นิธิกับแนวคิดทางการเมือง

Page 1

นิธก ิ ับแนวคิดทางการเมือง ชํานาญ จันทร์เรือง หมายเหตุ บรรยายพิเศษเนื่ องในงานเสวนาครบรอบ ๗๒ ปี ของ ศ.ดร.นิธ ิ เอีย วศรีว งศ์ จัด โดยมหาวิทยาลั ย เทีย ่ งคืนร่วมกับภาควิชาประวัตศ ิ าสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ เมือ ่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕

ก่อนอืน ่ ผมขอปรั บหัวข ้อให ้ตรงกับสิง่ ทีผ ่ มจะพูดในวันนี้สักเล็กน ้อยครับ จากเดิมทีก ่ ําหนดให ้ผมพูดใน หัวข ้อ “นิธ แ ิ ละการเมือง” นั น ้ ผมขอโอกาสปรั บหัวข ้อใหม่เป็ น “นิธ ก ิ ับแนวคิดทางการเมือง”หรือ “แนวคิดทางการเมืองของนิธ”ิ แทน เพราะนอกจากจะเป็ นการพูดในโอกาส ๗๒ ปี ของอาจารย์นธ ิ ซ ิ งึ่ ต ้องย่อ มเป็ นที่อ ยากรู ข ้ องผู ฟ ้ ั งว่า อาจารย์นิธ ค ิ ด ิ อย่ า งไรมากกว่า อาจารย์น ิธ ม ิ ีบ ทบาทอย่ า งไรทาง การเมืองตามหัวข ้อทีก ่ ําหนด ซงึ่ เราทราบกันดีว่าอาจารย์นิธม ิ บ ี ทบาทในทางการเมืองที่สําคัญคือการ ื่ ต่างๆ แสดงออกทางความคิดเห็นผ่านทางบทความ การบรรยายหรือการอภิปรายในเวทีสาธารณะและสอ อยูอ ่ ย่างสมํ่าเสมอ และแนวคิดของอาจารย์นธ ิ น ิ ัน ้ มีอท ิ ธิพลต่อสังคมไทยเป็ นอย่างยิง่ ซงึ่ ย่อมทัง้ ทีเ่ ห็น ด ้วยและไม่เห็นด ้วย ผมจึงคิดว่าการปรับหัวข ้อของผมในวันนีค ้ งจะสมประโยชน์ของทัง้ ผู ้ฟั งและผู ้พูด แน่น อนว่าเมือ ่ ต ้องพูดถึงเรื่องทางการเมืองแล ้วหากจะพูดไปในทุกประเด็ นทีเ่ กีย ่ วข ้องเวลาเพียง ๔๕ นาทีนี้คงไม่เพียงพอเป็ นแน่ ผมจึงจะพูดเฉพาะประเด็นทีส ่ ําคัญๆ ร่วมสมัยคือ ประเด็นในเรือ ่ งทีเ่ กีย ่ วกับ กองทั พ , สถาบั น พระมหากษั ตริย ์ และเรื่อ งทั่ ว ไปเกีย ่ วกับ ประชาธิป ไตยของไทยเราในมุม มองของ ่ การเมืองในสมัยพระนารายณ์หรือสมัยพระเจ ้ากรุงธนนั น อาจารย์นธ ิ ิ สว่ นประเด็นการเมืองด ้านอืน ่ ๆ เชน ้ อาจารย์สายชล(สัตยานุรักษ์)ได ้พูดไปแล ้วในตอนเชา้ สว่ นการเมืองภาคประชาชน อาจารย์ประภาส(ปิ่ น ้ ล ้ว ตบแต่ง)ก็ได ้พูดไปก่อนหน ้านีแ ิ เป็ นเรือ ่ งทีแ ่ ปลกแต่จริงสําหรับแนวความคิดของอาจารย์นธ ิ ท ิ ผ ี่ มติดตามมาโดยตลอดระยะเวลาหลายสบ ้ ปี ซงึ่ ผมพบว่าไม่เคยเปลีย ่ นเลย มีความคงเสนคงวามาโดยตลอด ต่างกับผมซงึ่ เปลีย ่ นไปอย่างมากจน ้ เชิงเลย เพราะเมือ แทบจะเรียกว่าเปลีย ่ นแปลงไปอย่างสิน ่ ใดทีผ ่ มกลับไปอ่านบทความของผมในอดีต แทบจะเรียกได ้ว่าอยากฉี กทิง้ ไปเลย แต่กับ ของอาจารย์นิธน ิ ัน ้ ไม่ใช่ ซึง่ ก็หมายความว่า ความคิด ของ อาจารย์นธ ิ น ิ ัน ้ ลํ้าสมัยมาโดยตลอดและสิง่ ทีอ ่ าจารย์นธ ิ เิ คยคาดการณ์ไว ้นัน ้ แทบจะไม่ผด ิ ไปจากนัน ้ เลย ประเด็นแรกคือประเด็นทีเ่ กีย ่ วก ับกองท ัพ ื่ ว่าภารกิจหลักของกองทัพทีก ่ ารทีจ อาจารย์นธ ิ เิ ชอ ่ ําลังทํ าอยู่ทส ี่ ําคัญทีส ่ ุดในปั จจุบันมิใชก ่ ะไปปกป้ อง ่ ึ อะไรหรอกแต่เป็ นภารกิจทีจ ่ ะต ้องมีอํานาจเหนือการเมือง ซงถือได ้ว่าเป็ นภารกิจทีบ ่ ค ุ คลากรในกองทัพ ยอมรับได ้ว่าเป็ นภารกิจร่วมกันของกองทัพ การจะมีอํานาจทางการเมืองได ้ ก็ต ้องเป็ นตัวละครอิสระทาง การเมือง กล่าวคือ มีความต ้องการและทิศทางของตนเอง จะเป็ นอย่างนั น ้ ได ้ก็ต ้องรักษาอิสรภาพของ ตนเองไว ้ให ้ได ้ นีค ่ อ ื เหตุผลทีก ่ องทัพไม่ไว ้ใจนักการเมืองทีม ่ าจากการเลือกตัง้ เพราะเผลอเมือ ่ ใดก็มักจะ แทรกเข ้ามาลดอิส รภาพของกองทัพ เสมอ ตํ าแหน่ ง ผบ.