ปาฐกถาประชาธิปไตยนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์

Page 1

ปาฐกถาประชาธิปไตยนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตรกับปัญหาการ เมืองไทยหลังรัฐประหาร ๒๕๔๙ รองศาสตราจารย์ ดร. วรพล พรหมิ กบุตร ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ประเทศไทยได้รบั เชิญให้เข้าร่วมการประชุมรัฐมนตรีประชาคมประชาธิปไตย (Ministerial Conference of the Community of Democracies) ครัง้ ที่ ๗ ทีก่ รุงอูลานบาตอร์ ประเทศมองโกเลีย โดยนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยได้รบั เชิญให้กล่าวสุนทร พจน์ต่อทีป่ ระชุมเมือ่ วันที่ ๒๙ เมษายน ทีผ่ ่านมา เนื้อหาของข้อความในสุนทรพจน์ดงั กล่าว อาจจําแนกได้เป็น ๓ ประเภทผสมผสานกันตามแนวทางการกล่าวสุนทรพจน์ ได้แก่ (๑) หลักการประชาธิปไตย (๒) ข้อเท็จจริงกรณีการเมืองไทย และ (๓) นโยบายและมาตรการ บริหารของรัฐบาลนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร เมือ่ พิจารณาแจกแจงเนื้อหาในสุนทรพจน์นนั ้ ต่อไปโดยละเอียดจะพบได้วา่ มี ประเด็นสําคัญทีน่ ายกรัฐมนตรีกล่าวในสุนทรพจน์ดงั กล่าวตามลําดับ ดังนี้ ; (๑) ประชาธิปไตยสําคัญมากสําหรับประชาชนชาวไทย ประชาธิปไตยไม่ใช่ ของใหม่ ประชาธิปไตยนําความก้าวหน้าและความหวังมาสูป่ ระชาชน จํานวนมาก และคนจํานวนมากได้เสียสละเลือดและชีวติ พิทกั ษ์ปกป้อง และสร้างประชาธิปไตยขึน้ ในประเทศ (๒) คนจํานวนหนึ่งในโลกนี้ไม่เชื่อถือประชาธิปไตยและพร้อมจะยึดกุมอํานาจ และความมังคั ่ งโดยกดขี ่ เ่ สรีภาพของประชาชนอย่างไม่คาํ นึงถึงสิทธิ มนุ ษยชน และโดยการใช้กําลัง (๓) กระแสคลืน่ ประชาธิปไตยสมัยใหม่ปรากฎในหลายประเทศ แต่เราก็ยงั ต้องระมัดระวังพลังต่อต้านประชาธิปไตยทีไ่ ม่เคยยอมลดราวาศอก (๔) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ (ค.ศ. ๑๙๙๗) ประเทศไทยมีรฐั ธรรมนูญทีป่ ระชาชนมี ส่วนร่วม เราจึงคิดว่าหมดยุคของวงจรการรัฐประหารในประเทศไทยแล้ว (๕) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ (ค.ศ. ๒๐๐๖) รัฐบาลจากการเลือกตัง้ ทีช่ นะการเลือกตัง้ ๒ ครัง้ ถูกรัฐประหาร รัฐบาลดังกล่าวมีทกั ษิณ ชินวัตร เป็ น นายกรัฐมนตรีทไ่ี ด้รบั การเลือกตัง้ โดยชอบธรรมจากประชาชน (๖) ประเทศไทยทนทุกข์จากความถดถอยและสูญเสียความเชื่อถือจากนานา ประเทศ หลักนิตธิ รรมถูกทําลาย โครงการและมาตรการทีป่ ระชาชน ต้องการและริเริม่ โดยรัฐบาลทักษิณถูกถอดทิง้ ประชาชนรูส้ กึ ว่าสิทธิ เสรีภาพถูกยึดไปและประชาชนร่วมกันต่อสูเ้ รียกร้องเสรีภาพคืนมา ใน ขบวนการเสือ้ แดง และถูกปราบปรามในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ (ค.ศ. ๒๐๑๐) จนเสียชีวติ ๙๑ ราย ทีศ่ ูนย์กลางย่านการค้าของกรุงเทพฯ


(๗) ประชาชนผลักดันเคลือ่ นไหวต่อไปจนรัฐบาลขณะนัน้ ต้องจัดการให้มกี าร เลือกตัง้ ซึง่ คิดว่าจะกําราบได้ แต่ในทีส่ ุดเจตนารมณ์ของประชาชนที่ ปฏิเสธมิได้กส็ ง่ ให้ดฉิ นั (นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร) ได้รบั การเลือกตัง้ โดย เสียงส่วนใหญ่ทว่ มท้น (๘) แต่เรือ่ งก็ไม่จบ เพราะองค์ประกอบของระบอบต้านประชาธิปไตยยังดํารง อยูใ่ นรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ทร่ี า่ งขึน้ โดยผูน้ ําการรัฐประหาร ๒๕๔๙ ตัวอย่างเช่นครึง่ หนึ่งของวุฒสิ ภาทีม่ าจากการแต่งตัง้ และในบรรดาองค์กร การเมืองทีเ่ รียกกันติดปากว่าองค์กรอิสระซึง่ บิดเบือนการใช้อาํ นาจ (๙) ความเข้มแข็งของประชาธิปไตยจะเกิดขึน้ ได้ดว้ ยการสร้างความเข้มแข็ง ให้หลักนิตธิ รรม (๑๐) ประชาธิปไตยจะสร้างเสริมความมันคงทางการเมื ่ อง ส่งเสริมบรรยากาศ การลงทุน สร้างงานและรายได้เพิม่ ขึน้ เปิดโอกาสทางเศรษฐกิจซึง่ จะ ช่วยลดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน จึงจําเป็ นต้องสนับสนุ นความ เข้มแข็งของรากหญ้าประชาชน เราทําสิง่ เหล่านี้ได้ดว้ ยการปฏิรปู ั ฒนธรรม การศึกษาทีม่ งุ่ สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและปลูกฝงวั ประชาธิปไตยในวิถชี วี ติ ของประชาชน (๑๑) เราต้องการภาวะผูน้ ําทัง้ ในส่วนของรัฐบาล ฝา่ ยค้าน และทุกฝา่ ยทีม่ ี ส่วนได้เสีย ทุกคนต้องเคารพหลักนิตธิ รรมและช่วยเสริมสร้าง ประชาธิปไตย (๑๒) เพือ่ นในประชาคมระหว่างประเทศมีความสําคัญในอันทีจ่ ะสนับสนุ น พลังประชาธิปไตยในประเทศไทยให้ดาํ เนินต่อไปได้ หากมีประเทศใด เลือกผิดทางเป็ นปฏิปกั ษ์กบั หลักการประชาธิปไตย เราทุกคนใน ประชาคมประชาธิปไตยจําเป็ นต้องผนึกความร่วมมือในการทําให้ประเทศ นัน้ หันกลับมาให้เสรีภาพแก่ประชาชนเพือ่ หยุดยัง้ ระบอบทีเ่ ป็ นปฏิปกั ษ์ กับประชาธิปไตย (ประเด็นแจกแจงเนื้อหาสุนทรพจน์นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ไทยในทีป่ ระชุมประชาคมประชาธิปไตย วันที ่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ทีป่ ระเทศ มองโกเลีย) เมือ่ วิเคราะห์เพิม่ เติมต่อไปในรายละเอียด ผูเ้ ขียนได้ขอ้ สรุปการวิเคราะห์ ดังต่อไปนี้ ; (๑) ในส่วนของสุนทรพจน์ทกี ่ ล่าวถึงหลักการประชาธิปไตยไม่มขี อ้ ความใดที ่ เป็นการกล่าว “ยกเมฆ” ขึน้ เองเลย แต่เป็ นการนําหลักการทางการเมือง แบบประชาธิปไตยทีป่ รากฏอยูใ่ นเอกสารองค์กรระหว่างประเทศและ หลักสูตรการศึกษาทางวิชาการในปจั จุบนั มาเผยแพร่ในสุนทรพจน์ดงั กล่าว


(๒)

(๓)

เช่น หลักนิตธิ รรม หลักสิทธิมนุ ษยชน รวมทัง้ หลักการเรือ่ งสิทธิและ เสรีภาพของประชาชนซึง่ เป็ นหลักการสําคัญของการเมืองตามระบอบ ประชาธิปไตย ผูส้ นใจตรวจสอบศึกษาเนื้อหารายละเอียดเพิม่ เติมของ หลักการเหล่านี้สามารถค้นคว้าจากเอกสารทางวิชาการของ สถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ และเอกสารอ้างอิงขององค์กรระหว่างประเทศ จํานวนมาก ตัง้ แต่สหประชาชาติจนถึงองค์กรสิทธิมนุ ษยชนสากล เป็ นต้น ในส่วนของสุนทรพจน์ทเี ่ ป็นการกล่าวถึงนโยบาย โครงการ และมาตรการ บริหารของรัฐบาลนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร เป็นการระบุถงึ สิง่ ทีร่ ฐั บาล ประกาศต่อสาธารณชนมาก่อนแล้วและอยูร่ ะหว่างการดําเนินงานตามที ่ ประกาศ ส่วนใหญ่ของงานบริหารเหล่านัน้ เป็ นงานขนดใหญ่ทย่ี งั ไม่สาํ เร็จ ลุลว่ งและอยูร่ ะหว่างขัน้ ตอนการตรวจสอบด้วยกระบวนการต่าง ๆ ตาม ระบอบประชาธิปไตยทัง้ โดยฝา่ ยค้านในรัฐสภาและโดยบุคคลหรือองค์กร อื่นทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น การปฏิรปู การศึกษา การลดช่องว่างระหว่างคนรวย กับคนจนในประเทศ แต่กม็ งี านบางส่วนทีเ่ ป็นงานตามนโยบายเดียวกับ รัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ทีม่ ขี อ้ เท็จจริงพิสจู น์รองรับมากพอสมควรแล้วว่า ประสบความสําเร็จเป็ นประโยชน์และเป็ นทีพ่ อใจของรากหญ้าประชาชน ผูส้ นใจรายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับโครงการบริหารและความสําเร็จของ โครงการดังกล่าวนี้สามารถศึกษาเพิม่ เติมได้ดว้ ยตนเองจากข้อมูลเกีย่ วกับ โครงการกองทุนหมู่บา้ น โครงการเอสเอ็มแอล รวมทัง้ โครงการทีเ่ รียกกัน ติดปากประชาชนทัวไปว่ ่ า “๓๐ บาทรักษาทุกโรค” เป็นต้น ประเด็นที่ อาจกล่าวได้วา่ เป็ นวิสยั ทัศน์ทไ่ี ด้รบั การเน้นในสุนทรพจน์ดงั กล่าว ได้แก่ การเชื่อมโยงความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลระหว่างการเมืองระบอบ ประชาธิปไตยกับการแก้ไขปญั หาทางเศรษฐกิจและความจําเป็ นในการ สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมประชาธิปไตยในประชากร รากหญ้า แม้วา่ ประเด็นเรือ่ งความสัมพันธ์ทแ่ี ยกขาดจากกันมิได้ระหว่าง ระบอบการเมืองกับความเป็ นอยูท่ างเศรษฐกิจจะไม่ใช่เรือ่ งใหม่ในหัวข้อ การศึกษาค้นคว้าและการนําเสนอทฤษฎีทางวิชาการด้านสังคมศาสตร์ แต่ การนําเสนอประเด็นความเชือ่ มโยงสัมพันธ์ระหว่างการใช้การเมืองแบบ ประชาธิปไตยกับผลสัมฤทธิ ์ในการแก้ไขปญั หาทางเศรษฐกิจในสุนทรพจน์ ดังกล่าวสามารถนําไปเผยแพร่เรียนรูแ้ ละช่วยกันขยายผลให้เป็น ความสําเร็จทีเ่ ป็นจริงต่อไปได้ในระดับทีส่ ามารถนําไปสูก่ ารสร้างความ มันคงทางการเมื ่ องตามระบอบประชาธิปไตยเป็ นวงจรลูกโซ่ระยะยาวต่อไป ในส่วนของสุนทรพจน์ทเี ่ ป็นการกล่าวถึงข้อเท็จจริงทางการเมืองของไทยมี ขอบเขตเวลาช่วงสําคัญครอบคลุมตัง้ แต่การใช้รฐั ธรรมนูญแห่ง


ราชอาณาจักรไทย พุถทธศักราช ๒๕๔๐ จนถึงสภาพการณ์ทางการเมือง ในเวลาทีก่ ล่าวสุนทรพจน์นนั ้ เนื้อหาทัง้ หมดในสุนทรพจน์ (ตามทีผ่ เู้ ขียน ได้แจกแจงข้างต้น) ไม่มขี อ้ ความใดเป็นเท็จหรือกล่าวขึน้ เองโดยปราศจาก ฐานข้อมูลทีเ่ ป็นข้อเท็จจริงรองรับ ไม่วา่ จะประโยคทีก่ ล่าวว่ารัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ มาจากการมีสว่ นร่วมของประชาชน ประโยคทีว่ า่ รัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร มาจากการเลือกตัง้ โดยชอบธรรมของประชาชน ประโยค ทีว่ ่ารัฐบาลดังกล่าวริเริม่ โครงการและมาตรการทีต่ อบสนองความต้องการ ของประชาชน ประโยคทีว่ า่ รัฐบาลทักษิณได้รบั การเลือกตัง้ ทัวไปหรื ่ อการ เลือกตัง้ ในขอบเขตทัวประเทศ ่ ๒ ครัง้ ประโยคทีว่ ่ารัฐบาลทีม่ าจากการ เลือกตัง้ โดยชอบธรรมจากประชาชน ๒ ครัง้ ดังกล่าวถูกกระทํารัฐประหาร หรือยึดอํานาจด้วยการใช้กาํ ลังบังคับในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ประโยคทีว่ า่ รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ร่างขึน้ โดยผูน้ ําการรัฐประหาร ๒๕๔๙ (ซึง่ ควบคุม อํานาจทางการเมืองตามระบอบทีเ่ ป็ นปฏิปกั ษ์กบั การเมืองแบบ ประชาธิปไตยในขณะทีม่ กี ารร่างและจัดให้มกี จิ กรรมลงคะแนนเสียงรับร่าง รัฐธรรมนูญดังกล่าว) ประโยคทีว่ า่ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่หรือรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มีองค์ประกอบของระบอบต้าน ประชาธิปไตยอยูภ่ ายใน เช่น วุฒสิ ภาทีม่ าจากการแต่งตัง้ และองค์กรอิสระ ทีบ่ ดิ เบือนการใช้อาํ นาจ ข้อเท็จจริงเหล่านี้พสิ จู น์ได้ดว้ ยข้อมูล แม้แต่ ประเด็นเรือ่ งทีม่ าของสมาชิกวุฒสิ ภาแบบแต่งตัง้ และผูด้ าํ รงตําแหน่งใน องค์กรทีเ่ รียกกันติดปากว่าองค์กรอิสระต่าง ๆ ก็มขี อ้ พิสจู น์ยนื ยันทัง้ โดย ข้อกฎหมายทีน่ กั กฎหมายและนักการเมืองของคณะรัฐประหาร ๒๕๔๙ เขียนไว้เองในรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ และข้อเท็จจริงทีป่ รากฎอยูใ่ น กระบวนการสรรหาแต่งตัง้ ทีเ่ กีย่ วข้องว่าเป็ นระบอบต้านประชาธิปไตย เป็นทีแ่ น่นอนว่าข้อความในสุนทรพจน์นนั ้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ข้อความทีร่ ะบุถงึ เหตุการณ์หรือข้อเท็จจริงทางการเมืองของไทยในขอบเขตเวลาทีก่ ล่าวถึงข้างต้นนัน้ ไม่สามารถ บอกเล่าหรือกล่าวถึง “ความจริงทัง้ หมด” เกีย่ วกับเหตุการณ์ทถี ่ กู ระบุถงึ แต่เราไม่อาจกล่าวได้ ว่าข้อความทีไ่ ม่อาจกล่าวถึงความจริงทัง้ หมดนัน้ เป็นข้อความเท็จถ้าหากข้อความดังกล่าวมี เนื้อหาตรงตามข้อเท็จจริงบางส่วนในตัวเองอยูแ่ ล้ว แต่ความเป็นจริงหรือความเป็นเท็จของ ข้อความทีไ่ ม่ครบถ้วนนัน้ ก็สามารถจะถูกพิสจู น์ต่อไปได้ดว้ ยการเปิดเผยหรือรวบรวมข้อเท็จจริง ทีเ่ กีย่ วข้องเพิม่ เติม ทัง้ นี้สาระของข้อเท็จจริงส่วนทีย่ งั มิได้ถูกเปิดเผยหรือยังมิได้มกี ารกล่าวถึง ซึง่ ถ้าหากนํามากล่าวถึงเพิม่ เติมเข้าไปแล้วอาจช่วยทําให้ความหมายของข้อเท็จจริงส่วนแรก เป็นความจริงทีค่ รบถ้วนสมบูรณ์ยงิ ่ ขึน้ หรือในทางตรงข้ามอาจเปลีย่ นแปลงไปในทางตรงข้าม ทําให้เห็นความจริงทีแ่ ตกต่างไปจากความหมายเดิมของข้อเท็จจริงทีเ่ ป็นเพียง “ความจริงครึง่ เดียว” ในตอนต้น


ผูเ้ ขียนตรวจสอบและรวบรวมข้อเท็จจริงต่าง ๆ จากข้อมูลสาธารณะทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ จาก รายงานสือ่ มวลชนและบันทึกข้อมูลการวิจยั ภาคสนามส่วนตัวพบว่าหากเรากล่าวหรือขยาย ความข้อเท็จจริงทีเ่ กีย่ วข้องเพิม่ เติมต่อเนื่องไปจากข้อความในสุนทรพจน์ดงั กล่าวของนางสาว ยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร โดยไม่บดิ เบือนหรือแต่งเรือ่ งยกเมฆขึน้ เองให้ขดั แย้งกับเหตุการณ์จริงที่ เกิดขึน้ แล้วก็จะยิง่ ทําให้ได้ความเป็ นจริงทีส่ มบูรณ์มากยิง่ ขึน้ โดยยังคงเป็ นความจริงทีส่ อดคล้อง กับพืน้ ฐานความเป็ นจริงตามทีป่ รากฎในสุนทรพจน์ดงั กล่าว เช่น หากกล่าวเพิม่ เติมว่าการ รัฐประหาร ๒๕๔๙ มีผนู้ ํากองทัพควบคุมการใช้กําลังทหารบุกยึดสถานทีร่ าชการและสถานีวทิ ยุ โทรทัศน์เพือ่ ควบคุมข่าวสารขณะปฏิบตั กิ ารยึดอํานาจในวันที่ ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ เราก็ จะเห็นความจริงเพิม่ เติมชัดเจนมากขึน้ ว่าการรัฐประหารดังกล่าวเป็ นการกระทําของกลุม่ บุคคล ในระบอบทีต่ า้ นประชาธิปไตยหรือแป็ นปฏิปกั ษ์กบั ประชาชนทีใ่ ช้สทิ ธิเลือกตัง้ รัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรทีม่ าจากการเลือกตัง้ โดยประชาชนเสียงส่วนใหญ่ตามระบอบประชาธิปไตย หรือหากเราใช้ขอ้ มูลข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ทร่ี ายงานข่าวเกีย่ วกับการเคลือ่ นไหวของกลุม่ คน ทีแ่ สดงการสนับสนุ นการรัฐประหารครัง้ ดังกล่าวเพิม่ เติมเข้าไปอีกก็จะได้ความจริงมากขึน้ ตามที่ ระบุในสุนทรพจน์ขา้ งต้นว่าในโลกนี้มคี นทีไ่ ม่เชื่อถือระบอบประชาธิปไตย หรือถ้าเราระบุ ข้อเท็จจริงเพิม่ เติมว่าศาลรัฐธรรมนูญก่อนการรัฐประหาร ๒๕๔๙ เคยมีคาํ สังเป็ ่ นทางการคือ คําสังศาลรั ่ ฐธรรมนูญ ที่ ๑๒/๒๕๔๙ ว่าการยืน่ เรือ่ งร้องเรียนว่ามีผกู้ ระทําการล้มล้างการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยต้องยืน่ เรือ่ งต่ออัยการสูงสุดให้ตรวจสอบข้อเท็จจริงก่อนจะ เสนอเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยโดยศาลรัฐธรรมนูญไม่มอี าํ นาจรับเรื่องไว้พจิ ารณา วินิจฉัยได้เอง แต่ต่อมาศาลรัฐธรรมนูญหลังการรัฐประหาร ๒๕๔๙ มีคาํ วินิจฉัยวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ว่าการยืน่ เรือ่ งร้องเรียนว่ามีผกู้ ระทําการล้มล้างการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยสามารถยืน่ โดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญและศาลรัฐธรรมนูญสามารถพิจารณา วินิจฉัยได้เองโดยไม่ตอ้ งมีการตรวจสอบข้อเท็จจริงจากอัยการสูงสุด เราก็จะได้ความจริงที่ ชัดเจนยิง่ ขึน้ ว่ามีการบิดเบือนการใช้อาํ นาจในองค์กรการเมืองตามรัฐธรรมนูญเกิดขึน้ ทางใดทาง หนึ่งซึง่ ควรจะต้องพิสจู น์ความจริงให้ชดั เจนต่อไปอีก เป็ นต้น ผูเ้ ขียนตรวจพบข้อโต้แย้งความ จริงทีไ่ ม่ครบถ้วนดังกล่าว เช่น ข้อโต้แย้งจากผูน้ ําการรัฐประหาร ๒๕๔๙ และนักการเมืองใน พรรคประชาธิปตั ย์วา่ นายกรัฐมนตรีทกั ษิณ ชินวัตรเป็นผูน้ ําทีค่ อรัปชันจึ ่ งถูกรัฐประหารในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ แต่จนถึงปจั จุบนั ไม่ปรากฎว่ามีขอ้ สรุปทางคดีในศาลยุตธิ รรมทีส่ นับสนุ นข้อโต้แย้ง นัน้ เลยนอกจากคดีการเมืองในศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูด้ าํ รงตําแหน่งทางการเมืองที่ พิพากษาลงโทษจําคุกอดีตนายกรัฐมนตรีทกั ษิณ ชินวัตร เป็ นเวลา ๒ ปี จากมูลเหตุทไ่ี ด้ลงนาม ยินยอมให้ภรรยาทํานิตกิ รรมซือ้ ขายทีด่ นิ ตามข้อบังคับของกฎหมายซึง่ ยังมีคาํ พิพากษาอีกคดี หนึ่งของศาลยุตธิ รรมวินิจฉัยแล้วว่าเป็ นการทํานิตกิ รรมซือ้ ขายทีด่ นิ ทีถ่ กู ต้องตามกฎหมาย เป็น ต้น ภายหลังการกล่าวสุนทรพจน์ของนายกรัฐมนตรี นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ดังกล่าว ปรากฏมีผโู้ ต้แย้ง วิจารณ์ ด่าทอ และกล่าวหานายกรัฐมนตรี ซึง่ จนถึงปจั จุบนั ยังไม่ปรากฏว่ามี


รายใดสามารถหักล้างความจริงทีถ่ กู กล่าวถึงในสุนทรพจน์นนั ้ ได้เลย ไม่ว่าจะเป็ นความจริง เกีย่ วกับการเกิดรัฐประหารในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ความจริงเกีย่ วกับการได้รบั การเลือกตัง้ โดยชอบ ธรรมตามระบอบประชาธิปไตยทัง้ รัฐบาลพ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร และรัฐบาลนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ความจริงเกีย่ วกับการปราบปรามประชาชนในขบวนการเสือ้ แดงในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็ นเหตุให้ประชาชนเสียชีวติ ในขณะนัน้ ๙๑ ราย รวมทัง้ ความจริงเกีย่ วกับองค์ประกอบทีไ่ ม่ เป็ นประชาธิปไตยในวุฒสิ ภาและองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ เป็ นต้น ปฏิกริ ยิ าต่อต้านสุนทรพจน์ของนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ทีแ่ สดงตนผ่านสือ่ มวลชน ตัง้ แต่หนังสือพิมพ์จนถึงอินเตอร์เน็ตปรากฏตัวในรูปแบบและเนื้อหาทีเ่ ป็ นคําด่าทอหยาบคาย และการกล่าวหาว่าร้ายพาดพิงถึงบุคคลทีส่ ามอย่างเลือ่ นลอยรวมทัง้ การใช้อารมณ์ทแ่ี สดงถึง การขาดวุฒภิ าวะส่วนบุคคล มากกว่าการมุง่ หมายในอันทีจ่ ะเพิม่ เติมความเป็ นจริงทีค่ รบถ้วน สมบูรณ์ขน้ึ เกีย่ วกับข้อเท็จจริงและเหตุการณ์ทถ่ี กู ระบุถงึ ในสุนทรพจน์ ผูเ้ ขียนมีความเห็นว่า กลุ่มผูต้ ่อต้านสุนทรพจน์ดงั กล่าวอาจไม่สามารถโต้แย้งความจริงเกีย่ วกับเรือ่ งราวในสุนทรพจน์ นัน้ ได้เพราะการตรวจสอบเพิม่ เติมข้อเท็จจริงทีเ่ กีย่ วข้องมากขึน้ จะยิง่ ทําให้ประชาชนรับทราบ ความเป็ นจริงทีค่ รบถ้วนสมบูรณ์มากขึน้ ตามทีส่ นุ ทรพจน์นนั ้ นําเสนอไว้เป็ นพืน้ ฐาน ในท้ายทีส่ ดุ นี้ ผูเ้ ขียนมีความเห็นว่า ตัง้ แต่กลางปี พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นช่วงเวลาทีป่ ระชาชน และรัฐบาลทีม่ าจากการเลือกตัง้ ของประชาชนจําเป็นต้องเพิม่ การตรวจตราและเสริมสร้าง มาตรการปกป้องประชาธิปไตยรวมทัง้ การเตรียมความพร้อมในการดําเนินกระบวนวิธที าง การเมืองและกฎหมายตามหลักนิตธิ รรมถ่วงดุลกับความพยายามของกลุม่ อํานาจต่าง ๆ ทีอ่ าจ ลํ้าเส้นละเมิดหลักการประชาธิปไตย ในขณะเดียวกับทีต่ อ้ งเพิม่ ความเข้มแข็งให้แก่ระบอบ ประชาธิปไตยด้วยการช่วยผลักดันการแก้ไขรัฐธรรมนูญรายมาตราทีร่ ฐั สภาริเริม่ ขึน้ ก่อนหน้านี้ แล้ว ๒ ครัง้ รวม ๔ ฉบับ (ครัง้ แรกเป็นการแก้ไขมาตรา ๒๙๑ มาตราเดียวฉบับเดียวในปีพ.ศ. ๒๕๕๕ ครัง้ ทีส่ องเป็นการแก้ไขรวม ๓ ฉบับ ๔ ประเด็นในปี พ.ศ. ๒๕๕๖) และการตรา พระราชบัญญัตนิ ิรโทษกรรมล้างมลทินให้แก่ประชาชนผูใ้ ช้สทิ ธิชุมนุ มทางการเมืองในช่วง เหตุการณ์ความขัดแย้งทีเ่ กิดขึน้ หลังการรัฐประหาร ๒๕๔๙


ภาคผนวก การเมืองไทย ๒๕๕๖/๒ : พายุหลังฤดูร้อน รองศาสตราจารย์ ดร. วรพล พรหมิ กบุตร คณะสังคมวิ ทยาและมานุษยวิ ทยา มหาวิ ทยาลัยธรรมศาสตร์ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๖ การเผชิ ญหน้ า ท้าทาย ขัดแย้ง และดําเนิ นกระบวนการต่อสู้ทางการเมือง ระหว่างพลังสร้างกับพลังต้านประชาธิ ปไตยในการเมืองไทยจะทวีความแข็งกร้าวชัดเจน ยิ่ งขึน้ ในช่วงครึ่งหลังของปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ก่อให้เกิ ดสภาพเสมือนเป็ น “พายุการเมือง” ใน ความหมายที่กล่าวถึงในข้อเขียนนี้ ปาฐกถาประชาธิปไตยของนายกรัฐมนตรียงิ่ ลักษณ์ ชินวัตรในทีป่ ระชุมรัฐมนตรี ประชาคมประชาธิปไตยทีป่ ระเทศมองโกเลียเมือ่ ปลายเดือนเมษายนทีผ่ า่ นมามีเนื้อหากว้าง ๆ ทีบ่ ง่ ชีถ้ งึ ความพยายามของกลุม่ พลังในการเมืองระดับสูงของไทยทีเ่ ป็ นปฏิปกั ษ์กบั ระบอบ ประชาธิปไตยและความสําเร็จของกลุม่ พลังสร้างสรรค์ประชาธิปไตยทีส่ ามารถทําให้รฐั บาลใน ขณะนัน้ ต้องจัดให้มกี ารเลือกตัง้ ทัวไปในปี ่ พ.ศ. ๒๕๕๓ ซึง่ ส่งผลต่อเนื่องให้นางสาวยิง่ ลักษณ์ ก้าวเข้าสูต่ าํ แหน่งนายกรัฐมนตรีทม่ี าจากการเลือกตัง้ ของประชาชนโดยชอบธรรม ภายหลัง จากทีเ่ นื้อหาปาฐกถาในทีป่ ระชุมผูน้ ํานานาชาตินนั ้ ได้รบั การเผยแพร่ในประชาคมโลกไม่ถงึ ๒๔ ชัวโมงก็ ่ ปรากฎ “พายุฤดูรอ้ นทางการเมือง” จากนักสือ่ สารมวลชน นักวิชาการ อดีตผูน้ ําระบบ ราชการประจํา และคนอื่น ๆ ในสังคมชนชัน้ มังคั ่ งผลประโยชน์ ่ รวมทัง้ กลุ่มนักสือ่ สารทาง เครือข่ายอินเตอร์เน็ตจํานวนหนึ่งระดมการตอบโต้นางสาวยิง่ ลักษณ์ดว้ ยแรงโทสะและคําด่าทอ หยาบคายทีไ่ ม่สามารถหักล้างความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของสุนทรพจน์ดงั กล่าว การเผชิญหน้าท้าทายเป็นพายุใหญ่มากกว่านัน้ จะเกิดขึน้ ตัง้ แต่ช่วงกลางปี ๒๕๕๖ เป็นต้นไปโดยมีจุดศูนย์กลางของความขัดแย้ง ๓ ระดับเป็นสนามต่อสูร้ ะหว่างพรรคและ กลุ่มพลังประชาธิปไตยเผชิญหน้ากับความกราดเกรี้ยวของพรรคและกลุม่ พลังต้าน ประชาธิปไตย ศูนย์กลางความขัดแย้ง ๓ ระดับดังกล่าว ได้แก่ (๑) ระดับรัฐธรรมนูญ (๒) ระดับ พลังมวลชน และ (๓) ระดับโครงการพัฒนาของรัฐ พายุการเมืองในระดับรัฐธรรมนูญมีศนู ย์กลางสําคัญอยูท่ ค่ี วามพยายามในการ รักษาสภาพได้เปรียบของฝา่ ยต่อต้านประชาธิปไตยในบทบัญญัตหิ ลายมาตราของรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ปะทะตอบโต้กบั ความพยายามของฝา่ ยประชาธิปไตยในการแก้ไขรัฐธรรมนูญหลาย มาตราทีจ่ ะส่งผลในการลบล้างการเอาเปรียบนัน้ หัวใจสําคัญของการต่อต้านอยูท่ ก่ี ารต่อต้าน การแก้ไขมาตราว่าด้วยทีม่ าของสมาชิกวุฒสิ ภาซึง่ ฝา่ ยประชาธิปไตยทัง้ ในและนอกรัฐสภา ต้องการให้สมาชิกวุฒสิ ภาทัง้ หมดมาจากการเลือกตัง้ หากแก้ไขสําเร็จจะทําให้วงจรอุบาทว์ใน


การใช้อาํ นาจขัดหลักนิตธิ รรมและการเล่นพรรคเล่นพวกกลันแกล้ ่ งผูอ้ น่ื ในองค์กรตาม รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ ถูกสลายไปในทีส่ ดุ ความรุนแรงของการปะทะตอบโต้จากฝา่ ยต้าน ประชาธิปไตยในร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับนี้จะมีความยอกย้อนแต่เด่นชัดเป็ นพิเศษต่อไป ขณะทีก่ ารแก้ไขรัฐธรรมนูญตามร่างแก้ไขฉบับต่างทีอ่ ยูร่ ะหว่างดําเนินการตามกระบวนการนิติ บัญญัตกิ จ็ ะเป็นประเด็นการต่อสูต้ อบโต้กนั ร่วมกับร่างแก้ไขทีม่ าของสมาชิกวุฒสิ ภา พายุทม่ี ี ศูนย์กลางในระดับรัฐธรรมนูญนี้จะก่อตัวชัดเจนขึน้ ตัง้ แต่ก่อนการเปิดประชุมรัฐสภาสมัยหน้าใน เวลาไม่นานนัก พายุการเมืองในระดับพลังมวลชนเริม่ ก่อตัวเป็ นหย่อม ๆ ขึน้ แล้วตัง้ แต่ช่วงฤดู ร้อนทีผ่ า่ นมาทัง้ จากการเคลือ่ นไหวของกลุม่ ต่อต้านประชาธิปไตยทีช่ ุมนุ มเพือ่ ขับไล่รฐั บาล นางสาวยิง่ ลักษณ์และกลุม่ พลังประชาธิปไตยทีช่ ุมนุ มขับไล่ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ นอกเหนือไปจากนัน้ ยังมีกระแสการเคลือ่ นไหวจากพรรคการเมืองทัง้ สองฝา่ ยในการเตรียม ความพร้อมของกลุม่ พลังมวลชนทีส่ นับสนุ นตนในการดําเนินกระบวนวิธที างการเมืองต่อไป ในช่วงครึง่ หลังของปี การเตรียมความพร้อมดังกล่าวปรากฏในรูปของการเดินสายจัดเวที ปราศรัยในจังหวัดต่าง ๆ และการเผยแพร่ขา่ วสารข้อมูลทีข่ ดั แย้งแตกต่างกัน จุดศูนย์กลาง การเผชิญหน้าทางการเมืองระหว่างพลังต้านกับพลังสร้างประชาธิปไตยอีกประเด็นหนึ่งคือเรือ่ ง การปรองดองแห่งชาติดว้ ยกฎหมายนิรโทษกรรมสําหรับประชาชนทุกฝา่ ยทีก่ ระทําความผิดอัน เกีย่ วเนื่องจากสาเหตุทไ่ี ด้เข้าร่วมชุมนุ มทางการเมืองกับแกนนําไม่วา่ ฝา่ ยใด ร่างกฎหมายเพือ่ การปรองดองแห่งชาติดงั กล่าวได้รบั ความเห็นชอบจากกลุม่ พลังการเมืองฝา่ ยประชาธิปไตยและ ได้รบั การบรรจุเป็ นวาระการพิจารณาตามกระบวนการนิตบิ ญ ั ญัตใิ นรัฐสภาแล้วขณะทีผ่ นู้ ํากลุ่ม พลังฝา่ ยต้านประชาธิปไตยยังคงต่อต้าน ซึง่ ผูเ้ ขียนคาดว่าสาเหตุทต่ี ่อต้านประการสําคัญข้อ หนึ่งเนื่องจากการสูญเสียความชอบธรรมของกลุม่ พลังฝา่ ยตนไปมากแล้วจากการชุมนุ มทีแ่ กน นําพามวลชนไปกระทําผิดกฎหมายอาญาร้ายแรงโดยการบุกยึดทําเนียบรัฐบาลและสนามบิน ส่งผลให้จาํ นวนและพลังมวลชนฝา่ ยต้านประชาธิปไตยลดน้อยลงก่อนหน้านี้แล้ว (ดูตวั อย่าง ข้อมูลอ้างอิงจากผลการระดมมวลชนขององค์กรพิทกั ษ์สยามทีส่ นามม้านางเลิง้ และลานพระบรม รูปรัชกาลที่ ๕ ในช่วงปลายปี ๒๕๕๕ เป็ นต้น) หากกฎหมายนิรโทษกรรมให้ประชาชนทุกฝา่ ย สามารถผ่านการรับรองจากรัฐสภาออกมาประกาศใช้ได้เป็ นผลสําเร็จก็จะยิง่ ส่งผลให้พลัง มวลชนฝา่ ยประชาธิปไตยทวีจาํ นวนเพิม่ ขึน้ สวนทางกับพลังมวลชนของฝา่ ยทีส่ นับสนุ นกลุม่ อํานาจต้านประชาธิปไตยทีจ่ ะลดลงกว่าเดิมอีก การต่อสูห้ กั ล้างกันทางการเมืองในรัฐสภาว่า