คู่มือการศึกษา Youcat

Page 1

คํานํา (ในการแปลเปนภาษาไทย) YOUCAT เปนหนังสือคําสอนคาทอลิกสําหรับเยาวชน ทีม่ จี ดั พิมพเปนภาษาอังกฤษ ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2011 เซอรมารียหลุยส พรฤกษงาม ไดใชเวลาแปล 2-3 ป ที่สุดไดรวมเลม ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2016 เมื่อมีคูมือการศึกษา YOUCAT โดย Ignatius Press ป ค.ศ. 2013 ในชวงการแพรระบาดไวรัสโคโร นา มีนาคม-พฤษภาคม 2021 คุณครูประภา วีระศิลป ไดแปลคูมือการศึกษานี้ เปนภาษาไทยจนสําเร็จ และขาพเจาไดตรวจทานเรียบรอย ขอขอบคุณคุณครูมา ณ โอกาสนี้ หวังวามีประโยชนชว ยบาทหลวง นักบวช และครูคาํ สอน บรรดาเยาวชนคาทอลิกไทย ในปเยาวชน สําหรับพระศาสนจักรคาทอลิกประเทศไทย ฟ.วีระ อาภรณรัตน ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตศาสนธรรม แผนกคริสตศาสนธรรม 31 พฤษภาคม ค.ศ. 2021

1


คูมือการศึกษา YOUCAT หนังสือคําสอนของพระศาสนจักรคาทอลิกสําหรับเยาวชน เนื้อหา ความนํา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 5 ภาค 1 เราเชื่ออะไร : การยอมรับและการดําเนินชีวิตตามความจริง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 7 ทําไมเราจึงสามารถมีความเชื่อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8 หัวขอที่ 1 : การดํารงอยู . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 8 มนุษยเปดรับพระเจา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 10 หัวขอที่ 2 : ความกระหาย ความปรารถนา และเครื่องดื่มที่เปนนม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 10 พระเจาทรงอยูใกลเรามนุษย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 12 หัวขอที่ 3 : การเปดเผยครั้งใหญ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 12 มนุษยตอบรับพระเจา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 14 หัวขอที่ 4 : การเชื่อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 14 การประกาศยืนยันความเชื่อของคริสตชน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 16 หัวขอที่ 5 : ยืนหยัดเพื่อบางสิ่งบางอยาง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 16 ขาพเจาเชื่อในพระเจาพระบิดา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 18 หัวขอที่ 6 : ธรรมลํ้าลึกอันยิ่งใหญที่สุด . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 18 ขาพเจาเชื่อในพระเยซูคริสตเจา พระบุตรแตพระองคเดียวของพระเจา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 20 หัวขอที่ 7 : ความหายนะ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . 20 หัวขอที่ 8 : หนึ่งในพวกเรา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 22 ขาพเจาเชื่อในพระจิต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 22 หัวขอที่ 9 : ทีมพระจิต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 24 ขาพเจาเชื่อในพระศาสนจักรศักดิ์สิทธิ์ สากล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 26 หัวขอที่ 10 : ผูเลนในทีม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 26 หัวขอที่ 11 : มีอะไรอีก? . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 28 หัวขอที่ 12 : จากนั้นก็มีอยูสี่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 30 2


ภาค 2 เราฉลองธรรมลํ้าลึกของคริสตชนอยางไร : คนพบความศักดิ์สิทธิ์ . . . . . . . . . . . . . . . . . . พระเจาทรงทํางานในเราโดยผานทางเครื่องหมายศักดิ์สิทธิ์ตางๆ . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 1 : หยุด ! . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . พระเจาและพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 2 : งานเลี้ยงฉลองของครอบครัว . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . เราเฉลิมฉลองธรรมลํ้าลึกคริสตชนอยางไร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 3 : เวลานัดหมาย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการเริ่มชีวิตคริสตชน : ศีลลางบาป และศีลกําลัง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 4 : ในเมืองใหมหรือ? . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . ศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการเริ่มชีวิตคริสตชน : ศีลมหาสนิท . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 5 : อาหารบางอยางสําหรับความคิดเรื่องอาหารสําหรับชีวิต . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการเยียวยารักษา : ศีลอภัยบาป และศีลเจิมผูปวย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 6 : รักษาบาป วิญญาณที่เจ็บปวย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ศีลศักดิ์สิทธิ์แหงความเปนหนึ่งเดียวกันและการแพรธรรม : ศีลบวช และศีลสมรส . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 7 : ไมมีเพื่อฉัน ตัวฉัน และฉัน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 8 : เธอถูกสรางมาเพื่อฉัน ฉันถูกสรางมาเพื่อเธอ . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . การเฉลิมฉลองพิธีกรรมอื่นๆ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 9 : สวนประกอบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

33 34 34 36 36 38 38 40 40 42 42 44 44 46 46 48 50 50

ภาค 3 เรามีชีวิตในพระคริสตเจาอยางไร : ใชชีวิตใหเต็มที่ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . เราอยูในโลกนี้ทําไม เราควรทําอะไร และพระจิตเจาทรงชวยเราใหกระทําอยางไร . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 1 : จินตนาการของทุกคน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ศักดิ์ศรีของมนุษย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 2 : คุณธรรมคือรางวัลในตัวของมันเอง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ชุมชนมนุษย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 3 : จุดจบที่โดดเดี่ยว . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . พระศาสนจักร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 4 : ทานไมสามารถใหในสิ่งที่ทานไมมี . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

53 54 54 56 56 58 58 60 60

3


ทานจะตองรักองคพระผูเปนเจาพระเจาของทาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 5 : ใหทั้งหมดที่เปนของทาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ทานจะตองรักเพื่อนมนุษยเหมือนรักตนเอง . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 6 : เขาไมใชภาระ เขาเปนพี่นองของฉัน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 7 : ดําเนินงานตามคูมือ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . หัวขอที่ 8 : ความจริงหรือ? คืออะไร? . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

62 62 64 64 66 68

ภาค 4 เราควรภาวนาอยางไร : เขาสูการสนทนาที่ยอดเยี่ยม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 71 ภาวนาอยางไร : พระพรแหงการประทับอยูของพระเจา . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 72 หัวขอที่ 1 : ความอึกทึก และ ความเงียบ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 72 หัวขอที่ 2 : ใช ! . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 74 บอเกิดแหงการภาวนา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 76 หัวขอที่ 3 : จําไมได . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 76 วิธีการภาวนา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 78 หัวขอที่ 4 : ขอมูลที่สําคัญยิ่ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 78 บทภาวนาขององคพระผูเปนเจา : บทขาแตพระบิดา . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 80 หัวขอที่ 5 : บุตร : รักบิดาของทาน . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 80 หัวขอที่ 6 : ฉันตองการ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 82

4


ความนํา ขอตอนรับสูคูมอื การคึกษาYOUCAT สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต ไดขอใหทานศึกษา YOUCAT ซึ่งยอมาจาก Youth Catechism of the Catholic Church YOUCATเปนหนังสือคําสอนระดับโลกเลมแรกที่ออกแบบเฉพาะและสําหรับคน หนุมสาว จากพื้นฐานของหนังสือคําสอนพระศาสนจักรคาทอลิก YOUCAT เขียนขึ้นในลักษณะและรูปแบบ เพื่อเยาวชน ซึ่งมีการแปลหลายภาษา และจัดจําหนายไปทั่วโลก ผลที่ตามมาคือ YOUCATกําลังเกิดผลอยาง มากตอเยาวชนคาทอลิกในทุกหนทุกแหง โดยชวยพวกเขาใหรูจักและรักพระเยซูคริสตเจาและความเชื่อของ พระศาสนจักรที่พระองคทรงตั้งขึ้น ไมชา เกิน ไปสํ าหรั บ คาทอลิ กที่ จะรูจั กความเชื่อ ของพวกเขามากกวา ที่เคยเป นมา ดั งที่ สมเด็ จ พระสันตะปาปาเบเนดิกต ที่ 16 ทรงเขียนไวในคํานําของหนังสือเลมนี้วา “ใช พวกเธอตองฝงรากลึกลงใน ความเชื่อใหมากกวารุนพอแมของพวกเธอ เพื่อจะไดสามารถตอสูกับความทาทายและสิ่งลอใจในเวลานี้ ดวย ความกลาหาญและมุงมั่น” คูม อื การศึกษานีอ้ อกแบบมาเพือ่ ชวยเปดYOUCATจากหนาแรกไปจนถึงหนาสุดทาย คําถามทีเ่ ปนการ ตรวจสอบและแบบฝกหัดที่กระตุนความคิดจะชวยใหทา นอานYOUCATดวยความเขาใจและความชื่นชมยินดี เพื่อกระชับความสัมพันธกับพระเจาผูทรงรักทานและมีแผนการสําหรับความสุขของทาน

5


วิธีใช YOUCAT คูม อื การศึกษานีแ้ บงออกเปนสีภ่ าคตามแบบหนังสือYOUCAT ซึง่ เปนสีเ่ สาหลักเดียวกันกับของหนังสือคําสอน พระศาสนจักรคาทอลิก ซึ่งเปนรูปแบบของคูมือนี้ ในสวนตางๆ สามารถศึกษาตามลําดับใดก็ได ที่ดีที่สุดคือใหคูมือ การศึกษานี้นําทานไปสู YOUCAT ทั้งเลม โดยเริ่มตั้งแตจุดเริ่มตนและดําเนินการในแตละสวนตามที่มา สี่สวนหลักของทั้งหนังสือคําสอนและคูมือการศึกษานี้สามารถสรุปไดดังนี้ : 1. เราเชื่ออะไร 2. เราเฉลิมฉลองสิ่งที่เราเชื่ออยางไร 3. เราเจริญชีวิตตามที่เราเชื่ออยางไร 4. เราภาวนาอยางไร สําหรับแตละสวนนั้นคูม ือการศึกษานี้มหี ัวขอใหศึกษามากมาย การอภิปราย การไตรตรองเพิม่ เติม และการ ประยุกตใชในชีวิตประจําวันของทาน ในแตละหัวขอ งานแรกคือการอาน YOUCAT เพื่อชวยทานในสิ่งเหลานี้ มีคําแนะนําสั้นๆ เกี่ยวกับหัวขอ (กลาวนํา) ตามดวยอานสิ่งที่มอบหมาย(เนื้อหา) และตอบคําถามสั้นๆ(ตอบคําถาม) ในดานขางของแตละขอใน YOUCATมีคําอางอิงจากขอความในพระคัมภีร เพื่อชวยทานในการอานและไตรตรอง มีคําถามสองสามขอเกี่ยวกับ ขอความเหลานี้ เชนเดียวกับขอความในพระคัมภีรท ี่สําคัญอื่นๆ (พระคัมภีร) ตอจากนั้น มีคําถามเพื่อการสนทนาที่ สามารถตอบไดทั้งในกลุมใหญหรือกลุมยอย(พูดคุยกับเพื่อน) สําหรับการไตรตรองเพิ่มเติมมีคําถามที่ตองตอบไมวา จะในกลุมสนทนาของทานหรือไตรตรองดวยตนเอง(ไตรตรอง) ตามดวยงานที่ตองทําในสัปดาหตอไปซึ่งจะชวยให ทานประยุกตใชสิ่งที่ไดเรียนรู (สิ่งทาทาย)

6


ภาค 1 เราเชื่ออะไร การยอมรับและการดําเนินชีวิตตามความจริง


ทําไมเราจึงสามารถมีความเชื่อ การไตรตรอง

หัวขอที่ 1 : การดํารงอยู กลาวนํา ทําไมฉันจึงมาอยูที่นี่? ฉันมาจากไหน? จุดมุงหมายในชีวิตของฉัน คืออะไร? เราทุกคนถามคําถามเหลานี้เกี่ยวกับการดํารงอยูของเรา ไมใชพวกเราอยางเดียวที่สงสัยเกี่ยวกับความหมายของชีวิต ความ จริง ผูคนถามคําถามทีน่ างงงวยเหลานี้มาหลายพันปแลว และพวก เขากําลังมองหาคําตอบในศาสนาและปรัชญา เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 1-2 ตอบคําถาม 1. สามสิ่งที่ขอ 1 กลาวไววาพระเจาทรงสรางเราใหกระทําในขณะ ที่เราอยูในโลกนี้คอื อะไร? 2. เพื่อชวยเราใหพบทางกลับบานสูส วรรค พระเจาทรงทําอะไรเพือ่ เรา? 3. จากขอ 2 เพราะเหตุใดพระเจาจึงทรงสรางเรามาและทรงสง พระเยซูเจามาเพื่อนําเราสูสวรรค? พระคัมภีร 1. ใน ยน 14:16 พระเยซูเจาตรัสวาพระองคเปนใคร? 2. ในจดหมายถึงทิโมธี (1 ทธ 2:4) นักบุญเปาโลกลาววาพระเจา ทรงมีพระประสงคอะไร? 8

พระเจาทรงสรางเรามาดวยความรัก เพราะพระเจาทรงเปนความรัก ความ รักที่แทจริงปรารถนาสิ่งที่ดีใหกับผู ที่ตนรัก พระเจาทรงสรางเราใหได รับความรัก และรักโดยมีสวนรวมใน คุณความดีของพระองค พระองคทรง กระทําแบบนี้เพราะทรงทราบวาเปน สิ่งดีสําหรับเรา พระองคทรงทราบ วาสิ่งนี้จะทําใหเรามีความสุข ในที่สุด ชีวิตของเราจะเริ่มเขาใจความหมายก็ ตอเมื่อเรายอมรับความเปนจริงของ ความรักของพระเจาที่ทรงมีตอ เรา และความปรารถนาของพระองคที่มี ตอเราคือใหเรารักตอบพระองค มิใช เพื่อประโยชนของพระองค แตเพื่อ ประโยชนของเราเอง 1. เมื่อเรามีความเชื่อมั่นวาพระเจา ทรงสรางเรามาดวยความรักและ ทรงรักเรา สรางความแตกตาง อะไรใหกับเราและคนอื่นๆ? 2. ความหวังในสวรรคของเรามีผ ล ต อ วิ ธี ที่ เ รามี ป ระสบการณ แ ละ ดําเนินชีวิตบนโลกนี้อยางไร? 3. ทานเคยรักใครสักคนที่เขาปฏิเสธ ความรักของทานหรือไม? ถาเคย ทานรูสึกอยางไร? ถาไมเคย ทาน คิดวาทานจะรูสึกอยางไรถาสิ่งนี้ เกิดขึ้นกับทาน?


พูดคุยกับเพื่อน 1. จากขอ 1 และ ขอ 2 มีสิ่งใดใหมสําหรับทาน? ถามี คือ อะไร? ถาไมมี ใหใชคาํ พูดของทานเองอธิบายวาคําถาม และคําตอบนั้นหมายถึงอะไร? 2. จากขอ 1 และขอ 2 อะไรคือสิง่ ทาทายทีส่ ดุ สําหรับความ เชื่อของทาน? สิ่งทาทาย ขอควรจํา : เตือนตนเองทุกวันในสัปดาหน้ีวา พระเจา ทรงสรางทานมา ทรงรักทาน และตองการใหทานรูจัก และรักพระองคดวย การมอบตนเอง : ทุกเชา มอบตลอดทั้งวันไวกับพระเจา และขอพระองค ชวยนํา ทางใหท  า น ขอพระองค ท รง ประทับอยูในชีวิตแตละวันของทาน ขอสังเกต : เมื่อสิ้นสุดในแตละวัน บันทึกวาพระเจาทรง ทําสิ่งดีๆอะไรบางสําหรับทาน และขอใหทานทําแบบ เดียวกันในสภาพการณชีวิตของทาน

9

............................................................ ............................................................ ............................................................ ........................................................... ........................................................... ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................


มนุษยเปดรับพระเจา การไตรตรอง

หัวขอที่ 2 : ความอยาก ความปรารถนา กลาวนํา ทานเคยอยากทานอะไรบางอยางหรือไม? พิซซา เบอรเกอร ไอศกรีม หรืออาจจะเปนเครื่องดื่มที่เปนนม? ความอยากหรือความปรารถนา อาหารและเครื่ องดื่มเปนสวนหนึ่งของชี วิตมนุษย เรายังมีความ ปรารถนาในสิ่งอื่นๆ เชน ความมั่งคั่ง สุขภาพ ความรัก มิตรภาพ ความรู และงานที่มีความหมาย คนสวนใหญมักจะบอกวาพวกเขา ตองการสิ่งตางๆ เพื่อที่จะอยูบนโลกใหมีความสุข แนนอนวาผูค นก็มีความอยากในสิง่ ที่ผดิ เชนกัน สิ่งทีเ่ ปนอันตรายตอ พวกเขาหรือสิ่งทีด่ มี ากเกินไปซึง่ อาจทําใหพวกเขาเจ็บปวดได ยิ่งกวา นั้น แมวา ผูค นจะมีสิ่งที่ตอ งการเพือ่ ใหมคี วามสุขในชีวติ นี้ แตพวกเขา ก็พบวาตัวเองไมพอใจในระดับที่ลึกลงไป พวกเขาตองการบางอยาง ที่มากกวา ที่คงทนถาวร ความสุขที่ยั่งยืน และมีมิตรภาพกับคนที่ เขาใจทุกอยางและนําความสุขที่สมบูรณมาให เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 3, 281และ 285 ตอบคําถาม 1. นักบุญออกัสติน กลาวถึงหัวใจของมนุษยไววาอยางไร?(ดานขาง ขอ 284) 2. อธิบายวาความสมหวังในความปรารถนาในชีวิตนี้เปรียบเทียบกับ ชีวิตหนา? 3. จากขอ 285 เราตองการอะไรเพื่อใหไดมาซึ่งความสุขนิรันดรที่ สมบูรณ? 10

เราทุกคนมีความโหยหา เราถูกสรางขึ้น มาพรอมกับสิ่งนี้ ผลจากบาปของมนุษย ทําใหบางครัง้ ความปรารถนาของเราทําให เราเขาใจผิด สิ่งตางๆ สามารถกลายเปน ควา มปร าร ถนา ที่ ไม เ ป นระ เบี ย บ ปรารถนาในสิ่ ง ที่ จ ริ ง ๆ แล ว เป น การ ทํารายเรา หรือปรารถนามากเกินไปในสิ่ง ที่ดสี ําหรับเรา ความปรารถนาอาจขัดแยง กันทําใหเราสับสน โดยทางพระเจาเทานัน้ ที่เราสามารถแยกแยะความปรารถนา ของเราออกมาอยางสมบูรณ และบรรลุ ความสําเร็จอยางสมบูรณ สภาสังคายนา วาติกนั กลาววา “มนุษยจมดิ่งลงไปในสวน ลึกของความเปนจริงเมือ่ ใดก็ตามที่เขาเขา มาในหัวใจของเขาเอง พระเจา ผูท รงตรวจ สอบหัวใจรอเขาอยูท่นี ่นั ทีน่ ่นั เขามองเห็น ชะตากรรมที่เหมาะสมของเขาภายใตสาย พระเนตรของพระเจา” (GS 14) พระเจา ทรงรอเราอยูในสวนลึกของจิตใจเพื่อชวย แยกแยะความปรารถนาของเรา เพือ่ ตอบ สนองความมุงหมายที่แทจริงของเรา 1. สิ่ ง ที่ ท า น กํ า ลั ง มอ ง ห า ใ นค วาม ปรารถนาที่ลึกที่สุดในหัวใจของทา น คืออะไร? 2. ทานจะพูดคุยกับพระเจาเกี่ยวกับความ ปรารถนาที่ ลึ ก ซึ้ ง ที่ สุ ด ของท า นได อยางไร?


พระคัมภีร 1. อาน กท 5:16-24 เมื่อนักบุญเปาโลอางถึง “เนื้อหนัง” ทานมิไดหมายถึงเพียงแค “รางกายมนุษย” ทานหมาย ถึงสวนหนึง่ ของธรรมชาติมนุษยทต่ี กตํา่ ซึง่ ปลอยใหแรง กระตุน ที่ ต่ํ ากวาของธรรมชาติท างรา งกายของเรา ครอบงําความรูส ึกทีด่ ีของเราและนําเราไปสูการเลือก สิ่งไมดี สิ่งที่เปน “กิจกรรมของธรรมชาติมนุษย” นั้น นักบุญเปาโลไดบอกไวใน กท 5:19-21 วาอยางไร? 2. “ผลของพระจิต” ที่นกั บุญเปาโล กลาวไวใน กท 5:2223 คืออะไร? 3. เพลงสดุดที ่ี 37:4 กลาวถึงความปรารถนาของหัวใจของ เราไววาอยางไร? พูดคุยกับเพื่อน 1. สิ่งที่ยากที่สุดในเรื่อง ความอยาก ความปรารถนา และความโหยหาคืออะไร? 2. มีอะไรที่ยากเปนพิเศษสําหรับคนหนุมสาวในปจจุบัน เมื่อตองรับมือกับความปรารถนา? 3. มีความสบายใจไหม เมื่อรูวามีคําตอบที่จะตอบสนอง ความปรารถนาที่ลึกซึ้งที่สุดของทาน? อธิบาย สิ่งทาทาย ขอบคุณ : ดูแลตัวเองดวยอาหารหรือเครือ่ งดื่มทีท่ า นชอบ ในสัปดาหนี้ ขอบคุณพระเจาสําหรับสิ่งนี้และใหมันเตือน ทานวาในที่สุดพระเจาทรงทําใหหัวใจมนุษยพอใจ ถาม : เขียนจดหมายถึงพระเจาเกี่ยวกับความปรารถนา ที่ลึกที่สุดในใจของทาน และขอใหพระองคตอบสนอง ความปรารถนาเหลานั้นตามแผนการอันชาญฉลาดของ พระองคสําหรับชีวิตของทาน แสวงหา : เลิกนิสัยไมดีที่มีเพียงความชั่วครั้งชั่วคราว เทานั้นที่เติมเต็มความปรารถนา แสวงหาความชวยเหลือ ของพระเจาเพื่อชวยในการเอาชนะนิสัยที่ไมดีโดยแทนที่ ดวยนิสัยที่ดี 11

............................................................ ............................................................ ............................................................ ........................................................... ........................................................... ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................


พระเจาทรงอยูใกลเรามนุษย การไตรตรอง

หัวขอที่ 3 : การเปดเผยครั้งใหญ กลาวนํา ทานอาจเคยดูรายการทีวีที่มีตัวละครลึกลับซึ่งมีตัวตนที่ผูชมอยาก รู ทานอาจคิดวาทานมีสิ่งที่คิดออก แตทานไมแนใจ ในที่สุดก็มี ตอนสําคัญทั้งหมดที่เปดเผยความจริง บางครั้งการเปดเผยนี้เรียก วา “การเปดเผยครั้งใหญ” ตอนนี้เรื่องราวมีเหตุผลมากขึ้น ทานได เห็นตัวละครและเรื่องราวของพวกเขาในรูปแบบใหมทั้งหมดกลาย เปนตัวตนของตัวละครลึกลับที่ถูกเปดเผย ในบางวิธี พระเจาทรงเปนเหมือนตัวละครลึกลับในรายการทีวี ตลอด ประวัติศาสตรผูคนมีความคิดที่หลากหลายเกี่ยวกับพระองค บอย ครั้งที่บาปเขามาขวางทาง และผูคนไดรับบาดเจ็บ ทําใหพระเจา อยูรวมกับพวกเขาแบบที่เขาตองการใหพระองคเปน มากกวาที่จะ รูจักพระองคอยางที่พระองคทรงเปน ดวยเหตุผลนี้และเหตุผลอื่นๆ พระเจาทรงเลือกที่จะเปดเผยบางสิ่งเกี่ยวกับพระองคเอง พระองค ทรงคอยๆทําเชนนี้จนในที่สุด “การเปดเผยครั้งใหญ” มาถึง พระ เยซูคริสตเจา โดยทางพระเยซูเจา เราสามารถรูจักพระเจาอยางที่ พระองคทรงเปนอยางแทจริง เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 5,7 และขอ 9-10 ตอบคําถาม 1. จากขอ 5 เหตุผลใดบางคนจึงปฏิเสธวาพระเจามีอยูจริง? 2. ทําไมพระเจาจึงทรงเปดเผยพระองคเองแทนที่จะปลอยใหเรา คิดดวยตัวเองวาพระองคทรงมีอยูจริง? 12

คํา ว า “การเปดเผย” เกี่ ย วขอ งกับ คํ า วา “การเผยแสดง” พระเจาทรงเปดเผย พระองคแกเรา บอกเราในเรื่อ งที่ เกี่ยว กับพระองค ในการเผยแสดงของพระเจา การเผยแสดงที่สมบูรณที่สุดของพระองค คือพระเยซูคริสตเจา ผูทรงเปนทั้งพระเจา และมนุษ ย เมื่ อพระเจ าทรงเผยแสดง พระองคเอง พระองคทรงบอกเรื่องของ พระองคใหกับเรา และในเรื่องที่เกี่ยวกับ ตัวของเราเองดวยวา เรามาจากไหน สิ่ง ที่พระเจาทรงปรารถนาสําหรับเรา สิ่งที่ เราสามารถเปนได พระองคทรงบอกเรา เกี่ยวกับพระองคเองใหมากที่สุดเทาที่เรา จะรับไดเมื่อพระองคมาเปนหนึ่งในพวก เรา พระเยซูเจา 1. เมื่อคิดถึงคําวา “พระเจา” ภาพใดอยู ในใจของทาน? แลวคิดเกี่ยวกับพระเยซู เจา การคิดเกี่ยวกับพระเยซูเปลี่ยนวิธี คิดเกี่ยวกับพระเจาหรือไม? 2. วิธีท่พี ระเจาทรงสําแดงพระองคในชีวติ ของทานคืออะไร? 3. การเผยแสดงของพระเจาในพระเยซู คริ ส ตเจ า ทํ า ให เ กิ ด ความแตกต า ง อยางไรในชีวิตของทาน ในวิธีที่ท าน มองโลก ในทางเลื อ กที่ ท  า นเลื อ ก และในสิ่งที่ทานหวัง?


3. พระเจาทรงทําใหการเปดเผยขั้นสุดทายของพระองค สํ าเร็ จตามขอ 7 อยา งไร? ทํ าไมพระองค จึ ง ทรง กระทําเชนนั้น? (ขอ 9) 4. การเผยแสดงสวนบุคคลแตกตางจากการเผยแสดงของ พระเยซูคริสตเจาอยางไร? (ขอ 10) พระคัมภีร 1. อาน ยน 1:1-18 ตามพระวรสารของนักบุญยอหน 1:18 เรารูจักพระเจา พระบิดาไดอยางไร? 2. ทานคิดวาพระเยซูเจาทรงหมายถึงอะไรเมื่อพระองค ตรัสวา “ผูที่เห็นเรา ก็เห็นพระบิดาดวย” ยน 14:9? พูดคุยกับเพื่อน 1. พระเจาทรงเผยแสดงพระองคเองแกมนุษยอยางไร? 2. พระเจาทรงยังคงทําใหการประทับอยูข องพระองคเปน ที่รูจักสําหรับเราในปจจุบันดวยวิธีใด? 3. พระศาสนจักรเผยแสดงการประทับอยูของพระเจาให กับเราอยางไร? 4. พระเจาตรัสกับเราทางพระคัมภีรอยางไร? สิ่งทาทาย ภาวนา : ในสัปดาหนี้หาเวลาไปรวมพิธีบูชามิสซาเพิ่มอีก หนึ่งวันนอกเหนือจากวันอาทิตย เปนวิธีการพูดวา “ใช” กับการเผยแสดงของพระเจาในพระเยซูคริสตเจา การเรียนรู : อาน ยน 17:1-26 ลองคิดดูวาพระวาจาของ พระเยซูเจาตอนนี้ สะทอนใหเห็นถึงการเผยแสดงอยาง สมบูรณของพระเจาอยางไร? ตัดสินใจ : คิดถึงแผนการของพระเจาสําหรับชีวติ ของทาน และตัดสินใจวาทานจะกระทําในสิ่งที่พระเจาตองการให ทานทํา

13

............................................................ ............................................................ ............................................................ ........................................................... ........................................................... ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................


