้ ฎหมายอย่างคึกคะนอง การใชก ชํานาญ จันทร์เรือง
" มาตรา ๑๑๒ ผู ้ใดหมิน ่ ประมาท ดูหมิน ่ หรือแสดงความอาฆาตมาดร ้ายพระมหากษั ตริย ์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู ้สําเร็จราชการแทนพระองค์ ต ้องระวางโทษจําคุกตัง้ แต่สามปี ถงึ สิบห ้าปี " ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒ ึ ปรี๊ ดขึน ผมรู ้สก ้ สมองขึน ้ มาทัน ทีพลันทีเ่ ห็นข่าวนายวิพุธ สุขประเสริฐ หรือไอแพด ร ้องทุกข์กล่าวโทษ ่ ข่าวอาวุโส หนังสือพิมพ์เดอะเนชัน ่ และคอลัมนิสต์ของเว็บไซต์ประชาไท นายประวิตร โรจนพฤกษ์ ผู ้สือ ด ้วยประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒ ทีส ่ ถานีตํารวจภูธรเมืองร ้อยเอ็ด โดยอ ้างบทความจํ านวน ๗ ิ้ โดยทีผ ชน ่ า่ นมานายวิพุธ ได ้ร ้องทุกข์กล่าวโทษผู ้เขียนบทความและผู ้แสดงความเห็นในเว็บไซต์ประชา ิ้ 15 ราย รวมบรรณาธิการและผู ้ดูแลเว็บไซต์ประชาไท และในกรณีนี้หลังจากร ้องทุกข์ ไทไปแล ้วทัง้ สน แล ้วยังไปโพสต์ข ้อความใน เฟซบุก ๊ โอ ้อวดผลงานของตนเองเสียอีกด ้วย หลัง จากทีส ่ งบสติอารมณ์แล ้วความคุกรุ่น ยัง คงดํ า รงอยู่ ความคิด อัน ชั่ว ร ้ายเริม ่ ผุด ขึน ้ มาว่าในเมือ ่ การ ื่ มเสย ี เกียรติยศอันเป็ นการแสดงความอาฆาตมาดร ้าย กระทําของนายวิพุธนั น ้ เป็ นการกระทําทีท ่ ําให ้เสอ ้ งพระยุคลบาทพระองค์ท่าน เข ้าข่ายกระทํา ต่อพระมหากษั ตริยเ์ ป็ นอย่างยิง่ เพราะทําให ้ระคายเคืองเบือ การอันเป็ นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒ เช่นกัน จึงสมควรทีจ ่ ะต ้องไปแจ ้งความ ี ให ้เข็ด ดําเนินคดีนายวิพธ ุ เสย แต่เมือ ่ ความคุกรุ่นหายไปแล ้วความรู ้สึกสํานึกรับผิดชอบชั่วดีเริม ่ กลับคืนมาเพราะเห็นว่าการดําเนินการ ใดๆทีเ่ กีย ่ วข ้องกับ มาตรา ๑๑๒ เพือ ่ แก ้แค ้นเอาคืนกันนี้ รังแต่จะทําให ้ความชัว่ ร ้ายเผยแพร่หนักขึน ้ ไปยิง่ ี อีก ไว ้ให ้เป็ นเรือ ่ งของผู ้ทีถ ่ ก ู กว่าเก่า และแทนทีจ ่ ะดีกลับจะตกเป็ นผลร ้ายต่อสถาบันพระมหากษั ตริยเ์ สย ่ ข ้อหาแจ ้งความเท็จ เป็ นต ้น กล่าวหาพิจารณาแจ ้งความกลับด ้วยข ้ออืน ่ ทีไ่ ม่ใช่ มาตรา ๑๑๒ ดีกว่า เชน การใช ้กฎหมายมาตรา ๑๑๒ อย่างคึกคะนองเช่นนี้เป็ นผลเนื่องมาจากการเปิ ดโอกาสให ้ใครๆก็ฟ้องได ้ ่ ส่ง ผลให ้คดีเ พิม ่ สูง ขึน ้ อย่า งมากมาย ทํ า ให ้เป็ นการเปิ ดช่อ งให ้มีก ารใช ้กฎหมายนี้ ไ ปกลั่ น แกล ้งผู ้อืน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในสถานการณ์ทม ี่ ค ี วามขัดแย ้งทางการเมืองสูง จะเห็นได ้ว่าสถิตใิ นการดําเนินคดีในปี ่ ปี ๒๕๕๓ สูงถึง ๔๗๘ คดี