Weekly Brief 12 Jul - 18 Jul 11 Issue 24

Page 1

TFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEF

Vol. 2

issue 24

12 Jul - 18 Jul 2011

Thai Food Processors’ Association ฮ่ อ งกง ประกาศใช้มาตรการความ

Pineapple

ปลอดภัยอาหาร

ข้อมูล SPS/ TBT ระหว่าง เม.ย.-พ.ค. 2554

Sweet Corn Tuna

เตือนการใช้ สารฟอร์ ม าลิ น กับกิจการประมง

Seafood

‘ทู น ่ า ’ 5 ใน 8 ชนิดเสีย่ งใกล้สญ ู พันธุ์

Fruits&Vegetables

กรมส่งเสริมการเกษตรส่ง “มิ ส เตอร์ สั บปะรด” ลงพื้นที่แก้ปัญหา

Food Ingredient&Ready-to-Eat

www.thaifood.org

th


Contents Contents

TFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEF 12 Jul - 18 Jul 2011

03 ข่าวประชาสัมพันธ์

3 • เชิญเข้าร่วมสัมมนาโครงการศึกษาแผนด�ำเนินธุรกิจต่อเนื่องภาครัฐและเอกชน เอกสารแนบ 1 3 • เชิญร่วมปช.เวทีสาธารณะการประเมินผลกระทบจากมาตรการปรับคาร์บอนก่อนข้ามพรมแดนฯ เอกสารแนบ 2

04 สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร

4 • ข้อมูล SPS/ TBT ระหว่างเม.ย.-พ.ค. 2554 เอกสารแนบ 3,4,5,6 องกงประกาศใช้มาตรการความปลอดภัยอาหาร 4 •• ฮ่กระทรวงเกษตรสหรั ฐฯ ปรับปรุงแก้ไขการให้ค�ำแนะน�ำการโภชนาการอาหารใหม่ 4 • องค์การอาหารและยาสหรั ประกาศกลยุทธ์ใหม่ในการรับรองความปลอดภัยของสินค้าน�ำเข้า 5 • ญี่ปุ่นแก้ไขค่า MRL สารเคมีฐฯ(USFDA) ทางการเกษตร 6

07 สถานการณ์ด้านประมง

่มโควตาจับปลากะตัก 7 •• อีเตืยอูเสนอเพิ ้ส่งออกเตรียมรับมือกรณีกฎหมายปกป้องผู้บริโภคอาหารทะเลของสหรัฐ มีผลบังคับใช้ในอีก 6 เดือน 7 • เตือนผู นการใช้ มาลินกับกิจการประมง 8 • จีนเข้มงวดเชืส้อารฟอร์ ในกุ้งกุลาด�ำ 8 • กุ้งไทยสดใสลูกค้IHHNV ารับราคาแพง 9 • มะกันแพ้เวียดนามอี ุ่มตลาดกุ้ง 9 • ‘ทูน่า’ 5 ใน 8 ชนิกดคดีเสี่ยทงใกล้ สูญพันธุ์ 10

11 สถานการณ์ด้านเกษตร

้ำผลไม้กระป๋องประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 11 •• ภาวะตลาดน� เตือนเอเชียกลางอาจเกิดศึกแย่งน�้ำ 12 • UN ใต้เล็งขยายพื้นที่เพาะปลูกในต่างประเทศ เหตุราคาอาหารพุ่งสูงขึ้น 12 • เกาหลี กรมส่งเสริมการเกษตร เร่งแก้ปัญหาสับปะรดกระจุกตัวหน้าโรงงาน ส่ง “มิสเตอร์สับปะรด” ลงพื้นที่แนะน�ำ 13 เกษตรกรกระจายผลผลิ ต เพื่อแก้ปัญหาระยะยาว

14 สถานการณ์ด้านการค้า

ยจะเก็บภาษีคาร์บอนตันละ 759 บาท 14 •• เผยออสเตรเลี ชย์” เตรียมหาทางออกปิดการเจรจารอบโดฮา 14 • “พาณิ เดย์19ก.ค.นี้ปรับขึ้นราคาก๊าซแอลพีจีภาคอุตสาหกรรม3บาท/ก.ก. 15 • ดีครม.ทิ ่งจับตาสินค้า9ชนิด 16 • พม่าเลิ้งกทวนสั กี ด กั น 15 สินค้าไทย ผู้ส่งออกเฮ! ยอดขายกระฉูด 16

17 18 2

สรุปการประชุม ครม เอกสารแนบ 7 อัตราแลกเปลี่ยน


Vol. 2 Issue 24

ข่าวประชาสัมพันธ์ เชิญเข้าร่วมสัมมนาโครงการศึกษาแผน ด�ำเนินธุรกิจต่อเนื่องภาครัฐและเอกชน ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ได้ว่าจ้าง บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ เอฟ เอเอส จ�ำกัด เป็นที่ปรึกษาด�ำเนินโครงการศึกษาแผนด�ำเนิน ธุรกิจต่อเนื่อง งานนี้จัดขึ้นเพื่อน�ำเสนอและรับฟังความคิด เห็นต่อร่างรายงานการศึกษาแผนด�ำเนินธุรกิจต่อเนื่อง โดย จะน�ำความเห็นที่ได้จากการสัมมนามาปรับปรุงรายงานการ ศึกษาฯ ให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น และหน่วย งานที่เกี่ยวข้องสามารถน�ำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดท�ำ แผนธุรกิจต่อเนื่อง รวมถึงจัดตั้งกลไกการก�ำกับดูแล โดย เชื่อมโยงการด�ำเนินงานระหว่างระดับประเทศ ระดับหน่วย งานก�ำกับดูแล และระดับองค์กรต่อไปได้ โดยก�ำหนดจัด สัมมนาในวันที่ 20 ก.ค. 2554 เวลา 8.30 – 13.30 น. ณ ห้องปริ๊นซ์ 2 ชั้น 11 ตึก เอ โรงแรมปริ๊นซ์ พาเลซ กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-344-1000 หรือ 081-812-8433 ราย ละเอียดดังเอกสารแนบ 1

เชิญร่วมปช.เวทีสาธารณะการประเมิน ผลกระทบจากมาตรการปรับคาร์บอนก่อน ข้ามพรมแดนฯ ด้วยสถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม ภายใต้ ก ารสนั บ สนุ น ของส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การ วิจัย และสถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัมนา (องค์การมหาชน) ได้ด�ำเนินการศึกษา โครงการ “การ ประเมินผลกระทบจากมาตรการการปรับคาร์บอนก่อนข้าม พรมแดน และการเตรียมความพร้อมของไทยเพื่อรักษาขีด ความสามารถการแข่งขันในการค้าระหว่างประเทศ” จึงขอ เชิญท่านที่สนใจเข้าร่วมประชุมเพื่อรับฟังผลการศึกษาและ ตอบแบบสัมภาษณ์ในประเด็นความรับรู้และความพร้อม ของผู้ประกอบการ ในวันจันทร์ที่ 8 สิงหาคม 2554 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้องกษัตริย์ศึก 3 ชั้น 4 โรงแรมเดอะ ทวินทาวเวอร์ ไปยังสถาบันธรรมรัฐฯ ภายในวันที่ 29 ก.ค. 54 หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่คุณสกุลวลัย มะ นะโส โทรศัพท์ 02-280-0557,02-280-1812 โทรศัพท์มือถึง 086-885-7020 โทรสาร 02-282-8877 E-mail : gsei_thai@ yahoo.com รายละเอียดดังเอกสารแนบ 2

3


TFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEF 12 Jul - 18 Jul 2011

สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร ข้อมูล SPS/ TBT ระหว่างเม.ย.-พ.ค. 2554 สรุป TBT Notification สินค้าประจ�ำเดือนเมษายน จ�ำนวน 23 เรื่อง รายละเอียดดังเอกสารแนบ 3 และเดือน พฤษภาคม จ�ำนวน 25 เรื่อง รายละเอียดเอกสารแนบ 4 สรุป SPS Notification สินค้าประจ�ำเดือนเมษายน จ�ำนวน 60 เรื่อง รายละเอียดดังเอกสารแนบ 5 และเดือน พฤษภาคม จ�ำนวน 46 เรื่อง รายละเอียดเอกสารแนบ 6 ที่มา มกอช. และเรียบเรียงโดยสมาคมผู้ผลิตอาหารส�ำเร็จรูป

ฮ่ อ งกงประกาศใช้ ม าตรการความ ปลอดภัยอาหาร ฮ่องกงประกาศใช้มาตรการความปลอดภัยอาหารโดย สร้างกลไกการตรวจสอบย้อนกลับ ซึ่งต้องมีการจดทะเบียน ผู้น�ำเข้าและการบันทึกข้อมูลต่าง ๆ เป็นต้น และได้ด�ำเนิน การแจ้ง WTO ตาม G/TBT/N/HKG/35/Add.1 ลงวันที่ 21 มิถุนายน 2554 โดยจะมีผลบังคับใช้วันที่ 1 สิงหาคม 2554 ในเอกสารกฎหมายความปลอดภัยอาหารแบ่งเป็น 7 เรื่องดังนี้

4

Part 1 Preliminary Part 2 Registration of Food Importers and Distributors Part 3 Keeping Record Relating to Food Part 4 Food Safety Orders Part 5 Administration and Enforcement Part 6 General Part 7 Consequential and Related Amendments รายละเอียดทั้งหมด http://www.gld.gov.hk/cgi-bin/ gld/egazette/gazettefiles.cgi?lang=e&extra=&year= 2011&month=04&day=08&vol=15&no=14&gn=5&hea der=1&part=1&df=1&nt=s1&acurrentpage=12&agree =1&newfile=1&gaz_type=ls1 ทั้งนี้ หากท่านมีข้อคิดเห็น ประการใดต่อกฎหมายดังกล่าว กรุณาแจ้งไปยังกลุ่มความ ตกลง SPS มกอช. ทางอีเมลล์spsthailand@gmail.com โทร 02 561 2277 ต่อ 1344, 1348 เพื่อส่งความเห็นไป ยัง WTO ในนามของประเทศไทยต่อไป ที่มา มกอช. และเรียบเรียงโดยสมาคมผู้ผลิตอาหารส�ำเร็จรูป

กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ปรับปรุงแก้ไข การให้ค�ำแนะน�ำการโภชนาการอาหารใหม่ ปัจจุบัน กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา ปรับปรุงแก้ไข การให้ค�ำแนะน�ำการโภชนาการอาหารใหม่ โดยการเปลี่ยน จากค�ำแนะน�ำแบบ Food Pyramid ไปเป็นค�ำแนะน�ำแบบ “MyPlate” ซึ่งก�ำหนดสัดส่วนของอาหารที่ควรบริโภคใน จาน โดยเน้นว่า อาหารครึ่งจานที่รับประทานควรจะเป็นผัก ผลไม้ น�้ำผลไม้ และอีกครึ่งจานควรจะเป็นอาหารจ�ำพวก ธัญพืชและโปรตีนที่ไม่มีไขมัน ซึ่งจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้บริโภคอเมริกัน ในการ สร้างนิสัยการบริโภคเพื่อสุขภาพ ซึ่งในงานแสดงสินค้า IFT Annual Meeting และ Food Expo 2011 ที่จัดขึ้น ระหว่างวันที่ 11-14 มิ.ย. 2554 ณ ศูนย์แสดงสินค้า New Orleans Memorial Center ณ เมือง New Orleans มลรัฐหลุย์เซียน่า เป็นงานเกี่ยวกับการประชุมและแสดง


Vol. 2 Issue 24 สินค้า เพื่อแสดงการรวิจัย ค้ นคว้ าในด้ านวั ต ถุ ดิ บใช้ ผลิ ต อาหาร เทคโนโลยี ผลิ ต อาหาร และการน� ำ เสนอแนวโน้มรูปแบบสินค้า อาหารในอนาคต(Food Trend) ที่ใหญ่ที่สุดของภูมิภาคอเมริกา ผู้เข้าร่วมงานและ ผู้เข้าชมงานให้ความสนใจต่อสินค้าอาหารที่สอดคล้องกับ ค�ำแนะน�ำ “MyPlate” ดังนั้น ผู้ผลิต/ผู้ส่งออกไทย ควรน�ำ “MyPlate” มาเป็นโอกาสและลู่ทางการขยายตลาดสินค้า อาหารไทยในสหรัฐฯ ที่มา : หนังสือจาก ส�ำนักส่งเสริมสินค้าส่งออก เลขที่ พณ 0906.2/1780 วันที่ 7 ก.ค. 2554 เรียบเรียงโดยสมาคมผู้ผลิตอาหารส�ำเร็จรูป

องค์การอาหารและยาสหรัฐฯ(USFDA) ประกาศกลยุ ท ธ์ ใ หม่ ใ นการรั บ รองความ ปลอดภัยของสินค้าน�ำเข้า กรมส่งเสริมการส่งออกได้รับรายงาน เมื่อวันที่ 20 มิ.ย. 54 ว่าด้วยเรื่อง การวางกลยุทธ์ในการรับรองความ ปลอดภัยและคุณภาพของสินค้าภายใต้ USFDA (Pathway to Global Product Safety and Quality) ส�ำหรับสินค้า ทุกประเภท ทั้งสินค้าอาหารส�ำเร็จรูปและสินค้าน�ำเข้าเพื่อ ประกอบการผลิตภายในประเทศ สรุปดังนี้ 1. องค์ ก ารอาหาร และยาสหรั ฐ ฯ(USFDA) จะประสานความร่ ว ม มื อ กั บ หน่ ว งงานต่ า งๆที่ เกี่ ย วข้ อ งในทุ ก ประเทศ เพื่ อ วางกฎระเบี ย บที่ เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบสินค้ามาตราฐานร่วมกัน(Global Coalitions) เพื่อสร้างความมั่นใจในคุณ ภาพและความ ปลอดภัยของสินค้าประเภทอาหารและยา โดยขณะนี้สหรัฐฯ ได้เข้าร่วมโครงการมาตราฐานสินค้าส�ำหรับผลิตภัณฑ์ยา คือ PIC/S และสินค้าอุปกรณ์ทางการแพทย์ คือ GHTF แล้ว ซึ่งการวางกฎระเบียบการตรวจสอบมาตราสินค้าร่วม กัน จะมีความสอดคล้องกับการด�ำเนินการภายใต้กฎหมาย

ว่าด้วยความปลอดภัยของอาหาร ที่ก�ำหนดให้หน่วยงานทั้ง ภาครัฐและเอกชน ด�ำเนินการตรวจสอบสินค้าภายใต้มาตรา ฐานเดียวกัน 2. การร่วมมือกันระหว่าง USFDA และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกับการกฎระเบียบการตรวจสอบสินค้ามาตราฐาน ร่วมกัน จะท�ำให้เกิดการสร้างฐานข้อมูลและเครือข่ายใน ด้านมาตราฐานความปลอดภัยและคุณภาพของสินค้า ซึ่ง จะท�ำให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลและสามารถน�ำข้อมูลไป ใช้ประโยชน์ต่อไป 3. USFDA จะมีการเพิ่มการวิเคราะห์ความเสี่ยงเชิง ลึก ซึ่งจะท�ำให้ได้ข้อมูลความเสี่ยงล่วงหน้า และสามารถ วางแผนป้องกัน 4. USFDA วางแผนที่จะใช้ทรัพยากรบุคคลที่มีอยู่อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยจะประเมินความเสี่ยงของสินค้าว่ามีความ เสี่ยงมากหรือน้อย ซึ่งเจ้าหน้าที่ของ USFDA จะมุ่งเน้น การตรวจสอบสินค้าที่มีความเสี่ยงสูงว่าจะเป็นอันตรายต่อ ผู้บริโภค ส่วนสินค้าอย่างอื่นจะใช้การตรวจสอบจากหน่วย งานที่ได้รับมอบหมายจาก USFDA และในขณะเดียวกันผู้ ประกอบการเองจะต้องตรวจสอบและควบคุมคุณภาพและ ความปลอดภัยของสินค้าด้วยเช่นกัน ที่มา ส�ำนักส่งเสริมสินค้าส่งออก กรมส่งเสริมการส่งออก วันที่ 8 ก.ค. 54

5


TFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEF 12 Jul - 18 Jul 2011

ญี่ ปุ ่ น แก้ ไ ขค่ า MRL สารเคมี ท างการ เกษตร เมื่อวันที่ 8 ก.ค. 2554 กระทรวงสาธารณสุข แรงงาน และสวัสดิการญี่ปุ่น (MHLW) ได้จัดประชุมชี้แจงรายละเอียด การปรับปรุงแก้ไขมาตรฐานสารเคมีทางการเกษตร ครั้งที่ 150 สรุปสาระส�ำคัญดังนี้

กรณีไม่ได้ระบุ MRL Draft ให้ใช้ระดับ 0.01 ppm. (uniform limit) ทั้งนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถแสดง ความเห็นต่อร่างดังกล่าวไปยัง MHLW ได้จนถึงวันที่ 22 กรกฎาคม 2554 หากพ้นก�ำหนดให้ส่งความเห็นไปทาง enquiry point in accordance with the WTO/SPS agreement ต่อไป หรือส่งมาทาง spsthailand@gmail. com หรือ sps@acfs.go.th หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถส่งข้อคิดเห็นไปยัง MHLW โดยตรง จนถึงวันที่ 15 กรกฎาคม 2554 หากพ้นก�ำหนด นี้สามารถแสดงความเห็นผ่านทาง enquiry point in accordance with the WTO/SPS agreement ต่อไป หรือ ส่งมาทาง spsthailand@gmail.com หรือ sps@acfs.go.th ดาวน์โหลดเอกสาร คลิกที่นี่ http://www.acfs.go.th/ news/docs/acfs_14-07-54.pdf ที่มา : มกอช.วันที่ 14 ก.ค. 54

1. แก้ไขค่า MRL สารเคมีทางการเกษตรและยาที่ใช้กับ สัตว์ 5 ชนิด ได้แก่ 1.1 Ethychlozate (สารเร่งการเจริญเติบโต) มี ความเข้มงวดต่อสินค้าเกษตรส่งออกที่ส�ำคัญของไทยหลาย ชนิด ได้แก่ ข้าว หอมหัวใหญ่ หน่อไม้ฝรั่ง กระเจี๊ยบเขียว กล้วย มะม่วง รายละเอียดดังตารางหน้า 5-7 1.2 Oxyflurfen (สารก�ำจัดวัชพืช) สินค้าเกษตรที่ เกี่ยวข้องของไทย ได้แก่ ข้าวและผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ราย ละเอียดดังตารางหน้า 8-9 1.3 Pymetrozine (สารก�ำจัดแมลง) สินค้าเกษตร ที่เกี่ยวข้องของไทย ได้แก่ กระเจี๊ยบเขียว กล้วย มะม่วง รายละเอียดดังตารางหน้า 10-12 1.4 Clavulanic acid (สารยับยั้งเอนไซม์ betalactamase) เป็นสารที่ห้ามใช้ในญี่ปุ่น ห้ามตกค้างในอาหาร ทุกรายการ ยกเว้นรายการอาหารที่ปรากฎในตารางหน้า 13 1.5 Prifinium (anticonvulsant for the bovine gastrointestinal and urinary tracts) รายละเอียดดัง ตารางหน้า 14

6


Vol. 2 Issue 2 24

สถานการณ์ด้านประมง อียูเสนอเพิ่มโควตาจับปลากะตัก คณะกรรมาธิการยุโรปเสนอให้เพิ่มโควตาจับปลากะตัก (anchovy) ในอ่าวบิสเคย์จาก 15,600 ตัน เป็น 29,700 ตัน โดยฤดูจับปลาเริ่มตั้งแต่เดือนก.ค. 2554 และสิ้นสุดวัน ที่ 30 มิ.ย. 2555 ขณะนี้ก�ำลังรอการยอมรับโควตาใหม่นี้ จากรัฐบาลสมาชิกสหภาพยุโรปทั้ง 27 ประเทศ การเพิ่มโควตาจับปลาดังกล่าวเป็นผลมาจากรายงาน ทางวิทยาศาสตร์ที่เสนอต่อผู้บริหารว่า ปริมาณสต็อกปลาอยู่ ในสภาวะที่ดี และอยู่เหนือระดับความปลอดภัยทางชีวภาพที่ ก�ำหนดไว้ มีผู้คาดการณ์ไว้ว่า มีปริมาณปลามากถึง 98,450 ตัน แต่ยังไม่ได้รับการยืนยันจากผู้เชี่ยวชาญ เมื่อปี 2553 โอกาสในการจับปลากะตักจากท้องทะเล แบ่งออกเป็นสเปน 80% โดยคิดเป็นปริมาณ 14,040 ตัน และฝรั่งเศส 20% คิดเป็นปริมาณ 1,560 ตัน เมื่อเดือนมิ.ย.54 นักวิทยาศาสตร์จากศูนย์เทคโนโลยี ด้านการวิจัยทางทะเลและอาหาร (AZTI-Tecnalia) ยืนยันว่า ชีวมวลของปลากะตักในอ่าวบิสเคย์มีปริมาณเพิ่มขึ้น 278% ต่อปี จาก 36,500 ตันในฤดูใบไม้ผลิ 2553 เป็น 138,000 ตัน ในเดือนพฤษภาคม 2554 ซึ่งจากการศึกษาของ Bioman ระบุว่า จากจ�ำนวนของไข่ที่พบท�ำให้คาดการณ์ได้ว่า 86% ของชีวมวลมาจากปลากะตักอายุ 1 ปี ที่มา : มกอช.(FIS) วันที่ 12 ก.ค. 54

เตือนผู้ส่งออกเตรียมรับมือกรณีกฎหมาย ปกป้องผูบ ้ ริโภคอาหารทะเลของสหรัฐ มีผล บังคับใช้ในอีก 6 เดือน นางนันทวัลย์ ศกุน ตนาค อธิ บ ดี ก รมส่ ง เสริมการส่งออก เปิด เ ผ ย ว ่ า เ มื่ อ เ ดื อ น มิ ถุ น ายนที่ ผ ่ า นมา ที่ ประชุ ม วุ ฒิ ส ภาของ สหรั ฐ ฯ ได้ ล งมติ รั บ กฎหมายปกป้องผู้บริโภคอาหารทะเล โดยกฎหมายฉบับ นี้ อ อกแบบเพื่ อ สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ แ ก่ โ ครงการความ ปลอดภัย อาหารทะเลของรัฐบาลกลาง และต่อสู้กับการก ระท�ำผิดฉ้อฉลที่เกี่ยวข้องกับอาหารทะเล ซึ่งจากมติดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อการส่งออกกุ้งแช่แข็งของไทย ดังนั้นหน่วย งานที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน จึงต้องให้ความ สนใจติดตามเรื่องนี้อย่างใกล้ชิด และหาวิธีป้องกันต่อไป อย่างไรก็ตาม ผู้ส่งออกไทยยังมีเวลาปรับตัว เนื่องจาก กฎหมายดังกล่าวจะมีผลในทางปฏิบัติ ภายใน 6 เดือนนับ จากประกาศ สนใจข้อมูลเพิ่มเติมค้นหาได้ที่ www.depthai. go.th หรือ สายตรงผู้ส่งออก 1169 ที่มา : มกอช.(มติชน) วันที่ 13 ก.ค. 54

7


TFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEF 12 Jul - 18 Jul 2011

เตือนการใช้สารฟอร์มาลินกับกิจการ ประมง ดร.สมหญิง เปี่ยม สมบูรณ์ อธิบดี กรมประมง เปิด เผยว่า จากกรณี ที่มีการน�ำเสนอ ข่าวผู้ประกอบการ ใช้สารฟอร์มาลินในอุตสาหกรรมอาหาร เพื่อช่วยรักษา ความสด และคงคุณภาพให้เก็บรักษาได้นาน จนท�ำให้ผู้ บริโภคเกิดความหวั่นวิตกถึงอันตรายที่อาจส่งผลต่อสุขภาพ ร่างกาย และได้ส่งผลกระทบต่อวงการอุตสาหกรรมอาหาร อย่างมาก ปัจจุบันสารฟอร์มาลินที่ใช้ในการประมงไม่ได้เป็นสาร ต้องห้ามหรือสั่งระงับ ไม่ให้เกษตรกรใช้ในการเพาะเลี้ยง สัตว์น�้ำ เนื่องจากสารดังกล่าวมีประโยชน์ในการควบคุม ป้องกัน ก�ำจัดเชื้อปรสิต และเชื้อราภายนอกที่เกิดกับสัตว์ น�้ำ แต่การใช้ต้องอยู่ในอัตราส่วนที่เหมาะสม คือ 25-50 ซี ซี ต่อน�้ำ 1 ตัน แช่นานตลอดไป หรือ 100–200 ซีซี ต่อ น�้ำ 1 ตัน แช่นาน 30 นาที-1ชั่วโมง โดยมีข้อควรระวังใน การใช้คือ ควรมีเครื่องเพิ่มอากาศในน�้ำเพื่อเพิ่ม ออกซิเจน ควรใช้ในช่วงเวลาที่มีแสงแดด ไม่ใช้ร่วมกับสารเคมีอื่นที่มี ความเป็นพิษต่อสัตว์น�้ำสูง เช่น ด่างทับทิม ไม่ใช้ฟอร์มาลิน ที่เสื่อมคุณภาพ โดยฟอร์มาลินที่ปกติมีลักษณะใส ไม่มีสี หากมีตะกอนสีขาวไม่ควรน�ำมาใช้เพราะมีความเป็นพิษต่อ สัตว์น�้ำสูง ไม่ใช้ฟอร์มาลินปลอมหรือผิดมาตรฐาน เนื่องจาก ประสิทธิภาพการใช้งานต�่ำและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และ ควร เก็บไว้ในภาชนะทึบแสง หรือเก็บไว้ในที่ที่ไม่ถูกแสงโดยตรง มีอากาศถ่ายเทสะดวก “อย่างไรก็ตาม เกษตรกรต้องไม่ใช้สารฟอร์มาลินใน สัตว์น�้ำก่อนจับจ�ำหน่ายโดยเด็ดขาด เพราะหากมีการตรวจ พบจะมีความผิดตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 มี โทษจ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ” อธิบดี กล่าวเพิ่มเติมว่า สารฟอร์มาลินที่ใช้ในทางการ ประมงจัดเป็นวัตถุอันตรายประเภทที่ 2 ที่อยู่ในการควบคุม

8

ของกรมประมง ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 ซึ่งต้องมีการขึ้นทะเบียนและแจ้งการด�ำเนินการผลิต น�ำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ครอบครอง โดยเกษตรกรสามารถขอขึ้น ทะเบียนได้ที่ กลุ่มงานวิจัยสิ่งแวดล้อมทางการประมงน�้ำจืด สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากร ประมงน�้ำจืด กรมประมง โทรศัพท์ 0-2940-7103ในวันและเวลาราชการ. ที่มา : มกอช.(นสพ.เดลินิวส์ หน้า 10) วันที่ 14 ก.ค. 54

จีนเข้มงวดเชื้อ IHHNV ในกุ้งกุลาด�ำ เนื่องจากมีการตรวจพบเชื้อ Infectious Hypodermal and Hematopoietic Necrosis Virus Disease (IHHNV) ในกุ้งกุลาด�ำของไทย 4 ครั้ง ในเดือนพฤษภาคม 2554 จีนจึงขอให้กุ้งกุลาด�ำที่ส่งออกจากไทย ต้องรายงานผลการ ตรวจสอบเชื้อ IHHNV ในใบรับรองสุขอนามัยด้วย ตั้งแต่ วันที่ 4 กรกฎาคม 2554 เป็นต้นไป และกุ้งต้องมาจาก ฟาร์มเพาะเลี้ยงที่ขึ้นทะเบียนจากทางการ ส�ำนักงานที่ปรึกษาการเกษตรต่างประเทศ ประจ�ำกรุงปักกิ่ง วันที่ 14 ก.ค. 54


Vol. 2 Issue 24 กุ้งไทยสดใสลูกค้ารับราคาแพง ห้องเย็น แปรรูปกุ้ง ปรับตัว รับมือภัยธรรมชาติ โรคระบาดถล่ม ผลผลิตกุ้ง ผลิตสินค้ามูลค่าเพิ่ม ด้วยวิธีใช้วัตถุดิบกุ้งน้อยลงแต่ขาย ได้ ร าคาสู ง ขึ้ น รั บ ออร์ เ ดอร์ ล ่ ว ง หน้าสั้นลง 1-2 เดือน เผยหลังส่ง สัญญาณถึงลูกค้าแจ้งผลผลิตกุ้งไทย ลดราคาสูง ลูกค้าเผ่นหนีซื้อประเทศ อื่น สุดท้ายหันกลับซบอกไทยเพราะ ทุกประเทศประสบเหมือนกันหมด นายอนุรัตน์ โค้วคาสัย ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ ฝ ่ า ยการตลาดและ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ ฝ ่ า ยปฏิ บั ติ ก าร บริ ษั ท ยู เ นี่ ย นโฟรเซ่ น โปรดั ก ส์ จ�ำกัด เปิดเผยกับ "ฐานเศรษฐกิจ" ว่า “จากการที่ตั้งแต่ปลายปีที่ผ่านมาถึงต้นปีนี้พื้นที่ภาค ใต้แหล่งผลิตกุ้ง แหล่งใหญ่ของประเทศไทยประสบปัญหา อากาศแปรปรวน ฝนตกน�้ำท่วมผิดฤดูช่วงเดือนมีนาคมเมษายน ซึ่งเป็นช่วงที่ผลผลิตกุ้งออกมากที่สุด และหลัง จากน�้ำลดได้เกิดปัญหาโรคระบาดในกุ้ง และปัญหาความ เค็มในบ่อเลี้ยงกุ้งลดลง ซึ่งล้วนเป็นอุปสรรคต่อการเลี้ยง กุ้งเป็นอย่างมาก กระทั่งส่งผลให้ราคากุ้งสูงขึ้นกว่าทุกๆปี” จากสถานการณ์ดังกล่าวทางสมาคมอาหารแช่เยือกแข็ง ไทยได้แจ้งให้กับลูกค้าทั่ว โลกรับทราบว่านับจากนี้โอกาส ราคากุ้งไทยจะถูกเหมือนในอดีตคงจะไม่มีให้เห็น อีกแล้ว เพราะปกติช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน รัฐบาลจะต้องมี โครงการรับจ�ำน�ำกุ้ง แต่ 1-2 ปีที่ผ่านมาสถานการณ์ได้ เปลี่ยนแปลงไปมากเพราะราคากุ้งสูงตลอดไม่จ�ำเป็นต้อง มีโครงการรับจ�ำน�ำแต่อย่างใด ผู้ซื้อจึงควรยอมรับราคาที่ สมเหตุสมผลของวัตถุดิบและราคาที่เปลี่ยนแปลงไป และ ควรจะสั่งซื้ออย่างต่อเนื่องสม�่ำเสมอหากจะรอซื้อช่วงราคา ลงคงไม่มีแล้ว อ่านต่อคลิก http://www.thannews. th.com/index.php?option=com_content&view=articl

e&id=74367:2011-07-11-03-13-21&catid=87:2009-02-0811-23-26&Itemid=423 ที่มา ฐานเศรษฐกิจ วันที่ 10 ก.ค. 54

มะกันแพ้เวียดนามอีกคดีทุ่ม ตลาดกุ้ง ส� ำ นั ก ข่ า วเอเอฟพี ร ายงานจาก นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ว่าเวียดนามได้รับชัยชนะยกแรกเหนือ สหรัฐอเมริกาเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม ในการฟ้องร้องคดีต่อองค์การการค้า โลก(ดับเบิลยูทีโอ) เกี่ยวกับมาตรการ ป้องกันการทุ่มตลาดที่สหรัฐก�ำหนดขึ้น

