ังค ับการท่องเทีย ่ วแห่งประเทศไทย ว่าด้วย ร่างระเบียบสาน ักนายกร ัฐมนตรี ว่าด้วยเบีย ้ กรรมการของคณะอนุกรรมการที่ เบีย และประโยชน์ตอบแทนอืน ่ ของประธานกรรมการ คณะกรรมการธุรกิจนาเทีย ่ วและม ัคคุเทศก์แต่งตงั้ กรรมการ และอนุกรรมการ คณะกรรมการธุรกิจนา พ.ศ. 2538 เทีย ่ วและม ัคคุเทศก์ พ.ศ. .... - ประธานอนุกรรมการ 1,875 บาท - ประธานอนุกรรมการ 1,000 บาท - รองประธานอนุกรรมการ 1,687.50 บาท - รองประธานอนุกรรมการ 900 บาท - อนุกรรมการ 1,500 บาท - อนุกรรมการ 800 บาท (ข ้อ 3) (ร่างข ้อ 5) 3. กําหนดให ้กรณีทก ี่ รรมการหรืออนุกรรมการซึง่ เป็ นการแต่งตัง้ โดยตําแหน่งไม่สามารถเข ้าร่วมประชุมได ้ แต่ได ้มอบหมายให ้ผู ้อืน ่ เข ้าร่วมประชุมแทนโดยทําเป็ นหนังสือ หรือมีหลักฐานการมอบหมาย ให ้ถือว่าผู ้ได ้รับมอบหมาย ิ ธิได ้รับเบีย ปฏิบต ั ห ิ น ้าทีใ่ นฐานะกรรมการ หรืออนุกรรมการแทนผู ้ดํารงตําแหน่งนัน ้ ๆ และมีสท ้ ประชุมในอัตราเดียวกับ กรรมการ หรืออนุกรรมการ (ร่างข ้อ 7) 4. กําหนดให ้ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ และอนุกรรมการคณะกรรมการธุรกิจนํ าเทีย ่ ว และมัคคุเทศก์ ได ้รับประโยชน์ตอบแทนอืน ่ เฉพาะค่าใช ้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบต ั งิ านของคณะกรรมการธุรกิจนํ าเทีย ่ วและ มัคคุเทศก์ โดยให ้นํ าพระราชกฤษฎีกาว่าด ้วยค่าใช ้จ่ายในการเดินทางไปราชการ และระเบียบกระทรวงการคลัง ซึง่ ออกตาม ความในพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว มาใช ้บังคับโดยอนุโลม และกําหนดให ้กรรมการทีไ่ ม่ได ้เป็ นข ้าราชการ หรือเจ ้าหน ้าทีข ่ อง รัฐ ได ้รับสิทธิในอัตราเดียวกับข ้าราชการพลเรือนตําแหน่งประเภทบริหาร ระดับสูง และให ้อนุกรรมการทีไ่ ม่ได ้เป็ นข ้าราชการ หรือเจ ้าหน ้าทีข ่ องรัฐ ได ้รับสิทธิในอัตราเดียวกับข ้าราชการพลเรือนตําแหน่งประเภทบริหาร ระดับต ้น สําหรับประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ ประธานอนุกรรมการ รองประธานอนุกรรมการ และอนุกรรมการทีเ่ ป็ นข ้าราชการ หรือเจ ้าหน ้าที่ ิ ธิได ้รับจากทางราชการ (ร่างข ้อ 8) ของรัฐให ้ได ้รับตามสิทธิของตนทีม ่ ส ี ท


8 เศรษฐกิจ ึ ษาและวิเ คราะห์โ ครงการตามพระราชบ ญ 8. เรือ ่ ง รายงานการศ ก ั ญต ั วิ ่า ด้ว ยการให้เ อกชนเข้า ร่ว มงานหรือ ี า้ เงิน ชว ่ งห ัวลาโพง –บางแค และชว ่ งบางซอ ื่ – ดาเนินการใน กิจการของร ัฐ พ.ศ. 2535 โครงการรถไฟฟ้าสายสน ่ มวลชนแห่งประเทศไทย ท่าพระ ของการรถไฟฟ้าขนสง คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามทีส ่ ํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเสนอ ดังนี้ 1. เห็นชอบในหลักการให ้เอกชนเข ้าร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้ าสายสีนํ้าเงิน ช่วงหัวลํ าโพง – บางแค และ ช่วง เตาปูน – ท่าพระ ในรูปแบบ PPP Gross Cost ตามทีก ่ ระทรวงคมนาคมเสนอ โดยภาครัฐลงทุนค่างานโยธาทัง้ หมด และ เอกชนลงทุนค่างานระบบไฟฟ้ าและขบวนรถไฟฟ้ า รวมทัง้ บริหารการเดินรถและซ่อมบํารุงตามมาตรฐานการให ้บริการทีก ่ ําหนด ไว ้ในเงือ ่ นไขของสัญญา โดยรัฐเป็ นผู ้จัดเก็บรายได ้ค่าโดยสารและรายได ้เชิงพาณิชย์จากการใช ้ประโยชน์โครงสร ้างงานโยธา และรถไฟฟ้ าทัง้ หมด และรัฐจะจ่ายคืนเอกชนในลักษณะค่าจ ้างบริหารการเดินรถและซ่อมบํารุง โดยให ้กระทรวงคมนาคมและ การรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ดํ าเนินการตามขัน ้ ตอนของพระราชบัญญัตวิ ่าด ้วยการให ้เอกชนเข ้าร่วมงานหรือ ดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 โดยเคร่งครัดต่อไป 2. เห็นชอบการปรับเพิม ่ กรอบวงเงินค่าจ ้างทีป ่ รึกษาบริหารและควบคุมงานระบบรถไฟฟ้ าจํ านวน 448 ล ้าน บาท ตามทีก ่ ระทรวงคมนาคมเสนอ เพื่อให ้การรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย สามารถตรวจสอบความปลอดภัย (Proof of Safety) ของระบบไฟฟ้ าและเครือ ่ งกล และตัวรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนก่อนเปิ ดให ้บริการได ้อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ ให ้กระทรวงการคลัง และสํานักงบประมาณ พิจารณาความเหมาะสมของกรอบวงเงินดังกล่าวในรายละเอียดก่อนทีก ่ ารรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยจะดําเนินการต่อไป 3. มอบหมายให ก้ ระทรวงคมนาคม และการรถไฟฟ้ าขนส่ ง มวลชนแห่ ง ประเทศไทยรั บ ความเห็ น ของ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไปดําเนินการอย่างเคร่งครัดต่อไป 4. มอบหมายให ้กระทรวงการคลัง เป็ นหน่วยงานหลักในการดํ าเนินการตรวจสอบความเหมาะสมของวงเงิน ลงทุนในรายละเอียดในส่วนของโครงการลงทุนทีใ่ ช ้เงินกู ้ในการดําเนินการ พร ้อมทัง้ มอบหมายให ้กระทรวงการคลัง พิจารณา แนวทางการเพิม ่ ขีดความสามารถของบุคลากรเพือ ่ รองรับการดําเนินการดังกล่าวต่อไป สาระสาค ัญของเรือ ่ ง สํานั กงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) รายงานว่า กระทรวงคมนาคม ได ้ เสนอรายงานการศึกษาและวิเคราะห์โครงการตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด ้วยการให ้เอกชนเข ้าร่วมงานหรือดําเนินการในกิจการของ ่ – ท่าพระ และการปรับเพิม รัฐ พ.ศ.2535 โครงการรถไฟฟ้ าสายสีนํ้าเงินช่วงหัวลําโพง – บางแค และช่วงบางซือ ่ กรอบวงเงิน ค่าจ ้างทีป ่ รึกษาบริหารและควบคุมงานระบบรถไฟฟ้ าจํ านวน 448 ล ้านบาท เพือ ่ ให ้ สศช. พิจารณานํ าเสนอคณะรัฐมนตรี โดยผลการศึกษาของ รฟม. เสนอให ้รัฐควรเลือกรูปแบบการดําเนินโครงการทีเ่ หมาะสมทีส ่ ด ุ คือ รูปแบบ PPP Gross Cost คือ รัฐลงทุนค่างานโยธาทัง้ หมด และให ้เอกชนลงทุนค่างานระบบรถไฟฟ้ าและขบวนรถไฟฟ้ า โดยรัฐจะจ่ายคืนเอกชนในลักษณะ ิ ธิโดยสมบูรณ์ในการกําหนดนโยบายการบริหารโครงการทัง้ หมด ค่าจ ้างการบริหารการเดินรถและซ่อมบํารุง ซึง่ ทําให ้รัฐมีสท สาระสาค ัญของโครงการ 1. ล ักษณะทางกายภาพของโครงการ ้ ทาง มีระยะทางรวม 27 กิโลเมตร เป็ นเส ้นทางต่อขยายจากรถไฟฟ้ ามหานคร สายเฉลิม (1) แนวเสน รัชมงคลทีบ ่ ริเวณสถานีหัวลําโพงและสถานีเตาปูน ซึง่ จะทํ าให ้โครงการรถไฟฟ้ าสายสีนํ้าเงินเป็ นระบบรถไฟฟ้ าวงแหวนรอบ เขตพืน ้ ทีก ่ รุงเทพมหานคร แบ่งออกเป็ น 2 ช่วง ได ้แก่ ่ งห ัวลาโพง – บางแค ระยะทาง 14 กม. แนวเส ้นทางเป็ นทางใต ้ดินเริม ชว ่ ต ้นจากสถานีหัว ่ มต่อกับสายเฉลิมรัชมงคล) ไปตามถนนเจริญกรุง ผ่านสถานีวัดมังกร สถานีวังบูรพา และเลีย ลําโพง (เชือ ้ วซ ้ายผ่านถนนมหา ไชย สถานีสนามไชย ลอดแม่นํ้าเจ ้าพระยาทีบ ่ ริเวณปากคลองตลาดแล ้วลอดคลองบางกอกใหญ่ ผ่านถนนอรุณอัมรินทร์ ถนน ้ สุดทีส อิสรภาพ ไปสิน ่ ถานีอส ิ รภาพและเริม ่ ยกระดับผ่านสถานีทา่ พระไปตามถนนเพชรเกษม ผ่านสถานีบางไผ่ สถานีบางหว ้า สถานีภาษี เจริญ และสถานีบางแคทีบ ่ ริเวณแยกถนนเพชรเกษมตัดกับถนนวงแหวนรอบนอก ช่วงบางแค ่ งบางซอ ื่ – ท่าพระ ระยะทาง 13 กม. เป็ นทางยกระดับทัง้ หมด แนวเส ้นทางเริม ชว ่ ต ้นจาก ่ – บางใหญ่ ผ่านแยกบางโพและสถานีบางโพข ้าม สถานีเตาปูนทีเ่ ป็ นสถานีรว่ มกับโครงการรถไฟฟ้ าสายสีมว่ ง ช่วงบางซือ


9 แม่นํ้าเจ ้าพระยา เลีย ้ วซ ้ายเข ้าถนนจรัญสนิทวงศ์ ผ่านสถานีบางอ ้อทีย ่ า่ นบางอ ้อ สถานีบางพลัดทีย ่ า่ นบางพลัด สถานีสริ น ิ ทรที่ แยกบางพลัด สถานีบางยีข ่ น ั ทีย ่ า่ นบางยีข ่ น ั สถานีบรมราชชนนีทแ ี่ ยกบรมราชชนนี สถานีบางขุนนนท์ทย ี่ า่ นบางกอกน ้อย ้ สถานีแยกไฟฉายทีบ ่ ริเวณแยกไฟฉาย สถานีจรัญสนิทวงศ์ 13 และสินสุดทีบ ่ ริเวณแยกท่าพระ (2) สถานี จํานวน 21สถานี โดยมีสถานีรว่ ม 3 สถานี (สถานีหัวลําโพง เตาปูน และท่าพระ) (3) อาคารจอดแล้วจร จํานวน 1 แห่ง ได ้แก่ สถานีหลักสอง ่ มบารุง (Depot) และศูนย์ควบคุมการเดินรถ (OCC) 1 แห่ง ทีบ (4) ศูนย์ซอ ่ ริเวณเพชรเกษม 48 2. ปริมาณผูโ้ ดยสารของโครงการ หน่วย คน/วัน ้ ทาง เสน ค่าโดยสาร 10+ 1.8 บาท/สถานี (ไม่มค ี า่ เปลีย ่ นถ่ายระบบ) รวม ค่าโดยสาร 10 + 1.8 บาท/ สถานี (มีคา่ เปลีย ่ นถ่ายระบบ) รวม ทีม ่ า รฟม.

่ – ท่าพระ บางซือ หัวลําโพง - บาง แค ่ – ท่าพระ บางซือ หัวลําโพง - บาง แค

2555

ปี พ.ศ. 2565 2575

2585

255,767 207,275

265,557 306,107

302,692 332,918

327,958 346,672

463,042 205,686 148,581

571,664 214,584 178,458

635,610 248,033 208,447

674,630 271,756 230,262

354,267

393,042

456,480

502,018

3. แผนดาเนินงาน คาดว่าจะสามารถคัดเลือกเอกชนเข ้าร่วมลงทุนในโครงการได ้ในเดือน พ.ย. 2554 และ สามารถเปิ ดให ้บริการส่วนยกระดับในเดือน ก.พ. 2559 ส่วนสถานีใต ้ดินในเดือน ธ.ค. 2559 ิ้ ประมาณ 83,123 ล ้านบาท ประกอบด ้วยการลงทุนของภาครัฐ (ค่าจัดกรรมสิทธิ์ 4. วงเงินลงทุนรวมทงส ั้ น ทีด ่ น ิ งานโยธา และค่า งานทีป ่ รึก ษาระหว่า งก่อ สร ้าง) ประมาณ 60,982 ล ้านบาท การลงทุนของเอกชนทีเ่ ข ้าร่วมลงทุน (ระบบไฟฟ้ าและรถไฟฟ้ า) ประมาณ 22,141 ล ้านบาท ิ ธิท 9. เรือ ่ ง ขออนุม ัติขยายวงเงินและกูเ้ งินสาหร ับค่าจ ัดกรรมสท ์ ด ี่ น ิ โครงการทางพิเศษสายบางพลี-สุขสว ัสดิ์ ของ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย คณะรั ฐ มนตรีอ นุ มั ต ใิ ห ้การทางพิเ ศษแห่ งประเทศไทยขยายวงเงินและกู ้เงิน สํ า หรั บ ค่า จั ด กรรมสิท ธิท ์ ี่ด น ิ โครงการทางพิเ ศษสายบางพลี-สุขสวั ส ดิ์ จํ า นวน 1,500 ล ้านบาท โดยให ้เบิก จ่า ยตามค่า ใช ้จ่า ยที่เ กิด ขึน ้ จริง และให ้ กระทรวงการคลังพิจารณาแหล่งเงินกู ้ วิธก ี ารกู ้เงิน เงือ ่ นไข และรายละเอียดต่าง ๆ ของการกู ้เงินทีเ่ หมาะสม ตลอดจนเป็ นผู ้ คํ้าประกันเงินกู ้ และให ้สํานักงบประมาณจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจําปี เพือ ่ ชําระคืนเงินต ้น ดอกเบีย ้ ค่าใช ้จ่ายทางการเงิน และค่าธรรมเนียมอืน ่ ๆ ทีเ่ กีย ่ วข ้องดังกล่าวตามความจําเป็ นและเหมาะสมต่อไป ่ เสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมพลาสติกชวี ภาพในประเทศไทย 10. เรือ ่ ง แนวทางการสง ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี เ ห็ น ช อ บ ก ร อ บ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม พ ล า ส ติ ก ชี ว ภ า พ ต า ม ที่ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเสนอ ดังนี้ 1. แนวทางการส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ - การจัดตัง้ โรงงานนํ าร่อง (pilot plants) ทีส ่ ามารถดําเนินการผลิตภายใน 3 ปี (พ.ศ. 2554 – 2556) การดํ า เนิน การตามแผนที่นํ า ทางแห่ ง ชาติก ารพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมพลาสติก ชีว ภาพ ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2554 - 2558) ซึง่ ปรั บ จากแผนที่นํา ทางแห่งชาติก ารพั ฒ นาอุต สาหกรรมพลาสติก ชีว ภาพ (พ.ศ. 2551 - 2555) เพือ ่ ให ้สามารถรองรับการลงทุนเชิงพาณิชย์ภายในปี 2558 มาตรการเสริม 5 ด ้าน เพือ ่ กระตุ ้นให ้เกิดการลงทุน เชิงพาณิชย์ ภายในปี 2558


10 สําหรับงบประมาณเพือ ่ ดําเนินการตามแผนทีน ่ ํ าทางแห่งชาติฯ ให ้ขอทําความตกลงกับสํานักงบประมาณในรายละเอียดต่อไป 2. มอบหมายหน่วยงานทีก ่ ําหนดไว ้ตามแผนทีน ่ ํ าทางแห่งชาติฯ ดํ าเนินการทํ าความตกลงในรายละเอียดกับ สํานักงบประมาณ และดําเนินการให ้เกิดผลทางปฏิบต ั ต ิ อ ่ ไป 3. มอบหมายสํ า นั ก งานนวั ต กรรมแห่งชาติ (องค์ก ารมหาชน) (สนช.) เป็ นหน่ ว ยงานหลั ก ในการประสาน ภาคเอกชนและหน่ ว ยงานที่เ กีย ่ วข ้องดํ า เนินการแปลงแนวทางการส่งเสริม การลงทุนในอุต สาหกรรมพลาสติก ชีว ภาพใน ่ ประเทศไทยไปสูการปฏิบต ั แ ิ ละสรุปผลรายงานต่อคณะรัฐมนตรีเป็ นระยะ ทัง้ นี้ ให ้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรับข ้อสังเกตของกระทรวงการคลังเกีย ่ วกับมาตรการทางภาษี สนั บสนุนการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยี ไปประกอบการพิจารณาด ้วย และให ้ดําเนินการตามข ้อกฎหมาย และระเบียบทีเ่ กีย ่ วข ้องต่อไป สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) รายงานว่า ได ้ประสานหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้องจัดทํ าแนวทางการ ส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพในประเทศ และคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนด ้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (กรอ.วท.) มีมติเห็นชอบเมือ ่ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2553 โดยให ้ปรับแผนทีน ่ ํ าทางแห่งชาติฯ ระยะที่ 2 เป็ นช่วงปี 2554 - 2558 พร ้อมจัดทํามาตรการส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพเพือ ่ กระตุ ้นให ้เกิดการลงทุนโครงการต ้น แบบอย่างเป็ นรูปธรรมภายในปี 2556 และการลงทุนเชิงพาณิชย์ภายในปี 2558 สรุปสาระสําคัญได ้ ดังนี้ 1. แนวทางการส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพในประเทศไทย 1.1 จัดตัง้ โรงงานนํ าร่อง (pilot plants) ขนาดกํ า ลังผลิต 1,000 - 10,000 ตัน /ปี ให ้สามารถ ดําเนินการผลิตได ้ภายใน 3 ปี (2554 - 2556) โดยเห็นควรให ้รัฐบาลสนับสนุนงบประมาณจํานวน 300 ล ้านบาท ภายใต ้กรอบ วงเงินทีค ่ ณะ รัฐมนตรีเคยอนุ มัตไิ ว ้เดิม 1,800 ล ้านบาท เพือ ่ ร่วมลงทุนในสัดส่วนเอกชนร ้อยละ 70 และภาครัฐร ้อยละ 30 (งบประมาณเอกชนสนับสนุนโครงการนํ าร่อง 3 ปี เป็ นเงิน 1,700 ล ้านบาท) 1.2 เร่งดําเนินการตามแผนทีน ่ ํ าทางแห่งชาติฯ ควบคู่กันไปเพือ ่ ให ้เกิดการลงทุนเชิงพาณิชย์ในระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2554 - 2558) โดยมีโครงการต่าง ๆ ทีด ่ ําเนินการรวม 20 โครงการ และดํ าเนินการโดยภาครัฐและเอกชนรวม 33 หน่วยงาน (งบประมาณเอกชนเพือ ่ การลงทุนเชิงพาณิชย์ เป็ นเงินรวม 10,000 ล ้านบาท และงบประมาณภาครัฐรวม 600 ล ้าน บาท) 1.3 ดํ าเนินมาตรการเสริมเพือ ่ กระตุ ้นให ้เกิดการลงทุนเชิงพาณิชย์ในระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2554-2558) ประกอบด ้วย 1) มาตรการด ้านความพร ้อมของวัตถุดบ ิ ชีวมวล 2) มาตรการสนับสนุนด ้านการวิจัยและพัฒนา 3) มาตรการด ้าน การจั ด ทํ า มาตรฐานพลาสติก ชีว ภาพในระดั บ สากล 4) มาตรการสิท ธิป ระโยชน์ ด ้านการลงทุ นและการประกอบธุ รกิจ 5) มาตรการด ้านการส่งเสริมตลาดและจัดการสิง่ แวดล ้อม 2. ประโยชน์ทค ี่ าดว่าจะได ้รับ 2.1 ด ้านเศรษฐกิจ : เกิดการพัฒนาธุรกิจการผลิตสารตัง้ ต ้น (bioplastic momomer) ขึน ้ ในปั จจุบัน ่ เกิดการพัฒนาธุรกิจและพัฒนาต ้นแบบระบบการผลิตเรซินพลาสติกชีวภาพชนิดพอลิแล็กติกแอซิด (PLA) ในปี 2556 และใน ระดับอุตสาหกรรม (commercial scale) ด ้วยกําลังการผลิต 100,000 ตันต่อปี ในปี 2558 ซึง่ จะมีมล ู ค่าการลงทุน 10,000 ่ ล ้านบาท ตลอดจนเกิดโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ ซึงก่อให ้เกิดการจ ้างงานทัง้ อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ และธุรกิจเกีย ่ วข ้องประมาณ 200,000 คน สร ้างรายได ้ให ้ภาครัฐ 6,260 ล ้านบาท 2.2 ด ้านสังคม : ประชาชนใน 4 กลุ่มหลัก จะได ้รับประโยชน์ทัง้ ทางตรงและทางอ ้อม ได ้แก่ กลุ่ม เกษตรกรผู ้ปลูกอ ้อยและมันสําปะหลัง กลุม ่ ผู ้ผลิตนํ้ าตาลและแป้ งมันสําปะหลัง กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก และกลุ่มนั กศึกษา และนักวิจัย 2.3 ด ้านเทคโนโลยี : การพัฒนาองค์ความรู ้ใหม่ของการวิจัยและพัฒนาของนั กวิจัยไทย เพือ ่ สร ้าง ิ เทคโนโลยีด ้านพลาสติกชีวภาพของประเทศให ้มีความก ้าวหน ้าได ้ในระดับนานาชาติ และเกิดทรัพย์สนทางปั ญญาจากการ พัฒนาเทคโนโลยีทเี่ กิดจากโรงงานนํ าร่องในรูปของสิทธิบต ั ร ่ 2.4 ด ้านสิงแวดล ้อม : การพัฒนาสินค ้าและผลิตภัณฑ์ใหม่ทเี่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล ้อม และการจัดการ แก ้ไขปั ญหาขยะอย่างมีประสิทธิภาพ


11 11. เรือ ่ ง การบริหารโครงการภายใต้แผนปฏิบ ัติการไทยเข้มแข็ง 2555 คณะรัฐมนตรีรับทราบและอนุมต ั ิ ตามทีก ่ ระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1. รับทราบวงเงินเหลือจ่ายภายใต ้พระราชกํ าหนดให ้อํานาจกระทรวงการคลังกู ้เงินเพือ ่ ฟื้ นฟูและเสริมสร ้าง ความมัน ่ คงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 จํานวน 5,078.21 ล ้านบาท 2. อนุมัตใิ ห ้ดํ าเนินโครงการภายใต ้แผนปฏิบัตก ิ ารไทยเข ้มแข็ง 2555 ทีห ่ น่ วยงานพิจารณาทบทวนตามมติ คณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2553 ภายใต ้แผนปฏิบัตก ิ ารไทยเข ้มแข็ง 2555 และอนุมัตก ิ ารจัดสรรวงเงินเหลือจ่าย ตามพระราชกํ าหนดให ้อํ า นาจกระทรวงการคลังกู ้เงินเพือ ่ ฟื้ นฟูและเสริมสร ้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ .ศ. 2552 วงเงิน 1,554.67 ล ้านบาท สําหรับโครงการกลุม ่ ที่ 1 และ 2 ส่วนโครงการกลุม ่ ที่ 3 (โครงการทีย ่ น ื ยันโครงการเดิม แต่ไม่เสนอการ ปรับแผนงบประมาณปี 2554) อนุ มัตโิ ครงการและจัดสรรเงินเหลือจ่ายตามผลการพิจารณาทบทวนของหน่ วยงาน โดยให ้ หน่ วยงานดํ า เนิน การได ้ ทัง้ นี้ ให ้หน่ วยงานตรวจสอบความพร ้อมและความจํ าเป็ นเร่งด่วนให ้สอดคล ้องกับข ้อเท็ จจริงด ้วย ส่วนโครงการในกลุ่มที่ 4 มอบหมายให ้คณะกรรมการรัฐมนตรีพัฒนาพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษ 5 จังหวั ดชายแดนภาคใต ้เป็ นผู ้พิจารณา อนุมัตก ิ ารปรับแผนการดํ าเนินโครงการเพือ ่ นํ าไปฟื้ นฟูแก ้ไขปั ญหานํ้ าท่วม โดยให ้หน่วยงานทีไ่ ด ้รับจัดสรรวงเงินเหลือจ่าย ดังกล่าวส่งข ้อมูลให ้สํานักงบประมาณพิจารณาเพือ ่ ขอจัดสรรเงิน ซึง่ รวมถึงแผนการปฏิบัตงิ านและแผนการใช ้จ่ายเงินให ้แล ้ว เสร็จ ภายในวันที่ 31 มกราคม 2554 3. อนุมต ั ใิ ห ้ดําเนินโครงการใหม่เพือ ่ สนับสนุนการฟื้ นฟูโครงสร ้างพืน ้ ฐานในสาขาต่าง ๆ ทีไ่ ด ้รับผลกระทบจาก เหตุอุทกภัยตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วั นที่ 9 พฤศจิกายน 2553 ภายใต ้แผนปฏิบัต ก ิ ารไทยเข ้มแข็ง 2555 และอนุ มัต ก ิ าร จัดสรรวงเงินเหลือจ่ายตามพระราชกําหนดให ้อํานาจกระทรวงการคลังกู ้เงินเพือ ่ ฟื้ นฟูและเสริมสร ้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 วงเงิน 2,619.68 ล ้านบาท โดยให ้หน่วยงานทีไ่ ด ้รับจัดสรรวงเงินเหลือจ่ายดังกล่าวส่งข ้อมูลให ้สํานั กงบประมาณ พิจารณาเพือ ่ ขอจัดสรรเงิน ซึง่ รวมถึงแผนการปฏิบัตงิ านและแผนการใช ้จ่ายเงินให ้แล ้วเสร็จภายในวันที่ 31 มกราคม 2554 สํ า หรั บ โครงการของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงการท่อ งเที่ย วและกีฬ า วงเงิน 138 ล ้านบาท สํ า นั ก งานคณะกรรมการการ อาชีว ศึก ษาวงเงิน 562 ล ้านบาท และสํ า นั ก งานคณะกรรมการการศึก ษาขั น ้ พื้น ฐาน 378 ล ้านบาท ให ้หน่ ว ยงานจั ด ส่ง รายละเอียดโครงการให ้สํานักงบประมาณพิจารณานํ าเสนอคณะกรรมการฯ เห็นชอบก่อน 4. อนุมัตใิ ห ้ดํ าเนินโครงการก่อสร ้างหอประชุมเอนกประสงค์ อําเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ภายใต ้แผนปฏิบต ั ก ิ ารไทยเข ้มแข็ง 2555 และอนุมต ั ก ิ ารจัดสรรวงเงินเหลือจ่ายตามพระราชกําหนดให ้อํานาจกระทรวงการคลัง กู ้เงินเพือ ่ ฟื้ นฟูและเสริมสร ้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 ให ้แก่โครงการก่อสร ้างหอประชุมเอนกประสงค์ อําเภอ เมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา วงเงิน 161.66 ล ้านบาท โดยให ้กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยดํ าเนินการ และ ส่งข ้อมูลให ้สํ านั กงบประมาณพิจารณาเพือ ่ ขอจัดสรรเงิน ซึง่ รวมถึงแผนการปฏิบัตงิ านและแผนการใช ้จ่ายเงินให ้แล ้วเสร็ จ ภายในวันที่ 31 มกราคม 2554 ทัง้ นี้ ค่าใช ้จ่ายในการบํารุงรักษาหอประชุมเอนกประสงค์ในอนาคต ให ้หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบ ดูแลหอประชุมเอนกประสงค์เป็ นผู ้รับผิดชอบค่าใช ้จ่ายทีต ่ ้องใช ้ในการบํารุงรักษาดังกล่าว 5. อนุ มัต ก ิ ารขยายระยะเวลาการขอรั บการจัด สรรเงินและการพิจ ารณาของสํ านั ก งบประมาณ ทั ง้ นี้ หาก หน่วยงานเจ ้าของโครงการไม่สามารถดําเนินการโครงการได ้ทัน ให ้ยกเลิกวงเงินทีจ ่ ัดสรรให ้โครงการและนํ ามารวมเป็ นวงเงิน เหลือจ่ายต่อไป 6. อนุมัตก ิ ารขยายระยะเวลาการลงนามในสัญญาตามทีห ่ น่วยงานเสนอ โดยในส่วนของโครงการ/รายการที่ หน่วยงานขอขยายระยะเวลาการลงนามถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2553 นัน ้ เห็นชอบให ้ขยายระยะเวลาการลงนามเป็ นภายในวันที่ 14 มกราคม 2554 ตามความเห็นของสํานั กงบประมาณ ทัง้ นี้ หากหน่วยงานเจ ้าของโครงการไม่สามารถดํ าเนินโครงการได ้ ทันให ้ยกเลิกวงเงินทีจ ่ ัดสรรให ้โครงการและนํ ามารวมเป็ นวงเงินเหลือจ่ายต่อไป 7. รับทราบการยกเลิกโครงการชุมชนเข ้มแข็งด ้วยพลังงานทดแทน วงเงิน 56.50 ล ้านบาท และโครงการ พัฒนาชุมชนในพืน ้ ทีห ่ า่ งไกลด ้วยเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ วงเงิน 105.68 ล ้านบาท ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์ พลังงาน กระทรวงพลังงาน 8. อนุ มัต เิ ป็ นหลั ก การให ้กระทรวงการคลั ง สามารถดํ า เนิน การลงนามในสั ญ ญาเงินกู ้ล่ ว งหนา้ ก่อ นสํ า นั ก งบประมาณจัดสรรเงิน สําหรับโครงการทีไ่ ด ้รับอนุมัตก ิ ารจัดสรรวงเงินกู ้ตามพระราชกําหนดให ้อํานาจกระทรวงการคลังกู ้เงิน เพือ ่ ฟื้ นฟูและเสริมสร ้างความมัน ่ คงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 ภายในวงเงิน 12,101.33 ล ้านบาท โดยกระทรวงการคลังต ้อง ลงนามในสัญญาเงินกู ้สําหรับโครงการดังกล่าวได ้ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ทัง้ นี้ สํ าหรับรายการทีส ่ ํ านั กงบประมาณ