มนุษยตอบรับพระเจา หัวขอที่ 4 : การเชื่อ กลาวนํา บางคนคิดวาความเชื่อทางศาสนาหมายถึงการเชื่อในสิง่ ที่เรารูวา ไม เปนความจริง นี่เปนเรื่องไรสาระ ถาเธอมีความเชื่อในเพื่อนของเธอ คือเธอมีความเชือ่ ในพวกเขา ไมไดหมายความวาเธอมีความมัน่ ใจใน ตัวพวกเขาและเธอเชื่อใจพวกเขาหรือ? และไมใชเปนความไววางใจ แบบที่รูจักความจริงเกี่ยวกับพวกเขา ที่ขึ้นอยูกับประสบการณและ ความสัมพันธของเธอกับเพื่อนๆหรือ? นี่ไมใชการเชื่อในบางสิ่งที่ เธอรูวาไมจริง ถาเพื่อนคนหนึ่งบอกเรื่องบางอยางของเขาใหเธอ ฟงทั้งๆที่เธอไมสามารถไปคนหาไดวาจริงหรือไมจริง และเพื่อน ของเธอมีความนาเชื่อถือและไวใจได แลวเธอก็รูอะไรเกี่ยวกับเขา อยางแทจริง แมวาเธอจะตองยอมรับคําพูดของเขาก็ตาม ความ เชื่อคาทอลิกก็คลายกับแบบนี้ เปนการรูจักและความไววางใจใน พระเจาเมื่อพระองคทรงบอกเราเกี่ยวกับพระองคเองและเกี่ยวกับ ตัวเราเอง เพราะการเชื่อแบบนี้ต้ังอยูบนความไววางใจที่สมเหตุ สมผล ไมใช “ความเชื่อแบบคนตาบอด” และแนนอนวาไมเชื่อในสิ่ง ที่เรารูวาไมเปนความจริง เนื้อหา

อาน YOUCAT ขอ 20-22

ตอบคําถาม

1. จากขอ 20 เธอจะตอบรับพระเจาอยางไร? 2. เพื่อที่จะมีความเชื่อตองการหัวใจแบบใด? 3. อธิบายความหมายสองประการของ “ความเชื่อ” ที่นักกระโดดรม ไดใหไวเปนแบบอยางในขอ 21

14

ไตรตรอง ความเชื่ อ เป น พระพรเหนื อ ธรรมชาติ ที่ เ กิ น ความสามารถตามธรรมชาติ ของเรา เราสามารถเชื่อ เพราะพระ จิ ต ของพระเจ า ทรงทํ า ให เ รามี ค วาม สามารถนี้ ความเชื่อเปนธรรมลํ้าลึกที่ เกี่ยวเนื่องกับการเลือกของเราที่จะตอบ สนองตอพระเจาและการเผยแสดงของ พระองค(พระวาจาของพระองค) เมื่อ เรามีความเชื่อ เราตอบรับพระเจา ดวย วิธีนี้ ความเชื่อเปนการมอบตัวเราคืนให กับพระเจาแบบหนึ่ง เพื่อตอบสนองตอ พระพรที่พระองคทรงสรางเรามา และ ทรงประทานพระองคเองใหกับเรา 1. ถา ความเชื่ อ เป น พระพรของพระเจ า หมายความว า ผู  ที่ ไ ม เ ชื่ อ ไม ไ ด รั บ พระพรนี้ ห รื อ ? เพราะอะไรจึ ง ได รั บ หรือเพราะอะไรจึงไมไดรับ? 2. การที่มีความเชื่อในใครบางคนคือการ มอบตนเองใหกับบุคคลผูนั้นหรือ? ผู มีความเชื่อในพระเจามอบตนเองใหกับ พระเจาอยางไร?


พระคัมภีร

1. ตามจดหมายนักบุญเปาโลถึงชาวฮีบรู 11:1 ความเชื่อ คืออะไร? 2. ตามที่นักบุญเปาโลกลาวไวใน 2 คร 5:7 ทานคิดวาหมาย ถึงอะไร? 3. พระวรสารนักบุญยอหน 3:16 เชื่อ มโยงความเชื่อ และ พระเยซูเจาอยางไร?

พูดคุยกับเพื่อน

1. ลักษณะของความเชื่อ 7 ประการที่กลาวไวในขอ 21 เธอ คิดวาลักษณะใดที่เขาใจยากที่สุด? 2. ความเชื่อในเพื่อนของเรานั้นไมแนนอน เรารูวาพวกเขา ไมไดสมบูรณแบบและในบางครั้งทําใหเราผิดหวัง ความ เชื่อ ในพระเจ า แตกต า งจากความเชื่อ ในเพื่ อ นของเรา อยางไร? 3. เธอเคยระแวงเพื่ อ นของเธอ หรื อ สถานการณ บ าง อย า งทํ า ให เ ธอระแวงพวกเขาหรื อ ไม ? เธอสามารถ นําประสบการณแบบนี้มาใชกับความเชื่อในพระเจาและ ทาทายชีวิตของเธอไดอยางไร? 4. ในขอ 21 บอกวาความเชื่อ “เปนความรู”และ “ความ ไววางใจ” เธอมีคิดเห็นอยางไร?

สิ่งทาทาย

คิดและภาวนา : ในสัปดาหนี้ ใหคิดวาสวนใดของความเชื่อ คาทอลิก ที่ทา นคิ ด ว ามีค วามยากลําบากที่จะยอมรับ ให ภาวนาขอความชวยเหลือจากพระเจาใหทรงชวยเหลือทาน เพื่อใหเขาใจและมีความเชื่อเพิ่มมากขึ้น เรียนรู : ถามผูปกครอง พระสงฆ ครูคาํ สอน หรือบุคคลอืน่ ๆที่ มีความรูเรื่องคาทอลิกใหชว ยอธิบายความเชื่อคาทอลิกที่เธอ พบวามีความยากลําบากที่จะยอมรับ กลับไปอานเนื้อหาของ หัวขอนี้อีกสักครั้ง (ขอ 20-22)

15

............................................................ ............................................................ ............................................................ ........................................................... ........................................................... ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................


การประกาศยืนยันความเชื่อของคริสตชน หัวขอที่ 5 : ยืนหยัดเพื่อบางสิ่งบางอยาง กลาวนํา มีกลาวไววา “ผูท่ไี มยืนหยัดเพื่ออะไรเลย ก็จะกลายเปนเหยื่อไป ตลอด” การยืนหยัดในสิ่งที่เราเชื่อ สําหรับความเชื่อของเรา เปน สิ่งสําคัญ บางคน “ความเชื่อ” คือบทสรุปความเชื่อพื้นฐานของเขา วิธีหนึ่งที่เราคาทอลิกยืนหยัดเพื่อความเชื่อของเราคือการประกาศ ยืนยันความเชื่อ เราทําสิ่งนี้โดยการสวดบทยืนยันความเชื่อในพิธี บูชามิสซาในวันอาทิตย ซึ่งโดยปรกติแลวเราจะยืนขึ้นเมื่อเราสวด บทภาวนานี้ บทยืนยันความเชือ่ เปนสิง่ ทีเ่ รายืนยันเปนกลุม แตกเ็ ปน สิ่งที่เราแตละคนยืนยันเปนสวนตัว นี่คอื เหตุผลที่ทาํ ไมเราจึงยืนยัน ความเชื่อรวมกันในบทยืนยันความเชื่อในบูชามิสซาที่เราแตละคน กลาววา “ขาพเจาเชื่อ” เนื้อหา

อาน YOUCAT ขอ 24-29

ตอบคําถาม

1. เหตุใดพระศาสนจัก รจึ งสรุป ขอความเชื่อไวในรูปแบบของ “บท ยืนยันความเชื่อ”? 2. บทยืนยันความเชื่อสองบทที่เปนหลักของพระศาสนจักรคืออะไร? 3. ระบุความเชื่อหลักของคริสตชนเกี่ยวกับบทยืนยันความเชื่อทั้งสอง อยางละเอียด

16

การไตรตรอง บทยืนยันความเชื่อเปนมากกวาบทสรุป ของความเชื่อคริสตชน เมื่อเราสวดบทนี้ ในพิธีบูชามิสซา บทยืนยันความเชื่อนี้เปน บทภาวนา หลังจากเราไดรับฟงพระวาจา ของพระเจาแลวและไดรบั การอธิบายพระ วาจาจากการเทศน ตอนนี้ถงึ คราวที่เราจะ พูดกับพระเจา การประกาศยืนยันความ เชื่อเปนโอกาสใหเรายืนยันความเชื่อของ เราตอหนาพระเจาและตอหนาผูอ นื่ ในพระ ศาสนจักร และยังเปนโอกาสใหเราเตือน ตัวเราเองวาเราเปนใคร เราเชื่ออะไร และ เรามารวมบูชามิสซาทําไม 1. การสวดบทยืนยันความเชื่อในพิธีบูชา มิสซาจะแตกตางกันอยางไร หากทุก คนที่ชุมนุมตระหนักวาพวกเขายืนยัน ความเชื่อของพวกเขาตอหนาพระเจา เอง? 2. ความจริงที่วาการสวดบทยืนยันความ เชื่อ เปน การภาวนาตอ พระเจ า และ เปนคํากลาวถึงความเชื่อหลักของเรา ที่แสดงถึงความเชื่อ ในพระเจา ที่ เ ปน ทั้งความไววางใจและและรูปแบบของ ความรูอยางไร? 3. การมี ค วามชั ด เจนเกี่ ย วกั บ สิ่ ง ที่ เ ชื่ อ จะชวยใหบุคคลหลีกเลี่ยงการหลงผิด ไดอยางไร?


พระคัมภีร

1. ใน มธ 10:32-33 ไดกลาวถึงการยืนยันความเชื่อในพระ เยซูคริสตเจาไวอยางไร? 2. อาน 1 คร 15:3-8 และ 1 ทธ 3:16 ขอความในพระ คัมภีรเหลานี้มีลักษณะคลายหรือรวมความเชื่อตางๆใน สมัยแรกเริ่มอยางไร?

พูดคุยกับเพื่อน

1. บอกจากพระศาสนจักรคาทอลิกแลว ทานอยูในกลุมใด ที่มีขอความเกี่ยวกับความเชื่อหรืออุดมคติหรือไม? บอก ชื่อองคกรอื่นพรอมกับระบุความเชื่อหรือความเชื่อที่เปน แถลงการณ 2. เหตุใ ดจึ ง มี ก ารเน น ว า “ข า พเจ า เชื่ อ ” แทนที่จ ะเป น “เราเชื่อ”? 3. เรากลาวคําวา “ขาพเจา เชื่อ” กี่ครั้งในบทยืนยันความ เชื่อ? ทานคิดวาคํานี้ถูกใชในที่ที่เหมาะ ซึ่งตางจากความ เชื่ออื่นๆที่กลาวในบทยืนยันความเชื่ออยางไร?

สิ่งทาทาย

ขอควรจํา : เมื่อทานไปรวมพิธีบชู ามิสซาในวันอาทิตยนี้ ขอให จําไววา การยืนยันความเชือ่ เปนการภาวนาถึงพระเจาเชนเดียว กับคําแถลงถึงขอผูกพันของบุคคลที่ทํากับที่ชุมนุม อาน คิด และถาม : อานขอ 28-29 อีกครั้ง คิดเกี่ยวกับบท ยืนยันความเชื่อวามีสว นใดที่ท า นเขาใจหรือคิดวามีความ ลํ า บากที่ จ ะยอมรั บ ให ถ ามบาทหลวงที่ วั ด ครู คํ า สอน ผูปกครอง ผูนําเยาวชน หรือบุคคลอื่นๆที่มีความรูเกี่ยวกับ คาทอลิกใหชวยอธิบาย ทองจํา : ถาทานยังทองจําบทยืนยันความเชื่อไมได ถึงเวลา ที่ตองทองจําแลว

17

............................................................ ............................................................ ............................................................ ........................................................... ........................................................... ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ........................................................... ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................ ............................................................


ขาพเจาเชื่อในพระเจาพระบิดา หัวขอที่ 6 : ธรรมลํ้าลึกอันยิ่งใหญที่สุด กลาวนํา

“เปนธรรมลํ้าลึก” เมื่อทานไดยินคําเหลานี้ ทานคิดวาเปนการยอมรับ แบบสุมสี่สุมหาหรือ? หรือบางทีทานอาจจะคิดวาเปนปญหาที่ตองแก เชนเดียวกับในคดีฆาตกรรมลึกลับหรือ? ธรรมลํ้าลึกของพระเจาเปน หัวใจของศาสนาคริสต แตธรรมลํ้าลึกของพระเจาไมใชสิ่งที่เราไม สามารถพูดอะไรไดเลยหรือเปนปริศนาที่ตอ งไข เปนความจริงอันลึกซึ้ง ที่เกินกําลังอันจํากัดของเราทีจ่ ะเขาใจ แตเราสามารถเขาใจบางอยางได เพราะพระเจาทรงบอกเรา แมเราจะไมสามารถเขาใจทุกอยางได เปน เหมือนงานเลี้ยงฉลองที่ไมสิ้นสุดสําหรับความคิดและหัวใจเมื่อเราเจาะ ลึกลงไปในความจริง พระเจาเองทรงเปนธรรมลํ้าลึกที่ยิ่งใหญที่สุด พระองคทรงเปนพระเจาองคเดียว สูงสุด ทรงยิ่งใหญกวาสิ่งอื่นใดที่ สามารถคิดหรือจินตนาการได และพระเจาทรงเผยแสดงพระองควา ทรง เปนสามพระบุคคล พระบิดา พระบุตร และพระจิต พระตรีเอกภาพ พระเจาทรงเปนพระเจาองคเ ดียว แตลึกลับที่มีความรูสึกหลายพระ บุคคล(สามพระบุคคล) ยิ่งกวานั้น เราถูกสรางมาในภาพลักษณของ พระองค ดังนั้น เพื่อที่จะเขาใจตัวเราเอง เราตองเขาใจพระองคในทาง ใดทางหนึ่ง ธรรมลํ้าลึกผานพระองค

เนื้อหา

อานYOUCAT ขอ 30, 33 และขอ 35-39

ตอบคําถาม

1. จากขอ 30 ทําไมจึงมีพระเจาพระองคเดียว ยิ่งใหญ หรือสูงสุด มากกวาพระองคเดียวไมได? 2. จากขอ 33 ผลที่ตามมาของความจริงวาพระเจาทรงเปนความรัก คืออะไร? พระองคทรงพิสูจนใหเห็นอยางไร?

18

ไตรตรอง ธรรมลํ้ าลึ ก เรื่อ งพระตรีเ อกภาพเผย แสดงอยางมากเกี่ยวกับพระเจาและ เกี่ยวกับตัวเรา ตั้งแตเราถูกสรางขึ้นมา ในภาพลักษณของพระเจา ทั้งสามพระ บุ ค คลเปนพระเจ าเดียวและตางเทา เสมอกัน แตละพระบุคคลเปนพระเจา แตกตางกัน และมีลักษณะเฉพาะตั้งแต นิรันดร พระบิดาทรง“ทําใหเกิด”พระ บุตร พระบุตรทรงมาจากพระบิดา และ พระจิต “ทรงสืบเนื่อง”จากทั้งสองพระ องคและเปนหนึ่งเดียวกับทั้งสองพระ องค แตละพระบุคคลเปนพระเจาและ แตกตางกัน มีลําดับ ชั้นหรือ มีลําดับ ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ในชี วิ ต ภายในของ พระเจ า ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ทั้ ง ความเท า เสมอกันและความแตกตางกัน ความ จริงนี้บอกเราวามนุษยทุกคนเทาเทียม กัน แตพวกเขายังมีความแตกตางและ มีลักษณะเฉพาะของตน 1. ธรรมลํ้าลึกของพระตรีเอกภาพบอก เราเรื่องพระบุตรกอนทรงรับสภาพ มนุษยอยางไร? 2. ในพระตรีเอกภาพ ทัง้ สามพระบุคคล เปนพระเจา ทรงเทาเทียมกัน แตละ พระบุคคลมีลักษณะเฉพาะ ซึ่งแตละ พระบุคคลสับเปลี่ยนกันหรือแทนที่ (อานตอ....)


3. ขอ 35 ระบุว า เรารู ว าพระเจา ทรงมีสามพระบุคคล(พระตรี เอกภาพ) จากพระเยซูคริสตเจา พระเยซูเจาทรงเผยแสดงเรื่อง นี้อยางไร? 4. จากขอ 36 ขอเท็จจริงที่วา พระเจาทรงเปนความรักตั้งแตนริ นั ดร กาล มักจะชี้ไปที่ความจริงวาพระเจามิไดอยูโดดเดี่ยวและเพียง ลําพัง แตเปนพระตรีเอกภาพ สามพระบุคคลอยางไร? 5. ทําไมเราจึงเรียกพระเจาวา “พระบิดา”? 6. พระจิตเจาคือใคร? 7. บรรดาอัครสาวกรูจักพระเยซูเจาในฐานะเปนองคพระผูเปนเจา และเปนพระบุคคลที่สองในพระตรีเอกภาพอยางไร?

พระคัมภีร

1. ตามพระวรสารนักบุญมัทธิว 28:19 การประกอบพิธีศีลลางบาป กระทําในนามของผูใด? 2. พระวรสารนักบุญยอหน 1:1 และ 1:14 แสดงวาพระเยซูเจาทรง เปนพระเจาอยางไร? 3. เมือ่ พิจารณาถึงการเผยแสดงของพระเจาถึงพระนามของพระเจา ในหนังสืออพยพ 3:14 คําพูดของพระเยซูเจาใน ยน 8:58 ชี้ให เห็นวาพระองคทรงเปนพระเจาอยางไร? 4. อาน กจ 5:3,32 รม 8:27 และ อฟ 4:30 ขอความเหลานี้บงบอก ไดอยางไรวาพระจิตเจาทรงเปนพระเจา ไมใชแคอาํ นาจหรือพละ กําลัง?

พูดคุยกับเพื่อน

1. ลักษณะใดในโลกของเราทีด่ ลู กึ ลับทีส่ ดุ สําหรับทาน? ความลึกลับ ของธรรมชาติของโลก ใหความนาแปลกใจไหมวาพระเจาผูทรง สรางโลกจะเปนความลึกลับ? 2. มีอะไรบางที่บอกเปนนัยถึงการเรียกพระเจาวา “พระบิดา”? 3. มีอะไรบางที่บอกเปนนัยถึงการเรียกพระเยซูเจาวา “พระบุตร”?

สิ่งทาทาย

คิด : ไตรตรองแตละพระบุคคลในพระตรีเอกภาพในขณะที่ทาน เครื่องหมายกางเขนในการสวดภาวนาของสัปดาหนี้ วอนขอ : สวดภาวนาเพื่อขอใหทา นมีความรักตอพระตรีเอกภาพให มากขึ้น วอนขอแตละพระบุคคลใหชว ยทานใหรจู กั แตละพระบุคคล ใหมากขึ้น ตัดสินใจ : ใหคดิ วาในสัปดาหนี้ทานจะปฏิบัติตอผูอื่นอยางไร ตาม รูปแบบของสามพระบุคคลในพระตรีเอกภาพที่ทรงปฏิบัติตอกัน และกัน ตกลงใจที่จะกระทําตามพระตรีเอกภาพใหมากขึ้น

19

ไตรตรอง (ตอจาก...) กันไมได สิ่งนี้มีความหมายอยางไร สําหรับมนุษยชาย-หญิงที่ถูกสรางขึ้น มาใน ภาพลักษณของพระเจา? 3. พระบุคคลใดในสามพระบุคคลที่ทาน รูสึกวาทานใกลชิดมากที่สุด? เพราะ เหตุใดทานจึงคิดเชนนี้?

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... .....................................................


ขาพเจาเชื่อในพระเยซูคริสตเจา พระบุตรแตพระองคเดียวของพระเจา ไตรตรอง

หัวขอที่ 7 : ความหายนะ กลาวนํา ทานเคยรูสึกเหมือนทุกอยางเปนไปอยางสมบูรณดี ทันใดนั้นความ หายนะก็เกิดขึ้นหรือไม? และเมื่อหายนะนั้นเปนความผิดพลาดของ ทาน และสงผลกระทบตอคนอื่นๆนอกจากทานละ? นั้นคือสิ่งตางๆที่ เริ่มตนกับเผาพันธุมนุษย พระเจาทรงสรางมนุษยคนแรก คือ อาดัม ใหมคี วามคลายคลึงกับพระองคและอยูก บั สิง่ สรางตางๆ พระเจาทรง สร า งสตรี ค นแรก คื อ เอวา จาก”กระดู ก ”ซี่ โ ครงของอาดั ม จาก”กระดูก”ของเขา และ”เนื้อหนัง”จาก “เนื้อหนัง”ของเขา ดวยการ ละเมิดเสรีภาพ อาดัมไดทาํ บาป ซึ่งนําความหายนะมาสูความสัมพันธ ทุกอยางของมนุษย ทัง้ กับพระเจา กับตนเอง กับคูค รอง กับครอบครัว และกับสิ่งสรางทัง้ ปวง บาปของอาดัมสงผลกระทบอยางลึกลับตอลูก หลานของเขา ตอเราทุกคน ชางเปนหายนะ! โชคดี ที่พระเจาทรง จัดการสถานการณเลวรายใหไดมากทีส่ ดุ พระองคทรงสามารถเปลีย่ น สิ่งตางๆใหกลายเปนสิ่งดีสําหรับเรา เนื้อหา

อานYOUCAT ขอ 42, 51,58, 63 และขอ 67-70

ตอบคําถาม 1. จากขอ 42 อธิบายถึงความแตกตางระหวางวิธีทางวิทยาศาสตร และวิธีทางเทววิทยาตอคําถามเรื่องการกําเนิดของมนุษย? คริสต ชนอาจยืนยันทฤษฎีววิ ฒ ั นาการในทางใด? ลัทธิววิ ฒ ั นาการคืออะไร และคริสตชนมองเรื่องนี้อยางไร? 2. จากขอ 51 ทําไมพระเจาจึงยอมใหมีความชั่วรายเกิดขึ้น? 3. อธิบายความรูสึกที่มนุษยถูกสรางมาตามภาพลักษณของพระเจา? 4. จากขอ 63 ที่กลาววา”ฉันมีวิญญาณ”หมายความวาอยางไร? 20

เมื่อเราคิดถึงความชั่วรายในโลก เรามัก จะมุงเนนไปที่ประเด็นวาทําไมสิ่งเลวราย จึงเกิดขึ้นกับคนดี เราไมคอยคิ ดถึง สิ่ ง ดีๆทั้งหลายที่เราไดรับในโลก และถาม วา “ทําไมถึงมีสิ่งดีๆ” และเราแทบไมได คํานึงถึงความดีทั้งหมดที่มีอยูในโลก สิ่ง นัน้ จะไมเกิดขึ้น ถาพระเจาไมทรงอนุญาต ใหสิ่งสรางของพระองคละเมิดเสรีภาพ นั่นไมใชขออางในการทําความชั่ว ดังที่ นักบุญเปาโลกลาววา เราควรจะทําบาป ต อ ไปเพื่ อ พระหรรษทานจะได ม ากขึ้ น กระนั้นหรือ (รม 6:1) แตแสดงใหเห็นถึง พระอานุภาพของพระเจาที่จะทรงพลิ ก ผันสิ่งตางๆ ที่จะนําความดีออกมาจาก ความชั่ว 1. ลองคิดถึงสิ่งดีบางอยางที่พระเจาได ทรงนําออกมาจากการยอมใหความชัว่ มีอยู? ปจจุบนั นีท้ า นจะดํารงอยูไ ดหรือ ไมถาไมเคยมีความชั่วรายเกิ ดขึ้นใน ประวัติศาสตรของมนุษย? อธิบาย 2. ถาพระเจาทรงความดีสงู สุด และความ ดีเปนมาตรฐานที่เราแยกแยะไดวาสิ่ง ใดชั่ว มันสมเหตุสมผลหรือไมที่จะใช การมีอยูข องความชัว่ รายในโลกเพือ่ โต แย งในการดํา รงอยู  ข องพระเจ า?ดู เหมือนวาการเรียกวา“สิง่ ชัว่ ราย”จะสม เหตุ ส มผลก็ ต  อ เมื่ อ มีบ างสิ่ ง ที่ “ดี ” อยางแทจริงหรือ? ทานคิดอยางไร?


5. อธิบายถึงความสัมพันธระหวาง บาป การปฏิเสธความดี การ ปฏิเสธพระเจา 6. การอธิบายเรืองบาปกําเนิด ดังที่บรรยายไวในขอ 68 แตกตาง จากบาปสวนบุคคลของเราอยางไร? 7. พระเจาทรงเอาชนะปญหาเรื่องบาปของมนุษยอยางไร?

พระคัมภีร 1. อาน ปฐก 1:31 สภาพของสิ่งสรางตั้งแตเริ่มแรกเปนเชนไร? 2. อาน ปฐก 1:26-28 พระเจาทรงเชื่อมโยงการสรางมนุษยใน ภาพลักษณของพระองคกับสิ่งใด? 3. อาน ปฐก 3:8 หลังจากบิดามารดาคูแรกของเราไมเชื่อฟง พระเจา พวกเขาทําอะไร? ทานคิดวาเพราะอะไรพวกเขาจึงทํา สิ่งนี้? 4. อาน ปฐก 3:15 ขอความนี้ซอนการกลาวทํานายถึงพระผูไถกู นําไปใชกับพระเยซูเจาและพระมารดาของพระองคอยางไร? พูดคุยกับเพื่อน 1. คริสตชนบางคนมองวาทฤษฏีววิ ฒ ั นาการไมจาํ เปนตองตรงขาม กับหลักคําสอนเรื่องการสรางมนุษยในภาพลักษณของพระเจา พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก ใช แ นวทางอื่ น ข อ ดี ข องแนวทาง คาทอลิกคืออะไร? อะไรคือความทาทายของแนวทางนั้น? 2. ฝายจิตของมนุษยมีวิญญาณทําใหพวกเขาแตกตางจากสัตว อยางไร? สิ่งนี้แสดงวาเรามีเหตุผลที่จะทารุณกรรมสัตวหรือ? ธรรมชาติฝายจิตของเรานํามาซึ่งความรับผิดชอบตอสิ่งสราง หรือ? อธิบาย 3. ทานคิดวาความเขาใจผิดอยางมากของความเชื่อคริสตชนใน เรื่องบาปกําเนิดคืออะไร? สิ่งทาทาย คิดและถาม : คิดถึงผูที่ทําอะไรผิดพลาด แตกลับทําใหเกิดความ ดีกับผูอื่น วอนขอพระเจาทรงชวยทานใหนําความดีออกมาจาก ความชั่วราย สารภาพบาป : ไปสารภาพบาปในสัปดาหนี้ 21

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ขาพเจาเชื่อในพระเยซูคริสตเจา พระบุตรแตพระองคเดียวของพระเจา หัวขอที่ 8 : หนึ่งในพวกเรา กลาวนํา ถาทานชอบเหมือนกับคนสวนใหญ ทานอาจจะคิดวาคนดังที่ทานชื่นชอบ เปน”หนึ่งในพวกเรา” แนนอนวามีเสนหดึงดูดใจบางอยาง หรือชื่อเสียง หรือความสําเร็จของคนดัง ซึ่งพวกเราสวนใหญไมเคยมีประสบการณ แต โดยปรกติ เราตองการใหคนดังที่เราชื่นชอบแบงปนบางสิ่งบางอยางกับ เรา เปนบุคคลที่เราสามารถ “เกี่ยวของได” ในระดับหนึ่ง ไมวาจริงๆแลว พวกเขาเปนอยางไร หรือเปนเพียง “หนึ่งในพวกเรา” ก็เปนอีกเรื่องหนึ่ง เปนการไมถูกตองอยางแนนอนที่จะคิดวาพระเจาเปนคนดัง และชองวาง ระหวางเรากับพระเจานั้นไมมีขอบเขต แตพระเจาก็ยังทรงรักเรามากจน กระทั่งสามารถเอาชนะระยะหางระหวางพระองคกับเรา ผูเขียนเรื่องราว ของประวัตศิ าสตรเขาสูประวัตศิ าสตรในฐานะเปนหนึ่งในตัวละคร ในการ รับสภาพมนุษย พระเจาทรงเปน “หนึง่ ในพวกเรา” เพือ่ เราจะไดมสี วนรวม ในชีวิตและความรักของพระองค พระองคทรงทนทุกขและตายเชนเดียว กับเรา และพระองคทรงกลับเปนขึ้นมาจากความตาย เพื่อวาวันหนึ่งเรา จะกลับเปนขึน้ มาดวยเชนเดียวกัน กลาวคือ พระองคทรงเปน “หนึง่ ในพวก เรา”เพื่อเราจะไดกลายเปนเหมือนกับพระองค บุตรของพระเจา เนื้อหา อานYOUCAT ขอ 73, 76-77, 79-80, 101, 106 และขอ 111 ตอบคําถาม 1. คนจํานวนมากคิดวา “พระคริสตเจา” เปนนามสกุลของพระเยซู แต เปนคําที่เปนพระนามของพระองคอยางแทจริง ตามขอ 73 หมายความ วาอยางไร? และนําไปใชกับพระเยซูเจาอยางไร? 2. จากขอ 76 พระเจาทรงเปนมนุษย ขอ 77 บอกอะไรเราเกี่ยวกับพระ เยซูเจา? 3. การบอกวาพระเยซูเจาทรงบังเกิดจากพระนางมารียพรหมจารีหมาย ความวาอะไร? ความหมายของภาวะตั้งครรภแบบนี้คืออะไร?

22

ไตรตรอง พระเยซู เจาทรงเปน พระเจ า พระองค ทรง “ร ว มสภาวะเดี ย ว”กั บ พระบิ ด า หมายความวาทั้งสองพระองคท รงเปน พระเจาเดียว แตความเชื่อของเราบอก เราวาพระเยซูเจาทรงเปน “หนึ่งในพวก เรา”มนุษยคนหนึ่งอยางแทจริง เรากลาว วาพระเยซูเจาทรงเปน “พระเจาแทและ มนุษยแท” บางคนพบวาเปนเรื่องยากที่ จะเชื่อวาพระเจาทรงประทับอยูทามกลาง พวกเรา อีกหลายคนพบวายากที่จะคิดวา พระเยซูเจาทรงเปนมนุษยอยางแทจริง ดวยขอจํากัดของมนุษยแบบที่มนุษยคน อื่นมี เพียงแตปราศจากบาป การคิดวา พระเยซูเจามีวิธีการกระทําแบบพระเจา และวิธี ก ารกระทํา แบบมนุ ษ ย อ าจเป น เรื่องยาก แตถาเราเก็บความจริงทั้งสอง อยางเกี่ยวกับพระคริสตเจาไวในใจของ เรา ความจริงเกี่ยวกับความเปนพระเจา และความจริงเกี่ยวกับความเปนมนุ ษย ของพระองค เราจะเรียนรูบางอยางเกี่ยว กับพระเจาและเกี่ยวกับตัวเราเอง เราเห็น วาพระเจาทรงรักเรามากแคไหน แมวา เราจะทําสิ่งเลวรายกับพระองคและตอซึ่ง กันและกันก็ตาม พระองคทรงรักเรามาก จนเสด็จมาเปนหนึ่งในพวกเรา และเราจะ เห็นสิ่งนั้นไดโดยการหันหนีจากบาปและ หันไปหาความรักของพระเจา เราสามารถ

(อานตอ....)