มาใช้กับกุ้งแช่แข็ง ดับเบิลยูทีโอพบว่าวิธีการค�ำนวณหาส่วนต่างที่ติดลบให้ เป็นศูนย์หรือที่เรียก ว่า"ซีโรอิ้ง" ที่สหรัฐน�ำมาใช้ค�ำนวณ ส่วนเหลื่อมล�้ำการทุ่มตลาดไม่สอดคล้องกับกฎหมายการ ค้า ระหว่างประเทศ และด้วยเหตุนี้ต้องหยุดใช้มาตรการ ดังกล่าวนี้ ข่าวระบุว่า ที่ผ่านมาสหรัฐแพ้คดีส�ำคัญเกี่ยวกับ "ซีโรอิ้ง" ที่ ดั บ เบิ ล ยู ที โ อแทบจะทุ ก คดี ทั้ ง ต่ อ อาร์ เ จนติ น า บราซิ ล แคนาดา เอกวาดอร์ สหภาพยุโรป (อียู)ญี่ปุ่น เม็กซิโก และไทย รวมทั้งได้สัญญาต่อประเทศคู่ค้าของตนเมื่อเดือน มกราคมที่ผ่านมาว่า จะยกเลิกใช้วิธีการดังกล่าวนี้ทว่าเมื่อ เดือนมีนาคมที่ผ่านมา กรรมาธิการการค้าระหว่างประเทศ ของสหรัฐได้ลงมติให้ขยายเวลาในการใช้วิธี ค�ำนวณอัตรา ภาษีแบบซีโรอิ้งกับกุ้งน�ำเข้าจากไทย จีนเวียดนาม บราซิล และอินเดียไปอีก 5 ปี ที่มา อินโฟเควสท์(มติชน) วันที่ 13 ก.ค. 54

9


TFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEF 12 Jul - 18 Jul 2011

'ทูน่า' 5 ใน 8 ชนิดเสี่ยงใกล้สูญพันธุ์ ปลาทูน่านับเป็นปลาที่นิยมบริโภคกันทั่วโลก แต่ปลากลุ่ม นี้ไม่ต่างจากสัตว์อีกหลายชนิดที่พร้อมจะสูญพันธุ์ได้ตลอด เวลา โดยขณะนี้สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ และทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) ออกมาเตือนแล้วว่า ปลา ทูน่า 5 ใน 8 ชนิดเสี่ยงใกล้สูญพันธุ์ จ�ำเป็นต้องเร่งรีบ ด�ำเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อป้องกันการท�ำประมงมากเกินไป นักวิจัยเปิดเผยว่า ปลาบางชนิดถูกล่ามากเกินไป ใน ขณะที่มีความสนใจอนุรักษ์น้อยเพราะมีราคาสูงเชิงพาณิชย์ นอกจากนี้ยังเป็นเรื่องยากที่จะออกกฎระเบียบควบคุมการ ประมงนานาชาติที่มุ่ง น�ำปลาที่มีอยู่มาใช้ประโยชน์ ส�ำหรับ ปลาทูน่าที่เสี่ยงสูญพันธุ์ 5 ชนิด มี 3 ชนิดมีความเสี่ยงสูญ พันธุ์ทั่วโลก ได้แก่ เซาเทิร์นทูน่า แอตแลนติกทูน่า และ แปซิฟิกทูน่า ที่ก�ำลังได้รับผลกระทบ ซึ่งเกิดจากราคาปลา มีมูลค่าสูง โดยปลาเซาเทิร์นทูน่าถือเป็นชนิดที่มีความเสี่ยง ใกล้สูญพันธุ์สูงที่สุดตาม บัญชีแดงของ IUCN ขณะที่อีก

10

2 ชนิดเสี่ยงเกิดปัญหาดังกล่าวเช่นกันหากไม่มีมาตรการ อนุรักษ์มาป้องกัน ได้ แก่ บิ๊กอายทูน่าและกลุ่มทูน่าครีบ เหลือง ส่วนปลาอื่นๆที่เสี่ยงสูญพันธุ์ ได้ แก่ ปลากระโทง สีน�้ำเงินและขาว ซึ่งติดอัน 1 ใน 3 ปลาที่เสี่ยงสูญพันธุ์ ทั่วโลกด้วย ที่มา อินโฟเควสท์(โลกวันนี้) วันที่ 13 ก.ค. 54


Vol. 2 Issue 24

สถานการณ์ด้านเกษตร ภาวะตลาดน�้ำผลไม้กระป๋องประเทศสหรัฐ อาหรับเอมิเรตส์ สภาวะตลาดน�้ำ ผลไม้ของสหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์(ยูเออี)พบว่า มี แ นวโน้ น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เนื่องมาจากความนิยม บริโภคของประชากรภายในประเทศซึ่งพบว่าทีอัตราการ ขยายตัวปีละประมาณ 10% และยังมีความต้องการเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โดยการผลิตน�้ำผล ไม้ภายในประเทศสามารถตอบสนองตลาดได้เพียงร้อยละ 56 จากความต้องการทั้งหมดและยังไม่รวมการน�ำเข้าเพื่อ การส่งออก ซึ่งท�ำให้ยูเออี มีการน�ำเข้าน�้ำผลไม้จากกลุ่ม ประเทศต่างๆ และหนึ่งในนั้น คือประเทศไทย โดยไทยมีการส่งน�้ำผลไม้ไปยังยูเออีเพิ่ม ขึ้นเมื่อเมื่อเปรียบเทียบระหว่างปี 2549 กับ ปี 2550 พบ ว่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 47 และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆซึ่ง ถือเป็นโอกาสที่ดีของอุตสาหกรรมน�้ำผลไม้กระป๋องของไทย ผู้ประกอบการสามารถขยายตลาดให้กว้างขึ้นได้โดย การเพิ่ ม ความหลากหลายให้ กั บ สิ น ค้ า เช่ น การเพิ่ ม รสชาติของน�้ำผลไม้ เพิ่มวิตามิน การเพิ่มคุณประโยชน์ ต่างๆให้เหมาะกับกลุ่มคนรักสุขภาพ การเพิ่มสีสัน หรือ การสร้างเครื่องหมายการค้าใหม่ ซึ่งจะเป็น ปั จ จั ย ที่ ช ่ว ยผลักดัน การส่ง ออกน�้ ำ ผลไม้ได้ นอกจากจะให้ความ

ส�ำคัญกับโภชนาการแล้วยังต้องใส่ใจในเรื่องคุณภาพสินค้า ให้ได้มาตรฐานเพราะผู้บริโภคในกลุ่มนี้จะเข้มงวดเกี่ยวกับ คุณภาพของอาหารที่น�ำเข้า และต้องให้ความส�ำคัญฉลากซึ่ง ต้องระบุรายระเอียดอย่างชัดเจนและถูกต้อง เช่น ชื่อสินค้า ส่วนผสม วันผลิตและวันหมดอายุ พร้อมทั้งภาษาอาราบิค การน�ำสินค้าเข้ายูเออี จะต้องมีเอกสารประกอบการน�ำ เข้าคือ 1. Invoice และ Certificate of Origin ประทับตรา รับรองจาก หอการค้าไทย และ Legalize จากสถานฑูต ประเทศสหรัฐ อาหรับเอมิเรตส์ ในประเทศไทย Bill of Lading และ Packing List 2. ต้องมีใบรับรองคุณภาพหรือสุขลักษณะ Health Certificate (ออกโดยหน่วงงานสาธารณสุขของไทย) จากที่กล่าวมาข้างต้นพบว่าตลาดน�้ำผลไม้จะขยายตัว เพิ่มขึ้น และนอกจากน�้ำผลไม้ สินค้าที่มีศักภาพของไทย อีกชนิดคือน�้ำสับปะรดเข้มข้น ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบที่ส�ำคัญ ในการท�ำน�้ำผลไม้รวม ดังนั้นไทยในฐานะผู้ผลิต/ส่งออก น�้ำสับปะรดที่ส�ำคัญของโลก ควรใช้โอกกาศนี้ในการเจาะ ตลาดและขยายตลาดเข้าไปยังยูเออี และยังสามารถใช้ยูเอ อีเป็นแหล่งกระจายสินค้าไปยังภูมิภาคตะวังออกกลางและ ใกล้เคียงได้อีกด้วย ที่มา: ส�ำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองดูไบ (มิถุนายน 2554) รายละเอียดเพิ่มเติมตาม www.depthai.go.th/ dep/doc/54/54002674.doc

11


TFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEF 12 Jul - 18 Jul 2011

UN เตือนเอเชียกลางอาจเกิดศึกแย่งน�้ำ โครงการสิ่ ง แวดล้ อ ม แห่งสหประชาชาติ (UNEP) เผยรายงานการประเมิ น สภาพแวดล้อม “อามู-ดาร ยา” แม่น�้ำสายหลักยาว 2,500 กม. ที่ ไ หลผ่ า น 4 ประเทศในเอเชียกลาง คือ ทาจิกิสถาน อุซเบกิ สถาน เติ ร ์ ก เมนิ ส ถาน และอัฟกานิสถาน เมื่อ 11 ก.ค. ระบุว่าสภาพแวดล้อม และระบบนิเวศในแต่ละช่วงของแม่น�้ำได้รับผลกระทบอย่าง หนัก จากนโยบายการเกษตรของทั้ง 4 ประเทศตลอดช่วง 50 ปีที่ผ่านมา สาเหตุหลักเกิดจากการใช้น�้ำมหาศาลเพาะปลูกฝ้ายเพื่อ ป้อนเข้าสู่ระบบ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ซึ่งเติบโตขึ้นอย่าง มาก หลังยุคอดีตสหภาพโซเวียตล่มสลาย นอกจากนี้ การใช้ยาฆ่าแมลงและสารเคมีเร่งผลผลิตใน การปลูกฝ้ายยังท�ำให้เกิดการปนเปื้อน ในแม่น�้ำและท�ำลาย ความอุดมสมบูรณ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ส่วน โครงการสร้างเขื่อนท�ำให้แม่น�้ำเปลี่ยนทิศทาง จนบางช่วงแห้งขอด ชนพื้นเมืองซึ่งเคยท�ำประมงน�้ำจืด ต้องเปลี่ยนอาชีพและวิถีชีวิต และการเพิ่มขึ้นของจ�ำนวน ประชากรในรอบ 50 ปี จากเดิม 14 ล้านคนในปี 2503 กลายเป็น 50 ล้านคนในปี 2553 ส่งผลให้ภูมิภาคริมแม่ น�้ำอามู-ดารยาเสี่ยงต่อภัยแล้งอย่างไม่มีทางหลีก เลี่ยง และ อาจน�ำไปสู่การท�ำสงครามแย่งชิงน�้ำในอนาคต ที่มา : มกอช.(ไทยรัฐ) วันที่ 14 ก.ค. 54

เกาหลี ใ ต้ เ ล็ ง ขยายพื้ น ที่ เ พาะปลู ก ในต่ า ง ประเทศ เหตุราคาอาหารพุ่งสูงขึ้น เกาหลีใต้ ซึ่งเป็นประเทศผู้ซื้อข้าวโพดรายใหญ่อันดับ สามของโลก วางแผนขยายพื้ น ที่ ท� ำ การเกษตรในต่ า ง ประเทศเพื่อเพาะปลูกพืช เช่น ข้าวโพด และ ข้าวสาลี เพื่อ ให้เสบียงมากพอในช่วงที่ราคาอาหารพุ่งสูงขึ้น

เมื่อวันที่ 10 ก.ค. 2554 กระทรวงเกษตรเกาหลีใต้ กล่ า วว่ า เกาหลี ใ ต้ ต ้ อ งการให้ มี พื้ น ที่ เ พาะปลู ก ในต่ า ง ประเทศประมาณ 380,000 เฮคตาร์ภายในปี 2561 ซึ่งขนาด พื้นที่ดังกล่าวจะผลิตข้าวโพด ข้าวสาลี และถั่วเหลืองรวม กันได้ประมาณ 1.38 ล้านตัน หรือ 10 %ของการน�ำเข้า ธัญพืชหลักทั้งสามชนิดประจ�ำปี เกาหลีใต้ต้องพึ่งพาการน�ำ เข้าข้าวโพดและข้าวส! าลีจึงพยายามเพิ่มปริมาณเสบียงใน ขณะที่ราคาอาหารทั่วโลกพุ่งสูงขึ้น โดยในปี 2553 ราคาซื้อ ขายข้าวโพดล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเพิ่มขึ้น 63 % ขณะที่ ราคาถั่วเหลืองเพิ่มขึ้น 42% และ ราคาข้าวสาลีเพิ่มขึ้น 22 % รัฐบาลเกาหลีใต้จะช่วยบริษัทของประเทศเช่าพื้นที่หรือ ซื้อหุ้นในบริษัทต่างชาติ โดยให้ความส�ำคัญกับประเทศ ฟิลิปปินส์ กัมพูชา ยูเครน อินโดนีเซีย รัสเซีย ก่อน นอกจากนี้เกาหลีใต้ยังวางแผนการค้าธัญพืชกับประเทศ ต่างๆเช่น บราซิล รัสเซีย ยูเครน หลังจากเมื่อเดือนเมษายน 2554 บริษัท Korea Agro-Fisheries Trade Corp ซึ่ง ด�ำเนินการโดยรัฐบาลเกาหลีใต้ได้ร่วมกับสหรัฐฯ ในการค้า ธัญพืชในตลาดชิคาโก ที่มา : มกอช. (Bloomberg) วันที่ 12 ก.ค. 54

12


Vol. 2 Issue 24 กรมส่ ง เสริ ม การเกษตร เร่ ง แก้ ป ั ญ หา สับปะรดกระจุกตัวหน้าโรงงาน ส่ง “มิสเตอร์ สับปะรด” ลงพื้นที่แนะน�ำเกษตรกรกระจาย ผลผลิต เพื่อแก้ปัญหาระยะยาว

นาย อนันต์ ลิลา รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร เปิดเผยว่า เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน เป็นช่วงที่มีผลผลิต สับปะรดออกสู่ตลาดจ�ำนวนมาก ส่งผลให้ราคาต�่ำลง และ มีผลผลิตไปกระจุกตัวติดอยู่หน้าโรงงานเพิ่มขึ้น จากเดิมวัน ละ 500-600 ตัน (ภาคตะวันออก จ.ระยอง) เป็น 1,200 ตัน ขณะเดียวกันราคาที่โรงงานรับซื้อจากกิโลกรัมละ 7.10 บาท ลดเหลือ 5.40-5.90 บาท รองอธิบดีกล่าวว่า ในการแก้ปัญหาระยะสั้น เบื้องต้นได้ ขอความร่วมมือโรงงานเดินเครื่องการผลิตอย่างเต็มที่ เพื่อ รองรับผลผลิตที่กระจุกตัวช่วงระยะสั้นประมาณ 3 สัปดาห์ นอกจากนั้นยังมีผลผลิตจากเขตอื่นที่ไม่มีโรงงาน เช่น ภาค เหนือ ข้ามเขตมาตัดคิวหน้าโรงงาน ซึ่งกรมได้มีหนังสือขอ ความร่วมมือไปยังจังหวัดต้นทางที่ผลผลิตล้นไปจังหวัด อื่น ให้ก�ำหนดมาตรการแก้ไขภายในจังหวัด

ส่วนระยะยาว แนะน�ำให้เกษตรกรกระจายการปลูกไม่ ให้พร้อมกันผลผลิตก็จะทยอยออก และเพื่อให้การแก้ปัญหา เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ กรมได้มอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้รับ ผิดชอบงานสับปะรดระดับจังหวัดเรียก “มิสเตอร์สับปะรด”ผู้ รอบรู้และเข้าใจเรื่องอุสาหกรรมสับปะรดครอบคลุมทุกด้าน ท�ำหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ให้เกษตรกรในพื้นที่ รวมทั้งให้ เกษตรกรวางแผนการผลิตตลอดทั้งปี เพื่อไม่ให้ผลผลิต กระจุกตัวสร้างปัญหาให้โรงงานและเกษตรกร นายอนันต์ กล่าวอีกว่า สาเหตุอีกประการที่ท�ำให้ราคา สับปะรดต�่ำลง คือ เกษตรกรตัดสับปะรดดิบไม่ได้คุณภาพ ส่งโรงงาน เพราะเกรงราคาจะลดต�่ำลงเรื่อยๆ จึงขอความ ร่วมมือไปยังชาวสวนให้เก็บสับปะรดสุกพอดี อย่าเก็บดิบ ส่งโรงงานเพราะจะยิ่งเป็นการซ�้ำเติมปัญหา และไม่เป็นผล ดีต่อทุกฝ่าย ที่มา : มกอช.(นสพ.คมชัดลึก หน้า 18) วันที่ 14 ก.ค. 54

13


TFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEF 12 Jul - 18 Jul 2011

สถานการณ์ด้านการค้า เผยออสเตรเลียจะเก็บภาษีคาร์บอนตันละ 759 บาท หนังสือพิมพ์ซิดนีย์มอร์นิงเฮรัลด์ในออสเตรเลียรายงาน ว่า รัฐบาลจะเก็บภาษี 23 ดอลลาร์ออสเตรเลีย (ราว 759 บาท) ต่อการปล่อยก๊าซคาร์บอน 1 ตัน ตามมาตรการเก็บ ภาษีการก่อมลภาวะ แต่รัฐบาลไม่ยืนยันข่าวนี้ ออสเตรเลียเป็นหนึ่งในประเทศที่ปล่อยก๊าซคาร์บอนต่อ หัวประชากรมากที่สุดในโลกเพราะพึ่งพาถ่านหินในการผลิต ไฟฟ้าและพึ่งพาการส่งออกทรัพยากร รัฐบาลเตรียมเก็บ ภาษีคาร์บอนในอัตราต่อตันกับธุรกิจใหญ่ตั้งแต่กลางปีหน้า จากนั้นจะใช้แผนการค้าคาร์บอนที่โยงกับตลาดคาร์บอน โลกภายใน 5 ปี ซิดนีย์มอร์นิงเฮรัลด์ระบุว่า ตัวเลขภาษี 23 ดอลลาร์ ออสเตรเลีย เป็นการประนีประนอมระหว่างรัฐบาลพรรค แรงงานของจูเลีย กิลลาร์ด ที่เสนอ 20 ดอลลาร์ออสเตรเลีย กับพรรคกรีนส์ที่เสนอสูงกว่านั้น ตัวเลข 20 ดอลลาร์ ออสเตรเลี ย จะท� ำ ให้ ค รั ว เรื อ นต้ อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ ่ า ยเฉลี่ ย สัปดาห์ละ 7.80 ดอลลาร์ออสเตรเลีย (ราว 257.40 บาท) หรือปีละ 406 ดอลลาร์ออสเตรเลีย (ราว 13,400 บาท) ขณะเดียวกัน หนังสือพิมพ์ดิออสเตรเลียรายงานว่า รัฐบาลได้ลดจ�ำนวนบริษัทที่ต้องจ่ายภาษีคาร์บอนลงครึ่ง

14

หนึ่งจาก 1,000 แห่ง เหลือ 500 แห่ง ครอบคลุมบริษัท ผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน เหมืองแร่ โรงถลุงเหล็ก โรงถลุง อะลูมิเนียม ด้านนางนิโคลา ร็อกซอน รัฐมนตรีสาธารณสุข และการชราภาพ เปิดเผยต่อสถานีวิทยุเอบีซีว่า จะเปิดเผย รายละเอียดภาษีคาร์บอนทั้งหมดในวันอาทิตย์นี้ คาดว่าคณะ รัฐมนตรีจะประชุมกันในวันเสาร์เพื่อให้ความเห็นชอบ ที่มา : มกอช.(ส�ำนักข่าวไทย) วันที่ 13 ก.ค. 54

“พาณิชย์” เตรียมหาทางออกปิดการเจรจา รอบโดฮา “พาณิชย์” จัดประชุมวีดีโอคอนเฟอเรนซ์ ดึงทูต WTO ร่วมก�ำหนดท่าทีเจรจา ร่วมกับตัวแทนภาคเอกชน หวังหา ทางออกปิดการเจรจารอบโดฮาที่ยืดเยื้อมากว่า 10 ปี ให้ ได้ข้อยุติภายในปลายปีนี้ เมื่อ วันที่ 13 ก.ค. นางศรีรัตน์ รัษฐปานะ อธิบดีกรม เจรจาการค้าระหว่างประเทศ เปิดเผยถึงการติดตามความ คืบหน้าการเจรจาการค้ารอบโดฮา ภายใต้กรอบองค์การ การค้าโลก (ดับบลิวทีโอ) ว่า “กรมฯ จะจัดประชุมผ่าน ระบบการประชุมทางไกล (วีดีโอ คอนเฟอเรนซ์) ที่กระทรวง พาณิชย์ ในวันที่ 14 ก.ค.นี้ โดยเชิญนายกฤษฎา เปี่ยม พงศ์สานต์ เอกอัครราชทูตไทยประจ�ำดับบลิวทีโอ และผู้ แทนระดับสูงของภาคเอกชน มาร่วมกันติดตามความคืบ


Vol. 2 Issue 24

หน้าการเจรจาการค้ารอบโดฮา และร่วมก�ำหนดท่าทีไทย ในการเจรจาในล�ำดับต่อไป หลังจากที่การเจรจารอบโดฮา ได้ยืดเยื้อมาแล้วกว่า 10 ปี” ส�ำหรับ สถานการณ์เจรจาล่าสุด ได้มีความพยายามที่ จะผลักดันให้สมาชิก หาข้อยุติบางประเด็นที่เป็นประโยชน์ กับประเทศยากจนที่มีการพัฒนาน้อย เช่น การยกเลิกภาษี และโควตา เป็นต้น เพื่อจะได้น�ำเสนอให้ที่ประชุมรัฐมนตรี การค้าดับบลิวทีโอ ครั้งที่ 8 ที่จะมีขึ้นในเดือนธ.ค.นี้ ให้ ความเห็นชอบ หรือที่เรียกกันว่า ข้อตกลงเดือนธันวาคม (December Package) ขณะเดียวกัน ยังมีเรื่องอื่นๆ ที่ประเทศก�ำลังพัฒนา เสนอเข้ามาเพิ่มเติม เช่น การอ�ำนวยความสะดวกทางการ ค้า การยกเลิกการอุดหนุนการส่งออก การจ�ำกัดการอุดหนุน ประมง เป็นต้น ส่วนการเจรจาเรื่องที่เหลือ เช่น การเปิด ตลาดสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ มีแนวโน้มที่ อาจจะก�ำหนดแผนการด�ำเนินงานในช่วง 1-2 ปีข้างหน้าต่อ ไป โดยยังไม่พยายามหาข้อยุติการเจรจาในชั้นนี้ อย่างไรก็ตาม ตนเห็นว่า จ�ำเป็นที่สมาชิกต้องช่วยกัน ผลักดันให้การเจรจารอบโดฮาหาข้อยุติให้ได้ใน ระดับหนึ่ง เพราะขณะนี้เริ่มมีสัญญาณชัดเจนว่าการกีดกันการค้าก�ำลัง ทวีความรุนแรงมาก ขึ้น หากสมาชิกสามารถบรรลุข้อตกลง กันบางอย่างได้ภายในสิ้นปีนี้ ก็น่าจะลดแรงกดดันการหันไป ใช้วิธีการกีดกันการค้าได้บ้าง

ดีเดย์19ก.ค.นี้ปรับขึ้นราคาก๊าซแอลพีจภ ี าค อุตสาหกรรม3บาท/ก.ก. นายณอคุณ สิทธิพงษ์ ปลัดกระทรวงพลังงาน เปิดเผย ภายหลังการประชุมคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) ว่า จากที่ค�ำสั่งคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 1 ก.ค. 54 เกี่ยวกับมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาขาดแคลนน�้ำมัน เชื้อเพลิง เพื่อเตรียมประกาศลอยตัวราคาก๊าซปิโตรเลียม เหลว (แอลพีจี) ในภาคอุตสาหกรรม กระทรวงพลังงานได้ สั่งการให้กรมธุรกิจพลังงานไปด�ำเนินการออกประกาศราย ละเอียดการเก็บเงินเข้ากองทุนน�้ำมันเชื้อเพลิง ก่อนประกาศ ใช้อย่างเป็นทางการและเก็บเงินส่งเข้ากองทุนน�้ำมันเชื้อเพลิง จาก อุตสาหกรรมที่ใช้ก๊าซแอลพีจี ในวันที่ 19 ก.ค. 54 นี้ นายณอคุณกล่าวว่า กลุ่มอุตสาหกรรมที่ใช้ก๊าซแอลพี จี จะต้องส่งเงินเข้ากองทุนน�้ำมันเชื้อเพลิงไตรมาสละ 3 บาท จากเดิมราคาก๊าซแอลพีจี 18.13 บาทต่อกิโลกรัม เมื่อรวมกับภาษีมูลค่าเพิ่มเข้าไปจะท�ำให้ราคาต่อกิโลกรัม ส�ำหรับภาคอุตสาหกรรมมีราคาอยู่ที่ 21.13 บาทต่อกิโลกรัม ประเมินการใช้ในภาคอุตสาหกรรมที่มีความต้องการใช้ก๊าซ แอลพีจี อยู่ที่ 60,000 ตันต่อเดือน หรือ 60 ล้านกิโลกรัม นั้น จะท�ำให้มีเงินไหลเข้ากองทุนน�้ำมันฯ อยู่ที่ 180 ล้าน บาทต่อเดือน หลังจากนั้นจะมีการเพิ่มอัตราการเก็บเงินเข้า กองทุนน�้ำมันฯ จากอุตสาหกรรมที่ใช้ก๊าซแอลพีจีเพิ่มอีกใน แต่ละไตรมาสคือ วันที่ 1 ต.ค. 54 ถัดมาคือ 1 ม.ค. 55 และ 1 เม.ย. 55 ที่มา มติชน วันที่ 12 ก.ค. 54

ที่มา ไทยรัฐ วันที่ 13 ก.ค. 54

15


TFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEF 12 Jul - 18 Jul 2011

ครม.ทิ้งทวนสั่งจับตาสินค้า9ชนิด น า ย วั ช ร ะ กรรณิการ์ รองโฆษก ประจ� ำ ส� ำ นั ก นายก รัฐมนตรี เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี นัดสุดท้ายได้รับทราบ มาตรการก� ำ กั บ ดู แ ล สินค้าและบริการ เดือนกรกฎาคมของกระทรวงพาณิชย์ พบ ว่า ได้จับตาดูสินค้าและบริการเป็นพิเศษแบบรายวันรวม 9 รายการ ทั้งน�้ำมันเบนซิน น�้ำมันดีเซล เนื่องจากราคาน�้ำมัน ดิบปรับตัวสูงขึ้น นอกจากนี้ยังจับตาดูปุ๋ยเคมีโดยเฉพาะ ราคาปุ๋ยยูเรียที่สูงขึ้น เพราะความต้องการใช้เพิ่มขึ้น ผล จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและความต้องการ อาหารที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งจีนซึ่งเป็นผู้ส่งออกปุ๋ยยูเรียรายใหญ่ ส่งออกปุ๋ยลดลง เพราะน�ำก๊าซธรรมชาติที่เป็นวัตถุดิบผลิต ปุ๋ยยูเรียไปใช้ในภาคอุตสาหกรรมในประเทศมากขึ้น และ สุดท้ายคืออาหารสัตว์ ราคาข้าวโพดมีความผันผวนขึ้น-ลง อยู่ในระดับสูง เนื่องจากช่วงนี้มีสินค้าอยู่ใน สต๊อกเพียงพอ จึงชะลอการรับซื้อ ส�ำหรับ กลุ่มสินค้าและบริการที่กระทรวงพาณิชย์จับตา ดูเป็นพิเศษ มี 8 รายการสินค้า คือ น�้ำตาลทรายที่พบว่า ผลผลิตอ้อยมีมากกว่าที่ประมาณการไว้ จึงไม่น่าจะมีปัญหา ด้านปริมาณ ส่งผลให้ราคาน�้ำตาลทรายในประเทศทรงตัว น�้ำมันพืช ที่รัฐบาลประกันราคารับซื้อน�้ำมันปาล์มดิบส่ง ผลให้ราคายังทรงตัวในระดับสูง เมล็ดถั่วเหลือง เนื่องจาก ราคาทรงตัวในระดับสูงผลผลิตออกสู่ตลาดน้อยลง อาหาร ปรุงส�ำเร็จ ที่ยังมีปัญหาเรื่องวัตถุดิบหลัก คือ เนื้อสัตว์ยัง คงอยู่ในระดับสูง ก๊าซหุงต้มที่พบว่าราคาปิโตรมินลดลงตาม ความผันผวนของราคาน�้ำมันดิบ แต่ยังอยู่ในระดับสูง แผ่น เคลือบดีบุก เหล็กแผ่นเคลือบโครเมียม เนื่องจากคาดว่า ราคาวัตถุดิบส�ำคัญ คือ เหล็กแผ่นรีดเย็นทีเอ็มบีพีจะปรับ ตัวสูงขึ้น เนื่องจากการตกลงซื้อในไตรมาสที่ 3 มีการปรับ ราคาเหล็กแผ่นเพิ่มขึ้น และยาป้องกันหรือก�ำจัดศัตรูพืช ที่ ราคาไกลโฟเสทยังคงทรงตัวในระดับสูง ที่มา อินโฟเควสท์(บ้านเมือง) วันที่ 13 ก.ค. 54

16

พม่าเลิกกีดกัน 15 สินค้าไทย ผู้ส่งออกเฮ! ยอดขายกระฉูด นาง ศรีรัตน์ รัษฐปานะ อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ เปิดเผยว่า กระทรวงพาณิชย์ของสาธารณรัฐ สหภาพพม่าได้ประกาศยกเลิกมาตรการห้ามน�ำเข้า สินค้า ไทยจ�ำนวน 15 รายการ ได้แก่ ผงชูรส น�้ำหวานและเครื่อง ดื่ม ขนมปังกรอบ หมากฝรั่ง ขนมเค้ก ขนมเวเฟอร์ อาหาร กระป๋อง บะหมี่ส�ำเร็จรูป เหล้า เบียร์ บุหรี่ ผลิตภัณฑ์ พลาสติก ผลไม้สด และสินค้าที่ควบคุมโดยกฎหมายอื่น แล้ว หลังจากที่ประกาศห้ามน�ำเข้ามานานกว่า 10 ปี แต่ ผู้น�ำเข้ายังจ�ำเป็นต้องขอใบอนุญาตน�ำเข้าจากกระทรวง พาณิชย์ของพม่า ส�ำหรับ สินค้าทั้ง 15 รายการนี้ ส่วนใหญ่เป็นสินค้า ที่ได้รับความนิยมของผู้บริโภคในพม่า โดยเฉพาะน�้ำหวาน และเครื่องดื่ม อาหารกระป๋อง รวมทั้งผงชูรส ซึ่งหลังจาก การยกเลิกการห้ามน�ำเข้า เชื่อว่าจะส่งผลดีต่อผู้ส่งออกไทย โดยตรง และคาดว่าในปี 54 มูลค่าการส่งออกของไทยใน สินค้า 15 รายการจะขยายตัวเพิ่มมากขึ้น โดยในปี 53 ไทย ส่งออกสินค้า 15 รายการ ไปพม่าคิดเป็นมูลค่ามากกว่า 7,700 ล้านบาท. ที่มา ไทยรัฐ วันที่ 18 ก.ค. 54