12 พิจารณาจัดสรรก่อนวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ให ้กระทรวงการคลังกู ้เงินภายในวงเงินทีส ่ ํานักงบประมาณอนุมต ั จ ิ ัดสรรแล ้ว และ อนุมต ั ใิ ห ้ยกเลิกวงเงินเหลือจ่ายคงเหลือ จํานวน 1,020.35 ล ้านบาท 9. อนุมต ั แ ิ ละรับทราบการขอเปลีย ่ นแปลงรายละเอียดของโครงการภายใต ้แผนปฏิบัตก ิ ารไทยเข ้มแข็ง 2555 ่ โดยให ้หน่วยงานจะต ้องส่งข ้อมูลให ้สํานักงบประมาณพิจารณาเพือ ่ ขอจัดสรรเงิน ซึงรวมถึงแผนการปฏิบต ั งิ านและแผนการใช ้ จ่ายเงินให ้แล ้วเสร็ จภายใน 15 วันทํ าการ หลังจากคณะรัฐมนตรีอนุ มัตก ิ ารขอเปลีย ่ นแปลงรายละเอียดของโครงการ และ สํานักงบประมาณจะดําเนินการอนุมัตภ ิ ายใน 15 วันทํ าการ โดยหลังจากได ้รับอนุมัตแ ิ ล ้ว หน่วยงานจะต ้องลงนามในสัญญา ให ้แล ้วเสร็จภายใน 15 วันทําการ 12. เรือ ่ ง มาตรการภาษีเพือ ่ สน ับสนุนการควบรวมกิจการ กรณีการยกเว้นภาษีเงินได้สาหร ับเงินปันผล คณะรัฐมนตรีเห็นชอบมาตรการภาษีเพือ ่ สนับสนุนการควบรวมกิจการ กรณีการยกเว ้นภาษี เงินได ้สําหรับเงิน ปั นผล และอนุมต ั ห ิ ลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด ้วยการยกเว ้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามทีก ่ ระทรวงการคลังเสนอ และให ้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล ้วดําเนินการต่อไปได ้ ข้อเท็ จจริง กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอว่า 1. ประเด็นปั ญหาจากการควบรวมกิจการและโอนกิจการทัง้ หมดให ้แก่กน ั ส่งผลให ้บริษัทจํากัดใหม่หรือบริษัท จํากัดผู ้รับโอนไม่ได ้รับสิทธิยกเว ้นภาษี เงินได ้สําหรับเงินปั นผล ตามมาตรา 65 ทวิ (10) แห่งประมวลรัษฎากร ใน 2 กรณี คือ 1.1 กรณีบริษัทจํากัดเดิมถือหุ ้นบริษัทจํากัดผู ้อืน ่ ผู ้จ่ายเงินปั นผลเป็ นระยะเวลาน ้อยกว่า 3 เดือน ก่อน วันทีม ่ เี งินได ้จากเงินปั นผล และได ้มีการควบกิจการเป็ นบริษัทใหม่ หรือได ้โอนกิจการทั ง้ หมดให ้แก่บริษัทผู ้รับโอน 1.2 กรณีบริษัทจํากัดเดิมถือหุ ้นบริษัทจํากัดผู ้อืน ่ ผู ้จ่ายเงินปั นผลเป็ นระยะเวลาน ้อยกว่า 3 เดือน นับ แต่ วันทีม ่ เี งินได ้จากเงินปั นผล และได ้มีการควบกิจการเป็ นบริษัทใหม่ หรือได ้โอนกิจการทัง้ หมดให ้แก่บริษัทผู ้รับโอน 2. เพือ ่ แก ้ไขปั ญหาตามข ้อ 1 ควรกําหนดมาตรการภาษีเพือ ่ สนับสนุนการควบรวมกิจการ กรณีการยกเว ้นภาษี เงินได ้สําหรับเงินปั นผล โดยออกเป็ นพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด ้วยการยกเว ้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..)พ.ศ. .... 3. การดําเนินการดังกล่าวจะช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให ้บริษัทมีการควบรวมกิจการหรือโอนกิจการทัง้ หมด ่ ให ้แก่กน ั ซึงสอดคล ้องกับแนวทางการปรับปรุงโครงสร ้างกิจการตามแผนพัฒนาตลาดทุนไทย และช่วยให ้การจัดเก็บภาษี จาก เงินปั นผลเป็ นมาตรฐานเดียวกันกับกรณีทไี่ ม่ได ้มีการควบรวมกิจการหรือโอนกิจการทัง้ หมด ซึง่ สอดคล ้องกับหลักการดําเนิน กิจการต่อเนือ ่ ง ตลอดจนจะช่วยเสริมสร ้างความเข ้มแข็งให ้กับบริษัท และทําให ้ฐานภาษี ของรัฐบาลเพิม ่ ขึน ้ ในระยะยาว สาระสาค ัญของร่างพระราชกฤษฎีกา ให ้ยกเว ้นภาษี เงินได ้สําหรับเงินปั นผลทีไ่ ด ้จากบริษัททีต ่ งั ้ ขึน ้ ตามกฎหมายไทยหรือเงินส่วนแบ่งกําไรทีไ่ ด ้ จากกองทุนรวมทีจ ่ ัดตัง้ ขึน ้ ตามกฎหมายว่าด ้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ให ้แก่ 1. บริษัทมหาชนจํากัดหรือบริษัทจํากัดใหม่อน ั ได ้ควบเข ้ากันหรือเป็ นผู ้รับโอนจากการโอนกิจการ ทัง้ หมดให ้แก่กน ั เป็ นจํานวนกึง่ หนึง่ ของเงินปั นผลหรือเงินส่วนแบ่งกําไรทีไ่ ด ้รับ 2. บริษัทตามข ้อ 1 ทีเ่ ป็ นบริษัทจดทะเบียนหรือเป็ นบริษัททีถ ่ อ ื หุ ้นในบริษัทผู ้จ่ายเงินปั นผลเป็ น ิ ิ จํานวนไม่น ้อยกว่าร ้อยละยีส ่ บห ้าของหุ ้นทัง้ หมดทีม ่ ส ี ทธิออกเสียง โดยบริษัทผู ้จ่ายเงินปั นผลไม่ได ้ถือหุ ้นในบริษัทนัน ้ ไม่วา่ โดยทางตรงหรือโดยทางอ ้อมเป็ นจํานวนเท่ากับเงินปั นผลหรือเงินส่วนแบ่งกําไรทีไ่ ด ้รับ ทัง้ นี้ บริษัทตามข ้อ 1 และ 2 ได ้ถือหุ ้นหรือหน่วยลงทุนทีก ่ อ ่ ให ้เกิดเงินปั นผลหรือเงินส่วนแบ่งกําไร ไม่น ้อยกว่าสามเดือนนับแต่วันทีไ่ ด ้หุ ้นหรือหน่วยลงทุนนัน ้ มาจนถึงวันทีม ่ เี งินได ้ดังกล่าว และยังคงถือหุ ้นหรือหน่วยลงทุนนัน ้ ต่อไปอีกไม่น ้อยกว่าสามเดือนนับแต่วันทีม ่ เี งินได ้โดยให ้นับระยะเวลาระหว่างทีบ ่ ริษัทมหาชนจํากัดหรือบริษัทจํากัดเดิมอันได ้ ควบเข ้ากันหรือเป็ นผู ้โอนกิจการทีต ่ ้องจดทะเบียนเลิกได ้ถือหุ ้นหรือหน่วยลงทุนนัน ้ รวมด ้วย (ร่างมาตรา 3 เพิม ่ เติมมาตรา 5 เต วีสติ)


13 13. เรือ ่ ง การกูเ้ งินของธนาคารอาคารสงเคราะห์ในปี งบประมาณ 2554 จานวน 18,000 ล้านบาท คณะรัฐมนตรีอนุมต ั ิ และเห็นชอบตามทีก ่ ระทรวงการคลังเสนอ ดังนี้ 1. อนุมต ั ใิ ห ้ธนาคารอาคารสงเคราะห์กู ้เงินในประเทศในปี งบประมาณ 2554 จํานวน 18,000 ล ้านบาท ประกอบด ้วย การกู ้เงินเป็ นเงินทุนหมุนเวียน จํานวน 11,000 ล ้านบาท และการกู ้เงินเพือ ่ ทดแทนพันธบัตรเดิมทีค ่ รบกําหนด จํานวน 7,000 ล ้านบาท 2. อนุมต ั ใิ ห ้กระทรวงการคลังเป็ นผู ้พิจารณาการกู ้เงิน วิธก ี ารกู ้เงิน เงือ ่ นไข และรายละเอียดต่าง ๆ ของการกู ้ เงิน และการคํ้าประกันในแต่ละครัง้ ได ้ตามความเหมาะสมและจําเป็ น 3. เห็นชอบให ้ธนาคารอาคารสงเคราะห์จัดให ้มีแผนงานและแนวทางในการบริหารจัดการ NPL อย่างเป็ น ิ เชือ ่ ทีเ่ ข ้มงวดอย่างระมัดระวัง เพือ ่ งทีอ ระบบ รวมทัง้ มีมาตรการในการพิจารณาอนุมต ั ส ิ น ่ เป็ นการป้ องกันความเสีย ่ าจก่อให ้เกิด ปั ญหา NPL ในอนาคตด ้วย นอกจากนี้ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ควรศึกษาแนวทางการลดการพึง่ พาการคํ้าประกันพันธบัตร ของกระทรวงการคลัง โดยการพิจารณาหาทางเลือกอืน ่ ในการจัดหาแหล่งเงินทุนเพือ ่ สนับสนุนการดําเนินงาน เช่น การทํา ่ Securitization สินเชือทีอ ่ ยูอ ่ าศัยในระยะยาวทีเ่ หมาะสมด ้วย ทัง้ นี้ ให ้กระทรวงการคลังรับความเห็นของสํานักงบประมาณ และสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ไปพิจารณาดําเนินการต่อไปด ้วย 14. เรือ ่ ง แนวทางการดาเนินการโฉนดชุมชน คณะรัฐมนตรีเห็นชอบการแต่งตัง้ คณะทํางานพิเศษเพือ ่ พิจารณาอนุมต ั ใิ ห ้ใช ้พืน ้ ทีใ่ นการจัดทําเป็ นโฉนด ชุมชนให ้เป็ นทีย ่ ต ุ ใิ นระดับกระทรวงและกรุงเทพมหานครเพือ ่ รับผิดชอบในการจัดให ้มีโฉนดชุมชนต่อไป ตามทีร่ ฐ ั มนตรีประจํา สํานักนายกรัฐมนตรี (นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย) ประธานกรรมการประสานงานเพือ ่ จัดให ้มีโฉนดชุมชนเสนอ สาระสาค ัญของเรือ ่ ง รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี (นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย) ประธานกรรมการประสานงานเพือ ่ จัดให ้มี โฉนดชุมชน รายงานว่า 1. ทีป ่ ระชุมคณะกรรมการประสานงานเพือ ่ จัดให ้มีโฉนดชุมชน ครัง้ ที่ 4/2553 เมือ ่ วันที่ 20 ธันวาคม 2553 ได ้ ้พื ติดตามผลการดําเนินการในการพิจารณาการอนุญาตให ้ใช น ้ ทีเ่ พือ ่ จัดทําเป็ นโฉนดชุมชนของกระทรวงและหน่วยงานที่ เกีย ่ วข ้อง รวม 35 ชุมชน ประกอบด ้วย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อม (ทส.) จํานวน 17 ชุมชน กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ (กษ.) จํานวน 9 ชุมชน กระทรวงการคลัง (กค.) จํานวน 3 ชุมชน กระทรวงคมนาคม (คค.) จํานวน 1 ชุมชน กระทรวงมหาดไทย (มท.) จํานวน 14 ชุมชน และ กทม. จํานวน 4 ชุมชน และพิจารณาเห็นว่าปั จจุบน ั ผลการดําเนินการของ กระทรวงและหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้องข ้างต ้น ยังไม่มค ี วามคืบหน ้ามากนัก โดยคาดว่าปั จจุบน ั จะสามารถจัดทําเป็ นโฉนดชุมชนได ้ เพียง 1-2 ชุมชนเท่านัน ้ 2. คณะกรรมการประสานงานฯ พิจารณาแล ้วเห็นว่า เพือ ่ ให ้การดําเนินการในการจัดทําโฉนดชุมชนสามารถ ดําเนินการได ้รวดเร็วและเป็ นไปตามเป้ าหมายของชุมชนทีก ่ ําหนดไว ้ จึงเห็นสมควรให ้กระทรวง 5 กระทรวงดังกล่าวข ้างต ้น (กษ. กค. คค. ทส. มท.) และ กทม. พิจารณาแต่งตัง้ คณะทํางานพิเศษขึน ้ คณะหนึง่ เพือ ่ พิจารณาอนุมต ั ใิ ห ้ใช ้พืน ้ ทีใ่ นการ จัดทําเป็ นโฉนดชุมชนให ้เป็ นทีย ่ ต ุ ใิ นระดับกระทรวงและกรุงเทพมหานคร เพือ ่ รับผิดชอบในการจัดให ้มีโฉนดชุมชนต่อไป 3. เนือ ่ งจากการจัดให ้มีโฉนดชุมชนเป็ นการดําเนินการตามนโยบายปรับโครงสร ้างเศรษฐกิจภาคเกษตรของ คณะ รัฐมนตรีทแ ี่ ถลงไว ้ต่อรัฐสภาว่า รัฐบาลจะเร่งรัดการให ้สิทธิชม ุ ชนทีท ่ ํากินอยูใ่ นทีด ่ น ิ ของรัฐทีไ่ ม่มส ี ภาพป่ าแล ้วในรูปของ ่ โฉนดชุมชน ซึงจําเป็ นต ้องได ้รับการเร่งรัดดําเนินงานนโยบายรัฐบาลในเรือ ่ งนีจ ้ ากหน่วยงานของรัฐทีท ่ ําหน ้าทีร่ บ ั ผิดชอบดูแล ทีด ่ น ิ ดังกล่าว ตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2553 ื้ กิจการ CDMA ในสว่ นกลาง โดยการเข้าซอ ื้ ทร ัพย์สน ิ และร ับทราบแนวทางการ 15. เรือ ่ ง ขอยกเลิกโครงการเข้าซอ ั เคลือ ดาเนินธุรกิจโทรศพท์ ่ นทีร่ ป ู แบบใหม่ของบริษ ัท กสท โทรคมนาคม จาก ัด (มหาชน) ่ สารเสนอ ดังนี้ คณะรัฐมนตรีอนุมต ั ิ และรับทราบตามทีก ่ ระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ 1. อนุมต ั ใิ ห ้ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 7 เมษายน 2553 เพือ ่ ให ้ให ้บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด ้ ้ ทรัพย์สน ิ (มหาชน) (บมจ.กทส โทรคมนาคม) ยกเลิกโครงการเข ้าซือกิจการ CDMA ในส่วนกลาง โดยการเข ้าซือ


14 2. รับทราบแนวทางการดําเนินธุรกิจโทรศัพท์เคลือ ่ นทีข ่ อง บมจ. กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) และ ่ ให ้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร และบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ดําเนินการตามอํานาจ หน ้าทีใ่ ห ้เป็ นไปตามข ้อกฎหมายและระเบียบทีเ่ กีย ่ วข ้องต่อไป โดยให ้รับความเห็นของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ไปพิจารณาดําเนินการในส่วนทีเ่ กีย ่ วข ้องด ้วย 16. เรือ ่ ง ขอร ับการสน ับสนุนงบประมาณการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของผูร้ ว่ มพ ัฒนาชาติไทย คณะรั ฐมนตรีอ นุ มัต ใิ ห ้กองอํ า นวยการรั ก ษาความมั่นคงภายในราชอาณาจั ก รเบิก จ่า ยงบประมาณรายจ่า ย ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 งบกลาง รายการเงินสํารองจ่ายเพือ ่ กรณีฉุกเฉินหรือจํ าเป็ น จํ านวน 551,700,000 บาท โดย เบิกจ่ายในงบรายจ่ายอืน ่ เพือ ่ เป็ นเงินช่วยเหลือค่าประกอบอาชีพของผู ้ร่วมพัฒนาชาติไทยเฉพาะบุคคลทีม ่ ก ี ารตรวจสอบความ ถูกต ้องตาม หลักเกณฑ์แล ้ว จํานวน 2,452 คน ตามความเห็นของสํานักงบประมาณ และให ้กองอํานวยการรักษาความมั่นคง ่ ดั ง กล่ า ว ตามหลั ก เกณฑ์ และขอทํ า ความตกลงใน ภายในราชอาณาจั ก รเร่ ง รั ด ตรวจสอบความถู ก ต ้องของบั ญ ชีร ายชือ รายละเอียดกับสํานักงบประมาณต่อไป โดยอนุมต ั ใิ ห ้ใช ้จ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจํ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 งบกลาง รายการเงินสํารองจ่าย เพือ ่ กรณีฉุกเฉินหรือจําเป็ น 17. เรือ ่ ง กาหนดให้มาตรการภาษีเพือ ่ สน ับสนุนการปร ับปรุงโครงสร้างองค์กรเป็นมาตรการถาวร คณะรัฐมนตรีเห็นชอบกําหนดให ้มาตรการภาษี เพือ ่ สนั บสนุนการปรับปรุงโครงสร ้างองค์กรเป็ นมาตรการถาวร และอนุมัตห ิ ลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด ้วยการยกเว ้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามทีก ่ ระทรวงการคลังเสนอ และให ้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาเป็ นเรือ ่ งด่วน แล ้วดําเนินการต่อไปได ้ สาระสาค ัญ ยกเว ้นภาษี มล ู ค่าเพิม ่ ภาษี ธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ ให ้แก่ผู ้ประกอบกิจการซึง่ เป็ นบริษัทมหาชนจํ ากัด หรือ บริษั ทจํ า กั ด ที่เ ป็ นบริษั ทในเครือ เดีย วกั น สํ า หรั บ มู ล ค่ า ของฐานภาษี รายรั บ หรือ การกระทํ า ตราสารที่เ กิด ขึน ้ หรือ เนือ ่ งมาจากการที่ ผู ้ประกอบกิจการดังกล่าวโอนกิจการบางส่วนให ้แก่กน ั ตามหลักเกณฑ์ วิธก ี าร และเงือ ่ นไขทีอ ่ ธิบดีประกาศ กําหนด ทัง้ นี้ บริษัท ในเครือเดียวกันให ้หมายถึง บริษัท ในเครือ เดียวกันตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร และ หมายความรวมถึงบริษัทผู ้โอนกิจการถือหุ ้นในบริษัททีถ ่ อ ื หุ ้นในบริษัทผู ้รับโอนกิจการอีกทอดหนึง่ ต่อเนื่องกัน โดยการถือหุ ้น ิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษัททีถ ของบริษัทดังกล่าวมีจํานวนไม่น ้อยกว่าร ้อยละ 50 ของจํ านวนหุ ้นทีม ่ ส ี ท ่ ูกหุ ้นนั น ้ โดยความ ้ เป็ นบริษัทในเครือเดียวกันจะต ้องเป็ นอยูต ่ อ ่ ไปไม่น ้อยกว่าหกเดือน นับแต่วันสินรอบระยะเวลาบัญชีทม ี่ ก ี ารโอนกิจการบางส่วน ให ้แก่กน ั ิ ธิประโยชน์ในการปร ับปรุงโครงสร้างหนี้ 18. เรือ ่ ง การขยายระยะเวลาการให้สท คณะรัฐมนตรีเห็นชอบการขยายระยะเวลาการให ้สิทธิประโยชน์ในการปรับปรุงโครงสร ้างหนี้ และ 1. อนุมต ั ห ิ ลักการ 1.1 ร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด ้วยการยกเว ้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และ 1.2 ร่างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด ้วยการจํ าหน่ายหนี้สญ ู จาก บัญชีลก ู หนี้ 2. เห็นชอบในหลักการ 2.1 ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ ่ ง หลักเกณฑ์การลดหย่อนค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและ นิตก ิ รรมเป็ นพิเศษ ตามประมวลกฎหมายทีด ่ น ิ สําหรับกรณีการปรับปรุงโครงสร ้างหนี้ ตามหลักเกณฑ์ทค ี่ ณะรัฐมนตรีกําหนด และ2.2 ร่างประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ ่ ง หลักเกณฑ์การลดหย่อนค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิตก ิ รรมเป็ นพิเศษ ตามประมวลว่าด ้วยอาคารชุด สําหรับกรณีการปรับปรุงโครงสร ้างหนี้ ตามหลักเกณฑ์ทค ี่ ณะรัฐมนตรีกําหนด รวม 4 ฉบับ ตามที่ กระทรวงการคลังเสนอ และให ้ส่งสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาเป็ นเรือ ่ งด่วน แล ้วดําเนินการต่อไปได ้


15 สาระสาค ัญ ให ้สิทธิประโยชน์ภาษี อากรและค่าธรรมเนียมในการปรับปรุงโครงสร ้างหนี้ ดังนี้ 1. ด้านภาษีอากร (1) ยกเว ้นภาษี เงินได ้ให ้แก่ลูกหนี้ของสถาบันการเงิน สําหรับเงินได ้ทีไ่ ด ้รับจากการปลดหนี้ของสถาบัน การเงิน (2) ยกเว ้นภาษี เงินได ้ ภาษีมล ู ค่าเพิม ่ ภาษีธรุ กิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ ให ้แก่ลก ู หนีข ้ องสถาบัน ิ การเงินและสถาบันการเงิน สําหรับเงินได ้ทีไ่ ด ้รับจากการโอนทรัพย์สน การขายสินค ้าหรือบริการให ้บริการ และสําหรับการ กระทําตราสารอันเนือ ่ งมาจากปรับปรุงโครงสร ้างหนี้ (3) ยกเว ้นภาษี เงินได ้ให ้แก่ลก ู หนีข ้ องเจ ้าหนีอ ้ น ื่ สําหรับเงินได ้ทีไ่ ด ้รับจากการปลดหนีข ้ องเจ ้าหนี้ อืน ่ (4) ยกเว ้นภาษี เงินได ้ ภาษีมล ู ค่าเพิม ่ ภาษี ธรุ กิจเฉพาะและอากรแสตมป์ ให ้แก่ลก ู หนีข ้ องเจ ้าหนีอ ้ น ื่ ิ และเจ ้าหนีอ ้ น ื่ สําหรับเงินได ้ทีไ่ ด ้รับจากการโอนทรัพย์สน การขายสินค ้าหรือการให ้บริการ และสําหรับการกระทําตราสารอัน เนือ ่ งมาจากการปรับปรุงโครงสร ้างนี้ (5) ยกเว ้นภาษี เงินได ้ ภาษีธรุ กิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ ให ้แก่ลก ู หนีข ้ องสถาบันการเงิน สําหรับ เงินได ้ทีร่ ับจากการโอนอสังหาริมทรัพย์ทล ี่ ก ู หนีข ้ องสถาบันการเงินนํ ามาจํานองเป็ นประกันหนีข ้ องสถาบันการเงินให ้แก่ผู ้อืน ่ ่ ซึงมิใช่เจ ้าหนีท ้ เี่ ป็ นสถาบันการเงิน และสําหรับการกระทําตราสารอันเนือ ่ งจากจากโอนอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าว โดยลูกหนี้ ของสถาบันการเงินต ้องนํ าเงินได ้นัน ้ ไปชําระหนีแ ้ ก่เจ ้าหนีท ้ เี่ ป็ นสถาบันการเงิน ั 2. ด้านค่าธรรมเนียมการโอนและการจานองอสงหาริ มทร ัพย์ ให ้เรียกเก็บค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิตก ิ รรมการโอนอสังหาริมทรัพย์และค่าจดทะเบียนการ จํานองอสังหาริมทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายทีด ่ น ิ และตามกฎหมายว่าด ้วยอาคารชุด ร ้อยละ 0.01 ในส่วนทีเ่ กีย ่ วกับการ ปรับปรุงโครงสร ้างหนี้ ในกรณีดังต่อไปนี้ (1) กรณีลก ู หนีข ้ องสถาบันการเงินโอนอสังหาริมทรัพย์เพือ ่ ชําระหนีใ้ ห ้แก่สถาบันการเงิน หรือลูกหนี้ ของเจ ้าหนีอ ้ น ื่ โอนอสังหาริมทรัพย์เพือ ่ ชําระหนีใ้ ห ้แก่เจ ้าหนีอ ้ น ื่ (2) กรณีสถาบันการเงินหรือเจ ้าหนี้โอนอสังหาริมทรัพย์ทไี่ ด ้รับโอนมาตาม (1) ให ้แก่ลก ู หนีข ้ อง สถาบันการเงินหรือลูกหนีข ้ องเจ ้าหนีอ ้ น ื่ (3) กรณีการจํานองอสังหาริมทรัพย์ ระหว่างลูกหนีข ้ องสถาบันการเงินกับเจ ้าหนีท ้ เี่ ป็ นสถาบันการเงิน ่ ึ หรือระหว่างลูกหนีข ้ องเจ ้าหนีอ ้ น ื่ กับเจ ้าหนีอ ้ น ื่ ไม่วา่ จะเป็ นการจดทะเบียนจํานองอสังหาริมทรัพย์ซงเป็ นหลักประกันอยูเ่ ดิม ่ ึ หรืออสังหาริมทรัพย์ซงนํ ามาเป็ นหลักประกันใหม่ (4) กรณีลก ู หนีข ้ องสถาบันการเงินโอนอสังหาริมทรัพย์ทล ี่ ก ู หนีข ้ องสถาบันการเงินนํ ามาจํานองเป็ น ่ ประกันหนีข ้ องสถาบันการเงินให ้แก่ผู ้อืน ่ ซึงไม่ใช่เจ ้าหนีท ้ เี่ ป็ นสถาบันการเงิน เพือ ่ นํ าเงินทีไ่ ด ้จากการโอนอสังหาริมทรัพย์นัน ้ ไปชําระหนีแ ้ ก่เจ ้าหนีท ้ เี่ ป็ นสถาบันการเงิน ทัง้ นี้ ให ้เรียกเก็บค่าจดทะเบียนโอนอสังหาริมทรัพย์ร ้อยละ 0.01 ของราคาประเมินทุนทรัพย์ตาม (4) สําหรับเงินทีน ่ ํ าไปชําระหนีใ้ ห ้แก่เจ ้าหนีเ้ ป็ นสถาบันการเงิน และให ้เรียกเก็บตามอัตราปกติสําหรับราคาประเมินทุนทรัพย์สว่ นที่ เกินจํานวนเงินทีน ่ ํ าไปชําระหนีด ้ ังกล่าว ิ ธิประโยชน์ ้ จ 3. ขอบเขตของหนีท ี่ ะได้ร ับสท ้ เป็ นหนีท หนีท ้ จ ี่ ะได ้รับสิทธิประโยชน์ ฯ ข ้างต ้นเป็ นหนีท ้ ถ ี่ ก ู จัดชัน ้ ไี่ ม่กอ ่ ให ้เกิดรายได ้ตามหลักเกณฑ์การ ้ ้ เป็ น จัดชันและการกันเงินสํารองของสถาบันการเงินทีธ ่ นาคารแห่งประเทศไทยประกาศกําหนด และให ้รวมถึงหนีท ้ ถ ี่ ก ู จัดชัน ้ สงสับจะสูญทีก สินทรัพย์จัดชัน ่ น ั สํารองครบร ้อยละ 100 และตัดออกจากบัญชีแล ้ว แต่ยงั ไม่ได ้บันทึกกลับเข ้ามาในบัญชี และ ได ้ดําเนินการปรับปรุงโครงสร ้างหนีต ้ ามแนวนโยบายการปรับปรุงโครงสร ้างหนีท ้ ธ ี่ นาคารแห่งประเทศไทยประกาศกําหนด ้ ทัง้ นี้ ไม่วา่ บัญชีลก ู หนีจ ้ ะได ้รับการจัดชันดังกล่าวก่อนปี พ.ศ. 2554 หรือภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ิ ธิประโยชน์ มีผลบังคับใช ้ตัง้ แต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 4. ระยะเวลาการให้สท


