TFPA Trade & Technical
WEEKLY BRIEF
Vol. 2
issue 22
28 June - 4 July 2011
Thai Food Processors’ Association Pineapple
NEW !!! สถิติการส่งออกสินค้า อาหารส�ำเร็จรูป ม.ค. – พ.ค. 54
Sweet Corn
RASFF 1-30 มิ.ย. 54 (Rapid Alert System for Food and Feed; RASFF)
Tuna
ทกท.เตรียมเปิดบริการเรือ และตู้สินค้าสู่ภาวะปกติ 5 ก.ค. 54
Seafood
รัฐบาลเปิดโอกาสให้ลงทะเบียน แรงงานต่างด้าวถึงวันที่ 14 ก.ค. 54
Fruits&Vegetables
อย. เดินหน้าเฝ้าระวังอาหาร น�ำเข้าจากญี่ปุ่นและยุโรป
Food Ingredient&Ready-to-Eat
www.thaifood.org
th
Contents Contents
TFPA Trade & Technical
WEEKLY BRIEF 28 June - 4 Jul 2011
03 สถิติการส่งออกสินค้าอาหารส�ำเร็จรูป ม.ค. – พ.ค. 54 เอกสารแนบ 1 05 ข่าวประชาสัมพันธ์
5 • เชิญเข้าร่วมสัมมนา “กลยุทธ์การเจาะตลาดตะวันออกกลาง: อุตสาหกรรมเกษตรและอาหารในซาอุดิอาระเบีย และอิรัก” ฟรี เอกสารแนบ 2
06 สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร 6 • RASFF 1-30 มิ.ย. 54 (Rapid Alert System for Food and Feed; RASFF) 7 • อย. เดินหน้าเฝ้าระวังอาหารน�ำเข้าจากญี่ปุ่นและยุโรป 7 • ญี่ปุ่นเร่งสร้างความเชื่อมั่นสินค้าเกษตรและอาหาร หลังวิกฤตการณ์รังสีรั่วไหล 8 • อียูไฟเขียวน�ำเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ปนเปื้อน GM ที่ไม่ได้การรับรองไม่เกิน 0.1% 9 • USFDA เตือนผู้บริโภคระวังถั่วงอกปนเปื้อนซัลโมเนลลา
10 สถานการณ์ด้านประมง 10 • ราคาลูกกุ้งแพงสุดรอบ 10 ปี 10 • ชี้ช่องส่งออกเจาะตลาดกุ้งอิตาลี 11 • ผ่าแผนเพิ่มศักยภาพเลี้ยงกุ้ง
12 สถานการณ์ด้านเกษตร
12 • คุมเข้มน�ำเข้าผลไม้จาก 4 ประเทศ
13 สถานการณ์ด้านการค้า 13 • ทกท.เตรียมเปิดบริการเรือและตู้สินค้าสู่ภาวะปกติ 5 ก.ค. 13 • วางมาตรฐาน 8 สินค้าอาเซียน เพิ่มความคล่องตัวการค้าเข้าสู่ AEC 14 • “พาณิชย์”ชี้ช่องเจาะตลาดซาอุฯ ช่วงรอมฏอน-ฮัจย์ยอดจับจ่ายสูง 14 • จับมือจีน-อินเดียดันไทย สู่ศูนย์กลางขนส่งอาเซียน 15 • รัฐบาลเปิดโอกาสให้ลงทะเบียนแรงงานต่างด้าวถึงวันที่ 14 ก.ค. 54 15 • พาณิชย์เล็งลดราคาน�้ำมันพืช 16 • รองรับ ปรับตัว FTA THAI-EU และ THAI-EFTA เอกสารแนบ 3
17 อัตราแลกเปลี่ยน 2
Vol. 2 Issue 22
สถานการณ์ส่งออกสินค้าอาหารส�ำเร็จรูป เดือนมกราคมถึงพฤษภาคม ปี 2554 เปรียบเทียบกับปี 2553 (รายละเอียดเพิ่มเติม เอกสารแนบ 1) การส่งออกสินค้าอาหารส�ำเร็จรูป เฉพาะสินค้าที่เกี่ยวข้องกับสมาคมฯ เดือนมกราคม- พฤษภาคม ปี 2554 เปรียบเทียบ กับปี 2553 มีปริมาณ 1,083,576 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 มีมูลค่า 65,972 ล้านบาท หรือ 2,192 ล้านเหรียญสหรัฐฯ มูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 15 ในเทอมของเงินบาท และเพิ่มขึ้นร้อยละ 26 ในเทอมของเงินเหรียญสหรัฐฯ 1) สินค้าประเภทประมงแปรรูป ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ปลาทูน่าแปรรูป ปลาและอาหารทะเลอื่น ๆ บรรจุกระป๋อง ในภาพ รวมเพิ่มขึ้น ทั้งปริมาณและมูลค่า ยกเว้นปลาแอนโชวี กุ้งกระป๋อง ปูกระป๋อง หอยกระป๋องและอาหารสัตว์เลี้ยงกระป๋องท�ำ จากเนื้อปลา ปริมาณ 317,027 ตัน เพิ่มขึ้น 3 % มูลค่า 32,564 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 12 % หรือ มูลค่า 1,081 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น 22 % 2) สินค้าประเภทผักและผลไม้แปรรูป ได้แก่ ผลิตภัณฑ์สับปะรด ข้าวโพดหวานกระป๋อง ผักและผลไม้กระป๋อง น�้ำผล ไม้ ในภาพรวมเพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและมูลค่า ยกเว้น เงาะสอดไส้สับปะรด ลิ้นจี่ ลองกอง หน่อไม้ ถั่วลันเตา ผักปรุงแต่ง กระป๋องและน�้ำผักผสม ปริมาณ 597,642 ตัน เพิ่มขึ้น 14 % มูลค่า 21,859 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 20 % หรือ มูลค่า 727 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น 32% 3) สินค้าประเภทเครื่องปรุงต่าง ๆ เช่น ซอส เครื่องแกง บะหมี่พร้อมปรุง ในภาพรวมเพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและมูลค่า ปริมาณ 168,907 ตัน เพิ่มขึ้น 10% มูลค่า 11,548 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 15% หรือ มูลค่า 384 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น 25%
3
TFPA Trade & Technical
WEEKLY BRIEF 28 June - 4 Jul 2011
THAI EXPORTS OF FOOD PRODUCTS (RELATED TO TFPA) TO THE WORLD กลุ่มสินค้า
ปริมาณ (ตัน) 268,300 39,707 278,374 174,103 69,898
1) ปลาทูน่า 2) อาหารทะเล 3) สับปะรด 4) ผักผลไม้ 5) ข้าวโพดหวาน 6) เครื่องปรุงและ อาหารพร้อมรับ 153,147 ประทาน รวม 983,529
มค-พค. 2553 มค-พค. 2554 % การเปลี่ยนแปลง % มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า (ล้านบาท) (ล้านUSD) (ตัน) (ล้านบาท) (ล้านUSD) (ตัน) (ล้านบาท) (ล้านUSD) ส่วนแบ่งมูลค่า 25,469 782 273,628 28,632 951 2 12 22 43 3,532 108 43,399 3,933 131 9 11 21 6 8,739 250 335,213 11,554 384 20 32 54 18 7,460 235 190,294 8,107 269 9 9 15 12 2,063 63 72,135 2,198 73 3 7 15 3 10,044
308
168,907
11,548
384
10
15
25
18
57,307
1,746
1,083,576
65,972
2,192
10
15
26
100
ที่มา: www.moc.go.th/ 23 June 2011
4
Vol. 2 Issue 22
ข่าวประชาสัมพันธ์ เชิ ญ เข้ า ร่ ว มสั ม มนา “กลยุ ท ธ์ ก ารเจาะตลาด ตะวั น ออกกลาง: อุ ต สาหกรรมเกษตรและอาหารใน ซาอุดิอาระเบียและอิรัก” ฟรี
บริษทั IFP Group ผูจ้ ดั งานแสดงสินค้าชัน้ น�ำในประเทศตะวันออกกลางได้จดั สัมมนาพิเศษร่วมกับกรมส่งเสริมการส่งออก ในวันที่ 12 ก.ค. 54 เวลา 13.30 - 16.00 น. ณ ห้องปาริชาติชั้น 3 โรงแรมโกลเด้นทิวลิป ถ.พระรามเก้า (โรงแรมเรดิสันเดิม) วัตถุประสงค์เพื่อให้ข้อมูลตลาดโดยรวมของประเทศตะวันออกกลาง และข้อมูล ความต้องการเฉพาะอุตสาหกรรมตั้งแต่ต้นน�้ำถึงปลายน�้ำ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อ ผู้ประกอบการไทยที่ต้องการขยายตลาดไปยังตะวันออกกลาง โดยงานสัมมนา ครั้งนี้ได้รับเกียรติจาก Mr.Fadi Kaddoura, Group VP, International Sales, IFP Group เดินทางมาบรรยายที่กรุงเทพฯ พร้อมวิทยากรพิเศษจาก กรมส่งเสริมการส่งออก รายละเอียดเพิ่มใน เอกสารแนบ 2
5
TFPA Trade & Technical
WEEKLY BRIEF 28 June - 4 Jul 2011
สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร RASFF 1-30 มิ.ย. 54 (Rapid Alert System for Food and Feed; RASFF) ข้อมูลระบบเตือนภัยเร่งด่วนของสหภาพยุโรป-การน�ำเข้าสินค้าอาหารจากไทย date reference notification type notification basis fish and fish products 20/6/2011 2011.0804 information for at- border control tention - consignment released 23/6/2011 2011.0826 information for at- border control tention - consignment released food contact materials 29/6/2011 2011.0859 information for official control on follow-up the market fruit and vegetables 2/6/2011 2011.BGB border rejection
border control consignment detained
herbs and spices 21/6/2011 2011.0809 information for at- border control tention - consignment released 27/6/2011 2011.BJF border rejection border control consignment detained poultry meat and poultry meat products 24/6/2011 2011.0841 information for follow-up
border control - consignment released
notified by
subject
UNITED KINGDOM
histamine (538 mg/kg - ppm) in salted mackerel from Thailand
NORWAY
Bacillus cereus (1 out of 9 samples 100 CFU/g) in canned tuna chunks in brine from Thailand
GERMANY
migration of benzophenone (7530 µg/ kg - ppb) and of 1-hydroxy-cyclohexyl phenyl ketone (29.7 µg/kg - ppb) from rice paper from Thailand, via the Netherlands
NETHERLANDS
carbofuran (0.91 mg/kg - ppm) in coriander from Thailand
GERMANY
Salmonella Weltevreden (presence /25g) in coriander from Thailand
NORWAY
carbofuran (2.5 mg/kg - ppm), methomyl (0.71 mg/kg - ppm), carbendazim (4.6 mg/kg - ppm) and carbosulfan (0.3 mg/kg - ppm) in coriander from Thailand
GERMANY
mercury (0.017 mg/kg - ppm) in cooked cubed chicken breast from Thailand
