รายงานขั้นต้น โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ

Page 1



โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให้สมดุลและยั่งยืน รายงานขั้นต้น

นําเสนอ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดทําโดย

มหาวิทยาลัยศิลปากร วันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2565



คำนำ

คำนำ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม ได;รับมอบหมายให;เปBนเจ;าภาพหลัก รับผิดชอบดำเนินการตามแผนแมEบทภายใต;ยุทธศาสตรHชาติ ประเด็นที่ 6 พื้นที่และเมืองนEาอยูEอัจฉริยะ แผนยEอยการพัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ที่มีการบริหารจัดการตามแผนผัง ภูมินิเวศอยEางยั่งยืน โดยเปRาหมายของแผนยEอยนี้คือ ความยั่งยืนทาง ภูมินิเวศ ภูมิสังคม และภูมิวัฒนธรรม และตัวชี้วัดที่มีคEาเปRาหมายในชEวงระยะปU พ.ศ. 2561-2565 ให;มีพื้นที่ที่มีการดำเนินการสงวนรักษา อนุรักษH ฟ\]นฟู และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ มรดกทางสถาป_ตยกรรม และศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณH และวิถีชีวิต พื้นถิ่น บนฐานธรรมชาติและฐานวัฒนธรรมอยEางยั่งยืนในพื้นที่ อยEางน;อย 3 จังหวัด ใน 1 ภาค สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม ตระหนักถึงความสำคัญของ การพัฒนา เชิงพื้นที่เพื่อให;เกิดการขับเคลื่อนสูEเปRาหมายตามแผนแมEบทภายใต;ยุทธศาสตรHชาติ ให;เกิดการใช;ประโยชนH อยEางเหมาะสม และสร;างความสมดุลระหวEาง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล;อม และวัฒนธรรม และตระหนักถึง สภาพป_ ญ หาความต; อ งการและความเรE ง ดE ว นที ่ เ กิ ด จากสถานการณH ก ารขยายตั ว ของเมื อ ง ที่ ท ำให; เ กิ ด ความไมEเปBนระเบียบของการตั้งถิ่นฐานและการใช;ประโยชนHที่ดิน อีกทั้งการวางแผนการจัดการด;านสิ่งแวดล;อม และจัดทำผังเมืองไมEสามารถกำกับการใช;ประโยชนHที่ดินให;เกิดความสมดุล สEงผลกระทบตEอระบบนิเวศ และสิ่งแวดล;อมของเมือง ดังนั้นจึงจำเปBนต;องดำเนินการให;มีการจัดวางแผนผังภูมินิเวศระดับ และแผนผัง ความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ภูมินิเวศ ให;เปBนเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ตามศักยภาพของ ระบบนิเวศ สอดคล;องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมเชิงนิเวศอยEางเหมาะสมให;เกิดความสมดุล และจัดการ สิ่งแวดล;อมชุมชนในวิถีธรรมชาติตามระบบนิเวศ โดยกำหนดพื้นที่เปBนภาคเหนือ ที่ครอบคลุมพื้นที่ 9 จังหวัด คือ จังหวัดเชียงใหมE จังหวัดลำพูน จังหวัดลำปาง จังหวัดอุตรดิตถH จังหวัดแพรE จังหวัดนEาน จังหวัดพะเยา จังหวัดเชียงราย และจังหวัดแมEฮEองสอน โดยจัดทำเปBน “โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน” ขึ้น ในการนี้สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อมได;มอบหมายให;มหาวิทยาลัย ศิลปากร สถาบันอุดมศึกษาชั้นนำของประเทศ ดำเนินโครงการ มหาวิทยาลัยศิลปากรได;ดำเนินการศึกษา ขั้นต;นตามกระบวนการทางวิชาการ และได;จัดทำรายงานขั้นต;นนี้ ซึ่งประกอบด;วยเนื้อหา 7 บท คือ 1) บทนำ 2) ทบทวนยุ ท ธศาสตรH นโยบาย แผน และมาตรการที ่ เ กี ่ ย วข; อ ง 3) ทบทวนทฤษฎี แนวคิ ด หลั ก การ และวรรณกรรมที่เกี่ยวข;อง 4) แนวคิดการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ 5) ระบบฐานข;อมูล และภู มิ ส ารสนเทศ 6) ข; อ มู ล สำคั ญ ของพื ้ น ที ่ ศ ึ ก ษา 7) การดำเนิ น งานขั ้ น ตE อ ไป เพื ่ อ นำเสนอสำหรั บ การพิจารณาตEอไป คณะที่ปรึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร 21 มกราคม 2565



สารบัญ

สารบัญ คำนำ สารบัญ สารบัญรูป สารบัญตาราง

หน$าที่ ก ค ซ ฐ

บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตุผล 1.2 วัตถุประสงค<ของโครงการ 1.3 พื้นที่เปCาหมาย 1.4 กลุFมเปCาหมาย 1.5 ขอบเขตการดำเนินงาน 1.6 ผลผลิต-ตัวชี้วัด และผลลัพธ<-ตัวชี้วัด 1.7 ประโยชน<ที่คาดวFาจะได$รับ 1.8 กระบวนการดำเนินโครงการ 1.9 การสFงมอบผลงาน 1.10 ระยะเวลาการดำเนินงาน บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร< นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข$อง

1-1 1-3 1-3 1-4 1-5 1-8 1-9 1-9 1-31 1-35

2-1 2.1 ยุทธศาสตร<และนโยบายระดับสากล 2.1.1 เป<าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goal : SDGs) 2-1 2.1.2 วาระใหม\แห\งการพัฒนาเมือง (New Urban Agenda : NUA 2-3 2.1.3 ปฏิญญาอาบูดาบี (การดำเนินการ UN-Habitat) 2-4 2.1.4 COP26 2-5 2.1.5 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC 2-7 2.1.6 โครงการพัฒนาความร\วมมือระหว\างประเทศในอนุภูมิภาคลุ\มแม\น้ำโขง (Greater 2-8 Mekhong Sub-region Cooperation : GMS) 2.1.7 ยุทธศาสตรÄความร\วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี-เจÅาพระยา-แม\โขง (Aeyawade-Chao 2-10 Praya-Mekhong Economic Cooperation : ACMECS) 2-11 2.2 ยุทธศาสตร<และนโยบายระดับประเทศ 2.2.1 ยุทธศาสตรÄชาติ 2-11 2.2.2 แผนแม\บทภายใตÅยุทธศาสตรÄชาติ 2-12


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหEสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลÅอม

สารบัญ 2.2.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห\งชาติ 2.2.4 การผังเมืองเชิงนโยบาย 2.2.5 แผนการปฏิรูปประเทศดÅานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลÅอม 2.2.6 แผนแม\บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปÑ (พ.ศ.2561-2580) 2.2.7 ยุทธศาสตรÄดÅานเทคโนโลยีดิจิทัลของสำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. 2563-2565 2.2.8เกณฑÄการพัฒนาโครงสรÅางพื้นฐานตามภูมินิเวศ ภาคเหนือ 2.3 ยุทธศาสตร<และนโยบายระดับภาคและกลุFมจังหวัด 2.3.1 แผนพัฒนาภาคเหนือ พ.ศ. 2560-2565 2.3.2 แผนพัฒนากลุ\มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 พ.ศ. 2561-2565 2.3.3 แผนพัฒนากลุ\มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 พ.ศ. 2561-2565 2.3.4 แผนพัฒนากลุ\มจังหวัดภาคเหนือตอนล\าง 1 พ.ศ. 2561-2565 2.4 ยุทธศาสตร<และนโยบายระดับจังหวัด 2.4.1 แผนพัฒนาจังหวัดเชียงใหม\ 2.4.2 แผนพัฒนาจังหวัดลำพูน 2.4.3 แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 2.4.4 แผนพัฒนาจังหวัดอุตรดิตถÄ 2.4.5 แผนพัฒนาจังหวัดแพร\ 2.4.6 แผนพัฒนาจังหวัดน\าน 2.4.7 แผนพัฒนาจังหวัดพะเยา 2.4.8 แผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย 2.4.9 แผนพัฒนาจังหวัดแม\ฮ\องสอน 2.5 แผนงานและโครงการที่เกี่ยวข$อง 2.5.1 แผนงานและโครงการพัฒนาระดับภูมิภาค 2.5.2 แผนงานและโครงการพัฒนาระดับประเทศ 2.6 กฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวข$อง 2.7 สรุปประเด็นยุทธศาสตร< นโยบาย แผน และมาตรการเพื่อการวางแผนผังภูมินิเวศ บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ 3.1 ทฤษฎีการวางแผนสิ่งแวดล$อม 3.2 ทฤษฎีประวัติศาสตร<สิ่งแวดล$อม ง

หน$าที่ 2-14 2-17 2-21 2-22 2-23 2-24 2-26 2-26 2-27 2-28 2-28 2-29 2-29 2-29 2-30 2-30 2-30 2-31 2-31 2-32 2-32 2-33 2-33 2-36 2-40 2-40 3-1 3-3

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


สารบัญ

สารบัญ 3.3 นิเวศวิทยามนุษย<และนิเวศวิทยาวัฒนธรรม 3.3.1นิเวศวิทยามนุษยÄ (cultural human)

หน$าที่ 3-5 3-5

3.3.2 นิเวศวิทยาวัฒนธรรม

3-5

3.3.3 นิเวศวิทยาวัฒนธรรมกับการพัฒนา

3-7

3.4 แนวคิดนิเวศกลุFมเมือง 3.5 แนวคิดพื้นที่สงวนชีวมณฑล (Biosphere Reserves) 3.6 การวางแผนแบบเน$นความคาดหวังของทุกภาคสFวน (Prospective Planning) 3.7 แนวคิดการกำหนดเขตการขยายตัวของเมือง (Urban Growth Boundary) 3.8 กรอบวิธีการรFวมสร$างสรรค< (Co-Creation) 3.9 ข$อแนะนำวFาด$วยภูมิทัศน<เมืองประวัติศาสตร< (Recommendation on the Historic Urban Landscape) 3.10 แนวทางการจัดลำดับบทบาทเมืองในพื้นที่ภาคเหนือ 3.11 แนวคิดในการวางแผนการพัฒนาพื้นที่ในภาคเหนือ 3.11.1 แนวคิดในการพัฒนาพื้นที่ในภาคเหนือ 3.11.2 แนวทางการวางแผนการจัดทำผังพื้นที่ของภาคเหนือตอนบน

3-9 3-12 3-14 3-21 3-22 3-22 3-22 3-22 3-31 3-32

3-22 3.12 แนวคิดการวางแผนผังโครงสร$างพื้นฐานสีเขียว 3.13 ผลการศึกษาการจัดวางแผนผังภูมินิเวศเพื่อจัดการสิ่งแวดล$อมชุมชนนิเวศ ปz 2563 3-22 3-22 3.14 สรุปแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ และแผนผังความเหมาะสมในการใช$ พื้นที่ภูมินิเวศ บทที่ 4 ระบบฐานข$อมูลและภูมิสารสนเทศ 4.1 แนวคิดในการจัดการระบบฐานข$อมูลและภูมิสารสนเทศสำหรับพื้นที่ ภูมินิเวศภาคเหนือ 4.2 การบริการข$อมูลภูมิสารสนเทศ 4.3 แนวทางในการปรับปรุงการจัดการข$อมูลสารสนเทศ และ ข$อมูลภูมิสารสนเทศ บทที่ 5 ข$อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ 5.1 ข$อมูลพื้นฐานของพื้นที่ภาคเหนือ 5.1.1 ภูมิประเทศ และระบบนิเวศ 5.1.2 ดÅานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลÅอม

4-1 4-21 4-33 5-1 5-1 5-2 จ


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหEสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลÅอม

สารบัญ 5.1.3 ดÅานกายภาพ การตั้งถิ่นฐาน และการใชÅที่ดิน

หน$าที่ 5-11

5.1.4 โครงสรÅางพื้นฐานระดับภาค

5-15

5.1.5 ดÅานประชากร สังคม ประวัติศาสตรÄ และวัฒนธรรม

5-22

5.1.6 ดÅานการบริหารปกครอง

5-32 5-35 5-35

5.2 ข$อมูลเฉพาะระดับจังหวัด 5.2.1 จังหวัดเชียงใหม\ 5.2.2 จังหวัดลำพูน

5-50

5.2.3 จังหวัดลำปาง

5-64

5.2.4 จังหวัดอุตรดิตถÄ

5-77

5.2.5 จังหวัดแพร\

5-86

5.2.6 จังหวัดน\าน

5-97

5.2.7 จังหวัดพะเยา

5-109

5.2.8 จังหวัดเชียงราย

5-122

5.2.9 จังหวัดแม\ฮ\องสอน

5-135

5.3 ชุมชนที่มีความสำเร็จในการจัดการสิ่งแวดล$อมชุมชนเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ บทที่ 6 การดำเนินงานในขั้นต่อไป 6.1 ขอบเขตเนื้อหาที่ต$องดำเนินการและนำสFง 6.2 ระยะเวลาในการดำเนินการ

5-144 6-1 6-2

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


สารบัญ

สารบัญภาพ ภาพที่ 1-1 เป<าหมายเชิงพื้นที่ 9 จังหวัดในภาคเหนือ ภาพที่ 1-2 ลักษณะปรากฏการณÄความขัดแยÅงระหว\างประเภทการใชÅประโยชนÄที่ดิน ที่เกิดการสูญเสีย ภาพที่ 1-3 กรอบแนวคิดภูมินิเวศเพื่อการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ ภาพที่ 1-4 กรอบแนวคิดการวางแผนเชิงพื้นที่เพื่อการพัฒนาที่สมดุล ภาพที่ 1-5 กระบวนการศึกษา วิเคราะหÄ สังเคราะหÄ เพื่อการวางแผนผังภูมินิเวศ และแผนผังความเหมาะสมในการใชÅพื้นที่ ภาพที่ 1-6 แสดงวิธีการซÅอนทับขÅอมูล (Overlay Technique) ภาพที่ 1-7 แสดงวิธีการ Potential Surface Analysis (PSA) ภาพที่ 1-8 แสดงการวิเคราะหÄพื้นที่เพื่อศักยภาพที่มีความเหมาะสมต\อการพัฒนาดÅานต\าง ๆ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ภาพที่ 1-9 แสดงกรอบแนวคิดการวิเคราะหÄเชิงพื้นที่เพื่อสนับสนุนกระบวนการตัดสินใจ ภาพที่ 1-10 แสดงลำดับขั้นตอนการวิเคราะหÄศักยภาพพื้นที่เพื่อรองรับการพัฒนา

หน$าที่ 1-4 1-10 1-11 1-13 1-15 1-17 1-18 1-20 1-21 1-22

ภาพที่ 1-11 แสดงการวิเคราะหÄขÅอมูลแบบซÅอนทับ (Overlay Technique) ภาพที่ 1-12 องคÄประกอบของการจัดการสนทนากลุ\ม

1-25 1-27

ภาพที่ 1-13 ตัวอย\างของการมี Visual Notetaker ภาพที่ 1-14 ตัวอย\างรูปแบบการสนทนากลุ\มย\อยและการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการออนไลนÄ ดÅวยโปรแกรม Miro

1-27 1-29

ภาพที่ 1-15 ตัวอย\างรูปแบบการสนทนาเชิงปฏิบัติการกลุ\มย\อย 1

1-29

ภาพที่ 1-16 ตัวอย\างรูปแบบการสนทนาเชิงปฏิบัติการกลุ\มย\อย 2 ภาพที่ 1-17 ตัวอย\างรูปแบบการสนทนาเชิงปฏิบัติการกลุ\มย\อย 3

1-30 1-30

ภาพที่ 1-18 ตัวอย\างการจัดแสดงขÅอมูลโครงการเพื่อสรÅางการมีส\วนร\วม 1

1-30

ภาพที่ 1-19 ภาพที่ 2-1 ภาพที่ 2-2 ภาพที่ 2-3

1-31 ตัวอย่างการจัดแสดงข้อมูลโครงการเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม 2 แสดงเสÅนทางระเบียงเศรษฐกิจ (GMS Economic Corridors) 2-9 การตอบเป<าหมายการพัฒนาของยุทธศาสตรÄชาติของแผนแม\บทภายใตÅยุทธศาสตรÄชาติ 2-13 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตรÄและนโยบายระดับสากลและระดับประเทศ 2-16 ต\อมิติการพัฒนาเมือง ภาพที่ 2-4 ผังนโยบายการพัฒนาพื้นที่ประเทศไทย พ.ศ. 2600 2-18


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหEสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลÅอม

สารบัญภาพ

หน$าที่ 2-20

ภาพที่ 2-5 ผังภาคเหนือ พ.ศ. 2600 ภาพที่ 2-6 แสดงโครงการขนาดใหญ\และโครงการสำคัญของแผนแม\บทการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ 20 ปÑ ภาพที่ 2-7 ระเบียงเศรษฐกิจระดับภูมิภาค ภาพที่ 2-8 ระบบการคมนาคมขนส\งทางบกและทางอากาศเชื่อมโยงระหว\างประเทศ ภาพที่ 2-9 โครงข\ายการเชื่อมโยงระหว\างประเทศตามโครงข\ายทางหลวงเอเชีย ภาพที่ 2-10 แนวคิดในการพัฒนาระบบคมนาคมขนส\ง ภาพที่ 2-11 แผนการพัฒนาโครงข\ายถนนทางหลวงแผ\นดินระหว\างเมือง ภาพที่ 2-12 โครงข\ายเสÅนทางรถไฟทางคู\ ภาพที่ 2-13 โครงข\ายเสÅนทางรถไฟความเร็วสูง ภาพที่ 2-14 โครงข\ายทางน้ำ ภาพที่ 2-15 แผนการพัฒนาท\าอากาศยาน ภาพที่ 2-16 ภาพร\างแผนแม\บทการพัฒนาทางหลวงพิเศษระหว\างเมืองและระบบราง (MR-Map) ภาพที่ 3-1 แนวคิดนิเวศวัฒนธรรมของ JULIAN STEWARD) ภาพที่ 3-2 แบบจำลองนิเวศวิทยาของ ROY ROPPAPORT ภาพที่ 3-3 แนวทางของความยั่งยืนในระบบนิเวศวัฒนธรรมของ MONTO, GANESH AND VARGHESE, 2005 ภาพที่ 3-4 ตัวอย่างผลการวิเคราะห์แบ่งกลุ่มเมืองในบริบทภูมิศาสตร์และนิเวศธรรมชาติ โครงข่ายทางสัญจร และลำดับบทบาทของเมืองในพื้นที่ภาคกลาง

2-23

ภาพที่ 3-5 ภาพที่ 3-6 ภาพที่ 3-7 ภาพที่ 3-8

3-10 3-13 3-15 3-18

ภาพที่ 3-9 ภาพที่ 3-10 ภาพที่ 3-11 ภาพที่ 3-12 ภาพที่ 3-13 ภาพที่ 3-14 ซ

ตัวอย่างโครงสร้างของนิเวศกลุ่มเมืองในพื้นที่ภาคกลาง แสดงพื้นที่หลัก (ZONE) 3 ประเภทในพื้นที่สงวนชีวมณฑล PROSPECTIVE PROCESS (KRAWCZYK & RATCLIFFE, 2005) ความสัมพันธ์ของระดับผลกระทบ (IMPACT) และระดับของความไม่แน่นอน (UNCERTAINTY) ลักษณะและแนวทางในการจัดการกับสภาวะ VUCA (BENNETT & LEMOINE, 2014) เขตการขยายตัวของเมือง เมือง PORTLAND ที่แสดงพื้นที่ปรับขยายในช่วงเวลาต่าง ๆ 4 ขั้นตอนของวิธีการ CO-CREATION (PHILIPS.COM) ตัวอย่างดัชนีเมืองราชการและบริการสาธารณะ ปี 2557 ตัวอย่างดัชนีเมืองอุตสาหกรรม ปี 2557 ตัวอย่างผลรวมดัชนีวัดบทบาทเมืองในพื้นที่ภาคกลาง ปี 2557

2-34 2-35 2-36 2-37 2-38 2-39 2-40 2-41 2-42 2-45 3-6 3-6 3-8 3-10

3-19 3-22 3-24 3-28 3-29 3-29

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


สารบัญ

สารบัญภาพ ภาพที่ 3-15 ภาพที่ 3-16 ภาพที่ 3-17 ภาพที่ 3-18 ภาพที่ 3-19 ภาพที่ 4-1 ภาพที่ 4-2 ภาพที่ 4-3 ภาพที่ 4-4

แนวคิดในการพัฒนาพื้นที่ภาคเหนือ การแบ่งประเภทของภูมินิเวศเชิงกายภาพของพื้นที่ภาคเหนือ แผนที่ภูมินิเวศของภาคเหนือแสดงเขตจังหวัด แผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ ความสัมพันธ์ของทฤษฎี แนวคิด ในการศึกษาวิเคราะห์ภูมินิเวศเพื่อการวางแผนผัง ตัวอย\างตารางในระบบฐานขÅอมูลเชิงสัมพันธÄ ผลลัพธÄจากการสอบถามตามเงื่อนไข ผลลัพธÄจากการสอบถามตามเงื่อนไข ผลลัพธÄจากการสรÅางตารางดÅวย create table

หน$าที่ 3-30 3-35 3-36 3-38 3-40 4-4 4-5 4-5 4-6

ภาพที่ 4-5 ตัวอย\าง Entity ใน ER-Diagram

4-7

ภาพที่ 4-6 ตัวอย\าง Relationship ใน ER-Diagram

4-8

ภาพที่ 4-7 ตัวอย\างการกำหนด Attribute ใน ER-Diagram

4-8

ภาพที่ 4-8 ตัวอย\างการปรับ Attribute ตาม Relationship ใน ER-Diagram

4-9

ภาพที่ 4-9 ตัวอย\างการกำหนด Primary Key ใน ER-Diagram

4-9

ภาพที่ 4-10 ตัวอย\างการสรÅางตารางจาก ER-Diagram

4-10

ภาพที่ 4-11 ตัวอย\างการสรÅางตาราง Relationship จาก ER-Diagram

4-10

ภาพที่ 4-12 แบบจำลองขÅอมูลเวกเตอรÄประเภทจุด

4-11

ภาพที่ 4-13 แบบจำลองขÅอมูลเวกเตอรÄประเภทเสÅน

4-11

ภาพที่ 4-14 แบบจำลองขÅอมูลเวกเตอรÄประเภทรูปปîด

4-19

ภาพที่ 4-15 การเชื่อมโยงขÅอมูลพื้นที่กับขÅอมูลบรรยาย

4-20

ภาพที่ 4-16 ฐานขÅอมูลเชิงสัมพันธÄใน GIS

4-22

ภาพที่ 4-17 จุด เสÅน รูปปîดบนโครงสรÅางขÅอมูลราสเตอรÄ

4-23

ภาพที่ 4-18 ตัวอย\างขÅอมูลราสเตอรÄแบบต\อเนื่องและไม\ต\อเนื่อง

4-28

ภาพที่ 5-1 พื้นที่ภาคเหนือ 9 จังหวัด

5-1

ภาพที่ 5-2 กราฟแสดงขนาดเนื้อที่ (ตารางกิโลเมตร) ของลุ\มน้ำในแต\ละจังหวัดในภาคเหนือ

5-3


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหEสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลÅอม

สารบัญภาพ ภาพที่ 5-3 แผนที่แสดงลุ\มน้ำและลุ\มน้ำย\อย ในเขตจังหวัดในภาคเหนือ

หน$าที่ 5-3

ภาพที่ 5-4 การแบ\งขอบเขตลุ\มน้ำเดิมและลุ\มน้ำใหม\ของประเทศไทย

5-6

ภาพที่ 5-5 การกำหนดขอบเขตลุ\มน้ำใหม\ของลุ\มน้ำกก – ลุ\มน้ำโขงเหนือ

5-8

ภาพที่ 5-6 ขอบเขตพื้นที่การศึกษาภาคเหนือ 9 จังหวัด (แสดงขอบเขตลุ\มน้ำหลัก)

5-9

ภาพที่ 5-7 ขอบเขตพื้นที่การศึกษาภาคเหนือ 9 จังหวัด (แสดงขอบเขตลุ\มน้ำหลักและลุ\มน้ำ สาขา)

5-10

ภาพที่ 5-8 ประเภทการใชÅที่ดินพื้นที่ศึกษา 9 จังหวัดภาคเหนือ

5-13

ภาพที่ 5-9 ผังเมืองรวมจังหวัดพื้นที่ภาคเหนือ

5-14

ภาพที่ 5-10 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดพื้นที่ภาคเหนือ

5-15

ภาพที่ 5-11 ระเบียงเศรษฐกิจระดับภูมิภาค

5-16

ภาพที่ 5-12 ระบบการคมนาคมขนส\งเชื่อมโยงระหว\างประเทศ

5-17

ภาพที่ 5-13 โครงข\ายการเชื่อมโยงระหว\างประเทศตามโครงข\ายทางหลวงเอเชีย

5-18

ภาพที่ 5-14 โครงข่ายทางหลวงเอเชียในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ

5-19

ภาพที่ 5-15 รวมโครงข่ายคมนาคมบก น้ำ และอากาศ

5-21

ภาพที่ 5-16 ประชากรและจำนวนบ้านรายจังหวัด ปี พ.ศ. 2562

5-24

ภาพที่ 5-17 ประชากรกลุ\มชาติภาคเหนือ

5-25

ภาพที่ 5-18 ทิศทางการพัฒนาภาคเหนือ

5-28

ภาพที่ 5-19 กราฟแสดงจำนวนเขตอำเภอและตำบลใน 9 จังหวัดภาคเหนือ

5-34

ภาพที่ 5-20 ผังเมืองรวมจังหวัดเชียงใหม\

5-42

ภาพที่ 5-21 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดเชียงใหม\

5-42

ภาพที่ 5-22 ประชากรกลุ\มชาติพันธุÄจังหวัดเชียงใหม\ (แยกรายกลุ\มชาติพันธุÄ)

5-46

ภาพที่ 5-23 เขตพื้นที่เมืองเก\าเชียงใหม\ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม\

5-49

ภาพที่ 5-24 ผังเมืองรวมจังหวัดลำพูน

5-56

ภาพที่ 5-25 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดลำพูน

5-58

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


สารบัญ

สารบัญภาพ ภาพที่ 5-26 ประชากรกลุ\มชาติพันธุÄจังหวัดลำพูน (แยกรายกลุ\มชาติพันธุÄ)

หน$าที่ 5-60

ภาพที่ 5-27 เขตพื้นที่เมืองเก\าลำพูน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

5-63

ภาพที่ 5-28 ผังเมืองรวมจังหวัดลำปาง

5-68

ภาพที่ 5-29 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดลำปาง

5-70

ภาพที่ 5-30 ประชากรกลุ\ ม ชาติ พั น ธุÄ จั ง หวั ด ลำปาง (แยกรายกลุ\ ม ชาติ พั น ธุÄ )

5-72

ภาพที่ 5-31 เขตพื้ น ที่ เ มื อ งเก\ า ลำปาง อำเภอเมื อ ง จั ง หวั ด ลำปาง

5-76

ภาพที่ 5-32 ผั ง เมื อ งรวมจั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถÄ

5-82

ภาพที่ 5-33 ผั ง เมื อ งรวมเมื อ งและชุ ม ชน จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถÄ

5-84

ภาพที่ 5-34 ผังเมืองรวมจังหวัดแพร\

5-89

ภาพที่ 5-35 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดแพร\

5-91

ภาพที่ 5-36 ประชากรกลุ\มชาติพันธุÄจังหวัดแพร\ (แยกรายกลุ\มชาติพันธุÄ)

5-93

ภาพที่ 5-37 เขตพื้นที่เมืองเก\าแพร\ อำเภอเมือง จังหวัดแพร\

5-96

ภาพที่ 5-38 ผังเมืองรวมจังหวัดน\าน

5-100

ภาพที่ 5-39 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดน\าน

5-102

ภาพที่ 5-40 ประชากรกลุ\มชาติพันธุÄจังหวัดน\าน (แยกรายกลุ\มชาติพันธุÄ)

5-104

ภาพที่ 5-41 ขอบเขตพื้นที่เมืองเก\าน\าน “ใจเมืองน\าน” ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดน\าน

5-107

ภาพที่ 5-42 ขอบเขตพื้นที่เมืองเก\าน\าน “เวียงพระธาตุแช\แหÅง” ตำบลม\วงตึ๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน\าน

5-108

ภาพที่ 5-43 ผังเมืองรวมจังหวัดพะเยา

5-114

ภาพที่ 5-44 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดพะเยา

5-116

ภาพที่ 5-45 ประชากรกลุ\มชาติพันธุÄจังหวัดพะเยา (แยกรายกลุ\มชาติพันธุÄ)

5-118

ภาพที่ 5-46 เขตพื้นที่เมืองเก\าพะเยา บริเวณใจเมืองพะเยา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

5-121

ภาพที่ 5-47 ผังเมืองรวมจังหวัดเชียงราย

5-127

ภาพที่ 5-48 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดเชียงราย

5-129 ฎ


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหEสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลÅอม

สารบัญภาพ ภาพที่ 5-49 ประชากรกลุ\มชาติพันธุÄจังหวัดเชียงราย (แยกรายกลุ\มชาติพันธุÄ)

หน$าที่ 5-131

ภาพที่ 5-50 เขตพื้นที่เมืองเก\าเชียงราย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

5-134

ภาพที่ 5-51 ประชากรกลุ\มชาติพันธุÄจังหวัดแม\ฮ\องสอน (แยกรายกลุ\มชาติพันธุÄ)

5-140

ภาพที่ 5-52 เขตพื้นที่เมืองเก\าแม\ฮ\องสอน อำเภอเมือง จังหวัดแม\ฮ\องสอน

5-143

ภาพที่ 5-53 ที่ตั้งชุมชนบุญเรือง และปöาชุ\มน้ำ

5-147

ภาพที่ 5-54 พื้นที่ปöาบุญเรือง 3,021 ไร\ โดยแบ\งการดูแล 5 ชุมชน

5-148

ภาพที่ 5-55 แสดงที่ตั้ง ชุมชนบÅานงามเมือง ตำบลยางฮอม อำเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย

5-150

ภาพที่ 5-56 แผนที่แสดงการใชÅประโยชนÄที่ดินหมู\บÅานงามเมือง

5-151

ภาพที่ 5-57 แสดงขอบเขตพื้นที่ปöาบนดอยยาวที่บÅานงามเมืองอนุรักษÄ

5-151

ภาพที่ 5-58 แผนที่แสดงที่ตั้ง บÅานต\อแพ ต.แม\เงา อ.ขุนยวม จ.แม\ฮ\องสอน

5-154

ภาพที่ 5-59 แผนที่แสดงพื้นที่โคงการปöาชุมชน บÅานต\อแพ ต.แม\เงา อ.ขุนยวม จ.แม\ฮ\องสอน

5-155

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


สารบัญ

สารบัญตาราง ตาราง 2-1 ตาราง 3-1 ตาราง 3-2 ตาราง 3-3 ตาราง 5-1

หน้าที่ รายการกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2-47 ตัวแปรในการจัดประเภทเมืองสำหรับการวิเคราะห์สถานการณ์เมืองในพื้นที่ภาคกลาง 3-28 ความสัมพันธ์ของมิติการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของภาคเหนือตอนบนใน 6x6 มิติ 3-33 ข้อมูลสำคัญในการวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมในภาคเหนือตอนบน 3-35 เนื้อที่ลุ่มน้ำรายจังหวัดในภาคเหนือ (ตารางกิโลเมตร) 5-2

ตาราง 5-2 ตาราง 5-3 ตาราง 5-4 ตาราง 5-5 ตาราง 5-6

เปรียบเทียบรายชื่อลุม่ น้ำเดิมและลุ่มน้ำใหม่ รายชื่อลุ่มน้ำหลักและลุ่มน้ำสาขาที่ครอบคลุมพื้นที่การศึกษา ปริมาณเนื้อที่การใช้ที่ดินประเภทหลักในพื้นที่รายจังหวัดในภาคเหนือ จำนวนประชากร 10 ปีย้อนหลัง (พ.ศ. 2552-2562) จำนวนประชากร และจำนวนบ้าน รายจังหวัด ปี 2562

5-5 5-10 5-12 5-23 5-24

ตาราง 5-7 ข้อมูลประชากรกลุม่ ชาติภาคเหนือ ตาราง 5-8 ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน

5-26 5-27

ตาราง 5-9 จำนวนเขตอำเภอและตำบลใน 9 จังหวัดภาคเหนือ ตาราง 5-10 ข้อมูลประชากรกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดเชียงใหม่ (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์)

5-34 5-47

ตาราง 5-11 ข้อมูลประชากรกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดลำพูน (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์)

5-61

ตาราง 5-12 ข้อมูลประชากรกลุม่ ชาติพันธุ์จังหวัดลำปาง (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์) ตาราง 5-13 ข้อมูลประชากรกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดแพร่ (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์)

5-73 5-94

ตาราง 5-14 ข้อมูลประชากรกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดน่าน (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์)

5-105

ตาราง 5-15 ข้อมูลประชากรกลุม่ ชาติพันธุ์จังหวัดเชียงราย (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์) ตาราง 5-16 ข้อมูลประชากรกลุม่ ชาติพันธุ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์)

5-132 5-141



บทที่ 1 บทนำ

บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตุผล กรอบการพัฒนาในภาพรวมของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหEงชาติ ฉบับที่ 12 เปBนการพัฒนา ที่ต;องการ มุEงเน;นการพัฒนาเชิงพื้นที่และเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของเมืองตEาง ๆ ให;สูงขึ้นภายใต;การใช; มาตรฐานด; า นสิ ่ ง แวดล; อ ม ลั ก ษณะการใช; ท ี ่ ด ิ น การจั ด ระเบี ย บผั ง เมื อ งและความปลอดภั ย ตามเกณฑH เมืองนEาอยูEที่เหมาะสมเพื่อกระจายโอกาส ทางเศรษฐกิจและสังคมให;ทั่วถึงและเปBนการสร;างฐานเศรษฐกิจ และรายได;จากพื้นที่เศรษฐกิจใหมEมากขึ้น ซึ่งจะชEวยลดความเหลื่อมล้ำภายในสังคมไทยลง และในขณะเดียวกัน ก็เปBนการสร;างขีดความสามารถในการแขEงขันจากการพัฒนาเมืองให;นEาอยูE เปBนพื้นที่เศรษฐกิจใหมEทั้งตอนใน และตามแนวจุดชายแดนหลัก อยEางไรก็ตามที่ผEานมา การขยายตัว ของเมืองโดยเฉพาะเมืองขนาดใหญE ที่มีการขยายตัวอยEางรวดเร็วตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ทำให;เกิด ความไมEเปBนระเบียบของ การตั้งถิ่นฐานและการใช;ประโยชนHที่ดิน จนสEงผลกระทบตEอสภาพแวดล;อมของเมือง อีกทั้งการวางแผน การจัดการด;านสิ่งแวดล;อมและจัดทำผังเมืองไมEสามารถกำกับการใช;ประโยชนHที่ดินให;เกิดความสมดุล ทางกายภาพ ทั้งด;านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล;อมได; สEงผลกระทบตEอระบบนิเวศและสิ่งแวดล;อมของเมือง ตลอดจนวิถีชีวิตและทรัพยHสินของประชากรเมือง ดังนั้นจึงจำเปBนต;องใช;การขับเคลื่อนทางด;านสิ่งแวดล;อม และระบบนิเวศที่เปBนวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่ เปBนเครื่องมือในการกำกับการใช;ประโยชนHที่ดินให;เกิด ความสมดุล และจัดการสิ่งแวดล;อมชุมชนในวิถีธรรมชาติตามระบบนิเวศ รวมทั้งกระตุ;นให;เกิดความรับผิดชอบ ในการจั ดการเชิ งพื ้ นที ่ รE วมกั นของภาคสE วนตE าง ๆ ที ่ เ กี ่ ยวข; อง โดยเฉพาะภาคประชาชนให; มี สE วนรE วม ในการเสนอแนะและสะท;อนข;อเท็จจริงของสภาพพื้นที่และการใช;ประโยชนHที่เปBนป_จจุบัน รวมทั้ง รEวมวาง แผนพัฒนาและจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อมตามระบบนิเวศของพื้นที่ ทั้งนี้การดำเนินการ ดังกลEาวจะเปBนการสEงตEอให;เกิดผลการพัฒนาให;เปBนไปตามกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหEงชาติ ฉบั บที ่ 13 พ.ศ. 2565 – 2570 ซึ ่ งมี จุ ดประสงคH เ พื ่ อพลิ กโฉมประเทศไทย หรื อ เปลี ่ ยนแปลงประเทศ ขนานใหญE (Thailand's Transformation) ภายใต; แ นวคิ ด “Resilience” ซึ ่ ง มี จ ุ ด มุ E ง หมายในการลด ความเปราะบาง สร;างความพร;อมในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง สามารถปรับตัวให;อยูEรอดได;ในสภาวะ วิ ก ฤติ โดยหมุ ด หมายหนึ ่ ง คื อ การผลั ก ดั น การสร; า ง “วิ ถ ี ช ี ว ิ ต ที ่ ย ั ่ ง ยื น” ด; วยการกำหนดให; มี มาตรการ การปรับตัวที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และการดำเนินชีวิตของประชาชน อนุรักษH ฟ\]นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ให;อยูEในสภาพดี วางแผนการใช;ประโยชนHที่ดิน การจัดทำโครงสร;างพื้นฐานและสิ่งกEอสร;าง เพื่อลดผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและบูรณาการเข;ากับการวางแผนพัฒนาพื้นที่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหEงชาติ ฉบับที่ 12 และกรอบแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 รวมถึงเปRาหมาย ตามยุทธศาตรHชาติด;านการสร;างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปBนมิตรตEอสิ่งแวดล;อม กำหนดให;มีการจัดทำ “แผนผังภูมินิเวศ” เพื่อการพัฒนาเมือง ชนบท พื้นที่เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม รวมถึงพื้นที่อนุรักษH รายงานขั้นต*น

1-1


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

ตามศักยภาพและความเหมาะสมทางภูมินิเวศอยEางเปBนเอกภาพ และแผนแมEบทภายใต;ยุทธศาสตรHชาติ ซึ่งกำหนดเปRาหมายให; “ประเทศไทยมีแผนผังภูมินิเวศเพื่อเปBนกรอบในการพัฒนาเมืองนEาอยูE ชนบท มั่นคง เกษตรยั่งยืน อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และผังพื้นที่อนุรักษH ทรัพยากรธรรมชาติ แหลEงโบราณคดี” รวมทั้ง แผนการปฏิรูปประเทศด;านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม ประเด็นปฏิรูปการผังเมือง ซึ่งกำหนดให;มี การวางผังเมืองและกำกับการใช;ประโยชนHที่ดินด;วยการใช;ระบบนิเวศท;องถิ่นและชุมชน เปBนกลไกขับเคลื่อน การพัฒนาเมือง โดยในปUงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได;จัดทำ “ผังแนวคิดการจัดทำแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ ภาคเหนือ” ภายใต;โครงการจัดทำแผนผังภูมินิเวศเพื่อจัดการสิ่งแวดล;อมชุมชนเชิงนิเวศ อยEางไรก็ตาม จำเปB นต; องสานตE อการดำเนิ นงาน โดยผลั กดั น “ผั งแนวคิ ดภู มิ นิ เ วศของพื ้ นที ่ ภาคเหนื อ” สู E การจั ดทำ “แผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือและรายจังหวัด” เพื่อให;จังหวัดในพื้นที่ภาคเหนือมีแผนการพัฒนา ตามศักยภาพของระบบนิเวศ สอดคล;องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมเชิงนิเวศอยEางเหมาะสม รวมทั้งการวางแผน การจั ดการด; านสิ ่ งแวดล; อมและจั ดทำผั งเมื อง สามารถกำกั บการใช; ประโยชนH ที่ดิ นให; เกิ ด ความสมดุ ล ทางกายภาพ ทั้งด;านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล;อม โดยไมEสEงผลกระทบตEอระบบนิเวศและสิ่งแวดล;อมของ เมือง บรรลุสูEการพัฒนาเมืองนEาอยูE ชนบทมั่นคง เกษตรยั่งยืน อุตสาหกรรมเชิงนิเวศได;อยEางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ปUงบประมาณ พ.ศ. 2565 จึงจำเปBนต;องจัดทำ “โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน” ครอบคลุมบริบทเมืองนEาอยูE ชนบทมั่นคง เกษตรยั่งยืน และปลอดภัย อุตสาหกรรมเชิง นิเวศ และพื้นที่พิเศษเพื่อการอนุรักษHทรัพยากรธรรมชาติ แหลEงโบราณคดี มรดกทางสถาป_ตยกรรมและศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณHและวิถีชีวิตพื้นถิ่น ตามผังแนวคิดฯ ที่มีการพิจารณาถึง ศักยภาพและข;อจำกัดในการใช;พื้นที่ ความเหมาะสมของการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศ เกณฑHและมาตรฐาน การพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานและการจัดการสิ่งแวดล;อม โดยใช;เขตพื้นที่ลุEมน้ำเปBนขอบเขตของภูมินิเวศ พร;อมทั้ง เสนอแนะแนวทางการขับเคลื่อนแผนผังภูมินิเวศพื้นที่ภาคเหนือไปสูEการปฏิบัติ รวมถึงการรวบรวม ข;อมูลการจัดการสิ่งแวดล;อมของชุมชนที่ประสบความสำเร็จในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อสEงเสริมให;เกิดการจัดทำ นวัตกรรมภูมิป_ญญาท;องถิ่นในการจัดการสิ่งแวดล;อมชุมชนเชิงนิเวศ และเผยแพรEให;เกิดการรับรู;และตEอยอด ไปสูEการจัดการสิ่งแวดล;อมชุมชนเชิงนิเวศโดยภูมิป_ญญาท;องถิ่นในพื้นที่อื่น ๆ ตEอไป สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม (สผ.) ได;รับมอบหมายให;เปBนจ;าภาพ หลักรับผิดชอบดำเนินการตามยุทธศาสตรHที่สัมพันธHกับภารกิจของสำนักงานฯ ที่ตอบสนองตEอแผนแมEบท ภายใต;ยุทธศาสตรHชาติ ประเด็นที่ 6 พื้นที่และเมืองนEาอยูEอัจฉริยะ แผนยEอยการพัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ที่มีการบริหารจัดการตามแผนผังภูมินิเวศอยEางยั่งยืน โดยเปRาหมาย ของแผนยEอยนี้คือ ความยั่งยืนทาง ภูมินิเวศ ภูมิสังคม และภูมิวัฒนธรรม และตัวชี้วัดที่มีคEาเปRาหมาย ในชE ว งระยะปU พ.ศ. 2561-2565 ให; ม ี พ ื ้ น ที ่ ท ี ่ ม ี ก ารดำเนิ น การสงวนรั ก ษา อนุ ร ั ก ษH ฟ \ ] น ฟู และพั ฒ นา ทรัพยากรธรรมชาติ มรดกทางสถาป_ตยกรรม และศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณH และวิถีชีวิตพื้นถิ่น บนฐาน ธรรมชาติและฐานวัฒนธรรมอยEางยั่งยืนในพื้นที่ อยEางน;อย 3 จังหวัด ใน 1 ภาค เพื่อการดำเนินการบริหาร จัดการประเทศที่มีเปRาหมายให;เกิดการพัฒนาในมิติตEาง ๆ อยEางครอบคลุม ซึ่งเปBนกรอบในการจัดทำแผนตEาง ๆ ให;สอดคล;องและบูรณาการกัน สร;างแนวทาง ขั้นตอน และกลไกของการพัฒนาสูEเปRาหมาย โดยรัฐบาล 1-2

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

ได;กำหนดนโยบาย และยุทธศาสตรH เพื่อจัดทำแผนพัฒนาประเทศที่สามารถนำไปปฏิบัติได;ในระดับตEาง ๆ ลงไปถึงท;องถิ่น โดยยุทธศาสตรHชาติ ปU พ.ศ. 2561-2580 กำหนดเปRาหมายในการพัฒนาประเทศอยEางยั่งยืน ตามหลักธรรมาภิบาล สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม ตระหนักถึงความสำคัญของ การพัฒนา เชิงพื้นที่เพื่อให;เกิดการขับเคลื่อนสูEเปRาหมายของแผนยEอยดังกลEาวตามแผนแมEบทภายใต;ยุทธศาสตรHชาติ ให; เ กิ ด การใช; ป ระโยชนH อ ยE า งเหมาะสม และสร; า งความสมดุ ล ระหวE า ง เศรษฐกิ จ สั ง คม สิ ่ ง แวดล; อ ม และวัฒนธรรม และตระหนักถึงสภาพป_ญหาความต;องการและความเรEงดEวนที่เกิดจากสถานการณHการขยายตัว ของเมืองโดยเฉพาะเมืองขนาดใหญEที่มีการขยายตัวอยEางรวดเร็วตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ทำให;เกิดความไมEเปBนระเบียบของการตั้งถิ่นฐานและการใช;ประโยชนHที่ดิน จนสEงผลกระทบตEอสภาพแวดล;อม ของเมือง อีกทั้งการวางแผนการจัดการด;านสิ่งแวดล;อมและจัดทำผังเมืองไมEสามารถกำกับการใช;ประโยชนH ที่ดินให;เกิดความสมดุลทางกายภาพ ทั้งด;านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล;อมได; สEงผลกระทบตEอระบบนิเวศ และสิ่งแวดล;อมของเมือง ตลอดจนวิถีชีวิตและทรัพยHสินของประชากรเมือง ดังนั้นจึงจำเปBนต;องนำนโยบาย ยุทธศาสตรH และแผนข;างต;นสูEการปฏิบัติในการขับเคลื่อนทางด;านสิ่งแวดล;อมและระบบนิเวศที่เปBนวิถีชีวิตของ ประชาชนในพื้นที่ สร;างเครื่องมือในการกำกับการใช;ประโยชนHที่ดินให;เกิดความสมดุล และจัดการสิ่งแวดล;อม ชุมชนในวิถีธรรมชาติตามระบบนิเวศ รวมทั้งกระตุ;นให;เกิดความรับผิดชอบในการจัดการเชิงพื้นที่รEวมกันของ ภาคสEวนตEาง ๆ ที่เกี่ยวข;อง โดยเฉพาะภาคประชาชนให;มีสEวนรEวมในการเสนอแนะและสะท;อนข;อเท็จจริงของ สภาพพื้นที่และการใช;ประโยชนHที่เปBนป_จจุบัน รวมทั้งรEวมวางแผนพัฒนาและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล;อมตามระบบนิเวศของพื้นที่

1.2 วัตถุประสงค7ของโครงการ •

เพื ่ อให; พื ้ นที ่ ภาคเหนื อ มี แผนผั งภู มิ นิ เวศของพื ้ นที ่ เพื ่ อวางแผนการพั ฒนาและใช; ประโยชนH ทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ ่ ง แวดล; อ มอยE า งเหมาะสม สอดคล; อ งกั บ ระบบนิ เ วศ อั ต ลั ก ษณH และวัฒนธรรมพื้นถิ่น

1.3 พื้นที่เปCาหมาย พื้นที่เปRาหมายสำหรับการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เปBนพื้นที่ภาคเหนือตามเกณฑH ด; า นภู ม ิ ศ าสตรH ต ามราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน ครอบคลุ ม 9 จั ง หวั ด ได; แ กE จั ง หวั ด เชี ย งใหมE จั ง หวั ด ลำพู น จั งหวั ดลำปาง จั งหวั ดอุ ตรดิ ตถH จั งหวั ดแพรE จั งหวั ดนE าน จั งหวั ดพะเยา จั ง หวั ดเชี ยงราย และจั งหวั ด แมEฮEองสอน (ภาพที่ 1- 1)

รายงานขั้นต*น

1-3


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

ภาพที่ 1- 1 เปRาหมายเชิงพื้นที่ 9 จังหวัดในภาคเหนือ

1.4 กลุGมเปCาหมาย เพื่อให;การจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือเปBนกระบวนการที่มีการมีสEวนรEวมของภาคสEวนตEาง ๆ ที่ กระตุ;นให;เกิดความรับผิดชอบในการจัดการเชิงพื้นที่รEวมกัน โดยเฉพาะภาคประชาชนให;มีสEวนรEวม ในกระบวนการ ตั้งแตEการเสนอแนะและสะท;อนข;อเท็จจริงของสภาพพื้นที่และการใช;ประโยชนHที่เปBนป_จจุบัน รวมทั ้ ง รE ว มวางแผนพั ฒ นาและจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล; อ มตามระบบนิ เ วศของพื ้ น ที่ กลุEมเปRาหมายจึงประกอบด;วย หนEวยงานราชการ องคHกรปกครองสEวนท;องถิ่น สถาบันการศึกษา องคHกรพัฒนาเอกชน ชุมชน และ ภาคเอกชน สามารถระบุประเภทผู;มีสEวนได;เสียที่สัมพันธHกับพื้นที่โครงการไว;ทั้งสิ้น 10 ประเภทยEอย ได;แกE 1) หนEวยงานราชการสEวนกลางและสEวนภูมิภาค 2) องคHกรปกครองสEวนท;องถิ่น 3) สถาบันการศึกษา และนักวิชาการ 4) วัด และผู;ครอบครองอาคารสถานที่มีคุณคEาทางประวัติศาสตรHและโบราณคดี 5) ผู;ประกอบการ/นักธุรกิจ/วิสาหกิจเริ่มต;น 6) ปราชญHชาวบ;าน ศิลป°นท;องถิ่น และชEางพื้นบ;าน 7) ชุมชนและผู;อยูEอาศัยในพื้นที่เมือง 8) ผู;ใช;บริการในพื้นที่ เชEน นักทEองเที่ยว และผู;ใช;อาคารสถานที่ 9) สมาคม ชมรม องคHกรสังคม 10) องคHกรพัฒนาเอกชน (NGO)

1-4

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

1.5 ขอบเขตการดำเนินงาน การจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน ประกอบด;วยเนื้อหา 9 สEวน ดังนี้ 1.5.1 ศึกษาทบทวน วิเคราะหI และสังเคราะหIข*อมูล การศึกษาในขั้นต;นเพื่อให;ได;ข;อมูล ความเข;าใจสถานการณHของปรากฏการณHด;านตEาง ๆ ของพื้นที่ เปRาหมาย เปBนการศึกษาทบทวน วิเคราะหH และสังเคราะหHข;อมูลที่ประกอบด;วยเนื้อหาดังนี้ • นโยบาย แผนยุทธศาสตรHที่เกี่ยวข;องทั้งในระดับจังหวัด กลุEมจังหวัด ระดับภาค ระดับประเทศ รวมทั้ง กฎหมาย กฎ ระเบียบ และข;อมูลที่เกี่ยวข;อง • แนวคิด แผน งานวิจัยในระดับสากลที่เกี่ยวข;องด;านภูมินิเวศ มาตรการ เกณฑHและมาตรฐาน การพั ฒนาโครงสร; างพื ้ นฐานและการจั ดการสิ ่ งแวดล; อมตามภู มิ นิ เวศ ทั้งระดับประเทศและ ระดับสากล และแนวทางในการขับเคลื่อนผลักดันไปสูEการปฏิบัติ • ข;อมูลพื้นฐานของพื้นที่ภาคเหนือและข;อมูลเฉพาะแตEละจังหวัด • ผังแนวคิดการจัดทำแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ การกำหนดนิยาม การแบEงประเภทของ ภูมินิเวศภาคเหนือเชิงกายภาพและเชิงวัฒนธรรม • ระบบฐานข;อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตรHเพื่อการจัดการสิ่งแวดล;อมชุมชนของประเทศไทย และ ระบบฐานข;อมูลภูมิสารสนเทศการบริหารจัดการสิ่งแวดล;อมชุมชนบนพื้นฐานภูมินิเวศในพื้นที่ ภาคเหนือ • วิธีการ ขั้นตอน หลักการ และแนวทางการวิเคราะหH เพื่อนำไปสูEการจัดทำแผนผังความเหมาะสม ในการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศ รวมทั้งการกำหนดมาตรการ เกณฑHและมาตรฐานการพัฒนาโครงสร;าง พื้นฐานและการจัดการ สิ่งแวดล;อมตามภูมินิเวศ 1.5.2 วางแผนและจัดทำผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ แผนและผังครอบคลุม 9 จังหวัด โดยเปBนกระบวนการที่พัฒนาและปรับปรุงจากผังแนวคิดการจัดทำ แผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ ที่มีการพิจารณาถึงศักยภาพและข;อจำกัดในการใช;พื้นที่ ความเหมาะสม ของการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศ มาตรการการใช;พื้นที่ตามลักษณะภูมินิเวศเชิงกายภาพที่เชื่อมโยงกับภูมินิเวศ เชิงวัฒนธรรม เกณฑHและมาตรฐานการพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานและการจัดการสิ่งแวดล;อม โดยใช;เขตพื้นที่ ลุEมน้ำ 22 ลุEมน้ำ ตามประกาศพระราชกฤษฎีกากำหนดลุEมน้ำ พ.ศ. 2564 เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธH 2564 เปBนขอบเขต

รายงานขั้นต*น

1-5


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

1.5.3 จัดทำแผนและผังความเหมาะสมในการใช*พื้นที่ทางภูมินิเวศอย]างยั่งยืนรายจังหวัด แผนและผังความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ภูมินิเวศในพื้นที่เปRาหมายครอบคลุมเขตปกครองระดับจังหวัด จำนวน 9 จั งหวั ด ได; แกE จั งหวั ดเชี ยงใหมE จั งหวั ดลำพู น จั งหวั ดลำปาง จั งหวั ดอุ ตรดิ ตถH จั งหวั ดแพรE จังหวัดนEาน จังหวัดพะเยา จังหวัดเชียงราย และจังหวัดแมEฮEองสอน ให;เหมาะสมกับเกณฑHและมาตรฐาน การพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานตามลักษณะภูมินิเวศ เพื่อบรรลุสูEความเปBนเมืองนEาอยูE ชนบทมั่นคง เกษตรยั่งยืน และปลอดภัย อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และพื้นที่พิเศษ เพื่อการอนุรักษHทรัพยากรธรรมชาติ แหลEงโบราณคดี มรดกทางสถาป_ตยกรรมและศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณHและวิถีชีวิตพื้นถิ่น โดยผEานกระบวนการมีสEวนรEวม เพื่อให;ข;อคิดเห็นและข;อเสนอแนะจากภาคสEวนที่เกี่ยวข;องในแตEละจังหวัด 1.5.4 จั ดทำแนวทางการขั บเคลื ่ อนและผลั กดั นการนำแผนผั งภู มิ นิ เ วศพื ้ นที ่ ภาคเหนื อไปสู] การปฏิบัติ เพื่อให;บังเกิดผลอยEางเปBนรูปธรรมตามแผนและผังที่จัดทำในข;อ 1.5.3 และ 1.5.4 แผนและผังดังกลEาว มีการกำหนดแนวทางการขับเคลื่อนและผลักดันให;เกิดการปฏิบัติตามแผนและผังโดยการมีสEวนรEวมของ ภาคสEวนที่เกี่ยวข;อง พร;อมทั้งข;อเสนอแนะการพัฒนาเครื่องมือ กลไก แหลEงงบประมาณ มาตรการจูงใจ ตลอดจนงานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรมที่เหมาะสม เพื่อสนับสนุนให;ภาคสEวนที่เกี่ยวข;องนำแผนผังภูมินิเวศ ไปใช;เปBนกลไกขับเคลื่อนในการวางแผนการพัฒนาและใช;ประโยชนHทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม ได;อยEางมีประสิทธิภาพ 1.5.5 ปรับปรุงการจัดการข*อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ ภาคเหนือ การศึ ก ษาเพื ่ อ จั ด ทำแผนและผั ง ภู ม ิ น ิ เ วศทำการเก็ บ รวบรวมข; อ มู ล ทั ้ ง เชิ ง คุ ณ ภาพ เชิ ง ปริ ม าณ และเชิงพื้นที่ ซึ่งจัดเก็บข;อมูลในรูปแบบ Digital อยEางเปBนระบบ โดยนำข;อมูลและพัฒนาจากระบบฐานข;อมูล และสารสนเทศภูมิศาสตรHเพื่อการจัดการสิ่งแวดล;อมชุมชนของประเทศไทย1 ระบบฐานข;อมูลภูมิสารสนเทศ การบริหารจัดการสิ่งแวดล;อมชุมชนบนพื้นฐานภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ2 รวมทั้งข;อมูลพื้นฐานของพื้นที่ ภาคเหนือและข;อมูลเฉพาะของแตEละจังหวัด พร;อมทั้งเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการและการใช; ประโยชนHข;อมูลสารสนเทศฯ ทั้งนี้ การจัดการข;อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ ภาคเหนื อ ที ่ พ ั ฒ นาขึ ้ น จะต; อ งสามารถมานำมาใช; ง านได; อ ยE า งสะดวก มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื ่ อ สนั บ สนุ น การดำเนินงานแผนผังภูมินิเวศ โดยนำมาใช;ประกอบการวางแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือและแผนผัง ความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศอยEางยั่งยืนรายจังหวัด โดยผEานการรับฟ_งความคิดเห็นจากหนEวยงาน และภาคสEวนที่เกี่ยวข;อง 1 2

http://community.onep.go.th/gis/ http://ecolandscape-north.onep.go.th 1-6

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

1.5.6 จั ด กระบวนการมี ส ] ว นร] ว มเพื ่ อ ให* ไ ด* ม าซึ ่ ง ข* อ คิ ด เห็ น ข* อ เสนอแนะ และข* อ มู ล ที ่ เ ปf น ประโยชนIต]อการดำเนินโครงการในแต]ละขั้นตอน กระบวนการการจัดวางแผนผังภูมินิเวศ และแผนผังความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ภูมินิเวศประกอบด;วย ขั้นตอนตEาง ๆ ที่แตEละขั้นตอนจัดให;มีการมีสEวนรEวมโดยมีกลุEมเปRาหมายตามที่ระบุในข;อ 1.4 กิจกรรม การมีสEวนรEวมในกระบวนการจัดวางแผนผังนี้ประกอบด;วย 3 รูปแบบ ดังนี้ (1) ในกระบวนการศึกษาขั้นกลาง จัดให;มีการดำเนินการเพื่อให;ได;มาซึ่งข;อคิดเห็น ข;อเสนอแนะ ประเด็นป_ญหาอุปสรรค ป_จจัยแหEงความสำเร็จ รวมทั้งข;อมูลที่จำเปBน ได;แกE หลักการ วิธีการในการพัฒนา เกณฑHและมาตรฐานการพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานและการจัดการสิ่งแวดล;อมในพื้นที่ภาคเหนือ และการกำหนด ความเหมาะสมของการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศพื้นที่ภาคเหนือตามศักยภาพและข;อจำกัดในการใช;พื้นที่ ตลอดจน ประเด็ น การจั ด การสิ ่ ง แวดล; อ มอยE า งยั ่ ง ยื น การรองรั บ /รั บ มื อ กั บ การเปลี ่ ย นแปลงสภาพภู ม ิ อ ากาศ รวมถึงแนวคิดทิศทางการพัฒนาประเทศและการเปลี่ยนแปลงโครงสร;างทางสังคม ผEานกระบวนการรับฟ_ง ความเห็น จำนวน 2 ครั้ง ประกอบด;วย • ครั้งที่ 1 เพื่อนำเสนอข;อมูลโครงการ และรับฟ_งความเห็น เพื่อให;ได;มาซึ่งข;อมูล ข;อคิดเห็นและ ข;อเสนอแนะตาม (1) โดยมีผู;เข;ารEวมประกอบด;วย ผู;ทรงคุณวุฒิ ผู;เชี่ยวชาญ และผู;แทนหนEวยงาน ที่เกี่ยวข;อง จำนวนไมE น;อยกวEา 50 คน • ครั้งที่ 2 เพื่อนำเสนอผลการปรับปรุงและรับฟ_งความเห็น โดยผู;เข;ารEวมประกอบด;วย ผู;ทรงคุณวุฒิ ผู;เชี่ยวชาญ และผู;แทนหนEวยงานที่เกี่ยวข;อง จำนวนไมEน;อยกวEา 50 คน (2) เมื่อกระบวนการศึกษา วิเคราะหH และสังเคราะหHข;อมูล ได;ผลที่นำเข;าสูEกระบวนการจัดทำ รEางแผน และผังภูมินิเวศ และแผนและผังความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ภูมินิเวศแล;ว จะจัดให;มีรับฟ_งความคิดเห็นและ ข;อเสนอแนะตEอ (รEาง) แผนและผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ และ (รEาง) แผนและผังความเหมาะสมในการใช; พื้นที่ทางภูมินิเวศอยEางยั่งยืนรายจังหวัด โดยเปBนการรับฟ_งความเห็นระดับจังหวัด 9 จังหวัด ๆ ละ อยEางน;อย 1 ครั้ง มีผู;เข;ารEวมจากทุกภาคสEวนที่เกี่ยวข;องในแตEละครั้ง ไมEน;อยกวEา 70 คน หรือรวมจำนวน ผู;เข;ารEวม ทั้งหมดอยEางน;อย 630 คน (3) จากขั้นตอนการมีสEวนรEวมในรูปแบบที่ (2) ตEอรEางแผนและผัง คณะที่ปรึกษาดำเนินการปรับปรุง แผนและผังดังกลEาว เมื่อการปรับปรุงแล;วเสร็จจะดำเนินการรับฟ_งความคิดเห็นและข;อเสนอแนะตEอแผนและ ผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ แผนและผังความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศอยEางยั่งยืนรายจังหวัด แนวทางการขับเคลื่อนและผลักดันการนำแผนผังภูมินิเวศพื้นที่ภาคเหนือไปสูEการปฏิบัติ ข;อเสนอแนะ การพัฒนาเครื่องมือ กลไก แหลEงงบประมาณ มาตรการจูงใจ ตลอดจนงานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรม ที่เหมาะสม ข;อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ โดยเปBนการรับฟ_ง ความเห็นระดับภาคเหนือ อยEางน;อย 1 ครั้ง มีผู;เข;ารEวมจากทุกภาคสEวนที่เกี่ยวข;องครอบคลุมทั้ง 9 จังหวัด รวมไมEน;อยกวEา 120 คน รายงานขั้นต*น

1-7


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

1.5.7 เสริมสร*าง พัฒนาทักษะการจัดการข*อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการแผนผังภูมินิเวศ ของพื้นที่ภาคเหนือให*แก]หน]วยงานและภาคส]วนที่เกี่ยวข*อง เพื่อให;สามารถนำไปใช;เปBนเครื่องมือประกอบการตัดสินใจในการกำหนดนโยบาย วางแผน บริหาร จัดการ และประยุกตHใช;ในการปฏิบัติงานได;อยEางมีประสิทธิภาพ พร;อมจัดทำคูEมือการใช;งาน และจัดการอบรม ถEายทอดความรู;แกEหนEวยงานและภาคสEวนที่เกี่ยวข;องอยEางน;อย 1 ครั้ง มีผู;เข;ารEวมไมEน;อยกวEา 50 คน 1.5.8 รวบรวมองคIความรู* และจัดทำสื่อเพื่อการเรียนรู*และสื่อสารถ]ายทอด รวมทั้งเผยแพร] ประชาสัมพันธI ในช]องทางที่เหมาะสม เพื่อเสริมสร;างวัฒนธรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคเหนือให;แกEหนEวยงานและภาคสEวนที่เกี่ยวข;อง โดยให; ความสำคัญกับการพัฒนาบนพื้นฐานภูมินิเวศ หรือการพัฒนาโดยคำนึงถึงระบบนิเวศ อัตลักษณHและวัฒนธรรม พื้นถิ่น ตลอดจนการใช;ประโยชนHแผนผังภูมินิเวศ และเรื่องอื่นที่จำเปBนและเกี่ยวข;อง 1.5.9 จัดให*มีการประชุมคณะกรรมการกำกับการศึกษาโครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให*สมดุลและยั่งยืน ประกอบด;วย ผู;ทรงคุณวุฒิ ผู;เชี่ยวชาญ และหนEวยงานที่เกี่ยวข;อง โดยองคHประกอบอยEางน;อย 20 คน โดยจัดให;มีการประชุม 3 ครั้ง ดังนี้ • ครั้งที่ 1 ภายหลังจากการจัดกระบวนการ มีสEวนรEวมตาม ข;อ 5.6 (2) • ครั้งที่ 2 ภายหลังจากการจัดกระบวนการมีสEวนรEวมตามข;อ 5.6 (3) • ครั้งที่ 3 กEอนการจัดสEงเอกสารรายงานฉบับสุดท;าย (Final Report)

1.6 ผลผลิต-ตัวชี้วัด และผลลัพธ7-ตัวชี้วัด 1.6.1 ผลผลิต-ตัวชี้วัด • ผลผลิต : แผนผั งภู ม ิ น ิ เวศในพื ้ นที ่ ภาคเหนื อ และแผนผั งความเหมาะสมในการใช; พ ื ้ นที่ ทางภูมินิเวศอยEางยั่งยืนรายจังหวัดในพื้นที่ภาคเหนือ • ตัวชี้วัด : แผนผั งภู ม ิ น ิ เวศในพื ้ นที ่ ภาคเหนื อและแผนผั งความเหมาะสมในการใช; พ ื ้ นที่ ทางภูมินิเวศอยEางยั่งยืนรายจังหวัด ในพื้นที่ภาคเหนือ 1 เรื่อง 1.6.2 ผลลัพธI-ตัวชี้วัด • ผลลัพธH : พื้นที่ภาคเหนือมีการวางแผนการพัฒนาและใช;ประโยชนHทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล;อมอยEางเหมาะสม สอดคล;องกับระบบนิเวศ อัตลักษณHและวัฒนธรรมพื้นถิ่น

1-8

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

• ตัวชี้วัด : จั งหวั ดในพื ้ นที ่ ภาคเหนื อมี แนวทางในการวางแผนการพั ฒนาและใช; ประโยชนH ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อมที่สอดคล;องกับภูมินิเวศ

1.7 ประโยชน7ที่คาดวGาจะไดTรับ แผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ และการกำหนดมาตรการเกณฑHและมาตรฐานการพัฒนาโครงสร;าง พื้นฐานและการจัดการสิ่งแวดล;อมชุมชนที่เหมาะสมตามลักษณะภูมินิเวศเชิงกายภาพที่เชื่อมโยงกับภูมินิเวศ เชิงวัฒนธรรมจะเปBนเครื่องมือขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่เปBนเอกลักษณH เฉพาะของท;องถิ่นชุมชนในพื้นที่ภาคเหนือ รวมทั้งเปBนข;อมูลในการตัดสินใจเพื่อการพัฒนาสิ่งแวดล;อมเมือง และชุมชนอยEางยั่งยืน และใช;ประโยชนHในการวางแผนผัง และแผนการพัฒนาพื้นที่ของภูมิภาค จังหวัด และเมือง ที่คำนึงถึงความเหมาะสมของระบบนิเวศ ตลอดจนอัตลักษณHและวัฒนธรรมพื้นถิ่น

1.8 กระบวนการดำเนินโครงการ 1.8.1 กรอบแนวคิดและหลักการ นิเวศวิทยาภูมิทัศนI (Landscape Ecology) และการวางแผนภูมินิเวศ (Ecological Planning) นิเวศวิทยาภูมิทัศนH (Landscape ecology) เปBนหลักการสหวิทยากรที่บูรณาการระหวEางศาสตรH เชิงทฤษฎีและเชิงประยุกตH ที่ศึกษาระบบความสัมพันธHการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่กับปฏิสัมพันธHระหวEาง ชีวฟ°สิกสHกับระบบสังคมและวัฒนธรรมของมนุษยH โดยให;ความสำคัญกับการวิเคราะหHบทบาทหน;าที่ของ องคHประกอบในระบบนิเวศ3 ทฤษฎีนิเวศวิทยาภูมิทัศนHเน;นบทบาทของผลกระทบของมนุษยHตEอโครงสร;าง และหน;าที่ของภูมิทัศนH นอกจากนี้ยังเสนอแนวทางในการฟ\]นฟูภูมิทัศนHที่เสื่อมโทรม4 ที่มีมนุษยHเปBนป_จจัย ต;นเหตุให;เกิดการเปลี่ยนแปลงในภูมิประเทศและกระทบตEอกระบวนการ (Processes) และบทบาทหน;าที่ (Functions) ดังนั้นสEวนสำคัญของการวิเคราะหHการเปลี่ยนแปลงด;านนิเวศวิทยาภูมิทัศนHประกอบด;วย การวิเคราะหHการเปลี่ยนแปลงการใช;ประโยชนHที่ดินด;วยวิธีการทางภูมิศาสตรHที่เข;มงวด เพื่อทำความเข;าใจ ธรรมชาติ ข องปฏิ ส ั ม พั น ธH (interactions) ระหวE า งกิ จ กรรมของมนุ ษ ยH และกระบวนการของธรรมชาติ และเพื ่ อเข; าใจรวมถึ งอธิ บายแบบแผน (patterns) กระบวนการ (processes) และปฏิ สั มพั นธH เ หลE า นั้ น ที่เกิดขึ้นในอาณาบริเวณที่เปBนพื้นที่ตEอเนื่อง (homogenous areas) ที่สามารถแสดงความขัดแย;งที่เกิดขึ้น ระหวEางกิจกรรมของมนุษยHและกระบวนการของธรรมชาติ5

3

4 5

Ndubisi, F. (2002). Managing Change in the Lanscape: A Synthesis of Approaches for Ecological Planning. Lanscape Journal, 2002, Vol. 21, No. 1 (2002), pp. 138-155. Naveh, Z., Lieberman, A. S. (1994) The Evolution of Landscape Ecology. In: Landscape Ecology. Springer, New York, NY. Ndubisi, 2002. รายงานขั้นต*น

1-9


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

ปรากฏการณHความขัดแย;งระหวEางกิจกรรมของมนุษยHที่มีตEอระบบนิเวศภูมิทัศนHเปBนผลจากการแขEงขัน ในการพัฒนาที่ต;องการขนาดเนื้อที่รองรับกิจกรรมประเภทใดประเภทหนึ่งของมนุษยHมากขึ้น โดยในบริบท ที่พื้นที่มีจำกัด ทำให;เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่ด;านการใช;ประโยชนHที่ดินที่ต;องมีการสูญเสียพื้นที่ที่มีบทบาท หน;าที่หนึ่งไป

ปôาไม;

เกษตรกรรม

ที่อยูEอาศัย / อุตสาหกรรม

ภาพที่ 1- 2 ลักษณะปรากฏการณHความขัดแย;งระหวEางประเภทการใช;ประโยชนHที่ดินที่เกิดการสูญเสีย

ดังนั้นจากทฤษฎีและหลักการทางนิเวศวิทยาภูมิทัศนHที่ทำให;เข;าใจองคHประกอบทางโครงสร;างของ ภู ม ิ ท ั ศ นH (landscape structural elemenmts) บทบาทหน; า ที ่ กระบวนการ และปฏิ ส ั ม พั น ธH ข อง องคH ป ระกอบ จึ ง มี ก ารพั ฒ นานำนิ เ วศวิ ท ยาภู ม ิ ท ั ศ นH ส ู E ก ารวางแผนภู ม ิ น ิ เ วศ (Ecological Planning) เพื่อการจัดการทรัพยากรเพื่อรองรับกิจกรรมของมนุษยH โดยเฉพาะการตั้งถิ่นฐานเปBนชุมชนเมือง ให;เหมาะสม ขึ้น เนื่องจากการวางแผนชุมชนเมืองกระแสหลักในอดีตคEอนข;างช;าในการนำหลักการ ทฤษฎีและแนวคิด ด; า นนิ เ วศวิ ท ยาเปB น ป_ จ จั ย พิ จ ารณาในกระบวนการวางแผนชุ ม ชนเมื อ ง 6 โดยทฤษฎี และระเบี ย บวิ ธี ในการศึกษาการวางแผนชุมชนเมืองที่คำนึงถึงระบบนิเวศอยEางชัดเจนในชEวงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 จากผลงานการออกแบบภูมิสถาป_ตยกรรมของ Frederick Law Omsted และชัดเจนขึ้นหลังทศวรรษ 1960 โดยผลงานเขียนของ Ian McHarg 2 เลEม คือ บทความชื่อ Man and Nature7 และ หนังสือ Design With Nature8 การศึ ก ษาเพื ่ อ ทำความเข; า ใจองคH ป ระกอบเชิ ง พื ้ น ที่ ข องภู ม ิ ท ั ศ นH ใ ช; ว ิ ธ ี ก ารในการวิ เ คราะหH เชE น การจำแนก (recognizing) และการแสดงลักษณะเฉพาะ (characterizing) ของโครงสร;างเชิงปริภูมิของ ภูมิทัศนH และรูปแบบ(pattern) และการสร;างแบบจำลองทางภูมิทัศนHและสภาพแวดล;อมสามารถแยกแยะ แจกแจง สรุปผลในรูปแบบที่เรียบงEายและชัดเจน เพื่อแสดงถึงความสำคัญ บทบาทหน;าที่ ในแบบแผนตEาง ๆ

6

7

8

Leitao, A. B., Ahern, J. (2002). Applying landscape ecological concepts and metrics in sustainable landscape planning. Landscape and Urban Planning, Vol. 59, pp. 65-93. McHarg, I. L. (1963). Man and Nature. In: McHarg, I. L., Steiner, F.R. (Eds.), To Heal the Earth. Island Press: Washington, DC, pp. 10-23. McHarg, I. L. (1969). Design With Nature. Natural Histroy Press: Garden City, NJ. 1-10

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

เชEน เปBนสEวนหรือเปBนตอน (compartment) เปBนชั้น (layer) เปBนต;น โดยการนำการศึกษาในแนวทางของ ภู ม ิ ส ารสนเทศศาสตรH (geographic information science approach) ภู ม ิ ส ารสนเทศ (geographic information) ซึ่งเปBนวิทยาการใหมEที่พัฒนาและปรับปรุงความสามารถในการเก็บรวบรวม เก็บรักษา จัดการ วิเคราะหH และประยุกตHใช;ภูมิสารสนเทศที่เกี่ยวกับภูมิประเทศ ลักษณะสำคัญ และกิจกรรมหรือ ปรากฏการณH ตEางบนพื้นผิวโลกของโครงสร;างเชิงพื้นที่ของภูมิทัศนH9 จากกรอบแนวคิดนิเวศวิทยาภูมิทัศนHที่กำหนดองคHประกอบ โครงสร;าง กระบวนการ บทบาทหน;าที่ และความสัมพันธHขององคHประกอบ สามารถสรุปได;เปBนแผนภูมิที่เปBนกรอบเพื่อการดำเนินงานของโครงการนี้ ได;ดัง ภาพที่ 1- 3 โดยภูมินิเวศมีองคHประกอบหลัก 3 สEวน คือ ภูมิประเทศ ระบบนิเวศธรรมชาติ และระบบ นิเวศเมือง ซึ่งแตEละสEวนมีองคHประกอบยEอยที่มีคุณลักษณะเฉพาะ (Features) ที่สัมพันธHกับปรากฏการณHที่เปBน กระบวนการ เหตุการณH และบทบาทหน;าที่ ที่เชื่อมโยงเชิงระบบที่มีความซับซ;อน เกิดเปBนโครงขEายระบบนิเวศ (Ecological Networks) ที่เปBนพลวัตตEอเนื่อง

ภาพที่ 1- 3 กรอบแนวคิดภูมินิเวศเพื่อการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ

9

ดนัย ทายตะคุ. (2549). โครงสรFางเชิงปริภูมิของภูมิทัศนè กับการวิเคราะหèและการสรFางแบบจำลอง: การทบทวนทางทฤษฎีของกระบวนการ เชิงปริมาณทางภูมินิเวศวิทยา. วารสารวิชาการคณะสถาปîตยกรรมศาสตรè จุฬาลงกรณèมหาวิทยาลัย, สิงหาคม พ.ศ. 2549, pp. 97-101. รายงานขั้นต*น

1-11


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

การวางแผนเชิงพื้นที่เพื่อการพัฒนาที่สมดุล การวางแผนเชิงพื้นที่ในกระแสหลักที่ปฏิบัติกันมาตั้งแตEหลังยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมและหลังสงครามโลก ที่การแยกประเภทการใช;ที่ดินแบบเดี่ยว ใหญE (Single-use zoning) เปBนบริเวณขนาด ที่สEงผลให;เกิดป_ญหา การพัฒนาชุมชนชานเมืองแบบกระจาย และการพึ่งพารถยนตH และแนวทางกระแสหลักนี้ใช;หลักการและ กระบวนการทางวิทยาศาสตรHในการศึกษา วิเคราะหH คาดการณH ที่ได;ผลลัพธHเปBนเปRาหมายความต;องการ ในอนาคต เพื่อใช;ในการจัดการพัฒนาพื้นที่และระดับการให;บริการสำหรับกรณีที่เปBนความต;องการสูงสุด (Maximized Demand) ด;วยการขยายพื้นที่ของเมือง เพื่อให;เมืองมีความสามารถในการรองรับความต;องการ ได;อยEางเพียงพอ แตEขาดการพิจารณาผลกระทบที่จากความขัดแย;งและการแขEงขันในการครอบครองพื้นที่ เพื่อการใช;ประโยชนHที่ดิน ที่มีผลตEอการสูญเสียปริมาณพื้นที่เกษตรกรรมและแหลEงทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึง ลดทอนประสิทธิภาพของการผลิตอาหารและวัตถุดิบในการผลิตทางอุตสาหกรรม ลดทอนคุณภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติ สEงผลให;เกิดความไมEสมดุลและไมEยั่งยืน ทางเลือกของแนวคิดในการวางแผนผังเพื่อให;เกิดความสมดุลที่เปBนป_จจัยสำคัญของความยั่งยืนของ ระบบนิเวศธรรมชาติ และระบบนิเวศเมือง ซึ่งเปBนองคHประกอบของพลวัติของพื้นที่ภูมินิเวศ จึงเปBนแนวคิด ในการวางแผนผังที่เข;าใจระดับความสามารถในการรองรับของทรัพยากรต;นทุนที่มีอยูEในการบริหารจัดการ ความต;องการ (Demand Management) เพื่อกำหนดเปRาหมายที่เกิดจากสมดุลของความสัมพันธHของ 3 สEวน คือ 1) ความต;องการในการพัฒนา จากการศึกษา วิเคราะหH และคาดการณHอนาคต แตEผลลัพธHความต;องการนี้ ยังไมEใช;เปBนเปRาหมายของการวางแผน 2) ความสามารถในการพัฒนา ทั้งของท;องถิ่นนั้น ๆ และความจำเปBน ในการใช;ความสามารถในการพัฒนาจากภายนอกมาเสริม และ 3) ความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ ธรรมชาติและระบบนิเวศเมืองในพื้นที่ภูมินิเวศนั้น ๆ ที่พิจารณาความจำเปBนและความสามารถในการขยาย ความสามารถในการรองรับที่ยังรักษาสมดุลของระบบนิเวศไว;ได;ประกอบด;วย (Error! Reference source n ot found.)