16 ่ ยเหลือเกษตรกรและผูย 19. เรือ ่ ง รายงานผลการดาเนินงานของคณะกรรมการชว ้ ากจน คณะรัฐมนตรีรับทราบตามทีค ่ ณะกรรมการช่วยเหลือเกษตรกรและผู ้ยากจน (กชก.) โดยสํานักงาน ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในฐานะฝ่ ายเลขานุการของ กชก. รายงานผลการดําเนินงานของกองทุนหมุนเวียนเพือ ่ การ กู ้ยืมแก่เกษตรกรและผู ้ยากจน ในช่วง 6 เดือนหลังของปี งบประมาณ 2553 (เมษายน 2553 – กันยายน 2553) สรุปได ้ดังนี้ 1. การอนุม ัติเงินกู ้ 1.1 การอนุมต ั เิ งินกู ้ในช่วง 6 เดือนหลังของปี งบประมาณ 2553 (เมษายน 2553 – กันยายน 2553) เปรียบเทียบกับปี งบประมาณ 2552 ผลการอนุมต ั ช ิ ว่ ง 6 เดือนหลังของปี งบประมาณ 2553 ผลการอนุมต ั ช ิ ว่ ง 6 เดือนหลังของปี งบประมาณ 2552 จํานวน (ราย)

จํานวนเงิน (บาท)

จํานวนทีด ่ น ิ (ไร่)

จํานวน (ราย)

จํานวนเงิน (บาท)

จํานวนทีด ่ น ิ (ไร่)

685

190,935,984

5,331-0-09.9

578

169,703,147

5,783-2-28.0

1.2 ผลเปรียบเทียบการดําเนินการอนุมต ั เิ งินกู ้ในช่วง 6 เดือนหลังของปี งบประมาณ 2553 และ ปี งบประมาณ 2552 ปรากฏว่าผลการอนุมต ั เิ งินกู ้ในปี งบประมาณ 2553 จํานวนรายในการอนุมต ั เิ งินกู ้เพิม ่ ขึน ้ จํานวน 107 ราย คิดเป็ นร ้อยละ 18.51 และจํานวนเงินทีอ ่ นุมต ั เิ พิม ่ ขึน ้ จํานวน 21.23 ล ้านบาท คิดเป็ นร ้อยละ 12.51 ของผลการอนุมต ั ใิ น ปี งบประมาณ 2552 เนือ ่ งจากมีการแก ้ไขระเบียบการให ้ความช่วยเหลือเกษตรกรและผู ้ยากจนให ้กว ้างขวางมากยิง่ ขึน ้ ได ้แก่ การขยายเจ ้าหนี้ จากเดิมเจ ้าหนีท ้ เี่ ป็ นบุคคลทัว่ ไป นิตบ ิ ค ุ คลทีค ่ ณะกรรมการกําหนด และธนาคารพาณิชย์ตาม พระราชบัญญัตวิ า่ ด ้วยธนาคารพาณิชย์ ขยายเป็ นเจ ้าหนีท ้ เี่ ป็ นบุคคลทัว่ ไป นิตบ ิ ค ุ คลทีค ่ ณะกรรมการกําหนด ธนาคาร พาณิชย์ตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด ้วยธนาคารพาณิชย์ ธนาคารเพือ ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารออมสิน และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ทัง้ นี้ รวมถึงเจ ้าหนีท ้ เี่ ป็ นสหกรณ์ การเกษตรและสหกรณ์เครดิตยูเนีย ่ นทีเ่ กษตรกรและผู ้ยากจนกู ้ยืมไปประกอบอาชีพด ้านการเกษตร นอกจากนีย ้ งั ได ้ขยาย วงเงินทีใ่ ห ้ความช่วยเหลือจากเดิมได ้ไม่เกินรายละ 500,000 บาท เป็ นไม่เกินรายละ 2,500,000 บาท 1.3 การอนุมต ั เิ งินกู ้ตัง้ แต่ปี 2534 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2553 กองทุนหมุนเวียนฯ ได ้อนุมต ั เิ งินกู ้ ้ คืน 239,611-0-07.1 ไร่ จํานวน 23,081 ราย จํานวนเงิน 3,440,312,949.63 บาท จํานวนทีด ่ น ิ ทีข ่ อไถ่ถอน/ซือ 2. การร ับชาระหนีเ้ งินกูค ้ น ื ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 กองทุนหมุนเวียนฯ มียอดต ้นเงินกู ้คงเหลือจํานวน 1,587.05 ล ้านบาท เป็ นหนีป ้ กติจํานวน 1,030.40 ล ้านบาท และหนีค ้ ้างชําระจํานวน 556.65 ล ้านบาท 3. สถานะการเงินของกองทุนหมุนเวียนฯ ้ จํานวน 109.42 ล ้าน ในช่วง 6 เดือนหลัง (เมษายน 2553 – กันยายน 2553) กองทุนฯ มีรายรับทัง้ สิน ้ จํานวน 240.54 ล ้านบาท ส่วนใหญ่เป็ นการจ่ายเงินกู ้ให ้เกษตรกรทีไ่ ด ้รับอนุมต บาท และรายจ่ายทัง้ สิน ั จ ิ ํานวน 190.94 ล ้าน บาท คิดเป็ นร ้อยละ 79.38 ของรายจ่ายทัง้ หมด และเป็ นค่าใช ้จ่ายในการดําเนินงานของ ธ.ก.ส. จํานวน 43.07 ล ้านบาท คิด เป็ นร ้อยละ 17.90 ของรายจ่ายทัง้ หมด ้ 325,505,578.41 บาท ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 กองทุนหมุนเวียนฯ มียอดเงินคงเหลือรวมทัง้ สิน ปัญหาและอุปสรรค 1. เนือ ่ งจากในการประชุม กชก. ครัง้ ที่ 2/2553 เมือ ่ วันที่ 31 สิงหาคม 2553 ทีป ่ ระชุมมีมติเพิม ่ อํานาจหน ้าที่ ให ้คณะอนุกรรมการ (อชก.) ส่วนจังหวัดและส่วนอําเภอ ในเรือ ่ งการติดตามและพัฒนาฟื้ นฟูอาชีพลูกหนี้กองทุนหมุนเวียนฯ รวมทั ง้ มีก ารปรั บ เปลี่ยนเจ ้าหนา้ ที่ผู ้ปฏิบัต งิ านฝ่ ายเลขานุ ก ารฯ ของ อชก. ส่ว นจั ง หวั ด และส่ว นอํ า เภอเพิม ่ เติม ซึง่ เป็ น เจ ้าหนา้ ที่ผู ้ปฏิบัต งิ านใหม่ ยังมีค วามรู ้ความเข ้าใจในเรื่อ งระเบียบ หลั ก เกณฑ์ และวิธ ีป ฏิบัต งิ านให ้ความช่ว ยเหลือ ตาม ั เจน ระเบียบกองทุนหมุนเวียนฯไม่ชด 2. สถานะการเงินของกองทุนหมุนเวียนฯ ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 มียอดเงินคงเหลือจํานวน 325 ล ้านบาท และได ้รับงบประมาณเพิม ่ เติมในปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 จํ านวน 50 ล ้านบาท รวมเป็ นเงินงบประมาณ พ.ศ. 2554 จํ านวน ้ 375 ล ้านบาท โดยในปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 มีการอนุ มัตเิ งินกู ้จํ า นวน 376 ล ้านบาท ซึง่ ในปี งบประมาณ พ.ศ. ทัง้ สิน 2554 น่าจะมีงบประมาณเหลือเพียงพอในการให ้ความช่วยเหลือ แต่จะไม่เพียงพอต่อการให ้ความช่วยเหลือเกษตรกรและผู ้ ยากจนในปี งบประมาณ พ.ศ. 2555


17 แนวทางแก้ไข 1. จัดประชุมสัมมนาเชิงปฏิบต ั ก ิ ารเจ ้าหน ้าทีผ ่ ู ้ปฏิบต ั งิ านเกีย ่ วกับการช่วยเหลือเกษตรกรและผู ้ยากจน ตาม ระเบียบกองทุนหมุนเวียนฯ เพือ ่ ให ้มีความรู ้ ความเข ้าใจ ในเรือ ่ งระเบียบ หลักเกณฑ์ และวิธป ี ฏิบต ั งิ านให ้ชัดเจนยิง่ ขึน ้ 2. ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2555 ควรได ้รับการจัดสรรงบประมาณเพิม ่ เติมจํานวนประมาณ 400 ล ้านบาท ขณะนีไ ้ ด ้เกิดอุทกภัยในพืน ้ ทีห ่ ลายจังหวัด ทําให ้เกษตรกรลูกหนีก ้ องทุนหมุนเวียนฯ ประสบความเสียหาย ทางการเกษตรและทีอ ่ ยูอ ่ าศัย ดังนัน ้ เพือ ่ เป็ นการช่วยเหลือลูกหนีก ้ องทุนหมุนเวียนฯ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์จงึ ได ้ประสานงานกับธนาคารเพือ ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เพือ ่ สํารวจความเสียหายของลูกหนีข ้ องกองทุน หมุนเวียนฯ เพือ ่ ให ้ความช่วยเหลือตามหลักเกณฑ์และวิธป ี ฏิบต ั ใิ นการให ้ความช่วยเหลือเกษตรกรและผู ้ยากจนผู ้เป็ นลูกหนี้ กองทุนหมุนเวียนฯ กรณีประสบภัยธรรมชาติและภัยพิบต ั ต ิ อ ่ ไปแล ้ว 20. เรือ ่ ง รายงานสถานการณ์วส ิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปี 2552 และแนวโน้ม ปี 2553 คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานสถานการณ์วส ิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปี 2552 และแนวโน ้ม ปี 2553 ตามทีก ่ ระทรวงอุตสาหกรรมเสนอ สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงอุต สาหกรรม (อก.) รายงานว่ า สํ า นั ก งานส่ง เสริม วิส าหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อ ม (สสว.) สํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ได ้ศึกษาและจัดทํ ารายงานสถานการณ์วส ิ าหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมตัง้ แต่ ปี 2544 ต่อเนือ ่ งถึงปั จจุบน ั โดยรายงานสถานการณ์วส ิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมปี 2552 และแนวโน ้ม ปี 2553 มีสาระสําคัญโดยสรุปดังนี้ 1. โครงสร้างรายงานสถานการณ์วส ิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปี 2552 และแนวโน้ม ปี 2553 รายงานสถานการณ์วส ิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ประกอบไปด ้วย 4 ส่วนด ้วยกัน คือ ส่ว นที่ 1 สถานการณ์ แ ละตั ว ชีว้ ั ด เชิง เศรษฐกิจ ของวิส าหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อ ม ปี 2552 และ แนวโนม ้ ปี 2553 โดยมีวั ต ถุป ระสงค์เ พื่อ รายงานบทบาทที่มต ี ่อ ระบบเศรษฐกิจ ของประเทศในระดั บ มหภาค โดยมีตัวชีว้ ัด ทีส ่ ําคัญ ได ้แก่ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ การนํ าเข ้าและส่งออก และตัวชีว้ ัดเชิงเศรษฐกิจ ปี 2552 และแนวโน ้ม ปี 2553 ส่วนที่ 2 สถานการณ์และตัวชีว้ ัดเชิงโครงสร ้างของวิสาหกิจขาดกลางและขนาดย่อม ปี 2552 วัตถุประสงค์ เพือ ่ รายงานโครงสร ้างและเปลีย ่ นแปลงในประเด็นทีส ่ ําคัญ คือ จํ านวนกิจการ การจ ้างงาน การจัดตัง้ และยกเลิกกิจการทีเ่ ป็ น นิตบ ิ ค ุ คล รวมถึงสถานะผู ้ประกอบการในพืน ้ ทีก ่ รุงเทพมหานคร ส่วนที่ 3 ประเด็นทีน ่ ่าสนใจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในประเทศไทย ได ้แก่ การรายงานเชิง ่ ระชาคมอาเซียน และศักยภาพและลู่ทางของวิสาหกิจ วิเคราะห์ข ้อมูลของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กับการเข ้าสูป ่ ลาดอาเซียนใหม่ รวมถึงบทบาทและการเติบโตของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข ้าสูต ในเชิงสังคมและวัฒนธรรม ในประเทศไทย ส่วนที่ 4 มาตรการและผลการดํ าเนินงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เป็ นการรายงานผลการ ดําเนินงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และผลการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ตามยุทธศาสตร์ แผนแม่บทฉบับที่ 2 ปี 2550-2554 ของหน่วยงานต่าง ๆ ทีเ่ กีย ่ วข ้อง และสรุปมาตรการแก ้ไขวิกฤติเศรษฐกิจทีเ่ กีย ่ วข ้องกับ วิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม 2. จานวนและการจ้างงานในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปี 2552 ้ 2,900,759 ราย เป็ นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด จํานวนวิสาหกิจรวมทัง้ ประเทศในปี 2552 มีจํานวนทัง้ สิน ย่อม จํ านวน 2,896,106 ราย สามารถจํ าแนกเป็ นวิสาหกิจขนาดย่อม จํ านวน 2,884,041 ราย วิสาหกิจขนาดกลางจํ านวน 12,065 ราย และเป็ นวิสาหกิจขนาดใหญ่ จํานวน 4,653 ราย การจ ้างงานในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมนัน ้ ในปี 2552 ้ มีการจ ้างงานในกิจการทุกขนาดรวมทัง้ สิน 12,405,597 คน โดยเป็ นการจ ้างงานในวิสาหกิจขนาดใหญ่ 2,704,243 คน และ เป็ นการจ ้างงานในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จํานวน 9,701,354 คน หรือร ้อยละ 78.20 ของการจ ้างงานรวมทัง้ หมด


18 3. ผลิตภ ัณฑ์มวลรวมในประเทศของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ในปี 2552 มีการหดตัวร ้อยละ 2.2 ลดลงเมือ ่ เทียบกับอัตราการ ขยายตัวร ้อยละ 2.5 ในปี ก่อนหน ้า โดยมูลค่า GDP ในปี 2552 เท่ากับ 9,050,715.0 ล ้านบาท ลดลงจากปี ก่อนหน ้า 24,788 ล ้านบาท สําหรับ GDP ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในปี 2552 มีมล ู ค่า 3,417,860.7 ล ้านบาท คิดเป็ นสัดส่วนร ้อย ละ 37.8 ของ GDP รวมทัง้ ประเทศ โดยมูลค่า GDP ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หดตัวลงร ้อยละ 2.4 ต่อปี ชะลอ ลงจากร ้อยละ 2.0 ในปี กอ ่ น มูล ค่า ผลิต ภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ในไตรมาสแรก และไตรมาสที่ส องของปี 2553 มีมูล ค่า ่ 2,565,205 ล ้านบาท และ 2,494,376 ล ้านบาท ซึงขยายตัวร ้อยละ 12.0 และ 9.1 ตามลํ าดับ ส่วนสถานการณ์ของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม มีทศ ิ ทางเดียวกันกับประเทศ โดยในไตรมาสแรกและไตรมาสทีส ่ อง ปี 2553 มีมล ู ค่า 955,703.7 ล ้านบาทและ 914,292.2 ล ้านบาท และมีอต ั ราการขยายตัวร ้อยละ 11.2 และ 8.1 ตามลําดับ 4. การค้าระหว่างประเทศของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ้ 5,199,912.37 ล ้านบาท หดตัวลดลงจากปี 2551 ในปี 2552 ประเทศไทยมีมล ู ค่าการส่งออกโดยรวมทัง้ สิน ร ้อยละ 11.17 โดยเป็ นการส่งออกของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 1,589,199.87 ล ้านบาท หดตัวลดลงร ้อยละ 6.03 จากปี 2551 โดย วิส าหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อ ม มีก ารส่ง ออกไปยั ง ตลาดหลั ก ที่สํ า คั ญ ของประเทศ คือ ญี่ปุ่ น สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง จีน เช่นกัน ในสัดส่วนทีน ่ ้อยกว่ารายใหญ่ แต่มก ี ารกระจายสัดส่วนการส่งออกไปยังตลาดอืน ่ ๆ มากกว่า สําหรับสินค ้าในกลุ่มทีว่ ส ิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม มีการส่งออกในสัดส่วนทีส ่ งู ทีส ่ ด ุ คือ อัญมณีและ เครือ ่ งประดับ (พิกด ั ศุลกากร 71) พลาสติกและของทําด ้วยพลาสติก (พิกด ั ศุลกากร 39) และ ยางและของทํ าด ้วยยาง (พิกัด ่ ั ศุลกากร 40) ซึงมีสดส่วนร ้อยละ 17.15 6.63 และ 5.84 ตามลําดับ ภาพรวมการส่งออกของประเทศ ใน 6 เดือนแรกของปี 2553 มีมล ู ค่ารวม 3,020,593.2 ล ้านบาท ขยายตัว ร ้อยละ 27.29 ด ้านการส่งออกของ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ใน 6 เดือนแรกของปี 2553 มีมล ู ค่ารวม 891,207.6 ล ้านบาท ขยายตัวร ้อยละ 14.65 ี้ ส 5. เครือ ่ งชท ี่ าค ัญและการเคลือ ่ นไหว ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในปี 2552 มีอัตราการเติบโตสูงขึน ้ โดยมา ่ ่ ้ จากการฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจของโลก และความเชือมัน ่ ในศักยภาพของแรงงานทักษะของไทย ทํ าให ้มีคําสังซือจากประเทศคู่ ้กํ ค ้าเพิม ่ มากขึน ้ อัตราการใช าลังการผลิตของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม อยูใ่ นระดับทีต ่ ํ่ากว่าภาพรวมของประเทศ พอสมควร ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2553 มีอต ั ราการ เติบโตสูงขึน ้ โดยมีทศ ิ ทางด ้านบวก อยูใ่ นระดับเฉลีย ่ ระหว่างร ้อยละ 2.50 – 8.00 เนื่องจากการฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจของโลก ่ ้ จากประเทศคู่ค ้าเพิม และความเชือมัน ่ ในศักยภาพของแรงงานทักษะของไทย ทํ าให ้มีกําลังการสั่งซือ ่ มากขึน ้ ซึง่ ในช่วงเดือน เมษายน 2553 เป็ นช่วงทีม ่ ก ี ารขยายตัวสูงทีส ่ ด ุ คิดเป็ น ร ้อยละ 17.44 สําหรับอัตราการขยายตัว เดือนมิถุนายน 2553 เท่ากับ ร ้อยละ 3.32 เมือ ่ เทียบกับเดือนเดียวกัน ่ มั่นของผู ้ประกอบการภาคการค ้าและบริการด ้านยอดจํ าหน่ายของกิจการ พบว่า ความเชือ ่ มั่น ดัชนีความเชือ ่ มั่นด ้าน โดยรวมด ้านยอดจํ าหน่ ายของผู ้ประกอบการในปี 2552 อยู่ในเกณฑ์ไม่ดน ี ั ก เนื่องจากผู ้ประกอบการไม่มค ี วามเชือ ่ มัน ยอดขายของตน อย่างไรก็ตามในช่วงปลายปี 2552 ทีใ่ กล ้เทศกาลปี ใหม่ ดัชนีความเชือ ่ ด ้านยอดจําหน่ายปรับตัวเพิม ่ ขึน ้ สูง ตามการบริโภคของประชาชนทัง้ ในส่วนของภาคการค ้าและภาคการบริการทีเ่ พิม ่ ขึน ้ ่ ดัชนีความเชือมั่นของผู ้ประกอบการภาคการค ้าและบริการด ้านยอดจํ าหน่ายในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2553 ปรับตัวดีขน ึ้ เมือ ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของ ปี 2552 ดัชนีชวี้ ัดด ้านยอดจํ าหน่ายและกําไรมีทศ ิ ทางปรับตัวดีขน ึ้ ยกเว ้นในเดือน พฤษภาคม 2553 ทีด ่ ัชนีลดลงรุนแรงเนือ ่ งจากเหตุการณ์ทางการเมืองทีเ่ กิดขึน ้ อย่างไรก็ตามหลังสถานการณ์คลีค ่ ลาย ความ ่ ่ เชือมัน ่ ของผู ้ประกอบการกลับสูภาวะปกติ ้ แป้งม ันสาปะหล ัง 21. เรือ ่ ง การรายงานผลการดาเนินการตามมติคณะร ัฐมนตรี เรือ ่ ง โครงการการจ ัดการเพลีย คณะรัฐมนตรีรับทราบผลการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เรือ ่ ง โครงการการจัดการเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลัง ตามทีก ่ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอ


19

สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.) รายงานว่า หลังจากทีค ่ ณะรัฐมนตรีได ้มีมติเมือ ่ วันที่ 15 ธันวาคม 2552 บัดนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมส่งเสริมการเกษตรได ้ดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวสรุปได ้ ดังนี้ 1. โครงการการจัดการเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังมีวต ั ถุประสงค์เพือ ่ ควบคุมการระบาดของเพลียแป้ งมันสําปะหลัง ไม่ให ้ทําความเสียหายกับผลผลิตและท่อนพันธุม ์ น ั สําปะหลังและป้ องกันการแพร่กระจายของเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังไปยัง แหล่งปลูกมันสําปะหลังแหล่งอืน ่ พืน ้ ที่ 600,000 ไร่ ประกอบด ้วย 2 มาตรการ คือ มาตรการเร่งด่วน ดําเนินการในพืน ้ ที่ 20 จังหวัด ทีม ่ ก ี ารระบาดมากและมาตรการเฝ้ าระวังการระบาด ดําเนินการในพืน ้ ที่ 45 จังหวัดทีเ่ ป็ นแหล่งปลูกมันสําปะหลัง ่ ระยะเวลาดําเนินการระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2552 ถึงกันยายน 2553 ซึงโครงการดังกล่าวได ้ดําเนินการเรียบร ้อยแล ้วเมือ ่ เดือนกันยายน 2553 สรุปผลการดําเนินงาน ดังนี้ 1.1 ควบคุมการระบาดของเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังไม่ให ้ทําความเสียหายกับผลผลิตและท่อนพันธุม ์ น ั ้ สําปะหลัง โดยดําเนินการตามมาตรการเร่งด่วนใน พืน ้ ที่ 20 จังหวัด ประกอบด ้วยกิจกรรมการประชุมชีแจงให ้ความรู ้ในการ จัดการเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังและสนับสนุนสารเคมีในการฉีดพ่นเพือ ่ เป็ นการลดประชากรของเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลัง จากการ ดําเนินงานโครงการทีผ ่ า่ นมาได ้ถ่ายทอดความรู ้เรือ ่ งเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังและการจัดการเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังให ้กับ เกษตรกรและสามารถควบคุมการระบาดของเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังได ้โดยในพืน ้ ทีด ่ ําเนินการไม่พบการระบาดของเพลีย ้ แป้ ง มันสําปะหลัง 1.2 ป้ องกันการแพร่กระจายของเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังไปยังแหล่งปลูกมันสําปะหลังอืน ่ โดย ดําเนินการตามมาตรการเฝ้ าระวัง ในพืน ้ ที่ 45 จังหวัด ประกอบด ้วยกิจกรรมการถ่ายทอดความรู ้เรือ ่ ง การแช่ทอ ่ นพันธุ์ การ ้างปี ผลิต แมลงช กใสควบคุมเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลัง การตัง้ ศูนย์จด ั การศัตรูพช ื ชุมชนและการประชาสัมพันธ์ให ้เจ ้าหน ้าทีแ ่ ละ เกษตรกร จากการดําเนินงานโครงการทีผ ่ า่ นมาเกษตรกรได ้ตระหนักถึงพิษภัยของเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังและมีความร่วมมือ ในการป้ องกันกําจัดกันมากขึน ้ สามารถป้ องกันการแพร่กระจายของเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังได ้ แต่อย่างไรก็ตามจากการติดตาม สถานการณ์การระบาดตัดยอดเมือ ่ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2553 พบว่ามีพน ื้ ทีท ่ พ ี่ บเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังกระจายอยูท ่ วั่ ไป ประมาณ 23,630 ไร่ ในพืน ้ ทีป ่ ลูกมันสําปะหลังทั่วประเทศ ประกอบกับเป็ นช่วงฤดูฝนจึงไม่พบการระบาดทําความเสียหาย ให ้กับมันสําปะหลัง 2. สําหรับความเห็นของ สศช. ทีไ่ ด ้ให ้ความสําคัญเกีย ่ วกับการใช ้สารเคมีกําจัดศัตรูพช ื ควรใช ้อย่างถูกวิธ ี และใช ้ในกรณีทจ ี่ ําเป็ นเร่งด่วน กรมส่งเสริมการเกษตรได ้ตระหนักถึงพิษภัยของสารเคมีเช่นกันโดยแนะนํ าให ้เกษตรกรใช ้ สารเคมีอย่างถูกต ้องเฉพาะในช่วงแรกทีต ่ ้องการลดประชากรของเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังและการแช่ทอ ่ นพันธุใ์ นการป้ องกัน การแพร่กระจายของเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังอย่างต่อเนือ ่ งเท่านัน ้ ส่วนในการควบคุมเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังอย่างต่อเนือ ่ งนัน ้ ้ศั ้างปี ได ้ส่งเสริมและสนับสนุนให ้ใช ตรูธรรมชาติคอ ื แมลงช กใสเป็ นหลัก รวมทัง้ การติดตามและเฝ้ าระวังการระบาดโดยมีศน ู ย์ จัดการศัตรูพช ื ชุมชนเป็ นผู ้ดําเนินการ 3. ในการดําเนินการตามข ้อ 1 ได ้ใช ้งบประมาณจากงบกลาง รายการเงินสํารองจ่ายเพือ ่ กรณีฉุกเฉินหรือ จําเป็ น จํานวน 65,409,267.13 บาท จากงบประมาณทีไ่ ด ้รับจริงจํานวน 65,660,000 บาท คิดเป็ นร ้อยละ 99.62 4. ผลกระทบจากการดําเนินการ เกษตรกรในพืน ้ ทีท ่ ไี่ ด ้รับผลกระทบจากการระบาดของเพลีย ้ แป้ งมัน สําปะหลัง 45 จังหวัด ได ้ตระหนักถึงพิษภัยของเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังและมีการตืน ่ ตัวในการควบคุมป้ องกันกําจัดเพลีย ้ แป้ ง มันสําปะหลังและมีความรู ้เกีย ่ วกับการจัดการเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังเพิม ่ ขึน ้ โดยได ้นํ าความรู ้ทีไ่ ด ้รับไปปฏิบต ั ใิ นไร่มน ั สําปะหลังของตนเองไม่ให ้ได ้รับความเสียหายจากการทําลายของเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลัง 5. ปั ญหาและอุปสรรคมีดังนี้ 5.1 เพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังเป็ นศัตรูพช ื ทีส ่ ําคัญต่อเกษตรกรผู ้ปลูกมันสําปะหลัง โดยเฉพาะในสภาพ อากาศแห ้งแล ้งจะสามารถขยายพันธุไ์ ด ้อย่างรวดเร็ว 5.2 เพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังชนิดสีชมพูเป็ นศัตรูพช ื ชนิดใหม่ทท ี่ ําความเสียหายให ้กับเกษตรกรทีป ่ ลูก มันสําปะหลังในปี 2552 ดังนัน ้ เทคโนโลยีและวิธก ี ารควบคุมยังต ้องมีการศึกษา วิจัย ทดสอบ เพือ ่ หาวิธท ี เี่ หมาะสมและ ได ้ผลทีจ ่ ะกําจัดเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังควบคูไ ่ ปกับการแก ้ไขปั ญหาการระบาด 6. แนวทางแก ้ไขมีดังนี้