เหล่า ทัพ นั น ้ กองทัพ อยากเป็ นคนเลือกเอง เพราะ ผบ.ทีเ่ ป็ นอิสระเท่านัน ้ ทีจ ่ ะไม่นํากองทัพไปเป็ นเครือ ่ งมือของใคร(อย่างไม่มข ี ้อแลกเปลีย ่ น) แต่อํานาจของกองทัพเหนือการเมืองนั น ้ ไม่ได ้มาจากรถถัง,ทหารป่ าหวาย,หรือปื นยิง เร็ ว ฯลฯ นั่ นก็ใช่ ส่วนหนึง่ แต่ไม่ใช่ส่วนสําคัญ กองทัพจะยึดอํานาจหรือรักษาอํานาจของตนทางการเมืองไว ้ได ้ ก็เพราะ กองทัพได ้รับความเห็นชอบจากส่วนอืน ่ ๆทีม ่ พ ี ลังในสังคม เมือ ่ ตอนทีก ่ องทัพทํารัฐประหารสําเร็จอาจารย์นธ ิ เิ ห็นว่าทีน ่ ายแบงก์และนายทุนธุรกิจพากันหิว้ กระเช ้าไป แสดงความยินดีกบ ั หัวหน ้าคณะรัฐประหาร ทีจ ่ ริงแล ้วเขาพากันไปแสดงความยินดีกับตนเองไปพร ้อมกัน ด ้วย เพราะการยึดอํานาจครัง้ นั น ้ เขาเห็นชอบ และบางครัง้ ถึงกับเป็ นผู ้สนั บสนุนทางการเงินอยูเ่ บือ ้ งหลัง บางส่วนด ้วยซํา้ ่ มโยงระหว่าง ฉะนั น ้ เราจึงจะเข ้าใจบทบาททางการเมืองของกองทัพได ้ ก็โดยการดูความสัมพั นธ์เชือ กองทั พ กั บ “พ น ั ธมิต ร”เหล่ า นี้ และที่ น่ า สนใจเป็ นพิเ ศษก็ คื อ ความสั ม พั น ธ์นี้ ไ ม่ ไ ด อ้ ยู่ ค งที่ แต่ จํ า เป็ นต ้องปรั บ เปลี่ย นตลอดเวลา เพราะ “พ น ั ธมิต ร”ก็ ต ้องการเป็ นตั ว ละครอิส ระในทางการเมือ ง


เหมือนกัน ต่างฝ่ ายต่า งเปลี่ยนข ้างเปลี่ยนสี เปลี่ย นจุด เน ้นแห่ง พั นธะ และเปลี่ยนการดํ าเนิน การทาง การเมืองอยูต ่ ลอดเวลา อันเป็ นผลกระทบไปถึงการเมืองภายในกองทัพเองด ้วย ่ ,ปั ญญาชน,เทคโนแครต,ข ้าราชการ “พ ันธมิตร”ของกองทัพซึง่ ในทีน ่ ี้อาจารย์นธ ิ ห ิ มายความถึงทุน,สือ พลเรือน ฯลฯ นั น ้ ก็ไว ้ใจไม่ได ้ อย่างดีกเ็ พียงยอมให ้กองทัพมีสว่ นแบ่งทางการเมืองไม่มากไปกว่านี้ หรือ อาจต ้องการให ้น อ ้ ยกว่า นี้ ด ้วย เพราะภาวะผู ้นํ า ทางการเมือ งที่ก องทั พ แสดงออกแต่ ล ะครั ง้ นั ้น ดู จ ะ ไร ้เดียงสาเกินไป เพราะหาความชอบธรรมยากขึน ้ ทีจ ่ ะรักษาพืน ้ ทีท ่ างการเมืองเอาไว ้ คงเป็ นเหตุผลสําคัญทีก ่ องทัพต ้อง ั เจนเช่น เน ้นอุดมการณ์ “ร ักษาราชบ ัลล ังก์” อย่างหนั กและดังทีส ่ ด ุ เท่าทีจ ่ ะทํ าได ้ แต่ปราศจากศัตรูชด สมัย ยังมี พคท.อยู่ ซึง่ อาจารย์นิธส ิ งสัย ว่าอุดมการณ์นี้จะเพียงพอหรือไม่ทจ ี่ ะรักษา “พ ันธมิตร”ไว ้ได ้ นานๆ อาจารย์นธ ิ เิ ห็นว่าหลังการรัฐประหาร ๒๕๔๙ มีคนจํานวนมากอย่างเหลือล ้นในสังคมไทยไม่ได ้ยอมรับว่า ิ ธิธรรมใดๆทีจ กองทัพมีสท ่ ะเข ้ามาแก ้ปั ญหาทางการเมือง แม ้ว่ากองทัพยังมีอํานาจดิบเท่าเดิม ถ ้าผู ้นํ า ิ ธิท ์ ี่จ ะมาก ้าวก่า ยทางการเมือ งมากเท่า ไร ก็ย งิ่ ทํ า ลาย กองทั พ ไม่เ ข ้าใจ กลั บ ไปคิด ว่า ตั ว มีอ าญาส ท กองทัพเองมากขึน ้ เท่านัน ้ คําว่า “ทําลาย”ในทีน ่ ี้ไม่ได ้หมายความว่าใครเขาจะไปยึดเอารถถังกลับคืนมา แต่หมายความว่า แม ้แต่ การใชอํ้ านาจอันมีกฎหมายรองรั บของกองทัพในเรื่องอืน ่ ๆ เช่น ไปรบกับ ปั จจามิตร ก็ยังมีคนสงสัย ว่า ่ นหรือเปล่า