ผ่ าทางตันรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ กระบวนวิธีร่วมพลังประชาธิปไตยสามฝ่ ายสลายตุลาการภิวตั น์ รองศาสตราจารย์ ดร. วรพล พรหมิกบุตร คณะสั งคมวืทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มกราคม ๒๕๕๖
(๑) การแก้ ไขรัฐธรรมนูญโดยไม่ ลงมติวาระสาม ไม่ จัดทําประชามติ ไม่ รื้อล้ างราย มาตรา รั ฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แม้ จะมีการอ้ างกันว่ าผ่ าน มาบังคับใช้ โดยมีประชามติของประชาชนรองรั บ แต่ กม็ ีการแย้ งจากหลายฝ่ ายอย่ างท่ วมท้ นว่ าเป็ น รั ฐธรรมนูญที่ มีมลทิ นด่ างพร้ อยไม่ เป็ นประชาธิ ปไตย ตั้งแต่ ที่มาหรื ออํานาจรั ฐที่ กาํ หนดการเขียน รั ฐธรรมนูญฉบับดังกล่ าว กระบวนการสรรหาคณะบุคคลผู้ร่างรั ฐธรรมนูญและคณะบุคคลผู้อนุมตั ิ ให้ ผ่านร่ างรั ฐธรรมนูญดังกล่ าว และเนือ้ หาบทบัญญัติจาํ นวนมากในตัวรั ฐธรรมนูญฉบับดังกล่ าว ความพยายามในการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวโดยพรรคเพื่อไทยและแนว ร่ วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ได้รับความเห็นชอบและการสนับสนุนจาก ประชาชนอย่างท่วมท้นแต่กม็ ีอุปสรรคขัดขวางในทุกขั้นตอนกระบวนการจากกลุ่มพลังมวลชน นิยมการรัฐประหารจํานวนหนึ่ง จากกลุ่มนักการเมืองที่มาจากการแต่งตั้ง (สมาชิกวุฒิสภาและ บุคคลผูด้ าํ รงตําแหน่งทางการเมืองในองค์กรตามรัฐธรรมนูญ) จํานวนหนึ่ง จากนักการเมืองที่ ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน (สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา) อีกจํานวนหนึ่ง และจากการใช้อาํ นาจของศาลรัฐธรรมนูญที่มาจากการแต่งตั้งด้วยอํานาจที่รับสื บทอดมาตาม ขั้นตอนที่เชื่อมโยงกับอํานาจรัฐประหาร ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ พรรคเพื่อไทยที่ในปั จจุบนั มี สส. เสี ยงข้างมากเกินครึ่ งหนึ่งในสภาผูแ้ ทนราษฎร ยังไม่สามารถแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวด้วยตนเองตามลําพังเพราะรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว กําหนดให้การแก้ไขรัฐธรรมนูญต้องใช้เสี ยงข้างมากจํานวน เกินกึ่งหนึ่งของสมาชิกรัฐสภาทั้งหมด ๒ สภารวมกัน1 การเชิญพรรคการเมืองอื่นเข้าร่ วมรัฐบาลกับพรรคเพือ่ ไทยภายหลังผลการเลือกตั้ง ทัว่ ไป พ.ศ. ๒๕๕๔ ทําให้สมาชิกพรรคร่ วมรัฐบาลในสภาผูแ้ ทนราษฎรเพิม่ จํานวนยิง่ ขึ้นซึ่งหาก พรรคร่ วมรัฐบาลมีเอกภาพในการสนับสนุนการแก้ไขรัฐธรรมนูญดังกล่าวจริ งก็จะทําให้ สส. ฝ่ าย เสี ยงข้างมากมีคะแนนเสี ยงในรัฐสภาหนาแน่นขึ้น และดังนั้นถ้าหากสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการ 1
รัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ฉบับปั จจุบนั ประกอบด้วยสภาผูแ้ ทนราษฎร (สมาชิกแบบ บัญชีรายชื่อและสมาชิกที่มาจากเขตเลือกตั้ง รวมทั้งหมด ๕๐๐ คน) และวุฒิสภา (สมาชิกที่มาจากการเลือกตั้งและที่มาจากการสรร หาแต่งตั้ง รวมทั้งหมด ๑๕๐ คน) 1