ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ สหาย ท่านพุทธทาส ท่านปัญญานันทะ

Page 1


1

ศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ ผูเปนสหายธรรม ของ ทานพุทธทาส-ทานปญญานันทะ ปาฐกถาธรรมโดย...พระพรหมมังคลาจารย (ปญญานันทภิกขุ)

กองทุนศาสตราจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิ์ ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม จัดพิมพเผยแพรในโครงการศาสตราจารยสญ ั ญาฯ สัมพันธ


2

ปูชนียาจารย ผมู นั่ คงตอพระรัตนตรัย


3

ศาสตราจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิ์ ผูเปนสหายธรรม ของ ทานพุทธทาส-ทานปญญานันทะ ปาฐกถาธรรมโดย...พระพรหมมังคลาจารย (ปญญานันทภิกขุ)

ขอเจริญพร ... ทานผสู นใจในธรรมะทัง้ หลาย วันนีเ้ ปนวันพิเศษ ทีท่ างราชการ อันมีคณะศิษยธรรมศาสตรทไี่ ดรบั คำสอนจากทาน สัญญา ธรรมศักดิ์ มาศึกษาเรื่องชีวิตของคนที่มี ความดีคนหนึ่งของประเทศไทย เปนคนดีที่งดงามเปนเบื้องตน และทามกลางและในทีส่ ดุ

ชีวติ ทานสัญญา ธรรมศักดิ์ ทานสัญญา ธรรมศักดิ์ แมจะถึงแกอนิจกรรมไปแลว แตกย็ งั มีความดีปลูกฝงอยใู นใจ จะคิดอะไร จะพูดอะไร จะทำอะไรก็ทำ ตามหลักธรรมะของพระพุทธเจา จึงเปนผูเจริญในธรรม เปนที่พอ พระทัยของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เมื่อออกจากราชการแลวจึงได เชิญไปเปนประธานองคมนตรี แตเปนองคมนตรีกอ น แลวก็ตอ มาก็ไดเปน ประธาน รับงานมาแลวก็ทำดวยความเต็มใจ เปนผทู ไี่ มเหนือ่ ยไมหนายตอ การงาน เมือ่ ไดมโี อกาสทำแลวก็ทำดวยความตัง้ ใจ ตอนที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวตรัสกับทานวา “เปนนายก ใหหนอย” ทานสัญญาก็กราบทูลวา “จะทำหนาทีน่ ายกชัว่ คราวใหเปน ประโยชน เปนคุณเปนคาแกประเทศชาติตอ ไป” 3


4

แลวทานก็อยใู นตำแหนงนายกรัฐมนตรี ชาวบานชาวเมือง ก็พอใจ แต ว า พู ด ให เ ป น ธรรมว า ท า นเป น คนอ อ น เป น เหมื อ นกั บ มะเขื อ เผา มะเขือลูกยาวๆ กอนจะรับประทานตองเอาไปเผาไฟแลวมันก็ออน ทาน บอกวาก็ดเี หมือนกันวา มะเขือเผามันออนเคีย้ วงายเปนประโยชนตอ รางกาย ทานตอบออกในรูปอยางนัน้ คือ ใครคิดวาอะไรทานก็ตอบดวยธรรมะ ให คนไดสำนึกคิดวาสิง่ ทีถ่ กู ตองเปนอยางไร ทานสัญญา ธรรมศักดิ์ บวชที่วัดเบญจมบพิตร ไดรับการ อบรมสั่งสอนจากเจาพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ซึ่งในสมัยนั้นเปน พระเทพเมธี เปนผูอบรมสั่งสอน อธิบายขอธรรมะตางๆ ทานก็เรียนดวย ความตัง้ อกตัง้ ใจ ซาบซึง้ ในคำสอนเปนอันมาก พอครบเวลาก็ลาสิกขาไป ประเทศอังกฤษ ก็ไปเรียนกฎหมาย เปนเนติบัณฑิตอังกฤษก็กลับมา เมืองไทย กลับมาเมืองไทยไดเขาทำงานฝายตุลาการ พรอมกับเปน อาจารยสอนกฎหมายที่โรงเรียนกฎหมายเกา อยูที่กรมประชาสัมพันธ ผานฟา เมื่ออยูในประเทศอังกฤษ ทานสนใจกิจการทางพระพุทธ ศาสนาทีฝ่ รัง่ เขาทำ ฝรัง่ เขาทำอะไร เคลือ่ นไหวอะไรเกีย่ วกับพระพุทธ ศาสนา ทานก็ลงเปนขาว เปนนักหนังสือพิมพดว ย โดยสงมาทีห่ นังสือพิมพ ไทยเกษม ไทยเกษมในสมัยนี้ไมมีแลว แตวาสมัยกอนมีหนังสือพิมพชื่อ ไทยเกษม สำนักงานอยทู ขี่ า งวัดราชบพิตร ซึง่ เปนทีส่ ถิตของพระสังฆราช ตอมา

ศาสตรจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิก์ บั พุทธทาสภิกขุ เวลานั้นเปนพระมหาเงื่อมยังไมโดงดังอะไรเลย อานจดหมาย ขอความที่คุณสัญญาสงมาลงหนังสือก็รูสึกพอใจ เลยเขียนจดหมายตอบ ไปในนามของพระไทย และยินดีที่ทานไดกระทำอันเปนประโยชน และสง


5

เรือ่ งกลับมาใหคนไทยไดรไู ดเขาใจ เขียนมาลงบอยๆ ทุกครัง้ ทีเ่ ขียนมาลง ทานพุทธทาสก็อา น อานแลวทานก็ตอบไป ทานก็เขียนโตตอบกันไปมาไมเห็น ตัวไมรจู กั วาเปนใคร อยทู ไี่ หน แตตอ มามีพระฝรัง่ รูปหนึง่ บวชทีป่ ระเทศพมา แลวก็มาเมืองไทย มาเมืองไทยตองการจะมาชักชวนพระไทยทีม่ ใี จองอาจ กลาหาญและตองการพระใจสิงห อยางนอย สัก ๑๐ รูป แลวก็เดินทางไป เผยแพรพระธรรม เดินไปจากไทยเขาพมา ไปอินเดีย ไปอัฟกานิสถาน เรือ่ ยไป จนถึงกรุงโรม เดินไป สอนไป เมือ่ พระโลกนาถเขามาเมืองไทยก็พกั อยทู คี่ ณะสงฆวดั บวรนิเวศ หลวงพอเวลานั้นยังเปนพระหนุมกวานี้มาก ก็สนใจในเรื่องของเหตุการณ ตางๆ ที่เกิดขึ้น ก็เลยไปดู วันหนึ่งมีพระภิกษุประมาณ ๑๐ รูป เปน ผูมี ความรทู งั้ นัน้ พระเหลานัน้ ไปตัง้ ปญหาถามพระโลกนาถองคละหลายๆ ขอ แตพอมาถึงทานพุทธทาส ทานก็ตงั้ ปญหาเหมือนกัน พระโลกนาถพอไดยนิ ปญหาของทานพุทธทาสก็บอก นีแ่ หละๆ ควรจะไปตางประเทศ ควรจะไป สอนธรรมะ เปนคนทีใ่ ชได แลวแกก็ชวนใหไป ทานพุทธทาสทานตอบวา ไป ไมได เพราะมีงานทีเ่ มืองไทยตามแผนการทีต่ งั้ ไวยงั ไมสำเร็จ จึงตองขอตัว ไมตอ งไป ทีนใี้ นการแปลภาษาอังกฤษเปนภาษาไทย คุณสัญญาเปนลาม แปลคำถามของพระ พระโลกนาถตอบอยางไร ทานก็แปลใหฟง เปนทีพ่ ออก พอใจ ถึงเวลาทีท่ า นพุทธทาสถามปญหา พระโลกนาถรสู กึ ดีใจทีไ่ ดพบพระ เชนนี้ แลวก็พูดวา ทานนี่แหละควรไปยุโรปดวยกันเพื่อเผยแพรพระธรรม คำสอนของพระพุทธเจา แตไมไดไป

พบกันครั้งแรกที่วัดบวรนิเวศ เมื่อพระองคอื่นลุกขึ้นกลับวัด ทานพุทธทาสก็ไดนั่งอยูคนเดียว คุณสัญญา ธรรมศักดิ์ ก็เขาไปกราบ พระคุณเจาอยวู ดั ไหน ทานก็บอกวา อาตมาคือ อินทปญโญ อินทปญโญนีเ่ ปนชือ่ ฉายา บวชทีส่ วนโมกข อำเภอ


