สู้กับคอร์รัปชั่น

Page 1

สู้ กบั คอร์ รัปชั่น - เรื่องเพ้อเจ้ อที่ต้องเริ่มจริงจังเสี ยที “หางกระดิกหมา” ผลการสารวจระบุวา่ กว่าครึ่ งของสังคมยอมรับคอร์รัปชัน่ ได้หากสร้างความเจริ ญให้กบั ประเทศ จริงหรือ ที่มีการคอร์ รัปชั่นชนิดที่สร้ างความเจริ ญได้ ? นักธุรกิจกว่าร้อยละ 70 ยอมรับว่าตนจ่ายค่าคอร์รัปชัน่ และในจานวนนั้น กว่าร้อยละ 80 คิดว่าเป็ นเรื่ องจาเป็ น และก็ได้ผลคุม้ ค่า จริงหรือ ที่ธุรกิจไม่ สามารถแข่ งขันได้ ถ้ าไม่ จ่ายคอร์ รัปชั่น ? รายได้ตามกฎหมายที่นอ้ ยจนไม่พอกิน ทาให้ขา้ ราชการและนักการเมืองจาเป็ นจะต้อง “ฉ้อราษฎร์บงั หลวง” เพื่อประทังความอยูร่ อด จริงหรือ ที่ ทุกคนจะคอร์ รัปชั่นเพียงเพื่อเลีย้ งอัตภาพ และไม่ เกินเลยไปสู่การ กอบโกยอย่ างไม่ มีที่สิ้นสุ ด ? สังคมไทยเลวร้ายลง เพราะปัญหาการคอร์รัปชัน่ ทวีมากขึ้นจนเกินระดับที่สมควร จริงหรือ ที่จะมีกลไกที่สามารถกาหนดระดับดุลยภาพและสร้ างคอร์ รัปชั่นขนาด “พอสมควร”ได้ ? คอร์รัปชัน่ เป็ นวัฒนธรรมอันหยัง่ รากลึกในสังคมไทยทุกระดับ ไม่มีทางที่ขดุ ถอนสาเร็จ จริงหรือ ที่ การต่ อสู้กับคอร์ รัปชั่นเป็ นเรื่ องเพ้ อฝั นไม่ มีทางบรรลุเป้ าหมาย สมควรที่จะเอาทรั พยากรไปทาอย่ างอื่นที่เป็ นประโยชน์ มากกว่ า ?


- หน้า 2 ความเชื่อข้างต้นเป็ นมายาคติของสังคมไทยปัจจุบนั ที่ต้ งั อยูบ่ นความเห็นแก่ได้ ความมักง่าย การเข้าข้างตนเอง และคิดแต่จะกอบโกยผลประโยชน์เฉพาะหน้า โดยไม่ ไยดีถึงความเสี ยหายร้ายแรงที่จะตามมา ซึ่งในที่สุดก็จะนามาสู่ จุดจบซึ่งกระทบถึงทุก ภาคส่ วนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทั้งนี้เพราะคอร์รัปชัน่ เป็ นปัญหาร้ายแรงที่สุดอันดับหนึ่งของสังคม เป็ นรากเหง้า ของปัญหาทั้งมวลที่เรากาลังเผชิญอยู่ ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องของความแตกแยก ความเหลื่อม ล้ า ความไม่เป็ นธรรม การกดขี่ข่มเหงเอารัดเอาเปรี ยบ การแย่งชิงทรัพยากร ทั้งยัง นาไปสู่ การจัดสรรทรัพยากรอย่างผิดพลาด ไร้ประสิ ทธิภาพ ซึ่งบัน่ ทอนศักยภาพการ แข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ บทความนี้ได้แต่หวังจะเป็ นก้อนหินเล็กๆก้อนหนึ่งที่จะมาร่ วมกับภาคส่ วนอื่นๆ ของสังคมเพื่อช่วยถมทับหนองบึงความชัว่ ร้ายแห่งการคอร์รัปชัน่ ซึ่งนับวันรังแต่จะ แผ่ขยายครอบคลุม และดูดกลืนทุกภาคส่ วนของสังคมไทยให้ดิ่งลึกลงทุกที

1. ประเภทของคอร์ รัปชั่น เราพอจะแบ่งประเภทการทุจริ ตคอร์รัปชัน่ ออกได้เป็ น 3 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ 1.1 การทุจริตคอร์ รัปชั่นในภาคเอกชน อันได้แก่ การฉ้อฉลคดโกงกันเอง ระหว่างเอกชนด้วยกัน การที่พนักงานโกงบริ ษทั การที่ผบู ้ ริ หารหรื อผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ฉอ้ ฉล เอาเปรี ยบผูถ้ ือหุน้ อื่น ซึ่งการฉ้อฉลในภาคเอกชนด้วยกันนี้ มักจะมีผทู ้ ี่มีส่วนได้เสี ย โดยตรงคอยตรวจสอบรักษาผลประโยชน์ตน และมีการพัฒนากฎหมาย รวมทั้งกลไก ป้ องกันเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ


- หน้า 3 1.2 การทุจริตโดยเบียดบังทรัพย์ สินของรัฐโดยตรง เช่น การฉ้อฉลเงินงบประมาณ แผ่นดิน การจัดการถ่ายโอนทรัพย์สินและทรัพยากรสาธารณะเป็ นของตนและพรรค พวกในราคาที่ไม่เป็ นธรรม ซึ่งเป็ นการฉ้อฉลของผูท้ ี่มีอานาจรัฐ โดยอาศัยช่องว่างของ กฎระเบียบต่างๆ และความไม่เท่าทันของสังคม 1.3 การทีภ่ าคเอกชนจ่ ายสิ นบนให้ กบั ผู้มีอานาจรัฐเพือ่ ประโยชน์ ตน ซึ่งการทุจริ ต ประเภทนี้จะเกิดจากความร่ วมมือสองฝ่ าย คือผูจ้ ่าย ที่หวังจะได้ประโยชน์โดยมิชอบ และผูร้ ับซึ่งสามารถใช้อานาจรัฐเพื่อเอื้อประโยชน์ที่วา่ ได้ (บทความนี้จะมุ่งวิเคราะห์ การทุจริ ตประเภทนี้เป็ นหลัก) ซึ่งพอจะแยกการทุจริ ตประเภทนี้ได้เป็ น 3 ประเภทใหญ่ ดังนี้ 1.3.1 การซื้อหาความได้ เปรียบในการแข่ งขัน ได้แก่การที่ภาคเอกชนจ่ายสิ นบน เพื่อให้ตนสามารถเพิ่มศักยภาพการแข่งขันได้ โดยไม่ตอ้ งเพิ่มประสิ ทธิภาพแท้จริ ง ซึ่ง หลักการใหญ่ๆ ก็คือการกีดกันไม่ให้มีการแข่งขันสมบูรณ์ในวงกว้าง ตามอุดมการณ์ทุน นิยมเสรี เช่น การล็อคสเปคทุกรู ปแบบ (ระบาดหนักอยูท่ ุกหย่อมหญ้าในการจัดซื้อจัด จ้างของภาครัฐ) การให้ใบอนุญาตพิเศษ การให้สัมปทาน (ซึ่งก็คือการแจกจ่าย Monopolyหรื อ Oligopoly หรื อการอนุญาตให้ใช้ไว้ทรัพยากรสาธารณะ) ซึ่งผู ้ ประกอบธุรกิจจะได้ประโยชน์ส่วนเกินจากที่ควรได้ เพียงพอที่จะนาไปจ่ายสิ นบน และ ยังคงมีเหลือสาหรับความมัง่ คัง่ ส่ วนตนและพรรคพวก ซึ่งทุจริ ตประเภทนี้ เป็ นประเภท ที่มีปริ มาณวงเงินสู งสุ ด และก่อความเสี ยหายให้กบั ประเทศมากที่สุด 1.3.2 การซื้อหาความสะดวก ได้แก่ การที่ประชาชนและภาคเอกชนจาเป็ นที่ จะต้องใช้บริ การในภาครัฐ ซึ่งมีระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องจานวนมาก ทาให้เกิดความ ซับซ้อน (รวมทั้งข้อบังคับที่ตอ้ งการลดการทุจริ ตด้วย ) และรัฐสามารถใช้อานาจรัฐใน การขัดขวางความสะดวกรวดเร็ว ทาให้ภาคเอกชนจาเป็ นที่จะต้องให้สินบน เพื่อทาให้ ภารกิจสามารถดาเนินไปได้ ทั้งๆ ที่สินบนประเภทนี้ไม่ได้เพิ่มคุณค่าทางเศรษฐกิจใดๆ


- หน้า 4 ให้แก่ผปู ้ ระกอบการ เช่นการขอใบอนุญาตต่างๆ ระเบียบพิธีการศุลกากร สรรพากร งานตารวจ ฯลฯ ซึ่งเป็ นประเภทที่มีจานวนรายการกว้างขวางมากที่สุด แทบจะในทุกๆ ระบบราชการ 1.3.3 การซื้อหาความไม่ ผดิ ได้แก่ การที่ผกู ้ ระทาความผิดกฎหมาย สามารถที่จะให้ สิ นบนในกระบวนการยุติธรรม (ตารวจ-อัยการ-ศาล) เพื่อให้ตนพ้นผิดได้ ซึ่งในปัจจุบนั ระบาดหนักถึงขนาดที่ในบางครั้ง ผูท้ ี่ไม่ได้ทาความผิดยังอาจจะต้องจ่ายสิ นบน เพื่อให้ พ้นจากกระบวนการซึ่ งนาความยุง่ ยาก และอันตรายให้แก่กิจการและสวัสดิภาพส่ วน บุคคล