ที่มา https://webgate.ec.europa.eu/rasff-window/portal/index.cfm?event=searchResultList
6
Vol. 2 Issue 22 อย. เดินหน้าเฝ้าระวังอาหารน�ำเข้าจาก ญี่ปุ่นและยุโรป เลขาธิการฯเผย ผลตรวจ วิเคราะห์หาสารกัมมันตรังสี ในอาหารนํ า เข้ า จากญี่ ปุ ่ น ขณะนี้ อย. ได้สุ่มตัวอย่าง และส่ ง ตรวจวิ เ คราะห์ ห า สารกัมมันตรังสีแล้วจํานวน 384 รายการ ได้รับผลแล้ว 367 รายการ ทุกรายการอยู่ ในระดับ “ปกติ” สําหรับผลการเก็บตัวอย่างผัก ผลไม้และ เนื้อสัตว์นําเข้าจากยุโรป อย. ได้เก็บตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ อีโคไล สายพันธุ์ O104:H4 จํานวน 40 ตัวอย่าง ได้รับ ผลแล้ว 27 ตัวอย่าง ไม่พบอีโคไล สายพันธ์ุ O104: H4 แต่อย่างใด ขณะนี้ อย. ยังคงติดตามสถานการณ์อาหารนําเข้าจาก ญี่ปุ่น และอีโคไล สายพันธุ์ O104: H4 ในผัก/ผลไม้/ เนื้อสัตว์จากยุโรป อย่างใกล้ชิด ขอผูู้บริโภควางใจ ทั้งนี้ อย. ขอแนะให้ผู้บริโภค “กินร้อน ช้อนกลาง และล้างมือ” เพื่อสุขลักษณะและสุขภาพที่ีดีและขออย่าได้ตื่นตระหนก ซึ่ง หากพบส่ิงผิดปกติ อย. จะรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ และสถานการณ์ความคืบหน้าให้ประชาชนได้ทราบผ่านทุก สื่อ รวมทั้ังเว็บไซต์ www.fda.moph.go.th และ Social Media: Facebook: Fda Thai และ Twitter: FDAthai อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็น ส�ำคัญ อ่านทั้งหมดคลิกhttp://www.fda.moph.go.th/ www_fda/data_center/ifm_mod/nw/%E0%B8%AD%E 0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8 %99%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E 0%B8%B2%E0%B8%8D%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8% 9B%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%81%E0% B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9%82 %E0%B8%A3%E0%B8%9B.pdf ที่มา ข่าว อย. 30 มิถุนายน 2554 http://www.fda.moph.go.th
ญี่ปุ่นเร่งสร้างความเชื่อมั่นสินค้าเกษตร และอาหาร หลังวิกฤตการณ์รังสีรั่วไหล
เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2554 ที่ประเทศญี่ปุ่น กระทรวง สาธารณสุข แรงงานและสวัสดิการญี่ปุ่น จัดบรรยายเรื่อง ความกังวลเกี่ยวกับมาตรฐานความปลอดภัยอาหารญี่ปุ่น โดยเน้นชี้แจงเกี่ยวกับความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหาร และมาตรการตรวจสอบการปนเปื้อน สรุปสาระส�ำคัญได้ ดังนี้ 1. เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2554 ญี่ปุ่นก�ำหนดให้สินค้า เกษตรที่มีปริมาณระดับการปนเปื้อนของสารกัมมันตรังสี น้อยกว่า 5 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี อยู่ในระดับที่ปลอดภัยสามารถ บริโภคได้ ต่อมาเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2554 รัฐบาลญี่ปุ่น สั่งห้ามจ�ำหน่ายสินค้าเกษตรใน 5 จังหวัด ได้แก่ ฟุคุชิมะ อิบารากิ กุนมะ โตชิกิ และชิบะ ซึ่งสร้างความไม่พอใจ แก่รัฐ บาลท้องถิ่นและเกษตรกร เนื่องจากตรวจพบการ ปนเปื้อนในบางพื้นที่ของจังหวัดเท่านั้น หลังจากนั้นเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2554 รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยกเลิกค�ำสั่งให้เหลือ เพียงบางพื้นที่ ในเขตใกล้เคียงโรงไฟฟ้าที่มีสารกัมมันตรังสี รั่วไหล ซึ่งต่อมา เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2554 ได้ประกาศ สั่งห้ามจ�ำหน่ายสินค้าเกษตรในบางพื้นที่ของจังหวัดฟุกุชิมะ และทางตอนเหนือของอิบารากิเท่านั้น 2. พ่อค้า ผู้ประกอบการร้านอาหารญี่ปุ่น ใช้ความ ระมัดระวังในการคัดสรรวัตถุดิบ โดยบริษัท Oisix ได้เพิ่ม กระบวนการตรวจสอบการปนเปื้อนหลายขั้นตอนก่อนขนส่ง
7
TFPA Trade & Technical
WEEKLY BRIEF 28 June - 4 Jul 2011
สิ น ค้ า และเสนอให้ รั ฐ บาลเพิ่ ม มาตรการตรวจสอบสาร ปนเปื้อนตามจุดกระจายสินค้าและท่า เรือ รวมถึงตรวจสอบ กักกันพืช/สัตว์ในทุกจุด ตลอดจนแต่งตั้งองค์กรอิสระเข้า มาตรวจสอบ และแต่งตั้งโฆษกเพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสาร 3. จากมาตรการที่เข้มงวด ตลอดจนการระงับการน�ำ เข้าวัตถุดิบและสินค้าเกษตรของญี่ปุ่น ท�ำให้ผู้บริโภคและ รายได้ของร้านอาหารญี่ปุ่นทั้งในและนอกญี่ปุ่นลดลง ทั้งนี้ นาย Takagi เจ้าของภัตตาคาร Zeniya ได้เสนอให้ ผู้ประกอบการหาสิ่งทดแทนวัตถุดิบหรือส่วนผสมจากญี่ปุ่น 4. นาย Karaki รองประธานด้านกิจการต่างประเทศ สภาวิ ท ยาศาสตร์ ป ระจ� ำ คณะกรรมการผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า น ความปลอดภัยทางอาหารภายใต้ คณะกรรมการว่าด้วย การประชาสัมพันธ์ของรัฐบาลญี่ปุ่น ได้ขอความร่วมมือจาก สื่อต่างๆ ให้ยุติการน�ำเสนอข่าวในเชิงลบอันจะเพิ่มความ กังวลให้แก่ผู้บริโภค และเชื่อว่ารัฐบาลญี่ปุ่นจะเร่งสร้างความ เชื่อมั่นในความปลอดภัยของอาหารและ สินค้าเกษตรให้ กลับมาได้อีกครั้ง ที่มา : มกอช. วันที่ 1 ก.ค. 54
อียูไฟเขียวน�ำเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ปน เปื้อน GM ที่ไม่ได้การรับรองไม่เกิน 0.1%
material) ที่ไม่ได้รับการรับรอง ไม่เกิน 0.1% โดยอนุญาต ให้ปนเปื้อนได้เฉพาะอาหารสัตว์เท่านั้น ไม่รวมถึงอาหาร มนุษย์ ขณะที่นักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสมาคมเพื่อผู้บริโภค กล่าวว่า สหภาพยุโรปเปลี่ยนแปลงนโยบาย zero tolerance คือไม่อนุญาตให้มีสาร GM ที่ไม่ได้รับการรับรองปนเปื้อนอยู่ เลย เป็นอนุญาตให้มีได้ไม่เกิน 0.1% เพื่อเอื้อประโยชน์แก่ กลุ่มอุตสาหกรรม และกล่าวเสริมว่า ยังไม่ทราบผลกระทบ ที่แน่ชัดของการบริโภคพืช GM และกระบวนการประเมิน ความปลอดภัยของสหภาพยุโรปของพืช GM หลายพันธุ์ยัง ไม่สมบูรณ์ ควรให้ประเทศผู้ส่งออกนอกสหภาพยุโรปให้การ รับรอง และสหภาพยุโรปควรให้ส�ำนักงานความปลอดภัย อาหารแห่งสหภาพยุโรป (EFSA) ประเมินความเสี่ยงอย่าง น้อย 3 เดือน และให้ความเห็นว่า ผลิตภัณฑ์ที่มีสาร GM นี้ปนเปื้อน 0.1 % ไม่ท�ำให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพและ สิ่งแวดล้อม กฎระเบี ย บนี้ ยั ง ระบุ อี ก ว่ า ให้ ใ ช้ ค ่ า ต�่ ำ สุ ด ของการ ปนเปื้อนสาร GM ที่ไม่ได้รับการรับรอง 0.1% นี้กับอาหาร สัตว์เท่านั้น ไม่ครอบคลุมอาหารมนุษย์ แม้ผู้ส่งออกและ ผู้ค้าจะบอกว่าไม่มีประสิทธิภาพเมื่อน�ำมาบังคับใช้จริง และ มีค่าใช้จ่ายสูงในการแยกแยะวัตถุดิบเหล่านี้ ซึ่งอาจใช้เป็น ได้ทั้งอาหารคนและสัตว์ อนึ่ง เมื่อปี 2552 สหภาพยุโรปประสบภาวะขาดแคลน วัตถุดิบ เนื่องจากถั่วเหลืองน�ำเข้าจากสหรัฐฯ พบการปน เปื้อนวัตถุดิบ GM ในบางคลังสินค้า จึงถูกระงับการน�ำเข้า นอกจากนี้ ปัจจุบันสหภาพยุโรปยังน�ำเข้าสินค้าวัตถุดิบราว 45 ล้านตันต่อปี ถั่วเหลืองและกากถั่วเหลืองส่วนใหญ่มา จากบราซิล อาร์เจนตินา สหรัฐฯ เพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ ซึ่งส่วนใหญ่ล้วนประกอบด้วยพืชดัดแปลงพันธุกรรมที่พัฒนา โดยบริษัท Monsanto ที่มา : มกอช. (Reuters ) วันที่ 29 มิ.ย. 54
เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2554 คณะกรรมาธิการยุโรป ผ่านร่างกฎระเบียบใหม่เกี่ยวกับการอนุญาตให้น�ำเข้าวัตถุดิบ อาหารสัตว์ที่มีส่วนผสมของวัตถุดิบดัดแปลงพันธุกรรม (GM
8
Vol. 2 Issue 22 USFDA เตือนผู้บริโภคระวังถั่วงอกปนเปื้อนซัลโมเนลลา เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2554 ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาสหรัฐฯ (USFDA) เตือนผู้บริโภคอย่ารับประทาน ถั่วงอกอัลฟัลฟา (alfalfa sprouts) หรือ spicy sprouts ยี่ห้อหนึ่ง เนื่องจากเกรงว่าอาจจะปนเปื้อนเชื้อ Salmonella Enteritidis ซึ่งเป็นเชื้อคนละตัวกับที่ก�ำลังระบาดในยุโรป ถั่วงอกดังกล่าวบรรจุในถุงพลาสติกยี่ห้อ Evergreen Produce ซึ่งเกี่ยวข้องกับผู้ป่วย 20 ราย ซึ่ง 1 ราย ยัง รักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล โดยมีผู้ป่วยอยู่ที่รัฐไอดาโฮ มอนทานา นอร์ทดาโคตา วอชิงตัน โดย USFDA แนะน�ำให้ผู้ บริโภคและผู้ค้าปลีกทิ้งถั่วงอกดังกล่าวในภาชนะปิด เพื่อป้องกันไม่ให้คนหรือสัตว์เลี้ยงน�ำไปบริโภค ผู้ป่วยที่ติดเชื้อซัลโมเนลลาชนิดนี้ จะมีอาการท้องเสีย เป็นไข้ ปวดช่องท้อง 12-72 ชม.หลังติดเชื้อ ซึ่งปกติจะมี อาการ 4-7 วันให้หลัง และมักจะหายได้หลังได้รับการรักษา แต่ในเด็ก คนชรา หรือผู้ที่ภูมิคุ้มกันต�่ำ อาจจะมีอาการ หนัก ซึ่งอาจเกิดการติดเชื้อในกระแสเลือด แล้วท�ำให้เสียชีวิตหากไม่ได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะในทันที ถั่วงอกถือว่าเป็นแหล่งที่ท�ำให้เกิดการเจ็บป่วยทางอาหารที่ส�ำคัญในสหรัฐฯ โดยตั้งแต่ปี 2539 พบการระบาดของ การเจ็บป่วยทางอาหารที่เกี่ยวข้องกับถั่วงอกดิบหรือปรุงสุกเล็กน้อย อย่างน้อย 30 ครั้ง ดังนั้น USFDA จึงแนะน�ำให้ ผู้บริโภคปรุงถั่วงอกให้สุกก่อนบริโภค ที่มา : มกอช. (FDA) วันที่ 28 มิ.ย. 54