6

ไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี แลวก็ไดอา นขอเขียนของทานทางไทยเกษม บอยๆ และรูสึกพอใจ ในการมาพบกันในวันนี้ ทานสัญญา ธรรมศักดิ์ ก็นั่ง กราบแสดงความดีอกดีใจทีไ่ ดพบพระทีม่ คี วามรู มีความสามารถ มีความ เสียสละเพื่อพระศาสนา แลวก็ขอฝากตัวเปนศิษยดวย ทานก็รับไว ทาน สัญญาก็ไดเปนศิษยของทานพุทธทาส ศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ และเจาคุณพุทธทาส สนิทสนมกันมาก เรียกวาเปนลูกศิษยกนกุฏิก็วาได แลวไปมาเสมอ ผลทีส่ ดุ ก็ตงั้ โครงการวาจะใหอบรมผพู พิ ากษา ผชู ว ยผพู พิ ากษา ทานก็รบั ไป ชวยเหลือ และมาเปนวิทยากรอบรมทีก่ ระทรวงยุตธิ รรม ใชเวลา ๑๐ ชัว่ โมง วันละชั่วโมงกวา สมัยกอนทานมาอบรม พักที่วัดปทุมคงคา เพราะวามา ทีไรก็พกั ทีว่ ดั นัน้ มาเรียนหนังสือก็มาพักวัดนัน้ ทานเรียนไดเพียง ๓ ประโยค ไมถึงประโยค ๔ เพราะความคิดความเห็นในหนังสือนั้นไมตรงกับคณะ กรรมการ ทานก็บอกวาพอแลว เรียนเทานี้ก็พอ ทานก็วางแผนไปตั้ง สวนโมกขทไี่ ชยา เปนหลักเปนฐานมาจนบัดนี้ ศาสตราจารยสญ ั ญา กับทานพุทธทาส อายุไลเลีย่ กัน คือออนกวา ทานพุทธทาสเพียง ๒ ป แลวก็ไปเขาใกลกนั แลวก็ชอบใจกัน เวลานัน้ พระทีอ่ ยู สวนโมกข ไมวา ทานพุทธทาส ทาน บ.ช.เขมาภิรตั น เจาคณะจังหวัดชุมพร แลวก็อาตมา พระปญญานันทมุนี เขาเรียกวา ภิกขุปญ  ญานันทะ ไปอยดู ว ยกัน เวลาฉันอาหาร ไปบิณฑบาตไดมาก็มานั่งฉัน ตนไมใหญเมื่อเวลากิ่งออก ก็เอามาจีบเปนแคร นัง่ ฉันกันบนนัน้ ฉันกันไปถกกันไปทุกครัง้ โดยมากทาน บ.ช. เขมาภิรตั น ชอบขัดคอ เวลาคนพูดอะไรทานก็ขดั เหมือนเถียงกัน แตวา ไมไดเถียงเพราะมีกเิ ลสมาเถียง อยกู นั อยางนัน้ อาตมาเปนผฟู ง ไมคอ ยได ถามอะไรมากนัก ซาบซึ้งดี เลยตั้งใจวาจะอยูเพื่อศาสนา ศึกษามีความรู ทานพุทธทาสทานบอกวา นองทานควรจะไปเรียนภาษาบาลี ใหแปล


7

หนังสือ ออกพรรษาแลวจึงกลับสงขลา แลวมากรุงเทพฯ เพื่อเรียนบาลี มาพักอยทู วี่ ดั สามพระยา