2. กลยุทธ์ การคอร์ รัปชั่น ถึงแม้จะมีกฎหมายระเบียบข้อบังคับ และหน่วยงานต่างๆ ที่เกิดขึ้นมากมาย โดย มีจุดมุ่งหมายเพื่อป้ องกันและปราบปรามการทุจริ ต แต่ขอ้ เท็จจริ งกลับมีการทุจริ ต กว้างขวางขึ้น และปริ มาณมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะแสดงให้เห็นถึงความไม่มีประสิ ทธิผล และประสิ ทธิภาพของมาตรการต่างๆ ยังมีผลมาจากวิวฒั นาการด้านกลยุทธ์ท้ งั ของผูใ้ ห้ สิ นบน และผูใ้ ช้อานาจรัฐในการทุจริ ตโดยที่สังคมส่ วนใหญ่ ขาดความรู ้ ความเข้าใจ และแรงจูงใจ ในการป้ องกันและปราบปราม ในที่น้ ีจะวิเคราะห์ถึงรู ปแบบการทุจริ ต 3 ลักษณะใหญ่ ที่ถูกใช้กนั อย่างแพร่ หลายในปัจจุบนั 2.1 ได้ กระจุก เสี ยกระจาย การทุจริ ตที่ไม่มีผรู ้ ู ้สึกเสี ยหาย ย่อมทาให้เกิด แรงจูงใจในการป้ องกันปราบปรามได้นอ้ ย ดังนั้นการทุจริ ตที่กระจายต้นทุนไปได้ ทัว่ เช่น ทุจริ ตจากงบประมาณซึ่งต้นทุนจะกระจายไปแก่ประชาชนทุกคน จนไม่รู้สึกถึง ความเสี ยหายร้ายแรงอื่นๆ (ถ้าทุจริ ต 6,500 ล้านบาท ทุกคนจะรู ้สึกว่าเสี ยหายเพียงคนละ 100 บาท ทั้งที่ความจริ งมีความเสี ยหาย ร้ายแรงอื่นๆ ที่ซ่อนไว้อีกมากมาย ที่จะกระทบ กับทุกภาคส่ วนในที่สุด) เรื่ องทุจริ ตที่มกั จะเป็ นกรณี ได้รับการต่อต้าน มักจะเกิดจากการ


- หน้า 5 ที่มีผเู ้ สี ยหายโดยตรงเพียงกลุ่มเล็ก ตัวอย่ างเช่ น การปล้นชิงทรัพยากรสาธารณะใน ชุมชน การทุจริ ตในกิจการที่ประชาชนผูใ้ ช้บริ การต้องแบกรับภาระโดยตรง หรื อการ ทุจริ ตที่มีลกั ษณะพยายาม “กินรวบ” ทาให้ธุรกิจอื่นๆ ที่แข่งขันอยู่ (โดยอาจจะเคย สามารถมีช่องทางจ่ายสิ นบนได้ดว้ ย) ถูกกีดกันออกจากการแข่งขันโดยสิ้ นเชิง นักทุจริ ตที่ใช้กลยุทธ์น้ ีจนเชี่ยวชาญ ยังสามารถประยุกต์วธิ ีการ “แจกกระจุก” เพื่อให้ได้มาซึ่งอานาจรัฐที่จะนามาซึ่งโอกาสในการทุจริ ต เช่น การที่ขา้ ราชการหรื อนัก การเมืองซื้อตาแหน่งหรื อซื้อเสี ยง การที่ภาคเอกชนจ่ายเงินสนับสนุนนักการเมืองที่มี โอกาสสร้างช่องทางทางธุรกิจให้ตนตลอดจน การที่นกั การเมืองสามารถใช้อิทธิพล เบียดเบียนงบประมาณจากภาคส่ วนอื่นมาพัฒนาท้องถิ่นตนจนเกินควร (จนท้องถิ่นอื่น เรี ยกร้องให้ผแู ้ ทนของตนเอาเยีย่ งอย่าง ว่าเป็ นผูแ้ ทนในอุดมคติ) 2.2 ได้ วนั นี้ เสี ยวันหน้ า การทุจริ ตที่ไม่ส่งผลเสี ยในทันที ย่อมมีโอกาสที่ถูก ต่อต้าน หรื อถูกตรวจสอบป้ องกันปราบปรามน้อยกว่า เช่น การลงทุนขนาดใหญ่ใน ภาครัฐ หรื อรัฐวิสาหกิจ ที่สามารถกล่าวอ้างคาดคะเนถึงความคุม้ ค่าทางเศรษฐกิจ และ สังคมได้โดยยากที่จะพิสูจน์ผลได้ในระยะสั้น โดยจะผลักภาระต้นทุนความเสี ยหายให้ แก่ผเู ้ สี ยภาษีในอนาคต (ผ่านกระบวนการหนี้สาธารณะ) ซึ่งในบางครั้งสามารถว่าจ้างผู ้ เชี่ยวชาญกามะลอ มาช่วยยืนยันข้อมูลในการศึกษาความเป็ นไปได้ เพื่อผลักดันโครง การที่ไม่มีความคุม้ ค่า ตัวอย่ างเช่ น การลงทุนในโครงการขนส่ งสาธารณะที่มีผเู ้ ชี่ยวชาญ คาดคะเนว่าจะมีผใู ้ ช้บริ การวันละหลายหมื่นคน ในขณะที่เมื่อแล้วเสร็จมีผใู ้ ช้บริ การจริ ง ไม่กี่พนั คนต่อวัน ความเสี ยหายและต้นทุนที่เกิดจะถูก “ตัดค่าเสื่ อมราคา” ได้ใน เวลานาน ทาให้สามารถกระจายความเสี ยหายไปในอนาคตได้ จนหลายครั้งไม่ทาให้ เกิดภาระในระยะสั้นมากนัก การจัดซื้อจัดจ้างในส่ วนของถาวรวัตถุ ที่ราคาสู งเกินจริ ง หรื อไม่จาเป็ นของหน่วยงานต่างๆ จะมีลกั ษณะตามนี้จานวนมาก


- หน้า 6 2.3 ใช้ นายหน้ าตัวแทน ตัวกลาง ผู้ประสานงานการทุจริต จากความพยายาม ป้ องกันปราบปรามที่เข้มงวดมากขึ้น (แต่ยงั ไม่มีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลอย่าง แท้จริ ง) ทาให้เกิดระบบผูเ้ ชี่ยวชาญที่รับหน้าที่เป็ นตัวแทน ตัวกลาง หรื อ ประสานงาน (“นักวิง่ เต้น” หรื อ “Lobbyist”) เพื่อให้การทุจริ ตสามารถดาเนินการ ผ่านช่องว่างต่างๆ ของกฎหมายได้ ทั้งนี้หน่วยธุรกิจที่เกิดขึ้น แทบจะไม่มีส่วนเพิม่ คุณค่าทางเศรษฐกิจให้แก่ระบบ แต่ได้รับส่ วนแบ่งค่าตอบแทนเป็ นจานวนมาก ทวีความ รุ นแรงของปัญหา “ค่ าเช่ าทางเศรษฐกิจ” (Economic Rents) ซึ่งใช้ทรัพยากร จานวนมาก โดยไม่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจใดๆ ตัวอย่ างเช่ น การจัดซื้อจัดจ้างด้าน ระบบสารสนเทศ (ซึ่งเป็ นทรัพย์สินไม่มีตวั ตน ยากจะประเมินมูลค่าได้) ที่บริ ษทั เจ้าของ เทคโนโลยีแ่ ละทรัพย์สินทางปัญญาระดับโลก หลายแห่ง ไม่ได้เข้าทาสัญญาซื้อขาย โดยตรงกับภาครัฐเลย ทั้งๆที่หน่วยงานภาครัฐทั้งหลาย จัดหาสิ นค้าเหล่านี้จากตัวแทน ตัวกลาง ปี ละหลายๆ หมื่นล้านบาท (เป็ นภาคที่มีข่าวลือที่ทุกคนเชื่อว่าเปอร์เซ็นต์สูงที่ สุ ดภาคหนึ่ง)