20 6.1 ให ้ความรู ้ กระตุ ้นเตือนให ้เกษตรกรมีการตืน ่ ตัวและตรวจสอบแปลงของตนเองอย่างต่อเนือ ่ ง 6.2 ให ้มีการติดตาม เฝ้ าระวังสถานการณ์ของเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังอย่างต่อเนือ ่ งในฤดูกาลเข ้าสู่ สภาพอากาศแห ้งแล ้งจะเหมาะสมกับการขยายพันธุข ์ องเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังอาจจะส่งผลให ้เกิดการระบาดและแพร่กระจาย ของเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังขึน ้ ใหม่ได ้ 6.3 สนับสนุนให ้หน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้องมีการศึกษา วิจัย ทดสอบเกีย ่ วกับพันธุท ์ ท ี่ นทานต่อการทํ าลาย ้ศั ของเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลัง การจัดทําแปลงสะอาด การใช ตรูธรรมชาติควบคุมเพลีย ้ แป้ งมันสําปะหลังอย่างมีประสิทธิภาพ 22. เรือ ่ ง การยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษตามร่างประกาศกระทรวงคมนาคม เรือ ่ ง กาหนดให้ทางพิเศษบูรพาวิถ ี (ทาง ่ ื ื่ มต่อ พิเศษสายบางนา-ชลบุร)ี ทางยกระด ับด้านทิศใต้สนามบินสุวรรณภูมเิ ชอมทางพิเศษบูรพาวิถ ี และทางเชอ ี ค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถทีต ทางพิเศษสายบางพลี-สุขสว ัสดิ์ ก ับทางพิเศษบูรพาวิถ ี เป็นทางต้องเสย ่ อ ้ ง ี เสยหรือยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษ และอ ัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรีรับทราบเรือ ่ ง การยกเว ้นค่าผ่านทางพิเศษตามร่างประกาศกระทรวงคมนาคม เรือ ่ ง กําหนดให ้ ่ ทางพิเศษบูรพาวิถ ี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุร)ี ทางยกระดับด ้านทิศใต ้สนามบินสุวรรณภูมเิ ชือมทางพิเศษบูรพาวิถ ี และ ่ มต่อทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ กับทางพิเศษบูรพาวิถ ี เป็ นทางต ้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถทีต ทางเชือ ่ ้อง เสียหรือยกเว ้นค่าผ่านทางพิเศษ และอัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2553 ข้อเท็ จจริง กระทรวงคมนาคม (คค.) เสนอว่า 1. รัฐบาลโดย คค. ได ้มีนโยบายในการแก ้ไขปั ญหาการจราจรติดขัดของทางพิเศษบูรพาวิถ ี (ทางพิเศษสาย ่ มทางพิเศษบูรพาวิถ ี และทางเชือ ่ มต่อทางพิเศษสายบางพลีบางนา – ชลบุร)ี ทางยกระดับด ้านทิศใต ้สนามบินสุวรรณภูมเิ ชือ สุขสวัสดิ์ กับทางพิเศษบูรพาวิถใี นช่วงเทศกาลปี ใหม่ 2. คณะกรรมการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได ้มีมติเมือ ่ วันที่ 22 ธันวาคม 2553 2.1 อนุมต ั ใิ ห ้การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ยกเว ้นค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษบูรพา ่ มทางพิเศษบูรพาวิถ ี และทางเชือ ่ มต่อทาง วิถ ี (ทางพิเศษสายบางนา-ชลบุร)ี ทางยกระดับด ้านทิศใต ้สนามบินสุวรรณภูมเิ ชือ ิ พิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ กับ ทางพิเศษบูรพาวิถใี นช่วงเทศกาลปี ใหม่ ตัง้ แต่วันที่ 28 ธันวาคม 2553 เวลา 00.01 นาฬกา ิ ถึงวันที่ 3 มกราคม 2554 เวลา 24.00 นาฬกา โดยให ้ กทพ. นํ าเรือ ่ งการยกเว ้นค่าผ่านทางพิเศษดังกล่าวเสนอคณะรัฐมนตรี เพือ ่ ทราบต่อไป 2.2 เห็นชอบร่างประกาศกระทรวงคมนาคม เรือ ่ ง กําหนดให ้ทางพิเศษบูรพาวิถ ี (ทางพิเศษสายบาง ่ ่ มต่อทางพิเศษสายบางพลี-สุข นา-ชลบุร)ี ทางยกระดับด ้านทิศใต ้สนามบินสุวรรณภูม ิ เชือมทางพิเศษบูรพาวิถ ี และทางเชือ สวัสดิ์ กับทางพิเศษบูรพาวิถ ี เป็ นทางต ้องเสียค่าผ่านทางพิเศษ ประเภทของรถทีต ่ ้องเสียหรือยกเว ้นค่าผ่านทางพิเศษ และ อัตราค่าผ่านทางพิเศษ พ.ศ. 2553 และให ้ดําเนินการตามขัน ้ ตอนต่อไป 3. กทพ. ได ้เสนอร่ า งประกาศกระทรวงคมนาคม ตามข ้อ 2.2 เพื่อ ให ้รั ฐ มนตรีว่ า การกระทรวงคมนาคม พิจารณาให ้ความเห็นชอบและลงนามก่อนประกาศในราชกิจจานุเบกษาต่อไป ั สงคม 23. เรือ ่ ง แผนแม่บทระบบสถิตป ิ ระเทศไทย พ.ศ. 2554 - 2558 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบแผนแม่บทระบบสถิตป ิ ระเทศไทย พ.ศ. 2554 – 2558 โดยใช ้งบประมาณของสํานัก ่ สารเสนอ และให ้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ งานสถิตแ ิ ห่งชาติ ตามทีก ่ ระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สารรับความเห็นของหน่วยงานทีเ่ กีย สือ ่ วข ้องไปประกอบการพิจารณาด ้วย สาระสาค ัญของเรือ ่ ง ่ สาร (ทก.) รายงานว่า กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ 1. ประเทศไทยเริม ่ มีก ารดํ า เนินงานเกีย ่ วกับ สถิต ข ิ องประเทศมาประมาณ 100 ปี โดยมีสํ า นั ก งานสถิต ิ แห่งชาติ (สสช) ทําหน ้าทีเ่ ป็ นหน่วยสถิตก ิ ลางผลิตข ้อมูลสถิต ิ นอกจากนัน ้ ยังมีหน่วยงานภาครัฐจํานวนมากทีผ ่ ลิตข ้อมูลสถิต ิ


21 จากระบบการรายงาน งานทะเบียน โดยส่วนใหญ่เป็ นข ้อมูลสถิตท ิ เี่ กีย ่ วข ้องกับภารกิจและการดําเนินงานของหน่วยงาน จนถึง ปั จจุบน ั มีการผลิตข ้อมูลสถิตใิ นเกือบทุกสาขา แม ้ว่าการผลิตข ้อมูลสถิตภ ิ ายใต ้ระบบดังกล่าวมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องแต่ก็เป็ น การพัฒนาทีไ่ ม่เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน เป็ นการพัฒนาเพือ ่ ตอบสนองประโยชน์ในการใช ้งานของแต่ละหน่วยงานซึง่ มีข ้อจํากัด ด ้านบุคลากรและงบประมาณแตกต่างกันไป ส่งผลให ้เกิดความเหลือ ่ มลํ้ าด ้านมาตรฐาน และคุณภาพของงานด ้านสถิตแ ิ ละใน ้ ้อนและสิ ้ บางกรณีก็มค ี วามซําซ นเปลืองในการดําเนินงาน 2. สสช ในฐานะหน่วยสถิตก ิ ลางในการบริหารระบบสถิตใิ นภาพรวมของประเทศ จึงได ้ประสานการจัดทําแผน แม่บ ทฯ กั บ หน่ ว ยงานที่เ กี่ย วข ้อง เพื่อ ให ้การบริห ารจั ด การข ้อมูล สถิต ข ิ องประเทศเป็ นระบบ โดยกํ า หนดกรอบความ รั บ ผิด ชอบของหน่ ว ยสถิต ใิ นการจั ด ทํ า ข ้อมูล สถิต ใิ ห ้มีค วามถูก ต ้อง ครบถ ้วน ไม่ซํ้า ซ ้อนและตรงกับ ความต ้องการ และ สามารถใช ้ข ้อมูลร่วมกันได ้ เพือ ่ เป็ นการประหยัดงบประมาณในการจัดทํ าข ้อมูลสถิตข ิ องประเทศ ส่งผลให ้ประเทศมีข ้อมูล ้ในการบริ สถิต แ ิ ละสารสนเทศที่ม ค ี ุณ ภาพสํ า หรั บ ใช ห าร วางแผน ตั ด สินใจเพื่อ พั ฒ นาประเทศทั ง้ ด ้านสังคม เศรษฐกิจ ่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล ้อม และในมิตอ ิ น ื่ ๆ ได ้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สสช ได ้ร่วมกับหน่ วยงานระดับกระทรวงจัดทํ าแผนแม่บทฯ โดยเน ้นกระบวนการหารือและการมีส่วนร่วม ้ จงทํ าความเข ้าใจและระดมความคิดเห็น ของหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้องและผู ้มีสว่ นได ้ส่วนเสีย โดยได ้ดํ าเนินการจัดประชุมเพือ ่ ชีแ พร ้อมข ้อเสนอแนะจากหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้อง ดังนี้ 1) จัดสัมมนา เรือ ่ ง “แผนแม่บทระบบสถิตข ิ องประเทศ” โดยเชิญผู ้เข ้าร่วมประชุมหน่วยงานละ 2 คน รวมผู ้เข ้าร่วมประชุม 363 คน เมือ ่ วันที่ 25 กันยายน 2552 2) จัด ประชุม “โครงการจั ด ทํ า แผนแม่บ ทระบบสถิต ข ิ องประเทศ” โดยเชิญ ผู ้เข ้าร่ว มประชุม จาก ้ สํานักงานปลัดกระทรวง 20 กระทรวง รวมผู ้เข ้าร่วมประชุมทัง้ สิน 27 คน เมือ ่ วันที่ 10 ตุลาคม 2552 3) จัด สัม มนาเรื่อ ง “แผนแม่บ ทระบบสถิตข ิ องประเทศ” โดยเชิญผู ้บริหารเทคโนโลยีส ารสนเทศ ้ ระดับสูง จาก 20 กระทรวง รวมผู ้เข ้าร่วมประชุมทัง้ สิน 52 คน เมือ ่ วันที่ 12 มกราคม 2553 4) ทําหนังสือเพือ ่ ขอรับฟั งความคิดเห็นจาก 20 กระทรวง 5) จัดประชุมผู ้บริหารระดับสูงของ สสช เมือ ่ วันที่ 4 สิงหาคม 2553 ระดับผู ้อํานวยการศูนย์/สํานั ก เมือ ่ วันที่ 18 สิงหาคม 2553 6) นํ าความคิดเห็นทีไ่ ด ้มาพิจารณาและทําการปรับปรุงแผนแม่บทฯ เพือ ่ นํ าเสนอคณะรัฐมนตรี ้ประโยชน์ 4. เพื่อให ้ประเทศมีข ้อมูลทั นตามความต ้องการใช สสช มีแผนที่จะดํ าเนินการในปี งบประมาณ ่ 2554 คือ การแปลงแผนแม่บทระบบสถิตป ิ ระเทศ พ.ศ. 2254-2558 สูปฏิบต ั ิ ดังนี้ 1) จัดตัง้ กลไกในการบริหารจัดการระบบสถิต ิ คือการจัดตัง้ คณะกรรมการทีป ่ รึก ษาด ้านวิชาการ คณะกรรมการแผนแม่บ ทระบบสถิต ป ิ ระเทศไทย 3 ด ้าน (ด ้านสั ง คม ด ้านเศรษฐกิจ และด ้านทรั พ ยากรธรรมชาติแ ละ ่ สิงแวดล ้อม) และคณะอนุกรรมการสถิตริ ายสาขา 2) จัดประชุมคณะกรรมการทีป ่ รึกษาด ้านวิชาการ คณะกรรมการแผนแม่บทระบบสถิตป ิ ระเทศ ไทย 3 ด ้าน และคณะอนุกรรมการสถิตริ ายสาขา เนื่องจากในการจัดทํ าแผนแม่บทสถิตริ ายสาขาจํ าเป็ นต ้องอาศัยการมีสว่ นร่วม ของทุกหน่วยงาน การสร ้างความเข ้าใจ การพัฒนาองค์ความรู ้ และการสร ้างกระบวนการเรียนรู ้ซึง่ กันและกัน ควบคู่กับการสร ้าง กลไกให ้เอือ ้ ต่อการมีสว่ นร่วม เพือ ่ ให ้เกิดระบบสถิตส ิ าขาซึง่ ประกอบด ้วยหน่วยสถิตต ิ ่างๆ ดํ าเนินงานร่วมกันอย่างเป็ นเอกภาพ ทัง้ ในด ้านการผลิต การจัดเก็บ และการเผยแพร่ข ้อมูลสถิตข ิ องสาขาทีค ่ รบถ ้วน สมบูรณ์ และมีประสิทธิภาพ 3) ส่ ง เสริม ความรู ใ้ นการบริห ารระบบสถิต ิข องประเทศ เพื่ อ ให ห ้ น่ ว ยงานต่ า งๆ ทั ้ง ภาครั ฐ ภาคเอกชน ตลอดจนภาคประชาชน มีความรู ้ ความเข ้าใจ ให ้ความสําคัญและให ้ความร่วมมือในการดํ าเนินงานตามแผนแม่บท ระบบสถิตฯิ กํ า หนดไว ้ รวมทั ง้ หน่ วยงานที่มก ี ารดํ า เนินงานด ้านสถิต ส ิ ามารถผลิต สถิต ไิ ด ้อย่างมีคุณภาพและได ้มาตรฐาน ตลอดจนมีการปฏิบต ั งิ านในแนวทางเดียวกัน 4) จัดทํามาตรฐานสถิต ิ สสช ในฐานะทีเ่ ป็ นหน่วยงานหลักทีท ่ ําหน ้าทีบ ่ ริหารจัดการมาตรฐานสถิต ิ ของประเทศ จํ าเป็ นจะต ้องทํ าหน ้าทีท ่ ัง้ ในการจัดทํ า ปรับปรุง ส่งเสริม พัฒนา และให ้ความรู ้แก่ผู ้ใช ้ข ้อมูลสถิตเิ พือ ่ ให ้เกิด ้มาตรฐานสถิ ความรู ้ความเข ้าใจ และสามารถใช ตไิ ด ้อย่างถูกต ้องและมีประสิทธิภาพบนพืน ้ ฐานทีใ่ ห ้ข ้อมูลสถิตข ิ องประเทศ สามารถเปรียบเทียบได ้ในระดับสากลและสอดคล ้องกับสภาวการณ์ของประเทศ


22 5. โครงสร ้างแผนยุทธศาสตร์ของแผนแม่บทฯ ประกอบด ้วย ั ทัศน์ (พ.ศ. 2554 - 2558) 5.1 วิสย การวิเคราะห์จด ุ อ่อนและจุดแข็ง และประเด็นปัญหาของการจ ัดการข้อมูลสถิตป ิ ระเทศไทย ั ่ นาไปสูการกาหนดวิสยท ัศน์ของแผนแม่บทระบบสถิตป ิ ระเทศไทยได้ด ังนี้ “ประเทศไทยมีระบบสถิตท ิ ท ี่ ุกหน่วยงานร่วมก ันข ับเคลือ ่ นเพือ ่ ให้เกิดสถิตท ิ างการทีใ่ ชใ้ น การพ ัฒนาประเทศ” 5.2 พันธกิจ ได ้แก่ 1) บริหารจัดการระบบสถิตข ิ องประเทศ 2) ส่งเสริมการผลิตข ้อมูลสถิตท ิ ี่ ได ้มาตรฐาน 3) ส่งเสริมการให ้บริการข ้อมูลสถิตแ ิ ก่ทก ุ ภาคส่วน ้ 5.3 ตัวชีวัดและเป้ าประสงค์ ิ ธิภ าพ ดั งนี้ 1) โครงการจัดตั ง้ ยุทธศาสตร์ท ี่ 1 การบริหารจ ัดการระบบสถิตอ ิ ย่างมีประสท คณะกรรมการที่ปรึกษาด ้านวิช าการ 2) โครงการจัดตัง้ คณะกรรมการจัดระบบสถิต ป ิ ระเทศไทย 3 ด ้าน 3) โครงการจัดตั ง้ คณะอนุ กรรมการสถิตริ ายสาขา 4) โครงการจัดตัง้ หน่วยประสานงานแผนแม่บทระบบสถิตฯิ ภายใน สสช 5) โครงการจัดทํ า สถิตท ิ างการ (ทะเบียน/ สํามะโน/สํารวจ) 6) โครงการพัฒนาเครือข่ายผู ้ผลิตและผู ้ใช ้ข ้อมูลสถิตริ ายสาขา 7) โครงการจัดทํ า แผนพัฒนาบุคลากรด ้านสถิตแ ิ ละการบริหารระบบสถิต ิ ยุทธศาสตร์ท ี่ 2 การพฒ ั นาข้อมูลสถิตใิ ห้มม ี าตรฐาน ดังนี้ 1) โครงการผลิตสถิตท ิ างการด ้วย การสํารวจ 2) โครงการจัดทํามาตรฐานสถิต ิ 3) โครงการปรับปรุงข ้อมูลสถิตใิ ห ้ได ้มาตรฐาน ยุทธศาสตร์ท ี่ 3 การให้บริการข้อมูลสถิตอ ิ ย่า งทว่ ั ถึง ดังนี้ 1) โครงการนํ าข ้อมูลสถิตท ิ างการ ้ข เผยแพร่ตอ ่ สาธารณะ 2) โครงการให ้ความรู ้การใช ้อมูลสถิตแ ิ ก่ประชาชน 24. เรือ ่ ง การดาเนินโครงการ “2554 ปี แห่งความปลอดภ ัย” คณะรัฐมนตรีรับทราบตามทีก ่ ระทรวงคมนาคมเสนอ ดังนี้ 1. รับทราบผลการดําเนินการตามโครงการ “2553 ปี แห่งความปลอดภัย” 2. รับทราบแผนงาน/กิจกรรมการดําเนินการตามโครงการ “2554 ปี แห่งความปลอดภัย” 3. รั บ ทราบการเตรีย มการรองรั บ การเดิน ทางของประชาชนในช่ว งเทศกาลปี ใหม่ 2554 ระหว่ า งวั นที่ 29 ธันวาคม 2553 - 4 มกราคม 2554 ตามแผน “คมนาคมปลอดภัย เทศกาลปี ใหม่ 2554” สาระสาค ัญของเรือ ่ ง 1. การดาเนินการตามโครงการ “2553 ปี แห่งความปลอดภ ัย” 1.1 แนวทางการดาเนินการ กระทรวงคมนาคมและหน่วยงานในสังกัดได ้ดําเนินการตามโครงการ แผนงาน กิจกรรมต่างๆ ตลอดปี 2553 อย่างต่อเนื่อง นั บตัง้ แต่วันทีน ่ ายกรัฐมนตรีได ้ให ้เกียรติเป็ นประธานในพิธเี ปิ ด โครงการ “2553 ปี แห่งความปลอดภัย” ในวันที่ 20 ธันวาคม 2552 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสริ ก ิ ต ิ ิ์ สรุปสาระสําคัญของการดําเนินงานแต่ละด ้าน ดังนี้ ้ ฐาน 1) การดาเนินงานด้านการพ ัฒนาและปร ับปรุงคุณภาพโครงสร้างพืน ่ ง จุดอันตราย รวมถึงโค ้งอันตรายบนทางหลวง 501 แห่ง และทางหลวงชนบท 875  แก ้ไขจุดเสีย แห่ง  แก ้ไขจุดตัดทางรถไฟกับถนนในส่วนของการรถไฟแห่งประเทศไทย 121 แห่ง  ตรวจสอบความปลอดภัยทางถนนบนทางหลวงชนบท 400 สายทาง  ก่อสร ้างถนนไร ้ฝุ่ นกว่า 3,000 กิโลเมตร ฯลฯ 2) การยกระด ับมาตรฐานความปลอดภ ัย  การติด ตั ง้ อุ ป กรณ์ อํ า นวยความปลอดภั ย เพิ่ม เติม บนทางหลวงและทางหลวงชนบท ได แ้ ก่ เครือ ่ งหมาย ป้ ายจราจร สัญญาณไฟ ไฟฟ้ าแสงสว่าง และราวกันอันตราย  การเข ้มงวดในการออกใบอนุ ญ าต การตรวจสภาพรถยนต์โดยสารสาธารณะ และรถโดยสาร สาธารณะร่วมบริการ


23  การตรวจวัดระดับปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดของพนั กงานขับรถ โดยจะต ้องมีแอลกอฮอล์ใน เลือดเป็ น “ศูนย์” มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ ในระหว่างการให ้บริการ ฯลฯ 3) การเพิม ่ บริการเพือ ่ ความปลอดภ ัย  การจัดหน่วยบริการเคลือ ่ นที่ และจัดตัง้ ศูนย์บริการและอํานวยความสะดวกและความปลอดภัยแก่ ้นทางหลั ้นทางรองทั ประชาชนในเส กและเส ่วประเทศในช่วงเทศกาลต่างๆ  การกําหนดให ้ศูนย์ปลอดภัยคมนาคม โทรศัพท์สายด่วน 1356 เป็ นศูนย์กลางการประสานงาน กับศูนย์บริการต่างๆ ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงคมนาคม และหน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้อง ฯลฯ 4) การปลูกฝังค่านิยมและว ัฒนธรรมการเดินทางอย่างมีวน ิ ัย  การอบรมหลักสูตรพนั กงานขับรถมืออาชีพ จัดโดยกรมการขนส่งทางบก ผู ้เข ้าอบรม ประกอบด ้วย พนั กงานขับรถลากจูงและพนั กงานควบคุมรถเครื่องกลขนาดใหญ่ ประมาณ 2,000 คน ซึง่ ได ้ดํ าเนินการทัง้ ส่วนกลางและ ต่างจังหวัด  การอบรมเยาวชนในสถานศึกษาเกีย ่ วกับวินัยจราจรประมาณ 80,000 คน  การอบรมพนั กงานขับรถโดยสารสาธารณะ ทัง้ พนั กงานขับรถโดยสารประจํ าทางและไม่ประจํ า ทาง เพือ ่ สร ้างจิตสํานึกความปลอดภัยทางถนน ขับรถด ้วยความไม่ประมาทและปฏิบต ั ต ิ ามกฎจราจรอย่างเคร่งครัดเป็ นประจํ าอย่าง ต่อเนือ ่ ง ดําเนินการโดยกรมการขนส่งทางบก บริษัท ขนส่ง จํากัด และองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ  การจัดทําหลักสูตรฝึ กอบรมด ้านความปลอดภัย สร ้างวินัยจราจร ฯลฯ ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ รวมทัง้ จัดทําคูม ่ อ ื กระบวนการเรียนรู ้สําหรับครูผู ้สอน เพือ ่ เสริมในหลักสูตรวิชาต่างๆ ของนักเรียน/นักศึกษาทุกระดับ  การจัดประกวดคํ าขวัญรณรงค์เรือ ่ งความปลอดภัย และนํ ามาใช ้ในการรณรงค์อย่างต่อเนื่องทั่ว ประเทศ โดยได ้สุดยอดคําขวัญว่า “มือบังคับรถ กฎบังคับใจ ขับขีป ่ ลอดภัย ถ ้าไม่ประมาท” ฯลฯ 1.2 ผลการดาเนินการ จากการดํ า เนินการตามมาตรการเชิงรุ ก ทั ง้ 4 ด ้านดั ง กล่ า วข ้างต ้น ส่งผลให ้สถิต จ ิ ํ า นวนอุบั ต เิ หตุ ่ ผู ้เสียชีวต ิ และผู ้บาดเจ็บลดลงตามลําดับ เมือ ่ เปรียบเทียบระหว่างสถิตใิ นปี พ.ศ. 2552 กับปี พ.ศ. 2553 ซึงกระทรวงคมนาคมได ้ สรุปสถิตอ ิ บ ุ ต ั เิ หตุในภาคการขนส่งรายงานคณะรัฐมนตรีเพือ ่ ทราบเป็ นรายเดือน ดังนี้ ี ชวี ต 1.2.1 สถิตจ ิ านวนอุบ ัติเหตุ ผูเ้ สย ิ และผูบ ้ าดเจ็ บทางถนน ในความรับผิดชอบของกรมทาง หลวง ประมาณ 60,000 ถ และกรมทางหลวงชนบท ประมาณ 49,000 กิโลเมตรลดลง เมือ ่ เปรียบเทียบสถิตริ ะหว่างปี 2552 และ 2553 ตามตารางที่ 1 ี ชวี ต ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบจานวนอุบ ัติเหตุ ผูเ้ สย ิ และผูบ ้ าดเจ็บ ร้อยละผลต่าง ผลต่างปี จานวน ปี 2552 ปี 2553 เมือ ่ เทียบก ับปี (2553-2552) 2552 อุบ ัติเหตุ 11,987 6,810 -5,177 -40 ี ชวี ต ผูเ้ สย ิ 1,517 1,300 -217 -14 ผูบ ้ าดเจ็ บ 10,049 7,380 -2,669 -30 จากสถิต ิเ ปรี ยบเที ยบดั งกล่ าว เป็ นเรื่ อ งของถนนในความรั บ ผิดชอบของกระทรวงคมนาคม แต่ห าก ่ ก ัน ตามตารางที่ 2 เปรียบเทียบสถิตอ ิ บ ุ ัติเหตุทางถนนทว่ ั ประเทศแล้วจะพบว่าลดลงเชน ี ชวี ต ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบจานวนอุบ ัติเหตุ ผูเ้ สย ิ และผูบ ้ าดเจ็บทางถนนทว่ ั ประเทศ ร้อยละผลต่าง ผลต่างปี จานวน ปี 2552 ปี 2553 เมือ ่ เทียบก ับปี (2553-2552) 2552 อุบ ัติเหตุ 84,806 63,300 -21,506 -25 ี ชวี ต ผูเ้ สย ิ 10,717 8,800 -1,917 -20 ผูบ ้ าดเจ็ บ

61,996

37,500

-24,496

-40


24 โดยมีมล ู ค่าความเสียหายลดลงกว่า 2,000 ล ้านบาท จากสถิตเิ ดิมทีเ่ สียหายเฉลีย ่ ปี ละ 200,000 ล ้านบาท นอกจากสถิตเิ ปรียบเทียบดังกล่าวข ้างต ้นแล ้ว ยังสามารถระบุสาเหตุทท ี่ าให้เกิดอุบ ัติเหตุทางถนนได้ ตามลาด ับในตารางที่ 3 ั ว่ นตามลาด ับ ด ังนี้ ตารางที่ 3 สาเหตุของอุบ ัติเหตุทางถนน มีสดส ลาด ับ 1 2 3

รายการ ขับรถเร็วเกินกําหนด ไม่รักษากฎและฝ่ าฝื นวินัยจราจร (เช่น แซง ในทีค ่ ับขัน ฝ่ าฝื นสัญญาณไฟจราจร ฯลฯ) เมาสุรา/ยาบ ้า

4 5

หลับใน อุปกรณ์รถบกพร่อง

ปี 2553 (ครง) ั้ 3,590 2,640

จานวนรวม

ร้อยละ 52.6 38.8

190

2.8

250 140

3.7 2.1

6,810

100.0

1.2.2 สถิตอ ิ บ ุ ัติเหตุทางนา้ มีจํานวนครัง้ ของการเกิดอุบัตเิ หตุและจํ านวนผู ้เสียชีวต ิ ลดลง แต่จํา นวนผู ้บาดเจ็ บเพิม ่ ขึน ้ ตาม ตารางที่ 4

จานวน อุบ ัติเหตุ ี ชวี ต ผูเ้ สย ิ ผูบ ้ าดเจ็ บ

ี ชวี ต ตารางที่ 4 ตารางการเปรียบเทียบจานวนอุบ ัติเหตุ ผูเ้ สย ิ และผูบ ้ าดเจ็บ ร้อยละผลต่าง ผลต่างปี ปี 2552 ปี 2553 เมือ ่ เทียบก ับปี (2553-2552) 2552 35 25 -10 -29 10 6 -4 -40 33 53 20 61 1.2.3 สถิตอ ิ บ ุ ัติเหตุทางราง มีจํ านวนครัง้ ของการเกิด อุบัตเิ หตุและจํ านวนผู ้เสียชีว ต ิ ลดลง แต่จํา นวนผู ้บาดเจ็ บ เพิม ่ ขึน ้

เล็กน ้อย ตามตารางที่ 5 ี ชวี ต ตารางที่ 5 ตารางการเปรียบเทียบจานวนอุบ ัติเหตุ ผูเ้ สย ิ และผูบ ้ าดเจ็บ จานวน อุบ ัติเหตุ ี ชวี ต ผูเ้ สย ิ ผูบ ้ าดเจ็ บ

ปี 2552

ปี 2553

ผลต่างปี (2553-2552)

125 86 112

115 40 121

-10 -46 9

ร้อยละผลต่าง เมือ ่ เทียบก ับปี 2552 -8 -53 8

1.2.4 สถิตอ ิ บ ุ ัติเหตุทางอากาศ (ไม่ม)ี กระทรวงคมนาคมได ้พิจารณาแล ้วเห็ นว่า ทุกหน่ วยงานในสังกัดได ้ร่วมมือกันอย่างเต็ มทีใ่ นการดํ าเนินการตาม โครงการ “2553 ปี แห่งความปลอดภัย” จนกระทั่งสัมฤทธิผ ์ ลดังกล่าวในข ้อ 2. ซึง่ สามารถแก ้ไขปั ญหาและลดความสูญเสียได ้ใน ระดับหนึง่ กระทรวงคมนาคมจึงมุง ่ มน ่ ั ดาเนินการต่อไปในปี พ.ศ. 2554 ตามโครงการ “2554 ปี แห่งความปลอดภ ัย” ั ภายใต้ยุทธศาสตร์ “คมนาคมปลอดภ ัย สงคมไทยเป ็ นสุข” ด้วยมาตรการเชงิ รุก 4 ด้าน โดยกระทรวงคมนาคมได ้นํ าเป้ าหมาย ของวาระแห่งชาติทค ี่ ณะรัฐมนตรีเมือ ่ คราวประชุมเมือ ่ วันที่ 29 มิถุนายน 2553 มีมติเห็นชอบให ้ ปี พ.ศ. 2554-2463 เป็ น “ทศวรรษ