1-12

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

ภาพที่ 1- 4 กรอบแนวคิดการวางแผนเชิงพื้นที่เพื่อการพัฒนาที่สมดุล

1.8.1 วิธีการและขั้นตอนการศึกษา การจั ด วางแผนผั ง ภู ม ิ น ิ เ วศในพื ้ น ที ่ ภ าคเหนื อ ภายใต; ก รอบแนวคิ ด ทฤษฎี น ิ เ วศวิ ท ยาภู ม ิ ท ั ศ นH และการวางแผนเชิงพื้นที่เพื่อการพัฒนาที่สมดุลข;างต;น ประกอบด;วยกระบวนการดำเนินโครงการ 10 ขั้นตอน (ภาพที่ 1- 5) ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาทบทวน หลักทฤษฎี กรอบคิดและวิธีการในการวิเคราะหHและวางแผนผังภูมินิเวศ เพื่อสังเคราะหHกำหนดวิธีการ ขั้นตอน หลักการ และแนวทางการวิเคราะหHข;อมูล สำหรับการจัดทำแผนผัง ภูมินิเวศ และแผนผังความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ภูมินิเวศ และการกำหนดมาตรการ เกณฑHและมาตรฐาน การพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานและการจัดการสิ่งแวดล;อมตามภูมินิเวศ ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาและทบทวนยุทธศาสตรH นโยบาย แผน มาตรการ กฎหมาย กฎ ระเบียบ และข;อมูลที่เกี่ยวข;อง และโครงการพัฒนาด;านตEาง ๆ รวมถึงกระแสการพัฒนาเมืองและการจัดการสิ่งแวดล;อม ที่เกี่ยวข;องกับพื้นที่เปRาหมายและกลุEมเปRาหมาย ในระดับสากล ระดับประเทศ ระดับภาค กลุEมจังหวัด และระดับจังหวัด ขั้นตอนที่ 3 การออกแบบและจัดทำระบบฐานข;อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตรHเพื่อการจัดการ สิ่งแวดล;อมชุมชนของประเทศไทย และ ระบบฐานข;อมูลภูมิสารสนเทศการบริหารจัดการสิ่งแวดล;อมชุมชน บนพื ้ นฐานภู มิ นิ เ วศในพื ้ นที ่ ภาคเหนื อ นำข; อมู ลเข; า สู E ร ะบบจากการศึ กษา สำรวจ และประมวลข; อมู ล ที่ประกอบด;วยข;อมูลด;านกายภาพ สิ่งแวดล;อม แหลEงทรัพยากรธรรมชาติ พันธุHไม;และพืชพรรณ แหลEงน้ำ รายงานขั้นต*น

1-13


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

ประชากร เศรษฐกิจ สังคม การบริการสาธารณะ ระบบสาธารณูประโภคและสาธารณูปการ โครงขEายคมนาคม และการสัญจร โดยมีการจัดการข;อมูลเชิงพื้นที่ ข;อมูลเชิงบรรยาย ที่มีการจัดหมวดหมูEเพื่อการแสดงผลข;อมูล การวิเคราะหHเพื่อการวางผังและการกำหนดตัวชี้วัด การบริหารจัดการ การขับเคลื่อนการปฏิบัติตามแนวทาง ของแผนผัง โดยกระบวนการจัดการระบบฐานข;อมูลนี้จะดำเนินการพัฒนาปรับปรุงตลอดระยะเวลาของ โครงการ เพื่อให;ข;อมูลมีคุณภาพและความครบถ;วนสำหรับการปฏิบัติงานในขั้นตอนตEาง ๆ ขั้นตอนที่ 4 การดำเนิ น กิ จ กรรมสร; า งการมี ส E ว นรE ว มของภาคสE ว นที ่ เ กี ่ ย วข; อ ง โดยการประชุ ม กลุEมยEอย การประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อการกำหนดประเด็นป_ญหาและความต;องการ กำหนดวิสัยทัศนH แนวทางการจัดการการใช;พื้นที่ภูมินิเวศระดับภาคและระดับจังหวัด และการประชุมรับฟ_งความคิดเห็น ตEอรEางแผนผังภูมิเนิวศ และรEางแผนผังความเหมาะสมในการใช;ประโยชนHพื้นที่ภูมินิเวศ ขั้นตอนที่ 5 กำหนดแนวความคิด และวิธีการในการวิเคราะหH สังเคราะหH และจัดวางแผนผังภูมินิเวศ และแผนผังความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ภูมินิเวศ โดยสังเคราะหHกรอบแนวคิด ทฤษฎี สถานการณHของ ปรากฏการณHด;านตEาง ๆ ที่เกี่ยวข;องกับระบบภูมินิเวศและการพัฒนาพื้นที่ในพื้นที่เปRาหมาย ขั้นตอนที่ 6 การวิเคราะหHและสังเคราะหHข;อมูลเพื่อประเมินความสัมพันธH บทบาท และคุณคEาของ ระบบภูมินิเวศในพื้นที่เปRาหมาย วิเคราะหHความต;องการของกิจกรรมในอนาคต ความสามารถในการพัฒนา ของท;องถิ่นและภาคสEวนที่เกี่ยวข;อง ความเหมาะสมของพื้นที่ภูมินิเวศสำหรับกิจกรรมประเภทตEาง ๆ ความสามารถในการรองรั บ ตามศั ก ยภาพของทรั พ ยากรในพื ้ น ที ่ ประเมิ น ระดั บ ความสมดุ ล ระหวE า ง ความต;องการในการพัฒนาในอนาคต ความสามารถในการพัฒนาของภาคสEวนที่เกี่ยวข;อง ความเหมาะสมของ พื้นที่ และความสามารถในการรองรับ เพื่อกำหนดประเภทและขอบเขตพื้นที่ภูมินิเวศและความเหมาะสม ในการใช;พื้นที่ภูมินิเวศของพื้นที่เปRาหมาย ขั้นตอนที่ 7 การวางแผนและจัดวางผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ และแผนและผังความเหมาะสม ในการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศอยEางยั่งยืนรายจังหวัด 9 จังหวัด ขั้นตอนที่ 8 จัดทำแนวทางการขับเคลื่อนและผลักดันการนำแผนผังภูมินิเวศพื้นที่ภาคเหนือไปสูE การปฏิ บ ั ต ิ เพื ่ อ ให; บ ั ง เกิ ด ผลอยE า งเปB น รู ป ธรรม โดยการมี ส E ว นรE ว มของภาคสE ว นที ่ เ กี ่ ย วข; อ ง พร; อ มทั้ ง ข;อเสนอแนะการพัฒนาเครื่องมือ กลไก แหลEงงบประมาณ มาตรการจูงใจ ตลอดจนงานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรมที่เหมาะสม เพื่อสนับสนุนให;ภาคสEวนที่เกี่ยวข;องนำแผนผังภูมินิเวศไปใช;เปBนกลไกขับเคลื่อน ในการวางแผนการพัฒนาและใช;ประโยชนHทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อมได;อยEางมีประสิทธิภาพ (CoCreation: Build) ขั้นตอนที่ 9 ถEายทอดความรู;การจัดการข;อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการแผนผังภูมินิเวศของ พื้นที่ ภาคเหนือให;แกEหนEวยงานและภาคสEวนที่เกี่ยวข;อง (Co-Creation: Discover)

1-14

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

ขั้นตอนที่ 10 จัดทำสื่อเพื่อการเรียนรู;และสื่อสารถEายทอด ประกอบด;วย ชุดนิทรรศการ หนังสือ อิเล็กทรอนิกสH (E-book) วิดีทัศนH รวมทั้งการเผยแพรEประชาสัมพันธHในชEองทางที่เหมาะสม เพื่อเสริมสร;าง วัฒนธรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ

ภาพที่ 1- 5 กระบวนการศึกษา วิเคราะหH สังเคราะหH เพื่อการวางแผนผังภูมินิเวศ และแผนผังความเหมาะสมในการใช;พื้นที่

รายงานขั้นต*น

1-15


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

1.8.2 แนวทางการวิเคราะหI การวิเคราะหIพื้นที่ที่มีความเหมาะสม (Land Suitability Analysis) Ian McHarg ได; เ ขี ย นหนั ง สื อ ชื ่ อ Design with Nature10 อธิ บ ายเกี ่ ย วกั บ การวิ เ คราะหH พ ื ้ น ที ่ ท ี ่ มี ความเหมาะสมในการพัฒนาและการตั้งถิ่นฐานของผู;คน โดยใช;แนวคิดการอธิบายภูมิศาสตรHวEาเปBนพื้นที่ที่มี คุ ณ คE า มากน; อ ยตE า งกั น ในด; า นทรั พ ยากรธรรมชาติ ด; า นสั ง คม และด; า นสุ น ทรี ย ภาพ แตE ล ะด; า นนั้ น มี อ งคH ป ระกอบอี ก หลายประเภทที ่ จ ะได; ร ั บ การประเมิ น คุ ณ คE า และจั ด ลำดั บ ความสำคั ญ เชE น ด; า นทรั พ ยากรธรรมชาติ ป ระกอบด; ว ยทรั พ ยากรน้ ำ ทรั พ ยากรดิ น และทรั พ ยากรอากาศ ถ; า พิ จ ารณา เรื่องทรัพยากรดินก็จะมีลักษณะของดินหลายด;านที่ต;องพิจารณา เชEน ความลาดชัน ลักษณะทางธรณีวิทยา ลักษณะทางปฐพีวิทยา การระบายน้ำของดิน และการพังทลายของดิน ลักษณะของดินแตEละด;านก็จะมี ประเภท/คุณสมบัติที่มีคุณคEา/ระดับความเหมาะสมในการพัฒนาตEางกัน เชEน ความลาดชันของผิวดินอาจจัด แบEงเปBนชEวงชั้น 3 กลุEมที่มีผลตEอการพัฒนาพื้นที่ ได;แกE ความลาดชันมากกวEา 10% ความลาดชันระหวEาง 2- 10% และความลาดชันน;อยกวEา 2% McHarg .แสดงระดับที่แตกตEางนี้โดยการลงสีอEอนสีเข;มตามลำดับ เปBนโซนบนแผนที่ซึ่งวาดบนกระดาษไข แผนที่แตEละแผEนแสดงลักษณะแตEละเรื่องที่เกี่ยวข;องในการพัฒนา โดยอาจให;สีเข;มกวEาหมายถึงระดับที่ไมEเหมาะสมตEอการพัฒนามากกวEา ดังนั้นจึงมีแผนที่แสดงลักษณะ หลายด;านแล;วแตEการพิจารณานำมาใช; แล;วนำแผนที่ที่มีมาซ;อนทับกัน (Overlay Technique) เพื่อหาพื้นที่ ที่มีสีอEอนกวEาซึ่งแสดงถึงพื้นที่ที่เหมาะสม วิธีการนี้ยังใช;กับการประเมินคุณคEาด;านสังคมและเศรษฐกิจด;วย โดยจัดแบEงพื้นที่ในแผนที่ออกเปBนโซนตามระดับความสำคัญของคุณคEาด;านตEาง ๆ เชEน ราคาที่ดิน ประเภท ของพื้นที่น้ำทEวมถึง คุณคEาทางประวัติศาสตรH คุณคEาความงามของภูมิทัศนH การเปBนพื้นที่นันทนาการ พื้นที่น้ำ พื้นที่ปôาไม; พื้นที่อยูEอาศัยของสัตวH ราคาบ;านพักอาศัย และการเปBนพื้นที่ของสถาบันสำคัญ วิธีการวิเคราะหHพื้นที่ที่มีความเหมาะสมด;วยการซ;อนทับข;อมูลของ McHarg นี้ แสดงข;อมูลเชิงคุณภาพ มากกวEาข;อมูลเชิงปริมาณ ซึ่งตEอมาได;พัฒนาจากการวาดโซนแบEงระดับความสำคัญของคุณคEาด;านตEาง ๆ ด;วย การลงเส;นตารางกริดบนแผนที่เพิ่มเติม โดยขนาดของตารางก็ขึ้นอยูEกับความต;องการแสดงความละเอียดของ ข;อมูล แล;วจึงลงตัวเลขแสดงระดับคุณคEาความสำคัญของพื้นที่เปBนข;อมูลเชิงปริมาณแทนการลงสีเข;มสีอEอนบน ชE อ งกริ ด อาจใช; ต ั ว เลขคE า น; อ ยแสดงคุ ณ คE า ความเหมาะสมน; อ ย และใช; ต ั ว เลขคE า มากแสดงคุ ณ คE า ความเหมาะสมมาก แล;วนำแผนที่ที่มีคEาตัวเลขมาซ;อนกันและคำนวนหาผลรวมของคุณคEาในแตEละชEองตาราง พื้นที่ตารางที่มีคEาคะแนนมากกวEาก็แสดงวEามีความเหมาะสมในการพัฒนามากกวEา ตารางที่อยูEบนแผนที่ ทำหน;าที่คล;ายตะแกรงรEอนแยกพื้นที่ที่ไมEเหมาะสมออกไป บางครั้งจึงเรียกวEา Sieve Analysis หรือ Sieve Mapping โดยตEอมาได;มีการพัฒนาเพิ่มคEาน้ำหนักในตารางตามความสำคัญของคุณคEาแตEละด;านเปBนวิธีการ ที ่ เ รี ย กวE า Potential Surface Analysis (PSA) ซึ ่ ง ป_ จ จุ บ ั น PSA ได; ใ ช; ร ะบบสารสนเทศทางภู ม ิ ศ าสตรH

10

McHarg, I. L. (1971). Design with Nature. USA: Doubleday/Natural History Press. 1-16

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

ชEวยจัดการทั้งข;อมูลเชิงแผนที่และข;อมูลเชิงบรรยายรายละเอียดในการวิเคราะหHความเหมาะสมของพื้นที่ด;วย กระบวนการทางเลขคณิตหรือตรรกศาสตรHได;อยEางมีประสิทธิภาพ

ภาพที่ 1- 6 แสดงวิธีการซ;อนทับข;อมูล (Overlay Technique) 11

11

Dalgamoni, Nermeen. (2014). Reading Sites: A Framework toward Comprehensive Site Analysis Teaching Strategies. รายงานขั้นต*น

1-17


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

ภาพที่ 1- 7 แสดงวิธีการ Potential Surface Analysis (PSA) 12

การวิเคราะหHพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเปBนการวิเคราะหHข;อมูลเชิงพื้นที่ มีเปRาหมายเพื่อหาพื้นที่ที่มี ความเหมาะสมตEอการใช;พื้นที่ภูมินิเวศเพื่อรองรับกิจกรรมประเภทตEาง ๆ เพื่อนำไปใช;ในการวางแผนผังตEอไป ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้ จะใช;วิธีการวิเคราะหHศักยภาพพื้นที่ ซึ่งจะใช;ข;อมูลกายภาพป_จจุบันของพื้นที่ศึกษา เปBนหลัก โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. หลักการและแนวทางการวิเคราะหI 1.1. พื้นที่ที่มีขFอจำกัดในการรองรับการพัฒนา การวิเคราะหHพื้นที่ที่มีข;อจำกัดในการรองรับการพัฒนา (Vulnerability of Urban Development Area) โดยทำการประเมินป_จจัยที่เกี่ยวข;องด;านกายภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม แหลEงประวัติศาสตรH และวัฒนธรรม และโครงสร;างพื้นฐาน ที่มีผลตEอการใช;ประโยชนHที่ดินพื้นที่วางผัง ซึ่งเปBนพื้นที่ที่ไมEสามารถ จะนำพื้นที่เหลEานี้มาพัฒนาได; จึงสมควรกันออกตั้งแตEแรก เราเรียกพื้นที่ดังกลEาวนี้วEา พื้นที่กันออก (Restrictive

12

วรรณศิ ล ปñ พี ร พั น ธุè . (2006). การวิ เ คราะหè ศ ั ก ยภาพในการพั ฒ นาของพื ้ น ที่ Potential Surface Analysis. เขF า ถึง เมื ่ อ 17 มกราคม 2565 จาก http://pioneer.chula.ac.th/~pwannasi/psa.pdf 1-18

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

Area หรือ Veto) ซึ่งเปBนพื้นที่ทั้งในแงEข;อจำกัดทางกายภาพ (Physical Constraint) และทางกฎหมาย (Legal Constraint) ซึ่งจะถูกนำไปซ;อนทับกับผลจากการวิเคราะหHศักยภาพด;านกายภาพที่เหมาะสมตEอการพัฒนา 1.2. พื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนา การวิเคราะหHเชิงพื้นที่ เปBนการวิเคราะหHในเชิงพื้นที่เพื่อหาวEาพื้นที่บริเวณใดมีข;อจำกัด และพื้นที่บริเวณ ใดมีศักยภาพทางด;านกายภาพในรองรับกิจกรรมที่เกิดจากการพัฒนา เชEนการใช;พื้นที่ภูมินิเวศเพื่อการเกษตร พื้นที่พัฒนาเมือง และพื้นที่อุตสาหกรรม ตามความเหมาะสมของสภาพกายภาพของพื้นที่ ในการวิเคราะหHความเหมาะสมของพื้นที่ในการรองรับกิจกรรมเปRาหมายในอนาคต เพื่อนำไปสูEการวาง แผนผังภูมินิเวศและแผนผังความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ภูมินิเวศ ประเด็นที่มีความสำคัญ คือ การวิเคราะหH ความเหมาะสมของพื้นที่ในการกำหนดที่ตั้งกิจกรรมตEาง ๆ ที่จะนำผลที่ได;ไปสูEการออกแบบผังรEางของการใช; พื้นที่ภูมินิเวศในขอบเขตพื้นที่วางผัง การวิเคราะหHในที่นี้จะอิงบนการทำงานด;วยระบบภูมิสารสนเทศ (Geographic Information System : GIS) เปB น หลั ก เนื ่ อ งจากเปB น เทคโนโลยี ท ี ่ ม ี ค วามเหมาะสม มีความสะดวก รวดเร็ว และแมEนยำ ให;ผลการวิเคราะหHที่สามารถเห็นภาพในเชิงพื้นที่ได;อยEางชัดเจน โดยใช; ข;อมูลแผนที่ฐานที่ได;มีการจัดเก็บในระบบภูมิสารสนเทศนำมาวิเคราะหHศักยภาพของพื้นที่เปBนการพิจารณาถึง ความพร;อมของพื้นที่ในการใช;ประโยชนHที่ดิน เพื่อกิจกรรมตEาง ๆ อันเปBนแนวทางในการเลือกทำเลที่ตั้ง (Location) ของกิจกรรมการใช;ประโยชนHที่ดินภายในชุมชน ในที่นี้ได;ใช;เทคนิค Potential Surface Analysis (PSA) ซึ่งเปBนวิธีการคำนวณพื้นที่อยEางหนึ่ง เพื่อจะได;ให;ทราบวEาบริเวณใดของพื้นที่วางผังสมควรจะได;รับ การพัฒนาเปBนอันดับแรกและรองลงไป โดยคำนึงถึงป_จจัย (Factors or Criteria) ตEาง ๆ โดยมีหลักการเบื้องต;น อันประกอบด;วย 1) การกำหนดป_จจัยเชิงพื้นที่ตEาง ๆ (Evaluation Criteria) ที่จะเปBนตัวกำหนดแหลEงที่ตั้งของ กิจกรรม 2) วัดคEาระดับความสำคัญของป_จจัย (Scale of Measurement) เหลEานี้เปBนตัวเลขด;วยระบบ ภูมิสารสนเทศ และ 3) แสดงคEาของป_จจัยลงบนแผนที่ (Generating Criterion Maps) ตัวเลขที่แสดงบนแผนที่จะมีคEาสูง-ต่ำตามที่วัดได; ทำให;ทราบวEาบริเวณใดบนพื้นที่มีศักยภาพสูง-ต่ำ อยE า งไรบ; า ง เมื ่ อ ทราบระดั บ ศั ก ยภาพตามบริ เ วณตE า ง ๆ แล; ว ทำให; ส ามารถมุ E ง ความสนใจและศึ ก ษา ในรายละเอียดเพื่อพัฒนาตามวัตถุประสงคHที่วางไว;ได;อยEางถูกต;อง โดยวิธี PSA เปBนเทคนิคที่ต;องคำนวณ ตัวเลขจำนวนมาก อีกทั้งเพื่อความคลEองตัวจึงใช;คอมพิวเตอรHชEวยในการวิเคราะหHด;วยการประยุกตHใช;ระบบ ภูมิสารสนเทศซึ่งจะทำให;รวดเร็วและถูกต;องมากยิ่งขึ้น

รายงานขั้นต*น

1-19


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

ภาพที่ 1- 8 แสดงการวิเคราะหHพื้นที่เพื่อศักยภาพที่มีความเหมาะสมตEอการพัฒนาด;านตEาง ๆ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ

2. เทคนิคการวิเคราะหIแบบ Potential Surface Analysis : PSA การวิเคราะหHแบบ PSA มีข;อได;เปรียบเทคนิคการซ;อนทับพื้นที่แบบดั้งเดิม (Overlay technique) หรือ ตEอมาประยุกตHเปBนวิธีแบบ Sieve Analysis 3 ประการ คือ 2.1. เทคนิคการวิเคราะหHแบบนี้ไมEได;วางอยูEบนหลักเกณฑHของการคัดพื้นที่ดีหรือเลว แตEทุก ๆ พื้นที่ ในระดับอนุภาคจะมีคEาคะแนน และมีการแบEงระดับ 2.2. ป_จจัยที่ได;รับการเลือกนั้นเปBนการเน;นถึงการใช;วิธี Weighting System โดยใช;หลักการ Multiple Criteria Decision Model (MDCM) นำมาสร;างแบบจำลองแบบเทียบน้ำหนัก (Pairwise Comparison Method) ทำให;คEาคะแนนความสำคัญของตัวแปรที่ใช;ในการศึกษาตามเกณฑHที่กำหนดขึ้นด;วย วิธีการศึกษาใช;เทคนิคการวิเคราะหHแบบมีหลายป_จจัย ซึ่งทำให;แบบจำลองแบบเทียบน้ำหนัก มีความสมบูรณHและความนEาเชื่อถือ 2.3. เกี่ยวกับการให;คEาน้ำหนัก เทคนิควิเคราะหHแบบนี้สามารถเปลี่ยนแปลงป_จจัยที่ใช;วัดเมื่อมี การเปลี่ยนศักยภาพหรือข;อสมมุติฐานด;านนโยบายเปลี่ยนแปลงไป หลักการที่สำคัญของ PSA คือการให;คEาน้ำหนักของป_จจัยตEาง ๆ โดยที่การให;คEาน้ำหนักจะแสดงให;เห็น ถึงความสัมพันธHระหวEางวัตถุประสงคHกับทางเลือก (Decision Rules) ทำให;ผู;ศึกษาทราบวEา เมื่อวัตถุประสงคH ข;อใดมีความสำคัญมาก ผลที่เกิดขึ้นกับการศึกษาจะเปBนอยEางไร สมการที่ใช;ในการศึกษาคือ Simple Additive Weighting Methods (SAW) มีสมการดังนี้ S = W1(X1) + W2(X2) + W3(X3) + . . . . + Wn(Xn) เมื่อ S คือ ระดับคúาคะแนนรวมแสดงศักยภาพของพื้นที่ Wn คือ คúาคะแนนรวมแสดงความสำคัญของปîจจัยที่ n (Weight) Xn คือ คúาคะแนนความเหมาะสมของชúวงปîจจัยที่ n (Criteria Score)

1-20

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

ภาพที่ 1- 9 แสดงกรอบแนวคิดการวิเคราะหHเชิงพื้นที่เพื่อสนับสนุนกระบวนการตัดสินใจ

การวิเคราะหHความเหมาะสมของพื้นที่จะใช;วิธีการ Potential Surface Analysis : PSA เปBนเครื่องมือ ในการคำนวณหาศักยภาพของพื้นที่เพื่อจะทราบวEาบริเวณใดที่สมควรจะได;รับการพัฒนาเปBนอันดับแรก และรอง ๆ ลงไปโดยจำแนกพื้นที่ออกเปBน 5 ประเภท คือ 1. พื้นที่ที่มีความเหมาะสมมากที่สุด เปùนพื้นที่ที่มีศักยภาพดFานกายภาพ เพื่อการพัฒนาพื้นที่ประเภทตúาง ๆ มากที่สุด เชúน ถFาเปùนพื้นที่พัฒนาทางดFานอุตสาหกรรมก็จะเปùนพื้นที่ที่มีความสะดวกในการเขFาถึงที่ดี

รายงานขั้นต*น

1-21


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

2. 3.

4.

5.

มีแหลúงน้ำที่เพียงพอ เปùนพื้นที่ที่ไมúกúอใหFเกิดผลกระทบกับสภาพแวดลFอม และตั้งอยูúในความเสี่ยงตúอ การเกิดภัยตúอธรรมชาติต่ำ เปùนตFน พื้นที่ที่มีความเหมาะสมมาก เปùนพื้นที่ที่มีศักยภาพดFานกายภาพเพื่อการพัฒนาพื้นที่ประเภทตúาง ๆ รองลงมาจากมากที่สุด พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง เปùนพื้นที่ที่มีความเหมาะสมตúอการพัฒนา แตúเนื่องจากอยูúภายใตF ขFอจำกัดทางดFานกายภาพของพื้นที่ในการพัฒนา ซึ่งขFอจำกัดใน การพัฒนาที่มีความรุนแรงไมúมากสามารถ พิจารณาไดFเปùนกรณีไป พื้นที่ที่มีความเหมาะสมนFอย เปùนพื้นที่ที่ขFอจำกัดดFานกายภาพตúอการพัฒนามีความรุนแรงมาก เชúน เปùนพื้นที่ที่มีความสะดวกในการเขFาถึงนFอย ขาดแคลนน้ำอยúางรุนแรง เปùนพื้นที่ที่กúอใหFเกิดผลกระทบกับ สภาพแวดลFอม ตั้งอยูúในความเสี่ยงตúอการเกิดภัยตúอธรรมชาติคúอนขFางมาก เปùนตFน พื้นที่ที่มีความเหมาะสมนFอย เปùนพื้นที่ที่ขFอจำกัดดFานกายภาพตúอการพัฒนามีความรุนแรงมากที่สุด เชúน เปùนพื้นที่ที่หúางจากการใหFบริการดFานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ตั้งอยูúในพื้นที่เสี่ยงตFองการเกิดน้ำทúวม ซ้ำซาก เปùนตFน

ที่มา: Malczewski, 199913 ภาพที่ 1- 10 แสดงลำดับขั้นตอนการวิเคราะหHศักยภาพพื้นที่เพื่อรองรับการพัฒนา

13

Malczewski, J. (1999). GIS and Multicriteria Decision Analysis. New York: John Wiley. 1-22

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

จากการวิเคราะหHพื้นที่ที่มีศักยภาพในการรองรับการพัฒนาในอนาคตของพื้นที่ โดยมีแนวคิดการพัฒนา ด;านประเภทของการใช;พื้นที่ภูมินิเวศ คือ การพัฒนาบนพื้นที่ที่มีศักยภาพด;านกายภาพและเหมาะสมตEอ การพัฒนา ไมEวEาจะเปBนพื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่เพื่อการพัฒนาเมือง และพื้นที่เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม โดยควบคุมการพัฒนาไมEให;การพัฒนาขยายตัวเข;าไปยังพื้นที่อนุรักษHทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม ซึ่งพื้นที่ดังกลEาวจะถูกกันออก (Restrictive Area) และไมEสามารถจะนำพื้นที่เหลEานี้มาพัฒนาได; 3. การกำหนดปÄจจัยในการวิเคราะหIศักยภาพพื้นที่ (Determining Factors) ป_จจัย (Factors) ที่ใช;ในการวิเคราะหHศักยภาพเพื่อการพัฒนา (Development Potential) ของพื้นที่ ในลักษณะที่เปBนตัวกำหนดที่ตั้ง (Location) ที่เหมาะสมของกิจกรรมแตEละประเภทได;กำหนดดังตEอไปนี้ 3.1. การวัดคEาป_จจัย (Rating and Scaling Factors) จากป_จจัยตEาง ๆ ที่ได;กลEาวมาแล;ว นำมาให;คEา ตามเกณฑHหรือดัชนีการวัดที่กำหนดไว;ในแตEละป_จจัยออกมาเปBนตัวเลข เมื่อได;คEาตัวเลขของป_จจัย ตEาง ๆ แล;ว แสดงคEาลงบนกริดในแผนที่ แตEเนื่องจากคEาที่วัดนี้อาจจะมีหนEวยหรือชEวงคะแนนที่ตEางกัน จึงต;องปรับคEาของทุกป_จจัยให;อยูEในชEวงคะแนนเดียวกัน (Normalization) ในการศึกษาครั้งนี้ใช;ชEวง คะแนน 0-5 3.2. การกำหนดคEาน้ำหนักของป_จจัย (Criterion Weighting) หลังจากกำหนดป_จจัยและวัดคEาของป_จจัย โดยปรับคEาของทุกป_จจัยให;อยูEในชEวงคะแนนเดียวกัน (0-5) ขั้นตอนตEอไปเปBนการให;คEาน้ำหนักของ แตEละป_จจัยสำหรับการใช;ที่ดินแตEละประเภท โดยป_จจัยใดมีความสำคัญมากก็ได;รับคEาน้ำหนักมาก (คูณคEาป_จจัยด;วยตัวเลขที่มีคEาสูง) และป_จจัยใดมีความสำคัญน;อยก็ได;รับ คEาน้ำหนักน;อย (คูณคEา ป_จจัยด;วยตัวเลขที่มีคEาต่ำกวEา) 3.3. การให; ค E า น้ ำ หนั ก ของป_ จ จั ย (Estimating Weighting) ซึ ่ ง สามารถพิ จ ารณาหาคE า น้ ำ หนั ก ของ แตEละป_จจัยได;หลายวิธีเชEน § Ranking Method เปBนวิธีการประเมินคEาน้ำหนักของป_จจัยที่งEายที่สุด โดยผู;ทำการประเมิน จะทำการเรียงลำดับความสำคัญของป_จจัยที่มีความสำคัญมากที่สุดไปน;อยที่สุด แตEจะมีข;อเสีย กรณีที่มีป_จจัยมาก ๆ จะทำให;กระบวนการตัดสินใจเกิดความเบี่ยงเบน หรือมีอคติได; § Rating Methods ผู ; ทำการประเมิ นต; องจั ดสรรคE าน้ ำหนั กความสำคั ญ (The Point Allocation) แตEละป_จจัยจากระดับคEาคะแนนที่ถูกกำหนดไว;เปBนหลักเกณฑH เชEน คEาคะแนน 0-100 การให; คะแนนความสำคั ญแกE ป_ จจั ยไมE อยู E บนพื ้ นฐานของหลั กเหตุ และผลเทE าที ่ ควร ถ; าหากผู ; ทำ การประเมินไมEเข;าใจและทราบถึงสถานการณHของป_จจัยตEาง ๆ ที่นำมาพิจารณามากพอสมควร การประเมินจะเกิดความเบี่ยงเบนมาก § Pairwise Comparison Method เทคนิ ค กระบวนการตั ด สิ น ใจแบบมี ล ำดั บ ขั ้ น (Analytic Hierarchy Process : AHP) เปB นเทคนิ คที ่ ม ี ประสิ ทธิ ภาพในการตั ด สิ น ใจประเด็ น ป_ ญ หาที ่ มี ความซับซ;อนให;มีความงEายยิ่งขึ้น มีความสมเหตุสมผล และสะท;อนความเปBนจริงภายใต;เกณฑH ที่นำมาใช;ในการตัดสินใจ โดยแบEงองคHประกอบของป_ญหาออกเปBนสEวนๆ ในรูปของแผนภูมิ

รายงานขั้นต*น

1-23


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

ลำดับชั้น แล;วกำหนดคEาของการวินิจฉัยโดยการเปรียบเทียบป_จจัยตEาง ๆ เปBนคูEและนำคEา เหลEานั้นมาคำนวณเพื่อพิจารณาป_จจัยที่มีความสำคัญที่สุด 4. การตัดสินใจ (Alternative) เปBนกระบวนการคัดทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับเปRาหมายหนึ่ง ๆ กระบวนการตัดสินใจที่มีระบบจะต;อง อาศัยหลักเกณฑH (criteria) ที่สามารถวัดและประเมินผลได; เปBนพื้นฐานในการตัดสินใจ หลักเกณฑHดังกลEาว อาจมีลักษณะเปBนข;อจำกัด (constraint) ที่เปBนตัวจำกัดทางเลือก เชEน เขตอนุรักษHพันธุHสัตวHปôา เปBนข;อจำกัด ไมEให;เกษตรกรสามารถใช;ที่ประโยชนHที่ดินเพื่อการเกษตร เปBนต;น หลักเกณฑHอีกประเภทหนึ่ง เปBนป_จจัย ประกอบการตัดสินใจ (decision variable) ซึ่งเปBนตัวแปรที่เพิ่มหรือลดระดับความเหมาะสมของทางเลือก สำหรับเปRาหมายนั้น หลักเกณฑHประเภทนี้สามารถวัดออกมาเปBนคEาตEอเนื่องได; เชE น คE าความสู ง ต่ ำของ ภูมิประเทศ เปBนหลักเกณฑHหนึ่งที่กำหนดความเหมาะสมของพื้นที่ในการตั้งถิ่นฐานหรือการพัฒนาพื้นที่ เปBนต;น เนื่องจากกระบวนการตัดสินใจที่เกี่ยวข;องกับการวางและจัดทำผังเมือง มักประกอบด;วยหลักเกณฑH เปBนจำนวนมาก ซึ่งมีทั้งข;อจำกัด และป_จจัยที่เปBนคEาตEอเนื่อง จึงจำเปBนต;องมีกฎเกณฑHสำหรับตัดสินใจ (Decision rule) ในการประเมินการตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑH (Multiple Criteria Decision Making : MCDM) ผลลัพธHที่ได; เปBนคEาดัชนีแสดงลำดับความสำคัญหรือความเหมาะสม ของทางเลือกแตEละทางเลือก วิธีการที่พัฒนาขึ้นสำหรับสร;างกฎเกณฑHในการตัดสินใจเปBนวิธีการวิเคราะหHกระบวนการตัดสินใจ แบบมีสEวนรEวม และไมEต;องการข;อมูลและองคHความรู;เกี่ยวกับป_ญหานั้น ๆ อยEางสมบูรณH จึงเหมาะสำหรับ นำมาประยุกตHใช;กับการประเมินทางเลือกในการจัดการเชิงพื้นที่ ซึ่งมักประสบกับป_ญหาที่ไมEมีโครงสร;าง ชัดเจน โดยการแตกป_ญหาออกมาเปBนสEวนๆ แล;วจัดโครงสร;างของป_ญหาที่ต;องการตัดสินใจให;เปBนระดับชั้น (Hierarchy) โดยมีวัตถุประสงคHอยูEระดับชั้นสูงสุด ตามด;วยวัตถุประสงคHยEอย (ถ;ามี) หลักเกณฑH และทางเลือก เปBนระดับชั้นที่ยEอยลงมาตามลำดับ การกำหนดโครงสร;างของป_ญหาตลอดจนการประเมินทางเลือก ดำเนินการ โดยผู;ที่มีสEวนรEวมในการตัดสินใจ ผู;ชำนาญการ และผู;มีประสบการณHในงานที่เกี่ยวข;องกับป_ญหาดังกลEาว การประชุมระดมความเห็น เพื่อคำนวณคEาถEวงน้ำหนัก (weight) ของแตEละหลักเกณฑH 5. การแสดงค]าของปÄจจัยลงบนแผนที่ การวางแผนทางการใช;พื้นที่ภูมินิเวศเพื่อกิจกรรมประเภทตEาง ๆ ต;องการข;อมูลเชิงพื้นที่เปBนอยEางมาก เพราะสามารถระบุการกระจายตัวของทรัพยากรและโครงการสร;างพื้นฐานที่มีอยูEในพื้นที่เปRาหมาย การวิเคราะหH ข;อมูลเชิงพื้นที่ สามารถนำไปสูEการระบุป_ญหาและแหลEงต;นตอของป_ญหา ผลการวิเคราะหHที่ได;นำไปสูE กระบวนการในการจั ด สรรโครงการพั ฒ นาตลอดจนทรั พ ยากรและงบประมาณ ไปยั ง บริ เ วณที ่ ม ี ล ำดั บ ความสำคัญต;น ๆ ได;อยEางถูกต;องตEอไป ในการวิเคราะหHข;อมูลเชิงพื้นที่ที่ผEานมา มีข;อจำกัดที่สำคัญคือการจัดการและวิเคราะหHเชิงพื้นที่ เนื่องจากนำมาจากแหลEงข;อมูลที่ตEางกัน ทำให;มีมาตราสEวนและรายละเอียดแตกตEางกัน การนำข;อมูลเหลEานี้ 1-24

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

มาวิเคราะหHเชิงซ;อนทับ (Overlay analysis) เพื่อค;นหาความสัมพันธHระหวEางตัวแปรเชิงพื้นที่ ทำได;ไมEงEายนัก ใช;เวลานาน และทำให;ความถูกต;องของผลการวิเคราะหHลดลง ดังนั้น นอกจากต;องการระบบจัดการข;อมูล เชิงพื้นที่ที่ดีแล;วการวิเคราะหHเชิงพื้นที่ยังต;องการระบบที่สามารถอำนวยความสะดวกในการวิเคราะหHข;อมูล เชิงพื้นที่ ชEวยในการเลือกพื้นที่เปRาหมาย และสามารถเรียกชั้นข;อมูลเชิงพื้นที่ใด ๆ มาวิเคราะหHรEวมกัน เพื่อหา ความสัมพันธHของตัวแปรดังกลEาวได;

ภาพที่ 1- 11 แสดงการวิเคราะหHข;อมูลแบบซ;อนทับ (Overlay Technique)

ในป_จจุบัน ข;อมูลเชิงพื้นที่ได;รับการพัฒนาอยEางเปBนระบบ ตามความก;าวหน;าอยEางรวดเร็วของ เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ ทั้งในด;านฮารHดแวรH ซอฟตHแวรH และลักษณะของข;อมูล คือ ระบบสารสนเทศ ทางภูมิศาสตรH (Geographic Information System, GIS) การประมวลผลข;อมูลภาพจากระยะไกล (Remote Sensing and Image Processing) และระบบกำหนดพิ ก ั ด ด; ว ยสั ญ ญาณดาวเที ย ม (Global Positioning System, GPS) เทคโนโลยีดังกลEาวเริ่มมีบทบาทมากขึ้น ในการเก็บรวบรวม นำเข;า วิเคราะหH และแสดงผล ข; อ มู ล เชิ ง พื ้ น ที ่ เมื ่ อ นำไปเชื ่ อ มโยงกั บ การจำลองสถานการณH (Modeling and Simulation) สามารถ ที่จะพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ในการวางแผนผังเชิงพื้นที่ได; 1.8.3 กระบวนการมีส]วนร]วม จุดมุ]งหมายของการมีส]วนร]วม 1) แลกเปลี่ยนและรวบรวมข;อมูล 2) แลกเปลี่ยนและรับฟ_งความคิดเห็นอยEางรอบด;าน รายงานขั้นต*น

1-25


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

3) สร;างเครือขEายและประสานความรEวมมือ 4) หารือเพื่อกำหนดวิสัยทัศนHรEวม 5) หารือเพื่อกำหนดบทบาทหน;าที่ กลุ]มผู*มีส]วนได*เสีย คณะทำงานได;ออกแบบกระบวนการมีสEวนรEวมให;สามารถเข;าถึงผู;มีสEวนได;เสียในพื้นที่เมืองเปRาหมาย ทุกกลุEมเหลEาอยEางครอบคลุม จากกรอบกลุEมเปRาหมายที่กำหนดโดยโครงการฯ ประกอบด;วย หนEวยงาน ราชการ องคHกรปกครองสEวนท;องถิ่น สถาบันการศึกษา องคHกรพัฒนาเอกชน ชุมชน และภาคเอกชน สามารถ ระบุประเภทผู;มีสEวนได;เสียที่สัมพันธHกับพื้นที่โครงการไว;ทั้งสิ้น 10 ประเภทยEอย ได;แกE 1) หนEวยงานราชการสEวนกลางและสEวนภูมิภาค 2) องคHกรปกครองสEวนท;องถิ่น 3) สถาบันการศึกษา และนักวิชาการ 4) วัด และผู;ครอบครองอาคารสถานที่มีคุณคEาทางประวัติศาสตรHและโบราณคดี 5) ผู;ประกอบการ/นักธุรกิจ/วิสาหกิจเริ่มต;น 6) ปราชญHชาวบ;าน ศิลป°นท;องถิ่น และชEางพื้นบ;าน 7) ชุมชนและผู;อยูEอาศัยในพื้นที่เมือง 8) ผู;ใช;บริการในพื้นที่ เชEน นักทEองเที่ยว และผู;ใช;อาคารสถานที่ 9) สมาคม ชมรม องคHกรสังคม 10) องคHกรพัฒนาเอกชน (NGO) เทคนิควิธีการมีส]วนร]วม เทคนิควิธีการมีสEวนรEวมสามาถดำเนินการได;ทั้งรูปแบบการพบปะกัน ณ สถานที่ การประชุมออนไลนH ผEานระบบ Video Conference หรือแบบผสม มีอยูEด;วยกัน 3 รูปแบบ ได;แกE 1) การสนทนากลุEม (Focus Group Discussion) ซึ่งสามารถดำเนินกิจกรรมได;หลายรูปแบบ เชEน การประชุมเสวนา การประชุมเชิงปฏิบัติการ เปBนต;น โดยในแตEละการสนทนากลุEมจะประกอบด;วย Moderator หรือผู;นำการสนทนาในกลุEมยEอย จำนวน 1 คน ทำหน;าที่กลEาวคำถาม เป°ดประเด็น อยEางเปBนกลาง และคอยรับฟ_งความคิดเห็น รวมถึงกระตุ;นให;ผู;รEวมสนทนากล;าแสดงออกทาง ความคิ ด , Notetaker หรื อ ผู ; จ ดบั น ทึ ก ความคิ ด เห็ น ตE า ง ๆ จำนวน 1 คน ที ่ อ าจไมE ไ ด; น ั ่ ง อยูE ในโต´ะเดียวกันกับ Moderator และผู;เข;ารEวมสนทนาเสมอไป หากแตEอยูEในระยะใกล;เพียงพอ ที่จะได;ยินการแสดงความคิดเห็นตEาง ๆ อยEางชัดเจน โดยไมEรบกวนการสนทนา ทั้งนี้การจัดโต´ะ การสนทนากลุEมแตEละครั้ง ควรประกอบด;วยผู;เข;ารEวมแสดงความคิดเห็น จำนวนประมาณ 6-8 คน เพื่อให;การแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นอยEางมีประสิทธิภาพ ท;ายที่สุดในแตEละโต´ะควรมีอุปกรณHอัดเสียง 1-26

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

(ซึ่งต;องได;รับอนุญาตจากผู;เข;ารEวมสนทนากEอนทำการบันทึกเสมอ) ดังแสดงในภาพประกอบ หากมี การตั้งกลุEมสนทนากลุEม จำนวนหลายกลุEมในครั้งเดียว เมื่อสนทนาแล;วเสร็จในแตEละประเด็น ควรให;ผู;เข;ารEวมสนทนาเลือกตัวแทนเปBนผู;นำเสนอข;อสรุปของกลุEมตนเองให;กับที่ประชุมใหญE ได;รับทราบ หรือหากผู;เข;ารEวมไมEสะดวก อาจยกหน;าที่ให; Moderator เปBนผู;สรุปได; ในกรณี ที่มีหลายกลุEมสนทนา หากเปBนไปได; ควรมี Visual Notetaker หรือผู;วาดสรุปประชุมเปBนภาพ เพื่อสรุปประเด็นสำคัญของทุกกลุEมเอาไว;

ภาพที่ 1- 12 องคHประกอบของการจัดการสนทนากลุEม14

ภาพที่ 1- 13 ตัวอยEางของการมี Visual Notetaker15

2) การประชุมรับความความคิดเห็น โดยจัดสำหรับกลุEมใหญEที่มีผู;มีสEวนได;เสียครอบคลุมทุกประเภท 3) การสร;างเครือขEายออนไลนH ใช;เปBนทางเลือก หรือชEองทางเพิ่มเติม ให;ผู;มีสEวนได;เสียมีโอกาส ในการแสดงความคิ ด เห็ น ซั ก ถาม แบE ง ป_ น ข; อ มู ล นอกเหนื อ จากการประชุ ม ที ่ ก ำหนดเวลา และสถานที่

14

Wong, Li Ping. (2008). Focus group discussion: A tool for health and medical research. Singapore medical journal. 49. 25660; quiz 261. 15 ภาพจาก https://inkfactorystudio.com และ www.imagethink.net รายงานขั้นต*น

1-27


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

กลุ]มผู*มีส]วนได*เสีย จำนวนคนเข*าร]วม จำนวนครั้ง เปÑาหมาย 1 การสนทนากลุEม และการ แยกสนทนากั บ ผู ; ม ี ส E ว นได; 50 คนตEอครั้ง 2ครัง้ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เสี ย ตามหั ว ข; อ 1.8.3.2 เฉพาะกลุEม 2 ก า ร ป ร ะ ช ุ ม ร ั บ ค ว า ม ผู ; ม ี ส E ว นได; เ สี ย ตามหั ว ข; อ ระดับจังหวัด 70 คน 2 ครัง้ ตEอครั้ง ความคิ ด เห็ น ระดั บ ภาค 1.8.3.2 และระดับจังหวัด ระดับภาค 120 คนตEอครั้ง 3 ก า ร ส ร ; า ง เ ค ร ื อ ข E า ย สร;างเครือขEายสิ่งแวดล;อม เปRาหมายผู;เข;าชม 1 รวม 2,000 คน Facebook ออนไลนH ภ ู ม ิ น ิ เ ว ศ ผ E า น online platform เชEน facebook Page เทคนิควิธี

การจัดประชุมการมีส]วนร]วมสำหรับโครงการ การดำเนินโครงการฯ ประกอบด;วยการประชุม 3 สEวน ได;แกE 1) การประชุมกับผู;ทรงคุณวุฒิ ผู;เชี่ยวชาญ และผู;แทนหนEวยงานที่เกี่ยวข;อง จำนวนไมEน;อยกวEา 50 คนตEอครั้ง เพื่อรับฟ_งข;อคิดเห็น ข;อเสนอแนะ ประเด็นป_ญหาอุปสรรค ป_จจัยแหEงความสำเร็จ รวมทั ้ งข; อมู ลที่จำเปB น ได; แกE หลั กการ วิ ธี การในการพั ฒนาเกณฑH และมาตรฐานการพั ฒนา โครงสร;างพื้นฐานและการ จัดการสิ่งแวดล;อมในพื้นที่ภาคเหนือ และการกำหนดความเหมาะสม ของการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศพื้นที่ภาคเหนือตาม ศักยภาพและข;อจำกัดในการใช;พื้นที่ ตลอดจน ประเด็นการจัดการสิ่งแวดล;อมอยEางยั่งยืน การรองรับ/รับมือกับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมถึง แนวคิดทิศทางการพัฒนาประเทศ และการเปลี่ยนแปลงโครงสร;างทางสังคม จำนวน 2 ครั้ง รูปแบบของการจัดประชุมการมีสEวนรEวม ได;แกE การสนทนากลุEมยEอย และ/หรือการจัด ประชุมเชิงปฏิบัติการ และเนื่องจากสถานการณHการระบาดของโควิด-19 อาจต;องใช;โปรแกรม ประชุมออนไลนHเปBนทางเลือกผสมผสาน เชEน Miro เปBนต;น

1-28

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

ภาพที่ 1- 14 ตัวอยEางรูปแบบการสนทนากลุEมยEอยและการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการออนไลนHด;วยโปรแกรม Miro16

2) การประชุมรับฟ_งความคิดเห็นและข;อเสนอแนะตEอ (รEาง) แผนและผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ และ (รEาง) แผนและผังความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศอยEางยั่งยืนรายจังหวัด โดยเปBน การรับฟ_งความเห็นระดับจังหวัด 9 จังหวัด โดยมีผู;เข;ารEวมประชุมไมEน;อยกวEา 70 คน รูปแบบของ การจัดประชุมการมีสEวนรEวม ได;แกE การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ที่ประกอบด;วยการสนทนา เชิงปฏิบัติการกลุEมยEอย และ/หรือการจัดแสดงข;อมูลโครงการเพื่อสร;างการมีสEวนรEวม ให;ผู;เข;ารEวม ได;แสดงความคิดเห็นอยEางไมEเปBนทางการ เปBนต;น

ภาพที่ 1- 15 ตัวอยEางรูปแบบการสนทนาเชิงปฏิบัติการกลุEมยEอย 117

16 17

ภาพจาก สุพิชชา โตวิวิชญè (2564) ภาพจาก สุพิชชา โตวิวิชญè (2557) รายงานขั้นต*น

1-29


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

ภาพที่ 1- 16 ตัวอยEางรูปแบบการสนทนาเชิงปฏิบัติการกลุEมยEอย 218

ภาพที่ 1- 17 ตัวอยEางรูปแบบการสนทนาเชิงปฏิบัติการกลุEมยEอย 319

ภาพที่ 1- 18 ตัวอยEางการจัดแสดงข;อมูลโครงการเพื่อสร;างการมีสEวนรEวม 120

18

ภาพจาก สุพิชชา โตวิวิชญè (2557) ภาพจาก สุพิชชา โตวิวิชญè (2559) 20 ภาพจาก https://urbact.eu และ https://wp.nyu.edu 19

1-30

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

3) การประชุมรับฟ_งความคิดเห็นและข;อเสนอแนะตEอแผนและผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ แผนและผั ง ความเหมาะสมในการใช; พ ื ้ น ที ่ ท างภู ม ิ น ิ เ วศอยE า งยั ่ ง ยื น รายจั ง หวั ด แนวทาง การขับเคลื่อนและผลักดันการนำแผนผังภูมินิเวศ พื้นที่ภาคเหนือไปสูEการปฏิบัติ ข;อเสนอแนะ การพัฒนาเครื่องมือ กลไก แหลEงงบประมาณ มาตรการจูงใจ ตลอดจนงานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรมที่เหมาะสม ข;อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ โดยเปBน การรับฟ_งความเห็นระดับภาคเหนือ อยEางน;อย 1 ครั้ง มีผู;เข;ารEวมจากทุกภาคสEวน ที่เกี่ยวข;องครอบคลุมทั้ง 9 จังหวัด รวมไมEน;อยกวEา 120 คน รูปแบบของการจัดประชุมการมีสEวนรEวม ได;แกE การจัดแสดงข;อมูลโครงการเพื่อสร;างการมีสEวนรEวม ให;ผู;เข;ารEวมได;แสดงความคิดเห็น อยEางไมEเปBนทางการ เปBนต;น

ภาพที่ 1- 19 ตัวอยEางการจัดแสดงข;อมูลโครงการเพื่อสร;างการมีสEวนรEวม 221

1.9 การสGงมอบผลงาน การสE ง มอบผลงานของที ่ ป รึ ก ษาภายหลั ง การทำสั ญ ญาระหวE า งสำนั ก งานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อมกับมหาวิทยาลัยศิลปากรแล;ว มหาวิทยาลัยศิลปากรจะต;องดำเนินการ และเสนอผลการศึกษา ตามขั้นตอนตEอไปนี้ 1. รายงานขั้นต*น (Inception Report) ภายใน 30 วัน นับจากวันลงนามในสัญญาจ;างที่ปรึกษา โดยในรายงานขั้นต;น โดยจัดพิมพH เปBนภาษาไทย จำนวน 10 ชุด ประกอบด;วย • กรอบการดำเนินการศึกษา • วิธีการศึกษา แผนการดำเนินงาน และผลการศึกษา 21

ภาพจาก https://wp.nyu.edu รายงานขั้นต*น

1-31


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

• ทบทวน วิเคราะหH และสังเคราะหHข;อมูลตามข;อ 4.1 • ข;อมูลที่เกี่ยวข;อง ประกอบด;วย แนวทางการจัดทำแผนผัง ภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ ครอบคลุม 9 จังหวัด • ข;อมูลชุมชนที่มีความสำเร็จในการจัดการสิ่งแวดล;อมชุมชนเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ • แนวทางการปรับปรุงการจัดการข;อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ ภาคเหนือ และระบบฐานข;อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตรHเพื่อการจัดการสิ่งแวดล;อมชุมชนของ ประเทศไทย 2. รายงานฉบับกลาง (Interim Report) ภายใน 120 วัน นับจากวันลงนามในสัญญาจ;างที่ปรึกษา จัดพิมพHเปBนภาษาไทย จำนวน 10 ชุด โดยรายงานขั้นต;น (Inception Report) จะต;องได;รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ;างที่ปรึกษาแล;ว โดยในรายงานฉบับกลาง ประกอบด;วย (ก) ข;อมูลข;อคิดเห็น ข;อเสนอแนะ ประเด็นป_ญหาอุปสรรค ป_จจัยแหEงความสำเร็จรวมทั้งข;อมูล ที่จำเปBน ได;แกE หลักการ วิธีการในการพัฒนาเกณฑHและมาตรฐานการพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานและ การจัดการสิ่งแวดล;อมในพื้นที่ภาคเหนือ การกำหนดความเหมาะสมของการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศ ของพื ้ นที ่ ภาคเหนื อตามศั กยภาพและข;อจำกัดในการใช;พื้นที่ ตลอดจนประเด็นการจัดการ สิ่งแวดล;อมอยEางยั่งยืน การรองรับ/รับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมถึงแนวคิด ทิศทางการพัฒนาประเทศ การเปลี่ยนแปลงโครงสร;างทางสังคมที่ผEานกระบวนการมีสEวนรEวม ทั้งสองครั้ง (ข) (รEาง) แผนและผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ ครอบคลุม 9 จังหวัด และ (รEาง) แผนและผัง ความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศอยEางยั่งยืนของแตEละจังหวัด เพื่อบรรลุสูEความเปBน เมืองนEาอยูE ชนบทมั่นคง เกษตรยั่งยืนและปลอดภัย อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และพื้นที่พิเศษ เพื่อการอนุรักษHทรัพยากรธรรมชาติ แหลEงโบราณคดี มรดกทางสถาป_ตยกรรมและศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณHและวิถีชีวิตพื้นถิ่น โดยผEานกระบวนการมีสEวนรEวมรับฟ_งความคิดเห็น และข;อเสนอแนะ ตEอ (รEาง) แผนและผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ และ (รEาง) แผนและผังความเหมาะสมในการใช; พื้นที่ทางภูมินิเวศอยEางยั่งยืนรายจังหวัด ระดับจังหวัด รวมทั้งผลการจัดประชุมคณะกรรมการ กำกับการศึกษาโครงการฯ ครั้งที่ 1 (ค) ข;อมูลองคHความรู;ด;านการพัฒนาบนพื้นฐานภูมินิเวศ หรือการพัฒนาโดยคำนึงถึงระบบนิเวศ อัตลักษณH และวัฒนธรรมพื้นถิ่น การใช;ประโยชนHแผนผังภูมินิเวศ และเรื่องอื่นที่จำเปBนและ เกี่ยวข;อง เพื่อเสริมสร;างวัฒนธรรมเชิงนิเวศ ในพื้นที่ภาคเหนือ (ง) เค;าโครงต;นแบบระบบข;อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ ที่ปรับปรุง

1-32

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

3. รายงานฉบั บสุ ดท* าย (ฉบั บร] าง) (Draft Final Report) ภายใน 210 วัน นับจากวันลงนาม ในสัญญาจ;างที่ปรึกษา โดยจัดพิมพHเปBนภาษาไทย จำนวน 10 ชุด โดยรายงานฉบับกลาง (Interim Report) จะต;องได;รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ;างที่ปรึกษา โดยในรายงานฉบับสุดท;าย ฉบับรEาง ประกอบด;วย (ก) แผนและผั ง ภู ม ิ น ิ เ วศของพื ้ น ที่ ภ าคเหนื อ และแผนและผั ง ความเหมาะสมในการใช; พ ื ้ น ที่ ทางภูมินิเวศอยEางยั่งยืนรายจังหวัด (ข) แนวทางการขับเคลื่อนและผลักดันการนำแผนผังภูมินิเวศพื้นที่ภาคเหนือไปสูEการปฏิบัติ และ ข;อเสนอแนะการพัฒนาเครื่องมือ กลไก แหลEงงบประมาณ มาตรการจูงใจ ตลอดจนงานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรมที่เหมาะสม เพื่อสนับสนุนให;ภาคสEวนนำไปปฏิบัติ (ค) องคHความรู;เพื่อเสริมสร;างวัฒนธรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ (ง) ผลการจัดการและปรับปรุงข;อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ ภาคเหนือ และข;อมูลที่เกี่ยวข;อง ประกอบด;วย (1) จัดทำพจนานุกรมข;อมูล (Data Dictionary) (2) จัดทำคำอธิบายข;อมูลหรือ เมทาดาตา (Metadata) ของชุดข;อมูลตามพจนานุกรมข;อมูล (Data Dictionary) ได;ครบถ;วน (3) ในแตEละชุดข;อมูลที่อยูEในฐานเดียวกัน หรือตEางฐานข;อมูล ก็ตามจะต;องมีการทำ Data Cleansing ให;มีความสอดคล;องกัน (4) จัดทำรายละเอียดของการออกแบบ/ปรับปรุงระบบ เชEน ผังแสดงความสัมพันธHข;อมูล (Entity Relationship Diagram : ER Diagram) โครงสร; า งและผั ง ระบบงาน (System Flow) ผังการไหลของข;อมูล (Data Flow Diagram) แสดงรายละเอียด แตEละสEวนขององคHประกอบ ของระบบการออกแบบฐานข; อ มู ล (Database Design) แสดงความสั ม พั น ธH ร ะหวE า ง File/Table ด;วยรูปภาพ เปBนต;น (จ) แผนและผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ แผนและผังความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศ อยEางยั่งยืนรายจังหวัด แนวทางการขับเคลื่อนและผลักดันการนำแผนผังภูมินิเวศพื้นที่ภาคเหนือ ไปสูEการปฏิบัติ ข;อเสนอแนะ การพัฒนาเครื่องมือ กลไก แหลEงงบประมาณ มาตรการจูงใจ ตลอดจนงานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรมที่เหมาะสม ข;อมูล สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ แผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ โดยผEานกระบวนการมีสEวนรEวมรับฟ_งความคิดเห็นและ ข; อ เสนอแนะตE อ แผนและผั ง ภู ม ิ น ิ เ วศของพื ้ น ที ่ ภ าคเหนื อ และแผนและผั ง ความเหมาะสม ในการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศอยEางยั่งยืนของพื้นที่ภาคเหนือ ระดับภาคเหนือ รวมทั้งผลการจัดประชุม คณะกรรมการกำกับการศึกษาโครงการฯ ครั้งที่ 2 รายงานขั้นต*น

