จดหมายเปิ ดผนึกถึง ดร.สุนัย จุลพงศธร กรณี เอาผิดนายอภิสิทธ์ิฯ ต่อศาลอาญาระหว่างประเทศ

Page 1

จดหมายเปิ ดผนึกถึง ดร.สุ นัย จุลพงศธร กรณี เอาผิดนายอภิสิทธิ์ฯ ต่ อศาลอาญาระหว่ างประเทศ Pegasus ตามที่ท่าน ส.ส.ผูท้ รงเกียรติ ดร.สุ นยั จุลพงศธร ในฐานะกรรมาธิการต่างประเทศได้ผลักดันเรื่ องศาลอาญา ระหว่างประเทศมาโดยตลอดแล้วนั้น ผูเ้ ขียนเห็นว่ามีช่องทางที่ดาํ เนินคดีต่อ อดีตนายกรัฐมนตรี นาย อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะได้โดยนัยธรรมนูญกรุ งโรม ตามมาตราที่ 11-13 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 190 โดยจะขอเรี ยนเพื่อความเข้าใจดังนี้ ตามมาตรา 11 ธรรมนูญกรุ งโรมกําหนดว่า การดําเนินคดีจะทําได้กต็ ่อเมื่อได้เป็ นเขตอํานาจศาลแล้วซึ่ง หมายถึงการให้สตั ยาบันกับธรรมนูญฯแล้วสําหรับกรณี ประเทศไทยเนื่องจากได้ไปลงนามไว้นานมาแล้ว และนัน่ หมายถึงต้องให้สตั ยาบันแล้ว เกิดเหตุจึงจะเข้าข่ายการพิจารณาคดี ยกเว้น รัฐนั้นได้ประกาศตาม เงื่อนไขมาตรา 12 วรรค 3 ในมาตรา 12 วรรค 3 ตามธรรมนูญกรุ งโรมระบุวา่ ถ้าเป็ นรัฐที่ยงั ไม่ได้เป็ นภาคี ซึ่งอาจหมายถึงยังไม่ได้ลง นามและให้สตั ยาบัน ก็สามารถประกาศยอมรับเขตอํานาจศาลอาญาระหว่างประเทศได้เช่นกัน รายละเอียด วิธีการต่างๆก็ระบุไว้ในหมวดที่ 9 ทั้งนี้ตอ้ งเป็ นไปตามเงื่อนไขของ มาตรา 12 วรรค 2 มาตรา 12 วรรค 2 กล่าวเงื่อนไขไว้วา่ ผูท้ ี่จะร้องขอการเข้าทําการสอบสวนต้องเป็ นรัฐภาคี เป็ นคําสัง่ ของ คณะมนตรี ความมัน่ คงแห่งสหประชาชาติ(กรณี ซูดาน) หรื อ อัยการศาลอาญาฯดําเนินการเอง ตามมาตรา 13 หรื อ เป็ นรัฐที่ยอมรับอํานาจศาลอาญาระหว่างประเทศ ซึ่ งเป็ นกรณี ของประเทศไทย โดยมีเงื่อนไขสอง ประการคือ ประการแรก เกิดคดีอาชญากรรมนั้นในเขตแดนประเทศภาคี บนเรื อ บนเครื่ องบินของรัฐนั้นหรื อจด ทะเบียนในรัฐนั้น ประการที่สอง ผูท้ ี่ถกู กล่าวหามีสญ ั ชาติในรัฐที่เป็ นภาคี ในกรณี น้ ี ประเทศอังกฤษเป็ นภาคีธรรมนูญกรุ งโรม ดังนั้นในขั้นต้นนี้สามารถสรุ ปได้วา่ สามารถที่จะกล่าวโทษต่อ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะได้ ในฐานะที่เป็ นผูม้ ี สัญชาติองั กฤษ และประกอบอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ซึ่งไม่ได้หมายถึงเพียงการสังหารเท่านั้น แต่รวม การทรมาน การใส่ โซ่ตรวน การนําขึ้นรถหายตัวไปซึ่งเข้าข่ายการลักพาตัว ดังนี้เป็ นต้น สมควรที่จะต้อง

Page 1


กล่าวโทษให้ครบถ้วนโดยศึกษาจากมาตราท้ายๆของธรรมนูญกรุ งโรมได้ ใครสามารถกล่าวหาได้ คําตอบคือ ไม่ใช่ดร.สุ นยั ฯ ไม่ใช่ นปช. หรื อ ทนายอัมสเตอร์ดมั ซี่งในกรณี หลังควร ที่จะไปกล่าวโทษต่อตํารวจในเมืองนิวคาสเซิลจะถูกต้องกว่า ส่ วนตํารวจจะเสนอรัฐบาลอังกฤษให้ศาล อาญาระหว่างประเทศดําเนินการต่อหรื อไม่ เป็ นสิ่ งที่ตอ้ งเรี ยกร้องไปให้ถูกต้อง ผูท้ ี่จะเรี ยกร้องให้ดาํ เนินคดีต่อ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มีเพียงรัฐบาลปรองดอง ของนายกยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร เท่านั้น และไม่ใช่เป็ นกรณี การให้สตั ยาบันต่อศาลอาญาระหว่างประเทศ เป็ นเพียงการขอให้ดาํ เนินคดีกบั ชาวอังกฤษคนหนึ่งที่สงั หารคนไทยก็เท่านั้นเอง เขตอํานาจศาลยังคงเป็ นของประเทศอังกฤษ ไม่มีความ เกี่ยวข้องอะไรกับการปรองดองกับฝ่ ายอํามาตย์ท้ งั สิ้ น และไม่ได้เป็ นการร้องขอที่กระทบต่อคนส่ วนใหญ่ ของประเทศ หรื อโครงสร้างทางการเมือง การปกครองใดๆของไทย เป็ นเพียงนํ้าใจเล็กๆน้อยๆที่รัฐบาลยาก นักจะมีให้กบั ฝ่ ายประชาธิปไตยเท่านั้น นอกเสี ยจากว่ารัฐบาลจะเป็ นฝ่ ายอํามาตย์เสี ยเอง นัน่ เป็ นอีกเรื่ อง หนึ่ง ส่ วนวันที่รัฐบาลสมควรจะประกาศนั้น น่าจะเป็ นวันที่ 19 พ.ค.55 นี้เพื่อให้เกียรติกบั ผูส้ ู ญเสี ยชีวิตเพื่อ ประชาธิปไตยเป็ นจํานวนมาก สําหรับกรณี ถา้ รัฐบาลจะประกาศให้สตั ยาบันกับศาลอาญาระหว่างประเทศ เพื่อป้ องกันไม่ให้ทหารทําการ สังหารประชาชนหากทําการยึดอํานาจแล้วประชาชนลุกขึ้นต่อสู ้ในอนาคต ซึ่งในทางกลับกันก็เป็ นการทํา ให้รัฐบาลประชาธิปไตยสามารถยืนหยัดอยูไ่ ด้ในสังคมอํามาตย์ปรองดองนี้ ก็โดยเพียงการใช้มติ คณะรัฐมนตรี แล้วประกาศเจตนาในการให้สตั ยาบันได้โดยไม่ตอ้ งเข้ารัฐสภาอีก ทั้งนี้เป็ นไปตาม รัฐธรรมนูญมาตรา 190 วรรคสามที่กล่าวไว้วา่ “...เมือ่ ลงนามในหนังสือสัญญาตามวรรคสองแล ้ว ก่อนจะแสดงเจตนาให ้มีผลผูกพัน คณะรัฐมนตรีต ้องให ้ประชาชน ื สญ ั ญานัน ื สญ ั ญาดังกล่าวก่อให ้เกิด สามารถเข ้าถึงรายละเอียดของหนังสอ ้ และในการทีก ่ ารปฏิบต ั ต ิ ามหนังสอ ผลกระทบต่อประชาชนหรือ ผู ้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม คณะรัฐมนตรีต ้องดําเนินการแก ้ไขหรือ เยียวยาผู ้ได ้รับผลกระทบนัน ้ อย่างรวดเร็ว เหมาะสม และเป็ นธรรม...”