4. ขอ 101 อภิปรายถึงการถูกตรึงกางเขนของพระเยซูเจา ใหอธิบาย ถึงความหมายของการสิ้ นพระชนมบนไมกางเขน ทําไมตองเปนไม กางเขน? 5. อธิบายถึงตัว อยา งที่ กล า วถึ งการกลับ คืนพระชนมชีพ ของพระเยซู เจาดังที่สรุปไวในขอ 106

พระคัมภีร

1. อาน ยน 1:1-18 “พระวจนาตถทรงรับธรรมชาติมนุษย และเสด็จมา ประทับอยูในหมูเรา” ขอความนี้หมายความวาอยางไร? 2. พระเยซูเ จ า ทรงรั ก ษาคนอั มพาตใน มก 2:1-12 ชี้ไ ปที่ ความเปน พระเจาของพระองคอยางไร? 3. นักบุญเปาโล กลาวใน กท 4:4-6 เรื่องจุดประสงคของพระเจา พระบิดา ในการสงพระเยซูเจาลงมาในโลกนี้ไวอยางไร? 4. พระเยซูเจาทรงสอนเรื่องการสิ้นสุดของโลกในพระวรสารนักบุญมัทธิว 24:36 ไวอยางไร? 5. ระบุรายชื่อผูที่กลาวถึงใน 1 โครินธ 15:3-9 ที่เปนประจักษพยานถึงการ กลับคืนพระชนมชีพของพระเยซูเจา นักบุญเปาโล ใหความสําคัญกับสิ่ง ใดในการกลับคืนพระชนมชีพของพระเยซูเจาที่กลาวไวใน 1 โครินธ 15:14-19?

พูดคุยกับเพื่อน

1. บางคนคิดวาพระเยซูเจาเปนเพียงคนดีหรือเปนเพียงประกาศกคนหนึ่ง เทานั้น ไมใชพระบุตรของพระเจา อยางที่ทรงอางวาพระองคเปนพระ เยซูเจาตรัสและกระทําสิ่งที่เปนคุณลักษณะของพระองคในพระวรสาร ทานคิดวาทําไมจึงเปนการกลาวเท็จที่จะบอกวาพระองคเปนเพียงคนดี หรือเปนเพียงประกาศกคนหนึ่ง? 2. บรรดาอัครสาวกและเพื่อนๆของพระเยซูเจา เห็นพระองคถูกประหาร อยางไรความปราณีดว ยนํ้ามือของศัตรูของอิสราเอล นั่นไมใชสิ่งทีพ่ วก เขาคาดหวังวาจะเกิดขึ้นกับพระเมสสิยาห จะเปนไปไดแคไหนที่ศิษย ของพระเยซูเจาจะประกาศตอไปวาพระองคเปนพระเมสสิยาหและ พระบุตรของพระเจา ถาพวกเขาไมไดเห็นพระองคทรงกลับคืนพระชนม ชีพ? 3. คริสตชนบางคนใหความสําคัญอยางมากกับการเสด็จมาครั้งที่สอง ของพระเยซูเจา ทานคิดวาพระเยซูเจาจะเสด็จกลับมามีความสําคัญ หรือไม? อธิบาย

สิ่งทาทาย

ภาวนา: วอนขอพระเยซูเจาใหทรงเปนสวนหนึง่ ในชีวติ ของทานในทุกๆดาน เรียน : ทองจํา ยน 1:1 เยี่ยมเยียน : ในสัปดาหนี้ใหหาเวลาเพื่อไปสวดภาวนาและไตรตรองตอ หนาศีลมหาสนิท

23

ไตรตรอง (ตอจาก...) กลายเป น บุ ต รของพระเจา ได โ ดยทาง ความสนิทสัมพันธของเรากับพระเยซูเจา เราสามารถเปนเหมือนพระเยซูและเหมือน พระเจา 1. ทานคิดวาความคิดของผูคนเกี่ ยวกับ พระเจาจะแตกตางอยางไรหากพระเยซู ไมไดเปนหนึ่งในพวกเรา? 2. ทานสามารถพูดไดวาทานมีความสนิท สัมพันธสวนตัวกับพระเยซูเจาหรือ? 3. ความจริ ง ที่ ว  า พระเยซู เ จ า ทรงเป น พระเจาสงผลตอวิธที ที่ า นคิดเกีย่ วกับคํา สอนของพระองคอยางไร? 4. เมื่อทานมีความทุกข ทานเคยคิด ถึ ง ความจริงที่วาพระเจาเองก็ตอ งทนทุกข เชนกัน พระองคทรงประสบกับขอจํากัด ของชีวิตในโลกนี้ และแมก ระทั่งการ ปฏิเสธจากเพื่อนๆ และไดรับอันตราย จากศัตรูของพระองคหรือ?

.............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. .............................................. ..............................................


ขาพเจาเชื่อในพระจิต ไตรตรอง

หัวขอที่ 9 : ทีมพระจิต กลาวนํา หากทานเคยอยูในทีม ทานจะรูวาการทํางานรวมกันเพื่อเปาหมาย รวมกันสามารถทําใหผูคนตื่นเตนได มี “จิตตารมณของทีม” ซึ่ง บางครั้งก็เขามารับหนาที่และสามารถทําใหผูคนใกลชิดกันมาก ขึ้นในขณะที่พวกเขาทํางานเพื่อใหบรรลุเปาหมาย ในทางหนึ่งพระ ศาสนจักรก็เหมือนกับทีมหนึ่ง ทีมของพระเยซูเจา เปาหมายรวม กันของเราคือชวยโลกใหรูจักพระเยซูเจา ติดตามพระองค และ กลายเปนบุตรของพระเจาโดยทางพระเยซูเจา เพื่อใหเราบรรลุ เปาหมายนั้นพระเยซูเจาไดทรงประทานพระจิตของพระองคใหเรา พระจิตเจา แตพระจิตเจานั้นยิ่งใหญกวา “จิตตารมณของทีม” ใดๆ พระองคไมไดเปนผลมาจากความกระตือรือรนรวมกันของเรา แต พระองคคอื ผูท่รี วมเราเปนหนึ่งเดียว เติมพลังใหเรา และเตรียมเรา ใหบรรลุเปาหมาย เนื้อหา อานYOUCAT ขอ 35, 113, 115 และขอ 118-120 ตอบคําถาม 1. จากขอ 133 และขอ 118-119 พระจิตเจามีบทบาทอยางไรใน พระศาสนจักร? 2. ระบุพระนามที่เรามอบใหพระจิตเจา (ขอ 115) 3. พระจิตเจาทรงกระทําสิ่งใดในชีวติ ของผูม ีความเชื่อแตละบุคคล? (ขอ 120) 24

บอยครั้งทีผ่ มู คี วามเชือ่ มักคิดเองวาตนเอง ภาวนาถึงพระบิดา พวกเขาอาจนึกภาพ พระเยซูเจายืนเคียงขางพวกเขาและชวย พวกเขาภาวนา แตพระจิตเจา พระองค ทรงเปนนกพิ ราบไม ใชห รือ ? อาจมี คน สงสัยวา “นกพิราบเหมาะกับชีวิตฝายจิต ของฉันไดอยางไร?” พระจิตเปนพระเจา ไมใชนกพิราบ ทรงแสดงพระองคเปนนก พิราบเมื่อ พระเยซูเจาทรงรับพิธีลางเพื่อ เปนสัญ ลักษณของความรัก ของพระเจ า ในขณะที่พ ระบุค คลทั้ง สามแหง พระตรี เอกภาพประทั บ อยู  ใ นตั ว เราโดยพระ หรรษทานของพระเจา เราเชื่อมโยงการ ประทับอยูของพระเจาในลักษณะพิเศษกับ พระจิต ทําไม? เพราะพระจิตเจาทรงเปน ความรักระหวางพระบิดาและพระบุตรใน พระตรีเอกภาพ เปนเรื่องสมเหตุสมผลที่ เราจะเชื่อมโยงพระองคกับความรักของ พระเจาภายในจิตใจของเรา และความรัก ของพระเจาที่นําผูคนของพระองคมารวม กันในพระศาสนจักร 1. ทานคิดวาเหตุใดบางครั้งพระจิตเจาจึง ถูกมองขามเมื่อเราคิดถึงพระเจา? 2. ทานเคยภาวนาตอพระจิตเจาหรือไม? ถาเคย ทานภาวนาตอพระองคในเรื่อง ใด? ถาไมเคย เพราะเหตุใด? 3. ทานเคยอยูในสถานการณที่จําเปนตอง พึ่งพาพระจิตเจาหรือไม? อธิบาย


พระคัมภีร 1. ใน ปฐก 1:2 กลาวถึงบทบาทของพระจิตเจาในการสราง ไวอยางไร? ใน ปฐก 2:7 กลาวถึงมนุษยและลมหายใจของ พระเจา (พระจิตเจา) ไวอยางไร? 2. อธิบายถึงบทบาทของพระเยซูเจากับการเคารพตอพระจิตเจา (ลก 4:14-19; กจ 1:5) 3. ความสัมพันธระหวางศีลลางบาปกับพระจิตเจาคืออะไร? (ยน 3:3-8; 1 คร 12:13; ทต 3:5) 4. พระจิตเจาทรงแสดงวาทรงประทับอยูทามกลางบรรดาอัคร สาวกในวันพระจิตเสด็จลงมาอยางไร?(กจ 2:1-11) 5. นักบุญเปาโล มองวาพระจิตเจาเปนสวนหนึ่งของการภาวนา อยางไร? (รม 8:26) พูดคุยกับเพื่อน 1. พระจิตเจามีสวนเกี่ยวของกับศีลศักดิ์สิทธิ์ทั้งเจ็ดประการของ พระศาสนจักร แตศีลศักดิ์สิทธิ์ประการใดที่เราเชื่อมโยงงาน ของพระองคเปนพิเศษ? 2. อธิบายผลที่พระจิตเจามีตอบรรดาอัครสาวกในวันพระจิต เสด็จลงมา พระจิตทรงสถิตทามกลางอัครสาวกชวยใหนัก บุญเปโตรทําอะไรบาง? 3. ผลของพระจิตเจาคืออะไร(ขอ 311; กท 5:22-23) สิ่งทาทาย ภาวนา : ในสัปดาหนี้ ภาวนาตอพระจิตเจาทุกวัน วอนขอพระ จิตเจาทรงชวยใหทานตระหนักถึงการประทับอยูของพระองค ใหมากขึ้น อาน : ดูพระพรของพระจิตเจาในขอ 310 ลองคิดดูวาพระพร ประการใดที่ดูเหมือนจะชวยไดมากที่สุดในชีวิตของทาน เรียน : ทองจํา ผลของพระจิตเจา 12 ประการ (ขอ 311; กท 5:22-23) วอนขอ : ภาวนาวอนขอตอพระจิตเพื่อประทานผลของพระองค ใหทาน เพื่อใหทานไดใกลชดิ กับพระเจามากขึ้นและรับใชผูอื่น 25

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ขาพเจาเชือ่ ในพระศาสนจักรศักดิส์ ทิ ธิ์ สากล ไตรตรอง

หัวขอที่ 10 : ผูเลนในทีม กลาวนํา

“ทีมพระจิต” เปนอีกชือ่ หนึง่ ของพระจิต แตทมี คือพระศาสนจักร ในฐานะ สมาชิกของศาสนจักรเราเปนสวนหนึ่งของทีม นั่นหมายความวาเราควร จะเปน “ผูเ ลนในทีม” เราควรจะทํางานรวมกันเพือ่ ผลดีของทีม เราควรจะ ชวยกันคนหาจุดประสงคเฉพาะของพระเจาสําหรับชีวติ ของเรา(ตําแหนง ของเราในทีม) เชนเดียวกับการเปนทีม แนนอนวาพระศาสนจักรมีบทบาท ทีแ่ ตกตางกันสําหรับผูค น แตกม็ บี ทบาททีผ่ เู ลนทุกคนตองชวยใหทมี ชนะ วิธีที่เราจะ “ชนะ” ในพระศาสนจักร ทายสุดคือการไดอยูกับพระเจา ตลอดไป และดวยการชวยใหคนอื่นๆอีกมากมายเทาที่เราสามารถให กระทําอยางนั้นเชนกัน ในขณะเดียวกันเราเริ่มลิ้มรสชัยชนะของทีมใน ชีวิตนี้ เราเติบโตในความศักดิ์สิทธิ์ – รักพระเจาและรักผูอื่น เราพยายาม สรางอิทธิพลตอโลกของเราเพื่อพระเจา พระเยซูเจาเปนหัวหนาทีม ฮีโร ของทีมคือบรรดานักบุญผูชนะจากชัยชนะในอดีต และเจาหนาที่ของทีม คือผูรับศีลบวช ผูนาํ ศาสนา และผูนาํ ฆราวาส เราแตละคนมีตาํ แหนงใน การเลนเพื่อใหทีมสามารถเลนไดดีที่สุด

เนื้อหา

อาน YOUCAT ขอ 121-124, 126-127, 129, 138 และขอ 141

ตอบคําถาม

1. จากขอ 121 มีวิธีใดบางในการอธิบายถึงพระศาสนจักร? 2. ทําไมพระเจาจึงทรงตั้งพระศาสนจักร และพันธกิจของพระศาสนจักร คืออะไร? (ขอ 122-123) 3. อธิบายวาพระศาสนจักรเปนเหมือนพระกาย (ขอ 126) และเปนเจา สาว (ขอ 127)อยางไร? 4. จากขอ 129 มีกี่พระศาสนจักร?

26

เมือ่ นึกถึงพระศาสนจักรทานนึกถึงภาพของ อาคารหรือ? หรือสมเด็จพระสันตะปาปา พระสังฆราช พระสงฆ สังฆานุกร ผูรับ เจิมทั้งชายและหญิงหรือ? หรือทานคิดถึง ประชากรทั้ งมวลของพระเจ า ฆราวาส ตลอดจนผูรบั ศีลบวชและผูร บั เจิมทั้งหลาย หรือ? แมวาเราจะเปนสวนหนึ่งของพระ ศาสนจักร แตบางครั้งเราลืมไปวาแทจริง แลวศาสนจักรคืออะไร บางครั้งคนกลุม หนึ่ ง จะพู ด ว า “เราคื อ พระศาสนจั ก ร” ในความเป น จริง ไมมีก ลุ ม ใดกลุ ม หนึ่ ง ในศาสนจัก รที่เ ป น พระศาสนจั ก ร พระ ศาสนจักรคือประชากรทั้งมวลของพระเจา – คนที่อยูบนโลกตอนนี้ วิญญาณที่อยู ใน แดนชําระไดรับการชําระใหบริสุทธิ์สําหรับ สวรรค และผูที่อยูกับพระเจาในสวรรค ตอนนี้ พระศาสนจักรประกอบดวยผูนําที่ ไดรับศีลบวช สมาชิกของหมูคณะผูรับเจิม และฆราวาส รวมกันเราคือ พระศาสนจักร 1. เมื่อใดที่ทานรูสึกวาเปนสวนหนึ่งของ พระศาสนจักรมากที่สุด? 2. ไม ว  า ท า นจะรู  สึ ก เป น ส ว นหนึ่ ง ของ พระศาสนจั ก รหรื อ ไม อะไรคือ สิ่ ง ที่ สามารถชี้ใหเห็นไดวาทานมีความมั่นใจ วาทานเปน? 3. ทานคิดวาสมเด็จพระสันตะปาปาหรือ บาทหลวงเปนสมาชิกของพระศาสนจักร มากกวาที่ทานเปนหรือไม? อธิบาย

(อานตอ...)


5. ความแตกตางระหวางฆราวาสและผูรับศีลบวชในพระศาสนจักร คืออะไร (ขอ 138)?

พระคัมภีร

1. อาน 1 คร 12:12-26 ดูวานักบุญเปาโลเปรียบเทียบคริสตชน แตละคนในพระศาสนจักรอยางไร? ในความหมายใดทีห่ ากสมาชิก คนหนึ่งของพระศาสนจักรเปนทุกข สมาชิกทุกคนก็รวมเปนทุกข ดวย? 2. นักบุญเปาโลอธิบายถึงพระคริสตเจาและพระศาสนจักรอยางไรใน อฟ 2:19-22 และ 5:25-32? 3. พระวรสารนักบุญมัทธิว 16:18-19 บอกเราเรื่องพระศาสนจักรที่ พระเยซูเจาทรงตั้งไวอยางไร? 4. พันธกิจของพระศาสนจักรคืออะไร ตามพระวรสารนักบุญมัทธิว 28:19-20 และ กจ 1:8? 5. พระเยซูเจาตรัสอะไรกับบรรดาอัครสาวกในพระวรสารนักบุญ ยอหน 13:35? วิธีนี้ชวยใหผูที่ติดตามพระองคบรรลุพันธกิจของ ศาสนจักรไดอยางไร?

พูดคุยกับเพื่อน

1. ทานคิดวาเหตุใดจึงมีภาพลักษณตางๆ มากมายเพื่ออธิบายถึง พระศาสนจักร? 2. พระศาสนจักรเหมือนทีมอยางไร? 3. สิ่งที่พระเยซูตรัสและสิ่งที่นกั บุญเปาโลพูดเกีย่ วกับพระศาสนจักร เราควรแปลกใจหรื อ ไม ว  า ทํ า ไมจึ งมี ผู ศั ก ดิ์ สิ ทธิ์แ ละคนบาป มากมายในพระศาสนจักร? 4. หากพระเยซูเจาทรงตั้งศาสนจักรเพียงหนึ่งเดียว เหตุใดจึงมีคริสต ชนหลายกลุม ทีม่ คี วามเชือ่ วิธกี ารนมัสการ และการเปนผูน าํ ทีแ่ ตก ตางกัน? 5. วิถีชีวิตหลักของฆราวาสในฐานะศิษยของพระเยซูคืออะไร?

สิ่งทาทาย

ภาวนา : ภาวนาสําหรับผูนําของพระศาสนจักร และบรรดาผูนํา ฆราวาส เรียนรู : คนดูวาพระสังฆราชในสังฆมณฑลของทานชื่ออะไร คิดและวอนขอ : ลองนึกถึงวาพระเจาทรงวางทานไวใน “ทีม”ของ พระศาสนจักร ตรึกตรองความสามารถและพรสวรรคของทาน วอน ขอพระเจาใหทรงแสดงวาทรงมี “ตําแหนง”อะไรสําหรับทานใน “ทีม”

27

ไตรตรอง (อานตอ...) 4. นักบุญโยน ออฟ อารค กลาวกั บผูที่ สอบสวนทานวา “พระศาสนจักรคือพระ คริสตเจา” สิ่งนี้เปนความจริงอยางไร? มี อะไรที่ไมจริง?

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ขาพเจาเชือ่ ในพระศาสนจักรศักดิส์ ทิ ธิ์ สากล ไตรตรอง

หัวขอที่ 11 : มีอะไรอีก? กลาวนํา เมื่อวอลคเกอร เพอรซี นักประพันธชาวอเมริกัน ถูกถามวาทําไมเขา ถึงมาเปนคาทอลิก คําตอบของเขาคือ “มีอะไรอีก?” ทานและฉัน อาจถูกลอลวงใหตอบกลับวามี “มากมาย” แตทายที่สุดแลว เปน เชนนั้นหรือ? ถาพระเจามีจริงและเราถูกสรางมาเพื่อใหมีความสุข กับพระองค ในที่สุดก็ไมมีอะไรอื่น อะไรอื่นๆ นั้นตองเขาใจในแงที่ วาพระเจาแตเพียงผูเดียวเทานัน้ ทีส่ ามารถทําใหเรามีความสุขอยาง แทจริง บุญราศีชารล เดอ ฟูโกลด (ชาตะ 1858- มรณะ 1 ธันวาคม 1916) กลาววา “หลังจากที่ขาพเจาตระหนักวามีพระเจาจริง จึงเปน ไปไมไดสําหรับขาพเจาที่จะไมดําเนินชีวิตเพื่อพระองคเทานั้น” ใน ทายที่สุด บุคคลและสิ่งตางๆในชีวติ นี้นําเรากลับไปหาพระเจา หรือ ไมก็พรากเราไปจากพระองค ผูที่รับรูสิ่งนี้และยอมรับในสิ่งนี้เรา เรียกวาผูศักดิ์สิทธิ์ เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 84-85 และขอ 147-150 ตอบคําถาม 1. จากขอ 146 ความสัมพันธเปนหนึ่งเดียวกับผูศักดิ์สิทธิ์คืออะไร? 2. ขอ 147 อธิบายถึงการไดรบั การยกขึน้ สวรรค เกิดอะไรกับพระนาง มารียเ มื่อพระนางสิ้นสุดชีวิตในโลกนี้? 3. พระนางมารียส ามารถชวยเราไดอยางแทจริงมากกวาผูศกั ดิส์ ทิ ธิ์ ทานอื่นหรือ? (ขอ 147-148) 28

ท า นรู  จั ก ผู  ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ดี แ ค ไ หน? นึ ก ภาพวาตัวทานเปนผูศักดิ์สิทธิ์ไดไหม? สํ า หรั บ บางคน หรื อ แม แ ต สํ า หรั บ คาทอลิ ก บางคนความคิ ด ที่ จ ะเป น ผู ศัก ดิ์ สิท ธิ์ ก็ ดูน  าเบื่อ แต ชีวิต ของผู  ศัก ดิ์สิท ธิ์ เต็ม ไปดวยผู ค นที่แตกต าง และนาสนใจในระดับสากล เราทุกคน ถูกสรางมาเพื่อมีความสุข และในการ ศึกษาชีวิตของพวกทาน เราพบวาพวก ทานพยายามตอสูเพื่อเอาชนะความ ออนแอและความบาปสวนตัวของทาน ผูศักดิ์สิทธิ์เปนบุคคลที่มีความสุขอยาง แทจริง ยิง่ กวานัน้ ในทายทีส่ ดุ เราแตละ คนจะกลับไปหาพระเจาและกลายเปนผู ศักดิ์สิทธิ์หรือเราจะเผชิญกับความเปน นิรันดรโดยไมมีพระเจา–ดวยเหตุนี้ ทุก อยางจะไมมีความหมาย มาเริ่มกันเลย เพื่อเปนผูศักดิ์สิทธิ์ดวยตัวเราเอง! 1. เมื่ อ ท า นคิ ด ถึ ง ความคิ ด เรื่ อ งผู  ศักดิ์สิทธิ์ภาพอะไรเขามาในจิ ตใจ ของทาน? เพราะอะไร? 2. ท า นคิ ด ว า อะไรคื อ ข อ ผิ ด พลาด ที่ ใ หญ ที่ สุ ด ที่ ผู  ค นทํ า เกี่ ย วกั บ ผู  ศักดิ์สิทธิ์? 3. ความสุขสูงสุดกับการเปนผูศ กั ดิส์ ทิ ธิ์ เชื่อมโยงกันอยางไร?


4. บาทหลวงใหอภัยบาปไดอยางไร?(ขอ 150) พระคัมภีร 1. อาน อฟ 4:14-16 เราจะตองดําเนินชีวิตอยางไรเพื่อสราง ความรัก? 2. อาน ยน 2:1-12 งานสมรสที่หมูบานคานา แสดงใหเห็นถึง บทบาทของพระนางมารียในชีวิตของศิษยของพระเยซูเจา อยางไร? พระนางมารียบอกเราซึ่งเปนคนรับใชใหทําอะไร? 3. อาน ลก 1:46-55 เราเรียกบทภาวนานี้วาอะไร? ถอยคําของ พระนางมารีย บ รรลุ ผ ล และยัง คงสํ าเร็ จ เป น จริ งในพระ ศาสนจักรทุกวันนี้อยางไร? พูดคุยกับเพื่อน 1. ทุกคนไดรับเรียกใหเปนผูศักดิ์สิทธิ์หรือ? 2. เรามี “ความสัมพันธเปนหนึง่ เดียว” กับผูใ ด? เราจะดําเนินชีวติ และกระชับความสัมพันธเปนหนึ่งเดียวกันนั้นไดอยางไร? 3. พระนางมารียเปนใครในชีวิตของทาน? 4. สายประคําคืออะไร และจะชวยใหเราศักดิ์สิทธิ์ไดอยางไร? (ขอ 149) สิ่งทาทาย ภาวนา : ในสัปดาหนี้ ใหสวดสายประคํารวมกันในครอบครัว หรือสวดเพียงลําพัง เพื่ออุทิศใหกับวิญญาณที่อยูในแดนชําระ เรียน : ทองจําธรรมลํ้าลึกตางๆของสายประคํา ขอ : ภาวนาขออารักขเทวดาและนักบุญองคอุปถัมภของทาน ขอพวกทานชวยใหทานรูจักและรักพวกทานและพระเยซูเจาให มากยิ่งขึ้น ไป : ในสัปดาหนี้ ไปสารภาพบาปกับบาทหลวง โดยเฉพาะอยาง ยิง่ ถาทานไมไดไปสารภาพบาปมานานกวา 1 เดือน เริม่ ทําสิ่งดีๆ

29

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ขาพเจาเชือ่ ในพระศาสนจักรศักดิส์ ทิ ธิ์ สากล ไตรตรอง

หัวขอที่ 12 : จากนั้นก็มีอยูสี่ กลาวนํา สี่สิ่งสุดทาย : ความตาย การพิพากษา สวรรค และนรก เราทุก คนกําลังจะตาย ไมมีทางรอด! ในชวงเวลาแหงความตายเราจะถูก พิพากษา ฟงดูเปนลางไมดี! ขาวดีคือผูทําการตัดสินไดทําทุกวิถี ทางเพือ่ ใหทา นไดไปสวรรคอยางปลอดภัยและมีความสุขชั่วนิรนั ดร พระองค”มีพระประสงคใหทุกคนไดรับความรอดพน...”(1 ทธ 2:4) พระองคไมเพียง แตรับความตายทาง “เนื้อหนัง” เพื่อเราเทานั้น แตเพื่อไถกูเราทั้งรางกายและวิญญาณ เมื่อเราตายในมิตรภาพ กับพระเจา เราจะเขาสูชีวติ นิรันดร ถาเราพรอมและสามารถรักได อยางที่พระองคทรงรัก เราก็จะอยูในออมแขนของพระองค หากเรา รักอยางไมสมบูรณเราจําเปนตองมีการชําระลาง(แดนชําระ) เพื่อให เปนความรักที่สมบูรณ ทุกคนในสวรรค – พระตรีเอกภาพ บรรดาผู ศักดิ์สิทธิ์ และบรรดาทูตสวรรค มีความรักอยางสมบูรณและเปน ที่รักอยางสมบูรณ นั่นเปนเหตุผลวาทําไมสวรรคจึงเปนสถานที่ แหงความชืน่ ชมยินดีท่ยี อดเยี่ยมเกินกวาที่เราจะจินตนาการได ไมมี ความเจ็บปวด ไมมีความเศรา ไมมีความอับอาย ไมมีความอางวาง – มีความบริสทุ ธิ์ ความชืน่ ชมยินดี มีความรักในความเปนหนึ่งเดียวกัน กับทุกคนที่เราอยากอยูดวยตลอดไป อาแมน เนื้อหา อานYOUCAT ขอ 1, 3 และขอ 152-164

ถาโลกนีแ้ ละเราซึง่ เปนสวนหนึ่งที่อยูใน โลกจบลงดวยความตาย ชีวิตก็ไมสม เหตุสมผลเลย อยางไรก็ตาม พระเจา ไมทรงทอดทิ้งเราไวในความมืดเกี่ยว กับความตายและชีวิต พระองคทรงสง พระบุตรแตพระองคเดียวของพระองค ลงมาเพื่อแสดงหนทางที่จะผานความ ตายสู  ชี วิ ต นิ รัน ดร พระเยซู เ จ า ตรั ส วาพระองคทรงเปนพระเจา พระบุตร พระองคจะตองทนทุกข สิ้นพระชนม และกลับเปนขึ้นจากความตาย ความ จริงของการกลั บคืนพระชนมชี พ ของ พระองคแสดงใหเห็นวาพระองคทรง เปนอยางที่ทรงบอกวาพระองค เป น : พระเจาผูทรงเปนมนุษย ความเปน จริงของการกลั บคืนพระชนมชี พ ของ พระองค มี เ หตุ ผ ลเพี ย งพอที่ เ ราจะ ยอมรับพระเยซูเจาตามพระวาจาของ พระองค พระองคทรงเปนหนทาง ความ จริง และชีวิตของเรา เราจะเริ่มมีชีวิต เพื่อ พระองค พระเจาผูทรงกลั บคื น พระชนมชีพของเราเมื่อใด? เราจะเริ่ม การปฏิวัติ เมื่ อ ใด? ดัง ที่ นัก บุญ ฟ ลิ ป เนรี เคยถามเพื่อนวัยรุนของทา นใน กรุงโรมทีเ่ คยชวยทานประกาศขาวดีอกี ครัง้ ทีเ่ มืองของนักบุญเปโตรและเปาโล

(อานตอ...) 30


ตอบคําถาม 1. เกิดอะไรขึ้นเมื่อเราตาย? จะเกิดอะไรกับรางกายของเราเมื่อ กาลเวลาสิ้นสุดลง?(ขอ153-154 และขอ 163) 2. ชีวิตนิรันดรคืออะไร? เรารูไดอยางไรวาเราถูกสรางมาเพื่อ อะไร? (ขอ 1, 3 และขอ 156) 3. แดนชําระคืออะไร?(ขอ159) 4. นรกมีอยูจริงหรือ? ถามี ใครจะตองไปอยูที่นั่น?(ขอ 161-162) พระคัมภีร 1. อาน 1 คร 15:13-20 ทําไมเราจึงนาสงสารถาพระคริสตเจาไม ทรงกลับคืนพระชนมชีพ? 2. อาน 1 คร 15:35-37 เรารูหรือไมวาการกลับคืนชีพเกิดขึ้นได อยางไร? เรารูอะไรเกี่ยวกับการกลับคืนชีพ? 3. อาน 1 คร 13:12 สิ่งที่หมายถึงบรมสุขทัศนคืออะไร? 4. ตามพระวรสาร มธ 25:31-46 เราจะถูกตัดสินบนพื้นฐานใด? พูดคุยกับเพื่อน 1. เรารูไดอยางไรวาการกลับคืนพระชนมชีพของพระเยซูเจาเกิด ขึ้น? มีอะไรเปนหลักฐาน? 2. เหตุใดบรมสุขทัศนจึงทําใหเรามีความสุ ขเกิ นกวา ที่เราจะ จินตนาการได? 3. นักบุญ ยวง แหงไมกางเขนกลาววา “เราจะถูกตัดสินดวย ความรัก” จะเชื่อมกับพระวรสาร มธ 25 ไดอยางไร? สิ่งทาทาย ภาวนา : ภาวนาทุกวันในสัปดาหนี้วา “ขาแตพระเยซู โปรดอภัย บาปของลูก โปรดชวยลูกใหพนขุมไฟนรก โปรดนําวิญญาณทุก ดวงใหรอดสูสวรรค โดยเฉพาะ วิญญาณที่ตองการพระเมตตา ของพระองคมากที่สุด” ทองจํา : ทองจําธรรม รม 14:8

31

ไตรตรอง (อานตอ...) ในชวงเวลาทีม่ กี ารทุจริตอื้อฉาววา “เราจะ เริ่มทําความดีกันเมื่อไหร?” 1. จะมีอะไรสําคัญไปกวา ที่วา เราจะเริ่ม ตนหรือจะจบชีวิตลงอยางไร? 2. เมื่อพูดถึง”การทําความดี”เราจะทําสิ่ง ที่ถูกตองดวยเหตุผลที่ผิดไดห รือไม? ท า นคิ ด ว า สิ่ ง เหล า นี้ จ ะปรากฏขึ้ น อยางไรในวันพิพากษา?