1-33


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

(ฉ) ผลการถEายทอดความรู;การจัดการข;อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ ภาคเหนือให;แกEหนEวยงานและภาคสEวนที่เกี่ยวข;อง (ช) (รEาง) สื่อเพื่อการเรียนรู;และสื่อสารถEายทอด รวมทั้งการเผยแพรEประชาสัมพันธHในชEองทาง ที่เหมาะสม เพื่อเสริมสร;างวัฒนธรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ 4. รายงานฉบับสุดท*าย (Final Report) ภายใน 240 วัน นับจากวันลงนามในสัญญาจ;างที่ปรึกษา โดยรายงานฉบับสุดท;าย ฉบับรEาง (Draft Final Report) จะต;องได;รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ตรวจรับพัสดุในงานจ;างที่ปรึกษาแล;ว โดยรายงานฉบับสุดท;าย ประกอบด;วย (1) เอกสารรายงานฉบับสุดท;าย จัดพิมพHเปBนภาษาไทยจำนวน 50 ชุด โดยเนื้อหาในรายงานจะต;อง ประกอบด;วย ผลการศึกษาทั้งหมดที่แล;วเสร็จตามแผนงานที่กำหนดไว;ในรายงานการศึกษาขั้นต;น ซึ ่ ง เปB น ไปตามขอบเขตการดำเนิ น งาน โดยแผนผั ง ภู ม ิ น ิ เ วศของพื ้ น ที ่ ภ าคเหนื อ แผนผั ง ความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศอยEางยั่งยืนรายจังหวัด และแผนผังอื่น ๆ ที่ใช;ประกอบ เนื ้ อ หาภายในเอกสารขนาด A3 รวมถึ ง ได; แ ก; ไ ขปรั บ ปรุ ง ตามข; อ เสนอแนะเพิ ่ ม เติ ม จาก คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ;างที่ปรึกษาที่มีตEอ (รEาง) รายงานฉบับสุดท;าย (Draft Final Report) แล;วอยEางครบถ;วน พร;อมจัดทำในรูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกสH (E-book) ทั้งนี้ เอกสารรายงานฉบับสุดท;ายต;องผEานการนำเสนอคณะกรรมการกำกับการศึกษาโครงการฯ เพื่อพิจารณา (2) เอกสารรายงานสรุปสำหรับผู;บริหาร จัดพิมพHเปBนภาษาไทยจำนวน 50 ชุด และภาษาอังกฤษ 50 ชุดพร;อมด;วยสรุปบทคัดยEอผลสำเร็จของการดำเนินการโครงการเพื่อใช;ในการนำเสนอในรายงาน ประจำปU โดยมีเนื้อหาพร;อมรูปภาพสี ไมEเกิน 2 หน;ากระดาษ A4 จำนวน 4 ชุด พร;อมจัดทำ ในรูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกสH (E-book) (3) เอกสารแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ และแผนผังความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศ อยE า งยั ่ ง ยื น รายจั ง หวั ด จำนวน 200 ชุ ด โดยแผนผั ง ภู ม ิ น ิ เ วศของพื ้ น ที ่ ภ าคเหนื อ แผนผั ง ความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศอยEางยั่งยืนรายจังหวัด และแผนผังอื่น ๆ ที่ใช;ประกอบ เนื้อหาภายในเอกสาร ขนาด A3 รวมทั้ง แผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ และแผนผังภูมินิเวศ ของแตEละจังหวัด ขนาด A0 จำนวน 10 ชุด โดยจัดพิมพHสี และใช;กระดาษที่มีคุณภาพรองรับ การพิ ม พH ส ี ท ี ่ ใ ช; ค วามละเอี ย ดสู ง และมี ค วามชั ด เจน พร; อ มจั ด ทำในรู ป แบบของหนั ง สื อ อิเล็กทรอนิกสH (E-book) (4) สื่อและองคHความรู;เพื่อเสริมสร;างความรู; ความเข;าใจเกี่ยวกับแผนผังภูมินิเวศ และการเสริมสร;าง วัฒนธรรมเชิงนิเวศ

1-34

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 1 บทนำ

- ชุดนิทรรศการที่มีข;อมูลสรุปเนื้อหาและสาระสำคัญตามรายละเอียดของแผนผังภูมินิเวศของ พื้นที่ ภาคเหนือ และแผนผังภูมินิเวศของแตEละจังหวัดในพื้นที่ภาคเหนือ จำนวน 1 ชุด และมีจำนวนไมEน;อยกวEา 1 ชิ้น - วีดิทัศนH 1 ชุด เพื่อเสริมสร;างความรู; ความเข;าใจเกี่ยวกับแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ และแผนผังความเหมาะสมในการใช;พื้นที่ทางภูมินิเวศอยEางยั่งยืนรายจังหวัด และการใช; ประโยชนH โดยมีเนื้อหาความยาว ไมEน;อยกวEา 3 นาที - เอกสารองคH ค วามรู ; เ พื ่ อ เสริ ม สร; า งวั ฒนธรรมเชิ ง นิ เ วศในพื ้ น ที ่ ภ าคเหนื อ จั ด พิ ม พH เ ปB น ภาษาไทย จำนวน 50 ชุด พร;อมจัดทำในรูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกสH (E-book) (5) ข;อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ ที่ใช;ในการจัดเก็บ ข;อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อมในรูปแบบ Digital อยEางเปBนระบบที่พัฒนาแล;วเสร็จ และติ ด ตั ้ ง บนเครื ่ อ งคอมพิ ว เตอรH แ มE ข E า ย (Server) ของสำนั ก งานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม ซึ่งได;มีการทดสอบการใช;งานเรียบร;อยแล;ว พร;อมทั้งบันทึก ลงในอุปกรณHบันทึกข;อมูลที่มีความจุเพียงพอ และเอกสารคูEมือการใช;งาน จำนวน 20 ชุด รวมทั้ง เว็บไซตHของโครงการ พร;อมคูEมือสำหรับการสำรอง การกู;ข;อมูลคืน การติดตั้งและ การดูแลรักษา ระบบฐานข;อมูล และข;อมูลที่เกี่ยวข;องตามข;อ 14.3 (ง) จำนวน 10 เลEม พร;อมทั้งจัดทำเอกสาร อิเล็กทรอนิกสHในรูปแบบ QR Code (ทั้งไฟลH word และ PDF) (6) ดิจิตอลไฟลHที่มีรายละเอียดตามข;อ (1) – (5) ในรูปแบบ PDF file Text file และรูปแบบอื่น ๆ ที่สามารถใช;ในการอEานและแก;ไขได;อยEางสะดวก โดยบันทึกลงอุปกรณHจัดเก็บข;อมูล (External HD) ที่ความจุ 2 TB

1.10 ระยะเวลาการดำเนินงาน กำหนดระยะเวลาดำเนินงาน จำนวน 240 วัน นับจากวันที่ลงนามในสัญญา เนื้องาน 1

2

3

4

1

2

3

เดือนที่ 4 5

6

7

8

การทบทวน วิ เ คราะหè แ ละประเมิ น สถานการณè และเสนอ แผนงาน ผู$รับผิดชอบ: คณะผู$เชี่ยวชาญทุกด$าน สรFางกรอบคิดเชิงทฤษฎีและหลักการ แนวทางการจัดทำแผนผังภูมิ นิเวศ ผู$รับผิดชอบ: ธนะ สุพักตรา สญชัย ณัฐวุฒิ ชัยศรี การออกแบบและจั ด ทำระบบฐานขF อ มู ล และสารสนเทศ ภูมิศาสตรè ผู$รับผิดชอบ: ธนะ กัมปนาท รายงานขั้นต,น

รายงานขั้นต*น

1-35


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม เนื้องาน 5

6

รúางแผนผังภูมินิเวศ และแผนผังความเหมาะสมในการใชFพื้นที่ ภูมินิเวศ ผู$รับผิดชอบ: ธนะ สุพักตรา ณัฐวุฒิ สญชัย กัมปนาท ชัยศรี

8

ประชุมนำเสนอ รับฟîงความคิดเห็นจากผูFทรงคุณวุฒิ ผูFเชี่ยวชาญ และผูFแทนหนúวยงาน ครั้งที่ 2 ผู$รับผิดชอบ: สุพิชชา และคณะผู$เชี่ยวชาญ ปรั บ ปรุ ง รú า งแผนผั ง ภู ม ิ น ิ เ วศ และแผนผั ง ความเหมาะสม ในการใชFพื้นที่ภูมินิเวศ ผู$รับผิดชอบ: ธนะ สุพักตรา ณัฐวุฒิ สญชัย กัมปนาท ชัยศรี ประชุมรับฟîงความคิดเห็นและขFอเสนอตúอ รúางแผนผังภูมินิเวศ และแผนผังความเหมาะสมการใชFพื้นที่ภูมินิเวศรายจังหวัด ผู$รับผิดชอบ: สุพิชชา และคณะผู$เชี่ยวชาญ จัดทำขFอมูลองคèความรูFดFานการพัฒนาบนพื้นที่ภูมินิเวศ ผู$รับผิดชอบ: ธนะ สุพักตรา ประชุมคณะกรรมการกำกับฯ ครั้งที่ 1 รายงานขั้นกลาง

10

11 12 13 14

15

16

17

18 19

2

3

6

การประชุ ม รั บ ฟî ง ขF อ คิ ด เห็ น ขF อ เสนอแนะจากผู F ท รงคุ ณ วุ ฒิ ผูFเชี่ยวชาญ และผูFแทนหนúวยงาน ครั้งที่ 1 ผู$รับผิดชอบ: สุพิชชา และคณะผู$เชี่ยวชาญ กำหนดวิ ส ั ย ทั ศ นè แ นวทางการจั ด การการใชF พ ื ้ น ที ่ ภ ู ม ิ น ิ เ วศ ระดับภาคและระดับจังหวัด ผู$รับผิดชอบ: ธนะ สุพักตรา ณัฐวุฒิ สญชัย กัมปนาท ชัยศรี

7

9

1

เดือนที่ 4 5

จัดทำแผนผังภูมินิเวศ และแผนผังความเหมาะสมในการใชFพื้นที่ ภูมินิเวศ ผู$รับผิดชอบ: ธนะ สุพักตรา ณัฐวุฒิ สญชัย กัมปนาท ชัยศรี จัดทำแนวทางการขับเคลื่อนและผลักดันการนำแผนผังภูมินิเวศ พื้นที่ภาคเหนือไปสูúการปฏิบัติ ผู$รับผิดชอบ: ธนะ ณัฐวุฒิ เดชรัต อดุลยคุปตF ประชุ ม รั บ ฟî ง ความคิ ด เห็ น และขF อ เสนอตú อ แผนผั ง ภู ม ิ น ิ เ วศ และแผนผั ง ความเหมาะสมการใชF พ ื ้ น ที ่ ภ ู ม ิ น ิ เ วศรายจั ง หวั ด และแนวทางการขับเคลื่อนและผลักดันฯ ระดับภาค ผู$รับผิดชอบ: สุพิชชา และคณะผู$เชี่ยวชาญ จั ด กิ จ กรรมถú า ยทอดความรู F ก ารจั ด การขF อ มู ล สารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการแผนผังภูมินิเวศ ผู$รับผิดชอบ: กัมปนาท จัดทำสื่อนิทรรศการ ผู$รับผิดชอบ: ธนะ สุพักตรา กัมปนาท จัดทำสื่อวิดีทัศนè ผู$รับผิดชอบ: สุพิชชา

1-36

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร

7

8


บทที่ 1 บทนำ เนื้องาน 20

21 22 23 24 25 26

1

2

3

เดือนที่ 4 5

6

7

8

จั ด ทำเอกสารองคè ค วามรู F เ พื ่ อ เสริ ม สรF า งวั ฒ นธรรมเชิ ง นิ เ วศ ในพื้นที่ภาคเหนือ ผู$รับผิดชอบ: ธนะ สุพักตรา ประชุมคณะกรรมการกำกับฯ ครั้งที่ 2 รายงานฉบับสมบูรณ8 ฉบับร9าง ประชุมคณะกรรมการกำกับฯ ครั้งที่ 3 รายงานฉบับสมบูรณ8 รายงานสรุปสำหรับผู,บริหาร (ไทย-อังกฤษ) จัดรวบรวมไฟล8ดิจิทัล ข,อมูล เอกสาร แผนผัง

การดำเนินงาน การประชุม การสEงมอบงาน

รายงานขั้นต*น

1-37


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหFสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลFอม

แผนปฏิบัติงานบุคลากรหลัก บุคลากรหลัก ผศ.ดร.ธนะ จีระพิวัฒน1 ผู#จัดการโครงการ ผู#เชี่ยวชาญด#านการวางแผน/ผัง ผศ.ดร.สุพักตรา สุทธสุภา 2 ผู#เชี่ยวชาญด#านการวางแผนการใช#ประโยชน; ที่ดินและทรัพยากร รศ.ดร.ณัฐวุฒิ ปรียวนิตย1 3 ผู#เชี่ยวชาญด#านการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมชุมชนเมือง รศ.ดร.สญชัย ลบแยCม 4 ผู#เชี่ยวชาญด#านการวางแผนคมนาคมและ โครงสร#างพื้นฐาน ผศ.ดร.กัมปนาท ปEยะธำรงชัย 5 ผู#เชี่ยวชาญด#านภูมิสารสนเทศและการจัดการ ข#อมูลสารสนเทศ รศ.ดร.กรรณิการ1 สุธรรัตนาภิรมย1 6 ผู#เชี่ยวชาญด#านประวัติศาสตร;และโบราณคดี รศ.ดร.ชัยศรี สุขสาโรจน1 7 ผู#เชี่ยวชาญด#านวิศวกรรมสิ่งแวดล#อมและการ จัดการลุOมน้ำ ผศ.ดร.สุพิชชา โตวิวิชญ1 8 ผู#เชี่ยวชาญด#านการมีสOวนรOวม ผู#เชี่ยวชาญด#านประชาสัมพันธ;และการสื่อสาร ดร.เดชรัต สุขกำเนิด 9 ผู#เชี่ยวชาญด#านเศรษฐศาสตร; ดร.อดุลยคุปต1 ทองจีน 10 ผู#เชี่ยวชาญด#านกฎหมาย 1

1 1

2

2 3

4

5

6

3 7

8

4

5

6

7

8

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 ◼

4

4

4

4

4

6 2 2

1

1

2

2 รวม

1-38

รวม (เดือน)

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร

41


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง 2.1 ยุทธศาสตร-และนโยบายระดับสากล 2.1.1 เปAาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goal : SDGs) SDGs มีเป*าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 ข;อ เพื่อพัฒนาใน 3 มิติ คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล;อม สLวนประเทศไทยให;ความสำคัญกับมิติทางด;านวัฒนธรรมเพิ่มเพื่อบรรลุความสำเร็จของเป*าหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืน โดยการพัฒนาที่ยั่งยืนจะมี 3 แนวทางใหญLๆ คือ 1) แนวทางการพัฒนา 1.1) แนวทางด; า นสิ ่ ง แวดล; อ ม การพั ฒ นาที ่ ย ั ่ ง ยื น ให; ค วามสำคั ญ ลำดั บ สู ง กั บ คุ ณ คL า ของ

ทรั พ ยากรธรรมชาติ โดยเน; น เรื ่ อ งความยั ่ ง ยื น ของการทำงานและประสิ ท ธิ ภ าพของ ระบบนิเวศ เพื่อกLอให;เกิด ความยั่งยืนทางนิเวศ ในระยะยาว ทั้งนี้ เพื่อสLงมอบทุนทางธรรมชาติ ได;แกL ทรัพยากรธรรมชาติตLาง ๆ และทุนที่มนุษย[สร;างขึ้น ให;คนรุLนอนาคตได;ใช;ประโยชน[ อยLางยั่งยืน

1.2) แนวทางด;านสังคม การพัฒนาที่ยั่งยืนจะต;องสามารถตอบสนองความต;องการ พื้นฐานของ

มนุษย[ได;อยLางตLอเนื่อง โดยคำนึงถึงความเป^นธรรมทางสังคมและกลุLมชนระดับตLาง ๆ เพื่อมุLงสูLเป*าหมายสำคัญ คือ การรักษาคุณภาพชีวิตของประชากรให;ดีขึ้นอยLางยาวนาน

1.3) แนวทางด;านเศรษฐกิจ หมายถึง การขยายตัวทางเศรษฐกิจอยLางยั่งยืนยาวนานบนพื้นฐาน

การสงวนรักษาทุนธรรมชาติสำหรับคนรุLนป_จจุบันและรุLนอนาคต ทั้งนี้ จำเป^นต;องปรับปรุง โครงสร;างการผลิต และการบริโภค และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ไมLเป^นอันตรายตLอสิ่งแวดล;อม

2) เปAาหมายการพัฒนา

เป*าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลกใน 8 ปbข;างหน;า (เป*าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030) ที่จะใช;เป^นทิศทางการพัฒนาของประชาคมโลก ทั้งหมด 17 เป*าหมาย เมื่อนำมาวิเคราะห[สามารถแบLงมิติ การพัฒนาได;เป^น 6 ด;าน ดังนี้ 2.1) ด;านเมืองและการตั้งถิ่นฐาน §

เป*าหมายที่ 9 สร;างโครงสร;างพื้นฐานที่มีความต;านทานและยืดหยุLนตLอการเปลี่ยนแปลง สLงเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมและยั่งยืน และสLงเสริมนวัตกรรม

§

เป*าหมายที่ 11 ทำให;เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย[มีความปลอดภัย ความต;านทาน และยืดหยุLนตLอการเปลี่ยนแปลงอยLางครอบคลุมและยั่งยืน รายงานขั้นต*น

2-1


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

2.2) ด;านโครงสร;างพื้นฐานของเมือง §

เป*าหมายที่ 4 สร;างหลักประกันให;การศึกษามีคุณภาพอยLางเทLาเทียมและครอบคลุม และสLงเสริมโอกาสในการเรียนรู;ตลอดชีวิตสำหรับทุกคน

§

เป*าหมายที่ 6 สร;างหลักประกันให;มีน้ำใช; และมีการบริหารจัดการน้ำและการสุขาภิบาล อยLางยั่งยืนสำหรับทุกคน

§

เป* า หมายที ่ 7 สร; า งหลั ก ประกั น ให; ท ุ ก คนสามารถเข; า ถึ ง พลั ง งานสมั ย ใหมL ในราคาที่ยLอมเยา และยั่งยืน

2.3) ด;านเศรษฐกิจ §

เป*าหมายที่ 1 ขจัดความยากจนในทุกรูปแบบ

§

เป*าหมายที่ 8 สLงเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน และครอบคลุม และการจ;างงาน เต็มอัตรา และงานที่มีคุณคLาสำหรับทุกคน

2.4) ด;านสังคมและวัฒนธรรม §

เป*าหมายที่ 2 ขจัดความหิวโหย บรรลุเป*าความมั่นคงทางอาหาร ปรับปรุงโภชนาการ และสนับสนุนการทำเกษตรกรรมอยLางยั่งยืน

§

เป*าหมายที่ 3 สร;างหลักประกันให;คนมีชีวิตที่มีคุณภาพ และสLงเสริมสุขภาวะที่ดีของ คนทุกเพศทุกวัย

§

เป*าหมายที่ 5 บรรลุความเทLาเทียมระหวLางเพศ และเสริมสร;างความเข;มแข็งให;แกLสตรี และเด็กหญิง

§

เป*าหมายที่ 10 ลดความไมLเทLาเทียมทั้งภายในประเทศและระหวLางประเทศ

2.5) ด;านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

2-2

§

เป*าหมายที่ 12 สร;างหลักประกันให;มีแบบแผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน

§

เป* า หมายที ่ 13 ดำเนิ น การอยL า งเรL ง ดL ว นเพื ่ อ ตL อ สู ; ก ั บ สภาวะการเปลี ่ ย นแปลง สภาพภูมิอากาศและผลกระทบ

§

เป*าหมายที่ 14 อนุรักษ[และใช;มหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเลอื่น ๆ อยLางยั่งยืน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

§

เป*าหมายที่ 15 ปกป*อง ฟmnนฟู และสLงเสริมการใช;ระบบนิเวศบนบกอยLางยั่งยืน การบริหาร จัดการปoาไม;ที่ยั่งยืน การตLอต;านการแปรสภาพเป^นทะเลทราย หยุดยั้งการเสื่อมโทรมของ ดินและฟmnนฟูสภาพดินและหยุดยั้งการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

2.6) ด;านการบริหารการปกครอง §

เป* า หมายที ่ 16 สนั บ สนุ น สั ง คมที ่ ส งบสุ ข และครอบคลุ ม สำหรั บ การพั ฒ นาที ่ ย ั ่ ง ยื น จั ด ให; มี ก ารเข; า ถึ ง ความยุ ต ิ ธ รรมสำหรั บ ทุ ก คน และสร; า งสถาบั น ที ่ ม ี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มีความรับผิดชอบและมีความครอบคลุมในทุกระดับ

§

เป*าหมายที่ 17 เสริมสร;างความแข็งแกรLงของกลไกการดำเนินงานและฟmnนฟูหุ;นสLวน ความรLวมมือระดับโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

เมื่อวิเคราะห[มิติการพัฒนาด;านตLาง ๆ แล;วสามารถนำเป*าหมายทั้ง 17 เป*าหมาย ไปใช;ในการกำหนด แนวคิดและบทบาทการพัฒนาพื้นที่ภูมินิเวศเพื่อการบริหารจัดการในอนาคตในด;านตLาง ๆ เพื่อให;สอดคล;อง กับเป*าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และสามารถนำไปผนวกกับนโยบาย ยุทธศาสตร[ แผนการพัฒนาอื่น ๆ เพื่อให;ได;ผลสรุปที่สามารถนำไปใช;กับพื้นที่เป*าหมายได; โดยเป*าหมายหลักที่มีความเกี่ยวข;องกับพื้นที่เป*าหมายมีทั้งหมด 6 เป*าหมาย ที่จำแนกได;เป^น 2 กลุLม คือ 1) กลุZมเปAาหมายเพื่อการพัฒนาเมืองอยZางยั่งยืน ได;แกL เปAาหมายที่ 8 สLงเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่ตLอเนื่อง ครอบคลุม และยั่งยืน การจ;างงานเต็มที่และมีผลิตภาพ และการมีงานที่สมควรสำหรับทุกคน เพื่อสนับสนุนด;านเศรษฐกิจของพื้นที่ และใช;เป^นนโยบายที่สLงเสริมการทLองเที่ยวที่ยั่งยืนที่จะสร;างงาน และสLงเสริมวัฒนธรรมและผลิตภัณฑ[ท;องถิ่น เปAาหมายที่ 9 สร;างโครงสร;างพื้นฐานที่มีความทนทาน สLงเสริม การพัฒนาอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมและยั่งยืน และสLงเสริมนวัตกรรม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และความเป^นอยูLที่ดีของมนุษย[ รวมถึงการสLงเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมและยั่งยืน เปAาหมายที่ 11 ทำให;เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย[มีความครอบคลุม ปลอดภัย มีภูมิต;านทาน และยั่งยืน เพื่อยกระดับ การพั ฒ นาเมื อ งและขี ด ความสามารถให; ม ี ก ารบริ ก ารที่ ค รอบคลุ ม และเพี ย งพอ ตลอดจนการเข; า ถึ ง ได; โดยถ;วนหน;าสำหรับคนทุกกลุLม และ 2) กลุZมเปAาหมายเพื่อการจัดการสิ่งแวดล;อมอยZางยั่งยืน ได;แกL เปA าหมายที ่ 13 ดำเนินการอย4างเร4งด4วนเพื่อต4อสู=กับสภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบ เปAาหมายที่ 14 อนุรักษLและใช=มหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเลอื่น ๆ อย4างยั่งยืน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เปAาหมายที่ 15 ปกปRอง ฟTUนฟู และส4งเสริมการใช=ระบบนิเวศบนบกอย4างยั่งยืน การบริหารจัดการปWาไม=ที่ยั่งยืน การต4อต=านการแปรสภาพเปYนทะเลทราย หยุดยั้งการเสื่อมโทรมของดินและฟTUนฟูสภาพดินและหยุดยั้งการสูญเสีย ความหลากหลายทางชีวภาพ

2.1.2 วาระใหมZแหZงการพัฒนาเมือง (New Urban Agenda : NUA) New Urban Agenda เป^นแนวทางปฏิบัติใหมLที่ผูกพันถึงหนLวยงานระดับยLอย เชLน หนLวยงานท;องถิ่น ซึ่งที่ผLานมาเน;นการผูกพันเฉพาะหนLวยงานกลาง ในการออกแบบและพัฒนาที่อยูLอาศัยและเมืองอยLางยั่งยืน ให;รองรับพันธกรณีตาม เป*าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals-SDGs) โดยให;มี ที่อยูLอาศัยพอเพียงสำหรับทุกคน และกระตุ;นให;เกิดการจัดหาทางเลือกของผู;อยูLอาศัยที่เพียงพอหลากหลาย ในระดับของรัฐบาลที่เหมาะสม ได;แกL รัฐบาลระดับมลรัฐ และท;องถิ่น สLงเสริมการเข;าถึงพื้นที่สาธารณะ รายงานขั้นต*น

2-3


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

ได; แ กL ถนน ทางเท; า ทางจั ก รยาน ลานจั ตุ รั ส สวน ยกระดั บมรดกทางธรรมชาติ และวั ฒนธรรม ปกป* อง และสLงเสริมโครงสร;างพื้นฐานและสถานที่ตั้งทางวัฒนธรรม พิพิธภัณฑ[ และภาษาชนพื้นเมือง สร;างความเชื่อมโยง ระหวLางเมืองและชนบท ความเชื่อมโยงในมิติด;านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล;อมในการพัฒนาเมือง อยLางยั่งยืน ตลอดจนการสร;างระบบการเงินที่เข;มแข็งเพื่อการเข;าถึงที่อยูLอาศัย ซึ่งสอดคล;องกับพันธกรณี และข; อ ตกลงระหวL า งประเทศตL า ง ๆ โดยในเชิ ง นโยบาย จะชL ว ยผลั ก ดั น และสL ง เสริ ม การดำเนิ น งาน ด;านการพัฒนาที่อยูLอาศัยและการพัฒนาเมืองอยLางยั่งยืนของไทย ซึ่งมีความสอดคล;องกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เมื่อวิเคราะห[แนวทางของวาระใหมLแหLงการพัฒนาเมืองสามารถแบLงมิติการพัฒนาได; มิติการพัฒนา สามารถแบLงออกเป^น 4 ด;าน ได;แกL (1) ด; า นเศรษฐกิ จ คื อ มี ก ารสL ง เสริ ม ให; พ ั ฒ นาด; า นเศรษฐกิ จ อยL า งยั ่ ง ยื น ด; ว ยการใช; ท รั พ ยากร

ที่มีประสิทธิภาพ (2) ด;านสังคมและวัฒนธรรม คือ สLงเสริมให;มีความเทLาเทียมทางเพศ การมีสLวนรLวมของประชาชน

การออกแบบเพื ่ อ ลดผลกระทบเพื ่ อ ทุ ก วั ย และทุ ก เพศ การรั ก ษามรดกวั ฒนธรรม สนั บ สนุ น ความเสมอภาคเคารพสิทธิมนุษยชน และการรองรับกิจกรรมทางสังคม

(3) ด;านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม คือ สLงเสริมให;มีการจัดการความเสี่ยงและภัยพิบัติ

อนุรักษ[และฟmnนฟูระบบนิเวศธรรมชาติ

(4) ด; า นการบริ ห ารการปกครอง คื อ รL ว มการบริ ห ารจั ด การข; า มเขตการปกครอง และวางแผน

ที่ตอบสนองประชาชนทุกกลุLม

2.1.3 ปฏิญญาอาบูดาบี (การดำเนินการ UN-Habitat) ปฏิญญาอาบูดาบี เมืองแหLงโอกาส : การเชื่อมตLอวัฒนธรรมและนวัตกรรม โดยการประชุมให;ความสำคัญ กับวัฒนธรรม นวัตกรรม เพื่อชLวยให;การพัฒนาเมืองที่ยั่งยืน โดยมีประเด็นที่สำคัญที่เกี่ยวข;อง ดังนี้ (1) วัฒนธรรมที่เป^นสLวนสำคัญของการแก;ป_ญหาการขยายตัวของเมืองและการบรรลุวาระใหมLของ

เมื อ ง ในทางกลั บ กั น สภาพแวดล; อ มในเมื อ งก็ ม ี อ ิ ท ธิ พ ลตL อ วั ฒ นธรรม เพราะวั ฒ นธรรม เป^นองค[ประกอบหลักของเอกลักษณ[ท;องถิ่นรวมถึงมรดกความคิดสร;างสรรค[และความหลากหลาย และความเป^นเมืองที่จำเป^นต;องได;รับการวางแผนบริหารจัดการการออกแบบ และปรับปรุง เพราะมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติของเมืองเป^นสินทรัพย[และชLวยให;การพัฒนาเมืองที่ยั่งยืน (2) เมืองเป^นศูนย[กลางของความคิดสร;างสรรค[และนวัตกรรมรวมถึงสถานที่ที่มีมรดกทางวัฒนธรรม

และตัวตนที่มีคุณคLา

(3) นวั ต กรรมและมรดกทางวั ฒ นธรรมต; อ งเป^ น รากฐานของการดำเนิ น งานของชุ ม ชนในเมื อ ง

โดยได;รับการสนับสนุนจากรัฐบาล และภาคประชาชน

2-4

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

(4) การสนั บ สนุ น จากเทคโนโลยี ท ี ่ ม ี ค นเป^ น ศู น ย[ ก ลางความคิ ด ริ เ ริ ่ ม ของเมื อ งที ่ ช าญฉลาด

เพราะนวัตกรรมกลายเป^นตัวขับเคลื่อนที่สร;างสรรค[สำหรับการเติบโตของเมืองที่ยั่งยืน

(5) วาระใหมLแหLงการพัฒนาเมือง เป^นนโยบายที่ให;ความสำคัญของวัฒนธรรม ความหลากหลาย

ทางวัฒนธรรมและมรดกทางวัฒนธรรมในทุกรูปแบบ เพื่อเป^นทรัพยากรที่เสริมสร;างมนุษยชาติ การมีสLวนรLวมที่สำคัญ การเป^นเมืองที่ยั่งยืนและเมืองที่มีความปลอดภัย

จากปฏิญญาอาบูดาบีมีผลตLอการให;ความสำคัญตLอพลังงานยั่งยืนในการพัฒนาเมืองตามกรอบวาระใหมL การพัฒนาเมืองอยLางบูรณาการเป^นองค[รวม (holistic, system-wide) กับกระบวนการวางผังเมือง (City Planning) และการบริหารจัดการเมือง (City Management) เพื่อประชาชนทุกกลุLมโดยยกระดับกลุLมคนจน เป^นเป*าหมายด;วย (pro-poor perspective) โดยใช;เครื่องมือทางการผังเมือง เชLน การวางผังการใช;ประโยชน[ที่ดิน (zoning and land-use planning) การควบคุมและการอนุญาตในการกLอสร;างและประกอบกิจการ (permits) การพั ฒ นาโครงสร; า งพื ้ น ฐานและการคมนาคมขนสL ง (infrastructure and transportation decisions) ที่บริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ของเสีย พลังงาน และแหลLงอาหาร ที่ลดปริมาณการปลLอยก’าซเรือนกระจก (carbon footprints) โดยการดำเนินการอยLางมีสLวนรLวมของทุกภาคสLวน ปฏิ ญ ญาอาบู ด าบี จ ะสL ง ผลให; จ ั ง หวั ด ในพื ้ น ที ่ ภ าคเหนื อ ใช; ป ระโยชน[ จ ากนโยบายในการเชื ่ อ มตL อ วัฒนธรรมและนวัตกรรม ใช;ต;นทุนมรดกทางประวัติศาสตร[ วัฒนธรรม และธรรมชาติที่มีความหลากหลาย ผนวกกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีและความคิดสร;างสรรค[ มาประยุกต[ใช;ให;เกิดการเปลี่ยนแปลงและนำไปสูL การพัฒนาเมืองที่ยั่งยืนทั้งทางเศรษฐกิจ ด;านสังคม สิ่งแวดล;อมในอนาคต 2.1.4 COP26 COP26 เป^ น การประชุ ม สมั ช ชาประเทศภาคี อ นุ ส ั ญ ญาสหประชาชาติ ว L า ด; ว ยการเปลี ่ ย นแปลง สภาพภูมิอากาศ ครั้งที่ 26 หรือ การประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติวLาด;วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 (UNFCCC COP26) จัดขึ้นที่เมืองกลาสโกว[ ประเทศสกอตแลนด[ เมื่อชLวงเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ที่ผLานมา สืบเนื่องจากการประชุม COP21 เมื่อปb พ.ศ. 2559 ณ กรุงปารีส นานาชาติ รวม 197 ประเทศได;ตกลงที่จะรLวมมือกันรักษาอุณหภูมิโลกไมLให;สูงขึ้นเกิน 2 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับ ระดับกLอนยุคอุตสาหกรรม โดยตั้งเป*าไว;ที่ 1.5 องศาเซลเซียส ทำให;เกิดข;อตกลงปารีส (Paris Agreement) ขึ้น ภายใต;ข;อตกลงนี้ ประเทศตLาง ๆ ทั่วโลกมุLงมั่นที่จะสร;างการมีสLวนรLวมที่ประเทศกำหนด (Nationally Determined Contributions หรือ NDCs) ซึ่งเป^นแผนปฏิบัติการลดการปลLอยก’าซเรือนกระจกระดับชาติ โดยทุก ๆ 5 ปb ประเทศตLาง ๆ จะต;องกลับมาด;วยแผนการฉบับที่ปรับปรุงใหมL สำหรับ COP26 นี้ ประเทศ ที ่ เ ข; า รL ว มประชุ ม ได; ป ระกาศแผนการลดการปลL อ ยก’ า ซเรื อ นกระจกภายในปb 2030 รวมทั ้ ง มี ข ; อ ตกลง ในการเลิกใช;ถLานหินและการเปลี่ยนไปใช;ยานพาหนะไฟฟ*า ซึ่งจะมีการดำเนินการเพื่อปกป*องธรรมชาติมากขึ้น1 1

https://workpointtoday.com/tomorrow-x-finnomena-cop26-01/ รายงานขั้นต*น

2-5


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

เป*าหมายของ COP26 ประกอบด;วย 4 เป*าหมาย2 ดังนี้ 1. ทำให;การปลLอยก’าซเรือนกระจกสุทธิทั่วโลกเป^นศูนย[ภายในกลางศตวรรษ และรักษาระดับอุณหภูมิ ที่เพิ่มขึ้นไว;ที่ 1.5 องศาเซลเซียส ประเทศตLาง ๆ จะถูกขอให;นำเสนอแผนการลดการปลLอย ก’าซเรือนกระจก โดยเรLงการยกเลิกการใช;ถLานหิน ควบคุมการตัดไม;ทำลายปoา เรLงให;เปลี่ยนมาใช; รถยนต[ที่ขับเคลื่อนด;วยไฟฟ*า และสนับสนุนการลงทุนให;ใช;พลังงานหมุนเวียน 2. ปรับตัวเพื่อปกป*องชุมชนและธรรมชาติ ด;วยการปกป*องและฟmnนฟูระบบนิเวศ รวมทั้ง 3. สร;างการป*องกัน ระบบเตือนภัย และโครงสร;างพื้นฐานและเกษตรกรรมที่ปรับตัวได; (Resilient) เพื่อหลีกเลี่ยงความสูญเสียชีวิต บ;านเรือนที่อยูLอาศัยและการทำมาหากิน 4. ระดมทุน เพื่อให;บรรลุ 2 เป*าหมายข;างต;น ประเทศที่พัฒนาแล;วต;องปฏิบัติตามสัญญาที่จะมอบเงิน 1 แสนล;านดอลลาร[ตLอปbจัดตั้งเป^นทุน โดยสถาบันการเงินนานาชาติต;องทำหน;าที่ปลLอยเงินทุน ให;แกLภาครัฐและเอกชนเพื่อกิจกรรมลดการปลLอยก’าซเรือนกระจกสุทธิให;เป^นศูนย[ 5. ทำงานรL ว มกั น ให; ล ุ ล L ว ง โดยใช; แ นวทางการเงิ น ที ่ ไ ด; จ ากการประชุ ม Paris Agreement และเรLงการทำงานรLวมกันของภาครัฐ ภาคธุรกิจ และประชาสังคม พลเอกประยุทธ[ จันทร[โอชา นายกรัฐมนตรี เข;ารLวมการประชุม World Leaders Summit ซึ่งเป^น สLวนหนึ่งของการประชุม COP26 ได;ประกาศเป*าหมายที่ไทยจะบรรลุความเป^นกลางทางคาร[บอน (Carbon Neutrality) ภายในปb ค.ศ. 2050 และจะปลLอยก’าซเรือนกระจกสุทธิเป^นศูนย[ (Net Zero Greenhouse Gas Emission) ภายในปb ค.ศ. 2065 เพื่อรLวมแก;ป_ญหาอุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นอยLางเรLงดLวน รวมทั้งนำเสนอแนวคิด เศรษฐกิจบีซีจีของไทยเพื่อนำไปสูLการปรับกระบวนทัศน[และการพัฒนาเศรษฐกิจที่เป^นมิตรตLอสิ่งแวดล;อม และเป^นวาระหลักของการประชุมเอเปคที่ไทยจะเป^นเจ;าภาพในปb พ.ศ. 2565 นี้3 การประชุม COP26 นี้ได;บรรลุข;อตกลงใหญLข;อแรก คือ ปฏิญญาผู;นำกลาสโกว[วLาด;วยการปoาไม; และการใช;ที่ดินของผู;นำกลาสโกว[” (Glasgow Leaders’ Declaration on Forests and Land Use) ซึ่งผู;นำ ให;คำมั่นสัญญาวLาจะเสริมสร;างความพยายามรLวมกันในการอนุรักษ[และฟmnนฟูปoาไม;และระบบนิเวศบนบกอื่น ๆ รวมทั้งอำนวยความสะดวกด;านนโยบายการค;าและการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในระดับสากลและในประเทศ4 จะหยุดยั้งการทำลายปoาพร;อมฟmnนฟูผืนปoาและผืนดินที่เสื่อมโทรม ภายในปb 2030 โดยเนื้อหาในปฏิญญานี้ ประกอบด;วย

2

https://ukcop26.org/cop26-goals/ https://www.mfa.go.th/th/content/cop26-pm?cate=5d5bcb4e15e39c306000683b 4 https://thaipublica.org/2021/11/cop26-world-leaders-action-on-forests-and-land-use/ 3

2-6

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

1. อนุรักษ[และเรLงฟmnนฟูปoาไม;และระบบนิเวศบนบก 2. อำนวยความสะดวกด;านนโยบายการค;าและการพัฒนาที่สLงเสริมความยั่งยืนทั้งในระดับสากล และในระดับประเทศ รวมถึงด;านการผลิตและการบริโภคที่ไมLเรLงทำลายปoาไม;และที่ดิน 3. ลดการทำลาย โดยสร;างความสามารถในการปรับตัว (Resilience) และสLงเสริมการทำมาหากินของ คนในชนบท มอบอำนาจให; ช ุ ม ชนดำเนิ น การ พั ฒ นาการเกษตรที ่ ย ั ่ ง ยื น และได; ผ ลผลิ ต สู ง ตระหนักถึงคุณคLาความสำคัญที่หลากหลายของปoาไม; รวมทั้งตระหนักถึงสิทธิของคนพื้นเมือง และชุมชนท;องถิ่นให;สอดคล;องกับกฎหมายระดับชาติและระดับนานาชาติ 4. ปรับใช;นโยบายและแผนงานด;านการเกษตรที่จูงใจให;ทำการเกษตรอยLางยั่งยืน ที่สLงเสริมความมั่นคง ทางอาหารและสิ่งแวดล;อม 5. ให;การสนับสนุนด;านเงินทุนในการทำการเกษตรอยLางยั่งยืน การจัดการปoาไม;อยLางยั่งยืน การอนุรักษ[ และฟmnนฟูปoาไม; รวมถึงการสนับสนุนคนพื้นเมืองและชุมชนท;องถิ่น ด;วยการระดมทุนและลงทุน จากภาครัฐและภาคเอกชน ให;มีการเข;าถึงแหลLงทุนที่สะดวกและมีประสิทธิภาพ 6. สนับสนุนระบบหมุนเวียนของการเงินให;สอดคล;องกับเป*าหมายนานาชาตินี้ที่จะเปลี่ยนการสูญเสีย และความเสื่อมโทรมของปoาไม; ด;วยนโยบายและระบบที่เข;มแข็งซึ่งจะชLวยเรLงเศรษฐกิจที่ปรับตัวได; ซึ่งสLงเสริมการรักษาปoาไม; การใช;ที่ดินอยLางยั่งยืน ความหลากหลายทางชีวภาพ และเป*าหมาย ด;านการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศด;วย 2.1.5 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) สมาคมประชาชาติแหLงเอเชียตะวันออกเฉียงใต; หรือ อาเซียน (ASEAN) กLอนตั้งขึ้นในปb พ.ศ. 2510 มี วั ตถุ ประสงค[ เ พื ่ อสร; างสั นติ ภาพในภู มิ ภาคสู L ความเจริ ญก; าวหน; าทางเศรษฐกิ จ สั ง คมและวั ฒนธรรม มีการจัดทำแผนงานในเชิงบูรณาการด;านเศรษฐกิจตLาง ๆ หรือพิมพ[เขียว (AEC Blueprint) กำหนดเป*าหมาย รLวมกัน ประกอบด;วย 4 สLวนหลัก ได;แกL การเป^นตลาดและฐานการผลิตเดียว การสร;างขีดความสามารถ ในการแขLงขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน การพัฒนาเศรษฐกิจอยLางเสมอภาคโดยการพัฒนา SMEs และการบูรณาการ เข;ากับเศรษฐกิจโลก ความรLวมมือของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนสLงผลตLอนโยบายและแผนการพัฒนาของประเทศไทย โดยเฉพาะการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ซึ่งให;น้ำหนักกับการสร;างมูลคLาทางเศรษฐกิจเป^นหลัก มีการสLงเสริม สาขาอุตสาหกรรมที่มีขนาดใหญLและเป^นอุตสาหกรรมที่เน;นการสLงออก ซึ่งมีความอLอนไหวตLอการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจและความต;องการของตลาดโลก เมื่อเผชิญกับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจจึงทำให;ภาคอุตสาหกรรมไทย ได;รับผลกระทบโดยตรง ในขณะเดียวกันประเทศไทยสามารถใช;จุดแข็งและโอกาสที่มีวัตถุดิบด;านการเกษตร

รายงานขั้นต*น

2-7


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

ที่เป^นอาหาร พลังงาน วัสดุทดแทนสิ่งสังเคราะห[ ที่ตอบสนองความต;องการสินค;าเพื่อสุขภาพที่มาจาก วัสดุธรรมชาติมากขึ้น5 ผลกระทบจากความรLวมมือนี้ ประกอบกับแนวโน;มของสถานการณ[เศรษฐกิจที่มุLงสูLการพัฒนาเศรษฐกิจ แบบองค[ รวมด; วย 3 เศรษฐกิ จ ได; แกL เศรษฐกิ จชี วภาพ (Bioeconomy) เศรษฐกิ จหมุ นเวี ยน (Circular Economy) และเศรษฐกิ จสี เ ขี ยว (Green Economy) หรื อที ่ เรี ยกวL า BCG Model ซึ ่ ง รั ฐบาลผลั กดั นให; การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศด;วยนโยบายตLาง ๆ เชLน นโยบายเศรษฐกิจเชิงสร;างสรรค[ (Creative Economy Policy) นโยบายการพัฒนาจังหวัดและกลุLมจังหวัดแบบบูรณาการ (Cluster of City Policy) นโยบายประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) นโยบายเศรษฐกิจบนฐานการเกษตร (Agro-Based Resource Economy) 2.1.6 โครงการพั ฒ นาความรZ ว มมื อ ระหวZ า งประเทศในอนุ ภ ู ม ิ ภ าคลุ Z ม แมZ น ้ ำ โขง (Greater Mekhong Sub-region Cooperation : GMS) GMS เปY น โครงการเพื ่ อ ส4 ง เสริ ม การค= า การลงทุ น อุ ต สาหกรรม การเกษตร ท4 อ งเที ่ ย วและบริ ก าร เปYนความเคลื่อนไหวระดับประเทศที่สำคัญที่กระตุ=นให=เกิดการรวมตัวกันเปYนภูมิภาคเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก มีแนวเส=นทางระเบียงเศรษฐกิจเชื่อมโยงภูมิภาค ประกอบด=วย ระเบียงเศรษฐกิจเหนือใต= (North-South Economic Corridor, NSEC) จากคุ นหมิ ง ผ4 านลาวหรื อพม4 า เข= าสู 4 เ ชี ยงราย ไปจนถึ ง กรุ ง เทพมหานคร ระเบี ยงเศรษฐกิ จ ตะวั น ออก-ตะวั น ตก (East-West Economic Corridor, EWEC) เชื ่ อ มต4 อ เมี ย วดี -แม4 ส อด-พิ ษ ณุ โ ลก-ขอนแก4 นกาฬสิ น ธุL -มุ ก ดาหาร-ดองฮา-ดานั ง และแนวพื ้ น ที ่ เ ศรษฐกิ จ เหนื อ -ใต= (Southern Economic Corridor, SEC) เชื่อมโยงไทย-กัมพูชา-เวียดนาม จากกรุงเทพมหานคร ผ4านอรัญประเทศ ปอยเปต เสียมเรียบ โฮจิมินหL วุ4งเต4า และผ4านตราด สู4เกาะกง กำปอต ในกัมพูชา จนถึงเวียดนาม

เส; น ทางระเบี ย งเศรษฐกิ จ เหลL า นี้ ท ำให; เ กิ ด โอกาสทางเศรษฐกิ จ สำหรั บ ประเทศไทย ทำให; เ กิ ด พื้นที่เศรษฐกิจใหมL กระตุ;นกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวพื้นที่การพัฒนา ซึ่งสLงผลตLอการกระจายรายได;ฅ และลดป_ญหาความยากจน มีการผLอนคลายกฎระเบียบที่เป^นอุปสรรคตLอการค;าและการลงทุนระหวLางประเทศ มีการพัฒนาโครงสร;างพื้นฐาน สามารถกระจายสินค;าได;อยLางมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีตลาดสินค;าที่ใหญLขึ้น มีการพัฒนาอุตสาหกรรมทLองเที่ยว และดึงดูดนักลงทุนเข;ามาลงทุน เพื่อให;เกิดการพัฒนาขีดความสามารถใน การแขLงขัน

5

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC): โอกาสและผลกระทบต{อภาคอุตสาหกรรมไทย https://www.senate.go.th/assets/portals/49/files/ store/asean4%20Thai_Industry_and_AEC.pdf 2-8

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

ภาพที่ 2-1 แสดงเส;นทางระเบียงเศรษฐกิจ (GMS Economic Corridors)6 6

https://greatermekong.org/content/economic-corridors-in-the-greater-mekong-subregion รายงานขั้นต*น

2-9


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

2.1.7 ยุ ท ธศาสตร2 ค วามรZ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ อิ ร วดี - เจ; า พระยา-แมZ โ ขง (Aeyawade-Chao Praya-Mekhong Economic Cooperation : ACMECS) ACMECS เป^ น กรอบความรL ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ ในระดั บ อนุ ภ ู ม ิ ภ าคที ่ จ ั ด ตั ้ ง ขึ ้ น เพื ่ อ ใช; ป ระโยชน[ จากความแข็งแกรLงและความหลากหลายของทั้ง 5 ประเทศสมาชิก เพื่อสLงเสริมการพัฒนาอยLางสมดุล ซึ่งอยูLภายใต;กรอบแนวคิดของ GMS เป^นกรอบความรLวมมือระหวLาง 5 ประเทศ ได;แกL กัมพูชา ลาว พมLา ไทย และเวียดนาม ดำเนินการเพื่อแก;ป_ญหาอันเกิดจากความแตกตLางของระดับการพัฒนาที่ไมLเทLาเทียมกัน ลดชLองวLางระหวLางประเทศเพื่อเสริมสร;างความมั่งคั่งและมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจรLวมกันอยLางยั่งยืน ACMECS เน;นการทำงานที่สLงเสริมและตLอยอดโครงการความรLวมมือที่มีอยูLแล;วในภูมิภาคเพื่อสLงเสริมให; พื้นที่ชายแดนของประเทศสมาชิกเป^นพื้นที่แหLงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และความเจริญก;าวหน;า ทางสังคมวัฒนธรรม พร;อมทั้งเป^นการผสานผลประโยชน[ทั้งในระดับท;องถิ่น ระดับชาติ และระดับภูมิภาค ให;เป^นผลประโยชน[รLวมกัน เพื่อสร;างความเจริญ ความเป^นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ความสงบสุข ความมั่นคง และความเป^นเพื่อนบ;านที่ดีระหวLางประเทศสมาชิกกิจกรรมภายใต;กรอบ ACMECS ความรLวมมือนี้มีแนวคิดในการจัดระบบเศรษฐกิจตามแนวชายแดนให;เชื่อมโยงกันได;อยLางมีประสิทธิภาพ เป^นกรอบความรLวมมือทางเศรษฐกิจในระดับอนุภูมิภาคที่จัดตั้งขึ้นเพื่อใช;ประโยชน[จากความแข็งแกรLง และความหลากหลายของทั้ง 5 ประเทศสมาชิกเพื่อสLงเสริมการพัฒนาอยLางสมดุล ซึ่งครอบคลุมความรLวมมือ 8 สาขา ได;แกL การอำนวยความสะดวกการค;าการลงทุน การเกษตร อุตสาหกรรมและพลังงาน การเชื่อม เส;นทางคมนาคม การทLองเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย[ สาธารณสุข และสิ่งแวดล;อม โดยมีวัตถุประสงค[ เพื่อสร;างความเจริญตามพื้นที่แนวชายแดน การย;ายอุตสาหกรรมการผลิตและการเกษตรไปสูLพื้นที่ที่มี ความได;เปรียบ เพื่อให;เกิดสันติภาพ เสถียรภาพ และความเจริญของประเทศสมาชิก ยุ ท ธศาสตร[ ค วามรL ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ อิ ร ะวดี - เจ; า พระยา-แมL โ ขง (ACMECS) ให; ค วามสำคั ญ กับกิจกรรมใน 6 สาขาความรLวมมือหลัก ได;แกL 1) การอำนวยความสะดวกด;านการค;าและการลงทุน เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจสังคม 2) ความรLวมมือด;านการเกษตรและอุตสาหกรรม เพื่อเสริมสร;างความเข;มแข็งและสLงเสริมความรLวมมือ 3) 4) 5) 6)

ด;านการเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงการคมนาคม พัฒนาการเชื่อมโยงการขนสLง อำนวยความสะดวกด;านทLองเที่ยว ความรLวมมือด;านการทLองเที่ยว สLงเสริมความรLวมมือและอำนวยความสะดวกการทLองเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย[ สLงเสริมการเสริมสร;างขีดความสามารถของคนและสถาบัน ความรLวมมือด;านสาธารณสุข สLงเสริมการวิจัยและพัฒนาด;านสาธารณสุขและแลกเปลี่ยนข;อมูล ขLาวสารระหวLางกัน

จากยุทธศาสตร[ความรLวมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี-เจ;าพระยา-แมLโขง (ACMECS) ให;ความสำคัญ กับกิจกรรมใน 6 สาขาความรLวมมือหลักโดย ความรLวมมือด;านการทLองเที่ยว สLงผลตLอการพัฒนากลุLมล;านนา 2-10

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

ตะวันออก โดยสLงเสริมยุทธศาสตร[รLวมสำหรับความรLวมมือด;านการทLองเที่ยวระหวLางประเทศที่เกี่ยวข;อง อำนวยความสะดวกการทL อ งเที ่ ย วในหมู L ท ั ้ ง สี ่ ป ระเทศและจากภู ม ิ ภ าคอื ่ น ๆ และสาขาการเชื ่ อ มโยง การคมนาคม สL ง เสริ ม พั ฒ นาและใช; ป ระโยชน[ จ ากการเชื ่ อ มโยงการขนสL ง ระหวL า งประเทศที ่ เ กี ่ ย วข; อ ง อำนวยความสะดวกสำหรับการค;า การลงทุน เกษตรกรรม การผลิตทางอุตสาหกรรม และการทLองเที่ยว โดยภายใต;ความรLวมมือ ACMECS มีตัวอยLางโครงการที่สำคัญด;านการพัฒนาการทLองเที่ยว (Tourism) ได;แกL การจัดทำความตกลงตรวจลงตราเดียว (ACMECS Single Visa) ระหวLางไทย - กัมพูชา เมื่อเดือน ธ.ค. 2550 เป^นโครงการนำรLอง ระหวLาง 2 ประเทศสมาชิกซึ่งมีการบังคับใช;แล;วตั้งแตLวันที่ 27 ธ.ค. 2555

2.2 ยุทธศาสตร-และนโยบายระดับประเทศ 2.2.1 ยุทธศาสตร2ชาติ ยุทธศาสตร[ชาติ เป^นเป*าหมายในการพัฒนาประเทศอยLางยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อใช;เป^นกรอบ ในการจัดทำแผนตLาง ๆ ให;สอดคล;องและบูรณาการกัน อันจะกLอให;เกิดเป^นพลังผลักดันรLวมกันไปสูLเป*าหมาย ดังกลLาว ตามระยะเวลาที่กำหนดไว;ในยุทธศาสตร[ชาติ 20 ปb (พ.ศ.2561-2580) อันเป^นยุทธศาสตร[ชาติ ฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญแหLงราชอาณาจักรไทยซึ่งต;องนำไปสูLการปฏิบัติเพื่อให;ประเทศไทย บรรลุวิสัยทัศน[ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป^นประเทศพัฒนาแล;ว ด;วยการพัฒนาตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” โดยการพัฒนาประเทศในชLวงระยะเวลาของยุทธศาสตร[ชาติจะมุLงเน;นการสร;างสมดุล ระหวLางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล;อม โดยประกอบด;วย 6 ยุทธศาสตร[ ได;แกL ด;านความมั่นคง ด; า นการสร; า งความสามารถในการแขL ง ขั น ด; า นการพั ฒ นาและเสริ ม สร; า งศั ก ยภาพทรั พ ยากรมนุ ษ ย[ ด;านการสร;างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ด;านการสร;างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป^นมิตร ตLอสิ่งแวดล;อม ด;านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ยุทธศาสตร[ชาติจัดทำเพื่อเป^นเป*าหมายการพัฒนาในระยะยาว ในการกำหนดวิสัยทัศน[ เป*าหมาย อนาคตของประเทศ และทิ ศ ทางในการขั บ เคลื ่ อ นประเทศให; ส อดคล; อ งกั บ ประเด็ น การเปลี ่ ย นแปลง และความท;าทายตLาง ๆ ของบริบทโลก และบริบทการพัฒนาภายในประเทศ โดยประเด็นหลักที่เกี่ยวข;องกับ พื้นที่ คือ ยุทธศาสตร[ที่ 2 การพัฒนาด;านการสร;างความสามารถในการแขLงขัน เป^นการเพิ่มความสามารถ ในการแขLงขันและการพัฒนาอยLางยั่งยืนทั้งใน สาขาอุตสาหกรรม เกษตรและบริการ การสร;างความมั่นคง และปลอดภัยด;านอาหาร การเพิ่มขีดความสามารถทางการค;าและการเป^นผู;ประกอบการ รวมทั้งการพัฒนา ฐานเศรษฐกิจแหLงอนาคต ตLอยอดอดีต โดยมองกลับไปที่รากเหง;าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ[ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเดLนทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้งความได;เปรียบเชิงเปรียบเทียบของ ประเทศในด;านอื่น ๆ นำมาประยุกต[ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม ปรับป_จจุบัน เพื่อปูทางสูLอนาคต ผLานการพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานของประเทศในมิติตLาง ๆ ทั้งโครงขLายระบบคมนาคมและขนสLง โครงสร;าง พื้นฐานวิทยาศาสตร[ เทคโนโลยีและดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล;อมให;เอื้อตLอการพัฒนาอุตสาหกรรม และบริการอนาคต สร;างคุณคLาใหมLในอนาคต ด;วยการเพิ่มศักยภาพของผู;ประกอบการ พัฒนาคนรุLนใหมL รายงานขั้นต*น

2-11


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองตLอความต;องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร[ที่รองรับอนาคต บนพื้นฐานของการตLอยอดอดีตและปรับป_จจุบัน พร;อมทั้งการสLงเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐให;ประเทศไทย สามารถสร;างฐานรายได;และการจ;างงานใหมL ขยายโอกาสทางการค;าและการลงทุนในเวทีโลก ควบคูLไปกับ การยกระดับรายได;และการกินดีอยูLดี รวมถึงการเพิ่มขึ้นของคนชั้นกลางและลดความเหลื่อมล้ำของคน ในประเทศได;ในคราวเดียวกัน และยุทธศาสตร[ที่ 5 ด;า นการสร;างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป^นมิตร ตLอสิ่งแวดล;อม มีเป*าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อนำไปสูLการบรรลุเป*าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งมิติ ด;านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล;อม ธรรมาภิบาล และความเป^นหุ;นสLวนความรLวมมือระหวLางกันทั้งภายใน และภายนอกประเทศอยLางบูรณาการ ใช;พื้นที่เป^นตัวตั้งในการกำหนดกลยุทธ[และแผนงาน และการให; ทุกฝoายที่เกี่ยวข;องได;เข;ามามีสLวนรLวมในแบบทางตรงให;มากที่สุดเทLาที่จะเป^นไปได; โดยเป^นการดำเนินการ บนพื้นฐานการเติบโตรLวมกัน ไมLวLาจะเป^นทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล;อม และคุณภาพชีวิต โดยให;ความสำคัญ กับการสร;างสมดุลทั้งสามด;าน อันจะนำไปสูLความยั่งยืนเพื่อคนรุLนตLอไปอยLางแท;จริง 2.2.2 แผนแมZบทภายใต;ยุทธศาสตร2ชาติ แผนแมLบทภายใต;ยุทธศาสตร[ชาติเป^นสLวนสำคัญในการถLายทอดเป*าหมายและประเด็นยุทธศาสตร[ของ ยุทธศาตร[ชาติสูLแผนระดับตLาง ๆ โดยมีประเด็นทั้งสิ้น 23 ประเด็น ที่กำหนดประเด็นในลักษณะที่มีความบูรณาการ และเชื่อมโยงระหวLางยุทธศาสตร[ชาติที่เกี่ยวเนื่อง และประเด็นการพัฒนาไมLมีความซ้ำซ;อนกันระหวLาง แผนแมLบทฯ เพื่อเป^นแนวทางในการปฏิบัติของหนLวยงาน ระบุแนวทางการพัฒนาและกำหนดแผนงาน/ โครงการตLาง ๆ ที่สามารถสะท;อนผลสัมฤทธิ์ของเป*าหมายของยุทธศาสตร[ชาติด;านที่เกี่ยวข;องได;อยLางเป^นรูปธรรม การจัดทำแผนผังภูมินิเวศ เป^นสLวนสำคัญของแผนแมLบทฯ ประเด็นภายใต;ยุทธศาสตร[ด;านการสร;าง การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป^นมิตรกับสิ่งแวดล;อม ประเด็นที่ 4.4 พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรม และอุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เ วศ มุ L ง เน; น ความเป^ น เมื อ งที ่ เ ติ บ โตอยL า งตL อ เนื ่ อ ง โดยจั ด ทำแผนผั ง ภู ม ิ น ิ เ วศ เพื ่ อ การพั ฒ นาเมื อ ง ชนบท พื ้ น ที ่ เ กษตรกรรมและอุ ต สาหกรรมรวมถึ ง พื ้ น ที ่ อ นุ ร ั ก ษ[ ต ามศั ก ยภาพ และความเหมาะสมทางภูมินิเวศอยLางเป^นเอกภาพ พร;อมทั้งมีแผนแมLบทภายใต;ยุทธศาตร[ชาติ ประเด็นที่ 6 เรื ่ อ งพื ้ น ที ่ แ ละเมื อ งนL า อยู L อ ั จ ฉริ ย ะ ที ่ ก ำหนดแผนยL อ ยการพั ฒ นาพื ้ น ที ่ เ มื อ ง ชนบท เกษตรกรรม และอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ที่มีการบริหารจัดการตามแผนผังภูมินิเวศ อยLางยั่งยืน โดยเป*าหมายของแผนยLอยนี้ คื อ ความยั ่ ง ยื น ทาง ภู ม ิ น ิ เ วศ ภู ม ิ ส ั ง คม และภู ม ิ ว ั ฒ นธรรม และตั ว ชี ้ ว ั ด ที ่ ม ี ค L า เป* า หมายในชL ว งระยะ ปb พ.ศ. 2561-2565 ให;มีพื้นที่ที่มีการดำเนินการสงวนรักษา อนุรักษ[ฟmnนฟู และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ มรดกทางสถาป_ ต ยกรรม และศิ ล ปวั ฒ นธรรม อั ต ลั ก ษณ[ และวิ ถ ี ช ี ว ิ ต พื ้ น ถิ ่ น บนฐานธรรมชาติ และฐานวั ฒ นธรรมอยL า งยั ่ ง ยื น ในพื ้ น ที ่ อยL า งน; อ ย 3 จั ง หวั ด ใน 1 ภาค โดยสำนั ก งานนโยบาย และแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล; อ มซึ ่ ง เป^ น หนL ว ยงานที ่ ไ ด; ร ั บ มอบหมายในการดำเนิ น การ ตามแผนแมLบทฯ ในประเด็นที่ 6 เรื่องพื้นที่และเมืองนLาอยูLอัจฉริยะ จึงจัดให;มีการดำเนินการโครงการจัดวาง แผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือเป^นพื้นที่นำรLองในปb 2565 นี้ 2-12

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

ภาพที่ 2-2 การตอบเป*าหมายการพัฒนาของยุทธศาสตร[ชาติของแผนแมLบทภายใต;ยุทธศาสตร[ชาติ7

7

http://nscr.nesdb.go.th/wp-content/uploads/2019/12/สรุปแผนแม{บทภายใต;ยุทธศาตร2ชาติ.pdf รายงานขั้นต*น

2-13


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

2.2.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหZงชาติ แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแหL ง ชาติ ฉบั บ ที ่ 12 พ.ศ.2560-2564 กำหนดยุ ท ธศาสตร[ 10 ยุ ท ธศาสตร[ ได; แ กL 1) การเสริ ม สร; า งและพั ฒ นาศั ก ยภาพทุ น มนุ ษ ย[ 2) การสร; า งความเป^ น ธรรม และลดความเหลื ่ อ มล้ ำ ในสั ง คม 3) การสร; า ง ความเข; ม แข็ ง ทางเศรษฐกิ จ และแขL ง ขั น ได; อ ยL า งยั ่ ง ยื น 4) การเติบโตที่เป^นมิตรกับสิ่งแวดล;อมเพื่อการพัฒนาอยLางยั่งยืน 5) การเสริมสร;างความมั่นคงแหLงชาติ เพื่อการพัฒนาประเทศสูLความมั่งคั่งและยั่งยืน 6) การบริหารจัดการในภาครัฐการป*องกันการทุจริตประพฤติ มิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย 7) การพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส[ 8) การพัฒนา วิทยาศาสตร[ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม 9) การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ และ10) ความรLวมมือ ระหวLางประเทศเพื่อการพัฒนา ทั้งนี้ จากยุทธศาสตร[ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ เป^นป_จจัยสำคัญในวางแผนพัฒนาเมือง ได;มีแนวทางการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจภูมิภาคที่สำคัญ คือ ภาคเหนือกำหนดเป^นฐานเศรษฐกิจมูลคLาสูง ตลอดจนการกำหนดให; จ ั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลกเป^ น จั ง หวั ด ที ่ ม ี ศ ั ก ยภาพในการพั ฒ นาพื ้ น ที ่ ใ ห; เ ป^ น ศู น ย[ ก ลาง ทางเศรษฐกิจ การค;า บริการธุรกิจสุขภาพ การศึกษา และธุรกิจด;านดิจิตอล โดยเน;นการพัฒนาและปรับปรุง โครงขLายเส;นทางคมนาคม ทั้งระบบขนสLงสาธารณะและการขนสLงหลายรูปแบบ เชLน โครงการพัฒนาสี่แยก อินโดจีน โครงการพัฒนาระบบรางรถไฟคูL เป^นต;น เพื่อการสัญจรที่เชื่อมโยงระหวLางเมืองและพื้นที่โดยรอบ อีกทั้งมีการยกระดับสนามบินพิษณุโลกให;เป^นสนามบินนานาชาติ และการพัฒนารถไฟความเร็วสูงเพื่อรองรับ การพัฒนา การขยายตัวของเมือง และจำนวนนักทLองเที่ยวที่จะเพิ่มขึ้น ป_ จ จุ บ ั น มี ก ารจั ด ทำรL า งแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแหL ง ชาติ ฉบั บ ที ่ 13 (พ.ศ.2566-2570) อยูLในขั้นตอนรับฟ_งความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศเพื่อนำมาปรับปรุงรLางแผนฯ โดยขั้นตอนตLอไป เป^นการเสนอรLางแผนฯ 13 ตLอสภาพัฒนาฯ และคณะกรรมการยุทธศาสตร[แหLงชาติ เพื่อนำเสนอรLางแผนฯ 13 ตLอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาพ นายกรัฐมนตรีขึ้นทูลเกล;าฯ และประกาศใช;อยLางเป^นทางการตLอไป โดยคาดวLา จะประกาศใช;ภายในเดือนมีนาคม พ.ศ.2565 เป^นต;นไป โดยรLางแผนฯ 13 มีวัตถุประสงค[เพื่อพลิกโฉม ประเทศไทยสูL “สังคมก;าวหน;า เศรษฐกิจสร;างมูลคLาอยLางยั่งยืน” เป*าหมายหลัก 5 ประการ ได;แกL 1) การปรับ โครงสร;างการผลิตสูLเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม 2) การพัฒนาคนสำหรับโลกยุคใหมL 3) การมุLงสูLสังคมแหLงโอกาส และความเป^นธรรม 4) การเปลี่ยนผLานไปสูLความยั่งยืน และ 5) การเสริมสร;างความสามารถของประเทศ ในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและความเสี่ยง ภายใต;บริบทโลกใหมL โดยมีหมุดหมายทั้งหมด 13 ประการ โดยแบL ง ออกเป^ น 4 มิ ต ิ ได; แ กL มิ ต ิ ภ าคการผลิ ต และบริ ก ารเป* า หมาย มิ ต ิ โ อกาสและความเสมอภาค ทางเศรษฐกิจและสังคม มิติความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม มิติป_จจัยผลักดันการพลิกโฉม ประเทศแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแหL ง ชาติ เป^ น การถL า ยทอดยุ ท ธศาตร[ ช าติ ซึ ่ ง เป^ น แผน 20 ปb สูLแผนระยะ 5 ปb ซึ่งป_จจุบันเป^นชLวงปลายของแผนฯ ฉบับที่ 12 ใช;ดำเนินการระหวLางปb พ.ศ. 2560-2564 ได;กำหนดยุทธศาสตร[ที่ 4 การเติบโตที่เป^นมิตรกับสิ่งแวดล;อมเพื่อการพัฒนาอยLางยั่งยืน และป_จจุบัน

2-14

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

มี ก ารดำเนิ น การจั ด ทำแผนพั ฒนาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแหL ง ชาติ ฉบั บ ที ่ 13 ให; “พลิ ก โฉมประเทศไทย สู L เ ศรษฐกิ จ สร; า งคุ ณ คL า สั ง คมเดิ น หน; า อยL า งยั ่ ง ยื น (Transformation to Hi-Value and Sustainable Thailand)” ซึ่งกรอบเป*าหมายที่สอดคล;องกับภารกิจของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล;อม คือ องค[ประกอบที่ 3 : วิถีชีวิตยั่งยืน (Eco-Friendly Living) วิถีชีวิตที่ยั่งยืน การสร;าง เศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร[บอนต่ำ หมุดหมายที่ 11 : ไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบ จากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื ่ อ พลิ ก โฉมประเทศไทย หรื อ เปลี ่ ย นแปลงประเทศขนานใหญL (Thailand's Transformation) ตามกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหLงชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2566 – 2570 มีการกำหนดแนวทาง การพั ฒ นาภายใต; แ นวคิ ด “Resilience” ซึ ่ ง มี จ ุ ด มุ L ง หมายในการลดความเปราะบาง สร; า งความพร; อ ม ในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง สามารถปรับตัวให;อยูLรอดได;ในสภาวะวิกฤติ โดยหมุดหมายหนึ่ง คือ การผลักดันการสร;าง “วิถีชีวิตที่ยั่งยืน” ด;วยการกำหนดให;มีมาตรการการปรับตัวที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และการดำเนินชีวิตของประชาชน อนุรักษ[ ฟmnนฟูทรัพยากรธรรมชาติให;อยูLในสภาพดี วางแผนการใช;ประโยชน[ที่ดิน การจั ด ทำโครงสร; า งพื ้ น ฐานและสิ ่ ง กL อ สร; า ง เพื ่ อ ลดผลกระทบจากการเปลี ่ ย นแปลงสภาพภู ม ิ อ ากาศ และบูรณาการเข;ากับการวางแผนพัฒนาพื้นที่ จากการทบทวนยุ ท ธศาสตร[ แ ละนโยบายระดั บ สากลและระดั บ ประเทศข; า งต; น สามารถสรุ ป ความเชื่อมโยงที่มีผลตLอแนวทางการพัฒนา โดยเฉพาะมิติการพัฒนาเมืองได;เป^น 6 มิติ คือ ด;านเมือง และการตั ้ ง ถิ ่ น ฐาน ด; า นโครงสร; า งพื ้ น ฐานของเมื อ ง ด; า นเศรษฐกิ จ ด; า นสั ง คมและวั ฒ นธรรม ด;านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม และด;านการบริหารปกครอง โดยมิติการพัฒนาเมืองแตLละด;าน มีเป*าหมายการพัฒนารLวมกับกลุLมเป*าหมายใน SDGs ทั้ง 17 เป*าหมาย และสัมพันธ[กับยุทธศาสตร[ชาติ/ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหLงชาติครอบคลุมทั้ง 10 ยุทธศาสตร[ ดังภาพที่ 2-3