25 แห่งความปลอดภัยทางถนน” มาเป็ นแนวทางการดํ าเนินงานอีกทางหนึง่ ด ้วย ซึง่ กระทรวงคมนาคมได ้จัดทํ าแผนงาน/กิจกรรมที่ จะดํ าเนินการตามโครงการ “2554 ปี แห่งความปลอดภัย” ไว ้เรียบร ้อยแล ้ว และได ้จัดทํ าแผน “คมนาคมปลอดภัย เทศกาลปี ใหม่ 2554” เพือ ่ รองรับการเดินทางของประชาชนในช่วงเทศกาลปี ใหม่ 2554 ดังนี้ 1. แผน“คมนาคมปลอดภ ย ั ส งั คมไทยเป็ นสุข ” ตามโครงการ “2554 ปี แห่ง ความปลอดภ ัย” กระทรวงคมนาคมได ้กําหนดเป้ าประสงค์ของแผนงานตามโครงการ “2554 ปี แห่งความปลอดภัย”เพือ ่ ลด ี และเพือ ความสูญ เส ย ่ ยกระด ับคุณภาพชวี ต ิ ของประชาชนในการเดินทาง โดยได ้จัด ทํ าแผน“คมนาคมปลอดภ ย ั ั ้ เพือ สงคมไทยเป ็ นสุข”ขึน ่ ให ้หน่วยงานในสังกัดรับไปดําเนินงานอย่างจริงจัง ซึง่ มีสาระสําคัญ ประกอบด ้วย ั ัศน์ “เดินทางปลอดภ ัย ใสใ่ จสงิ่ แวดล้อม สูค ่ ณ 1.1 วิสยท ุ ภาพชวี ต ิ ทีด ่ ”ี 1.2 เป้าประสงค์ ี (Safety) มีกลยุทธ์การดําเนินงาน ดังนี้ การแก ้ไข/ปรับปรุงจุดเสีย ่ ง 1) เพือ ่ ลดความสูญเสย จุดอันตราย ทางโค ้งอันตราย ซ่อมแซม/ฟื้ นฟู/บูรณะโครงสร ้างพืน ้ ฐาน ติดตัง้ อุปกรณ์/เทคโนโลยีเสริมความปลอดภัย ตรวจสอบและเตรียมพร ้อม เพิม ่ ความเข ้มข ้นในการบังคับใช ้กฎหมาย 2) เพือ ่ ยกระด ับคุณภาพชวี ต ิ (Quality) มีกลยุทธ์การดํ าเนินงาน ดังนี้ อํานวยความสะดวก ่ มั่นในระบบขนส่งสาธารณะ ปรับปรุงภูมท และบริการอย่างเพียงพอ เสริมสร ้างความเชือ ิ ัศน์และสภาพแวดล ้อม สร ้างวัฒนธรรม ่ มโยงข ้อมูลข่าวสารอย่างฉั บไว การเดินทางทีป ่ ลอดภัย ให ้บริการและเชือ ี าว ถนนแห่ง ความปลอดภ ัย” เป็ นกิจกรรม อนึง่ กระทรวงคมนาคมได ้จัด ทํ า โครงการ “ถนนส ข ั หลักทีส ่ ําคัญในแผน “คมนาคมปลอดภ ัย สงคมไทยเป ็ นสุข” โดยได ้มอบหมายให ้กรมทางหลวงและกรมทางหลวงชนบท เป็ นหน่วยงานรับผิดชอบโครงการฯ สรุปสาระสําคัญ ดังนี้ 1.3 ว ัตถุประสงค์ เพือ ่ ลดจํานวนอุบต ั เิ หตุ ในสายทางหลักและสายรองทั่วประเทศ โดยการบริหารจัดการและปรับปรุงถนนตาม หลักวิศวกรรมจราจรและงานทาง รวมทัง้ ยกระดับคุณภาพชีวต ิ ในการเดินทางของประชาชนทั่วประเทศ บนถนนนํ าร่องในภูมภ ิ าค ต่างๆ ทั่วประเทศ 1.4 แนวทางการดาเนินการ ้ ทางให้ด พ 1) การปร บ ั ปรุ ง เส น ี ร้อ ม ทั ง้ ผิว ทาง ไหล่ ท าง เครื่อ งหมาย อุ ป กรณ์ อํ า นวยความ ปลอดภัย เกาะกลาง ทางเข ้าออกของทางร่วมทางแยก เครือ ่ งหมายเตือนบริเวณก่อสร ้าง ฯลฯ พร ้อมตรวจสอบความปลอดภัย ของถนนทุก 3 เดือน 2) การสร้างความตระหน ักรูถ ้ งึ ความปลอดภ ัย โดยการให ้ความรู ้ควบคู่การประชาสัมพันธ์แก่ผู ้ใช ้ ทาง ประชาชนสองข ้างทาง และชุมชนในพืน ้ ที่ 3) การร ักษาวิน ัยจราจร หน่วยงานโดยเฉพาะตํารวจทางหลวงต ้องเข ้มงวดกับผู ้ขับขี่ และประชาชน ต ้องเข ้าใจ รักษาวินัย ปฏิบต ั ต ิ ามกฎและเครือ ่ งหมายจราจรอย่างเคร่งครัด ้ ทางนาร่องใน5 ภูมภ 1.5 เสน ิ าค ทว่ ั ประเทศ ระยะแรก กระทรวงคมนาคมได ้กําหนดเส ้นทางนํ าร่อง 5 สายทาง ใน 5 ภูมภ ิ าคทั่วประเทศให ้เป็ น “ถนน ี าว ถนนแห่งความปลอดภ ัย” ดังนี้ สข ่ งโครงการ ชว

ภาค

ทางหลวงหมายเลข

กลาง

305 และ

อําเภอองครักษ์ -จังหวัดนครนายก

3428,3052

(โรงเรียน จปร.)

ตะว ันออกเฉียงเหนือ 2 (ถนนมิตรภาพ)

อําเภอสีควิ้ -อําเภอสูงเนิน

่ ง กม.-กม. ชว 44+300-68+000 105+000-116+000


26 ตะว ันออก

3 (ถนนสุขม ุ วิท)

อําเภอขลุง-จังหวัดตราด

357+000-399+000

เหนือ

12 (สาย East-

จังหวัดตาก-สุโขทัย (บ ้านด่านลาน

121+000-152+000

West)

หอย)

4 (ถนนเพชรเกษม)

อําเภอชะอํา-อําเภอหัวหิน

ใต้

204+000-228+000

ระยะต่อไป กรมทางหลวงและกรมทางหลวงชนบทจะพิจารณาแนวสายทางและช่วงกิโลเมตรทีจ ่ ะ กําหนดให ้เป็ น“ถนนสีขาว ถนนแห่งความปลอดภัย” จังหวัดละ 1 สายทาง เพือ ่ ดํ าเนินโครงการฯ ตามแนวทางทีก ่ ําหนดไว ้ข ้างต ้น ต่อไป 2. แผน “คมนาคมปลอดภ ัย เทศกาลปี ใหม่ 2554” กระทรวงคมนาคมได ้เตรียมการรองรั บ การเดินทางของประชาชนในช่วงเทศกาลปี ใหม่ 2554 ตามแผน “คมนาคมปลอดภัย เทศกาลปี ใหม่ 2554” ระหว่างวันที่ 29 ธันวาคม 2553-4 มกราคม 2554 โดยมีเป้ าหมายทีจ ่ ะลดจํานวนครัง้ ของ การเกิดอุบต ั เิ หตุ จํานวนผู ้บาดเจ็บและเสียชีวต ิ จากการเดินทางของประชาชนในเทศกาลลงไม่น ้อยกว่าร ้อยละ 5 และจะต ้อง ไม่มผ ี ู ้โดยสารในระบบขนส่งสาธารณะเสียชีวต ิ จากการเดินทางในช่วงเทศกาลปี ใหม่ 2554 ซึง่ กระทรวงคมนาคมได ้มอบหมาย ให ้หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบจัดเตรียมยานพาหนะ พืน ้ ทีส ่ ถานีขนส่ง ชานชาลา และพืน ้ ทีจ ่ อดรถสํารองให ้เพียงพอกับความต ้องการ เดินทางของประชาชน รวมทัง้ เพิม ่ จํ านวนตู ้โดยสารรถไฟและเทีย ่ ววิง่ เพิม ่ เทีย ่ วบินเสริมพิเศษ เพือ ่ รองรับปริมาณการเดินทาง ดังนี้ ่ สาธารณะให้เพียงพอ 2.1 การจ ัดบริการขนสง 1) บริษ ท ั ขนส ่ง จ าก ด ั เพิม ่ จํ า นวนเที่ย วรถขาขึน ้ และขาล่ อ งระหว่ า งวั น ที่ 29 ธั นวาคม 2553–4 มกราคม 2554 รวม 42,230 เทีย ่ ว สามารถรองรับผู ้โดยสารได ้ประมาณ 1,303,887 คน ้ ทางสายเหนื อ และ 2) การรถไฟแห่ งประเทศไทย จั ด เดินขบวนรถไฟพิเศษเพิ่ม ในเส น ตะวันออกเฉียงเหนือ เทีย ่ วไปวันที่ 30 – 31 ธันวาคม 2553 จัดเพิม ่ 7 ขบวน สามารถรองรับผู ้โดยสารได ้ประมาณ 29,000 คน และเทีย ่ วกลับ วันที่ 3 – 4 มกราคม 2554 จัดเพิม ่ 13 ขบวน สามารถรองรับผู ้โดยสารเพิม ่ เติมเฉลีย ่ ได ้ประมาณ 30,000 คน 3) องค์การขนส ่งมวลชนกรุ งเทพ เพิม ่ จํ านวนเที่ยววิง่ รถโดยสารตลอดเทศกาลประมาณ 20,000 เทีย ่ ว เพือ ่ รับส่งผู ้โดยสารตามสถานีขนส่งและสถานีรถไฟ 4) บริษ ัท การบินไทย จาก ัด (มหาชน) เพิม ่ เทีย ่ วบินเสริมพิเศษ จํ านวน 8 เทีย ่ วบิน ในเส ้นทาง บินกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ และกรุงเทพฯ-กระบี่ (ไป-กลับ) ในวันที่ 30 ธันวาคม 2553 และวันที่ 2 มกราคม 2554 ่ มวลชนแห่งประเทศไทย เพิม 5) การรถไฟฟ้าขนสง ่ ความถีใ่ นการให ้บริการและจัดขบวน รถเพิม ่ ในระหว่างวันที่ 31 ธันวาคม 2553 – 1 มกราคม 2554 2.2 การอานวยความสะดวกและความปลอดภ ัย 1) การยกเว้นค่าผ่านทาง 1.1) กรมทางหลวง ยกเว ้นค่าธรรมเนียมการใช ้ยานยนต์บนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 และทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ตัง้ แต่เวลา 16.00 น. ของวันที่ 27 ธันวาคม 2553 ถึงเวลา 24.00 น. ของวันที่ 3 มกราคม 2554 1.2) การทางพิเศษแห่งประเทศไทยยกเว ้นค่าผ่านทางพิเศษสายบูรพาวิถ ี (บางนา-ชลบุร)ี ิ ตัง้ แต่เวลาศูนย์นาฬกาของวั นที่ 28 ธันวาคม 2553 ถึงเวลา 24.00 น. ของวันที่ 3 มกราคม 2554 2) การจ ด ั ต งั้ “ศูนย์คมนาคมปลอดภ ย ั ส งั คมไทยเป็ นสุ ข” เพื่อเป็ นจุ ดบริการร่ วมของ กระทรวงคมนาคม (กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท กรมการขนส่งทางบก และบริษัท ขนส่ง จํ า กัด ) และหน่ วยงานที่ เกีย ่ วข ้อง ในการอํานวยความสะดวก/บริการประชาชนระหว่างการเดินทาง ประกอบด ้วย


27 2.1) จุดให้บริการ 12 จุด ณ ภูมภ ิ าคต่างๆ ทว่ ั ประเทศ ดังนี้ (1) ศูนย์บริการทางหลวงชัยนาท จังหวัดชัยนาท (ช่วง กม. 133+504 ขาล่อง) (2) ศูนย์บริการทางหลวง OTOP นครชากังราว จังหวัดกําแพงเพชร (ช่วง กม. 449+437 ขาล่อง) (3) ศูนย์บริการทางหลวงขุนตาน จังหวัดลําปาง (ช่วง กม. 19+350 ขาขึน ้ ) (4) สถานีบริการนํ้ ามัน ป.ต.ท. อํ าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา (ช่วง กม. 92+200 ขาขึน ้ และ ช่วง กม. 94+700 ขาล่อง) (5) บริเวณพืน ้ ทีห ่ น ้าป้ อมตํารวจทางหลวง อําเภอบ ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น (ช่วง กม. 291+128 ขาล่อง) ่ ยกปราสาท อําเภอปราสาท จังหวัดสุรน (6) บริเวณสีแ ิ ทร์ (ช่วง กม. 138+100 ขาขึน ้ ) (7) บริเวณทางเลีย ่ งเมืองอําเภอลํ าปลายมาศ (หนองผะองค์) จังหวัดบุรรี ัมย์ (ช่วง กม. 91+012 ขาล่อง) (8) หมวดการทางชะอํา จังหวัดเพชรบุรี (ช่วง กม. 185+947 ขาล่อง) (9) ศูนย์บริการทางหลวงเขาโพธิ์ จังหวัดประจวบคีรข ี น ั ธ์ (ช่วง กม. 431+400 ขาขึน ้ /ขาล่อง) ่ ยกเวียงสระ อําเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี (ช่วง กม. 225+842 ขาล่อง) (10) บริเวณสีแ ่ ยกควนลัง อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา (ช่วง กม. 0+655 ขาขึน (11) จุดตรวจสีแ ้ ) (12) บริเวณบ ้านนํ้ าเค็ม อําเภอตะกัว่ ทุง่ จังหวัดพังงา (ช่วง กม. 873+700 ขาล่อง) โดยจุดให ้บริการทัง้ 12 จุดจะเปิ ดบริการพร ้อมกันในวันที่ 29 ธันวาคม 2553 ถึงวันที่ 4 มกราคม 2554 และให ้บริการอํานวยความสะดวกด ้าน ต่างๆ ได ้แก่ ให ้เป็ นจุดพักผ่อนหรือเปลีย ่ นอิรย ิ าบถระหว่างเดินทาง การรับแจ ้งเหตุและแก ้ไขปั ญหาฉุ กเฉิน แนะนํ าเส ้นทางการเดินทาง ปฐม พยาบาลผู ้ใช ้เส ้นทาง บริการสุขาเคลือ ่ นที่ ตรวจสอบสภาพรถผู ้ใช ้ทาง/รถเสียซ่อมได ้ รวมทัง้ การบริการนํ้ าดืม ่ ผ ้าเย็น และอาหารว่าง เป็ นต ้น 2.2) การจ ด ั ให้มจ ี ุดพ ก ั รถโดยสารสาธารณะ บนทางหลวงสายหลั ก 8 แห่ง ได ้แก่ ทางหลวง หมายเลข 1 จังหวัดกําแพงเพชร ทางหลวงหมายเลข 11 จังหวัดพิษณุ โลก ทางหลวงหมายเลข 2 จังหวัดนครราชสีมา ทางหลวงหมายเลข 226 จังหวัดบุรรี ัมย์

ทางหลวงหมายเลข 4 จังหวัดประจวบคีรข ี ันธ์ ทางหลวงหมายเลข 41 จังหวัดนครศรีธรรมราช ทางหลวงหมายเลข 3

และหมายเลข 344 จังหวัดระยอง 2.3 ด้านความมน ่ ั คง มอบหมายให ้หน่ วยงานในสั งกั ดเข ้มงวดและวางระบบการป้ องกั นพื้นที่ในความรั บผิดชอบ โดยจั ด เจ ้าหน ้าทีค ่ อยตรวจสอบดูแลพืน ้ ทีแ ่ ละบริเวณโดยรอบสถานทีร่ าชการและสถานีบริการสาธารณะทุกแห่ง ตรวจตรารถยนต์ทเี่ ข ้า-ออก ในอาคาร จอดรถ เข ้มงวดกวดขัน กําชับเจ ้าหน ้าทีใ่ นการตรวจสังเกต เฝ้ าระวังสิง่ ผิดปกติ ตลอด 24 ชัว่ โมง รวมทัง้ เพิม ่ ความถีใ่ นการตรวจตราถนน ทาง พิเศษ สะพาน สนามบิน และท่าเรือในความรับผิดชอบให ้มีความมัน ่ คงและปลอดภัยสูงสุดสําหรับประชาชน 25. เรือ ่ ง ห้ามมิให้นาเข้าไปหรือจาหน่ายเครือ ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์ทก ุ ประเภทในอุทยานแห่งชาติ คณะรัฐมนตรีรับทราบประกาศกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุพ ์ ช ื เรือ ่ ง ห ้ามมิให ้นํ าเข ้าไปหรือจําหน่าย เครือ ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์ทก ุ ประเภทในอุทยานแห่งชาติ ดังนี้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุพ ์ ช ื ได ้พิจารณาแล ้ว เพือ ่ เป็ นการรักษาความสงบเรียบร ้อยในอุทยาน แห่งชาติ และป้ องกันมิให ้เกิดการส่งเสียงดัง สร ้างความเดือดร ้อน รําคาญแก่นักท่องเทีย ่ ว และรบกวนสัตว์ป่า ตลอดจน สนับสนุนนโยบายของรัฐบาลในการควบคุมเครือ ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์ อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุพ ์ ช ื จึงอาศัยอํานาจตามระเบียบกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุพ ์ ช ื ว่าด ้วยการเข ้าไปในอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ข ้อ 4 (9) และ ข ้อ 5 ออกประกาศไว ้ดังนี้


28 ข ้อ 1 ห ้ามมิให ้นํ าเข ้าไปหรือจําหน่ายเครือ ่ งดืม ่ แอลกอฮอล์ทก ุ ประเภทในอุทยานแห่งชาติ หากฝ่ าฝื นมี ความผิดตามพระราชบัญญัตอ ิ ท ุ ยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 มาตรา 18 และต ้องได ้รับโทษตามมาตรา 25 ระวางโทษจําคุกไม่ เกินหนึง่ เดือน หรือปรับไม่เกินหนึง่ พันบาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ ข ้อ 2 ประกาศนีใ้ ห ้ใช ้บังคับตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต ้นไป ประกาศ ณ วันที่ 27 ธันวาคม 2553 ื สวนอุบ ัติเหตุทางถนนระด ับจ ังหว ัด 26. เรือ ่ ง การดาเนินงานสน ับสนุนการจ ัดตงคณะท ั้ างานการสบ คณะรัฐมนตรีทราบรายงานผลการดํ าเนินงานสนั บสนุนการจัดตัง้ คณะทํ างานสืบสวนอุบัตเิ หตุทางถนนระดับ จังหวั ด ตามที่รัฐมนตรีว่า การกระทรวงมหาดไทยในฐานะรองประธานกรรมการและรองผู ้อํ า นวยการศูนย์อํา นวยการความ ปลอดภัยทางถนน คนทีห ่ นึง่ ปฏิบต ั ห ิ น ้าทีแ ่ ทนประธานกรรมการและผู ้อํานวยการความปลอดภัยทางถนน [รองนายกรัฐมนตรี (นายสุเทพ เทือกสุบรรณ)] เสนอ สาระสาค ัญของเรือ ่ ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในฐานะรองประธานกรรมการและรองผู ้อํ านวยการศูนย์อํานวยการความ ปลอดภัยทางถนน คนทีห ่ นึ่ง ปฏิบัต ห ิ น ้าทีแ ่ ทนประธานกรรมการและผู ้อํ า นวยการศูนย์อํา นวยการความปลอดภัยทางถนน รายงานว่า 1. มหาวิทยาลัยนเรศวรโดยการสนั บสนุนของสํานั กงานกองทุนสนั บสนุนการสร ้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และ กองทุนเพือ ่ ความปลอดภัยในการใช ้รถใช ้ถนน (กปถ.) ได ้มีโครงการสนั บสนุนการสืบสวนอุบัตเิ หตุทางถนนระดับจังหวัดเป็ น โครงการนํ าร่องใน 10 จังหวัด ศูนย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนนจึงได ้ร่วมกับมหาวิทยาลัยนเรศวรจัดให ้มีการประชุมเชิง ปฏิบต ั ก ิ ารเพือ ่ ระดมความคิดเห็นเกีย ่ วกับการขยายผลการดําเนินงานให ้จังหวัดอืน ่ ๆ และให ้มีความต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพใน การเป็ นกลไกสนับสนุนการแก ้ไขปั ญหาอุบต ั เิ หตุทางถนนในระดับพืน ้ ทีต ่ อ ่ ไป 2.ศูนย์อํา นวยการความปลอดภัยทางถนนได ้มีคําสั่งที่ 004/2553 ลงวั นที่ 22 กันยายน 2553 แต่งตั ง้ ั ธานีรณานนท์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็ นประธานคณะทํางาน คณะทํางานการสืบสวนอุบต ั เิ หตุทางถนน โดยมีนายพิชย ผู ้แทนส่วนราชการต่าง ๆ เป็ นคณะทํางาน และนายทวีศักดิ์ แตะกระโทก มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็ นคณะทํ างานและเลขานุการ มีอํานาจหน ้าทีใ่ นการเสนอแนะทิศทางการพัฒนาแนวทางการสืบสวนอุบัตเิ หตุทางถนนให ้เป็ นมาตรฐานและสามารถนํ าไป ประยุกต์ใช ้เพือ ่ การแก ้ไขปั ญหาอุบต ั เิ หตุทางถนนของประเทศไทย เป็ นต ้น 3.ในคราวประชุมศูนย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนน ครัง้ ที่ 2/2553 เมือ ่ วันที่ 27 ตุลาคม 2553 ณ กระทรวงมหาดไทย ทีป ่ ระชุมได ้เห็ นชอบแนวทางการดํ า เนินงานของคณะทํ างานการสืบ สวนอุบัต เิ หตุทางถนนเพื่อให ้การ ขยายผลการดําเนินงานมีความต่อเนือ ่ งและมีประสิทธิภาพในการใช ้เป็ นกลไกแก ้ไขปั ญหาอุบต ั เิ หตุทางถนนระดับพืน ้ ที่ ดังนี้ 3.1 ให ้มีก ารจั ด ตั ง้ ทีม สืบ สวนอุบั ต เิ หตุ ร ะดั บ จั งหวั ด 25 จั ง หวั ด ตามที่ไ ด ้เสนอแนวทางให ้ คณะรัฐมนตรีทราบเป็ นข ้อมูลเมือ ่ วันที่ 20 เมษายน 2553 ประกอบด ้วยจังหวัดนํ าร่องทีไ่ ด ้รับการสนั บสนุ นจาก สสส. และ กปถ. 10 จังหวัด ได ้แก่ เชียงราย อุตรดิตถ์ สระบุรี ราชบุรี ชลบุรี อุดรธานี สุรน ิ ทร์ บุรรี ัมย์ นครศรีธรรมราช และตรัง และขยาย ผลในจังหวัดทีม ่ ส ี ถิตอ ิ บ ุ ต ั เิ หตุสงู ในช่วงเทศกาลสงกรานต์อก ี 15 จังหวัด ได ้ เชียงใหม่ พิษณุโลก สุพรรณบุรี ลําพูน ขอนแก่น ลพบุรี เพชรบูรณ์ จันทบุรี นครปฐม นครสวรรค์ ลําปาง นครราชสีมา สงขลา สุราษฎร์ธานี และภูเก็ต 3.2 มอบหมายให ้ส่วนราชการหลักทีเ่ กีย ่ วข ้องกับการสนั บสนุ นการสืบสวนสาเหตุการเกิด อุบัตเิ หตุ ได ้แก่ กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย สํานักงานตํารวจแห่งชาติ กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท กรมการขนส่งทางบก กระทรวงคมนาคม (คค.) กรมควบคุมโรค สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) มีหนังสือสัง่ การเพือ ่ ให ้หน่วยงานในระดับพืน ้ ทีท ่ ัง้ 25 จังหวัดให ้การสนับสนุนการทํางานดังกล่าวและมอบหมายให ้ 25 จังหวัด มีคําสัง่ แต่งตัง้ คณะทํางานการสืบสวนอุบต ั เิ หตุระดับจังหวัด 3.3 ขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการดํ าเนินการดังกล่าวจากงบกลางสําหรับปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 และจัดทําคําขอจากงบประมาณปกติสําหรับปี งบประมาณ พ.ศ. 2555 นอกจากนี้ได ้มอบหมายให ้ สสส. และ กปถ. ให ้ การสนั บสนุนการทํ างานด ้านการสืบสวนอุบัตเิ หตุตามความจํ าเป็ นอืน ่ ๆ เพือ ่ ให ้บรรลุเป้ าหมายในการลดอัตราการเสียชีวต ิ ใน จังหวัดทีม ่ อ ี ต ั ราการเสียชีวต ิ สูงต่อไป


29 3.4 ให ้มีก ารทํ า ข ้อตกลงความร่ว มมือ (MOU) ในการพั ฒนางานด ้านการสืบ สวนสาเหตุการเกิด อุบต ั เิ หตุระหว่างศูนย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนน หน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข ้อง สสส. กปถ. และมหาวิทยาลัยทีด ่ ําเนินงานด ้าน การสืบ สวนอุบัต เิ หตุ 6 แห่ง ได ้แก่ มหาวิท ยาลั ยเชียงใหม่ มหาวิท ยาลั ยนเรศวร มหาวิท ยาลั ยขอนแก่น มหาวิท ยาลั ย เทคโนโลยีสรุ นารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล ้าธนบุรี และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทัง้ นี้ เห็นควรมอบหมายให ้ ฝ่ ายเลขานุการศูนย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนนเป็ นผู ้ประสานงานในการดําเนินการต่อไป 3.5 ให ้เพิม ่ ผู ้แทน สธ. เข ้าร่วมเป็ นคณะทํ างานการสืบสวนอุบัตเิ หตุทางถนน โดยมอบหมายให ้ สธ. ่ แจ ้งรายชือผู ้แทนเพือ ่ ให ้ฝ่ ายเลขานุการศูนย์อํานวยการความปลอดภัยทางถนนจัดทําคําสัง่ แต่งตัง้ เพิม ่ เติมต่อไป 3.6 การทําแผนทีน ่ ํ าทางของคณะทํางานการสืบสวนอุบต ั เิ หตุทางถนน โดยเห็นชอบในหลักการให ้มี การทําแผนนํ าทางของการพัฒนางานด ้านการสืบสวนอุบต ั เิ หตุใน 10 ปี ข ้างหน ้าเพือ ่ ให ้สอดคล ้องกับทศวรรษแห่งความ ปลอดภัยทางถนน ต่างประเทศ 27. เรือ ่ ง ผลการประชุมร ัฐมนตรีเอเปคด้านโทรคมนาคมและอุตสาหกรรมสารสนเทศ ครงที ั้ ่ 8 คณะรัฐมนตรีรับ ทราบผลการประชุมรัฐ มนตรีเ อเปคด ้านโทรคมนาคมและอุต สาหกรรมสารสนเทศ ครัง้ ที่ 8 ่ สารเสนอ และมอบหมายหน่วยงานทีเ่ กีย ตามทีก ่ ระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ วข ้องทีเ่ ป็ นเจ ้าของเครือข่าย (เช่น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อม กระทรวงพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง สาธารณสุข สํ านั กงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสํ านั กงบประมาณ เป็ นต ้น) พิจารณาปรับปรุงยุทธศาสตร์และแผนการดํ าเนินงาน รวมถึงสนั บสนุนด ้านงบประมาณ เพือ ่ ขับเคลือ ่ นนโยบาย บรอดแบนด์ แห่งชาติอย่างเป็ นรูปธรรมและเป็ นการสนับสนุนประเทศไทยในการบรรลุเป้ าหมายของเอเปคต่อไป สาระสาค ัญของเรือ ่ ง ่ สาร (ทก.) เสนอว่า กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ 1. การประชุมรัฐมนตรีเอเปคด ้านโทรคมนาคมและอุตสาหกรรมสารสนเทศ (APEC TELMIN) เป็ นการประชุม ระดั บรัฐ มนตรีทรี่ ั บผิด ชอบด ้านโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศของสมาชิก เอเปค 21 เขตเศรษฐกิจ ประกอบด ้วย ออสเตรเลีย บรูไนดารุสซาลาม แคนาดา ชิล ี สาธารณรัฐประชาชนจีน เขตบริหารพิเศษฮ่องกง อินโดนีเซีย ญีป ่ น ุ่ สาธารณรัฐ เกาหลี มาเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด์ ปาปั วนิวกินี เปรู ฟิ ลป ิ ปิ นส์ รัสเซีย สิงคโปร์ จีนไทเป ไทย สหรัฐอเมริกา และเวียดนาม ่ สารอย่างเป็ นรูปธรรมทีช จัดขึน ้ ทุกๆ 2-3 ปี เพือ ่ ผลักดันการขับเคลือ ่ นด ้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ ัดเจนและยั่งยืน และนํ า ผลการประชุม ในหั ว ข ้อต่ า งๆ เสนอต่อ ที่ป ระชุม ผู ้นํ า เขตเศรษฐกิจ เอเปค ที่ผ่า นมาการประชุม รั ฐ มนตรีเ อเปคด ้าน โทรคมนาคมและอุตสาหกรรมสารสนเทศแล ้ว จํานวน 7 ครัง้ 2. การประชุมครัง้ นี้เป็ นการประชุมมีรัฐมนตรีเอเปคหรือผู ้แทนทัง้ 21 เขตเศรษฐกิจ และมีผู ้แทนจากสํ านั ก เลขาธิการเอเปคและผู ้สังเกตการณ์เข ้าร่วมประชุม โดยมีนาย Yoshihiro Katayama รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกิจการภายในและ ่ สาร และนาย Tadahiro Matsushita รัฐมนตรีชว่ ยอาวุโสกระทรวงเศรษฐกิจ การค ้า และอุตสาหกรรม ของญีป การสือ ่ น ุ่ ทํ า หน ้าทีป ่ ระธานร่วมของการประชุม 3. ทีป ่ ระชุมรัฐมนตรีเอเปคได ้รับรอง “ปฏิญญาโอกินาวา” (Okinawa Declaration) ซึง่ เน ้นยํ้าความสําคัญ ่ สาร (ไอซีท)ี ในการขับเคลือ ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ นและพัฒนาเศรษฐกิจในระดับโลก ส่งเสริมนวัตกรรมทาง เศรษฐกิจให ้มีความเข ้มแข็ง และเป็ นปั จจัยสําคัญในการจัดทํ ายุทธศาสตร์ความเจริญเติบโต (Growth Strategy) ของเอเปค ตลอดจนส่งเสริมสภาพแวดล ้อมการแข่งขันทีเ่ สรีและเป็ นธรรมเพือ ่ เอือ ้ ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคมและสารสนเทศ และทีป ่ ระชุมได ้รับรอง “แผนปฏิบัตก ิ ารเชิงกลยุทธ์ของคณะทํ างานเอเปคด ้านโทรคมนาคมและสารสนเทศ” ปี 2553-2558 (APEC TEL Strategy Action Plan: 2010-2015) โดยเป็ นส่วนหนึง่ ของปฏิญญาฯ แผนดังกล่าวเป็ นแผนการดํ าเนินงานใน ระยะ 5 ปี ทัง้ นี้ ปฏิญ ญาโอกินาวาจะมีก ารนํ าเสนอต่อที่ประชุม ผู ้นํ า เอเปค ครั ง้ ที่ 18 ซึง่ จะจั ด ขึน ้ ที่เมืองโยโกฮามา ประเทศญีป ่ น ุ่ ในเดือนพฤศจิกายน 2553