ถ้าอ่านหนังสื อกันไม่เข้าใจอีก ก็ไม่อาจจะทําอะไรอีกได้แล้ว ส่ วนกรณี ที่ฝ่ายอํามาตย์อา้ งว่า การให้สตั ยาบัน ต่อศาลอาญาระหว่างประเทศจะกระทบต่อสถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ก็อยากจะให้ไปศึกษาประเทศอังกฤษ เนเธอร์แลนด์ สวีเดน ฯลฯ ดูวา่ ประเทศในยุโรปเหล่านั้นทําไมให้สตั ยาบันกันได้ สถาบันพระมหากษัตริ ย ์ ของประเทศเหล่านั้นทําไมไม่เกิดปั ญหา หรื อเป็ นเพียงข้ออ้างเพือ่ ที่จะซุ่มทําการรัฐประหารได้โดยไม่ตอ้ ง กลัวการต่อต้านของประชาชน นี่หรื อเปล่าคือปมประเด็นจริ งๆที่ต่อต้าน อนึ่ง สถาบันพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ น กลางทางการเมืองตามรัฐธรรมนูญจึงเป็ นไปไม่ได้ที่จะถูกกล่าวหาว่าสัง่ สังหารประชาชนในประเทศเหมือน ระบอบประธานาธิบดีที่เลียนแบบระบอบราชาธิปไตยคือครองอํานาจยาวๆคนละหลายสิ บปี ทําการ

Page 2


กอบโกยผลประโยชน์ท้ งั สิ นแร่ นํ้ามัน ทรัพยากรต่างๆให้ตวั เองและครอบครัวอย่างไม่อ้ นั ทําการสื บทอด อํานาจกันไม่หยุดยั้ง ไม่มีความละอายและเหี้ ยมโหดมองเห็นประชาชนของตนเหมือนไม่ใช่มนุษย์แบบใน อาฟริ กา ดังนั้นข้ออ้างต่างๆของฝ่ ายอํามาตย์จึงดูน่าขันอย่างยิง่ หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าท่านสุ นยั จุลพงศธร จะสามารถผลักดันและเกลี้ยกล่อมให้รัฐบาลเห็นว่าการยืนข้าง ประชาชนนั้นมีประโยชน์กว่าการยืนข้างอํามาตย์อย่างไร และการใช้ประโยชน์จากศาลอาญาระหว่าง ประเทศนั้น ในขั้นต้นเป็ นการสร้างความยุติธรรมให้กบั ผูส้ ู ญเสี ยได้อย่างไรและจะนํามาซึ่งการปรองดองที่ แท้จริ งเองในที่สุดได้อย่างไร ส่ วนการให้สัตยาบันกับศาลอาญาระหว่างประเทศที่รัฐบาลสามารถดําเนินการ ได้เลยโดยไม่ตอ้ งกังวลอะไรอีกนั้นจะทําให้การสังหารประชาชนในอนาคตนั้นหมดไปอย่างเด็ดขาดและจะ ส่ งผลดีกบั รัฐบาลเองในระยะยาวอย่างไร แทนที่จะใช้เวลาส่ วนใหญ่ไปประจบสอพลอเหล่าอํามาตย์จน ประชาชนต้องหันหลังให้ในที่สุด โปรดดูมาตราต่างๆได้ขา้ งล่างนี้ ศาลอาญาระหว่างประเทศ Article 11: Jurisdiction ratione temporis 1.

The Court has jurisdiction only with respect to crimes committed after the entry into force of this Statute.

2. If a State becomes a Party to this Statute after its entry into force, the Court may exercise its jurisdiction only with respect to crimes committed after the entry into force of this Statute for that State, unless that State has made a declaration under article 12, paragraph 3. Article 12: Preconditions to the exercise of jurisdiction 1. A State which becomes a Party to this Statute thereby accepts the jurisdiction of the Court with respect to the crimes referred to in article 5. 2. In the case of article 13, paragraph (a) or (c), the Court may exercise its jurisdiction if one or more of the following States are Parties to this Statute or have accepted the jurisdiction of the Court in accordance with paragraph 3: (a) The State on the territory of which the conduct in question occurred or, if the crime was committed on board a vessel or aircraft, the State of registration of that vessel or aircraft; (b) The State of which the person accused of the crime is a national. 3.