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ภาค 2 เราฉลองธรรมลํ้าลึกของคริสตชนอยางไร : คนพบความศักดิ์สิทธิ์


พระเจาทรงทํางานในเราโดยผานทาง เครื่องหมายศักดิ์สิทธิ์ตางๆ หัวขอที่ 1 : หยุด ! กลาวนํา ทานเคยมีประสบการณในการขับรถไปเรือ่ ยๆ นึกถึงธุรกิจของตนเอง และกอนที่ทา นจะมีโอกาสเหยียบเบรก ที่ปา ยหยุดจะยืน่ ออกมาควา รถของทาน และทําใหมันหยุดหรือ? นั่นอาจเปนเรื่องคอนขางผิดปกติสําหรับ ปายหยุด เครื่ องหมาย หยุดก็เหมือนกับเครื่องหมายอื่นๆ ที่สื่อสารขอความ แตก็เหมือน กับเครื่องหมายสวนใหญที่ไมสามารถนํามาซึ่งความหมายได แต เครื่องหมายศักดิ์สิทธิ์คือศีลศักดิ์สิทธิ์ตางๆแตกตางจากเครื่องหมา ยอื่นๆอยางไร ศีลศักดิ์สิทธิ์ทําในสิ่งที่มีความหมายของศีล กลาว อีกนัยหนึ่ง คือเครื่องหมายของศีลศักดิ์สิทธิ์ตางๆมีประสิทธิภาพ ศีลศักดิ์สิทธิ์ ทําใหเกิดผลในสิ่งที่แสดงใหเห็น เมื่อเทนํ้าลงบนศีรษะของทานในการรับศีลลางบาป ทานจะไดรับ การชําระบาปทุกประการ เมือ่ คําวา “ขาพเจาลางทาน เดชะพระนาม พระบิดา พระบุตร และพระจิต” ถูกกลาวในขณะเดียวกับที่นํ้าถูกเท ออกมา ทานกลายเปนสมาชิกของครอบครัวพระเจา และชีวิตของ พระเจาก็หลั่งลงมายังทาน ทานเกิดใหมในฐานะบุตรของพระเจา ศี ลลางบาปกระทําสิ่งนี้ ศีลศักดิ์ สิท ธิ์ต า งๆเปนเครื่ องหมายที่มี อานุภาพมากที่สุดในโลก! เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 166-169 34

ไตรตรอง บอยครั้งที่เราทําสิ่งตางๆโดยไมคิด เราอาจทําบางสิ่งบางอยางออกมา จนเปนนิสยั เมือ่ เปนนิสยั ทีด่ เี ราเรียก วาคุณธรรม เมื่อเปนนิสัยที่ไมดีเรา เรียกวากิเลส การมีสวนรวมในพิธี บูชามิสซาโดยไมคิดถึงความหมาย หรือไมใสใจเปนนิสยั ทีไ่ มดที ส่ี ามารถ ทําใหเ ราหา งเหิน ได เพื่อ เอาชนะ นิสัยที่ไมดีนักเขียนฝายจิตกลาววา เราควรแทนที่ดวยนิสัยที่ดี นิสัยที่ดี ในการพัฒนาเพื่อเขารวมในพิธีบูชา มิสซาไดดีขึ้นคือการตั้งใจฟงบทอาน และสวดภาวนาตอบรับอยางดี 1. ทานเคยรูสึก”เบื่อ”ในระหวางพิธี บูชามิสซาหรือไม? ทานคิดวาทําไม จึงเกิดขึน้ ในบางครัง้ ? ทานสามารถ ปรับปรุงแกไขอยางไร? 2. ทานสามารถทําสิ่งงายๆอะไรบาง เพื่ อ ป อ งกั น ความวอกแวกใน ระหวางพิธีบูชามิสซา? 3. ทานเคยแตงกายหรือประพฤติตน ในลักษณะทีร่ บกวนสมาธิของผูอ นื่ ในพิธีมิสซาหรือไม?


ตอบคําถาม 1. สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกตท่ี 16 ตรัสไวอยางไรเกี่ยวกับ ความยิ่งใหญของพิธีกรรม? (ดานขางของขอ166) 2. พิธกี รรมคืออะไร? และทําไมเราจึงตองการเขารวมในพิธกี รรม? (ขอ 166-167) 3. ทําไมพิธีกรรมและศีลศักดิ์สิทธิ์ตางๆจึงมีบทบาทที่สําคัญตอ ชีวติ ของพระศาสนจักร และชีวติ ของเราแตละคนทีเ่ ปนสมาชิก ของพระศาสนจักร? (ขอ 168-169) พระคัมภีร 1. พระเยซูเ จาตรัสถึงพระองคเองว าอยา งไร ใน ยน 14:6? เครือ่ งหมายแหงศีลศักดิ์สิทธิ์มผี ลตอชีวติ และอํานาจของพระ เยซูเจาอยางไร? 2. อาน ลก 6:19 สิ่งที่เกิดขึ้นในขอความนี้เกี่ยวของกับพิธีกรรม และศีลศักดิ์สิทธิ์อยางไร? 3. ตามพระวรสาร ยน 10:7-11 และ 14-18 เพื่อประโยชนของใคร ตามคํ าสั่งของใคร และพระเยซู มาเพื่อ จุดประสงคอ ะไร? เกี่ยวของกับพิธีกรรมอยางไร? พูดคุยกับเพื่อน

1. บูชามิสซาในวันอาทิตยเกี่ยวของกับชีวิตของฉันและชีวิตของโลก อยางไร? 2. ทานคิดวาเหตุใดนักบุญเบเนดิกต จึงกลาววา “ไมมีอะไรสําคัญ มากกวาพิธีกรรม”? 3. ทําไมทานนักบุญจึงคิดวาพิธีกรรมมีความสําคัญมาก?

สิ่งทาทาย

แกไข : ขจัดความเบื่อหนายตาง ๆ ที่อาจทําใหทา นรูสึกในวันอาทิตย ดวยการลืมตนเองในขณะทีอ่ ยูใ นพิธบี ชู ามิสซา มุง เนนไปทีพ่ ระเยซูเจา และการเชื้อเชิญของพระองคที่ใหเรามีชีวิตอยางบริบูรณ เตรียมตัว : ตั้งใจที่จะจดจําและคิดถึงพระวรสารที่อานในพิธีบูชา มิสซาวันอาทิตย ภาวนา : ขอใหดวงตาเห็นความจริงของขาวดีที่พระเยซูเจาทรงเผย แสดงและแบงปนกับเราในพิธีกรรม

35

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


พระเจาและพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ ไตรตรอง

หัวขอที่ 2 : งานเลี้ยงฉลองของครอบครัว กลาวนํา ครอบครัวของทานเคยรวมตัวกันเพื่อขอบคุณพระเจาไหม? จัดงาน เลี้ยงที่มีอาหารเลิศรสมากมาย ตั้งโตะดวยผาปูโตะที่หรูหราหรือ ไม? สําหรับคนสวนใหญการเตรียมงานเลีย้ งเปนเรือ่ งทีต่ อ งทําตลอด ทั้งวัน อาหารอรอยที่สุดโดยเฉพาะขนมหวาน! เปนชวงเวลาของ ความคาดหวังและความพึงพอใจอยางยิ่ง ในครอบครัวของพระเจาก็มีงานเลี้ยงเชนกัน และทุกวันอาทิตย เปนวันขอบคุณพระเจา พระเจาเปนเจาภาพและงานเลี้ยงคือพิธี บูชามิสซา พระเจาทรงเชิญเราเปนการสวนตัวใหเปนสวนหนึ่งใน ครอบครัวของพระองค ทรงนําพระศาสนจักรของพระองคใหเอาใจ ใสและพยายามจัดงานเลี้ยงอยางดีที่สุด มีอาภรณที่งดงาม ภาชนะ ศักดิ์สิทธิ์ และอาหารที่ดีที่สุดสําหรับมนุษย คือ พระเจาเอง พระคัมภีรก ลาววา “มนุษยมไิ ดดาํ รงชีวติ ดวยอาหารเทานัน้ แตดาํ รง ชีวิตดวยพระวาจาทุกคําที่ออกจากพระโอษฐของพระเจา”(มธ 4:4) ในพิธีกรรม พระเจาตรัสพระวาจาของพระองคและมอบชีวิตเพื่อ ครอบครัวของพระองค ในบูชามิสซา พระเจาทรงแสดงถึงความรัก อยางสุดซึง้ ของพระองคแกเราโดยทางธรรมลํา้ ลึกทีแ่ สดงใหเห็นดวย การสงพระบุตรของพระองคลงมาเปนเครื่องบูชาเพื่อไถกูเรา พระ บุตรผูทรงมอบพระองคเองใหเปนอาหารเลี้ยงดูเรา เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 170-171, 173 และ 175-178

การสิ้นพระชนมและการกลับคืนพระ ชนมชีพของพระเยซูเจา ลูกแกะปสกา ที่แทจริง ปลดปลอยเราจากความตาย และบาป ชีวติ ทีก่ ลับคืนพระชนมชีพของ พระองค ทรงแบงปนกับเราโดยทาง พิธีกรรมและเครื่องหมายศักดิ์สิทธิ์ของ ศีลศักดิ์สิทธิ์ตางๆ การรับศีลศักดิ์สิทธิ์ ของพระคริ ส ตเจาบ อ ยๆ และอย า ง สมควรทําให เราเติบ โตขึ้น มนุษ ย ที่ ออนแอกลายเปนมนุษยท่สี มบูรณ และ มีชีวิตอยูอยางสมบูรณในพระเยซูเจา ผูทรงเปนพระเจาแท – และมนุษยแท ศีลศักดิ์สิทธิ์ไมใชเวทมนตร ความเชื่อ เปนขอกําหนดเบื้องตนอยางหนึ่งเพื่อ ใหเราไดรับประโยชนอยางเต็มที่จาก ศีลศักดิ์สิทธิ์ เรารับดวยความเชื่อหรือ? เรารับเมื่ออยูในสถานะพระหรรษทาน ที่ศีลศักดิ์สิทธิ์นั้นตองการหรือ? เราจะ พยายามมากขึ้นในอนาคตที่จะเชื่อใน พระองคผูทรงเสริมพลังใหกับทุ กศีล ศักดิส์ ทิ ธิห์ รือ และเราจะรับศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ ต างๆ อยางนอบนอมและดวยความ ชื่นชมยินดี สละตนเองตอพระประสงค และการประทับอยูของพระเจาหรือไม? ความศักดิ์สทิ ธิ์ ความสุข และความเปน นิรันดรของเราเปนเดิมพัน เราเลื อก

(อานตอ...) 36


ตอบคําถาม 1. ทําไมพิธีกรรมในโลกนี้ตองเปนการเฉลิมฉลองที่เปยมดวย ความงดงามและพละกําลัง? (ขอ170-171) 2. พิธีกรรมที่สําคัญที่สุดในโลกนี้คืออะไร? (ขอ 171) 3. ศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ตละประการตอบสนองความตองการของมนุษย อยางไร? (ขอ 173) 4. ทํ าไมจึงจําเปนตองมีความเชื่อ เพื่ อ รับ ศีลศั กดิ์สิ ท ธิ์ ตา งๆ? (ขอ 177) พระคัมภีร 1. เพลงสดุดีที่ใชในพิธีกรรมคาทอลิก เชน เพลงสดุดีที่ 43:5 เรา ไดรับการสงเสริมใหสรรเสริญพระเจา เหตุใดผูคนจึงตอง สรรเสริญพระเจา? 2. ในหนังสืออพยพ เราไดอา นเกีย่ วกับวันฉลองปสกาของชาวยิว ทีอ่ พยพออกจากประเทศอียปิ ต ในหนังสืออพยพ บทที่ 12 บอก เราเรือ่ งลูกแกะปสกาและเลือดของลูกแกะ เปนการคาดการณ ลวงหนาถึงอะไร? พูดคุยกับเพื่อน 1. พระเจาทรงอวยพรเราในพิธีกรรมอยางไร และเปนการเตือน เราถึงความจริงทีว่ า การมีอยูข องเราเปนความงดงามอยางไร? 2. ทีก่ ลาววา เครือ่ งหมายของศีลศักดิส์ ทิ ธิก์ ระทําในสิง่ ทีเ่ ปนความ หมายของศีลนั้น หมายความวาอยางไร? 3. ศีลศักดิส์ ทิ ธิท์ ง้ั 7 ประการ ศีลใดสําคัญทีส่ ดุ ? และศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ ประการใดสําคัญรองลงมา? ใหเหตุผลของทาน สิ่งทาทาย ทองจํา : เรียนรูปพิธีกรรมและความหมายของแตละเทศกาล เยี่ยมเยียน : หาเวลาสักครั้งในสัปดาหนี้ไปเยี่ยมพระเยซูเจาที่ อยูในตูศีล และขอพระองคใหทรงชวยทานไดเขาสูพิธีกรรมและ ศีลศักดิ์สิทธิ์ตางๆไดอยางดีมากขึ้น เตรียม : กอนไปรวมบูชามิสซาในวันอาทิตยตอไป อานพระ วรสารของวันอาทิตยนนั้ และถามพระเยซูเจาวาพระองคตอ งการ ใหทานเรียนรูอะไร 37

ไตรตรอง (อานตอ...) ที่ จ ะรั ก และรั บ ความรั ก จากพระผู  ท รง ประทานทุกสิ่งเพื่อเราหรือไม? 1. ความเชื่อมีความสําคัญอยางไรในการ ที่จะไดรับพระหรรษทานของพระเจา ในศีลศักดิ์สิทธิ์? 2. ศีลศักดิ์สิทธิ์ประการใดที่ไมเรียกรอง การอยูในสถานะพระหรรษทานกอน การรับศีลนั้น? 3. บางคนมีแนวโนมที่จะกระทําตอ ศีลศักดิ์สิทธิ์ราวกับเปนเวทมนตรได อยางไรถาเขาไมมีมิตรภาพกับพระ คริสตเจา?

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


เราเฉลิมฉลองธรรมล้าํ ลึกคริสตชนอย่างไร ไตรตรอง

หัวขอที่ 3 : เวลานัดหมาย กลาวนํา ทานเคยวางแผนนัดกับเพื่อนพิเศษ คนที่ทานยังรูจักไมมากพอ แต ทานอยากรูจักใหมากขึ้นหรือไม? สิ่งหนึ่งที่ท านตองกระทํา คือ กําหนดเวลาและสถานที่ท่ที า นทั้งสองจะไดช่นื ชมยินดีในการคบกัน พระเจาตองการเปนเพื่อนที่ดีที่สุดของทาน และพระองคควรคากับ การทําความรูจัก ไมมผี ูใดสามารถรักไดอยางที่พระองคทรงกระทํา แตทานตองการเวลาและสถานที่ในการพบปะ วันอาทิตยคือวันนั้น และวัดของทานคือสถานที่ นี่คือเวลาพิเศษของเราที่จะพบปะกับ พระเจา พระองคทรงรอเราอยูที่นั่น พระเจาไมไดเปนเพียงพลังที่ ไรตัวตนที่พบไดทุกที่ทุกเวลา พระองคเปนบุคคลและตองการเปน เพื่อนสวนตัวของทาน พระองคตองการใหทานแบงปนความหวัง ความฝน ความกลัว และปญหาตางๆของทานกับพระองค แนนอน วา ทานสามารถกระทําแบบนี้ไดทกุ ที่ แตมสี ิ่งพิเศษเกีย่ วกับการพบ กับพระองคในพิธีบูชามิสซาวันอาทิตย เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 179, 182 , 184-187 และ 189-190 ตอบคําถาม 1. พระคริสตเจาทรงเปนองคหลักในการเฉลิมฉลองพิธกี รรมในทาง ใด? (ขอ179) 2. ทีเ่ ราเขารวมในการเฉลิมฉลองพิธกี รรมคืออะไร?(สมเด็จพระสันตะ ปาปาเบเนดิกต ที่ 16 ดานขาง ขอ 179) 38

พระเจาทรงอยูทุกหนทุกแหง ถาเชน นัน้ ทําไมเราจึงตองสรางวัดเปนสถานที่ พิเศษในการพบปะกับพระเจา? เหตุผล ประการหนึ่งสําหรับเราคือเพื่อใหเรา มี ที่ สํ า หรั บ รวมตั ว กั น เป น ชุ ม ชนเพื่ อ อยู  กั บ พระเจ า และยอมรั บ พระองค อีก ประการหนึ่ง คือ เป นการเตือ นตัว เองว า พระเจ า ทรงยิ่ ง ใหญ ก ว า โลก ซึ่งเราพบพระองค พระองคทรงเป น แหลงที่มาของโลก เพื่อเปนสัญลักษณ วา เรา”ถวาย”สถานที่บางแห งและ เวลาเปนตัวแทนพิเศษของพระเจา สิ่ง เหลานี้เปน “สิ่งศักดิ์สิทธิ์”หรือ “แยก ออกจาก”จากสถานที่และเวลาในชีวิต ประจําวันของเรา ซึ่งหมายความวาเรา ถือวาสิ่งเหลานี้มีความแตกตาง เปน เครื่ อ งเตื อ นใจว า สถานที่ แ ละเวลา ธรรมดาของเรานัน้ ลวนหลั่งไหลมาจาก พระเจา บูชามิสซาในวันอาทิตยที่วัด เปนตัวอยาง พิธีกรรมในวันอาทิตย ใน แงหนึ่งคือ กิจกรรมทั้งหมดของสัปดาห ที่จะมาถึงนี้เริ่มตนโดยมีพระเจาเป น ที่มาของทุกสิ่งที่เราทํา ควรเปนสถาน ที่และเวลาที่ยอนกลับไป ควรเปนการ นํ ากิ จกรรมทั้ งหมดของสั ปดาห ก อ น หนานี้ไ ปถวายแดองคพ ระผูเปนเจา (อานตอ...)


3. พระเจาทรงสงผลตอเวลาในพิ ธีกรรมของโลกนี้อยา งไร? (ขอ 184-188) 4. ถาเราสามารถนมัสการพระเจาไดทกุ แหง เหตุใดจึงจําเปนทีจ่ ะ ตองมีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เชน วัด? (ขอ 189-190) พระคัมภีร 1. พิธกี รรมของคาทอลิกทําใหแผนดินโลกเต็มไปดวยพระสิรขิ อง พระเจาตามที่ประกาศไวในอิสยาห 6:3 ไดอยางไร? 2. นักบุญออกัสติน กลาววา ผูท่รี อ งเพลงคือภาวนาเปนสองเทา อาน อฟ 5:18-20 ขอความในพระคัมภีรตอนนี้ นักบุญเปาโล กําชับใหเราทําอะไร? 3. พระเยซู เจ าทรงตั้ งพระศาสนจัก รหนึ่งเดีย วและทรงมอบ พิธีกรรมใหพระศาสนจักร ตามที่ไดรับการยืนยันใน อฟ 4:56 เราจะมีสวนรวมในพระศาสนจักรและและในพิธีกรรมของ พระศาสนจักรอยางดีไดอยางไร? พูดคุยกับเพื่อน 1. สนทนาเกี่ยวกับความแตกตางในวิธีที่บาทหลวงมีสวนรวมใน การนมัสการพระเจาของพระคริสตเจา และการมีสว นรวมของ ฆราวาส 2. เหตุใดมนุษยจงึ ตองการเครือ่ งหมาย สัญลักษณ และคําพูดเพือ่ เขาใจความเปนจริง? 3. ดนตรีศักดิ์สิทธิ์คืออะไร? ดนตรีประเภทใดที่กระตุนจิตใจเรา อยางลึกซึ้งและทําใหเราใกลชดิ กับพระเจามากขึ้น? สิ่งทาทาย ทองจํา : เรียนรูปพิธีกรรมและความหมายของแตละเทศกาล เยี่ยมเยียน : หาเวลาสักครั้งในสัปดาหนี้ไปเยี่ยมพระเยซูเจาที่ อยูในตูศีล และขอพระองคใหทรงชวยทานไดเขาสูพิธีกรรมและ ศีลศักดิ์สิทธิ์ตางๆไดอยางดีมากขึ้น เตรียม : กอนไปรวมบูชามิสซาในวันอาทิตยตอไป อานพระ วรสารของวันอาทิตยนนั้ และถามพระเยซูเจาวาพระองคตอ งการ ใหทานเรียนรูอะไร 39

ไตรตรอง (ตอจาก...) 1. เมื่อทานไปรวมบูชามิสซาในวันอาทิตย ท า นได นํ า กิ จ การต า งๆที่ ก ระทํ า มา ตลอดสัปดาหที่ผานมาไปถวายแด พระเจาที่เปนเสมือน “การถวายเครื่อง บูชา” ในสวนของทานหรือไม? ทานได มอบถวายกิจการตางๆที่จะเกิดขึ้นใน สัปดาหตอไปแดพระองคหรือเปลา? 2. การได รั บ “การเสก” หมายถึ ง การ “แยกออกเพื่อพระเจา” พื้นที่ใดในวัด ที่ “ไดรับการเสก”? คาทอลิก ได รั บ “การเสก”อยางไร?

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการเริ่มชีวิตคริสตชน : ศีลลางบาป และศีลกําลัง หัวขอที่ 4 : ใหมในเมืองหรือ? กลาวนํา พวกเราสวนใหญมปี ระสบการณในการเขารวมบางสิ่งบางอยางหรือเปน “มือใหม” บางทีเราอาจยายไปอยูในเมืองใหม มีเพื่อนบานหรือโรงเรียน ใหม บางทีเราอาจจะเปนคนใหมในทีมหรือในสโมสร ในสถานการณ ตางๆ เหลานี้ เราไดดําเนินการตามขั้นตอนตางๆเพื่อเริ่มตนสิ่งใหมๆ เรากลายเปนของชุมชนใหม เราแบงปนคุณคา ขอผูกพัน แมกระทัง่ วิธกี าร แสดงและวิธีคิด พระเยซูเจาทรงกําหนดวิธีที่เราจะเปนสมาชิกของพระ ศาสนจักรของพระองค พระองคทรงตั้งศีลศักดิ์สิทธิ์สามประการในการ เริ่มตน ศีลลางบาป ศีลกําลัง ศีลมหาสนิท ซึ่งทําใหเราเปนของพระองค และของพระศาสนจักรของพระองคอยางแทจ ริงและมากขึ้นเรื่อยๆ ศีลศักดิ์สิทธิ์สองประการแรก ศีลลางบาปและศีลกําลังเติมเต็มซึ่งกัน และกัน โดยทางศีลลางบาปทําใหเราเปนสมาชิกของพระศาสนจักร โดย ทางศีลกําลังเราเติบโตอยางลึกซึง้ ยิง่ ขึ้นในพระคริสตเจาและเปนสมาชิก ที่มีประสิทธิผลตลอดไปของพระศาสนจักรของพระองค เนื้อหา อานYOUCAT ขอ 193-194, 199-200, 203 และ 205-206 ตอบคําถาม 1. ตามที่ สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต ที่ 16 ตรัส เกิดอะไรขึ้น เมื่อเด็กไดรับศีลลางบาป?(ดานขางขอ193) 2. บอกชื่อศีลศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 7 ประการ (ขอ 193) 3. ศีลศักดิ์สิทธิ์ทั้งสามประการของการเริ่มตนชีวิตคริสตชนมีอะไรบาง และสิ่งใดที่ทําใหทั้งสามศีลรวมเปนหนึ่งเดียวกัน?(ขอ 193) 4. ศีลลางบาปเปนประตูเขาสูอะไร? (ขอ 194 และ199-200)

40

ไตรตรอง ทานอาจจะไดรับศีลลางบาปตั้งแต เปนทารก ถาเปนเชนนั้น ทานคงจํา ไมไดในสิ่งที่ทําเพื่อทาน เนื่องจาก มีสิ่ง อื่ นๆ อี กมากมายที่ไ ดทําเพื่อ ทาน เมื่อทานเติบโตขึ้นสิ่งที่ทําเพื่อ ทานจะตองกลายเปนสิ่งที่ทานตอง รับผิดชอบเอง ในขณะที่พอแมของ ทานใหชีวิตทาน และตอนนี้ทานตอง ตัดสินใจวาจะดําเนินชีวติ อยางไรเชน กันในขณะที่เปนทารกทานอาจไดรับ ชีวิตฝายจิตในศีลลางบาป และตอน นี้ ท า นต องตัด สิ น ใจด ว ยตัว เองวา จะติดตามพระคริสตเจา บางทีทาน อาจจะพึ่งไดรับศีลกําลัง ซึ่งทําใหได รับพระพรแหงการเสริมพลัง หรือถา ทานยังไมไดรับศีลกําลัง บางทีทาน จะไดรับในเร็วๆนี้ ประเด็นคือตอนนี้ ทานตองตอบรับดวยตัวของทานเอง ทานตองรับผิดชอบเรื่องชีวิตฝายจิต และโชคชะตาของตนเอง 1. ทานสะดวกใจหรือไมที่จะบอกคน แปลกหนาวาทานเปนผูที่ไดรับ ศีลลางบาป หรือบอกเขาวาทาน เปนคริสตชน ศิษยข องพระเยซู เจา ? ทั้ งสองอยางแตกตางกั น (อานตอ...)


5. ศีลกําลังคืออะไร? และเกิดอะไรขึ้นในศีลกําลัง?(ขอ 203 และขอ 205-206) พระคัมภีร 1. อธิบายวา 2 คร 5:17 กลาวถึงศีลลางบาปอยางไร? 2. อาน มธ 28:18-20 พระเยซูเจาตรัสสิ่งเหลานี้เมื่อใดและสําหรับ ใคร? หมายความวาศีลลางบาปมีความสําคัญอยางมาก หรือ คอนขางสําคัญ หรือสําคัญนอย? 3. ตามพระวรสาร ยน 3:5 ศีลลางบาปสําคัญและจําเปนอยางไร? 4. กจ 8:14-16 หมายถึงศีลศักดิ์สิทธิ์ประการใด?

พูดคุยกับเพื่อน

1. ทานคิดวา ทํา ไมการรับศีลลา งบาปจึงจําเปนตองมีความเชื่อ? มีขอยกเวนหรือไม? อธิบาย 2. ทําไมแตละคนไมตองรอจนกวาพวกเขาจะโตพอที่จะเลือกรับ ศีลลางบาปดวยตนเอง? 3. คาทอลิกทุกคนควรไดรับศีลกําลังหรือ? อธิบาย สิ่งทาทาย ทองจํา : ใชเวลาสักครูในสัปดาหนี้ เพื่อบอกพระเจาวา “ขอบคุณ” พระองค สําหรับพระพรแหงศีลลางบาป และที่ทรงทําใหทานเปน บุตรของพระองคโดยทางศีลลางบาป เยี่ยมเยียน : ไปหาเพื่อนที่โรงเรียนหรือที่เปนเพื่อนบานที่ยังไมได รับศีลกําลัง เชื้อเชิญเขา ใหกําลังใจเขาใหไปเรียนรูถาเขาตองการ ติดตามพระคริสตเจา เตรียม : สวดบทภาวนา “บทอัญเชิญพระจิตเจา” เชิญเสด็จมาขาแต พระจิตเจา เชิญเสด็จมาสถิตในดวงใจสัตบุรษุ และทรงบันดาลใหลุก รอนดวยความรักของพระองค โปรดประทานพระจิตของพระองค และสรรพสิ่งจะอุบัติขึ้นมา แลวพระองคจะทรงเนรมิตแผนดินขึ้น ใหม ขาแตพระเจา พระองคทรงสอนใจสัตบุรษุ ดวยการสองสวางของ พระจิต โปรดใหขาพเจาทั้งหลายซาบซึ้งในความเที่ยงธรรมโดยพระ จิตนั้น และโปรดใหได รับความบรรเทาจากพระองคทา นเสมอ เดชะ พระคริสตเจา องคพระผูเปนเจา ของขาพเจาทั้งหลาย อาแมน เยี่ยมเยียน : ในสัปดาหน้ี หาเวลาไปเยี่ยมคนปวยหรือผูสูงอายุ และ ใชเวลาในการฟง และพูดคุยกับพวกเขา

41

ไตรตรอง (ตอจาก...) หรือไม? ทําไม? 2. บางคนที่ไมใชคาทอลิกไมเชื่อในเรื่อง การรับศีลลางบาปตั้งแตยังเปนทารก เพราะพวกเขาตองการใหผูมีความเชื่อ แตละคนใหคํามั่นสัญญาที่จะติดตาม พระคริสตเจา เมื่อเปนผูใหญ พระพร ใดที่ทําใหเด็กๆ ถูกกีดกัน? จะจัดการ กั บ ความกั ง วลต อ ความมุ  ง มั่ น ของ ผูใหญไดอยางไรในเรื่องไมใหรับ ศีลลางบาปตั้งแตเปนทารก? 3. การรับศีล ลางบาปเปน การเริ่มเขา สู ชี วิ ต คริ ส ตชน แต เ พี ย งแค เ ป น การ เริ่มไมไดหมายความวาจะดําเนินตอ ไ ป ท  า น มุ  ง มั่ น ที่ จ ะ ติ ด ต า ม พ ร ะ เยซูคริสตเจาตอไปหรือไม?