รายงานขั้นต*น

2-15


ภาพที่ 2-3 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร[และนโยบายระดับสากลและระดับประเทศตLอมิติการพัฒนาเมือง

โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

2-16

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

2.2.4 การผังเมืองเชิงนโยบาย ผังประเทศ ป_จจุบันกรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทยกำลังดำเนินการจัดทำผังประเทศฉบับใหมL เพื่อทดแทนผังประเทศเดิมซึ่งเป^นผังที่มีเป*าหมายสำหรับปb พ.ศ. 2600 ในสLวนของวิสัยทัศนLของผังประเทศ

พ.ศ. 2600 “ประเทศไทยเปYนประเทศชั้นนำของโลกในด=านเกษตร อุตสาหกรรมการเกษตร และเทคโนโลยีด=านอาหาร การบริการด=านสุขภาพ และการท4องเที่ยว ประชาชนมีสุขภาพชีวิตที่ดีท4ามกลางสิ่งแวดล=อมที่น4าอยู4ประเทศชาติมั่นคง และมีการพัฒนาที่ยั่งยืน” โดยมียุทธศาสตรLการพัฒนาพื้นที่ดังนี้ 1. ยุ ท ธศาสตรL ก ารกระจายความเจริ ญ และฟT U น ฟู ศ ู น ยL ก ลางเดิ ม กระจายความเจริ ญ และกิ จ กรรม ทางเศรษฐกิจไปยังเมืองบริหวารและเมืองในภูมิภาค

2. ยุทธศาสตรLกลุ4มเมือง พัฒนากลุ4มจังหวัด และกลุ4มเมืองและชุมชนอย4างเปYนระบบ โดยจัดลำดับ ความสำคัญของเมืองตามศักยภาพและบทบาทหน=าที่ 3. ยุ ท ธศาสตรL เ มื อ งเพื ่ อ การสร= า งสรรคL พั ฒ นาเมื อ งเพื ่ อ เอื ้ อ ให= เ กิ ด การสร= า งสรรคL แ ละนวั ต กรรม สำหรับการพัฒนาผลผลิตด=านต4าง ๆ 4. ยุ ท ธศาสตรL ก ารพั ฒ นาที ่ ส มดุ ล และยั ่ ง ยื น สร= า งความสมดุ ล ระหว4 า งการพั ฒ นากั บ อนุ ร ั ก ษL ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล=อม 5. ยุทธศาสตรLเมืองและชนบทพอเพียง ประยุกตLใช=แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาพื้นที่เมือง และชนบทให=เกิดความสมดุล เชื่อมโยงเกื้อกูลกัน

จากยุทธศาสตร[ดังกลLาวได;กำหนดนโยบายออกเป^น 3 ด;านหลักคือ 1) นโยบายการใช;ประโยชน[ที่ดิน ที่เน;นการจัดการการใช;ประโยชน[ที่ดินในพื้นที่ชุมชน พื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่สงวน และอนุรักษ[ 2) นโยบายการพัฒนาเมืองและชนบท เพื่อกระจายความเจริญสูLภูมิภาค สLงเสริมการพัฒนาเมือง ตามศักยภาพและบทบาท และ 3) นโยบายการคมนาคมขนสLง ให;ความสำคัญกับระบบคมนาคมทุกระบบ เพื่อสLงเสริมให;ไทยเป^นศูนย[กลางการคมนาคมขนสLงของอาเซียน เพิ่มประสิทธิภาพการใช;พลังงานและพัฒนา พลังงานทดแทนอยLางยั่งยืน

รายงานขั้นต*น

2-17


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

ภาพที่ 2-4 ผังนโยบายการพัฒนาพื้นที่ประเทศไทย พ.ศ. 26008 8

กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย 2-18

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

ผังภาคเหนือ พ.ศ.2600 ผังภาคเหนือกำหนดวิสัยทัศน[การพัฒนาภาคเหนือ คือ “ภาคเหนือเป^นภาคที่มีความมั่งคั่งรุLงเรือง ด;านการค;าและการบริการ มีภูมิทัศน[ที่สวยงาม วัฒนธรรมที่ทรงคุณคLา และเป^นเมืองและชุมชนนLาอยูL ดำรงไว;ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ[เป^นหนึ่งในความภูมิใจของชาวไทยและเอเชีย” บทบาทการพัฒนาพื้นที่ตามผังนโยบายการพัฒนาภาคเหนือ • พื้นที่เศรษฐกิจหลัก : พัฒนาจังหวัดตาก (แมLสอด)-พิษณุโลก เป^นแนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก ตะวันตก ให;เป^นประตูการค;า แรงงาน และวัตถุดิบ แหลLงอุตสาหกรรมที่ใช;วัตถุดิบจากสหภาพพมLา เป^นศูนย[กลาง การคมนาคมขนสLงและศูนย[กระจายสินค;า • พื้นที่เศรษฐกิจหลักรอง • พั ฒ นาจั ง หวั ด สุ โ ขทั ย -กำแพงเพชร-นครสวรรค[ - อุ ท ั ย ธานี เป^ น แนวพื ้ น ที ่ เ ศรษฐกิ จ ด;านแหลLงผลิต ทางเกษตร อุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร และอุตสาหกรรมอาหาร เชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจชายแดนที่จังหวัดตาก • พัฒนาจังหวัดเพชรบูรณ[-พิษณุโลก-อุตรดิตถ[-แพรL-นLาน-พะเยา เป^นแนวพื้นที่เศรษฐกิจ ด;านแหลLงทLองเที่ยวเชิงนิเวศและวัฒนธรรมท;องถิ่น แนวแกนเส;นทางสุโขทัย-กำแพงเพชร เป^นแนวพื้นที่เศรษฐกิจที่เป^นแหลLงทLองเที่ยวมรดกโลก • เขตสLงเสริมเศรษฐกิจชายแดน : พื้นที่ที่มีศักยภาพเป^นพื้นที่เมืองชายแดน เชื่อมโยงกับ ประเทศเพื่อบ;านในการกระจายความเจริญไปยังชุมชนอื่นเพื่อทำให;เกิดความสมดุลของ การพัฒนาในการพึ่งพากัน

รายงานขั้นต*น

2-19


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

ภาพที่ 2-5 ผังภาคเหนือ พ.ศ. 2600

2-20

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

2.2.5 แผนการปฏิรูปประเทศด;านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม แผนการปฏิรูปประเทศด;านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม กำหนดเรื่องและประเด็นปฏิรูปไว; 6 เรื่อง ประกอบด;วยเรื่อง ทรัพยากรทางบก ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ_«ง ความหลากหลาย ทางชีวภาพ สิ่งแวดล;อม และ ระบบบริหารจัดการด;านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม โดยเรื่องระบบ บริ ห ารจั ด การด; า นทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล; อ ม มี ป ระเด็ น ปฏิ ร ู ป ที ่ 4 การปฏิ ร ู ป การผั ง เมื อ ง ประเด็นยLอยที่ 4.1 การวางผังเมืองและกำกับการใช;ประโยชน[ที่ดินด;วยการใช;ระบบนิเวศท;องถิ่นและชุมชน9 เป^ น กลไกขั บ เคลื ่ อ นการพั ฒ นาเมื อ ง โดยความจำเป^ น ต; อ งใช; เ ครื ่ อ งมื อ และกลไกทางการผั ง เมื อ ง ในการขั บ เคลื ่ อ นทางด; า นสิ ่ ง แวดล; อ มและระบบนิ เ วศที ่ เ ป^ น วิ ถ ี ช ี ว ิ ต ของประชาชนในพื ้ น ที ่ โดยเฉพาะ ภาคประชาชนให;มีสLวนรLวมในการกำกับการใช;ประโยชน[ที่ดินให;เกิดความสมดุลตามหลักการผังเมืองที่วางไว; และกระตุ;นให;เกิดความรับผิดชอบรLวมกันของภาคสLวนตLาง ๆ ที่เกี่ยวข;องกับการผังเมือง โดยแผนการปฏิรูปนี้ ได;กำหนดเป*าหมายและผลสัมฤทธิ์สำหรับการปฏิรูปการผังเมืองไว; 4 เป*าหมาย คือ 1) ผังเมืองแนวใหมLที่มีการบูรณาการสิ่งแวดล;อมและชุมชน ระบบนิเวศเมือง เป^นเครื่องมือ ขับเคลื่อน การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่เป^นเอกลักษณ[เฉพาะของท;องถิ่นและชุมชน 2) ผั ง เมื อ งเป^ น เครื ่ อ งมื อ สL ง เสริ ม การพั ฒ นาการอนุ ร ั ก ษ[ ร ะบบนิ เ วศของท; อ งถิ ่ น ชุ ม ชน รวมถึ ง การพัฒนา ฟmnนฟูสภาพแวดล;อมที่เสื่อมโทรมของเมือง 3) ผังเมืองเป^นเครื่องมือบริหารจัดการพัฒนาท;องถิ่นและชุมชนที่มีการบูรณาการด;วยแผนพัฒนา พื้นที่เมืองและชุมชนที่ครอบคลุมถึงระบบนิเวศเฉพาะเมือง 4) ทุ ก ภาคสL ว นได; ร L ว มวางผั ง อยL า งแท; จ ริ ง ตามเปู า หมายการพั ฒ นาที ่ ย ั ่ ง ยื น (Sustainable Development Goal) ที่ 11 ทำให;เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย[มีความครอบคลุม ปลอดภัย ยืดหยุLนตLอการเปลี่ยนแปลง และยั่งยืน10 และได;วางแผนขั้นตอนการดำเนินการในระยะ 5 ปb (พ.ศ. 2561-2565) มีเป*าหมายและตัวชี้วัด ดังนี้ 1) การบูรณาการข;อมูลด;านสิ่งแวดล;อม มลพิษและระบบนิเวศท;องถิ่นกับการใช;ประโยชน[ที่ดิน โดยใช;เทคโนโลยีและระบบฐานข;อมูล โดยมีเป*าหมายให;ผังเมืองเป^นเครื่องมือสLงเสริมการอนุรักษ[ ระบบนิเวศของท;องถิ่น ชุมชน รวมถึงการพัฒนา ฟmnนฟูสภาพแวดล;อมที่ เสื่อมโทรม ตัวชี้วัด คือ ผังเมืองแนวใหมLที่มีการบูรณาการสิ่งแวดล;อมเมืองและชุมชน ระบบ นิเวศเมือง ในเขตควบคุม มลพิษ 3 แหLง

9

10

ระบบนิเวศท;องถิ่นและชุมชน หมายถึง การพัฒนาโดยคำนึงถึงสภาพแวดล;อมทั้งเมืองและชนบทโดยรอบมาเปƒน เครื่องมือในการปรับเปลี่ยน ให;เข;ากับสภาพแวดล;อมธรรมชาติของพื้นที่นั้น ๆ เปƒนสำคัญ สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห{งชาติ. https://sdgs.nesdc.go.th/เกี่ยวกับ-sdgs/เป†าหมายที่-11-ทาให;เมือง/ รายงานขั้นต*น

2-21


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

2) จัดทำกระบวนการเก็บข;อมูล และการสื่อสารสาธารณะเชิงรุก กLอนการวางผังเมือง โดยมีเป*าหมาย ให;ทุกภาคสLวน และกลุLมคนหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม ได;รLวมวางผังอยLางแท;จริง ตัวชี้วัด คื อ ความพึ ง พอใจและการสนั บ สนุ น การปฏิ บ ั ต ิ ต ามผั ง เมื อ งของทุ ก ภาค สL ว นรวมทั ้ ง กลุL มคน หลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม 3) สL ง เสริ ม การพั ฒ นาแบบศู น ย[ ก ลางยL อ ย (Sub-center) ในบริ เ วณที ่ ม ี ระบบขนสL ง เชื ่ อ มโยง โดยมีเป*าหมายให;ผังเมืองชี้นำการพัฒนาเมืองที่สร;างความสมดุลกับระบบนิเวศ ตัวชี้วัด คือ มี ผ ั ง พื ้ น ที ่ โ ลL ง พื ้ น ที ่ ส ี เ ขี ย ว และผั ง การระบายน; า ตลอดจนผั ง บู ร ณาการโครงสร; า งพื ้ น ฐาน ระบบสาธารณู ป โภค สาธารณู ป การขึ ้ น อยL า งน; อ ย 1 ประเภทในเทศบาลเมื อ ง ลดการรุ ก ล้ ำ พื้นที่เกษตรกรรมลงได;ไมLน;อยกวLาร;อยละ 10 และเพิ่มพื้นที่ที่มีการพัฒนา ฟmnนฟูสิ่งแวดล;อม และพื้นที่อนุรักษ[ขึ้นร;อย ละ 10 ในแตLละจังหวัด 4) บูรณาการแผนการดำเนินงานตาม ผังเมืองระบบนิเวศโดยการมีสLวนรLวมของภาคสLวนตLาง ๆ โดยมีเป*าหมายให;มีการดำเนินงานตามผังและแผนการพัฒนาที่มีการบูรณาการภาคสLวนตLาง ๆ ในการพัฒนาระบบนิเวศเมือง 2.2.6 แผนแมZบทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ป„ (พ.ศ.2561-2580) สำนักทรัพยากรน้ำแหLงชาติเป^นผู;จัดทำแผนแมLบทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปb ได;กำหนด วิ สั ย ทั ศ น[ ก ารพั ฒนาตามแผนแมL บ ทการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรน้ ำ 20 ปb (พ.ศ.2561-2580) ไว; ดั ง นี้ “ทุกหมูLบ;านมีน้ำสะอาดอุปโภค บริโภค น้ำเพื่อการผลิตมั่นคง ความเสียหายจาก อุทกภัยลดลง คุณภาพน้ำ อยูLในเกณฑ[มาตรฐาน บริหารจัดการน้ำอยLางยั่งยืน ภายใต;การพัฒนาอยLางสมดุล โดยการมีสLวนรLวมของ ทุกภาคสLวน” โดยได;กำหนดแผนงานไว; 6 ด;าน ได;แกL (1) (2) (3) (4) (5) (6)

ด=านที่ 1 การจัดการน้ำ อุปโภค บริโภค ด=านที่ 2 การสร=าง ความมั่นคงของน้ำ ภาคการผลิต ด=านที่ 3 การจัดการ น้ำท4วมและอุทกภัย ด=านที่ 4 การจัดการ คุณภาพน้ำ และอนุรักษL ทรัพยากรน้ำ ด=านที่ 5 การอนุรักษL ฟTUนฟูสภาพปWาต=นนน้ำ ที่เสื่อมโทรม และปRองกันการพังทลายของดิน ด=านที่ 6 การบริหารจัดการ

จากผลการดำเนินการตามแผนแมLบทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในป_จจุบัน มีโครงการขนาดใหญL และโครงการสำคัญที่มีผลสัมฤทธิ์ตLอการแก;ไขป_ญหาด;านน้ำ โดยคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแหLงชาติ ได;เห็นชอบตLอแผนงานตั้งแตL พ.ศ.2559 รวม 38 โครงการ นำไปสูLการขออนุมัติเป¬ดโครงการและขอรับ การจัดสรรงบประมาณตามความพร;อม โดยในพื้นที่ภาคเหนือมีโครงการหลัก 2 โครงการ (ภาพที่ 2-6) คือ โครงการขยายเขตประปาสาขาแมLสาย-ห;วยไคร;-แมLจัน-เชียงแสน ซึ่งได;รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล;ว

2-22

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

และอยูLระหวLางขอรับการจัดสรรงบประมาณ11 และโครงการอLางเก็บน้ำแมLตาช;าง ของกรมชลประทาน ด;วยงบประมาณ 1,325.285 ล;านบาท (ไมLรวมระบบสLงน้ำ)12

ภาพที่ 2-6 แสดงโครงการขนาดใหญLและโครงการสำคัญของแผนแมLบทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปb13

2.2.7 ยุทธศาสตร2ด;านเทคโนโลยีดิจิทัลของสำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ.2563-2565 สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงวัฒนธรรม เป^นศูนย[กลางการบริหารของกระทรวงในการพัฒนา ยุทธศาสตร[ แปลงนโยบายของกระทรวงเป^นแผนปฏิบัติ จัดสรรทรัพยากรและบริหารราชการทั่วไปของ กระทรวง นโยบายด;านดิจิทัลเพื่อปรับทุนทางวัฒนธรรมแปลงเป^นดิจิทัลสอดคล;องกับแผนยุทธศาสตร[ชาติ 20 ปb และเพื่อให;บรรลุวิสัยทัศน[ด;านเทคโนโลยีดิจิทัลของสำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ได;กำหนดยุทธศาสตร[ไว; 5 ด;าน ได;แกL

11

ผลการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของรัฐบาลภายใต;แผนแม{บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ป‡ (พ.ศ. 2561-2580) วันที่ 24 พฤษภาคม 2564 (https://resolution.soc.go.th/PDF_UPLOAD/2564/P_403806_3.pdf) 12 ผลการประชุมคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห{งชาติ ครั้งที่ 3/2563 วันที่ 26 ตุลาคม 2563 (https://resolution.soc.go.th/PDF_UPLOAD/ 2563/P_402316_6.pdf) 13 สำนักทรัพยากรน้ำแห{งชาติ, 2564 รายงานขั้นต*น

2-23


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

ยุทธศาสตร2ที่ 1 การพัฒนารูปแบบและสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและการบริการ วั​ัตถุประสงค[เพื่อพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะด;านเทคโนโลยีดิจิทัล ให;แกLผู;บริหารและเจ;าหน;าที่ ที่ปฏิบัติหน;าที่ของแตLละฝoายอยLางเหมาะสม โดยใช;ฐานข;อมูลด;านวัฒนธรรมขนาดใหญL และเป^นไปตามหลัก ธรรมาภิบาลข;อมูลภาครัฐ ยุทธศาสตร2ที่ 2 การนําทุนทางวัฒนธรรมเป†นฐานการสร;างเศรษฐกิจดิจิทัล วั ต ถุ ป ระสงค[ เ พื ่ อ มุ L ง เน; น รู ป แบบการนำเสนอข; อ มู ล องค[ ค วามรู ; ท ี ่ ท ั น สมั ย สร; า งความนL า สนใจ และแรงดึงดูดผู;ใช;งานได;อยLางเหมาะสมในแตLละชLวงวัย โดยเฉพาะอยLางยิ่ง เยาวชนคน รุLนใหมLที่มักละเลย คุณคLาทางศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมของไทย เป^นประโยชน[ตLอการกระตุ;นหรือสร;างแรงบันดาลใจให;นักคิด นักการตลาด ในการนำไปตLอยอดการผลิตสินค;าหรือบริการด;วยรูปแบบที่มีเอกลักษณ[ของความเป^นไทย ยุทธศาสตร2ที่ 3 การพัฒนามาตรฐานข;อมูลวัฒนธรรมไทยขนาดใหญZระดับสากล วัตถุประสงค[เพื่อพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะด;านเทคโนโลยีดิจิทัล ให;แกLผู;บริหารและเจ;าหน;าที่ ที่ปฏิบัติหน;าที่ของแตLละฝoายอยLางเหมาะสม โดยใช;ฐานข;อมูลด;านวัฒนธรรมขนาดใหญL และเป^นไปตามหลัก ธรรมาภิบาลข;อมูลภาครัฐ ยุทธศาสตร2ที่ 4 การสร;างความมั่นคงปลอดภัยในการใช;เทคโนโลยีดิจิทัล วัตถุประสงค[เพื่อสนับสนุนกระบวนการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ในการใช;ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารทั้งในประเด็นการรักษาความลับของข;อมูล (Confidential) ความถูกต;องเชื่อถือได;ของข;อมูล (Integrity) และความมีเสถียรภาพในการใช;งานได;อยLางตLอเนื่อง (Availability) ยุทธศาสตร2ที่ 5 การเพิ่มประสิทธิภาพโครงสร;างพื้นฐานด;านเครื่องมืออุปกรณ2และระบบเครือขZาย ให;มีความเหมาะสมทันสมัย วัตถุประสงค[เพื่อปรับปรุง/บำรุงรักษา/พัฒนาโครงสร;างพื้นฐานด;านเครื่องมืออุปกรณ[ (Hardware) และระบบเครือขLาย (Network) เพื่อรองรับการเชื่อมโยงบูรณาการข;อมูลรLวมกันทุกหนLวยงานในสังกัด กระทรวงวัฒนธรรมด;วยความสะดวกรวดเร็ว มีเสถียรภาพ และมีความมั่นคงปลอดภัย 2.2.8 เกณฑ2การพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานตามภูมินิเวศ ภาคเหนือ การนำพื้นที่ของแตLละภูมินิเวศไปประกอบการวางแผนพัฒนาพื้นที่ จึงจำเป^นต;องคำนึงถึงกฎหมาย ที่เกี่ยวข;องกับการวางแผนและการใช;ที่ดินที่มีพรบ. หลายฉบับ กฎหมายที่เกี่ยวข;องกับด;านสิ่งแวดล;อม เชLน พรบ. สLงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล;อมแหLงชาติ พ.ศ. 2535 พรบ.น้ำบาดาล พ.ศ. 2520 พรบ.น้ำ พ.ศ. 2561 พรบ. อุทยานแหLงชาติ พ.ศ. 2504 พรบ. ปoาสงวนแหLงชาติ พ.ศ. 2507 พรบ. สวนปoา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 พรบ. โบราณสถาน โบราณวัตถุและพิพิธภัณฑ[สถานแหLงชาติ พ.ศ. 2504 พรบ. คุ;มครองซากดึกดำบรรพ[ พ.ศ. 2551 เป^นต;น นอกจากนี้ ยังมีกฎหมายที่เกี่ยวข;องกับด;านการพัฒนาอุตสาหกรรม กฎหมายที่เกี่ยวข;อง 2-24

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

กับด;านการลงทุน กฎหมายที่เกี่ยวข;องกับด;านการพัฒนาโครงสร;างพื้นฐาน รวมทั้งยุทธศาสตร[ชาติ พ.ศ.25612580 โดยสรุปมีเกณฑ[บังคับใช;ในการพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานแตLละภูมินิเวศ ที่สำคัญได;แกL เขตต;นน้ำลำธาร เขตต;นน้ำลำธารที่มีการตั้งถิ่นฐานหรือเกษตรกรรม เขตอนุรักษ[ปoาไม;และสัตว[ปoา เขตปoาสงวน เขตเมือง และเขตชุมชน และเขตการจัดการเฉพาะแหลLง เขตต;นน้ำลำธาร ใช;หลักเกณฑ[ ของกรมอุทยานแหLงชาติ สัตว[ปoาและพันธุ[พืชกำหนดให;การทำถนนในพื้นที่ปoา เพื่อดำเนิน กิจกรรมทางด;านงานปoาไม;วLาต;องมีความกว;างไมLเกิน 7 เมตรและเมื่อกLอสร;างแล;วห;ามตัดต;นไม;ในแนวเขตทาง เด็ดขาด รLวมทั้งการพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานเพื่อกิจการทางหลวงหรือถนน ซึ่งมีความหมายตามกฎหมาย วLาด;วยทางหลวงที่ตัดผLานพื้นที่ที่กำหนด ได;แกL พื้นที่ชั้นคุณภาพลุLมน้ำชั้น 1A และพื้นที่ชั้นคุณภาพลุLมน้ำชั้น 2 เขตต;นน้ำลำธารที่มีการตั้งถิ่นฐาน หรือเกษตรกรรม ใช;หลักเกณฑ[ โดยกรมอุทยานแหLงชาติ สัตว[ปoาและพันธุ[พืชกำหนดให;การทำถนนในพื้นที่ปoา เพื่อดำเนิน กิจกรรมทางด;านงานปoาไม;วLาต;องมีความกว;างไมLเกิน 7 เมตรและเมื่อกLอสร;างแล;วห;ามตัดต;นไม;ในแนวเขตทาง เด็ดขาด สLวนการพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานเพื่อกิจการทางหลวงหรือถนน ซึ่งมีความหมายตามกฎหมายวLาด;วย ทางหลวงที่ตัดผLานพื้นที่ที่กำหนด ได;แกL พื้นที่ชั้นคุณภาพลุLมน้ำชั้น 1A และพื้นที่ชั้นคุณภาพลุLมน้ำชั้น 2 สLวน ในกรณีพื้นที่มีการอนุญาตทำเหมืองแรLตาม กฎหมายวLาด;วยเหมืองแรL ให;อนุญาตเพื่อการสร;างทางขนแรL ออกจากเขตพื้นที่ประทานบัตร ให;มีความกว;างของทางได;ไมLเกิน 6 เมตร และต;องสร;างทางกับบำรุงทาง ตามมาตรการที่กรมปoาไม;กำหนด โดยมีกำหนดระยะเวลาคราวละไมLเกิน 10 ปb เขตอนุรักษ2ป‹าไม;และสัตว2ป‹า บังคับใช;ตามหลักเกณฑ[ตามข;อบัญญัติในกฎหมายดังตLอไปนี้ • พระราชบัญญัติอุทยานแหLงชาติ พ.ศ. 2504 • พระราชบัญญัติปoาสงวนแหLงชาติ ฉบับที่ 4 พ.ศ.2559 • พระราชบัญญัติสงวนและคุ;มครองสัตว[ปoา พ.ศ. 2535 • มติ ค ณะรั ฐ มนตรี วั น ที ่ 10 มี น าคม 2535 เรื ่ อ ง การจำแนกเขตการใช; ป ระโยชน[ ท รั พ ยากร และที่ดินปoาไม;ในพื้นที่ปoาสงวนแหLงชาติ เขตป‹าสงวน บังคับใช;ตามหลักเกณฑ[ตามข;อบัญญัติในกฎหมายดังตLอไปนี้ • พระราชบัญญัติปoาสงวนแหLงชาติ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2559 • พระราชบัญญัติสงวนและคุ;มครองสัตว[ปoา พ.ศ. 2535

รายงานขั้นต*น

2-25


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

• มติ ค ณะรั ฐ มนตรี วั น ที ่ 10 มี น าคม 2535 เรื ่ อ ง การจำแนกเขตการใช; ป ระโยชน[ ท รั พ ยากร และที่ดินปoาไม;ในพื้นที่ปoาสงวนแหLงชาติ เขตเมืองและเขตชุมชน ใช;มาตรการเดียวกับเขตต;นน้ำลำธารในกรณีสLวนราชการเข;าดำเนินการตามโครงการพระราชดำริ หรือโครงการเพื่อความมั่นคง และกรณีการขยายเขตระบบจำหนLวยไฟฟ*าให;หมูLบ;าน คณะรัฐมนตรีได;มีมติ เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2536 และเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2539 ตามลำดับ ผLอนผันให;ดำเนินการในพื้นที่ปoาไม; ที่ขออนุญาตได;ไปพลางกLอน โดยให;สLวนราชการเจ;าของโครงการยื่นคำขออนุญาตโดยเรLงดLวนภายใน 15 วัน นับแตLวันที่ได;เข;าทำประโยชน[ เขตการจัดการเฉพาะแหลZง บังคับใช;ตามหลักเกณฑ[ที่สำคัญ ดังนี้ • หนLวยงานเจ;าของพื้นที่ควรจัดให;มีการบริการสาธารณูปโภคพื้นฐานเพื่อให;เป^นประโยชน[ตLอ ประชาชนผู ; ท ี ่ ใ ช; ป ระโยชน[ ใ นพื ้ น ที ่ แ หลL ง ธรรมชาติ อ ั น ควรอนุ ร ั ก ษ[ / แหลL ง อั น ควรอนุ ร ั ก ษ[ ทางธรณีวิทยา • มีการจัดการการบริการสาธารณูปโภคพื้นฐาน หรือสิ่งอำนวยความสะดวก เชLน ถนน หรือสิ่งปลูกสร;าง ที่จำเป^น และมาตรการรักษาความปลอดภัยอยLางเหมาะสมรวมทั้งสLงเสริมการทLองเที่ยวอยLางยั่งยืน

2.3 ยุทธศาสตร-และนโยบายระดับภาคและกลุ=มจังหวัด 2.3.1 แผนพัฒนาภาคเหนือ พ.ศ. 2560-2565 แผนพัฒนาภาคเหนือ พ.ศ. 2560-2565 มีเป*าหมายเชิงยุทธศาสตร[ คือ พัฒนาเป^นฐานเศรษฐกิจ สร;างสรรค[มูลคLาสูง เชื่อมโยงเศรษฐกิจ กับประเทศในกลุLมอนุภูมิภาคลุLมแมLน้ำโขง วัตถุประสงค2 1) เพื่อยกระดับการผลิตและการสร;างมูลคLาเพิ่มแกLสินค;าและบริการ โดยใช;ความรู; เทคโนโลยี

นวัตกรรม และภูมิป_ญญาท;องถิ่นที่มีอัตลักษณ[

2) เพื ่ อ เชื ่ อ มโยงหL ว งโซL ค ุ ณ คL า ของระบบเศรษฐกิ จ ภาคเข; า กั บ ระบบเศรษฐกิ จ ของประเทศ

และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต;

3) เพื่อดูแลชLวยเหลือคนจน และผู;สูงอายุ ให;มีคุณภาพชีวิตที่ดี พึ่งพาตนเอง พึ่งพาครอบครัว

และพึ่งพากันในชุมชนได; 4) เพื่อแก;ไขป_ญหาด;านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล=อม ได=แก4 การบริหารจัดการน้ำ ปWาต=นน้ำ และป€ญหาหมอกควัน 2-26

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

ยุทธศาสตร2 1) ยุ ท ธศาสตร[ ท ี ่ 1 พั ฒ นาการทL อ งเที ่ ย วและธุ ร กิ จ บริ ก ารตL อ เนื ่ อ งให; ม ี ค ุ ณ ภาพ สามารถ

สร;างมูลคLาเพิ่มอยLางยั่งยืน และกระจายประโยชน[อยLางทั่วถึง รวมทั้งตLอยอดการผลิตสินค;า และบริการ ที่มีศักยภาพสูงด;วยภูมิป_ญญาและนวัตกรรม 2) ยุ ท ธศาสตร[ ท ี ่ 2 ใช; โ อกาสจากเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ และการเชื ่ อ มโยงกั บ อนุ ภ ู ม ิ ภ าค GMS

BIMSTEC และ AEC เพื่อขยายฐานเศรษฐกิจของภาค 3) ยุทธศาสตร[ที่ 3 ยกระดับเป^นฐานการผลิตเกษตรอินทรีย[และเกษตรปลอดภัย เชื่อมโยงสูL

อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปที่สร;างมูลคLาเพิ่มสูง

4) ยุทธศาสตร[ที่ 4 พัฒนาคุณภาพชีวิตและแก;ไขป_ญหาความยากจน พัฒนาระบบ ดูแลผู;สูงอายุ

อยLางมีสLวนรLวมของครอบครัวและชุมชน ยกระดับทักษะฝbมือแรงงานภาคบริการ

5) ยุทธศาสตร[ที่ 5 อนุรักษ[และฟmnนฟูปoาต;นน้ำให;คงความสมบูรณ[ จัดระบบบริหาร จัดการน้ำ

อยLางเหมาะสมและเชื่อมโยงพื้นที่เกษตรให;ทั่วถึง ป*องกันและแก;ไขป_ญหามลพิษหมอกควัน อยLางยั่งยืน แนวทางการพัฒนา การพั ฒ นากลุ L ม ทL อ งเที ่ ย วที ่ ม ี ศ ั ก ยภาพตามแนวทางการทL อ งเที ่ ย วเชิ ง สร; า งสรรค[ แ ละวั ฒ นธรรม โดยจั ง หวั ดพิ ษ ณุ โ ลกได; ร ั บ ประโยชน[ ใ นการสL ง เสริ มจากแนวทางการพั ฒ นานี ้ ในการปรั บปรุ ง คุ ณภาพ แหLงทLองเที่ยว และการพัฒนาป_จจัยแวดล;อมให;เหมาะสม เชื่อมโยงเส;นทางทLองเที่ยว และแนวทางพัฒนาเมือง สถานีขนสLงระบบรางที่มีโครงการรถไฟรางคูLมาสนับสนุนในพื้นที่ พัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิต พัฒนา ด;านการเกษตรไปสูLอุตสาหกรรมแปรรูป และการอนุรักษ[ฟmnนที่ระบบนิเวศ และพัฒนาการจัดการน้ำเชิงลุLมน้ำ ทั้งระบบ พัฒนาแหลLงกักเก็บน้ำธรรมชาติขนาดใหญLที่สำคัญ เพื่อให;เกิดความสมดุลทั้งด;านการจัดหา การใช; และการอนุรักษ[ 2.3.2 แผนพัฒนากลุZมจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 พ.ศ. 2561-2565 เปAาหมายการพัฒนากลุZมจังหวัด (เชียงใหมL ลำพูน ลำปาง แมLฮLองสอน) • ยกระดั บ การทL อ งเที ่ ย ว การค; า การลงทุ น และการเกษตร สู L ฐ านเศรษฐกิ จ มู ล คL า สู ง เพื่อเชื่อมโยงเศรษฐกิจกับหLวงโซLอุปทานโลก ประเด็นการพัฒนาของกลุZมจังหวัด 1) พัฒนาอุตสาหกรรมการทLองเที่ยวและบริการที่เน;นความโดดเดLนและเชื่อมโยงหLวงโซLมูลคLาเพิ่ม

การทLองเที่ยวของกลุLมจังหวัด

2) เพิ่มศักยภาพการค;า การลงทุน การค;าชายแดนและการค;าตLางประเทศ รายงานขั้นต*น

2-27


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

3) พัฒนาเกษตรอินทรีย[ เกษตรปลอดภัย เกษตรแปรรูป ที่มุLงเน;นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

และสร;างมูลคLาเพิ่ม 4) พัฒนาการบริการด;านสุขภาพ (Wellness) แบบองค[รวม มุLงเน;นการเปลี่ยนแปลงเข;าสูLสังคม

ผู;สูงอายุ 5) บริหารจัดการ อนุรักษ[และฟmnนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อมอยLางยั่งยืน

แผนพัฒนากลุLมจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 นี้ สLงผลสูLการกำหนดเป*าหมายและประเด็นการพัฒนา ในแผนการพัฒนาระดับจังหวัดในพื้นที่ตLอไป 2.3.3 แผนพัฒนากลุZมจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 พ.ศ. 2561-2565 เปAาหมายการพัฒนากลุZมจังหวัด (เชียงราย พะเยา แพรL นLาน) • ประตูการค;าสากล โดดเดLนวัฒนธรรมล;านนา สินค;าเกษตรปลอดภัย ประชาชนรLวมใจอนุรักษ[ ทรัพยากรธรรมชาติ ประเด็นการพัฒนาของกลุZมจังหวัด 1) พัฒนาสภาพแวดล;อมในการพัฒนาการค;า การลงทุน และโลจิสติกส[เชื่อมโยงกับตLางประเทศ 2) การสร;างความเข;มแข็งและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิดภาคเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร

เพื่อเพิ่มมูลคLาสินค;าเกษตรปลอดภัยที่มีศักยภาพ

3) พัฒนาและยกระดับการทLองเที่ยวเชิงนิเวศ ศิลปวัฒนธรรมและสุขภาพ เพื่อสร;างรายได;สูLชุมชน

และเชื่อมโยงหLวงโซLมูลคLาเพิ่มการทLองเที่ยวของกลุLมจังหวัดอยLางยั่งยืน 4) ดำรงฐานทรั พ ยากรธรรมชาติ ท ี ่ อ ุ ด มสมบู ร ณ[ การบริ ห ารจั ด การสิ ่ ง แวดล; อ มและพลั ง งาน

โดยการมีสLวนรLวมของชุมชนสูLการเป^นกลุLมจังหวัดสีเขียว

2.3.4 แผนพัฒนากลุZมจังหวัดภาคเหนือตอนลZาง 1 พ.ศ. 2561-2565 เปAาหมายการพัฒนากลุZมจังหวัด (พิษณุโลก ตาก สุโขทัย เพชรบูรณ[ อุตรดิตถ[) • เป^ นศู นย[กลางบริ การสี ่ แยกอิ นโดจี น เชื ่ อมโยงเศรษฐกิ จ สั งคม และบริ การของภู มิ ภาค สูLความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ประเด็นการพัฒนาของกลุZมจังหวัด 1) พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรอัจฉริยะ อาหารปลอดภัยบนความต;องการของตลาด และสLงเสริม

ระบบตลาดอยLางยั่งยืน 2) สร;างสรรค[การทLองเที่ยวและบริการมูลคLาสูงบนฐานนิเวศและประวัติศาสตร[ 2-28

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

3) ยกระดับเครือขLายการค;า โครงขLายการขนสLงคมนาคมและโลจิสติกส[จากกลุLมจังหวัดภาคเหนือ

ตอนลLาง 1 สูLภูมิภาคและอาเซียน

4) อนุรักษ[ ฟmnนฟู และจัดการใช;ประโยชน[ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล;อมและพลังงานอยLางยั่งยืน 5) เสริมสร;างความมั่นคงและยกระดับคุณภาพชีวิตแบบบูรณาการและฐานความรู;ดิจิทัล

2.4 ยุทธศาสตร-และนโยบายระดับจังหวัด 2.4.1 แผนพัฒนาจังหวัดเชียงใหมZ เปAาหมายการพัฒนาจังหวัดเชียงใหมZ • นครแหLงชีวิตและความมั่งคั่ง (เมืองที่ให;ความสุขและชีวิตที่มีคุณคLาแกLผู;ที่อาศัยและผู;มาเยือน ในฐานะเมืองที่นLาอยูLและนLาทLองเที่ยวในระดับโลก) ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดเชียงใหมZ 1) สLงเสริมและพัฒนาการทLองเที่ยวและบริการสุขภาพ เชื่อมโยงชุมชนและท;องถิ่น 2) สLงเสริมการเกษตร การผลิตสินค;าชุมชน การค;า การลงทุน สูLสากล 3) เสริมสร;างสังคมให;มีคุณภาพ คงอัตลักษณ[ทางวัฒนธรรม 4) สL ง เสริ ม และพั ฒ นาทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล; อ มให; ส มบู ร ณ[ โ ดยใช; เ ทคโนโลยี

และนวัตกรรม

5) เสริมสร;างความมั่นคง ปลอดภัย และความสงบสุขของประชาชน

2.4.2 แผนพัฒนาจังหวัดลำพูน เปAาหมายการพัฒนาจังหวัดลำพูน • ลำพูนเมืองแหLงความสุข บนความพอเพียง (หมายถึง ประชาชนในจังหวัดลำพูนมีความสุข จากคุณภาพชีวิต และสภาวะแวดล;อมที่ดี) ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดลำพูน 1) เมืองที่เป^นมิตรกับสิ่งแวดล;อม 2) เมืองหัตถนวัตกรรมสร;างสรรค[ 3) เมืองเกษตรสีเขียว 4) เมืองจุดหมายปลายทางแหLงการทLองเที่ยวเชิงประสบการณ[วัฒนธรรม 5) เมืองแหLงคุณภาพชีวิต รายงานขั้นต*น

2-29


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

2.4.3 แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง เปAาหมายการพัฒนาจังหวัดลำปาง • ลำปางเมืองนLาอยูL นครแหLงความสุข ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดลำปาง 1) การพัฒนาการทLองเที่ยวเชิงสร;างสรรค[ 2) เกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย[ และแปรรูปเกษตร 3) สิ น ค; า อั ต ลั ก ษณ[ อ ุ ต สาหกรรม หั ต ถอุ ต สาหกรรม ผลิ ต ภั ณ ฑ[ ช ุ ม ชนจากฐานทุ น ทางสั ง คม

และวัฒนธรรม 4) สังคม คุณภาพชีวิต ความมั่นคง และทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

2.4.4 แผนพัฒนาจังหวัดอุตรดิตถ2 เปAาหมายการพัฒนาจังหวัดอุตรดิตถ2 • จังหวัดอุตรดิตถ[ เป^นเมืองที่ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดภัย การทLองเที่ยวมีการพัฒนา และการค;าชายแดนมีมูลคLาสูงขึ้น ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดอุตรดิตถ2 1) เสริมสร;างบ;านเมืองให;นLาอยูL สร;างชุมชนครอบครัวเข;มแข็ง เพื่อให;มีคุณภาพชีวิตที่ดี 2) พั ฒนาเกษตรกรรม อุ ตสาหกรรม ผลิ ตภั ณฑ[ OTOP ให; มี คุ ณภาพ ปลอดภั ย ได; มาตรฐาน

และมีการบริหารจัดการด;านการตลาดอยLางมีประสิทธิภาพ 3) พัฒนาทุนทางวัฒนธรรม ภูมิป_ญญาท;องถิ่น และทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อสLงเสริมและสนับสนุน

การทLองเที่ยวอยLางยั่งยืน

4) อนุ ร ั ก ษ[ ฟm n น ฟู ทรั พ ยากรธรรมชาติ และแหลL ง น้ ำ และสL ง เสริ ม พั ฒ นาพลั ง งานที ่ เ ป^ น มิ ต ร

ตLอสิ่งแวดล;อม

5) เพิ่มศักยภาพการค;า การลงทุน ระบบโลจิสติกส[ และความสัมพันธ[กับประเทศเพื่อนบ;าน

2.4.5 แผนพัฒนาจังหวัดแพรZ เปAาหมายการพัฒนาจังหวัดแพรZ • เมืองเศรษฐกิจมั่นคง ชุมชนเข;มแข็ง ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีทรัพยากรธรรมชาติ ที่สมบูรณ[ 2-30

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดแพรZ 1) การพัฒนาเศรษฐกิจและโครงสร;างพื้นฐานเพื่อสร;างมูลคLาเพิ่ม 2) การพัฒนาการทLองเที่ยวให;มีคุณภาพและยั่งยืน 3) การยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนภายใต;หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4) การเสริมสร;างความมั่นคงภายใน การรักษาความสงบเรียบร;อย และลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 5) การอนุ ร ั ก ษ[ แ ละฟm n น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล; อ ม และป* อ งกั น ป_ ญ หาภั ย พิ บ ั ติ

ทางธรรมชาติ

2.4.6 แผนพัฒนาจังหวัดนZาน เปAาหมายการพัฒนาจังหวัดนZาน • เมืองแหLงความสุข เศรษฐกิจสร;างสรรค[ ธรรมชาติสมบูรณ[ การเกษตรมั่งคั่ง ชุมชนเข;มแข็ง ทLองเที่ยวยั่งยืน ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดนZาน 1) การขับเคลื่อนเศรษฐกิจด;วยองค[ความรู;เพื่อสร;างมูลคLาเพิ่มทางเศรษฐกิจในลักษณะประชารัฐ 2) การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อมโดยการมีสLวนรLวมของภาคประชาสังคม 3) การเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตการเกษตร 4) การพัฒนาการทLองเที่ยวให;เจริญเติบโตอยLางสมดุลและยั่งยืน 5) การสร;างความเข;มแข็งของชุมชนและสังคม

2.4.7 แผนพัฒนาจังหวัดพะเยา เปAาหมายการพัฒนาจังหวัดพะเยา • แหลLงผลิตเกษตรปลอดภัย สังคมเข;มแข็งภายใต;การเป^นประชาคมอาเซียน ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดพะเยา 1) สLงเสริมการเกษตรปลอดภัย และการค;า การลงทุน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขLงขัน 2) สLงเสริม และพัฒนาการทLองเที่ยว เชิงอนุรักษ[ เรียนรู;วิถีชุมชนในแนวทางเศรษฐกิจสร;างสรรค[ 3) พัฒนาโครงสร;างพื้นฐาน 4) สร;างคุณคLาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 5) พัฒนาและอนุรักษ[ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อมอยLางยั่งยืน รายงานขั้นต*น

2-31


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

6) สLงเสริมความมั่นคงภายในและตามแนวชายแดน

2.4.8 แผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย เปAาหมายการพัฒนาจังหวัดเชียงราย • เชียงรายเมืองแหLงความสุข สะอาด ปลอดภัย นLายล ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดเชียงราย 1) การพัฒนาขีดความสามารถในการแขLงขันด;านการค;า การลงทุนและบริการโลจิสติกส[เชื่อมโยง

กลุLมจังหวัดกลุLมอาเซียน + 6 และ GMS

2) การสLงเสริมการผลิตสินค;าเกษตรคุณภาพ มาตรฐานสากล และเป^นมิตรกับสิ่งแวดล;อม 3) การดำรงฐานวั ฒ นธรรมล; า นนา เพื ่ อ เพิ ่ ม มู ล คL า การทL อ งเที ่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรม เชิ ง นิ เ วศ

และเชิงสุขภาพ

4) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย[และคุณภาพชีวิตเพื่อให;ประชาชนอยูLเย็นเป^นสุข 5) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อมให;ดำรงความสมบูรณ[อยLางยั่งยืน 6) การรักษาความมั่นคง และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย[สิน

2.4.9 แผนพัฒนาจังหวัดแมZฮZองสอน เปAาหมายการพัฒนาจังหวัดแมZฮZองสอน • เมืองแหLงการทLองเที่ยวเชิงอนุรักษ[ เป¬ดประตูสูLตะวันตก ยกระดับคุณภาพชีวิต พัฒนาเศรษฐกิจ ให;ยั่งยืน บนพื้นฐานแหLงความพอเพียง ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดแมZฮZองสอน 1) การยกระดับและพัฒนาการทLองเที่ยวให;มีคุณภาพและยั่งยืน 2) พัฒนาศักยภาพการค;า การลงทุน และการค;าชายแดน 3) การยกระดับคุณภาพชีวิต แก;ไขป_ญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม 4) การจัดการ อนุรักษ[ ฟmnนฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อมและสLงเสริมให;คนอยูLรLวมกับปoา

อยLางยั่งยืน 5) การพัฒนาเพื่อเสริมสร;างความมั่นคงภายในและความมั่นคงตามแนวชายแดน

2-32

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

2.5 แผนงานและโครงการที่เกี่ยวขIอง 2.5.1 แผนงานและโครงการพัฒนาระดับภูมิภาค ระบบการคมนาคมขนสZงเชื่อมโยงระหวZางประเทศ ระบบการคมนาคมขนสL ง ในกลุ L ม จั ง หวั ด ภาคเหนื อ ได; ร ั บ การบริ ก ารจากระบบคมนาคมขนสL ง ที่หลากหลาย ทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ และมีการเชื่อมโยงไปยังประเทศเพื่อนบ;านอยLางสะดวก ผL า นเส; น ทาง R3A และ R3B ภายใต; โ ครงการ North-South Economic Corridor (ดั ง แสดงในError! R eference source not found.) โดยให;ความสำคัญกับการคมนาคมขนสLงทางบกด;วยระบบล;อยางเป^นหลัก เนื่องจากเป^นระบบที่มีโครงสร;างพื้นฐานครบสมบูรณ[ที่สุด ซึ่งกLอให;เกิดมูลคLาทางเศรษฐกิจจากการสLงถLาย สินค;าและการทLองเที่ยวระหวLางประเทศเป^นอยLางมาก แตLในทางกลับกันก็เป^นประเภทของการคมนาคมขนสLง ที่มีอัตราการสิ้นเปลืองพลังงานสูง สLงผลให;ขีดความสามารถในการแขLงขันในเชิงการผลิตสินค;า ระบบ การคมนาคมขนสLงในกลุLมจังหวัดภาคเหนือ ดังแสดงในภาพที่ 2-7 ภาพที่ 2-8 และError! Reference source not found.ภาพที่ 2-9

รายงานขั้นต*น

2-33


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

ภาพที่ 2-7 ระเบียงเศรษฐกิจระดับภูมิภาค

2-34

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

ภาพที่ 2-8 ระบบการคมนาคมขนสLงทางบกและทางอากาศเชื่อมโยงระหวLางประเทศ

รายงานขั้นต*น

2-35


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

ภาพที่ 2-9 โครงขLายการเชื่อมโยงระหวLางประเทศตามโครงขLายทางหลวงเอเชีย

2.5.2 แผนงานและโครงการพัฒนาระดับประเทศ แผนพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานด;านคมนาคมขนสZงของไทย ระยะ 20 ป„ (พ.ศ. 2560-2579) มีแนวคิดในการพัฒนาระบบคมนาคมขนสLง 3 แนวคิด คือ 1) การขนสLงที่ปลอดภัยและเป^นมิตร ตL อ สิ ่ ง แวดล; อ ม (Green & Safe Transport) 2) การขนสL ง ที ่ ม ี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ (Transport Efficiency) และ 3) ระบบคมนาคมขนสLงที่เข;าถึงได;อยLางเสมอภาคและเทLาเทียม (Inclusive Transport) (ภาพที่ 2-10) โดยมี 2 เป* า ประสงค[ ห ลั ก คื อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี ว ิ ต ของประชาชนด; า นการขนสL ง และการเดิ น ทาง และขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและเพิ่มขีดความสามารถในการแขLงขันของประเทศ แผนพัฒนาระบบคมนาคมขนสLงในระยะยาวนี้แบLงระยะเวลาในการพัฒนาเป^น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2560-2564) มุLงเน;นการแก;ไขป_ญหาพื้นฐานเรLงดLวนด;านคมนาคมขนสLง (Critical Transport Issues) และเรLงผลักดันการพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานด;านคมนาคมขนสLงในสLวนที่ไมLสมบูรณ[ หรือเป^นคอขวด (Missing Link/Bottleneck) ตามแนวเส;นทางหลัก (Main Transport Corridor) ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2565-2569) เรLงพัฒนาระบบขนสLงสาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเมืองหลัก 6 แหLง คือ จังหวัดเชียงใหมL พิษณุโลก ขอนแกLน นครราชสีมา ภูเก็ต และสงขลา พัฒนาระบบ ความปลอดภัยทางถนน พัฒนาระบบรางระหวLางเมืองเพื่อขนสLงสินค;าและผู;โดยสาร พัฒนาพื้นที่ตามแนว เส;นทางรถไฟและรถไฟฟ*า (TOD) พัฒนาระบบคมนาคมขนสLงที่สLงเสริมระบบโลจิสติกส[และพัฒนาพื้นที่เฉพาะ

2-36

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

เชLน เขตเศรษฐกิจพิเศษ พัฒนาระบบขนสLงที่ประหยัดพลังงานและเป^นมิตรตLอสิ่งแวดล;อม พัฒนาการเข;าถึง ระบบขนสLงของคนทุกกลุLม สLงเสริมเพื่อยกระดับคุณภาพการให;บริการระบบคมนาคมขนสLงให;สูงขึ้น ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2570-2574) ดำเนินการตLอเนื่อง 6 ด;านจากระยะที่ 2 คือ เรLงพัฒนาระบบขนสLง สาธารณะในเขตกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล และเมื อ งหลั ก 6 แหL ง พั ฒนาระบบรางระหวL า งเมื อ ง เพื่อขนสLงสินค;าและผู;โดยสาร พัฒนาพื้นที่ตามแนวเส;นทางรถไฟและรถไฟฟ*า (TOD) พัฒนาระบบขนสLง 6 ที ่ ประหยั ดพลั งงานและเป^ นมิ ตรตL อสิ ่ งแวดล; อม พั ฒนาการเข; าถึ งระบบขนสL ง ของคนทุ กกลุ L ม สL งเสริ ม เพื่อยกระดับคุณภาพการให;บริการระบบคมนาคมขนสLงให;สูงขึ้น ระยะที่ 4 (พ.ศ. 2575-2579) ดำเนินการตLอเนื่องจากระยะที่ 3 มุLงเน;น 5 ด;าน คือ พัฒนาระบบราง ระหวLางเมืองเพื่อขนสLงสินค;าและผู;โดยสาร พัฒนาพื้นที่ตามแนวเส;นทางรถไฟและรถไฟฟ*า (TOD) พัฒนา การเข;าถึงระบบขนสLงของคนทุกกลุLม สLงเสริมเพื่อยกระดับคุณภาพการให;บริการระบบคมนาคมขนสLงให;สูงขึ้น

ภาพที่ 2-10 แนวคิดในการพัฒนาระบบคมนาคมขนสLง14

6 Safe Transport) แผนพัฒนาระบบคมนาคมขนสL งของไทย ระยะ 20 ปbGreen นี้ ได;กand ำหนดการพั ฒนาระบบคมนาคมขนสLง 6 5 ระบบ คือ

1. โครงขZายถนนทางหลวงพิเศษระหวZางเมือง (Motorway) แผนพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานด;านคมนาคมขนสLงของไทย มีการวางแผนการขยายโครงขLายถนนทาง หลวงพิเศษระหวLางเมืองเพิ่มเติม รวม 949 กิโลเมตร เป^นโครงขLายในภาคกลางระยะทางยาว 299 กิโลเมตร ภาคตะวันตก 96 กิโลเมตร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 196 กิโลเมตร ภาคตะวันออก 32 กิโลเมตร และภาคใต; 180 กิโลเมตร (ภาพที่ 2-11)

14

สำนักงานนโยบายและแผนการขนส{งและจราจร กระทรวงคมนาคม. (2559). แผนงานในภารกิจหลักของกระทรวงคมนาคม ภายใต; (ร{าง) ยุทธศาสตร2การพัฒนาระบบคมนาคมขนส{งของไทย ระยะ 20 ป‡ (พ.ศ. 2560-2579). http://wise.co.th/wise/References/Supply_Chain/ Transportation_Strategy_20_Year.pdf รายงานขั้นต*น

2-37


9 5

โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

.

2565 2565

ภาพที่ 2-11 แผนการพัฒนาโครงขLายถนนทางหลวงแผLนดินระหวLางเมือง

. . 2561

2. โครงขZายเส;นทางรถไฟทางคูZ อีกสLวนหนึ่งของแผนพัฒนาโครงสร;างพื้นฐานด;านคมนาคมขนสLงของไทย ระยะ 20 ปb (พ.ศ. 2560-2579) คือ การพัฒนาเส;นทางรถไฟทางคูL ระยะทาง 3,576 กิโลเมตร แบLงเป^น ภาคเหนือ 3 เส;นทาง ระยะทางยาว 825 กิโลเมตร ประกอบด;วยเส;นทางเดLนชัย-เชียงของ ปากน้ำโพ-เดLนชัย และ เดLนชัย-เชียงใหมL ภาคกลาง และภาคตะวั น ออก 6 เส; น ทาง ระยะทางรวม 796 กิ โ ลเมตร ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ 4 เส; น ทาง ระยะทางรวม 1,023 กิโลเมตร และภาคใต;อีก 5 เส;นทาง ระยะทางยาว 811 กิโลเมตร (ภาพที่ 2-12)

2-38

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

.

Upper E W Corridor

106

Lower E W Corridor

Upper E W Corridor :

.

FS Lower E W Corridor :

ภาพที่ 2-12 โครงขLายเส;นทางรถไฟทางคูL

. . 2561

3. โครงขZายเส;นทางรถไฟความเร็วสูง (High Speed Rail, HSR) โครงการพัฒนาโครงขLายเส;นทางรถไฟความเร็วสูงประกอบด;วยเส;นทางทั้งสิ้น 4 เส;นทาง (ภาพที่ 2-13) คือ HSR กรุงเทพฯ-เชียงใหมL ระยะทางรวม 673 กิโลเมตร HSR เชื่อม 3 สนามบิน ระยะทาง 220 กิโลเมตร HSR กรุงเทพฯ-หนองคาย ระยะทาง 602 กิโลเมตร และ HSR กรุงเทพฯ-หัวหิน 211 กิโลเมตร รวมระยะทาง ทั้งสิ้น 1,706 กิโลเมตร

รายงานขั้นต*น

2-39


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

1,706

.

. HSR -

-

220

2566

HSR

HSR

60 50 22.8

2564 2565 2564

HSR

ภาพที่ 2-13 โครงขLายเส;นทางรถไฟความเร็วสูง

. . 2561

4. โครงขZายทางน้ำ การพัฒนาระบบคมนาคมขนสLงทางน้ำประกอบด;วยโครงการพัฒนาทLาเรือ ได;แกL ทLาเรือแหลมฉบัง ขั้นที่ 3 ทLาเรือเฟอร[รี่เชื่อมอLาวไทยตอนบน ทLาเทียบเรือชายฝ_«ง ทLาเรือรองรับเรือสำราญขนาดใหญL (Cruise) ทLาเรือในแมLน้ำเจ;าพระยา และโครงการศูนย[การขนสLงสินคLาทางรถไฟ โครงการขุดลอกและบำรุงรักษารLองน้ำ พัฒนาเขื่อนป*องกันตลิ่งพัง และโครงาการพัฒนาโครงสร;างป*องกันการกัดเซาะชายฝ_«ง

2-40

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

2558 2561

ภาพที่ 2-14 โครงขLายทางน้ำ

. . 2561

5. ทZาอากาศยาน แผนการพัฒนาทLาอากาศยาน เป^นการผลักดันประเทศไทยสูL “ศูนย[กลางการบินของเอเชีย-แปซิฟ¬ค” โดยการพั ฒนาทL า อากาศยานในอนาคตจำนวน 40 แหL ง โดยมี ทL า อากาศยานที ่ สำคั ญ คื อ ภู เ ก็ ต เบตง จังหวัดยะลา ขอนแกLน กระบี่ แมLฟ*าหลวง จังหวัดเชียงราย แมLสอด จังหวัดตาก สุวรรณภูมิระยะที่ 2 อูLตะเภา หาดใหญLระยะที่ 1 เชียงใหมLระยะที่ 1 ดอนเมืองระยะที่ 3 รวมถึงโครงการกLอสร;างศูนย[พัฒนาบุคลากร ด;านการบิน พัฒนาศูนย[ซLอมอากาศยาน ณ ทLาอากาศยานอูLตะเภา

รายงานขั้นต*น

2-41


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

.

ICAO . . 2560 . .6

. . 2561

ภาพที่ 2-15 แผนการพัฒนาทLาอากาศยาน

โครงขZายทางหลวงพิเศษระหวZางเมืองและระบบราง (MR-MAP) ในปb 2565 ทางกรมทางหลวงได;ดำเนินการจัดจ;างบริษัทที่ปรึกษาทำการศึกษาจัดทำแผนแมLบท การพัฒนาโครงขLายทางหลวงพิเศษระหวLางเมืองและระบบราง (MR-MAP) ซึ่งอยูLในระหวLางการศึกษา และรับฟ_งความคิดเห็นประชาชนและหนLวยงานที่เกี่ยวข;อง โดยโครงการนี้มีวัตถุประสงค[เพื่อสLงเสริมและชี้นำ การพัฒนาเชิงพื้นที่รวมถึงพิจารณาความเป^นไปได;ในการพัฒนาทางหลวงพิเศษระหวLางเมืองรLวมกับระบบราง ตามนโยบายรัฐบาล เพื่อลดผลกระทบการเวนคืนและการแบLงแยกชุมชน และเพื่อให;การลงทุนมีความคุ;มคLา สามารถแก;ไขป_ญหาการคมนาคมขนสLงอยLางเป^นระบบและมีประสิทธิภาพทั้งโครงขLายทางหลวงและโครงขLาย ทางรถไฟ มีการกำหนดแนวเส;นทาง MR-MAP ไว;รวม 10 เส;นทาง (ภาพที่ 2-16) ประกอบด;วย แนวเหนือ-ใต; 3 เส;นทาง ระยะทางรวม 3,564 กิโลเมตร ได;แกL เส;นทางที่ 1 เชียงราย (ดLานเชียงของ)-นราธิวาส ระยะทาง 2,125 กิโลเมตร เส;นทางที่ 2 กรุงเทพฯ/ชลบุรี-หนองคาย (ดLานหนองคาย) ระยะทาง 895 กิโลเมตร เส;นทางที่ 3 บึงกาฬ (ดLานบึงกาฬ)-สุรินทร[ (ดLานชLองจอม) ระยะทาง 544 กิโลเมตร 2-42

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

แนวตะวันออก-ตะวันตก จำนวน 6 เส;นทาง ระยะทางรวม 2,860 กิโลเมตร ได;แกL เส;นทางที่ 1 ตาก (ดLานแมLสอด)-นครพนม (ดLานนครพนม) ระยะทาง 840 กิโลเมตร เส;นทางที่ 2 กาญจนบุรี (ดLานเจดีย[สามองค[)-อุบลราชธานี (สะพานมิตรภาพแหLงที่ 6) ระยะทาง 891 กิโลเมตร เส;นทางที่ 3 กาญจนบุรี (ดLานพุน้ำร;อน)-สระแก;ว (ดLานอรัญประเทศ) ระยะทาง 390 กิโลเมตร เส;นทางที่ 4 กรุงเทพฯ-ระยอง (มาบตาพุด)/ตราด (ดLานคลองใหญL ) 467 กิโลเมตร เส;นทางที่ 5 ชุมพร-ระนอง ระยะทาง 91 กิโลเมตร เส;นทางที่ 6 สุราษฎร[ธานี-ภูเก็ต ระยะทาง 185 กิโลเมตร แนวเส;นทางเชื่อมตZอกรุงเทพฯ-ปริมณฑล จำนวน 1 เส;นทาง ระยะทางรวม 648 กิโลเมตร เชื่อมตLอการเดินทางจากกรุงเทพมหานครสูLภาคอื่น ๆ ด;วยเส;นทางสLวนตLอขยายทางพิเศษอุดรรัถยา ชLวงบางปะอิน-สุพรรณบุรีบริเวณวงแหวนด;านเหนือ เส;นทางบ;านแพ;ว-ปากทLอบริเวณวงแหวนด;านใต; และเส;นทางจตุโชติ-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 3 (ด;านตะวันออก)

รายงานขั้นต*น

2-43


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

ภาพที่ 2-16 ภาพรLางแผนแมLบทการพัฒนาทางหลวงพิเศษระหวLางเมืองและระบบราง (MR-Map)15 15

https://mrmapdoh.com/mr-map-route/ 2-44

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

โครงการพัฒนาเมืองเกZาเพื่อการทZองเที่ยวกลุZมล;านนาตะวันออก จังหวัดพะเยา โดยสำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดพะเยา จัดทำโครงการพัฒนาเมืองเกLา เพื่อการทLองเที่ยวกลุLมล;านนาตะวันออก (เชียงราย-พะเยา-แพรL-นLาน) พ.ศ.2564 โดยจัดทำแผนและผังแมLบท การพัฒนาเมืองเกLากลุLมจังหวัดล;านนาตะวันออก โดยมีขอบเขตจังหวัดในกลุLมล;านนาตะวันออก (เชียงรายพะเยา-แพรL-นLาน) เป^นจังหวัดที่มีประวัติศาสตร[การตั้งถิ่นฐานในพื้นที่มาอยLางยาวนานสะท;อนให;เห็นถึง เอกลักษณ[ด;านโบราณสถาน สถาป_ตยกรรม อาคารบ;านเรือน งานศิลปะ ประเพณี วิถีชีวิตที่หลากหลาย ความเป^นอยูLของผู;คนที่ผLานมาหลายยุคสมัย รวมไปถึงการมีพื้นที่แหลLงมรดกวัฒนธรรมและอัตลักษณ[พื้นถิ่น ที่มียังคงอัตลักษณ[ไว;ได; โครงการจึงได;จัดทำแผนและผังแมLบทการพัฒนาเมืองเกLากลุLมจังหวัดล;านนาตะวันออก ภายใต; การมีสLวนรLวมจากทุกภาคสLวน เพื่อเพื่อฟmnนฟูมรดกทางวัฒนธรรมเมืองเกLา และอัตลักษณ[พื้นถิ่นที่มีความโดดเดLน ของแตLละเมือง นำไปสูLการสLงเสริมให;เป^นจุดเดLนในการพัฒนากายภาพเมืองเกLาเหลLานี้ให;มีทัศนียภาพ ที่สวยงาม โดดเดLน และชัดเจน และเกิดแหลLงทLองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชนในเมืองเกLาล;านนา ตะวันออกอยLางเชื่อมโยงที่ผLานกระบวนการมีสLวนรLวมจากผู;เกี่ยวข;องทุกภาคสLวน อันจะทำให;เกิดการขยายตัว ทางเศรษฐกิ จ ชุ ม ชนด; ว ยทุ น ทางวั ฒ นธรรมที ่ ม ี อ ยู L อ ยL า งยั ่ ง ยื น นำไปสู L ก ารเพิ ่ ม อาชี พ ที ่ เ กี ่ ย วข; อ งกั บ ภาคการทLองเที่ยวและเพิ่มรายได; ให;แกLประชาชนในจังหวัดมากยิ่งขึ้นนำไปสูLการพัฒนาที่ยั่งยืนตLอไปในอนาคต

2.6 กฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวขIอง ตามรัฐธรรมนูญแหLงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได;บัญญัติรับรองสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคล ไว;ในการมีเสรีภาพในการเดินทางและเลือกถิ่นที่อยูL การจำกัดเสรีภาพดังกลLาวจะมิได; เว;นแตL โดยอาศัยอำนาจ ตามบัญญัติแหLงกฎหมายที่ตราขึ้น เพื่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร;อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือการผังเมือง เป^นต;น อยLางไรก็ตามหน;าที่ของปวงชนชาวไทยก็จะต;องให;ความรLวมมือและสนับสนุน การอนุ ร ั ก ษ[ แ ละคุ ; ม ครองสิ ่ ง แวดล; อ มทรั พ ยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชี ว ภาพ รวมทั้ ง มรดกทางวัฒนธรรม หน; า ที ่ ข องรั ฐ ก็ จ ะต; อ งอนุ ร ั ก ษ[ คุ ; ม ครอง บำรุ ง รั ก ษา ฟm n น ฟู บริ ห ารจั ด การ และใช; ห รื อ จั ด ให; มี การใช;ประโยชน[จาก ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล;อม และความหลากหลายทางชีวภาพ ให;เกิดประโยชน[ อยLางสมดุล และยั่งยืน โดยต;องให;ประชาชนและชุมชนในท;องถิ่นที่เกี่ยวข;องมีสLวนรLวม โดยถ;าการนั้น อาจมีผลกระทบตLอทรัพยากรธรรมชาติคุณภาพสิ่งแวดล;อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิต หรือสLวนได;เสีย สำคั ญ อื ่ น ใดของประชาชนหรื อ ชุ ม ชนหรื อ สิ ่ ง แวดล; อ มอยL า งรุ น แรง รั ฐ ต; อ งดำเนิ น การให; ม ี ก ารศึ ก ษา และประเมินผลกระทบตLอคุณภาพสิ่งแวดล;อมและสุขภาพของประชาชนหรือชุมชน และจัดให;มีการรับฟ_ง ความ คิดเห็นของผู;มีสLวนได;เสียและประชาชนและชุมชนที่เกี่ยวข;องกLอน เพื่อนำมาประกอบการพิจารณา บุ คคลและชุ มชนยL อมมี สิ ทธิ ได; รั บข; อมู ลคำชี ้ แจง และเหตุ ผลจากหนL วยงานของรั ฐกL อนการดำเนิ นการ หรืออนุญาต รัฐต;องระมัดระวังให;เกิดผลกระทบตLอประชาชน ชุมชน สิ่งแวดล;อม และความหลากหลาย รายงานขั้นต*น

2-45


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

ทางชีวภาพน;อยที่สุด และต;องดำเนินการให;มีการเยียวยาความเดือดร;อนหรือเสียหายให;แกLประชาชนหรือ ชุมชนที่ได;รับผลกระทบอยLางเป^นธรรมและโดยไมLชักช;า รัฐพึงดำเนินการเกี่ยวกับที่ดิน และทรัพยากรน้ำ โดยมีการวางแผนการใช;ที่ดินของประเทศให;เหมาะสม กับสภาพของพื้นที่และศักยภาพของที่ดินตามหลักการพัฒนาอยLางยั่งยืน และจัดให;มีการวางผังเมืองทุกระดับ และบั ง คั บ การให; เ ป^ น ไปตามผั ง เมื อ งอยL า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพรวม ตลอดทั ้ ง พั ฒ นาเมื อ งให; ม ี ค วามเจริ ญ โดยสอดคล;องกับความต;องการของประชาชนในพื้นที่ และจัดให;มีมาตรการกระจายการถือครองที่ดิน เพื่อให;ประชาชนสามารถมีที่ทำกินได;อยLางทั่วถึงและเป^นธรรม อีกทั้ง จัดให;มีทรัพยากรน้ำที่มีคุณภาพ และเพียงพอตLอการอุปโภคบริโภคของประชาชน รวมทั้งการ ประกอบเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการอื่น สภาวะโครงสร; า งทางสั ง คมในป_ จจุ บั นมี การขยายตั วเพิ ่ มขึ ้ นของจำนวนประชากรอยL างตL อเนื ่ อ ง และมีความต;องในทุก ๆ ด;านอยLางไมLมีที่สิ้นสุดภายใต;ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อมตLาง ๆ ที่มีอยูLจำกัด ดังนั้น การจัดวางแผนผังภูมินิเวศต;องสอดคล;องเหมาะสมและเป^นที่ยอมรับของประชาชนที่อาศัยอยูLในพื้นที่ ทั้งนี้ เพื่อให;มีการพัฒนาและคุณภาพชีวิตของประชาชนที่สมดุลและยั่งยืน ซึ่งกLอนที่ภาครัฐจะออกกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง หรือมาตรการที่เกี่ยวข;องกับการจัดวางแผนผังภูมินิเวศนั้น ก็จะต;องการมีการรับฟ_ง ความเห็นของประชาชนกLอน นอกจากนี้ หนLวยงานของรัฐตLาง ๆ จะต;องมีการบูรณาการในการปฏิบัติงาน รLวมกัน ซึ่งจากรายงานการศึกษาจัดทำผังแนวคิดการทำแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ ประจำปb งบประมาณ พ.ศ. 2563 นั ้ น จะเห็ น ได; ว L า แตL ล ะหนL ว ยงานก็ จ ะกฎหมายระเบี ย บ ประกาศ คำสั่ ง หรือมาตรการที่เกี่ยวข;อง ออกมาบังคับใช;มากมาย อันอาจเป^นการกำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนในพื้นที่ กLอให;เกิดการกระทบกระทั่งหรือป_ญหาความขัดแย;งระหวLางเจ;าหน;าที่ของรัฐในการบังคับใช;กฎหมาย และประชาชนในท;องถิ่น ประชาชนเกิดอคติกับเจ;าหน;าที่รัฐในเรื่องความยุติธรรมเทLาเทียม สLงผลที่ตามมา คื อ ประชาชนจะไมL ใ ห; ค วามรL ว มมื อ กั บ ภาครั ฐ ในการอนุ ร ั ก ษ[ ฟm n น ฟู สงวนรั ก ษาทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล;อม การบริหารจัดการระบบนิเวศท;องถิ่น ๆ นั้น อยLางหลีกเลี่ยงไมLได; นอกจากนี้ในการพิจารณา ดำเนินการตLาง ๆ เชLน การพิจารณาอนุญาต การพิจารณาอนุมัติยังใช;ระบบการควบคุมในรูปแบบองค[กร กลุLม หรื อคณะกรรมการของกฎหมายแตL ละฉบั บ ทำให; เกิ ดความไมL คลL องตั วในการปฏิ บั ติ งานและไมL ทั นตL อ ในการสภาวะการเปลี ่ ย นแปลง จากป_ ญ หาดั ง กลL า วสะสมสL ง ผลกระทบในด; า นเศรษฐกิ จ และสั ง คม เกิดความไมLสมดุลระหวLางผลประโยชน[สLวนรวมของประเทศกับประชาชนในท;องถิ่นตลอดจนความขัดแย;ง ระหวLางการพัฒนาเศรษฐกิจกับการอนุรักษ[ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม หากภาครัฐหรือหนLวยงาน เกี่ยวข;องไมLสามารถบริหารจัดการหรือปรับเปลี่ยนรูปแบบให;เข;ากับป_จจุบันได; ทั้งนี้ การจัดวางแผนผังภูมินิเวศ ในพื้นที่ภาคเหนือนั้นที่ก็ควรตระหนักถึงป_ญหาดังกลLาวด;วยเชLนเดียวกัน

2-46

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

แผนยุทธศาสตร[ชาติระยะ 20 ปb พ.ศ. 2560-2579 ที่ภาครัฐกำลังดำเนินการอยูL ได;มีการกำหนดกรอบ แผนยุ ท ธศาสตร[ ด ; า นทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล; อ ม โดยให; ค วามสำคั ญ กั บ การจั ด ระบบอนุ ร ั ก ษ[ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม การวางระบบบริหารจัดการน้ำเชิงบูรณาการ การวางผังเมืองให;ถูกต;อง เหมาะสมตามหลักวิชาการ การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมหรือนิคมเชิงนิเวศ เชื่อมโยงกลมกลืนกับธรรมชาติ และเป^นมิตรกับสิ่งแวดล;อม ตลอดจนการใช;ประโยชน[จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อมอยLางชาญฉลาด และมีความรับผิดชอบ ซึ่งจะเห็นได;วLาการดำเนินตLาง ๆตามแผนยุทธศาสตร[นั้นจะต;องเกี่ยวข;องกับประชาชน ในท;องถิ่นนั้น ๆ ดังนั้น เพื่อให;การขับเคลื่อนยุทธศาสตร[ชาติให;ประสบความสำเร็จบรรลุตามเป*าหมาย ด; า นทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล; อ ม ภาครั ฐ ต; อ งสร; า งความรู ; ค วามเข; า ใจแกL ป ระชาชนในพื ้ น ที่ และปรับเปลี่ยนกลไก ลดขั้นตอนตLาง ๆในการควบคุมและกำกับที่ไมLจำเป^น รวมถึงขจัดป_ญหาความขัดแย;ง ในการบังคับใช;กฎหมายตลอดจนมาตรการตLาง ๆ อันจะนำไปสูLเป*าหมายในการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ ภาคเหนือ เพื่อเป^นกรอบในการพัฒนาในทุก ๆ ด;านที่ยั่งยืนและสมดุลตLอไป สอดคล;องกับสาระสำคัญของ แผนปฏิ ร ู ป ประเทศด; า นทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล; อ ม ซึ ่ ง มี แ ผนการปฏิ ร ู ป ผั ง เมื อ งและกำกั บ การใช;ประโยชน[ที่ดินด;วยการใช;ระบบนิเวศท;องถิ่นให;ชุมชน เพื่อให;เป^นกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง รวมถึง การวางผังเมืองระดับชุมชนและผังพื้นที่เฉพาะท;องถิ่น โดยองค[กรปกครองสLวนท;องถิ่น และการปฏิรูป มาตรการทางผังเมืองเพื่อกำกับการใช;ประโยชน[ที่ดินและอาคารในการพัฒนาเป^นพื้นที่สีเขียวและพื้นที่รองรับน้ำ ด;วยระบบการโอนสิทธิการพัฒนาพื้นที่ กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข;องกับการบริหารจัดการและการพัฒนามิติตLาง ๆ ของพื้นที่ภูมินิเวศและการใช; พื้นที่ภูมินิเวศ ประกอบด;วยกฎหมาย ดังนี้ ตารางที่ 2-1 รายการกฎหมายที่เกี่ยวข;อง

การใช;ที่ดินและโครงสร;างพื้นฐาน

กลุZม

ชื่อกฎหมาย

ป„ พ.ศ.