30 4. การประชุม APEC TELMIN ครั ง้ ที่ 8 ได ้กํ า หนดหั ว ข ้อ (Theme) ของการประชุม คือ เทคโนโลยี ่ สารในฐานะกลไกขับเคลือ ่ วามเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมรูปแบบใหม่ (ICT as an Engine for สารสนเทศและการสือ ่ นสูค New Socio-Economic Growth) และมีการกําหนดหัวข ้อย่อยเพือ ่ ให ้รัฐมนตรี เขตเศรษฐกิจต่างๆ ได ้นํ าเสนอวิสัยทัศน์ โดย ่ สารได ้นํ าเสนอวิสัยทัศน์เรือ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ งการพัฒนาบรอดแบนด์ในประเทศไทย ่ ภายใต ้หัว ข ้อ “การพัฒนาเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสือสารเพือ ่ ส่งเสริมความเจริญ รูปแบบใหม่” (Develop ICT to ่ สาร (ICT 2020) เพือ Promote New Growth) ประกอบด ้วย การจัดทํ ากรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ ่ ั นํ าไปสูสงคมอุดมปั ญญา (Smart Thailand) การจัดทํานโยบายยุทธศาสตร์บรอดแบนด์ เพือ ่ พัฒนาบริการ บรอดแบนด์ให ้เป็ น บริการขัน ้ พืน ้ ฐานให ้ทั่วถึง เพียงพอ ราคาทีเ่ หมาะสม ภายใต ้การแข่งขันเสรีและเป็ นธรรม รวมถึงการนํ าเสนอโครงการทีใ่ ช ้ ประโยชน์จากบรอดแบนด์อย่างเป็ นรูปธรรม ได ้แก่ โครงการด ้านสาธารณสุข , ด ้านการศึกษา, การจัดการภัยพิบัต ิ ฯลฯ และมี การจัดตัง้ หน่วยงานใหม่ได ้แก่ สํานั กงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) และสํานั กงานรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ซึง่ จะช่วยส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจบริการบรอดแบนด์ของประเทศไทย 5. การประชุมรัฐมนตรีเอเปค ฯ ได ้ให ้ความสําคัญกับเรือ ่ งความมั่นคงปลอดภัยบนไซเบอร์ (Cybersecurity) ่ เพือ ่ ปกป้ องภัยคุกคามออนไลน์ โดยเฉพาะกลุม ่ เสียงทีเ่ ป็ นเด็กและเยาวชน โดยเน ้นการกําหนดนโยบายทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพ และ แลกเปลีย ่ นข ้อมูลและเสริมสร ้างความร่วมมืออย่างกว ้างขวาง ตลอดจนสร ้างความตระหนั กเรือ ่ ง Cybersecurity ในภูมภ ิ าค เอเปคให ้มากขึน ้ นอกจากนั น ้ ที่ประชุมดัวกล่าวได ้ให ้ความสํ าคัญกับการพัฒนาโครงสร ้างพืน ้ ฐานบรอดแบนด์ เพือ ่ นํ าไปสู่ การพัฒนาในสาขาทีส ่ ําคัญ ได ้แก่ การศึกษา สาธารณสุข พลังงานและสิง่ แวดล ้อม โดยมีเป้ าหมายร่วมกันในการเข ้าถึงบรอด แบนด์อย่างทั่วถึงภายในปี 2548 และกําหนดเป้ าหมายท ้าทายในการเข ้าถึง บรอดแบนด์ความเร็วสูงยุคหน ้า ภายในปี 2563 6. เนื่องจากเป้ าหมายการพัฒนาบรอดแบนต์ของเอเปคสอดคล ้องกับนโยบายบรอดแบนด์แห่งชาติ โดยมุง่ พั ฒ นาบริก ารบรอดแบนด์ ข องประเทศไทยให เ้ ป็ นบริก ารขั น ้ พื้ น ฐานของประชาชนอย่ า งทั่ ว ถึง และเท่ า เทีย มและเป็ น ปั จ จั ยพืน ้ ฐานสํ า คั ญในการพั ฒ นาศั ก ยภาพในการแข่งขันของประเทศ จึงควรเสนอให ้หน่ ว ยงานต่างๆ ที่เ กีย ่ วข ้องที่เ ป็ น เจ ้าของโครงข่าย พิจารณาปรับปรุงยุทธศาสตร์และแผนการดําเนินงาน รวมถึงสนับสนุนงบประมาณเพือ ่ ขับเคลือ ่ นนโยบายบ รอดแบนด์แห่งชาติอย่างเป็ นรูปธรรมและเป็ นการสนับสนุนประเทศไทยในการบรรลุเป้ าหมายของเอเปคต่อไป ่ สารของไทยยังได ้หารือทวิภาคีกบ 7. นอกจากนีร้ ัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ั นาย ่ Yoshihiro Katayama รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกิจการภายในและการสือสารญีป ่ นเกี ุ่ ย ่ วกับการประสานความร่วมมือด ้านไอซีท ี ระหว่างสองฝ่ าย การแลกเปลีย ่ นประสบการณ์ในเรือ ่ งของ Disaster Recovery System การเลือกตัง้ ระดับท ้องถิน ่ และ โอกาสในการร่วมทุนระหว่างผู ้ประกอบการโทรคมนาคมของ สองฝ่ าย เป็ นต ้น ี น 28. เรือ ่ ง การขอตงงบประมาณเพื ั้ อ ่ จ ัดตงหน่ ั้ วยระว ังภ ัยทางเศรษฐกิจของอาเซย คณะรัฐมนตรีอนุมต ั ใิ ห ้สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 งบกลาง รายการเงินสํารองจ่ายเพือ ่ กรณีฉุกเฉินหรือจําเป็ น จํานวน 4,490,000 บาท เพือ ่ นํ าไปชําระ เงินสําหรับการจัดตัง้ หน่วยระวังภัยทางเศรษฐกิจของอาเซียน (Macroeconomic and Finance Surveillance Office : MFSO) ได ้ โดยเบิกจ่ายในลักษณะงบรายจ่ายอืน ่ ตามความเห็นของสํานักงบประมาณ และให ้กระทรวงการคลังรับความเห็น สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ไปพิจารณาดําเนินการด ้วย สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงการคลังรายงานว่า 1. ในการประชุมรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังอาเซียน (ASEAN Finance Ministers’ Meeting : AFMM) ครัง้ ที่ 13 เมือ ่ วันที่ 9 เมษายน 2552 ณ ประเทศไทย ทีป ่ ระชุมฯ ได ้มีมติเห็นชอบในหลักการสําหรับการเสริมสร ้าง ่ ประสิทธิภาพให ้กับการปฏิบต ั งิ านของ MFSO ขึน ้ ซึงจะเป็ นหน่วยงานภายใต ้การกํากับดูแลของสํานักเลขาธิการอาเซียน และได ้มอบหมายให ้สํานักเลขาธิการอาเซียนจัดทําข ้อเสนอโครงสร ้างและกลไกการดําเนินงานของ MFSO เพือ ่ นํ าเสนอให ้ที่ ประชุมฯ พิจารณาอีกครัง้ หนึง่ 2. ในการประชุมรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังอาเซียนอย่างไม่เป็ นทางการ (Informal ASEAN Finance Ministers’ Meeting : informal AFMM) เมือ ่ วันที่ 2 พฤษภาคม 2553 ณ เมืองทาชเคนท์ ประเทศอุซเบกิสถาน ทีป ่ ระชุมฯ ได ้ ํ ให ้ความเห็นชอบต่อ Terms of Reference (TOR) สําหรับการจัดตัง้ MFSO ฉบับปรับปรุงใหม่ ตามทีส ่ านักเลขาธิการ


31 ั เจนมากยิง่ ขึน อาเซียนได ้นํ าเสนอ ทัง้ นี้ TOR ฉบับปรับปรุงใหม่ได ้มุง่ เน ้นบทบาททีช ่ ด ้ ของ MFSO ในการเป็ นหน่วยงานทีจ ่ ะทํา หน ้าทีใ่ นการวิเคราะห์ ติดตาม และประสานการดําเนินงานภายใต ้กรอบความร่วมมือทางการเงินต่าง ๆ ของอาเซียน เพือ ่ ให ้ ่ สามารถบรรลุเป้ าหมายไปสูการจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได ้ภายในปี 2558 อย่างไรก็ตาม การดําเนินงานของ MFSO จะต ้องไม่เป็ นการซํ้าซ ้อนกับการดําเนินงานของสํานักวิจัยเศรษฐกิจมหภาคของภูมภ ิ าคอาเซียน+3 (ASEAN+3 ่ Macroeconomic Research Office : AMRO) ซึงเป็ นหน่วยระวังภัยทางเศรษฐกิจของภูมภ ิ าคอาเซียน+3 ทัง้ นี้ ทีป ่ ระชุมฯ ได ้ ้ เห็นชอบวงเงินงบประมาณสําหรับการจัดตัง้ MFSO ทัง้ สินจํานวน 1,443,519 ดอลลาร์สหรัฐ โดยแต่ละประเทศสมาชิก อาเซียนจะลงเงินในสัดส่วนทีเ่ ท่ากัน คิดเป็ นการลงเงินประเทศละ 144,352 ดอลลาร์สหรัฐ ภายในปี 2554 3. สํานักเลขาธิการอาเซียนได ้มีหนังสือถึงกระทรวงการคลังไทย ขอให ้พิจารณาดําเนินการชําระเงินในส่วน ของประเทศไทย ซึง่ สามารถแบ่งการชําระเงินออกเป็ น 2 งวด ดังนี้ งวดที่ 1 เป็ นการชําระเงินจํานวน 64,989 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 2,147,886.45 บาท โดยให ้ ชําระภายในปี 2553 งวดที่ 2 เป็ นการชําระเงินจํานวน 79,363 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 2,622,947.15 บาท โดยให ้ ชําระภายในเดือนพฤษภาคม 2554 ทัง้ นี้ อัตราแลกเปลีย ่ นอ ้างอิงจากอัตราของธนาคารแห่งประเทศไทย ประจําวันที่ 16 กันยายน 2553 เท่ากับ 31.05 บาทต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐ และคํานวณรวมค่าความผันผวนของอัตราแลกเปลีย ่ นในอนาคตเพิม ่ อีก 2 บาท เป็ น อัตรา 33.05 บาท ต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐ ้ ดังนัน ้ การตัง้ วงเงินงบประมาณสําหรับการชําระเงินในส่วนประเทศไทยรวมเป็ นเงินจํานวนทัง้ สิน 144,352 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 4,770,833.60 บาท ้ 4. การขอตัง้ งบประมาณเพือ ่ ใช ้ชําระเงินสําหรับการจัดตัง้ MFSO ในส่วนของประเทศไทย จํานวนรวมทัง้ สิน 144,352 ดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 4,770,833.60 บาท นัน ้ จะสามารถใช ้เงินงบประมาณในส่วนของงบประมาณรายจ่าย ประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 งบกลาง รายการเงินสํารองจ่ายเพือ ่ กรณีฉุกเฉินหรือจําเป็ นได ้ โดยการชําระเงินจะเป็ นไปตาม รายละเอียดในข ้อ 3. ข ้างต ้น 29. เรือ ่ ง การบริจาคเงินสมทบกองทุนสงิ่ แวดล้อมของโครงการสงิ่ แวดล้อมแห่งสหประชาชาติ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการให ้ประเทศไทยบริจาคเงินสมทบกองทุนสิง่ แวดล ้อมขององค์การ สหประชาชาติกอ ่ ตัง้ โครงการสิง่ แวดล ้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme, : UNEP) เป็ น จํานวนเงิน 25,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อปี หรือคิดเป็ นเงินไทยประมาณ 748,835 บาท (คิดอัตราแลกเปลีย ่ น ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2553 โดย 1 ดอลลาร์สหรัฐเท่ากับ 29.9534 บาท) ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2554 เป็ นต ้นไป จนกว่าจะมีการเปลีย ่ นแปลง ่ ่ รายละเอียดการบริจาคเงิน ซึงเป็ นการบริจาคเงินตามความสมัครใจ ตามทีก ่ ระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล ้อมเสนอ สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล ้อม (ทส.) รายงานว่า 1. องค์การสหประชาชาติกอ ่ ตัง้ โครงการสิง่ แวดล ้อมแห่งสหประชาชาติ UNEP ขึน ้ เมือ ่ ปี พ.ศ. 2515 เพือ ่ ทํา ่ ่ ่ หน ้าทีเ่ ป็ นองค์กรด ้านสิงแวดล ้อมภายใต ้ระบบสหประชาชาติ พร ้อมทัง้ จัดตัง้ กองทุนสิงแวดล ้อมของโครงการสิงแวดล ้อมแห่ง สหประชาชาติ (UNEP’s Environment Fund) มีวต ั ถุประสงค์เพือ ่ สนับสนุนการดําเนินกิจกรรมด ้านสิง่ แวดล ้อมทัง้ ในระดับโลก และระดับภูมภ ิ าค โดยองค์การสหประชาชาติเชิญให ้ประเทศสมาชิกบริจาคเงินสมทบกองทุนสิง่ แวดล ้อมดังกล่าวตามความ สมัครใจ (Voluntary Contributions) 2. ประเทศไทยบริจาคเงินสมทบกองทุนสิง่ แวดล ้อมของ UNEP มาตลอดตามมติคณะรัฐมนตรี (20 เมษายน 2520, 14 เมษายน 2525, 8 กันยายน 2530, 8 ธันวาคม 2535, 16 กันยายน 2540, 8 มิถุนายน 2547, 5 มิถุนายน 2550) ทัง้ นี้ การบริจาคเงินฯ ในแต่ละปี มจ ี ํานวนไม่เท่ากันอันเนือ ่ งจากอัตราแลกเปลีย ่ นเงินตราต่างประเทศมีความผันผวน 3. ทส. ในฐานะหน่วยงานกลางประสานการดําเนินงานโครงการสิง่ แวดล ้อมแห่งสหประชาชาติของประเทศ ไทยดําเนินการบริจาคเงินดังกล่าวเรียบร ้อยแล ้ว และ UNEP ยังขอให ้ประเทศสมาชิกบริจาคเงินสมทบกองทุนสิง่ แวดล ้อมของ UNEP ในปี ตอ ่ ๆ ไปอย่างต่อเนือ ่ ง โดยที่ ทส. ดําเนินการจัดตัง้ งบประมาณ พ.ศ. 2554 พร ้อมทัง้ เตรียมการขอจัดตัง้


32 ่ ารพิจารณาของคณะรัฐมนตรีเพือ งบประมาณ ปี พ.ศ. 2555 เพือ ่ การนีด ้ ้วยแล ้ว จึงจําเป็ นต ้องนํ าเรือ ่ งเสนอเข ้าสูก ่ เป็ นกรอบ การจัดสรรงบประมาณของ ทส. ในปี ตอ ่ ๆ ไป ึ ษา การศก ื่ กองทุ น (กองทุ น พ ฒ ึ ษา) และการขอ 30. เรือ ่ ง ขอพระราชทานช อ ั นาครู คณาจารย์ และบุ คลากรทางการศ ก ลดหย่อนภาษี เงินได้สาหร ับเงินบริจาค ่ กองทุน (กองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการ คณะรัฐมนตรีพจ ิ ารณาเรือ ่ งการขอพระราชทานชือ ศึกษา) และการขอลดหย่อนภาษี เงินได ้สําหรับเงินบริจาค ตามทีก ่ ระทรวงศึกษาธิการเสนอ แล ้วมีมติ ดังนี้ 1. รับทราบและเห็นชอบให ้กระทรวงศึกษาธิการจัดกิจกรรมระดมทุนรับบริจาคเพือ ่ เป็ นทุนประเดิมการจัดตัง้ กองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา โดยมอบหมายให ้กระทรวงศึกษาธิการรับไปดํ าเนินการขอความ ร่วมมือหน่วยงานต่าง ๆ ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และองค์กรต่าง ๆ ได ้เข ้ามามีสว่ นร่วมในการสนั บสนุน เผยแพร่ รณรงค์ประชาสัม พันธ์ก ารดํ า เนินงาน รวมทัง้ การระดมทุนเพือ ่ สมทบทุนกองทุนพั ฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการ ศึกษา ทัง้ นี้ ิ ทีไ่ ด ้จากการระดมทุน กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานของรัฐต ้องถือปฏิบต เงินหรือทรัพย์สน ั ต ิ ามข ้อ 20 (1) – (5) ของ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด ้วยการเรีย ่ ไรของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2544 และทีแ ่ ก ้ไขเพิม ่ เติม ่ “กองทุนครูของแผ่นดิน” สําหรับกองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ 2. เห็นชอบในหลักการการขอพระราชทานชือ และบุคลากรทางการศึกษา ทีก ่ ระทรวงศึกษาธิการจัดตัง้ ขึน ้ เพือ ่ รองรับทุนประเดิมทีม ่ ผ ี ู ้บริจาค โดยให ้กระทรวงศึกษาธิการ ดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ ่ วันที่ 26 พฤษภาคม 2541 (เรือ ่ ง การขอพระราชทานนามอาคาร สิง่ ปลูกสร ้าง หรือสถานที่ และการก่อสร ้างอาคารของทางราชการ) โดยอนุโลมตามความเห็นของสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี 3. การพิจารณาเครือ ่ งราชอิสริยาภรณ์ให ้แก่ผู ้ทีบ ่ ริจาคเงินสมทบกองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากร ทาง การศึกษา นัน ้ ให ้กระทรวงศึกษาธิการดํ าเนินการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด ้วยการขอพระราชทานเครือ ่ งราชอิสริยาภรณ์ อันเป็ นทีส ่ รรเสริญยิง่ ดิเรกคุณาภรณ์ พ.ศ. 2538 และทีแ ่ ก ้ไขเพิม ่ เติม 4. ให ้ผู ้บริจาคเงินให ้แก่กองทุนฯ ได ้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี โดยสามารถนํ าเงินทีบ ่ ริจาคหักเป็ นค่าใช ้จ่าย ลดหย่อนในการคํานวณภาษี เงินได ้เป็ นจํานวนสองเท่าของรายจ่ายทีจ ่ า่ ยไปแต่ไม่เกินร ้อยละ 10 ของกําไรสุทธิหรือเงินได ้สุทธิ แล ้วแต่กรณี ตามความเห็นของกระทรวงการคลัง ทัง้ นี้ ให ้กระทรวงศึกษาธิการรับความเห็นของกระทรวงวัฒนธรรมและสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ไปพิจารณาดําเนินการด ้วย สาระสาค ัญของเรือ ่ ง กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) รายงานว่า 1. ศธ. ได ้ประกาศยุทธศาสตร์เชิงนโยบายการปฏิรป ู การศึกษาในทศวรรษทีส ่ อง “6 เดือน 6 คุณภาพ” ดังต่อไปนี้ คุณภาพที่ 1 คือ เรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคณ ุ ภาพ คุณภาพที่ 2 คือ การพัฒนาคุณภาพผู ้เรียน คุณภาพที่ 3 คือ คุณภาพการศึกษาตลอดชีวต ิ สําหรับประชาชน คุณภาพที่ 4 คือ คุณภาพสถานศึกษายุคใหม่ คุณภาพที่ 5 คือ คุณภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา คุณภาพที่ 6 คือ คุณภาพครู และ ศธ. มีโครงการประกาศนโยบาย เรือ ่ ง คุณภาพครู ซึง่ เป็ นคุณภาพที่ 6 โดยในปี พ.ศ. 2554 เป็ นปี แห่งคุณภาพครู เพือ ่ เป็ นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยูห ่ ัว “พระผู ้ ทรงเป็ นครูแห่งแผ่นดิน” 2. ในระหว่างทีก ่ ฎหมายการจัดตัง้ กองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษายังไม่แล ้วเสร็จ ศธ. ได ้มีการประกาศจัดตัง้ กองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาเพือ ่ รองรับการจัดหาทุนประเดิมไปพลางก่อน ่ โดยมีวต ั ถุประสงค์เพือ ่ ให ้มีการพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่างมีคณ ุ ภาพ โดยจะขอพระราชทานชือ “กองทุนครูของแผ่นดิน” เพือ ่ เป็ นการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยูห ่ วั และแสดงความจงรักภักดีตอ ่ สถาบัน พระมหากษั ตริย ์ และจะมีการจัดกิจกรรมเพือ ่ ระดมทุนรับบริจาคเป็ นทุนประเดิมในการจัดตัง้ กองทุน ในส่วนของการจัดกิจกรรมระดมทุนเพือ ่ ขอรับบริจาคเงินเป็ นทุนประเดิมในการจัดตัง้ กองทุนกําหนดให ้มีการ จัดงานตัง้ แต่วันที่ 14 – 18 มกราคม 2554 โดยมีกจิ กรรมหลักทีต ่ ้องดําเนินการ ดังนี้


33 กิจกรรมที่ 1 : วันที่ 5 ธันวาคม 2553 – วันที่ 17 มกราคม 2554 เป็ นกิจกรรมการประชาสัมพันธ์โครงการ และในช่วงวันที่ 14 – 17 มกราคม 2554 เป็ นการเตรียมการเพือ ่ ระดมทุนประเดิม กิจกรรมที่ 2 : วันที่ 14 มกราคม 2554 เป็ นวันประกาศนโยบายคุณภาพครู เพือ ่ ให ้เกิดความสอดคล ้องต่อ การจัดตัง้ กองทุนครูของแผ่นดิน จึงสมควรเพิม ่ กิจกรรมในการประกาศนโยบายคุณภาพครู เพือ ่ สร ้างอุดมการณ์และจิตสํานึก ร่วม ของครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา รวมทัง้ บุคคล องค์กร หน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชนได ้ร่วมกันแสดงพลัง ในการทดแทนพระคุณครู บูชาครู ในการเฉลิมฉลองปี แห่งมหามงคล และการขอถวายพระราชสมัญญา “พระผู ้ทรงเป็ นครูแห่ง แผ่นดิน” โดยมีสว่ นร่วมในการบริจาคเป็ นทุนประเดิมในการจัดตัง้ “กองทุนครูของแผ่นดิน” ในครัง้ นีด ้ ้วย กิจกรรมที่ 3 : หลังจากการระดมทุนประเดิม วันที่ 18 มกราคม 2554 เป็ นต ้นไป กิจกรรมทีจ ่ ะต ้องดําเนินการ ต่อหลังจากการจัดรายการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ การร่วมบริจาคทุนประเดิมกองทุนครูของแผ่นดิน เพือ ่ ให ้เกิดความ ต่อเนือ ่ งและยัง่ ยืนตามลําดับ กิจกรรมต่าง ๆ ทีต ่ ้องดําเนินการต่อ ได ้แก่ กิจกรรมการตรวจสอบ และการรายงานผลการ ดําเนินการต่อสาธารณะ กิจกรรมการติดตามและประเมินผลการดําเนินการ กิจกรรมขอบคุณผู ้มีอป ุ การะและมอบของทีร่ ะลึก และกิจกรรมการจัดทําแผนยุทธศาสตร์การพัฒนากองทุนครูของแผ่นดิน เพือ ่ ให ้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนือ ่ งและยัง่ ยืน เรือ ่ งทีค ่ ณะร ัฐมนตรีร ับทราบเพือ ่ เป็นข้อมูล ิ ค้าสาค ัญ 204 รายการ และบริการ 20 รายการ ประจาเดือนธ ันวาคม 2553 31. เรือ ่ ง มาตรการกาก ับดูแลสน คณะรัฐมนตรีรับทราบข ้อมูลมาตรการกํากับดูแลสินค ้าสําคัญ 204 รายการ และบริการ 20 รายการ ประจําเดือนธันวาคม 2553 ของกระทรวงพาณิชย์ ดังนี้ ตามทีก ่ ระทรวงพาณิชย์โดยกรมการค ้าภายใน ได ้มีการกําหนดระดับความสําคัญของสินค ้าทีต ่ ้องติดตามดูแล 204 รายการ และบริการ 20 รายการ เป็ นประจําทุกเดือนตามสถานการณ์หรือปั จจัยการผลิต ทีเ่ ปลีย ่ นแปลง เพือ ่ เป็ น เครือ ่ งมือในการติดตามดูแลราคาสินค ้าและเป็ นสัญญาณเตือนภัยในระดับปฏิบต ั ก ิ าร ซึง่ ได ้รายงานการจัดระดับความสําคัญ ของสินค ้า ให ้คณะรัฐมนตรีทราบเป็ นประจําทุกเดือนแล ้ว นัน ้ สําหรับในเดือนธันวาคม 2553 ได ้ประเมินและคาดการณ์ แนวโน ้มของสถานการณ์ด ้านราคาและปริมาณของสินค ้าและบริการ โดยได ้ปรับเปลีย ่ นการจัดระดับความสําคัญของสินค ้าทัง้ 3 กลุม ่ เป็ นดังนี้ ิ ค้า 9 รายการ ได ้แก่ (1) นํ้ าตาลทราย ราคานํ้ าตาลทราย ยังทรงตัวอยู่ 1. กลุม ่ Sensitive List (SL) สน ่ ลาดน ้อย ขณะทีค ในระดับสูง (2) นํ้ ามันพืช ราคานํ้ ามันปาล์มดิบปรับสูงขึน ้ เนือ ่ งจากปริมาณผลผลิตออกสูต ่ วามต ้องการมี อย่างต่อเนือ ่ ง ส่งผลกระทบต่อต ้นทุนการผลิตนํ้ ามันพืชทีใ่ ช ้บริโภค และอุตสาหกรรมต่อเนือ ่ งในประเทศให ้สูงขึน ้ ด ้วย และ ราคาเมล็ดถัว่ เหลืองในตลาดโลกปรับสูงขึน ้ เนือ ่ งจากความต ้องการใช ้มีมากขึน ้ ทัง้ เพือ ่ ผลิตเป็ นอาหารและผลิตเป็ นพลังงาน (3) นํ้ ามันเบนซิน (4) นํ้ ามันดีเซล ราคานํ้ ามันดิบเพิม ่ ขึน ้ เนือ ่ งจากความต ้องการใช ้นํ้ ามันสําเร็จรูปของจีนเพิม ่ ขึน ้ ประกอบกับ ธนาคารกลางสหรัฐฯ ประกาศใช ้มาตรการอัดฉีดเงินเข ้าสูร่ ะบบเพือ ่ กระตุ ้นเศรษฐกิจ (5) เหล็กเส ้น (6) เหล็กแผ่น (รีดร ้อนรีด เย็น และสแตนเลส) ราคาวัตถุดบ ิ ใน ไตรมาส 4 จะยังคงเคลือ ่ นไหวขึน ้ -ลง ในช่วงแคบ ๆ เนือ ่ งจากความผันผวนของภาวะ เศรษฐกิจโลก และความต ้องการใช ้ทีช ่ ะลอตัว (7) ปูนซีเมนต์ ราคาปรับเพิม ่ ขึน ้ ตามความต ้องการใช ้ทีม ่ อ ี ย่างต่อเนือ ่ ง (8) ้ และ (9) ปุ๋ยเคมี ราคาปุ๋ยยูเรียสูงขึน สายไฟฟ้ า ราคาปรับสูงขึน ้ เนือ ่ งจากสต๊อกทองแดงของผู ้ใช ้ลดลงผู ้ผลิตจึงทยอยซือ ้ เนือ ่ งจากความต ้องการใช ้ในตลาดโลกเพิม ่ ขึน ้ และบริการ 1 รายการ ได ้แก่ บริการรับส่งสินค ้า เอกสาร หรือพัสดุภณ ั ฑ์รับส่ง ้ เพลิงและส่งผลต่อราคาสินค ้า โทรสาร สืบเนือ ่ งจากได ้รับผลกระทบจากราคานํ้ ามันเชือ ิ ค้า 6 รายการ ได ้แก่ (1) อาหารปรุงสําเร็จ ราคาวัตถุดบ 2. กลุม ่ Priority Watch List (PWL) สน ิ หลัก คือ พืชผักเริม ่ ปรับตัวลดลงในช่วงอากาศหนาวเย็น (2) นํ้ าดืม ่ บรรจุภาชนะผนึกราคาเม็ดพลาสติกสูงขึน ้ ตามภาวะนํ้ ามัน ้ เพลิงทีส เชือ ่ งู ขึน ้ (3) ก๊าซ LPG หุงต ้ม ความต ้องการใช ้โดยรวมเพิม ่ ขึน ้ เพือ ่ ใช ้เป็ นพลังงานให ้เกิดความอบอุน ่ ในช่วงฤดู ่ าวะปกติ (5) เหล็กโครงสร ้างรูปพรรณ ราคา หนาว (4) ทราย หลังสถานการณ์นํ้าท่วมความต ้องการใช ้ลดลง การค ้าเข ้าสูภ วัตถุดบ ิ ในไตรมาส 4 จะยังคงเคลือ ่ นไหวขึน ้ – ลงในช่วงแคบ ๆ เนือ ่ งจากความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจโลก และความ ต ้องการใช ้ลดลง และ (6) ยาป้ องกันหรือกําจัดศัตรูพช ื ราคาสูงขึน ้ เล็กน ้อย เนือ ่ งจากรัฐบาลจีนเลิกสนับสนุนการส่งออก ทํา ให ้โรงงานผลิตรายเล็กจําต ้องปิ ดโรงงาน ส่งผลให ้ปริมาณผลผลิตในประเทศลดลง และบริการ 1 รายการ ได ้แก่ บริการ ซ่อมรถ