9
TFPA Trade & Technical
WEEKLY BRIEF 28 June - 4 Jul 2011
สถานการณ์ด้านประมง ราคาลูกกุ้งแพงสุดรอบ10ปี ราคาลูกกุ้ง-กุ้ง พุ่งกระฉูด เหตุซัพพลายออกน้อยหลัง น�้ำท่วมหนักภาคใต้ช่วงเดือนมีนาคมกวาดบ่อกุ้งราบเรียบ แถมการเลี้ยงรอบเดือนเมษายนอากาศแปรปรวนอัตราเลี้ยง สูญเสียสูง เกษตรกรหนีตายหันเลี้ยงกุ้งไซซ์เล็ก โชคดีตลาด ตอบรับแถมราคาดี ดันราคาลูกกุ้งพุ่งตามแต่ยอมเข้าคิวซื้อ เพราะราคากุ้งจูงใจ โดยกุ้งขนาด 50 ตัวต่อกก.อยู่ที่กก.ละ 156 บาท ขนาด 70 ตัวต่อกก.อยู่ที่กก.ละ 136 บาท อย่างไรก็ดี เนื่องจากปีนี้ปริมาณน�้ำฝนมากกว่าทุกปี ท�ำให้ น�้ำในบ่อกุ้งมีความเค็มต�่ำกว่าปกติ จากปกติความเค็มของ น�้ำที่เหมาะส�ำหรับการเลี้ยงกุ้งค่าประมาณ 20 แต่ปัจจุบัน ความเค็มของน�้ำประมาณ 7-8 เท่านั้นท�ำให้เปลือกกุ้งไม่ แข็ง อีกทั้งเกิดการระบาดโรคกุ้งหลายโรคด้วยกันทั้งโรคขี้ ขาว โรคตัวแดงดวงขาว
ส�ำหรับพื้นที่ภาคตะวันออกเวลานี้เกษตรกรเลี้ยง กันถึงขั้นที่ว่าหากน�ำลูกกุ้งลงบ่อแล้วกุ้งตายจับขึ้นแล้วลงใหม่ เสี่ยงกันใหม่ จนลูกกุ้งขาดแคลนต้องเข้าคิวกันซื้อ และราคา ลูกกุ้งได้ขยับสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์จากที่เคยซื้อกันตัวละ 7-8 สตางค์ เวลานี้ตัวละ 12-15 สตางค์แล้ว นายทวีทรัพย์ ช่วยจันทร์ ประธานชมรมผู้เพาะลูกกุ้ง
10
อันดามัน กล่าวว่าจากการที่เกษตรกรลงเลี้ยงกุ้งรอบนี้กัน มากและลงอย่างหนาแน่นขึ้น เพราะว่ากุ้งขนาดเล็กจะขาย ได้ราคาดี จึงท�ำให้เกษตรกรเลี้ยงแบบหนาแน่น เช่นจาก ที่เคยลง 100 ตัวต่อตารางเมตร เพิ่มเป็น 150 ตัวต่อตา รางเมตร จึงต้องการลูกกุ้งมาก ส่งผลให้ราคาลูกกุ้งสูงขึ้น 20-30% จากราคาที่เคยซื้อขายกันตัวละ 9 สตางค์ ขึ้นมา เป็น 12 สตางค์ และแทบเรียกได้ว่าเป็นราคาแพงสุดใน รอบ 10 ปี อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www. thannews.th.com/index.php?option=com_content& view=article&id=72922:10&catid=87:2009-02-08-11-2326&Itemid=423 ที่มา ฐานเศษฐกิจ วันที่ 29 มิ.ย. 54
ชี้ช่องส่งออกเจาะตลาดกุ้งอิตาลี นางนั น ทวั ล ย์ ศกุ น ตนาค อธิบดีกรมส่งเสริม การส่งออก เปิดเผยว่า อิ ต าลี เ ป็ น หนึ่ ง ในตลาด หลั ก ของสหภาพยุ โ รป (อีย)ู ส�ำหรับสินค้ากุง้ เห็น ได้จากการบริโภคที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่องในปี 2553 โดยกุ้งถูก น�ำไปใช้ในอุตสาหกรรมแปรรูป เช่น พิซซ่าสลัดอาหาร ทะเล, ค็อกเทลกุ้ง ซึ่งการน�ำไปบริโภคส่วนใหญ่จะอยู่ใน รูปแบบกุ้งปอกเปลือกทั้งแช่เย็นแช่แข็งหรือบรรจุกระป๋อง แล้วน�ำไปจ�ำหน่ายในภาคการบริการจัดเลี้ยงและกลุม่ ผูค้ า้ ปลีก ทั้งนี้ ในช่วง 5 เดือนแรกปี 54 ไทยมีมูลค่าการส่งออก กุ้งสดแช่เย็น แช่แข็ง ไปอิตาลีถึง 5.9 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2553 ถึง 103.46% และ ประเทศคู่แข่งที่ส�ำคัญของไทย ได้แก่ เอกวาดอร์ ตามด้วย อาร์เจนตินา อินเดีย และไทย นอกจากนี้ยังมีจีน อินโดนีเซีย และเวียดนาม ที่คาดว่าจะเป็นคู่แข่งส�ำคัญในอนาคตอีกด้วย อย่างไรก็ตาม แม้จะมีคู่แข่งมาก แต่ไทยยังได้เปรียบ ในเรื่องสินค้าที่มีคุณภาพสูงและสม�่ำเสมอ ซึ่งตรงกับความ ต้องการของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร ผู้กระจายสินค้า และ ผู้บริการจัดเลี้ยงรายใหญ่ที่ต้องการความเข้มงวดในเรื่อง คุณภาพสินค้า
Vol. 2 Issue 22 โดยอนาคตของอุตสาหกรรมกุ้งจะขึ้นอยู่กับการสร้าง มูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้า และระบบการควบคุมคุณภาพใน ประเทศก�ำลังพัฒนาที่สามารถเข้าสู่มาตรฐานของอียูที่สูง ขึ้น และการควบคุมด้านสุขอนามัยที่เข้มงวดขึ้น ดังนั้น ผู้ส่งออกกุ้งของไทยจึงต้องมุ่งเน้นด้านการเพิ่มมูลค่าสินค้า กุ้ง เช่น บรรจุภัณฑ์และน�้ำหนักชนิดพิเศษ การผลิตสินค้า กุ้งชุบเกล็ดขนมปังหรือพร้อมรับประทาน เป็นต้น พร้อมทั้ง ต้องจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับมาตรฐานสุขอนามัย แบบใหม่ เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้บริโภค นางสุชนา ชูเชิด ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานส่งเสริมการค้า ระหว่างประเทศ ณ กรุงโรม กล่าวว่าภาคธุรกิจค้าปลีกในปี 2553 มียอดขายกุ้งแช่แข็งกุ้งปอกเปลือกเพิ่มสูงมาก แม้จะ มีวิกฤติเศรษฐกิจและหนี้สินเกิดขึ้น จึงคาดว่าหลังเศรษฐกิจ เริ่มฟื้นตัวและฤดูกาลท่องเที่ยวที่ก�ำลังจะมาถึง จะส่งผลให้ ยอดขายกุ้งในปี 2554 เพิ่มสูงขึ้นด้วย ที่มา อินโฟเควสท์ (แนวหน้า) วันที่ 30 มิ.ย. 54
และราคาจะลดลงในช่วงที่ผลผลิตออกสู่ตลาด พร้อมกัน ช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม นอกจากนี้ ผู้น�ำเข้ากุ้งไทยอาจตกใจกับสถานการณ์ภัย ธรรมชาติที่เกิดขึ้น วิตกว่าผลผลิตกุ้งไทยอาจน้อย กลัว ต้องซื้อกุ้งแพง จึงต้องเร่งหากุ้งจากประเทศอื่นทดแทน ซึ่ง จะมีผลให้การส่งออกลดลงและราคาส่งออกปลายปีลดลง กว่าที่ควรจะเป็นได้ ขณะที่ฟาร์มเลี้ยง จะเสี่ยงการเกิด โรคระบาดต่อเนื่อง เพราะฟาร์มกุ้งคิดว่าปีนี้ผลผลิตคง น้อย ราคาคงดี จึงเร่งเตรียมบ่อ เตรียมน�้ำ เพื่อลงเลี้ยง กุ้งรอบใหม่ ขณะที่ปัญหาโรคยังมีอยู่ทั่วไป และหากฟาร์ม กุ้งโดยรวมยังเกิดโรคระบาดอย่างต่อเนื่อง จะกระทบตลาด ส่งออกช่วงปลายปีได้ อ่านต่อ.. http://www.thannews. th.com/index.php?option=com_content&view=articl e&id=73271:2011-07-01-11-18-25&catid=87:2009-02-0811-23-26&Itemid=423 ที่มา ฐานเศษฐกิจ วันที่ 1 ก.ค. 54
ผ่าแผนเพิ่มศักยภาพเลี้ยงกุ้ง นสพ.สุรศักดิ์ ดิลก เกี ย รติ เลขาธิ ก าร ส ม า ค ม ผู ้ เ ลี้ ย ง กุ ้ ง ทะเลไทย ร่ ว มกั บ ทุ ก ฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อาทิ กรมประมง ภาคการส่ง ออก จัดสัมมนา “ร่วมฟื้นการเลี้ยงกุ้งหลังอุทกภัย มี.ค.54 อย่างไร” การสัมมนาได้ข้อสรุปในการเพิ่มศักยภาพการผลิต กุ้งไทยในช่วงครึ่งหลังของปี 2554 เพื่อสร้างความมั่นใจให้ กับทั้งผู้เลี้ยง ห้องเย็น ผู้ส่งออก และผู้น�ำเข้า ดังนี้ วิกฤติผลิตลามส่งออก: จากวิกฤติภูมิอากาศและอุทกภัย ครั้งนี้ ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาต่อเนื่องถึงการส่งออกกุ้งปี 2554 กล่าวคือห้องเย็นไม่มั่นใจปริมาณผลผลิตและราคา จนไม่มั่นใจการขาย บางรายได้รับออร์เดอร์ราคาต�่ำไว้ก่อน หน้าวิกฤติ (ที่ส่งมอบเดือนเมษายน-มิถุนายน เดิมคาดว่า จะมีผลผลิตมาก ราคาลง) ความไม่มั่นใจและสับสนข้อมูล ท�ำให้ค�ำสั่งซื้อชะลอ ท�ำให้เกิดความเสี่ยงการส่งออกลดลง
11
TFPA Trade & Technical
WEEKLY BRIEF 28 June - 4 Jul 2011
สถานการณ์ด้านเกษตร คุมเข้มน�ำเข้าผลไม้จาก 4 ประเทศ นายจิรากร โกศัยเสวี อธิบดีกรมวิชาเกษตร เปิดเผยว่าปัจจุบันนอกจากที่กรมวิชาการเกษตรจะเพิ่มความเข้มงวดในการ ตรวจสอบรับรองสินค้าพืชผักและผลไม้ส่งออกไปต่างประเทศแล้ว ยังเพิ่มมาตรการควบคุมการน�ำเข้าสินค้าเกษตรและอาหาร เข้มงวดมากขึ้นด้วย โดยขณะนี้กรมวิชาการเกษตรได้ด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบและเงื่อนไขการน�ำเข้าสินค้าผักและ ผลไม้ใหม่จาก 4 ประเทส ได้แก่ ชิลี ฝรั่งเศส แคนาดา และออสเตรเลีย รวมกว่า 20 ชนิดแยกเป็นผลไม้สดน�ำเข้าจาก ประเทศชิลี 4 ชนิด คือ กีวี แอปเปิ้ล เชอรี่ และองุ่น ฝรั่งเศส 2 ชนิด คือ กีวี และแอปเปิ้ล แคนนาดา 3 ชนิด คือ แอปเปิ้ล เชอรี่ สาลี่ และผลไม้น�ำเข้าจากออสเตรเลียไม่น้อยกว่า 20 ชนิด อาทิ กีวี พริก แตง สคอวซ แอปริคอท อโวคาโด เสาวรส แอบเปิ้ล มะเขือเทศ ควินซ์ พลับ สตรอบเบอร์รี่ เชอรี่ มะม่วง พลัม ท้อ เนคทารีน สาลี่ มะเขือ องุ่น เป็นต้น. ที่มา : อินโฟเควสท์ (คมชัดลึก) วันที่ 4 ก.ค. 54
12
Vol. 2 Issue 22
สถานการณ์ด้านการค้า ทกท.เตรี ย มเปิ ด บริ ก ารเรื อ และตู ้ สิ น ค้ า สู ่ ภาวะปกติ 5 ก.ค.