กําลังหาประโยชน์ใสต ประเด็นทีส ่ อง คือ ประเด็นเกีย ่ วก ับสถาบ ันพระมหากษ ัตริย ์ คงเป็ นประเด็ นเกีย ่ วเนื่องกับกองทัพ ซึง่ อาจารย์นธ ิ เิ ห็นว่าพระมหากษั ตริย ไ์ ทยหลังวัน ที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ กับพระมหากษั ตริยไ์ ทยก่อนวันที่ ๒๔ มิถน ุ ายน ไม่ใช่สถาบันทางการเมืองอันเดียวกัน และไม่ม ี ื เนื่องกันในทางหลักกฎหมาย เพราะพระมหากษั ตริย ไ์ ทยก่อนวันที่ ๒๔ มิถุนายน ไม่มท ความสบ ี อ ี่ ยู่ใน ่ ึ ่ ึ ้ รัฐธรรมนูญ พระมหากษั ตริยซ ์ งมีทอ ่ี ยูใ่ นรัฐธรรมนูญคือพระมหากษั ตริยซ ์ งใชอํานาจอธิปไตยแทนปวงชน ชาวไทย โดยผ่านทางนิตบ ิ ัญญัต ิ ตุลาการและบริหาร ซงึ่ ต ้องรับผิดชอบต่อปวงชนชาวไทย ฉะนน ั้ หาก ฉีกร ัฐธรรมนูญ ก็เท่าก ับไม่ยอมร ับสถานะของสถาบ ันกษ ัตริยอ ์ ก ี ต่อไป ในส่วนโดยตรงกับตั วสถาบันพระมหากษั ต ริยน ์ ั ้น อาจารย์นิธ เิ ห็น ว่าถ ้าว่ากันตามกฎหมายแล ้ว สถาบัน พระมหากษั ตริยข ์ องไทยมีอํานาจเท่าทีก ่ ฎหมายกําหนดไว ้เท่านั น ้ ยิง่ ไปกว่านั น ้ ยังอาจกล่าวได ้ด ้วยว่า พระราชอํานาจของพระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยูห ่ ัวในฐานะบุคคลแทบจะไม่ได ้แตกต่างบุคคลธรรมดาอืน ่ ๆ ิ ธิบ ่ ทรงอภิเษกสมรสกับหญิงต่างชาติไม่ได ้ ทรงนั บถือ ์ างอย่างอีกด ้วย เชน เลย ซํ้าร ้ายยังถูกลิดรอนสท ศาสนาอืน ่ นอกจากพระพุทธศาสนาไม่ได ้ เป็ นต ้น พระราชอํ านาจของสถาบันพระมหากษั ตริย ต ์ ามทีก ่ ฎหมายกําหนดทีว่ ่านั น ้ ได ้แก่ “แต่งตัง้ บุคคลดํ ารง ้ ตําแหน่งต่างๆ ไปจนถึงการพระราชทานอภัยโทษผู ้ต ้องคดี และทรงใชอํานาจอธิปไตยซงึ่ เป็ นของปวง ชนชาวไทย” อย่ า งไรก็ ต ามอาจารย์ น ิ ธ ิก็ ไ ม่ ไ ด ป ้ ฏิเ สธว่ า พระมหากษั ตริย ์ ท รงมี พ ระราชอํ า นาจ นอกเหนือจากทีก ่ ฎหมายกําหนดไว ้เพราะสถาบันหรือบุคคลย่อมมี “อํานาจ” นอกเหนือจากทีก ่ ฎหมาย กําหนดทัง้ นัน ้ เช่น พ่อมี “อํานาจ”เหนือลูก ครูและผู ้อาวุโสเหนือศิษย์และผู ้เยาว์ ชายเหนือหญิงในบาง เรือ ่ ง เป็ นต ้น ดังนัน ้ จึงไม่แปลกทีส ่ ถาบันพระมหากษั ตริยย ์ อ ่ มทรงไว ้ซึง่ อํานาจนอกจากทีก ่ ฎหมายกําหนดอีกมาก เช่น เมือ ่ เป็ นทีเ่ คารพสักการะย่อมมีอํานาจทางวัฒนธรรมสูง แต่การมีอํานาจทางวัฒนธรรมสูงอาจารย์นธ ิ เิ ห็น ว่าไม่ได ้หมายความว่าสถาบัน พระมหากษั ต ริย จ ์ ะต ้องมีอํ านาจในทางการเมืองเกินกว่าที่กําหนดไว ้ใน รัฐธรรมนูญตามระบอบประชาธิปไตย ทีม ่ พ ี ระมหากษั ตริยท ์ รงเป็ นประมุขหรือกษั ตริยภ ์ ายใต ้รัฐธรรมนูญ


ความเห็นของอาจารย์นธ ิ ท ิ ส ี่ ร ้างความฮือฮามากโดยเฉพาะอย่างยิง่ ความเข ้าใจทีม ่ ต ี อ ่ สถาบันตุลาการอัน เนื่องมาจากการทีม ่ ักมีผู ้กล่าวอยูเ่ สมอว่า “ผูพ ้ พ ิ ากษาพิพากษาคดีในพระปรมาภิไธย”ซึง่ อาจารย์นธ ิ ิ ให ้ความเห็นว่าผู ้พิพากษาพิพากษาคดีในพระปรมาภิไธยนัน ้ ถูกต ้องตามหลักการ แต่จะเข ้าใจผิดไม่ได ้ว่า พิพากษาแทนพระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยู่หัวในฐานะบุคคล มิฉะนั น ้ พระองค์ก็ต ้องเข ้ามารับผิดชอบกับ คําพิพากษาด ้วย คําพิพากษาทีท ่ ํ าในพระปรมาภิไธยนั น ้ เพราะอํานาจตุลาการเป็ นอํานาจอธิปไตยของ ปวงชน ต ้องไม่ลม ื ว่าคําพิพากษาของศาลคือการละเมิดสิทธิเสรีภาพขัน ้ พืน ้ ฐานของพลเมือง เช่น ปรับ, ี ั เอาตัวไปจํ าขังหรือประหารชวต ิ เรือ ่ งใหญ่ขนาดนี้ต ้องยิง่ อาศยอํานาจของประชาชน หรือทีเ่ ราเรียกว่า อธิปไตยเท่านัน ้ พระปรมาภิไธยเป็ นเครือ ่ งหมายถึงอํานาจอธิปไตยของปวงชน เตือนให ้ผู ้พิพากษาสํานึกถึงฐานทีม ่ าของ อํานาจในคําพิพากษา จึงต ้องใชอํ้ านาจนัน ้ อย่างรอบคอบและเทีย ่ งธรรม เพือ ่ ประโยชน์สข ุ ของสังคมหรือ ปวงชน พูดกันตรงไปตรงมาก็คอ ื ไม่เกีย ่ วกับกับพระมหากษั ตริยท ์ เี่ ป็ นบุคคล แต่เกีย ่ วอย่างแยกไม่ออก ้ จากอธิปไตยของปวงชน ซงึ่ พระมหากษั ตริยใ์ นฐานะทีเ่ ป็ นสถาบันทรงใชแทนปวงชน ในทํ านองเดียวกันส งิ่ ทีเ่ รียกว่าพระบรมราชโองการอาจารย์นธ ิ เิ ห็น ว่าในสมั ยโบราณอาจมีความหมาย อย่างหนึง่ แต่ภายใต ้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษั ตริยท ์ รงเป็ นประมุข ย่อมหมายถึงคําสั่งทีอ ่ าศัย อํ า นาจอธิป ไตยของปวงชนสั่ ง นั่ น คือ กฎหมายในระดั บ พ.ร.บ.ทุก ฉบั บ จึง เป็ นพระบรมราชโองการ ิ ือต ้องผ่านสภาและทรงลงพระ เช่น เดีย วกับ ประมวลกฎหมายอาญา แพ่ง และพาณิช ย์ ในทางปฏิบัต ค ิ ธิเสรีภาพบางประการของปวงชน เชน ่ ห ้ามลักขโมยหรือห ้าม ปรมาภิไธย กฎหมายเหล่านัน ้ ย่อมจํากัดสท ค ้าประเวณี ดั ง นั ้น จึง ต ้องอาศั ย อํ า นาจอธิป ไตยของปวงชนเท่า นั น ้ จึง จะสั่ง ให ้มีข ้อจํ ากัด ต่อเสรีภ าพ เหล่านัน ้ ได ้ ด ้วยเหตุนจ ี้ งึ ต ้องเป็ นพระบรมราชโองการ ซึง่ เป็ นเครือ ่ งหมายถึงอํานาจอธิปไตยดังกล่าว ในส่วนของพระบรมราชโองการในการแต่งตัง้ บุคคลดํ ารงตํ าแหน่ง ก็เป็ นหลักการเดีย วกัน ซงึ่ ตํ าแหน่ง สาธารณะทีพ ่ งึ ได ้รับพระบรมราชโองการแต่งตัง้ ควรเป็ นตําแหน่งทีเ่ กิดจากอํานาจอธิปไตยของปวงชน ตั ว อย่า งที่เ ห็ น ได ้ง่า ยๆก็ เ ช่น นายกรั ฐ มนตรี และ ครม.เพราะบุค คลเหล่านี้ ไ ด ้ดํ า รงตํ า แหน่ ง ดั ง กล่า ว ่ ขึน เนื่องจากสภาผู ้แทนราษฎรมีมติเสนอชือ ้ กราบบังคมทูล และสภาก็มาจากการเลือกตัง้ ของประชาชน โดยตรงจึงเป็ นเรือ ่ งอํานาจอธิปไตยของปวงชนโดยตรงเช่นกัน การทีม ่ พ ี ระบรมราชโองการแต่งตัง้ บุคคล เหล่านี้ให ้ดํารงตําแหน่ง ก็เพราะมีทม ี่ าจากอธิปไตยของปวงชนชาวไทย แต่ ส.ส.ไม่ต ้องมีพระบรมราช โองการแต่งตัง้ เพราะประชาชนได ้ใช ้อํานาจอธิปไตยของตัวโดยตรงในการเลือกตัง้ แล ้ว ไม่ได ้ใช ้ผ่าน ี่ ะต ้อง ตัวแทน(indirect กับ direct น่ะครับ – ชํานาญ) แต่ผมก็ยังสงสัยอยูว่ า่ ตําแหน่งศาสตราจารย์ทจ ได ้รั บ การโปรดเกล ้าฯนั ้น ว่า จะอยู่ใ นคํ า อธิบ ายนี้ด ้วยหรือ ไม่ เพราะผมไม่เ ห็ น ว่า จะยึด โยงกั บ อํ า นาจ อธิปไตยตรงไหนเลย ในส่วนของความมั่นคงของสถาบันพระมหากษั ตริยน ์ ัน ้ อาจารย์นธ ิ เิ ห็นว่าอยู่ทก ี่ ารยอมรับของประชาชน และประชาชนได ้แสดงการยอมรับนั น ้ ผ่านรัฐธรรมนูญ ความเคลือ ่ นไหวทางการเมืองของทุกฝ่ ายในเวลา นี้(ยกเว ้นบางกลุ่มทีม ่ จ ี ํ านวนน ้อยมากๆ)ไม่มฝ ี ่ ายใดเห็นควรว่าควรยกเลิกสถาบันพระมหากษั ตริย ์ และ รัฐธรรมนูญทุกฉบับทีผ ่ า่ นมา ทัง้ ทีร่ ่างโดยคณะรัฐประหารและร่างตามวิถท ี างประชาธิปไตย ต่างก็ยอมรับ ให ้สถาบันกษั ตริยเ์ ป็ นประมุขของประเทศ ฉะนั น ้ จะพูดอีกอย่างหนึง่ ก็ได ้ว่า ความมั่นคงของสถาบันฯอยู่ในรัฐธรรมนูญ ตรงกันข ้ามกับความเข ้าใจ ของกองทัพ ซงึ่ ได ้ยึดอํานาจและฉีกรัฐธรรมนูญไปหลายฉบับด ้วยข ้ออ ้างว่าเพือ ่ ปกป้ องสถาบันฯทุกครงั้ ทีร่ ฐ ั ธรรมนู ญ ถูกฉีกทิง้ ก็ เ ป็ นทุก คร งั้ ทีห ่ าความแน่น อนใดๆแก่ส ถาบ น ั พระมหากษ ต ั ริยไ์ ม่ไ ด้ เพราะสถาบ ันพระมหากษ ต ั ริยม ์ ไี ด้เฉพาะแต่ในรฐ ั ธรรมนูญเท่านน ั้ เมือ ่ ใดทีร่ ัฐธรรมนูญไม่ได้ เขียนไว้ให้มส ี ถาบ ันนี้ ก็ไม่มส ี ถาบ ันนี้ ในกรณีมาตรา ๑๑๒ แห่งประมวลกฎหมายอาญานัน ้ อาจารย์นธ ิ เิ ห็นว่ามรณกรรมอันน่าสมเพชของ ั เจน เพราะนอกจากความบกพร่องในด ้าน "อากง" ตอกยํ้าให ้เห็นความจําเป็ นต ้องแก ้ ม.๑๑๒ อย่างชด กระบวนการยุตธิ รรม ซงึ่ รวมถึงการลงทัณฑ์แล ้ว ม.๑๑๒ นีแ ่ หละทีย ่ งิ่ ทําให ้ความบกพร่องซงึ่ มีอยูแ ่ ล ้วนัน ้ ยิง่ บกพร่องมากขึน ้ ไปอีก


ดังเช่นข ้อวินจ ิ ฉัยของศาลว่า คดีนเี้ ป็ นคดีร ้ายแรงจึงไม่อาจให ้ประกันตัวได ้ ทีถ ่ ก ู วินจ ิ ฉั ยว่าร ้ายแรงก็เพราะ ม.๑๑๒ ถูกจัดอยูใ่ นหมวดความมั่นคงแห่งรัฐโดยไม่มเี หตุผลเพียงพอ เทียบไม่ได ้กับมาตราอืน ่ ในหมวด เดียวกัน ความผิดในมาตรานีท ้ จ ี่ ริงแล ้วเทียบได ้กับการหมิน ่ ประมาทบุคคลเท่านัน ้ หาได ้เกีย ่ วข ้องแต่ อย่างใดกับความมัน ่ คงแห่งรัฐไม่ แต่เพราะไปรวมไว ้ในหมวดความมั่นคงแห่งรัฐ จึงทําให ้ศาลต ้องวินจ ิ ฉั ย ว่าเป็ นคดีร ้ายแรง ิ ธิราชย์เสย ี อีก ม.๑๑๒ กําหนดโทษไว ้สูงผิดปกติ คือสูงกว่าโทษทีร่ ะบุไว ้ในกฎหมายสมัยสมบูรณาญาสท จึงไม่ได ้สัดสว่ นกับความผิดของผู ้ต ้องโทษ ยิง่ กว่านี้ทําให ้คดีถก ู พิจารณาว่า "ร้ายแรง" โดยปริยาย เมือ ่ กําหนดให ้ ม.๑๑๒ อยูใ่ นหมวดความมัน ่ คงแห่งรัฐ ผู ้ฟ้ องร ้องกล่าวโทษจึงเป็ นใครก็ได ้ (เทียบกับรู ้ว่า มีผู ้คิดประทุษร ้ายทางกายประมุขของรัฐ ใครรู ้ก็ควรรีบแจ ้งความเพือ ่ ป้ องกันมิให ้เกิดขึน ้ ไม่จํากัดเฉพาะ เจ ้าพนั กงานเท่านัน ้ ) ก่อให ้เกิดปั ญหาตามมามากมาย เวลานี้มค ี นทีอ ่ ยูใ่ นเรือนจําเพราะต ้องคําพิพากษา ้ เพราะ ม.๑๑๒ อีกเป็ นร ้อย เพราะถูกแจ ้งความโดยบุคคลอืน หรือกําลังอยูร่ ะหว่างสูคดี ่ อันอาจเป็ นศัตรู ของตนเอง ยังไม่พด ู ถึงผู ้ซึง่ ตํารวจให ้ประกันตัวออกไป เพราะถูกแจ ้งความคดีเดียวกันนีอ ้ ก ี รวมอาจถึงพัน ความเดือดร ้อนไปทุกหย่อมหญ ้าเช่นนี้ เกิดขึน ้ จากความบกพร่องของ ม.๑๑๒ อย่างชัดแจ ้ง เหตุใดจึงไม่ ควรแก ้ไข ม.๑๑๒ เล่า มรณกรรมของ "อากง" ยิง่ กระตุ ้นให ้เห็นความจําเป็ นทีจ ่ ะต ้องแก ้ไข ม.๑๑๒ ขึน ้ ไปอีก หากรัฐบาลจะได ้รับแรงกระตุ ้นนัน ้ ก็ไม่เห็นผิดตรงไหน (แต่น่าเสียดายทีร่ ัฐบาลเลือกจะเล่นเกมนี้ ตามทีฝ ่ ่ ายค ้านกําหนด) ความบกพร่องของ ม.๑๑๒ ก่อให ้เกิดผลกระทบอย่างร ้ายแรงต่อผู ้ทีจ ่ งรักภักดีตอ ่ สถาบันอย่างจริงใจ ก็ น่าวิตกว่า ม.๑๑๒ จะเป็ นเหตุให ้เสียพระเกียรติยงิ่ กว่าเชิดชูพระเกียรติ ต่อผู ้ทีย ่ อมรับสถาบัน ้ พระมหากษั ตริยใ์ นระบบการเมือง ก็น่าวิตกว่า ม.