พุทธทาส-ปญญานันทะ-สัญญา ธรรมศักดิ์ ชีวิตของพระในสมัยนั้นในกรุงเทพฯ มีความยากลำบากพอ สมควร ของขบฉันก็ไมคอยมี ฉันกันไปตามเรื่อง เพราะเราไมไดมากินให อวนใหพี ตองการมาศึกษาหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจา ถาเขามี แสดงธรรมทีไ่ หน โดยมากมักจะเทศนคกู นั ระหวางนักเทศนชนั้ ดี อาตมาก็ ตองไปดวย ลาโรงเรียนไปฟงเทศน ฟงแลวรสู กึ วาเขาที เปนการฝกตนเอง ไปดวยในตัว อยากจะเปนเชนนัน้ อยากจะเปนคนทีเ่ ทศนไดมคี วามรคู วาม สามารถเหมือนกับทานเจาคุณพรหมบาลี ชือ่ จันทร มาจากภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ทานมาอยวู ดั ในกรุงเทพฯ อยวู ดั บรมนิวาส อุปชฌายของทาน สัง่ วา ไปศึกษาชีวติ ทานก็มาทำการศึกษาชีวติ จนกระทัง่ ไปไดเปนพระครู บาลีเทาสมเด็จ มีเกียรติ มีชอื่ เสียง เปนทีย่ กยองของชาวบานชาวเมืองของ คนทัว่ ไป เมือ่ ไดอา นเรือ่ งของทานก็คดิ วาเราจะทำงานศาสนา อยูสวนโมกขหนึ่งพรรษาแลวก็แยกกันไป ทาน บ.ช.เขมาภิรัตน มาอยวู ดั ขันเงิน หลังสวน อาตมาลงไปทางใต ไปเตรียมตัวมาอยกู รุงเทพฯ มีคนฝากใหอยวู ดั สามพระยา คนทีฝ่ ากนีเ้ ปนผแู ทนฯ ชือ่ ครูตดั พรหมมานพ คนุ เคยกับทานเจาคุณ เพราะเคยเปนครูพาณิชยการทีว่ ดั สามพระยา เวลา วางก็ไปนั่งสนทนาธรรมกับเจาคุณ ซึ่งตอมาก็เปนสมเด็จ ก็มาอยูที่นั่น บิณฑบาตฉัน บิณฑบาตนีไ่ มคอ ยไดอะไร คนใสนอ ย ถาไดปลาทูมาตัวหนึง่ ฉันตอนเชาซีก แลวเหลืออีกซีกไวฉันตอนเพล ญาติโยมใสบาตรโดยมาก ก็ใสหัวไชโปวผัดกับกะทิ อรอยดี ฉันได อยูอยางงายๆ บางทีก็เกิดทอแท ออนแอขึน้ ในจิตใจ เลยพูดปลอบตัวเองวา เรามาเรียนเพือ่ หาความรู ขอให พออยูได นอนสบาย ไมตองการอาหารที่วิเศษวิโสอะไร ขอใหพออยูได


8

แลวก็ตงั้ ใจเรียนศึกษา สนใจไปฟงเทศน พระองคอนื่ เทศน จำไวเปนแบบ ฉบับ ตอมาก็ไดไปอยูเชียงใหม อยูที่นั่นไดชื่อวา พระปญญานันทะ เทศนที่กลางเวียงเชียงใหม คนไปฟงมาก การที่ไดไปเชียงใหมก็เพราะวา ทานเจาคุณพุทธทาสขอใหไป เวลานั้นความจริงก็ไปอยูทางมาเลเซีย อยู ทีว่ ดั แหงหนึง่ ทานเจาคุณใชไปรษณียบัตรเพราะวาราคามันถูก แลวบอกวา นองทานกลับมาไทยไดแลว จะใหไปอยูที่เชียงใหม เพื่อทำงานเผยแพร ธรรมะแกประชาชน เซ็นชือ่ “อินทปญโญ” เขียนไมยาว แตวา มีคา มาก ได รับแลวก็ตกลงใจวาจะมา แลวก็กลับเมืองไทย ไปเชียงใหม ทานพุทธทาส ก็บอกวาใหตงั้ ใจอยู ตัง้ ใจปรับตัวเอง ทำประโยชนแกพระศาสนาตอไป ทาน ก็ไปอยู ๗ วันบาง ๑๐ วันบาง ไปอยเู พือ่ ใหกำลังใจ แลวกลับมาอยทู สี่ วนโมกข