3. โทษของคอร์ รัปชั่น คอร์รัปชัน่ เป็ นปัญหาร้ายแรง แต่สังคมมักรับรู ้โทษของมันน้อยกว่าความเป็ นจริ ง การต่อสู ้โดยพยายามยกเหตุผลด้านคุณธรรม การปลูกจิตสานึกในบาปบุญคุณโทษตาม ค่านิยมวัฒนธรรมและศาสนาดูจะไม่ได้ผล (โดยเฉพาะเมื่อคานึงถึงผลประโยชน์ มหาศาลและค่านิยมปัจจุบนั ที่เชื่อกันอย่างกว้างขวางว่าการ “แก้กรรม” สามารถกระทา ได้) การเปลี่ยนทัศนคติของสังคม จาเป็ นต้องทาให้ทุกคนรับรู ้วา่ คอร์รัปชัน่ มีโทษ มหันต์ และกว้างขวาง (มากกว่าจะเพียงแค่ “ตกนรก”) และในที่สุดจะเป็ นผลร้าย กระทบกับทุกภาคส่ วนอย่างแท้จริ ง ในที่น้ ีจะขอเรี ยบเรี ยงโทษของคอร์รัปชัน่ (บาง ประการ) ดังนี้ :-


- หน้า 7 3.1 ความไม่ มปี ระสิ ทธิภาพของนโยบายการคลัง โดยเหตุที่นโยบายการคลัง คือการเคลื่อนย้ายทรัพยากรจากภาคส่ วนที่มงั่ คัง่ กว่าไปสู่ ภาคส่ วนอื่นๆ (การกระจายราย ได้) จากภาคส่ วนที่จาเป็ นน้อยสู่ ภาคส่ วนที่จาเป็ นมากกว่า (เช่น บริ การสาธารณะ) จาก อนาคตมาใช้แก้ปัญหาปัจจุบนั (การแก้วกิ ฤตผ่านหนี้สาธารณะ) ฯลฯ การคอร์รัปชัน่ นอกจากทาให้ทรัพยากรรั่วไหล ไม่ได้ใช้งานเต็มที่ตามวัตถุประสงค์แล้ว ยังทาให้เกิด การบิดเบือน การตัดสิ นใจในเรื่ องของนโยบายการคลัง (รวมทั้งงบประมาณ) ทาให้การ ใช้งานทรัพยากรภาครัฐ มีการจัดสรรและใช้งานอย่างไม่เกิดประโยชน์เท่าที่ควร และ ก่อให้เกิดการบิดเบือนของระบบเศรษฐกิจ จนในบางครั้งก็เป็ นต้นเหตุของวิกฤตร้ายแรง ได้ 3.2 คุณภาพและต้ นทุนของบริการพืน้ ฐาน โดยเหตุที่รัฐและ รัฐวิสาหกิจ เป็ นผูร้ ับผิดชอบบริ การพื้นฐานสาธารณะแทบทั้งหมด (ไม่เคยมีการแปรรู ป รัฐวิสาหกิจที่สมบูรณ์ในบริ การสาคัญเลย) คอร์รัปชัน่ อย่างกว้างขวางในทุกภาคส่ วน ทาให้บริ การพื้นฐานมีคุณภาพต่า ไม่เพียงพอ และมีตน้ ทุนสู ง (ซึ่งเป็ นเหตุสาคัญให้ ศักยภาพการแข่งขันของประเทศถูกบัน่ ทอนอย่างมาก) 3.3 ความเบี่ยงเบนของทรัพยากร ภาคเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการ คอร์รัปชัน่ ทั้งหมด มักจะเป็ นภาคที่ไม่ใช่สินค้าตลาดโลก (Non-Tradables) และ เกี่ยวข้องกับการใช้อานาจรัฐ ซึ่งในระยะสั้นจะได้กาไรอย่างมาก (เพราะกีดกันการ แข่งขันได้) ทาให้ทรัพยากรไหลเข้าสู่ ภาคนี้ ทั้งทรัพยากรบุคลากรคุณภาพ (ฉลาด เก่ง แต่ ชั่ว) ทรัพยากรเงินทุน ทาให้เกิดการลงทุนเกินสมควรในด้านที่ไม่จาเป็ นที่ จะต้องแข่งขันในเวทีโลก จะเห็นได้วา่ มหาเศรษฐีจานวนมากอยูใ่ นภาคส่ วนนี้ และ อัจฉริ ยะจานวนไม่นอ้ ยจะไหลเข้าสู่ อาชีพที่เกี่ยวข้องเช่นการเมือง (ด้านสกปรก) และ Lobbylist เป็ นต้น