Vol. 2 Issue 24

สรุปการประชุม ครม. สรุปการประชุมครม. วันที่ 12 ก.ค. 54 ที่ เรื่อง สาระส�ำคัญ หน้า 5. ม า ต ร ก า ร ก� ำ กั บ กลุ่ม Priority Watch List (PWL) สินค้า 8 รายการ ได้แก่ (1) น�้ำตาล 7 ดูแลสินค้าส�ำคัญ 205 ทราย ผลผลิตอ้อย มีมากกว่าที่ประมาณการไว้ จึงไม่น่าจะมีปัญหาด้านปริมาณ รายการ และบริการ 20 ส่งผลให้ราคาน�้ำตาลทรายในประเทศทรงตัว (2) น�้ำมันพืช รัฐบาลประกัน รายการ ประจ�ำเดือน ราคารับซื้อน�้ำมันปาล์มดิบส่งผลให้ราคายังทรงตัวในระดับสูง เมล็ดถั่วเหลือง กรกฎาคม 2554 เนื่องจากราคาทรงตัวในระดับสูงผลผลิตออกสู่ตลาดน้อยลง (3) อาหารปรุง ส�ำเร็จ ราคาวัตถุดิบหลักคือ เนื้อสัตว์ยังคงอยู่ในระดับสูง (4) ก๊าซ LPG หุง ต้ม ราคาปิโตรมินลดลงตามความผันผวนของราคาน�้ำมันดิบ แต่ยังคงอยู่ใน ระดับสูง (5) ยางรถยนต์ ราคายางดิบยังคงทรงตัวในระดับสูง เนื่องจากความ ต้องการใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์มีอย่างต่อเนื่อง (6) เหล็กแผ่นเคลือบดีบุก (7) เหล็กแผ่นเคลือบโครเมี่ยม เนื่องจากคาดว่าราคาวัตถุดิบส�ำคัญคือ เหล็ก แผ่นรีดเย็น TMBP จะปรับตัวสูงขึ้นเนื่องจากการตกลงซื้อในไตรมาสที่ 3 มี การปรับราคาเหล็กแผ่นเพิ่มขึ้น (8) ยาป้องกันหรือก�ำจัดศัตรูพืชราคาไกลโฟ เสทยังคงทรงตัวในระดับสูง และบริการ 1 รายการ ได้แก่ บริการซ่อมรถ ที่มา: www.thaigov.go.th 12 ก.ค. 54 รายละเอียดดังเอกสารแนบ 7

17


TFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEF 12 Jul - 18 Jul 2011

อัตราแลกเปลี่ยน

18


Vol. 2 Issue 24

19


TFPA Trade & Technical

WEEKLY BRIEF 12 Jul - 18 Jul 2011

อัตราแลกเปลี่ยน THB 70.00

YEARLY MID RATES OF EXCHANGE OF COMMERCIAL BANGKOK IN BANGKOK 61.60

60.00 50.00 40.00 30.00

53.57 48.97

48.93

47.71 36.72

32.34

42.04 36.12

33.31

34.29

4.80

5.02

31.69

20.00 10.00

4.68

0.00

Year 2551 THB / 1 USD

20

2552 THB /1 GBP

THB / 1 EUR

2553 THB / 100 JPY

THB/CNY

20


TFPA TEAM Executive Director

วิกรานต์ โกมลบุตร E-mail:

vikrant@thaifood.org

Vol. 2 Issue 24

THAIFOODPROCESSORS’ASSOCIATION

Trade and Technical Manager

Tel : (662) 261-2684-6 Fax : (662) 261-2996-7 E-mail: thaifood@thaifood.org www.thaifood.org

Division-Fruit and Vegetable Products

สมาคมผู้ผลิตอาหารส�ำเร็จรูป ขอขอบคุณเว็ปไซต์ ดังต่อไปนี้

Administrative Manager ลินดา เปลี่ยนประเสริฐ

E-mail: linda@thaifood.org

สุพัตรา ริ้วไพโรจน์ E-mail:

supatra@thaifood.org

E-mail : fv@thaifood.org

Head of Trade & Technical วิภาพร สกุลครู E-mail:

vipaporn@thaifood.org

Trade and Technical Officer

อัญชลี พรมมา E-mail: anchalee@thaifood.org ธณัฐยา จันทรศรี E-mail: tanatya@thaifood.org

Division-Fisheries Products E-mail : fish@thaifood.org

Head of Trade & Technical ชนิกานต์ ธนูพิทักษ์

E-mail: chanikan@thaifood.org

1. http://www.thannews.th.com 2. http://www.thairath.co.th 3. http://www.bangkokbiznews.com 4. http://www.tnsc.com 5. http://www.prachachat.net 6. http://www.dailynews.co.th 7. http://www.acfs.go.th 8. http://www.posttoday.com 9. http://www.matichon.co.th 10. http://www.naewna.com

Trade and Technical Officer

รัตนา ชูศรี E-mail: rattana@thaifood.org ธนัญญา ตั้งจินตนา E-mail: thananya@thaifood.org

IT Support Officer ปวัณรัตน์ ใจกล้า

E-mail: pawanrat@thaifood.org

Data Management Office ญดา ชินารักษ์

E-mail: yada@thaifood.org

Commercial Relation Executive กัญญาภัค ชินขุนทด

E-mail: kanyaphak@thaifood.org

Administrator

วสุ กริ่งรู้ธรรม E-mail: vasu@thaifood.org ศิริณีย์ ถิ่นประชา E-mail: sirinee@thaifood.org

Accountant

วิมล ดีแท้ E-mail:

เสนอข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………………………………………………… ……………......................................................

wimon@thaifood.org

21


du:",",oozQ'*J"D

OU

61Un{lUnfUsn::iln'r5 a t q a r t a

il ruul n1: tFl5Unn0tLauel{nil LL14{11 n tt

c(bb nUUn:{tnUil n:{tYlTl'l ooooo l t

6'n:nn1nil Jdc

tSor

teddd

totEuuttrgr,{rdrua'uuurln:rnr:finurulluritfiuq:fiosioLdo{nrnYgrnvron{u tdl

dtt^oC,'

t:uu

u1unail1nil4t{ano1il1:6'tt:sIu

drdei.rurdru o. te.

:ruasldunuavriruuqnr:a'uuur tLuunouiun'r:tdriu#ruuur

dt ud r rin { 1u n il s n : : il n r : rYnru 1n 1: r Ft: refi fi r u a v #l n il $vi.rr r fi 16"i r i'r r dl

u3rivr tnitrotmoir,aTainurJoia tov'luotoa drrTn rfludrlinurs{1rfiuTn:rnr:frnurur.rur{tfiuo:fioriordo u.r (Business Continuity P[an:BCP)rdod'rnir'iloL?{uo$auuu?vr1.:n1:6'rrriruruuritf,ug:fiodordor tu:vrTuorrin: gtqrtdtJSuUvvrq

n1n:fiLLauLontuhirtf uilln:fi1ua1na ttaslf,ouru{nuttr{un'r:florrTuuauu::1il14101:rufiuLn4{r'tel d a d |

vI.n.bdden-toddg', d.:uflu rraru:vdutrfi

lunr:d eirrinnurlpiiruffuduinrgrln:{n1:'r rit,runhifinr:dururtuiunsd uo n:nn1nil a,gt&a bddd t?41 d.mo-o6n.sro U. 6U140{ulilg LDtlJ oo 91fl vrrInufiimnd:varri rdorirrauouasiuflrnrruFrrrfiuqioir{:1u{1un1:frnururlun"rrfiuq:fioriordor lnuovdrnmurfiudtdo'rnnr: #ruruutJiurj:.r:1u{1un1:finurr lvifinrrun:ufiruauu:niurnei,tfr, ravilriruo'''udldurdorarrur:nrirtill{ I

d1

IU qeroqtJau&qovfJfoal

ttJuuurmrr-Lunr:d'rni'ruruuq:fioriorilor:rltdrr'rrn'rnalnn'r:rirriu4ua InurfioilTurnr:rirrfiurru:vuix : srTu il : vlun :v d'uuilr umuriTrTu nUua uav: vduol rin: sioliltei drrjnvrur

u r,ilrirlnr:duuurpYlnd

a{il urfiuuuuumouiu nr : uiriur #uuur (mr udrdei.rrr dru to)n1u tr

&

g

u

I

{

ru

s

{

.

d

i

auI ou q ru6r fr'rfi nI rur d r uu u n ou fu'LrJri.ruil 1u rarTil : ff 1: ots-tedb-dddo r,t5o mr r d rr a pwc-bcpteam@th.pwc.com rarnvirufirioa.rd'uil:sn1:'[n nlruTfiorriou'l{41?u:1n: uriarn uurutarTvr:fr'vw{ t

otE-mdd-oooorio <enoau6o uxaTljirur torturfi:utiutrutatTvr:frrw{ odo-dob-ddsnen Ud

t0ttan{n?1iluun0

O' Go,^ -alciruntcrrs q1 iloxllr1o filflricr A Frbl

Rrsiniit$R : i ril*n{ o-rrtfi}^rrr 4rt1vr

x[ 1

e cn+. O(/a4.

Utor^,/p;

t ^' /ttal.>rr\7 fiiv1ff

(u'mlolfiumi ruvror)

rtpcl tu) oa*->t fvirU rg4;r^

7

h'n.A-t4:olmtrBnl:'lrJfrrifi:ttn1:rvlu

tar rBnr : nruun: :il nr : t{ruur n1: trl:ufifiaunvf,i nruuvirt'r fi dl

il : vorunruun: :il n1: rirnunr: frnurTn:r nr : frnururu urirrfiuo: fiosiordo.l I

rirrinrfsu vrr r ln:ur fio urfinnmuau r: ntunr : udrrTu Tm: ob-todo-dodd rio rutEa Tu:at: ob-bdo-od[Eo fi.r toto

/;


d

d,

Y

Cl.lYld.ttllO?U o.

n1: #rJil urln : r nr :6 nur uruuriTrfius:fi osiordo.:n1nffi rraurontu ta!

(BusinessContinuity Ptan - BCP) aLt

o. ?ldflfl1TUas[U9lt{A t

qY

I

(niln.t.)nru16'niv:lflfrudfr ifluraLnrour4rJlu-Lranruvn::rnr:florriuLLavu::lvna1fi1:rufiuuvirtrfi rJorfi'uttauurrtvr1ff1D'r:fuJ-r-u il.fi. toddo'Lunr:6'orlir*zuunr:fl0rfi'uuasul:tvn?{1f,1:run'uruvirtrfr y{.fi.bddsn-tsdd6't fifin:ounqilalol:ruriuuuavfiufirifirJ:srnvrdtl uvrofllffrrinatn Tn:rafrr firufluirruu:vfiutT n1:u{nuuryrl$aunl::orfun'ufrrid drdoutJulorrSlfrufifi odrrl:finu rJ:vrvrnlvrua'rtrorn:ouildnn1:lLau nfi arr{n:fr'rnrnfoLLavLontuualurirurirliltri rnfunr:{'pnirrr{uflnrfiu'Lun'rru:?rJ uonoT :vrfiuuilnfA;iT lirt#nr:uiur:6'nrnr: uurrfiorTurriuuruu:vdutrfi rirr,fiunT :{rniruzuu:oriulirrfirifiuavr,ra4qnriufirflu;rjo::u v

4Y

u

U

v

e

/

|

r

v

9tt

ua

dt

u l q

uuuvuo"zo]<dtdrudal

U9

nluriarfio{vr1{Dino'Luorri:rurirtilr{luLonn1il raiohifirj:vf,vrBnrnrvirfinr: u30 iouradrlpiuouurrulri'rirrin{lunruvn::rnr:lTzuuln1:rrl:rgrfiouav#rnrrrvirtrfi,"OlUn,'.tu'1" " NESDB") rirrfiunr:finurr3orsl'rndmilior6'enirdouauoutuuLru?yr1{n'r:dordruzuu BCPtu:vn-uorrin:nrniouav I u v u a d ia, d s 4 firn:aunailn1:ri114uFl rontufrrtJurJln:g'ru?{1na rfiorLurrTurrruunr:rJorrluuavu::rvr1d1fi1:run'uuvirtrfir :vrfluu dorirrYufirfiurdor rfiotrinr: il:vunurorfiufirifi nalnnr:rirriuqu,a uavnr:iliurJ:uatofieuulnluil1u Inruteid'n16onlri' ritfiunr:roroqrin:nrniou,avuontutunl?u!r4manrduuavn-ufirifirflutrjodxfirJ:sf,ilBnrn qirriel ("tnftrornoirarainujoia" "1460 "uitivt" r4io"PwC")rflud u3rivr tiliqrarnoirarrinurJoia uov,Juoroa UU 4 d

4

q q

4

("In:rnr:")Tnafirourrrr{lufirjrrauo (BCP) d'rriahd rJinurTn:rnr:finuTuzuurfrufiuq:fioriorfior lrufi o - fliouuurn^nnt:d'q?ir[ruu BCP gcp:vdutTfi:vdurarirurrurirriunra rae:vduorrin:toqluu rrufi b - nr:frnurirn:lsr,{ U j gCp:vfrut'rd:vrr'uurirur rrufr en- nrifrflurTrn:rvri u lu a il:vtun j

{ luvr d - nl:fi nulu:v Lnvrn'11il tau{vr01QLnato{ Lvr u $av ttu?vrl{ttnLfl i u o ' / u ' BCp:vql'uorrin:nrniotLautontu ' d v {1uyt d - nltanyl't:1{1J0tfluotnu?nuL[u?vn.1n1:Qavt't BLP :vFtuo{nn: 4

v:'tu{1un1:Fl nulfluuailH:ru {1uvtb - n1:anvt'tuo tfluottuvtLn iuoL,

BCP:vpr'uorrin:vr' flogiu Tn:rnr:lpirftfiulrfiwrufi< nr:o'ordri'xdoraualfiurrTuLLu?vr1{nr:d'onir J

u

S

u

oi

o

qs

.,

d

rd

u

4Y

<

u

I

d

|

I

4

L9tFl:uuunfldn?'llJfflnryto{n1:il?{?u:']uuo{o{nn:vrn ttotJLu{nu$r.ru:uoutlF| t{a1un{1u1LLavu:uytylu:nu1'r v

lLav:vd'uorrin:t1, BCP#r:voYutrfi :vdurnrirurTurirrTuaLLa nrndrulfiolrinr:finurrfiurfi'uuuruxnr:6'rnir U

d.r6'nrt#finr:#llurrfioYuflruav:vorunrrrfipruiuorn rflutrJodxnnfror uavfinrrlrflulrtlpiluvrrrrJfrrifi v,

!fluri il:vtnvt r,iy:rnrurofiri'rnrnioLLavLontu BCPlur'|:v16ufirirn'ru rfiurfi'uir{:'ru{1urzuuritfiuo:fiorioufior uiqdrlu

v

nr:dnTn:rairr nnuil'ru uasnr:ilnrJorTn:rair.rduoru Tn:rairr**rr"'rorrrj:vrvrnlilu :urfiuuriorirn"u 4t

d'd.l

v

nr:riruunuilrurrufifirarirfrrirfiurrua uavTpruLav!1v nilvn::ilnr:florriuln:rairrfiuf,luraunatnnr:rirfi'uqua uavnr:il:ua]u{1u odrrUrnrn:rr{orauouruvrdarn'uttu?vn{nr:o'prdruruun"rrfruq:iloriorilor:vpruarnn: t

t

,

l,

o

I

u

Aou

.i

v

o

a

d

v

o

o

a

a

.{

,

q

,,

(

u

ttd

r

lldr

I

q

ty't0u1n?1]Jnntuu$aut0tauouuvalntJvr:{nfu?9}r LLavHtJu:vaun1:ruiltuunailtu1l4:J1u :u14?1{n1n:f,1[AV!0ntu d.uq.l!l

4

A

rt

I

U

o

.l

u

6l

rq

Uq

ufiarirtrt{urururrtunr:rJflrifiroruilrauufirfiurdorriotrJ lrJtdrJ:vnounr:o'nrir:rumunr:finurar-iuarq:ni

a/d


u. inoil:sard jt4t,

J o & a (o) ufroutauotuol4lttauttu?nnvrLnelnnr:frnurirn:1u14 ttavvrLnolnnl::uniln?1ilnntuuo1nn1:

'^ rurn{lrdou(Focus Group) tuuiorurarurftfiuq:fioriorfiortrir,r,ri{r'ilriu#rlur

6il

(te)ufio:vrrunruFnuriuuavdorduouuvnrnfirdrirlr#lrlruTrioirr:1u{lunr:frnurunrurfrr nouilorfrltouluryr'r1u:vd'urJ:urvrrl :vn'uuilrurrurirrYuntta ttau:vrTuornn: ltasil'lLrJrJ:vnounl: rJiu rJ:.: ailu: ni q . :1 u a u{ run1:frnurariu t

d

iJ

&q

s

v

|

-

Uq I

.t

o

.t

t

L,

otl

I

!tA

sr. fl6il[U'l14tI1t t r/

v

a

v

t

A

v

ii

v

q

|.l

I

.t

s

t

u

ie

ruu:141:ttauLe1ilu1ilQ1na{nn:n1n:f,uavL0ntuvltnu?t0.: 14:00uLunailLn:{ff:1{vruf,1uila1nfu10{. lrcrtjqc|v

tj:vtun qiruruil:utJlruboo Fru ty

.j

d. ?u r?a1uasdnluvl 4l-

at

?u407lbo n:nfllnlJ bddd

ru#aq#uqfi u #u d

.

""

(urarufirr'.rran{tuuilt 6nAl:ru:utnd vnrasn1{ryrv{ </<)

\vot

d. ilailn1n?1osta:u

(o) {or,auouuvrfirr,filrn'o6'anir:rutrunl:itn:rvduavdouauoLLu?vr1{nr:o'rrdruruuri'rt q

r), ldq&tatavto.tatdAqdu

gior,ilon4'rtto.ru:vrTutr6 :vrr'uuilrulrurirriunura uas:vpr'uo{nn:fi:ilororlvrufrnn6or Lilil1uail IUTU

vr{J ura utrJtd'Lu vnuJfrrifi t

A

v

I

vlu

u

t,

(b) o{nn:ilr1,1i?rJ#uuurtpivr:1utorffuo ttav[u?mrrnr:{ndr :vrr-uorrfnt trrn]o[u?vn{rravnatn BCP tunr :uBr,tr : {nnr: uavrirriunraI r,r uei1rfiuo: fioriorfior UI

q

q

q

( s nn) r : t t a n u i l 6 t J u i l : v a u n 1 : n : ! ! a u n ? 1 i l 6 n r f r u : v u i r . : oor nr rni :nq: :{ frii0r r T u q u a n { l q : f i 0 ,.i

t

I

d

t

t

a

lro

tt

I

ttavililrurruioura A

(<) {o4aulav{on'nuiud'urflurJ:vTutdornfrfirJ:vaunr:njrn'otd'rJ:vnounr:finrsrFiohJ ,u

lE/d.


druunnr:duuur rfius:fiosiorfiour niouasrontu In:r nr :fl nu uruusir tdt

(Business ContinuityPtan- BCP) ud

?U110Yl bo fllflfl1nil bddd rdl

rufiotGuqfu fu

""

finn l:qr:uGud yrrmsn:{rynl

o

nT4Unn1:

t2a'l _l

od.eno - oc(.oo U.

a{ilsruuu

oc(.oo - oc(.oo U.

ncim rflornr :#uru. uurduot in nd: sar it otIn: { n1i'r I

fi Tnu uauBnr:nruun::il nr:rizuurn1:rfi:uf,fiouav#rnr uuvirtr oc(.oo - oc(.dd U.

riTrfiuq: fiosiordow odmuludruriTt l Hanl r F|nul uasn'l:i m:r srirdodnri'ruaru t

- viuriruuirlvrtnitrornoira'rrinnjoiarov'lroroa qirriel Tnunruitan:vriarnrVuilo.r |U

oc(.dd - oo.oo U.

ri'niu rJ:smruorur:'i r r

oo.oo - oo.sno U.

uHun1tuu5:noou'l{notuo{ " n1:K?u'l [:o{t " ta tduottuumu?nuuu2?t1{n1:onil1 C

,.9

d

v

o

o

o

a

a

|

!

d

s',a

tnuflvt:{n6u?ruo'ln utt

.

n:rflorrTuLLauu::Lvrraror:rufiu

o Du1n1:[r,iril:vtunluu o nr:lv'Iflrr.lruru6rrltviltj:vtvrnlvu o urre.Ivrufia nollfiun{u urSnu6a t

ritfiunr:Kru{oru -:o{LarlBnr: nilvn::ilnr:lTzuurn1:tfi:ltfifiouavd.rnuur,vi.rtT fi uruorfiuvri HvrorJ oo.mo - ob.eno U.

Y" gtoutogn-o1il Ornlirririruduuur u

ob.mo - oen.enolJ.

iurJ:surua1il1:narriu

vn.t''rur140r taafiurarnn'kirrfttfiu:ruei':.:udr u!1491' drrauornr:arofinr:rrlduuLrila.ltd'm1!n?1ilt14tJ'rvar

ffi/d


-is

,g

6

tLruuvt [:{ tt:tJ u5u6ttl^t1Laqtfl :{I tvtl^l AY

,

sd,

c,,

e

d

frsr'r<a d/ doo o1n1:ltiu.iu1?r?oi nao.:u141u1n rtsrfl0ruil:1un:{ lvrur"l t

^d S . r t.' , - . ,, t tTft An ",,,trarrg 4({

6iant Swing TrTtrtrn:llicl'

Frl' \'1iir'tt'lr'rh

\

dtt't"-

-r,..rtr

l''t*Jr-)l

"t. q. r':'l l:

r-,

,2;

+!'a

-1 9J

tr. I

.i

f

4/. "oor-

,+,

'l rr.,

.t't-,--

I

t..

fr f,

,.,

"+tV Yo,firrno{41

i l"

t-f

lI 1 I

-/

* N'*API

Hualarnphong Train$tation

5u+'r+ahftrtlrnr

I

l.ace.co.th/ma hltp.//www.princepa p.htm

d/d









สรุป TBT Notification ประจาเดือน 1-30 เมษายน 2554 (เฉพาะสินค้าที่เกี่ยวข้องกับสมาคมผู้ผลิตอาหารสาเร็จรูป ) ที่

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

จุดประสงค์

1

เม็กซิโก การเปลี่ยนแปลงการ G/TBT/N/Notif.00/556/ ติดฉลากน้า้ ผึ้ง Add.2 1 เมษายน 2554

ปรับปรุงและยกเลิกกฎระเบียบเกี่ยวกับรูปแบบการติด ฉลากน้​้าผึ้ง ประกาศเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2544 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/tbt/MEX/ 11_0828_00_s.pdf

-

2 มิ.ย. 54

อาหารปลอดภัยและ ปกป้องสุขภาพมนุษย์

2

เม็กซิโก การติดฉลาก G/TBT/N/Notif.00/655/ โภชนาการพืช Add.2 8 เมษายน 2554

เผยแพร่ค้าตอบส้าหรับข้อคิดเห็นที่ได้รับเกี่ยวกับการ ปรับปรุงมาตรฐาน PROY-NOM-182-SSAI-2009 ซึ่ง แก้ไข NOM-182-SSA1-1998 เรื่องมาตรฐานการติด ฉลากโภชนาการพืช เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/tbt/MEX/ 11_1008_00_s.pdf ร่างเสนอแก้ไขอ้านาจการบริหารและการบังคับใช้ของ หน่วยงานตรวจสอบอาหารแคนาดาได้รับความเห็นชอบ และมีผลบังคับใช้และ เมื่อ 16 พฤษภาคม 2554 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://canadagazette.gc.ca/rp-pr/p2/2011/2011-0216/html/sor-dors11-eng.html

-

-

อาหารปลอดภัยและ ปกป้องสุขภาพมนุษย์

-

16 พ.ค. 54

ข้อก้าหนดปริมาณการบริโภคต่อวัน (DRI) เพื่อติดฉลาก โภชนาการของโปรตีน วิตามิน และแร่ธาตุ ในอาหาร ทารกต่้ากว่า 12 เดือน เด็กต่้ากว่า 3 ปี และผู้หญิงตั้งครรภ์ และผู้หญิงให้นมบุตร โดยทบทวนตามหลักฐานทาง วิทยาศาสตร์

20 พ.ค. 54

-

3

แคนาดา G/TBT/N/CAN/300/ Add.1 18 เมษายน 2554

อาหาร

4

ชิลี G/TBT/N/CHL/160 1 เมษายน 2554

อาหารส้าเร็จรูป

-

ปกป้องสุขภาพมนุษย์


-2-

ที่

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

-

จุดประสงค์

เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/tbt/CHL/1 1_0860_00_s.pdf 5

ชิลี G/TBT/N/CHL/161 1 เมษายน 2554

อาหารส้าเร็จรูป

เสนอร่างข้อก้าหนดการติดฉลากโภชนาการอาหาร โดย พิจารณารูปแบบปัจจุบันที่อ่านง่าย ความเป็นไปได้ใน การแยกรายการคาร์โบไฮเดรตและน้​้าตาล 1 หน่วยที่ควร บริโภคต่อวัน ส้าหรับโภชนาการต่างๆ ที่ระบุในฉลาก เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/tbt/CHL/1 1_0861_00_s.pdf

20 พ.ค. 54

6

คอสตาริกา G/TBT/N/CRI/116 11 เมษายน 2554

อาหาร

ร่างข้อก้าหนดเทคนิคเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนสุขอนามัย และข้อก้าหนดการควบคุมผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในอาหารสัตว์ โรงงานที่ผลิตวางตลาด บรรจุใหม่ เก็บรักษาผลิตภัณฑ์ที่ ใช้ในอาหารสัตว์ ซึ่งจ้าหน่ายในประเทศสมาชิก เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/tbt/CRI/11_ 1028_00_s.pdf

10 มิ.ย. 54

7

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/309/ Add.1 20 เมษายน 2554

อาหาร

ประกาศข้อก้าหนดไม่ใช้อ้างทางสุขภาพของอาหาร นอกเหนือจากการอ้างถึงการลดความเสี่ยงต่อโรคและ การพัฒนาการสุขภาพเด็ก ได้รับความเห็นชอบเมื่อ 3 พฤษภาคม 2553 ประกาศใน Official Journal เมื่อ 4 พฤษภาคม 2553 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://eurlex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri=OJ:L:201 0:111:0001:0002:EN:PDF

-

อาหารปลอดภัยและ ปกป้องสุขภาพมนุษย์

6 เดือนหลังจาก อาหารปลอดภัยและ ประกาศลง official ปกป้องสุขภาพมนุษย์ Journal

-

คุ้มครองผู้บริโภค


-3-

ที่

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

จุดประสงค์

8

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/329/ Add.1 20 เมษายน 2554

อาหาร

ประกาศข้อก้าหนด EU No 957/2010 การอนุมัติและไม่ อนุมัติให้ อ้างทางสุขภาพในอาหาร รวมถึงการอ้างการ ลดความเสี่ยงของโรคและพัฒนาการสุขภาพเด็กได้รับ ความเห็นชอบเมื่อประกาศใน Official Journal เมื่อ 23 ตุลาคม 2553 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://eurlex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri=OJ:L:201 0:279:0013:0017:EN:PDF

-

-

คุ้มครองผู้บริโภค

9

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/330/ Add.1 20 เมษายน 2554

อาหาร

ประกาศข้อก้าหนด EU No 958/2010 ไม่อนุมัติการอ้าง คุณประโยชน์เพื่อสุขภาพของอาหาร นอกเหนือจากการ อ้างถึงการลดความเสี่ยงของเชื้อโรคและการพัฒนาการ และสุขภาพเด็กได้รับความเห็นชอบเมื่อประกาศใน Official Journal เมื่อ 23 ตุลาคม 2553 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://eurlex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri=OJ:L:201 0:279:0018:0019:EN:PDF

-

-

คุ้มครองผู้บริโภค

10

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/336/ Add.1 8 เมษายน 2554

สารเคมี

ประกาศข้อก้าหนด EC (No 252/2011) แก้ไข (EC) No 1907/2006 เรื่องการลงทะเบียน ประเมิน อนุมัติ และ มาตรการเข้มงวดของสารเคมี (REACH) ในภาคผนวก 1 ได้รับความเห็นชอบเมื่อ15 มีนาคม 2554 และประกาศ ใน Official Journal เมื่อ 16 มีนาคม 2554 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก

-

-

คุ้มครองผู้บริโภค

http://eurlex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri=OJ:L:2011:0 69:0003:0006:EN:PDF


-4-

ที่

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

จุดประสงค์

11

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/341/ Add.1 11 เมษายน 2554

ปุ๋ย

ประกาศข้อก้าหนด EC (No 137/2011) แก้ไข (EC) No 2003/2003 เรื่องปุ๋ยที่ใช้ในภาคผนวก 1 และ 4 ได้รับ ความเห็นชอบเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2554 ประกาศใน Official Journal เมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2554 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://eurlex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri=OJ:L:201 1:069:0003:0006:EN:PDF

-

-

คุ้มครองผู้บริโภค

12

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/348/ Add.1 20 เมษายน 2554

สารและสารผสม

ประกาศข้อก้าหนด EC (No 286/2011) แก้ไข (EC) No 1272/2008 เรื่องการจ้าแนก การติดฉลากและการบรรจุ สารและสารผสม ได้รับความเห็นชอบเมื่อ 10 มีนาคม 2554 และประกาศใน Official Journal เมื่อ 30 มีนาคม 2554 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://eurlex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri=OJ:L:201 1:083:0001:0053:EN:PDF

-

-

คุ้มครองผู้บริโภค

13

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/377 18 เมษายน 2554

อาหาร

ประกาศข้อก้าหนดเกี่ยวกับการอนุมัติและไม่อนุมัติการ กล่าวอ้างคุณประโยชน์ของอาหารเพื่อสุขภาพ รวมถึง การอ้างถึงการลดความเสี่ยงของโรค ตาม Article 17(3) ของ EC No.1924/2006 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/tbt/EEC/1 1_1120_00_e.pdf

17 มิ.ย. 54

20 วันหลังจาก คุ้มครองผู้บริโภค ประกาศลง Official Journal


-5-

ที่

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

14

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/378 18 เมษายน 2554

อาหาร

ประกาศข้อก้าหนดเกี่ยวกับการอนุมัติและไม่อนุมัติการ อ้างทางสุขภาพของอาหาร นอกเหนือจากการอ้างการลด ความเสี่ยงของโรค และพัฒนาการและสุขภาพเด็ก ตาม Art. 18(5) ของ EC No.1924 /2006 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/tbt/EEC/1 1_1121_00_e.pdf

17 มิ.ย. 54

15

แคนาดา G/TBT/N/CAN/177/ Rev.2/Add.4 12 เมษายน 2554

สินค้าอินทรีย์

ข้อก้าหนดเกี่ยวกับช่วงเปลี่ยนผ่านของ “Canada Organic Regime: Stream of Commerce and Enforcement Policy” ที่ระบุใน G/TBT/CAN/177/Rev.2/Add.1 ซึ่งมี ผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน 2552 จะหมดอายุ วันที่ 30 มิถุนายน 2554 มีวัตถุประสงค์เพื่อเปลี่ยนการ จัดการระบบรับรองสินค้าอินทรีย์แบบสมัครใจเป็นแบบ บังคับ โดยใช้วิธีให้ความรู้ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ที่ ไม่ได้มาตรฐาน (non-compliance) ในช่วงเวลาระหว่าง เปลี่ยนผ่านนี้ CFIA อาจขอให้ผู้ประกอบการกลุ่ม ดังกล่าว จัดท้าแผนและตัวชี้วัดในการปรับปรุงสินค้าให้ ถูกต้องตามมาตรฐาน ตัง้ แต่วันที่ 30 มิถุนายน 2554 CFIA จะใช้มาตรการ แทนที่ดังนี้ 1. กักสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือน้าออกจากแผง จ้าหน่ายในร้านค้า 2. แก้ไขฉลากที่ไม่ได้มาตรฐานให้ถูกต้อง 3. ส่งคืนสินค้าน้าเข้าที่ไปได้มาตรฐานกลับประเทศ ต้นก้าเนิด

-

วันที่มีผลบังคับใช้

จุดประสงค์

20 วันหลังจาก คุ้มครองผู้บริโภค ประกาศลง Official Journal

-

คุ้มครองผู้บริโภค


-6-

ที่

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

17

กัวเตมาลา G/TBT/N/GTM/71 5 เมษายน 2554

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

4 มิ.ย. 54

-

คุ้มครองผู้บริโภค

7 มิ.ย. 54

-

คุ้มครองผู้บริโภค

จุดประสงค์

การรับรองสินค้าอินทรีย์ทุกชนิดต้องได้ตามมาตรฐาน ของ แคนาดา โดยการรับรองจาก Canadian Organic Regime หรือ การจัดท้าความตกลงที่เท่าเทียมกันหรือตามความ ตกลงกับประเทศที่สาม เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://www.inspection.gc.ca/english/fssa/orgbio/201103 10inde.shtml