ทัง้ ทีก ่ อ ่ นหน ้านัน ้ มีไม่ถงึ ๑๐ คดีตอ กอปรกับความไม่ส มเหตุส มผลในอัต ราโทษที่รุน แรงโดยมีโ ทษขัน ้ ตํ่ า ๓ ปี และสูง สุด ๑๕ ปี ขณะที่ ความผิดฐานก่อการร ้ายซงึ่ ร ้ายแรงต่อมวลมนุษยชาติ กฎหมายกําหนดโทษจํ าคุกเพียง ๒ ปี ถึง ๑๐ ปี ี เลย เมือ สะท ้อนถึงความไม่สมเหตุสมผลเอาเสย ่ เปรียบเทียบการกระทํ าโดยวาจาตามมาตรา ๑๑๒ กับ ้ ความเป็ นรัฐหรืออธิปไตยของรัฐ การกระทําความผิดฐานก่อการร ้ายซึง่ อาจมีผลร ้ายแรงถึงกับอาจสูญสิน ได ้ ่ าลจนมีคําพิพากษาออกมานั น เมือ ่ พิจารณาถึงกระบวนการนํ าคดีขน ึ้ สูศ ้ เล่า ผู ้ต ้องกล่าวหาซงึ่ ผิดหรือไม่ ่ ําพิพากษายังไม่ถงึ ทีส ่ ุดว่ากระทํ าความผิด ผิดยังไม่รู ้(แม ้ว่าตามรัฐธรรมนูญจะสันนิษฐานว่าตราบใดทีค จะปฏิบต ั ต ิ อ ่ เขาเหมือนผู ้กระทําความผิดมิได ้ก็ตาม) ต ้องเผชิญกับความยุง่ ยากตัง้ แต่การเตรียมตัวต ้องไป พบพนั ก งานสอบสวนซ งึ่ อาจอยู่ห่า งไกลออกไปเป็ นร ้อยเป็ นพั น กิโ ลเมตร และภาระค่า ใช จ่้ าย ความ ยุ่งยากในชวี ต ิ ทัง้ ร่างกายและจิตใจซงึ่ ถูกกระทบอย่างแน่นอนสําหรับคนทีถ ่ ูกฟ้ องคดี บางรายถึงกับกิน ไม่ได ้นอนไม่หลับ ฟุ้ งซ่านและวิตกกังวล
เมื่อ คดีถ งึ พนั ก งานสอบสวนแล ้วอาจจะได ้ประกั น ตั ว หรือ ไม่ ก็ ไ ม่รู ้ แต่ที่แ น่ ๆ คดีแ บบนี้เ ป็ นเผือ กร ้อน ั ้ ตํ ารวจและพนั กงานอัยการน ้อยรายทีจ พนั กงานสอบสวนตัง้ แต่ชน ่ ะกล ้าหาญชาญชัยสั่งไม่ฟ้อง ร ้อยละ เกือบทัง้ ร ้อยต่างก็ใช ้บริการส่งต่อกันไปเป็ นลําดับ เหมือนกับโครงการ ๓๐ บาท รักษาทุกโรคเสียกระนั น ้ ยกเว ้นกรณีผังล ้มเจ ้าทีม ่ ล ู คดีออ ่ นปวกเปี ยกจนไม่รู ้จะเข็ญอย่างไรให ้มีมล ู พอสั่งฟ้ องได ้ ซึง่ ก็ต ้องรอดูผล การร ้องเรียนดีเอสไอของคุณสุเทพต่อ ปปช.ว่าผลจะออกมาอย่างไรในกรณีนี้ เมือ ่ คดีถงึ อํานาจการพิจารณาของศาลนอกจากกรณีคุณสนธิ ลิม ้ ทองกุลแล ้วผมยังไม่เคยได ้ยิน ว่าใคร ได ้รับการประกันตัวหรือปล่อยชั่วคราวเลย บางรายจนถึงต ้องกับตายในคุก เช่น กรณีอากง เป็ นต ้น และ ี า่ วเหมือนกรณีอากงเท่านัน ้ เอง แต่ทแ ี่ น่ๆ คงมีการตายในคุกกันต่อไปอีกเรือ ่ ยๆ ว่าแต่จะมีขา่ วหรือไม่มข ิ ธิม นุ ษ ยชนขององค์ก รระหว่า ง กรณี อ ากงนี้ ป รากฎเป็ นข่า วไปทั่ ว โลกและในรายงานสถานการณ์ ส ท ประเทศต่างๆเรียบร ้อยแล ้ว ้ การพิจารณาคดีของศาล จําเลยก็ไม่สามารถพิสจ ทีน ่ ่าเศร ้าอีกอย่างหนึง่ ก็คอ ื เมือ ่ คดีอยูใ่ นชัน ู น์ความจริง ่ กรณีทั่วไปตามมาตรา ๓๓๐ ของประมวลกฎหมายอาญาทีถ เพือ ่ เป็ นเหตุยกเว ้นโทษได ้ดังเชน ่ ้าพิสจ ู น์ได ้ ี แต่วา่ เป็ นการสว่ นตัวและไม่เป็ นประโยชน์ตอ ว่าเป็ นความจริงก็ไม่ต ้องรับโทษ เว ้นเสย ่ สาธารณะ ซํ้าร ้ายหากศาลพิจารณาว่าจํ าเลยมีความผิดจริงก็ไม่สามารถได ้รับการยกเว ้นโทษได ้ เนื่องเพราะโทษ ปั จจุบันได ้รับการบัญญัตข ิ น ึ้ ใหม่โดยคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน(จริงๆก็คอ ื คณะรัฐประหารนั่นแหล่ะ) ยกเลิกมาตรา ๑๑๒ เดิม ซงึ่ มีโทษสูงสุดจําคุก ๗ ปี โดยไม่มโี ทษขัน ้ ตํ่า แล ้วบัญญัตข ิ น ึ้ มาใหม่เป็ นสูงสุด ๑๕ ปี และเป็ นครัง้ แรกทีม ่ ก ี ารกําหนดโทษขัน ้ ตํ่า คือ ตัง้ แต่ ๓ ปี เอาไว ้ด ้วย ซึง่ ก็หมายความว่าหากศาล เห็นว่ามีความผิดก็ต ้องพิพากษาลงโทษจําคุกอย่างหลีกเลีย ่ งไม่ได ้ เพราะมีการกําหนดโทษขัน ้ ตํา่ เอาไว ้ ผมจะไม่กล่าวถึงว่าควรหรือไม่ควรแก ้ไข ควรหรือไม่ควรยกเลิกกฎหมายอาญามาตรา ๑๑๒ นี้ เพราะได ้ กล่า วไว ้เยอะแล ้ว แต่จ ะชีใ้ ห ้เห็น ว่าผลร ้ายจากการที่ก ฎหมายนี้เ ปิ ดโอกาสให ้ใครก็ไ ด ้เป็ นผู ้เสีย หาย สามารถร ้องทุกข์กล่าวโทษได ้นั น ้ ได ้สร ้างความทุกข์ ความยุง่ ยาก สับสน แก่ผู ้ถูกกล่าวหาและสังคมเป็ น อย่างยิง่ ความบกพร่องของมาตรา ๑๑๒ ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อผูท ้ จ ี่ งร ักภ ักดีตอ ่ สถาบ ัน ้ ลน ี พระเกียรติยงิ่ กว่าเชด ิ ชู อย่างจริงใจ การนํามาตรา ๑๑๒ มาใชก ่ ั แกล้งก ันย่อมเป็นเหตุให้เสย พระเกียรติ ผูท ้ ข ี่ าดความจงร ักภ ักดีหรือผูไ้ ม่ยอมร ับประชาธิปไตยอ ันมีพระมหากษต ั ริยท ์ รงเป็น ประมุขเท่านนที ั้ ย ่ น ิ ดีก ับข้อบกพร่องของมาตรา ๑๑๒ แทนทีก ่ ฎหมายจะถูกใช ้เป็ นเครือ ่ งมือเพือ ่ รักษาความสงบสุขในสังคมตามหลักปรัชญาของการมีกฎหมาย ในสังคมมนุษย์ กลับกลายเป็ นว่ากฎหมายกลายเป็ นตัวสร ้างความไม่สงบสุขขึน ้ มาเสียเอง ด ้วยเหตุแห่ง ความบกพร่องของตัวกฎหมายเอง และความคึกคะนองของคนบางคน ดังเช่นกรณีทผ ี่ มได ้ยกตัวอย่าง มาแล ้วข ้างต ้น ถึงเวลาแล้วล่ะครบ ั ทีจ ่ ะต้องมีการแก้ไขปร ับปรุง ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒ เพราะ ้ เมือ กฎหมายเกิดจากมนุษย์สร้างขึน ่ ใชไ้ ปแล้วมีปญ ั หา มนุษย์เองก็ ยอ ่ มทีจ ่ ะต้องแก้ไขปร ับปรุง ี หากเห็ นว่ามีไว้ไม่เกิดประโยชน์อ ันใด ร ังแต่จะเป็นโทษต่อ ให้ดข ี น ึ้ หรือแม้กระทง่ ั ยกเลิกไปเสย ี เช่น ญีป ึ่ ไม่ใ ช่ ประชาชนผูบ ้ ริสุท ธิแ ์ ละต่อสถาบ ันพระมหากษ ต ั ริย ์ ก็ ยกเลิกเสย ่ ่ ุน เป็ นต้น ซง เรือ ่ งผิดปกติหรือการไม่จงร ักภ ักดีแต่อย่างใด
---------------
หมายเหตุ เผยแพร่ครัง้ แรกในกรุงเทพธุรกิจฉบับประจําวันพุธที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๕