บรรทุกตู้สินค้าให้เหมาะสมตามจ�ำนวนตู้สินค้าที่บรรทุกมา กับเรือ และก�ำหนดให้ท่าเทียบเรือของโรงพักสินค้า 8, 9 และ ท่าเทียบเรือโอบี เป็นท่าส�ำหรับรองรับเรือตู้สินค้าที่มี ปั้นจั่นยกตู้สินค้า โดยจัดเตรียมพื้นที่หน้าและหลังท่า พร้อม สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ตลอดจนส�ำรองหลักผูกเรือกลางน�้ำ 2 หลัก รองรับเรือที่ปฏิบัติงานเสร็จแล้วแต่ยังไม่สามารถออก จากท่าเรือกรุงเทพได้ รวมทั้งเรือที่รอเทียบท่า เพื่อให้การ บริการขนถ่ายสินค้าเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็ว และ มีความต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง ที่มา ไทยรัฐ วันที่ 28 มิ.ย. 54
ท่าเรือกรุงเทพ(ทกท.) ให้บริการเรือและตู้สินค้าสู่ภาวะ ปกติ หลังด�ำเนินการซ่อมเปลี่ยนรางและติดตั้งปั้นจั่นฯ ใหม่ แล้วเสร็จเร็วขึ้น โดยท่า 20 A จะแล้วเสร็จต้นเดือน ก.ค. 54 เมื่อวันที่ 28 มิ.ย. เรือโทกมลศักดิ์ พรหมประยูร รองผู้อ�ำนวยการท่าเรือกรุงเทพ (ทกท.) เปิดเผยถึงความ คื บ หน้ า ในการติ ด ตั้ ง ปั ้ น จั่ น ยกตู ้ สิ น ค้ า ชนิ ด เดิ น บนราง (Rail Mounted Shoreside Gantry Crane) หรือ ปตส. 27 และ 28 ว่า ขณะนี้ท่าเรือกรุงเทพ ได้ประสานเร่งรัดให้ ทดสอบระบบและส่งมอบงานให้เร็วขึ้น โดยสามารถทดสอบ การใช้งานเมื่อ 16 มิ.ย. 54 เป็นต้นมา ส�ำหรับการซ่อมเปลี่ยนรางของปั้นจั่นยกตู้สินค้าจ�ำนวน 2 ท่า ณ ท่า 20 AB และท่า 20 A นั้น ปัจจุบันท่า 20 AB ด�ำเนินการแล้วเสร็จและสามารถใช้งานได้ตั้งแต่ 6 มิ.ย.ที่ผ่านมา ส่วนท่า 20 A คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ ใน 5 ก.ค. 54 นี้ ดังนั้น ท่าเทียบเรือของท่าเรือกรุงเทพ จะมีปั้นจั่นฯ พร้อมให้บริการครบทุกท่า ในเดือน ก.ค.นี้ นอกจากนี้ ท่าเรือกรุงเทพยังปรับระบบการบริหารจัดการ ท่าเทียบเรือตู้สินค้า โดยจัดให้มีการปฏิบัติงานในช่วงเวลา 07.00-08.00 น. พร้อมทั้งจัดรถหัวลากพร้อมหางลากพ่วง
วางมาตรฐาน 8 สินค้าอาเซียน เพิ่มความ คล่องตัวการค้าเข้าสู่ AEC นายหทัย อู่ไทย รองเลขาธิการส�ำนักงานคณะกรรมการ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม(สมอ.) เปิดเผยว่า ขณะ นี้ คณะกรรมการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานและคุณภาพของ อาเซียน (ACCSQ) ได้เร่งก�ำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมระดับอาเซียน 8 กลุ่มได้แก่ กลุ่มยานยนต์ เครื่องมือแพทย์ ไฟฟ้า อาหารส�ำเร็จรูปผลิตภัณฑ์ยาง เวชภัณฑ์ ยา ยาแผนโบราณ และผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ทั้งนี้ เพื่อให้เป็น มาตรฐานเดี ย วกั น ทั้งภูมิภาค จะช่วย ลดขั้นตอนการตรวจ ส อ บ ม า ต ร ฐ า น ที่ ซ�้ ำ ซ้ อ นกั น ในแต่ ล ะ ประเทศ และการน�ำ เข้า-ส่งออกสินค้ามีความสะดวกมากขึ้น เป็นไปตามแนวทาง การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยคาดว่าจะด�ำเนิน การแล้วเสร็จก่อนปี 2558 อย่างแน่นอน นอกจากนี้ อาเซียนยังได้หารือวางหลักในการเจรจา ทางการค้าให้มีเป้าหมายร่วมกัน และให้เกิดความชัดเจน
13
TFPA Trade & Technical
WEEKLY BRIEF 28 June - 4 Jul 2011
ในการเจรจาเพื่อประโยชน์ของประเทศในอาเซียน ผลักดัน ให้การค้าขายสะดวกมากขึ้น อย่างไรก็ตาม การก�ำหนด กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ค่อนข้างมีอุปสรรคเนื่องจากคณะท�ำงาน เรื่องดังกล่าวมีน้อย โดยเฉพาะเลขาธิการซึ่งต้องดูแลทุกเรื่อง ในอาเซียน อีกทั้งการดึงให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในเรื่อง ดังกล่าวก็น้อย ทั้งที่เป็นกลุ่มที่มีข้อมูลความรู้และเทคโลยี เพียบพร้อม ที่มา แนวหน้า วันที่ 1 ก.ค. 54
"พาณิชย์"ชี้ช่องเจาะตลาดซาอุฯ ช่วงรอม ฏอน-ฮัจย์ยอดจับจ่ายสูง นายสมเด็จ สุสมบูรณ์ นักวิชาการพาณิชย์เชี่ยวชาญ กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยภาย หลังการเข้าพบของ Mr.Mohammed Kamal Saied, General Manager Furniture, Kitchen Division พร้อม คณะผู้บริหารของบริษัท United AMASSCO Trading Co., Ltd. ว่า การเข้าพบครั้งนี้เพื่อหารือลู่ทางการเจาะตลาดใน ซาอุดิอาระเบีย เนื่องจากบริษัทดังกล่าวเป็นบริษัทที่ท�ำธุรกิจ น�ำเข้ารายใหญ่ของซาอุดิอาระ เบีย ซึ่งน�ำเข้าสินค้าหลาย ประเภท มีส�ำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองเจดดาห์ และส่งสินค้า เข้าสู่ร้านค้าปลีกต่างๆ
14
โดยคาดว่า ซาอุฯ จะน�ำเข้าสินค้าจากไทยเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินค้าอาหาร เสื้อผ้า ของประดับ และ สินค้าอื่นๆ ของไทย เพื่อรองรับความต้องการของตลาดใน ช่วงเทศกาลส�ำคัญ 2 เทศกาล คือ เทศกาลถือศีลอดใน เดือนรอมฏอน ซึ่งจะมีการจ่ายเงินรางวัลหรือโบนัสประจ�ำ ปีให้แก่พนักงาน และมีการให้รางวัล ของขวัญ และท�ำบุญ (ซากาด) หลังจากเสร็จสิ้นเทศกาลถือศีลอด จะท�ำให้มีเงิน สะพัดเป็นจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ ยั ง มี เ ทศกาลฮั จ ย์ ใ นช่ ว งเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2554 จะเป็นช่วงที่คนมุสลิมทั่วโลกกว่า 5 ล้านคน เดิน ทางไปซาอุฯ เพื่อประกอบพิธีฮัจย์ ตลาดจะมีความต้องการ สินค้าอาหารและเครื่องใช้สอยประจ�ำวันเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่ง ช่วง 2 เทศกาลส�ำคัญดังกล่าว จะมีมูลค่าการค้าสินค้า อุปโภคคิดเป็น 60-70% ของมูลค่าการค้าตลอดปี ทั้งนี้ในช่วง 5 เดือนแรกปี 2554 ไทยส่งออกไปยัง ซาอุดิอาระเบียมูลค่ากว่า 917.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่ม ขึ้นถึง 1.54% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2553 โดย สินค้าส่งออกส�ำคัญของไทย ได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์และ ส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ ตู้ย็น ตู้แช่แข็งและส่วนประกอบ และข้าว เป็นต้น ที่มา แนวหน้า วันที่ 1 ก.ค. 54
จับมือจีน-อินเดียดันไทย สู่ศูนย์กลางขนส่ง อาเซียน นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค อธิบดีกรมส่งเสริมการส่ง ออก เปิดเผยถึงการด�ำเนินยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพด้าน โลจิ ส ติ ก ส์ ไ ทย เพื่ อ รองรั บ การเป็ น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน หรือ AEC ในปี 2558 ว่า กรมส่งเสริมการส่ง ออกได้น�ำคณะผู้แทนการขนส่งสินค้าหรือโลจิสติกส์ไทยเดิน ทางไปเยือน 4 เมืองส�ำคัญของประเทศจีน ได้แก่ กวางโจว เซียะเหมิน อี้อู และเซี่ยงไฮ้ เพื่อสร้างเครือข่ายพันธมิตร ด้านการให้บริการโลจิสติกส์ไทย-จีน ตลอดจนจัดคณะผู้ แทนการค้าร่วมกับภาคเอกชนไปประชาสัมพันธ์อุตสาหกรรม โลจิสติกส์ของไทยยังเมืองมุมไบและเมืองเชนไน ประเทศ อินเดีย
Vol. 2 Issue 22
"การด�ำเนินงานนี้ถือว่าประสบผลส�ำเร็จเป็นอย่างดี ท�ำให้ผู้ ประกอบการไทยสามารถสร้างเครือข่ายการให้บริการด้าน โลจิสติกส์ ระหว่างประเทศที่แข็งแกร่งขึ้น โดยเตรียมลง นามความร่วมมือด้านขนส่งสินค้าครบวงจรระหว่างท่าเรือ แหลมฉบังกับ ท่าเรือหนานเซาของจีน อีกทั้ง ผู้ประกอบ การจีนและอินเดียยังสนใจจะร่วมมือกับไทย สร้างเครือข่าย การค้าเพื่อให้เป็นศูนย์กลางด้านระบบขนส่งในอาเซียนอีก ด้วย" นางนันทวัลย์กล่าว โดยขณะนี้มีผู้ประกอบการด้าน โลจิสติกส์ของจีนและอินเดีย รวม 60 ราย ตอบรับเข้า ร่วมงานแสดงสินค้าโลจิสติกส์ 2554 หรือ Thailand International Logistics Fair 2011 ที่จะมีขึ้นระหว่างวัน ที่ 22 -25 กันยายนนี้ ที่ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา ถือเป็นโอกาสดีของผู้ประกอบการด้าน โลจิสติกส์และผู้ประกอบด้านการส่งออกของไทย ในการ สร้างเครือข่ายธุรกิจและการค้าระหว่างประเทศให้แข็งแกร่ง ขึ้น ผลักดันไทยเป็นศูนย์กลางการขนส่งสินค้าในอาเซียน ที่มา แนวหน้า วันที่ 1 ก.ค. 54