(ต่อ)

16

สาระส้าคัญ

อาหารสัตว์

ประกาศข้อก้าหนดการลงทะเบียนสุขอนามัยและ ข้อก้าหนดการควบคุมผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในอาหารสัตว์ รวมถึงโรงงานที่ผลิต วางตลาด บรรจุใหม่และเก็บรักษา ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ระเบียบนี้ใช้กับผลิตภัณฑ์ที่วางตลาด ในประเทศสมาชิก

สาธารณรัฐคีร์กิซสถาน น้​้าแร่ธรรมชาติ น้​้าดื่ม ประกาศร่างข้อก้าหนดทางเทคนิคส้าหรับน้​้าแร่ G/TBT/N/KGZ/19 ธรรมชาติ และน้​้า ธรรมชาติ น้​้าดื่มธรรมชาติ และน้​้าบริโภค ที่บรรจุขวด 8 เมษายน 2554 บริโภค บรรจุขวด ข้อก้าหนดดังกล่าวบังคับใช้ทั้งภายในในประเทศและ ผลิตภัณฑ์ที่น้าเข้ามายังสาธารณรัฐคีร์กิซสถาน

18

เอล สวาดอร์ G/TBT/N/SLV/151 13 เมษายน 2554

ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ใน อาหารสัตว์

ประกาศข้อก้าหนดการลงทะเบียนสุขอนามัยและการ ควบคุมส้าหรับผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในอาหารสัตว์ โรงงานผลิต วางตลาด บรรจุใหม่และเก็บรักษา ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวที่ใช้ในอาหารสัตว์ ในกลุ่มประเทศ อเมริกากลาง

12 มิ.ย. 54

6 เดือนหลังจาก คุ้มครองผู้บริโภค ประกาศลง Official Journal

19

เอล สวาดอร์ G/TBT/N/SLV/152 14 เมษายน 2554

Kidney beans

ประกาศมาตรฐาน Kidney beans ครอบคลุมเรื่อง วัตถุประสงค์ ขอบข่าย นิยาม ค้าย่อ คุณภาพ การคัดขนาด การวิเคราะห์ ลักษณะของ kidney beans การปนเปื้อน การบรรจุ สุขอนามัย กฎระเบียบการจัดการ การติดฉลาก

13 มิ.ย. 54

6 เดือนหลังจาก คุ้มครองผู้บริโภค ประกาศลง Official Journal


-7-

ที่

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระส้าคัญ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

จุดประสงค์

ถั่ว บรรจุภัณฑ์ การบรรจุ การสุ่มตัวอย่าง ภาคผนวก มาตรฐานที่อ้างการตรวจสอบและติดตามผล

20

นิคารากัว G/TBT/N/NIC/115 5 เมษายน 2554

ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ใน อาหารสัตว์

ประกาศข้อก้าหนดการลงทะเบียนสุขอนามัยและการ ควบคุมส้าหรับผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในอาหารสัตว์ โรงงานผลิต วางตลาด บรรจุใหม่และเก็บรักษา ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวที่ใช้ในอาหารสัตว์ ในกลุ่มประเทศคู่ ค้า

4 มิ.ย. 54

-

คุ้มครองผู้บริโภค

21

บราซิล G/TBT/N/BRA/430 26 เมษายน 2554

มะม่วง

ประกาศร่างมาตรฐานการจ้าแนกมะม่วง ข้อก้าหนด คุณลักษณะและคุณภาพ การน้าเสนอและการท้า เครื่องหมายหรือการติดฉลากในมะม่วง

10 ก.ค. 54

-

คุ้มครองผู้บริโภค

22

ญี่ปุ่น G/TBT/N/JPN/355 26 เมษายน 2554

มะละกอและอาหาร แปรรูปที่มี ส่วนประกอบของ มะละกอเป็นหลัก

มาตรฐานการติดฉลากอาหารดัดแปรพันธุกรรม สาหรับ มะละกอและอาหารที่มีส่วนประกอบของมะละกอเป็น หลักได้เพิ่มไว้ในรายการการติดฉลากแล้ว

25 มิ.ย. 54

-

คุ้มครองผู้บริโภค

สินค้าและบริการ ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ ธัญพืชและ ธัญพืช และแป้ง semolina อาหารที่เตรียมจาก ธัญพืช เมล็ดที่ใช้ รับประทาน semolina หรือส่วนผสม ผลิตภัณฑ์ เบเกอร์รี่

เม็กซิโกเผยแพร่ค้าตอบต่อข้อคิดเห็นที่ได้รับเกี่ยวกับร่าง มาตรฐาน NOM-247-SSA1-2008 เรื่องสินค้าและบริการ ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ ธัญพืชและ ธัญพืชและแป้ง semolina อาหารที่เตรียมจากธัญพืช เมล็ดที่ใช้ รับประทาน semolina หรือส่วนผสม ผลิตภัณฑ์ เบเกอร์รี่ กฎระเบียบด้านสุขภาพและโภชนาการ วิธีการทดสอบ ประกาศลงวันที่ 6 ตุลาคม 2553 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/tbt/MEX/

-

-

คุ้มครองผู้บริโภค

23

เม็กซิโก G/TBT/N/MEX/175/ Add.6 26 เมษายน 2554

เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/tbt/JP N/11_1182_00_e.pdf


-8-

ที่

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ กฎระเบียบด้าน สุขภาพและ โภชนาการ วิธีการ ทดสอบ

สาระส้าคัญ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

จุดประสงค์

11_1223_00_s.pdf

กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ sps@acfs.go.th 02 561 2277ต่อ 1344 หรือ1345


สรุป TBT Notification ประจาเดือน 1-31 พฤษภาคม 2554 (เฉพาะสินค้าที่เกี่ยวข้องกับสมาคมผู้ผลิตอาหารสาเร็จรูป ) ที่

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

จุดประสงค์

1

สหรัฐอาหรับเอมิเรต G/TBT/N/ARE/67 23 พฤษภาคม 2554

น้าสลัด

ร่างข้อกาหนดทางเทคนิคเกี่ยวกับข้อกาหนดน้าสลัด โดย กาหนดคานิยามของผลิตภัณฑ์ ข้อกาหนดคุณภาพ การ สุ่มตัวอย่าง วิธีการทดสอบ การขนส่ง การเก็บรักษา และ การติดฉลาก

22 ก.ค. 54

-

อาหารปลอดภัยและ ปกป้องสุขภาพมนุษย์

2

สหรัฐอาหรับเอมิเรต G/TBT/N/ARE/68 23 พฤษภาคม 2554

ซอสมะเขือเทศรสเผ็ด ร่างข้อกาหนดทางเทคนิคเกี่ยวกับข้อกาหนดซอสมะเขือ เทศรสเผ็ด โดยกาหนดคานิยามของผลิตภัณฑ์ ข้อกาหนดคุณภาพ การสุ่มตัวอย่าง วิธีการทดสอบ การ ขนส่ง การเก็บรักษา และการติดฉลาก

22 ก.ค. 54

-

อาหารปลอดภัยและ ปกป้องสุขภาพมนุษย์

3

สหรัฐอาหรับเอมิเรต G/TBT/N/ARE/71 23 พฤษภาคม 2554

เครื่องดื่มแต่งกลิ่นรส สังเคราะห์

ร่างข้อกาหนดทางเทคนิคเกี่ยวกับข้อกาหนดเครื่องดื่ม แต่งกลิ่นรสสังเคราะห์โดยกาหนดคานิยามของผลิตภัณฑ์ ข้อกาหนดคุณภาพ การสุ่มตัวอย่าง วิธีการทดสอบ การ ขนส่ง การเก็บรักษา และการติดฉลาก

22 ก.ค. 54

-

อาหารปลอดภัยและ ปกป้องสุขภาพมนุษย์

4

สหรัฐอาหรับเอมิเรต G/TBT/N/ARE/72 23 พฤษภาคม 2554

มะเขือเทศอบแห้ง

ร่างข้อกาหนดทางเทคนิคเกี่ยวกับข้อกาหนดมะเขือเทศ อบแห้ง โดยกาหนดคานิยามของผลิตภัณฑ์ ข้อกาหนด คุณภาพ การสุ่มตัวอย่าง วิธีการทดสอบ การขนส่ง การ เก็บรักษา และการติดฉลาก

22 ก.ค. 54

-

อาหารปลอดภัยและ ปกป้องสุขภาพมนุษย์

5

สหรัฐอาหรับเอมิเรต G/TBT/N/ARE/74 23 พฤษภาคม 2554

ปลา Finfish กระป๋อง

ร่างข้อกาหนดทางเทคนิคเกี่ยวกับข้อกาหนดสาหรับปลา Finfish กระป๋อง โดยกาหนดคานิยามของผลิตภัณฑ์ ข้อกาหนดคุณภาพ การสุ่มตัวอย่าง วิธีการทดสอบ การ ขนส่ง การเก็บรักษา และการติดฉลาก

22 ก.ค. 54

-

อาหารปลอดภัยและ ปกป้องสุขภาพมนุษย์

6

สหรัฐอาหรับเอมิเรต G/TBT/N/ARE/75 23 พฤษภาคม 2554

น้าผลไม้ผสมนม

ร่างข้อกาหนดทางเทคนิคเกี่ยวกับข้อกาหนดสาหรับน้า ผลไม้ผสมนม โดยกาหนดคานิยามของผลิตภัณฑ์ ข้อกาหนดคุณภาพ การสุ่มตัวอย่าง วิธีการทดสอบ การ

22 ก.ค. 54

-

อาหารปลอดภัยและ ปกป้องสุขภาพมนุษย์


-2-

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

7

สหรัฐอาหรับเอมิเรต G/TBT/N/ARE/76 23 พฤษภาคม 2554

กาแฟและผลิตภัณฑ์ กาแฟ

8

สหรัฐอาหรับเอมิเรต G/TBT/N/ARE/77 23 พฤษภาคม 2554

9

10

ที่

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

ร่างข้อกาหนดทางเทคนิคเกี่ยวกับข้อกาหนดสาหรับ กาแฟและผลิตภัณฑ์กาแฟ (เมล็ดกาแฟที่ผ่านการคั่วแล้ว) โดยกาหนดคานิยามของผลิตภัณฑ์ ข้อกาหนดคุณภาพ การสุ่มตัวอย่าง วิธีการทดสอบ การขนส่ง การเก็บรักษา และการติดฉลาก

22 ก.ค. 54

-

อาหารปลอดภัยและ ปกป้องสุขภาพมนุษย์

ผลิตภัณฑ์โสม

ร่างข้อกาหนดทางเทคนิคเกี่ยวกับข้อกาหนดสาหรับ ผลิตภัณฑ์โสม โดยกาหนดคานิยามของผลิตภัณฑ์ ข้อกาหนดคุณภาพ การสุ่มตัวอย่าง วิธีการทดสอบ การ ขนส่ง การเก็บรักษา และการติดฉลาก

22 ก.ค. 54

-

อาหารปลอดภัยและ ปกป้องสุขภาพมนุษย์

สหรัฐอาหรับเอมิเรต G/TBT/N/ARE/78 23 พฤษภาคม 2554

เต้าเจี้ยว

ร่างข้อกาหนดทางเทคนิคเกี่ยวกับข้อกาหนดสาหรับ เต้าเจี้ยว โดยกาหนดคานิยามของผลิตภัณฑ์ ข้อกาหนด คุณภาพ การสุ่มตัวอย่าง วิธีการทดสอบ การขนส่ง การ เก็บรักษา และการติดฉลาก

22 ก.ค. 54

-

อาหารปลอดภัยและ ปกป้องสุขภาพมนุษย์

บาเรน G/TBT/N/BHR/224 27 พฤษภาคม 2554

เต้าเจี้ยว

ร่างข้อกาหนดทางเทคนิค GSO เรื่องข้อกาหนดทั่วไป สาหรับเต้าเจี้ยว ภายใต้ข้อ 9 (การติดฉลาก) เป็น มาตรฐานบังคับ สาหรับรายละเอียด เช่น - การติดฉลากควรมีภาษาอาราบิกและภาษาอื่น ควบคู่กัน ไป รายละเอียดที่เป็นภาษาอื่นต้องพิมพ์เป็นภาษาอา ราบิกด้วย - ชื่อของผลิตภัณฑ์ ควรแสดง “เต้าเจี้ยว” ชื่ออื่นที่ใช้ ถ้า ตามกฎระเบียบของประเทศที่บริโภค ชื่อผลิตภัณฑ์ รวมถึงชื่อส่วนประกอบเฉพาะของผลิตภัณฑ์ - การอ้างถึงฮาลาล - การติดฉลากบรรจุภัณฑ์ขายส่ง : ควรติดคาแนะนาบน

26 ก.ค. 54

-

คุ้มครองผู้บริโภค

สาระสาคัญ

จุดประสงค์

ขนส่ง การเก็บรักษา และการติดฉลาก


-3-

ที่

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

26 ก.ค. 54

-

คุ้มครองผู้บริโภค

-

1 มิ.ย. 54

คุ้มครองผู้บริโภค

จุดประสงค์

บรรจุภัณฑ์ หรือในข้อมูลบริษัท ยกเว้นชื่อของผลิตภัณฑ์ เลขล็อต ชื่อและที่อยูโ่ รงงาน ผู้บรรจุ หรือผู้กระจาย สินค้า การเก็บรักษา ควรปรากฏบนบรรจุภัณฑ์ อย่างไรก็ ตามเลขล็อต ชื่อและที่อยู่โรงงานผู้บรรจุ หรือผู้กระจาย สินค้าอาจแทนที่ได้โดยใช้เครื่องหมายสัญลักษณ์ เช่น เครื่องหมายที่ชัดเจนของข้อมูลบริษัท

11

บาเรน G/TBT/N/BHR/226 27 พฤษภาคม 2554

ผลิตภัณฑ์โสม

ร่างข้อกาหนดทางเทคนิค GSO เรื่องข้อกาหนดทั่วไป สาหรับผลิตภัณฑ์โสม ภายใต้ข้อ 7 (การติดฉลาก) เป็น มาตรฐานบังคับ สาหรับรายละเอียด เช่น - การติดฉลากควรมีภาษาอาราบิกและภาษาอื่น ควบคู่กัน ไป รายละเอียดที่เป็นภาษาอื่นต้องพิมพ์เป็นภาษาอา ราบิกด้วย - ชื่อของผลิตภัณฑ์ ควรแสดง “Dried Raw Ginseng”, “Dried Steamed Ginseng”, “Raw Ginseng Extract” และ “Steamed Ginseng Extract” ในกรณีผลิตโดย P.ginseng C.A. Meyer สามารถใช้ชื่อ “White Ginseng”, “Red Ginseng”, “White Ginseng Extract” และ “Red Ginseng Extract” - ชื่อของสายพันธุ์โสม ใช้ชื่อสามัญหรือชื่อทาง วิทยาศาสตร์ระบุในส่วนผสมหรือวัตถุดิบ - ประเทศต้นกาเนิด - การติดฉลากบรรณจุภัณฑ์ขายส่ง - ในการเติมสารอื่นๆจะต้องระบุในฉลาก

12

ชิลี G/TBT/N/CHL/171 3 พฤษภาคม 2554

สัตว์น้าและปลา

SERNAPESCA ประกาศเปลี่ยนสัญลักษณ์สาหรับการ รับรองการส่งออกผลิตภัณฑ์ปลา บังคับใช้วันที่ 1 มิถุนายน 2554


-4-

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

13

ชิลี G/TBT/N/CHL/172 3 พฤษภาคม 2554

สัตว์น้าและปลา

ประกาศข้อกาหนดขั้นตอนเงื่อนไขการนาเข้าสินค้า ประมงมายังชิลีสาหรับคน สัตว์ หรือการแปรรูปเพื่อ ส่งออก ข้อกาหนดเงื่อนไขสาหรับการรับรองว่าสินค้าถูกรับโดย ผ่านกฎข้อบังคับโดยประเทศต้นกาเนิด กฎของนานาชาติ ที่ชิลีเกี่ยวข้อง เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/tbt/CHL/1 1_1303_00_s.pdf (ภาษาสเปน)

26 มิ.ย. 54

14

อาร์มาเนีย G/TBT/N/ARM/73 25 พฤษภาคม 2554

ผลิตภัณฑ์อาหาร

ข้อกาหนดคานิยามอาหารเสริม การติดฉลาก การบรรจุ การใช้ การทาลาย การตรวจสอบความเรียบร้อย คุณสมบัติเฉพาะและปริมาณสูงสุดที่ยอมรับได้ใน ผลิตภัณฑ์อาหาร ของประเทศอาร์มาเนีย

24 ก.ค. 54

ธ.ค. 54 - ม.ค. 55

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

15

ฝรั่งเศส G/TBT/N/FRA/125 26 พฤษภาคม 2554

Processing aids ที่ใช้ ในอาหาร

ร่างข้อกาหนดการใช้ processing aids ในอุตสาหกรรม อาหาร เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/tbt/FRA/1 1_1608_00_f.pdf

25 ก.ค. 54

ส.ค. 54

คุ้มครองผู้บริโภค

16

เม็กซิโก G/TBT/N/MEX/175/ Add.7

สินค้าและบริการ ธัญพืชและผลิตภัณฑ์ ธัญพืชและ ธัญพืช

ปรับปรุงร่างมาตรฐาน NOM-247-SSA1-2008 ในส่วน 1.4, 2, 3.2, 3.10, 3.12, 3.17, 3.18, 3.19, 3.36, 3.34 และ 8 และวันที่บังคับใช้เป็นวันที่ 1 มิถุนายน 2554

-

1 มิ.ย. 54

คุ้มครองผู้บริโภค

ที่

ที่

สาระสาคัญ

สาระสาคัญ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

จุดประสงค์

30 วันหลังจาก คุ้มครองผู้บริโภค ประกาศลง Official Journal

คุ้มครองผู้บริโภค

จุดประสงค์


-5-

ที่

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน 16 พฤษภาคม 2554

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

จุดประสงค์

และแป้ง semolina เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก อาหารที่เตรียมจาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/tbt/MEX/ ธัญพืช เมล็ดที่ใช้ 11_1507_00_s.pdf รับประทาน semolina หรือส่วนผสม ผลิตภัณฑ์ เบเกอร์รี่ กฎระเบียบด้าน สุขภาพและ โภชนาการ วิธีการ ทดสอบ

17

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/326/ Add.1 10 พฤษภาคม 2554

สารกาจัดศัตรูพืช

ประกาศข้อกาหนด Directive 2010/74/EU แก้ไข Directive 98/8/EC เรื่องสารประกอบออกฤทธิ์ carbon dioxide to product type 18 ได้รับความเห็นชอบเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2553 และประกาศใน Official Journal เมื่อ 10 พฤศจิกายน 2553 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://eurlex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri=OJ:L:201 0:292:0036:0038:EN:PDF

-

-

คุ้มครองผู้บริโภค

18

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/327/ Add.1 10 พฤษภาคม 2554

สารกาจัดศัตรูพืช

ประกาศข้อกาหนด Directive 2010/72/EU แก้ไข Directive 98/8/EC เรื่องสารประกอบออกฤทธิ์ spinosad ในภาคผนวก 1 ได้รับความเห็นชอบเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2553 และประกาศใน Official Journal เมื่อ 5 พฤศจิกายน 2553 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://eurlex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri=OJ:L:201

-

-

คุ้มครองผู้บริโภค


-6-

ที่

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

จุดประสงค์

0:288:0020:0022:EN:PDF

19

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/332/ Add.1 10 พฤษภาคม 2554

สารกาจัดศัตรูพืช

ประกาศข้อกาหนด Directive 2010/675/EU แก้ไข Directive 98/8/EC เรื่องการวางจาหน่ายสารเคมีประเภท biocidal products ในตลาด ได้รับความเห็นชอบเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2553 และประกาศใน Official Journal เมื่อ 9 พฤศจิกายน 2553 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://eurlex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri=OJ:L:201 0:291:0047:0048:EN:PDF

-

-

คุ้มครองผู้บริโภค

20

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/333/ Add.1 27 พฤษภาคม 2554

สารกาจัดศัตรูพืช

ประกาศข้อกาหนด (EC) No 366/2011 แก้ไข (EC) No 1907/2006 เรื่องการลงทะเบียน การประเมินผล การให้ อานาจและการห้าม สารเคมี ที่อ้างในภาคผนวก (Acrylamide) ได้รับความเห็นชอบเมื่อ 14 เมษายน 2554 และประกาศใน Official Journal เมื่อ 15 เมษายน 2554 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://eurlex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri=OJ:L:201 1:101:0012:0013:en:PDF

-

-

คุ้มครองผู้บริโภค

21

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/339/ Add.1 26 พฤษภาคม 2554

อาหาร

ประกาศข้อกาหนด (EC) No 1162/2010 เรื่องข้อกาหนด ไม่อนุญาตให้มีการอ้างเกี่ยวกับสุขภาพบนผลิตภัณฑ์ อาหารและอ้างถึงการลดความเสี่ยงการเกิดโรคและการ พัฒนาการและสุขภาพเด็กได้รับความเห็นชอบเมื่อ 9 ธันวาคม 2553 และประกาศใน Official Journal เมื่อ 10 ธันวาคม 2553 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://eur-

-

-

คุ้มครองผู้บริโภค


-7-

ที่

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

-

จุดประสงค์

lex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri=OJ:L:201 0:326:0059:0060:EN:PDF

22

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/340/ Add.1 26 พฤษภาคม 2554

อาหาร

ประกาศข้อกาหนด (EC) No 1161/2010 เรื่องปฏิเสธการ อนุญาตการกล่าวอ้างด้านสุขภาพของอาหาร นอกเหนือจากการกล่าวอ้างใน เรื่องการลดความเสี่ยง ของโรคและเรื่องของพัฒนาและสุขภาพของเด็ก ได้รับ ความเห็นชอบเมื่อ 9 ธันวาคม 2553 และประกาศใน Official Journal เมื่อ 10 ธันวาคม 2553 เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://eurlex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri=OJ:L:201 0:326:0061:0063:EN:PDF

-

23

สหภาพยุโรป G/TBT/N/EEC/379 5 พฤษภาคม 2554

อาหาร

ประกาศร่างข้อกาหนดเกี่ยวกับตัวบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (เพื่อป้องกันแหล่งกาเนิดและป้องกันการบ่งชี้ทาง ภูมิศาสตร์) สาหรับผลิตภัณฑ์การเกษตรและอาหาร ยกเว้นผลิตภัณฑ์จากองุ่น เครื่องดื่มสุรา สาหรับการ รับรองทางการค้าและคุณภาพ เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://eurlex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri=COM:20 10:0733:FIN:EN:PDF

4 ส.ค. 54

24

สหรัฐอเมริกา G/TBT/N/USA/575/ Add.1 16 พฤษภาคม 2554

อาหารอินทรีย์

ปรับปรุงสารประกอบในรายการมาตรฐานอินทรีย์ แห่งชาติ โดยยกเว้นการใช้สารประกอบ 2 สาร คือ fenbendazole และ moxidectin สาหรับผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ อินทรีย์ และเพิ่มทั้ง 2 สารเข้าในรายการ National List (Proposed Rule) เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก

5 ก.ค. 54

คุ้มครองผู้บริโภค

20 วันหลังจาก คุ้มครองผู้บริโภค ประกาศลง Official Journal

-

คุ้มครองผู้บริโภค


-8-

ที่

25

ประเทศที่แจ้ง หมายเลข TBT วันที่ WTO แจ้งเวียน

สหรัฐอเมริกา G/TBT/N/USA/594/ Add.1 27 พฤษภาคม 2554

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

วันสุดท้ายที่แสดง ความเห็น/คัดค้าน

วันที่มีผลบังคับใช้

-

13 มิ.ย. 54

จุดประสงค์

http://www.gpo.gov/fdsys/pkg/FR-2011-0505/pdf/2011-11045.pdf

สารเคมี

EPA กาหนดให้ผู้ที่ใช้สาร 2-Propen-1-one, 1-(4morpholinyl)- สาหรับการผลิต การนาเข้า หรือแปรรูป ที่ พิจารณาว่าเป็นการใช้สารดังกล่าวในรูปแบบใหม่ตาม กฎระเบียบขั้นสุดท้ายจะต้องแจ้ง EPA อย่างน้อย 90 วัน ก่อนวันที่จะดาเนินการ (Final Rule) เอกสารฉบับเต็มหาได้จาก http://www.gpo.gov/fdsys/pkg/FR-2011-0513/pdf/2011-11435.pdf

คุ้มครองผู้บริโภค

กองนโยบายมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ sps@acfs.go.th 02 561 2277ต่อ 1344 หรือ1345


ตารางสรุป SPS Notification ประจาเดือนเมษายน 2554 ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

กลุ่มผลิตภัณฑ์ ผกั และผลไม้ 1

สหภาพยุโรป G/SPS/N/EEC/398 12 เมษายน 2554

ธัญพืช อาหารที่ได้ จากสัตว์ ผลิตภัณฑ์ ที่มาจากพืช ผลไม้ และผัก

สหภาพยุโรปแก้ไขค่า MRLs ของสาร acetamiprid, formetanate และ สาร ioxynil

ประเทศคู่ค้า

11 มิ.ย. 54

มี.ค. 55

ความปลอดภัย อาหาร

ประเทศคู่ค้า

-

21 ต.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

Link text ได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/ sps/EEC/11_1072_00_e.pdf **ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย**

2

สหภาพยุโรป G/SPS/N/EEC/374 /Add.1 27 เมษายน 2554

ธัญพืช อาหารที่ได้ จากสัตว์ และได้จาก พืช รวมทั้งผลไม้ และผัก

สหภาพยุโรปแก้ไขค่า MRLs ของสาร aldicarb, bromopropylate, chlorfenvinphos, endosulfan, EPTC, ethion, fenthion, fomesafen, methabenzthiazuron, methidathion, simazine, tetradifon และ triforin ในผลิตภัณฑ์ต่างๆ (ประกาศใช้ มาตรการ) ตารางค่า MRLs ค้นได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

sps/EEC/11_1291_00_e.pdf 3

นิวซีแลนด์ G/SPS/N/NZL/453 29 เมษายน 2554

ผักผลไม้ สัตว์และ อาหารอื่น

เสนอแก้ไขค่า MRL ของสินค้าเกษตร 2011 ในมาตรฐาน อาหารของนิวซีแลนด์ 1) เสนอกาหนดค่า MRL เพิ่มเติม ในตาราง 1 ได้แก่ -สาร forchlorfenuron ในแอปเปิ้ลกาหนดที่ 0.01 mg/kg, -สาร thiacloprid ในมันฝรั่ง ที่ 0.02 mg/kg, -สาร spirotetramat ในมะเขือเทศ ที่ 0.3mg/kg, -สาร phosphine ในอาหารยกเว้นเมล็ดธัญพืช และ pome fruits ที่ 0.01mg/kg และใน pome fruits ที่0.05mg/kg, -สาร nicarbazin ในซากสัตว์ปีก ได้แก่สัตว์ ที่ 9mg/kg กล้ามเนื้อ ที่ 4mg/kg และขน หนัง ที่ 4mg/kg 2) เสนอให้ยกเลิกเพิ่มเดิมในตาราง 2 ดังนี้ สาร Didecyl Dimethyl Ammonium Chloride ใน pipfruits; สาร Ethylene ในผลไม้ การใช้สาร Phosphorous acid และสารแทน

ประเทศคู่ค้า

1 ก.ค. 54

18 ส.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร-


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

fosetyl aluminium ในสินค้าเกษตร 3) เสนอยกเลิกการเพิ่มเติมไว้ในตาราง 3 คือ สาร Lecirelin เพื่อเร่งการตกไข่ และเพิ่มอัตรา การเกิดขอโคกระบือ ม้า และกระต่าย Link text ได้จาก http://www.biosecurity.govt.nz/sps/transparen cy/notifications/index.htm 4

ญี่ปุ่น G/SPS/N/JPN/276 14 เมษายน 2554

มะละกอและอาหาร เพิ่มมะละกอและอาหารที่มีมะละกอเป็น ที่มีมะละกอเป็น ส่วนประกอบหลัก เป็นอาหารที่ดัดแปลง ส่วนประกอบหลัก พันธุกรรมหรือโปรตีน โดยให้อยู่ในรายการ บังคับติดฉลาก (ได้แก่ สิ่งมีชีวิต 7 ชนิด คือ ถั่ว เหลือง ข้าวโพด และ 32 รายการ เช่น เต้าหู้ ข้าวโพด snack ที่กาหนดแล้ว) ตามมาตรฐาน การติดฉลากอาหารดัดแปลงพันธุกรรมที่แจ้ง แล้วตาม G/SPS/N/JPN/56 G/SPS/N/JPN/80 G/SPS/N/JPN/143 และ G/SPS/N/JPN/162

ประเทศคู่ค้า

13 มิ.ย.54

-

ความปลอดภัย อาหาร

Link text ได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/ sps/JPN/11_1181_00_e.pdf 5

เวียดนาม G/SPS/N/VNM/21/

ผลิตภัณฑ์อาหาร ที่มาจากพืช

ประกาศกระทรวงเวียนแนวทางสาหรับ ผลิตภัณฑ์อาหารนาเข้าจากพืช

ประเทศคู่ค้า

-

-

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศทีแ่ จ้ ง สิ นค้ า/ ที่ หมายเลข Notification มาตรการ วันที่ WTO แจ้ งเวียน Add.1 13 เมษายน 2554 6 บราซิล พืชผักและผลพลอย G/SPS/N/BRA/95/Ad ได้ d.2 13 เมษายน 2554 7 ไทย ข้าวโพดครายซีไนน์

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

ข้อกาหนดการวิเคราะห์ความเสี่ยงการนาเข้า ผัก พืช หรือบางส่วนของพืช และผลพลอยได้ โดยได้ประกาศในราชกิจจาฯของบราซิล เมื่อ 11 มี.ค. 54

ประเทศคู่ค้า

-

-

คุ้มครองพืช อาหาร ปลอดภัย

กาหนดให้อาหารที่ปนเปื้อนสารพันธุกรรม ครายไนน์ซี หรือโปรตีนที่สร้างจากสาร พันธุกรรมนี้ (ข้าวโพด) เป็นอาหารห้ามผลิต นาเข้าและจาหน่าย

ประเทศคู่ค้า

27 มิ.ย. 54

ถัดจากวัน ประกาศราช กิจจาฯ

ความปลอดภัย อาหาร

15 พ.ค. 54

-

G/SPS/N/CRI/101/ Add.1 21 เมษายน 2554

การฆ่าเชื้อผลิตภัณฑ์ ประกาศ G/SPS/N/CRI/101 สามารถดูได้จา ประเทศคู่ค้า ประมงบรรจุ กลิ้งค์นี้ : กระป๋อง http://members.wto.org/crnattachments/2011/ sps/CRI/11_0602_00_s.pdf

ความปลอดภัย อาหาร

คอสตาริกา G/SPS/N/CRI/110 21 เมษายน 2554

มาตรฐานสินค้า ประมงและ ผลิตภัณฑ์

20 มิ.ย. 54

6 เดือนหลังจาก ความปลอดภัย ประกาศใน OJ อาหาร

G/SPS/N/THA/200 28 เมษายน 2554 กลุ่มผลิตภัณฑ์ประมง 8. คอสตาริกา

9.

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

ซี

ร่างกฎระเบียบเทคนิคเกี่ยวกับข้อกาหนด พื้นฐานสาหรับข้อมูลบนฉลากผลิตภัณฑ์ปลา สด แช่แข็ง ที่ขายแบบบรรจุหีบห่อขนาดใหญ่ หรือสาเร็จรูปที่จุดขาย กฏระเบียบนี้ได้รวมถึง

ประเทศคู่ค้า


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

สารพิษตกค้างของยาสัตว์และสารเคมีปนเปื้อน สารปรุงแต่งอาหารและหลักเกณฑ์การกาหนด เชื้อจุลินทรีย์และวิธีการวิเคราะห์ กฏระเบียบนี้ ใช้กับผลิตภัณฑ์สัตว์น้าและผลพลอยได้ทั้ง กรณีภายในประเทศและนาเข้า กฎระเบียบบรรจุภัณฑ์ 10 คอสตาริกา

ประกาศ G/SPS/N/CRI/102 สามารถดูได้จา ประเทศคู่ค้า กลิ้งค์นี้ : http://members.wto.org/crnattachments/2011/ sps/CRI/11_0603_00_s.pdf

15 พ.ค. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร

คอสตาริกา ข้อกาหนดตะเข็บคู่ ประกาศ G/SPS/N/CRI/103 สามารถดูได้จา ประเทศคู่ค้า G/SPS/N/CRI/103/ สาหรับบรรจุภัณฑ์ กลิ้งค์นี้ : Add.1 โลหะกระป๋องที่ใช้ http://members.wto.org/crnattachments/2011/ 21 เมษายน 2554 กับผลิตภัณฑ์ประมง sps/CRI/11_0604_00_s.pdf กฎระเบียบทั่วไป และกลุ่มอาหารทั่วไป เช่น สารพิษตกค้าง สารปรุงแต่งอาหาร ฉลาก เป็นต้น 12 สหรัฐอเมริกา ผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ กาหนดค่า MRLs ของสาร hexythiazox ใน ประเทศคู่ค้า

15 พ.ค. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร

-

6 เม.ย. 54

ความปลอดภัย อาหาร

G/SPS/N/CRI/102/ Add.1 21 เมษายน 2554

การเคลือบเงา กระป๋องที่บรรจุ ผลิตภัณฑ์ประมง ทะเล

11

G/SPS/N/USA/2200 19 เมษายน 2554

ข้าวโพดหวาน ข้าวโพดหวานที่ไม่มีซัง ซัง ข้าวโพดหวาน ถั่วแห้ง และถั่ว succulent link text ได้จาก


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน มาตรการสุ ดท้ าย

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

http://edocket.access.gpo.gov/2011/20118182.htm **ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย**

13

สหรัฐอเมริกา G/SPS/N/USA/2202 19 เมษายน 2554 มาตรการสุ ดท้ าย

ผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ กาหนดค่า MRLs ของสาร indaziflam ใน สินค้าชนิดต่างๆ ซึ่งระบุและหารือไว้ใน เอกสารนี้

ประเทศคู่ค้า

-

6 เม.ย. 54

ความปลอดภัย อาหาร

ประเทศคู่ค้า

-

6 เม.ย. 54

ความปลอดภัย อาหาร

link text ได้จาก http://edocket.access.gpo.gov/2011/20117774.htm **ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย**

14

สหรัฐอเมริกา G/SPS/N/USA/2203 19 เมษายน 2554 มาตรการสุ ดท้ าย

ผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ กาหนดค่า MRLs ของสาร mancozeb ในอัล มอนด์ กระหล่าปลี ผักกาดหอม พริกไทย และบรอคโคลี่ link text ได้จาก http://edocket.access.gpo.gov/2011/20117461.htm


ประเทศทีแ่ จ้ ง สิ นค้ า/ ที่ หมายเลข Notification สาระสาคัญ มาตรการ วันที่ WTO แจ้ งเวียน 15 สหรัฐอเมริกา ผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ กาหนดค่า MRLs ของสารกาจัดศัตรูพืช G/SPS/N/USA/2201 ethiprole [5-amino-1-[2,6-dichloro-419 เมษายน 2554 (trifluoromethyl)phyl]-4-[sulfinyl]-1 Hpyrazole-3-carbonitrile] รวมถึง metabolite และdegradate ในข้าวและชา มาตรการสุ ดท้ าย

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

ประเทศคู่ค้า

-

6 เม.ย. 54

ความปลอดภัย อาหาร

EPA ได้รับคาร้องจากบริษัท W. Neudorff ประเทศคู่ค้า GmbH KG ขอให้ยกเลิกค่าสารตกค้างของสาร sodium ferric ethylenediaminetetraacetate (EDTA) เมื่อใช้เป็น molluscicide ในอาหารทุก ชนิด ประกาศฉบับนี้จึงให้ยกเลิกการ กาหนดค่าดังกล่าวภายใต้คาสั่งของอย. (FFDCA) และใช้ตามหลักการปฏิบัติทางการ เกษตรที่ดี

-

30 มี.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

28 เม.ย. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร

link text ได้จาก http://edocket.access.gpo.gov/2011/20118024.htm 16

สหรัฐอเมริกา G/SPS/N/USA/2197 19 เมษายน 2554

สินค้าชนิดต่างๆ มาตรการสุ ดท้ าย

17

สหรัฐอเมริกา G/SPS/N/USA/2196 19 เมษายน 2554

ผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ ประกาศรับคาร้องเสนอกาหนดหรือแก้ไข ประเทศคู่ค้า กฎระเบียบเกี่ยวกับสารตกตกค้างจากสารกาจัด ศัตรูพืชในสินค้าชนิดต่างๆ


ประเทศทีแ่ จ้ ง ประเทศทีไ่ ด้ รับ สิ นค้ า/ ผลกระทบ ที่ หมายเลข Notification สาระสาคัญ มาตรการ วันที่ WTO แจ้ งเวียน 18 ผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ ประกาศแก้ไขการกาหนดค่าสาร propylene สหรัฐอเมริกา ประเทศคู่ค้า oxide ในต้นถั่ว (nut tree), พืชกลุ่ม 14 เป็น ถั่ว G/SPS/N/USA/2198 กระเทาะเปลือก (nutmeat) ที่ผ่านการแปรรูป 19 เมษายน 2554 ยกเว้นถั่วลิสง เพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดที่ออก ก่อนหน้านี้ **ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย** 19 ผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ การกาหนดค่าสารตกค้างของสาร glyphosate ประเทศคูค่ ้า สหรัฐอเมริกา ในข้าวโพดหวาน เมล็ดข้าวโพดหวานที่มีซัง G/SPS/N/USA/2204 มาตรการสุดท้าย กับที่เอาซังออก และลดการกาหนดค่าสาร 19 เมษายน 2554 glyphosate และ N-acetyl-glyphosate ในสัตว์ ปีกและเนื้อ **ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย** 20 สหรัฐอเมริกา สารกาจัดศัตรูพืช ขยายเวลายกเลิกค่า MRL ชั่วคราวของ ประเทศคูค่ ้า G/SPS/N/USA/2189 แบคทีเรีย Bacillus thruingiensis eCry3.1Ab 14 เมษายน 2554 โปรตีนในข้าวโพดหรือในอาหารคนหรือ อาหารสัตว์ที่ได้จากข้าวโพด เมื่อใช้เป็นสาร กาจัดศัตรูพืช ค่า MRL จากเดิมที่กาหนดไว้ มาตรการสุ ดท้ าย วันที่ 1 มิ.ย. 55 เป็น วันที่ 1 มีนาคม 2556

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

14 เม.ย. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร

-

8 เม.ย. 54

ความปลอดภัย อาหาร

-

16 มี.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

Link text ได้จาก http://edocket.access.gpo.gov/2011/20116035.htm (Final Rule) 21

สหรัฐอเมริกา G/SPS/N/USA/2206

-

27 เมษายน 2554 มาตรการสุ ดท้ าย

ยกเลิกค่า MRL ชั่วคราวของ lylic bacteriophages ชนิด Esherichia coli O157:H7, sequence negative ที่ผลิตสารพิษ shiga I และ II และแบคทีเรียชนิด toxigenic ซึ่งใช้สัมผัสอาหารในโรงงานแปรรูปอาหาร โดยให้ยกเลิกชั่วคราวถึง 1 เม.ย. 56 และมีผล บังคับใช้ตั้งแต่ 13 เม.ย. 54 Link text ได้จาก

ประเทศคู่ค้า

-

13 เม.ย. 54

ความปลอดภัย อาหาร

ประเทศคู่ค้า

-

23 มี.ค.54

ความปลอดภัย อาหาร

http://edocket.access.gpo.gov/2011/20118712.htm Final Rule 22

สหรัฐอเมริกา G/SPS/N/USA/2191 14 เมษายน 2554

สาร Dichlormid

กาหนด ค่า MRL ของสารกาจัดศัตรูพืช Dichlormid ในข้าวโพด Link text ได้จาก http://edocket.access.gpo.gov/2011/20116440.htm


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

**ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย** Final Rule 23

สหรัฐอเมริกา สินค้าชนิดต่างๆ G/SPS/N/USA/1882/ Add.1 19 เมษายน 2554 มาตรการสุ ดท้ าย

24

สหภาพยุโรป G/SPS/N/EEC/401 21 เมษายน 2554

EPA ได้รับคาร้องจากบริษัท Arizona Cotton ประเทศคู่ค้า Research and Protection Council ขอให้แก้ไข ค่าสารตกค้าง Aspergillus flavus AF 36 กฏ ระเบียบนี้จึงให้ยกเลิกการกาหนดค่าของ Aspergillus flavus AF 36 ภายใต้คาสั่งของอย. FFDCA เอกสารเพิ่มเติมดูได้จาก http://edocket.access.gpo.gov/2011/20116545.htm สารปรุงแต่งอาหาร: แก้ไข Annex II EC 1333/2008 กาหนดรายการ ประเทศคูค่ ้า อาหารทุกชนิด สารปรุงแต่งอาหารโดยรวมสารให้ความหวาน และสีที่ใช้ในอาหาร รวมถึงสารปรุงแต่งอาหาร อื่นที่ไม่ใช่สีและสารให้ความหวานไว้ใน ภาคผนวกเดียวกัน หลังจากการทบทวนให้ สอดคล้องกับ Articles 6,7 และ 8 Link text ได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/sp s/EEC/11_1234_00_e.pdf

-

23 มี.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

20 มิ.ย. 54

20 วันหลังจาก ประกาศ

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศทีแ่ จ้ ง สิ นค้ า/ ที่ หมายเลข Notification มาตรการ วันที่ WTO แจ้ งเวียน 25 สหภาพยุโรป สารปรุงแต่งอาหาร G/SPS/N/EEC/402 อาหารทุกชนิด 21 เมษายน 2554

26.

สหภาพยุโรป G/SPS/N/EEC/341/ Add.5 11 เมษายน 2554

อาหารสัตว์และ อาหารที่ไม่ได้จาก สัตว์

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

ร่าง Commission Regulation แก้ไข Annex III ประเทศคู่ค้า ของ EC No 1333/2008 กาหนดรายชื่อสารปรุง แต่งอาหารที่ได้รับอนุมัติและเงื่อนไขการใช้ สารปรุงแต่งอาหารในเอนไซม์อาหาร ในซึ่งมี การเติมกลิ่นอาหาร และในอาหารโภชนาการ สารปรุงแต่งอาหารตาม Article 4(4) ของกฏ ระเบียบ กฏระเบียบของการใช้สารปรุงแต่งอาหาร เพื่อให้ใช้ประโยชน์ด้านเทคโนโลยีกับสาร ปรุงแต่งรสชาดอาหารหรือเอนไซม์หรือสาร ปรุงแต่งอาหารหรือคุณค่าทางโภชนาการ link text ได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/ sps/EEC/11_1235_00_e.pdf

20 มิ.ย. 54

20 วันหลังจาก ประกาศ

ความปลอดภัย อาหาร

การทบทวนครั้งสุดท้ายสาหรับ Commission Regulation (EC) No. 669/2009 ที่ประกาศใน G/SPS/N/EEC/341/Add.2 ลงวันที่ 9 เม.ย. 53 ได้รับความเห็นชอบให้เป็น Commission Regulation (EU) No. 187/2011 เมื่อ 25 ก.พ. 54 โดยแก้ไขภาคผนวกที่ 1 ของ Regulation

-

26 ก.พ. 54

ความปลอดภัย อาหาร

ประเทศคู่ค้า


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

(EC) No 669/2009 เกี่ยวกับการเพิ่มระดับการ ควบคุมอย่างเป็นทางการในการนาเข้าอาหาร และอาหารที่ไม่ได้จากสัตว์ link text ได้จาก http://eurlex.europa.eu/LexUriServ/LexUriServ.do?uri =OJ:L:2011:053:0045:0050:EN:PDF 27

แคนาดา G/SPS/N/CAN/425/ Add.1 7 เมษายน 2554

ค่า MRL สาร Trifloxystrobin

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร trifloxystrobin ประเทศคู่ค้า ซึ่งประกาศใน G/SPS/N/CAN/425 (ลงวันที่ 18 ก.พ. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-18 มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 24 มี.ค. 2554

-

24 มี.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

28

แคนาดา G/SPS/N/CAN/474/ Add.1 7 เมษายน 2554

ค่า MRL สาร Trifloxystrobin

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร trifloxystrobin ประเทศคู่ค้า ซึ่งประกาศใน G/SPS/N/CAN/474 (ลงวันที่ 21 ต.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-17 มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 24 มี.ค. 2554

-

24 มี.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

codex กำหนดกำรใช้สำรในกลุ่ม citrus fruit

กำหนดที่ 0.5 ppm


ประเทศทีแ่ จ้ ง สิ นค้ า/ ที่ หมายเลข Notification มาตรการ วันที่ WTO แจ้ งเวียน 29 แคนาดา ค่า MRL สาร G/SPS/N/CAN/476/ Pyroxsulam Add.1 7 เมษายน 2554 30

แคนาดา G/SPS/N/CAN/477/ Add.1 7 เมษายน 2554

ค่า MRL สาร Lambda-cyhalothrin

31

แคนาดา G/SPS/N/CAN/480/ Add.1 7 เมษายน 2554

ค่า MRL สาร Novaluron

32

แคนาดา G/SPS/N/CAN/522 7 เมษายน 2554

สารกาจัดศัตรูพืช fluroxypyr-meptyl ในอาหารชนิดต่าง

สาระสาคัญ ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร pyroxsulam ซึ่ง ประกาศใน G/SPS/N/CAN/476 (ลงวันที่ 27 ต.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-15 มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 24 มี.ค. 2554 ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร lambdacyhalothrinซึ่งประกาศใน G/SPS/N/CAN/477 (ลงวันที่ 27 ต.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและ ประกาศเป็นค่ากาหนดแล้วในEMRL2011-14 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 24 มี.ค. 2554 ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร novaluron ซึ่ง ประกาศใน G/SPS/N/CAN/480 (ลงวันที่ 27 ต.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-16 มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 24 มี.ค. 2554 ประกาศ PMRL 2011-04 เพื่อขอข้อคิดเห็นต่อ การกาหนดค่า MRLs ของสารนาเข้า fluroxypyr-meptyl ดังนี้ - ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโอ๊ต ข้าวสาลี ที0.5 ่ ppm

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

ประเทศคู่ค้า

-

24 มี.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

ประเทศคู่ค้า

-

24 มี.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

ประเทศคู่ค้า

-

24 มี.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

ประเทศคู่ค้า

5 มิ.ย. 2554

นับจากวันที่ มาตรการได้รับ ความเห็นชอบ

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

33

แคนาดา G/SPS/N/CAN/523 7 เมษายน 2554

สิ นค้ า/ มาตรการ

สารกาจัดศัตรูพืช imazamox ในพืช กลุ่ม rapeseeds (พืช กลุ่ม 20 A)

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

- หัวหอมแห้ง ที0.03 ่ ppm - ผลไม้จาพวกส้ม (พืชกลุ่ม 11-09) ข้าวโพดไร่ ข้าวฟ่าง ข้าวโพดหวานแกะเปลือก ที่ 0.02 ppm เอกสารเพิ่มเติมดูได้จาก http://www.hc-sc.gc.ca/cpsspc/pest/part/consultations/index-eng.php ประกาศ PMRL 2011-05 เพื่อขอข้อคิดเห็นต่อ ประเทศคู่ค้า การกาหนดค่า MRLs ของสารภายในประเทศ imazamox ในวัตถุดิบสินค้าเกษตรและสินค้า แปรรูป ดังนี้ - เมล็ดพันธุ์ Borage, cuphea, echium,flax, Gold of Pleasure, Hare’s ear mustard, milkweed, มัสตาร์ด (ประเภทที่ให้น้ามัน),oil radish, ดอก ฝิน่ , งา, sweet rocket ที่ 0.5 ppm ร่างข้อเสนอนี้เพื่อขยายการกาหนดค่าMRLs ใน rapeseeds (canola) ที่ 0.05 ppm ให้ครอบคลุม อาหารในกลุ่มย่อยอื่นๆ ของrapeseed เอกสารเพิ่มเติมดูได้จาก http://www.hc-sc.gc.ca/cpsspc/pest/part/consultations/index-eng.php

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

5 มิ.ย. 2554

นับจากวันที่ มาตรการได้รับ ความเห็นชอบ

จุดประสงค์

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศทีแ่ จ้ ง ประเทศทีไ่ ด้ รับ สิ นค้ า/ ผลกระทบ ที่ หมายเลข Notification สาระสาคัญ มาตรการ วันที่ WTO แจ้ งเวียน 34 แคนาดา สารกาจัดศัตรูพืช ประกาศ PMRL 2011-07 เพื่อขอข้อคิดเห็นต่อ ประเทศคู่ค้า G/SPS/N/CAN/524 flonicamid ในสินค้า การกาหนดค่า MRLs ของสารนาเข้า 7 เมษายน 2554 อาหารต่างๆ flonicamid ดังนี้ - ใบ Brassica ที่ 16 ppm (พืชกลุ่ม 5ฺB) radish tops - ผักโขม ที่ 9.0 ppm - ฮ๊อพ ที่ 7.0 ppm - ผักใบเขียวยกเว้นBrassica ที่ 4.0 ppm (พืชกลุ่ม 4 ยกเว้นผักโขม) - น้าพริกมะเขือเทศ ที่ 2.0 ppm - หัวและก้าน Brassica ที่ 1.5 ppm - ผักที่มีราก ยกเว้นบีทน้าตาล(พืชกลุ่ม 1ฺB) stone fruits (พืชกลุ่ม 12-09) ที่ 0.6 ppm - น้าแกงมะเขือเทศ ที่ 0.5 ppm - ผลไม้ (พืชกลุ่ม 8-09) พืชประเภทแตง (พืช กลุ่ม 9) มันฝรั่ง เมล็ดมันฝรั่ง ที่ 0.4 ppm - หน่อและหัวของผัก (กลุ่ม 1C) ผลไม้ตระกูล ส้ม (กลุ่ม 11-09) ที่ 0.4 ppm - เนื้อและผลิตเนื้อที่ได้จากโคกระบือ แพะ ม้า และแกะ ที่ 0.08 ppm

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน 5 มิ.ย. 2554

นับจากวันที่ มาตรการได้รับ ความเห็นชอบ

จุดประสงค์

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

- ไขมันโคกระบือ แกะ ม้า และ แกะ นม ที่ 0.03ppm เอกสารเพิ่มเติมดูได้จาก http://www.hc-sc.gc.ca/cpsspc/pest/part/consultations/_pmrl201107/pmrl2011-07-eng.php 35

แคนาดา G/SPS/N/CAN/447/ Add.1 1 เมษายน 2554

ค่า MRL สาร Flumioxazin

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร flumioxazin ซึ่ง ประเทศคู่ค้า ประกาศใน G/SPS/N/CAN/447 (ลงวันที่ 25 มิ.ย. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-11 มีผลบังคับใช้ ตัง้ แต่ 18 มี.ค. 2554

-

18 มี.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

-

18 มี.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

http://www.hc-sc.gc.ca/cpsspc/pubs/pest/_decisions/EMRL2011-11/indexeng.php 36

แคนาดา G/SPS/N/CAN/448/ Add.2 5 เมษายน 2554

ค่า MRL สาร Propiconazole

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร propiconazole ประเทศคู่ค้า ซึ่งประกาศใน G/SPS/N/CAN/448 (ลงวันที่ 1 มิ.ย. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-12 มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 18 มี.ค. 2554 http://www.hc-sc.gc.ca/cpsspc/pubs/pest/_decisions/EMRL2011-12/indexeng.php


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

**ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย** 37

แคนาดา G/SPS/N/CAN/455/ Add.1 1 เมษายน 2554

ค่า MRL สารกาจัด ศัตรูพืชชนิดต่างๆ

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสารกาจัดศัตรูพืชซึ่ง ประเทศคู่ค้า ประกาศใน G/SPS/N/CAN/455 (ลงวันที่ 8 ก.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็นค่า กาหนดแล้วใน EMRL2011-13 มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 18 มี.ค. 2554

-

18 มี.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

1 มิ.ย. 54

นับจากวันที่ มาตรการได้รับ ความเห็นชอบ

ความปลอดภัย อาหาร

http://www.hc-sc.gc.ca/cpsspc/pubs/pest/_decisions/emrl2010-36/indexeng.php 38

แคนาดา G/SPS/N/CAN/520 1 เมษายน 2554

สารกาจัดศัตรูพืช ชนิด cyprosulfamide ในข้าวโพด ไข่ นม และสินค้าปศุสัตว์

ประการ PMRL 2011-02 เพื่อขอข้อคิดเห็นต่อ ประเทศคู่ค้า การกาหนดค่า MRLs ของสารนาเข้าและ ภายในประเทศ cyprosulfamide ดังนี้ - ไข่ ไขมัน เนื้อและผลิตเนื้อที่ได้จากโคกระบือ แพะ สุกร ม้า สัตว์ปีกและแกะ ที่ 0.02 ppm - นม ที่ 0.01 ppm - ข้าวโพดไร่ เมล็ดข้าวโพด ที0.01 ่ ppm ข้าวโพดหวานเอาซังออก http://www.hc-sc.gc.ca/cps-


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

39

แคนาดา G/SPS/N/CAN/525 7 เมษายน 2554

40

ไต้หวัน อาหารกระป๋อง G/SPS/N/TPKM/223 11 เมษายน 2554

สารกาจัดศัตรูพืช imazethapyr ใน rapeseeds (พืชกลุ่ม 20A)

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

spc/pest/part/consultations/_pmrl201102/index-eng.php ประกาศ PMRL 2011-08 เพื่อขอข้อคิดเห็นต่อ ประเทศคู่ค้า การกาหนดค่า MRLs ของสารภายในประเทศ imazethapyr ดังนี้ - เมล็ดพันธุ์ Borage, cuphea,echium, flax, Gold of Pleasure, Hare’s ear mustard, milkweed มัสตาร์ด (ประเภทที่ให้น้ามัน),oil radish, ดอก ฝิน่ , งา เมล็ดพันธุ์ sweet rocket ที่ 0.05 ppm ร่างข้อเสนอนี้เพื่อขยายการกาหนดค่าMRLs ใน rapeseeds (canola) ที่ 0.05 ppm ให้ครอบคลุม อาหารในกลุ่มย่อยอื่นๆ ของrapeseed เอกสารเพิ่มเติมดูได้จาก http://www.hc-sc.gc.ca/cpsspc/pest/part/consultations/index-eng.phpht อาหารกระป๋องนาเข้าจะต้องผลิตจาก ประเทศคูค่ ้า ผู้ประกอบการที่ได้รับการรับรองอย่างเป็น ทางการ โดยมีใบรับรองจากหน่วยงานที่ รับผิดชอบหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่มีอานาจ รับผิดชอบหรือหน่วยงานที่ได้รับมอบอานาจ ใบรับรอง จะต้องประกอบด้วยดังนี้ :

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

5 มิ.ย. 2554

นับจากวันที่ มาตรการได้รับ ความเห็นชอบ

ความปลอดภัย อาหาร

10 มิ.ย. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

41

42

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

1. ชื่อและเลขทะเบียนสินค้า 2. ค่า pH ของอาหารกระป๋อง 3. Water activity (Aw) ของอาหารกระป๋อง 4. เลขที่ใบรับรอง 5. ชื่อผู้ประกอบการ 6. ชื่อรหัส/ตัวเลขรหัสของผู้ประกอบการ 7. ต้องสาแดงว่า “the product is fit for human consumption” ; และ 8. Sterilizing Value (FO) ถ้าอาหารกระป๋อง ประกอบด้วยค่า pH มากกว่า 4.6 และ Aw มากกว่า 0.85 (ไม่รวมอาหารกระป๋องที่เป็น กรด) ไต้หวัน สารตกค้างในอาหาร ตามที่ไต้หวันเสนอร่างแก้ไขมาตรฐาน ประเทศคู่ค้า กาหนดค่า MRL ในอาหาร ลงวันที่ 15 ธ.ค. G/SPS/N/TPKM/213 2553 (G/SPS/N/TPKM/213) นั้น บังคับใช้แล้ว /Add.1 การแก้ไขครั้งสุดท้ายได้มีผลเมื่อวันที่ 12 มี.ค. 5 เมษายน 2554 2554 ไต้หวัน มาตรฐานสารให้สี G/SPS/N/TPKM/215 จากธรรมชาติ /Add.1 สามารถบริโภคได้

เมื่อวันที่ 19 ม.ค. 54 ไต้หวันประกาศปรับปรุง ประเทศคู่ค้า ร่างมาตรฐานสุขอนามัยสารให้สีจากธรรมชาติ สามารถบริโภคได้ การแก้ไข ครั้งสุดท้ายมีผล

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

-

12 มี.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

-

21 เม.ย. 54

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน 29 เมษายน 2554

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

บังคับใช้วันที่ 21 เม.ย. 54 เอกสารเพิ่มเติมดูได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/ sps/TPKM/11_1320_00_e.pdf

43

ไต้หวัน สารปรุงแต่งอาหาร G/SPS/N/TPKM/224 14 เมษายน 2554

แก้ไขมาตรฐาน คุณสมบัติ ขอบเขต การใช้ ประเทศคู่ค้า และการจาระดับปริมาณของสารปรุงแต่ง อาหาร calcium sorbate, dimethyl dicarbonate, aluminium silicat e. Talc, silicon dioxide, Lcarnitine, copper chlorophyll, sodium copper chlorophyllin, liquid paraffin, polyvinyl alcohol Link text ได้จาก http://members.wto.org/crnattachments/2011/ sps/TPKM/11_1172_00_e.pdf

13 มิ.ย. 54

6 เดือนหลัง ประกาศ

ความปลอดภัย อาหาร

12 มิ.ย. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร

http://members.wto.org/crnattachments/2011/ sps/TPKM/11_1172_01_e.pdf 44

เกาหลีใต้ G/SPS/N/KOR/387 13 เมษายน 2554

ผลิตภัณฑ์อาหาร

เสนอแก้ไขมาตรฐานอาหาร – กาหนดและแก้ไขค่า MRL ของสารกาจัด ศัตรูที่ใช้ทางการเกษตร

ประเทศคู่ค้า


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

– แก้ไขค่า MRL ของสารกาจัดศัตรูพืชที่ใช้ใน อาหารสัตว์ –แก้ไขค่า MRL ของยาสัตว์ในอาหาร 45

บราซิล G/SPS/N/BRA/728 5 เมษายน 2554

อาหารและเครื่องดื่ม ร่างกฏระเบียบทางเทคนิคมีวัตถุประสงค์เพื่อ ประเทศคู่ค้า กาหนดระเบียบทั่วไปในการสนับสนุนการ ประเมินวัตถุดิบแปลกใหม่ในระดับมหภาค และจุลภาคเพื่อเป็นตัวบ่งชี้ความเสี่ยงต่อ สุขภาพมนุษย์หรือไม่ผ่านตามหลักการปฏิบัติ ที่ดีในห่วงโซ่การผลิตอาหารและเครื่องดื่ม และกาหนดค่าสูงสุดที่ยอมรับได้ กฏระเบียบนี้ ใช้กับอาหาร รวมทั้งน้าดื่มบรรจุขวด เครื่องดื่ม ส่วนผสมวัตถุดิบ สารปรุงแต่งอาหาร ที่ผลิต โดยเทคโนโลยี อาหารบรรจุหีบห่อหรือห่อ รวมขนาดใหญ่สาหรับมนุษย์ใช้บริโภค เมื่อกฏระเบียบนี้ได้รับความเห็นชอบจะยกเลิก Resolution no. 175 ลงวันที่ 8 ก.ค. 2546

9 พ.ค. 54

ก.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

46

บราซิล G/SPS/N/BRA/742 29 เมษายน 2554

การกล่าวอ้างทาง ร่าง Mercosur Resolution เกี่ยวกับการกล่าว ประเทศคู่ค้า โภชนาการบนฉลาก อ้างทางโภชนาการบนฉลากอาหาร รวมทั้งตรา อาหาร สินค้าบนหีบห่ออาหาร ซึ่งผลิตและวางตลาด ในประเทศสมาชิก Mercosur (อาร์เจนตินา,

12 มิ.ย. 54

ต.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ บราซิล, ปารากวัย, อุรุกวัย) ที่เป็นเขตการค้า ระหว่างสมาชิกและเขตนาเข้าพิเศษ การกล่าว อ้างสรรพคุณทางโภชนาการที่กาหนดในร่างนี้ ใช้กับสื่อโฆษณาทุกประเภท และการสื่อสาร ทุกประเภททั้งทางการพูดหรือการเขียน โดย บังคับใช้กับ ฉลากของอาหารที่หีบห่อบรรจุและเป็น ข้อกาหนดสาหรับอาหาร ร่างกฏระเบียบนี้ไม่ใช้กับอาหารที่มี วัตถุประสงค์พิเศษ (ตามที่ระบุไว้ในร่างกฏ ระเบียบทางเทคนิคของ Mercosur น้าแร่ และ น้าดื่มบรรจุขวดสาหรับมนุษย์ใช้บริโภค และ เกลือ กฏระเบียบเฉพาะยังคงต้องปฏิบัติ ตาม ทั้งนี้ไม่อนุญาตให้ใช้การอ้างในกรณี : 1- เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2- สารปรุงแต่งอาหารและ processing aids 3- เครื่องปรุงรส 4- น้าส้มสายชู 5- กาแฟ ครีมเทียม สมุนไพร ชา และสมุนไพร อื่นๆที่ไม่มีคุณค่าทางโภชนาการ ในกรณีของวิตามินและน้าแร่ การอ้างทาง

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

โภชนาการสามารถใช้อ้างได้เฉพาะตามที่ได้ กาหนดไว้เป็นปริมาณบริโภคต่อวัน Mercosur (RDI) 47

บราซิล G/SPS/N/BRA/743 29 เมษายน 2554

Neoseiulus californicus

บราซิลเสนอร่างแก้ไข RE No. 165 ลงวันที่ 29 ประเทศคู่ค้า สิงหาคม 2546 โดยอนุญาตให้ใช้สาร neoseiulus californicus

7 พ.ค. 54

ก.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

48

บราซิล G/SPS/N/BRA/743 29 เมษายน 2554 ออสเตรเลีย G/SPS/N/AUS/263 19 เมษายน 2554

Neoseiulus californicus

บราซิลเสนอร่างแก้ไข RE No. 165 ลงวันที่ 29 ประเทศคู่ค้า สิงหาคม 2546 โดยอนุญาตให้ใช้สาร neoseiulus californicus เสนอร่างแก้ไข Australia New Zealand Food ประเทศคูค่ ้า Standards Code เพื่อกาหนดค่า MRLs สาหรับ สารเคมีที่ใช้ทางสัตวศาสตร์และทาง การเกษตร เพื่อให้สอดคล้องกับกฎระเบียบ แห่งชาติอื่นๆ ที่เกี่ยวกับความปลอดภัยและเกิด ประสิทธิภาพในการใช้สารเคมีดังกล่าว

7 พ.ค. 54

ก.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

14 มิ.ย. 2554

ก.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

ตุรกี G/SPS/N/TUR/12 19 เมษายน 2554

อาหารทุกชนิด

ประกาศกฎระเบียบครอบคลุมเรื่อง ประเทศคู่ค้า กระบวนการ และหลักการเกี่ยวกับการ ตรวจสอบด้วยตัวเองของผู้ประกอบกิจการ อาหารรวมทั้งข้อกาหนดเฉพาะด้านสุขอนามัย และความรับผิดชอบของผู้ประกอบกิจการด้าน