พุทธสถาน : สัญญา ธรรมศักดิ์ เปนผนู ำการสราง อาตมาก็อยทู นี่ นั่ ก็ไดพบกับคุณสัญญา ธรรมศักดิ์ ทีนกี้ พ ็ บ กันจริงๆ ไมใชเพียงแตไดอา นจดหมาย พบกันแลวทานก็แนะนำเรือ่ ง ตางๆ ทีช่ าวบานเขาเปนอยู แลวทานไปฟงเทศนทกุ วันอาทิตย ทุกคืน วันพระทีห่ อประชุม เรียกวา พุทธนิคม หอประชุมนัน้ เวลานีเ้ ปลีย่ นเปนหองใหญ เรียกวา พุทธสถาน อยู เชิงสะพานนวรัตน อยูคนละมุมกับบานอธิบดีผูพิพากษา ทานอธิบดี ผูพิพากษาสมัยนั้นคือ คุณสัญญา ทานก็ออกจากบานขามถนนไปวัด ฟงธรรมไมเคยขาดตัง้ ใจ แลวก็ปรึกษาหารือกันวาจะปรับปรุงใหดขี นึ้ ทำให ถาวร ตองใชเงินจำนวนหลายแสน ก็เลยเรียกประชุมชาวบานที่เปนคนมี สตางคหนอยเขามาประชุมปรึกษากันวาจะสรางพุทธสถาน ใครจะโมทนา บาง ในทีป่ ระชุมนัน้ มีชาวอินเดียคนหนึง่ นายโบกีราม นัง่ เงียบๆ อยู


9

พอคุณสัญญาถามวาใครจะอนุโมทนาบาง นายโบกีรามลุกขึน้ พนมมือ แลว บอกวาขาพเจา พูดภาษาเชียงใหมวา ขาเจาขอออกหนึง่ หมืน่ ทุกคนตบมือ แสดงความยินดีกัน แลวคุณโบกีรามเปนอุปฏฐากที่ใกลชิดกับพุทธสถาน ทำทุกอยาง มีอะไรเกีย่ วกับกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาแกก็ชว ยเหลือเปน อยางดี บัดนีท้ า นก็ถงึ แกกรรมไปแลว แตวา ไดทำสิง่ ทีเ่ ปนคุณประโยชน เปน คุณเปนคาไวทนี่ นั่ พอเมือ่ อยเู ชียงใหมหลายป ทานก็ถกู ยายมาอยทู กี่ รุงเทพฯ เลือ่ น ชั้ น เลื่ อ นตำแหน ง อาตมาก็ ม าอยู ที่ วั ด สามพระยา ก็ ไ ด พ บกั น บ อ ยๆ ปรึกษาหารือในเรือ่ งกิจกรรมตางๆ ทีเ่ ปนประโยชนเปนคุณเปนคาแกเพือ่ น มนุษย คุณสัญญา ธรรมศักดิ์ เปนบุคคลทีเ่ รียกวามีความเสียสละ เปนเบือ้ งตน เสียสละประโยชนความสุขสวนตัว เพือ่ ประโยชนเพือ่ ความสุขสวนรวม วันหนึ่งเปนวันพระ ทานไปที่วัดอุโมงคที่หลวงพออยู ไปแตเชา ถามวา โอ ทานมาทำไมแตเชา มาถือศีล ไมอยากใหใครมาเยีย่ มในวันเกิด เขามาเปนอธิบดีศาล คนก็ถอื โอกาสไปสนิทสนม ในวันเกิดเอาแจกันดอกไม ไปให ทีเ่ ราเห็นๆ กันอยใู นภาพโทรทัศน วันเกิดของทานรัฐมนตรีของใครๆ คนไปหามาก ทานไมคอ ยพอใจในสิง่ นัน้ เพราะมันเปนเพียงวัตถุ สิง่ ทีด่ กี วา นัน้ มีอยู

คนของแผนดิน เพราะความดีทที่ ำไวมากมาย พอถึงออกจากราชการก็ไดเปน องคมนตรี เปนทีป่ รึกษาในหลวง ไดรบั ความเจริญกาวหนาถึงชัน้ สูง คนที่ในหลวงเรียกไปใชก็พอจะการันตีไดวาเปนคนซื่อ ทำอะไร