รัฐบาลเปิดโอกาสให้ลงทะเบียนแรงงาน ต่างด้าวถึงวันที่ 14 ก.ค. 54
นายจ้ า ง สถาน ประกอบการ เกษตรกรและผู้ที่จ้าง คนรับใช้ต่างด้าว ให้ ยื่นแบบค�ำร้องขอจ้าง คนต่ า งด้ า วและขอ อนุ ญ าตท� ำ งาน ได้ ตั้งแต่วันที่ 15 มิ.ย. - 14 ก.ค. 54 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ส�ำนักงานจัดหางาน จังหวัดมุกจังหวัด ส�ำนักหางานกรุงเทพเขตพื้นที่ 1 - 10 หรือ ศูนย์มิตรไมตรี กรมการจัดหางาน โทร 1694 http://www.doe.go.th/download/foreign.html ที่มา กระทรวงแรงงาน วันที่ 1 ก.ค. 54
พาณิชย์เล็งลดราคาน�้ำมันพืช นายยรรยง พวงราช ปลัดกระทรวงพาณิชย์ กล่าวว่า จะมีการเรียกประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาราคาแนะน�ำ น�้ำมันพืชเพื่อลดราคาขายปลีกน�้ำมันพืช เนื่องจากราคา ตลาดก�ำลังลดลงและมาตรการตรึงราคาน�้ำมันปาล์มที่ลิตร ละ 47 บาท จะสิ้นสุดลงในวันที่ 30 มิถุนายน 2554 ส่วนราคาน�้ำมันพืช ซึ่งรวมถึงน�้ำมันปาล์ม จะลดลงได้ เท่าไหร่นั้นขึ้นอยู่กับมติของคณะอนุกรรมการโดยจะพิจารณา ความสามารถในการผลิต และความต้องการของผู้บริโภค นางพรทิวา นาคาศัย รัฐมนตรีกระทรวงพาณิชย์กล่าว ว่า จะปรับลดราคาน�้ำมันปาล์มบรรจุขวดลง 5 บาทต่อลิตร หรือจากขวดละ 47 บาท ลงมาเหลือ ขวดละ 42 บาท ซึ่ง ราคาน�้ำมันปาล์มขวดละ 47 บาทต่อลิตรเป็นราคาจ�ำหน่าย สูงสุดที่กระทรวงพาณิชย์ก�ำหนดไว้ในปัจจุบัน ที่มา : มกอช.(Bangkok Post) วันที่ 3 ก.ค. 54
รัฐบาลเปิดโอกาสให้แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ลาว และกัมพูชาที่อยู่และท�ำงานอย่างผิดกฏหมายในขณะนี้ รวม ทั้งผู้ติดตามที่เป็นบุตรอายุไม่เกิน 15 ปี มารายงานตัวเพื่อ จดทะเบียน ซึ่งจะได้รับการผ่อนผันให้อยู่และท�ำงานได้โดย ไม่ต้องหลบซ่อนอีกต่อไป
15
TFPA Trade & Technical
WEEKLY BRIEF 28 June - 4 Jul 2011
เตรียมพร้อม รองรับ ปรับตัว FTA THAI-EU และ THAI-EFTA จากการสัมมนาเตรียมพร้อม รองรับ ปรับตัว FTA THAI-EU และ THAI-EFTA ซึ่งจัดโดยกรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ วันที่ 23 มิถุนายน 2554 ณ โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค สมาคมการค้าเสรียุโรป หรือ EFTA มีประเทศสมาชิกรวม 6 ประเทศ คือ ออสเตรีย นอร์เ ว สวี เดน สวิตเซอร์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ ภาพรวมทางการค้าระหว่างไทยกับ EFTA มีการพึ่งพาการค้าต่อกันอยู่ บ้าง โดยสวิตเซอร์แลนด์เป็นประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญที่สุดของไทย ในปี 2009 ไทยส่งออกไปยัง EFTA เป็นมูลค่า 3.38 พัน ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็น 2.21% ของการส่งออกไทยทั้งหมด สินค้าออกที่ส�ำคัญคือ เนื้อปลาแช่เย็นแช่แข็ง และไทยน�ำเข้า เป็นมูลค่า 2.71 พันล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็น 2% ของการน�ำเข้าไทยทั้งหมด สินค้าเข้าที่ส�ำคัญคือ ปลาสด ปลาแช่แข็ง ประเด็นส�ำคัญการเจรจาลดภาษี FTA - สิ น ค้ า ประมงและประมงแปรรู ป คาดว่ า น่ า จะ กระทบผู้ประกอบการประมง โดยเฉพาะปลาน�้ำจืด ที่ EFTA มีความสามารถในการแข่งขันสูง ส่วนสินค้าประมง แปรรูป ผู้ประกอบการไทยค่อนข้างมีความเข้มแข็งทางการ ค้า จึงน่าจะเป็นโอกาสดีในการขยายตลาดส่งออกไปยังกลุ่ม EFTA มากขึ้น ในอีกด้านหนึ่ง การลดภาษีสินค้ากลุ่มประมง แปรรูปอาจท�ำให้สินค้าจากลุ่ม EFTA เข้ามาแข่งขันสินค้า ในประเทศมากขึ้น ในส่วนอัตราภาษี น่าจะเป็นการขอให้ ทยอยลดภาษีลง โดยมีเวลาในการปรับตัวประมาณ 3-5 ปี เนื่องจากฐานภาษีของไทยค่อนข้างสูง ภาครัฐอาจมีโครงการ จัดหาแหล่งเงินทุนเพื่อสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพสินค้าให้ มีความหลากหลายและมีมูลค่าเพิ่มมากขึ้น - สิ น ค้ า เกษตรและเกษตรแปรรู ป ในปั จ จุ บั น EFTA มี ก ารจั ด เก็ บ ภาษี ค ่ อ นข้ า งสู ง อี ก ทั้ ง ยั ง เก็ บ Price Compensation กับสินค้าเกษตรแปรรูป เพื่อชดเชย
16
ราคาวัตถุดิบที่แตกต่างกัน ระหว่างประเทศสมาชิก FTA กับประเทศคู่ค้า หากมีการลดภาษีเป็นศูนย์ ไทยจะได้รับ ประโยชน์จากการขยายการส่งออกสินค้าจ�ำพวกนี้เป็นอย่าง มาก แต่อย่างไรก็ตาม โอกาสที่ EFTA จะยอมลดภาษีอาจ มีไม่มากนัก สหภาพยุโรป หรือ EU มีความตกลงการค้าเสรีกับ ไทยครั้งแรก เมื่อเดือนพฤษภาคมปี 2550 โดยไทยร่วมกับ อาเซียนในการเจรจาและประกาศการหยุดพักเจรจาในเดือน มีนาคม 2552 มาในปี 2553-2554 นี้ สหภาพยุโรปขอเริ่ม เจรจากับสิงคโปร์ เวียดนาม มาเลเซียและไทย ซึ่งไทยอยู่ ในระหว่างการเตรียมการตามกระบวนการภายใน โอกาสทางการค้าของไทยในตลาดสหภาพยุโรปของ กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร หรือเกษตรกรรมแปรรูป ได้แก่ กุ้งแช่แข็ง ทูน่าปรุงแต่ง กุ้งปรุงแต่ง สับปะรดปรุงแต่ง น�้ำสับปะรด เป็นต้น อ่านรายละเอียดเพิ่มได้ใน เอกสารแนบ 3
Vol. 2 Issue 22
อัตราแลกเปลี่ยน
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย ตัวเลขวันที่ 25, 26 มิ.ย.และวันที่ 1 ก.ค.54 ธนาคารแห่งประเทศไทยไม่มีข้อมูล
17
TFPA Trade & Technical
WEEKLY BRIEF 28 June - 4 Jul 2011
อัตราแลกเปลี่ยน
18
Vol. 2 Issue 22
THB 70.00
YEARLY MID RATES OF EXCHANGE OF COMMERCIAL BANGKOK IN BANGKOK 61.60
60.00 50.00 40.00 30.00
53.57 48.97
48.93
47.71 36.72
32.34
42.04 36.12
33.31
34.29
4.80
5.02
31.69
20.00 10.00
4.68
0.00
Year 2551 THB / 1 USD
2552 THB /1 GBP
THB / 1 EUR
2553 THB / 100 JPY
THB/CNY
19
TFPA Trade & Technical
WEEKLY BRIEF TFPA TEAM
Executive Director
วิกรานต์ โกมลบุตร E-mail:
vikrant@thaifood.org
28 June - 4 Jul 2011
THAIFOODPROCESSORS’ASSOCIATION
Trade and Technical Manager
Tel : (662) 261-2684-6 Fax : (662) 261-2996-7 E-mail: thaifood@thaifood.org www.thaifood.org
Division-Fruit and Vegetable Products
สมาคมผู้ผลิตอาหารส�ำเร็จรูป ขอขอบคุณเว็ปไซต์ ดังต่อไปนี้
Administrative Manager ลินดา เปลี่ยนประเสริฐ
E-mail: linda@thaifood.org
สุพัตรา ริ้วไพโรจน์ E-mail:
supatra@thaifood.org
E-mail : fv@thaifood.org
Head of Trade & Technical วิภาพร สกุลครู E-mail:
vipaporn@thaifood.org
Trade and Technical Officer
อัญชลี พรมมา E-mail: anchalee@thaifood.org ธณัฐยา จันทรศรี E-mail: tanatya@thaifood.org
Division-Fisheries Products E-mail : fish@thaifood.org
Head of Trade & Technical ชนิกานต์ ธนูพิทักษ์
E-mail: chanikan@thaifood.org
1. http://www.thannews.th.com 2. http://www.thairath.co.th 3. http://www.bangkokbiznews.com 4. http://www.tnsc.com 5. http://www.prachachat.net 6. http://www.dailynews.co.th 7. http://www.acfs.go.th 8. http://www.posttoday.com 9. http://www.matichon.co.th 10. http://www.naewna.com
Trade and Technical Officer
รัตนา ชูศรี E-mail: rattana@thaifood.org ธนัญญา ตั้งจินตนา E-mail: thananya@thaifood.org
IT Support Officer ปวัณรัตน์ ใจกล้า
E-mail: pawanrat@thaifood.org
Data Management Office ญดา ชินารักษ์
E-mail: yada@thaifood.org
Commercial Relation Executive กัญญาภัค ชินขุนทด
E-mail: kanyaphak@thaifood.org
Administrator
วสุ กริ่งรู้ธรรม E-mail: vasu@thaifood.org ศิริณีย์ ถิ่นประชา E-mail: sirinee@thaifood.org
Accountant
วิมล ดีแท้ E-mail:
20
wimon@thaifood.org
เสนอข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………......................................................