18 มิ.ย. 54

13 ธ.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

49

50

อาหารทั่วไป


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

อาหารที่ผลิตอาหารแปรรูปและไม่แปรรูปซึ่งมี แหล่งกาเนิดจากสัตว์กฏระเบียบนี้ไม่ใช้กับ อาหารที่มีแหล่งกาเนิดจากทั้งพืชและสินค้า แปรรูปจากสัตว์ อย่างไรก็ตาม ผลิตภัณฑ์ อาหารที่มีแหล่งกาเนิดจากสัตว์ซึ่งใช้ในการ เตรียมอาหารจะต้องจัดการให้เป็นไปตาม ข้อกาหนดของกฏระเบียบนี้ 51

ตุรกี G/SPS/N/TUR/13 19 เมษายน 2554

อาหารทุกชนิด

กฎระเบียบเกี่ยวกับขั้นตอน และหลักการ ประเทศคู่ค้า สาหรับกฏด้านสุขอนามัยทั่วไป และความ รับผิดชอบของผู้ประกอบกิจการอาหารต้องให้ อาหารได้สุขอนามัยตลอดทุกขั้นตอนการผลิต การดาเนินการ และการจัดจาหน่ายรวมถึงการ ผลิตขั้นพื้นฐาน

18 มิ.ย. 54

13 ธ.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

52

ตุรกี G/SPS/N/TUR/14 19 เมษายน 2554

อาหารทุกชนิด

วัตถุประสงค์ของกฎระเบียบนี้เพื่อกาหนด ประเทศคู่ค้า หลักการและกระบวนการการควบคุมอย่างเป็น ทางการของอาหารและอาหารสัตว์เพื่อให้ ความมั่นใจในการปฏิบัติตามกฏหมายที่ เกี่ยวกับการปกป้อง การกาจัด การลดระดับ ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ต่อสัตว์และมนุษย์ทั้ง ทางตรงและผ่านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการ

18 มิ.ย. 54

13 ธ.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร สุขภาพสัตว์ อารักขาพืช ปกป้อง มนุษย์จากโรคพืช/ โรคสัตว์ ปกป้อง อาณาเขตจากโรค พืช/โรคสัตว์


ประเทศทีแ่ จ้ ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้ งเวียน

สิ นค้ า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

ปกป้องการแข่งขันทางการค้าอาหารและ อาหารสัตว์ที่ไม่เป็นธรรมและคุ้มครอง ผู้บริโภค รวมทั้งการติดฉลากอาหารและใน รูปแบบอื่นๆ กฏระเบียบนี้รวมถึง กระบวนการและหลักการด้านการตรวจสอบ ย้อนกลับอาหารและอาหารสัตว์และระบบการ เตือนภัย สถานการณ์ฉุกเฉิน มาตรการเตือนภัย ล่วงหน้า การจัดการในภาวะวิกฤต ข้อคิดเห็น จากสาธารณะ การควบคุมอย่างเป็นทางการทุก ประเภท ใบรับรองอย่างเป็นทางการ แผน ประจาปีและแผนการควบคุมประจาปีแห่งชาติ การบังคับใช้การยกเลิก 53

ตุรกี G/SPS/N/TUR/15 19 เมษายน 2554

อาหารทุกชนิด

วัตถุประสงค์ของกฎระเบียบนี้เพื่อพิจารณา หลักการควบคุมอย่างเป็นทางการเกี่ยวอาหาร ที่มีแหล่งกาเนิดจากสัตว์โดยการเพิ่ม “ กฏ ระเบียบการควบคุมอาหารและอาหารสัตว์ อย่างเป็นทางการ” พิสูจน์ว่ากฏระเบียบด้าน สาธารณะสุขและสุขอนามัยสัตว์ รวมถึงด้าน สวัสดิภาพเหมาะสมตามที่กาหนดไว้ใน กฏหมาย

ประเทศคู่ค้า

18 มิ.ย. 54

13 ธ.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร สุขภาพสัตว์


ประเทศทีแ่ จ้ ง สิ นค้ า/ ที่ หมายเลข Notification มาตรการ วันที่ WTO แจ้ งเวียน 54 ศรีลังกา สารแต่งกลิ่นรส G/SPS/N/LKA/23 /Add.1 27 เมษายน 2554 55 ศรีลังกา กฏระเบียบ

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

จุดประสงค์

จากข้อคิดเห็นที่ได้รับศรีลังกาจึงได้ประกาศ ประเทศคู่ค้า ทบทวนร่างกฎระเบียบ Food Regulation 2010

1 มิ.ย. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร

กฏระเบียบเกี่ยวกับอาหาร (สุขอนามัย) บังคับ ใช้กับโรงงานที่เกี่ยวข้องกับการแปรรูป การ เก็บรักษา การขนส่ง การจาหน่าย การกระจาย สินค้า และเรื่องที่เกี่ยวข้องกับข้อกาหนดด้าน อาหารและการจัดการ

ประเทศคู่ค้า

12 มิ.ย. 54

6 เดือนหลังจาก ความปลอดภัย อาหาร ประกาศ

G/SPS/N/LKA/24 13 เมษายน 2554

อาหาร (สุขอนามัย) 2010

56

ชิลี G/SPS/N/CHL/344/ Add.2 26 เมษายน 2554

Hydrobiological species

ชิลีประกาศขยายเวลาแสดงข้อคิดเห็นจนถึง วันที่ 30 เม.ย. 54เรื่อง การนาเข้า Hydrobiological species เข้าสู่ชิลีเป็นครั้งแรก ตามประกาศ G/SPS/N/CHL/344/Add. 1 ลง วันที่ 23 มี.ค. 54

ประเทศคู่ค้า

30 เม.ย. 54

-

สุขภาพสัตว์

57

ชิลี G/SPS/N/CHL/347/ Add.1 26 เมษายน 2554

ค่า MRLs สาหรับ อาหาร

ชิลีประกาศขยายเวลาแสดงข้อคิดเห็นจนถึง ประเทศคู่ค้า วันที่ 22 พ.ค. 54 เรื่อง กาหนดค่า MRL สาหรับ อาหาร ตามประกาศ G/SPS/N/CHL/347 ลง วันที่ 21 ก.พ. 54

22 พ.ค. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร

58

คอสตาริกา

อาหารที่ผ่านการ

ประกาศ G/SPS/N/CRI/100 สามารถดูได้จา

15 พ.ค. 54

-

ความปลอดภัย

ประเทศคู่ค้า


ประเทศทีแ่ จ้ ง สิ นค้ า/ ที่ หมายเลข Notification มาตรการ วันที่ WTO แจ้ งเวียน G/SPS/N/CRI/100/ แปรรูปและ Add.1 เครื่องดืม่ สารปรุง 27 เมษายน 2554 แต่งอาหาร

59.

เวียดนาม G/SPS/N/VNM/27 /Rev .1 15 เมษายน 2554

อาหาร สารปรุงแต่ง อาหาร วัสดุบรรจุ ภัณฑ์อาหาร

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน

กลิ้งค์นี้ : http://members.wto.org/crnattachments/2011/ sps/CRI/11_0381_00_s.pdf http://members.wto.org/crnattachments/2011/ sps/CRI/11_0381_01_s.pdf http://members.wto.org/crnattachments/2011/ sps/CRI/11_0381_02_s.pdf http://members.wto.org/crnattachments/2011/ sps/CRI/11_0381_03_s.pdf http://members.wto.org/crnattachments/2011/ sps/CRI/11_0381_04_s.pdf แจ้งปรับปรุง บางมาตราเกี่ยวกับกฎหมายความ ปลอดภัยอาหารดังนี้ - ประกาศกฎระเบียบทางวิชาการเกี่ยวกับการ ประเมินความสอดคล้องกับประกาศ - อาหารดัดแปลงพันธุกรรมต่อความปลอดภัย ของสุขภาพมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม - สินค้าที่ไม่อยู่ภายใต้ระบบการรับรอง - ลักษณะที่เหมาะสมต่ออาหารปลอดภัยและ สินค้านาเข้าที่ไม่มีการควบคุมความปลอดภัย - การจัดการควบคุมของอาหารปลอดภัยและ การตรวจสอบ

จุดประสงค์

อาหาร

ประเทศคู่ค้า

1 ก.ค. 54

1 ก.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศทีแ่ จ้ ง สิ นค้ า/ ที่ หมายเลข Notification มาตรการ วันที่ WTO แจ้ งเวียน 60 ไทย อาหารที่ปนเปื้อน G/SPS/N/THA/201 สารกัมมันตรังสี 28 เมษายน 2554 มาตรการฉุ กเฉิน

สาระสาคัญ

ประเทศทีไ่ ด้ รับ ผลกระทบ

-กาหนดตมาตรฐานโดยตรวจพบการปนเปื้อน ประเทศคู่ค้า สารกัมมันตรังสีได้ไม่เกินปริมาณ ดังต่อไปนี้ 1 ไอโอดีน-131 ไม่เกิน ๑๐๐ Bq/kg 2 ซีเซียม-134 และซีเซียม-137 รวมกัน ไม่เกิน ๕๐๐ Bq/kg -ให้ผู้นาเข้าอาหารที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสี ต้องแสดงหลักฐานระบุปริมาณกัมมันตรังสี และแหล่ง ที่ผลิตอาหาร ณ ด่านนาเข้าซึ่งออกโดยจาก หน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบของประเทศที่ เป็นแหล่งต้นกาเนิด หรือจากหน่วยงาน ที่ได้รับการยอมรับจากหน่วยงานของรัฐที่ รับผิดชอบของประเทศที่เป็นแหล่งต้นกาเนิด หรือจาก ห้องปฏิบัติการของหน่วยงานของรัฐ หรือจาก ห้องปฏิบัติการที่ได้รับมอบหมายหรือได้รับ การรับรองจากหน่วยงานของรัฐ หรือองค์กร มาตรฐานสากล http://members.wto.org/crnattachments/2011/ sps/THA/11_1314_00_e.pdf

วันสุ ดท้ ายที่ วันทีม่ ีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้ าน -

12 เม.ย.54

จุดประสงค์

ความปลอดภัย อาหาร


e-mail sps@acfs.go.th Tel. 02 561 2244 ext. 1344 website : http://www.acfs.go.th/searchNotification.php


สรุป SPS Notification ประจาเดือนพฤษภาคม 2554 ประเทศที่แจ้ง สินค้า/ ที่ หมายเลข Notification สาระสาคัญ มาตรการ วันที่ WTO แจ้งเวียน กลุ่มผลิตภัณฑ์ผักและผลไม้ 1 กล้วยและองุ่น wine มาตรการสุดท้ายกาหนดค่า MRLs ของสาร สหรัฐอเมริกา G/SPS/N/USA/2214 metiram ในกล้วยและ wine grape 9 พฤษภาคม 2554 **ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

จุดประสงค์

ประเทศคู่ค้า

-

29 เม.ย. 54

ความปลอดภัย อาหาร

ประเทศคู่ค้า

-

6 เม.ย. 54

ความปลอดภัย อาหาร

กระทรวงเกษตร ป่าไม้และประมงญี่ปุ่น ประเทศคู่ค้า (MAFF) ประกาศเสนอทบทวนกฎหมาย อารักขาพืชและประเทศที่เกี่ยวข้องตาม ประกาศ G/SPS/N/JPN /266 ลงวันที่ 4 พ.ย. 2553 การแก้ไขนี้ได้รับความเห็นชอบเมื่อวันที่ 7 มี.ค. 2554 และจะมีผลบังคับใช้วันที่ 7 ก.ย. 54 หลังจากระยะเวลาผ่อนผัน 6 เดือน ยกเว้น การตรวจสอบที่แหล่งเพาะปลูก ข้อกาหนด

-

7 มี.ค. 55

ความปลอดภัย อาหาร

มาตรฐานCodex และไทย** 2

3

สหรัฐอเมริกา G/SPS/N/USA/2220 30 พฤษภาคม 2554 มาตรการสุดท้าย ญี่ปุ่น G/SPS/N/JPN /266/Add.1 4 พฤษภาคม 2554

ผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ กาหนดค่า MRLs ของสาร hexythiazox ใน ข้าวโพดหวาน ข้าวโพดหวานที่ไม่มีซัง ซัง ข้าวโพดหวาน ถั่วแห้ง และถั่ว succulent **ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย** พืชและผลิตภัณฑ์ที่ ได้จากพืช


ประเทศที่แจ้ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

จุดประสงค์

สาหรับการตรวจสอบจะมีผลบังคับใช้วันที่ 7 มี.ค. 55, 1 ปีหลังจากการทบทวนกฎหมาย เอกสารเพิ่มเติมดูได้จาก http://members.wto.org/crnattachment/2011/s ps/JPN/11_1388_00_e.pdf 4

ผลไม้ ผัก และ ไต้หวัน G/SPS/N/TPKM/232 ธัญพืช 30 พฤษภาคม 2554

ร่างกาหนดค่า MRLs สาร Acetamiprid, Acrinathrin, Amitraz, Benalaxyl, Bifenthrin, Bromopropylate, Buprofezin, Carbendazim, Chlorpyrifos, Chlormequat, Cyprodinil, Dimethomorph, Fenazaquin, Fenitrothion, Fenpropathrin, Fenpyroximate, Fludioxonil, Fluvalinate, Formetanate, Hexaconazole, Imibenconazole, Imidacloprid, Malathion, Mepanipyrim, Metalaxyl, Milbemectin, Pirimicarb, Profenophos, Propamocarb hydrochloride, Propargite, Pyrazophos และ Triforine ในผลไม้ ผักและธัญพืช

ประเทศคู่ค้า

26 ก.ค. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร

5.

ผลไม้ ผัก และ ไต้หวัน G/SPS/N/TPKM/233 ธัญพืช 30 พฤษภาคม 2554

ร่างกาหนดค่า MRLs สาร Azoxystrobin, Chlorfenapyr, Cyproconazole, Dimethomorph, Mandipropamid และ

ประเทศคู่ค้า

29 ก.ค. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศที่แจ้ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

จุดประสงค์

Tebuconazole ในผลไม้ ผักและธัญพืช

6.

ผลไม้ ผัก และ ไต้หวัน G/SPS/N/TPKM/226 ธัญพืช 16 พฤษภาคม 2554

ร่างกาหนดค่า MRLs สาร 2,4-D, Abamectin, Aminoethoxybinyl-glycine, Bifenthrin, Boscalid, Carbendazim, Chlorantraniliprole, Emamectin benzoate, Endosulfan, Ethephon, Fenpyroximate, Fludioxonil, Metalaxyl, Propargite, Pymetrozine และ Pyraclostrobin ในผลไม้ ผักและธัญพืช

ประเทศคู่ค้า

15 ก.ค. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร

7.

ผลไม้ ผัก และ ไต้หวัน G/SPS/N/TPKM/230 ธัญพืช 18 พฤษภาคม 2554

ร่างกาหนดค่า MRLs สาร Azoxystrobin, ประเทศคู่ค้า Bifenthrin, Chlorantraniliprole, Cyazofamid, Cyflufenamid, Acaricide, Cyfluthrin, Cyhalothrin, Cyprodinil, Ethiprole, Fenitrothion, Fenpropathrin, Flonicamid, Flubendiamide, Fludioxonil, Flupicolide, Iminoctadine, Mandipropamid, Methiocarb, Pyraclostrobin, Spinetoram, Spirodiclofen, Spirotetramat, Tebuconazole, Tebufenpyrad และ Trifloxystrobin ในผลไม้ ผักและธัญพืช

17 ก.ค. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศที่แจ้ง สินค้า/ ที่ หมายเลข Notification มาตรการ วันที่ WTO แจ้งเวียน กลุ่มผลิตภัณฑ์ประมง 8 น้ามันและไขมัน ถั่ว สหภาพยุโรป G/SPS/N/EEC/403 โกโก้และผลิตภัณฑ์ 20 พฤษภาคม 2554 ที่ได้จากถั่วโกโก้ น้ามันมะพร้าว เนื้อ รมควันและ ผลิตภัณฑ์เนื้อ รมควัน เนื้อย่างและ เนื้อบาร์บีคิว เนื้อ ปลาและผลิตภัณฑ์ ปลารมควัน ปลา sprat รมควันและ ปลา sprat รมควัน กระป๋อง หอยสองฝา อาหารสาเร็จรูปที่ทา จากธัญพืชและ อาหารเด็กสาหรับ ทารก และเด็กเล็ก อาหารสูตรสาหรับ ทารก รวมทั้งนม ทารก และนม

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วัตถุประสงค์ของร่างกฏระเบียบนี้เพื่อ ประเทศคู่ค้า กาหนดค่า polycyclic aromatic hydrocarbons ต่อ EFSA ร่างกฎระเบียบนี้กาหนดค่าสาร 4 ชนิดดังนี้ (benzo(a)pyrene, ben(a)anthracene, benzo(b)fluoranthene และ chrysene) และแยก ค่าสาร benzo(a)pyrene

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน 19 ก.ค. 54

20 วันหลังจาก ประกาศใน OJ

จุดประสงค์

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศที่แจ้ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

จุดประสงค์

อาหารลดน้าหนัก สาหรับวัตถุประสงค์ ทางการแพทย์ที่ใช้ สาหรับทารก กลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม 9 ไต้หวัน

เครื่องดื่ม

G/SPS/N/TPKM/227 16 พฤษภาคม 2554 กลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมรับประทาน 10 อาหารสาเร็จรูป ไต้หวัน G/SPS/N/TPKM/229 พร้อมรับประทาน

ไต้หวันแก้ไขร่าง article 4 และ 5 แก้ไขค่า tin และแก้ไขขอบเขต microbiological ใน มาตรฐานสุขอนามัยสาหรับเครื่องดื่ม

ประเทศคู่ค้า

8 ก.ค. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร

ไต้หวันยกเลิกค่า MRLs สาร aerobic plate count อาหารสาเร็จรูปพร้อมรับประทาน

ประเทศคู่ค้า

16 ก.ค. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร

-

29 เม.ย. 54

ความปลอดภัย อาหาร

19 ก.ค. 54

ก.ค. 55

ความปลอดภัย อาหาร

17 พฤษภาคม 2554 กฎระเบียบทั่วไป และกลุ่มอาหารทั่วไป เช่น สารพิษตกค้าง สารปรุงแต่งอาหาร ฉลาก เป็นต้น 11 ผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ มาตรการสุดท้ายกาหนดค่า MRLs ของสาร สหรัฐอเมริกา ประเทศคู่ค้า G/SPS/N/USA/2215 9 พฤษภาคม 2554 12

สหภาพยุโรป G/SPS/N/EEC/405 20 พฤษภาคม 2554

mefenpyr-diethyl ในสินค้าชนิดต่างๆ **ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย** อาหารทุกประเภทที่ วัตถุประสงค์ของร่างระเบียบคณะกรรมการ ได้จากสัตว์ (EC) No 853/2004 กาหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจ อาหารเตรียมแบบฟอร์มข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ผู้

ประเทศคู่ค้า


ประเทศที่แจ้ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

จุดประสงค์

นาเข้าเพื่อแสดงให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเมื่อมี การร้องขอ สาหรับการนาเข้าอาหารที่ได้จาก สัตว์ ข้อมูลนี้ได้แสดงไว้แล้วในใบรับรอง สุขอนามัยทีป่ ระกอบเที่ยวการนาเข้า 13

อาหารนาเข้าทุก ไต้หวัน G/SPS/N/TPKM/231 ประเภททีผ่ ลิตใน 30 พฤษภาคม 2554 จังหวัดฟูกชุ ิมะ อิบา รากิ โตชิกิ กันมะ และชิบะ ญี่ปุ่น

14

ไต้หวัน G/SPS/N/TPKM/209/ Add.1 12 พฤษภาคม 2554

15

ค่า MRLs สารกาจัด ตามที่ไต้หวันได้เสนอแก้ไขมาตรฐานการ ไต้หวัน G/SPS/N/TPKM/214/ ศัตรูพืชในอาหาร กาหนดค่า MRLs ของสารกาจัดศัตรูพืชใน Add.1 อาหาร เมื่อวันที่ 25 ม.ค. 54 การแก้ไขครั้ง

อาหารบรรจุแบบ สุญญากาศและ อาหารบรรจุ กระป๋อง

ไต้หวันออกมาตรการยกเลิกชั่วคราวการ ประเทศคู่ค้า ตรวจสอบการนาเข้าอาหารทุกประเทศที่ผลิต ในจังหวัดฟูกุชิมะ อิบารากิ โตชิกิ กันมะ และชิบะ ประเทศญี่ปุ่น มาตรฐานนี้มีผลบังคับ ใช้เมื่อวันที่ 26 มี.ค. 2554 และประกาศตาม FDA food no. 1300991 ลงวันที่ 25 มี.ค. 2554 โดย Taiwan FDA

-

26 มี.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

ไต้หวันเสนอร่างแก้ไขหลักปฏิบัติที่ถูก ประเทศคู่ค้า สุขลักษณะสาหรับอาหารบรรจุแบบ สุญญากาศและกระป๋อง รวมถึงกฎระเบียบการ ติดฉลากอาหารดังกล่าวลงวันที่ 29 ต.ค. 53 (G/SPS/N/TPKM/209) และกาลังพิจารณา วันที่บังคับใช้

-

-

ความปลอดภัย อาหาร

-

19 พ.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

ประเทศคู่ค้า


ประเทศที่แจ้ง สินค้า/ ที่ หมายเลข Notification สาระสาคัญ มาตรการ วันที่ WTO แจ้งเวียน 27 พฤษภาคม 2554 สุดท้ายมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2554 16 ค่า MRLs สารกาจัด ตามที่ไต้หวันได้เสนอแก้ไขมาตรฐานการ ไต้หวัน G/SPS/N/TPKM/219/ ศัตรูพืชในอาหาร กาหนดค่า MRLs ของสารกาจัดศัตรูพืชใน Add.1 อาหาร เมื่อวันที่ 18 ก.พ. 54 การแก้ไขครั้ง 27 พฤษภาคม 2554 สุดท้ายมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 19 พ.ค. 2554 17 สารปรุงแต่งอาหาร เกาหลีใต้เสนอแก้ไข “ มาตรฐานและ เกาหลีใต้ G/SPS/N/KOR/388 17 พฤษภาคม 2554

ข้อกาหนด” สาหรับ “ สารปรุงแต่งอาหาร” และ “สุขอนามัยสาหรับวัตถุสัมผัสอาหาร ภาชนะ ตู้บรรจุสินค้า และการบรรจุหีบห่อ ” (1) อนุญาตให้ใช้สาร Xylanase, 5'-deaminase, α-glucosidase, phosphodiesterase, sodium selenate, และ sodium molybdate (2) แก้ไขคานิยามสารปรุงแต่งอาหาร 22 ชนิด ดังนี้: Synthetic flavoring substances, glucoamylase, lysozyme, tagetes extract, α-amylase, protease, caramel color, natural flavoring substances, asparaginase, kaoliang color, beet red, red cabbage color, gardenia red, cacao color, monascus

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

จุดประสงค์

ประเทศคู่ค้า

-

19 พ.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

ประเทศคู่ค้า

10 ก.ค. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศที่แจ้ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ yellow, carthamus yellow, hibiscus color, shea nut color, purple sweet potato color, purple yam color, grape juice color และ krill color (3) แก้ไขสารปรุงแต่งอาหาร 4 ชนิดดังนี้: L-Cystine, L-glutamic acid, monoammonium L-glutamate and caramel color (4) แก้ไขมาตรฐานการใช้สารปรุงแต่งอาหาร 15 ชนิดดังนี้: Sodium metabisulfite, potassium metabisulfite, sulphur dioxide, sodium bisulfite, sodium sulfite, sodium hydrosulfite, sorbic acid, potassium sorbate, calcium sorbate, polyvinyl pyrrolidone, ascorbyl palmitate, disodium 5'-cytidylate, disodium 5'-uridylate, 5'adenylic acid และ 5'-cytidylic acid (5) อนุญาตให้ใช้ไอโอดีนเป็นสารสาหรับ ภาชนะ ตู้บรรจุสินค้าและหีบห่อ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

จุดประสงค์


ประเทศที่แจ้ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

จุดประสงค์

(6) แก้ไขข้อกาหนดของกลุ่มสารวัตถุสัมผัส อาหาร ตู้บรรจุสินค้า และหีบห่อ ดังนี:้ Sodium dichloroisocyanurate, hydrogen peroxide, peroxyacetic acid และกรดไซ ตริก 18

เกาหลีใต้ G/SPS/N/KOR/389 25 พฤษภาคม 2554

19

จีน

สารปรุงแต่งอาหาร

เกาหลีใต้เสนอแก้ไขมาตรฐานและข้อกาหนด ด้านอาหารดังนี้ : 1. แก้ไขมาตรฐานสาหรับ Clostridium perfringens ในขอบเขตทั่วไปและมาตรฐาน สาหรับอาหารทั่วไป 2. กาหนดมาตรฐานสาหรับโลหะหนักใน อาหาร 3. กาหนดและแก้ไขมาตรฐานรังสีในอาหาร 4. กาหนดมาตรฐานสาหรับ mycotoxins ใน อาหาร 5. แก้ไขคาจากัดความสาหรับเครื่องดื่มผสม 6. แก้ไขวิธีการทดสอบทั่วไป 7. จาแนกประเภท flaxseed ให้เป็นวัตถุดิบที่ จากัดการใช้

ประเทศคู่ค้า

24 ก.ค. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร

จีนกาหนดมาตรฐานสารปรุงแต่งอาหาร

ประเทศคู่ค้า

-

15 พ.ค. 54

ความปลอดภัย


ประเทศที่แจ้ง สินค้า/ ที่ หมายเลข Notification มาตรการ วันที่ WTO แจ้งเวียน G/SPS/N/CHN/357 Tertiary 2 พฤษภาคม 2554 butylhydroquinone

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

Butylhydroquinone (TBHQ) และข้อกาหนด เกี่ยวกับวิธีการทดสอบสารปรุงแต่งอาหาร Butylhydroquinone (TBHQ)

จุดประสงค์

อาหาร

20

จีน G/SPS/N/CHN /359 2 พฤษภาคม 2554 มาตรการฉุกเฉิน

สารปรุงแต่งอาหาร Lutein

จีนกาหนดมาตรฐานสารปรุงแต่งอาหาร ประเทศคู่ค้า Lutein ที่ได้จาก marigold (Tages erecta L.) oleoresin โดยการเปลี่ยนเป็นสบู่ การสกัด และ การฟอก ข้อกาหนด และข้อกาหนดทางเทคนิค และวิธีทดสอบสาหรับสารปรุงแต่งอาหาร lutein

-

15 พ.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

21

จีน G/SPS/N/CHN /360 2 พฤษภาคม 2554 มาตรการฉุกเฉิน

สารปรุงแต่งอาหาร Erythritol

จีนกาหนดมาตรฐานสารปรุงแต่งอาหาร ประเทศคู่ค้า crystal erythritol ที่ใช้กลูโคสเป็นวัตถุดิบหลัก หมักกับ Candida lipolytica หรือ Moniliella pollinis หรือ Trichosporonoides megachiliensis และผ่านเทคนิคการฟอก และ ระบุข้อกาหนดทางเทคนิค และวิธีทดสอบ สาหรับสารปรุงแต่งอาหาร Erythritol

-

15 พ.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

ประกาศขยายระยะเวลาเสนอข้อคิดเห็น ประเทศคู่ค้า เกี่ยวกับ การใช้มาตรการ SPS ที่ประกาศใน G/SPS/N/SLV/97 ลงวันที่ 1 มี.ค. 54 โดยขยาย ให้ถึงวันที่ 30 พ.ค. 54

30 พ.ค. 54

-

ความปลอดภัย อาหาร คุ้มครองพืช สุขภาพสัตว์

22

การใช้มาตรการ SPS เอลซัลวาดอร์ G/SPS/N/SLV/97/Add .1 4 พฤษภาคม 2554


ประเทศที่แจ้ง สินค้า/ ที่ หมายเลข Notification มาตรการ วันที่ WTO แจ้งเวียน 23 วัตถุเจือปนอาหาร นิคารากัว G/SPS/N/NIC/57/Add. 1 4 พฤษภาคม 2554

24

25

การอานวยความ นิคารากัว G/SPS/N/NIC/59/Add. สะดวกทางการค้า 1 4 พฤษภาคม 2554 บราซิล G/SPS/N/BRA/748 25 พฤษภาคม 2554

สารปรุงแต่งอาหาร

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

จุดประสงค์

นิคารากัวแจ้งวันสุดท้ายในการเสนอความเห็น ประเทศคู่ค้า เกี่ยวกับมาตรฐานเทคนิคกาหนดวัตถุเจือปน อาหารและปริมาณสูงสุดที่อนุญาตให้ใช้ (ML) แตกต่างกันไปตามชนิดของอาหารในตลาด ภายในอเมริกากลาง โดยได้ขยายเวลาเสนอ ความเห็นไปอีก 30 วัน

-

-

ความปลอดภัย อาหาร

นิคารากัวแจ้งวันสุดท้ายในการเสนอความเห็น ประเทศคู่ค้า เกี่ยวกับมาตรการด้านสุขอนามัยและ สุขอนามัยพืชในการอานวยความสะดวกทาง การค้าในการขนส่งสินค้าในอเมริกากลาง โดย ได้ขยายเวลาเสนอความเห็นไปอีก 30 วัน

-

-

ความปลอดภัย อาหาร

ร่างกฎระเบียบทางเทคนิคกาหนดสารปรุงแต่ง ประเทศคู่ค้า อาหารในแอลกอฮอล์ และเครื่องดื่มที่ไม่ได้ หมัก รายชื่อสารปรุงแต่งอาหารและค่าสูงสุดที่ กาหนดดูได้จาก annex

9 มิ.ย. 54

ก.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

18 ก.ค. 54

-

ความปลอดภัย

เมื่อเห็นชอบร่างกฎระเบียบนี้จะยกเลิก กฎระเบียบ RDC n. 41/2009 และ CNS/MS no. 04/1988 (โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับสารปรุงแต่ง อาหารและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ไม่ได้หมัก ) 26

ซาอุดิอาระเบีย

ผลิตภัณฑ์อาหาร

คู่มือเกี่ยวกับหลักการและข้อกาหนดที่ใช้กับ

ประเทศคู่ค้า


ประเทศที่แจ้ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้งเวียน G/SPS/N/SAU/14 19 พฤษภาคม 2554

27

แคนาดา G/SPS/N/CAN/494/ Add.1 26 พฤษภาคม 2554

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

ประเทศผู้ส่งออกและนาเข้ากลุ่มประเทศ GCC เพื่อสร้างความเชื่อมั่นเกี่ยวกับความปลอดภัย และความเหมาะสมของอาหารนาเข้า โดยระบุ เกี่ยวกับการรับรองสุขภาพสัตว์ได้กาหนดไว้ ในคู่มือด้วย ค่า MRL สาร Spiromesifen

จุดประสงค์

อาหาร สุขภาพสัตว์ อารักขาพืช ปกป้อง มนุษย์จากโรคพืช โรคสัตว์

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร Spiromesifen ซึ่ง ประเทศคู่ค้า ประกาศใน G/SPS/N/CAN/494 (ลงวันที่ 3 ธ.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็นค่า กาหนดแล้วใน EMRL2011-29 มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 16 พ.ค. 2554

-

16 พ.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

-

18 พ.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

-

16 พ.ค. 54

ความปลอดภัย

**ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย** 28

แคนาดา G/SPS/N/CAN/498/ Add.1 26 พฤษภาคม 2554

ค่า MRL สาร Thiamethoxam

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร Thiamethoxam ประเทศคู่ค้า ซึ่งประกาศใน G/SPS/N/CAN/498 (ลงวันที่ 6 ธ.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-45 มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 18 พ.ค. 2554 **ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย**

29

แคนาดา

ค่า MRL สาร

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร

ประเทศคู่ค้า


ประเทศที่แจ้ง สินค้า/ ที่ หมายเลข Notification มาตรการ วันที่ WTO แจ้งเวียน G/SPS/N/CAN/499/ Chlorantraniliprole Add.1 26 พฤษภาคม 2554