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการเริ่มชีวิตคริสตชน : ศีลมหาสนิท หัวขอที่ 5 : อาหารบางอยางสําหรับความคิดเรื่อง อาหารสําหรับชีวิต กลาวนํา

ทานรูวาถาไมกิน ทานจะไมมีชีวิต อยางนอยก็อยูไดไมนาน รางกาย ตองการสารอาหาร รางกายของเราดูดซึมสารอาหารในอาหารและใช ในการสรางและใหพลังงานกับเซลลของเรา ไมเกินความเปนจริงที่จะ กลาววา “ทานกินอะไรเขาไป ทานก็เปนอยางนั้น” อาหารที่พระเยซูเจา ทรงมอบใหเราในศีลมหาสนิทเปนอาหารแท เปนการบํารุงเลี้ยง ไมใช สําหรับรางกาย แตเพื่อวิญญาณของเรา และแทนที่เราจะดูดซึมพระเยซู เขามาในตัวเราและทําใหพระองคเหมือนเรา สิง่ ที่ตรงกันขามเกิดขึ้น เรา กลายเปนเหมือนพระองค วิญญาณของเรา” รับ “อาหารทรงชีวิตนี้ แต เปนวิญญาณของเราที่ “รับพระองคเขามา”อยางแทจริง เรากลายเปน พระคริสตอีกองคหนึ่ง “พระคริสตองคนอย” กลาวอีกนัยหนึ่งคือ เปน คริสตชน และจากนั้นพระองคทรงสงเราไปเปนปง เปนอาหาร สําหรับ โลกที่หิวโหยชีวิตฝายจิต

เนื้อหา

อานYOUCAT ขอ 208, 210-211, 216-217 และ 220-221

ตอบคําถาม

1. ศีลมหาสนิทคืออะไร?(ขอ 208) 2. คํา วา “ศีล มหาสนิ ท ”หมายความวาอะไร และทําไมจึง เรียกวา ศีลมหาสนิท? (ดานขางขอ 208) 3. ทําไมศีล มหาสนิท จึงมี ความสํ า คัญ อยางมากตอ พระศาสนจัก ร? (ขอ 211)

42

ไตรตรอง นักบุญเทเรซา แหง กัลกัตตา บอก เราวา “เราตองไมแยกชีวิตของเรา ออกจากศีลมหาสนิท” จะเกิดอะไร ขึ้นกับคนที่หยุดไปรวมบูชามิสซาใน วันอาทิตย หยุดรับพระเยซูเจา? ทาน คิดวาพวกเขาจะมีความสุขไดจริงๆ ไหมถาไมมีพระองค? พระเยซูเจา ตรัสวา “ถาไมมีเรา ทานก็ทําอะไร ไมไดเลย”(ยน 15:5) 1. พระคริสตเจาทรงสงสารอะไรถึง เราในการเสด็จมาหาเราภายใต รูปของปงและเหลาองุน? 2. เราจะอธิบายไดอยางไรถึง“การ รับ”พระเยซูเจาในศีลมหาสนิทซึ่ง เป น การ“มอบให ” แบบหนึ่ ง เปนการมอบใหอะไร จากใคร และ เพื่อใคร?


4. พระคริสตเจาทรงเปนผูกระทําในพิธีบูชาขอบพระคุณในทางใด? (ขอ 215) 5. พระคริสตเจา ทรงประทับอยูในพิธีบูชาขอบพระคุณโดยวิธีใด? (ขอ 216) 6. พระศาสนจั กรกลายเปน พระกายของพระคริส ตเจาอยางไร? (ขอ 217)

พระคัมภีร

1. ใน 1 คร 11:23-29 พระเยซูเจาทรงตั้งศีลมหาสนิทเมื่อใด? สิ่ง ใดที่ทําใหเรามีความผิดถาเรารับศีลมหาสนิทอยางไมสมควร? 2. ใน ฮบ 10:19-25 อางถึงพระเยซูเจาทรงเปนมหาสมณะ บอก อะไรกับเราในเรื่องพิธีบูชาขอบพระคุณบนโลกนี้? 3. อาน รม 8:31-39 หากเราแสวงหาพระเจาและวางใจในพระองค จะเกิดอะไรกับเรา?

พูดคุยกับเพื่อน

1. แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคํากลาวของนักบุญออกัสติน (ดาน ขางขอ 210) ”ขาพเจาไดยินเสียงหนึ่งจากเบื้องบนวา เราเปน อาหารของผูเขมแข็ง จงกินเราและเติบโตเถิด แตเจาไมสามารถ เปลี่ยนเราใหเปนเจา เหมือนอาหารที่เลี้ยงรางกาย แตเจาจะ ถูกเปลี่ยนแปลงใหเปนเหมือนเรา” 2. นักบุญโทมัส อไควนัส หมายถึงอะไรเมื่อทานกลาววา “ผล ที่เกิด ขึ้น จริ งของศี ล มหาสนิท คือ การเปลี่ย นแปลงมนุษ ย ใน พระเจา”(ดานขางขอ 206)

สิ่งทาทาย

ปฏิบัติ : เริ่มสัปดาหนี้ อยางนอยวันละครั้ง ขอองคพระผูเปนเจาผู ประทับในศีลมหาสนิทเสด็จเขามาในวิญญาณของของทาน เพือ่ เลี้ยง ดูความหิวโหยของทาน และขอบคุณพระองคสําหรับทุกสิ่งที่ทรงทํา เพือ่ ทาน การทําแบบนีบ้ างครัง้ เราเรียกวา”การรับศีลโดยปรารถนา” รําพึงภาวนา : ทุกวันตลอดหนึ่งสัปดาห ภาวนาดวยถอยคําของนัก บุญโทมัสวา “ขาแตพระเจา องคพระผูเปนเจาของขาพเจา” หลับตา นึกวาพระเยซูเจาทรงยืนอยูตอหนาทาน มอบพระองคเพื่อทาน ไป : เขารวมพิธีบูชามิสซาในวันธรรมดาเชนเดียวกับบูชามิสซาวัน อาทิตย ขอพระเยซูเจาใหทรงเพิ่มความปรารถนาของทานในการรับ พระองคในศีลมหาสนิท

43

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการเยียวยารักษา : ศีลอภัยบาป / ศีลแหงการคืนดี และ ศีลเจิมผูปวย ไตรตรอง

หัวขอที่ 6 : รักษาบาป วิญญาณที่เจ็บปวย กลาวนํา

ทานรูวารูสึกอยางไรเมื่อไมสบาย บางทีทานอาจปวยจนแทบขยับตัวไม ได ความเจ็บปวยจํากัดพลังของเราที่จะมีชีวิตอยู ขึ้นอยูกับชนิดของโรค ที่เกี่ยวของ มันสามารถแพรกระจายไปยังผูอื่นและเปนอันตราย บาป คือความเจ็บปวยชนิดหนึ่ง เนื่องจากรางกายทํางานไดไมดีเมื่อปวย ดัง นั้นวิญญาณจึงทํางานไมถูกตองเมื่อเราทําบาป แตกตางจากความเจ็บ ปวยทางรางกาย ซึ่งอาจเปนหรือไมเปนสิ่งที่เราตองรับผิดชอบ บาปคือ “ความเจ็บปวย”ที่เรานํามาสูตัวเราเอง แมความเจ็บปวยไมไดแปลวา คนปวยเองไดทําบาป แตความเจ็บปวยในโลกของเราเปนผลของบาป กําเนิด ซึ่งเปนบาปของบิดามารดาคูแรกของเรา พระเยซูเจาทรงสงสาร ผูท่ไี ดรบั บาดเจ็บจากบาป ความเจ็บปวย และความไรความสามารถ ใน สมัยของพระองค พระองคทรงรักษาผูคนและใหอภัยบาป ทุกวันนี้ บาง ครัง้ พระองคยงั คงรักษาผูคน และทรงใหอภัยผูท เี่ สียใจในบาปทีพ่ วกเขา กระทํา พระองคประทานศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการเยียวยารักษา คือ ศีลเจิม ผูปวย และศีลแหงการคืนดี (ศีลอภัยบาป)

เนื้อหา

อาน YOUCAT ขอ 224, 226-228, 233, 238-239, 241-243 และ 245-246

ตอบคําถาม

1. ทําไมพระเยซูเจาจึงทรงตั้งศีลศักดิ์สิทธิ์แหงการเยียวยารักษา? (ขอ 224, 226 และขอ 243) 2. ถาพระเจาแตเพียงผูเ ดียวทีท่ รงอภัยบาปได บาทหลวงทําไดอยางไรใน ศีลแหงการคืนดี? (ขอ 228) 3. ความลับของศีลอภัยบาปคืออะไร? (ขอ 238)

44

เมือ่ พระเยซูเจาทรงเริม่ ชีวิตสูสาธารณะ ชน พระองคตรัสวา “จงกลับใจ และ เชื่อขาวดีเถิด”(มก 1:15) การเรียกให ติดตามพระคริสตเจาเปนการเรียกให หั น หนี อ อกจากตนเองและจากบาป และหันไปสูการเปนผูนําขาวดี ขาวดี แหงการชวยใหรอดพนและการใหอภัย ทานสามารถละทิ้งตัวตนเกาของทาน ไวข างหลั งและหั นมาหาพระเยซู เจ า ดวยอานุภาพของศีลอภัยบาป ซึ่งประ ทานพระหรรษทานใหเราเพื่อพิจารณา ตนเอง สารภาพบาปของเรา และได รับประสบการณของการใหอภัยและ การคื น ดี กั บ พระเจ า พระบิ ด าของ เรา เราไดรับความเขมแข็งใหยึดมั่ น ในเจตนาดีของเราและละทิ้ง หนทาง ของบาปไวเบื้องหลัง พระเจาของเรา เปนพระเจาผูทรงเมตตา พระองคทรง ทราบถึงความตองการของเราและทรง ปรารถนาที่จะรักษาเราในทุกวิธีที่เรา ตองการการรักษา เราจําเปนตองให ความสําคัญกับองคพระผูเปนเจาและ ใชศีลศักดิ์สิทธิ์อันทรงพลังที่พระองค ประทานใหเพื่อประโยชนนิรันดรของ เรา (อานตอ...)


4. อธิบายผลเชิงบวกของการสารภาพบาป (ขอ 239) 5. อธิบายวาเหตุใดพระศาสนจักรจึงหวงใยคนเจ็บปวย (ขอ 241-242) 6. ครสามารถรับศีลเจิมผูปวย และมีผลอยางไร? (ขอ 243-246)

พระคัมภีร

1. ใน ลก 19:10 และ มก 2:17 ทําไมพระเยซูเจาจึงทรงเสด็จมาใน โลก? 2. อาน 1 ยน 1:8 ศีลอภัยบาปตอสูกับแนวโนมการหลอกลวงตนเอง อยางไร? 3. ใน ลก 15:11-32 เรื่องของลูกลางผลาญ เรื่องราวนี้สอนเราเกี่ยว กับการเตรียมตัว ผลกระทบ และการสารภาพบาปอยางดี ได อยางไร? 4. ศีลศักดิ์ประการใดที่พระเยซูเจาทรงตั้งขึ้นใน ยน 20:22-23 และ ทรงกระทําเมื่อใด? 5. ใน ยก 5:14 นักบุญยากอบ กลาวถึงศีลศักดิ์สิทธิ์ประการใด และ ใครคือ”ผูอาวุโส”ของพระศาสนจักร?

พูดคุยกับเพื่อน

1. ทานเคยมีประสบการณกับภาระในชีวิตหรือไม? ทานตองการให หมดภาระ ฟนฟูพละกําลัง มีความผองแผว และเปดหนาใหมใน หนังสือชีวติ ของทานหรือไม? ทานคิดวาการสารภาพบาปบอยๆ นัน้ คุมคาที่จะลองไหม? 2. เราจะพิจารณามโนธรรมอยางดีไดอยางไร? 3. พระเยซูตอ งการรักษาทานจริงๆหรือ? ทําไมพระองคจงึ ไมเพียงแค รักษาทุกคนในฉับพลัน? พระองคทรงตั้งศีลเจิมผูปวยเพื่อใคร?

สิ่งทาทาย

สารภาพบาป : อยางนอยสัปดาหละครั้ง ใชประโยชนจากศีลอภัย บาปเพื่อฟนฟูวิญญาณและความเขมแข็งของทาน เพื่อรองขอความ เมตตาจากพระเยซูเจา ตรวจสอบ : เริ่มตั้งแตวันนี้ดวยการพิจารณามโนธรรมของทานวัน ละ 5 นาที ภาวนา : ทุกวันในสัปดาหนี้ ใหภาวนาสําหรับผูปวยและคนใกลตาย

45

ไตรตรอง (ตอจาก...) 1. ศี ล เจิ ม ผู  ป  ว ยและศี ล อภั ย บาปคล า ย กั น อย างไร? และมี ความแตกตา งกั น อยางไร? 2. การดูแลร างกายสามารถช วยปอ งกั น ความเจ็บปวยทางรางกายได เราจะทํา อะไรไดบา งเพือ่ ปองกันความเจ็บปวยทาง วิญญาณจากบาป?

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... .....................................................


ศีลศักดิส์ ทิ ธิ์แหงความเปนหนึง่ เดียวกันและ การแพรธรรม : ศีลบวช และศีลสมรส ไตรตรอง

หัวขอที่ 7 : ไมมีเพื่อฉัน ตัวฉัน และฉัน กลาวนํา

ทานเคยมีประสบการณในการทําบางสิ่งเพือ่ คนอื่นโดยไมมอี ะไรใหทา น หรือไม? เมือ่ ใดก็ตามทีเ่ ราทําอะไรแบบนัน้ เราจะเขาใกลความรักในแบบ ทีพ่ ระเจาทรงรักและรับรูถ งึ ความสุขทีพ่ ระองคทรงรู ไมใชเรือ่ งงายทีจ่ ะทํา อยางไมเห็นแกตวั การตกในบาปทําใหเรามักจะมีทศั นคติเพื่อฉัน ตัวฉัน และฉัน ฉันตองมากอน พระเยซูเจาทรงมอบ ศีลศักดิ์พิเศษสองประการ ใหพระศาสนจักร เพื่อชวยเราใหออกจากตนเอง และมีชีวิตเพื่อผูอื่น ศีลสมรสและศีลบวช ทัง้ สองประการนีเ้ รียกวาศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ หงความเปน หนึ่งเดียวกันและการแพรธรรม ทั้งสองประการมุงสูประโยชนของผูอื่น ชายคนหนึ่งรับศีลบวชไมใชแคเพื่อตัวเขาเอง และไมมีใครที่เขาสูชีวิตที่ แตงงานแลวเพียงเพื่อประโยชนของตนเอง ศีลศักดิ์สิทธิ์ทั้งสองประการ สรางประชากรของพระเจา เปนชองทางทีพ่ ระเจาประทานความรักมายัง โลกและชวยใหเราแตละคนเริม่ สัมผัสกับความสุขจากการลืมตนเองและ รักเหมือนที่พระคริสตเจาทรงรัก

เนื้อหา

อาน YOUCAT ขอ 249-251 และ 257-259

ตอบคําถาม

1. การบวชเปนบาทหลวงคาทอลิกหมายความวาอะไร? (ขอ 249-250) 2. ลําดับของศีลบวชเปนอยางไร? (ขอ 251-255) 3. ทําไมผูที่รับศีลลางบาปและศีลกําลังแลวเทานั้นจึงรับศีลบวชได? (ขอ 256-257) 4. ทําไมจึงตองมีชีวิตโสด? บาทหลวงคาทอลิกแตงงานไดหรือไม? (ขอ 258)

46

อาจดูเหมือนวาศีลบวชและศีล สมรส เกือบจะตรงขามกัน พระสังฆราชและ บาทหลวงต อ งเป น เพศชายเท า นั้ น และโดยทั่วไปแลวไมแตงงาน คนที่ แตงงานเปนเพศตรงขามกัน ชายและ หญิง แตในทางกลับกันศีล ศักดิ์สิ ท ธิ์ ทั้งสองประการนี้คลายกันมาก ทั้งสอง ศีลหวงใยผูอื่นและรับใชเพื่อนําผูอื่นมา รูจักพระเจา ดวยเหตุนี้จึงเรียกวา ศีล ศัก ดิ์สิทธิ์แห งความเปนหนึ่ งเดี ยวกั น พระสังฆราชและบาทหลวงที่ถือ โสด แตงงานกับพระศาสนจักร ในฐานะที่ พระคริสตเจาทรงเปนเจาบาวของพระ ศาสนจักรซึ่งเปนเจาสาวของพระองค พระสังฆราชและบาทหลวงมีสวนรวม ในบทบาทสามี ข องพระคริ ส ตเจ า ที่ เกี่ยวของกับพระศาสนจักร ศีลสมรส ชวยใหคูสมรสสัมผัสกับความเปนหนึ่ง เดียวในชีวติ สมรสทีพ่ ระคริสตมกี บั พระ ศาสนจักรของพระองค 1. ทานเคยคิดวาบาทหลวงแต งงาน กั บ พระศาสนจัก รหรื อ ไม ? ความ คิดนี้สงผลตอการสนทนาเรื่องตางๆ เชนบาทหลวงเปนชายเทานั้นและ การประพฤติ พ รหมจรรย ข อง บาทหลวงหรือไม? (อานตอ...)


5. โดยทางศีลลางบาป พระคริสตเจาทรงทําใหเราแตละคนเปนสงฆ ความเปนสงฆนี้แตกตางจากสมณภาพที่ไดรับการบวชอยางไร? (ขอ 259) 6. นักบุญโทมัส สอนวา “พระสงฆที่ไดรับการบวช เปนดั่งเครื่อง มือแหงการชวยใหรอดพน มิใชเพือ่ มนุษยคนใดคนหนึง่ แตเพือ่ พระ ศาสนจักรทัง้ มวล”(ดานขางขอ 248) พระศาสนจักรไดรบั ประโยชน อยางไรจากบาทหลวงที่สันโดด?

พระคัมภีร

1. ตาม 1 ทธ 2:4-5 พระคริสตเจายังทรงเปนสงฆและคนกลางแตเพียง ผูเดียวของเราในปจจุบันไดอยางไร? 2. ถอยคําใดที่พระเยซูเจาตรัสกับบรรดาอัครสาวกใน 1 คร 11:23-25 ที่แสดงวาพระองคทรงตั้งพวกเขาเปนสงฆรุนแรก และทรงตั้ง ศีลบวช? 3. อาน ยน 13:12-17 พระเยซูเจาตรัสอะไรกับบรรดาอัครสาวกเรื่อง กระแสเรียกความเปนสงฆของพวกเขา?

พูดคุยกับเพื่อน

1. นักบุญโทมัส หมายความวาอะไรเมื่อทานกลาววา “พระคริสต เจาเทานั้นทรงเปนสงฆแทจริง สวนคนอื่นๆ เปนศาสนบริกรของ พระองค”(ดานขางขอ 248) 2. นักบุญยอหน เวียนเนย กลาววา “หากผูใดตองการทําลายศาสนา เขาจะเริ่มดวยการโจมตีพระสงฆ”(ดานขางขอ 251) ทําไมจึงเปน เชนนั้น? 3. นักบุญอิกญาซีโอ แหงอันทิโอก กลาววา เราตองปฏิบตั ติ ามการนํา ของพระสังฆราช”(ดานขางขอ 252) ทําไมทานจึงกลาวเชนนั้น?

สิ่งทาทาย

ภาวนา : วอนขอพระเจาสําหรับกระแสเรียกในการเปนบาทหลวง ให ผูเ ปนชายจะไดตอบรับการเรียกของพระองคเพือ่ รับใชพระศาสนจักร ของพระคริสตเจาในความศักดิ์สิทธิ์ของชีวิต ในฐานะศาสนบริกร ผูไดรับการบวช สนับสนุน : คําจุนสมเด็จพระสันตะปาปา พระสังฆราชและบาทหลวง ในทองถิ่นของทาน ดวยการสวดภาวนาและเชื่อฟงพวกทาน

47

ไตรตรอง (ตอจาก...) 2. ผูมีความเชื่อแตละคนสามารถเปนชาย หรือหญิงก็ได แตโดยทั่วไปแลวเราคิดวา พระศาสนจักรโดยรวมเปนเพศใด? เรา มักใชศัพทเฉพาะทางเพศใดสําหรับพระ ศาสนจักร? เพราะเหตุใด?

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ......................................................


ศีลศักดิ์สิทธิ์แหงความเปนหนึ่งเดียวกันและ การแพรธรรม : ศีลบวช และศีลสมรส ไตรตรอง

หัวขอที่ 8 : เธอถูกสรางมาเพื่อฉัน ฉันถูกสรางมา เพื่อเธอ กลาวนํา

เมือ่ สตีวี่ วันเดอร รองเพลง “ฉันถูกสรางมาใหรกั เธอ” และเมือ่ มารูน รอง เพลง “และเธอจะไดรับความรัก” ทุกคนรูวาพวกเขารองเพลงเกี่ยวกับ อะไร ชายถูกสรางมาเพื่อหญิง และหญิงถูกสรางมาเพื่อชาย และความ รักไมไดเกิดขึ้นในเพียงวันเดียว ลึกๆ ในใจของเราทุกคนตองการเปน ที่รักแตเพียงผูเดียว ทั้งหมด และตลอดไป สิ่งที่ใกลชิดที่สุดในโลกเพื่อ เติมเต็มความปรารถนาคือความรักของการแตงงาน “ชายจะทิ้งมารดา ของตนและผูห ญิงก็ออกจากบานของเธอ พวกเขาจะเดินทางไปยังที่ท่ที ้งั สองจะเปนหนึ่งเดียวกัน” เปนเนื้อเพลงจากเพลงแตงงาน แสดงออกถึง ความเปนจริงของพันธสัญญาของการแตงงานไดเปนอยางดี แมวา เราถูก สรางมาเพือ่ ความรักนี้ แตตวั ตนทีเ่ ห็นแกตวั ของเรานัน้ ไมสามารถกระทํา ใหสําเร็จไดหากปราศจากความชวยเหลือจากพระเจาความชวยเหลือ นั้นกําลังจะมาถึงสําหรับผูที่มอบใหดวยความเต็มใจและอยางอิสระ ใน การรับศีลสมรส ปราศจากสิ่งเหลานี้ พวกเราสวนใหญจบลงดวยหนึ่ง ในสิ่งเหลานี้ “เธอทิ้งฉันไป เขาทิ้งฉันไป ฉันไปตอไมไหว” หรือ เพลง รักอกหัก “เฮ มีผูหญิงขี้เหงา ผูชายขี้เหงา” เราไมไดถูกสรางมาเพื่อเปน แบบนี้ พระเจาทรงมีบางสิ่งที่ดกี วาสําหรับเราอยูใ นใจของพระองคแลว

เนื้อหา

อาน YOUCAT ขอ 260-261, 263-264 และ 271

ตอบคําถาม

1. ชายและหญิงมาแตงงานกันไดอยางไร?(ขอ 260-261) 2. ทําไมการแตงงานจึงเปนคําสัญญาที่ลมเลิกไมได?(263) 3. สิ่งที่คุกคามคูสมรสคืออะไร? สิ่งที่รื้อฟนขึ้นใหมในการแตงงานคือ อะไร? (ขอ 264) 4. ครอบครัวที่สรางอยูบนศีลศักดิ์สิทธิ์ของการแตงงาน กลายเปนเกาะ แหงชีวิตคริสตชนไดอยางไร? (ขอ 271 และดานขางขอ 268-269)

48

ทานเชื่อในความรักหรือไม? เราทุกคน โหยหาความรัก ปรารถนาที่จะรัก และ ถูกรัก พระเจา ผูทรงเปนความรัก ทรง ทราบวาเราจะไดรับประสบการณที่ดี ที่สุดและแบงปนความรักของพระองค ไดอยางไรระหวา งการจาริก บนโลก นี้ พระองคทรงสรางหญิงเพื่อชายใน ทํานองเดียวกัน ดวยเหตุนี้ หลายคน จะได รั บ เรี ย กให แ ต ง งาน และการ เรียกใหแตงงานแบบคริสตชนเปนการ เรียกใหรักผูอื่นดวยความมุงมั่นอยาง เต็มที่จนถึงที่สุด แมวาชายและหญิงจะ ถูกกําจัดซึ่งกันและกันจากการเปนสิ่ง สรางของพระเจา พระเจามิไดทรงเรียก ทุกคนใหแตงงาน หลายคนที่พระองค ทรงเรียกใหเปนโสด “เพราะเห็นแกพระ อาณาจักรของพระเจา”(ลก 18:29) ผูรบั เจิม บาทหลวงที่ถือโสด และฆราวาส ที่เปนโสดมีอิสระที่จะทํางานเต็มเวลา เพือ่ พระคริสตเจา และประสบผลสําเร็จ จากการรับใชผอู นื่ ผูท ไ่ี ดรบั เรียกใหเปน โสดละทิ้งกิจกรรมทางเพศเพื่อที่พวก เขาจะไดทุมเทพลังใหกับสิ่งอื่นๆ แต พวกเขายังคงถูกเรียกใหมีชีวิตที่เต็มไป ดวยความรัก (อานตอ...)


พระคัมภีร

1. คําแนะนําของนักบุญเปาโล ทีเ่ ปนแรงบันดาลใจใหกบั คูแ ตงงานใน อฟ 5:21-33 คืออะไร? การแตงงานของคริสตชนเปนสัญลักษณของ ความรัก ของพระคริ สตเจาที่ มี ตอ พระศาสนจัก รของพระองค อยางไร? 2. นางรูธ สัญญากับแมสามีของเธอใน นรธ 1:16-17 สะทอนถึง คําสัญญาที่คูสมรสคริสตชนทําตอกันอยางไร? 3. อาน มธ 19:4-9 พระเยซูเจาตรัสถึงความยั่งยืนของการแตงงาน ไวอยางไร? 4. ใน ยน 2:1-11 นักบุญยอหน เชือ่ มโยงการแตงงานของคริสตชนกับ ความรักของพระคริสตเจาและการเชื่อฟงของเราตอพระองค อยางไร?

พูดคุยกับเพื่อน

1. ทานคิดวาเหตุใด (Kierkegaard) เกียเกอการด (นักปรัชญาชาว เดนมารก ค.ศ. 1813-1855) จึงกลาววา “ความรักเต็มเปย มสมบูรณ ในความซื่อสัตย”? (ดานขางขอ 261) 2. แสดงความคิดเห็นในคํากลาว “ความซื่อสัตยอยางสมบูรณในการ แตงงาน มิใชมาจากความสําเร็จของมนุษย แตเปนพยานถึงความ ซื่อสัตยของพระเจา”(YOUCAT ขอ 263) ทําไมคนที่พูดความจริง หรือมีความซื่อสัตยอยางแทจริงจึงมีสําคัญมากบนโลกนี้? 3. แสดงความคิดเห็นในคํากลาวสองประการ ที่อยูดานขางขอ 262263 ที่วา “การรักใครสักคนหนึ่ง หมายถึง การมองเขาอยางที่ พระเจาทรงปรารถนา”(Fyodor M. Dostoyevsky) และ “การรัก ใครสักคนหนึ่ง หมายถึง การเปนผูเดียวที่มองเห็นเขาเปนสิ่ง อัศจรรย ซึ่งผูอื่นมองไมเห็น”(Francois Mauriac) ทานคิดวาความ หมายของรักแทระหวางชายหญิงคืออะไร?

สิ่งทาทาย ภาวนา : วอนขอพระเจาทุกวัน ใหพระองคแสดงกระแสเรียกของ ทานและเตรียมทานใหพรอม ภาวนาขอสิ่งเดียวกันสําหรับคูครองใน อนาคตของทานหากพระเจาทรงเรียกทานใหแตงงาน วอนขอ : หันไปหาพระนางมารีย พระมารดาของพระเจาและวอนขอ พระนางเพือ่ ใหทา นไดรบั และดําเนินชีวติ ความบริสทุ ธิ์และความถอม ตนในชีวิตประจําวันของทาน มีสวนรวม : สนับสนุนครอบครัวของทานหรือครอบครัวของพระเจา คือพระศาสนจักร ในสัปดาหน้ี ใหกระทําสิ่งหนึ่งทีเ่ กีย่ วกับหนาทีต่ าม ปกติของทานเพื่อทําใหสิ่งตางๆดีขึ้นเพื่อครอบครัวหรือวัดของทาน

49

ไตรตรอง (ตอจาก...) 1. ความท า ทายใดบ า งที่ ผู  ค นต อ งมี ความกระตื อ รื อ ร น และมุ  ง มั่ น เป น พิ เ ศษที่ ต อ งเผชิ ญ ในชี วิต การแต ง งาน โดยเฉพาะอยางยิง่ ในเรือ่ งชีวติ ครอบครัว และอาชีพของพวกเขา? สิ่งใดที่มีความ สําคัญอันดับแรก? 2. ทานคิดวามีปญหาอะไรที่สังคมใหความ สําคัญกับการแสดงออกทางเพศสําหรับ ผูที่ดําเนินชีวิตอยางบริสุทธิ์ และใชเรื่อง เพศไดอยางดี?