THAI EXPORTS OF FOOD PRODUCTS (RELATED TO TFPA) TO THE WORLD
% V SHARE 2011 (JAN.-MAY.)
% Q SHARE 2011 (JAN.-MAY) READY TO EAT AND INGREDIENTS 17%
SWEET CORN 3%
TUNA 25%
SWEET CORN 7%
READY TO EAT AND INGREDIENTS 18%
TUNA 43%
SEAFOOD 4%
FRUIT & VEGETABLE 19%
FRUIT & VEGETABLE 12% PINEAPPLE 26%
PINEAPPLE 18%
SEAFOOD 6%
Food related to TFPA members is divided into 6 groups as table below. Tuna and Seafood products represent 49% of total TFPA food value (consist of tuna 88% and seafood 12%) All Fruit & vegetable including pineapple and sweet corn products share 33 % of total TFPA food value (consist of pineapple 53% , sweet corn 10% and others 37%) The last group is Ready to eat and food ingredients that share 18% of total TFPA food value The main products of TFPA are tuna , pineapple and sweet corn products that share 64% of total TFPA food value.
2010
2010 (JAN.-MAY.)
2011 (JAN.-MAY.)
% GROWTH % SHARE
NO.
GROUP
TON
1 TUNA
VALUE
QUANTIY
MILL.฿
658,612
64,652
2 SEAFOOD
93,267
8,480
3 PINEAPPLE
624,500
FRUIT & VEGETABLE
VALUE
QUANTIY
MILL.US$
MILL.฿
268,300
25,469
268
39,707
3,532
20,258
642
278,374
436,658
18,451
581
5 SWEET CORN
173,170
5,108
READY TO EAT 6 AND FOOD INGREDIENTS
397,022
25,954
2,383,229
142,903
4
TOTAL
Source : www.moc.go.th, 23 June 2011 Prepared by : Thai Food Processors'Association
2,044
TON
QUANTIY
MILL.US$
MILL.฿
273,628
28,632
108
43,399
3,933
8,739
250
335,213
174,103
7,460
235
161
69,898
2,063
822
153,147
10,044
983,529
57,307
4,518
782
TON
VALUE
JAN.-MAY. 10/11
MILL.US$
MILL.฿
MILL. US$
Q
V
2
12
22
25
131
9
11
21
4
11,554
384
20
32
54
31
18
190,294
8,107
269
9
9
15
18
12
63
72,135
2,198
73
3
7
15
7
308
168,907
11,548
384
10
15
25
16
1,083,576
65,972
10
15
26
1,746
951
TON
2,192
43 6
3
18
100 100
THAI EXPORTS OF FISHERY PRODUCTS TO THE WORLD (RELATED TO TFPA)
% Q SHARE 2011 (JAN.-MAY)
MACKEREL 3.5%
CANNED STERILISED 0.3%
CANNED PASTEURISED CRAB 0.2%
SALMON 1% CANNED SARDINE 7%
% V SHARE 2011 (JAN.-MAY)
OTHER SHRIMPS AND PRAWNS 0.1%
CANNED STERILISED 1%
MACKEREL 3%
CANNED PASTEURISED CRAB 0.5%
SALMON 3%
CANNED BABY CLAM 0.4%
CANNED SQUID 0.5% CANNED BABY
CANNED SARDINE 5%
CANNED SQUID 0.3%
OTHER SHRIMPS AND PRAWNS 0.5%
CLAM 0.5%
TUNA PETFOOD 7.3%
TUNA PETFOOD 9.5%
CANNED TUNA +TUNA LOIN 81%
CANNED TUNA +TUNA LOIN 78%
THAI EXPORTS OF FISHERY PRODUCTS TO THE WORLD (RELATED TO TFPA) IN 2010-2011 (JAN.-APR.) 2010
Quantity : Ton
%Growth
Thai HS.code Products
Value
Value
Jan-May
Jan-May
(million Baht)
(million US$)
2010
2011
Quantity (ton) 2009
Jan-May 10/11
Value : Million ฿
Value : Million $
%Growth
Jan-May
Jan-May
2010
2011
Jan-May 10/11
%Growth
Jan-May
Jan-May
2010
2011
Jan-May 10/11
%SHARE
Q
V
1. Fishery Products 1.1 Tuna products **
658,612
64,652
2,044
268,300
273,628
2
25,469
28,632
12
951
22
86
88
- Canned tuna
1604.14.10
535,480
53,172
1,680
221,154
229,484
4
21,302
24,277
14
782 654
806
23
72
75
- Tuna loin
1604.14.90
53,247
6,257
199
17,857
18,034
1
2,004
2,357
18
62
78
27
6
7
- Canned tuna + tuna loin
1604.14
588,727
59,429
1,879
239,011
247,518
4
23,306
26,634
14
716
885
24
78
82
- Tuna Petfood
2309.10.90.001
69,885
5,223
165
29,289
26,110
-11
2,163
1,998
-8
66
0
8
6
1.2 Canned Sardine
1604.13.11.000
46,255
3,016
95
19,268
21,484
12
1,273
1,485
17
39
49
26
7
5
- Salmon
1604.11.10.000
10,868
2,157
68
4,668
4,123
-12
873
987
13
27
33
22
1
3
- Mackerel
1604.15.10.000
27,422
1,606
51
12,221
15,516
27
708
951
34
22
32
46
5
3
- Anchovies
1604.16.10.000
259
44
1
100
31
-69
17
3
-80
0.5
0.1
-88
0
0
1.4.1 Canned Sterilised Crab
1605.10.10.001
2,102
580
18
888
513
-42
234
165
-29
7
6
-24
0.2
1
1.4.2 Canned Pasteurised Crab
1605.10.10.002
1,233
783
25
318
335
5
206
218
6
6
7
14
0.1
1
0.0
0.0
66
1.3 Other Canned Fish
1.4 Canned Crab Meat
1.5 Canned Shrimp 1.5.1 Giant Black Tiger Prawn
1605.20.91.001
38
10
0.30
2
35
1650
1
9
830
-
0.3
#DIV/0!
0.0
0.0
1.5.2 Giant Fresh Water Prawn
1605.20.91.002
4
1
0.02
4
1
-75
0.8
0.8
0
-
-
#DIV/0!
0.0
0.0
1.5.3 Whiteleg shrimp or Litopenaeus Vannamai
1605.20.91.003
10,668
2,438
77
5,154
1,590
-69
1,049
415
-60
32
14
-57
1
1
1605.20.91.090
951
369
12
340
297
-13
137
137
0
4
5
10
0.1
0.4
- Canned Baby Clam
1605.90.90.001
2,968
344
11
1,497
419
-72
174
55
-68
5
2
-60
0.1
0.2
- Canned Squid
1605.90.90.003
2,442
364
12
725
1,016
40
117
149
28
4
5
39
0.3
0.5
84,804
6,823
215
36,257
41,154
14
2,871
3,426
19
88
114
29
13
11
8,463
1,657
53
3,450
2,245
-34.9
661
506
-23
20
17
-15
1
2
93,267
8,480
268
39,707
43,399
9
3,532
3,933
11
108
131
21
14
12
751,879
73,132
2,312
308,007
317,027
3
29,001
32,564
12
890
1,081
22
100
100
1.5.4 Other Shrimps And Prawns 1.6 Other Canned Seafood
Total of canned fish ,excluding Tuna ( 1.2 + 1.3 ) Total of canned Seafood ( 1.4.1 + 1.5.4 + 1.6 ) Total of canned Fish and Seafood ( 1.2 + 1.3 + 1.4.1 + 1.5.4 + 1.6 ) Total of Canned Fish , Seafood and Tuna (1.1+1.2+1.3+1.4.1+1.5.4+1.6)
Source : www.moc.go.th, 23 June 2011 Prepared by : Thai Food Processors'Association
THAI EXPORTS OF FRUIT AND VEGETABLE PRODUCTS (RELATED TO TFPA)
% Q SHARE 2011 (JAN.-MAY)
CANNED SWEET CORN 14%
% V SHARE 2011 (JAN.-MAY)
CANNED BAMBOO SHOOT 1%
CANNED YOUNG CORN 3%
CANNED YOUNG CORN CANNED SWEET 3% CORN 12%
MIXED FRUITS JUICE 2%
CANNED MANGO 2%
CANNED BAMBOO SHOOT 1%
MIXED FRUITS JUICE 1%
CANNED MANGO 2% CANNED LONGAN 1%
CANNED LONGAN 0%
CANNED LYCHEE 1%
CANNED LYCHEE 1%
CANNED RAMBUTAN STUFF PINEAPPLE 0.1%
CANNED RAMBUTAN STUFF PINEAPPLE 0.2% PINEAPPLE JUICE, CONCENTRATE 11%
CANNED PINEAPPLE 31%
PINEAPPLE JUICE, CONCENTRATE 15%
CANNED PINEAPPLE 39%
THAI EXPORTS OF FRUIT AND VEGETABLE PRODUCTS (RELATED TO TFPA) IN 2010-2011 (JAN.-MAY) 2010
Thai HS.code Products
Quantity (ton) 2007-2009
Quantity : Ton
%Growth
Value : Million ฿
%Growth
Value : Million $
%Growth
Value
Value
Jan-May
Jan-May
Jan-May
Jan-May
Jan-May
Jan-May
Jan-May
Jan-May
Jan-May
(million Baht)
(million US$)
2010
2011
10/11
2010
2011
10/11
2010
2011
10/11
% SAHRE Q
V
2. Fruits and Vegetable Products 2.1 Pineapple products (can + juice)
624,500
20,258
642
266,289
2008.20.00.001
484,624
13,644
433
205,386
2009.49+2009.41
139,876
6,614
209
60,903
2009.49
131,316
6,461
204
-- in airtight container
2009.49.00.001
50,615
2,481
-- not in airtight container
2009.49.00.002
80,702
3,980
2.1.1 Canned Pineapple 2.1.2 Pineapple Juice - Pineapple Juice, concentrate
- Pineapple Juice, non concentrate
2009.41.00.000
2.2 Canned Other Fruits
319,211
20
8,739
11,554
32
250
30
5,435
8,253
52
167
53,053
-13
3,304
3,301
0
83
56,193
50,195
-11
3,221
3,257
1
79
26,830
23,084
-14
1,181
1,072
125
41,448
43,114
4
2,040
266,158
384
54
55
53
64
46
38
110
32
9
15
99
108
9
9
15
-9
36
36
-1
4
5
2,185
7
63
73
16
7
10
274
8,560
153
5
4,710
2,858
-39
84
44
-48
3
2
-42
0
0
114,909
5,340
168
46,089
54,638
19
2,291
2,384
4
76
80
4
9
11
- Canned Rambutan Stuff Pineapple
2008.92.20.001
1,199
55
2
314
305
-3
15
14
-3
0.4
0.5
25
0.1
0.1
- Canned Rambutan
2008.99.40.007
147
28
1
195
220
13
9
12
33
0.3
0.4
33
0
0
2008.99.90.007 - Canned Lychee
2008.99.10.001
7,496
302
9
3,120
2,210
-29
122
115
-5
10
4
-60
0
1
- Canned Longan
2008.99.20.001
9,289
421
13
2,803
2,336
-17
112
120
7
3
4
18
0
1
- Canned Mango
2008.99.90.001
18,366
696
22
6,998
8,190
17
261
327
25
8
11
38
1
2
- Canned Papaya
2008.99.90.002
564
23
0.7
255
383
50
11
15
36
0.3
0.5
67
0.07
0.07
- Canned Guava
2008.99.90.003
185
10
0.3
107
111
4
5
7
33
0.2
0.2
0
0.02
0.03
- Other Canned Fruit (tropical fruits)
2008.99.90.005
18,195
1,065
33
7,665
11,713
53
678
442
-35
21
15
-29
2
2
- Canned Mixed Fruits
2008.92.90.000
59,615
2,768
88
24,827
29,390
18
1,088
1,344
24
34
45
33
5
6
2008.92.20.090 2.3 Canned Vegetables
250,983
7,879
248
101,439
103,041
2
3,203
3,370
5
98
14
18
15
- Canned Sweet Corn
2005.80.00.000
173,170
5,108
161
69,898
72,135
3
2,063
2,198
7
63.3
73
15
12
10
- Canned Young Corn
2005.99.00.001
40,522
1,213
38
15,608
17,288
11
469
526
12
14
18
22
3
2
- Canned Bamboo Shoot
2005.91.00.000
10,931
348
11
4,297
3,951
-8
137
128
-7
4
4
0
1
1
- Canned Pea (Pisum Satinvum)
2005.40.00.000
771
160
5
332
251
-24
71
56
-21
2.2
1.8
-18
0.0
0.2
- Canned Asparagus
2005.60.00.000
0.80
0.04
0.001
0.8
0.4
-50
2002.10
708
26
0.8
436
185
-58
- Tomatoes, whole or in pieces - Other ( Tomatos paste, puree) - Other Canned Processed Vetgetables
-
#DIV/0!