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

Chlorantraniliprole ซึ่งประกาศใน G/SPS/N/CAN/499 (ลงวันที่ 6 ธ.ค. 53) ได้รับ ความเห็นชอบและประกาศเป็นค่ากาหนดแล้ว ใน EMRL2011-31 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 16 พ.ค. 2554

จุดประสงค์

อาหาร

30

แคนาดา G/SPS/N/CAN/500/ Add.1 26 พฤษภาคม 2554

ค่า MRL สาร Bifenazate

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร Bifenazate ซึ่ง ประเทศคู่ค้า ประกาศใน G/SPS/N/CAN/500 (ลงวันที่ 6 ธ.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็นค่า กาหนดแล้วใน EMRL2011-47 มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 18 พ.ค. 2554

-

18 พ.ค. 54

ความปลอดภัย อาหาร

31

แคนาดา G/SPS/N/CAN/450/ Add.1 17 พฤษภาคม 2554

ค่า MRL สาร Difenoconazole

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร difenoconazole ประเทศคู่ค้า ซึ่งประกาศใน G/SPS/N/CAN/450 (ลงวันที่ 1 ก.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-19 มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่ 10 พ.ค. 2554

-

10 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

Codex มีการระบุ MRL ดังนี้ กล้วย คือ 0.1 ppm อง่น คือ 0.1ppm มะละกอ คือ 0.2 ppm Pome fruits คือ 0.5


ประเทศที่แจ้ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

จุดประสงค์

ppm 32

แคนาดา G/SPS/N/CAN/479/ Add.1 17 พฤษภาคม 2554

ค่า MRL สาร Metalaxyl

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร metalaxyl ซึ่ง ประเทศคู่ค้า ประกาศใน G/SPS/N/CAN/479 (ลงวันที่ 1 ก.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-20 มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่ 10 พ.ค. 2554

-

10 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

-

10 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

-

12 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

**ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย** 33

แคนาดา G/SPS/N/CAN/485/ Add.1 17 พฤษภาคม 2554

ค่า MRL สาร Abamectin

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร Abamectin ซึ่ง ประเทศคู่ค้า ประกาศใน G/SPS/N/CAN/485 (ลงวันที่ 23 พ.ย. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-22 มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่ 10 พ.ค. 2554 ได้กาหนดให้ใช้ใน องุ่น 0.02 ppm Codex ยังไม่มีข้อกาหนดในองุ่น มาตราฐานไทย คือ 0.01 ppm

34

แคนาดา G/SPS/N/CAN/489/

ค่า MRL สาร Clethodim

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร Clethodim ซึ่ง ประกาศใน G/SPS/N/CAN/489 (ลงวันที่ 23

ประเทศคู่ค้า


ประเทศที่แจ้ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้งเวียน Add.1 17 พฤษภาคม 2554

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

จุดประสงค์

พ.ย. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-25 มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่ 12 พ.ค. 2554 ได้กาหนดให้ใช้ในผักขม 2.0 ppm **ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย**

35

แคนาดา G/SPS/N/CAN/491/ Add.1 17 พฤษภาคม 2554

ค่า MRL สาร Smetolachlor

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร S-metolachlor ประเทศคู่ค้า ซึ่งประกาศใน G/SPS/N/CAN/491 (ลงวันที่ 3 ธ.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-24 มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่ 12 พ.ค. 2554

-

12 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

36

แคนาดา G/SPS/N/CAN/492/ Add.1 17 พฤษภาคม 2554

ค่า MRL สาร Tepraloxydim

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร tepraloxydim ประเทศคู่ค้า ซึ่งประกาศใน G/SPS/N/CAN/492 (ลงวันที่ 3 ธ.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-27 มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่ 12 พ.ค. 2554

-

12 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

-

10 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

**ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย** 37

แคนาดา

ค่า MRL สาร Atrazine

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร atrazine ซึ่ง

ประเทศคู่ค้า


ประเทศที่แจ้ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้งเวียน G/SPS/N/CAN/493/ Add.1 17 พฤษภาคม 2554 38

แคนาดา G/SPS/N/CAN/506/ Add.1 17 พฤษภาคม 2554

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

จุดประสงค์

ประกาศใน G/SPS/N/CAN/493 (ลงวันที่ 3 ธ.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-21 มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่ 10 พ.ค. 2554 ค่า MRL สาร Pendimethalin

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร pendimethalin ประเทศคู่ค้า ซึ่งประกาศใน G/SPS/N/CAN/506 (ลงวันที่ 7 ธ.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-23 มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่ 10 พ.ค. 2554

-

10 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

**ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย** 39

แคนาดา G/SPS/N/CAN/487/ Add.1 17 พฤษภาคม 2554

ค่า MRL สาร Thiencarbazonemethyl

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร thiencarbazone- ประเทศคู่ค้า methyl ซึ่งประกาศใน G/SPS/N/CAN/487 (ลง วันที่ 23 พ.ย. 53) ได้รับความเห็นชอบและ ประกาศเป็นค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-28 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 12 พ.ค. 2554

-

12 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

40

แคนาดา G/SPS/N/CAN/502/ Add.1 26 พฤษภาคม 2554

ค่า MRL สาร Spirodiclofen

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร Spirodiclofen ประเทศคู่ค้า ซึ่งประกาศใน G/SPS/N/CAN/502 (ลงวันที่ 7 ธ.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-30 มีผลบังคับ

-

16 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศที่แจ้ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้งเวียน

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

จุดประสงค์

ใช้ตั้งแต่ 16 พ.ค. 2554 **ไม่พบผัก และผลไม้ไทยในการกาหนดค่า ดังกล่าว*** 41

แคนาดา G/SPS/N/CAN/509/ Add.1 26 พฤษภาคม 2554

ค่า MRL สาร Quinclorac

42

แคนาดา G/SPS/N/CAN/510/ Add.1 26 พฤษภาคม 2554

ค่า MRL สาร Boscalid

43

แคนาดา G/SPS/N/CAN/511/ Add.1

ค่า MRL สาร Flufenacet

ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร quinclorac ซึ่ง ประเทศคู่ค้า ประกาศใน G/SPS/N/CAN/509 (ลงวันที่ 14 ธ.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-32 มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่ 16 พ.ค. 2554 **ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวใน มาตรฐานCodex และไทย** ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร boscalid ซึ่ง ประเทศคู่ค้า ประกาศใน G/SPS/N/CAN/510 (ลงวันที่ 15 ธ.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-44 มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่ 18 พ.ค. 2554 **ไม่พบผัก และผลไม้ไทยในการกาหนดค่า ดังกล่าว*** ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร flufenacet ซึ่ง ประเทศคู่ค้า ประกาศใน G/SPS/N/CAN/511 (ลงวันที่ 15 ธ.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น

-

16 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

-

18 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

-

16 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร


ประเทศที่แจ้ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้งเวียน 26 พฤษภาคม 2554

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน

จุดประสงค์

ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-33 มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่ 16 พ.ค. 2554 **wใน Sweet corn kernels plus cob with husks removed ที่ 0.05 ppm ซึ่งใน Codex และไทย ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าว**

44

แคนาดา G/SPS/N/CAN/512/ Add.1 26 พฤษภาคม 2554

ค่า MRL สาร Glyphosate

ร่างกาหนดค่าMRLs ของสาร glyphosate ซึ่ง ประเทศคู่ค้า ประกาศในG/SPS/N/CAN/512 (ลงวันที่ 15 ธ.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็นค่า กาหนดแล้วในEMRL2011-38 มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ 18 พ.ค. 2554

-

18 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

-

18 พ.ค. 2554

ความปลอดภัย อาหาร

**กาหนดค่าให้ใช้ใน Sweet corn kernels plus cob with husks removed ที่ 3 ppm ซึ่งยังไม่ มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวในมาตรฐานไทย 45

แคนาดา G/SPS/N/CAN/513/ Add.1 26 พฤษภาคม 2554

ค่า MRL สาร ร่างกาหนดค่า MRLs ของสาร ประเทศคู่ค้า Aminoethoxyvinylgl aminoethoxyvinylglycine hydrochloride ซึ่ง ycine hydrochloride ประกาศใน G/SPS/N/CAN/513 (ลงวันที่ 17 ธ.ค. 53) ได้รับความเห็นชอบและประกาศเป็น ค่ากาหนดแล้วใน EMRL2011-42 มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่ 18 พ.ค. 2554 ยังไม่มีการกาหนดใช้สารดังกล่าวในมาตรฐาน


ประเทศที่แจ้ง ที่ หมายเลข Notification วันที่ WTO แจ้งเวียน 46

แคนาดา G/SPS/N/CAN/527 31 พฤษภาคม 2554

สินค้า/ มาตรการ

สาระสาคัญ

ประเทศที่ได้รับ ผลกระทบ

Codex และไทย สารกาจัดศัตรูพืช ประการ PMRL 2011-10 เพื่อขอข้อคิดเห็นต่อ ประเทศคู่ค้า propiconazole ในถั่ว การกาหนดค่า MRLs ของสารภายในประเทศ เหลืองแห้ง propiconazole ในถั่วเหลืองแห้ง ที่ 0.25 ppm * ร่างขอเปลี่ยนแปลงค่าMRLs ที่กาหนดไว้ 0.2 ppm

วันสุดท้ายที่ วันที่มีผลบังคับ แสดงความเห็น/ ใช้ คัดค้าน 8 ส.ค. 54

นับจากวันที่ มาตรการได้รับ ความเห็นชอบ

จุดประสงค์

ความปลอดภัย อาหาร

Codex กาหนดไว้ที่ 0.07 ppm มาตราฐานไทยไม่มีการกาหนดค่าดังกล่าว SPS Section /ACFS e-mail sps@acfs.go.th Tel. 02 561 2244 ext. 1344website : http://www.acfs.go.th/searchNotification.php


http://www.thaigov.go.th ข่าวที่ 01/07 วันที่ 12 กรกฎาคม 2554 วันนี้ เมื่อเวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุมคณะรัฐมนตรี ชั้น 2 สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ทาเนียบรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี จากนั้น นายปณิธาน วัฒนายากร รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจาสานัก นายกรัฐมนตรี นายวัชระ กรรณิการ์ รองโฆษกประจาสานักนายกรัฐมนตรี และนายมารุต มัสยวาณิช รองโฆษกประจา สานักนายกรัฐมนตรี ได้แถลงข่าวผลการประชุมคณะรัฐมนตรี สรุปสาระสาคัญได้ดังนี้ 1. 2.

เรื่อง เรื่อง

3.

เรื่อง

4. 5.

เรื่อง เรื่อง

6.

เรื่อง

รายงานผลการประชุมใหญ่ประจาปีองค์การแรงงานระหว่างประเทศ สมัยที่ 100 ผลการประชุมรัฐมนตรีการค้าเอเปคครั้งที่ 17 และการประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรีการค้าและ รัฐมนตรีที่กากับดูแล SMEs ผลการประชุมเวทีหารือระดับรัฐมนตรีเพื่อพัฒนาแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจ ครั้งที่ 3 และการ ประชุมความร่วมมือประเทศลุ่มแม่น้าโขง-ญี่ปุ่น ด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ครั้งที่ 8 การรับชาระหนี้ค่าข้าวจากรัฐบาลรัสเซีย มาตรการกากับดูแลสินค้าสาคัญ 205 รายการ และบริการ 20 รายการ ประจาเดือนกรกฎาคม 2554 แต่งตั้ง 1. การแต่งตั้งข้าราชการให้ดารงตาแหน่งที่ปรึกษาสานักงบประมาณ (นักวิเคราะห์งบประมาณ ทรงคุณวุฒิ) (สานักนายกรัฐมนตรี) 2. การแต่งตั้งกงสุลใหญ่สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามประจาจังหวัดขอนแก่น 3. การขอยกระดับสถานกงสุลประจานครซูริค และเลื่อนฐานะกงสุ ลกิตติมศักดิ์ประจานครซูริค 4. รัฐบาลสหรัฐเม็กซิโกเสนอขอแต่งตั้งเอกอัครราชทูตประจาประเทศไทย 5. รัฐบาลสาธารณรัฐชิลีเสนอขอแต่งตั้งเอกอัครราชทูตประจาประเทศไทย 6. การขออนุมัติแต่งตั้งกงสุลกิตติมศักดิ์สมาพันธรัฐสวิสประจาจังหวัดภูเก็ต 7. การยกระดับสถานกงสุลสาธารณรัฐออสเตรียประจาเมืองพัทยา เป็นสถานกงสุลใหญ่ ฯ และ เลื่อนฐานะกงสุลกิตติมศักดิ์สาธารณรัฐออสเตรียประจาเมืองพัทยา เป็นกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์ ฯ 8. รัฐบาลราชรัฐลักเซมเบิร์กเสนอขอแต่งตั้งเอกอัครราชทูตประจาประเทศไทย 9. รัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีเสนอขอแต่งตั้งเอกอัครราชทูตประจาประเทศไทย


2 1. เรื่อง รายงานผลการประชุมใหญ่ประจาปีองค์การแรงงานระหว่างประเทศ สมัยที่ 100 คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานผลการประชุมใหญ่ประจาปีองค์การแรงงานระหว่างประเทศ สมัยที่ 100 ระหว่างวันที่ 1 – 17 มิถุนายน 2554 ณ นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส ตามที่กระทรวงแรงงาน (รง.) เสนอ ดังนี้ สาระสาคัญของเรื่อง รง. รายงานว่า 1. องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization : ILO) ได้จัดการประชุมใหญ่ ประจาปี ILO สมัยที่ 100 ระหว่างวันที่ 1 – 17 มิถุนายน 2554 ณ นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส ประเทศไทยในฐานะประเทศ สมาชิกมีพันธกิจที่ต้องส่งคณะผู้แทนไตรภาคีจากฝ่ายรัฐบาล นายจ้าง และลูกจ้าง เข้าร่วมการประชุม จานวนทั้งหมด 27 คน ประกอบด้วยที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (นายชีวเวช เวชชาชีวะ) และคณะ รวม 3 คน ผู้แทนฝ่ายรัฐบาล 15 คน นาโดยปลัดกระทรวงแรงงาน (นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์) ฝ่ายนายจ้าง 4 คน และฝ่ายลูกจ้าง 5 คน และที่ปรึกษา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและคณะผู้บริหารระดับสูงเดินทางเยือนนครเจนีวา ระหว่างวันที่ 12 – 27 มิถุนายน 2554 2. ในการประชุมดังกล่าว มีการดาเนินงานที่สาคัญ ดังนี้ 2.1 การปราศรัยต่อที่ประชุมเต็มคณะของปลัดกระทรวงแรงงานในฐานะผู้แทนฝ่ายรัฐบาลและ หัวหน้าคณะผู้แทนไทย ได้กล่าวชื่นชมรายงานของผู้อานวยการใหญ่ ILO เรื่อง “ศักราชใหม่แห่งความยุติธรรมทางสังคม (A New Era of Social justice)” และ ได้นาเสนอการดาเนินงานของรัฐบาลไทยที่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริมนโยบายการมี งานทาที่มีคุณภาพ การสร้างความเท่าเทียม ความปรองดองในสังคม และการเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีคุณภาพ พร้อมกับ ความก้าวหน้าในการปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับมาตรฐานแรงงานระหว่ างประเทศมากขึ้น เช่น การขยายสิทธิประโยชน์ ในระบบประกันสังคมให้ครอบคลุมแรงงานนอกระบบ การบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้รับงานไปทาที่บ้าน พ.ศ. 2553 และพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554 รวมทั้งการอนุมัติให้มีการ กาหนดอัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือใน 22 สาขาอาชีพ นอกจากนี้ รัฐบาลกาลังร่วมมือกับ ILO ในการดาเนินการจัดทา แผนงานระดับชาติว่าด้วยงานที่มีคุณค่า และการต่อต้านการค้ามนุษย์ เพื่อการคุ้มครองแรงงานต่างชาติจากการถูกเอาเปรียบ แรงงานด้วย 2.2 ที่ประชุมใหญ่ได้ลงมติและรับรองรายงานที่สาคัญ ๆ ดังนี้ 2.2.1 การลงมติรับรองอนุสัญญา (Convention) ฉบับที่ 189 และข้อเสนอแนะ (Recommendation) ฉบับที่ 201 ว่าด้วยงานที่มีคุณค่าสาหรับคนทางานบ้าน ที่กาหนดนิยามของ “งานบ้าน” หมายถึง งานที่ ทาในหรือเพื่อครัวเรือน และ “คนทางานบ้าน” คือ คนที่ทางานดังกล่าว และกาหนดให้ความคุ้มครองแรงงานในเรื่องต่าง ๆ เช่น สิทธิแรงงงานขั้นพื้นฐาน วันหยุดประจาสัปดาห์ละไม่ต่ากว่าหนึ่งวัน ความปลอดภัยในการทางาน และแรงงานอพยพใน เรื่องการส่งกลับมาตุภูมิและสภาพการจ้างภายใต้หลักการประติบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment) 2.2.2 การลงมติรับรองแผนงานงบประมาณ พ.ศ. 2555 – 2556 ที่กาหนดงบประมาณ รายจ่าย จานวนทั้งสิ้น 742 ล้านดอลลาร์สหรัฐ อัตราเงินอุดหนุนประจาปีค่าสมาชิกจะเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ร้อยละ 2.1 สาหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ประเทศไทยจะต้องจ่ายเงินอุ ดหนุนค่าสมาชิก จานวน 756,013 ฟรังก์สวิส (เพิ่มขึ้นประมาณ 15,560 ฟรังก์สวิส) ด้วยสัดส่วนคงเดิมคือ ร้อยละ 0.209 ของงบประมาณทั้งหมด โดยทิศทางการทางาน ในช่วงสองปีงบประมาณต่อไป คือ การส่งเสริมการปฏิบัติตามแผนงานระดับชาติว่าด้วยงานที่มีคุณค่า และการปฏิบัติตาม ปฏิญญาว่าด้วยความยุติธรรมทางสังคมเพื่อโลกาภิวัตน์ที่เป็นธรรม ค.ศ. 2008 ของประเทศสมาชิก 2.2.3 การรับรองรายงานคณะกรรมการการอภิปรายเกี่ยวกับวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ของความมั่นคงทางสังคม ที่นาเสนอแนวทางในการจัดทามาตรการด้านความมั่นคงทางสังคมสาหรับประชาชนทุกคนเพื่อเป็น เครื่องมือส่งเสริมความเติบโตทางเศรษฐกิจ ลดความยากจน และบรรเทากระทบจากวิกฤติ และเห็นชอบข้อมติที่ให้บรรจุเรื่อง การรับรองข้อแนะฉบับใหม่ว่าด้วยฐานการคุ้มครองทางสังคม (Social Protection Floor) ในการประชุมใหญ่ประจาปี ILO สมัยที่ 101 ปี พ.ศ. 2555 2.2.4 การรับรองรายงานคณะกรรมการการปฏิบัติตามมาตรฐานแรงงาน ที่ได้มีการอภิปราย กรณีบางประเทศที่ไม่สามารถปฏิบัติตามอนุสัญญาที่ให้สัตยาบันได้ โดยมีประเทศมาเลเซียละเมิดอนุสัญญา ฉบับที่ 19 ว่าด้วย การปฏิบัติที่เท่าเทียมกัน (กรณีเงินทดแทนกรณีประสบอุบัติเหตุ จากการทางาน) โดยจ่ายเงินทดแทนกรณีบาดเจ็บจากการ ทางานแก่คนงานต่างชาติน้อยกว่าที่จ่ายให้คนงานมาเลเซีย และพบว่ามีคนงานต่างชาติจานวนมากที่ประสบอันตรายจากการ ทางานและไม่ได้รับการคุ้มครอง นอกจากนี้ มีกรณีสหภาพพม่าและกัมพูชาละเมิดอนุสัญญาฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการ สมาคม โดยจับกุมทาร้ายผู้นาแรงงานและขัดขวางการตั้งสหภาพแรงงาน รวมทั้งการติดตามการแก้ไขปัญหาแรงงานบังคับใน


3 สหภาพพม่าที่ละเมิดอนุสัญญาฉบับที่ 29 ว่าด้วยแรงงานบังคับ โดยมีมติให้รัฐบาลสหภาพพม่าใช้ทุกมาตรการเพื่อขจัดการใช้ แรงงานบังคับให้ราบคาบ 2.3 การเลือกตั้งสมาชิกคณะประศาสน์การ (Governing Body) วาระ 3 ปี พ.ศ. 2554 – 2557 โดย ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสารอง (Deputy Member) ทั้งนี้ คณะประศาสน์การชุดใหม่ได้มีการประชุมครั้งแรกเมื่อ วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2554 ซึ่งมีมติเห็นชอบกาหนดการจัดการประชุมระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ระหว่างวันที่ 4-7 ธันวาคม 2554 ณ นครเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งประเทศไทยต้องจัดส่งคณะผู้แทนไตรภาคีเข้าร่วมการประชุมด้วย 2.4 การหารือข้อราชการทวิภาคีระหว่างนาย Nasser Abdulla AL-HUMAIDI รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงกิจการสังคมและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานประเทศกาตาร์ กับนายชีวเวช เวชชาชีวะ ที่ปรึกษา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และคณะ โดยได้หารือเกี่ยวกับการจัดส่งแรงงานไทยไปทางานในประเทศกาตาร์ ซึ่งได้มีการ จัดทาร่างข้อตกลงว่าด้วยการจ้างแรงงานระหว่างประเทศกาตาร์และประเทศไทย ซึ่งขณะนี้ได้ผ่านการพิจารณาจากกระทรวง การต่างประเทศและสานักงานอัยการสูงสุดแล้ว ทั้งนี้ เมื่อมีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ก็จะสามารถดาเนินการต่อไปได้ทันที สาหรับ แนวทางการจัดหาตาแหน่งของประเทศกาตาร์ จะจัดหา – จัดส่ง โดยสานักงานจัดหางานเอกชน 2. เรื่อง ผลการประชุมรัฐมนตรี การค้าเอเปคครั้งที่ 17 และการประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรีการค้าและรัฐมนตรีที่กากับดูแล SMEs คณะรัฐมนตรีรับทราบผลการประชุมรัฐมนตรีการค้าเอเปคครั้งที่ 17 และการประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรี การค้าและรัฐมนตรีที่กากับดูแล SMEs ตามที่กระทรวงพาณิชย์ (พณ.) เสนอดังนี้ สาระสาคัญของเรื่อง พณ. รายงานว่า ตามที่สหรัฐอเมริกาเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมรัฐมนตรีการค้าเอเปคครั้งที่ 17 และการ ประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรีการค้าและรัฐมนตรีที่กากับดูแล SMEs ระหว่างวันที่ 19-21 พฤษภาคม 2554 ณ เมืองบิ๊กสกาย มลรัฐมอนทานา สหรัฐอเมริกา สรุปผลการประชุมทั้งสอง ดังนี้ 1. การประชุมรัฐมนตรีการค้าเอเปคครั้งที่ 17 1.1 การสนับสนุนระบบการค้าพหุภาคี นายสปาสกาล ลามี ผู้อานวยการองค์การการค้าโลก (WTO) กล่าวรายงานความคืบหน้าการ เจรจารอบโดฮา ซึ่งขณะนี้กาลังเผชิญกับปัญหาช่องว่างระหว่า งข้อเรียกร้องของประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกาลังพัฒนาใน ประเด็นต่าง ๆ ที่ยากจะหาข้อตกลงกันได้ โดยเฉพาะเรื่องการเปิดตลาดสินค้าอุตสาหกรรมและประมง ซึ่งนายลามีได้ขอให้ สมาชิกเอเปคพิจารณาทางเลือกและการดาเนินการในขั้นต่อไปเพื่อที่จะให้การเจรจารอบโดฮาสิ้นสุดลงได้ภายใ นปีนี้ เช่น การตก ลงประเด็นที่เกี่ยวกับกฎเกณฑ์ 15 เรื่อง จากการเจรจาทั้งหมด 20 เรื่อง ของรอบโดฮา และกาหนดแผนงานสาหรับการเจรจา เปิดตลาด (Market Access) สาหรับ 1-2 ปี ข้างหน้า โดยมีเป้าหมายว่า หากสมาชิกมีข้อยุติระหว่างกันก็จะเสนอให้ที่ประชุม รัฐมนตรี WTO ครัง้ ที่ 8 ที่นครเจนีวา ในเดือนธันวาคมศกนี้ รับรองการดาเนินการดังกล่าว ทั้งนี้ สมาชิกเอเปคส่วนใหญ่ต่าง แสดงความผิดหวังต่อความล่าช้าในการเจรจารอบโดฮา แต่ก็ยังยืนยันที่จะพยายามต่อไปโดยไม่ละทิ้งหลักการเจรจาทุกเรื่องให้ เสร็จพร้อมกัน (Single Undertaking) อย่างไรก็ดี หลายประเทศยอมรับว่าการเจรจาบางเรื่องน่าจะบรรลุผลก่อนเรื่องการเปิด ตลาดได้ โดยเฉพาะการเจรจาเรื่องมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี การเปิดเสรีสินค้าและบริการสิ่งแวดล้อม การกาหนดแนวทางการแจ้ง และการประเมินความตกลงการค้าเสรีต่อ WTO ประเด็นที่เกี่ยวกับประเทศกาลังพัฒนาและการพัฒนา และการยอมรับเรื่อง Duty-free, Quota-free สาหรับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด ซึ่งเป็นประเด็นที่สามารถยอมรับได้มากที่สุดมาเจรจาร่วมกันก่อน (Early Harvest) ได้ หากประเทศสมาชิกเห็นชอบร่วมกัน ประเทศไทยแจ้งต่อที่ประชุมว่า การเจรจารอบโดฮามีความสาคัญเกินกว่าจะละทิ้งไปโดยไม่มีความ พยายามเพิ่มเติม ประเทศไทยเป็นประเทศกาลังพัฒนาขนาดกลางที่ได้รับผลดีจากระบบการค้าพหุพาคีมาโดยตลอดและยังมี ความมุ่งมั่นที่จะเห็นการเจรจาปิดรอบลงได้ในปีนี้ แม้ว่าไทยจะยอมรับความเป็นจริงและได้ลดระดับความคาดหวังจากการ เจรจาลงบ้างแล้ว แต่ไทยก็ต้องการเห็นผลการเจรจาที่มีคุณภาพและเป็นประโยชน์กับประเทศกาลังพัฒนา จึงหวังว่าประเทศ สาคัญจะสามารถหาทางออกร่วมกันได้ ทั้งนี้ ไทยเห็นว่า ผลการเจรจาที่มีความสมดุลนั้น ควรต้องครอบคลุมประเด็นที่เกี่ยวกับ การเปิดตลาดด้วย โดยเฉพาะสินค้าเกษตรและสินค้าอุ ตสาหกรรมนอกเหนือไปจากประเด็นด้านกฎเกณฑ์ต่าง ๆ 1.2 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดมากขึ้นในภูมิภาคและการขยายการค้า 1.2.1 ประเด็นทางการค้าการลงทุนมิติใหม่ของเอเปค (Next Generation Trade and Investment Issues)


4 รัฐมนตรีการค้าเอเปคเห็นชอบให้การเสริมสร้างศักยภาพทางการค้าของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) การสร้างความเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานระดับภูมิภาคและระดับโลก (Global Supply Chain) และการผลักดันนโยบายนวัตกรรม (Innovation Policy) เป็นประเด็นทางการค้าการลงทุนมิติใหม่ ซึ่งสมาชิกเอเปคจะร่ วมกัน จัดทาแผนงานในเรื่องดังกล่าวในปีนี้ เพื่อใช้เป็นแนวทางให้ประเทศสมาชิกเอเปคดาเนินการเพื่อก้าวไปสู่การจัดทาความตกลง เขตการค้าเสรีที่สอดรับกับสภาพแวดล้อมทางการค้าของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ ที่ประชุมได้หารือเรื่องการค้าและ ความมั่นคงทางอาหาร (Food Trade and Food Security) โดยมาตรการทางการค้าที่ประเทศสมาชิกเลือกใช้จะต้องไม่ขัดแย้ง ต่อกฎเกณฑ์ภายใต้ WTO เช่น ไม่ควรใช้มาตรการห้ามส่งออก และควรเพิ่มความร่วมมือในเอเปคที่เกี่ยวกับอาหารต่อไปด้วย ประเด็นสาคัญอื่น ๆ เช่น การลดต้นทุน เวลา และเพิ่มประสิทธิภาพของ Global Supply Chain ซึ่งมาตรการที่เอเปคจะดาเนินการ เช่น เร่งรัดการจัดตั้ง Single Window และการใช้ Advanced rulings ใน เอเปคหาแนวทางเพื่อกาหนดมูลค่าขั้นต่าของสินค้าที่ไม่ต้องเสียภาษีศุลกากร เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดจะมีการดาเนินการต่อไปอย่าง เป็นรูปธรรม 1.2.2 การสร้างการเจริญเติบโตที่ยั่งยืน (Green Growth) รัฐมนตรีการค้าเอเปคเน้นย้าให้สมาชิกเอเปคร่วมกันศึกษาและหาแนวทางการ ดาเนินงานเพื่อลดอุปสรรคทางการค้าสินค้าและบริการที่เกี่ยวกับการรักษาสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการหาแนวทางการส่งเสริม การกระจายการใช้เทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ รัฐมนตรีการค้าเอเปคเชื่อว่าการดาเนินงานในเรื่องนี้จะช่วยสนับสนุนการค้า และการพัฒนาควบคู่กันไป ขณะที่เจ้าภาพสหรัฐฯ พยายามผลักดันให้ประเทศสมาชิกลด/ยกเลิกมาตรการภาษีและมาตรการที่ มิใช่ภาษีสาหรับการค้าสินค้าและบริการสิ่งแวดล้อมด้วย ที่ประชุมเห็นชอบร่วมกันถึงความสาคัญของการดาเนินการเพื่อปราบปรามการค้าไม้ เถื่อนตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดตั้งคณะทางานเพื่อกาหนดแนวทางปฏิบัติในเรื่องดังกล่าวเป็นการเฉพาะ นอกจากนี้ รัฐมนตรีการค้าเอเปคได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่เอเปคจั ดทาแนวทางการลดขั้นตอนการนาเข้ารถยนต์ประหยัดพลังงานเพื่อจัดแสดง หรือสาธิตการใช้เป็นการชั่วคราว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้รถยนต์ประหยัดพลังงาน รวมทั้งจัดทาแนวทางการ อานวยความสะดวกสาหรับการค้าสินค้าใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการผลิตใหม่ (Remanufactured Goods) เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจ สีเขียวด้วยการนาวัสดุอุปกรณ์ที่ยังคงมีสภาพดีกลับมาใช้ และจัดทาแผนงานเพื่อยกเลิกการอุดหนุนพลังงานฟอสซิลที่ไม่มี ประสิทธิภาพ เพื่อช่วยบรรเทาภาวะโลกร้อน โดยที่ประชุมให้ความเห็นชอบการทาโครงการพัฒนาขีดความสามารถในเรื่อง ดังกล่าวด้วย 1.2.3 ความร่วมมือด้านการเสริมสร้างความสอดคล้องด้านกฎระเบียบ (Regulatory Convergence and Cooperation) รัฐมนตรีการค้าเอเปคได้พิจารณากรอบการดาเนินการเพื่อนาไปสู่แนวทางปฏิบัติที่ดี ด้านกฎระเบียบ (Good Regulatory Practice) ในภูมิภาค ที่เชื่อว่าความร่วมมือและการสร้างความสอดคล้องด้านกฎระเบียบ ในภูมิภาคจะช่วยเสริมสร้างความโปร่งใส (Transparency) และลดต้นทุนการดาเนินการทางเศรษฐกิจทั้งด้านค่าใช้จ่าย เวลา และทรัพยากร โดยรัฐมนตรีการค้าเอเปคได้เห็นชอบแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Best Practices) ในการออกกฎระเบียบในภูมิภาค เอเปค เพื่อนาไปสู่การป้องกันและกาจัดอุปสรรคที่ไม่จาเป็นต่อการค้า อย่างไรก็ดี เขตเศรษฐกิจเอเปครวมทั้งไทยเห็นว่า กรอบ การพิจารณาในเรื่องนี้ควรมีความยืดหยุ่นเพื่อให้เหมาะสมต่อความแตกต่างของระดับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจของประเทศ สมาชิก 2. การประชุมร่วมระหว่างรัฐมนตรีการค้าและรัฐมนตรีที่กากับดูแล SMEs รัฐมนตรีการค้าและรัฐมนตรีที่กากับดูแล SMEs ได้หารือร่วมกันเพื่อระบุอุปสรรคทางการค้าต่าง ๆ ที่มีต่อ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) ในภูมิภาคเอเปค และวางแนวทางการแก้ไขปัญหา/อุปสรรคต่อไป อันเป็นการสาน ต่อมติของที่ประชุมรัฐมนตรีและที่ประชุมผู้นาเอเปคเมื่อปี 2553 ว่าด้วยการให้ความสาคัญกับ SMEs ซึ่งมีผลต่อการเติบโตทาง เศรษฐกิจและการจ้างงานในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิค การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ และการเสริมสร้างศักยภาพทางการแข่งขันของ SMEs ให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก โดยมีมติเห็นชอบต่ออุปสรรคทางการค้าที่ SMEs เผชิญในการดาเนินธุรกิจที่เสนอโดย สหรัฐฯ ซึ่งประกอบด้วย 9 สาเหตุหลัก คือ (1) การขาดแหล่งเงินทุน/ความยากลาบากในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน (2) การขาด ศักยภาพในการหาช่องทางขยายการค้าข้ามพรมแดนและทาธุรกิจข้ามชาติ (3) ความไม่โปร่งใสของบริบทการค้าสากล (4) ต้นทุนส่วนเกินซึ่งเกิดจากการขนส่งและโลจิสติกส์ที่เกี่ยวเนื่อง (5) ความล่าช้าในการปล่อยของที่ศุลกากรและความซับซ้อนของ ขั้นตอนพิธีการศุลกากรรวมถึงความซ้าซ้อนของเอกสารต่าง ๆ (6) ความสับสนของกฎหมาย กฎระเบียบและข้อบังคับทาง เทคนิคที่เกี่ยวข้อง (7) การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา (8) การขาดกรอบการทางานทางกฎระเบียบและความไม่เพียงพอของ