๑๑๒ ถูกใชไปในทางขั ดขวางระบอบประชาธิปไตย ่ มากกว่าสงเสริมระบอบประชาธิปไตย ั เจนว่าผู ้ทีข อาจารย์นธ ิ ไิ ด ้สรุปไว ้ในบทความเรือ ่ งอากงไว ้อย่างชด ่ าดความจงรักภักดีหรือผู ้ไม่ยอมรับ ื่ มพระเกียรติ ประชาธิปไตยแบบทีม ่ ป ี ระมุขเป็ นพระมหากษั ตริยเ์ ท่านัน ้ ทีย ่ น ิ ดีกบ ั ม.๑๑๒ เพราะทําให ้เสอ ้ และอาจใชสถาบั นพระมหากษั ตริยข ์ ด ั ขวางการเติบโตของประชาธิปไตยในเมืองไทย ประเด็นทีส ่ ามสุดท้ายคือประเด็นเกีย ่ วก ับเรือ ่ งทว่ ั ไปเกีย ่ วก ับประชาธิปไตยของไทย อาจารย์นธ ิ ม ิ องว่าประชาธิปไตยแบบไทยเรานัน ้ เป็ นประชาธิปไตยในแบบ democrasubjection ซงึ่ หมายถึงประชาธิปไตยภายใต ้การควบคุม โดยอาจารย์นธ ิ ไิ ด ้อธิบายว่าแต่กอ ่ นประชาชนไทยเป็ นไพร่ฟ้า ข ้าแผ่นดิน สังกัดมูลนายหลากหลายประเภท อัตลักษณ์ของคนไทยก็คอ ื เป็ นไพร่ในสังกัดของใครหรือ กรมใด ตัวระบอบปกครองก็เอือ ้ ให ้ไพร่ต ้องพึง่ พิงมูลนาย นับตัง้ แต่จะฟ้ องร ้องคดีความใดๆ ก็ต ้องได ้รับ ่ กถึงมือไพร่ในสังกัดก็เพิม ่ ขึน ้ อนุญาตจากมูลนายเสียก่อน มูลนายได ้ดิบได ้ดี ส่วนแบ่งของทรัพยากรทีต การปฏิรูปของ ร.๕ ทําลายอํานาจควบคุมอ ันหลากหลายของมูลนายลง แล้วเอาไพร่ทงหมดมา ั้ ั ัดพระราชบ ัลล ังก์เพียงหนึง่ เดียว อ ัตล ักษณ์ของไพร่เปลีย รวมศูนย์สงก ่ นมาเป็นข้าราษฎรที่ (โดยทฤษฎีแล ้ว)เท่าเทียมก ันหมด ระบอบปกครองก็ เน้นความเหมาะสมโดยธรรมชาติและโดย ึ ษา ว่าเจ้านายเท่านนที การศก ั้ ค ่ วรเป็นผูป ้ กครองและถืออํานาจ การปฏิวต ั ๒ ิ ๔๗๕ เปลีย ่ นข ้าราษฎร มาเป็ นพลเมืองของชาติ เท่ากันหมด และเป็ นเจ ้าของชาติเท่าๆ กัน ไม่มใี ครมาคุมเราอีกแล ้ว แต่อต ั ลักษณ์ "พลเมือง" ก็เป็ นสงิ่ สร ้างทางสงั คมไม่ตา่ งไปจาก "ไพร่" หรือ "ข้าราษฎร" แต่อย่างไร สร ้างขึน ้ มาเพือ ่ เป็ นสว่ นหนึง่ ของการควบคุมภายใต ้ระบอบปกครองทีเ่ รียกกันว่า ประชาธิปไตย ู สร ้างอัตลักษณ์ให ้ อาจารย์นธ ิ เิ ห็นว่า เราทุกคนล ้วนเกิดมาเป็ น "คน" หรือ "ประชาชน" ก่อน แล ้วก็ถก ใหม่ จนกลายเป็ น "พลเมือง" ซึง่ มีข ้อจํากัดและภาระทีต ่ ้องแบกรับกว่าเป็ น "ประชาชน" มากมาย พลเมืองของระบอบประชาธิปไตยจึงไม่ใช่ "เสรีชน" แต่เป็ นคนทีถ ่ ก ู บังคับควบคุม (subjection) ลงเป็ น ้ เอง พลเมืองเท่านั น


"ประชาธิปไตย" ถูกให ้ความหมายในแต่ละสังคมไม่เหมือนกันนัก แม ้ว่าต่างก็ทอ ่ งคํานิยามอันว่างเปล่า ของลิงคอล์นมาเหมือนๆ กันก็ตาม เพราะการให ้ความหมายแก่ระบอบปกครองทีเ่ รียกว่าประชาธิปไตย ของแต่ละสงั คมไม่เหมือนกัน ิ บ ิ อกว่าตอบยังไม่ได ้ แต่อยากเตือนให ้นึกถึง การ อัตลักษณ์ "พลเมือง" ของไทยเป็ นอย่างไร อาจารย์นธ ื เนือ ให ้ความหมายแก่ประชาธิปไตยในเมืองไทย ซงึ่ กระทําสบ ่ งกันมาหลายทศวรรษหลังเปลีย ่ นแปลง การปกครอง ภายใต ้เสรีภาพทีร่ ับรองไว ้ในรัฐธรรมนูญนัน ้ พลเมืองไทยทุกคนย่อมสามารถใช ้เสรีภาพนัน ้ ได ้ ภายใต ้ กรอบของอุดมการณ์ของชาติ นั่นคือชาติ, ศาสนา, พระมหากษั ตริย ์ กรอบของอุดมการณ์ดังกล่าวนี้ ต่างหาก ทีเ่ ป็ นผู ้กําหนดขอบเขตของเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ มีกฎหมายซึง่ ร่างขึน ้ โดยขัดเจตนารมณ์ ้บั ของรัฐธรรมนูญ แต่เป็ นไปตามกรอบอุดมการณ์ของชาติดังกล่าว