พระราชบัญญัติการรถไฟแหLงประเทศไทย

2494

พระราชบัญญัติการขนสLงทางบก

2522

พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร

2522

พระราชบัญญัติทางหลวง

2535

พระราชบัญญัติทางหลวงสัมปทาน

2542

พระราชบัญญัติจัดสรรที่ดิน

2543

พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน

2551

พระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ

2562

พระราชบัญญัติการผังเมือง

2562

รายงานขั้นต*น

หมายเหตุ

2-47


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

การอุตสาหกรรม

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

กลุZม

ชื่อกฎหมาย

ป„ พ.ศ.

พระราชบัญญัติอุทยานแหLงชาติ พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแหLงชาติ

2504

พระราชบัญญัติปoาสงวนแหLงชาติ (ฉบับที่ 2) พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร และ แก;ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3)

2507

พระราชบัญญัติน้ำบาดาล พระราชบัญญัติสLงเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล;อมแหLงชาติ

2520

พระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่

2547

พระราชบัญญัติการชลประทานหลวง

2548

พระราชบัญญัติคุ;มครองซากดึกดำบรรพ[

2551

พระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อการเกษตร

2558

พระราชบัญญัติสวนปoา (ฉบับที่ 2)

2558

พระราชบัญญัติแรL

2560

พระราชบัญญัติสLงเสริมการลงทุน

2520

พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแหLงประเทศไทย พระราชบัญญัติโรงงาน และแก;ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) และ (ฉบับที่ 3)

2522

2504

2518

หมายเหตุ

แก;ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2535

แก;ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2532

2535

2535

แก;ไขเพิ่มเติม (ฉบบที่ 2) และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562

กฎหมายที ่ เ กี ่ ย วข; อ งในตารางที ่ 2-1 ประกอบด; ว ยพระราชบั ญ ญั ต ิ ท ี ่ ส ำคั ญ ตL อ การวางแผนผั ง และการบริ ห ารจั ด การการใช; แ ละพั ฒ นาพื ้ น ที ่ ใ นระดั บ ที ่ แ ตกตL า งกั น จึ ง ขอนำเสนอสาระสำคั ญ ของ พระราชบัญญัติที่มีระดับความสำคัญสูงดังนี้ พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2562 พระราชบัญญัติการผังเมือง ฉบับใหมLนี้มีเพื่อใช;เป^นแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่ กำหนดแผนงาน การใช;ประโยชน[ที่ดิน ในพื้นที่หนึ่งพื้นที่ใดเพื่อการพัฒนาทางด;านกายภาพ นอกจากนี้ แผนผังนโยบาย ในระดับตLาง ๆ ยังใช;เป^นกรอบในการจัดทำแผนผังผังกำหนดการใช;ประโยชน[ที่ดิน อันประกอบด;วยผังนโยบาย ระดับประเทศ ผังนโยบายระดับภาค และผังนโยบายระดับจังหวัด ผังเมืองรวม และผังเมืองเฉพาะ เพื่อใช;ใน 2-48

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

การบริหารจัดการด;านการผังเมืองให;มีรูปแบบการดำเนินการและการบริหารจัดการที่เหมาะสม สอดคล;องกับ สภาพเศรษฐกิจ สังคมทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล;อม การวางและจัดทำผังเมืองเฉพาะต;องให;สอดคล;องกับผังเมืองรวม และให;คำนึงถึงความคิดเห็นของ เจ;าของหรือผู;ครอบครองที่ดินหรือผู;มีสิทธิโดยชอบด;วยกฎหมายในที่ดินของผู;อื่น ตามมาตรา 43 การรับฟ_ง ความคิ ด เห็ น และการมี ส L วนรL วมของประชาชนตามมาตรา 9 และการได; ร ั บอนุ ญาตให; ก L อสร; างอาคาร ภายในระยะเวลาที่ได;ประกาศพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินที่จะทำการสำรวจเพื่อวางและจัดทำผังเมือง เฉพาะ โดยมีองค[ประกอบของผังเมืองเฉพาะตามมาตรา 40 มีการปรับปรุงในพระราชบัญญัติฉบับใหมL เชLน เพิ่มให;มีแผนผังแสดงพื้นที่สีเขียวและพื้นที่อนุรักษ[ สำหรับข;อกำหนดที่จะให;ปฏิบัติหรือไมLให;ปฏิบัติ ในสLวนของข;อกำหนดเกี่ยวกับอาคาร นอกจาก ประเภท ชนิด ขนาด และจำนวนของอาคารที่จะอนุญาต หรือไมLอนุญาตให;กLอสร;างแล;ว และมีการกำหนดเรื่อง ลักษณะ ความสูง และเพิ่มข;อกำหนดประเภทและขนาด ของกิ จ การที ่ จ ะอนุ ญ าตหรื อ ไมL อ นุ ญ าตให; ด ำเนิ น การ และการปรั บ ปรุ ง รู ป แบบการประกาศใช; บ ั ง คั บ ผั ง เมื อ งเฉพาะ สามารถประกาศใช; บ ั ง คั บ ผั ง เมื อ งเฉพาะให; ก ระทำโดยการออกเป^ น พระราชบั ญ ญั ติ หรื อ พระราชกฤษฎี ก า โดยการจะออกเป^ น พระราชกฤษฎี ก านั ้ น กระทำได; ใ นกรณี ท ี ่ ไ มL ม ี ก ารเวนคื น อสังหาริมทรัพย[ ที่อุปกรณ[ การดัดแปลง รื้อถอน หรือเคลื่อนย;ายอาคาร การนำที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย[ ที่เป^นสาธารณสมบัติของแผLนดินหรือหนLวยงานรัฐเป^นเจ;าของ ครอบครอง หรือดูแลรักษามาใช;ประโยชน[ (มาตรา 39 และมาตรา 48) สLวนการให;รัฐมนตรีมีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดรายละเอียดข;อกำหนด ที่จะให;ปฏิบัติหรือไมLให;ปฏิบัติ รวมทั้งหลักเกณฑ[และวิธีปฏิบัติเพื่อให;เป^นไปตามผังเมืองเฉพาะได; ซึ่งหากมี ข;อบัญญัติหรือเทศบัญญัติที่ออกตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวกับการใช;ประโยชน[ที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย[ ขัดหรือแย;งกับกฎกระทรวงนี้ ให;ใช;กฎกระทรวงที่ออกตามผังเมืองเฉพาะแทน ยังคงกำหนดไว;และต;องเขียน กำหนดเอาไว;ในพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกาด;วยวLาให;รัฐมนตรีมีอำนาจออกกฎกระทรวงในเรื่อง ดังกลLาว (มาตรา 40 วรรคท;าย และมาตรา 50) และไมLมีการกำหนดเรื่องระยะเวลาการใช;บังคับพระราชบัญญัติ หรือพระราชกฤษฎีกาให;ใช;บังคับผังเมืองเฉพาะ แตLเมื่อในระหวLางที่ใช;บังคับพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา ให;ใช;บังคับผังเมืองเฉพาะในท;องที่ใด ถ;าองค[กรปกครองสLวนท;องถิ่นหรือกรมโยธาธิการและผังเมืองเห็นวLา สภาพการณ[ แ ละสิ ่ ง แวดล; อ มในเขตของผั งเมื องเฉพาะได; เปลี ่ ยนแปลงไป สมควรแก; ไขปรั บปรุ งเสี ยใหมL ให;เหมาะสม ให;เสนอขอแก;ไขปรับปรุงตLอคณะกรรมการผังเมือง (มาตรา 49) การจั ดทำผั งเมื องเฉพาะ คื อการจั ดทำแผนผั งและโครงการดำเนิ นการเพื ่ อพั ฒนาหรื อดำรงรั กษา บริเวณเฉพาะแหLงหรือกิจการที่เกี่ยวข;องในเมือง บริเวณที่เกี่ยวข;อง หรือชนบท เพื่อประโยชน[ในการสร;างเมืองใหมL การพัฒนาเมือง การอนุรักษ[เมือง หรือการฟmnนฟูเมือง ซึ่งการพัฒนาอาจจะต;องใช;ที่อุปกรณ[เพื่อให;การจัดทำ เป^นไปตามวัตถุประสงค[การออกแบบวางผังเมืองเฉพาะ โดยรายละเอียดที่อุปกรณ[มีดังนี้ “ที ่ อ ุ ป กรณ[ ” หมายความวL า ที ่ ด ิ น ของเอกชนซึ ่ ง ผั ง เมื อ งเฉพาะจั ด ให; เ ป^ น ที ่ เ ว; น วL า งหรื อ ใช; เ พื่ อ สาธารณประโยชน[อยLางอื่นด;วย เชLน ทางเท;า ทางเดิน ตรอกหลังหรือข;างอาคาร ทางน้ำ ทางระบายน้ำ หรือทLอระบายน้ำ รายงานขั้นต*น

2-49


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

โดยมาตรา 40 ได;กลLาววLาผังเมืองเฉพาะประกอบด;วย 8 องค[ประกอบ โดยองค[ประกอบที่ 5 ระบุวLา ข;อกำหนดที่จะให;ปฏิบัติหรือไมLให;ปฏิบัติเพื่อให;เป^นไปตามวัตถุประสงค[ของผังเมืองเฉพาะโดยจะต;องระบุ แนวเขตของทางและขนาดของที่ดินของเอกชนเพื่อใช;เป^นที่อุปกรณ[ และองค[ประกอบที่ 6 กำหนดให;ต;องระบุ รายละเอี ย ดที ่ ด ิ น ของเอกชนเพื ่ อ ใช; เ ป^ น ที ่ อ ุ ป กรณ[ เ พื ่ อ ประโยชน[ ใ นการดำเนิ น การตามผั ง เมื อ งเฉพาะ และมาตรา 65 เจ;าของที่ดินที่ถูกจัดให;เป^นที่อุปกรณ[ ให;ได;รับยกเว;นไมLต;องเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร;าง ในสLวนที่ถูกจัดนั้น และมาตรา 66 เจ;าของที่อุปกรณ[ผู;ใดประสงค[จะโอนที่อุปกรณ[ให;เป^นที่สาธารณสมบัติของ แผLนดินโดยมีเงินคLาตอบแทนให; พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 กำหนดลั ก ษณะรู ป แบบสถาป_ ต ยกรรม วิ ศ วกรรม ความปลอดภั ย สภาพแวดล; อ มของอาคาร ซึ ่ ง มี ค วามสำคั ญ ตL อ การกL อ สร; า งและใช; ส อยอาคารที ่ เ ป^ น การใช; ป ระโยชน[ ท ี ่ ด ิ น เพื ่ อ ประกอบกิ จ การ ตามข;อกำหนดผังเมือง 1. พระราชบัญญัตินี้จะใช;บังคับในท;องที่ใด มีบริเวณเพียงใด ให;ตราเป^นพระราชกฤษฎีกาเขตท;องที่ ที่ได;มี การประกาศให;ใช;บังคับผังเมืองรวมตามกฎหมายวLาด;วยการผังเมืองหรือเขตท;องที่ที่ได;เคยมีการประกาศ ดังกลLาวให;ใช;พระราชบัญญัตินี้บังคับตามเขตของผังเมืองรวมนั้นโดยไมLต;องตราเป^นพระราชกฤษฎีกา สำหรั บ อาคารสู ง อาคารขนาดใหญL พ ิ เ ศษ อาคารชุ ม นุ ม คน และโรงมหรสพ ให; ใ ช; บ ทบั ญ ญั ติ แหL ง พระราชบั ญ ญั ต ิ น ี ้ บ ั ง คั บ ไมL ว L า ท; อ งที ่ ท ี ่ อ าคารนั ้ น ตั ้ ง อยู L จ ะได; ม ี พ ระราชกฤษฎี ก าให; ใ ช; บ ั ง คั บ พระราชบัญญัตินี้หรือไมLก็ตาม (มาตรา 2) 2. รั ฐ มนตรี ว L า การกระทรวงมหาดไทยโดยคำแนะนำของคณะกรรมการควบคุ ม อาคารมี อ ำนาจ ออกกฎกระทรวงวL าด; วยการควบคุ มอาคาร เพื ่ อประโยชน[ แหL งความมั ่ นคงแข็ งแรงความปลอดภั ย การป*องกันอัคคีภัย การสาธารณสุข การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล;อม การผังเมือง การสถาป_ตยกรรม และการอำนวยความสะดวกแกLการจราจร (มาตรา 8) 3. ในกรณีที่ยังมิได;มีการออกกฎกระทรวงกำหนดเรื่องใดตามมาตรา 8 ให;ราชการสLวนท;องถิ่นมีอำนาจ ออกข;อบัญญัติท;องถิ่นกำหนดเรื่องนั้นได; (มาตรา 9 วรรคสอง) 4. ในกรณีที่ได;มีการออกกฎกระทรวงกำหนดเรื่องใดตามมาตรา 8 แล;ว ให;ราชการสLวนท;องถิ่นมีอำนาจ ออกข;อบัญญัติท;องถิ่นในเรื่องนั้นได;ในกรณี (มาตรา 10) ดังตLอไปนี้ 4.1. เป^นการออกข;อบัญญัติท;องถิ่นกำหนดรายละเอียดในเรื่องนั้นเพิ่มเติมจากที่กำหนดไว;ในกฎกระทรวง โดยไมLขัดหรือแย;งกับกฎกระทรวงดังกลLาว 4.2. เป^นการออกข;อบัญญัติท;องถิ่นกำหนดเรื่องนั้นขัดหรือแย;งกับกฎกระทรวงดังกลLาว เนื่องจาก มีความจำเป^น หรือมีเหตุผลพิเศษเฉพาะท;องถิ่น และให;มีผลใช;บังคับได; เมื่อได;รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการควบคุมอาคารและได;รับอนุมัติจากรัฐมนตรี 2-50

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

5. กฎกระทรวง หรื อ ข; อ บั ญญั ต ิ ท ; อ งถิ ่ น ที ่ อ อกตามความในพระราชบั ญญั ต ิ ค วบคุ ม อาคาร พ.ศ.2522 ขัดหรือแย;งกับกฎหมายวLาด;วยการผังเมืองให;บังคับตามกฎหมายวLาด;วยการผังเมือง (มาตรา 12) 6. ผู;ใดจะกLอสร;างดัดแปลงหรือเคลื่อนย;ายอาคารต;องได;รับใบอนุญาตจากเจ;าพนักงานท;องถิ่นหรือแจ;งตLอ เจ;าพนักงานท;องถิ่นและดำเนินการตามมาตรา 39 ทวิ (มาตรา 21) 7. อาคารที่มีสLวนสูงเกินสิบห;าเมตรซึ่งอยูLหLางจากอาคารอื่นหรือที่สาธารณะน;อยกวLาความสูงของอาคาร และอาคารที ่ อยู L หL างจากอาคารอื ่ นหรือที่สาธารณะน;อยกวLาสองเมตร หากมีการรื้อถอนต;องได;รับ ใบอนุญาติจากเจ;าพนักงานท;องถิ่น (มาตรา 22) 8. ผู;ใดจะกLอสร;างดัดแปลงหรือรื้อถอนอาคารโดยไมLยื่นคำขอรับใบอนุญาตจากเจ;าพนักงานท;องถิ่นก็ได; โดยการแจ;งตLอเจ;าพนักงานท;องถิ่นตามแบบที่คณะกรรมการควบคุมอาคารกำหนด (มาตรา 39 ทวิ) 9. ท;องที่ใดมีอาคารกLอสร;างขึ้นเป^นจำนวนมากในที่ดินที่เป^นสาธารณสมบัติของแผLนดิน และมีสภาพหรืออาจ ทำให;เกิดสภาพที่ไมLเหมาะสม หรือไมLปลอดภัยในการอยูLอาศัย การป*องกันอัคคีภัย การสาธารณสุข การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล;อม การผังเมือง และการอำนวยความสะดวกแกLการจราจร เมื่อมีพระราชกฤษฎีกา กำหนดเขตปรั บ ปรุ ง อาคารในท; อ งที ่ น ั ้ น แล; ว เจ; า พนั ก งานท; อ งถิ ่ น สามารถมี ค ำสั ่ ง ให; เ จ; า ของ หรือผู;ครอบครองอาคารรื้อถอนได; แตLต;องเป^นประโยชน[ในการใช;ที่สาธารณะของประชาชน (มาตรา 77) พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ใช;เพื่อเป^นกรอบแนวทางในการพัฒนาด;านกายภาพของเมือง ความปลอดภัย ป* องกั นป_ ญหาในการกL อสร; างและป_ ญ หาในอนาคต กำหนดลั ก ษณะรู ป แบบสถาป_ ต ยกรรม วิ ศ วกรรม ความปลอดภัยสภาพแวดล;อมของอาคาร ซึ่งมีความสำคัญตLอการกLอสร;างและใช;สอยอาคารที่เป^นการใช; ประโยชน[ที่ดิน และการประกอบกิจการตามข;อกำหนดผังเมืองรวมตามมาตรา 2 เพื่อจัดทำข;อกำหนด เสนอแนะในพื้นที่วางผังให;สอดคล;องและเหมาะสม และการในออกแบบกLอสร;างอาคารในโครงการพัฒนาพื้นที่ ตามผังปฏิบัติการต;องคำนึงถึงการกLอสร;าง ดัดแปลง รื้อถอน เคลื่อนย;ายอาคารตามมาตรา 21 มาตรา 39 โดยการปฏิบัติตามผังเมืองรวมเมืองพิษณุโลกเป^นหลัก โดยมีกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) (ป_จจุบันมีการแก;ไขกฎกระทรวง ฉบับที่ 63 (พ.ศ.2563)) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ในการควบคุมรูปลักษณ[ ลักษณะอาคาร ระยะรLน พื้นที่ในการใช;ประโยชน[อาคาร ในการกLอสร;างอาคารในโครงการพัฒนา หรืออาคารในพื้นที่ ต;องคำนึงถึง ข;อกำหนดในกฎกระทรวงนี้ด;วย พระราชบัญญัติการรถไฟแหZงประเทศไทย พุทธศักราช 2494 พระราชบัญญัติการรถไฟแหLงประเทศไทย พุทธศักราช 2494 เป^นกฎหมายซึ่งเป^นการแก;ไขเพิ่มเติม อำนาจหน; า ที ่ ข องการรถไฟแหL ง ประเทศไทย เพื ่ อ รั บ โอนกิ จ การของกรมรถไฟ กระทรวงคมนาคม และจัดดำเนินการและนำมาซึ่งความเจริญของกิจการรถไฟเพื่อประโยชน[แหLงรัฐและประชาชน และดำเนิน ธุรกิจเกี่ยวกับการขนสLงของรถไฟ และธุรกิจอื่นซึ่งเป^นประโยชน[แกLกิจการรถไฟ โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้

รายงานขั้นต*น

2-51


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

• ให;จัดตั้งการรถไฟแหLงประเทศไทย โดยมีฐานะเป^นนิติบุคคล ซึ่งมีวัตถุประสงค[เพื่อรับโอนกิจการของ กรมรถไฟ และจัดดำเนินการและนำมาซึ่งความเจริญของกิจการรถไฟ และให;ผู;วLาการหรือผู;ซึ่งได;รับ มอบหมายจากผู;วLาการ มีอำนาจสั่งให;ผู;ที่ปลูกสร;างสิ่งปลูกสร;างใดที่ไมLชอบด;วยกฎหมายภายใน ระยะสี่สิบเมตร วัดจากขอบรางรถไฟด;านริมสุดของแตLละด;านรางรถไฟ แตLต;องไมLเกินเขตที่ดินของ การรถไฟแหLงประเทศไทยดำเนินการรื้อถอนหรือทำลายสิ่งปลูกสร;างนั้นภายในกำหนดเวลาอันสมควรได; ถ;าไมLปฏิบัติตาม ให;ผู;วLาการหรือผู;ได;รับมอบหมายมีอำนาจรื้อถอน ทำลาย โดยผู;นั้นจะเรียกร;อง คLาเสียหายไมLได; ทั้งนี้ ในกรณีที่มีความจำเป^นจะต;องได;มาซึ่งอสังหาริมทรัพย[เพื่อใช;ในการกLอสร;าง ทางรถไฟหรือเครื่องประกอบทางรถไฟ หากไมLได;ตกลงในเรื่องการโอนไว;เป^นอยLางอื่น ให;ดำเนินการ เวนคืนตามกฎหมายวLาด;วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย[ • ความสัมพันธ[ระหวLางการรถไฟแหLงประเทศไทย และรัฐบาล โดยการดำเนินกิจการใดของการรถไฟ ให;คำนึงถึงประโยชน[ของรัฐ ประชาชน และความปลอดภัยเป^นหลัก การดำเนินกิจการ เชLน การสร;าง ทางรถไฟสายใหมL การเลิกสร;างทางรถไฟที่ได;เริ่มสร;างแล;วหรือเลิกกิจการในทางซึ่งเป¬ดเดินแล;ว หรือการเพิ่มหรือลดทุน ต;องได;รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีกLอน • ให; ม ี ค ณะกรรมการรถไฟแหL ง ประเทศไทย โดยมี ห น; า ที ่ ว างนโยบายและควบคุ ม ดู แ ลโดยทั ่ ว ไป ซึ่งกิจการของการรถไฟแหLงประเทศไทย เชLน วางข;อบังคับตLาง ๆ ตั้งอัตรามาตรฐานคLาภาระการใช; รถไฟ บริการ และความสะดวกตLาง ๆ ของกิจการรถไฟ กำหนดคLาภาระการใช;รถไฟ เป^นต;น พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 พระราชบั ญญั ติ ทางหลวง พ.ศ. 2535 เป^ นกฎหมายที ่ แก; ไขข; อกฎหมายเดิ มที ่ ใช; ในการควบคุ มดู และรักษาทางหลวงที่มีการใช;บังคับมาเป^นเวลานาน และไมLมีความเหมาะสม โดยเป^นการปรับปรุงข;อกำหนด เพื่อให;เหมาะสมและสอดคล;องกับสภาวการณ[ป_จจุบัน เพื่อเป^นการควบคุม รักษา และสงวนเขตทางหลวง โดยกำหนดประเภทของทางหลวง ดังนี้ • ทางหลวงพิเศษ คือ ทางหลวงที่มีการออกแบบเพื่อให;การจราจรสามารถผLานได;ตลอดและรวดเร็ว เป^นพิศษ ซึ่งรัฐมนตรีได;ประกาศกำหนดให;เป^นทางหลวงพิเศษและกรมทางหลวงเป^นผู;ดำเนินการ กLอสร;าง ขยายบูรณะและบำรุงรักษา รวมทั้งควบคุมให;มีการเข;าออกได;เฉพาะโดยทางเสริมที่เป^น สLวนหนึ่งของทางหลวงพิเศษที่กรมทางหลวงจัดทำขึ้นไว;เทLานั้น • ทางหลวงแผLนดิน คือ ทางหลวงสายหลักที่เป^นโครงขLายเชื่อมระหวLางภาคจังหวัด อำเภอ ตลอดจน สถานที ่ ท ี ่ ส ำคั ญ ที ่ ก รมทางหลวงเป^ น ผู ; ด ำเนิ น การกL อ สร; า งขยาย บู ร ณะและบำรุ ง รั ก ษา และได;ลงทะเบียนไว;เป^นทางหลวงแผLนดิน • ทางหลวงชนบท คือ ทางหลวงที่กรมทางหลวงชนบท เป^นผู;ดำเนินการกLอสร;างขยาย บูรณะ และบำรุงรักษา และได;ลงทะเบียนไว;เป^นทางหลวงชนบท

2-52

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

• ทางหลวงท;องถิ่น คือ ทางหลวงที่องค[กรปกครองสLวนท;องถิ่นเป^นผู;ดำเนินการกLอสร;าง ขยาย บูรณะ และบำรุงรักษา และได;ลงทะเบียนไว;เป^นทางหลวงท;องถิ่น • ทางหลวงสัมปทาน คือ ทางหลวงที่รัฐบาลได;ให;สัมปทานตามกฎหมายวLาด;วยทางหลวงที่ได;รับ สัมปทาน และได;ลงทะเบียนไว;เป^นทางหลวงสัมปทาน กำหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับการควบคุม การรักษา การขยายและสงวนเขตทางหลวง ได;แกL • การควบคุมทางหลวง และการควบคุมทางหลวงพิเศษ เชLน การใช;ทางหลวงข;อห;ามการใช;ทางหลวง รวมถึงการให;ผู;ใช;ทางปฏิบัติตามคำสั่งของเจ;าหน;าที่ เป^นต;น • การรักษาทางหลวง เชLน ห;ามสกัดกั้นหรือเปลี่ยนแปลงทางน้ำที่ติดตLอกับเขตทางหลวง หรือทางน้ำ ที่ไหลผLานทางหลวงในเขตที่ดินภายในระยะห;าร;อยเมตรจากแนวกลางทางหลวงข;อกำหนดเกี่ยวกับ น้ำหนักรถบรรทุก การให;เจ;าของหรือผู;ครอบครองอสังหาริมทรัพย[ริมทางหลวงต;องรักษาต;นไม; เหมือง ฝาย อาคาร หรือสิ่งปลุกสร;างอื่นที่อยูLในความครอบครองต;องไมLกีดขวางทางจราจร หรือสร;างความเสียหายแกLทางหลวง เป^นต;น • การขยายและสงวนเขตทางหลวง เชLน การกำหนดเขตทางหลวง และเขตสงวนสองข;างทางไว; เพื่อสร;างหรือขยายทางหลวง ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาโดยรัฐมนตรี ในบริเวณทางหลวงใด ที่ยังไมLมีเขตทางปรากฎแนLชัด หรือไมLได;มาตรฐานตามที่กำหนด พระราชบัญญัติทางหลวงสัมปทาน พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติทางหลวงสัมปทาน พ.ศ. 2542 เป^นกฎหมายที่ให;เอกชนเข;ามาลงทุนในกิจการอันเป^น สาธารณู ป โภค โดยมี ข ; อ กำหนดที ่ เ กี ่ ย วข; อ งกั บ หลั ก เกณฑ[ วิ ธ ี ก ารที ่ ร ั ฐ จะให; ส ั ม ปทานแกL บ ุ ค คลใด โดยที่คณะรัฐมนตรีเป^นผู;พิจารณาอนุมัติการให;สัมปทานดังกลLาว โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้ • การให;สัมปทาน เป^นไปในกรณีที่รัฐประสงค[จะให;สัมปทานในการสร;างหรือบำรุงรักษาทางสายใด ให;อธิบดีประกาศเชิญชวนให;มีการยื่นขอเสนอตามหลักเกณฑ[ที่กำหนด โดยคณะรัฐมนตรีจะเป^น ผู;พิจารณาผู;ขอยื่น ตามที่รัฐมนตรีรายงานความเห็น • การสร;างหรือบำรุงรักษา ให;ผู;รับสัมปทาน มีอำนาจเข;าไปใช;สอยหรือครอบครองอสังหาริมทรัพย[ ที่ไมLใชLที่อยูLอาศัยของบุคคลใดเป^นการชั่วคราวได; โดยจะต;องอยูLภายใต;เงื่อนไขตามที่กำหนดไว; ในพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 13) ทั้งนี้ ในกรณีที่มีเหตุจำเป^นเพื่อประโยชน[สาธารณะ รัฐมีอำนาจ เข; า ครอบครองทางหลวงสั ม ปทานนั ้ น กL อ นสั ม ปทานจะสิ ้ น อายุ แตL ต ; อ งได; ร ั บ การอนุ ม ั ติ จากคณะรัฐมนตรี (มาตรา 22) และเป^นไปตามเงื่อนไขที่กำหนด และเป^นธรรมแกLผู;ได;รับสัมปทาน

รายงานขั้นต*น

2-53


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

พระราชบัญญัติการขนสZงทางบก พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติการขนสLงทางบก พ.ศ. 2522 จัดทำขึ้นเนื่องจากในชLวงเวลาดังกลLาวพระราชบัญญัติ การขนสLง พ.ศ. 2497 ได;มีการใช;บังคับมาเป^นเวลา ไมLมีเหมาะสมกับกาลสมัย จึงมีการปรับปรุงจัดทำกฎหมาย ฉบับนี้ขึ้นเพื่อเป^นการควบคุมเกี่ยวกับการประกอบการขนสLงทางบก เชLน การประกอบการขนสLงการชดใช; คLาเสียหายที่เกิดจากการขนสLง การรับจัดการขนสLง รถ ผู;โดยสาร เป^นต;น โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้ • ให;มีคณะกรรมการนโยบายการขนสLงทางบก โดยมีหน;าที่กำหนดนโยบายการขนสLงทางบกระยะสั้น และระยะยาวเสนอตLอคณะรัฐมนตรี กำหนดนโยบายเกี่ยวกับการพัฒนาและการดำเนินการสถานี ขนสLงตLอคณะรัฐมนตรี กำหนดมาตรการและแผนพัฒนาการขนสLงทางบก กำหนดมาตรการเกี่ยวกับ ความปลอดภัยและความสะดวก เป^นต;น • ให;มีคณะกรรมการควบคุมการขนสLงทางบก โดยคณะกรรมการขนสLงทางบกกลางมีหน;าที่กำหนด ลักษณะของการขนสLงประจำทางและขนสLงไมLประจำทาง กำหนดเส;นทาง จำนวนผู;ประกอบการ ขนสLง และจำนวนรถสำหรับขนสLงประจำทางในเขตกรุงเทพมหานคร ระหวLางจังหวัด และระหวLาง ประเทศ กำหนดจำนวนผู ; ป ระกอบการขนสL ง และจำนวนรถสำหรั บ ขนสL ง ไมL ป ระจำทาง ในเขตกรุงเทพมหานคร ระหวLางจังหวัด และระหวLางประเทศ กำหนดอัตราคLาขนสLงและคLาบริการ อยLางอื่นในการขนสLง เป^นต;น สำหรับคณะกรรมการขนสLงประจำจังหวัด มีข;อกำหนดเกี่ยวกับการประกอบการขนสLง ดังนี้ • ข;อกำหนดเกี่ยวกับการประกอบการขนสLง เชLน กำหนดประเภทของใบอนุญาตประกอบการขนสLง การขออนุญาตประกอบการขนสLงประจำทาง ไมLประจำทาง การขนสLงโดยรถขนาดเล็ก การขนสLง สLวนบุคคล หรือการขนสLงระหวLางประเทศ และหลักเกณฑ[ในการขออนุญาต และแนวทางในการออก ใบอนุญาต เป^นต;น • ข;อกำหนดเกี่ยวกับการชดเชยคLาเสียหายที่เกิดจากการขนสLง เชLน กำหนดผู;รับผิดชอบคLาเสียหาย ที่เกิดขึ้นจากการขนสLง กำหนดคLาชดเชยหรือสิทธิที่ผู;เสียหายจะต;องได;รับการชดใช;คLาใช;จLาย เป^นต;น • ข;อกำหนดเกี่ยวกับการรับจัดการขนสLง เชLน การขออนุญาตประกอบการรับจัดการขนสLง หลักเกณฑ[ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาต • ข;อกำหนดเกี่ยวกับรถ เชLน สภาพของรถที่ใช;ในการประกอบการขนสLงข;อกำหนดในการตรวจสภาพรถ ข;อกำหนดในการขออนุญาตในการจัดตั้งสถานตรวจสภาพรถ อัตราคLาบริการตรวจสภาพรถ เป^นต;น • ข;อกำหนดเกี่ยวกับผู;ประจำรถ เชLน หลักเกณฑ[ วิธีการ ในการขออนุญาตปฏิบัติหน;าที่เป^นผู;ประจำรถ ประเภทของใบอนุญาตสำหรับผู;ประจำรถ การปฏิบัติหน;าที่ของผู;ประจำรถ เป^นต;น

2-54

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

• ข;อกำหนดเกี่ยวกับสถานีขนสLง เชLน ประเภทของสถานีขนสLง หลักเกณฑ[ วิธีการในการขออนุญาต จัดตั้งและดำเนินการสถานีขนสLงโดยบุคคลอื่นใดที่ไมLใชLคณะกรรมการควบคุมการขนสLงทางบกกลาง เป^นต;น พระราชบัญญัติสZงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล;อมแหZงชาติ พ.ศ.2535 เพื่อป*องกัน แก;ไขป_ญหา สLงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล;อมด;านตLาง ๆ รวมถึงการกำหนดมาตรการ คุ;มครองสิ่งแวดล;อมทางธรรมชาติ อีกทั้งการพัฒนาโครงการตามผังปฏิบัติการที่ต;องคำนึงถึงการกLอให;เกิด ผลกระทบในทางเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศของพื้นที่นั้นจากลักษณะตามธรรมชาติ หรือเกิดผลกระทบตLอคุณคLา ของสิ่งแวดล;อมศิลปกรรม และการกำหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการของสLวนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่จะทำการกLอสร;างหรือดำเนินการในพื้นที่นั้นที่อาจต;องเสนอรายงานการวิเคราะห[ ผลกระทบสิ่งแวดล;อมตามมาตรา 32, มาตรา 42, มาตรา 43, มาตรา 44, มาตรา 45, มาตรา 46, มาตรา 47 และมาตรา 62 พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแหZงชาติ พ.ศ. 2504 (แก;ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2535) พระราชบัญญัติโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑสถานแหLงชาติ พ.ศ. 2504 (แก;ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2535) มี เจตนารมณ[ เพื ่ อคุ ; มครองโบราณสถาน โบราณวั ตถุ ศิ ลปวั ตถุ และพิ พ ิ ธภั ณฑสถานแหL งชาติ รวมไปจนถึงการควบคุมการผลิตและการค;าสิ่งเทียมศิลปวัตถุให;เป^นไปอยLางมีประสิทธิภาพ โดยมีสาระสำคัญดังนี้ โบราณสถาน เพื ่ อประโยชน[ ในการดู แลรั กษาและการควบคุ มโบราณสถานให; เป^ นไปตามพระราชบั ญญั ต ิ ให; อธิ บดี มีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาขึ้นทะเบียนโบราณสถานใด ๆ ตามที่อธิบดีเห็นสมควรได; และให;มีอำนาจ กำหนดเขตที่ดินตามที่เห็นสมควรเป^นเขตของโบราณสถานโดยให;ถือวLาเป^นโบราณสถานด;วยก็ได; ประกาศดังกลLาวนี้ อธิบดีจะเพิกถอนหรือแก;ไขเพิ่มเติมก็ให;กระทำได;โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ถ;าโบราณสถานนั้นมีเจ;าของหรือผู;ครอบครองโดยชอบด;วยกฎหมาย ให;อธิบดีแจ;งเป^นหนังสือให;เจ;าของ หรือผู;ถือครอบครองทราบ ถ; าเจ;าของหรือผู;ถือครอบครองไมLพอใจก็ให; มีสิทธิร;องขอตLอศาลภายในกำหนด 30 วันนับแตLวันที่อธิบดีแจ;งให;ทราบ เมื่อโบราณสถานใดที่กรมศิลปากรได;ประกาศขึ้นทะเบียนแล;วจะมีผลดังนี้ เขตโบราณสถาน ที่ได;รับการประกาศขี้นทะเบียน ห;ามไมLให;ผู;ใดปลูกสร;างอาคารตามกฎหมายวLาด;วย การควบคุมอาคารภายในเขตโบราณสถาน เว;นแตLจะได;รับอนุญาตเป^นหนังสือจากอธิบดี หากมีการฝoาฝmน อธิบดีมีอำนาจสั่งระงับการกLอสร;าง รื้อถอน โดยผู;ครอบครองหรือผู;ปลูกสร;างไมLมีสิทธิเรียกร;องคLาเสียหาย หรือดำเนินคดีแกLผู;รื้อถอน และห;ามมิให;ผู;ใดซLอมแซม แก;ไข เปลี่ยนแปลง รื้อถอน ตLอเติม ทำลาย หรือขุดค;น

รายงานขั้นต*น

2-55


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให;สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล;อม

สิ่งใด ๆ หรือปลูกสร;างอาคารภายในบริเวณโบราณสถานเว;นแตLจะกระทำตามคำสั่งของอธิบดีหรือได;รับอนุญาต เป^นหนังสือจากอธิบดี โบราณสถานที่มีเจ;าของหรือผู;ครอบครองโดยชอบด;วยกฎหมาย หากโบราณสถานมีการชำรุด เสียหาย ให;ผู;เป^นเจ;าของแจ;งการชำรุดเป^นหนังสือแจ;งไปยังอธิบดีภายในสามสิบวัน แตLหากโบราณสถานนั้นมีการเก็บ คLาเข;าชมหรือคLาจัดเก็บผลประโยชน[อื่น ๆ ให;เข;าของผู;ชอบด;วยกฎหมายเป^นผู;เสียคLาใช;จLายในการซLอมแซมทั้งหมด หรือบางสLวนแล;วแตLอธิบดี ทั้งนี้ อธิบดีมีอำนาจสLงให;พนักงาน ทำการซLอมแซมหรือกระทำการใด ๆ อันเป^น การบูรณะหรือรักษาไว;ให;คงสภาพเดิมได; แตLต;องแจ;งเจ;าของโดยออกเป^นหนังสือให;ทราบกLอน โบราณวัตถุ อธิบดีกรมศิลปากรพิจารณาเห็นวLาโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุใดซึ่งมิได;อยูLูในความครอบครองของกรมศิลปากร มี ค ุ ณคL าในทางศิ ลปะ ประวั ต ิ ศาสตร[ หรื อโบราณคดี เป^ นพิ เศษ อธิ บดี กรมศิ ลปากรมี อำนาจประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาขึ้นทะเบียนโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุนั้น เมื่อได;มีการขึ้นทะเบียนโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุใดแล;ว ผู; ใดจะซL อมแซมแก; ไข หรื อ เปลี ่ ยนแปลงโบราณวั ตถุ ไมL ได; เว; นแตL จะได; ร ั บอนุ ญาตจากอธิ บดี กรมศิ ลปากร เป^นลายลักษณ[อักษร กรณีที่โบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุที่ขึ้นทะเบียนนั้นชำรุด หักพัง เสียหาย หรือสูญหาย หรือมีการย;ายสถานที่ เก็บรักษา ให;ผู;ครอบครองโบราณวัตถุหรือศิลปวัตถุนั้นแจ;งเป^นหนังสือไปยังอธิบดีกรมศิลปากร ภายใน 30 วัน นับตั้งแตLวันชำรุด หักพัง เสียหาย สูญหาย หรือมีการย;ายสถานที่เก็บรักษา ในกรณี ท ี ่ ต ; อ งการนำออกนอกราชอาณาจั ก ร ต; อ งได; ร ั บ ใบอนุ ญ าตจากอธิ บ ดี โ ดยให; เ ป^ น ไปตาม หลักเกณฑ[ วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวงในการจัดทำผังนโยบายระดับภาคจึงต;องพิจารณาตำแหนLงที่ตั้ง ของโบราณสถานในพื้นที่ เพื ่ อป* องกั นอั นตรายที ่ อาจจะเกิ ดขึ ้ นแกL โ บราณสถานหรื อเพื ่ อป* องกั นมิ ใ ห; เ กิ ด ทัศนียภาพที่ไมLเหมาะสมโดยรอบโบราณสถาน

2.7 สรุปประเด็นยุทธศาสตร- นโยบาย แผน และมาตรการเพื่อการวางแผนผังภูมินิเวศ ในสถานการณ[การพัฒนาพื้นที่เฉพาะระดับท;องถิ่นจนถึงระดับภาคมีกรอบด;านยุทธศาสตร[ นโยบาย และมาตรการในระดับตLาง ๆ เป^นป_จจัยพิจารณาที่สำคัญ ซึ่งสLงผลตLอกระบวนการและมาตรการ-กลไกที่สำคัญ ตLอความสามารถในการขับเคลื่อนการพัฒนาของท;องถิ่น ซึ่งบLอยครั้งจะพบชLองวLางที่เกิดขึ้นในกระบวนการ นำยุทธศาสตร[และนโยบายระดับบนสูLการพัฒนาอยLางเป^นรูปธรรมที่ตอบสนองเป*าหมายและความต;องการ ที่แท;จริงของท;องถิ่น อันเป^นผลมาจากแผนและผังที่ได;มาใช;เป^นเครื่องมือด;านนโยบายสาธารณะในการชี้นำ กำกับควบคุม สLงเสริมและจูงใจ มาจากกระบวนการที่มีข;อจำกัด ที่สLงผลถึงการตัดสินคุณคLา (Values) ที่กำหนดเป*าหมายและทิศทางของการพัฒนาแผนผังให;โน;มเอียงไปด;านใดด;านหนึ่งออกจากจุดสมดุล

2-56

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 2 การทบทวนยุทธศาสตร2 นโยบาย แผน และมาตรการที่เกี่ยวข;อง

ยุทธศาสตร[ นโยบาย แผน และมาตรการที่ศึกษาทบทวนในบทที่ 2 นี้ เป^นการดำเนินการในเบื้องต;น จำเป^นทำการค;นคว;าและวิเคราะห[ สังเคราะห[เพิ่มเติมในเชิงลึกในขั้นตLอไป โดยจะใช;กรอบทฤษฎีนิเวศวิทยา ภูมิทัศน[ และแนวคิดการวางเชิงพื้นที่เพื่อการพัฒนาที่สมดุล ในการวิเคราะห[ประเภทและความสัมพันธ[ของ ยุทธศาสตร[ นโยบาย แผน และมาตรการ กับ การจัดการเชิงพื้นที่ของ 3 องค[ประกอบหลักของภูมินิเวศ (Abiotic, Biotic, Cultural Components) ที ่ ผ L า นการวิ เ คราะห[ ค วามสมดุ ล และกระบวนการตกลงรL ว ม ด;านคุณคLาเพื่อค;นหาและกำหนดเป*าหมายของแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ ผLานวิธีการรLวมสร;างสรรค[ (Co-Creation) ที ่ จ ะถู ก ประยุ ก ต[ ใ ช; ใ นกระบวนการวางแผนแบบเน; น ความคาดหวั ง ของทุ ก ภาคสL ว น (Prospective Planning) ซึ่งจะชี้แจงในบทที่ 3 ตLอไป

รายงานขั้นต*น

2-57


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ บทที่ 3 เป=นการศึกษาทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับทฤษฎี แนวคิด หลักการที่เกี่ยวขGองกับการบริหาร จัดการการพัฒนาในพื้นที่ภูมินิเวศ ขยายความจากแนวคิดหลักเชิงทฤษฎีนิเวศวิทยาภูมิทัศนN และแนวคิด การวางแผนเชิ ง พื ้ น ที ่ เ พื ่ อ การพั ฒนาที ่ ส มดุ ล เพื ่ อ สั ง เคราะหN เ ป= น กรอบแนวคิ ด ในการศึ ก ษา วิ เ คราะหN ในการจั ด วางแผนผั ง ภู ม ิ น ิ เ วศ และแผนผั ง ความเหมาะสมในการใชG พ ื ้ น ที ่ ภ ู ม ิ น ิ เ วศในพื ้ น ที ่ ภ าคเหนื อ ในการดำเนินงานของโครงการในขั้นตอนตUอไป

3.1

ทฤษฎีการวางแผนสิ่งแวดล*อม

การวางแผนสิ่งแวดลGอมเป=นทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติของการตัดสินใจเพื่อใหGไดGผลที่ดีและเกี่ยวขGองกับ สิ ่ ง แวดลG อ มหลายประเภท ทั ้ ง สิ ่ ง แวดลG อ มที ่ ย ั ง ไมU ไ ดG ม ี ก ารปรั บ เปลี ่ ย นโดยยั ง คงเป= น ธรรมชาติ อ ยูU (เชUน ทรัพยากรธรรมชาติ สัตวNปZา ภัยธรรมชาติ) สิ่งแวดลGอมที่เป=นทรัพยากรใหGมนุษยNนำมาใชGสอย (เชUน ปZาไมG แหลUงแรU พื้นที่การเกษตร) สิ่งแวดลGอมที่เป=นที่รองรับของเสียและมลพิษที่มนุษยNผลิตขึ้นซึ่งเกี่ยวขGองกับ การสาธารณสุข (เชUน มลพิษทางอากาศ มลพิษในน้ำ ขยะและสารพิษ) และองคNประกอบของสิ่งแวดลGอม ที่มนุษยNสรGางเพื่อการใชGงาน (เชUน สวนสาธารณะ บGานที่อยูUอาศัย) การวางแผนสิ่งแวดลGอมครอบคลุม การตัดสินใจดGานขGอเสนอโครงการพัฒนาที่มีการประยุกตNใชGสิ่งแวดลGอม แผนกลยุทธNและนโยบายที่เกี่ยวขGอง กั บ การพั ฒ นาในอนาคต นอกจากนั ้ น แลG ว ยั ง เกี ่ ย วขG อ งกั บ การควบคุ ม ความไมU เ ป= น ระเบี ย บของระบบ จากการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอีกดGวย1 จึงเห็นไดGวUาการวางแผนสิ่งแวดลGอมนำแนวทางและทฤษฎีจาก หลากหลายสาขาวิชา ทั้งสังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตรNสิ่งแวดลGอม การออกแบบ เทคโนโลยีและการตัดสินใจ มาใชGในการแกGป_ญหาและบริหารจัดการทรัพยากรอยUางมีประสิทธิภาพ 2 3 ดGวยการใชGการวิจัยเรื่องสิ่งแวดลGอม และความรูGเกี่ยวกับการพัฒนามาฟcdนฟูระบบและกระบวนการทางธรรมชาติ การพัฒนาอยUางยั่งยืน รวมถึง การออกแบบที่เหมาะสม4 โดยที่การวางแผนสิ่งแวดลGอมเกี่ยวขGองกับนโยบายสิ่งแวดลGอม แผนกลยุทธN สิ่งแวดลGอม และแผนการบริหารจัดการสิ่งแวดลGอม 5 จึงอาจกลUาวไดGวUาทฤษฎีการวางแผนสิ่งแวดลGอม ที่จะนำมาใชGจะสะทGอนจากนโยบายดGานสิ่งแวดลGอม ซึ่งนโยบายเหลUานั้นจะขึ้นอยูUกับแนวคิดของผูGคนที่มี ตUอธรรมชาติ ที่จัดออกเป=น 3 หลักแนวคิด6 คือ

1 2 3 4 5 6

https://enviroconnect.org/defining-environmental-and-sustainability-planning https://uwaterloo.ca/graduate-studies-academic-calendar/archive-spring-2020/node/6115 https://canvas.ewu.edu/courses/942334/assignments/2684494?module_item_id=5696948 https://papers.waikato.ac.nz/subjects/ENVPL https://enviroconnect.org/defining-environmental-and-sustainability-planning รังสรรคN สุคำภา. (2560). จริยศาสตรNดGานสิ่งแวดลGอมกับการเมืองเรื่องสิ่งแวดลGอม: จากแนวคิดสูUการปฏิบัติ. วารสารเอเชียตะวันออกและ อาเซียนศึกษา ป•ที่ 17, ฉบับที่ 1 (ม.ค./มิ.ย. 2560), หนGา 137-169. รายงานขั้นต*น

3-1


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

1. แบบนิเวศเป=นศูนยNกลางหรือหลักคิดสีเขียวเชิงลึก (Eco - centric Perspective or Deep Green) มีแนวทางวUาผูGคนตGองไมUเขGาไปแทรกแซงความเป=นไปของธรรมชาติ คนตGองสามารถอยูUกับธรรมชาติ ที่ไมUมีการดัดแปลง เป=นมุมมองของการอนุรักษNแบบเกUาที่ไมUชอบการเปลี่ยนแปลง 2. แบบมนุษยNเป=นศูนยNกลางหรือหลักคิดสีเขียวเชิงตื้น (Anthropocentric Perspective or Shallow Green) มีความคิดวUาคนสามารถแสวงหาประโยชนNจากธรรมชาติและสิ่งแวดลGอมไดGโดยอาจจะ ไมUคำนึงถึงสิ่งอื่น นักวิชาการบางกลุUมมีความเห็นวUาแนวทางการพัฒนาอยUางยั่งยืนก็ใชGวิธีคิด แบบมนุษยNเป=นศูนยNกลางดGวย เพราะเป=นการพัฒนาเพื่อตัวมนุษยNนั่นเอง 3. แบบเทคโนโลยีเป=นศูนยNกลางหรือใชGเทคโนโลยีแกGป_ญหา (Techno - centric Perspective or Technology and Green Solution Approach) มีความคิดวUามนุษยNมีสติป_ญญาสามารถแกGป_ญหา สิ ่ ง แวดลG อ มที ่ ต ั ว เองกU อ ขึ ้ น ไดG โดยอาศั ย วิ ท ยาศาสตรN แ ละเทคโนโลยี ส รG า งเครื ่ อ งมื อ ในการลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม เชUน การใชGพลังงานที่สามารถ นำกลับมาใชGใหมUไดG และการใชGพลังงานสะอาด อันเป=นการใชGนวัตกรรมแกGไขป_ญหาสิ่งแวดลGอม ที่เกิดขึ้น แนวคิดแบบเทคโนโลยีเป=นศูนยNกลางจะไดGรับคำวิจารณNจากกลุUมแนวคิดแบบนิเวศ เป=นศูนยNกลางที่มีความเห็นวUาเทคโนโลยีไมUสามารถนำไปสูUความยั่งยืนอยUางแทGจริงไดGเพราะมนุษยN ไมUไดGเป=นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ ซึ่งเป=นประเด็นสำคัญของแนวคิดชุมชนนิยม (Communism) ที่ใหG ชุ มชนมี บทบาทในการจั ดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอมดGวยวิธีการอยูUรUวมกับ ธรรมชาติ แนวคิ ด แบบเทคโนโลยี เ ป= น ศู น ยN ก ลางนU า จะสามารถเขG า กั บ ความเป= น จริ ง ของโลก ในป_จจุบันนี้ไดG เนื่องจากสอดคลGองกับการอนุรักษNทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอมไปพรGอมกับ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น แนวคิดการวางแผนสิ่งแวดลGอมที่จะนำมาใชGในโครงการศึกษานี้จะเป=นแนวคิดแบบเทคโนโลยี เป=นศูนยNกลางหรือใชGเทคโนโลยีแกGป_ญหา ซึ่งแนวคิดที่สนใจ คือ แนวคิดความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) :ซึ่งเป=นแนวคิดที่มีการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติเกิดขึ้นโดยมนุษยNผูGใชGเทคโนโลยี ความสามารถในการรองรับ (Carrying Capacity) หมายถึง ความสามารถของธรรมชาติที่จะจัดสรร ใหG เ พี ย งพอตU อ ความตG อ งการใชG ป ระโยชนN หรื อ ทนตU อ การเปลี ่ ย นแปลงที ่ จ ะเกิ ด ขึ้ น โดยไมU ก U อ ใหG เ กิ ด ความเสียหายตUอธรรมชาติและมนุษยN ความสามารถในการรองรับยังมีสUวนสัมพันธNกับความหนาแนUนของ ประชากรสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต โดยแสดงจำนวนประชากรสู ง ที ่ ส ุ ด ที่ ส ิ ่ ง แวดลG อ มสามารถรั บ ไดG โ ดยใชG ท รั พ ยากร อยUางเหมาะสม ความสามารถในการรองรับมี 3. ลักษณะ7

7

https://www.dmcr.go.th/detailLib/4737 3-2

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

1. ความสามารถในการรองรับดGานกายภาพ (Physical Carrying Capacity) พิจารณาความหนาแนUน ของประชากรตUอหนUวยพื้นที่ ซึ่งระบุปริมาณประชากรที่พื้นที่จะสามารถรองรับไดG และคำนึงถึงคุณภาพของ การใชGพื้นที่ดGวย 2. ความสามารถในการรองรั บ ดG า นนิ เ วศวิ ท ยา (Ecological Carrying Capacity) เป= น ระดั บ การใชGประโยชนNสูงสุดของพื้นที่ที่ระบบนิเวศจะรับภาระไดG พิจารณาจากความหาไดGยากของสภาพธรรมชาติ นั้นหรือความเป=นเอกลักษณNของพื้นที่ การเปลี่ยนแปลงไปจากเดิ ม และความสามารถในการฟcdนฟูของ ธรรมชาติเอง 3. ความสามารถในการรองรับดGานสังคม (Social Carrying Capacity) พิจารณาระดับการใชGประโยชนN ที่ยังคงใหGคุณภาพชีวิตที่ดีแกUมนุษยN และไมUเกิดผลกระทบทางลบแกUสังคมและวัฒนธรรมทGองถิ่น ความสามารถในการรองรับนี้มีการเปลี่ยนแปลงไดGตามจำนวนประชากรร พฤติกรรมการใชGทรัพยากร และสภาพสิ่งแวดลGอมเอง

3.2

ทฤษฎีประวัติศาสตรIสิ่งแวดล*อม

ประวัติศาสตรNสิ่งแวดลGอม (Environmental History) เริ่มตGนในราวทศวรรษที่ 1970 ใหGความสำคัญ ในการอธิ บ ายวU า ทำไมสภาพแวดลG อ มของมนุ ษ ยN เ ป= น เชU น นั ้ น และการกระทำของมนุ ษ ยN ม ี อ ิ ท ธิ พ ล ตUอสภาพแวดลGอมอยUางไร8 นอกจากนั้นยังเป=นการเปšดพื้นที่ในการทำความเขGาใจเกี่ยวกับป_ญหาสิ่งแวดลGอม และหาหนทางในการอยูUรUวมกับธรรมชาติในอนาคต แนวคิดประวัติศาสตรNสิ่งแวดลGอม เป=นการศึกษาถึงการปฏิสัมพันธNระหวUางมนุษยNกับธรรมชาติ ป_จจัย และความเปลี ่ ย นแปลงที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ทั ้ ง ในมิ ต ิ ท ี ่ ม นุ ษ ยN ม ี ฐ านะเป= น ฝZ า ยกระทำ และอิ ท ธิ พ ลของธรรมชาติ ที่สUงผลกับมนุษยN เพื่อหาแนวทางในการดำรงชีวิตที่เหมาะสมในอนาคตอยUางไรซึ่ง J.R. McNeill ไดGกลUาวถึง ขอบเขตในการศึกษาประวัติศาสตรNสิ่งแวดลGอม 3 ประเด็น ไดGแกU9 ประเด็นที่ 1 เป=นการศึกษาประวัติศาสตรNสิ่งแวดลGอมในมิติคุณคUาและความสำคัญของทรัพยากรตUาง ๆ ในธรรมชาติที่มนุษยNไดGนำมาใชGในการยกระดับและพัฒนาคุณภาพชีวิต ผลกระทบจากการกระทำของมนุษยN ที่สUงผลกับธรรมชาติและอิทธิพลของธรรมชาติที่สUงผลกระทบกับมนุษยN ประเด็นที่ 2 เป=นการศึกษาประวัติศาสตรNสิ่งแวดลGอมในมิติของนโยบายภาครัฐการเมืองกับการพัฒนา ที่สัมพันธNกับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลGอม การกระทำของกลุUมทางสังคมกับการจัดการดGานสิ่งแวดลGอม

8

9

Michael, W., “The relations of environmental history and historical geography,” Journal of Historical Geography 2 0 , 1 (1994): 3 – 21. Ibid. รายงานขั้นต*น

3-3


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

ประเด็นที่ 3 เป=นการศึกษาประวัติศาสตรNสิ่งแวดลGอมในมิติของวัฒนธรรมและภูมิป_ญญา เป=นการศึกษา ความสัมพันธNระหวUางสังคมกับธรรมชาติผUานความคิด ความเชื่อและทุกสิ่งทุกอยUางที่มนุษยNไดGประดิษฐN สรGางขึ้นมา เชUน ภาษา กวี ภาพวาด งานศิลปะ บทเพลง ดนตรี งานหัตถกรรม เครื่องแตUงกาย ที่สUงผลตUอ การขับเคลื่อนทางสังคม ในขณะที่ Carruthers ไดGนำเสนอถึงประเด็นเพิ่มเติมที่แตกตUางออกไป นั่นคือการศึกษาประวัติศาสตรN สิ่งแวดลGอมในมิติของความเป=นธรรมและความเทUาเทียม ในการเขGาถึงการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สำหรับประเทศไทย อรรถจักรN สัตยานุรักษN10 ไดGนำเสนอขอบเขตในการศึกษาประวัติศาสตรNนิเวศวิทยา และสิ่งแวดลGอม ในสามความหมาย คือ 1) การศึกษาของความเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและสิ่งแวดลGอมโดยตัวของมันเอง เชUน การศึกษา ความเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศหนึ่ง ๆ ในชUวงเวลาที่ยาวนานพอสมควร 2) การศึกษาความเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและสิ่งแวดลGอมที่เกิดจากพลังอำนาจหรือการกระทำ ของมนุษยN 3) การศึกษาที่เนGนปฏิสัมพันธNระหวUางระบบนิเวศและสิ่งแวดลGอมกับมนุษยNที่ลGวนแลGวแตUมีอิทธิพล หรือผลกระทบซึ่งกันและกัน และการปฏิสัมพันธNนี้จะมีความแตกตUางไปในแตUละพื้นที่และแตUละเวลา งานวิจัยดGานประวัติศาสตรN พบวUาการรับรูGเรื่องสิ่งแวดลGอมในสังคมไทยนั้นสามารถนับยGอนไปไดG ตั้งแตUสมัยมนุษยNยุคกUอนประวัติศาสตรNที่มีวิถีการดำเนินชีวิตอยูUในระบบนิเวศธรรมชาติ มีการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมวัฒนธรรมภายใตGธรรมชาติ ตั้งแตUริเริ่มเพาะปลูก เลี้ยงสัตวN ปรับขยายพื้นที่ เพิ่มจำนวนประชากร การเคลื ่ อนยG ายประชากร การแบU ง หนG าที ่ ทำงาน การแบU ง ชนชั ้ นทางสั ง คม ฯลฯ พั ฒนาการของมนุ ษยN จึงเต็มไปดGวยความหลากหลายของระบบนิเวศและมากมายไปดGวยการดำรงชีวัตของผูGคน11 ซึ่งประวัติศาสตรN มนุษยNสอดคลGองไปกับกับลักษณะภูมิศาสตรNและสิ่งแวดลGอม ในขณะอิทธิพลของธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม ก็สUงผลกระทบตUอวิถีมนุษยNเชUนกัน ความสัมพันธNและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจำเป=นอยUางยิ่งที่สังคมไทย ตGองพัฒนาพลเมืองไทยแบบที่ตUางไปจากเดิม12 ดังนั้นประวัติศาสตรNสิ่งแวดลGอมในบริบทไทยคือประวัติศาสตรNสิ่งแวดลGอมเป=นการเรียนรูGประวัติศาสตรN เชิงบูรณาการโดยมีความมุUงหมายเพื่อศึกษาสภาพการณNปฏิสัมพันธNระหวUางมนุษยNกับธรรมชาติผUานมิติของ กาลเวลา เพื่อใหGเห็นความสัมพันธNเชื่อมโยงระหวUางมนุษยNกับธรรมชาติ และอิทธิพลที่สUงผลระหวUางกัน รวมถึง 10

11

12

อรรถจักรN สัตยานุรักษN, การศึกษาพรมแดนความรูGทางประวัติศาสตรNดGานนิเวศวิทยาและสิ่งแวดลGอม (เชียงใหมU: โครงการประมวลความรูGเพื่อ การพัฒนาการวิจัยประวัติศาสตรNไทย, 2541),. รัศมี ชูทรงเดช. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเรื่อง การปฏิสัมพันธN ระหวUางมนุษยNกUอนประวัติศาสตรNกับสิ่งแวดลGอมบนพื้นที่สูงในอำเภอ ปางมะผGา จังหวัดแมUฮUองสอน (กรุงเทพฯ: ศูนยNมานุษยวิทยาสิรินธร, 2559). อรรฎชณมN สัจจะพัฒนกุล, ประวัติศาสตรNสิ่งแวดลGอมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: การเรียนรูG สูUการสรGางพลเมืองที่มุUงเนGนความเป=นธรรมทางสังคม และสิ่งแวดลGอมในบริบทไทย, สารสารภาษ ศาสนา และวัฒนธรรม ป•ที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2561), 273-304. 3-4

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น นำไปสูUการวิเคราะหNแนวโนGมในอนาคตเพื่อมนุษยNจะไดGวางแผนการดำเนินชีวิต และรูปแบบความสัมพันธNระหวUางมนุษยNกับธรรมชาติ และระหวUางมนุษยNกับมนุษยNเพื่อการรับมือกับเผชิญ สถานการณNในอนาคตและสรGางสรรคNระบบนิเวศแหUงชีวิตที่สันติสุขยั่งยืน

3.3

นิเวศวิทยามนุษยIและนิเวศวิทยาวัฒนธรรม

3.3.1 นิเวศวิทยามนุษยI (cultural human) เป= น การวิ จ ั ย ทางดG า นสั ง คมศาสตรN ม นุ ษ ยศาสตรN เป= น การศึ ก ษาความสั ม พั น ธN ร ะหวU า งมนุ ษ ยN และสิ ่ ง แวดลG อ ม โดยแนวคิ ด ทฤษฎี และวิ ธ ี ก ารวิ จ ั ย ที ่ ไ ดG ร ั บ การพั ฒนาขึ ้ น จากป_ ญหาการพั ฒ นาเมื อ ง ในสหรัฐอเมริกาในชUวงทศวรรษที่ 1920-1930 นิเวศวิทยามนุษยN (human ecology) และนิเวศวิทยาวัฒนธรรม (ecology) ในตำราบางเลUมจัดใหG นิ เ วศวิ ท ยาวั ฒ นธรรมเป= น สU ว นหนึ ่ ง ของนิ เ วศวิ ท ยามนุ ษ ยN โดยนิ เ วศวิ ท ยามนุ ษ ยN ใหG ค วามสนใจกั บ กระบวนการพัฒนาและรูปแบบการปรับตัวของมนุษยNบนพื้นที่อาศัยของตนเอง โดยมองวUาชุมชนมนุษยN เป=นชุมชนสิ่งมีชีวิตมีการแบUงหนGาที่การทำงาน มีการรวมตัวกัน มีหนUวยนิเวศที่มีการปรับตัวและมีความโดด เดUนของหนUวยบริเวณศูนยNกลาง แลGวคUอยๆ ลดความโดดเดUนลงเมื่อ หUางจากศูนยNกลางออกไป มีการใชG และปรับประโยชนNจากสิ่งแวดลGอมธรรมชาติและที่ตนเองสรGางขึ้น ลักษณะดังกลUาวปรากฏใหGเห็นในรูแบบ แผนเชิงพื้นที่ (spatial patterns) กระบวนทัศนNของนิเวศวิทยามนุษยN ประกอบไปดGวยแนวคิด ทฤษฎี 3 ประการ คือ13 1. การปรับตัวเกิดขึ้นจากการกUอตัวของระบบพึ่งพาอาศัยกันและกันของประชากรในชุมชน 2. พัฒนาการของระบบจะดำเนินไปจุดสูงสุดของขนาดและความสลับซับซGอนของประชากรเทUาที่ เทคโนโลยีการขนสUงและการคมนาคมจะรองรับไดG 3. พั ฒ นาการของระบบจะกลั บ มาปฏิ บ ั ต ิ ก ารอี ก เมื ่ อ ไดG ร ั บ ขU า วสารที ่ ท ำใหG เ พิ ่ ม ความสามารถ ในการรองรั บ ที ่ ส ามารถเคลื ่ อ นยG า ยวั ต ถุ ประชากรและขU า วารจนกวU า จะถึ ง ขี ด สู ง สุ ด ของความสามารถ ในการรองรับ หรือที่เรียกวUาการปรับตัว การขยายตัว หรือวิวัฒนธรรมการนั้นเอง

3.3.2 นิเวศวิทยาวัฒนธรรม เนGนในประเด็นที่เกี่ยวขGองระหวUางสิ่งแวดลGอมและวัฒนธรรมของมนุษยN ซึ่งสUวนมากเป=นนักภูมิศาสตรN และมานุษยวิทยา โดยพิจารณาวUามนุษยNเป=นระบบใหญUของนิเวศนN ดังนั้นการปฏิสัมพันธNระหวUางมนุษยNกับ สิ่งแวดลGอมจึงเป=นประเด็นสัมพันธNในสาขานี้เชUนกัน อยUางไรก็ตามมโนทัศนNทางวัฒนธรรม ไมUวUาจะเป=น 13

ชูศักดิ์ วิทยาภัค, นิเวศวิทยามนุษยN การศึกษาสิ่งแวดลGอมในมิติสังคมและวัฒนธรรม (เชียงใหมU: ศูนยNการบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหมU , 2561), 14) รายงานขั้นต*น

3-5


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

การดำรงชีพ ศาสนา ภาษา ภูมิศาสตรN ฯลฯ ที่ครอบคลุมการดำรงชีวิตประจำวันของผูGคน ในเชิงนิเวศวิทยา มนุษยNโดยพื้นฐานแลGว วัฒนธรรมเป=นผลผลิตของการปฏิสัมพันธNระหวUางมนุษยNกับสิ่งแวดลGอม ดังนั้นมนุษยNมี ความสัมพันธNเชื่อมโยงกันกับสิ่งแวดลGอมผUานทางวัฒนธรรม นักคิด Julian Steward มองวUามนุษยNกับธรรมชาติตUางมีปฏิสัมพันธNซึ่งกันและกันผUานการดำรงชีพ และการทำงาน โดยเนG น ไปที่ แ กU น วั ฒ นธรรม (culture core) วU า เป= น ศู น ยN ก ลางของสั ง คมมนุ ษ ยN ไดG แ กU เทคโนโลยี ตUอมาคือโครงสรGางทางสังคม (primary features) ตUอจากนั้นคือสถาบันทางสังตม และมีเงื่อนไข บริบทสังคมโดยรอบที่เป=นป_จจัยสำคัญ ในขณะที่ Roy Roppaport ระบบปฏิสัมพันธNระหวUางประชากรมนุษยN กับสิ่งแวดลGอมประกอบไปดGวยสิ่งที่ไมUมีชีวิต (abiotic) เชUน ดิน อากาศ น้ำ เป=นตGน และสิ่งมีชีวิต (biotic) เชUน ประชากรพืชหรือสัตวN

ภาพที่ 3- 1 แนวคิดนิเวศวัฒนธรรมของ Julian Steward14

14

Ibid. 3-6

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

ภาพที่ 3- 2 แบบจำลองนิเวศวิทยาของ Roy Roppaport15

3.3.3 นิเวศวิทยาวัฒนธรรมกับการพัฒนา ในทางสากล UNESCO ไดGนยิ าม ความหมายวUาวัฒนธรรม คือ องคNรวมที่มีความซับซGอนของจิตวิญญาณ วัตถุ ภูมิป_ญญา อารมณN ซึ่งเป=นลักษณะเฉพาะตัวของสังคมนั้น ๆ และ ความยั่งยืนทางวัฒนธรรมสามารถ ใหGคำนิยามไดG คือ ความสามารถที่ จะเก็บรักษาไวGซึ่งลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรมนั้น ๆ และยินยอมใหG เปลี ่ ย นแปลงไดG ใ นหนทางวิ ธ ี ก ารที ่ ส อดคลG อ งกั บ คU า นิ ย มทางวั ฒนธรรม ของประชาชน16 (Sustainable Development Research Institute, 1998) โดยทุนทางวัฒนธรรม มีทั้งที่จับตGองไดGและไมUไดGที่สืบทอดผUาน รุ U น ตU อ รุ U น ทั ้ ง ประเพณี (Traditions) คU า นิ ย ม (Values) มรดก (Heritage) สถานที ่ (Place) ศิ ล ปะ (Arts) ความหลากหลาย (Diversity) และประวัติศาสตรNของสังคม (Social history)17 ตั ้ ง แตU ทศวรรษ 1960 เป= นตG นมา เกิ ดป_ ญหาการเปลี ่ ยนแปลงสภาพแวดลG อมที ่ รุ นแรงอั นมาจาก การพัฒนาอุตสาหกรรม ซึ่งอุตสาหกรรมกUอใหGเกิดการผลิตสินคGาไดGในเวลาอันรวดเร็วอันเป=นป_จจัยบวกตUอ ระบบเศรษฐกิ จ ในระบบทุ น นิ ย ม ดG ว ยระบบทุ น นิ ย ม (capitalism) การเปลี ่ ย นพฤติ ก รรมและรู ป แบบ การบริโภคในป_จจุบัน ทำใหGวัฒนธรรมสูญเสียอัตลักษณN ทำใหGคนในทGองถิ่นหันมาตระหนักเพื่อปรับตัวไปสูU วิถีชีวิตเพื่อปกปªองตนเองจากโลกทุนนิยม แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนจึงถือกำเนิดขึ้นมา เมื่อพบวUาการพัฒนา นิเวศในลักษณะนั้นกUอใหGป_ญหาหลายดGานโดยเฉพาะป_ญหาทางดGานใชGทรัพยากรที่รวดเร็วทำใหGจำเป=นตGองมี

15

16

17

Romno, Roy, Conceptual Approaches to Human Ecology. Honolulu: East-West Center, 1983.