5 นโยบายที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนพาณิชย์อิเล็คทรอนิคส์ข้ามพรมแดน และ (9) ความยุ่งยากในการใช้ประโยชน์จากสิทธิพิเศษ ทางภาษี (Preferential tariff rates) และความตกลงทางการค้าต่าง ๆ ในการนี้ รัฐมนตรีการค้าและรัฐมนตรีที่กากับดูแล SMEs ได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่ร่วมกันวางแนว ทางการแก้ไขปัญหา/อุปสรรคดังกล่าว เพื่อเสนอให้ที่ประชุมผู้นาเอเปคพิจารณาระหว่างการประชุมผู้นาเอเปคในเดือน พฤศจิกายน 2554 ณ มลรัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา 3. เรื่อง ผลการประชุมเวทีหารือระดับรัฐมนตรีเพื่อพัฒนาแนวพื้ นที่พัฒนาเศรษฐกิจ ครั้งที่ 3 และการประชุมความ ร่วมมือประเทศลุ่มแม่น้าโขง-ญี่ปุ่น ด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ครั้งที่ 8 คณะรัฐมนตรีรับทราบผลการประชุมเวทีหารือระดับรัฐมนตรีเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาแนวพื้นที่พัฒนา เศรษฐกิจ ครั้งที่ 3 ณ เวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) และผลการประชุมความร่วมมือประเทศ ลุ่มแม่น้าโขง-ญี่ปุ่นด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ครั้งที่ 8 ตามที่สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ (สศช.) เสนอ ดังนี้ สาระสาคัญของเรื่อง 1. ผลการประชุมเวทีหารือระดับรัฐมนตรีเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจ ครั้งที่ 3 ณ เวียงจันทน์ สปป.ลาว รัฐมนตรี 6 ประเทศลุ่มแม่น้าโขง รองประธานธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank : ADB) พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่อาวุโสและภาคเอกชนจาก 6 ประเทศลุ่มแม่น้าโขง ได้เข้าร่วมหารือเพื่อติดตามความก้าวหน้าการ พัฒนาแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจ และพิจารณาประเด็นข้อเสนอจากภาคส่วนต่าง ๆ อันเป็นผลจากการประชุมระดมความเห็น จากเวทีหารือในระดับจังหวัดของประเทศสมาชิกตามแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (มิถุนายน 2553) แนว ตอนใต้ (มีนาคม 2554) และแนวเหนือ – ใต้ (พฤษภาคม 2554) โดยสรุปสาระสาคัญได้ดังนี้ 1.1 ให้ความสาคัญกับการพัฒนาแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจ (Economic Corridors) เป็นหัวใจหลัก ของการพัฒนาความร่วมมือในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขงเพื่อสนับสนุนแผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน ตาม ทิศทางของกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาแผนงาน GMS ในทศวรรษหน้า (ปี 2555-2564) การบูรณาการในทุกสาขาความ ร่วมมือจะเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจ โดยมีแผนงานโครงการสาคัญ ได้แก่ การพัฒนา ด้านกฎระเบียบเพื่อการอานวยความสะดวกการค้าและการขนส่งข้ามพรมแดน การพัฒนาเมืองให้สามารถแข่งขันได้ การจัดตั้ง เขตเศรษฐกิจพิเศษ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และการเติมเต็มโครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมโยงทางถนนที่ขาดหายและมุ่งไปสู่การพัฒนาการขนส่งหลายรูปแบบ ซึ่งรวมถึงการปรับปรุงเส้นทางเชื่อมโยงตามแนวพื้นที่ พัฒนาเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคเอกชน ไทยได้ผลักดันให้รัฐบาลจีนและ สปป.ลาว ร่วมมือในการเร่งรัดกระบวนการภายในประเทศเพื่อให้การ ก่อสร้างสะพานมิตรภาพแห่งที่ 4 (เชียงของ – ห้วยทราย) แล้วเสร็จตามกาหนดในปี 2555 และขอให้สหภาพพม่าพิจารณาเปิ ด ด่านพรมแดน รวมถึงเชิญชวนให้รัฐบาลพม่า และ สปป.ลาว สนับสนุนการพัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนร่วมกับประเทศเพื่อน บ้านในบริเวณแม่สอด – เมียวดี กาญจนบุรี-ทวาย และนครพนม – คาม่วน นอกจากนี้ ยังได้สนับสนุนแนวคิดการพัฒนาเมือง ตามแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจในลักษณะคลัสเตอร์ (Cluster) ให้เป็นเมืองสร้างสรรค์ที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันโดยใช้ ทุนทางวัฒนธรรมเป็นปัจจัยสนับสนุน 1.2 รับทราบข้อเสนอให้ขยายเส้นทางแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจตอนใต้จากกรุงเทพฯ (ไทย) – พนมเปญ (กัมพูชา) – โฮจิมินห์ ซิตี้ (เวียดนาม) ให้เชื่อมต่อมาถึงเมืองทวาย (พม่า) และข้อเสนอการจัดตั้งคณะทางานเพื่อหารือ และนาเสนอโครงการลาดับความสาคัญสูงที่จังหวัดตามแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจมีความพร้อมจะดาเนินการร่วมกันในระยะ ต่อไป อย่างไรก็ดี ที่ประชุมเห็นว่าการจัดตั้งคณะทางานเฉพาะกิจยังมีข้อจากัดในด้านการคัดเลือกผู้ร่วมเป็นคณะทางานและยัง ไม่มีความชัดเจนในเรื่องขอบเขตการทางาน จึงมอบหมายให้ ADB ซึ่งเป็นฝ่ายเลขานุการ พิจารณาปรับปรุงกลไกการดาเนินงาน รวมทั้งพิจารณารูปแบบการประชุมเวทีหารื อฯ ให้สามารถขับเคลื่อนงานได้อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น ทั้งนี้ ไทยสนับสนุนให้มีการปรับปรุงรูปแบบการประชุมและกลไกการขับเคลื่อนการพัฒนาแนวพื้นที่ พัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้สามารถระดมความเห็นเพิ่มบทบาทการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนได้มากขึ้น และบริหารจัดการการ ทางานของแต่ละแนวพื้นที่เศรษฐกิจได้อย่างคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของคณะกรรมการ 3 ระดับ ได้แก่ ระดับนโยบาย (Policy Level) ระดับบริหาร (Executive Level) และระดับปฏิบัติในพื้นที่ (Corridor Level) 1.3 เห็นชอบการจัดทาแผนพัฒนาภูมิภาค (Regional Plan for Corridor Development) เพื่อ ขับเคลื่อนการพัฒนาแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจและมีการติดตามประเมินผลการพัฒนาอย่างครบวงจร โดยการจัดทาแผน พัฒนาฯ จะเน้นการอานวยความสะดวกข้ามพรมแดน และการกระตุ้นกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการลงทุนตามแนวพื้นที่


6 หลังจากโครงข่ายโครงสร้างพื้นฐานได้รับการพัฒนาค่อนข้างครบสมบูรณ์แล้ว และจะเริ่มการประเมินผลการอานวยความสะดวก ด้านการค้าและการขนส่งข้ามพรมแดนนาร่องก่อนในลาดับแรก ในส่วนของไทยได้เน้นย้าความสาคัญของการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และเร่งผลักดันการลดต้นทุนโลจิสติกส์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งลดเวลาในการดาเนินกระบวนการข้ามพรมแดน ให้อยู่ใน แผนพัฒนาฯ รวมถึงเสนอให้ ADB จัดทาฐานข้อมูลเชิงเศรษฐกิจมหภาคของแนวพื้นที่เศรษฐกิจเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต เพื่อ ประเทศสมาชิกได้ใช้ประโยชน์ต่อไป 1.4 สนับสนุนให้ภาคเอกชนและภาครัฐทางานประสานกันอย่างใกล้ชิดมากขึ้น และรับทราบ ความก้าวหน้าของสภาธุรกิจ 6 ประเทศลุ่มแม่น้าโขง (GMS Business Forum : GMS-BF) ในการจัดตั้งสมาคมผู้ขนส่งสินค้า ของอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (GMS Freight Transporter’s Association: FREATA) ณ สปป.ลาว เพื่อเป็นเวทีของภาคเอกชน ในการร่วมผลักดันโครงการสาคัญในด้านการขนส่งข้ามพรมแดนกับภาครัฐ ในส่วนนี้ไทยได้ตอบรับที่จะหารือกับสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน และสภาธุรกิจ GMS ประเทศไทย เพื่อนาเสนอโครงการนาร่องความร่วมมือด้านการลงทุนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขงให้คณะทางานด้านการล งทุน พิจารณาต่อไป 1.5 เห็นชอบแผนการดาเนินงานในระยะต่อไป โดยเตรียมการนาเสนอผลการประชุมหารือระดับ รัฐมนตรีเพื่อพัฒนาแนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจ ครั้งที่ 3 (Economic Corridor Forum : ECF-3) ต่อที่ประชุมระดับรัฐมนตรีและ สุดยอดผู้นาของแผนงาน GMS โดยการประชุมระดับรัฐมนตรี 6 ประเทศลุ่มแม่น้าโขง ครั้งที่ 17 มีกาหนดในระหว่างวันที่ 2-4 สิงหาคม 2554 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา และการประชุมสุดยอดผู้นา ครั้งที่ 4 มีกาหนดระหว่างวันที่ 19-20 ธันวาคม 2554 ณ นครเนปิดอว์ สหภาพพม่า ซึ่งสาระสาคัญของทั้งสองการประชุมจะเป็นการหารือกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาแผนงาน GMS ในทศวรรษหน้า (ปี 2555-2565) 2. ผลการประชุมความร่วมมือประเทศลุ่มแม่น้าโขง-ญี่ปุ่น ด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ครั้งที8่ 2.1 เห็นชอบการพัฒนาความร่วมมือด้านการอานวยความสะดวกการค้าและการคมนาคม ตาม แนวคิด Asia Cargo Highway ซึ่งเป็นผลจากการหารือระหว่างอธิบดีกรมศุลกากรของประเทศอาเซียนและญี่ปุ่นว่าด้วยเรื่อง การอานวยความสะดวกทางการค้าเมื่อวันที่ 28-29 เมษายน 2554 ณ กรุงพนมเปญ โดยเห็นว่าจาเป็นต้องพัฒนาเพิ่มเติม โครงสร้างพื้นฐานที่ส่งเสริมความเชื่อมโยงระดับอนุภูมิภาค เช่น ท่าเรือน้าลึ กทวายในพม่า และท่าเรือน้าลึกวุงอางในเวียดนาม และภาคเอกชนควรเข้ามามีบทบาทมากขึ้น ทั้งนี้ ที่ประชุมสนับสนุนกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนโครงการลาดับความสาคัญสูง ได้แก่ โครงการจัดสัมมนาเพื่อระดมความคิดเห็นในเรื่องการดาเนินงาน 24 ชั่วโมง ณ ด่านพรมแดน ซึ่งญี่ปุ่นจะรับไปดาเนินการจัด สัมมนาดังกล่าว และโครงการจัดฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพและความเข้าใจกฎหมายและกฎระเบียบในการขนส่งข้าม พรมแดนสาหรับคนขับรถของอนุภูมิภาค ซึ่งไทยจะประสานกับ ADB และญี่ปุ่น เพื่อกาหนดแนวทางการดาเนินงานร่วมกันต่อไป 2.2 ส่งเสริมให้ฝ่ายเลขานุการฯ กรอบความร่วมมือประเทศลุ่มแม่น้าโขงกับญี่ปุ่นด้านเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรม (MJ-CI) พัฒนาระบบการทางานของกรอบความร่วมมือให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยประสานกับผู้แทนของแต่ละ ประเทศสมาชิก และ ADB ซึ่งทาหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการแผนงาน GMS อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการประสานข้อ มูลระหว่าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของแต่ละประเทศเพื่อให้การดาเนินงานมีความสอดคล้องและไม่ซ้าซ้อนกัน 2.3 เห็นชอบให้ญี่ปุ่นให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการพัฒนาธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ทั้งด้านเทคโนโลยีการผลิต การเข้าถึงแหล่งเงินทุน การพัฒนาห่วงโซ่มูลค่าและห่วงโซ่อุปทาน ในระดับภูมิภาคและการจัดหาตลาด โดยญี่ปุ่นอยู่ระหว่างจัดทาโครงการในด้านต่าง ๆ เช่น การจัดการอบรมและสัมมนา จัดตั้ง กองทุนเพื่อพัฒนา SMEs (SMES development fund) และการใช้ระบบ Shindanish เพื่อเป็นที่ปรึกษาในการพัฒนาธุรกิ จ ของผู้ประกอบการ 2.4 เห็นชอบแผนการดาเนินงานในระยะต่อไป โดยจะมีการหารือร่วมกับภาคเอกชนในเดือน กรกฎาคม 2555 ณ กรุงเทพมหานคร และนาเสนอในที่ประชุมระดับรัฐมนตรีประเทศลุ่มแม่น้าโขง-ญี่ปุ่นด้านเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรมต่อไป ในเดือนสิงหาคม 2554 เมืองมานาโด ประเทศอินโดนีเซีย 4. เรื่อง การรับชาระหนี้ค่าข้าวจากรัฐบาลรัสเซีย คณะรัฐมนตรีรับทราบการชาระหนี้ค่าข้าวจากรัฐบาลรัสเซียตามทีก่ ระทรวงพาณิชย์ (พณ.) เสนอ ดังนี้ สาระสาคัญของเรื่อง พณ. รายงานว่า ตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 28 มิถุนายน 2554 ได้จัดตั้งคณะผู้แทนไทยนาโด ยรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพาณิชย์ (นางพรทิวา นาคาศัย) เดินทางไปประเทศสหพันธรัฐรัสเซียเพื่อลงนามในพิธีสารความตกลงการชาระหนี้ค่าข้าว


7 ระหว่างไทยกับรัสเซีย ณ กรุงมอสโก โด ยพิธีลงนามได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2554 ซึ่งตามพิธีสารฯ สหพันธรัฐรัสเซีย จะต้องชาระเงินให้แก่ฝ่ายไทยจานวน 36,441,731.98 ดอลลาร์สหรัฐ ภายในวันที่ 12 กรกฎาคม 2554 ทั้งนี้ พณ. ได้ประสาน กับธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) เพื่อให้การรับชาระเงินเป็นไปตามกาหนดดังกล่าวและได้รับแจ้ง วารัฐบาลรัสเซียได้โอนเงินชาระหนี้ค่าข้าวให้กับประเทศ ไทยแล้วจานวน 36,441,731.98 ดอลลาร์สหรัฐ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2554 และ ธสน. ได้คานวณเงินที่ได้รับเป็นเงินบาทและโอนเงินให้ พณ . เป็นเงินสุทธิจานวน 1,107,828,552.19 บาท ซึ่ง พณ. โดยกรมการค้าต่างประเทศได้รับการโอนเงินดังกล่าวไว้แล้ว 5. เรื่อง มาตรการกากับดูแลสินค้าสาคัญ 205 รายการ และบริการ 20 รายการ ประจาเดือนกรกฎาคม 2554 คณะรัฐมนตรีรับทราบมาตรการกากับดูแลสินค้าสาคัญ 205 รายการ และบริการ 20 รายการ ประจาเดือน กรกฎาคม 2554 ตามที่กระทรวงพาณิชย์โดยกรมการค้าภายใน ได้มีการกาหนดระดับความสาคัญของสินค้าที่ต้องติดตามดูแล 205 รายการ และบริการ 20 รายการ เป็นประจาทุกเดือนตามสถานการณ์หรือปัจจัยการผลิตที่เปลี่ยนแปลง เพื่อเป็นเครื่องมือ ในการติดตามดูแลราคาสินค้าและสัญญาณเตือนภัยในระดับปฏิบัติการ กระทรวงพาณิชย์รายงานว่า ในเดือนกรกฎาคม 2554 ได้ประเมินและคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ด้าน ราคาและปริมาณของสินค้าและบริการ โดยได้ปรับเปลี่ยนการจัดระดับความสาคัญของสินค้าทั้ง 3 กลุ่ม เป็นดังนี้ 1. กลุ่ม Sensitive List (SL) สินค้า 9 รายการ ได้แก่ (1) น้ามันเบนซิน (2) น้ามันดีเซล ราคาน้ามันดิบปรับ สูงขึ้น เนื่องจากสถานการณ์ความไม่สงบในลิเบียยังคงยืดเยื้อประกอบกับกลุ่มโอเปกตัดสินใจคงโควต้าการผลิตน้ามันดิบไว้ที่ ระดับเดิม (24.84 ล้านบาร์เรล/วัน) (3) เหล็กเส้น (4) เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ ราคาวัตถุดิบปรับเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากการ เจรจาตกลงซื้อ-ขาย สินแร่เหล็กในไตรมาสที่ 3 ของปี 2554 คาดว่าราคาจะปรับเพิ่มขึ้นจากไตรมาส 2 ของปี 2552 (5) เหล็ก แผ่น (รีดร้อนรีดเย็น และสแตนเลส) ราคาวัตถุดิบปรับลดเล็กน้อย แต่ยังอยู่ในระดับสูง (6) ปูนซีเมนต์ ราคาถ่านหิน ยังคงทรง ตัวอยู่ในระดับสูง แม้ว่าจะอยู่ในช่วงฤดูฝน ทาให้มีอุปสรรคในการขนส่งในประเทศผู้ผลิตรายใหญ่ คือประเทศอินโดนีเซียและ ออสเตรเลีย (7) สายไฟฟ้า ราคาทองแดงปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจาก การเก็งกาไรในตลาดล่วงหน้าค่อนข้างสูง (8) ปุ๋ยเคมี ราคาปุ๋ย ยูเรียสูงขึ้นเนื่องจากความต้องการใช้เพิ่มมากขึ้น ผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและความต้องการอาหารที่ เพิ่มขึ้น ประกอบกับจีนซึ่งเป็นผู้ส่งออกปุ๋ยยูเรียรายใหญ่ ส่งออกปุ๋ยยูเรียลดลงเพราะนาก๊าซธรรมชาติที่เป็นวัตถุดิบผลิตปุ๋ยยูเรีย ไปใช้ในภาคอุตสาหกรรมในประเทศมากขึ้น (9) อาหารสัตว์ ราคาข้าวโพดมีความผันผวนขึ้น-ลงอยู่ในระดับสูง เนื่องจากช่วงนี้มี สินค้าอยู่ในสต๊อกเพียงพอ จึงชะลอการรับซื้อและบริการ 1 รายการ ได้แก่ บริการรับส่งสินค้า เอกสาร หรือพัสดุภัณฑ์รับส่ง โทรสาร 2. กลุ่ม Priority Watch List (PWL) สินค้า 8 รายการ ได้แก่ (1) น้าตาลทราย ผลผลิตอ้อย มีมากกว่าที่ ประมาณการไว้ จึงไม่น่าจะมีปัญหาด้านปริมาณส่งผลให้ราคาน้าตาลทรายในประเทศทรงตัว (2) น้ามันพืช รัฐบาลประกันราคา รับซื้อน้ามันปาล์มดิบส่งผลให้ราคายังทรงตัวในระดับสูง เมล็ดถั่วเหลืองเนื่องจากราคาทรงตัวในระดับสูงผลผลิตออกสู่ตลาด น้อยลง (3) อาหารปรุงสาเร็จ ราคาวัตถุดิบหลักคือ เนื้อสัตว์ยังคงอยู่ในระดับสูง (4) ก๊าซ LPG หุงต้ม ราคาปิโตรมินลดลงตาม ความผันผวนของราคาน้ามันดิบ แต่ยังคงอยู่ในระดับสูง (5) ยางรถยนต์ ราคายางดิบยังคงทรงตัวในระดับสูง เนื่องจากความ ต้องการใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์มีอย่างต่อเนื่อง (6) เหล็กแผ่นเคลือบดีบุก (7) เหล็กแผ่นเคลือบโครเมี่ยม เนื่องจากคาดว่า ราคาวัตถุดิบสาคัญคือ เหล็กแผ่นรีดเย็น TMBP จะปรับตัวสูงขึ้นเนื่องจากการตกลงซื้อในไตรมาสที่ 3 มีการปรับราคาเหล็กแผ่น เพิ่มขึ้น (8) ยาป้องกันหรือกาจัดศัตรูพืชราคาไกลโฟเสทยังคงทรงตัวในระดับสูง และบริการ 1 รายการ ได้แก่ บริการซ่อมรถ 3. กลุ่ม Watch List (WL) ซึ่งเป็นกลุ่มสินค้าที่ราคาเคลื่อนไหวเป็นปกติยังไม่มีสัญญาณบ่งชี้ว่าจะมีปัญหาทั้ง ด้านราคาและปริมาณสินค้าที่จาหน่าย ซึ่งจะทาการติดตาม ตามปกติ จานวน 188 รายการ และบริการ 18 รายการ 6. เรื่อง แต่งตั้ง

1. การแต่งตั้งข้าราชการให้ดารงตาแหน่งที่ปรึกษาสานักงบประมาณ (นักวิเคราะห์งบประมาณ ทรงคุณวุฒิ) (สานักนายกรัฐมนตรี) คณะรัฐมนตรีอนุมัติตามที่สานักนายกรัฐมนตรีเสนอแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดสานักงบประมาณ ให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ จานวน 2 ราย ตั้งแต่วันที่มีคุณสมบัติครบถ้วนสมบูรณ์ ดังนี้ 1. นางลัดดาวัลย์ บุญประสิทธิ์ ที่ปรึกษาสานักงบประมาณ (นักวิเคราะห์งบประมาณเชี่ยวชาญ) สานัก งบประมาณ ดารงตาแหน่ง ที่ปรึกษาสานักงบประมาณ (นักวิเคราะห์งบประมาณทรงคุณวุฒิ ) สานักงบประมาณ ตั้งแต่วันที่ 12 พฤศจิกายน 2553


8 2. นางรวมพร วุฒิสิงห์ชัย ที่ปรึกษาสานักงบประมาณ (นักวิเคราะห์งบประมาณเชี่ยวชาญ) สานักงบประมาณ ดารงตาแหน่ง ที่ปรึกษาสานักงบประมาณ (นักวิเคราะห์งบประมาณทรงคุณวุฒิ ) สานักงบประมาณ ตั้งแต่วันที่ 18 พฤศจิกายน 2553 ทั้งนี้ สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจะได้แจ้งให้คณะกรรมการการเลือกตั้งเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนที่จะขอให้สานักราชเลขาธิการนาความกราบบังคมทูลพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งข้าราชการทั้ง 2 รายดังกล่าวให้ ดารงตาแหน่ง ส่วนรายนางลัดดาวัลย์ บุญประสิทธิ์ ให้พ้นจากตาแหน่ง ที่ปรึกษาสานักงบประมาณ (นักวิเคราะห์งบประมาณ ทรงคุณวุฒิ) สานักงบประมาณ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2554 เนื่องจากครบเกษียณอายุราชการต่อไป 2. การแต่งตั้งกงสุลใหญ่สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามประจาจังหวัดขอนแก่น คณะรัฐมนตรีอนุมัติในการที่รัฐบาลสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามเสนอขอแต่งตั้ง นายงเหวียน ฮืว ดิญ (Mr. Nguyen Huu Dinh) ดารงตาแหน่งกงสุลใหญ่สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามประจาจังหวัดขอนแก่น สืบแทน นายเจิ่น เหงียน จึก ซึ่งสิ้นสุดวาระประจาการในประเทศไทย 3. การขอยกระดับสถานกงสุลประจานครซูริค และเลื่อนฐานะกงสุลกิตติมศักดิ์ประจานครซูริค คณะรัฐมนตรีอนุมัติตามที่กระทรวงการต่างประเทศเสนอดังนี้ 1. ยกระดับสถานกงสุลประจานครซูริค เป็นสถานกงสุลใหญ่ประจานครซูริค สมาพันธรัฐสวิส 2. เลื่อนสถานะ นายมาร์กุส อัลแบร์ท ไฟร (Markus Albert Frey) กงสุลกิตติมศักดิ์ประจานครซูริค เป็น กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์ประจานครซูริค สมาพันธรัฐสวิส 4. รัฐบาลสหรัฐเม็กซิโกเสนอขอแต่งตั้งเอกอัครราชทูตประจาประเทศไทย คณะรัฐมนตรีอนุมัติในการที่รัฐบาลสหรัฐเม็กซิโกเสนอขอแต่งตั้ง นายคอร์เค เอดูอาร์โด เชน ชาร์เปนเตียร์ (Mr. Jorge Eduardo Chen Charpentier) ให้ดารงตาแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอานาจเต็มแห่งสหรัฐเม็กซิโกประจา ประเทศไทยคนใหม่ โดยมีถิ่นพานัก ณ กรุงเทพมหานคร สืบแทน นายลุยส์ อาร์ตูโร ปวยน์เต ออร์เตกา (Mr. Luis Arturo Puente Ortega) 5. รัฐบาลสาธารณรัฐชิลีเสนอขอแต่งตั้งเอกอัครราชทูตประจาประเทศไทย คณะรัฐมนตรีอนุมัติตามที่รัฐบาลสาธารณรัฐชิลีเสนอขอแต่งตั้ง นายฮาเวียร์ อันเ ดรส เบกเกอร์ มาร์แชล (Mr. Javier Andres Becker Marshall) ให้ดารงตาแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอานาจเต็มแห่ง สาธารณรัฐชิลีประจาประเทศไทย คนใหม่ โดยมีถิ่นพานัก ณ กรุงเทพมหานคร สืบแทน นายอัลแบร์โต โยอาชัมโซเฟีย (Mr. Alberto Yoacham Soffia) 6. การขออนุมัติแต่งตั้งกงสุลกิตติมศักดิ์สมาพันธรัฐสวิสประจาจังหวัดภูเก็ต คณะรัฐมนตรีอนุมัติในการที่รัฐบาลสมาพันธรัฐสวิสเสนอขอแต่งตั้ง นางอันเดรีย เอวา โคทัส ทัมมาทิน (Mrs. Andrea Eva Kotas Tammathin) ให้ดารงตาแหน่งกงสุลกิตติมศักดิ์สมาพันธรัฐสวิสประจาจังหวัดภูเก็ต โดยมีเขตกงสุล ครอบคลุมจังหวัดภูเก็ต กระบี่ ตรัง พังงา และสุราษฎร์ธานี 7. การยกระดับสถานกงสุลสาธารณรัฐออสเตรียประจาเมืองพัทยา เป็นสถานกงสุลใหญ่ ฯ และเลื่อนฐานะ กงสุลกิตติมศักดิ์สาธารณรัฐออสเตรียประจาเมืองพัทยา เป็นกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์ ฯ คณะรัฐมนตรีอนุมัติตามที่กระทรวงการต่างประเทศเสนอดังนี้ 1. ยกระดับสถานกงสุลสาธารณรัฐออสเตรียประจาเมืองพัทยา เป็นสถานกงสุลใหญ่ ฯ โดยมีเขตกงสุล ครอบคลุมจังหวัดชลบุรี 2. เลื่อนฐานะ นายรูดอล์ฟ โฮเฟอร์ (Mr. Rudolf Hofer) กงสุลกิตติมศักดิ์สาธารณรัฐออสเตรียประจาเมือง พัทยา เป็นกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์ ฯ โดยมีเขตกงสุลครอบคลุมจังหวัดชลบุรี


9 8. รัฐบาลราชรัฐลักเซมเบิร์กเสนอขอแต่งตั้งเอกอัครราชทูตประจาประเทศไทย คณะรัฐมนตรีอนุมัติในการที่รัฐบาลราชรัฐลักเซมเบิร์กเสนอขอแต่งตั้ง นายมาร์ก ทิลล์ (Mr. Marc Thill) ให้ ดารงตาแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอานาจเต็มแห่งราชรัฐลักเซมเบิร์กประจาประเทศไทยคนใหม่ โดยมีถิ่นพานัก ณ กรุงเทพมหานคร สืบแทน นายมาร์ก อุนเกฮอยเออร์ (Mr. Marc Ungeheuer) 9. รัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีเสนอขอแต่งตั้งเอกอัครราชทูตประจาประเทศไทย คณะรัฐมนตรีอนุมัติในการที่รัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีเสนอขอแต่งตั้ง นายรอล์ฟ เพเทอร์ กอทท์ฟรีชุดล เซอ (Mr. Rolf Peter Gottfried Schulza) ให้ดารงตาแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอานาจเต็มแห่งสหพันธ์ สาธารณรัฐ เยอรมนีประจาประเทศไทยคนใหม่ โดยมีถิ่นพานัก ณ กรุงเทพมหานคร สืบแทน นายฮันส์ ไฮน์ ช ชูริมาเคอร์ (Mr. Hanns Heinrich Schumacher) ********************************* เอกสารชุดนี้เป็นเอกสารข่าวสรุปผลการประชุมคณะรัฐมนตรีเท่านั้น สาหรับมติคณะรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการกรุณาตรวจสอบที่สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี โทร . 0 2280-9000 สานักโฆษกขอเชิญติดตามการถ่ายทอดสดการแถลงข่าวผลการประชุมคณะรัฐมนตรี ทุกวันอังคาร หรือวันที่มีการประชุม ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ทาง F.M. 92.5 ในเขตกรุงเทพมหานคร ส่วนต่างจังหวัด รับฟังได้ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยประจาจังหวัด หากท่านใดประสงค์จะขอรับข่าวการประชุมคณะรัฐมนตรีสมัครได้ทาง www.thaigov.go.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.