ใช งคับอยูม ่ ากมาย และเราต่าง ้ จึงแปลว่า ไม่ได ้ขัดกับอัตลักษณ์ "พลเมือง" ในระบอบประชาธิปไตย ยอมรับโดยดุษณี ด ้วยเหตุดังนัน ของเราเลย ิ ธิ" ึ ษาจะเน ้น "หน้าที"่ ของพลเมือง แต่ไม่คอ ในเมืองไทย ผู ้ใหญ่และระบบการศก ่ ยมีใครพูดถึง "สท ิ ธิแต่ ของพลเมือง สงั คมจะดีได ้ก็ตอ ่ เมือ ่ ทุกคนทําหน ้าทีข ่ องตนเองอย่างบริสท ุ ธิใ์ จ ไม่เกีย ่ วอะไรกับสท อย่างใด ผู ้ใหญ่ไทยจะคอยเตือนถึงภยันตรายของเสรีภาพอันไร ้ขีดจํากัด จนกระทั่งดูประหนึง่ ว่า เสรีภาพนัน ้ ไม่ได ้ ี ธรรมเท่านัน ี ล ้ ทีอ ่ าจใช ้เสรีภาพได ้เต็มที่ โดยไร ้ขีดจํากัด เช่น ทํา มีไว ้ให ้ทุกคนเท่าๆ กัน เฉพาะคนดีมศ รัฐประหารและฉีกรัฐธรรมนูญ ผู ้ใหญ่ไทยเน ้นเสมอว่ารัฐบาลทีด ่ ค ี อ ื รัฐบาลทีท ่ ําให ้พลเมืองอยูด ่ ม ี ส ี ข ุ แต่ไม่มใี ครพูดถึงความรับผิดชอบ (accountability) ต่อพลเมือง ฉะนัน ้ เพือ ่ ให ้พลเมืองอยูด ่ ม ี ส ี ข ุ ถึงจะฆ่า, อุ ้มฆ่า, หรือจําขัง พลเมืองบาง คนบ ้างก็ไม่เป็ นไร ิ ธิอ ่ ค ี ําว่า "แห่งชาติ" ต่อท ้าย มี พลเมืองไทยยอมรับอาญาสท ์ น ั ไม่มข ี ด ี จํากัดของ "ชาติ" สถาบันทีม อาญาสิทธิพ ์ เิ ศษทีไ่ ม่ต ้องรับผิดชอบต่อใคร เช่น สภาพ ัฒน์(สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) ่ า ซึง่ ไม่ต ้องรับผิดชอบต่อใครสักคนเดียว อาจารย์นธ ิ บ ิ อกว่าอย่าพูดถึง "พลเมือง" เลย แม ้แต่รัฐบาลทีม จากการเลือกตัง้ (สภาพัฒน์)ก็ไม่ต ้องรับผิดชอบด ้วย แทนทีเ่ ราจะรวมกลุม ่ กันเพือ ่ วางแผนพัฒนาของกลุม ่ เราเอง พลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยทํา ได ้แค่ทําความเข ้าใจแผนของสภาพัฒน์ให ้ปรุโปร่งเท่านัน ้ ี่ า่ นมา ก็เป็ นความเปลีย ่ นแปลงทางสังคมอีกอย่างหนึง่ ซงึ่ ต ้อง การชุมนุมซงึ่ มีชก ุ ชุมขึน ้ ในระยะ 20 ปี ทผ ควบคุม จึงจําเป็ นต ้องผลิต "วาทกรรม" อีกหลายอย่างขึน ้ ในชว่ งนี้ เพือ ่ ควบคุมอํานาจของพลเมืองใน สถาบันเกิดใหม่อน ั นี้ บางสว่ นก็ดงึ มาจากสงิ่ ทีผ ่ ู ้ใหญ่พด ู มาแล ้ว บางสว่ นก็ดงึ มาจากฝรั่ง เราอาจมองประชาธิปไตยว่าเป็ นอีกรูปแบบหนึง่ ของการควบคุมในท่ามกลางความเปลีย ่ นแปลงของสังคม คือสร ้างพลเมืองขึน ้ ในการบังคับควบคุม นักวิชาการฝรั่งสร ้างศัพท์สําหรับปรากฏการณ์อย่างนีว้ า่ democrasubjection ประชาธิปไตยแบบไทยจึงเป็ น democra-subjection อีกชนิดหนึง่ ซึง่ ต่างจากอังกฤษ, อเมริกน ั และ สิงคโปร์ ในส่วนของสถานการณ์ปั จจุบันทีว่ ่าด ้วยการปรองดองนั น ้ อาจารย์นธ ิ ใิ ห ้ความเห็นล่าสุด เมือ ่ 19 พ.ค.ที่ ผ่า นมาที่บุ๊ก รีพั บ ลิก ว่า “ปรองดอง” ในพจนานุ ก รม แปลว่า ไม่แ ก่ง แย่ง กัน พร ้อมเพรีย งกัน ตกลงกัน ความหมายนัน ้ หมายถึงความสงบราบรืน ่ ของชุมชนขนาดเล็ก ลองคิดดูวา่ ความปรองดองแบบนีเ้ ป็ นไปได ้ เฉพาะหมูบ ่ ้านเล็ก ๆ เท่านัน ้ สังคมขนาดใหญ่ ความปรองดองตามความหมายของพจนานุกรมนัน ้ เป็ นไป ั ี ไม่ได ้ในสงคมขนาดใหญ่ หรือแม ้แต่ จ.เชยงใหม่