ด้วยกฎหมายนิรโทษกรรมดังกล่าวจะเป็นศูนย์กลางการเผชิญหน้าระหว่างทัง้ สองฝา่ ยเป็ นพายุ การเมืองอีกลูกหนึ่งนอกเหนือไปจากพายุการเมืองเรือ่ งการแก้ไขรัฐธรรมนูญ พายุการเมืองในระดับโครงการพัฒนาของรัฐจะหมุนวนพัวพันอยูก่ บั การดําเนิน โครงการของรัฐ ๓ ระดับ คือ (๑) โครงการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานสมัยใหม่เพือ่ ยกระดับ ศักยภาพของประเทศในการสือ่ สาร คมนาคม ขนส่ง รองรับกระบวนการทางเศรษฐกิจทัง้ ของ ภาครัฐ ภาคทุน และภาคประชาชน ต่อไปในประชาคมโลก (๒) โครงการพิเศษทีร่ เิ ริม่ โดย


รัฐบาลปจั จุบนั และทีด่ าํ เนินการต่อเนื่องจากแนวนโยบายของพรรคไทยรักไทยในอดีต และ (๓) โครงการประจําทีด่ าํ เนินการอยูแ่ ล้วโดยทัวไปในรั ่ ฐบาลชุดต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็นโครงการทาง สาธารณูปโภค โครงการบริการทางสังคม เป็ นต้น พายุการเมืองทีห่ มุนวนพัวพันอยูก่ บั โครงการเหล่านี้จะเกิดขึน้ ต่อเนื่องไปได้มากมายหลายกรณีโดยทีแ่ ต่ละฝา่ ยจะใช้หรืออ้างใช้ กฎหมายและองค์กรต่าง ๆ ของรัฐเป็ นเครือ่ งมือในการเผชิญหน้าท้าทายกันตลอดวาระการดํารง ตําแหน่งของรัฐบาลปจั จุบนั แต่ในช่วงครึง่ หลังของปี ๒๕๕๖ จะมีการยกระดับการท้าทายและ ข้อขัดแย้งในโครงการพัฒนาของรัฐให้ทวีความรุนแรงมากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ข้อขัดแย้ง โต้เถียงทางเศรษกิจ นอกเหนือไปจากการตัง้ ข้อกล่าวหาล่วงหน้าเรือ่ งการคอรัปชัน่ จุดมุง่ หมายของพลังฝา่ ยต้านประชาธิปไตยในการดําเนินพายุการเมืองเหล่านัน้ ได้แก่ การยับยัง้ การแก้ไขรัฐธรรมนูญควบคูก่ บั การทําให้รฐั บาลยิง่ ลักษณ์ ชินวัตรพ้นจาก ตําแหน่งก่อนครบวาระตามรัฐธรรมนูญ หากทําให้รฐั บาลพ้นจากตําแหน่งได้สาํ เร็จก่อนการ แก้ไขรัฐธรรมนูญทีค่ า้ งวาระการพิจารณาในรัฐสภาอยูก่ จ็ ะส่งผลโดยอัตโนมัตใิ ห้ไม่สามารถแก้ไข รัฐธรรมนูญต่อไปได้ หากทําให้รฐั บาลพ้นจากตําแหน่งไม่ได้แต่สามารถหยุดยัง้ กระบวนการ แก้ไขรัฐธรรมนูญได้กเ็ พียงพอต่อการดํารงความได้เปรียบทางการเมืองของกลุ่มอํานาจทีเ่ ป็ น ปฏิปกั ษ์กบั ระบอบประชาธิปไตยต่อไป หากทําให้รฐั บาลพ้นจากตําแหน่งไม่ได้และหยุดยัง้ การ แก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ได้จงึ อาจถึงช่วงเวลาท้าทายทีส่ ดุ ของกลุม่ อํานาจปฏิปกั ษ์ประชาธิปไตย ดังกล่าวว่าจะตัดสินใจกระทําการรัฐประหารหรือไม่ ผูเ้ ขียนคาดว่าการรัฐประหารจะยังคงเป็นยุทธศาสตร์สดุ ท้ายของกลุ่มพลังฝา่ ย ต้านประชาธิปไตยทีอ่ าจประเมินได้เองว่ากระทําได้ยากยิง่ กว่าสภาพการณ์ในปี ๒๕๔๙ รวมทัง้ จะเกิดความล้มเหลวกลายเป็ น “กบฏ” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๓ ได้งา่ ยใน สภาพการณ์ปี ๒๕๕๖ ยุทธศาสตร์ทก่ี ลุม่ อํานาจต้านประชาธิปไตยจะเลือกใช้อย่างเข้มข้นคาดว่า จะเป็ นการดําเนินกลวิธที ย่ี อกย้อนทางการเมืองในการทําให้เกิดภาวะหยุดนิ่งชะงักงันในการ แก้ไขรัฐธรรมนูญในการประชุมรัฐสภาทีจ่ ะเกิดขึน้ ในเวลาอีกไม่นานนัก การติดตามตรวจสอบ ความเคลือ่ นไหวทางการเมืองและการเงินของนักการเมืองทุกฝา่ ยในรัฐสภาในช่วงเวลาต่อเนื่อง จากนี้ไปจะช่วยเพิม่ กลไกป้องกันการชะงักงันดังกล่าวและช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ พลังประชาธิปไตยในการแก้ไขรัฐธรรมนูญได้สาํ เร็จทันท่วงทีสอดรับกับสถานการณ์ในปีต่อไป


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.