10

ทำจริง หลายคนทีอ่ อกจากราชการแลวก็เอาไปเปนองคมนตรี ในหนาที่ ตางๆ คุ ณ สั ญ ญาท า นก็ ไ ปด ว ยความดี ความดี ใ ห ผ ลในชี วิ ต นี้ ไม ต อ งตาย ไปแลวถึงไดรบั ผล แลวตอมาก็ไดเลือ่ นชัน้ ขึน้ เปนประธานองคมนตรี คอย สบายหนอย เวลาเปนนายกฯ เคยพบกันแลวก็ถามวา เปนนายกฯ กับเปน ประธานองคมนตรีอันไหนเหนื่อยกวากัน ทานบอกวาเวลาเปนประธาน องคมนตรีไมเหนือ่ ยอะไร ทำตามทีใ่ นหลวงทานสัง่ ใหทำ แตเปนนายกฯ นัน้ ตองเอาใจคนทัง้ ๖๐ ลาน ไมพอใจเคาก็โวยวาย จะสรางโรงไฟฟาก็โวยวาย จะตัดถนนหาทางก็โวยวาย คือไมเปนทีพ่ อใจ จะไปสรางเขือ่ น พวกก็ โวยวาย ไม ใ ห ส ร า ง แล ว ก็ เ วลาฝนตกหนั ก น้ำ ก็ ท ว มบ า นพวกนั้ น พวก โวยวายนัน้ แหละไปไมพน ความลมจม ทานไดทำดีมาโดยลำดับ ทานไดเปนประธานองคมนตรี ใชหลักธรรมะเปนเครือ่ งชวย...ธรรมะของพระพุทธเจา พระพุทธเจาสอนพุทธบริษัท อยาเห็นแกอามิส อยาเห็นสินจาง รางวัลที่จะไดรับ แตใหมีความเสียสละ ทานจึงใชคำพูดวา “ทำงานดวย จิตใจวาง” คำวาทำงานดวยจิตใจวาง คืออยาเห็นแกตวั ไมยดึ มัน่ วาของเรา ของเขา แลวทำเพื่อตัวเรา ทำเพื่อของเรา โดยเฉพาะนักการเมือง จะเปน นักการเมืองก็ตองตั้งใจใหมั่นคง เรียกวาอธิษฐานใจวาจะไปทำการเมือง ดวยจิตวาง ไมหวังอะไรตอบแทน ทำใหเกิดประโยชน เกิดความสุข แก เพือ่ นมนุษยทงั้ หลาย ไมยงุ ไมตอ งเลือกตัง้ ครัง้ ทีส่ องทีส่ าม เพราะวาสมัคร ดวยความบริสทุ ธิใ์ จ พอไปหาเสียงก็บอกเขาตรงไปตรงมา ไมตอ งเอาของ ไปเที่ยวแจกใหวุนวาย พอคนหนึ่งแจกได อีกคนหนึ่งก็แจกได อยางนี้ ไมถูกตอง ไมใชธรรมะ ไมมีฐานในใจที่เปนธรรม มีฐานเปนวัตถุ อยากมี


11

อยากได อยากเปน ดวยโลภตางๆ จึงเกิดปญหา ปราบกันไมหวาดไมไหว เพราะวาไมปราบกิเลส

ทานสัญญาฯ ทำงานดวยจิตวาง ทีนคี้ นทีจ่ ะปราบกิเลสก็ตอ งมีจติ มัน่ คงในพระพุทธเจา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ พวกเราคนไทยในปจจุบันนี้นับถือพระพุทธเจาที่เปน รูปราง เปนพระพุทธรูป แตคนทีม่ จี ติ วางคือไมหวังอะไรตอบแทน ทำตาม หนาที่ หนาทีค่ อื การงานทีเ่ ราทำถูกตอง แตเราทำหนาทีเ่ พือ่ หนาที่ หลวงพอเคยพูดบอยๆ วา “งานคือชีวติ ชีวติ คืองาน บันดาลสุข ทำงานใหสนุก เปนสุขขณะทำงาน” อยาใหเปนทุกข อยาใหเดือดรอน คนทีท่ ำงานดวยจิตวางจะสบาย เพราะไมมกี เิ ลสความโลภมาหนุนหลัง ไดมาแลวก็ใชใหเปนประโยชน เราเปนนักศึกษา มาศึกษาทีน่ ี่ ทีธ่ รรมศาสตร คำวา “ศาสตร” คือ ของมีคม ตัดอะไรก็ได แตเราตองใชศาสตร คือปญญาพิจารณารอบคอบ ทำอะไรก็ทำดวยสติปญ  ญา ไมเอาตัวเขาไป แลวก็จะเปนสุข ศาสนาสอนใหคนไมเห็นแกตัว และพุทธศาสนาก็สอนวา ไมมี อะไรเปนของจริงของแท มีแตสงิ่ ทีเ่ กิดขึน้ ตัง้ อยู แลวก็ดบั ไปตามกฎเกณฑ ของธรรมชาติ เราตองสอนและเขาใจสิ่งนี้ ทำอะไรก็ทำเพื่อไมเห็นแกตัว ไมเห็นแกได จะเปนคนไมตาย คนทีท่ ำงานเพือ่ งานไมตาย ตายแลวก็มคี นยกยอง เคารพ นับถือ บูชา ดังศาสตราจารยสัญญาของพวกเราทั้งหลาย รางกาย ทานตายจริง แตวา ความดียงั ไมตาย ยังอยู