Drummond,I. & Mardens,T. 1999. “Sustainable Development: The impress and beyond” in Redclift, M. ed. Sustainability Critical Concepts in Social Science (Vol.2), 256-258. Ibid. รายงานขั้นต*น

3-7


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

การจัดสรรทรัพยากรใหGพอเพียงกับใชGในการดำรงชีวิตของมนุษยNตUอไป รวมไปถึงป_ญหามลพิษทางสิ่งแวดลGอม ที่เกิดจากการผลิตที่มากเกินไปดGวยเชUนกัน18 พื้นฐานแนวคิดของความยั่งยืนนำมาใชGในนิเวศวัฒนธรรม โดยมององคNรวมของนิเวศที่มีความสัมพันธNกัน ดG ว ยสามองคN ป ระกอบหลั ก คื อ สั ง คม เศรษฐกิ จ และสิ ่ ง แวดลG อ ม ซึ ่ ง ป_ ญ หาหลั ก มาจากสิ ่ ง แวดลG อ ม ที่เป=นผลมาจากการพัฒนาตามแนวคิดทุนนิยม การแกGไขป_ญหาจึงตGองมองไปที่ตGนเหตุ ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจาก ตัวมนุษยNเป=นผูGคิดและกระทำ ดังนั้นการปรับเปลี่ยนมุมมอง วิธีคิด วิธีปฏิบัติ และสรGางคUานิยมใหมUจึงเป=น การสรGางวัฒนธรรมอยUางใหมU มาแทนที่กรอบวัฒนธรรมปฏิบัติแบบเดิมที่กUอใหGเกิดป_ญหา และเมื่อผสาน กรอบวัฒนธรรมแบบใหมUมาใชGในการดำรงชีวิต วัฒนธรรมจึงเขGามามีบทบาทในการแกGไขป_ญหาที่เกิดจาก มนุษยNที่สรGางความไมUยั่งยืน และสามารถนำไปสูUสังคมที่ยั่งยืนโดยมีรากฐานจากตGนทุนทางวัฒนธรรม ซึ่งเป=น ตGนทุนสำคัญตUอการพัฒนาไมUนGอยกวUาตGนทุนทางเศรษฐกิจหรือสิ่งแวดลGอม

ภาพที่ 3- 3 แนวทางของความยั่งยืนในระบบนิเวศวัฒนธรรมของ Monto, Ganesh and Varghese, 200519

18 19

Netting, R. 1977. Cultural Ecology. California : Cummings Publishing Company.

อนุกูล ตุนสุพล, นิเวศวิทยาวัฒนธรรม : กุญแจสูUการพัฒนาที่ยั่งยืน, สารสารวิชาการคณะมนุษยNศาสตรNและสังคมศาสตรN ป•ที่ 12 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน, 2556), 208. 3-8

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

3.4

แนวคิดนิเวศกลุeมเมือง

“นิ เ วศกลุ U ม เมื อ ง” หรื อ Ecological Urban Cluster เป= นแนวคิ ด ที ่ พั ฒนาจากการศึ ก ษาแนวทาง การพัฒนาเมืองในพื้นที่ภาคกลาง โดยสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง20 บนหลักทฤษฎีนิเวศ มหานคร (Ecopolis) ซึ่งตั้งอยูUบนหลักการ 7 ประการ21 คือ 1) เป=นนิเวศเมืองที่มีหลากหลายบทบาทหนGาที่ 2) มี ก ารใชG ป ระโยชนN ท ี ่ ด ิ น ในเมื อ งที ่ ม ี ค วามหนาแนU น สู ง 3) มี พ ื ้ น ที ่ เ ปš ด โลU ง สาธารณะที ่ ม ี ค ุ ณ ภาพ และประสิทธิภาพ 4) สUงเสริมลักษณะสำคัญของทGองถิ่น (Genius Loci) 5) มีสุนทรียภาพของกายภาพของเมือง 6) มีการบริการสาธารณะที่มีคุณภาพเขGาถึงไดGงUาย โดยเฉพาะดGวยการเดินเทGา 7) มีบริการระบบขนสUงมวลชน ที่ลดปริมาณการจราจรในเมืองไดGอยUางดี โดยนิเวศมหานครมีคุณลักษณะดังนี้ มีขอบเขตทางพื้นที่เพื่อการวางนโยบาย วางแผนและการบริหารการพัฒนาที่ชัดเจน ดGวยพื้นที่ ระบบนิเวศ ความหลากหลายของระบบนิเวศแบUงเป=นกลุUมพื้นที่เพื่อการบริหารจัดการ ยUอยประเด็นป_ญหาลง ใหGจัดการรUวมกันไดGงUายขึ้น ในมิติของกายภาพการตั้งถิ่นฐาน และสิ่งแวดลGอม มีความสัมพันธIเชิงโครงสร*างระหวeางพื้นที่นิเวศ และระหวeางกลุeมนิเวศ ทั้งทางสังคม วัฒนธรรม บทบาท เศรษฐกิจ ความสัมพันธN มีโครงสรGางสUวนบนและสUวนลUาง ที่เป=นระบบถUายทอดในระดับตUาง ๆ (nested cells) ผนวกกับระบบความสัมพันธNดGวยเทคโนโลยีใหมU (digital technology) ให*ความสำคัญกับท*องถิ่นหนeวยเล็ก (โครงสร*างฐานราก) ที่มีบทบาทความสัมพันธNกับทรัพยากร แวดลGอมโดยตรง มีความเขGมแข็งทางสังคม เศรษฐกิจ ความสัมพันธIแบบพึ่งพา แบeงปqน ในนิเวศกลุeมเดียวกัน สรGางความสามารถในการพึ่งตนเองไดGมากขึ้น ในกลุUม และทGองถิ่นหนUวยยUอยสามารถคงอยูUและสามารถปรับตนเองไดG (ประชาชนสามารถปรับตัวไดG ตUอสภาวะทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดลGอมและภัยพิบัติ การบริหารจัดการ) และสรGางเสริมความแข็งแรงของทGองถิ่น อยUางยั่งยืน กระบวนการของความเปr นเมื องเปr นวงจรหมุ นเวี ยน (upward spiral process) จากการผลิต สูUการบริโภค และของเสีย ถูกจัดการใหGมีการหมุนเวียน ใชGประโยชนNใหมU ฟcdนฟู พัฒนานวัตกรรมใหมU (เชUน digital economy) สูUความยั่งยืน มุeงสูeการพัฒนาที่สมดุลของสภาวะนิเวศกลุeมเมือง โดยที่เมือง ทGองถิ่น ชุมชน และสภาพแวดลGอม ที่เกิดจากความสัมพันธN การจัดการ และกระบวนการขGางตGน นำไปสูUการพัฒนาที่สมดุล ทั้งในดGานนโยบาย (top-down vs. bottom-up) ความมั่งคั่งที่เป=นธรรม ซึ่งประกอบดGวยความมั่งคั่งทางการเงิน เศรษฐกิจ

20

21

ธนะ จีระพิวัฒนN. (2558). สภาวะป_จจุบันของลำดับและบทบาทของเมืองในภาคกลางของประเทศไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ “สถาป_ตยNกระบวนทัศนN” พ.ศ. 2558. คณะสถาป_ตยกรรมศาสตรN มหาวิทยาลัยศิลปากร. Babalis, D (Ed.). (2007). Ecopolis: Conceptualising and Defining Sustainable Design. Genesi Gruppo: Citta di Cstello, Italy. รายงานขั้นต*น

3-9


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

ทรั พ ยากร และความมั ่ ง คั ่ ง ทางป_ ญ ญา (wisdom) ที ่ ส ามารถนำไปสู U ก ารสรG า งสรรคN ก ระบวนคิ ด ใหมU (springboard to new paradigm) ที่สรGางสภาวะความสุขของสังคมที่มั่นคง การศึกษาแนวทางการพัฒนาเมืองในพื้นที่ภาคกลาง ไดGพัฒนาแนวคิดจากหลักทฤษฎีนิเวศมหานคร สูU “แนวคิดนิเวศกลุUมเมือง (Ecological Urban Cluster)” เพื่อวางกรอบการพัฒนาเมืองและชนบทที่พิจารณา ความสัมพันธNของเมืองในระดับภาค 3 ประเด็น คือ 1. ดG า นภู ม ิ ศ าสตรN แ ละนิ เ วศธรรมชาติ (Geography & Ecology) เป= น คุ ณ ลั ก ษณะพื ้ น ฐานของ การตั้งถิ่นฐานของชุมชนเมืองโดยทั่วไป ตั้งแต่ที่ราบลุ่มแม่น้ำ ที่ราบเชิงเขา ที่ราบชายฝั่ง และภูเขา ทางกรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้แบ่งพื้นที่ประเทศไทย ออกเป็น 22 ลุ่มน้ำ และพื้นที่ภาคเหนืออยู่ใน 6 ลุ่มน้ำ คือ ลุ่มน้ำโขงเหนือ น่าน ปิง ยม วัง และสาละวิน โดยในลุ่มน้ำเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญต่อการเกิดวัฒนธรรมท้องถิ่นของแต่ละพื้นที่นิเวศ ทางน้ำเหล่านี้ 2. ด้านโครงข่ายการสัญจรเชื่อมโยง (Networks) ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองในเชิงโครงข่ายเชื่อมโยง หลักหลายๆ ระดับใช้ลักษณะกายภาพของเส้นทางคมนาคมขนส่งระบบต่าง ๆ 3. ด้านความสัมพันธ์ของบทบาทและลำดับของเมือง (Functions) นอกจากความสัมพันธ์ระหว่างเมือง ที ่ ม ี ค ุ ณ สมบั ต ิ ข องนิ เ วศกลุ ่ ม เมื อ งใน 2 ประเด็ น ข้ า งต้ น คื อ มี ต ำแหน่ ง ที ่ ต ั ้ ง ในภู ม ิ ป ระเทศ และระบบนิเวศธรรมชาติร่วมกัน และมีโครงข่ายทางสัญจรเชื่อมโยงกันแล้ว การจัดกลุ่มเมือง ในเป็นนิเวศกลุ่มเมืองเพื่อวางยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองยังพิจารณาบทบาทหน้าที่ (Function) ของเมืองที่เชื่อมโยงกัน โดยให้กลุ่มเมืองเป็นการผสมผสานกันระหว่างเมืองที่มีบทบาทหลัก และบทบาทรองและลำดับของบทบาทที่แตกต่างกัน เพื่อให้กลุ่มเมืองสามารถพึ่งพาและร่วมบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดล้อม การค้า การบริการ และโครงสร้างพื้นฐานของ พื้นที่เมืองและชนบทที่ต่อเนื่องในนิเวศกลุ่มเมืองนั้น ๆ

3-10

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

ภาพที่ 3- 4 ตัวอยUางผลการวิเคราะหNแบUงกลุUมเมืองในบริบทภูมิศาสตรNและนิเวศธรรมชาติ โครงขUายทางสัญจร และลำดับบทบาทของเมืองในพื้นที่ภาคกลาง22

แนวคิ ด นิ เ วศกลุ U ม เมื อ งนำไปสู U ก ารกำหนดแนวทางและกระบวนการวิ เ คราะหN กรอบแนวคิ ด ในการวางแผนผังภูมินิเวศเพื่อการบริหารจัดการพื้นที่ภูมินิเวศที่สรGางสมดุลในระบบนิเวศที่เป=นโครงขUาย ความสัมพันธNขององคNประกอบในภูมินิเวศนั้น ๆ แนวคิดนิเวศกลุUมเมืองสามารถแสดงเป=นภาพภูมิไดGดังนี้ (ภาพที่ 3- 5)

ภาพที่ 3- 5 ตัวอยUางโครงสรGางของนิเวศกลุUมเมืองในพื้นที่ภาคกลาง

22

ธนะ จีระพิวัฒนN (2558) รายงานขั้นต*น

3-11


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

3.5

แนวคิดพื้นที่สงวนชีวมณฑล (Biosphere Reserves)

พื้นที่สงวนชีวมณฑล คือ พื้นที่ระบบนิเวศบนบก ชายฝ_®งทะเล/ทะเล หรือพื้นที่ที่มีทั้งระบบนิเวศบนบก และชายฝ_®งทะเล/ทะเล ที่ไดGรับการยอมรับโดยนานาประเทศ โดยไดGรับการประกาศจากโครงการมนุษยN และชีวมณฑลขององคNการศึกษา วิทยาศาสตรN และวัฒนธรรมแหUงสหประชาติ หรือยูเนสโก (UNESCO Man and the Biosphere – MAB) เพื่อใชGเป=นแหลUงอนุรักษN สงวนความหลากหลายทางธรรมชาติและวัฒนธรรม ที่แสดงใหGเห็นถึงความสำคัญของมนุษยNและสิ่งแวดลGอม เป=นแหลUงที่ใหGทักษะและคุณคUาของมนุษยN เป=นพื้นที่ เรียนรูGเพื่อนำไปสูUการพัฒนาอยUางยั่งยืน โดยการเป=นตGนแบบในการจัดการพื้นที่และการพัฒนา พื้นที่สงวนชีวมณฑล ไมUเป=นเพียงพื้นที่ที่กำหนดขึ้นเพื่อคุGมครองทรัพยากรชีวภาพเทUานั้น แตUตGองทำหนGาที่เป=นพื้นที่สำหรับ การดำเนิ น การศึ ก ษาวิ จ ั ย และทดลองของหลากหลายสาขาวิ ช า เพื ่ อ ทำความเขG า ใจและบริ ห ารจั ด การ ความเปลี่ยนแปลงและปฏิสัมพันธNระหวUางระบบสังคมและระบบนิเวศ รวมถึงการปªองกันความขัดแยGง และการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนสUงเสริมการใชGประโยชนNและพัฒนาพื้นที่ของ ชุมชนทGองถิ่นอยUางยั่งยืนและเหมาะสมดGวย23 อันจะเป=นคำตอบสำหรับการแกGป_ญหาตั้งแตUระดับทGองถิ่นจนถึง ป_ญหาที่ทGาทายระดับโลกในป_จจุบันนี้24 ประเทศไทยมีพื้นที่สงวนชีวมณฑลทั้งหมด 5 แหUง25 ไดGแกU 1. พื้นที่สงวนชีวมณฑลสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา 2. พื้นที่สงวนชีวมณฑลแมUสา-คอกมGา จังหวัดเชียงใหมU 3. พื้นที่สงวนชีวมณฑลปZาสักหGวยทาก จังหวัดลำปาง 4. พื้นที่สงวนชีวมณฑลระนอง จังหวัดระนอง 5. พื้นที่สงวนชีวมณฑลดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหมU ประกาศเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2564 พื้นที่สงวนชีวมณฑล26 มีความสำคัญหลายดGาน ไดGแกU • ชUวยอนุรักษNความหลากหลายทางชีวภาพ • ชUวยรักษาระบบนิเวศที่อุดมสมบูรณN • ประโยชนNในการศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลง • รักษาคุณคUาทางวัฒนธรรม

23 24 25 26

http://www.maesa-kogma.org/ https://en.unesco.org/biosphere/about http://www.mkh.in.th/index.php?option=com_content&view=article&id=96&Itemid=203&lang=th วิจารณN มีผล. เอกสารนำเสนอการสัมมนา เรื่อง การจัดการพื้นที่สงวนชีวมณฑลระนอง. ม.ป.ป. ม.ป.ท. 3-12

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

• แบUงป_นความรูGในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ • สรGางความรUวมมือแกGไขป_ญหาทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุประสงคNในการจัดตั้งพื้นที่สงวนชีวมณฑล27 หรือ หนGาที่ของพื้นที่สงวนชีวมณฑล ประกอบดGวย 1. การอนุรักษN (conservation) เพื่ออนุรักษNความหลากหลายทางชีวภาพและความหลากหลายทาง วัฒนธรรม 2. การพัฒนา (development) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะชุมชนทGองถิ่น สUงเสริมการพัฒนา ดGานเศรษฐกิจและสังคมอยUางยั่งยืน 3. การสนับสนุน (logistic support) เพื่อสนับสนุนการสรGางองคNความรูG การศึกษาวิจัย การบริหาร จัดการที่ดี การเผยแพรUตัวอยUางและบทเรียนที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานของพื้นที่สงวนชีวมณฑล ใหG เ ป= น แหลU ง เรี ย นรู G แ ละฝ° ก อบรมดG า นสิ ่ ง แวดลG อ ม การติ ด ตามและตรวจสอบในเรื ่ อ งตU า ง ๆ ที่เกี่ยวกับการอนุรักษNและการพัฒนาอยUางยั่งยืน หนGาที่ทั้งสามดGานของพื้นที่สงวนชีวมณฑล จะดำเนินการในพื้นที่หลัก (Zone) 3 พื้นที่ ประกอบดGวย 1. เขตแกนกลาง (core area) เป=นพื้นที่อนุรักษNที่ไดGรับการคุGมครองตามกฎหมายเพื่อรักษาภูมิทัศนN ระบบนิเวศ และความหลากหลายของพันธุNพืช พันธุNสัตวNและชีวภาพ ไมUมีคนอาศัยอยูU แตUมีกิจกรรม การวิจัยการติดตามตรวจสอบ 2. เขตกั น ชน (buffer zone) เป= น พื ้ น ที่ โ ดยรอบเขตแกนกลาง อนุ ญ าตใหG ม ี ก ิ จ กรรมที ่ เ หมาะสม ดG า นนิ เ วศวิ ท ยา สU ง เสริ ม การศึ ก ษาวิ จ ั ย ติ ด ตามตรวจสอบ ฝ° ก อบรมและการทU อ งเที ่ ย ว โดยมีการจัดการพื้นที่และใชGประโยชนNทรัพยากรอยUางยั่งยืน 3. เขตรอบนอก (transition area) เป=นพื้นที่ที่สามารถดำเนินกิจกรรมตUาง ๆ ไดG เป=นที่ตั้งของชุมชน ที่ดำเนินการกิจกรรมทางสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม เพื่อการรักษาระบบนิเวศอยUางยั่งยืน ทั้งนี้ พื้นที่สงวนชีวมณฑลอาจจะประกอบไปดGวยทั้งสUวนที่เป=นพื้นที่อนุรักษNและพื้นที่ชุมชน โดยเป=นไดG ทั้งชุมชนที่ตั้งติดกับเขตพื้นที่อนุรักษNและชุมชนที่อยูUรอบนอกเขตอนุรักษNซึ่งไดGรับประโยชนNจากการบริการของ นิเวศ (Ecosystem Services) ในพื้นที่อนุรักษNดGวย

27

กรมอุทยานแหUงชาติ สัตวNปZา และพันธุNพืช https://m.facebook.com/DNP1362/photos/a.1609578269357075/2926463054335250/ ?type=3&source=48 รายงานขั้นต*น

3-13


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

ภาพที่ 3- 6 แสดงพื้นที่หลัก (Zone) 3 ประเภทในพื้นที่สงวนชีวมณฑล28

พันธกรณีของประเทศที่ไดGรับประกาศใหGมีพื้นที่สงวนชีวมณฑล ไดGแกU • ระบุและประเมินการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่สงวนชีวมณฑลจากกิจกรรมของมนุษยNและธรรมชาติ • ศึ ก ษาและเปรี ย บเที ย บความสั ม พั น ธN ร ะหวU า งธรรมชาติ ห รื อ ระบบนิ เ วศกั บ กระบวนการ ทางเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรม • ประชาชนมีความเป=นอยูUที่ดีและอยูUในสิ่งแวดลGอมที่เหมาะสม • สU ง เสริ ม การแลกเปลี ่ ย นความรู G เ กี ่ ย วกั บ ป_ ญ หาสิ ่ ง แวดลG อ มและการแกG ไ ขและการสU ง เสริ ม การศึกษาดGานสิ่งแวดลGอมเพื่อการพัฒนาอยUางยั่งยืน พื้นที่สงวนชีวมณฑลเป=นพื้นที่ทดลองและสาธิตใหGเห็นถึงความสัมพันธNที่สมดุลระหวUางมนุษยNกับ ธรรมชาติและเป=นตัวอยUางในการคGนหาแนวทางในการดำรงชีวิตรUวมกับธรรมชาติอยUางยั่งยืน

3.6

การวางแผนแบบเน*นความคาดหวังของทุกภาคสeวน (Prospective Planning)

เครื่องมือทางผังเมืองที่ใชGในประเทศไทย โดยเฉพาะ ผังการใชGประโยชนNที่ดินแบบแยกประเภท การใชG ป ระโยชนN ท ี ่ ด ิ น (Single-use zoning or Euclidean Zone) รวมถึ ง การวางผั ง ที ่ แ บU ง พื ้ น ที ่ เ มื อ ง เป=นประเภทการใชGประโยชนNที่ดินตามความหนาแนUน เชUน ประเภทที่อยูUอาศัยหนาแนUนนGอย-ปานกลาง-มาก เป=นแนวทางที่ไมUไดGกำหนดรูปลักษณะของเมืองเพื่อรองรับกิจกรรมที่จะใหGเกิดขึ้น ที่เป=นแนวปฏิบัติกระแสหลัก 28

https://en.unesco.org/biosphere/about 3-14

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

ที่ผUานมาจนถึงป_จจุบัน กUอใหGเกิดเมืองในรูปแบบที่เนGนการสัญจรระหวUางกิจกรรมตUางประเภทในระยะที่หUางกัน เป=นเมืองที่ขึ้นกับการพึ่งพารถยนตN และเสียพื้นที่โลUงเพื่อเป=นเสGนทางเคลื่อนตัวของรถยนตNและที่จอดรถ ที่เป=นลานดาดแข็ง ที่ขัดขวางการเชื่อมโยงกิจกรรมโดยการสัญจรทางเลือก คือ การเดินเทGาและจักรยาน และไมUตอบสนองความซับซGอนทางสังคม เศรษฐกิจ การปกครอง และนิเวศเมือง แนวทางการใชGเครื่องมือ ลักษณะนี้สUงผลใหGเกิดการกระจายของชุมชนชานเมือง (Urban Sprawl) การเสื่อมลงของศูนยNกลางเมืองเดิม (Urban Decay) มลพิษในสิ่งแวดลGอม การกีดกันและแบUงแยกทางสังคม29 ดังนั้นคณะที่ปรึกษาจึงไมUเห็นดGวย กับกรอบแนวคิดการวางผังเมืองที่มุUงเนGนการวางผังการใชGประโยชนNที่ดินแบบแยกประเภทดังกลUาว รวมทั้ง กระบวนการปฏิบัติการวางผังที่ยังขาดการมีสUวนรUวมของภาคประชาชนและชุมชน คณะที่ปรึกษาขอเสนอใหG นำแนวทางการวางแผนแบบเนG น ความคาดหวั ง ของทุ ก ภาคสU ว น (Prospective Planning) ซึ ่ ง ศึ ก ษา และเสนอแนะโดย Elzbieta Krawczyk และ John Ratcliffe จากสถาบันเทคโนโลยีแหUงดับบินสN (Dublin Institute of Technology) ใ น ง า น ว ิ จ ั ย เ ร ื ่ อ ง Imagine Ahead, Plan Backwards: Prospective Methodology in Urban and Regional Planning (2005) มาใชG แนวทางใหมU น ี ้ เ นG น การพิ จ ารณา ความสำคัญและสภาพการพัฒนาของเมืองอุตสาหกรรมในป_จจุบัน และคำนึงถึงขGอจำกัดของกระบวนการ วางแผนและผังในป_จจุบัน โดยมีจุดมุUงหมายไปที่การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนไมUใชUเนGนการพัฒนา เศรษฐกิจและหรือการพัฒนาดGานกายภาพและโครงสรGางพื้นฐานของเมืองตามกระบวนการวางแผนที่มีอยูU ในป_จจุบันเทUานั้น การวางแผนแบบเนGนความคาดหวังของทุกภาคสUวนใหGความสำคัญกับความคิดสรGางสรรคN การมีสUวนรUวมและการสรGางความเป=นเจGาของในแผนพัฒนาของทุกภาคสUวนซึ่งอยูUบนพื้นฐานของคUานิยม30 ความเชื่อและความคาดหวังผลการพัฒนาเมืองรUวมกัน กระบวนการวางแผนแบบเนGนความคาดหวังของทุกภาคสUวน (Prospective Planning Process) ซึ ่ ง ประกอบดG ว ย 5 ขั ้ น ตอน (Error! Reference source not found.Error! Reference source not found.) เป=นกรอบแนวคิดในการศึกษาวางแผนเชิงพื้นที่รายภาคสำหรับ ดังนี้ 1. ระบุปqญหาและคำถามเชิงยุทธIในการวางแผน เพื่อใหGแนUใจวUาการวางแผนจะมีเปªาหมายไปที่ผลลัพธNของการพัฒนาเป=นสำคัญ ซึ่งอาจจะกำหนด เป= น วิ สั ย ทั ศ นN ข องการพั ฒ นาทั ้ ง เมื อ งหรื อ ทั ้ ง ภาค หรื อ กำหนดเป= น เปª า หมายในอนาคตที ่ พ ึ ง ประสงคN ในพื้นที่เฉพาะ หรือการกำหนดผลลัพธNการพัฒนาในอนาคตเฉพาะดGาน เชUน ดGานคมนาคม แผนการใชG ประโยชนNที่ดิน ชุมชนและสังคม ในกระบวนการวางแผนมักจะพบวUาขั้นตอนนี้ป_ญหาและคำถามเชิงยุทธN

29

Hall, E. (2006). Divide and sprawl, decline and fall: A comparative critique of Euclidean zoning. University of Pittsburg Law Review. 30 อ้างอิง Lagopoulos, A. P. (2018). Clarifying theoretical and applied land-use planning concepts. Urban Science, 18 February 2018. และ Faludi, A. (1973). Planning Theory; Pergamon: Oxford, UK. ทฤษฎีการวางผังการใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นทฤษฎีเชิงปทัสถาน (normative theory) ที่ใช้วิธีการที่ชี้นำด้วยค่านิยม (value-guided) และบ่อยครั้งด้วยการเมือง (political-guided) รายงานขั้นต*น

3-15


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

ยังไมUชัดเจนหรือกวGางเกินไป และตGองการรายละเอียดสนับสนุนเพิ่มเติม ดังนั้นวิธีการที่ควรใชGขั้นตอน คือ การพูดคุยหรือจัดประชุมกลุUมยUอยกับกลุUมผูGมีสUวนไดGสUวนเสียหรือบุคคลหลักของเมืองกUอน Formulation of the problem / strategic question

Understanding of the past and present Identification of the key-issues characteristic for the present state Recognition of factors responsible for the current Identification of the main actors present on the scene Understanding of interactions between actors and

Exploration of the future Identification of driving forces of change Determination of main issues and trends shaping the future Clarification of the level of impact and degree of uncertainty Establishment of scenario logics Creation of different scenario stories

Development of the most desired future vision Generation of ideas of what is desired Agreeing a vision of the desired future shared by all stakeholders and sections of society

Recommendations and suggestion for the implementation of the vision Generating policy proposals and suggestions for action Development of indicators to measure the progress Identification of bodies responsible for action Development of feedback systems and mechanisms for revising the vision and generating new suggestions in order to respond to changing conditions

Fig. 1. The Prospective process

ภาพที่ 3- 7 Prospective Process (Krawczyk & Ratcliffe, 2005)

3-16

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

2. ทำความเข*าใจและวิเคราะหIการเปลี่ยนแปลงจากอดีตถึงปqจจุบัน จุ ด มุ U ง หมายของขั ้ น ตอนนี ้ เ พื ่ อ ทำความเขG า ใจปรากฏการณN ก ารพั ฒนาเมื อ งในป_ จ จุ บ ั น ที ่ ซ ั บ ซG อ น และเพื่อใหGสามารถที่จะสำรวจถึงแนวทางการพัฒนาทางเลือกที่พึงประสงคN ในอนาคต ขั้นตอนนี้สามารถ ทำการไดGเป=น 2 ระยะไดGแกU 1) ระบุประเด็นพัฒนาและป_ญหาหลักซึ่งเป=นลักษณะของปรากฏการณNการพัฒนาในป_จจุบัน ซึ่งจำเป=นจะตGองรวบรวมขGอมูล สถิติและขGอเท็จจริง รวมทั้งความรูGของชุมชนที่เป=นทัศนคติ ความทรงจำ คUานิยม ความปรารถนา ขGอวิตกกังวลหUวงใยและอื่น ๆ 2) ประเมินผลการพัฒนาจากอดีตจนถึงป_จจุบัน รวมทั้งนโยบาย ป_จจัยและสถานการณNตUาง ๆ ที ่ น ำมาสู U ก ารพั ฒ นาเมื อ งในป_ จ จุ บ ั น ซึ ่ ง จะตG อ งพิ จ ารณาตั ้ ง แตU ร ะดั บ ทG อ งถิ ่ น ระดั บ ภาค ระดับชาติและระดับโลก ควรจะพิจารณานโยบายและป_จจัยที่มีผลกระทบโดยตรงและโดยอGอม ระบุ หนU วยงาน หรื อผู G ปฏิ บั ติ การหลั กและรองหรื อกลุ U มผู G มี ไดG สU วนเสี ย เพื ่ อจะไดGวางแผน การดำเนิ น งานในอนาคตไดG อ ยU า งเหมาะสมวิ เ คราะหN ค วามสั ม พั น ธN ร ะหวU า งหนU ว ยงาน หรือผูGปฏิบัติการหลักและรองหรือกลุUมผูGมีไดGสUวนเสีย และจัดทำแผนที่ความสัมพันธNนี้เพื่อใหG ทุกฝZายไดGตระหนักถึงบทบาท อิทธิพล และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากความสัมพันธNเหลUานี้ 3. ศึกษาแนวโน*มการพัฒนาและภาพลักษณIในอนาคต วัตถุประสงคNของขั้นตอนนี้เพื่อระบุป_จจัยขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง แนวโนGมการพัฒนา ประเด็น และป_จจัยตUาง ๆ ที่เกี่ยวขGอง ซึ่งจะชUวยใหGเขGาใจวUาป_จจัยเหลUานี้จะมีอิทธิพลตUอการพัฒนาในอนาคตอยUางไร และชUวยสรGางภาพลักษณNของการพัฒนาที่นUาจะเป=นในอนาคต John Ratcliffe (2002) 31 ไดGเสนอวิธีการ ในขั้นตอนไวG 5 ระยะ ไดGแกU 1) ระบุ ป _ จ จั ย ขั บ เคลื ่ อ นการเปลี ่ ย นแปลงที ่ ส ำคั ญ ไดG แ กU ดG า นสั ง คมและวั ฒ นธรรม ดGานประชากรศาสตรN ดGานเศรษฐกิจ ดGานสิ่งแวดลGอม ดGานบริหารจัดการและธรรมาภิบาล และดGานเทคโนโลยี ป_จจัยเหลUานี้สามารถระบุไดGโดยวิธีการเทคนิค เชUน การวิเคราะหNเบื้องตGน ดG า นสิ ่ ง แวดลG อ ม (Environmental scanning) การพู ด คุ ย กั บ ผู G เ ชี ่ ย วชาญ การสั ม ภาษณN เฉพาะเจาะจงโดยใชGแบบสอบถาม และการประชุมระดมสมอง 2) คัดเลือกประเด็นพัฒนาหลักและวิเคราะหNแนวโนGมการพัฒนาในอนาคต เพื่อเป=นตรวจ สอบวUา ป_จจัยขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงที่ไดGระบุไวGแลGวเป=นป_จจัยที่ชUวยในการเสนอประเด็นการพัฒนา และวิเคราะหNแนวโนGมการพัฒนาในอนาคต วิธีการในขั้นตอนนี้อาจจะใชGวิธีเดียวกับการระบุ ป_จจัยขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงก็ไดG

31

Krawczyk, E., Ratcliffe, J. (2005) Imagine ahead, plan backwards: prospective methodology in urban and regional planning. Futures Academy, Dublin Institute of Technology รายงานขั้นต*น

3-17


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

3) แจกแจงความสัมพันธNระหวUางระดับของผลกระทบและความไมUแนUนอน (ภาพที่ 3) เนื่องจาก ประเด็นและแนวโนGมที่ไดGจะเป=นบUงชี้ถึงการพัฒนาในอนาคต ดังนั้นจึงจำเป=นจะตGองแยกแยะ ตามผลกระทบที่ไดGระบุไวGในประเด็นป_ญหาหรือคำถามหลักเชิงยุทธN 4) กำหนดภาพลักษณNการพัฒนาในอนาคต (Scenario establishment) ขั้นตอนนี้เป=นการกำหนด ภาพลักษณNการพัฒนาในอนาคต ซึ่งพัฒนาจากผลการวิเคราะหNผลกระทบและความไมUแนUนอน ในแตU ล ะแบบ ขั ้ น ตอนนี ้ ต G อ งใชG จ ิ น ตนาการ ความคิ ด ริ เ ริ ่ ม สรG า งสรรคN แ ละประสบการณN ความสามารถอยUางมาก 5) สรุปภาพลักษณNการพัฒนาในอนาคตแบบตUาง ๆ การพัฒนาภาพลักษณNเหลUานี้ควรแสดงตั้งแตU ระยะเริ ่ ม ระยะกลางและระยะสุ ด ทG า ย และแสดงเหตุ ก ารณN ส ำคั ญ ในแตU ล ะระยะ ตั ว ชี ้ วั ด และประเด็นชี้นำการพัฒนา เนื่องจากเป=นภาพลักษณNการพัฒนาในอนาคตดังนั้นจำเป=นอยUางยิ่ง ที ่ จ ะตG อ งใหG ผ ู G เ ขG า รU ว มประชุ ม เขG า ใจการเปลี ่ ย นแปลงในอนาคตที ่ ค าดวU า จะเกิ ด ขึ ้ น และ ผลที่ จ ะตามมากU อ น ที ่ จ ะใหG ท ุ ก ภาคสU ว นรวมทั ้ ง ผู G ก ำหนดนโยบายจะสามารถใหG ค วามเห็ น ไดG อ ยU า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ภาพลั ก ษณN ก ารพั ฒ นาในอนาคตแบบตU า ง ๆ อาจจะจั ด ทำขึ้ น โดยการระดมความเห็นในการประชุมหรือเตรียมการโดยกลุUมผูGเชี่ยวชาญกUอนก็ไดG 4. คัดเลือกวิสัยทัศนIการพัฒนาในอนาคตที่เหมาะสม เป=นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดในกรอบคิดการวางแผนแบบเนGนความคาดหวังของทุกภาคสUวน เนื่องจากเป=น ขั้นตอนที่ทุกภาคสUวนไดGกำหนดทิศทางการพัฒนาและเลือกวิสัยทัศนNการพัฒนาในอนาคตที่พึงประสงคN ซึ ่ ง จะนำไปสู U ก ารวางแผนและการตั ด สิ น ใจเกี ่ ย วกั บ การดำเนิ น งานในป_ จ จุ บ ั น การคั ด เลื อ กนี ้ จ ำเป= น จะมีทุกภาคสUวนทั้งภาครัฐ ภาค เอกชน กลุUมประชาชน กลุUมผูGดGอยโอกาส ภาคประชาสังคม คนทุกรุUนอายุ และผู G แทนทุ กหมู U เหลU าไดG มี โอกาสแสดงความคิ ดเห็ น ความตG องการ ความปรารถนา คU านิ ยม ขG อกั งวล และหUวงใย เนื่องจากการพัฒนาจะสUงผลกระทบกับทุกภาคสUวนและทุกรุUนอายุในอนาคต นอกจากนี้ยังเป=น โอกาสใหGทุกฝZายไดGพูดคุย ถกเถียง หารือ เจรจาและหาขGอตกลงรUวมกัน เพื่อจะไดGคัดเลือกและศึกษา ในรายละเอียดวิสัยทัศนNการพัฒนาในอนาคตที่เหมาะสมกับทุกฝZายไดG 5. เสนอแนะแนวทางการพัฒนาตามวิสัยทัศนIการพัฒนาในอนาคต เป=นขั้นตอนที่ประกอบไปดGวย 4 ขั้นตอนยUอยไดGแกU 1) จัดทำขGอเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติ 2) พัฒนาตัวชี้วัดเพื่อวัดความกGาวหนGาในการดำเนินงาน ความสำเร็จตามเปªาหมายและขGอมูล ในการติดตามประเมินผลตามวิสัยทัศนNที่ตั้งไวG 3) ระบุหนUวยงานรับผิดชอบในการดำเนินงานตามวิสัยทัศนN 4) พั ฒ นาเครื ่ อ งมื อ และกลไกในการติ ด ตามความคื บ หนG า ของการดำเนิ น งานตามวิ ส ั ย ทั ศ นN และการปรับหรือเปลี่ยนวิสัยทัศนNตามเงื่อนไขที่เปลี่ยนไป

3-18

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


to learn to anticipate changes and their consequences. This part of the process should involve the main stakeholders and decision-makers in order to let them develop a more comprehensive understanding of the complex and interconnected context within which the 3 กรอบแนวคิinดในการวางแผนผั งภูมินิเวศ future of their urban territories is being shaped. Also to enable themบทที to ่anticipate a more structured way local and global change and their short, medium and long-term consequences. HIGH UNCERTAINTY

L O W I M P A C T

Potential jokers

Pivotal uncertainties

These are pretty uncertain as to their outcome and less relevant. However, it could be dangerous to treat them as unimportant. They represent factors to monitor in case they move strongly to the right.

These are likely to have a direct impact, but their outcome is uncertain. They are pivotal in the sense that the way they turn out may have strong direct consequences. These are the areas that will determine the shape of different scenarios.

Context shapers

Significant trends

These are relatively certain, and therefore, will surely shape the future context.

These impact more directly upon the theme considered and it should be possible to anticipate their effects.

H I G H I M P A C T

LOW UNCERTAINTY

ภาพที่ 3- 8 ความสัมพันธNของระดั ผลกระทบ (Impact) บของความไมUแนUนอน (Uncertainty) Fig.บ2. Types of issues และระดั and trends Development of the most desirable vision of the future. This is a crucial step in the Prospective process. Knowing what future is desired enables the direction, in which decisions and actions should be led, toกัbe determined. helps to develop measures that would monitor Prospective Planning บแนวโน* มโลก It(Megatrends) the current course of action and verify the direction taken. Knowing what type of future is desired enables the path and means how to get there to be identified; it supports strategic ในขั้นตอนที่ 2 ทำความเขGาใจและวิเคราะหNการเปลี่ยนแปลงจากอดีตถึงป_จจุบัน และ ขั้นตอนที่ 3 thinking and planning. The vision can be described as a ‘landmark’ that orientates present decisionsมการพั and actions. ศึกษาแนวโนG ฒนาและภาพลักษณNในอนาคต หากพิจารณาสถานการณNความเปลี่ยนแปลง และป_จจัย

The desired vision can be created in a single visioning exercise, during the Prospective ที่ประกอบดG วยกระแสการเปลี่ยนแปลงของการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 จะนำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงทาง workshops, through targeted questionnaires and a series of brainstorming sessions, workshops and so ่งon. When visions forอยU urban being่ยนแปลงดั developed necessary to ensure สังคมและสิ แวดลG อมขนานใหญU างแนUterritories นอน แตUคare วามเปลี งกลUit าisวจะเป= นไปในทิ ศทางใดthatยังไมUอาจ everybody is invited to take part in the process: stakeholders, public and private organisations, คาดเดาไดG ในตอนนี ้ สภาเศรษฐกิ โลก (World Economic Forum) ชี้วUา นับcitizens แตUนี้ไปand อนาคตโลกจะตกอยู U ใน community groups, minorityจgroups, different generations, individual so on. Different parties and groups have different expectations, aspirations, needs, values and fears. สภาวะผั ผวนimportant (Volatility)to ไมU นUนอนto (Uncertainty) ซับซGอand น (Complexity) หรือ It isนvery letแthem express their views to enable themและกำกวม to engage in(Ambiguity) a dialog agreeing a shared vision it is สามารถคาดการณN important to ที่เรียthat กวUาwould VUCAresult ซึ่งคืinอ สถานการณN ที่ไมUมีใvision. คร แมGWhile กระทั่งdeveloping ผูGเชี่ยวชาญthe และผู Gนำโลก ไดGวUา remember that decisions and actions taken in order to achieve it will have impact upon future generations. อะไรจะเกิ ดขึ้นในอนาคต VUCA มิไดGเป=นสถานการณNที่เกิดขึ้นชั่วครั้งชั่วคราวเทUานั้น แตUจะเป=น ความปกติใหมU (The New Normal) ของโลกอนาคต ลั ก ษณะของสภาวะ VUCA สามารถอธิ บ ายดG ว ยเมทริ ก ซN 2 แกน (ภาพที่ 3- 9) ดังนี้ แกนที่ 1 เราสามารถเขGาใจและมีความรูGเกี่ยวกับสถานการณNมาก-นGอยเพียงใด และแกนที่ 2 เราสามารถคาดการณNผลลัพธNของการตัดสินใจปฏิบัติการมาก-นGอยเพียงใด

ความผันผวน (Volatility) มีความแปรปรวน ไมUเสถียร ที่ไมUสามารถระบุระยะเวลาไดG แตUไมUยากที่จะ ทำความเขGาใจ รวมถึงมีองคNความรูGอยูUที่สามารถเขGาถึงเพื่อคาดการณNไดG จึงอยูUในสถานะบนแกนทั้งสองเป=น มาก-มาก คือ เขGาใจและคาดการณNไดG

รายงานขั้นต*น

3-19


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

ความไมeแนeนอน (Uncertainty) เป=นสภาวะที่ขGอมูลเกี่ยวกับสถานการณNมีอยูUมากพอ สามารถสืบคGน และเขGาถึงแลกเปลี่ยนกันไดG หากแตUผลลัพธNของสถานการณNอาจคาดเดาไดGยาก จึงมีสถานะบนแกนทั้งสองเป=น มาก-นGอย คือ เขGาใจไดGแตUคาดการณNยาก ความซับซ*อน (Complexity) มีความสัมพันธNระหวUางเงื่อนไขป_จจัยในหลายมิติ อาจมีขGอมูลและ ความรูGที่เขGาถึงไดGอยูUบGาง แตUสามารถทำการคาดการณNจากขGอมูลและองคNความรูGที่มีจำกัดไดG แตUลักษณะ และ ปริมาณของขGอมูลอาจตGองใชGทรัพยากรอยUางมากในการวิเคราะหNคาดการณN จึงมีสถานะบนแกนทั้งสองเป=น นGอย-มาก คือ เขGาใจยากและสามารถคาดการณNไดG ความคลุมเครือ (Ambiguity) เกิดจากสภาวะที่ขาดขGอมูลและองคNความรูGเกี่ยวกับตัวแปร และ ความสัมพันธN จึงทำใหGคาดการณNไดGยาก สถานะบนแกนทั้งสองจึงเป=น นGอย-นGอย ยากแกUการเขGาใจและ คาดการณN

ภาพที่ 3- 9 ลักษณะและแนวทางในการจัดการกับสภาวะ VUCA (Bennett & Lemoine, 2014)

ทุกวันนี้ เป=นที่ยอมรับกันในวงการวิทยาศาสตรNวUา สังคมมนุษยNเป=น ‘ระบบซับซGอน’ (Complex System) ที่ไมUอาจอธิบายไดGกระจUาง หรือทำนายไดGอยUางแมUนยำดGวยวิธีการแบบเดิม ๆ ซึ่งอาศัยการคำนวณ ดGวยสมการเสGนตรงและตัวแปรจำนวนจำกัด คุณสมบัติอันโดดเดUนของระบบซับซGอน คือ ความไรGระเบียบ หรือ ความโกลาหล ซึ่งหมายถึง สภาพไรGเสถียรภาพ มีความอUอนไหวสูงยิ่งและเปราะบาง หากมีการกระทบ 3-20

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

เพียงเล็กนGอยอาจสUงผลใหGเกิดความพลิกผันไดGอยUางรุนแรง เมื่อเป=นเชUนนี้ ระบบซับซGอนจึงไมUดำเนิน เป=นเสGนตรง หากมีความคดเคี้ยว กวัดแกวUง หรือบางครั้งก็กGาวกระโดดฉับพลัน การปฏิวัติอุตสาหกรรม ครั้งที่ 4 เพิ่มความซับซGอนใหGกับสังคมมนุษยNซึ่งซับซGอนอยูUแลGวเป=นเทUาทวีคูณ การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 นี้ เป=นปรากฏการณNเปลี่ยนแปลงทางสังคมอยUางกGาวกระโดดที่รวดเร็ว รุ นแรง ล้ ำลึก และครอบคลุ มทั ้ งโลก ปรากฏการณN ดั งกลU าวมี ตG นตอจากความกG าวหนG าทางเทคโนโลยี หลากหลายแขนง นับแตUเทคโนโลยีดิจิทัล สารสนเทศ ชีววิศวกรรม ไปจนถึงวัสดุศาสตรN การหลอมรวมกัน (convergence) ของเทคโนโลยี ข G า มสาขานำไปสู U การสรG างนวั ตกรรมล้ ำสมั ย มากมาย อาทิ สมารN ทโฟน ยานยนตNไฟฟªาไรGคนขับ โดรน ระบบขนสUงมวลชนใหมU ๆ เทคโนโลยีชีวภาพ หุUนยนตN แบตเตอรี่ไฟฟªาความจุสูง เครื่องพิมพNสามมิติ การประมวลผลแบบกลุUมเมฆ (Cloud Computing) วัสดุนาโน ป_ญญาประดิษฐN (Artificial Intelligence) เซ็นเซอรNประสิทธิภาพสูง เทคโนโลยีความจริงเสมือน (Augmented Reality และ Virtual Reality) และระบบเชื่อมโยงทุกสรรพสิ่ง (Internet of Things หรือ IoT) เทคโนโลยีและนวัตกรรมสUงผลกระทบอยUางลึกซึ้งตUอกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยถGวนทั่ว ทั้งการผลิต การกระจายสินคGา การซื้อขายแลกเปลี่ยน และรูปแบบการบริโภค ในสองทศวรรษที่ผUานมา โมเดลธุรกิจใหมU ๆ ผุดขึ้นมากมาย ทั้งธุรกิจคGาขายสินคGาออนไลนN (เชUน Amazon และ Alibaba) ธุรกิจแบUงป_น (เชUน Uber และ Air bnb) สื่อสังคม (เชUน Facebook และ Instagram) เครื่องมือคGนหา (เชUน Google และ Yahoo) ธุรกิจขายขGอมูล ธุรกรรมออนไลนN (online banking) ธุรกิจจัดสUงสินคGา (เชUน Kerry และ Grab) สื่อบันเทิง รูปแบบใหมU ๆ เชUน เกม และ สื่อบันเทิงออนไลนN (เชUน Netflix) สิ่งเหลUานี้ทำใหGรูปแบบการใชGชีวิตในเมืองเปลี่ยนแปลงไปอยUางสิ้นเชิง ทั้งในแงUการอยูUอาศัย การทำงาน การสื่อสาร การสืบคGนขGอมูล การแสวงหาความรูG ความบันเทิง รวมไปถึงการแสดงตัวตน การเชื่อมโยงกันของ คนหลายพันลGานคนผUานแพลตฟอรNมออนไลนNสารพัดรูปแบบทำใหGการถUายทอดแลกเปลี่ยนทั้งขGอความ ภาพ และเสียงเป=นไปไดGในชั่วพริบตา ความรูGและความคิดจึงไหลเวียนทUวมทGน ครอบคลุมแทบทุกหัวระแหง และเขGาถึงผูGคนทุกระดับชั้นอยUางไมUเคยปรากฏมากUอน ไมUเพียงแตUธุรกิจและผูGคนเทUานั้น สถาบันตUาง ๆ ในสังคม นับแตUระบบการเมือง ระบบราชการ ระบบการศึกษา ระบบสุขอนามัย ไปจนถึงสถาบันศาสนา ก็กำลังเปลี่ยนแปลงเชUนกัน

3.7

แนวคิดการกำหนดเขตการขยายตัวของเมือง (Urban Growth Boundary)

การกำหนดเขตการขยายตัวของเมือง (Urban Growth Boundary) ถูกใชGเป=นเครื่องมือในการวางแผน ชุมชนเมืองเพื่อแยกพื้นที่การพัฒนาเมืองในอนาคตออกจากพื้นที่โดยรอบ ซึ่งโดยทั่วไปจะประกอบดGวยพื้นที่ เกษตรกรรมและพื้นที่แหลUงทรัพยากรธรรมชาติ หรือพื้นที่สีเขียวกันชน (Greenbelt)32 ที่มาจากแนวคิด 32

Shore, T. (2020). What Are Urban Growth Boundaries and Why Do We Need Them? Greenbelt Alliance, Online: https://www.greenbelt.org/blog/what-are-urban-growth-boundaries-need/. รายงานขั้นต*น

3-21


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

และหลักการในการควบคุมไมUใหGการพัฒนาเมืองเกิดในรูปแบบชุมชนชานเมืองแนวราบ (Urban Sprawl) ที่หลังจากที่สUงเสริมการขยายตัวของเมืองในชUวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ใหGรองรับความตGองการของจำนวน ที่อยูUอาศัยที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับแนวคิดเมืองอุทยานนคร (Garden City) ที่จูงใจใหGคนตGองการมีที่อยูUอาศัย ในสภาพแวดลGอมที่เป=นที่วUางสีเขียวในลักษณะของสวนรอบบGาน เขตการขยายตั ว ของเมื อ งมี เ ปª า หมายหลั ก 2 ประการ คื อ 1) อนุ ร ั ก ษN พ ื ้ น ที ่ ก ั น ชนสี เ ขี ย ว พื ้ น ที ่ เ กษตรกรรม และแหลU ง ทรั พ ยากรธรรมชาติ โ ดยรอบเขตเมื อ งเพื ่ อ ปª อ งกั น ไมU ใ หG เ กิ ด การพั ฒ นา ชุมชนชานเมืองแบบแผUกระจาย 2) สUงเสริมการเติบโตของเมืองที่ตอบสนองสภาวะการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ อยUางชาญฉลาด ที่ทำใหGมีการผสมผสานของกิจกรรมเมืองในขอบเขตจำกัด สUงเสริมการสัญจรดGวยการเดิน คUาใชGจUายที่ไมUสูง และบรรยากาศของชุมชนมีชีวิตชีวา โดยมีการจัดการพื้นที่ภายในเขตการขยายตัวของเมือง ใหGมีความสามารถในการรองรับการพัฒนาเมืองในอนาคตไดGเพียงพอ โดยขอบเขตของเขตการขยายตัว ของเมื อ งสามารถปรั บ เพิ ่ ม ไดG ต ามสถานการณN ค วามตG อ งการโดยผU า นการพิ จ ารณาและกำหนดรู ป แบบ การพัฒนาที่เฉพาะชัดเจนสำหรับขอบเขตที่เพิ่มขยาย33 ซึ่งหลักการนี้เป=นแนวทางรUวมกับแนวคิดการพัฒนา เมืองแบบเมืองกระชับ (Compact City) ที่เป=นแนวคิดที่ตUอตGานการพัฒนาแบบชุมชนชานเมือง ลดวิถีชีวิต ที่พึ่งพารถยนตN มีทางเลือกในการสัญจรทางเลือกที่ไมUใชGเครื่องยนตNและการสัญจรดGวยระบบขนสUงมวลชน ลดการลงทุนที่สิ้นเปลืองในการขยายและซUอมบำรุงระบบสาธารณูปโภค แนวคิ ด ในการใชG เ ขตการขยายตั ว ของเมื อ งเป= น เครื ่ อ งมื อ ทางผั ง เมื อ งในการควบคุ ม และจั ด การ การพัฒนาเมือง ถูกประกาศเป=นกฎหมายในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1973 ในรัฐโอเรกอน และสUงผลใหGมี การวางผังเมืองที่กำหนดเขตการขยายตัวของเมืองสำหรับเมือง Portland เป=นครั้งแรกในป• 1977 หลังจากนั้น เขตการขยายตัวของเมืองของ Portland มีการปรับเพิ่มพื้นที่อีกหลายครั้ง

33

Oregon Metro. (2020). Urban Growth Boundary: Guidelines. Online: https://www.oregonmetro.gov/urban-growthboundary. 3-22

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

ภาพที่ 3- 10 เขตการขยายตัวของเมือง เมือง Portland ที่แสดงพื้นที่ปรับขยายในชUวงเวลาตUาง ๆ34

3.8

กรอบวิธีการรeวมสร*างสรรคI (Co-Creation)

กระบวนการวางแผนแบบเนGนความคาดหวังของทุกภาคสUวน (Prospective Planning Process) ในขั้นตอนที่ 4 คัดเลือกวิสัยทัศนNการพัฒนาในอนาคตที่เหมาะสม ที่จะนำไปสูUการกำหนดวิสัยทัศนNสำหรับ การจัดวางแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ และแผนผังความเหมาะสมในการใชGพื้นที่ภูมินิเวศอยUางยั่งยืน ระดับจังหวัด และขั้นตอนที่ 5 เสนอแนะแนวทางการพัฒนาตามวิสัยทัศนNการพัฒนาในอนาคต จะใชGวิธีการ (Methodology) ที่ทำใหGเกิดแผนผังที่ไดGมาจากการมีสUวนรUวมที่สรGางสรรคNและเป=นที่ยอมรับในการนำไปปฏิบัติ ติดตามและประเมินผล โดยทุกภาคสUวน ที่เรียกวUา Co-Creation หรือการสรGางสรรคNรUวมกัน ซึ่งเป=นวิธีการ ที่เริ่มตGนจากภาคธุรกิจที่เป=นยุทธศาสตรNในการนำภาคสUวนตUาง ๆ อันไดG แกU บริษัท และกลุUมผูGบริโภค รUวมผสมผสานความคิดในการพัฒนาสินคGาและบริการที่เพิ่มคุณคUา เป=นการใหGความสำคัญกับความคิดเห็น และประสบการณNรายบุคคลของผูGบริโภค เพิ่มความผูกพันระหวUางบริโภคและสินคGาที่เกิดจากกระบวนการนี35้ 34 35

Oregon Metro, 2020. Prahalad, C. K., Ramaswamy, V. (2004). Co-creation experiences: The next practice in value creation. Journal of Interactive Marketing. V.18, No.3. รายงานขั้นต*น

3-23


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

วิธีการ Co-Creation นี้ถูกใชGเป=นวิธีการหลักของบริษัท ฟšลิปสN จำกัด36 ในการพัฒนาออกแบบสินคGา โดย ฟšลิปสN พัฒนาวิธีการนี้ขึ้นประกอบดGวย 4 ขั้นตอน (Error! Reference source not found.) คือ 1. การคGนพบ (Discover) เป=นขั้นตอนการคGนหาและทำความเขGาใจบริบทที่กวGางและครอบคลุมของ ป_ญหาหรือประเด็นทGาทาย ใหGความสำคัญกับการเขGาไปมีประสบการณNรUวมกับผูGบริโภค เพื่อใหGเกิด ความคิดริเริ่ม และเขGาใจศักยภาพและโอกาส ในขั้นตอนนี้ดำเนินการในการรวบรวมขGอมูลที่มีอยูU พบปะและสังเกตผูGมีสUวนรUวม แยกแยะประเด็นและจำลองกระบวนการของประสบการณNกับ ผลิตภัณฑN 2. การกำหนดกรอบประเด็นทGาทายหรือโอกาส จากประสบการณNที่มีอยูUจริงที่ถูกคGนพบและเขGาใจ จากขั้นตอนที่ 1 ใหGครอบคลุมป_จจัยทุกดGาน ในขั้นตอนนี้เป=นการทบทวนประเด็น (Themes) แลGวสรGางความสัมพันธNกับความเขGาใจเชิงลึกของประสบการณN วิเคราะหNยGอนกลับเพื่อเขGาใจ สถานการณNอยUางชัดเจน กำหนดชUองวUาง (Gaps) ประเด็นทGาทาย (Challenges) และโอกาส (Opportunities) แลGวมองไปขGางหนGาสูUความเป=นไปไดGในเงื่อนไขตUาง ๆ (What if?) เพื่อสรGางนิยาม ของประเด็นทGาทายและโอกาส 3. การคGนหาแนวคิด (Ideate) ที่จะเป=นแนวทางตอบโจทยNประเด็นทGาทายและโอกาส โดยใชGความคิด สรGางสรรคNของภาคสUวนที่มีสUวนรUวมอยUางกวGางขวาง เพื่อนำไปสูUความเห็นพGอง คัดกรองแนวคิด ที่ชัดเจนในการสรGางความเขGาใจรUวมกัน ในขั้นตอนนี้มีการตั้งคำถามวUา จะทำอยUางไรใหGบรรลุกรอบ ที่กำหนดในขั้นตอนที่ 2 ดGวยการระดมสมอง (Brainstorm) เปšดกวGางกรอบความคิด (diverge) แลGวจึงรUวมกันคัดกรองความคิดที่ดีที่สุดในจำนวนจำกัด ซึ่งเป=นการตกผลึกความคิด (converge) แลGวจึงกำหนดแนวทางการพัฒนาความคิดนั้นใหGเป=นวิธีการแกGป_ญหา (Solutions) เปรียบเทียบ ตGนทุน และความเป=นไปไดG เพื่อสรุปแนวทาง และทรัพยากรที่ตGองใชGในการทำใหGบรรลุผล 4. การสรG างผลลั พธN (Build) เป= นการนำแนวคิ ดที ่ ตกผลึ กใชG ในการสรG างตG นแบบ (Prototype) เพื่อทดสอบประสบการณNที่มีตUอผลิตภัณฑNใหมUนี้ ซึ่งเป=นวิธีการในการทดสอบสมมติฐานที่สามารถ รูGผลไดGอยUางรวดเร็วในบริบทที่ชัดเจน โดยผูGบริโภคและผูGเกี่ยวขGองเป=นผูGทดสอบเอง ซึ่งจะทราบผล และใหGมุมมองเพิ่มเติมที่นำไปสูUการสรGางนวัตกรรมที่กGาวหนGาขึ้น และมีการปรับปรุงตGนแบบ ใหGดียิ่งขึ้น ทำการทดสอบซ้ำ ซึ่งนำไปสูUขั้นตอนการคGนพบอีกครั้งหนึ่ง

36

Philips. N.A. The Cocreation Methodology. www.philips.com/a-w/cocreatorlab/methodology.html. 3-24

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

ภาพที่ 3- 11 4 ขั้นตอนของวิธีการ Co-Creation (Philips.com)

วิธีการ Co-Creation จึงเป=นวิธีการที่กระชับและเหมาะสมในการดำเนินโครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศ ในพื้นที่ภาคเหนือนี้ ภายใตGกรอบแนวคิดกระบวนการวางแผนแบบ Prospective Planning กระบวนการ ดำเนินโครงการนี้จะเป=นไปตามขั้นตอน 10 สUวนงาน ดังที่ไดGเสนอในบทที่ 1 ไปแลGว ประกอบดGวย 1) ศึกษาทบทวน หลักทฤษฎี กรอบคิดและวิธีการ โดยมีผูGทรงคุณวุฒิและผูGเชี่ยวชาญใหGความคิดเห็น และขGอเสนอแนะรUวมดGวย 2) การศึกษาและทบทวนยุทธศาสตรN นโยบาย แผน มาตรการ กฎหมาย กฎ ระเบียบ และโครงการ พัฒนาดGานตUาง ๆ ที่เกี่ยวขGอง ดGวยความรUวมมือจากหนUวยงานและผูGแทนจากภาคสUวนตUาง ๆ 3) การออกแบบและจัดทำระบบฐานขGอมูลและสารสนเทศภูมิศาสตรNเพื่อการจัดการสิ่งแวดลGอมชุมชน โดยมี ก ารศึ ก ษาความตG อ งการการใชG ง านและใชG ป ระโยชนN จ ากชุ ด ขG อ มู ล บนฐานขG อ มู ล นั้ น จากผูGที่ตGองการใชGงานกลุUมตUาง ๆ 4) การดำเนิ นกิ จกรรมสรG างการมี สU วนรU วมของภาคสU วนที ่ เกี ่ ยวขG อ ง เพื ่ อใหG ทุ กกระบวนการของ การศึกษา เก็บรวบรวมขGอมูล การกำหนดเปªาหมายและความตGองการ การวางแผนผังและแนวทาง มาตรการในการปฏิบัติตามแผนผังโดยภาคสUวนตUาง ๆ ที่มีบทบาทรับผิดชอบ 5) กำหนดแนวความคิด และวิธีการในการวิเคราะหN สังเคราะหN และจัดวางแผนผังภูมินิเวศ และแผนผัง ความเหมาะสมในการใชGพื้นที่ภูมินิเวศ โดยมีความคิดเห็นและขGอเสนอแนะจากกลุUมผูGทรงคุณวุฒิ/ ผูGเชี่ยวชาญ และภาคสUวนตUาง ๆ 6) การวิเคราะหNและสังเคราะหNขGอมูลเพื่อกำหนดประเภทและขอบเขตพื้นที่ภูมินิเวศและความเหมาะสม ในการใชGพื้นที่ภูมินิเวศของพื้นที่เปªาหมาย ผลการวิเคราะหNและสังเคราะหNจะถูกนำเสนอตUอ กลุUมเปªาหมายเพื่อทบทวนใหGขGอคิดเห็นตUอผลลัพธN และมีสUวนรUวมในขั้นตอนที่ 7-10 ตUอไป รายงานขั้นต*น

3-25


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

7) การวางแผนและจัดวางผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ และแผนและผังความเหมาะสมในการใชG พื้นที่ทางภูมินิเวศอยUางยั่งยืนรายจังหวัด 9 จังหวัด 8) จัดทำแนวทางการขับเคลื่อนและผลักดันการนำแผนผังภูมินิเวศพื้นที่ภาคเหนือไปสูUการปฏิบัติ 9) ถUายทอดความรูGการจัดการขGอมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการแผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ ภาคเหนือใหGแกUหนUวยงานและภาคสUวนที่เกี่ยวขGอง 10) จัดทำสื่อเพื่อการเรียนรูGและสื่อสารถUายทอด

3.9

ข*อแนะนำวeาด*วยภูมิทัศนIเมืองประวัติศาสตรI (Recommendation on the Historic Urban Landscape)

โดยที่ประชุมสามัญองคNกรวิทยาศาสตรNและวัฒนธรรมแหUงสหประชาชาติ (UNESCO) ไดGผUานการรับรอง ในการประชุมสามัญคณะกรรมการยูเนสโกส เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ.2554 ไดGแนะนำใหGประเทศภาคี สมาชิกนำไปประยุกตNใชGในแนวทางที่เหมาะสมกับประเทศของตน โดยมีสาระสำคัญ ดังนั้น 1. นิยามความหมาย ภูมิทัศนNเมืองประวัติศาสตรN (The Historic Urban Londscope) คือ พื้นที่ของเมืองที่รับรูGวUาเป=นผล จากการสั่งสมขึ้นจากประวัติศาสตรNของคุณคUาและคุณลักษณะทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ โดยเป=นการขยาย แนวคิดใหGครอบคลุมถึงบริบทที่เกี่ยวเนื่องตUาง ๆ และสภาพภูมิศาสตรNของที่ตั้งเมืองดGวย บริบทที่กวGางขึ้นนี้ ประกอบดGวยสภาพภูมิประเทศ ธรณีสัณฐาน อุทกวิทยา และลักษณะทางธรรมชาติที่โดดเดUนของพื้นที่ สภาพแวดลGอมที่ถูกสรGางขึ้นทั้งในยุคประวัติศาสตรNและยุครUวมสมัย โครงสรGางพื้นฐานที่อยูUเหนือและใตGพื้นดิน พื้นที่โลUงและสวน รูปแบบการใชGประโยชนNที่ดิน และการจัดการเชิงพื้นที่ ตลอดจนการรับรูG และความสัมพันธN เชิ ง ทั ศ นN ตลอดจนองคN ป ระกอบอื ่ น ๆ ทั ้ ง หมดของโครงสรG า งเมื อ ง นอกจากนี ้ ย ั ง รวมไปถึ ง สั ง คม และการปฏิ บ ั ต ิ ก ารทางวั ฒ นธรรมและคุ ณ คU า กระบวนการทางเศรษฐกิ จ และหมายรวมไปถึ ง มิ ต ิ ข อง มรดกทางวัฒนธรรมนามธรรมในฐานะของความสัมพันธNกับความหลากหลายทางวัฒนธรรม และอัตลักษณN ทางวัฒนธรรม 2. การคุ*มครอง การพิจารณาใหGเกิดการคุGมครองมรดกทางธรรมชาติและวัฒนธรรม ตGองเนGนการบูรณาการการอนุรักษN พื้นที่ประวัติศาสตรNของเมือง การบริหารจัดการ และการวางแผนเชิงกลยุทธNในกระบวนการทำงานตั้งแตUระดับ ชุมชน และการวางผังเมือง เชUน วUาดGวยสถาป_ตยกรรมรUวมสมัย และการพัฒนาระบบโครงสรGางพื้นฐานของ เมืองที่จะเป=นเครื่องมือทางภูมิทัศนNที่ชUวยธำรงรักษาอัตลักษณNของเมือง ซึ่งการพิจารณาถึงหลักของการพัฒนา อยUางยั่งยืนตGองเอื้อไปสูUการพิทักษNรักษาทรัพยากรตUาง ๆ ที่มีอยูU ตลอดจนการปฏิบัติการปกปªองมรดกเมือง และการบริหารจัดการอยUางยั่งยืน คือ เงื่อนไขที่จำเป=นตGองมีในการพัฒนา

3-26

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

3. การพัฒนา การพัฒนาดGวยกระบวนการทางเศรษฐกิจทำไดGหลายแนวทางเพื่อบรรเทาความยากจนของคนในเมือง และสUงเสริมการพัฒนาทางสังคมและมนุษยN การประยุกตNใชGนวัตกรรมสมัยใหมU เชUน เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เพื่อการวางผังเมือง และการวางผัง และการออกแบบ และการกUอสรGางอาคารอยUางยั่งยืน 4. สิ่งแวดล*อม การตั้งถิ่นฐานของมนุษยNมีการปรับตัวอยUางตUอเนื่องเพื่อใหGเขGากับภูมิอากาศ และการเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดลGอม รวมไปถึงผลกระทบจากภัยพิบัติตUาง ๆ อยUางไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงอยUางรวดเร็วในป_จจุบัน กUอใหGเกิดความทGาทายการจัดการสภาพแวดลGอมเมืองของพวกเรา คำนึงถึงสภาพแวดลGอมโดยเฉพาะอยUางยิ่ง สำหรับการใชGน้ำและพลังงาน เป=นวิธีการและรูปแบบใหมUสำหรับการใชGชีวิตในเมืองที่ตGองอยูUบนฐานของ การคำนึงความเปราะบางทางดGานนิเวศวิทยา และการปฏิบัติที่มุUงเสริมสรGางดGานความยั่งยืน และคุณภาพชีวิต ในสังคมเมืองซึ่งมีแนวทางหลากหลาย

3.10 แนวทางการจัดลำดับบทบาทเมืองในพื้นที่ภาคเหนือ องคNประกอบของภูมินิเวศที่เป=นองคNประกอบดGานวัฒนธรรม (Cultural Component) ตามทฤษฎี นิเวศวิทยาภูมิทัศนNสำหรับพื้นที่ภาคเหนือ เป=นพื้นที่ของการตั้งถิ่นฐานของมนุษยNเพื่อรองรับกิจกรรม ในการใชGชีวิตและการอยูUรUวมกันในสังคม แมGขนาดพื้นที่ภูมินิเวศที่ถูกใชGเป=นพื้นที่ชุมชนนี้จะมีขนาดสัดสUวน ที่นGอยมากเมื่อเทียบกับสัดสUวนขององคNประกอบที่เป=นระบบชีวนิเวศ (Biotic Component) ที่ตั้งอยูUบน ภูมิประเทศหรือองคNประกอบที่ไมUมีชีวิต (Abiotic Component) ที่เป=นกายภาพ องคNประกอบดGานวัฒนธรรม หรือระบบนิเวศเมืองนี้เป=นสUวนที่สำคัญที่สรGางและสUงผลกระทบสูUการเปลี่ยนแปลงองคNประกอบอื่น ๆ ของภูมินิเวศไดGอยUางมาก จึงจำเป=นตGองศึกษาวิเคราะหNขGอมูลเชิงลึก เพื่อทำความเขGาใจสถานการณNเมือง และความสัมพันธNขององคNประกอบยUอยภายในและความสัมพันธNกับองคNประกอบชีวนิเวศและองคNประกอบ ที่ไมUมีชีวิต สถานการณNเมืองในพื้นที่ภาคเหนือสามารถแยกออกเป=นประเด็นไดGคือ โครงสรGางการตั้งถิ่นฐาน แบบแผนการตั้งถิ่นฐานและสภาวะของเมือง ซึ่งแตUละประเด็นถูกวิเคราะหNทั้งพื้นที่และเชิงปริมาณดGวยสถิติ ในระดับชุมชน (องคNกรปกครองสUวนทGองถิ่น) ระดับจังหวัด และระดับภาค เพื่อใหGสามารถเขGาใจสถานการณN ลำดับบทบาทหนGาที่ของเมืองและความสัมพันธNระหวUางเมืองในพื้นที่ภาคเหนือ วิเคราะหNสถานการณNเมืองนี้ เป=นกระบวนการเพื่อจัดลำดับและจัดประเภทของเมืองเป=นกลุUมลักษณะ จากการศึกษาแนวทางการพัฒนาเมืองในพื้นที่ภาคกลาง ของสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ภาคกลาง37 ดำเนิ น การวิ เ คราะหN ล ำดั บ และบทบาทของเมื อ งในพื ้ น ที ่ ภ าคกลางรวมจำนวน 633 เมื อ ง

37

ธนะ จีระพิวัฒนN (2558) รายงานขั้นต*น

3-27


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

โดยมีกลุUมตัวแปร 6 ดGาน คือ 1) ประชากร 2) กายภาพ 3) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม 4) เศรษฐกิจ 5) สังคม-วัฒนธรรม-การบริหารจัดการชุมชน และ 6) โครงสรGางพื้นฐาน ดังแสดงใน ตารางที่ 3-1 ตัวแปร เหลUานี้จะถูกวิเคราะหNเป=นคUาดัชนีที่สามารถเปรียบเทียบลำดับและรวมคUากลุUมดัชนี เพื่อจัดลำดับและประเภทเมือง เป= น 6 บทบาท คื อ 1) เมื อ งราชการและบริ ก ารสาธารณะ 2) เมื อ งการคG า บริ ก ารและโลจิ ส ติ ก สN 3) เมืองทUองเที่ยว 4) เมืองอุตสาหกรรม 5) เมืองการคGาชายแดน และ 6) เมืองเกษตรกรรม ตารางที่ 3-1 ตัวแปรในการจัดประเภทเมืองสำหรับการวิเคราะหNสถานการณNเมืองในพื้นที่ภาคกลาง38 ดัชนี กลุeมตัวแปร

ประชากร

กายภาพ

ตัวแปรที่ใช*ในการวัดบทบาทของเมือง ตัวแปร

ราชการและ บริการฯ

จำนวนประชากร

X

X

ความหนาแนUน คน/ตร.กม.