- หน้า 8 3.4 บัน่ ทอนศักยภาพการแข่ งขันของประเทศ นอกจากข้อเสี ยดังกล่าว ข้างต้น การที่ภาคเอกชนมีช่องทางมากมายที่จะได้เปรี ยบ (หรื อกีดกัน) การแข่งขัน โดย ที่ไม่ตอ้ งปรับปรุ งประสิ ทธิภาพแท้จริ ง (Real Productivity) ทาให้ขาดความ จาเป็ นในการพัฒนาปรับปรุ งคุณภาพสิ นค้าและบริ การ รวมทั้งการค้นหาวัตกรรมใหม่ๆ (การซื้อหาความได้เปรี ยบมีความแน่นอนกว่าและความเสี่ ยงน้อยกว่า การลงทุนใน R&D มาก) เป็ นสาเหตุสาคัญประการหนึ่ง ที่ประเทศไทยมีการลงทุนในการวิจยั และ พัฒนาต่าที่สุดประเทศหนึ่ง ไม่เคยมีประเทศกาลังพัฒนาใดที่มีดชั นีคอร์รัปชัน่ ต่ากว่า 5.0 (ประเทศไทย 3.3) สามารถก้าวพ้นกับดักการพัฒนา (Middle Income Trap) ไปได้เลย

3.5 ความเหลือ่ มลา้ ในสั งคม การที่คอร์รัปชัน่ ไม่ส่งเสริ มศักยภาพในการ แข่งขัน ทาให้ภาคเศรษฐกิจจาเป็ นต้องไปกดเงินเดือน ค่าจ้าง ซึ่งผูร้ ับเป็ นคนส่ วนใหญ่ ของประเทศประกอบกับการที่ความสะดวก ความได้เปรี ยบและความไม่คิด สามารถซื้อ หาได้สาหรับคนบางกลุ่ม ทาให้เกิดสังคมหลายมาตรฐาน มีส่วนสาคัญที่ทาให้ ทรัพยากรและความมัง่ คัง่ ไม่ได้รับการกระจายอย่างทัว่ ถึง 3.6 ความแตกแยกในสั งคม นอกจากความเหลื่อมล้ าแล้ว ความพยายามทุก วิถีทางที่จะพยายามเข้าถึง อานาจรัฐ (ของนักการเมือง และข้าราชการบางพวก) โดยไม่ คานึงถึงวิธีการและต้นทุนที่ใช้ เป็ นรากฐานสาคัญประการหนึ่งของความแตกแยก อย่าง รุ นแรงที่เรากาลังเผชิญอยูท่ ุกวันนี้ แม้แต่ปัญหาใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ ก็มีสาเหตุไม่ น้อยที่มาจากการคอร์รัปชัน่

4. ประโยชน์ ของคอร์ รัปชั่น... ภาพหลอนในระยะสั้น การที่คนจานวนไม่นอ้ ยเชื่อว่า คอร์รัปชัน่ มีประโยชน์สามารถสร้างความเจริ ญ ต่อเศรษฐกิจและสังคมส่ วนรวมได้บา้ ง เนื่องจากในระยะสั้น การคอร์รัปชัน่ มากอาจทา


- หน้า 9 ให้มีการลงทุนและการใช้จ่ายได้เป็ นอย่างมาก และ ทาให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ในระยะสั้น (การลงทุนและการบริ โภคมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการเติบโตทาง เศรษฐกิจ) ทั้งในกรณี ที่ผใู ้ ช้อานาจรัฐมีแรงจูงใจที่จะลงทุนในโครงการขนาดใหญ่ (ซึ่ง สามารถตัด “ค่ าเสื่ อมราคา” ได้นาน ) หรื อใช้มาตรการต่างๆ ของรัฐ ที่มีช่องทางในการ ทุจริ ต โดยใช้ทรัพยากรในอนาคต (หนี้สาธารณะ) หรื อทาให้รัฐมีขนาดใหญ่ข้ ึน ตลอดจนการที่ภาค เอกชน สามารถซื้อหาความได้เปรี ยบได้ ก็จะมีการลงทุนมากเกิน สมควร (ในบางครั้งที่เรามีรัฐบาลสุ จริ ต นักธุ รกิจบางกลุ่มถึงกับบ่นว่า “ค้ าขายไม่ ได้ ”) แต่การลงทุน และการใช้จ่ายประเภทดังกล่าว ถึงแม้ดูเหมือนจะเป็ นผลดีในระยะสั้น แต่ ในระยะต่อไป จะส่ งผลเสี ยหายร้ายแรงหลายเท่าทวีคูณ และจะเป็ นปัญหาสะสมจน ยากที่จะแก้ไขได้

5.