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


การเฉลิมฉลองพิธีกรรมอื่นๆ ไตรตรอง

หัวขอที่ 9 : สวนประกอบ กลาวนํา ทานมีพื้นฐานแลว ในการมีหองที่มี “สวนประกอบ” แมแตในพระ ศาสนจักร แมเราจะไดรบั เรียกใหมีความเชือ่ เดียว แตกไ็ มใช “ขนาด เดียวที่เหมาะกับทุกคน” พระเจาและพระศาสนจักรของพระองคให เรามีหลายวิธีในการรับและรวมมือกับพระหรรษทาน หลายวิธีใน การไดรับพลังเพื่อความดีและการปองกันจากความชั่วราย รวมทั้ง สิ่งคลายศีลตางๆ การขับไลปศ าจ การเคารพตอพระธาตุ การจาริก แสวงบุญ การเดินรูปสิบสีภ่ าค แมกระทัง่ เมือ่ เราตาย พระศาสนจักร จัดใหมีพิธีศพแบบคริสตชนและการฝงศพเพื่อประโยชนของผูตาย และเพื่อแสดงความเปนจริงที่วาเราตายในพระคริสตเจาเพื่อที่จะ กลับเปนขึ้นมาพรอมกับพระองค เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 272-278 ตอบคําถาม 1. ทําไมสิ่งคลายศีลจึงใหความชวยเหลือที่ทรงพลังในชีวิตฝายจิต? (ขอ 272) 2. พระเยซูเจาทรงมีอาํ นาจเหนือปศาจหรือ? พระศาสนจักรมีอาํ นาจ ดวยหรือ? การขับไลปศาจคืออะไร?(ขอ 273) 3. ความศรัทธาประชานิยมประกอบดวยอะไรบาง?(ขอ 274-276) 4. การเดินรูปสิบสี่ภาคคืออะไร?(ขอ 277) 5. ทําไมพิธศี พและการฝงศพของคริสตชนจึงมีความสําคัญ?(ขอ 278) 50

สิ่งคลายศีลไมไดทําใหเกิดในสิ่ งที่ศีล ศักดิส์ ิทธิม์ คี วามหมาย แตสามารถแบง ปนพระหรรษทานที่พระเจาปรารถนา จะประทานใหกับเรา หากเราใชดวย ความเชื่ อ ในพระเจ า ท า นรู  ห รื อ ไม ว า อํ า นาจอั น ทรงพลั ง ของการสวม ใส เหรีย ญดวยความเชื่อ เปน สิ่ ง ที่น า อัศจรรย เชนเหรียญนักบุญคริสโตเฟอร (เพียงตัวอยางเดียวซึง่ ยังมีอีกมากมาย) ทานเคยเคารพพระธาตุศกั ดิส์ ทิ ธิ์ และมี ประสบการณของการไดรับแรงบันดาล ใจจากการรูจัก”เพื่อนของพระเจา “ที่ คิด ถึงทานและภาวนาเพื่อ ทาน เพื่อ ทานจะไดรับความชวยเหลืออันยิ่งใหญ จากพระเจาเพื่อเอาชนะความชั่วราย และทําความดีที่ยั่งยืนในชีวิตของทาน หรือไม? 1. เปน การถื อ นอกรี ต ในอ างวา วั ต ถุ ธรรมชาติบางอยางเปนพลังเหนือ ธรรมชาติ สิง่ ทีพ่ ระคัมภีรอ ธิบายไวใน ลก 8:44 กจ 5:15 และ กจ 19:11-12 แตกตางจากการถือนอกรีตอยางไร? มีองคประกอบเพิ่มเติมอะไรบางที่ ทําใหเกิดขึ้น? 2. ทําไมคริสตชนจึงควรมีท้งั ความเศรา โศกและความชื่นชมยินดี ในพิธีศพ

(อานตอ...)


พระคัมภีร 1. อาน มธ 10:1 แสดงใหเห็นวาพระเยซูเจาทรงมีอํานาจเหนือ ปศาจ แลวอาน 1 ปต 5:8-9 เตือนเราถึงการคุกคามของปศาจ ในโลก ทุกวันนีพ้ ระเยซูทรงใชอาํ นาจเหนือความชัว่ รายในพระ ศาสนจักรของพระองคอยางไร? 2. อาน ลก 23:24-53 ดวยทาทีของการภาวนา และใชคําพูดของ ทานเองบอกวาคริสตชนไดรับประโยชนอะไรจากการทําตาม ทางแหงกางเขนของพระเยซูเจา? พูดคุยกับเพื่อน 1. ทานเคยเขารวมในการแหทางศาสนา การจาริกแสวงบุญ หรือ การเคารพพระธาตุของบรรดานักบุญหรือไม? ตัวอยางของ ศรัทธาประชานิยมเหลานี้ชวยนําเราไปสูพระคริสตเจา ได อยางไร? 2. ทําไมพิธศี พและการฝงศพของคริสตชนจึงมีความสําคัญมาก? 3. ทานเคยใชสิ่งคลายศีลใดบาง? ทานสามารถแนะนําใหเพื่อน คริสตชนไดไหม? สิ่งทาทาย คนหา : คนหาวางานศพครั้งตอไปจะจัดขึ้นที่เขตวัดของทานเมื่อ ใด เขารวมงานนั้นและสวดภาวนาใหผูจากไป ติดตาม : รวมเดินทางแหงกางเขนไปกับพระเยซูเจา ในเดือน นี้ หาเวลาในวันศุกร เดินรูปสิบสี่ภาค เปนการอุทิศตนที่ทรง พลัง และมีมาแตโบราณที่ชว ยใหเราแบกกางเขนในชีวิตของเรา (ขอ 277) ไป : ไปหาบาทหลวงเจาอาวาสที่วัดของทาน ขอใหทานเสกสาย ประคํา หรือรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ทานมี และใชสิ่งนั้นดวยความเชื่อ

51

ไตรตรอง (ตอจาก...)

คริ ส ตชนที่ เ ป น เพื่ อ นหรื อ สมาชิ ก ใน ครอบครัว? 3. สิ่งคลายศีลบางครั้งเกี่ยวของกับศรัทธา ประชานิยม ทานคิดวาอาจมีอันตราย ทีเ่ กีย่ วของกับศรัทธาประชานิยมและผล ประโยชนหรือไม? อธิบายคําตอบของ ทาน

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... .....................................................


ภาค 3 เรามีชีวิตในพระคริสตเจาอยางไร ใชชีวิตใหเต็มที่


เราอยูในโลกนี้ทําไม เราควรทําอะไร และ พระจิตเจาทรงชวยเราใหกระทําอยางไร หัวขอที่ 1 : จินตนาการของทุกคน กลาวนํา

พระเจาทรงสรางมนุษยใหมีรางกายและวิญญาณ เปน “จินตนาการ” อย า งแท จ ริง พระเจา ทรงสร า งเรามาในภาพลั ก ษณข องพระองค และเพื่ อ จุด ประสงค ข องพระเจ า เนื่อ งจากพระเจา ทรงเป น ความ รั ก เราตอ งทํ าเพื่ อ ความรั ก เนื่ อ งจากพระเจ า ทรงเปน ความสุ ข นิ รันดรและสูงสุด นั่นคือเราถูกสรางขึ้นมาเพื่อสิ่งนี้เชนกัน เนื่องจาก พระเจาทรงเปนความดีบริบูร ณ ความงาม และความจริง พระองค ทรงประทานความพึ งพอใจในการแสวงหาและคน หาความดี ความ งาม และความจริ ง และนั่ น คื อ เหตุผ ลที่ พ ระองค ทรงสร า งเราให มี อิส ระเพื่อ ให เ ราสามารถเลื อ กความรัก ความสุ ข ความดี ความ จริง และความงาม ในตอนนี้ และตลอดไป มนุษ ยทุกคนไมวาเด็ก ผูสูงอายุ มีขอจํากัด ขี้เหร เหงา หรือยากจน ถูกสรางขึ้นมาเพื่อความรัก ถูกสรางมาเพื่อพระเจา ศีลธรรมทุกอยางเกี่ยวของกับเรื่องนี้จริงๆ คือ รักทุกคน ไมวาจะทําอะไร ไมวาจะราคาเทาใด

เนื้อหา

อาน YOUCAT ขอ 279-280, 283, 285-287, 290-292, 295 และ 297

ตอบคําถาม

1. ความเชื่อและศีลศักดิ์สิทธิ์มีบทบาทอยางไรในการดําเนินชีวิตที่ดี? (ขอ 279) 2. เหตุใดมนุษยทกุ คนตัง้ แตชว งแรกของชีวติ ทีอ่ ยูใ นครรภจงึ มีเกียรติและ ศักดิ์ศรี? (ขอ 280) 3. ความสุขแทจริงคืออะไร และจะชวยอะไรกับความสุขของเรา? (ขอ 283 และ 285 และดานขางขอ 282 อางคํากลาวของ Pascal)

54

ไตรตรอง ทําไมทานจึงมาอยูในโลกนี?้ พระเจา ทรงสรา งท านให มีลั ก ษณะเฉพาะ เป น ปจ เจกบุ ค คลที่ไ มส ามารถทํ า ซํ้าได บุคคลคนหนึ่ง เราแตละคน ควรจะทํ า อย า งไรกั บ พระพรแห ง ชีวิตอันลํ้าคาที่พระเจาทรงประทาน ใหแกเรา? พระ คริส ตเจาตรัส วา “จงแสวงหาเถิด แลว ทานจะพบ” (มธ 7:7) ทุกคนที่แสวงหาดวยความ จริงใจ จะพบ ทีละขั้นตอน คําตอบ สําหรับคําถาม “ทําไมฉันจึงมาอยู ที่นี่”? แตเมื่อเราพบ เราเต็มใจที่จะ ดําเนินชีวิตตามนั้นหรือไม? นั่นเปน คําถามที่ดี 1. ทานคิดวาทําไมบางคนดูเหมือนใช เวลานานในการคนหาจุดมุงหมาย ในชีวิต พวกเขาไดพบหรือไม? 2. ทานเคยถามพระเจาเกี่ยวกับจุด มุงหมายในชีวิตของทานหรือไม? ทานเคยขอพระองคใหทรงนําทาง ทานในการคนหาการเรียกในชีวิต ของทานหรือไม?


4. อิสรภาพคืออะไร และมีไวเพื่ออะไร?(ขอ 286-287 และ 290) 5. การกระทําที่จบดวยความชอบธรรมหมายถึงอะไร? (ขอ 291-292) 6. มโนธรรมคืออะไร และเราจะสรางมโนธรรมที่ถูกตองไดอยางไร? (ขอ 295 และ 297)

พระคัมภีร

1. ยน 15:4-5 บอกเราถึ ง รากฐานทางศีล ธรรมทุก ประการของ คริสตชน คืออะไร? 2. พระเยซูเจาทรงมอบความสุขแทของพระองคใหกับเราใน มธ 5:312 จะมีอะไรสําหรับเราถาเราดําเนินชีวิตตามความสุขแท? 3. นักบุญยอหน สอนเราใน 1 ยน 3:1-3 ถึงที่มาของศักดิ์ศรีความเปน มนุษยของเราและโชคชะตาที่พระเจาทรงสรางเราแตละคน อะไร คือที่มาของศักดิ์ศรีของเรา และโชคชะตาของเราคืออะไร? 4. นักบุญเปาโล กล าวถึงเสรีภาพของคริสตชนใน รม 8:15 วา อยางไร?

พูดคุยกับเพื่อน

1. อานขอความดานขางของขอ 279 นักบุญเทเราซาแหงอาวิลลา ให คําแนะนําทีด่ มี าก ทานคิดวาจะเกิดอะไรขึน้ ถามีคนมากมายในโลก ทําตามคําแนะนําของเธอ? 2. สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต ที่ 16 ชีใ้ หเห็นวาเมือ่ พระเจาหาย ไปจากสังคมมนุษย มนุษยยอ มไมกา วหนาอีกตอไป ทานคิดวาทําไม จึงเปนเชนนั้น? เราจะเชิญพระเจากลับเขามาในชีวิตไดอยางไร? 3. บราเดอร โรเจอรชทู กลาววา ทีม่ าของความสุขของเราอยูใ นความ เปนหนึ่งเดียวกับพระเจา ทานเห็นดวยหรือไม? เพราะอะไร?

สิ่งทาทาย

ภาวนา : ในแตละวัน ใหภาวนาบอยๆวา “ขาแตพระเยซูเจา ขาพเจา วางใจในพระองค พระองคเทานั้นเพียงพอสําหรับขาพเจา” เคารพตอชีวิต : ทําอะไรบางอยางในสัปดาหนี้เพื่อชวยพี่นอง ปู ยา ตา ยาย หรือเพื่อนบาน ที่ตองการความชวยเหลือของทาน พระเยซู เจาตรัสวา “ทานไมไดทําสิ่งใดตอผูตํ่าตอยของเราคนหนึ่ง ทานก็ไม ไดทําสิ่งนั้นตอเรา”(มธ 25:45)

55

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ศักดิ์ศรีของมนุษย หัวขอที่ 2 : คุณธรรมคือรางวัลในตัวของมันเอง กลาวนํา ทานเคยมีเพื่อนไหม หรืออยางนอยทานก็คิดวาเขาเปนเพื่อนของ ทาน ที่ทานพบในภายหลังวาเขาพูดโกหกคนอื่นในเรื่องของทาน? หรือทานรูจ กั ใครบางคนทีด่ เู หมือนจะเปนมิตรกับทานอยางมาก เมือ่ ทานอยูใกล ๆ แลวพบในภายหลังวาเขาทําใหทา นผิดหวังอยูเสมอ? บางครั้งเราตองเรียนรูดว ยวิธีท่ยี ากเพื่อดูวา เพื่อนแทของเราคือใคร ทานไมสามารถเปนเพือ่ นไดเวนแตทา นจะฝกฝนคุณธรรม และความ ไววางใจของทานในผูใดก็ตามที่ยนื ยันวาเปนเพื่อนแตไมมคี ณ ุ ธรรม จะพิสูจนไดวาผิดที่ผิดทาง ไมชาก็เร็วทานจะถูกเผา ไมมีมิตรภาพ ที่แทจริงหากปราศจากการปฏิบัติคุณธรรม คุณธรรมเปนนิสัยในการทําความดี คุณธรรมบางประการเราไดรับ จากการกระทําความดีซา้ํ ๆเปน (คุณธรรมตามธรรมชาติ) แตคณุ ธรรม บางประการเราจะไดรับก็ตอเมื่อพระเจาประทานสิ่งเหลานี้ใหกับ เรา(คุณธรรมเหนือธรรมชาติ) ไมวาเราจะไดคุณธรรมมาอยางไรเรา ก็ตองใช มิฉะนั้นคุณธรรมจะไมเกิดผลดีกับเรา คําแนะนําหลักที่ เดล คารเนกี ใหไวในหนังสือขายดีที่มีชื่อเสียงของเขา เรื่อง วิธีการ เอาชนะใจเพื่อนและการมีอิทธิพลตอผูคน ทานไมสามารถชนะใจ เพื่อนหากทานไมเปนเพื่อนที่ดีตอตนเอง ทานไมสามารถมีอิทธิพล เหนือผูคนเพื่อความดีไดจนกวาทานจะเรียนรูที่จะฝกฝนคุณธรรม เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 299, 301-311, 313-314, 316 และ 318 56

ไตรตรอง พระเจาทรงอวยพรเราดวยพระพร และคุณธรรมตางๆมากมาย คุณธรรม ที่ปฏิบัตคิ ือ ความเชื่อ ความหวังและ ความรัก และ “ที่ยิ่งใหญที่สุดคือ ความรัก” ความจริงนี้มีพลังมากจน นักบุญออกัสติน ไปไกลถึงขนาดที่ วา “รักและทําในสิ่งที่ทานตองการ” พระเจา ผูท รงเปนความรัก ทรงสราง เรามาในภาพลั ก ษณ ข องพระองค ท านจะคน หาพระพรของพระองค และคุ ณ ธรรมที่ นํ า มาซึ่ ง ชี วิ ต และ ความรั ก อั น อุ ด มสมบู ร ณ ห รื อ ไม ? ทานจะปฏิบตั ิสิ่งเหลานีอ้ ยางซือ่ สัตย หรือไม? 1. บางครั้งเราคิดวา ตราบใดที่เรา ยังดีอยู เราสามารถทําอะไรก็ได ที่เราตองการ ทานคิดวานี่เปนสิ่ง ที่ทานนักบุญออกัสติน หมายถึง เมื่อทานกลาววา “รักและทําในสิง่ ที่ทานตองการ”หรือไม? 2. ทําไมทานจึงคิดวาการรักพระเจา และการรักเพือ่ นมนุษย เพราะเรา รักพระเจา นั้นยิ่งใหญกวาความ เชื่อและความหวัง?


ตอบคําถาม 1. เราจะเปนผูมีคุณธรรมไดอยางไร?(ขอ 299-306) 2. ความเชื่อคืออะไร? ความหวังคืออะไร? ความรักคืออะไร? (ขอ 305-309) 3. พระพรของพระจิต 7 ประการมีอะไรบาง?(ขอ 310) 4. ผลของพระจิต 12 ประการมีอะไรบาง?(ขอ 311) 5. เราทราบไดอยางไรวาพระเมตตาของพระเจาเปนคุณลักษณะที่ สําคัญที่สุดอยางหนึ่งของพระองค? (ขอ 313-314) 6. บาปทุกประการรายแรงเหมือนกันหรือไม?(ขอ 316) 7. กิเลสคืออะไร?(ขอ 318) พระคัมภีร 1. ตามที่กลาวใน 1 คร 13:1-13 คุณธรรมประการใดคงอยูตลอด ไป? 2. ทานนักบุญยอหน ใหไวใน 1 ยน 2:3-6 เหตุผลในการเชือ่ ฟงพระ บัญญัติของพระคริสตเจาคืออะไร? พูดคุยกับเพื่อน 1. บอยครัง้ ทีเ่ ราไดยนิ คําวาไมมใี ครทีด่ สี มบูรณ แตพระเยซูเจาตรัส วา “ทานจงเปนคนดีอยางสมบูรณ ดังทีพ่ ระบิดาเจาสวรรคของ ทาน ทรงความดีอยางสมบูรณเถิด”(มธ 5:48) สิ่งนี้จะเปนไปได อยางไร? 2. เราจะทุมเทและพึ่งพาพระจิตเจาใหมากขึ้นเพื่อดําเนินชีวิตที่มี พระพรแหงชีวิตและคุณธรรมไดอยางไร? สิ่งทาทาย เรียนรู : ทองจําคุณธรรมหลัก คุณธรรมเหนือธรรมชาติ และพระพร ของพระจิต ภาวนา : วอนขอพระจิตเจาอยางนอยวันละครั้ง เพื่อเพิ่มพระพร ทั้งเจ็ดประการในตัวทาน รัก : ในแตละวัน หาโอกาสที่จะบําเพ็ญประโยชนดว ยความรักตอ สมาชิกในครอบครัว เพื่อน หรือคนแปลกหนา 57

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ชุมชนมนุษย์ หัวขอที่ 3 : จุดจบที่โดดเดี่ยว กลาวนํา

หลายปกอน ทีมฟุตบอลของกองทัพเคยทําเกมรุกดวยชัยชนะอยางกวาง ขวาง สุดเสนขอบสนามเพียงไมกี่ฟุต เขาไมเคยเขารวมในการรวมกลุม กับทีม เขาแคอยูที่นั่นและเรียนรูบทบาทของเขาในการเลน แมวาเขาจะ รูวาตองทําอยางไร แตแฟนๆ สวนใหญก็ไมเคยไลเบี้ย เขาไดชื่อวาเปน จุดจบที่โดดเดี่ยว พระเจาทรงออกแบบเรามาเพื่อมิตรภาพ พระองคตอ งการใหเรา “รวม ตัวกัน” เรียนรูการเลนและการทํางานรวมกันเปนทีม ไมมใี ครมี”จุดจบที่ โดดเดี่ยว”ในการออกแบบของพระองค(เวนแตวา จะนับรวมบรรดาฤๅษี) เนือ่ งจากในการออกแบบของพระเจาเราตองการซึง่ กันและกัน จึงมีความ สําคัญอยางยิ่งที่เราจะตอง “คํา้ จุน” “พีน่ อ ง”(ลก 22:32) ดังที่พระเยซูเจา ตรัสสั่งนักบุญเปโตร เราไมสามารถมีชวี ติ ทีป่ ระสบความสําเร็จไดดว ยการมีชวี ติ อยูเ พียงลําพัง แตละบุคคล มีคณ ุ คาในตัวเองอยางหาที่สุดมิได จําเปนตองอยูในความ เปนนํา้ หนึ่งใจเดียวกันกับผูอื่น หรือทุกอยางแตกสลาย นาเสียดายที่เรา มักจะประสบกับสิ่งตางๆ ที่หลุดแยกออกไปและพังทลายลงเพราะความ บาปของเราเอง แตพระเจามิไดทรงทอดทิ้งเรา พระองคทรงประทาน พระจิตเจาลงมาใหเราเพื่อนําเราไปในพระคริสตเจา

เนื้อหา

อาน YOUCAT ขอ 321, 323-324, 329-330, 333-334, 337-339 และ 342

ตอบคําถาม

1. กฎเกณฑสําคัญ 4 ประการของคําสอนดานสังคมของพระศาสนจักร คืออะไร? (ดานขางขอ 323)

58

ไตรตรอง นักบุญสมเด็จพระสันตะปาปายอหน ปอล ที่ 2 ตรัสวา “ไมมีใครสามรถ กลาวอางอยางกาอินไดวา เขาไม ตองรับผิดชอบตอ ชะตากรรมนอง ชายของเขา” เรารวมกันในรูปแบบ ครอบครัว มนุ ษ ย ข องแต ล ะบุค คล เมื่ อ บุ ค คลเหล านั้ น มี ค วามเคารพ และรักซึ่งกันและกัน แลวเสรีภาพ สันติภาพ และความปลอดภัยก็จะ ปรากฏออกมาสํ า หรั บ สมาชิ ก ทุ ก คนในครอบครัวมนุษย นอกจากนี้ นักบุญคัทรีน แหงซีเอนา ยังไดกลาว ไววา “พระเจาตรัสวา เราประสงค ใหแตล ะคนพึ่งพาอาศั ยซึ่ งกั นและ กัน และทุกคนควรเปนศาสนบริกร ของเรา ในการแจกจายพระหรรษ ทานและพระพรตางๆที่พวกเขาได รับจากเรา”


2. ความยุติธรรมทางสังคมขึ้นอยูกับการเคารพศักดิ์ศรีของบุคคล มนุษย แตมนุษยทุกคนเทาเทียมกันหรือ?(ขอ 329-330) 3. กฎธรรมชาติคืออะไร และเราจะรูกฎไดอยางไร?(ขอ 333-334) 4. เราไดรับการชวยใหรอดพนอยางไร?(ขอ 337) 5. พูดคุยเกี่ยวกับความจริงเรื่องธรรมลํ้าลึกแหงพระหรรษทาน และ พระหรรษทานกระทําสิ่งใดใหเรา (ขอ 338-339)

พระคัมภีร

1. ทาคิดวา กจ 5:29 เสนอหลักการที่ดสี าํ หรับความยุตธิ รรมในสังคม อยางไร? 2. มธ 25:40 เปน พื้ นฐานของความยุติธรรมทางสังคมอยางไร? 3. จดหมายนักบุญเปาโล อฟ 2:8-10 ความเชื่อ พระหรรษทาน และ ผลงานที่ดีสัมพันธกันอยางไร? ผูใดกระทําใหเรามีผลงานที่ดี? 4. จดหมายนักบุญเปโตร ฉบับที่ 1 (1 ปต 1:14-16) ยืนยันอะไรเกี่ยว กับการเรียกของคริสตชน? เราซึง่ เปนคนบาปจะประสบความสําเร็จ ในการตอบรับการเรียกนั้นอยางไร?

พูดคุยกับเพื่อน

1. ทานคิดวา สังคมหรือปจเจกบุคคล สิง่ ใดสําคัญกวากัน? ใหเหตุผล จากคําตอบของทาน 2. เหตุใดความเปนบุคคลจึงเปนหลักการพืน้ ฐานสําหรับความยุตธิ รรม ในสังคม? 3. หลักการชวยเหลือกันคืออะไร และเราจะนําไปปฏิบตั ไิ ดอยางไรใน ชีวิตของเราเองและในสังคม?

สิ่งทาทาย

รัก : ในวันนี้ ใหกระทําสิ่งดีหนึ่งอยาง เพื่อสมาชิกในครอบครัวของ ทาน แตไมตองบอกกลาว ทองจํา : ตั้งใจที่จะทองจําพระดํารัสของสมเด็จพระสันตะปาปาเบเน ดิกต ที่ 16 “เราแตละคนเปนผลจากความคิดของพระเจา เราแตละ คนเปนที่ตองการ เราแตละคนเปนที่รัก เราแตละคนมีที่ของตนเอง” เรียนรู : ศึกษาความหมายแต ละประการของกฎเกณฑสําคัญ 4 ประการของคําสอนดานสังคมของพระศาสนจักร คือ ความเปน บุคคล ความดีสวนรวม ความเปนนํ้าหนึ่งใจเดียวกัน และหลักการ ชวยเหลือกัน

59

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


พระศาสนจักร หัวขอที่ 4 ทานไมสามารถใหในสิ่งที่ทานไมมี กลาวนํา ผูโฆษณามักจะใหคาํ มั่นสัญญา แตพวกเขาสามารถใหบริการไดจริง หรือ? ซื้อรถแลวทานจะไดผูหญิงคนนั้น กินอาหารที่รานฟาสตฟูด แหงนี้แลวทานจะไดรับการหอมลอมไปดวยรอยยิ้ม มีเพื่อนหัวเราะ ไมอยูคนเดียวอีกตอไป ความสุข ความพึงพอใจ ความรัก และจบลง ดวยความอางวาง ไมมสี งิ่ ใดบนโลกทีส่ ามารถใหสงิ่ เหลานีแ้ กทา นได นอกจากพระศาสนจักร เหตุผลทีพ่ ระศาสนจักรสามารถใหสงิ่ เหลานี้ แกทาน เพราะพระศาสนจักรมีอยูเ พื่อมอบพระเยซูเจาใหทาน ผูท รง เติมเต็มความปรารถนาทั้งหมดของเรา พระคารดินัล Henri De Lubac คณะเยสุอิต กลาววา “แมกระทั่ง วันนี้ พระศาสนจักรมอบพระเยซูเจาแกขาพเจา ซึ่งหมายถึงทุกสิ่ง ทุกอยาง” พระศาสนจักรโดยทางพระหรรษทานของพระเจา เชื่อม โยงทุกสิ่งที่คุกคามที่จะแยกเราออกจากการรูจักพระเยซูเจาอยาง แทจริง เวลาและพื้นทีไ่ มใชอุปสรรค การทดลองและความเศราโศก ไมสามารถทําใหเราอยูหางได แมแตบาปและความตายก็สามารถ เอาชนะได ในพระศาสนจักร เราไดฟงพระเยซูเจาตรัส ไดรบั การให อภัยของพระองค และไดรับการเลี้ยงดูจากพระองคในศีลมหาสนิท เราไดรบั สวนแบงในชีวติ ของพระคริสตเจาอยางใหเปลาเพือ่ ทีเ่ ราจะ ไดออกไปและใหสิ่งที่เราไดรับอยางใหเปลานี้ เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 343-344 และ 347 60

ไตรตรอง พระคารดินลั Henri De Lubac ถาม ว า “ขา พเจาจะพู ดถึ งพระองคไ ด อยางไร หากปราศจากพระศาสนจักร ที่เชื่อมโยงขาพเจาใหเปนหนึ่งเดียว กับพระองค” พระศาสนจักรเทานั้น ที่ ส ามารถมอบพระเยซู เ จ า ให กั บ เรา เราดวยความไววางใจในฐานะ สมาชิกที่ซื่อสัตยของพระศาสนจักร ไดรับสิทธิพิเศษที่จะมอบพระเยซูให กับทุกคนที่เราพบ 1. บอกวิ ธี ก าร บา งอย า งที่ พ ระ ศาสนจักรนําเสนอพระเยซูเจาให กับทาน? 2. บอกวิ ธี ก ารบางอย า งที่ ท  า นนํ า เสนอพระเยซูเจาใหกับผูอื่น?