12

ความดี : จารึกไวในแผนดิน ในวันพระราชทานเพลิงก็ไปเผารางกาย แตเราไมเผาความดี คนที่ไปงานพระราชทานเพลิงใหไปนั่งเฉยๆ เงียบๆ เอาศพเปนเครื่อง เตือนใจวา ศพนัน้ เปนอยางใด เราก็ตอ งเปนอยางนัน้ คือศพนัน้ ตายได เรา ก็ตายไดเหมือนกัน แลวจะตายเมื่อไหรไมมีใครรู รูอยางเดียววาตายแนๆ ใหนกึ ถึงความตายไวบอ ยๆ แลวพยายามทีจ่ ะไมยดึ ถือในเรือ่ งนัน้ ๆ ใหถอื วา มันเปนสิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้น ตั้งอยู แลวก็ดับไป เราไมติดในสิ่งนั้น แตเราเอา สิง่ นัน้ มาใชเพือ่ ความเจริญกาวหนาทางดานจิตใจ ใชธรรมะเหมือนกับเรา เพื่อใหเราขามฟาก เหมือนจากทาพระจันทรไปศิริราช ใชธรรมะอยางนั้น ขามความโลภ ความโกรธ ความหลง ไปอยกู บั ความไมโลภ ไมโกรธ ไมหลง ถึงจะใชได เวลาไปนั่งที่ตรงไหน กระทรวงไหน ก็อธิษฐานในใจวา ขาพเจา มานั่งตรงนี้เพื่อรับใชประเทศชาติ เพื่อทำงานของประชาชนใหสมบูรณ ถูกตอง ถาคิดอยางนีก้ ไ็ มมเี รือ่ งแกงแยงแกงดีกนั มาเปนผแู ทนราษฎรแลว แกงแยงกัน จะเอากระทรวงนัน้ จะเอากระทรวงนี้ ทำไมถึงเกิดอาการเชนนัน้ เพราะเขาเปนทาสของวัตถุ เปนทาสของลาภสักการะทีต่ นจะมีจะได แลว พอไมไดก็ไมพอใจ ทำใหเกิดปญหา ชาวพุทธไมนาจะมีปญหา อิสลามก็ ไมนา จะมีปญ  หา คริสเตียนก็ไมนา จะมีปญ  หา ทีนี้หัดคิดใหถูกตองวา เราเกิดมามีอะไรมา เวลาตายเอา อะไรไป สิง่ ตางๆ ทีไ่ ดรบั ในโลกนี้ จะเปนเหรียญตรา เปนสายสะพาย เปน อะไรก็ตาม เปนของชัว่ คราว ใหเพือ่ เพิม่ กำลังใจ ใหเราคิดถูกมากขึน้ ทำถูก มากขึน้ อยาไปแขงกับใครๆ ทีเ่ ขาหวังกับวัตถุ ถาทุกคนถืออุดมการณวา เราไมทำงานเพือ่ เอา เพือ่ ได แตทำงาน เพือ่ แกปญ  หาใหหมดสิน้ ไป เรียนหนังสือก็เรียนดวยความตัง้ ใจ อยาไปคิดวา


13

เรียนแลวจะไปเปนนีเ่ ปนนัน่ ใหวนุ วาย เปนอะไรก็ไดทมี่ นั ถูกตอง และก็เปน ประโยชน จึงจะเอาตัวรอดปลอดภัยดวยประการทัง้ ปวง คนทีเ่ ปนลูกศิษยทา นอาจารยสญ ั ญา อยาใหอาจารยตาย แตอาจารยอยกู บั เรา คือ ... คำสอน อุดมการณ ปรัชญาของทาน ไมตายตามรางกาย แตจะถายทอดมาไวในตัวเรา เรารับเปนมรดก คือคุณธรรม คุณงามความดี ... ของทานอาจารยสญ ั ญาไวไมใหตาย เพราะถาสิง่ นัน้ ตาย...ชีวติ ก็หมดราคา จึงขออธิษฐานใจวา ... เราทุกคนจะไมตาย เราจะอยเู พือ่ ความไมตาย.