34 ั ญาณบ่งชีว้ า่ จะมีปัญหา 3. กลุม ่ Watch List (WL) ซึง่ เป็ นกลุม ่ สินค ้าทีร่ าคาเคลือ ่ นไหวเป็ นปกติยงั ไม่มส ี ญ ทัง้ ด ้านราคาและปริมาณสินค ้าทีจ ่ ําหน่าย ซึง่ จะทําการติดตาม ตามปกติ จานวน 189 รายการ และ บริการ 18 รายการ ่ ออก – นาเข้าของประเทศ และด ัชนีภาวะธุรกิจสง ่ ออกเดือนตุลาคม 2553 32. เรือ ่ ง ด ัชนีราคาสง คณะรัฐมนตรีรับทราบข ้อมูลดัชนีราคาส่งออก – นํ าเข ้าของประเทศ และดัชนีภาวะธุรกิจส่งออกเดือนตุลาคม 2553 ของกระทรวงพาณิชย์ ดังนี้ กระทรวงพาณิชย์มก ี ารปรับปรุงการจัดทําดัชนีราคาส่งออก – นํ าเข ้าของประเทศ โดยปรับเปลีย ่ นนํ้ าหนั กจาก ้มู ปี 2551 เป็ นปี 2552 ใช ลค่าการส่งออก-นํ าเข ้า จากกรมศุลกากรเป็ นตัวถ่วงนํ้ าหนัก และได ้มีการปรับปรุงรายการสินค ้าทีใ่ ช ้ คํานวณในปี 2553 คือ ดัชนีราคาส่งออกจํานวน 1,138 รายการ และดัชนีราคานํ าเข ้า จํานวน 909 รายการ เพือ ่ ให ้สะท ้อนภาวะ การค ้าของประเทศทีเ่ ป็ นปั จจุบน ั แต่ยงั คงปี ฐาน 2550 = 100 กระทรวงพาณิชย์รายงานความเคลือ ่ นไหวดัชนีราคาส่งออก-นํ าเข ้าของประเทศ ในรูปเงินเหรียญสหรัฐ ดัชนี ราคาส่งออกเดือนตุลาคม 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 1.3 และดัชนีราคานํ าเข ้า สูงขึน ้ ร ้อยละ 1.4 ่ 1. ด ัชนีราคาสงออก ่ ออกของประเทศ เดือนตุลาคม 2553 1.1 ด ัชนีราคาสง ในปี 2550 ดัชนีราคาส่งออกของประเทศ เท่ากับ 100 เดือนตุลาคม 2553 เท่ากับ 123.3 และเดือน กันยายน 2553 เท่ากับ 121.7 ่ ออกของประเทศ เดือนตุลาคม 2553 เมือ 1.2 การเปลีย ่ นแปลงด ัชนีราคาสง ่ เทียบก ับ เดือน กันยายน 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 1.3 เดือนตุลาคม 2552 สูงขึน ้ ร ้อยละ 7.5 เฉลีย ่ มกราคม-ตุลาคม 2553 เทียบกับระยะเดียวกัน ของปี 2552 สูงขึน ้ ร ้อยละ 9.6 ่ ออกของประเทศเดือนตุลาคม 2553 เทียบก ับเดือนก ันยายน 2553 สูงขึน ้ ร้อย 1.3 ด ัชนีราคาสง ละ 1.3 (เดือ นกันยายน 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 1.2) จากการสูงขึน ้ ของหมวดสินค ้าเกษตรกรรม ร ้อยละ 4.2 หมวดสินค ้า ้ เพลิง ร ้อยละ 1.5 อุตสาหกรรมการเกษตร ร ้อยละ 2.5 หมวดสินค ้าอุตสาหกรรม ร ้อยละ 0.8 และหมวดสินค ้าแร่และเชือ ิ ค้าสง ่ ออกทีร่ าคาสูงขึน ้ สน ิ หมวดสนค้าเกษตรกรรม ดัชนีราคาส่งออกสูงขึน ้ ร ้อยละ 4.2 (เดือนกันยายน 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 1.9) ํ จากการสูงขึน ้ ของสินค ้ากสิกรรมทีส ่ าคัญ ได ้แก่ ข ้าว ยางพารา ผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง กล ้วยไม ้ กาแฟ ผลไม ้สดแช่เย็นแช่ แข็ง ผักสดแช่เย็นแช่แข็ง สินค ้าประมง (กุ ้ง ปลาหมึก ปลา) ิ ค้าอุตสาหกรรมการเกษตร ดัชนีราคาส่งออกสูงขึน หมวดสน ้ ร ้อยละ 2.5 (เดือนกันยายน 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 1.5) จากการสูงขึน ้ ของอาหารทะเลกระป๋ องและแปรรูป นํ้ า ตาลทราย ผั ก กระป๋ องและแปรรูป ผลิต ภัณฑ์ข ้าวสาลี ่ สิงปรุงรสอาหาร นมและผลิตภัณฑ์นม เครือ ่ งดืม ่ ิ หมวดสนค้าอุตสาหกรรม ดัชนีราคาส่งออกสูงขึน ้ ร ้อยละ 0.8 (เดือนกันยายน 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 1.0) ่ ้ไฟฟ้ สินค ้าสําคัญทีร่ าคาสูงขึน ้ ได ้แก่ สิงทอ อัญมณีและเครือ ่ งประดับ เครือ ่ งใช า เครือ ่ งอิเลคทรอนิกส์ เหล็ก เหล็กกล ้าและ ผลิตภัณฑ์ เม็ดพลาสติก ผลิตภัณฑ์พลาสติก เคมีภณ ั ฑ์ ผลิตภัณฑ์ยาง ้ ิ ื หมวดสนค้าแร่และเชอเพลิง ดัชนีราคาส่งออกสูงขึน ้ ร ้อยละ 1.5 (เดือนกันยายน 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.9) สินค ้าสําคัญทีร่ าคาสูงขึน ้ ได ้แก่ ก๊าซปิ โตรเลียมเหลว สังกะสีและนํ้ ามันสําเร็จรูป ่ ออกของประเทศเดือนตุลาคม 2553 เทียบกับเดือนตุลาคม 2552 ดัชนีราคา 1.4 ด ัชนีราคาสง ส่ง ออกสู ง ขึน ้ ร อ้ ยละ 7.5 จากการสู ง ขึน ้ ของดั ช นี ทุ ก หมวด ได แ้ ก่ หมวดสิน ค ้าเกษตรกรรม ร ้อยละ 26.7 หมวดสิน ค า้ ้ เพลิง ร ้อยละ 11.8 อุตสาหกรรมการเกษตร ร ้อยละ 6.9 หมวดสินค ้าอุตสาหกรรม ร ้อยละ 4.1 และหมวดสินค ้าแร่และเชือ ่ ออกของประเทศเฉลีย 1.5 ด ัชนีราคาสง ่ มกราคม-ตุลาคม 2553 เทียบกับระยะเดียวกันของปี 2552 ดัชนีราคาส่งออกสูงขึน ้ ร ้อยละ 9.6 ดัชนีสงู ขึน ้ ทุกหมวด ได ้แก่ หมวดสินค ้าเกษตรกรรม ร ้อยละ 35.3 หมวดสินค ้าอุตสาหกรรม ้ เพลิง ร ้อยละ 29.8 การเกษตร ร ้อยละ 6.7 หมวดสินค ้าอุตสาหกรรม ร ้อยละ 3.6 และหมวดสินค ้าแร่และเชือ 2. ด ัชนีราคานาเข้า 2.1 ดัชนีราคานํ าเข ้าของประเทศ เดือนตุลาคม 2553


35 ในปี 2550 ดัชนีราคานํ าเข ้าของประเทศ เท่ากับ 100 เดือนตุลาคม 2553 เท่ากับ 121.0 และเดือนกันยายน 2553 เท่ากับ 119.3 2.2 การเปลีย ่ นแปลงดัชนีราคานํ าเข ้าของประเทศ เดือนตุลาคม 2553 เมือ ่ เทียบกับเดือนกันยายน 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 1.4 เดือนตุลาคม 2552 สูงขึน ้ ร ้อยละ 6.5 เฉลีย ่ มกราคม-ตุลาคม 2553 เทียบกับระยะเดียวกันของปี 2552 สูงขึน ้ ร ้อยละ 8.4 2.3 ดัชนีราคานํ าเข ้าของประเทศเดือนตุลาคม 2553 เทียบกับเดือนกันยายน 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 1.4 ้ (เดือนกันยายน 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ0.3) เป็ นผลจากการสูงขึน ้ ของหมวดสินค ้าเชือเพลิง สูงขึน ้ ร ้อยละ 3.7 หมวดยานพาหนะและ อุปกรณ์การขนส่ง ร ้อยละ 2.1 หมวดสินค ้าอุปโภคบริโภคร ้อยละ 1.2 หมวดสินค ้าวัตถุดบ ิ และกึง่ สํ าเร็จรูป ร ้อยละ 0.9 และ หมวด สินค ้าทุน ร ้อยละ 0.8 ิ ค้านาเข้าทีร่ าคาสูงขึน ้ สน ้ ิ ื หมวดส นค้าเชอเพลิง ดัชนีราคานํ าเข ้าสูงขึน ้ ร ้อยละ 3.7 (เดือ นกันยายน 2553 ลดลงร ้อยละ 1.5) สินค ้าสํ าคั ญทีร่ าคาสูงขึน ้ ได ้แก่ นํ้ า มันดิบ นํ้ ามันสํ า เร็ จรูป และก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียมหมวดสินค ้าทุน ดัชนีราคานํ าเข ้า สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.8 (เดือนกันยายน 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.7) สินค ้าสําคัญทีร่ าคาสูงขึน ้ ได ้แก่ ผลิตภัณฑ์โลหะ เครือ ่ งจักรกล ้ทางวิ เครือ ่ งจักรไฟฟ้ าและส่วนประกอบ และเครือ ่ งมือเครือ ่ งใช ทยาศาสตร์ การแพทย์ การทดสอบ ิ หมวดสนค้าว ัตถุดบ ิ และกึง่ สาเร็ จรูป ดัชนีราคานํ าเข ้าสูงขึน ้ ร ้อยละ 0.9 (เดือนกันยายน 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 0.6) สินค ้าสําคัญทีร่ าคาสูงขึน ้ ได ้แก่ ทองคํา เงิน แพลทินัม ทองแดงและผลิตภัณฑ์ ดีบก ุ ยางสังเคราะห์ และโกโก ้ ิ หมวดสนค้าอุปโภคบริโภค ดัชนีราคานํ าเข ้าสูงขึน ้ ร ้อยละ 1.2 (เดือนกันยายน 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 1.3) ้เบ็ สินค ้าสําคัญทีร่ าคาสูงขึน ้ ได ้แก่ ยารักษาโรค วิตามิน ฮอร์โมน และเครือ ่ งใช ดเตล็ด ่ หมวดยานพาหนะและอุปกรณ์ การขนสง ดัชนีราคานํ าเข ้าสูงขึน ้ ร ้อยละ 2.1 (เดือนกันยายน 2553 สูงขึน ้ ร ้อยละ 1.2) สินค ้าสําคัญทีร่ าคาสูงขึน ้ ได ้แก่ ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ 2.4 ดัชนีราคานํ าเข ้าของประเทศเดือนตุลาคม 2553 เทียบกับเดือนตุลาคม 2552 ดัชนีราคานํ าเข ้าสูงขึน ้ ้ ร ้อยละ 6.5 จากการสูงขึน ้ ของหมวดสินค ้าเชือ เพลิง ร ้อยละ 8.8 หมวดสินค ้าทุน ร ้อยละ 3.3 หมวดสินค ้าวัตถุดบ ิ และกึง่ สําเร็จรูปร ้อยละ 7.3 หมวดสินค ้าอุปโภคบริโภค ร ้อยละ 3.9 และหมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ร ้อยละ 8.2 2.5 ดัชนีราคานํ าเข ้าของประเทศเฉลีย ่ มกราคม-ตุลาคม 2553 เทียบกับระยะเดียวกัน ของปี 2552 ดัชนี ้ เพลิง ร ้อยละ 21.9 หมวดสินค ้าทุน ร ้อยละ 3.2 หมวดสินค ้า ราคานํ าเข ้าสูงขึน ้ ร ้อยละ 8.4 จากการสูงขึน ้ ของหมวดสินค ้าเชือ วัตถุดบ ิ และกึง่ สําเร็จรูป ร ้อยละ 5.0 หมวดสินค ้าอุปโภคบริโภค ร ้อยละ 2.0 และหมวดยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่งร ้อยละ 6.2 33. เรือ ่ ง สรุปสถานการณ์ภ ัยพิบ ัติดา้ นการเกษตรปี 2553 ครงที ั้ ่ 45 คณะรัฐมนตรีรับทราบข ้อมูลสรุปสถานการณ์ภย ั พิบต ั ด ิ ้านการเกษตรปี 2553 ครัง้ ที่ 45 ณ วันที่ 27 ธันวาคม 2553 ประกอบด ้วย สถานการณ์ภัยพิบต ั ด ิ ้านการเกษตร สถานการณ์นํ้า การช่วยเหลือด ้านการเกษตร และความก ้าวหน ้าการ ช่วยเหลือเกษตรกรผู ้ประสบอุทกภัยปี 2553 กรณีพเิ ศษ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สรุปได ้ดังนี้ สถานการณ์อท ุ กภ ัย ไม่ม ี สถานการณ์นา้ 1. สภาพนา้ ในอ่างเก็ บนา้ สภาพนํ้ าในอ่างเก็บนํ้ าขนาดใหญ่และขนาดกลางทัง้ ประเทศ (27 ธันวาคม 2553) มีปริมาณนํ้ าทัง้ หมด 53,553 ล ้านลูกบาศก์เมตร หรือคิดเป็ นร ้อยละ 73 ของความจุอา่ งเก็บนํ้ าขนาดใหญ่และขนาดกลางทัง้ หมด ลดลงจากสัปดาห์ ก่อน (54,061 ล ้านลูกบาศก์เมตร) จํานวน 508 ล ้านลูกบาศก์เมตร (ปริมาณนํ้ าใช ้การได ้ 29,712 ล ้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็ น ร ้อยละ 40 ของความจุอา่ ง) น ้อยกว่าปี 2552 (55,435 ล ้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็ นร ้อยละ 75) จํ านวน 1,882 ล ้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณนํ้ าไหลลงอ่างฯ จํานวน 34.44 ล ้าน ลบ.ม. ปริมาณนํ้ าระบาย จํานวน 88.34 ล ้านลูกบาศก์เมตร สภาพนํ้ าในอ่างเก็บนํ้ าขนาดใหญ่ (27 ธันวาคม 2553) มีปริมาณนํ้ าทัง้ หมด 50,180 ล ้านลูกบาศก์เมตร หรือคิดเป็ นร ้อยละ 72 ของความจุอา่ งเก็บนํ้ าขนาดใหญ่และขนาดกลางทัง้ หมด ลดลงจากสัปดาห์กอ ่ น(50,621 ล ้านลูกบาศก์ ้การได เมตร) จํ านวน 441 ล ้านลูกบาศก์เมตร (ปริมาณนํ้ าใช ้ 26,657 ล ้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็ นร ้อยละ 38 ของความจุอา่ ง)


36 น ้อยกว่าปี 2552 (52,427 ล ้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็ นร ้อยละ 75) จํ านวน 2,247 ล ้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณนํ้ าไหลลงอ่างฯ จํ านวน 34.25 ล ้าน ลบ.ม. ปริมาณนํ้ าระบาย จํานวน 87.98 ล ้านลูกบาศก์เมตร ั ิ ธิ์ สภาพนา้ ในอ่างเก็ บนา้ เขือ ่ นภูมพ ิ ล สริ ก ิ ต ิ ิ์ แควน้อยฯ และป่าสกชลส ท ้ าร ปริมาณนา้ ไหลลง ปริมาณนา้ ระบาย ปริมาตรนา้ ในอ่าง ปริมาตรนา้ ใชก ฯ ได้ อ่างฯ อ่างเก็ บ % % นา้ ปริมาตร ปริมาตร เมือ ่ ความจุ ความจุ ว ันนี้ เมือ ่ วาน ว ันนี้ นา้ นา้ วาน อ่างฯ อ่างฯ 1.ภูมพ ิ ล 8,378 62 4,578 34 0.37 0.03 25.00 25.00 2.สิรก ิ ต ิ ิ์ 7,560 79 4,710 50 3.95 5.88 17.11 19.05 ภู มิ พ ล + 15,938 69 9,288 40 4.32 5.91 42.11 44.05 สิรก ิ ต ิ ิ์ 3.แควน ้อย 692 90 656 85 2.11 1.74 3.46 3.46 ฯ 4.ป่ าสักชล 782 81 779 81 1.23 0.50 3.49 3.49 สิทธิ์ รวม 4 17,412 70 10,723 43 7.66 8.15 49.06 51.00 อ่างฯ หน่วย : ล้านลูกบาศก์เมตร อ่างเก็ บนา้ ทีอ ่ ยูใ่ นเกณฑ์นา้ น้อยกว่า ร้อยละ 30 ของความจุอา่ งฯ จานวน 1 อ่าง

อ่างเก็ บนา้

1.ปราณบุรี

ปริมาตรนา้ ในอ่าง ฯ ปริมาตร % นา้ ความจุ อ่างฯ 99 29

หน่วย : ล้านลูกบาศก์เมตร

้ าร ปริมาตรนา้ ใชก ได้ ปริมาตร % นา้ คว าม จุ อ่างฯ 39 11

ปริมาณนา้ ไหลลง อ่างฯ ว ันนี้ เมือ ่ วาน

0.13

0.02

ปริมาณนา้ ระบาย ว ันนี้

เมือ ่ วาน

0.22

0.86


37 อ่างเก็ บนา้ ทีอ ่ ยูใ่ นเกณฑ์นา้ มากกว่าร้อยละ 80 ของความจุอา่ งฯ จานวน 18 อ่าง ดังนี้

อ่างเก็ บนา้

1.แม่งัดฯ 2.กิว่ ลม 3.กิว่ คอ หมา 4.แควน ้อยฯ 5.ห ้วยหลวง 6.จุฬาภรณ์ 7.อุบลรัตน์ 8.ลําปาว 9. ลําตะ คอง 10.ลําพระ เพลิง 11.มูลบน 12.ลําแซะ 13.ป่ าสักฯ 14.กระเสียว 15.ขุนด่านฯ 16.คลองสี ยัด 17.หนอง ปลาไหล 18.ประแสร์

ปริมาตรนา้ ในอ่าง ฯ ปริมาตร % นา้ ความจุ อ่างฯ 270 102 104 93

้ าร ปริมาตรนา้ ใชก ได้ ปริมาตร % นา้ คว าม จุ อ่างฯ 248 94 100 89

ปริมาณนา้ ไหลลง อ่างฯ ว ันนี้ เมือ ่ วาน

ปริมาณนา้ ระบาย ว ันนี้ เมือ ่ วาน

0.23 0.83

0.29 0.73

0.35 1.48

0.40 0.71

176

104

170

100

0.01

0.01

0.15

0.15

692 111 153 2,092 1,185 340

90 94 93 86 83 108

656 106 109 1,511 1,100 313

85 90 66 62 77 100

2.11 0.00 0.05 0.00 1.41 3.28

1.39 0.00 0.10 2.76 0.00 0.17

3.46 0.57 0.10 5.48 3.51 0.66

3.46 0.57 0.69 4.39 3.49 0.79

106

96

105

95

0.00

0.00

0.00

0.00

116 244 782 248 201 359

82 89 81 103 90 85

109 237 779 208 196 329

77 86 81 87 88 78

0.00 0.00 1.23 0.24 0.06 0.00

0.00 0.00 0.50 0.59 0.06 0.00

0.00 0.00 3.49 0.06 0.63 1.70

0.00 0.00 3.49 0.06 0.59 1.70

153

93

139

85

0.01

0.48

0.35

0.39

232

94

212

85

0.01

0.01

0.13

0.13

หน่วย : ล้านลูกบาศก์เมตร 2. สภาพนา้ ท่า ปริมาณนํ้ าในลํานํ้ าปิ ง วัง ยม น่าน ชี และมูล ตามสถานีสํารวจปริมาณนํ้ าท่ากรมชลประทาน พบว่ามีปริมาณนํ้ าอยู่ ในเกณฑ์ปกติ ปริมาณนํ้ าในแม่นํ้าเจ ้าพระยาไหลผ่านจังหวัดนครสวรรค์ 450 ลบ.ม./วินาที (เพิม ่ ขึน ้ จากเมือ ่ วาน 5 ลบ. ม./วินาที) ปริมาณนํ้ าไหลผ่านเขือ ่ นเจ ้าพระยา 63 ลบ.ม./วินาที (เพิม ่ ขึน ้ จากเมือ ่ วาน 8 ลบ.ม./วินาที) รับนํ้ าเข ้าระบบส่งนํ้ าทุง่ ฝั่ งตะวันออก 151 ลบ.ม./วินาที (เท่ากับเมือ ่ วาน) และรับนํ้ าเข ้าระบบส่งนํ้ าทุง่ ฝั่ งตะวันตก 244 ลบ.ม./วินาที (ลดลงจากเมือ ่ วาน 13 ลบ.ม./วินาที) ปริมาณนํ้ าไหลผ่านเขือ ่ นพระรามหก 5 ลบ.ม./วินาที (เท่ากับเมือ ่ วาน)


38 ่ ยเหลือด้านการเกษตร การชว การสน ับสนุนเครือ ่ งสูบนา้ เคลือ ่ นที่ จํานวน 221 เครือ ่ ง ในพืน ้ ที่ 19 จังหวัด ได ้แก่ ภาคเหนือ 1 จังหวัด จํานวน 1 เครือ ่ ง ภาคกลาง 11 จังหวัด 101 เครือ ่ ง ภาคใต ้ 7 จังหวัด จํานวน 119 เครือ ่ ง เครือ ่ งผลักดันนํ้ า 5 จังหวัด จํานวน 69 เครือ ่ ง ่ ความก้าวหน้าการชวยเหลือเกษตรกรผูป ้ ระสบอุทกภ ัยปี 2553 กรณีพเิ ศษ เป็นเงิน ด้านพืช จ ังหว ัดประสบภ ัย จานวน 74 จ ังหว ัด พืน ้ ทีป ่ ระสบภัย 11.26 ล ้านไร่ แบ่งเป็ น ข ้าว 8.36 ล ้านไร่ พืชไร่ 1.87 ล ้านไร่ พืชสวนและอืน ่ ๆ 1.03 ล ้านไร่ ี หายสน ิ้ เชงิ (ณ ว ันที่ 24 ธ.ค. 53) จานวน 7.13 ล้านไร่ แบ่งเป็น ข้าว ้ ทีเ่ สย สารวจแล้ว พบว่า เป็นพืน ้ 16,249.09 ล้านบาท 5.88 ล้านไร่ พืชไร่ 0.89 ล้านไร่ พืชสวนและอืน ่ ๆ 0.36 ล้านไร่ คิดเป็ นวงเงินช่วยเหลือทัง้ สิน ่ ยเหลือ การดาเนินการให้การชว - ช่วยเหลือด ้วยเงินองค์กรปกครองส่วนท ้องถิน ่ จํานวน 23 จังหวัด พืน ้ ทีเ่ สียหาย 101,555ไร่ วงเงิน 38.21 ล ้านบาท และขอรับการช่วยเหลือส่วนต่าง จํานวน 182.25 ล ้านบาท - ช่วยเหลือด ้วยเงินทดรองราชการในอํ านาจนายอําเภอและผู ้ว่าราชการจังหวัด จํ านวน 24 จังหวัด พืน ้ ที่ เสียหาย 117,690 ไร่ วงเงิน 75.96 ล ้านบาท และขอรับการช่วยเหลือส่วนต่าง จํานวน 196.15 ล ้านบาท - ช่วยเหลือด ้วยเงินทดรองราชการจังหวัด ในอํ านาจปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จํ านวน 5 จังหวั ด พืน ้ ทีเ่ สียหาย 38,836 ไร่ วงเงิน 67.12 ล ้านบาท และขอรับการช่วยเหลือส่วนต่าง จํานวน 67.32 ล ้านบาท - กรมส่ง เสริม การเกษตรส่ง เอกสารให ้ ธกส.เพื่อ ขออนุ มัต เิ งิน งวดแล ้ว จํ า นวน 48 จั ง หวั ด เกษตรกร 407,186 ราย พืน ้ ทีเ่ สียหาย 4.67 ล ้านไร่ วงเงิน 10,602.36 ล ้านบาท (ข ้อมูล ณ วันที่ 24 ธ.ค. 53) ทัง้ นี้ (ธกส.) ได ้รับอนุมต ั ิ เงินงวดจากสํานักงบประมาณครัง้ ที่ 1 โอนให ้ด ้านพืช วงเงิน 2,073.38 ล ้านบาท เกษตรกร 89,901 ราย ในพืน ้ ที่ 20 จังหวัด ได ้แก่ จังหวัดเชียงราย ลําพูน พิษณุโลก ตาก กําแพงเพชร น่าน สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุทัยธานี ขอนแก่น มุกดาหาร นครพนม อํานาจเจริญ อุบลราชธานี อ่างทอง ปทุมธานี ชัยนาท ฉะชิงเทรา นครนายก จันทบุรี ด้านประมง ั นา้ 179,161 ไร่ แบ่งเป็น ้ ทีเ่ พาะเลีย ้ งสตว์ จังหวัดประสบภัย จํ านวน 68 จังหวัด สารวจแล้ว พบว่าพืน ั บ่อปลา 153,926 ไร่ บ่อกุง้ ปู หอย 25,235 ไร่ กระชง/บ่ อซเี มนต์ 466,885 ตารางเมตร เกษตรกร 124,299 ราย ่ ยเหลือทงส ิ้ 869.81 ล้านบาท คิดเป็นวงเงินชว ั้ น ่ ยเหลือ การดาเนินการให้การชว - ช่วยเหลือด ้วยเงินองค์กรปกครองส่วนท ้องถิน ่ จํ านวน 4 จังหวัด เป็ นพืน ้ ทีบ ่ อ ่ ปลา 347 ไร่ กระชัง/บ่อซีเมนต์ ้ 2,940 ตารางเมตร เกษตรกร 250ราย คิดเป็ นวงเงินช่วยเหลือทัง้ สิน 1.28 ล ้านบาท - ช่วยเหลือด ้วยเงินทดรองราชการในอํานาจนายอําเภอและผู ้ว่าราชการจังหวัด จํ านวน 22 จังหวัด เป็ น พืน ้ ทีเ่ พาะเลีย ้ งสัตว์นํ้า 7,828 แบ่งเป็ น บ่อปลา 7,825 ไร่ บ่อกุ ้ง ปู หอย 3 ไร่ กระชัง/บ่อซีเมนต์ 8,742 ตารางเมตร วงเงิน ช่วยเหลือ 28.34 ล ้านบาท - ช่ ว ย ด ้ว ย เ งิ น ท ด ร อ ง ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด ใ น อํ า น า จ ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ จํ า น ว น 3 จั งหวั ด เป็ นพื้ น ที่ บ่ อ ปลา 1,106 ไร่ กระชั ง /บ่ อ ซี เ มนต์ 5,113 ตารางเมตร เกษตรกร 2,301 ราย ้ คิดเป็ นวงเงินช่วยเหลือทัง้ สิน 5.08 ล ้านบาท - ก ร ม ป ร ะ ม ง ไ ด ้ ส่ ง เ อ ก ส า ร ใ ห ้ ธ ก ส . เ พื่ อ ข อ อ นุ มั ติ เ งิ น ง ว ด จ า ก สํ า นั ก ง บ ป ร ะ ม า ณ แ ล ้ ว 23 จังหวัด เกษตรกร 21,632 ราย เป็ นพืน ้ ทีเ่ พาะเลีย ้ งสัตว์นํ้า 28,100 ไร่ แบ่งเป็ น บ่อปลาทุกชนิด 25,195 ไร่ บ่อกุ ้ง/ปู/หอย 2,905 ไร่ กระชัง/บ่อซีเมนต์ 32,258 ตารางเมตร วงเงินขอรับการช่วยเหลือ 118.72ล ้านบาท (ข ้อมูล ณ วันที่ 24 ธ.ค. 53) ทัง้ นี้ ธนาคารเพือ ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.) ได ้รับอนุมต ั เิ งินงวดจากสํานั กงบประมาณครัง้ ที่ 1 โอนให ้ด ้านประมง วงเงิน 15.32 ล ้านบาท เกษตรกร 5,824 ราย ในพืน ้ ที่ 5 จังหวัด ได ้แก่ มุกดาหาร หนองบัวลําภู อุดรธานี ชัยนาท ฉะเชิงเทรา ั ด้านปศุสตว์ จ ังหว ัดประสบภ ัย จํานวน 54 จังหวัด สํารวจแล ้ว (ข ้อมูล ณ วันที่ 22 ธ.ค. 53) พบว่า สัตว์ตายและสูญหาย จํานวน 1,911,166 ตัว แปลงหญ ้า 9,003.25 ไร่ เกษตรกร 24,080 ราย คิดเป็ นวงเงินช่วยเหลือ 111.30 ล ้านบาท ่ ยเหลือ การดาเนินการให้การชว