ตอบคําถาม 1. พระศาสนจักรทําอะไรเพื่อเรา?(ขอ 343-344) 2. การแสรงหนาไหวหลังหลอกคืออะไร? และวิธีรกั ษาคืออะไร? (ขอ 347) พระคัมภีร 1. ใน 1 คร 13:1-13 นักบุญเปาโลบอกเราวาทําไมเราจึงตองเปน สมาชิกของพระศาสนจักรถาเราเปนของพระคริสตเจา นักบุญ เปาโลใหเหตุผลอะไร? 2. ใน ลก 10:16 เราไดรบั ฟงวาพระคริสตเจาทรงมอบอํานาจของ พระองคใหกบั ผูใ ด? ทําไมพระองคจงึ ทรงกระทําเชนนี?้ อํานาจ ของพระคริสตเจายังคงทํางานอยูในโลกของเราในปจจุบัน หรือ? พูดคุยกับเพื่อน 1. Blaise Pascal (ดูดานขางขอ 344) ใหคําแนะนําแกผูที่ตองการ มามีค วามเชื่อ ว า “กระทํ า ทุ ก อย า งที่ ค วามเชื่อ เรีย กรอ ง ประหนึ่งวาทานเปนผูม ีความเชื่อแลว” ทานคิดวากลยุทธนี้จะ ใชไดผลหรือไม? 2. คนแสรงหนาไหวหลังหลอกทําอะไร? เราจะหลีกเลีย่ งการแสรง หนาไหวหลังหลอกในชีวติ ของเราไดอยางไร? เราควรรีบกลาว หาผูอื่นวาแสรงหนาไหวหลังหลอกหรือ? เพราะอะไร? 3. ทานคิดวาผูที่เปนคาทอลิกมีความเชื่อตอไปไดถาเขาแทบไม ไดเขารวมในพิธีบูชามิสซาในวันอาทิตยหรือ? เพราะเหตุใด? สิ่งทาทาย จดจํา : เรียนรูและดําเนินชีวิตตามบทบัญญัติหาประการของ พระศาสนจักร ภาวนา : ในสัปดาหนี้ ภาวนาวอนขอสําหรับคาทอลิกทีเ่ ลิกดําเนิน ชีวติ ในความเชื่อ ภาวนาใหพวกเขากลับบานไปหาครอบครัวของ พระเจา 61

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ทานจะตองรักองคพระผูเปนเจาพระเจา ของทาน หัวขอที่ 5 : ใหทั้งหมดที่เปนของทาน กลาวนํา ในภาพยนตรเรื่อง Star Wars เมื่อโยดา ฝก ลุค สกายวอลคเกอร ใหเปนเจได เขากลาววา “ไมมีพยายาม ทําหรือไมทํา” ในทํานอง เดียวกัน พระเจาไมไดทรงสั่งใหเราพยายามรักพระองค เพือ่ ใหภาพ ที่ดีที่สุดของเรา พระคัมภีรพันธสัญญาเดิมกลาวไว และพระเยซูเจา เองไดทรงยํ้าวา “ทานจะตองรักองคพระผูเปนเจา พระเจาของทาน สุดจิตใจ สุดวิญญาณ สุดสติปญญา และสุดกําลังของทาน”(ฉธบ 6:5; มก 12:30) โยดาตองการใหลุค มอบความเปนอยูทั้งหมดให กับงานที่อยูในมือ จากนั้นก็ทําเทานั้น พระเจาทรงตองการใหเรา มอบทุกอยางของเรา แลวเราจะไมลมเหลวในความรัก มันไมได เปนเพียง”กําลัง”ในการทํางานในตัวเรา แตเปนพระเจาเองทีท่ รงรัก เรา เมื่อเรารับขั้นตอนแรกนี้เพื่อความรัก ก็จะเปนไปตามธรรมชาติ ที่เราจะพยายามปฏิบตั ติ ามกฎแหงความรักของพระเจาทุกประการ เนื้อหา อานYOUCAT ขอ 348-349, 352-353, 355, 359-360 และ 364-365 ตอบคําถาม 1. พระเยซูเจาตรัสวาเราตองทําอยางไรเพือ่ จะมีชวี ติ นิรนั ดรและดํารง อยูในพระองค?(ขอ 348) 2. บัญญัติสิบประการคืออะไร? (ขอ 349 และดานขางของขอ 349) 3. สิง่ ใดคือความสําคัญเปนอันดับแรกในชีวติ ของเรา หากเราจะเติม เต็มโชคชะตาที่เราถูกสรางขึ้นมา ใหมีความจริงและความสุข? (ขอ 352-353) 62

ไตรตรอง พระเยซูเจาตรัสกับเราวา “ทานทั้ง หลายเปนมิตรสหายของเรา ถาทาน ทําตามที่เ ราสั่ง”(ยน 15:14) และ ทานนักบุญยอหน ไดเตือนเราวาพระ บัญญัติไมเปนภาระ ทุกอยางนั้นงาย สําหรับผูท ร่ี ัก ทานจะตองถามตัวเอง วา ฉันเต็มใจที่จะจายดวยราคาของ การเสี ยสละเพื่อ ความรัก หรือ ไม ? ฉั นสามารถละทิ้ง อั ต ตาและความ ตองการของฉัน เพือ่ ความดีทย่ี ง่ิ ใหญ กวาในฐานะผูที่พระเจาทรงเรียกฉัน ใหรักไดหรือไม? ฉันเต็มใจที่จะมอบ หัวใจ วิญญาณ ความคิด พละกําลัง ทั้งหมดของฉันเพื่อความรักหรือไม? 1. สั ปดาห น้ีท  านสามารถทํา อะไร ง า ยๆเพื่ อ แสดงความรั ก ต อ พระเจาไดบาง? 2. มีอะไรบางทีท่ า นควรหลีกเลี่ยงใน สัปดาหนี้เพราะทานรักพระเจา?


4. ขอหามของพระบัญญัติประการแรกคืออะไร?(ขอ 355) 5. พระบัญญัติประการที่สองปกปองอะไร?(ขอ 359) 6. ทําไมคริสตชนจึงทําเครื่องหมายสําคัญมหากางเขน? (ขอ 360) 7. คริสตชนทําวันอาทิตยใหเปน “วันขององคพระผูเปนเจา” ได อยางไร และทําไม?(ขอ 364-365) พระคัมภีร 1. อาน อพย 20:2-17 และ ฉธบ 5:6-21 ขอความเหลานี้เปนพื้น ฐานของอะไร? 2. นักบุญ ยอหน และพระจิตเจามีแรงจูงใจทีท่ รงพลังอะไรใหเรา ใน 1 ยน 4:16-21 ในการรักษาพระบัญญัติของพระเจา? 3. สดด 113 เปนแรงบันดาลใจใหเรารักษาพระบัญญัติประการ ที่สองอยางไร? พูดคุยกับเพื่อน 1. หากเหตุผลสามารถรูถึงขอควรปฏิบัติตางๆที่ระบุไวในพระ บัญญัตสิ บิ ประการ เหตุใดพระเจาจึงทรงยังเปนกังวลทีจ่ ะเปด เผยสิ่งเหลานี้ใหเราทราบ? 2. พระบัญญัตสิ บิ ประการลาสมัยหรือไม? เพราะมีอายุไมตาํ่ กวา สี่พันป พระบัญญัติใหอะไรกับเรา? 3. จะเกิดอะไรขึน้ กับบุคคลทีน่ มัสการพระเจาดวยใจจริง? พวกเขา จะเปลี่ยนแปลงหรือไม? เพราะอะไร? สิ่งทาทาย จดจํา : เรียนรูและจําพระบัญญัติสิบประการใหขึ้นใจ รัก : วันนี้ใหเสียสละหนึ่งอยางเพื่อความรักที่มีตอแมและพอ ของทาน รัก : ใหเฝาศีลมหาสนิทอยางนอง 10 นาที เพื่อใชเวลาในการ นมัสการพระจาตามพระบัญญัติประการที่ 1 บอกไววา พระองค เปนพระเจา ไมมีพระเจาอื่นใดนอกจากพระองค

63

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ทานจะตองรักเพือ่ นมนุษยเหมือนรักตนเอง ไตรตรอง

หัวขอที่ 6 : เขาไมใชภาระ เขาเปนพี่นองของฉัน กลาวนํา ทานอาจจะไมรูจักกลุมนักดนตรีที่ชื่อ เดอะฮอลลี่ส มีเพลงของพวก เขาที่เปนที่นิยมคือเพลง “เขาไมใชภาระ เขาเปนพี่นองของฉัน” (He ain’t heavy, he’s my brother) ที่ทานสามารถหาฟงไดจากทาง อินเตอรเน็ต และเพลงสรรเสริญพระเจาในสมัยกอน “ขอใหมสี นั ติสขุ บนโลก” บอกเราวา “กับพระเจาในฐานะพระบิดาของเรา เราทุกคน เปนพี่นองกัน ขอใหฉันเดินไปกับพี่นองของฉันดวยความสามัคคีที่ สมบูรณแบบ…” ใช เราทุกคนเปนบุตรของพระเจา พระบิดาผูทรงรัก เรา ผูทรงสรางเราทุกคนใหเปนพี่นองชายหญิงของกันและกัน พระ เยซูเจาบอกเราวาแอกของพระองคออนนุม และภาระที่ทรงใหเรา แบกก็เบา (มธ 11:30) เปนภาระของการรักเพื่อนมนุษย เปนแอก ของความยุติธรรมและสันติ กาอินถามพระเจาวา “ขาพเจาเปนผู ดูแลนองหรือ?” (ปฐก 4:9) สําหรับผูท่ตี ิดตามพระคริสตเจา คําตอบ ชัดเจนและกองกังวานวา ใช เปนอํานาจของฉันที่จะปรารถนาและ ตั้งใจในสิ่งที่ดีสําหรับเพื่อนมนุษยของฉัน นั่นคือสิ่งที่ฉันไดรับคําสั่ง ใหทํา พระศาสนจักรชวยใหเราใชแนวคิดในการรักเพื่อนมนุษยกับ สถานการณตางๆ เริ่มตนดวยการปฏิบัติตามพระบัญญัติ เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 367-368, 371, 378-379, 383 และ 395 ตอบคําถาม 1. พระบัญญัติประการที่สี่กลาวถึงสิ่งที่เราเปนหนี้พอแมและคน อื่นๆ ในอํานาจที่ชอบธรรมไวอยางไร?(ขอ 367 และ 371-373) 64

พระเจ า ทรงมอบพระบั ญ ญั ติ 10 ประการใหกับโมเสส มิใชวาพระเจา จะมิเคยแจงพระประสงคของพระองค ให กั บมนุษ ยชาติม ากอน สิ่ง ที่อ ยู ใ น พระบัญญัติ 10 ประการเปนสิ่งที่ชาว อิสราเอลรูมากอนแลว เปนเรื่องที่วา พวกเขาจะอุ ทิ ศ ตนใหกั บ พระเจ า ใน การรักษาพระบัญญัติหรือไม พวกเรา สวนใหญก็เชนกัน รูความจริงของพระ บัญญัติ แนนอนวาเราควรศึกษา เรียน รูถ งึ รายละเอียดและทําความเขาใจใหดี ขึน้ วา ทําไมพระเจาจึงตองการใหเราทํา บางสิ่งและไมทําบางสิ่ง ซึ่งจะทําใหเรา เขาใจวาอะไรคือสิ่งที่ดจี ริงๆสําหรับเรา แตสําหรับพวกเราสวนใหญไมใชเรื่องที่ จะตองรูวาพระบัญญัติคืออะไร แตจะ ตัดสินใจจะเชือ่ ฟงพระบัญญัตดิ ว ยความ ชวยเหลือของพระเจา 1. ถาทุกคนปฏิบตั ติ ามพระบัญญัตโิ ลก จะแตกตางอยางไร? 2. ถาทานปฏิบัติตามพระบัญญัติอยาง ครบถวนเปนเวลาหนึ่งสัปดาหชีวิต ของทานจะแตกตางอยางไร? 3. การปฏิบั ติห รือ ไมปฏิบัติตามพระ บัญญัติ มีผลกระทบตอความสัมพันธ กับพระเจาอยางไร?


2. ในแผนการของพระเจา ครอบครัวมีความสําคัญอยางไร? (ขอ 368-370) 3. พระบัญญัตปิ ระการที่หา หามสิ่งใด และเพราะอะไร?(ขอ 378379 และ 383) 4. สันติภาพคืออะไร?(ขอ 395) พระคัมภีร 1. หนังสือ บสร 7:27-28 เราสามารถตอบแทนพระเจาหรือพอแม ของเราสําหรับสิ่งที่พวกทานใหเราไดหรือไม? 2. นักบุญเปาโล สอนสมาชิกในครอบครัวและสมาชิกของพระ ศาสนจักรวาจะรักกันและกันอยางไร ใน รม 12:10 และ ใน คส 3:20-21 ทานกลาวไววาอยางไร? 3. พระเยซูเจาทรงยกระดับพระบัญญัติประการที่หาอยางไรใน มธ 5:21-22? พูดคุยกับเพื่อน 1. จะตองใชอะไรในการฟนฟูชีวิตครอบครัวในโลกปจจุบัน? 2. หากกฎหมายของทุกประเทศปกปองชีวิตมนุษยตั้งแตเริ่มตั้ง ครรภ จนถึงความตายตามธรรมชาติ โลกจะเปลี่ ยนแปลง อยางไร? 3. สันติภาพและความยุติธรรมสัมพันธกันอยางไร? สิ่งทาทาย รัก : กอดแมของเธอ และบอกทานวาเธอรักทาน ชีวติ รัก : ไตรตรองวาพระเจาตองการใหทา นทําอะไรเพือ่ ชวยแม ของทาน (คส 3:20)

65

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ทานจะตองรักเพือ่ นมนุษยเหมือนรักตนเอง ไตรตรอง

หัวขอที่ 7 : ดําเนินงานตามคูมือ กลาวนํา

รถยนตมาพรอมกับคูมือของมัน การปฏิบัติตามเปนสิ่งที่ดีที่สุดหากเรา คาดหวังวารถยนต จะทํา งานไดอยางราบรื่นและประสบความสําเร็จ พระเจาทรงประทานคูมือใหกับมนุษยชาติ คือพระบัญญัต 10 ประการ ซึง่ เราใชดาํ เนินชีวิตของเรา เมือ่ มนุษยดาํ เนินชีวติ ตามพระบัญญัติ สังคม ดําเนินไปไดอยางราบรื่น ถาไม เราจะพบกับความลมเหลว ความผิด พลาด และบาดเจ็บสาหัส ชีวิตในปจจุบันไดรับความเดือดรอนเกิดจาก การทีม่ คี นไมปฏิบตั ติ ามคูม อื หากเราพิจารณาดู ความทุกขทมี่ าจากความ ไมซื่อสัตยในการแตงงาน พอแมที่ตองทนทุกข ขยายไปสูครอบครัว และเพื่อนสนิท ในขณะเดียวกัน พวกเราทุกคนเคยประสบกับการถูก ละเมิดทรัพยสินสวนตัวของเรา หรือไมไดรับรางวัลตอบแทนจากการ ทํางานของเรา ในโลกที่ผูคนไมทําตามคูมือเราสามารถเปนสวนหนึ่ง ของปญหาหรือเปนสวนหนึ่งของการแกปญหา หากเราดําเนินการตาม คูมือที่พระเจาประทานใหมนุษย คือพระบัญญัติ 10 ประการ เราจะเปน สวนหนึ่งของผูแกปญหา

เนื้อหา

อาน YOUCAT ขอ 402-404, 407, 415-421, 424-425, 428, 440, 445 และ 450-451

ตอบคําถาม

1. ความหมายของความรักในการแตงงานคืออะไร?(ขอ 402) 2. พระพรของเพศสัมพันธของมนุษยและความรักเกี่ยวของกันอยางไร? (ขอ 402-404, และ 407) 3. พระศาสนจักรตัดสินอยางไรในเรื่องรักรวมเพศ และเราจะรักทุกคน

66

ความเบิ ก บานที่ ยิ่ ง ใหญ ที่ สุ ด สอง ประการของมนุษย คือ การแตงงาน ที่ ซื่ อ สั ต ย แ ละความมั่ ง คั่ ง พระเยซู เจาทรงมอบถวายพระองคเองอยา ง อิสระทามกลางเหตุผลอื่นๆ เพื่อเป น เครื่ อ งหมายของความรั ก ที่มี ต  อ เรา แตละคน ความรักของการแตงงานได รับการสรางขึ้นเพื่อใหเปนอิสระ รวม ทุกอยาง ผูกขาด การมอบตนเองของ ชายผูหนึ่งตอหญิงผูหนึ่ง และของหญิง ผูหนึ่งใหกับชายผูหนึ่ง เปนความรักที่ ลึกซึ้งและงดงามที่สุดในบรรดาความ รัก ของมนุษย แตการมอบตนเองทั้ง ครบของพระคริส ตเจาที่ทรงมีต อเรา แต ละคนนั้นงดงามและรํ่ารวยยิ่งกวา “ทานรูแลวถึงพระกรุณาของพระเยซู คริสต องคพระผูเ ปนเจาของเรา แมทรง รํ่ารวย พระองคกย็ งั ทรงยอมกลายเปน คนยากจนเพราะเห็นแกทาน เพื่อทาน จะได รํ่ารวยเพราะความยากจนของ พระองค” (2 คร 8:9) 1. ความรั ก และความมั่ ง คั่ ง ของการ แต ง งานที่ พ ระเยซู ท รงมอบให มี ความสําคัญอยางไร? 2. ทานเคยยอมแพกับบางสิ่งที่ทานรัก อยางมากหรือไม? ทานรูส กึ อยางไร? ทานเคยมีประสบการณกับอิสรภาพ หรือไม?


อยางแทจริงไดอยางไร รวมถึงคนที่บอกวาตัวเองเปนคนรักรวม เพศดวย?(ขอ 415) 4. องคประกอบสําคัญ 4 ประการของการแตงงานแบบคริสตชนคือ อะไร? (ขอ 416-418) 5. ทําไมพระศาสนจักรจึงสงเสริมการวางแผนครอบครัวตาม ธรรมชาติและคัดค านการคุมกําเนิดประดิษฐและการทําหมัน? (ขอ 418-421) 6. การผิดประเวณีคอื อะไร คาทอลิกหยารางไดหรือไม? (ขอ 424) 7. ทําไมพระศาสนจักรจึงขอใหเราตอตานกระแสทางสังคมสําหรับ คูรักที่อยูดวยกันโดยไมไดแตงงาน? (ขอ 425) 8. พระบัญญัติประการที่ 7 หามอะไร? (ขอ 428) 9. คริสตชนจําเปนตองมีสวนรวมในทางการเมืองและสังคมหรือไม? (ขอ 440) 10. อธิบายความหมายของหลักที่วา “แรงงานตองมากอนทุน” ตาม หลักการของนักบุญสมเด็จพระสันตะปาปายอหน ปอล ที่ 2? (ขอ 445)

พระคัมภีร

1. หนังสือ ปฐก 2:18 และ 2:24 สอนเราเรื่องชายและหญิงอยางไร? 2. หนังสือ ปญจ 5:10 กลาวถึงทรัพยสินเงินทองไวอยางไร? 3. พระเยซูเจาทรงกลาวถึงเรื่องทรัพยสมบัตใิ น มธ 6:21 วาอยางไร?

พูดคุยกับเพื่อน

1. แสดงความคิดเห็นและพูดคุยเกีย่ วกับคํากลาวนีก้ ับเพื่อนของทาน “ความรัก คือการมอบตนเองแกอกี บุคคลหนึง่ อยางอิสระ และดวย หัวใจทั้งหมด” 2. ความสัมพันธทางเพศเปนเรือ่ งโกหกเมือ่ ใด? เมือ่ ใดทีพ่ วกเขาแสดง ความจริง? 3. สิทธิในทรัพยสินสวนตัวเกี่ยวของกับสิทธิ และไมใชสิทธิที่แทจริง อยางไร?

สิ่งทาทาย

อาน : อาน พซม 8:6-7 และ 1 ทธ 4:4 และใชเวลาไตรตรองวาพระเจา ทรงเห็นวาความรักในการแตงงานดีและงดงามอยางไร? ภาวนา : ภาวนาวอนขอเพื่อคูสมรสและเพื่อตัวของทานเอง(หาก พระเจาทรงเรียกทานใหแตงงาน) ขอพระเจาใหทรงเตรียมทานทั้ง สองเพื่อความซื่อสัตยและความศักดิ์สิทธิ์ในชีวิตแตงงานของทาน

67

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ทานจะตองรักเพือ่ นมนุษยเหมือนรักตนเอง ไตรตรอง

หัวขอที่ 8 : ความจริงหรือ? คืออะไร? กลาวนํา

คนจํานวนมากในปจจุบันมีทัศนคติตอปอนทิอัส ปลาตในเรื่องความจริง เมื่อปลาตถามพระเยซูเจา พระองคทรงเปนกษัตริยข องชาวยิวหรือ พระ เยซูเจาตอบวา “เรามาในโลกนี้เพื่อเปนพยานถึงความจริง ผูใดอยูฝาย ความจริงก็ฟงเรา” ปลาตถามวา “ความจริงคืออะไร?”(ยน 18:37-38) ใน ปจจุบนั ผูท มี่ คี วามคลางแคลงก็ถามคําถามเดียวกัน โดยเฉพาะเมือ่ เกีย่ ว กับความจริงทางศีลธรรม ความจริงของถูกและผิด พระเยซูเจาตรัสวา “ความจริงจะทําใหทานเปนอิสระ” (ยน 8:32) ดวยพระวาจานี้พระองค ทรงหมายถึงอิสรภาพจากความเท็จและการหลอกลวง เมื่อมาถึงเรื่อง ของถูกและผิด ความจริงเปนสิ่งสําคัญและปลดปลอยใหเปนอิสระ พระ บัญญัตขิ องพระเจาไมใชแคกฎ แตเปนเรื่องของความจริงที่เกี่ยวกับสิ่งที่ ดีและไมดอี ยางแทจริงสําหรับเรา เมือ่ เราดําเนินชีวติ ตามพระบัญญัตขิ อง พระองค เรายึดถือหรือดําเนินชีวิตอยูในความจริง

เนื้อหา

อาน YOUCAT ขอ 452-454, 458, 462-463, และ 466

ตอบคําถาม

1. พระบัญญัติประการที่ 8 สอนเราไมใหโกหก ความสัมพันธของเรา ตอความจริงที่เราตองกระทํากับความสัมพันธของเรากับพระเจาคือ อะไร? (ขอ 452-453) 2. ความแข็งแกรงของเราที่มีตอความจริง แหงความเชื่อจะตองเปน อยางไร? (ขอ 454) 3. ความลับของศีลอภัยบาปนาเชื่อถืออยางไร?(ขอ 458)

68

พระวินัยที่นักบุญเบเนดิกต ผูเปนปตา จารย ข องพระศาสนจั ก รเขี ย นไว ว  า “อยาเกลียดชังผูใด อยาริษยา อยา กระทําดวยความอิจ ฉา อยา รัก การ ทะเลาะวิวาท จงหลีกหนีความเยอหยิง่ ” มนุษยตองกระทําในลักษณะนี้ ความ เปนมนุษยไมไดหมายถึงการคิดถึงตัว เองนอ ยกวาที่เปนอยูจริง แต หมาย ถึงการมองตนเองอยางที่เปนจริงใน ความสัมพันธกับพระเจาผูทรงสรรพา นุภาพ ตระหนักถึงพระเจาอยางสัตย ซื่อ ทรงประทานความสามารถพิเศษ ต า งๆ ในขณะเดี ย วกั น ก็ มี ข  อ จํ า กั ด ความออนแอ และบาปของทาน เมื่อ เรามีความถอมตน เราสามารถสํานึก ผิดและวอนขอพระเจาใหทรงช วยให สามารถเอาชนะความเกลียดชัง ความ อิจฉา การทะเลาะวิวาท และความเยอ หยิ่งได เมื่อเราเปนอิสระจากความชั่ว เหลานี้ เราสามารถมีความชื่นชมยินดี ในสิ่งที่สําคัญอยางแทจริง 1. ทานคิดวาทานเปนผูมีความถอมตน หรือไม? อธิบาย 2. ความสัมพันธระหวางความถอมตน และความจริงคืออะไร? 3. ศีลศักดิ์สิทธแหงการคืนดีชวยเราให เติบโตในความถอมตนอยางไร?


4. ตามคําสั่งของพระบัญญัติประการที่ 9 เราจะบรรลุถึง “ความ บริสุทธิ์ของหัวใจ”ไดอยางไร?(ขอ 462-463) 5. เราจะบรรลุถึง “ความบริสุทธิ์ของหัวใจ” ไดอยางไร? (ขอ 463) 6. ทําไมความอิจฉาจึงเปนสิ่งที่เราตองตองตอสู? (ขอ 466)

พระคัมภีร

1. ใน มธ 6:21 พระเยซูเจาตรัสถึงเรื่องหัวใจและทรัพยสมบัติไว อยางไร? 2. นักบุญเปาโลกลาวไวใน คส 3:5 วามีบางสิ่งที่เราตองทําใหตาย สิ่งนั้นคืออะไร? 3. พระเยซูเจาตรัสใน ลก 12:15 วาเราตองระวังอะไร?

พูดคุยกับเพื่อน

1. ถาผูค นพูดความจริง เคารพศักดิศ์ รีความเปนมนุษย และทรัพยสิน ที่ถูกตองของกันและกัน สังคมของเราจะไปในทางใด? 2. เปนการถูกตองไหมทีโ่ กหก? ในสิง่ ทีเ่ กีย่ วกับกรณีทรี่ นุ แรงเมือ่ การ บอกความจริงอาจทําใหผูบริสุทธิ์ตองเสียชีวิต? 3. เปนสิ่งดีที่จะศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับกฏทางศีลธรรมที่อยูใน หนังสือ YOUCAT มีหลายสิง่ ทีต่ อ งคิดและมีหลายอยางทีจ่ ะชวยให ทานรูวาอะไรถูกตอง ในขณะเดียวกันทานสามารถหาวิธีงายๆใน การสรุปพระบัญญัติของพระเจาทั้งหมดไดหรือไม?

สิ่งทาทาย

ภาวนา : วันนี้ใหภาวนาซํา้ สามครั้งวา “พระเยซูเจาขา โปรดประทาน จิตใจที่ออนโยนและสุภาพ และโปรดใหหัวใจของขาพเจาทั้งหลาย เปนเหมือนของพระองค รําพึงไตรตรอง : คิดถึงพระพรตางๆที่พระเจาทรงมอบใหกับเพื่อน ของทาน และพระพรที่ทําใหเพื่อนของทานมีควาสุข และขอบคุณ พระเจาที่ทรงอวยพรเพื่อนของทานดวยพระพรเหลานั้น ยอมรับ : คิ ด ถึ ง สมาชิ ก ในครอบครั ว หรือ เพื่อ นสั กคนหนึ่ง ที่มี คุณลักษณะในสิง่ ทีท่ า นยังขาดอยู บอกสมาชิกในครอบครัวหรือเพือ่ น วาทานชื่นชมคุณลักษณะนั้นในตัวเขามากแคไหน

69

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ภาค 4 เราควรภาวนาอยางไร เขาสูการสนทนาที่ยอดเยี่ยม


ภาวนาอยางไร : พระพรแหงการประทับ อยูของพระเจา หัวขอที่ 1 : ความอึกทึก และ ความเงียบ กลาวนํา ทานเคยไปอยูในชนบทที่หางไกลจากเสียงอึกทึกของตัวเมือง หาง ไกลจากโทรศัพทมือถือ อินเตอรเน็ต โทรทัศน และเสียงดังอื่นๆ หรือไม? ถาทานเคยไปอยูในสถานที่ซึ่งเงียบสงบอยางแทจริง ไมมี เสียงฮัม เสียงเพรียกรอง หรือเสียงอึกทึกของมนุษย ทานอาจจะ มีประสบการณวาความเงียบนั้นเหมือนการปรากฏตัว แนนอนวา เราไมจําเปนตองหนีไปที่ทะเลทรายทุกครั้งที่เราตองการภาวนา หรือมีประสบการณกบั การประทับอยูของพระเจาเชนเดียวกับความ สัมพันธอื่นๆ เราตองเอาใจใสและรับฟง พรอมที่จะฟงและตอบรับ ซึ่งอาจทําไดยากหากเราจมอยูกับโลกที่มีแตเสียงรบกวนอยูเสมอ พระเยซูมักเสด็จไปในที่เปลี่ยวหรือบนภูเขาสู งเพื่อพบปะกับพระ บิดาของพระองค หัวใจของชีวิตคริสตชนคือการกระทําตามแบบ อยางของพระเยซูเจา มีชวี ิตที่อยูในการประทับอยูของพระเจา ทุก คนที่แสวงหาพระเจาในการภาวนาจะพบพระองค ถาทานตองการ ติดตามพระคริสตเจา ทานตองไมกลัวที่จะหลีกหนีเสียงรบกวนและ แสวงหาพระเจาในความเงียบแหงการภาวนา เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 469-470, 474, 476, และ 478 ตอบคําถาม 1. ทานนิยามการสวดภาวนาวาอยางไร?(ขอ 469) 2. สิ่งใดกระตุนใหเราภาวนา? ทําไมเราจึงไดรับการดลใจให กระทําเชนนั้น? (ขอ 470) 72

ไตรตรอง ทา นภาวนาบอ ยเพี ย งใด? ทุ ก วั น หรือ? พระเยซูเจาตรัสกับบรรดาศิษย ของพระองควา “จําเปนตองอิษฐาน ภาวนาอยูเสมอโดยไมทอถอย”(ลก 18:1) ทานคิดวาพระองคทรงหมาย ถึ ง อะไร? จากแบบอย า งและคํ า สอนของพระองค จึงไมตองสงสัย เลยถึงความสําคัญ ของการภาวนา หากปราศจากความชวยเหลือ ของ พระองค แ ละความช ว ยเหลื อ จาก พระจิตเจา บอยครั้งที่เราไมรูวาจะ เริ่มภาวนาอยางไร ดวยเหตุนี้ศิษย ของพระองคจึงกลาววา “พระเจาขา โปรดสอนเราใหอ ธิ ษฐานภาวนา” (ลก 11:1) 1. ทานเคยรูสึกวาอยากภาวนา แต ไมรูวาจะภาวนาอยางไรหรือไม? 2. ท า นรู  สึ ก สบายหรื อ รู  สึ ก อึ ด อั ด ในการภาวนาดวยคําพูดของทาน เอง หรื อ ท า นชอบภาวนาบท ภาวนาสําเร็จรูป? ทําไม? 3.บทภาวนาสํ า เร็ จ รู ป ช ว ยในการ ภาวนาของทานอยางไร? 4. บอยครัง้ เพียงใดทีท่ า นภาวนาโดย ไมวอนขอสิ่งใด? ทานเคยทําเพียง แคขอบคุณพระเจาหรือยอมรับคุณ ความดีของพระองคหรือ?