X

X

ขนาดพื้นที่ชุมชนเมือง

X

X

สัดสUวนพื้นที่ชุมชน/พื้นที่ชนบท

X

X

ความหนาแนUน บGาน

X

X

สัดสUวนพื้นที่สีเขียว (เกษตรกรรม+ปZาไมG)

X

สัดสUวนพื้นที่อุตสาหกรรม

ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลGอม

การค*า บริการ การค*า และ ทeองเที่ยว อุตสาหกรรม เกษตรกรรม ชายแดน โลจิสติกสI

X X X

สัดสUวนพื้นที่ปZาไมG

X

ปริมาณขยะ ตัน/วัน

X

X

X

X X

X X

ดุลการคGาชายแดน

X

จำนวนประชากรวัยแรงงาน

X

X X X

จำนวนธุรกิจโรงงาน

X

X

จำนวนแหลUงทUองเที่ยว

X

รายไดGทGองถิ่น

X

จำนวนประชากรรับเบี้ยยังชีพ

X

สังคม วัฒนธรรม บริหารจัดการ สัดสUวนประชากรอายุ ≥ 60 ป•

X

38

X

สัดสUวนพื้นที่แหลUงน้ำ

สัดสUวนพื้นที่เกษตรกรรม

เศรษฐกิจ

X

ระดับการปกครอง

X

จำนวนโบราณสถาน

X

X

X

X

ธนะ จีระพิวัฒนN (2558) 3-28

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ ดัชนี กลุeมตัวแปร

โครงสรGางพื้นฐาน

ตัวแปรที่ใช*ในการวัดบทบาทของเมือง ตัวแปร

ราชการและ บริการฯ

การค*า บริการ การค*า และ ทeองเที่ยว อุตสาหกรรม เกษตรกรรม ชายแดน โลจิสติกสI

ปริมาณเสGนทางหลวง

X

X

จำนวนโรงเรียน ครู นักเรียน

X

X

จำนวนโรงพยาบาล และ โรงพยาบาลตำบลฯ

X

จำนวนสวนสาธารณะ สนามกีฬา ลานกีฬา

X

การขนสUงสินคGา การขนสUงผูGโดยสาร

X

X

X

X

X X

X

X

X

X

X

ผลการวิ เ คราะหN ด ั ช นี ล ำดั บ และบทบาทของเมื อ งในพื ้ น ที ่ ภ าคกลางจากกลุ U ม ตั ว แปรดั ง กลU า ว แสดงใหGเขGาใจลำดับศักยNของชุมชนเมืองในแตUละบทบาทและในภาพรวม (ภาพที่ 3- 12 ถึง ภาพที่ 3- 14)

ภาพที่ 3- 12 ตัวอยUางดัชนีเมืองราชการและบริการสาธารณะ ป• 255739

39

ธนะ จีระพิวัฒนN (2558) รายงานขั้นต*น

3-29


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

ภาพที่ 3- 13 ตัวอยUางดัชนีเมืองอุตสาหกรรม ป• 255740

ภาพที่ 3- 14 ตัวอยUางผลรวมดัชนีวัดบทบาทเมืองในพื้นที่ภาคกลาง ป• 255741

การดำเนินการศึกษา วิเคราะหN เพื่อจัดวางแผนผังภูมินิเวศ และแผนผังความเหมาะสมในการใชGพื้นที่ ภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือนี้จะทำการเก็บรวบรวมขGอมูลเพื่อกำหนดตัวแปรและกำหนดเปªาหมายบทบาทของ พื้นที่ชุมชนเมืองที่เป=นองคNประกอบทางวัฒนธรรมในภูมินิเวศ เพื่อวิเคราะหNประเมินสถานการณNเมืองในพื้นที่ ภาคเหนือจากลำดับและบทบาทของพื้นที่ชุมชนเมือง ที่นำไปสูUการกำหนดแนวทางการวางแผนผังครอบคลุม พื้นที่ภูมินิเวศใหGรองกับการพัฒนาดGานตUาง ๆ ใหGสมดุลและยั่งยืนตามวัตถุประสงคNของโครงการตUอไป

40 41

ธนะ จีระพิวัฒนN (2558) ธนะ จีระพิวัฒนN (2558) 3-30

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

3.11 แนวคิดในการวางแผนการพัฒนาพื้นที่ในภาคเหนือ 3.11.1 แนวคิดในการพัฒนาพื้นที่ในภาคเหนือ สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้กำหนดแนวทางการพัฒนาพื้นที่ภาคเหนือ ตอนบนไว้เป็น 2 ส่วน ตามรูป ได้แก่

ภาพที่ 3- 15 แนวคิดในการพัฒนาพื้นที่ภาคเหนือ

1) พื้นที่เติบโตบนฐานวัฒนธรรม หรือ Creative Lanna Cluster ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน ลำปาง เป็นแหล่งศิลปวัฒนธรรม และบริการท่องเที่ยวของประเทศ 2) พื้นที่เร่งรัดการพัฒนา และเป็นพื้นที่ที่มีข้อจำกัดสูง หรือ Highland Development Cluster ได้แก่ แม่ฮ่องสอน (ทางล้านนาตะวันตก) และ พะเยา น่าน และแพร่ (ทางล้านนาตะวันออก) ซึ่งเป็นพื้นที่ป่าต้นน้ำที่มีข้อจำกัดทางกายภาพ มีปัญหาความยากจน และการเข้าถึงบริการภาครัฐ ซึ่งควรเร่งยกระดับรายได้และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ทั้งนี้ ในพื้นที่ภาคเหนือตอนลUาง สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหUงชาติ ไดGกำหนดใหGเป=น เขตพื้นที่เศรษฐกิจฐานชีวภาพหลักของประเทศ หรือ Bio-economy cluster หรือเป=นพื้นที่แปรรูปสินคGา เกษตรที่สำคัญของประเทศ ในรายละเอียด แนวทางในการพัฒนา Creative Lanna Cluster ไดGแกU 1) ฟื้นฟู 4 เมืองเก่า (เชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน ลำปาง) และสร้างแบรนด์ Lanna Heritage (หรือมรดกล้านนา) และผลักดันสู่เมืองท่องเที่ยวที่มีคุณค่าเชิงวัฒนธรรมระดับโลก

รายงานขั้นต*น

3-31


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

2) เชื่อมโยงเมืองวัฒนธรรม (หรือ Cultural Cities) ในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนบน ทั้งเชียงใหม่ เชี ย งราย เชี ย งแสน เชี ย งทอง (หลวงพระบาง สปป.ลาว) เชี ย งตุ ง (เมี ย นมาร์ ) เชี ย งรุ้ ง (สิบสองปันนา จีน) 3) ขับเคลื่อนเมืองเชียงใหม่ให้เป็น Smart city & MICE city ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการเดินทาง และด้านดิจิทัล 4) ส่งเสริม Lanna Wellness Cluster ทั้งสปา นวด และสมุนไพร 5) สร้างสรรค์ Creative crafts โดยเฉพาะสินค้าไลฟ์สไตล์ สินค้า OTOP สินค้าชุมชนและหัตถศิลป์ และเซรามิก 6) ผลั ก ดั น Northern Food Valley โดยเฉพาะผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส ารสกั ด จากลำไย กาแฟและชา คุณภาพสูง สมุนไพรอินทรีย์ สินค้าอาหารเสริมโภชนาการ และเครื่องสำอาง 7) สนับสนุนผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ในภาคเกษตร ท่องเที่ยว บริการ ศิลปะและการออกแบบ โดยเน้นที่เป็น Digital platforms & Digital contents แนวทางในการพัฒนา Highland Development Cluster ได้แก่ 1) พัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน 2) ปลดล็อคการใช้ประโยชน์พื้นที่ป่าไม้ และการสร้างความมั่นคงในที่ดิน (คทช.) 3) พัฒนาและขยายการให้บริการภาครัฐ โดยเฉพาะสาธารณสุขและการศึกษา ให้เข้าถึงได้ โดยสะดวกและมีคุณภาพ 4) แก้ไขปัญหาความยากจน แลเพิ่มทางเลือกในอาชีพ 5) สร้างความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานราก เสริมสร้างผู้นำชุมชนและวิสาหกิจชุมชน 6) สร้างรายได้จากแหล่งท่องเที่ยว โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยงใหม่ และแหล่งท่องเที่ยวบนฐานชุมชน 7) ขับเคลื่อนแบบจำลอง/รูปแบบการพัฒนาใหม่ๆ เช่น Nan Sandbox แม่ฮ่องสอนโมเดล เป็นต้น

3.11.2 แนวทางการวางแผนการจัดทำผังพื้นที่ของภาคเหนือตอนบน จากแนวทางการพั ฒ นาภาคเหนื อ ตอนบน ทั ้ ง 6 มิ ต ิ ทำใหG เ ห็ น ความสั ม พั น ธN ข องการพั ฒ นา และการใชGพื้นที่ในภาคเหนือตอนบน ทั้งในแงUทรัพยากรธรรมชาติ และในแงUนิเวศวัฒนธรรม ไดGออกเป=น 4 ลักษณะของความสัมพันธN (ซึ่งจำแนกตามสีในแตUละชUอง) ดังนี้

3-32

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

ตารางที่ 3-2 ความสัมพันธNของมิติการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของภาคเหนือตอนบนใน 6x6 มิติ เศรษฐกิจ สร*างสรรคI

พัฒนาระบบ เกษตรกรรม ยั่งยืน

ทeองเทียวและ บริการบน ฐาน วัฒนธรรม

เมืองและ เศรษฐกิจ พิเศษ

คุณภาพชีวิต ความยากจน ผู*สูงอายุ

อนุรักษIป•าต*น น้ำ/แก*ปqญหา สิ่งแวดล*อม

เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สร*างสรรคI พั ฒ นาระบบ เกษตรกรรม ยั่งยืน ทeองเทียวและ บริการบนฐาน วัฒนธรรม เมืองและ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พิเศษ คุ ณ ภาพชี วิ ต ความยากจน ผู*สูงอายุ อนุรักษIป•าต*น น้ำ/แก*ปqญหา สิ่งแวดล*อม

1) พื้นที่สีน้ำเงิน เป็นพื้นที่ที่มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันระหว่าง (ก) การสร้างเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ (ข) การท่องเที่ยวและบริการบนฐานวัฒนธรรม และ (ค) เมืองและเขตเศรษฐกิจพิเศษ นั ่ น แปลว่ า จะต้ อ งกำหนดพื ้ น ที ่ และออกแบบพื ้ น ที ่ เ พื ่ อ ให้ ก ารพั ฒ นาทั ้ ง สามแนวทางนั้ น ขับเคลื่อนไปในทางเดียวกัน และสอดประสานกันอย่างมากที่สุด 2) พื้นที่สีเขียว เป็นพื้นที่ที่น่าจะมีความสัมพันธ์ไปในทางเดียวกันระหว่าง (ก) การพัฒนาระบบ เกษตรกรรมยั่งยืน (ข) การพัฒนาคุณภาพชีวิต การแก้ไขปัญหาความยากจน และการเสริมพลัง ผู้สูงอายุ และ (ค) การอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ และแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม เพราะฉะนั้น ในการกำหนด ผังการพัฒนาพื้นที่ จึงเป็นต้องกำหนดพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนาที่สอดประสานทั้ง 3 ด้าน ร่วมกันให้ได้ เช่น การพัฒนาระบบเกษตรกรรมยั่งยืนในพื้นที่สูง การพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชาชนในพื้นที่สูง รวมถึงกำหนดแนวทางที่เป็นรูปธรรมในการพัฒนาตามเป้าหมายในพื้นที่ ดังกล่าว รายงานขั้นต*น

3-33


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

3) พื้นที่สีแดง หมายถึง พื้นที่ที่อาจจะมีข้อขัดแย้งในระหว่างการพัฒนาที่แตกต่างกันในเชิงมิติต่าง ๆ ของการพัฒนา เช่น ความขัดแย้งระหว่าง (ก) พื้นที่เพื่อการอนุรักษ์ป่าต้นน้ำและสิ่งแวดล้อม และสิ่งแวดล้อม กับ (ข) พื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวและบริการ และ/หรือ ความขัดแย้งระหว่าง (ก) พื้นที่เพื่อการอนุรักษ์ป่าต้นน้ำและสิ่งแวดล้อมและสิ่งแวดล้อม กับ (ข) พื้นที่การพัฒนาเมือง และเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ เพราะการจั ด ทำผั ง การพั ฒ นาจึ ง ต้ อ งวิ เ คราะห์ แ ละกำหนดพื ้ น ที่ ที ่ อ าจมี ข ้ อ ขั ด แย้ ง เหล่ า นี ้ เพื ่ อ ที ่ จ ะได้ ว างแนวทางป้ อ งกั น และออกแบบการใช้ ป ระโยชน์ ในเชิงพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม และเป็นธรรมสำหรับทุกฝ่าย 4) พื้นที่สีเหลือง เป็นพื้นที่ปัจจุบันอาจยังไม่ได้มีการวางแผนให้สอดประสานการพัฒนาระหว่าง มิ ต ิ ต ่ า ง ๆ ได้ ด ี น ั ก เช่ น (ก) การสอดประสานระหว่ า งการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต การแก้ไขปัญหาความยากจน และการเสริมพลังผู้สูงอายุ (ข) การสอด ประสานระหว่ า งการสร้ า งเศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ กั บ การอนุ ร ั ก ษ์ ป ่ า ต้ น น้ ำ และแก้ ไ ขปั ญ หา สิ ่ ง แวดล้ อ ม หรื อ (ค) การสอดประสานระหว่ า งการพั ฒ นาเมื อ งและเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต การแก้ไขปัญหาความยากจน และการเสริมพลังผู้สูงอายุ ซึ่งหาก สามารถทำให้การเชื่อมโยงระหว่างมิติเหล่านีม้ ีความสอดประสานกันมากขึ้น (หรือกลายเป็นพื้นที่ สีน้ำเงิน และพื้นที่สีเขียว) ก็จะยิ่งทำให้การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในทุก ๆ มิตินั้น เป็นไปได้ดี มากยิ ่ ง ขึ ้ น เพราะการจั ด ทำผั ง ภู ม ิ ภ าคจึ ง ควรแสวงหาโอกาสในการพั ฒ นาให้ ม ิ ต ิ ต ่ า ง ๆ สอดประสานกันมากยิ่งขึ้น การใช้ข้อมูลในการวางแผนการพัฒนาภาค ขGอมูลทางเศรษฐกิจที่สำคัญในการวางแผนการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมในภาคเหนือตอนบน ประกอบดGวย ขGอมูลที่สำคัญ 4 แหลUง ดังแสดงในตารางที่ 3-3 ดังนี้

3-34

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

ตารางที่ 3-3 ข้อมูลสำคัญในการวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมในภาคเหนือตอนบน หน่วยการวิเคราะห์ Unit of Analysis 1. ผลิตภัณฑ์มวลรวมราย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวม และ ส ำ น ั ก ง า น ส ภ า ระดับจังหวัด จังหวัด หรือ GPP อ ั ต ร า ก า ร เ ต ิ บ โ ต ท า ง พัฒนาการเศรษฐกิจ เศรษฐกิ จ ในแต่ ล ะสาขา และสังคมแห่งชาติ การผลิต 2. การสำรวจภาวะ รายได้ รายจ่ า ย เงิ น ออม ส ำ น ั ก ง า น ส ถ ิ ติ ข ้ อ ม ู ล ด ิ บ เ ป็ น เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หนี้สิน การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต แห่งชาติ ร ะ ด ั บ คร ั วเร ื อน ของครัวเรือนในแต่ละพื้นที่ แต่ประมวลผลสรุปได้ ในระดับจังหวัด 3. ข้อมูลระดับการพัฒนา ตัวชี้วัดการพัฒนาในมิติต่าง ๆ กระทรวงมหาดไทย ระดับจังหวัด 4. แผนที่ความยากจนระดับ ส ั ด ส ่ ว น ค ว า ม ย า ก จ น หน่ ว ยบริ ห ารและ ระดั บจั งหวั ด ระดั บ พื้นที่ (TP-MAP) จัดการทุนวิจัยและ อ ำ เ ภ อ แ ล ะ ร ะ ดั บ ในแต่ละพื้นที่ (ตำบล) นวั ต กรรมด้ า นการ ตำบล พั ฒ นาระดั บ พื ้ น ที่ (บพท.) แหล่งข้อมูล

ข้อมูลสำคัญ

หน่วยงานที่จัดเก็บ

3.12 แนวคิดการวางแผนผังโครงสร*างพื้นฐานสีเขียว การวางแผนผั ง โครงสรG า งพื ้ น ฐาน โดยเฉพาะระบบคมนาคมขนสU ง เป= น กระบวนการตU อ เนื ่ อ ง ในการคิดคGนหาแนวทางปฏิบัติลUวงหนGา เพื่อใหGบรรลุเปªาหมายโดยการจัดทำใหGเกิดความสมดุลของการบริการ ดGานขนสUงประเภทตUาง ๆ42 เนื่องดGวยป_จจุบันอัตราการเติบโตของประชาชนเพิ่มสูงมากขึ้นอยUางรวดเร็ว สUงผลใหGมีการบริโภคทรัพยากรมากขึ้น ปริมาณการเดินทางและขนสUงก็เชUนเดียวกัน ผูGคนมีความตGองการใชG รถยนตNสUวนบุคคลมากขึ้น เนื่องจากมีความสะดวกสบายและไดGรับความเป=นสUวนตัวมากกวUาการใชGบริการ รถขนสU ง สาธารณะ จึ ง ทำใหG ร าคาพลั ง งานน้ ำ มั น สู ง ตามไปดG ว ย ดั ง นั ้ น เมื ่ อ พลั ง งานและทรั พ ยากร มีอยูUอยUางจำกัด เพื่อใหGทรัพยากรสามารถดำรงอยูUตUอไปไดGและนำมาใชGอยUางยั่งยืนและเกิดประโยชนNสูงสุด จึงมีแนวคิดการประหยัดการใชGพลังงานในเรื่องของการคมนาคมและขนสUง เพื่อการขนสUงอยUางยั่งยืน

42

พิษณุโรจนN พลับรูGการ (2530) รายงานขั้นต*น

3-35


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

ในดGานการคมนาคมขนสUง นับวUามีบทบาทอยUางมากในการออกแบบสภาพแวดลGอมทางกายภาพ และมีครอบคลุมในหลายระดับ ไดGแกU 1. ระดับผัง เชUน การสUงเสริมใหGประชาชนใหGระบบขนสUงสาธารณะ ทางจักรยาน หรือการเดินเทGา เป=นหลักดGวยการจัดระบบขนสUงสาธารณะ พรGอมสิ่งอำนวยความสะดวกที่มีประสิทธิภาพ 2. ยeานชุมชน เชUน สังคมขนาดเล็กที่อยูUรวมกันในยUานชุมชนสามารถเดินไปมาติดตUอกันใชGเวลาเพียง 5-15 นาที และมีกิจกรรมที่หลากหลายโดยมีสUวนอาคารพักอาศัย สUวนรGานคGาขายของ บริเวณ ใจกลางชุมชนจัดทำสวนสาธารณะธรรมชาติ หรืออาจผสมผสานระหวUางธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยN สรG า งขึ ้ น อยU า งลงตั ว และการหG า มนำรถยนตN เ ขG า มาใชG ใ นบริ เ วณที ่ อ ยู U อ าศั ย นี ้ แ ตU เ นG น ใหG เ กิ ด การเดินเทGา ทางจักรยาน แตUอยUางไรก็ตามก็จะอนุญาตใหGรถสามารถวิ่งเขGา-ออกในบริเวณดGวย ความเร็วจำกัดเฉพาะชUวงเวลาที่กำหนด

3.13 ผลการศึกษาการจัดวางแผนผังภูมินิเวศเพื่อจัดการสิ่งแวดล*อมชุมชนนิเวศ ป‘ 2563 การศึกษาโครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศเพื่อการจัดการสิ่งแวดลGอมชุมชนนิเวศไดGสรุปนิยามของ ภูมินิเวศ วUาหมายถึง “ขอบเขตของภูมิประเทศที่แสดงถึงความสัมพันธNของทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลGอม การเปลี่ยนแปลงการใชGประโยชนNที่ดิน ภูมิสังคมและระบบเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและกิจกรรมของมนุษยN” และใชGหลักการของสภาพภูมิประเทศและธรณีสัณฐานในการกำหนดขอบเขตประเภทของพื้นที่ภูมินิเวศ ตามองคNประกอบหลักของภูมินิเวศ โดยสรุปแบUงพื้นที่ภูมินิเวศของภาคเหนือออกเป=น 6 ประเภท คือ 1) ภูมินิเวศภูเขา (Mountain) มีลักษณะทางธรณีสัณฐานเป=นเทือกเขาสูงซับซGอน มีระดับความสูง ตั้งแตU 800 เมตร รทก. ขึ้นไป มีความลาดชันมากกวUารGอยละ 35 มีทรัพยากรแรUหลากชนิด และมีปZาไมGปกคลุมพื้นที่สUวนใหญU 2) ภูมินิเวศลาดเนินเขาเชิงซGอน (Hill Slope Complex) เป=นพื้นที่ที่ระดับความสูงต่ำกวUา 800 เมตร รทก. มีความลาดชันมากกวUารGอยละ 35 3) ภูมินิเวศลาดเนินเขา (Hill Slope) เป=นพื้นที่ที่ระดับความสูงต่ำกวUา 800 เมตร รทก. ระหวUาง ภูมินิเวศภูเขาและภูมินิเวศลาดตะพักน้ำ มีลักษณะสัณฐานแบบลูกคลื่นหรือลอนคลื่น 4) ภู ม ิ น ิ เ วศลาดตะพั ก น้ ำ (Terrace) มี ส ั ณ ฐานคU อ นขG า งราบถึ ง เป= น ลอนคลื ่ อ นเล็ ก นG อ ย คลGายขั้นบันไดกวGาง เกิดจากการทับถมและการกรUอนของที่ราบน้ำทUวมถึงในอดีต ระดับความสูง ระหวUาง 400-800 เมตร รทก. มีความลาดชันระหวUางรGอยละ 5-15 5) ภูมินิเวศที่ราบน้ำทUวมถึง (Floodplain) มีสัณฐานเป=นที่ราบเป=นแนวยาวบนสองฝ_®งของแมUน้ำ ลำธาร เกิดจากการตกตะกอนทับถมของตะกอนที่แมUน้ำพัดพาในชUวงฤดูน้ำหลาก มีความลาดชัน นGอยมาก 6) ภูมินิเวศแหลUงน้ำ (Water Body) เป=นพื้นที่แหลUงน้ำธรรมชาติและมนุษยNสรGางขึ้น

3-36

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

ภาพที่ 3- 16 การแบUงประเภทของภูมินิเวศเชิงกายภาพของพื้นที่ภาคเหนือ43

จากนิยามและหลักการจัดประเภทพื้นที่ภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือขGางตGน ลักษณะพื้นที่ภูมินิเวศ ประเภทตUาง ๆ ในพื้นที่ภาคเหนือสามารถจัดทำเป=นแผนที่ภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ ดังภาพที่ 3- 17

43

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม. (2563). รายงานสรุปสำหรับผูGบริหาร โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศเพื่อ จัดการสิ่งแวดลGอมชุมชนนิเวศ. รายงานขั้นต*น

3-37


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

ภาพที่ 3- 17 แผนที่ภูมินิเวศของภาคเหนือแสดงเขตจังหวัด

3-38

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

การศึกษาของโครงการฯ ไดGนำเสนอแนวคิดในการจัดการการพัฒนาที่ตอบสนองตUอการใชGประโยชนN ของภู ม ิ น ิ เ วศประเภทตU า ง ๆ เพื ่ อ จั ด ทำแผนผั ง ภู ม ิ น ิ เ วศของพื้ น ที ่ ภ าคเหนื อ () โดยแบU ง พื ้ น ที ่ ภ ู ม ิ น ิ เ วศ ออกเป= น เขตการจั ด การเป= น 2 ประเภทหลั ก คื อ เขตการจั ด การตามภู ม ิ น ิ เ วศ ประกอบดG ว ย 11 เขต และเขตการจัดการเฉพาะแหลUง 3 เขต ที่แบUงเป=น 8 ประเภทพื้นที่เฉพาะแหลUง ดังนี้ เขตการจัดการตามภูมินิเวศ 1. เขตตGนน้ำลำธาร 2. เขตตGนน้ำลำธารที่มีการตั้งถิ่นฐาน/เกษตรกรรม 3. เขตอนุรักษNปZาไมGและสัตวNปZา 4. เขตปZาสงวน 5. เขตปZาสงวนที่มีการตั้งถิ่นฐาน/เกษตรกรรม 6. เขตปZา/ปZาละเมาะ/ทุUงหญGา 7. เขตเกษตรกรรม 8. เขตเมือง 9. เขตชุมชน 10. เขตอุตสาหกรรม 11. เขตแหลUงน้ำ เขตการจัดการเฉพาะแหลUง 1. การจัดการแหลUงสิ่งแวดลGอมธรรมชาติ มี 4 พื้นที่ คือ (1) แหลUงธรรมชาติอันควรอนุรักษN (2) แหลUงอนุรักษNทางธรณีวิทยา (3) พื้นที่แรมซารNไซตN (4) พื้นที่สงวนชีวมณฑล 2. การจัดการแหลUงโบราณคดีและประวัติศาสตรN มี 3 พื้นที่ คือ (1) แหลUงโบราณสถาน (2) แหลUงโบราณคดี (3) อุทยานประวัติศาสตรN 3. การจัดการแหลUสิ่งแวดลGอมศิลปกรรม คือ พื้นที่เมืองเกUา

รายงานขั้นต*น

3-39


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

ภาพที่ 3- 18 แผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ

3-40

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 3 กรอบแนวคิดในการวางแผนผังภูมินิเวศ

แผนผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือที่กำหนดขอบเขตประเภทเขตการจัดการบนพื้นที่ภูมินิเวศกายภาพ ประเภทตUาง ๆ ประกอบดGวยขอบเขตพื้นที่ 46 ประเภทพื้นที่ ซึ่งมีความซับซGอนทั้งในเชิงพื้นที่ (ตำแหนUงที่ตั้ง รู ป รU า งอาณาเขต) และเชิ ง ความสั ม พั น ธN เชU น ระหวU า งประเภทเขตการจั ด การ ระหวU า งประเภท ภูมินิเวศกายภาพ ระหวUางนิยามประเภทพื้นที่ตUาง ๆ เชUน เขตปกครอง เขตบริหารจัดการ/กรรมสิทธิ์ ฯลฯ ความสัมพันธNเชิงพื้นที่และเชิงปริมาณ (ใหญU/เล็ก ใกลG/ไกล ใน/นอก ฯลฯ) ซึ่งมีผลตUอระดับความเขGาใจของ ภาคสUวนตUาง ๆ เพื่อใชGประโยชนNจากขGอมูลที่ซับซGอนของแผนผังภูมินิเวศ รวมถึงมาตรการที่ขยายรายละเอียด ที่ซับซGอนยิ่งขึ้น และเมื่อแตUละภาคสUวนมีวัตถุประสงคNและความตGองการเฉพาะในการใชGขGอมูลประเภท พื้นที่ภูมินิเวศ ขGอมูลลักษณะเชิงพื้นที่ และมาตรการ

3.14 สรุ ป แนวคิ ด ในการวางแผนผั ง ภู ม ิ น ิ เ วศ และแผนผั ง ความเหมาะสมในการใช* พื้นที่ภูมินิเวศ การดำเนินโครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุล และยั่งยืน ใชGกรอบแนวคิดหลัก 2 สUวน คือ หลักทฤษฎีนิเวศวิทยาภูมิทัศนN และแนวคิดการวางแผนเชิงพื้นที่ เพื่อการพัฒนาที่สมดุล เพื่อสรGางกระบวนการในการดำเนินงานจากการศึกษาขGอ มูลองคNประกอบและ ปรากฎการณNความสัมพันธNในภูมินิเวศตามหลักทฤษฎี และแนวทางการวิเคราะหNขGอมูลสูUกระบวนกำหนด เปª า หมายและแนวทางการพั ฒ นาเชิ ง พื ้ น ที ่ ต ามแนวคิ ด การวางแผนเชิ ง พื ้ น ที ่ เ พื ่ อ การพั ฒ นาที ่ ส มดุ ล ในรายละเอียดของกระบวนการศึกษาและวางแผนผังนี้ไดGนำเอาทฤษฎีและแนวคิดสำคัญตUาง ๆ ดังที่นำเสนอ ขGางตGนมาบูรณาการประกอบ เพื่อชUวยกำหนดแนวทางและวิธีการวิเคราะหN สังเคราะหN การกำหนดคุณคUา ประเภทและคุณลักษณะของพื้นที่ภูมินิเวศ เปªาหมายของแผนผัง รวมถึงการถUายทอดเจตนารมณNของแผนผัง สูUการสรGางมาตรการ กลไก ขั้นตอนและแนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่และการพัฒนาสามารถไดGรับ การปฏิบัติสูUผลสัมฤทธิ์ที่เป=นรูปธรรม ทฤษฎีและแนวคิดที่นำเสนอสามารถจัดกลุUมความสัมพันธNระหวUางทฤษฎีและแนวคิดที่ใชGในการศึกษา ปรากฏการณNในพื้นที่ภูมินิเวศ และทฤษฎีและแนวคิดในการวางแผนผังที่สรGางกระบวนการและวิธีการที่นำไปสูU การสรGางสรรคNผลลัพธNที่เป=นแผนผังและแนวทางการปฏิบัติ กับองคNประกอบของภูมินิเวศ ดังภาพที่ 3- 19

รายงานขั้นต*น

3-41


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหGสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม

ภาพที่ 3- 19 ความสัมพันธNของทฤษฎี แนวคิด ในการศึกษาวิเคราะหNภูมินิเวศเพื่อการวางแผนผัง

3-42

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

บทที่ 4 ระบบฐานข*อมูลและภูมิสารสนเทศ 4.1 แนวคิดในการจัดการระบบฐานข4อมูลและภูมิสารสนเทศสำหรับพื้นที่ภูมินิเวศภาคเหนือ แนวคิดด'านระบบฐานข'อมูลและการจัดการฐานข'อมูล ระบบจั ดการฐานข- อมู ล (Database Management System: DBMS) คื อ ระบบที ่ ใช- ในการเก็ บ รวบรวมข-อมูลที่มีความสัมพันธO และมีชุดคำสั่งหรือโปรแกรมในการเข-าถึงข-อมูลเหลYานั้น ระบบที่ใช-เก็บข-อมูล เรียกวYา ฐานข-อมูล (Database) ซึ่งสามารถเก็บข-อมูลจำนวนมหาศาลอยYางมีระบบ จุดประสงคOหลักของระบบ จัดการฐานข-อมูลคือการหาหนทางในการจัดเก็บ และการค-นคืนข-อมูลจากฐานข-อมูลอยYางสะดวกรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ระบบฐานข-อมูลถูกออกแบบมาเพื่อจัดการข-อมูลขนาดใหญY ซึ่งเกี่ยวข-องกับการกำหนดโครงสร-าง ในการจั ด เก็ บ ข- อ มู ล และมี ก ลไกในการจั ด การกั บ ข- อ มู ล นอกจากนั ้ น ระบบฐานข- อ มู ล จะต- อ งมี ก ลไก ความปลอดภัยในการจัดเก็บข-อมูล สามารถจัดการสิทธิ์และการอนุญาตในการเข-าถึงฐานข-อมูล และสามารถ จัดการการแบYงปdนข-อมูล การจัดคิวเพื่อเข-าถึงข-อมูลในกรณีที่มีผู-ใช-มากกวYา 1 คนอีกด-วย ในหัวข-อนี้จะนำเสนอ หลักการเบื้องต-นเกี่ยวกับระบบฐานข-อมูล เพื่อสร-างความเข-าใจและตYอยอดไปสูYระบบฐานข-อมูลเชิงพื้นที่ที่มี ความซับซ-อนมากยิ่งขึ้น จุดประสงค:ของระบบฐานข'อมูล ในชีวิตประจำวันของมนุษยOในปdจจุบัน จะต-องพบเจอกับการใช-งานระบบฐานข-อมูลอยูYไมYมากก็น-อย ระบบอีเมล โซเชียลเน็ตเวิรOค เครื่องกดเงินสด บัญชีธนาคารออนไลนO กระเปiาเงินอิเล็กทรอนิกสO แอปพลิเคชัน สั่งอาหาร และอื่น ๆ อีกมากมาย เทคโนโลยีเหลYานี้ต-องพึ่งพาอาศัยระบบฐานข-อมูลเพื่อเก็บและบริการข-อมูล ทั้งสิ้น การเติบโตของบริการเหลYานี้ทำให-การใช-งานระบบฐานข-อมูลมีมากยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ ในยุคแรกๆ ของการใช-งานคอมพิวเตอรO การเก็บข-อมูลตYาง ๆ มีลักษณะเปkนระบบแฟmมข-อมูล (Fileprocession system) ระบบจะเก็บข-อมูลตYาง ๆ ในรูปแบบของแฟmมข-อมูล หรือเก็บเปkนไฟลOแยกออกจากกัน เปkนเรื่องๆ จำเปkนต-องใช-โปรแกรมที่แตกตYางกันในการเรียกใช-- เพิ่มเติม หรือแก-ไขข-อมูลเหลYานั้น การเก็บ ข-อมูลในรูปแบบแฟmมข-อมูลดังกลYาวมีข-อเสียอยูYหลายข-อ เชYน • ข-อมูลมีความซ้ำซ-อนและไมYสอดคล-องกัน เมื่อโปรแกรมเมอรOสร-างแอปพลิเคชันที่แตกตYางกัน ในการสร-างแฟmมข-อมูล แตYละแฟmมข-อมูลก็มีโครงสร-างที่แตกตYางกัน การอYานหรือแก-ไขข-อมูล จึงมีความยุYงยาก นอกจากนั้นข-อมูลที่เปkนแฟmมข-อมูลอาจเกิดการซ้ำซ-อนโดยมักจะเก็บไฟลOเดียวกัน แตYเก็บไว-หลาย ๆ ที่ ตัวอยYางเชYน ถ-ามีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนสองรายวิชาที่เก็บข-อมูลแยกกัน

รายงานขั้นต*น

4-1


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

• •

เปkนคนละไฟลO ข-อมูลของนักศึกษาคนนั้นจะปรากฎอยูYสองแหYง ซึ่งเปkนการเก็บข-อมูลที่ซ้ำซ-อน ถ-ามีการเปลี่ยนแปลงข-อมูลก็ต-องดำเนินการให-ครบถ-วนทุกไฟลOข-อมูล ข้อมูลเข้าถึงได้ยาก ข้อมูลที่เก็บในรูปแบบไฟล์ ต้องการโปรแกรมเฉพาะเจาะจงในการเข้าถึงข้อมูล การเข้าถึงจะเป็นไปตามตรรกะของโปรแกรมนั้น ๆ ถ้าต้องการข้อมูลในระบบไฟล์ที่มีความแตกต่าง จากมาตรฐานก็จำเป็นต้องพึ่งพาโปรแกรมเมอร์ที่จะเขียนโค้ดเพื่อเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการ ข้อมูลแยกขาดจากกัน การเก็บข้อมูลแบบไฟล์จะแยกข้อมูลต่าง ๆ ออกจากกันเป็นไฟล์ต่าง ๆ และ อาจจะมีฟอร์แมตที่ไม่เหมือนกัน ถ้าต้องการข้อมูลจากสองไฟล์ที่แยกจากกันก็จำเป็นต้องสร้าง โปรแกรมใหม่เพื่อสกัดข้อมูลออกจากไฟล์ที่แตกต่างกัน ปั ญหาความไม่ มั ่ นคงของข้ อมู ล ข้ อมู ลที ่ เก็ บในรู ปแบบไฟล์ เป็ นการยากอย่ างยิ ่ งถ้ าต้ องการ เปลี่ยนแปลงตรรกะหรือการควบคุมบางอย่าง การเปลี่ยนโครงสร้างของโปรแกรมจะสร้างโอกาส ของการไม่เสถียรของข้อมูลในที่สุด ปัญหาการใช้งานข้อมูลจากผู้ใช้หลายคน ระบบไฟล์ไม่สามารถตอบสนองการใช้งานพร้อม ๆ กัน รวมถึงการเปลี่ยนแปลงข้อมูลภายในไฟล์จากผู้ใช้ที่เข้ามาใช้ในเวลาใกล้เคียงกันได้ ปัญหาความปลอดภัยของข้อมูล ข้อมูลแต่ละชุดไม่จำเป็นต้องให้ผู้ใช้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ ระบบข้อมูลแบบไฟล์มีข้อจำกัดอย่างยิ่งในการกำหนดสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูล

ปdญหาทางด-านข-อมูลแบบไฟลOตYาง ๆ เหลYานี้ นำไปสูYพัฒนาการของระบบฐานข-อมูล ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อแก-ปdญหาตYาง ๆ ของระบบข-อมูลไฟลO ซึ่งทำให-การทำงานของผู-ใช-ในยุคใหมYสะดวกและมีประสิทธิภาพ มากขึ ้ น และเปk นการก- าวกระโดดของแอปพลิ เคชั นตY าง ๆ โดยเฉพาะอยY างยิ ่ งแอปพลิ เคชั นที ่ ออนไลนO บนอินเทอรOเน็ต ฐานข'อมูลเชิงสัมพันธ: (Relational Database) ฐานข-อมูลเชิงสัมพันธOเปkนระบบฐานข-อมูลที่ใช-เก็บตารางที่แสดงทั้งตัวข-อมูลและความสัมพันธOระหวYาง ข- อ มู ล ตารางแตY ล ะตารางที ่ ส ร- า งขึ ้ น จะถู ก ออกแบบเพื ่ อ ให- เ กิ ด ความซ้ ำ ซ- อ นของข- อ มู ล ให- น - อ ยที ่ สุ ด ระบบฐานข-อมูลเชิงสัมพันธOถือวYาเปkนระบบฐานข-อมูลที่ใช-กันอยYางแพรYหลายทั่วโลก สYวนประกอบที่สำคัญของ ฐานข-อมูลเชิงสัมพันธOมีดังนี้ 1) ตาราง การจำลองข- อ มู ล ในฐานข- อ มู ล เชิ ง สั ม พั น ธO จ ะจำลองข- อ มู ล ในรู ป แบบของตาราง แตY ล ะตาราง จะประกอบด-วยคอลัมนO (Column) หลายคอลัมนOซึ่งมีชื่อที่ไมYซ้ำกัน และมีการกำหนดรูปแบบการเก็บข-อมูล ในแตYละคอลัมนOไว-อยYางเปkนระบบ เชYน เปkนตัวเลขจำนวนเต็ม เลขทศนิยม หรือตัวหนังสือ เปkนต-น โดยมักจะ กำหนดไว-ตั้งแตYเริ่มต-นในขั้นตอนการออกแบบฐานข-อมูล

4-2

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

ข-อมูลจะถูกเก็บในรูปแบบของแถว (Row) หรือเรคคอรOด (Record) ข-อมูลที่เก็บในแตYละแถวมีจำนวน มากเทYาที่ระบบฐานข-อมูลนั้นจะรับได- โดยจะกระจายข-อมูลไปตามเรื่องที่กำหนดไว-ในคอลัมนO ตัวอยYางของ ตารางในฐานข- อ มู ล แสดงดั ง ภาพที ่ 4- 1 ตั ว อยY า งตารางในระบบฐานข- อ มู ล เชิ ง สั ม พั น ธO ภ าพที ่ 4- 1 ตารางในระบบฐานข-อมูลเชิงสัมพันธOจะต-องมีชื่อไมYซ้ำกัน ดังตัวอยYางเปkนตารางข-อมูล 2 ตาราง ได-แกY instructor และ Student ในตาราง instructor เก็บข-อมูล ดังนี้ • • • •

รหัสอาจารย์ (id) เป็นประเภทตัวอักษร (Text) ชื่ออาจารย์ (name) เป็นประเภทตัวอักษร (Text) ชื่อภาควิชา (dept_name) เป็นประเภทตัวอักษร (Text) เงินเดือน (salary) เป็นประเภทตัวเลขจำนวนเต็ม (Integer)

ในตารางเก็บข-อมูล instructor ไว- 3 คน (3 records) ซึ่งจะต-องเก็บคYาให-ตรงกับรูปแบบที่กำหนดไวอยYางเปkนระบบดังที่กลYาวไว-ข-างต-น จากตารางจะเห็นได-วYาสามารถเพิ่มเรคคอรOดไปได-เรื่อย ๆ ถ-ามีอาจารยO เพิ่มขึ้นในมหาวิทยาลัย ก็สามารถเพิ่มเติมเลขรหัส ชื่อ ภาควิชา และเงินเดือนลงไปในตารางไดสYวนตาราง student เก็บข-อมูล ดังนี้ • • • •

รหัสนักศึกษา (id) เป็นประเภทตัวอักษร (Text) ชื่อนักศึกษา (name) เป็นประเภทตัวอักษร (Text) รหัสอาจารย์ที่ปรึกษา (instrutor_id) เป็นประเภทตัวอักษร (Text) วิชาเอก (major) เป็นประเภทตัวอักษร (Text)

ในตารางเก็บข-อมูลนักศึกษาไว-จำนวน 3 เรคคอรOด เชYนเดียวกันกับตาราง instructor เมื่อมีนักศึกษา คนใหมYเข-ามาในมหาวิทยาลัย ก็สามารถเพิ่มเติมเรคคอรOดของข-อมูลได-อยYางอิสระ ตัวอยYางภาพที่ 4- 1 ยังบอกถึงความสัมพันธOอยYางงYายของตารางข-อมูลทั้งสอง ถ-าสังเกตในตาราง student จะเห็นได-วYามีข-อมูลรหัสอาจารยOที่ปรึกษา (instructor_id) อยูYในตาราง ความสัมพันธOนี้ชYวยให-อ-างอิง ถึงตาราง instructor ได-อยYางสะดวกรวดเร็ว เชYน นักศึกษาชื่อ ก มีอาจารยOที่ปรึกษารหัส 0015 เมื่อตรวจสอบ ในตาราง instructor ก็สามารถตรวจสอบข-อมูลของอาจารยOได- โดยไมYต-องเขียนข-อมูลซ้ำลงในตารางของ นักศึกษา ซึ่งถ-าอาจารยO A เปลี่ยนชื่อเปkนชื่ออื่นในภายหลัง การอ-างถึงอาจารยOรหัส 0015 ก็ยังคงเปkนอาจารยO คนเดิม แตYข-อมูลได-ถูกปรับปรุงให-ทันสมัยแล-ว

รายงานขั้นต*น

4-3


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

Instructor Id

Name

dept_name

Salary

0015

A

บริหารและบัญชี

25000

0024

B

บริหารและบัญชี

22000

0052

C

ภาษาอังกฤษ

32000

Student Id

Name

instructor_id

Major

6502556

0015

บริหาร

6502557

0015

บริหาร

6503421

0052

ภาษาอังกฤษ

ภาพที่ 4- 1 ตัวอยYางตารางในระบบฐานข-อมูลเชิงสัมพันธO

2) ภาษา SQL ฐานข- อมู ลเชิ งสั มพั นธO เ ปk นระบบฐานข- อมู ลที ่ ใ ช- กั นแพรY หลายอยY างมากตั ้ งแตY อดี ตจนถึ งปd จจุ บัน การเข-าถึงตารางฐานข-อมูลดังที่กลYาวมาข-างต-นจากแอปพลิเคชันตYาง ๆ ภาษาที่ใช-ในการเข-าถึงฐานข-อมูล เชิ งสั มพั นธO เรี ยกวY า SQL (Structured Query Language) ซึ ่ งเปk นภาษาเฉพาะที ่ ใช- ในการจั ดการระบบ ฐานข-อมูลเชิงสัมพันธO โดยอาจแบYงการทำงานของภาษา SQL เปkน 2 รูปแบบ ดังนี้ • ภาษาที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงข้อมูล (Data-Manipulation Language) SQL ที่ใช้ในรูปแบบนี้ จะใช้ในการสอบถามข้อมูลตามเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการจากตารางข้อมูลตั้งแต่ 1 ตารางขึ้นไป เมื่อค้นหาตามเงื่อนไขที่ต้องการแล้วจะได้เป็นตารางใหม่ 1 ตาราง ที่แสดงข้อมูลตามที่ผู้ใช้กำหนด ในภาษา SQL ตัวอย่างการใช้ภาษา เช่น select instructor.name from instructor where instructor.dept_name = ‘บริหารและบัญชี’; ผลที่ได-จากการสอบถามข-อมูลด-วยคำสั่งดังกลYาว ระบบฐานข-อมูลจะแสดงตารางใหมYขึ้นมา เปkนชื่อของ อาจารยOจำนวน 2 เรคคอรOด ได-แกY A และ B ตามเงื่อนไข where ดังภาพ 4-4

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

Name A B ภาพที่ 4- 2 ผลลัพธOจากการสอบถามตามเงื่อนไข

การสอบถามสามารถเชื่อมโยงตารางมากกว่า 1 ตาราง เพื่อสร้างตารางใหม่ที่แสดงผลลัพธ์ตามเงื่อนไข ที่กำหนด ตัวอย่างเช่น select student.id, student.name, instructor.name, instructor.dept_name from student, instructor where student.instructor_id = instructor.id and student.major = ‘บริหาร’ Studentid

Studentname

instructorName

Instructor_deptName

6502556

A

บริหารและบัญชี

6502557

A

บริหารและบัญชี

ภาพที่ 4- 3 ผลลัพธOจากการสอบถามตามเงื่อนไข

ภาพที่ 4- 3 แสดงผลลัพธOของการค-นคืนข-อมูลจากตารางที่มีความสัมพันธOเชื่อมโยงกัน โดยคำสั่งใหแสดงข- อ มู ล 4 คอลั ม นO ได- แ กY student.id, student.name, instructor.name, instructor.dept_name จากตาราง 2 ตาราง ได-แกY student และ instructor โดยมีเงื่อนไขแรกคือเพื่อเชื่อมโยงสองตารางเข-าด-วยกัน ด-วยคอลัมนO student.id กับ instructor.id อีกเงื่อนไขหนึ่งเปkนกรองข-อมูลเฉพาะนักศึกษาที่อยูYในวิชาเอก บริหารเทYานั้น ผลที่ได-แสดงดังภาพที่ 4- 3 • ภาษาที่ใช้ในการสร้าง แก้ไข และลบตาราง (Data-Definition Language) ภาษา SQL ในรูปแบบนี้ จะใช้ในการสร้างตารางข้อมูล ปรับปรุงตาราง และลบตารางข้อมูล ตัวอย่างของคำสั่งในการสร้าง ตารางข้อมูล เช่น create table department (dept_name char (20), building char (15), budget numeric (12,2));

รายงานขั้นต*น

4-5


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

คำสั่งนี้ใช-ในการสร-างตารางข-อมูลใหมY ชื่อวYา department โดยมีคอลัมนOจำนวน 3 คอลัมนO ได-แกY dept_name เปkนตัวหนังสือ building เปkนตัวหนังสือ และ budget เปkนตัวเลขทศนิยม ดังภาพที่ 4- 4 department dept_name

Building

Budget

ภาพที่ 4- 4 ผลลัพธOจากการสร-างตารางด-วย create table

การออกแบบฐานข้อมูล (Database Design) จะเห็นได-วYาเมื่อต-องการสร-างฐานข-อมูลไว-ใช-งานในองคOกรตYาง ๆ จะต-องคำนึงถึงข-อมูลที่จะจัดเก็บ ในตาราง ตลอดจนโครงสร- า งของตารางที ่ อ ยู Y ใ นฐานข- อ มู ล ดั ง นั ้ น การวางแผนเพื ่ อ ให- ไ ด- ฐ านข- อ มู ล ที ่ ดี เปkนแนวทางปฏิบัติที่ดีซึ่งจะชYวยให-ได-ข-อมูลที่ครบถ-วน ลดความไมYสอดคล-องความขัดแย-งตYาง ๆ รวมถึงลด ความซ้ำซ-อนของตารางข-อมูลลง แนวทางการออกแบบฐานข-อมูลมีขั้นตอนดังนี้ • การสำรวจความต้องการ (Requirement Analysis) จุดเริ่มต้นของการสร้างฐานข้อมูลที่ดี คือ การสำรวจความต้องการของผู้ใช้งานให้ครบถ้วน โดยวิธีการที่ใช้ในการสำรวจมีอยู่หลายแบบ เช่น การใช้แบบสำรวจ การสัมภาษณ์ผู้ใช้งาน การตรวจสอบจากระบบงานที่ดำเนินการอยู่เป็นประจำ หรือการประชุมเพื่อระดมความคิดเห็น ทั้งนี้ จุดประสงค์หลักของการสำรวจความต้องการ ก็คือ ตารางข้อมูลที่ครบถ้วนครอบคลุมความต้องการของผู้ใช้ทั้งหมด กระบวนการของการทำงาน ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลตั้งแต่จุดเริ่มต้นไปจนถึงผลลัพธ์ • การออกแบบเชิ ง แนวคิ ด (Conceptual Design) เมื ่ อ ได้ ข ้ อ มู ล จากการสำรวจความต้ อ งการ มาอย่างพอเพียงแล้ว ขั้นต่อไปคือการออกแบบเชิงแนวคิด เพื่อกำหนดโครงสร้างโดยรวมของ ฐานข้อมูล ได้แก่ ตารางและความสัมพันธ์ของตารางต่าง โดยเครื่องมือที่มักจะนำมาใช้ประโยชน์ ได้ แ ก่ Entity-Relationship Diagram (ER-Diagram) ซึ ่ ง ส่ ว นใหญ่ ผ ลที ่ ไ ด้ จ ากขั ้ น ตอนนี ้ จ ะถู ก นำไปใช้เป็นเช่นพิมพ์เขียวในการสร้างตารางในระบบฐานข้อมูล • การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) ผลจากการออกแบบเชิงแนวคิดจะถูกนำมาตรวจสอบ เพื่อนำไปกำหนดโครงสร้างตารางในฐานข้อมูล การกำหนดโดเมนของแต่ละคอลัมน์ว่าเป็นตัวเลข ตั ว เลขทศนิ ย ม ตั ว หนั ง สื อ หรื อ วั น ที ่ จะดำเนิ น การภายในการออกแบบขั ้ น ตอนนี ้ ผลที ่ ไ ด้ จะเป็นรายการของตารางทั้งหมดพร้อมทั้งโครงสร้างภายในของแต่ละตาราง เพื่อใช้ในขั้นตอนต่อไป • การปรับแตYงรูปแบบตาราง (Schema Refinement) ตารางที่ได-จากขั้นตอนที่แล-วอาจจะมีปdญหา ตYาง ๆ เกิดขึ้น เมื่อนำไปพัฒนาเปkนระบบฐานข-อมูลจริง เนื่องจากอาจมีความซ้ำซ-อนเกิดขึ้น ในตารางตYาง ๆ หรืออาจเกิดปdญหาการเชื่อมโยงตารางเข-าด-วยกันจากข-อมูลหรือโดเมนของ 4-6

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

แตYละคอลัมนO ขั้นตอนนี้มักจะใช-วิธีที่เรียกวYา Normalization ในการปรับปรุงตาราง ผลที่ได-คือ จำนวนตารางที่มากขึ้น แตYปdญหาตYาง ๆ ในด-านการใช-ตารางจะถูกแก-ไข ผลที่ได-จากขั้นตอนนี้ มักจะเปkนโครงสร-างตารางที่สามารถนำไปดำเนินการจัดสร-างได-ทันที • การออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) จากตารางที่ผYานการปรับแตYงแล-ว จะมีโครงสร-าง ของตารางข-อมูลที่พร-อมจะนำไปสร-างเปkนฐานข-อมูล ในขั้นตอนนี้ผู-พัฒนาจะเลือกระบบฐานข-อมูล ที่เหมาะสมกับขนาดของฐานข-อมูลและความสำคัญของข-อมูล ในองคOกร ซอฟทOแวรOระบบฐานข-อมูล ในปdจจุบันมีอยูYอยYางหลากหลาย ทั้งที่เปkนซอฟทOแวรOรหัสเป•ดสามารถใช-งานได-โดยไมYเสียคYาใช-จYาย และมีทั้งที่เปkนซอฟตOแวรOฐานข-อมูลระดับสูงที่สามารถจัดการข-อมูลจำนวนมากได- พร-อมทั้งมีระบบ ความปลอดภัยสูง • การออกแบบความปลอดภัย (Security Design) เมื่อสร-างตารางข-อมูลและทดสอบเพื่อแก-ปdญหาตYาง ๆ เรียบร-อยแล-ว ขั้นตอนสุดท-ายมักจะต-องดำเนินการทางด-านความปลอดภัยของข-อมูล ผู-พัฒนา สามารถกำหนดสิทธิ์ในการเข-าถึงตารางข-อมูลตYาง ๆ ภายในระบบฐานข-อมูลได- ทั้งนี้ขึ้นอยูYกับ ความต-องการของผู-ใช-งานวYาต-องการแบYงสิทธิ์ในระดับใดบ-าง Entity-Relationship Diagram ในขั้นตอนการออกแบบเชิงแนวคิดนั้น มีเครื่องมือสำคัญ อย่างหนึ่งเรียกว่า Entity-Relationship Diagram ซึ่งใช้ในการกำหนดโครงสร้างภาพรวมของฐานข้อมูล โดยมีลักษณะเป็นแผนภาพที่แสดงโครงสร้าง ข้อมูลทั้งหมด โดยในแผนภาพจะประกอบด้วย 1) Entity ได้แก่ตัวข้อมูลที่จะเก็บลงฐานข้อมูล ภายใน Entity จะประกอบด้วย Attribute ต่าง ๆ ที่ต้องการจัดเก็บ โดย Entity นี้จะถูกเปลี่ยนกลายเป็นตารางในขั้นตอน ต่อไป 2) Relationship คือการแสดงความเชื่อมโยงของ Entity ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ในหัวข้อนี้จะนำเสนอ ตัวอย่างการสร้าง ER-Diagram อย่างง่าย โดยมีขั้นตอนดังนี้ • กำหนด Entity จากการสำรวจความต้องการของผู้ใช้ฐานข้อมูล Entity มักจะปรากฏเป็นคำนาม ภายในแบบสำรวจ ยกตัวอย่างเช่น นักศึกษา รายวิชา อาจารย์ เป็นต้น ใน ER-Diagram ใช้กล่อง สี่เหลี่ยมมีชื่ออยู่ด้านในแสดง Entity ดังภาพ

ภาพที่ 4- 5 ตัวอยYาง Entity ใน ER-Diagram

• กำหนดความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง Entity ในขั ้ น ตอนนี ้ จ ะแสดงความสั ม พั น ธ์ ข อง Entity ที ่ อ ยู่ ในระบบงาน โดยมากมักจะปรากฏเป็นคำกริยาภายในแบบสำรวจความต้องการ เช่น ลงทะเบียน

รายงานขั้นต*น

4-7


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

ทำหน้าที่เป็น อยู่ภายใต้ เป็นต้น สัญลักษณ์ที่ใช้ในการแสดงความสัมพันธ์เป็นดังภาพที่ 4- 6 เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของนักศึกษา กับ รายวิชา กล่าวคือ นักศึกษา ลงทะเบียน รายวิชา

ภาพที่ 4- 6 ตัวอยYาง Relationship ใน ER-Diagram

• กำหนด Attribute ให้กับ Entity สิ่งที่ใช้อธิบาย Entity จะนำมาแสดงไว้ในแผนภาพในรูปแบบของ Attribute จากการสำรวจความต้ อ งการ Attribute มั ก จะปรากฏเป็ น คำขยายของ Entity ภาพที่ 4- 7 แสดงการกำหนด Attribute ให้กับ Entity ทั้งสอง

ภาพที่ 4- 7 ตัวอยYางการกำหนด Attribute ใน ER-Diagram

• พิ จ ารณา Attribute ที ่ เ ป็ น ของ Entity หรื อ ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ Relationship ขั ้ น ตอนนี ้ เ ป็ น การแยก Attribute ที ่ เ ป็ น ของ Entity โดยตรง และที ่ เ กิ ด ขึ ้ น จากความสั ม พั น ธ์ อ อกจากกั น ให้ เ กิ ด ความชัดเจน ยกตัวอย่างเช่น ชื่อ (Name) วิชาเอก (Major) เป็นของนักศึกษาอย่างไม่ขึ้นกับ ความสั ม พั น ธ์ ใ ด ๆ แต่ ค ะแนน (Score) และเกรด (Grade) จะขึ ้ น อยู ่ ก ั บ รายวิ ช าที ่ น ั ก ศึ ก ษา ลงทะเบียน ซึ่งนักศึกษาสามารถลงทะเบียนได้หลายรายวิชา ซึ่งจะมีคะแนนและเกรดหลายค่า ตัวอย่างของการปรับ Attribute แสดงดังภาพที่ 4- 8

4-8

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

ภาพที่ 4- 8 ตัวอยYางการปรับ Attribute ตาม Relationship ใน ER-Diagram

• เลือก Primary key เพื่อใช้เป็นคอลัมน์ที่เชื่อมโยงตารางข้อมูล Primary Key ในแต่ละตาราง เป็นค่าที่ไม่มีการซ้ำกัน ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงนิยมใช้รหัสเป็นตัวเลขหรือตัวอักษรผสมกับตัวเลข เช่น st6502456 หรือ 6502456 เป็นต้น เพื่อความสะดวกในการเชื่อมโยงข้อมูล และการค้นคืน ข้อมูลด้วย SQL จากตัวอย่าง สิ่งที่ใช้เป็น Primary key ได้ดีที่สุดใน Entity ทั้งสองคือ StudentID และ SubjectID ตามลำดับ ดังภาพที่ 4- 9

ภาพที่ 4- 9 ตัวอยYางการกำหนด Primary Key ใน ER-Diagram

• เปลี่ยน ER-Diagram เป็นโครงสร้างตาราง ในขั้นตอนการออกแบบเชิงตรรกะ จะปรับเปลี่ยน ERDiagram เป็นโครงสร้างตาราง ดังภาพที่ 4- 10

รายงานขั้นต*น

4-9


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

ภาพที่ 4- 10 ตัวอยYางการสร-างตารางจาก ER-Diagram

• สร้างตารางจากความสัมพันธ์ระหว่าง Entity ซึ่งจะเป็นที่เก็บข้อมูลที่เชื่อมโยงระหว่างสอง Entity โดยนำเอา Primary key จากสอง Entity ที่เชื่อมโยงกันมาเป็น Key ของตาราง ดังภาพที่ 4- 11

ภาพที่ 4- 11 ตัวอยYางการสร-างตาราง Relationship จาก ER-Diagram

การสร-างระบบฐานข-อมูลเปkนเรื่องที่มีรายละเอียดสูง ผู-ออกแบบฐานข-อมูลต-องให-เวลากับแตYละขั้นตอน อยY า งถี ่ ถ - ว น การนำระบบฐานข- อ มู ล ไปใช- ง านเพื ่ อ สร- า งแอปพลิ ิ เ คชั น ตY า ง ๆ จะต- อ งอาศั ย ภาษา SQL เปkนตัวกลางในการเข-าถึงระบบฐานข-อมูลจากแพลตฟอรOมตYาง ๆ ซึ่งภาษา SQL สามารถใช-สอดแทรกเข-าใน ภาษาโปรแกรมตYาง ๆ อยYางมีมาตรฐานเดียวกัน ในหัวข-อตYอไปจะกลYาวถึงแนวคิดของระบบฐานข-อมูล ภูมิสารสนเทศ โดยในปdจจุบันได-มีการพัฒนาให-ข-อมูลภูมิสารสนเทศอยูYในรูปแบบของฐานข-อมูล และสามารถ ใช-ภาษา SQL ในการจัดการและค-นคืนได-เชYนเดียวกัน ทำให-การใช-งานข-อมูลภูมิสารสนเทศเปลี่ยนแปลง ไปอยYางมากในปdจจุบัน แนวคิดด้านการจัดการระบบฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศ แบบจำลองข้อมูลภูมิสารสนเทศ แบบจำลองข้อมูลเวกเตอร์ (Vector data model) การจำลองในลักษณะนี้มีลักษณะเหมือนการใช-กระดาษกราฟที่นำมาลงจุด เส-น และพื้นที่ลงไปโดยวัตถุ แตY ล ะชิ ้ น แยกออกจากกั น เปk น อิ ส ระ การจำลองแบบนี ้ ม ี ค วามเปk น ธรรมชาติ ค ล- า ยกั บ การวาดวั ต ถุ ลงในแผYนกระดาษมากที่สุด โดยหนYวยยYอยที่สุดในการสร-างแบบจำลองข-อมูลคือ จุด สYวนเส-นและรูปป•ด ประกอบกันขึ้นเปkนรูปจากจุดหลายๆ จุด โดยในการกำหนดโครงสร-างข-อมูลลักษณะนี้ข-อมูลจะถูกเก็บเปkนคYา พิ ก ั ด ในระนาบสองมิ ต ิ ซ ึ ่ ง มั ก จะแสดงด- ว ยคY า X และ Y สY ว นข- อ มู ล เส- น ประกอบไปด- ว ยจุ ด หลาย ๆ จุ ด (มักจะเรียกจุดเริ่มต-นและจุดสิ้นสุดของเส-นวYา Node และจุดหักของเส-นวYา Vertex แทนคำวYา Point) ที่เชื่อมโยงถึงกันด-วยเส-น (มักจะเรียกวYา Chain) การเก็บข-อมูลจะเก็บเปkนชุดของคYาพิกัดของจุดที่ประกอบกัน 4-10