0
0
#DIV/0!
0
0
37
182
0.4
1.2
200
0.0
0.2
13
112
2002.90
1,461
45
1.0
686
1,138
66
22
34
58
0.7
1.1
57
0.2
0.2
2005.99.00.090
23,419
979
31
10,181
8,093
-21
429
391
-9
13
13
-2
1
2
168,945
4,853
153
64,138
74,947
17
1,821
2,259
24.1
34
13
10
142,449
4,112
130
54,017
64,762
20
1,538
1,952
27
47
65
38
11
9
2.4 Juice - Juice of any other single fruit or vegetable 2009.80.90.000
56
75
- Mixed Fruits Juice
2009.90.00.001
23,095
640
20
8,522
9,177
8
231
276
19
7
9
30
2
1
- Mixed Vetgetable Juice
2009.90.00.002
3,401
101
3
1,599
1,008
-37
52
31
-40
2
1
-38
0.2
0.1
2006.00.00
65,757
5,066
160
27,756
25,409
-8
2,007
2,054
2
62
68
11
4
9
2001.90.90.002
9,234
421
13
4,642
4,394
-5
202
239.0
18.6
6
8
27
1
1
Total of Canned Fruits, including Pineapple ( 2.1.1 + 2.2 )
599,533
18,984
601
251,475
320,796
28
7,726
10,637
38
243
354
45
55
49
Total of Canned Fruits and Vegetables ( 2.1.1 + 2.2 + 2.3 )
850,516
26,863
849
352,914
423,837
20
10,929
14,007
28
342
466
36
73
64
Total of Fruit Juice , including pineapple juice (2.1.2+2.4)
308,821
11,467
362
125,041
128,000
2
5,125
5,560
8
139
185
33
22
25
74,991
5,487
173
32,398
29,803
-8
2,209
2,293
4
68
76
12
5
10
1,234,328
43,817
1,384
510,353
581,640
14
18,263
21,859
20
549
727
32
100
100
2.5 Dehydrated Fruits or Preserved by sugar 2.6 Vegetables preserved by vinegar or acetic acid
Total of Fruit and Vegetable Preserved by sugar and vinegar ( 2.4 + 2.5 )
Total of Fruit and Vegetable Products Source : www.moc.go.th, 23 June 2011 Prepared by : Thai Food Processors'Association
THAI EXPORTS OF FOOD INGREDIENTS AND READY-TO EAT
% Q SHARE 2011 (JAN.-MAY) CRISPBREAD AND GINGERBREAD 10%
SOUPS AND BROTHS,OTHER 6%
SOYA SAUCE 4%
% V SHARE 2011 (JAN.-MAY)
TOMATO KETCHUP AND OTHER TOMATO SAUCES TOMATO 1%
SOYA SAUCE 3% CRISPBREAD AND GINGERBREAD 13%
CHILLY SAUCE 8% FISH SAUCE 12%
INSTANTNOODLES 16%
NOODLES, VERMICELLI, OTHER PASTA UNCOOKED 16%
TOMATO KETCHUP AND OTHER TOMATO SAUCES TOMATO 1% CHILLY SAUCE
5% FISH SAUCE 4%
SOUPS AND BROTHS,OTHER 8%
OTHER 23%
OTHER 25% INSTANTNOODLES 16%
MACARONI, PASTA, NOODLES (WHEAT) UNCOKKED 2%
MACARONI, PASTA, NOODLES (WHEAT) UNCOKKED 2%
NOODLES, VERMICELLI, OTHER PASTA UNCOOKED 12%
THAI EXPORTS OF FOOD INGREDIENTS AND READY-TO EAT IN 2010-2011 (JAN.-MAY) 2010 Products
Thai HS.code
Quantity (ton)
Quantity : Ton
%Growth
Value : Million ฿
%Growth
Value : Million $ %Growth
Value
Value
Jan-May
Jan-May
Jan-May
Jan-May
Jan-May
Jan-May
(million Baht)
(million $)
2010
2011
10/11
2010
2011
10/11
2010
2011
Jan-May Jan-May
% SAHRE
Jan-May
10/11
Q
V
3. Food Ingredients and Ready - to Eat Food 3.1 Sauces, Instant curry, Other
220,048
12,862
407
84,501
92,426
9
4,981
5,587
12
153
186
21
55
48
- Soya sauce
2103 10 00000
12,069
467
15
4,368
4,613
6
172
193
12
5
6
21
3
2
- Tomato ketchup and other tomato sauces
2103 20 00000
3,433
150
5
1,109
1,458
31
42
68
60
1
2
69
1
1
- Chilly sauce
2103 90 10000
26,091
1,214
38
10,307
11,753
14
503
567
13
16
19
21
7
5
- Other sauces and preparations : mixed
2103 90 20000
20,683
2,167
68
8,445
9,576
13
903
955
6
28
32
14
6
8
- Fish sauce
2103 90 30000
43,950
1,160
37
17,629
17,289
-2
464
481
4
14
16
12
10
4
- Oystersauce
2103 90 90001
11,994
576
18
4,662
5,487
18
224
259
16
7
9
25
3
2
- Instantcurry
2103 90 90002
12,343
1,260
40
4,693
4,807
2
482
515
7
15
17
16
3
4
- Other
2103 90 90090
89,485
5,868
186
33,288
37,443
12
2,191
2,549
16
67
85
26
22
22
31
3.2 Macaroni, Noodles, Other
115,188
7,726
245
43,893
51,713
3,009
3,598
92
120
29
31
- Macaroni, Pasta, Noodles (wheat) uncooked
1902.11
7,745
501
16
2,831
3,707
31
190
238
25
6
8
36
2
2
- Noodles, Vermicelli, Other Pasta uncooked
1902.19
57,308
3,038
96
21,505
24,404
13
1,178
1,328
13
36
44
22
14
11
- Instantnoodles
1902.30
50,135
4,187
133
19,557
23,602
21
1,641
2,032
24
50
68
34
14
18
3.3 Soups and Broths, Other
18
20
2104
25,279
1,971
62
10,923
8,601
-21
812
832
3
25
28
11
5
7
3.4 Crispbread and Gingerbread
1905.10,1905.20
34,929
3,366
107
13,132
14,551
11
1,231
1,514
23
37
51
35
9
13
3.5 Vinegar (Q: thousand liters)
2209 00 00000
Total of Food Ingredients and Ready - to Eat Source : www.moc.go.th, 23 June 2011 Prepared by : Thai Food Processors'Association
1,578
29
0.9
698
1,616
132
11
17
49
0.3
0.6
100
1
0
397,022
25,954
822
153,147
168,907
10
10,044
11,548
15
308
384
25
100
100
From:yay To:Fax#022612996
Dale 71112011T[']'e:1:22:22lt'l'
Page 1 of 1
The,efiediv,ewap to penefiate rhtoMiddleEastMa*et-
Agrt&,AqrcMaftetslr,t fiir rrorvru"ri: rlir,.rfr r'J
tSol rEuurfirpr{rflldurut "nnqm5nl:rarvnalosr:iuaonnar,r: qnd1uflii!tnnn5ua:alDl il,urJi$r4rtfiqfrar::rfi lua:iin" t':uun::rnrrdionr: / e{i'onr:rlrtrd,mon / {l'onrrdrunrrnaro n{l r:rmrfluor:iuoannarIriludii'nlu5ru:naiu$orRnririu:'rllur!