If the acceptance of a State which is not a Party to this Statute is required under paragraph 2, that State may, by Page 3


declaration lodged with the Registrar, accept the exercise of jurisdiction by the Court with respect to the crime in question. The accepting State shall cooperate with the Court without any delay or exception in accordance with Part 9. Article 13: Exercise of jurisdiction The Court may exercise its jurisdiction with respect to a crime referred to in article 5 in accordance with the provisions of this Statute if: (a) A situation in which one or more of such crimes appears to have been committed is referred to the Prosecutor by a State Party in accordance with article 14; (b) A situation in which one or more of such crimes appears to have been committed is referred to the Prosecutor by the Security Council acting under Chapter VII of the Charter of the United Nations; or (c) The Prosecutor has initiated an investigation in respect of such a crime in accordance with article 15.

รัฐธรรมนูญ 50 มาตรา 190 แก้ไขเพิ่มเติม ลง 5 มีนาคม 2554 “มาตรา ๑๙๐ พระมหากษัตริ ยท์ รงไว้ซ่ ึงพระราชอํานาจในการทําหนังสื อสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก และสัญญาอื่น กับนานาประเทศหรื อกับองค์การระหว่างประเทศ หนังสื อสัญญาใดมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย หรื อเขตพื้นที่นอกอาณาเขตซึ่งประเทศไทย มีสิทธิอธิปไตยหรื อมีเขตอํานาจตามหนังสื อสัญญาหรื อตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรื อจะต้องออก พระราชบัญญัติเพื่อให้การเป็ นไปตามหนังสื อสัญญา หรื อมีผลกระทบต่อความมัน่ คงทางเศรษฐกิจหรื อ สังคมของประเทศอย่างกว้างขวาง หรื อมีผลผูกพันด้านการค้า การลงทุน หรื องบประมาณของประเทศ อย่างมีนยั สําคัญ ต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา ในการนี้ รัฐสภาจะต้องพิจารณาให้แล้วเสร็ จ ภายในหกสิ บวันนับแต่วนั ที่ได้รับเรื่ องดังกล่าว ก่อนการดําเนินการเพื่อทําหนังสื อสัญญากับนานาประเทศหรื อองค์การระหว่างประเทศตาม วรรคสอง คณะรัฐมนตรี ตอ้ งให้ขอ้ มูลและจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และต้องชี้แจงต่อ รัฐสภาเกี่ยวกับหนังสื อสัญญานั้น ในการนี้ ให้คณะรัฐมนตรี เสนอกรอบการเจรจาต่อรัฐสภาเพื่อขอความ เห็นชอบด้วย เมื่อลงนามในหนังสื อสัญญาตามวรรคสองแล้ว ก่อนที่จะแสดงเจตนาให้มีผลผูกพัน คณะรัฐมนตรี ต้องให้ประชาชนสามารถเข้าถึงรายละเอียดของหนังสื อสัญญานั้น และในกรณี ที่การปฏิบตั ิตามหนังสื อ สัญญาดังกล่าวก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนหรื อผูป้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม

Page 4


คณะรัฐมนตรี ตอ้ งดําเนินการแก้ไขหรื อเยียวยาผูไ้ ด้รับผลกระทบนั้นอย่างรวดเร็ ว เหมาะสม และเป็ นธรรม ให้มีกฎหมายว่าด้วยการกําหนดประเภท กรอบการเจรจา ขั้นตอนและวิธีการจัดทําหนังสื อ สัญญาที่มีผลกระทบต่อความมัน่ คงทางเศรษฐกิจหรื อสังคมของประเทศอย่างกว้างขวาง หรื อมีผลผูกพัน ด้านการค้า การลงทุน หรื องบประมาณของประเทศอย่างมีนยั สําคัญ รวมทั้งการแก้ไขหรื อเยียวยา ผูไ้ ด้รับผลกระทบจากการปฏิบตั ิตามหนังสื อสัญญาดังกล่าว โดยคํานึงถึงความเป็ นธรรมระหว่างผูท้ ี่ได้ ประโยชน์กบั ผูท้ ี่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบตั ิตามหนังสื อสัญญานั้นและประชาชนทัว่ ไป ในกรณี ที่มีปัญหาตามวรรคสอง ให้เป็ นอํานาจของศาลรัฐธรรมนูญที่จะวินิจฉัยชี้ขาดโดยให้นาํ บทบัญญัติตามมาตรา ๑๕๔ (๑) มาใช้บงั คับกับการเสนอเรื่ องต่อศาลรัฐธรรมนูญโดยอนุโลม” ***************

Page 5


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.