เราต ้องสร ้างกติกาในการพูดคุยโดยทีเ่ ราไม่ต ้องตีหัวกัน ฉะนัน ้ การพูดถึงความปรองดอง เราต ้องกลับไป ดูค วามขั ด แย ้งที่ม ีอ ยู่ใ นปั จ จุบัน เมื่อเราพูด ถึง ความขั ด แย ้ง สื่อ ต่า งๆชอบนึก ถึง ความขั ด แย ้งระหว่า ง บุค คลค่อนข ้างมาก ไม่เ พียงเรื่องเหตุการณ์ทป ี่ ะทะกัน เท่านั ้น ไม่ใช่กลุ่ม เราต ้องกลับไปดูต ้นตอของ ความขัดแย ้ง ความขัดแย ้งไม่วา่ สีใดก็ตาม บุคคลเหล่านัน ้ เดินเข ้าไปร่วมความขัดแย ้งได ้อย่างไรโดยไม่ม ี ฐานทางเศรษฐกิจ และสังคม ้ สี ข ้อถกเถียงนั น ้ เช่นเสือ ้ เหลืองไม่ไว ้วางใจนั กการเมือง ความขัดแย ้งทีเ่ กิดขึน ้ ถ ้ามองจากเสือ ้ มีมล ู ทัง้ สิน เช่น มีแต่การเลือกตัง้ โดยไม่ปรับโครงสร ้างการเมืองอืน ่ เลยนั น ้ เป็ นไปไม่ได ้ แต่วธิ ก ี ารปรับ แก ้โดยเอา ้ไม่ ้ พระอรหั น ต์ม าช่ ว ย มั น ก็ ใ ช ไ ด ้ ส่ ว นเสื อ แดงก็ ย ื น ว่ า ประชาธิป ไตยนั ้น ต อ ้ งมาจากการเลื อ กตั ้ง เพราะฉะนั ้ น ไม่ ว่ า คุ ณ จะปรองดองอย่ า งไรก็ แ ล ว้ แต่ ค วามขั ด แย ง้ นั ้ น มั น ก็ ยั ง ดํ า รงอยู่ คุ ณ ก็ ต อ ้ ง เปลี่ย นแปลงเรื่อ งระบบการเมือ ง เพราะความขั ด แย ้งนี้ เ ป็ นเพราะความขั ด แย ้งเรื่อ งระบบสั ง คมและ เศรษฐกิจทีเ่ ป็ นไปทั่วโลก ิ ธิเสรีภาพของกัน ไม่มส ี งั คมไหนทีไ่ ม่มค ี วามขัดแย ้ง เราต ้องทําให ้ความขัดแย ้งดํารงอยูโ่ ดยไม่ละเมิดสท ้ พยากรโดยตรง เชน ่ ปากมูล และกัน ต ้องเปิ ดเวทีการเมืองให ้มันกว ้างขึน ้ กลุม ่ คนจํานวนไม่น ้อยทีใ่ ชทรั ราษี ไศล คนเหล่านีย ้ งั ไม่โผล่ในเวทีการเมือง ก็ต ้องเปิ ดให ้เขาด ้วย ถ ้าเราอยากจะแก ้ไขความขัดแย ้งเรา ก็ต ้องมีกฎหมายทีม ่ ค ี วามเป็ นธรรม สว่ นกฎหมายทีไ่ ม่เป็ นธรรมต่างๆ ทีอ ่ อกโดยคณะรัฐประหารต่างๆ ก็ ต ้องมีการเปลีย ่ นเพือ ่ รับความเปลีย ่ นแปลง ้ ้ วหัวต่อทีส ่ ําคัญมาก เมือ ่ ถามว่าในสังคมไทยใชความรุ นแรงทาง อาจารย์นธ ิ เิ น ้นว่าชว่ งนีเ้ ป็ นชว่ งหัวเลีย ้ ั ้ นําเท่านัน การเมืองหรือไม่ เราจะพบว่าเราใชมาตั ง้ แต่สมัยอยุธยาแต่ในหมูช ่ นชน ้ เมือ ่ ไหร่กต ็ ามถ ้าคน นอกกระโดดเข ้ามามีสว่ นร่วมทางการเมืองก็จะมีความรุนแรงทันที อย่างกรณี 14 ตุลาคม ถึง 19 พฤษภาคม เป็ นต ้น ้ เราจะเจอคนนอกทีเ่ ป็ นกลุ่มใหม่ตลอดเวลา มันก็จะมีการใชความรุ นแรงอีก ครั ง้ นี้จงึ เป็ นครั ง้ สําคัญที่ ้ ต ้องทําให ้ระบบการเมืองไทยยุตก ิ ารใชความรุ นแรง ต ้องไม่มก ี ารออก พ.ร.บ.อภัยโทษทีจ ่ ะทําให ้ผู ้สั่งการ หลุดรอดไปได ้ ถ ้าความจริงออกมา คนเหล่า นี้ต ้องรั บโทษก่อ น ถ ้าเราไม่ยุตใิ นครั ง้ นี้ เมืองไทยก็จ ะ ิ้ สุด โดยสรุ ป อาจารย์นิธ ฟ เผชิญ กั บ ความรุ น แรงทางการเมือ งอย่ า งไม่ ส น ิ ั นธงว่า คือ ไม่ จํ า เป็ นต ้อง ปรองดอง ผ มสรุปในหวั ข้อ “นิธก ิ ับแนวคิดทางการเมือง” เพือ ่ ให้เข้าใจ จากทีก ่ ล่าวมาทงหมดหากจะให้ ั้ ื้ สอ ี ะไร ผมสามารถตอบได้วา ื้ เหลือง ้ ว่าในความเห็ นของผมนนอาจารย์ ง่ายขึน ั้ นธ ิ ใิ สเ่ สอ ่ ไม่ใชเ่ สอ ื้ แดงอีกเช่นก ัน แต่จะเป็นผูท อย่างแน่นอน และก็ ไม่ใช่เสอ ้ เี่ ห็ นอกเห็ นใจแดง หากจะต้องเหมา ้ื แดงก็ คงเป็นเสอ ื้ แดงทีไ่ ม่เอาท ักษิณทีค ื้ แดงสว ่ นใหญ่งง ่ นทีไ่ ม่ใช่เสอ รวมว่าอาจารย์นธ ิ เิ ป็นเสอ ว่ามีดว้ ยหรือนน ่ ั เอง

---------------


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.