39 - ช่วยเหลือด ้วยเงินองค์กรปกครองส่วนท ้องถิน ่ จํ านวน 5 จังหวั ด สัตว์ตาย/สูญหาย 289 ตัว เกษตรกร 12,173 ราย วงเงินช่วยเหลือ 0.42 ล ้านบาท - ช่วยเหลือด ้วยเงินทดรองราชการในอํ านาจนายอํ าเภอและผู ้ว่าราชการจังหวัด 24จังหวัด สัตว์ตาย/สูญ หาย 319,877 ตัว เกษตรกร 7,459 ราย วงเงินช่วยเหลือ 15.28 ล ้านบาท - ช่วยเหลือด ้วยเงินทดรองราชการในอํานาจปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จํ านวน 2 จังหวัด สัตว์ตาย/ สูญหาย 7,190 ตัว เกษตรกร 420 ราย วงเงินช่วยเหลือ 2.13 ล ้านบาท - กรมปศุสัตว์ไ ด ้ส่งเอกสารให ้ธกส.เพือ ่ ขออนุ มัต เิ งินงวดจากสํ า นั กงบประมาณแล ้ว จํ า นวน 13 จังหวั ด ได ้แก่ จั งหวั ดชัยนาท พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี ปราจีนบุรี สระแก ้ว อุทั ยธานี ลํ าพูน ชัยภูม ิ ร ้อยเอ็ด ลพบุรี หนองคาย อุบลราชธานี สุพรรณบุรี วงเงิน 11.28 ล ้านบาท ่ งเทศกาลปี ใหม่ 34. เรือ ่ ง สรุปสถานการณ์ภ ัยหนาว และมาตรการป้องก ันอุบ ัติภ ัยในชว คณะรัฐมนตรับทราบข ้อมูลสรุปสถานการณ์ภย ั หนาว และมาตรการป้ องกันอุบัตภ ิ ัยในช่วงเทศกาลปี ใหม่ ของ กระทรวงมหาดไทย สรุปได ้ดังนี้ สาระสาค ัญของเรือ ่ ง สรุปสถานการณ์ภย ั หนาว และการให ้ความช่วยเหลือ (ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน - 27 ธันวาคม 2553) 1. การคาดหมายลักษณะอากาศ (ระหว่างว ันที่ 27 ธ.ค. 2553 - 1 ม.ค. 2554) 1.1 กรมอุตน ุ ย ิ มวิทยา คาดหมายลักษณะอากาศว่า ในช่วงวันที่ 27 - 28 ธันวาคม 2553 บริเวณความกดอากาศสูงกําลังค่อนข ้างแรงจากประเทศจีนจะแผ่เข ้ามาปกคลุม ประเทศไทยตอนบนและทะเลจีนใต ้ ทําให ้มีฝน บางแห่ง อากาศจะเย็นลง โดยอุณหภูมจิ ะลดลง 2-4 องศา กับมีลมแรง ส่วนมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือทีพ ่ ัดปกคลุมอ่าวไทย และภาคใต ้มีกํา ลังแรงขึน ้ ทํ าให ้ภาคใต ้ฝั่ งตะวั นออกตัง้ แต่จังหวัดสุราษฎร์ธานีลงไปมีฝ นเพิม ่ ขึน ้ และคลื่นลมในอ่า วไทย ตอนล่างมีกําลังค่อนข ้างแรงในระยะนี้ ส่วนในช่วงวันที่ 29 - 30 ธ.ค. 2553 บริเวณความกดอากาศสูงนี้มก ี ําลังอ่อนลง แต่ยัง ้าและมี ทํ าให ้บริเวณประเทศไทยตอนบนมีอากาศหนาวเย็นกับมีหมอกในตอนเช หมอกหนาในหลายพืน ้ ที่ ขอให ้ประชาชน ระมัดระวังอันตรายในการสัญจรไว ้ด ้วย หลังจากนั น ้ ในช่วงวันที่ 31 ธ.ค. 2553 - 1 ม.ค. 2554 จะมีบริเวณความกดอากาศสูง ระลอกใหม่จากประเทศจีนแผ่เสริมลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบน 1.2 กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภั ย ได ้มีโ ทรสารด่ ว นที่สุด ที่ มท 0616/ว 13708 ลงวันที่ 24 ธ.ค. 2553 แจ ้งเตือนในช่วงระหว่างวันที่ 27-31 ธ.ค. 2553 ให ้ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัย เขต 11 (สุราษฎร์ธานี) เขต 12 (สงขลา) และจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ยะลา ปั ตตานี นราธิวาส และจังหวัดสตูล เตรียมการป้ องกันและแก ้ไขปั ญหาอันเกิดจากสภาวะฝนตกหนั ก และคลืน ่ ลมแรง ในภาคใต ้ อาจ ี ิ สร ้างความเสียหายให ้แก่ชวต ิ และทรัพย์สน ตลอดจนพืชผลทางการเกษตรของประชาชน และมีโทรสารด่วนทีส ่ ด ุ ที่ มท 0616/ ว 13706 ลงวันที่ 24 ธ.ค. 2553 แจ ้งเตือนในช่วงเทศกาลปี ใหม่ ให ้ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต และจังหวัดใน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก เตรียมการป้ องกันและแก ้ไขปั ญหาอันเกิดจากสภาพอากาศ ิ ผลิตผลทางการเกษตร สัต ว์เ ลีย หนาวเย็น และมีห มอกหนา อาจสร ้างความเสียหายให ้แก่ช วี ต ิ ทรัพ ย์ส น ้ งของประชาชน ้เส ้นทาง ตลอดจนผู ้ใช เดินทางสัญจรไป-มาในบริเวณทีม ่ ห ี มอกหนา อาจเกิดอุบัตภ ิ ัยทางถนนได ้ ในระยะนี้ถงึ ช่วงเทศกาลปี ใหม่ โดยจัดเจ ้าหน ้าที่ เฝ้ าระวังติดตามสถานการณ์ในพืน ้ ทีอ ่ ย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชัว่ โมง รวมทัง้ เตรียมเครือ ่ งมืออุปกรณ์ไว ้ ให ้พร ้อม เพือ ่ สามารถช่วยเหลือผู ้ประสบภัยได ้ทันต่อเหตุการณ์ 2. การเตรียมการป้องก ันและแก้ไขปัญหาภ ัยหนาวของกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย โดยกรมป้ องกั น และบรรเทาสาธารณภั ย ได ้จั ด ตั ง้ ศู น ย์ อํานวยการเฉพาะกิจป้ องกัน และแก ้ไขปั ญ หาภัยหนาว ปี พ.ศ. 2553 - 2554 ของจังหวัดขึน ้ ณ สํานั กงานป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และ จัดตัง้ ศูนย์อํานวยการเฉพาะกิจฯ อําเภอ และองค์กรปกครองส่วนท ้องถิน ่ ทุกแห่งในเขตพืน ้ ที่ พร ้อมทัง้ แต่งตัง้ เจ ้าหน ้าทีร่ ับผิดชอบ ประจําศูนย์ฯ เพือ ่ เป็ นศูนย์ประสานงานในการให ้ความช่วยเหลือประชาชนทีไ่ ด ้รับความเดือดร ้อนจากสภาวะอากาศหนาวเย็นที่ เกิดขึน ้ นอกจากนี้ กระทรวงมหาดไทย ได ้จัดตัง้ ศูนย์รับบริจาคช่วยเหลือผู ้ประสบภัยหนาว ณ กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณ ภัย และทีจ ่ ังหวัดทุกจังหวัดด ้วย


40

3. สถานการณ์ภ ัยหนาว (ระหว่างว ันที่ 1 พ.ย. - 27 ธ.ค. 2553) ในขณะนี้ได ้รับรายงานจังหวัดทีไ่ ด ้ประกาศเป็ นพืน ้ ทีป ่ ระสบภัยพิบัตก ิ รณีฉุกเฉิน (ภัยหนาว) เนื่องจากมีสภาพอากาศหนาว (อุณหภูม ิ 8.0 - 15.9 องศาเซลเซียส) ถึงหนาวจัด (อุณหภูมต ิ ํ่ากว่า 8.0 องศาเซลเซียส) จํ านวน 26 จังหวัด ได ้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ่ เชียงราย พะเยา เพชรบูรณ์ แพร่ ตาก น่าน แม่ฮองสอน ลําปาง ลําพูน อุตรดิตถ์ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น นครพนม บุรรี ัมย์ มุกดาหาร มหาสารคาม ยโสธร เลย ศรีสะเกษ สุรน ิ ทร์ สกลนคร หนองคาย อุดรธานี อุบลราชธานี และจังหวัดอํานาจเจริญ รวม 344 อํ าเภอ 2,668 ตําบล 33,997 หมูบ ่ ้าน ่ ยเหลือของหน่วยงาน 4. การให้ความชว 4.1 จังหวัดทีไ่ ด ้ประกาศเป็ นพืน ้ ทีป ่ ระสบภัยพิบัตก ิ รณีฉุกเฉิน (ภัยหนาว) ทัง้ 26 จังหวัด รายงานว่าได ้มอบเครือ ่ งกัน หนาวให ้แก่ประชาชนทีข ่ าดแคลนในพืน ้ ที่ โดยได ้รับการสนั บสนุนผ ้าห่มกันหนาวจากองค์กรปกครองส่วนท ้องถิน ่ กรมป้ องกันและบรรเทาสา ธารณภัย สํานั กงานป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จํ ากัด (มหาชน) เครือเจริญโภคภัณฑ์ สมาคม มูลนิธ ิ ไป ้ แล ้ว รวม 295,933 ชิน 4.2 บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จํ ากัด (มหาชน) ได ้ให ้การสนั บสนุนผ ้าห่มกันหนาว จํ านวน 200,000 ผืน เพือ ่ แจกจ่ายช่วยเหลือผู ้ประสบภัยหนาวในพืน ้ ที่ 15 จังหวัด ได ้แก่ จังหวัดนครพนม สกลนคร หนองคาย อุดรธานี หนองบัวลํ าภู ่ งสอน ขอนแก่น มหาสารคาม ร ้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ นครราชสีมา เชียงราย น่าน ลําปาง เชียงใหม่ และจังหวัดแม่ฮอ 4.3 หอการค ้าไทย-จีน และสมาคมแต ้จิว๋ แห่งประเทศไทย ได ้มอบผ ้าห่มช่วยเหลือภัยหนาว จํ านวน 2,000 ผืน ผ่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เมือ ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2553โดยกระทรวงมหาดไทยได ้มอบหมายให ้กรม ป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็ นหน่วยงานกลางในการนํ าผ ้าห่มกันหนาวไปแจกจ่ายแก่ผู ้ประสบภัยหนาวในพืน ้ ทีต ่ า่ ง ๆ 4.4 บริษัท ซีพ ี จํ ากัด (มหาชน) (เครือเจริญโภคภัณฑ์) ได ้ให ้การสนั บสนุ นผ ้าห่มกันหนาว จํ านวน 50,000 ผืน ้ จากกลุม มูลค่า 12.5 ล ้านบาท ซึง่ จัดซือ ่ แม่บ ้านผู ้ผลิตผ ้าห่มนวม จังหวัดสกลนครตามนโยบายส่งเสริมอาชีพและช่วยให ้เกษตรกร มีรายได ้เพิม ่ มากขึน ้ ของกระทรวงมหาดไทย และได ้มอบให ้รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย (นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล) เมือ ่ วันที่ 2 ธันวาคม 2553 เพือ ่ แจกจ่ายช่วยเหลือผู ้ประสบภัยหนาว ในพืน ้ ที่ 10 จังหวัดได ้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลํ าพูน น่าน พะเยา สกลนคร นครพนม เลย อุดรธานี และจังหวัดขอนแก่น 5. สิง่ ของพระราชทานช่วยเหลือผู ้ประสบภัยหนาว กองงานพระวรชายาฯ ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงโปรดให ้ผู ้แทนพระองค์ เดินทางไปมอบถุง ่ งสอน น่าน พะเยา พระราชทานแก่ราษฎรทีป ่ ระสบภัยหนาวในพืน ้ ทีจ ่ ังหวัดเชียงราย เพชรบูรณ์ ขอนแก่น สกลนคร ลํ าพูน เชียงใหม่ แม่ฮอ ตาก กาฬสินธุ์ เลย และจังหวัดสกลนคร รวม จํานวน 13,600 ถุง นมอัดเม็ดจิตรลดา 50 กล่อง และนมสด 50 กล่อง ่ งเทศกาลปี ใหม่ มาตรการป้องก ันอุบ ัติภ ัยในชว ในห ้วงปลายเดือนธันวาคมถึงต ้นเดือนมกราคมของทุกปี เป็ นช่วงทีม ่ ก ี ารจัดงานเฉลิมฉลองเทศกาลวันส่งท ้าย ปี เก่าและต ้อนรับปี ใหม่ หน่วยงานต่าง ๆ และประชาชนจํานวนมาก จะจัดให ้มีงานรืน ่ เริงเพือ ่ เฉลิมฉลอง โดยเฉพาะในช่วงเวลา ่ ่ ก่อนเที่ยงคืนของวั นที่ 31 ธั นวาคม 2553 ซึงเป็ นช่วงของการนั บ เวลาถอยหลังเข ้าสูปี ใหม่ และมักจะมีการจุด พลุ ประทั ด ่ งทีอ ดอกไม ้เพลิง ซึง่ มีความเสีย ่ าจจะเกิดอัคคีภัยได ้โดยง่าย ประกอบกับมีการสัญจรของประชาชนในห ้วงเวลาดังกล่าวอย่าง คับคั่ ง เพื่อเดินทางท่องเที่ยวไปยังสถานที่ต่าง ๆ จึงมัก จะเกิดอุบัตภ ิ ั ยจากการสัญ จรทัง้ ทางบกและทางนํ้ า ซึง่ สร ้างความ ิ ของประชาชนเป็ นอย่า งมาก กระทรวงมหาดไทย จึง ได ส สูญ เสีย ต่ อ ชีว ิต และทรั พ ย์ส น ้ ั่ ง การให ้จั ง หวั ด ทุ ก จั ง หวั ด และ กรุงเทพมหานคร เตรียมการป้ องกันและเฝ้ าระวังการเกิดอุบัตภ ิ ัยทางบก ทางนํ้ า และอัคคีภัย ทีอ ่ าจเกิดขึน ้ ในช่วงเทศกาลปี ใหม่ โดยให ้ดําเนินการ ดังนี้ 1. กําชับหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท ้องถิน ่ ภาคเอกชน และประชาชนทีจ ่ ะจัดงานเฉลิมฉลอง ้เทคนิ เทศกาลฯ ทีม ่ ก ี ารเล่นพลุ ประทัด ดอกไม ้เพลิง หรือการแสดงโดยใช คพิเศษ (Special Effect) โดยเฉพาะวันส่งท ้ายปี ้ความระมั เก่าและต ้อนรับปี ใหม่ ได ้เตรียมการป้ องกัน และใช ด ระวังเป็ นพิเศษ ตลอดจนการกํ าหนดมาตรการห ้ามเล่นพลุ ประทัด ดอกไม ้เพลิงภายในสถานบันเทิงอย่างเด็ดขาดเพือ ่ มิให ้เกิดอันตรายจากอัคคีภย ั โดยดําเนินการให ้เป็ นไปตามกฎหมาย อย่างเคร่งครัด


41 2. ให ้ผู ้อํานวยการท ้องถิน ่ ตามกฎหมายว่าด ้วยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขตพืน ้ ที่ ทีร่ ับผิดชอบ ้ในการป้ เตรียมความพร ้อมด ้านบุคลากร อุปกรณ์ เครือ ่ งมือเครือ ่ งใช องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมทัง้ จัดเจ ้าหน ้าทีแ ่ ละวาง ่ ่ ระบบสือสารเตรียมความพร ้อมตลอด 24 ชัวโมง เพือ ่ ให ้การช่วยเหลือผู ้ประสบภัยได ้อย่างรวดเร็ว และทันท่วงที 3. กําชับให ้ผู ้อํ านวยการหรือเจ ้าพนั กงานตามกฎหมายว่าด ้วยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตรวจตรา ่ งต่อ การ พืน ้ ทีช ่ ม ุ นุมชน สถานประกอบการ สถานบันเทิง อาคารหรือสถานทีใ่ ด วัสดุสงิ่ ของภายในและโดยรอบ ที่ม ีส ภาพเสีย เกิด สาธารณภัยได ้โดยง่า ย และดํา เนินการปรั บ ปรุงแก ้ไขตามอํา นาจหนา้ ที่ท ี่เกีย ่ วข ้องต่อไป 4. กํ าชับให ้ผู ้อํ านวยการหรือเจ ้าพนั กงานตามกฎหมายว่าด ้วยการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยตรวจตรา ้นทางสั เส ญจร โดยเฉพาะบริเวณสถานทีท ่ อ ่ งเทีย ่ วทางนํ้ า พืน ้ ทีต ่ ลิง่ ความมัน ่ คงแข็งแรงของโป๊ ะ ท่าเทียบเรือ ความปลอดภัย ่ ของเรือโดยสาร ทีม ่ ส ี ภาพเสียงต่อการเกิดอุบัตภ ิ ัยได ้โดยง่าย ให ้แจ ้งเจ ้าพนั กงานตามกฎหมายว่าด ้วยการนั น ้ ทราบ เพือ ่ เข ้า ดําเนินการปรับปรุง แก ้ไข ตามอํานาจหน ้าทีท ่ เี่ กีย ่ วข ้อง 5. ประชาสัม พันธ์ เผยแพร่ค วามรู ้ความเข ้าใจ รวมถึง บทลงโทษผู ้ฝ่ าฝื นกฎหมายให ้ประชาชนได ้รับ ทราบ และเข ้าใจถึงภัยอันตรายทีเ่ กิดขึน ้ จากพลุ ประทัด ดอกไม ้เพลิง รวมทัง้ ความประมาทเลินเล่อ หรือการกระทํ าใดๆ ทีม ่ ี ่ ิ ความเสียงต่อการสูญเสียชีวต ิ และทรัพย์สน ิ อาสาสมัค รป้ องกัน ภัย ฝ่ ายพลเรือ น (อปพร.) พร ้อมสนธิกํา ลัง 6. จัด ชุด เจ ้าหน ้าทีแ ่ ละสั่ง ใช ้สมาช ก เจ ้าหน ้าทีต ่ ํารวจ เพือ ่ ดําเนินการดังนี้ ่ งต่อการเกิดอัคคีภัย อุบัตภ 6.1 เฝ้ าระวังสถานทีท ่ เี่ สีย ิ ัย และความปลอดภัยอืน ่ ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ใน บริเวณพืน ้ ทีจ ่ ัดงานเฉลิมฉลองเทศกาลฯ ทีม ่ ป ี ระชาชนมาร่วมงานเฉลิมฉลองอย่างหนาแน่น 6.2 จัดเตรียมความพร ้อมหน่วยเคลือ ่ นทีเ่ ร็ว พร ้อมอุปกรณ์ดับเพลิง และกู ้ภัย ในพืน ้ ทีท ่ ี่ จัดงานเฉลิม ่ ฉลองฯ หรือพืน ้ ทีช ่ ม ุ นุมชน ทีม ่ ค ี วามเสียงต่อการเกิดอัคคีภย ั อุบต ั ภ ิ ย ั สามารถเข ้าปฏิบต ั งิ านได ้ทันทีทเี่ กิดภัยขึน ้ 6.3 อํ านวยความสะดวก และจัดระเบียบการจราจร รวมถึงการรักษาความปลอดภัยให ้กับประชาชน ทีม ่ าร่วมงานเฉลิมฉลองเทศกาลฯ ให ้เป็ นไปด ้วยความเรียบร ้อย 7. หากเกิด อัค คีภัย อุบัต ภ ิ ัย หรือ สาธารณภัย อืน ่ ทีม ่ ผ ี ลกระทบต่อ ประชาชนจํ า นวนมาก ให ้ดํ า เนินการ ตามแผนป้ องกัน และบรรเทาสาธารณภัย และรายงานให ้กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทราบทันที ทางโทรศัพ ท์/ โทรสาร หมายเลข 0 - 2241 - 7450 - 5 หรือโทรศัพท์สายด่วนนิรภัย 1784 เพือ ่ ดําเนินการช่วยเหลือต่อไป อนึง่ กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได ้รับรายงานข ้อมูลเหตุแผ่นดินไหว (ระหว่างวันที่ 21 - 27 ธันวาคม 2553 จากศูนย์เตือนภัยพิบต ั แ ิ ห่งชาติ และกรมอุตน ุ ย ิ มวิทยา ว่าได ้เกิดแผ่นดินไหว แต่ไม่มผ ี ลกระทบต่อประเทศไทย เมือ ่ วันที่ 22 ธันวาคม 2553 เวลา 00.19 น. แผ่นดินไหวบริเวณเกาะ Bonin ประเทศญีป ่ น ุ่ ขนาด 7.7 ริกเตอร์ และเมือ ่ วันที่ 25 ธันวาคม 2553 เวลา 20.16 น. แผ่นดินไหวทีบ ่ ริเวณหมูเ่ กาะ Vanuatu มหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต ้ ขนาด 7.5 ริกเตอร์ แต่งตงั้ 35. แต่งตงั้ 1. แต่งตงคณะกรรมการแก้ ั้ ไขปัญหาและพ ัฒนาระบบร้านสหกรณ์ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามทีก ่ ระทรวงพาณิชย์เสนอแต่งตัง้ คณะกรรมการแก ้ไขปั ญหาและพัฒนาระบบร ้าน สหกรณ์ โดยมีองค์ประกอบและอํานาจหน ้าทีข ่ องคณะกรรมการฯ ดังนี้ องค์ประกอบ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพาณิชย์ เป็ น ประธานกรรมการ หัวหน ้าหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทีเ่ กีย ่ วข ้องร่วมเป็ นกรรมการ อธิบดีกรมการค ้าภายในเป็ นกรรมการและ เลขานุการ ผู ้อํานวยการสํานักพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ เป็ นกรรมการและผู ้ช่วยเลขานุการ รวมกรรมการ ้ 12 คน อานาจหน้าที่ กําหนดแนวทางแก ้ไขปั ญหาและพัฒนาระบบร ้านสหกรณ์ และมีอํานาจหน ้าทีอ ทัง้ สิน ่ น ื่ อีก 3 ประการ 2. แต่งตงข้ ั้ าราชการพลเรือนสาม ัญให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระด ับทรงคุณวุฒ ิ (กระทรวงเกษตร และ สหกรณ์) คณะรัฐมนตรีอนุมต ั ต ิ ามทีก ่ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอแต่งตัง้ นายจุมพล สงวนสิน ผู ้อํานวยการ สํานักวิจัยและพัฒนาประมงทะเล กรมประมง ให ้ดํารงตําแหน่ง นักวิชาการประมงทรงคุณวุฒ ิ กรมประมง กระทรวงเกษตรและ


42 สหกรณ์ ตัง้ แต่วันที่ 18 สิงหาคม 2553 ซึง่ เป็ นวันทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตค ิ รบถ ้วนสมบูรณ์ ทัง้ นี้ ตัง้ แต่วันทีท ่ รงพระกรุณาโปรดเกล ้าฯ แต่งตัง้ เป็ นต ้นไป 3. แต่งตงข้ ั้ าราชการพลเรือนสาม ัญ (กระทรวงการต่างประเทศ) คณะรัฐมนตรีอนุมต ั ต ิ ามทีก ่ ระทรวงการต่างประเทศเสนอแต่งตัง้ ข ้าราชการพลเรือนสามัญให ้ดํารงตําแหน่ง เอกอัครราชทูตไทยประจําต่างประเทศ (ประเภทบริหาร สายงานบริหารการทูต ระดับสูง) เพิม ่ เติม จํานวน 6 ราย ซึง่ ได ้รับ ความเห็นชอบจากรัฐบาลของประเทศผู ้รับแล ้ว ดังนี้ 1. นายประศาสน์ ประศาสน์วน ิ จ ิ ฉั ย เอกอัครราชทูต (นักบริหารการทูต ระดับสูง) สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา สํานักงานปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ดํารงตําแหน่งเอกอัครราชทูต (นักบริหารการทูต ระดับสูง) สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงมะนิลา สาธารณรัฐฟิ ลป ิ ปิ นส์ สืบแทนนายกุลกุมท ุ สิงหรา ณ อยุธยา 2. นายสมปอง สงวนบรรพ์ อัครราชทูต (นักบริหารการทูต ระดับต ้น) สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงมอสโก สหพันธรัฐรัสเซีย สํานักงานปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ดํารงตําแหน่งเอกอัครราชทูต (นักบริหารการทูต ระดับสูง) สถาน เอกอัครราชทูต ณ กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา สํานักงานปลัดกระทรวงการต่างประเทศ สืบแทน นายประศาสน์ ประศาสน์วน ิ จ ิ ฉั ย 3. นายอภิชาติ เพ็ชรรัตน์ กงสุลใหญ่ (นักบริหารการทูต ระดับต ้น) สถานกงสุลใหญ่ ณ แขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สํานักงานปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ดํารงตําแหน่งเอกอัครราชทูต (นักบริหารการ ทูต ระดับสูง) สถานเอกอัครราชทูต ณ บันดาร์เสรีเบกาวัน เนการาบรูไนดารุสซาลาม สํานักงานปลัดกระทรวงการต่างประเทศ สืบแทนนายพิทก ั ษ์ พรหมบุบผา ทีเ่ กษี ยณอายุราชการ 4. นางกุณฑลี ประจิมทิศ รองผู ้อํานวยการ (นักบริหาร ระดับต ้น) สํานักงานความร่วมมือเพือ ่ การพัฒนา ระหว่างประเทศ ดํารงตําแหน่ง เอกอัครราชทูต (นักบริหารการทูต ระดับสูง) สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงราบัต ราชอาณาจักร ้ ทีเ่ กษี ยณอายุราชการ โมร็อกโก สํานักงานปลัดกระทรวงการต่างประเทศ สืบแทนนายสุวท ิ ย์ สายเชือ 5. นายปั ญญรักษ์ พูลทรัพย์ รองอธิบดี (นักบริหาร ระดับต ้น) กรมเอเชียใต ้ ตะวันออกกลางและแอฟริกา ดํารงตําแหน่งเอกอัครราชทูต (นักบริหารการทูต ระดับสูง) สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโดฮา รัฐกาตาร์ สํานักงาน ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ สืบแทนนายสุวัฒน์ จิราพันธุ์ 6. นายกําธร สิทธิโชติ อัครราชทูต (นักบริหารการทูต ระดับต ้น) สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย สํานักงานปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ดํารงตําแหน่งเอกอัครราชทูต (นักบริหารการทูต ระดับสูง) สถาน เอกอัครราชทูต ณ กรุงลิมา สาธารณรัฐเปรุ สืบแทนนายอุดมผล นินนาท ทัง้ นี้ ตัง้ แต่วันทีท ่ รงพระกรุณาโปรดเกล ้าฯ แต่งตัง้ เป็ นต ้นไป **************


:U~fl ru~n11:un1';;J1t911(;1'V111 EJ b~eJ"l n11~ eJ-r'U~'VI5~eJJ1 t911 (;I'VI11 EJ bfl'Jt911 fl.

~eJ"l'U~~'VI~~~t91~'U~1brieJn11~"leJeJn tJ ~~~cr 'U

flru:::m·nJm'jJ1Vl1flVl'j1CJ11..1fl1'nJ'j:::'1l~fl~-:l~ <9lo/1v<t'<t'rn b~rJl1..1~ ri 61..111fl~ ~<t'<t'rn • 1~~'J1'jru1bb~lijm1~b t:1'lJ'J1 1'Uml:::'j1fl1J1Vl1flVl'j1CJlfllm fl. 1~tJ-r'U~-:l~'UrJ~1-:l~m~rJ-:l \J

bb~'U~~Vl"11~bb~~-:lb'JVl'U1~'U'IJrJ-r'U~Vl5~rJJ1Vl1flVl'j1CJlmm

fl . U

~<t'<t'~

mCJ1 'Ub1mm~~

tJ'j:::ml3lfhvf'U~ ~-:lt!1..I b~rJb'u'Um'j~11'U~'U'UrJVl~l'\Ilm'j~ffi offJ1Vl1flVl'j1CJlmm • •

e.J~Vl~'U1'11~-:lrJrJ n

ffi off~Vl5~rJJ1mflVl'j1CJ11..1u

~tJ'j:::'1l~~-:lij~~1-Hbl'Um'jb~nf;)rJ'U~Vl5 •

\J

frio

<t' U

'lJrJ-:l~tJ'j:::nrJ'Un'Jm'j

~<t'<t'rn 1"j()-:l~rJCJfl:::b~~~'U~~1~'U'lJrJ-ru~Vl51

bbfl:::rJ'UWi1-H'U~~Vl~e.J~Vl~'U1'11b ~rJm'j~-:lrJrJn ~rJCJfl:::

b'iJ'U1Vlf;)~'U •

tJ'j:::nrJ'U flU b~rJ1~1-Hbil~e.Jflm:::Vl'U~rJtJ~~1rum'j~1Vfti1CJJ1mflVl'j1CJ

mCJ1'UtJ'j:::bVll3l (tmm n.)

fl .

'UU

~<t'<t'~ HnrJ'U

ffi off~Vl5~rJJ1Vl1flVl'j1CJl fllm fl. urJCJn11

~1'Ul1..1 ~ri 'U~~Vl 1~-r'U~Vl5~rJJ1Vl1flVl'j1CJlfllVl1

~~o,bo~ m:::flrJ'U (<9l00 nn.lnfl,)

\J

fl . U

~<t'<t'~ 'jl~~1'Ul'U




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.