การต่ อสู้ กบั คอร์ รัปชั่น... ความหวังของชาติ

ถึงแม้การคอร์รัปชัน่ จะฝังรากลึกอย่างกว้างขวาง จนดูเหมือนจะกลายเป็ นส่ วน หนึ่งของวัฒนธรรม ที่ยากจะแก้ไข แต่ในปัจจุบนั ได้มีหลายภาคส่ วนมีความตื่นตัว อย่าง ที่ไม่เคยมีมาก่อน ในที่น้ ีขอเสนอมาตรการบางประการที่น่าจะมีประโยชน์ในความ พยายามที่จะเอาชนะภัยคอร์รัปชัน่ ซึ่งเป็ นศัตรู ที่สาคัญที่สุดของสังคม 5.1 การเปลีย่ นทัศนคติของสังคม เป็ นขั้นตอนแรกที่สาคัญที่สุดที่จะต้อง ทาให้ทุกภาคส่ วน เข้าใจถึงเภทภัยร้ายแรง ที่จะกระทบถึงตัวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ (มาก กว่าจะเพียงแต่ปลุกจิตสานึกด้านคุณธรรม) โดยเฉพาะผูท้ ี่ได้รับประโยชน์ส่วนน้อยใน ระยะสั้น (พวกที่ตกเป็ นเหยือ่ ของการ “แจกกระจุก”) 5.2 ขจัดเงื่อนไขทีเ่ อือ้ ให้ มีการทุจริต ลดขั้นตอนในระบบและแก้ไข ระเบียบที่ยงุ่ ยากซับซ้อน โดยเฉพาะที่อนุญาตให้มีการใช้วจิ ารณญาณอย่างไม่เป็ นธรรม กาหนดมาตรฐานการให้บริ การแก่ประชาชนและภาคธุรกิจที่ชดั เจน พยายามไม่ออก


- หน้า 10 กฎระเบียบที่ไม่แน่ใจว่ามีประสิ ทธิภาพ เช่นกรณี ที่ ปปช.ออกกฎให้เอกชนที่มีสัญญากับ ภาครัฐเกิน 500,000 บาท ต้องรายงานรายละเอียดต้นทุนทุกอย่างต่อรัฐ ตั้งแต่ 1 มกราคม 2555 ซึ่งถ้าพิจารณาให้ดีจะเห็นว่าไม่น่าจะช่วยลดคอร์รัปชัน่ ได้ แต่กลับจะทา ให้มีการเพิ่มต้นทุนแก่ระบบ (ประมาณว่ามากกว่าหมื่นล้านบาทต่อปี ) มีการเพิ่มบทบาท ตัวแทน ตัวกลาง ตลอดจนอาจทาให้ภาคธุรกิจที่ดีบางส่ วนต้องถอนตัวออกจากระบบ ค้าขายกับรัฐไปเลย เพราะไม่คุม้ ทุนและไม่คุม้ เสี่ ยง และเมื่อออกระเบียบมาแล้วระเบียบ นั้นมักจะดารงอยูต่ ลอดไป 5.3 เพิม่ ความโปร่ งใสภาครัฐ การกาหนดให้มีมาตรฐานการเปิ ดเผยข้อมูล ทั้งหมด ทั้งในด้านการจัดซื้อจัดจ้าง และการลงทุนในทุกโครงการของภาครัฐ ในส่ วน ของรัฐวิสาหกิจที่ยงั ไม่ได้ (และไม่ยอม) แปรรู ปก็อาจกาหนดให้มีมาตรฐานการเปิ ดเผย ข้อมูล เสมือนหนึ่งเป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อให้ภาคประชาชน และสื่ อมวลชน สามารถติดตามตรวจสอบได้โดยสะดวก ในการลงทุนต่างๆ ก็ควรจะมี การติดตามรายงานผลความคุม้ ค่าและข้อผิดพลาด ประกาศให้เป็ นที่รับทราบของ สาธารณชน

5.4 การกระจายอานาจ ทั้งในด้านการปกครอง การงบประมาณ และการ จัดสรรทรัพยากร นอกจากจะมีความสาคัญอย่างยิง่ ในมิติอื่นๆ ยังช่วยลดปั ญหา คอร์รัปชัน่ ได้มาก เพราะจะเกิดแรงจูงใจให้ประชาชนในท้องถิ่นติดตามดูแลการใช้ ทรัพยากรภาครัฐ เนื่องจากมีส่วนได้เสี ยโดยตรง (ขจัดเงื่อนไข “ได้กระจุก เสี ย กระจาย”)