rnnri'ulnd
a:iumurmriorrt:rgfiolanludrudul uonrrafiaornnrsrilurruai,rririu riruUai'urirunrrrura5ru ::nrn: lu n6illrj5ytwld},,lftnlla:fl'11,1I,tfl'ln alumrrrdagrfitta:nfl 5:(14r1 d,t0lf,riaR?lridalat:ri'rurnrnrnsirt!a:a1u1t
d4,lduatjrorrnr5rd,rdaondalfilrsrroiu'lurirunr:dlaanondim55 alMlisa,l-h4u u-:fu IFPGroupr$ior.rruuao'rRurirdurirlu:Jr: rmdnriuaannal\rir'ldo'odllur rltrrudufiunrud,rrd'tun r,: dman loufi5nqrJ::a.rri rdalriria4aoraroloa:rlla,tJ::rwtewiuaaflnal{ ua:ria4an,:rldalnr: raurv qnarrmtudlttoioiurirfi':arurir d'r rilurJs:latrioiaajr.l,::narnr:'trudoia,lnr:turunaro't ril o:iuaannar,r q1n arfi rrqdar::rfiarra:6in lnu,trudurru,rn{,rd'tdiurfitr6 Mr. FadiKaddoun,GroupVp, lnternational Sales,IFP Grdrp [6u141,1ui:arlfinlrunlvr uiaxinatnsfitrtuotn nsad,ttdlmtzdnan g fior-r, 14of ulUrht td5l.{rot^qrgrvil1o! u }rrU 'lrviruunnr:flluur urratn'lortirifr'A:r1yr wio) 1r4::ar?rulailsR. rir,ria: "naqm5nrsror:narosr:iuaannarl: q "I,.a.qu 'lvtu'tfl5:
d'uuurdlttt #udruautirri'o
qnd1ufl5ir[nan5traya1r.n51ui:rr4rl{rq6ar::rfi rL5Sntta:nrdr5" 1. tinitrnr:urriirtirirurEnrrfi trtu rirufrnrirt'truorviuaanRar,l drfinfiflurnaro::yirl r:tlrd n:x d,rrd-trnr: d.laan
2. Mr.FadiKaddoura, GroupVp - International sales,Q$c*+ iufi/ rrar: iud',rnr:fi12n5na1n 2554 , r'ra113.30- 16.00u.
dnrud,
@ )p n n . o t / n o . l.t
/'n />12r 'iry 1''v)'tnotll+17 Xat L
ria,rJr-:rfi {u 3 lslrrrtlnarpiufirf, ouun:::rlrrir (I:lrr:rr:6fiurfil)
(au1or{rdltjiuur n1r*rnron'lunauir.rrirudr.rua:d.urln$tlfi 02-64,|5480 u6a02641S4g2 nruluiulrd 6 n:nArou2554aauoruia4nrfilrGld uirimWorldex G.E.C. Co.,Ltd. la. trr 02-6646488#406 ofllet151inliuai lt4o2 n
fiumi
nlelrnranllnaliuf, untrd.rnqr Business Type..,......
n**'/*-'1, /
y' tb/rt ;rUA^^/.,, A/*4;*
สัมมนาเตรียมพรอม รองรับ ปรับตัว FTA THAI-EU และ THAI-EFTA จัดโดยกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ วันที่ 23 มิถุนายน 2554 ณ โรงแรมอิมพีเรียล ควีนสปารค สมาคมการคาเสรียุโรป หรือ EFTA มีประเทศสมาชิกรวม 6 ประเทศ คือ ออสเตรีย นอรเว สวีเดน สวิตเซอรแลนด ลิกเตนสไตน ฟนแลนด ไอซแลนด ภาพรวมทางการคาระหวางไทยกับ EFTA มีการพึ่งพาการคาตอกันอยูบาง โดยสวิตเซอรแลนดเปนประเทศคูคา ที่สําคัญที่สุดของไทย ในป 2009 ไทยสงออกไปยัง EFTA เปนมูลคา 3.38 พันลานเหรียญสหรัฐ คิดเปน 2.21% ของการสงออก ไทยทั้งหมด สินคาออกทีส ่ ําคัญคือ เนื้อปลาแชเย็นแชแข็ง และไทยนําเขาเปนมูลคา 2.71 พันลานเหรียญสหรัฐ คิดเปน 2% ของการ นําเขาไทยทั้งหมด สินคาเขาที่สําคัญคือ ปลาสด ปลาแชแข็ง ประเด็นสําคัญการเจรจาลดภาษี FTA -
สินคาประมงและประมงแปรรูป คาดวานาจะกระทบผูประกอบการประมง โดยเฉพาะปลาน้ําจืด ที่ EFTA มีความสามารถใน การแขงขันสูง สวนสินคาประมงแปรรูป ผูประกอบการไทยคอนขางมีความเขมแข็งทางการคา จึงนาจะเปนโอกาสดีในการ ขยายตลาดสงออกไปยังกลุม EFTA มากขึ้น ในอีกดานหนึ่ง การลดภาษีสินคากลุมประมงแปรรูปอาจทําใหสินคาจากลุม EFTA เขามาแขงขันสินคาในประเทศมากขึ้น ในสวนอัตราภาษี นาจะเปนการขอใหทยอยลดภาษีลง โดยมีเวลาในการ ปรับตัวประมาณ 3-5 ป เนื่องจากฐานภาษีของไทยคอนขางสูง ภาครัฐอาจมีโครงการจัดหาแหลงเงินทุนเพื่อสนับสนุนการ พัฒนาคุณภาพสินคาใหมีความหลากหลายและมีมูลคาเพิ่มมากขึ้น
-
สินคาเกษตรและเกษตรแปรรูป ในปจจุบัน EFTA มีการจัดเก็บภาษีคอนขางสูง อีกทั้งยังเก็บ Price Compensation กับ สินคาเกษตรแปรรูป เพื่อชดเชยราคาวัตถุดิบที่แตกตางกัน ระหวางประเทศสมาชิก FTA กับประเทศคูคา หากมีการลดภาษี เปนศูนย ไทยจะไดรับประโยชนจากการขยายการสงออกสินคาจําพวกนี้เปนอยางมาก แตอยางไรก็ตาม โอกาสที่ EFTA จะ ยอมลดภาษีอาจมีไมมากนัก
สหภาพยุโรป หรือ EU มีความตกลงการคาเสรีกับไทยครั้งแรก เมื่อเดือนพฤษภาคมป 2550 โดยไทยรวมกับอาเซียนในการเจรจา และประกาศการหยุดพักเจรจาในเดือนมีนาคม 2552 มาในป 2553-2554 นี้ สหภาพยุโรปขอเริ่มเจรจากับสิงคโปร เวียดนาม มาเลเซียและไทย ซึ่งไทยอยูในระหวางการเตรียมการตามกระบวนการภายใน โอกาสทางการคาของไทยในตลาดสหภาพยุโรปของกลุมอุตสาหกรรมอาหาร หรือเกษตรกรรมแปรรูป ไดแก กุงแชแข็ง ทูนา ปรุงแตง กุงปรุงแตง สับปะรดปรุงแตง น้ําสับปะรด เปนตน แนวทางการเจรจาสําหรับสินคากลุมนี้ -
มาตรการทางภาษี จะเปนการเจรจาเพื่อเพิ่มโอกาสทางการคาสําหรับสินคาไทยโดยการเจรจาใหมีการปรับลดภาษีลงให เปนศูนย หรือเปนอัตราที่ต่ําที่สุดที่ EU เก็บจากประเทศคูคา โดยเฉพาะอยางยิ่งในรายการที่อัตราภาษีเก็บจากไทยยังอยูใน อัตราที่สูงกวาอัตราภาษีภายใตสิทธิ GSP สินคาที่คาดไดวาสหภาพยุโรปจะไมคอยยอมลดการกีดกัน ไดแก ขาว สตารชทํา จากมันสําปะหลัง ขาวโพดหวาน อาหารปรุงแตง อาหารสัตว เปนตน การเจรจาจึงตองพยายามใหสหภาพยุโรปปรับลดอัตรา ภาษีใหไดมากที่สด ุ และเร็วที่สุด เพื่อใหไดรับประโยชนจากการทําความตกลง รวมทั้งการพัฒนาขีดความสามารถในการ แขงขันของอุตสาหกรรม
-
มาตรการทางการคาที่มิใชภาษีของสหภาพยุโรป เปนอุปสรรคอยางมากตอการสงออกของไทยที่ตองมีใบอนุญาตนําเขา ทั้งยังถูกมาตรการโควตาภาษี (Tariff Quota) มาตรการตอบโตการทุมตลาดสินคา(ประเทศไทยถูกใชมาตรการ AD โดย สหภาพยุโรป ไดแก ขาวโพดหวาน (prepared or preserved)(3.1-14.3%)) มาตรการตอบโตการอุดหนุน และมาตรการ ทางเทคนิคตอการคาของสหภาพยุโรป ผลกระทบที่ไดรับ สินคาแปรรูปเกษตร ตองใหความระมัดระวังดานมาตรฐานวัตถุดิบ สารเคมีตกคางและยาฆาแมลง บางบริษัทมีปญหาดาน Tin Content เพื่อใหเปนไปตามกฎของ EU และมีการตรวจสอบการ ติดฉลากสินคา สวนการตรวจสอบและการรับรอง ดานอาหารสัตว ตองตรวจสอบโดย อย. และกรมปศุสัตว ซึ่งมีระยะ เวลานานในการตรวจสอบ
-
ประเด็นอื่น ๆ กฎแหลงกําเนิดสินคา ตองไมมีผลบิดเบือนแหลงผลิต งายตอการปฏิบัติ สอดคลองและสงเสริมการเกิด เครือขาย การผลิตระหวางประเทศตามความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบโดยธรรมชาติและหลีกเลี่ยงการใชกฏแหลงกําเนิด สินคาเฉพาะรายสินคา ใหเพิ่มระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและเอกซเรยเขาไปในพิธีการศุลกากรและการอํานวยความ สะดวกทางการคา ใหความรวมมือทางเทคนิคในการเพิ่มขีดความสามรถในการรักษาสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ การ คุมครองทางสังคมและการคุมครองแรงงานและพัฒนาทรัพยากรมนุษยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เวปลิงค Presentation ของการสัมมนา มีดังนี้ 1. โครงการศึกษาวิจัยแนวทางและผลกระทบของการจัดทําความตกลงการคาเสรีไทยกับสมาคมการคาเสรีแหงยุโรป โดย บริษัทไบรอัน เคฟ (ประเทศไทย) จํากัด http://www.thaifta.com/trade/public/doc23jun54_ron.pdf 2. การจัดทําความตกลงการคาเสรี (FTA) ระหวางไทยกับภูมิภาคยุโรป โดย นายวีระชัย นพสุวรรณวงศ รองอธิบดีกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ
http://www.thaifta.com/trade/public/doc23jun54_virachai.pdf
3. การเปดเสรีภาคบริการ: การเปดเสรีในกระแสโลกาภิวัตน โดยดร. บันลือศักดิ์ ปุสสะรังษี ธนาคาร ซีไอเอ็มบีไทย จํากัด (มหาชน) http://www.thaifta.com/trade/public/doc23jun54_banlu.pdf
4. เทคนิคการติดตอธุรกิจกับชาวยุโรป โดย นางสาวพรศิริ เมฆวิชัย ผูอํานวยการสวนยุโรป กรมเจรจาการคาระหวาง ประเทศ http://www.thaifta.com/trade/public/doc23jun54_ponsiri.pdf 5. “เตรียมพรอม รองรับ ปรับตัว FTA ไทย-EU และไทย-EFTA โดยดร.ปยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา รองเลขาธิการ สภา อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย http://www.thaifta.com/trade/public/doc23jun54_piyanut.pdf 6. แนวทางการจัดทําความตกลงการคาเสรีไทยกับสหภาพยุโรป ผลกระทบและมาตรการรองรับปรับตัว โดยดร.วิศาล บุ ปผเวส สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย http://www.thaifta.com/trade/public/doc23jun54_wisan.pdf
7. กองทุน FTA กระทรวงพาณิชย โดยนายพิทักษ อุดมวิชัยวัฒน ผูอํานวยการสํานักสิทธิประโยชนทางการคา กรมการคาตางประเทศ http://www.thaifta.com/trade/public/doc23jun54_pitak.pdf หรือที่ http://www.thaifta.com ที่มา ผูแทนสมาคมผูผลิตอาหารสําเร็จรูป รวมสัมมนาเตรียมพรอม รองรับ ปรับตัว FTA THAI-EU และ THAI-EFTA วันที่ 23 มิ.ย. 54 ณ โรงแรมอิมพีเรียล ควีนสปารค