ขอมูลจากหนังสือจุลสารธรรมศาสตร ฉบับ สัญญา ธรรมศักดิ์ ปที่ ๓๕ ฉบับที่ ๒ เดือนกุมภาพันธ ๒๕๔๕


14

งานลออายุ ๘๐ ป ทานอาจารยพทุ ธทาส สวนโมกขพลาราม ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๒๙ ทานพุทธทาสภิกขุ-ทานปญญานันทภิกขุ-ทานสัญญา ธรรมศักดิ์ ทานผูหญิงพงา ธรรมศักดิ์ (ภริยา), นายแพทยจักรธรรม ธรรมศักดิ์ (บุตรชาย)

สนทนาธรรม กับ หลวงพอปญญานันทภิกขุ


15

ขาหลวงยุตธิ รรมภาค ๔ ณ นครเชียงใหม สงทานอาจารยพทุ ธทาสทีส่ ถานีรถไฟ ช.ม. ๒๔๙๕ (นายแกว คนรถ อมุ ด.ช. จักรธรรม ธรรมศักดิ์ ยืนอยขู า งหลัง)

คณะกรรมการกอตัง้ พุทธสถานเชียงใหม ทำพิธวี างศิลาฤกษ พ.ศ. ๒๔๙๕ (ทานปญญานันทภิกขุ องคนงั่ ขวา นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ยืนอยเู บือ้ งหลัง)


16

โครงการศาสตราจารยสญ ั ญาฯ สัมพันธ ตามที่ ก องทุ น ศาสตราจารย สั ญ ญา ธรรมศั ก ดิ์ ในมู ล นิ ธิ นิ ติ ศ าสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ไดจัดใหมีการประชุมปรึกษาเกี่ยวกับโครงการ ศาสตราจารย สั ญ ญาฯ สั ม พั น ธ เพื่ อ เสริ ม สร า งความสั ม พั น ธ อ งค ก รและ หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของกับศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ รวมทั้งหมด ๑๖ องคกร เมือ่ วันที่ ๓๐ มิถนุ ายน ๒๕๕๔ ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม ไดรับเกียรติโดยการแนะนำของทาน นายแพทยจักรธรรม ธรรมศักดิ์ ตอกองทุนศาสตราจารยสัญญา ธรรมศักดิ์ ให ธ รรมสภาและสถาบั น บั น ลื อ ธรรม ร ว มประชุ ม โครงการศาสตราจารย สัญญาฯ สัมพันธ และไดรับอนุญาตใหจัดทำหนังสือ สื่อธรรมะ เผยแพรเปน ธรรมบรรณาการหนวยงานที่ประกาศเกียรติคุณ เพื่อเปนอนุสรณแหงความดี ของศาสตราจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิ์ ไดแก.... ๑. หนังสือ ทศพิธราชธรรม โดย ศาสตราจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิ์ จำนวน ๑๐,๐๐๐ เลม ๒. หนังสือ ธรรมศักติกถา : ธรรมกถาเรือ่ ง ดับไมเหลือ โดย พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ) จำนวน ๑๐,๐๐๐ เลม ๓. หนังสือ ศาสตราจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิ์ ผเู ปนสหายธรรม ของ ทานพุทธทาส - ทานปญญานันทะ โดย พระพรหมมังคลาจารย (ปญญานันทภิกขุ) จำนวน ๑๐,๐๐๐ เลม ๔. หนังสือ คมความคิด โดย ศาสตราจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิ์ จำนวน ๑๐,๐๐๐ เลม ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม ขอกราบขอบพระคุณทานนายแพทย จักรธรรม ธรรมศักดิ์ ที่อนุญาตใหธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรมจัดพิมพ หนังสือชุดนีเ้ ผยแพร และขอขอบพระคุณกองทุนศาสตราจารยสญ ั ญา ธรรมศักดิ์ ที่ ส นั บ สนุ น ในการจั ด ทำหนั ง สื อ เพื่ อ เผยแพร เ กี ย รติ คุ ณ ท า นศาสตราจารย สัญญา ธรรมศักดิ์ มา ณ โอกาสนี้



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.