- หน้า 11 5.5 ส่ งเสริมให้ มอี งค์ กรภาคประชาชน ที่มีการดาเนินการในด้านนี้ เช่น องค์กรที่คอยติดตามตรวจสอบวิเคราะห์ขอ้ มูลต่างๆ สานักข่าวเจาะ (Investigative Reporter) ที่มีความเป็ นอิสระ (สานักข่าวหลักในปั จจุบนั มักจะต้องพึ่งอานาจรัฐผ่าน ระบบสัมปทาน หรื อรับการสนับสนุนการโฆษณา และจัดรายการจากหน่วยงานของรัฐ) 5.6 การแปรรู ปรัฐวิสาหกิจที่สมบูรณ์ โดยไม่เป็ นการโอนอานาจผูกขาดให้ เอกชน และมีระบบบรรษัทภิบาลที่ดี การแปรรู ปในประเทศไทยที่ผา่ นมา ไม่เคยมีการ แปรรู ปโดยสมบูรณ์เลย ภาคการเมืองยังคงมีอิทธิ พลเหนือรัฐวิสาหกิจทุกแห่งที่จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และยังคงสภาพ Monopoly อยูค่ ่อนข้างมาก ถึงแม้จะ มีการเพิ่มประสิ ทธิภาพและความโปร่ งใสไม่นอ้ ย มีการติดตามตรวจสอบมากขึ้นจากผูม้ ี ส่ วนได้เสี ย (ผูถ้ ือหุน้ อื่น) แต่กย็ งั ไม่สามารถกล่าวได้วา่ ปราศจากพฤติกรรมไม่ชอบ รัฐ ควรจะดาเนินการแปรรู ปต่อให้สมบูรณ์ซ่ ึงนอกจากจะเพิ่มความโปร่ งใสแล้ว ยังจะ เพิม่ ประสิ ทธิภาพและลดต้นทุนของสิ นค้าและบริ การอีกด้วย (แท๊ตเชอร์เคยกล่าวว่า “When State owns, nobody owns. When nobody owns, nobody cares.”)

5.7 การเปิ ดเสรีระบบเศรษฐกิจ โดยส่ งเสริ มให้มีการแข่งขันอย่าง เปิ ดเผยกว้างขวาง โดยเฉพาะจากบริ ษทั ข้ามชาติที่มีมาตรฐานสู ง ขจัดข้อจากัด ในด้าน การกีดกันทุกชนิดที่ไม่จาเป็ น (เช่นด้านสัญชาติ) การกีดกันทางการค้าทุกชนิดเท่ากับ เป็ นการจากัดการแข่งขัน ซึ่งส่ วนใหญ่เป็ นไปเพื่อประโยชน์ของนักธุรกิจกลุ่มเล็กเท่านั้น โดยที่ผบู ้ ริ โภคและประชาชนส่ วนใหญ่จะเป็ นผูร้ ับภาระจากกาไรส่ วนเกินที่เกิดขึ้น


- หน้า 12 5.8 การร่ วมมือกับนานาชาติและองค์ กรระหว่ างประเทศ ในปัจจุบนั ได้มี การตื่นตัวอย่างมากในความร่ วมมือ ที่จะขจัดการคอร์รัปชัน่ ในประเทศกาลังพัฒนา ทั้งหลาย หลายประเทศได้ออกกฎหมายที่มีบทลงโทษค่อนข้างรุ นแรง (น่าสังเกตว่า หน่วยงานรัฐซื้อสิ นค้าและบริ การจากประเทศเหล่านี้ลดลง) และมีความร่ วมมือกันใน หลายๆ ช่องทาง ยังมีองค์กรระหว่างประเทศหลายแห่งพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือใน เรื่ องนี้ (เช่น World Bank, ADB, Transparency International, Open Society Institute) ซึ่ งบทเรี ยนจากประเทศที่สามารถลดคอร์รัปชัน่ ได้มาก จน ทาให้ประเทศสามารถก้าวพ้นกับดักการพัฒนา เช่น เกาหลี ไต้หวัน ฮ่องกง (และ มาเลเซียจะเป็ นประเทศต่อไป) น่าจะมีประโยชน์กบั ประเทศไทยได้อย่างมาก ------------------------------------บทความนี้เรี ยบเรี ยงจาก ความรู ้ความเข้าใจที่มีอยูอ่ ย่างค่อนข้างจากัด ย่อมขาด ความสมบูรณ์อยูไ่ ม่นอ้ ย เพียงหวังว่าจะช่วยให้มีความเข้าใจมากขึ้น และหวังว่าจะเป็ น ประเด็นที่มีการศึกษาค้นคว้าต่ออย่างกว้างขวาง นาไปสู่ ความร่ วมมือร่ วมใจของทุกภาค ส่ วนที่จะช่วยกันขจัดคอร์รัปชัน่ ที่เป็ นภัยคุกคามร้ายแรงของสังคมไทย หากมีประโยชน์จากข้อเขียนนี้บา้ งประการใด ขออุทิศคารวะแด่คุณชาญชัย จารุ วสั ตร์ และคุณดุสิต นนทะนาคร ผูอ้ ุทิศตนเป็ นก้อนอิฐก้อนแรกๆ จากภาคเอกชน ในการจุดประกายต่อต้านภัยคอร์รัปชัน่ -------------------------------------


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.