3. พระเยซูเจาทรงภาวนาอยางไร? และเราสามารถเรียนรูการ ภาวนาจากพระองคไดอยางไร(ขอ 475-478) พระคัมภีร 1. อาน ลก 11:1-4 และ มธ 6: 7-15 พระเยซูเจาทรงสอนเราภาวนา อยางไร? 2. อาน สดด 4 เรารูไ ดอยางไรวาพระเจาทรงฟงคําภาวนาของเรา? เราเรียนรูที่จะฟงและวางใจในพระองคไดอยางไร? 3. อาน กจ 17:24-28 เหตุใดเราจึงมีเหตุผลและสมควรทีจ่ ะทูลขอสิง่ ที่เราตองการจากพระเจา? พูดคุยกับเพื่อน 1. ความเงียบเกี่ยวของอะไรกับการสวดภาวนา? 2. นักบุญออกัสตินกลาววา “จงทําสิง่ ทีท่ า นทําได และภาวนาเพือ่ สิง่ ทีท่ า นทําไมได และพระเจาจะทรงประทานความสามารถแก ทาน” ทานคิดวาทานนักบุญหมายถึงอะไร? 3. ที่ พูดวา “การภาวนาเปน พระพรที่ เ ราได มาจากการสวด ภาวนา” หมายความวาอะไร? สิ่งทาทาย วอนขอ : วอนขอพระเจาทุกๆเชา ใหทรงสอนทานใหภาวนา สําหรับวันนี้ เพิ่มความปรารถนาในการภาวนา และประทาน พระพรแหงการภาวนาใหทาน ภาวนา : นั่งอยูในที่เงียบสงบสัก 10 นาทีในแตละวัน พรอมกับ พระคัมภีรพันธสัญญาใหม มอบตนเองไวในการประทับอยูของ พระเจา ฟงวาพระองคตรัสอะไรกับเราจากพระคัมภีรหรือตรัส ในใจของเรา เขียน : หลังจากนั้นใหบันทึกขอตั้งใจสั้นๆในสิ่งที่ไดจากการ ภาวนา “วันนี้ ฉันจะ......”

73

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


ภาวนาอยางไร : พระพรแหงการประทับ อยูของพระเจา ไตรตรอง

หัวขอที่ 2 : ใช ! กลาวนํา เด็กในวัยหัดเดินมักจะรูว ธิ พี ดู วาไม กอนทีพ่ วกเขาจะเรียนรูท จ่ี ะตอบ วาใช ถาทานคิดวาไมเปนเชนนั้น ลองใชเวลากับเด็กที่อายุ 1 หรือ 2 หรือ 3 ขวบ และนับวาพวกเขาพูดคําวาไมกี่ครั้ง แนนอนวา คําวา “ไม” ไมใชคาํ ทีไ่ มดี ความจริงแลว มีหลายสิง่ ในโลกทีค่ าํ ตอบทีด่ ที ส่ี ดุ และปลอดภัยทีส่ ดุ ของเราคือ “ไม!” แตนนั่ ไมมผี ลตอพระเจา ดังเชน พระนางมารีย พระมารดาของพระเจาและแมของชาวเรา ทรงสอน เรา เมื่อมาหาพระเจาเราควรมีทาทีของการภาวนาวา “ใช!” เสมอ พระนางทรงสอนเราในถอยคําสุดทายของพระนางที่บันทึกไวใน พระวรสาร “เขาบอกใหทานทําอะไร ก็จงทําเถิด”(ยน 2:5) ซึ่งมัก จะกลาววาใชในคําพูดและการกระทําตามพระประสงคของพระเจา พระบิดา เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 479-481, 483, และ 485-488 ตอบคําถาม 1. เราเรียนรูอะไรจากวิธีการภาวนาของพระนางมารีย?(ขอ 479) 2. รูปแบบการภาวนาที่สําคัญ 5 ประการ มีอะไรบาง? (ขอ 483) 3. การยืนในการภาวนาแสดงถึงอะไร? การคุกเขาแสดงถึงอะไร? (ขอ 486) 4. นักบุญสมเด็จพระสันตะปาปายอหน ปอล ที่ 2 ใหเหตุผลที่ พระองคชน่ื ชอบการสวดสายประคําวาอยางไร? (ดานขางขอ 481) 74

ชีวิตการภาวนาของทานเปนอยางไร? นี่คือคําถามที่ทานอาจไมเคยถู กถาม มาตลอดชีวิต แตเปนคําถามที่เราไม ควรกลัวที่จะถามผูที่เปนคาทอลิกและ เพื่อคริสตชนของเรา ในความเปนจริง ถาทานพบเพื่อนคนหนึ่งที่กลาพอที่จะ ถามคําถามนี้กับทานและชวยใหทาน ติดตามชีวิตการสวดภาวนาทุกวันแลว ทานไดพบเพื่อนแทอีกคนหนึ่ง การสวดภาวนาไม ไ ด เ กิ ด ขึ้ น โดย ธ รรมชา ติ สํ าหรั บ มนุ ษย ที่ ต กใ น บาป อาดั ม เคย “เดิ น ในสวนกั บ พระเจา”(ปฐก 3:8) นั่นคือการเปรียบ เทียบตามพระคัมภีรที่ใชบอกวาอาดั มสนทนากั บ พระเจ า ได อ ย า งเป น ธรรมชาติและงายดาย แตการสูญเสีย ครั้งแรกและรายแรงที่สุดอยางหนึ่งที่ เกิดจากบาปของอาดัมคือการภาวนา ทีไ่ มไดเกิดขึน้ โดยธรรมชาติ แตเปนการ พยายาม การตอสู เปนงานที่เรียกรอง พระหรรษทานของพระเจาและจิตใจที่ ถอมตัว เต็มใจที่จะพากเพียร และเรา ตองการเพื่อนคริสตชนของเราเพื่อสง เสริมใหเราดํารงอยูใ นหนทางนี้แ ละ ในทางกลับกันเราตองสงเสริมพวกเขา ดวย ดังนั้น ชีวิตการภาวนาของทาน

(อานตอ...)


พระคัมภีร 1. ใน ลก 1:26-45 ทูตสวรรคกาเบรียล และนางเอลีซาเบธ สอน เราเรื่องการภาวนาอยางไร? 2. นักบุญเปาโลบอกเราเรื่องพระเยซูเจาและการภาวนาวอนขอ ใน รม 8:34-35 วาอยางไร? 3. นักบุญเปาโลใหคําแนะนําเรื่องการภาวนาเพิ่มเติมใน คส 4:2 เกี่ยวกั บความเพียรและการขอบคุณ ในการสวดภาวนาวา อยางไร? พูดคุยกับเพื่อน 1. ทาจะพูดอะไรกับคนทีไ่ มเคยสวดสายประคํา แตเปดใจทีจ่ ะหา ขอมูลเกี่ยวกับเรื่องนี้? 2. การตอบรับ “ใช” ของพระนางมารียเปนรูปแบบการภาวนา ของคริสตชนอยางไร? 3. ทัศนคติแบบใดที่คริสตชนควรมีเมื่อสวดภาวนา? สิ่งทาทาย ภาวนา : วันนี้ขอใหทานสวดสายประคําพรอมกับสมาชิกใน ครอบครัว หรือกับเพื่อนสักคนหนึ่ง ขอ : วอนขอพระนางมารียทุกๆวัน ใหพระนางสอนเราใหสวด ภาวนาเหมือนพระนาง ทองจํา : พยายามจําธรรมลํ้าลึกตางๆของการสวดสายประคํา

75

ไตรตรอง (ตอจาก...) เปนอยางไร?

1. ทานพบอุปสรรคอะไรในชีวิตการภาวนา ของทาน? 2. เพือ่ นของทานจะมีปฏิกิกริยาอยางไรหาก ทานถามเกีย่ วกับชีวติ การสวดภาวนาของ พวกเขา? คุณจะอายไหมที่ทําเชนนั้น? 3. การสวดภาวนารวมกันในครอบครัวจะ เปนประโยชนหรือไม? อธิบายคําตอบ ของทาน

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


บอเกิดแหงการภาวนา หัวขอที่ 3 : จําไมได กลาวนํา ทานเคยไดรบั การแนะนําใหรจู ักกับบุคคลทีท่ า นชื่นชอบในทันทีหรือ ไม ทานจะจดจําชื่อของบุคคลนั้น และรอคอยที่จะไดรูจักเขาอีกใช หรือไม? แตหลังจากนั้นเมื่อทานเห็นเขาดูเหมือนวาเขาจะไมรูจัก ทานและเขาจําชื่อทานไมไดอยางแนนอน มันเจ็บปวดที่ตองถูกลืม ถูกจําไมได แตกับพระเจา จะไมมีวันเปนเชนนั้น พระองคทรงรูจัก เราตั้งแตเรายังไมมีตัวตน พระองคทรงเรียกเราออกมาจากความ วางเปลาสูการเปนอยู พระองคทรงคิดถึงเราอยูเสมอ เราลํ้าคา มากสําหรับพระองค พระองคทรงเรียกชื่อเรา พระองคทรงรูความ ลับของเรา ทรงรูจักเราตั้งแตนิรันดร ทรงเปนที่รวมแกนแทของตัว ตนที่แทจริงของเรา เนื่องจากพระองคทรงจําเราไดตลอดเวลา ดู เหมือนจะไมถูกตองที่เราคิดถึงพระองคเปนครั้งคราว อยางนอย พูดกับพระองค เรียกพระนามของพระองค การสวดภาวนาเปนการ คิดถึงพระเจาผูทรงรักเรา เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 491-493 และ 496-498 ตอบคําถาม 1. Kierkegaard, Simone Weil, St. Augustine และ St. Teresa of Calcutta กลาวภึงการภาวนาไวอยางไร? (ดานขางขอ 489-493) 2. การภาวนาส ว นตั ว สั ม พั น ธ อ ย า งไรกั บ การภาวนาของพระ ศาสนจักร? (ขอ 492) 76

ไตรตรอง ทานคิดวามีเคล็ดลับในการประสบ ความสําเร็จในชีวิตหรือไม? นักบุญ เทเรซา แหง กัลกัตตา กลาวถึงความ ลับของทานที่เรียบงายคือ “ฉันสวด ภาวนา” พวกเราหลายคนไม รู วิธี ภาวนาหรือวิธีการเรียนรูที่จะภาวนา ประการแรกเราตอ งทํ าให ต นเอง สํา นึกถึงความจําเปนอยางแทจริง ของการภาวนาสําหรับคริสตชนทุก คน สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิส บอกเราวา “หากทานไมรูวิธีภาวนา จงขอใหพ ระเยซู เจา ทรงสอนทา น และขอให พ ระแม ที่ อ ยู  บ นสวรรค ภาวนากับทานและเพื่อทาน” 1. ทานภาวนาบอยเพียงใด? 2. ทานเคยภาวนาเพือ่ ใหทา นภาวนา ไดดีขึ้นหรือไม? เพราะเหตุใด?


3. บอกลักษณะเฉพาะ 3 ประการของการภาวนาของคริสตชน? (ขอ 493) 4. ผูใดชวยเราในการภาวนา? (ขอ 496-497) 5. เราควรภาวนาที่ใด? (ขอ 498) พระคัมภีร 1. ใน สดด 40:1 บอกวาเราตองอดทนรอถาเราจะภาวนา ทําไม จึงเปนเชนนั้น? 2. ใน รม 8:26 นักบุญเปาโลบอกวาเราไดรับความชวยเหลือใน การภาวนาโดยผูใด? พูดคุยกับเพื่อน 1. ทําไมเราจึงตองภาวนา? 2. เราควรทําอยางไรเพื่อเรียนรูวิธีการภาวนา? 3. เราจะพึ่งพาใครไดเพื่อสอนวิธีภาวนาตามที่ควรจะเปน? สิ่งทาทาย รําพึงพระวาจาของพระเจา : ในแตละวัน ใหอานขอความในพระ วรสารหนึ่งขอ และไตตรองประมาณ 10 นาที วอนขอพระจิตเจา ใหตรัสในหัวใจของทาน กําหนดการ : ใหเวลากับพระเจา สรางกําหนดเวลาใหตัวเองใน แตละวัน ใหเวลา 10-15 นาทีเพื่อภาวนา ฟง : พระเจาทรงมีคําพูดสําหรับทานโดยเฉพาะ เปดความคิด และจิตใจของทานเพื่อรับฟงและตอบรับ

77

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


วิธีการภาวนา หัวขอที่ 4 : ขอมูลที่สําคัญยิ่ง กลาวนํา แพทยของทานอาจรูจ กั เกีย่ วกับทานหลายอยาง เชน สวนสูง นํา้ หนัก วันเดื่อนปเกิด บันทึกการฉีดวัคซีน กรุปเลือด ฯลฯ สํานักงานของ โรงเรียนอาจมีไฟลขอมูลทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วของกับทานดวยเชนเดียวกัน ทั้งหมดนี้ไมมีใครที่สํานักงานแพทยหรือสํานักงานของโรงเรียนที่ รูจักทานไดทุกๆที่ที่อยูใกลเหมือนเพื่อนสนิทที่สุดของทาน แมวา เพื่อนที่สนิทที่สุดของทานจะไมไดรสู ถิติทั้งหมดของทานก็ตาม กับ พระเจาก็ไมตางกัน บางคนใชเ วลามากมายเรียนรูเ กี่ ยวกับ พระองค พวกเขาอาจจะอานพระคัมภีร หรือหนังสืออื่นๆทางศาสนา ทีอ่ ธิบายถึงเรื่องพระเจา นีเ่ ปนจุดเริม่ ตนทีส่ ําคัญ แตไมใชสงิ่ ทีน่ า พึง พอใจ การไตรตรองภายใน การไดลิ้มรสการประทับอยูของพระเจา ฟงการเตนของหัวใจของความรักที่มีตอทาน นั่นคือสิ่งที่พึงพอใจ การทําความรูจักกับพระเจาอยางแทจริงและการเปนเพื่อนที่ดีของ พระองคนั้นสําคัญกวาการการรูสถิติที่สําคัญเกี่ยวกับพระเจา เนื้อหา อาน YOUCAT ขอ 500-503, 505 และ 507-510 ตอบคําถาม 1. การภาวนาสามวิธีมีอะไรบาง? และแตละวิธี เรียกร องอะไร? (ขอ 500-503) 2. การภาวนาเปนเรื่องงายเสมอไป หรือตองใชความพยายาม? (ขอ 505, 507-508 และนักบุญเทเรซาแหงกัลกัตตา ดานขางของ ขอ 496 ) 78

ไตรตรอง ทานเคยถามตนเองอยางจริงจังวา “ชีวิตของฉันมาจากไหน? ฉันมาที่ นี่ไดอยางไร?” ถึงแมจะเห็นไดชัด วาเราไมไดทําเอง บอยครั้งที่เราทํา ราวกับวาเรากระทํา เราทําตัวเหมือน เราเปนเจาของชีวิตของเรา ในความ เปนจริง ชีวิต “มิไดมาจากตัวเราเอง แตมาจากที่อื่น” (ดานขางขอ 502 Br. Roger Schutz) เสนทางของการ ภาวนาทุกแบบมีบางสิ่งที่เหมือนกัน เปนวิธีที่เราไดรับชีวิตจากผูใหชีวิต ของทุกชีวิต คือ พระเจา 1. การภาวนาเกี่ ย วข อ งกั บ การ ยอมรับวาเราไดรับชีวิตเปนของ ขวัญ ไมใชในฐานะความสําเร็จ อยางไร? 2. ทานเคยกลัว ที่จะคิด ถึ งพระเจา หรือ อาจารยแหง ความเชื่อ หรือ ไม? เพราะเหตุใด?


3. การภาวนาเปนการเชือ่ มตอเรากับความจริงอยางไร?(ขอ 509) 4. บทภาวนาเกาแกทเ่ี ปนที่รจู ักอยางแพรหลาย “บทภาวนาของ พระเยซูเจา” ซึ่งสามารถชวยเราในการภาวนาและระลึกอยู เสมอวาเราอยูใ นการประทับอยูอ นั ศักดิส์ ทิ ธิข์ องพระองคในวัน นี้ คือบทอะไร? (ขอ 510) พระคัมภีร 1. สองสิ่งที่นักบุญยากอบสอนเราใน ยก 4:2-3 คืออะไร? 2. อธิบายถึงสิ่งที่ทา นนักบุญเปาโล สอนเรา ใน 1 ธส 5:17-18 วา เราควรภาวนาบอยเพียงใดและในสถานการณใด? พูดคุยกับเพื่อน 1. ทําไมเราไมสามารถหรือไมควรอานพระคัมภีรเหมือนที่เรา อ านหนัง สื อ พิ ม พห รื อ นิต ยสาร? เราควรอ า นพระคัม ภี ร  อยางไร? 2. เราควรทําอยางไรถาเรารูสึกวาการภาวนาไมไดชวยเรา? 3. คริสตชนทําอะไรใหบรรลุผลโดยการรําพึงภาวนาหรือ? จะ ดีกวาไหมถาเราออกไปขางนอกกับคนที่รกั มากกวาการรําพึง ภาวนา? สิ่งทาทาย ศึกษา : ตรวจสอบวิธีการภาวนาสามวิธีที่อธิบายไวใน YOUCAT แตละวิธีมีความเหมือน หรือแตกตางกันอยางไร? รําพึง : พยายามรําพึงวันละ 10 นาทีทุกๆวันตลอด 1 สัปดาห ตามคําแนะนําอยางยอๆใน YOUCAT ขอ 502 อาน : หาหนังสือที่เกี่ยวกับการภาวนาอานสัก 1 เลม

79

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


บทภาวนาขององคพระผูเปนเจา : บทขาแตพระบิดา หัวขอที่ 5 : บุตร : รักบิดาของทาน กลาวนํา

เราไมสามารถรักหรือขอบคุณพอแมของเราไดมากพอสําหรับพระพรแหง ชีวิต มีพวกเราบางคน ที่อาจจะเปนเรื่องยากที่จะรักพอแมของเขา บาด หลวงคนหนึ่งเคยกลาวไววาการที่เราสามารถใหอภัยพอแมไดนั้นเปน เครือ่ งหมายของการบรรลุวฒ ุ ิภาวะการเปนผูใหญ เราไมสามารถเติบโต ไดเต็มที่ จนกวาเราจะทํา บางคนมีปญหากับแมและบางคนมีปญหากับ พอของพวกเขา บางคนมีปญหากับทั้งพอและแม (แตมีบางคนที่ไมเคย แมแตจะรูจักพอแมของตน) ใหเรามุงเนนไปที่พอ ถาพอของเราไมใชคน บาปเหมือนพวกเรา อาจจะเปนเรือ่ งงายทีจ่ ะรักทาน แตไมตอ งสงสัยเลย วาความดีที่พอมีใหกับลูกๆ นั้นเปนสิ่งที่งดงามและมีคุณคาซึ่ง เปนภาพ สะทอนเพียงเล็กนอยของความรักและความเอาใจใสดแู ลของพระบิดาที่ สมบูรณแบบของเราในสวรรค และพอของเราขาดตกบกพรองตรงไหน เรารูว า พระเจา พระบิดาของเราสามารถสรางความแตกตางได พระองค เพียงแครอใหเราหันกลับมาหาพระองค

เนื้อหา

อาน YOUCAT ขอ 511-515 และ 517-521

ตอบคําถาม

1. ผูใดสอน “บทขาแตพระบิดา”? ทําไม?(ขอ 511-512) 2. “บทขาแตพระบิดา” มีโครงสรางอยางไร? ประกอบดวยคําวอนขอกี่ ประการ? (ขอ 513) 3. “บทขาแตพระบิดา” มีความสําคัญอยางไรสําหรับคริสตชน?(ขอ 514) 4. เราเปนบุตรของพระเจาจริงหรือ? พระองคทรงเปนพระบิดาผูทรงรัก เราอยางแทจริงหรือ? (ขอ 515 และขอ 517)

80

ไตรตรอง พอที่เปนมนุษยนั้นออนแอ ทําบาป ไมสมบูรณ และบางครั้งก็กอใหเกิด อั น ตรายอย า งใหญ ห ลวงต อ ลู ก ๆ ของพวกเขา แตในสวนที่ดีที่สุดพวก เขาสามารถปกป อ ง รัก เขม แข็ ง และออนโยน มีความฉลาดในแบบ ที่ ส ะท อ นถึ ง ความเป น พระบิ ด าที่ สมบูรณแบบขององคพระผูเปนเจา พระเจ า ทรงเป น พระบิ ด ามากยิ่ ง กวาที่มนุษยเคยเปนมา พระเยซูเจา ทรงสอนเราใหมอบความไววางใจ ในพระเจา พระบิดาของเรา เพื่อขอ พระองคใหทรงวางแผนสําหรับเรา และวอนขอทุกสิ่งที่เราตองการจาก พระองค 1. พระเจาทรงเปนพระบิดาของเรา ในแงใด? 2. เมือ่ พอของใครสักคนลมเหลว เรา คิดวาพระเจา พระบิดาจะทรงชวย ไดอยางไร?


5. พระเจาพระบิดาทรงอยูที่ไหน? (ขอ 518) 6. เมือ่ เรากลาววา “พระนามพระองคจงเปนทีส่ กั การะ พระอาณาจักร จงมาถึง พระประสงคจงสําเร็จในแผนดินเหมือนในสวรรค” เราวอน ขออะไร? (ขอ 519-521)

พระคัมภีร

1. อาน มธ 6:9-13 และ ลก 11:2-4 มีการนําเสนอ “บทภาวนาของ องคพระผูเปนเจา” ที่แตกตางกันเล็กนอยหรือ? ถาใช คืออะไร? 2. อาน คส 3:2 “บทภาวนาขององคพระผูเปนเจา” ชวยใหเราทําสิ่ง ที่ทานนักบุญเปาโล แนะนําไดอยางไร?

พูดคุยกับเพื่อน

1. ทานคิดวาทําไม “บทขาแตพระบิดา” จึงถือเปนคําภาวนาทีส่ มบูรณ แบบ? 2. เนื่องจากพระเจาทรงเปนพระบิดาของเรา สิ่งนี้สงผลตอความ สัมพันธของเรากับเพื่อนมนุษยอยางไร? 3. แสดงความคิดเห็นและอภิปรายเกี่ยวกับคํากลาวของ นักบุญ Hildegard of Bingen ที่วา “สวรรคบนแผนดิน คือที่ใดก็ตาม ที่ มีผคู นซึง่ เปย มดวยความรักตอพระเจา ตอพี่นอ ง เพือ่ นมนุษย และ ตอตนเอง” ในแงของ “บทขาแตพระบิดา”

สิ่งทาทาย

ภาวนา : ทุกวันในสัปดาหน้ี ใหสวด“บทขาแตพระบิดา”อยางชาๆ อยู กับคําหรือประโยคทีเ่ ราสวด และวอนขอพระตรีเอกภาพเพือ่ ประทาน ความสวาง และสรางแรงบันดาลใจใหทานดวยความดี ความงาม ความจริงและความหมายของคําตางๆ ดําเนินชีวิต : ในวันเหลานี้ พยายามดําเนินชีวิตในฐานะบุตรของพระ บิดาในสวรรค มองแตละคนเปนสวนหนึ่งของครอบครัวของทาน ถาม : นักบุญยอแซฟ สามารถเปนบิดาคนหนึ่งของทาน ขอใหทาน นักบุญชวยพอของทานและพอคนอื่นๆใหเปนพอที่ดีที่สุดเทาที่จะ ทําได

81

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ......................................................


บทภาวนาขององคพระผูเปนเจา : บทขาแตพระบิดา ไตรตรอง

หัวขอที่ 6 : ฉันตองการ กลาวนํา ทานเคยดูภาพยนตรเรื่อง “what about Bob?” ไหม ถาทานไมเคยดู เปนภาพยนตรตลก ในฉากที่ยากจะลืมคือ เมื่อบ็อบ ไวลีย ติดตาม ลีโอ มารวนิ นักจิตบําบัดของเขา ไปยังรัฐนิวแฮมปเชียร ทีซ่ งึ่ คุณหมอ มารวิน และครอบครัวของเขาไปพักรอน และที่ถนนกลางหมูบาน ตากอากาศบ็อบขอใหคุณหมอไปพบเขา “ฉันตองการ ฉันตองการ ฉันตองการ ให ให ให!!!” โชคดี ที่เราไมจําเปนตองขอรองแพทยที่ เปนพระเจา พระองคทรงทราบถึงความตองการของเรา แตพระองค ตองการใหเราขอในสิ่งที่เราตองการ มิใชเพื่อประโยชนของพระองค แตเพื่อเรา และพระองคทรงสอนเราวาควรขออยางไร เนื้อหา อานYOUCAT ขอ 514 และ 522-527 ตอบคําถาม 1. เมื่อเราขอ “อาหารประจําวัน” ในบท “บทขาแตพระบิดา” เรา กําลังขออะไร?(ขอ 522-523 และ ดานขางขอ 523) 2. ความเมตตาที่เราแสวงหาและความเมตตาที่เราแสดงตอผูอื่น แยกออกจากกันไมไดอยางไร? (ขอ 524) 3. เมื่อเราขอองคพระผูเปนเจาวา “โปรดชวยขาพเจาไมใหแพการ ผจญ แตโปรดชวยใหพนจากความชั่วราย” หมายความวาอะไร? (ขอ 525-526) 82

เมื่อบางสิ่งที่ดูเหมือนถูกตอง สมบูรณ แบบ ผู  ค นมั ก จะตะโกนว า “ใช ” “อาแมน” แปลวา “ใช” หรือ” ขอให เปนไปตามนั้น!” ซึ่งสมเหตุสมผลแลว ทีเ่ ราจะกลาววา “อาแมน!” เพื่อสรุปคํา ภาวนาของเรา เปนวิธีการมุงมั่นอยาง แนวแนตอความจริงของสิ่งที่เราพึงจะ ภาวนา ในทางหนึ่ง ทั้งชีวิตของทาน ควรเปนการภาวนา เปนของขวัญอยาง หนึ่งที่มอบใหกับพระเจา ในตอนทาย ของชีวิต เราตองการใชชีวิตในลักษณะ ที่ สามารถพูดวา “อาแมน” กั บ สิ่ง ที่ เกิดขึ้นทั้งหมด เราตองการมีความหวัง ที่ม่นั ใจในพระเจาและโชคชะตาของเรา กับพระองค พยายามจดจําวันที่ดีที่สุด ในชีวิตของทาน เก็บภาพไว หวนระลึก ถึงมันในความทรงจําของทาน ตอนนี้ ความสุขทวีคูณขึ้นอยางไมมีสิ้นสุดและ เวลาชั่วนิรันดร นั่นคือชีวิตที่พระบิดา ของเราทรงเตรียมไวใหเรา “อาแมน” 1. ทานเคยไดยินอะไรบางอยางในวัด หรืออานบางสิ่งที่เกี่ยวของกับความ เชื่อของทานที่ทําใหทานอยากพู ด วา “อาเมน” หรือไม? สิง่ นัน้ แตกตาง จากคํ า ตอบในตอนท า ยของคํ า ภาวนาอยางไร??

(อานตอ...)


4. เมือ่ ใดก็ตามทีม่ คี นกลาวคําวา “อาแมน” ในบทภาวนาของเขา โดยเฉพาะใน “บทขาแตพระบิดา” เกิดอะไรขึ้น? (ขอ 527) พระคัมภีร 1. ใน 1ทธ 2:4 นักบุญเปาโล กลาววาพระเจามีพระประสงคใด สําหรับมนุษยทุกคน? 2. อธิบายวา ลก 6:36 และ 1ยน 4:20 ชวยเราใหเขาใจ ความรัก ความเมตตา การใหอภัย และพระเจาพระบิดาอยางไร? 3. ใน 1ยน 5:19 นักบุญยอหน บอกวาเราเปนของใคร? ภายใต อํานาจและการปกครองของใครในโลกนี้ ในขณะนี้? พูดคุยกับเพื่อน 1. พระเยซูเจาทรงสอนบทภาวนาใหบรรดาศิษยของพระองค เพียงบทเดียวคือ “บทขาแตพระบิดา” ทานคิดวาทําไมองค พระผูเปนเจาของเราจึงทรงสอนบทภาวนานี้เพียงบทเดียว? 2. นักบุญโทมัส อไควนัส เรียก “บทขาแตพระบิดา” วาเปน “บทภาวนาที่สมบูรณแบบที่สุด” (ขอ 514) ใหเหตุผลวาทําไม บทภาวนานี้จึง “สมบูรณแบบ”? 3. ทานคิดวาผิดไหมที่จะทูลขอสิ่งตางๆ จากพระเจาเมื่อเรา ภาวนา? ใหเหตุผล สิ่งทาทาย คิดและใหอภัย : ใชเวลาหานาทีในแตละวัน คิดถึงคนที่ทาน ทํารายและขอใหพระเจาทรงใหอภัยทาน และนึกถึงคนที่ทาํ ราย ทาน และไมวาทานจะรูสึกอยางไรกับพวกเขา เลือกที่จะใหอภัย พวกเขาและขอใหพระเจานําสิ่งที่ดีมาในชีวิตของพวกเขา ไป : ไปรวมบูชามิสซาในวันอาทิตย และในขณะที่ทานภาวนา “บทขาแตพระบิดา” พรอมกับที่ชุมนุม นึกถึงความสามัคคีกัน ในครอบครัวของเราเมื่อทุก คนมารวมตัวกันที่นั่น และพี่นอง ชาย-หญิงของเราทุกคนในโลก ในแดนชําระ และในสวรรค

83

ไตรตรอง (ตอจาก...) 2. ทํ า ไมบางครั้ ง ท า นจึง คิ ด ว า คนหนุ  ม สาวมักจะไมพอใจที่จะตอบรับในบูชา มิสซา? พวกเขาทําอะไรไดบาง เพื่อ เอาชนะความกระดากอายนี้?

...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ...................................................... ..................................................... ..................................................... ......................................................


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.