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

เปkนเส-นนั้น ๆ และข- อมู ลประเภทรู ปป• ดมีลักษณะคล-ายกับการเก็บข-อมูลแบบเส-นแตYจะมีจุดแรกและ จุดสุดท-ายที่เปkนจุดเดียวกันเปkนรูปป•ด จากภาพที่ 4- 12 ชั้นข-อมูลนี้มีข-อมูลจุดอยูY 3 จุด มีพิกัดฉากคือ [8,9] [3,5] และ [7,2] ตามลำดั บ สY ว นตั ว อยY า งข- อ มู ล ประเภทเส- น (ภาพที ่ 4- 13) จะเห็ น วY า มี เ ส- น อยูY 2 เส- น ในชั้นข-อมูลที่มีพิกัดที่คิดจากจุดที่ประกอบเปkนเส-นได-แกY [(3,5),(4,8),(7,5),(8,9)] และ [(5,3),(8,1)] และ สำหรับข-อมูลประเภทรูปป•ด (ภาพที่ 4- 14) ในชั้นข-อมูลตัวอยYางนี้จะมีเพียง 2 รูปป•ด โดยเปkนรูปป•ด ที่ประกอบไปด-วยจุดดังนี้ [(3,5),(4,8),(6,9)(8,5),(6,2),(3,5)] และ [(3,5),(6,2),(4,1),(3,5)] ซึ่งจะเห็นได-วYา จุดที่ประกอบกันเปk2นรูปป•ดจุดสุดท-ายเปkนจุด ๆ เดียวกับจุดเริ่มต-น จุด X Y 1

2

2

1

Y

1

1

1

2

0 0

0

2

2

Y

Y

1

จุด

1

-1

-1 -1 -1 -1 -1

0

13

X

0

3

3

7

9 5

95 52 2

2

2

เส้ น

1 1

1

1

1

1

เส้ น 1 1 2 2

พิกัด

พิกัด (3,5),(4,8),(7,5),(8,9) พิกัด (3,5),(4,8),(7,5),(8,9) (5,3),(8,1) (3,5),(4,8),(7,5),(8,9) (5,3),(8,1)

2

0

(5,3),(8,1)

2 2

0

0

2

-1 -1-1 -1 -1

37

7

เส้ น

1

Y

3

ภาพ xxx12 แบบจำลองข2อมูลเวกเตอร9ประเภทจุ​ุด ภาพ xxx12 อมูลเวกเตอร9 ระเภทจุ​ุดประเภทจุด ภาพที ่ 4-แบบจำลองข2 12 แบบจำลองขอมูลปเวกเตอรO

2

Y

23

83

2

2

Y

8

จุดXบนพิกัดฉาก จุภาพ ดบนพิxxx12 กัดฉาก แบบจำลองข2อมูลเวกเตอร9ประเภทจุ​ุด จุดบนพิกัดฉาก

2

-1

12

Y9

Y

2

1

X 1

0

X8

X

3

3

2

จุ1 ด

0 0 0

X X 1

1 1

2 2 2

เส2Xนบนพิกัดฉาก เส2นบนพิกัดฉาก ภาพ xxx13 แบบจำลองข2อมูลเวกเตอร9ประเภทเส2น เส2นบนพิกัดฉาก ภาพ xxx13 แบบจำลองข2อมูลเวกเตอร9ประเภทเส2น

ภาพที ่ 4- 13แบบจำลองข2 แบบจำลองขอมูลเวกเตอรO ประเภทเสน ภาพ xxx13 อมูลเวกเตอร9 ประเภทเส2 น รูปปิ ด รูปปิ ด 1 รูปปิ ด 1 2 1 2

2 2

2

1

1

Y

1 1

Y

1

Y

0

(3,5),(6,2),(4,1),(3,5) (3,5),(4,8),(6,9)(8,5),(6,2),(3,5) (3,5),(6,2),(4,1),(3,5) (3,5),(6,2),(4,1),(3,5)

1

0

2 2

0

-1

2

พิกัด พิกัด (3,5),(4,8),(6,9)(8,5),(6,2),(3,5) พิกัด (3,5),(4,8),(6,9)(8,5),(6,2),(3,5)

-1 -1-1 -1 -1

2

0 0 0

X X

1 1 1

2 2 2

รูรูปปป?Xป?ดดบนพิ บนพิกกัดัดฉาก ฉาก ภาพ แบบจำลองข2 เวกเตอร9ปประเภทรู ภาพ xxx14 แบบจำลองข2อออมูมูมูลลลเวกเตอร9 ปปป?ป?ดดปป•ด รูปป?ดบนพิ ก ด ั ฉาก ภาพที่ 4- xxx14 14 แบบจำลองขเวกเตอรOระเภทรู ประเภทรู

ภาพ xxx14 แบบจำลองข2อมูลเวกเตอร9ประเภทรูปป?ด

รายงานขั้นต*น

4-11


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

ภาพที่ 4- 15 การเชื่อมโยงข-อมูลพื้นที่กับข-อมูลบรรยาย

4-12

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

การเชื่อมโยงข-อมูลพื้นที่และข-อมูลตารางบรรยายเข-าด-วยกันทำให-โครงสร-างของข-อมูลสารสนเทศ ภูมิศาสตรOสมบูรณOมากยิ่งขึ้น ตารางข-อมูลเชิงอธิบายจะแสดงข-อมูลที่เชื่อมโยงวัตถุหรือรูปลักษณะที่จำลอง ลงในโครงสร-างข-อการเชื มูลกั่อบมโยงข้ แถวอมู(Rows orอrecords) ของตารางแบบหนึ ่งตYอางของข้ หนึ่ง อกลY าวคือเมื่อเลื กวัตถุในแผนที่ ลพื้นที่และข้ มูลตารางบรรยายเข้ าด้วยกันทำให้โครงสร้ มูลสารสนเทศภู มิศอาสตร์ สมบูรณ์แมถวในตารางอธิ ากยิ่งขึ้น ตารางข้อมูบลเชิ ายจะแสดงข้อมูลทีบ ่เชิกั ื่อมโยงวั รูปลักษณะทีๆ่จำลองลงในโครงสร้ งข้อมูล ่ อ มโยง ก็สามารถระบุ ายงอธิบและในทางกลั นถ-าตเลืถุหอรือกแถวใด ในตารางก็สาามารถเชื กับแถว (Rows or records) ของตารางแบบหนึ่งต่อหนึ่ง กล่าวคือเมื่อเลือกวัตถุในแผนที่ก็สามารถระบุแถวในตาราง ไปยังวัตถุโดยระบุ ตำแหนYงจุด หรือแสดงสีไฮไลทOเส-น หรือรูปป•ดขึ้นมา อธิบาย และในทางกลับกันถ้าเลือกแถวใดๆ ในตารางก็สามารถเชื่อมโยงไปยังวัตถุโดยระบุตำแหน่งจุด หรือแสดงสี

ไฮไลต์่ 4เส้น15 หรือแสดงชั รูปปิดขึ้นมา้ น ข- อ มู ล ตำแหนY ง ของร- า นสะดวกซื ้ อ ในพื ้ น ที ่ ร อบ ๆ มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร ภาพที ภาพ xxx15 แสดงชั้นข้อมูลตำแหน่งของร้านสะดวกซื้อในพื้นที่รอบๆ มหาวิทยาลัยนเรศวร แสดงให้เห็นว่า แสดงให- เ ห็แต่นลวYะจุาดแตY ล ะจุ ด ในแผนที ่ จ ะเชื ่ อ มโยงไปยั ง ตารางข- อ มู ล เชิ ง อธิ บ ายหนึ ่ ง จุ ด ตY อ หนึ ่ ง แถวข- อ มู ล ในแผนที่จะเชื่อมโยงไปยังตารางข้อมูลเชิงอธิบายหนึ่งจุดต่อหนึ่งแถวข้อมูล อีกสองตัวอย่างเป็นข้อมูลประเภท อีกสองตัวอยY อมูลเประเภทเสนคืทอยาลั ข-อยมูลและข้ ถนนบริ เวณรอบ ย และขอมูลประเภทรู ปป•ด เส้นคืาองเปk ข้อมูนลขถนนบริ วณรอบๆ มหาวิ อมูลประเภทรู ปปิดๆที่แมหาวิ สดงข้อมูทลยาลั สิ่งปกคลุ มดินและการใช้ ที่ดิน าโพธิ อง จังหวัทดี่ดพิษินณุพืโ้นลกที่ตำบลทYาโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ที่แสดงข-อมูพื้นลทีสิ่ต่งำบลท่ ปกคลุ มดิ์ อำเภอเมื นและการใชตารางข้อมูลตำบล ตารางข้อมูลอำเภอ

ตารางข้อมูลประชากรรายตำบล

ภาพที่ ภาพ 4- 16xxx16 ฐานข-ฐานข้ อมูลอเชิมูงลสัเชิมงสัพัมนพัธOนใธ์นในGIS GIS ตารางข้อมูลบรรยายเป็นตัวบ่งชี้ถึงข้อมูลที่อยู่ภายในของข้อมูลทางภูมิศาสตร์ เนื่องจากโครงสร้างเป็นตาราง ทำให้สอามารถเพิ ่มเติมเรื่องต่น างๆตัวทีบY่เป็งนชีคุ้ถณึงลัข-กษณะเฉพาะตั ปลักษณะทางภู าสตร์นมั้นิศ ๆ าสตรO ได้มากเท่เนืาที่อ่ตงจากโครงสร้องการ ตารางขมูลบรรยายเปk อมูลที่อยูYวภของรู ายในของขอมูลมิศทางภู าง และเนื่องจาก GIS ได้ใช้สถาปัตยกรรมการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational database) ในการจัดการตาราง เปkนตารางทำใหสามารถเพิ่มเติมเรื่องตYาง ๆ ที่เปkนคุณลักษณะเฉพาะตัวของรูปลักษณะทางภูมิศาสตรOนั้น ๆ ข้อมูลเชิงอธิบาย ดังนั้นตารางข้อมูลจึงมีลักษณะเป็นตารางข้อมูลเชิงสัมพันธ์ที่นอกจากเชื่อมโยงกับข้อมูลเชิงพื้นที่แล้ว ได-มากเทYายัทีงสามารถเชื ่ต-องการ่อมโยงไปยั และเนืงตารางข้ ่องจากอมูลGIS สถาปd ดการฐานขอมูงลการเชื เชิงสั่อมโยงตาราง มพันธO (Relational อื่นๆไดที่มใีคช-วามสั มพันตธ์ยกรรมการจั กันได้อีกด้วย ในภาพ xxx16 แสดงถึ มูล 3 ตาราง ได้แก่ข้อมูลตำบลซึ ข้อมูดัลพืง้นนัที้น่ ตารางข้ อมูลออำเภอ มูลประชากรรายตำบล database)ข้อในการจั ดการตารางขอมูล่งเชืเชิ่อมโยงกั งอธิบบาย ตารางขมูลจึงและข้ มีลักอษณะเปk นตารางข-อมูลเชิงสัมพันธO

ที่นอกจากเชื่อมโยงกับข-อมูลเชิงพื้นที่แล-วยังสามารถเชื่อมโยงไปยังตารางข-อมูลอื่น ๆ ที่มีความสัมพันธOกันไดอีกด-วย ในภาพที่ 4- 16แสดงถึงการเชื่อมโยงตารางข-อมูล 3 ตาราง ได-แกYข-อมูลตำบลซึ่งเชื่อมโยงกับข-อมูล พื้นที่ ตารางข-อมูลอำเภอ และข-อมูลประชากรรายตำบล ตารางทั้งสามตารางมีสYวนเชื่อมโยงกันโดยใช-คYาที่อยูY ในตารางและฟ•ลดOที่เก็บข-อมูลที่ตรงกัน เชYน ในตารางข-อมูลตำบลมีการเก็บข-อมูลรหัสอำเภอเอาไว-ด-วย รายงานขั้นต*น

4-13


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

(Amp_code) ยกตัวอยYางตำบลในเมือง กำหนดรหัสตำบลเปkน 6601 ซึ่งมีการเก็บข-อมูลที่อธิบายรหัส 6601 ไว- ใ นตารางข- อ มู ล อำเภอ โปรแกรมสามารถเชื ่ อ มโยงตารางทั ้ ง สองเข- า ด- ว ยกั น โดยสามารถระบุ ไ ด- วY า ตำบลในเมืองอยูYในอำเภอเมืองพิจิตร ในทางเดียวกัน ตารางข-อมูลจำนวนประชากรและบ-านก็ถูกเชื่อมโยงกับ ตารางข-อมูลตำบลโดยใช-ฟ•ลดOรหัสตำบล (Tam_code) เปkนตัวเชื่อม เมื่อเชื่อมกันแล-วข-อมูลทุกอยYางในตาราง ประชากรจะสามารถเข-าถึงได-โดยตารางข-อมูลหลัก เพื่อนำไปใช-ในการวิเคราะหOหรือสร-างแผนที่ตYอไป แบบจำลองข้อมูลราสเตอร์ (Raster data model) โครงสร-างข-อมูลอีกโครงสร-างหนึ่งที่มีความสำคัญไมYตYางจากโครงสร-างแบบเวกเตอรO เรียกวYา โครงสร-าง ข-อมูลราสเตอรO หรือ โครงสร-างข-อมูลแบบกริด (Grid data model) ข-อมูลประเภทนี้มีลักษณะโครงสร-าง เปkนเหมือนตารางกริดแบYงพื้นที่ออกเปkนเซลลO (Cells) หรือจุดภาพ (Pixels) โดยที่แตYละเซลลOจะเก็บข-อมูลไวภายในเซลลOเพียงคYาเดียวเทYานั้น โครงสร-างที่เรียบงYายนี้ชYวยให-การบันทึกข-อมูลสารสนเทศภูมิศาสตรOลงใน ระบบคอมพิวเตอรOทำได-โดยงYายไมYซับซ-อนเมื่อเทียบกับโครงสร-างในแบบเวกเตอรO การจำลองรูปลักษณะทางภูมิศาสตรOไปเปkนข-อมูลสารสนเทศภูมิศาสตรOใช-แนวคิดเดียวกับการจำลอง แบบเวกเตอรO กลYาวคือ สามารถจำลองวัตถุทั้งประเภท จุด เส-น และพื้นที่ ซึ่งเปkนลักษณะข-อมูลที่เปkน แบบไมYตYอเนื่อง (Discontinuous data) ที่เหนือกวYาการจำลองแบบเวกเตอรOอยYางเห็นได-ชัดคือโครงสร-าง ราสเตอรOสามารถจำลองข-อมูลทีมีลักษณะตYอเนื่อง (Continuous data) ได-ดีกวYาข-อมูลเวกเตอรO ได-แกYข-อมูล พื้นผิว (Surface data) ดังภาพที่ 4- 17 และ ภาพที่ 4- 18

ที่มา: http://www.catalonia.org/cartografia/Clase_03/raster-vector.png ภาพที่ 4- 17 จุด เส-น รูปป•ดบนโครงสร-างข-อมูลราสเตอรO

4-14

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

ที่มา: http://www.awi.de/fileadmin/user_upload/Research/Research_Divisions/Geosciences/ Marine_Geochemistry/Marine_GIS/Cont_categ_grid.jpg ภาพที่ 4- 18 ตัวอยYางข-อมูลราสเตอรOแบบตYอเนื่องและไมYตYอเนื่อง

แบบจำลองข- อ มู ล ทั ้ ง สองประเภทมี ข - อ ดี ใ นการใช- ง านแตกตY า งกั น ไป ด- ว ยศั ก ยภาพของ เครื่องคอมพิวเตอรOในปdจจุบัน รวมถึงซอฟทOแวรOที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นมีฟdงกOชันที่ครอบคลุมทั้งโครงสร-าง ข-อมูลแบบเวกเตอรOและราสเตอรO ทำให-สามารถใช-งานข-อมูลทั้งสองรูปแบบได-อยYางบูรณาการ ระบบฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศ พัฒนาการของระบบฐานข-อมูลในปdจจุบัน หลายๆ ซอฟทOแวรOระบบจัดการฐานข-อมูลได-เพิ่มเติม ความสามารถในการเก็บข-อมูลเชิงพื้นที่ไว-ในฐานข-อมูลได-อยYางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในหัวข-อที่ผYานมาไดกลYาวถึงระบบฐานข-อมูลที่สามารถเก็บข-อมูลพื้นฐาน เชYน ตัวเลข ตัวหนังสือ และวันที่ ในหัวข-อนี้จะกลYาวถึง ระบบฐานข-อมูลที่สามารถเก็บข-อมูลที่มีโครงสร-างซับซ-อนขึ้น กลYาวคือสามารถเก็บข-อมูลภูมิสารสนเทศ ในรูปแบบของฐานข-อมูลเชิงสัมพันธOไดโดยพื้นฐานระบบฐานข-อมูลภูมิสารสนเทศใช-รากฐานของระบบฐานข-อมูลที่พัฒนาและใช-ประโยชนOกัน มานาน แตYได-เพิ่มเติมความสามารถในการเก็บข-อมูลในรูปแบบที่ต-องการเข-าไปในตาราง ซึ่งจากฐานข-อมูล เชิงสัมพันธO (Relational Database) กลายเปkนฐานข-อมูลเชิงวัตถุสัมพันธO (Object-Relational Database) ซึ่งแทนที่จะเก็บได-เฉพาะครงสร-างข-อมูลพื้นฐานเทYานั้น แตYสามารถเก็บข-อมูลที่มีโครงสร-างซับซ-อนมากยิ่งขึ้น เชYน Array, Dictionary หรือ Object ไดการเปลี่ยนแปลงดังนี้ ชYวยให-ผู-พัฒนาชYวยกันกำหนดมาตรฐานของโครงสร-างข-อมูลในรูปแบบ Object ที่สามารถนำไปใช-ตารางฐานข-อมูลได- ตัวอยYางเชYน โครงสร-างข-อมูลแบบ GeoJSON ที่มีรากฐานโครงสร-าง ข- อ มู ล จาก JSON (Javascript Object Notation) ซึ ่ ง เปk น โครงสร- า งอยY า งงY า ยที ่ ส ามารถเก็ บ ลงในระบบ ฐานข-อมูลได- ตัวอยYางของโครงสร-างข-อมูลแบบ GeoJSON แสดงดังภาพที่ 4- 19 รายงานขั้นต*น

4-15


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

{

}

"type": "FeatureCollection", "features": [ { "type": "Feature", "properties": { "name": "โรงพยาบาล ม.นเรศวร" }, "geometry": { "type": "Point", "coordinates": [ 100.18908977508545, 16.74850626252779 ] } }, { "type": "Feature", "properties": { "name": "คณะเกษตรศาสตร์ฯ" }, "geometry": { "type": "Point", "coordinates": [ 100.19575238227843, 16.746091926133737 ] } }, { "type": "Feature", "properties": { "name": "ลานสมเด็จพระนเรศวร" }, "geometry": { "type": "Point", "coordinates": [ 100.19114971160889, 16.74949253582141 ] } } ]

ภาพที่ 4- 19 ตัวอยYางโครงสร-างข-อมูลแบบ GeoJSON ภาพ xxx19 ตัวอย่างโครงสร้างข้อมูลแบบ GeoJSON ่อให้เกิดความเข้ าใจในระบบฐานข้ออมูมูลลเชิ เชิงงพืพื้น้ นที่ ทีในหั วข้อวนีข-้จอะใช้นีต้ จัวะใชอย่าตงจากระบบฐานข้ อมูล PostGreSQL เพื่อให-เกิดเพืความเขาใจในระบบฐานข่ ในหั ัวอยYางจากระบบฐานขอมูล ซึ่งเป็นซอฟท์แวร์ระบบฐานข้อมูลแบบรหัสเปิดคุณภาพสูง สามารถใช้งานได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และมีส่วนต่อขยายที่ PostGreSQL ซึ่งเปkนซอฟทOแวรOระบบฐานข-อมูลแบบรหัสเป•ดคุณภาพสูง สามารถใช-งานได-โดยไมYมีคYาใช-จYาย เรียกว่า PostGIS ทำให้ตารางฐานข้อมูลธรรมดาสามารถเก็บข้อมูลภูมิสารสนเทศได้ รวมทั้งเพิ่มเติมคำสั่ง SQL ที่ และมีสYวสามารถจั นตYอขยายที ่เรียกวY า PostGIS อมูลธรรมดาสามารถเก็บข-อมูลภูมิสารสนเทศ ดการและวิ เคราะห์ เชิงพื้นที่ไทำใหด้ที่เรียตกว่ารางฐานขา Spatial SQL ได- รวมทั้งเพิ่มเติมภาพ คำสัxxx20 ่ง SQLแสดงโครงสร้ ที่สามารถจัางของตารางข้ ดการและวิอเมูคราะหO พื้นที่ได-ทเป็ี่เรีนยข้กวYอมูาลSpatial SQL ลที่ชื่อว่เาชิงlandmark ภูมิสารสนเทศประเภทจุ ด ที่เก็บ ลงในตารางในระบบฐานข้ อมูลางของตารางขจะเห็นได้ว่าเมื่ออเทีมูลยบกั ตารางนี้ก็ไม่ต่าเปkงกันบข-ตารางทั อมูลที่เก็บด ภาพที ่ 4- 20 แสดงโครงสรที่ชนื่อแล้วYาว landmark อมูลภู่วมไปในระบบฐานข้ ิสารสนเทศประเภทจุ ค่าเป็นตัวเลขและตัวหนังสือ (Int และ Char) แต่มีคอลัมน์ที่แตกต่างคือ geom ที่เก็บข้อมูลแบบ geometry ซึ่งเก็บ ที่เก็บลงในตารางในระบบฐานข-อมูล จะเห็นได-วYาเมื่อเทียบกันแล-ว ตารางนี้ก็ไมYตYางกับตารางทั่วไปในระบบ ข้อมูลเรขาคณิตในรูปแบบจุดไว้ภายใน ดังแสดงในภาพ xxx21 ข้อมูลในคอลัมน์ geom เก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ในรูปแบบ ฐานข-อมูลทีที่ PostGreSQL ่เก็บคYาเปkนตัรูว้จเลขและตั วหนังสือ (Int และ Char) แตYมีคอลัมนOที่แตกตYาง คือ geom ที่เก็บข-อมูล ัก สามารถแสดงผลในรูปแบบของจุดในแผนที่ได้ ดังภาพ xxx22 แบบ geometry ซึ่งเก็บข-อมูลเรขาคณิตในรูปแบบจุดไว-ภายใน ดังแสดงในภาพที่ 4- 21 ข-อมูลในคอลัมนO geom เก็ บข- อมู ลเชิ ง พื ้ น ที ่ ใ นรู ปแบบที่ PostGreSQL รู - จั ก สามารถแสดงผลในรู ปแบบของจุ ดในแผนที่ ได-ดังภาพที่ 4- 22

4-16

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

ภาพที่ 4- 20 ตัวอยYางโครงสร-างข-อมูลภูมิสารสนเทศในตารางฐานข-อมูล

ภาพที่ 4- 21 ตัวอยYางข-อมูลภูมิสารสนเทศในตารางฐานข-อมูล

ภาพที่ 4- 22 ตัวอยYางข-อมูลภูมิสารสนเทศในตารางฐานข-อมูลแสดงในแผนที่

รายงานขั้นต*น

4-17


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

อยY า งที ่ ก ลY า วไปแล- ว PostGIS เปk น สY ว นตY อ ขยายให- ก ั บ ระบบฐานข- อ มู ล PostGreSQL ซึ ่ ง มี ค ำสั่ ง เพื่อเข-าถึงตารางผYานภาษา SQL โดยเพิ่มเติมคำสั่งในการเข-าถึงข-อมูลภูมิสารสนเทศหลายคำสั่ง และนอกจาก ความสามารถในการเข- าถึ งความสั มพั นธO ของข- อมู ลในฐานข- อมู ลทั ่ วไป ภาษา Spatial SQL ยั งสามารถ ตรวจสอบและเรียกคืนข-อมูลจากความสัมพันธOเชิงพื้นที่ได-อีกด-วย ตัวอยYางการใช-งานภาษา Spatial SQL ในสYวนนี้จะแสดงตัวอยYางการใช-งาน Spatial SQL อยYางงYายเพื่อให-เห็นถึงการเกี่ยวเนื่องของภาษา SQL ที ่ ก ลY า วมาในหั ว ข- อ กY อ นหน- า นี้ โดยคำสั ่ ง ที ่ ข ึ ้ น ต- อ งด- ว ย st_ จะเปk น คำสั ่ ง ที ่ เ ปk น สY ว นตY อ ขยายของ SQL จาก PostGIS ดังตัวอยYางตYอไปนี้ • ตั ว อย่ า งแรก st_astext() เป็ น การแปลงข้ อ มู ล ภู ม ิ ส ารสนเทศในโครงสร้ า ง geometry ของ PostGIS ไปเป็ น ตั ว หนั ง สื อ ที ่ ส ามารถเข้ า ใจได้ เมื ่ อ เที ย บกั บ ข้ อ มู ล ในภาพที ่ 4- 21 ผลที ่ ไ ด้ จากคำสั่งนี้จะทำให้มองเห็นค่าพิกัดของแต่ละเรคคอร์ดได้ (Error! Reference source not found.) select st_astext(geom), lm_name from landmark;

ภาพที่ 4- 23 ผลลัพธOจากคำสั่ง st_astext()

• st_asgeosjon() เป็ น การแปลงข้ อ มู ล ภู ม ิ ส ารสนเทศในโครงสร้ า ง geometry ของ PostGIS ไปเป็นโครงสร้างแบบ GeoJSON ที่สามารถนำไปใช้ในแอปพลิเคชันต่างๆ ได้ (ภาพที่ 4- 24) select st_asgeojson(geom), lm_name from landmark; 4-18

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

ภาพที่ 4- 24 ผลลัพธOจากคำสั่ง st_asgeojson()

• st_buffer() เป็ น การสร้ า งพื ้ น ที ่ ก ั น ชนจากข้ อ มู ล geometry โดยผลลั พ ธ์ จ ะเป็ น geometry ที่เป็นรูปแบบพื้นที่รูปปิด ภาพที่ 4- 25 เป็นผลลัพธ์ของการสร้างพื้นที่กันชน (Buffer zone) จากตำแหน่ ง ในตาราง landmark เป็ น ระยะทาง 0.02 องศา (เนื ่ อ งจากข้ อ มู ล อยู ่ บ นพิ กั ด ทางภูมิศาสตร์ที่เก็บเป็นหน่วยองศา) select st_buffer(geom, 0.002) from landmark;

ภาพที่ 4- 25 ผลลัพธOจากคำสั่ง st_buffer()

รายงานขั้นต*น

4-19


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

• st_Dwithin() ตัวอย่างนี้แสดงการสอบถามข้อมูลจากการเชื่อมโยงข้อมูลสองตาราง ได้แก่ ข้อมูล ตำแหน่งหอพัก และเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ใกล้ ม.นเรศวร โดยกำหนดเงื่อนไขเชิงพื้นที่ว่า มีหอพักใดบ้างที่อยู่ใกล้กับเส้นทางคมนาคมในระยะไม่เกิน 10 เมตร ผลลัพธ์ที่ได้แสดงตำแหน่งและ ข้อมูลของหอพักที่อยู่ในระยะที่กำหนด ดังภาพที่ 4- 26 select DISTINCT dorm.bl_name, dorm.geom from dorm, road where st_Dwithin(dorm.geom,road.geom,,10) = true;

ภาพที่ 4- 26 ผลลัพธOจากการสอบถามด-วย st_Dwithin()

จะเห็นได-วYาเมื่อมีการตYอขยายความสามารถของระบบฐานข-อมูลให-รองรับข-อมูลเชิงพื้นที่ ทำให-ระบบ ฐานข-อมูลมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในการจัดการและวิเคราะหOข-อมูลเชิงพื้นที่ เมื่อนำไปใช-ในการสร-าง แอปพลิเคชันจากการสืบค-นข-อมูลภูมิสานสนเทศ Spatial SQL สามารถเปkนตัวกลางในการค-นคืนข-อมูล ตามเงื่อนไขที่ต-องการทั้งที่เปkนเงื่อนไขเชิงข-อมูลและเงื่อนไขเชิงพื้นที่ 4-20

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

4.2 การบริการข4อมูลภูมิสารสนเทศ ในรอบสองทศวรรษที่ผYานมา การใช-งานข-อมูลภูมิสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอยYางมาก ย- อ นกลั บ ไปในชY ว งเวลาหนึ ่ ง ข- อ มู ล ภู ม ิ ส ารสนเทศมี ล ั ก ษณะเปk น ระบบแฟm ม ข- อ มู ล (File-based data) ซึ่งมีข-อจำกัดดังเชYนที่กลYาวมาแล-วข-างต-น ซอฟทOแวรOที่ใช-ในการทำงานด-านภูมิสารสนเทศก็มีอยูYอยYางจำกัด และราคาแพง ปdจจุบันข-อมูลภูมิสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลงไปเปkนข-อมูลเพื่อการบริการมากยิ่งขึ้น ตัวอยYาง ที่เห็นได-ชัดเจนอยYางมากคือ บริการของ Google Map ซึ่งบริการข-อมูลโครงขYายคมนาคม และข-อมูลดาวเทียม ความละเอียดสูงทั่วโลก สิ่งที่ตามมาคือพัฒนาการทางด-านการบริการข-อมูลภูมิสารสนเทศ (GeoInformation Services) โดยเฉพาะอยYางยิ่งการบริการข-อมูลผYานเครือขYายอินเทอรOเน็ต เชYนเดียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศทั่วไป ข-อมูลภูมิสารสนเทศก็ได-มีการพัฒนารูปแบบและเทคโนโลยี เพื่อการบริการข-อมูลอยYางก-าวกระโดด การเชื่อมตYอและการแบYงปdนข-อมูลผYานทางเครือขYายทำได-สะดวก งYายดายและรวดเร็วยิ่งขึ้น มีการกำหนดมาตรฐานการให-บริการข-อมูลภูมิสารสนเทศผYานเครือขYายอินเทอรOเน็ต และมีซอฟทOแวรOทั้งที่เปkนเชิงพาณิชยOและซอฟทOแวรOรหัสเป•ดที่พัฒนาขึ้นเพื่อสร-างบริการข-อมูลภูมิสารสนเทศ สำหรับหัวข-อนี้จะขอนำเสนอการบริการข-อมูลภูมิสารสนเทศที่สำคัญ ดังนี้ • Web Map Service (WMS) เป็นมาตรฐานการบริการแผนที่บนส่วนต่อประสาน HTTP ในการ เรียกใช้ข้อมูลภาพแผนที่จากไฟล์ข้อมูลแผนที่หรือบนระบบฐานข้อมูลที่อยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ แม่ข่าย การเรียกบริการ WMS นั้น ผู้ใช้จะต้องกำหนดชื่อของชั้นข้อมูลที่ต้องการและกำหนด ขอบเขตของข้อมูลเข้าสู่แม่ข่ายแผนที่ (Map Server) เครื่องแม่ข่ายจะส่งผลลัพธ์ออกมาเป็นภาพ แผนที่ที่สร้างขึ้นจากข้อมูลภูมิสารสนเทศที่ได้เตรียมไว้ก่อนในเครื่องแม่ข่ายในรูปแบบของรูปภาพ (สามารถเป็นฟอร์แมต JPEG, PNG ฯลฯ) ซึ่งภาพแผนที่ที่เป็นผลลัพธ์จะสามารถแสดงบนแอปพลิเคชัน บนเว็บเบราว์เซอร์ หรือบนแผนที่ฐานออนไลน์ได้ โดยที่รูปแบบการแสดงผลสีและสัญลักษณ์ของ ภาพแผนที่จากบริการ WMS สามารถกำหนดได้ภายในระบบแม่ข่ายแผนที่ • Web Map Tile Service (WMTS) เป็นบริการที่เหมือนกับ WMS ที่ให้บริการข้อมูลเป็นภาพแผนที่ ที่สร้างจากไฟล์ข้อมูลหรือระบบฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศภายในแม่ข่ายแผนที่ แต่เมื่อทำการเรียก ข้อมูลผ่านบริการ WMS เครื่องแม่ข่ายจะส่งข้อมูลภาพฉบับเต็มกลับมายังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรียก ข้อมูลไป ถ้าข้อมูลมีขนาดใหญ่มาก หรือมี feature จำนวนมาก การประมวลผลและส่งข้อมูล กลับมาช้ามาก WMTS จะประมวลผลแล้วตัดข้อมูลออกเป็นภาพแผนที่ขนาดเล็ก (เรียกว่า Tile map ผู้ให้บริการสามารถกำหนดขนาดของ Tile ได้) ซึ่งทำให้การส่งข้อมูลและการแสดงข้อมูล บนชั้นแผนที่ทำได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือข้อมูลภาพแผนที่ของ Google Map

รายงานขั้นต*น

4-21


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

ที่ตัดข้อมูลเป็น tile แล้วสร้างแอปพลิเคชันบนเว็บเบราว์เซอร์ให้แสดงภาพแบบปะติดปะต่อกัน ทำให้การแสดงผลรวดเร็วอย่างยิ่ง

ภาพที่ 4- 27 ตัวอยYางบริการข-อมูล WMS

• Web Feature Service (WFS) เป็นบริการข้อมูลภูมิสารสนเทศที่ให้บริการข้อมูล Feature จริง ของข้อมูลต้นฉบับ ได้แก่ เป็นข้อมูลจุด เส้น หรือรูปปิดที่มาพร้อมกับข้อมูลบรรยาย เป็นโครงสร้าง ข้อมูลแบบเวกเตอร์ที่สมบูรณ์สามารถนำไปใช้ในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่และนำไปสร้างแผนที่ได้ เนื่องจากข้อมูลที่บริการออกมาไม่ใช่ภาพแผนที่ ดังนั้นข้อมูลจึงมีความละเอียดสูงเหมาะที่จะ นำไปใช้สร้างแผนที่ที่สามารถกำหนดสีหรือสัญลักษณ์ที่ผู้ใช้ต้องการ เครื่องแม่ข่ายแผนที่สามารถส่ง ข้อมูลออกมาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น Shapefile WKT KML หรือ GeoJSON ฯลฯ เพื่อนำไปใช้ใน แอปพลิเคชันที่แตกต่างกันได้ เช่น ถ้าเปิดข้อมูลบริการในซอฟท์แวร์ GIS อย่างเช่น QGIS ข้อมูล ที่ได้จะออกมาในรูปแบบของ Layer คล้ายคลึงกับ Shapefile ซึ่งผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยน แก้ไข ข้ อมู ลในตาราง (ถ้ าได้ รั บสิ ทธิ ์ ใ นการปรั บปรุ ง แก้ ไ ข) และนำไปวิ เ คราะห์ หรื อสร้ างแผนที ่ ไ ด้ แต่ถ้าผู้ใช้เรียกบริการเพื่อนำเสนอข้อมูลผ่านเว็บ เครื่องแม่ข่ายก็สามารถให้บริการในรูปแบบของ GeoJSON เป็นต้น 4.2.1 ระบบฐานข4อมูลและภูมิสารสนเทศสำหรับพื้นที่ภูมินิเวศเพื่อจัดการสิ่งแวดล4อมชุมชนของ ประเทศไทย ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศสำหรับพื้นที่ภูมินิเวศเพื่อจัดการสิ่งแวดล-อมชุมชนของประเทศไทย พั ฒ นาขึ ้ น โดยใช- ร ะบบแมY ข Y า ยแผนที่ (Map Server) โดยใช- ซ อฟทO แ วรO GeoServer จากการตรวจสอบ 4-22

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

การทำงานของระบบ พบวYาไมYสามารถติดตYอกับเครื่องแมYขYายแผนที่ได-ทำให-เว็บแอปพลิเคชันไมYแสดงชั้นข-อมูล ในระบบ จำเปkนต-องตรวจสอบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอรOแมYขYาย พร-อมทั้งการบริการของ GeoServer เพื ่ อ ให- ส ามารถแสดงชั ้ น ข- อ มู ล ได- เ ปk น ปกติ ภาพที ่ 4- 28 แสดงหน- า เว็ บ แอปพลิ เ คชั น ระบบฐานข- อ มู ล และภูมิสารสนเทศสำหรับพื้นที่ภูมินิเวศเพื่อจัดการสิ่งแวดล-อมชุมชนของประเทศไทย

ภาพที่ 4- 28 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศสำหรับพื้นที่ภูมินิเวศเพื่อจัดการสิ่งแวดล-อมชุมชนของประเทศไทย

ข้อมูลสารสนเทศและข้อมูลภูมิสารสนเทศปัจจุบัน สำหรับระบบฐานข-อมูลนี้ได-แบYงกลุYมของข-อมูลเปkน 13 กลุYมข-อมูล จากการตรวจสอบเบื้องต-น พบวYา ไมYสามารถเป•ดชั้นข-อมูลได- จึงไมYสามารถนำเสนอรูปแบบของข-อมูลและข-อสังเกตตYาง ๆ ได- โดยแตYละกลุYม มีชั้นข-อมูลรวม 90 ชั้นข-อมูล ดังนี้ ชุดข้อมูล ชั้นข้อมูลขอบเขตการปกครอง

ชั้นข้อมูล 1 ตำแหน่งหมู่บ้าน 2 ตำแหน่งเทศบาลตำบลและอบต. 3 ขอบเขตตำบล 4 ขอบเขตอำเภอ 5 ขอบเขตจังหวัด 6 ความหนาแน่นของประชากรของ อทด.

รายงานขั้นต*น

4-23


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

ชุดข้อมูล แหล่งศิลปวัฒนธรรม

ชั้นข้อมูล 7 เตาเผาโบราณ 8 อาคาร 9 อนุสาวรีย์ 10 หลักเมือง 11 สถาปัตยกรรม 12 อื่น ๆ 13 ศาสนสถาน 14 วัดร้าง 15 วัด 16 พิพิธภัณฑ์ 17 ชุมชนโบราณ 18 โบราณสถาน 19 โบราณวัตถุ 20 เมืองโบราณ

ชั้นข้อมูลคุณภาพสิ่งแวดล้อม

21 เขตควบคุมมลพิษ 22 จุดตรวจวัดเสียง 23 จุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ 24 จุดตรวจวัดคุณภาพน้ำอัตโนมัติ 25 สถานการณ์ขยะในประเทศไทย 26 พื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม

ชั้นข้อมูลทางกายภาพ

27 ข้อมูลจังหวัดตามลักษณะเชิงนิเวศ 28 ลำดับศักย์ของเมือง

ชุดข้อมูลพื้นที่อนุรักษ์ 4-24

29 เขตอุทยานแห่งชาติ จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

ชุดข้อมูล

ชั้นข้อมูล 30 ป่าสงวนแห่งชาติ 31 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 32 พื้นที่ชุ่มน้ำ 33 พื้นที่ป่าชุมชน 34 ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ

แหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ตามมติ ครม. 7 พ.ย. 2532

35 เกาะ 36 แก่ง 37 ภูเขา 38 ถ้ำ 39 น้ำตก 40 โป่งน้ำพุร้อน 41 แหล่งน้ำ 42 ชายหาด 43 ซากดึกดำบรรพ์ 44 ธรณีสัณฐาน

ชุดข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน

45 พื้นที่ สปก. 46 ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2558-2559 ภาคเหนือ 47 ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2558-2559 ภาคกลาง 48 ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2558-2559 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 49 ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2558-2559 ภาคใต้ 50 ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2558-2559 ภาคตะวันออก

รายงานขั้นต*น

4-25


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

ชุดข้อมูล

ชั้นข้อมูล 51 ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2560 ภาคเหนือ 52 ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2560 ภาคกลาง 53 ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2560 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 54 ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2560 ภาคใต้ 55 ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน 2560 ภาคตะวันออก

ชุดข้อมูทรัพยากรทางทะเล

56 แหล่งปะการัง 57 หญ้าทะเล 58 สถานการณ์การกัดเซาะชายฝั่ง

ชุดข้อมูลทรัพยากรน้ำ

59 เขตลุ่มน้ำ 25 ลุ่มน้ำหลัก 60 เขตลุ่มน้ำย่อย 254 ลุ่มน้ำ 61 ตำแหน่งสถานีตรวจวัดระดับน้ำ 62 แผนที่อุทกธรณีวิทยา 63 บ่อสังเกตการณ์ระดับน้ำใต้ดิน

ชุดข้อมูลทรัพยากรทางธรณี

64 แผนที่ธรณีวิทยา 1:50000

ชุดข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย

65 พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม 66 พื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว 67 พื้นที่เสี่ยงภัยหลุมยุบ 68 พื้นที่เสี่ยงภัยภัยแล้ง 69 ระดับการชะล้างพังทลายของดิน

ชุมชนที่ประสบความสำเร็จ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม

70 การดูแลรักษาและป้องกันทรัพยากรธรรมชาติ 71 การอนุรักษ์พลังงาน 72 การจัดการขยะและของเสียชุมชน

4-26

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

ชุดข้อมูล

ชั้นข้อมูล 73 พฤติกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 74 การอนุรักษ์ชุมชนโบราณ เมืองเก่า 75 ประเพณีและวัฒนธรรมเพื่อรักษาเอกลักษณ์ของชุมชน 76 ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 77 เศรษฐกิจพอเพียง 78 เศรษฐกิจชุมชน 79 เกษตรอินทรีย์

แหล่งท่องเที่ยวเชิงชุมชน

80 Active Beach 81 เขตพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตก 82 เขตพัฒนาการท่องเที่ยววิถีลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนกลาง 83 ฝั่งทะเลตะวันตก 84 ฝั่งทะเลตะวันออก 85 มรดกโลกด้านวัฒนธรรม 86 ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนกลาง 87 วิถีชีวิตลุ่มแม่น้ำโขง 88 อันดามัน 89 อารยธรรมล้านนา 90 อารยธรรมอีสานใต้

4.2.2 ระบบฐานข้อมูลและภูมิสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชนบนพื้นที่ ภูมินิเวศภาคเหนือ ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการสิ่งแวดล-อมชุมชนบนพื้นที่ภูมินิเวศภาคเหนือ พัฒนาขึ้นโดยใช-ระบบแมYขYายแผนที่ (Map Server) โดยใช-ซอฟทOแวรO GeoServer ซึ่งเปkนซอฟทOแวรOจัดการ ข-อมูลแมYขYายแผนที่แบบรหัสเป•ดที่เก็บชั้นข-อมูลภูมิสารสนเทศจำนวนมากในรูปแบบของข-อมูลเวกเตอรO รายงานขั้นต*น

4-27


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

โดยสYวนใหญY โดยให-บริการข-อมูลในรูปแบบ Web Map Service (WMS) ผYานทางหน-าเว็บ โดยใช-แพกเกจ การแสดงผลบนหน-าเว็บที่เรียกวYา Openlayer ภาพที่ 4- 29 แสดงหน-าเว็บแอปพลิเคชันที่สามารถแสดง ชั้นข-อมูลตYาง ๆ ที่ให-บริการในระบบ ในหัวข-อนี้ได-นำเสนอการทบทวนการใช-งานระบบฐานข-อมูล เพื่อเปkน แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาตYอไป

ภาพที่ 4- 29 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการสิ่งแวดล-อมชุมชนบนพื้นที่ภูมินิเวศภาคเหนือ

ข้อมูลสารสนเทศและข้อมูลภูมิสารสนเทศปัจจุบัน จากการตรวจสอบระบบฐานข-อมูลภูมิสารสนเทศการบริหารจัดการสิ่งแวดล-อมชุมชนบนพื้นฐาน ภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ พบวYาได-มีการรวบรวมข-อมูลภูมิสารสนเทศทั้งสิ้น 56 ชั้นข-อมูล ดังตYอไปนี้ ชุดข้อมูล ชุดข้อมูลพื้นฐาน

ชั้นข้อมูล

รูปแบบ

1 เขตจังหวัด

Polygon

2 เขตตำบล

Polygon

3 ที่ตั้งหมู่บ้าน

Point

ชุดข้อมูลด้าน 4 แหล่งน้ำ ทรัพยากรธรรมชาติ 5 เส้นทางน้ำ

4-28

หมายเหตุ + ข้อสังเกต

ไม่แสดงชั้นข้อมูล Line

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

ชุดข้อมูล

ชั้นข้อมูล 6 ชั้นน้ำบาดาล

รูปแบบ Polygon

7 ศักยภาพน้ำบาดาล

ชุดข้อมูล ด้านสิ่งแวดล้อม

หมายเหตุ + ข้อสังเกต ไม่แสดงชั้นข้อมูล

8 เขตอุทยานแห่งชาติ

Polygon

9 เขตวนอุทยาน

Polygon

10 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า

Polygon

11 เขตห้ามล่าสัตว์ป่า

Polygon

12 ชุดดิน

ไม่แสดงชั้นข้อมูล

13 กลุ่มดิน

ไม่แสดงชั้นข้อมูล

14 ข้อมูลการจัดการขยะ

Point

15 ข้อมูลการจัดการน้ำเสีย

Point

ไม่มีข้อมูลบรรยาย

16 ข้อมูลคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ

ไม่แสดงชั้นข้อมูล

17 ข้อมูลคุณภาพอากาศ

ไม่แสดงชั้นข้อมูล

18 ข้อมูลการจัดการกากของเสีย

ไม่แสดงชั้นข้อมูล

19 ข้อมูลพื้นที่สีเขียว

ไม่มีข้อมูลบรรยาย

ชุดข้อมูลสถานภาพ 20 การใช้ประโยชน์ที่ดิน และการใช้ ประโยชน์ที่ดิน

ไม่แสดงชั้นข้อมูล

21 การตั้งถิ่นฐานของชุมชนและท้องถิ่น

ไม่แสดงชั้นข้อมูล

22 ขอบเขตเมือง

ไม่แสดงชั้นข้อมูล

23 เขตชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ

Polygon

24 การใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้

Polygon

25 เขตลุ่มน้ำหลัก

Polygon รายงานขั้นต*น

4-29


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

ชุดข้อมูล

ชุดข้อมูลพื้นที่ ประสบภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ

ชั้นข้อมูล

รูปแบบ

หมายเหตุ + ข้อสังเกต

26 เขตลุ่มน้ำย่อย

Polygon

27 พื้นที่เสี่ยงภัยกับหลุมยุบ

Polygon

ข้อมูลบรรยายน่าจะ ไม่สมบูรณ์

28 พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม

Polygon

สีแดงเด่นมากไป ทำให้แสดงพื้นที่เสี่ยง ได้ไม่ชัดเจน

29 พื้นที่เสี่ยงภัยแล้ง

Polygon

30 พื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว

Polygon

31 พื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม

ไม่แสดงชั้นข้อมูล

ชุดข้อมูล 32 เมืองโบราณ ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และ อัตลักษณ์วัฒนธรรม

Point

ไม่มีข้อมูลบรรยาย

33 ชุมชนโบราณ

Point

ข้อมูลบรรยายน่าจะ ไม่สมบูรณ์

34 เตาเผาโบราณ

ไม่แสดงชั้นข้อมูล

35 อนุสาวรีย์

Point

ข้อมูลบรรยายน่าจะ ไม่สมบูรณ์

36 หลักเมือง

Point

ไม่มีข้อมูลบรรยาย

37 แหล่งสถาปัตยกรรม 38 ศาสนสถาน วัด วัดร้าง

Point

39 พิพิธภัณฑ์

Point

40 โบราณวัตถุ

4-30

ไม่แสดงชั้นข้อมูล ไม่มีข้อมูลบรรยาย ไม่แสดงชั้นข้อมูล

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

ชุดข้อมูล ชั้นข้อมูลการ วิเคราะห์ภูมินิเวศ

ผังการจัดการ ภูมินิเวศ เชิงวัฒนธรรม

ชุดข้อมูลการ วิเคราะห์และ ประเมินผล

ชั้นข้อมูล

รูปแบบ

หมายเหตุ + ข้อสังเกต

41 พื้นที่ต้นน้ำลำธารที่ต้องทำการฟื้นฟู

Polygon

42 พื้นที่ที่มีการใช้ที่ดินไม่เหมาะสม

Polygon

การแสดงผลช้า หน้าจอค้าง

43 เขตชุมชนที่มีความเป็นอัตลักษณ์

Point

ภาษาที่แสดงในข้อมูล บรรยายอ่านไม่ออก

44 พื้นที่โครงการในพระราชดำริ

Polygon

45 แหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์

Point

46 แหล่งโบราณสถาน

Point

47 แหล่งสำรวจที่พบนกอพยพ

Point

48 พื้นที่ชุ่มน้ำระดับประเทศ

Polygon

49 พื้นที่ป่าอนุรักษ์

Polygon

50 พื้นที่อนุรักษ์และอ้างอิงด้านธรณีวิทยา

Point

51 เขตเมืองเก่า

Point

ภาษาที่แสดงในข้อมูล บรรยายอ่านไม่ออก

ข้อมูลซ้ำซ้อนกับชุด ข้อมูลด้าน ทรัพยากรธรรมชาติ ไม่มีข้อมูลบรรยาย

52 บริเวณศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหวใน รอบ 50 ปี

ไม่แสดงชั้นข้อมูล

53 แนวรอยเลื่อน

ไม่แสดงชั้นข้อมูล

54 ผังภูมินิเวศ

Polygon

รายงานขั้นต*น

แสดงข้อมูลช้า และไม่ มีข้อมูลบรรยาย ตั ว ข้ อ มู ล มี ข อบเขต ที่ยังไม่ได้ปรับปรุง 4-31


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

ชุดข้อมูล

ชั้นข้อมูล 55 ภูมินิเวศเชิงกายภาพ

รูปแบบ Polygon

56 ภูมินิเวศเชิงวัฒนธรรม

หมายเหตุ + ข้อสังเกต ข้อมูลบรรยายชี้ไป ผิดตำแหน่ง แสดงผลช้ามาก และ แสดงเฉพาะชั้นข้อมูล แม่ฮ่องสอน

เมื่อตรวจสอบชั้นข-อมูลแตYละชั้น และทำการทดสอบการทำงานของระบบ พบวYา 1) การแสดงผลแผนที ่ โ ดยรวมมี ค วามหน่ ว งค่ อ นข้ า งมาก การเรี ย กชั ้ น ข้ อ มู ล แต่ ล ะชั้ น ต้ อ งรอ การแสดงผลระยะหนึ่ง โดยเฉพาะชั้นข้อมูลที่เป็น Polygon ที่มีขนาดใหญ่ เช่น ผังภูมินิเวศ ภูมินิเวศกายภาพ เป็นต้น 2) ชั้นข้อมูลทุกขั้นไม่มีคำอธิบายสัญลักษณ์ทำให้ยากต่อการเข้าใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งชั้นข้อมูล ที่จำแนกเป็นสีต่าง ๆ หลากสี 3) ชั ้ น ข้ อ มู ล จำนวนหนึ ่ ง มี ข ้ อ มู ล ที ่ แ สดงบนแผนที ่ ไ ด้ แต่ ไ ม่ ม ี ข ้ อ มู ล บรรยาย เช่ น เขตเมื อ งเก่ า เมืองโบราณ เป็นต้น 4) ชั้นข้อมูลจำนวนหนึ่งสามารถเลือกให้แสดงผลได้ แต่ไม่มีชั้นข้อมูลแสดงผล เช่น ข้อมูลพื้นที่สีเขียว ข้อมูลคุณภาพอากาศ เป็นต้น 5) ชั้นข้อมูลจำนวนหนึ่งมีข้อมูลที่แสดงบนแผนที่ได้ แต่ข้อมูลบรรยายไม่ครบถ้วน เช่นข้อมูลบางชั้น มีตำแหน่งจุดอยู่จำนวนมาก แต่มีข้อมูลบรรยายเพียงจุดเดียว เป็นต้น เช่น อนุสาวรีย์ พื้นที่เสี่ยงกับ หลุมยุบ เป็นต้น 6) ชั้นข้อมูลจำนวนหนึ่งไม่ได้ปรับแปลงภาษาที่ใช้แสดงผลในตารางข้อมูลบรรยาย เช่น เขตชุมชนที่มี ความเป็นอัตลักษณ์ แหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ เป็นต้น 7) มีชั้นข้อมูลบางชั้นที่ซ้ำซ้อนกับชุดข้อมูลอื่น ได้แก่ พื้นที่ป่าอนุรักษ์ ที่มีข้อมูลอยู่แล้วในชุดข้อมูล ด้านทรัพยากรธรรมชาติ 8) ระบบฐานข้อมูลยังเป็นเพียงระบบแสดงชั้นข้อมูลแผนที่และข้อมูลบรรยายเท่านั้น ยังมิได้เป็นระบบ ฐานข้อมูลที่สามารถสืบค้นอย่างมีเงื่อนไขต่าง ๆ ตามต้องการได้

4-32

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 4 ระบบฐานข-อมูลและภูมิสารสนเทศ

4.3 แนวทางในการปรับปรุงการจัดการข4อมูลสารสนเทศ และ ข4อมูลภูมิสารสนเทศ จากสภาพปdจจุบันของระบบฐานข-อมูลดังที่ได-กลYาวมา มีแนวทางการปรับปรุงดังตYอไปนี้ 1. ปัญหาหลักของระบบคือ ขนาดของข้อมูลในแต่ละชั้น เนื่องจากข้อมูลครอบคลุมพื้นที่ภาคเหนือ ทั้งหมด ทำให้มีจำนวน feature ภายในชั้นข้อมูลจำนวนมาก เมื่อต้องแชร์ข้อมูลผ่าน WMS ที่ส่งข้อมูลทั้งหมด ออกมาในรูปแบบของรูปภาพ จึงมีความหน่วงจากการโหลดข้อมูลปริมาณมากเพื่อแปลงเป็นบริการภาพส่งเข้า สู่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรียกใช้งาน แนวทางการปรับปรุงสามารถดำเนินการได้โดย • การลดทอนความละเอียดของข้อมูลลง (Simplification) ขนาดของข้อมูลภูมิสารสนเทศประเภท เส้น (Line) และ รูปปิด (Polygon) จะประกอบด้วยค่าพิกัดที่ประกอบกันขึ้นมาเป็นจำนวนมาก ยิ่งข้อมูลมีความละเอียดสูงยิ่งมีจำนวนจุดพิกัดมากขึ้นไปด้วย ถ้าต้องการให้ระบบแสดงผลรวดเร็ว ยิ่งขึ้น อาจจะต้องดำเนินการลดทอนรายละเอียดของแต่ละเส้นและรูปปิดลง จะทำให้เครื่องแม่ข่าย ทำการประมวลภาพได้รวดเร็วยิ่งขึ้น แต่วิธีการนี้ก็มีข้อเสียคือ ความละเอียดของข้อมูลจะลดลง ถ้าแอปพลิเคชันที่ใช้งานข้อมูลต้องการความละเอียด วิธ๊นี้จะไม่ค่อยเหมาะสม • การตัดพื้นที่ตามขอบเขตจังหวัดหรือขอบเขตลุ่มน้ำ การตัดพื้นที่จะช่วยลดขนาดของข้อมูลที่มี ขนาดใหญ่มาก ให้มีขนาดเล็กลง ช่วยให้การเรียกบริการ WMS ทำได้รวดเร็วยิ่งขึ้น แต่มีข้อเสีย คือ ทางเลือกในการเปิดข้อมูลขึ้นแสดงบนหน้าเว็บก็จะมากขึ้นและซับซ้อนขึ้นด้วย • การใช้บริการ Tile Map โดยปกติการเรียกข้อมูลแบบ WMS ขึ้นบนหน้าเว็บ แม่ข่ายแผนที่ (Map server) จะทำการสร้างภาพที่ครอบคลุมบริเวณโดยเรียกข้อมูลทั้งหมดจากชั้นข้อมูลขึ้นมาและ แปลงเป็นภาพขนาดใหญ่ แล้วส่งผ่านส่วนเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเข้าสู่หน้าเว็บของผู้ใช้งาน การส่ง ข้อมูลขนาดใหญ่ทำให้การดาวน์โหลดภาพเข้าสู่หน่วยความจำในเครื่องผู้ใช้ช้าลง การใช้บริการ Tile map เป็ น การตั ด ภาพขนาดใหญ่ เ ป็ น สี ่ เ หลี ่ ย ม (Tile) จำนวนมาก เพื ่ อ ทำให้ ข นาดภาพ มีขนาดเล็กลงแล้วทยอยส่งภาพเมื่อผู้ใช้งานเรียกชั้นข้อมูล จะทำให้การแสดงผลชั้นข้อมูลรวดเร็ว ยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามการแบ่งภาพเป็น Tile ก็ยังขึ้นอยู่กับขนาดของข้อมูล ถ้ามีขนาดใหญ่มาก ๆ ความเร็วในการแสดงผลก็อาจจะดีขึ้นเพียงเล็กน้อย 2. ชั้นข้อมูลไม่สมบูรณ์ (ทั้งข้อมูลแผนที่และข้อมูลบรรยาย) จากการสำรวจชั้นข้อมูลพบว่า มีชั้นข้อมูล หลายชั้นที่ยังมีข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์จำเป็นต้องดำเนินการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้สามารถนำมาใช้ในการวิเคราะห์ เพื่อวางแผนผังได้ แนวทางในการปรับปรุงในส่วนนี้คือ • จัดให้มีการจ้างเหมาเพื่อปรับปรุงชั้นข้อมูลแต่ละชั้นให้ถูกต้องตามความต้องการ โดยอาจจะ ปรับปรุงข้อมูลเป็นรายปีในชั้นข้อมูลบางชั้นที่มีการเปลี่ยนแปลง • ในบางชั ้ น ข้ อ มู ล ที ่ ม ี ก ารให้ บ ริ ก ารข้ อ มู ล ผ่ า นทางหน่ ว ยงานที ่ ร ั บ ผิ ด ชอบอยู ่ แ ล้ ว สามารถ ขอความร่ ว มมื อ ในการขอใช้ บ ริ ก ารข้ อ มู ล กั บ หน่ ว ยงานนั ้ น ๆ เพื ่ อ ลดภาระการดำเนิ น การ

รายงานขั้นต*น

4-33


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให-สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล-อม

ปรับปรุงแก้ไขข้อมูลในแต่ละปี เนื่องจากหน่วยงานที่รับผิดชอบจะมีหน้าที่ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย อยู่แล้ว ระบบนี้สามารถเรียกข้อมูลที่ทันสมัยที่สุดจากหน่วยงานนั้นมาใช้โดยที่ไม่ต้องดำเนินการใด ๆ 3. ชั้นข้อมูลที่สมบูรณ์แล้วแต่แสดงผลไม่ครบถ้วน หรือแสดงภาษาที่ไม่สามารถอ่านได้ จากการสำรวจ พบว่ามีชั้นข้อมูลหลายชั้นที่แม้ว่ามีข้อมูลเชิงบรรยายแล้ว แต่แสดงผลลัพธ์ออกมาเพียงไม่กี่แถว ซึ่งน่าจะเป็น ข้อผิดพลาดจากการ Publish ข้อมูลในแม่ข่ายแผนที่ ควรต้องตรวจสอบระบบแม่ข่ายอีกครั้ง ส่วนข้อมูล บรรยายที่เป็นภาษาที่อ่านไม่ได้ อาจต้องดำเนินการจัดการการ encoding ข้อมูลใหม่ให้เป็นภาษาไทย แล้วจึงนำเข้าสู่แม่ข่ายแผนที่อีกครั้ง 4. ชั้นข้อมูลบางชั้นที่ซ้ำซ้อนกัน ควรดำเนินการตรวจสอบเพื่อลดความซ้ำซ้อนให้มากที่สุด ทั้งนี้จะช่วยให้ ไม่เสียเวลาเมื่อมีการปรับปรุงข้อมูลในภายภาคหน้า เนื่องจากแก้ไขเพียงแห่งเดียว 5. ควรปรับปรุงการแสดงสัญลักษณ์ของแผนที่ โดยเพิ่มเติมองค์ประกอบคำอธิบายสัญลักษณ์บนหน้าเว็บ 6. ระบบนี ้ อ าจเรี ย กได้ ว ่ า เป็ น ระบบแสดงผลข้ อ มู ล แผนที่ ซึ ่ ง สามารถต่ อ ยอดตั ว ฐานข้ อ มู ล แผนที่ และข้อมูลบรรยายบางชั้นข้อมูลมาเพื่อจัดทำแอปพลิเคชันที่ช่วยตัดสินใจในด้านภูมินิเวศได้ในอนาคต เช่น การแสดง Dashboard ข้อมูลจากการวิเคราะห์ผังภูมินิเวศ การสอบถามตามเงื่อนไข การสอบถาม เชิงพื้นที่ เช่น มีชุมชนไหนบ้างที่อยู่ภายในเขตภูมินิเวศภูเขา เป็นต้น รวมถึงการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ที่ซับซ้อน มากขึ้นด้วย

4-34

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ 5.1

ข(อมูลพื้นฐานของพื้นที่ภาคเหนือ 5.1.1 ภูมิประเทศ และระบบนิเวศ สภาพภูมิประเทศ

ภูมิประเทศ สBวนใหญBของเขตนี้มีลักษณะเปIนทิวเขา ภูเขา หุบเขาและแอBงแผBนดินระหวBางภูเขา มีความสูงชัน จากบริเวณ ตะวันตกเฉียงเหนือ แล(วคBอย ๆ ลาดต่ำลงมาสูBที่ราบต่ำ บริเวณตะวันออกเฉียงใต( และตอนกลางแล( วคB อย ๆ สู งขึ ้ นอี กทางบริ เ วณตะวั นออกและตะวั นออกเฉี ยงเหนื อในเขตจั งหวั ดนB าน คือ แถบเทือกเขาหลวงพระบาง บริเวณที่สูง เหลBานี้นับเปIนแหลBงกำเนิดของแมBน้ำลำธารหลายสายที่ไหลลงสูB แมB น้ ำโขงทางด( านเหนื อ ลงสู B แมB น้ ำเจ( าพระยาทางด( านใต( และลงสู B ลุ B มน้ ำสาละวิ นทางตะวั นตก หุ บเขา และแอBงแผBนดินที่แมBน้ำเหลBานี้ไหลผBาน จะเกิดที่ราบดินตะกอนที่ แมBน้ำไหลพามาทับถม เปIนบริเวณที่ อุดมสมบูรณXเหมาะในการเพาะปลูกและการตั้งถิ่นฐาน ทำให(กลายเปIนแหลBง ชุมชนสำคัญของภาค (ภาพที่ 5- 1)

ภาพที่ 5- 1 พื้นที่ภาคเหนือ 9 จังหวัด

5-1


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

5.1.2 ด(านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม ลุMมน้ำ ภาคเหนือเปIนพื้นที่ที่อยูBใน 6 ลุBมน้ำ คือ โขงเหนือ นBาน ป`ง ยม วัง และสาละวิน โดยลุBมน้ำป`ง ครอบคลุมพื้นที่มากที่สุด ประมาณ 23,000 ตารางกิโลเมตร รองลงมาเปIนลุBมน้ำนBาน โขงเหนือ สาละวิน ยม และวัง ตามลำดับ โดยมีลุBมน้ำวังเปIนลุBมน้ำที่เล็กที่สุด พื้นที่ลุBมน้ำตามจังหวัด ดังนี้ จังหวัดเชียงใหมB และลำพูน มีพื้นที่สBวนใหญBอยูBในลุBมน้ำป`ง จังหวัดลำปาง มีพื้นที่สBวนใหญBอยูBในลุBมน้ำวัง จังหวัดอุตรดิตถX และนBาน มีพื้นที่สBวนใหญBอยูBในลุBมน้ำนBาน จังหวัดพะเยาและเชียงราย มีพื้นที่สBวนใหญBอยูBในลุBมน้ำโขงเหนือ จังหวัดแพรB มีพื้นที่สBวนใหญBอยูBในลุBมน้ำยม และจังหวัดแมBฮBองสอนอยูBในลุBมน้ำสาละวิน ตารางที่ 5- 1 เนื้อที่ลุBมน้ำรายจังหวัดในภาคเหนือ (ตารางกิโลเมตร)

5-2

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ภาพที่ 5- 2 กราฟแสดงขนาดเนื้อที่ (ตารางกิโลเมตร) ของลุBมน้ำในแตBละจังหวัดในภาคเหนือ

ภาพที่ 5- 3 แผนที่แสดงลุBมน้ำและลุBมน้ำยBอย ในเขตจังหวัดในภาคเหนือ

5-3


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

แนวคิดในการแบMงขอบเขตลุMมน้ำหลักและลุMมน้ำสาขา การแบBงขอบเขตลุBมน้ำในประเทศไทยมีการพัฒนาตั้งแตBปh พ.ศ.2506 เปIนต(นมา ตามศักยภาพของ เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งได(จัดทำการแบBงขอบเขตลุBมน้ำเปIน 25 ลุBมน้ำหลัก 254 ลุBมน้ำสาขา ในรูปแบบ ของแผนที่แสดงรายชื่อ รหัสลุBมน้ำหลักและลุBมน้ำสาขา โดยแบBงกลุBมลุBมน้ำเปIน 4 กลุBม คือ กลุBมลุBมน้ำที่ 1 ไหลลงแมBน้ำโขง กลุBมลุBมน้ำที่ 2 ไหลลงแมBน้ำสาละวิน กลุBมลุBมน้ำที่ 3 ไหลลงทะเลฝlmงอBาวไทย และกลุBมลุBมน้ำที่ 4 ไหลลงทะเลฝlmงอันดามัน ในปhพ.ศ.2536 และเมื่อปh พ.ศ.2550 สำนักวิจัยพัฒนาและอุทกวิทยา กรมทรัพยากรน้ำ ได(ทบทวนข(อมูลจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย โดยอ(างอิงแผนที่ภูมิประเทศ L7018 WGS1984 มาตราสB ว น 1 : 50,000 ทั ้ ง รู ป แบบจุ ด ภาพ (Raster Map) และ แผนที ่ ก ระดาษของกรมแผนที ่ ท หาร ตBอมาในปh พ.ศ.2561 ได(มีการพัฒนากระบวนการแบBงขอบเขตลุBมน้ำจากความละเอียดของมาตราสBวนแผนที่ 1 : 4,000 แผนที่เส(นชั้นความสูงระยะหBางระหวBางเส(น 2 เมตร ของกรมพัฒนาที่ดิน แผนที่ภาพถBายทางอากาศ 3 มิติ จาก Google Earth เส(นแบBงเขตประเทศและแนวเขตแผBนดิน ลุBมน้ำที่เชื่อมตBอกับทะเล (แนวขอบน้ำ) ของกรมแผนที่ทหารมาตราสBวน 1 : 50,000 การทราบจุดออกรวมของทั้งลุBมน้ำหลักและลุBมน้ำสาขา ซึ่งที่ผBานมา บางจุดออกยังไมBสามารถคำนวณพื้นที่ลุBมน้ำรวมได( การรวมกลุBมลุBมน้ำหลักให(เกิดการบริหารจัดการน้ำ ในพื้นที่เดียวกันรBวมกัน รวมถึงทราบพื้นที่ลุBมน้ำของอBางเก็บน้ำที่สำคัญและจุดบรรจบลำน้ำหลักและสถานีวัด น้ำทBาที่สำคัญ ทำให(สามารถกำหนดจำนวนกลุBมลุBมน้ำเปIน 10 กลุBม แบBงเปIน 22 ลุBมน้ำหลัก 353 ลุBมน้ำสาขา แสดงรายชื่อลุBมน้ำเดิมและลุBมน้ำใหมBดังตารางที่ 5- 2 และ ภาพที่ 5- 4ซึ่งมีการกำหนดหลักเกณฑXการแบBง ขอบเขตลุBมน้ำดังตBอไปนี้ 1) กำหนดจุดออกของลุBมน้ำสาขายBอยที่จุดบรรจบลำน้ำสาขาตBาง ๆ ให(มีขนาดพื้นที่โดยประมาณ ไมBเกิน 500 ตร.กม. 2) แบBงขอบเขตลุBมน้ำเพิ่มเติมตามจุดที่ตั้งอBางเก็บน้ำขนาดใหญBทั้งหมดและอBางเก็บน้ำขนาดกลางที่มี ผลตBอการบริหารจัดการน้ำในภาพรวมของพื้นที่ระดับภูมิภาค 3) รวมพื้นที่ลุBมน้ำสาขายBอยเพื่อสร(างพื้นที่ลุBมน้ำสาขาให(มีขนาดพื้นที่รวมกันประมาณ 3,000 ตร.กม. 4) รวมพื้นที่ลุBมน้ำสาขาเพื่อสร(างพื้นที่ลุBมน้ำหลักโดยพิจารณาจากความสัมพันธXเชิงอุทกวิทยาของน้ำ ที่ไหลผBานจุดตBาง ๆ การบริหารจัดการน้ำในพื้นที่เชิงกายภาพและวัฒนธรรม ขอบเขตการปกครอง ให(สัมพันธXกับการบริหารจัดการน้ำของคณะกรรมการลุBมน้ำ

5-4

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ตารางที่ 5- 2 เปรียบเทียบรายชื่อลุBมน้ำเดิมและลุBมน้ำใหมB1 ลุMมน้ำเดิม (25 ลุMมน้ำ) รหัสลุMม จำนวนลุMมน้ำ ชื่อลุMมน้ำ น้ำ สาขา 01 สาละวิน 17 02 โขง 37 03 กก

4

04 05 06 07 08 09 10 11 12 13 14 15 16 17

ชี มูล ป`ง วัง ยม นBาน เจ(าพระยา สะแกกรัง ปÉาสัก ทBาจีน แมBกลอง ปราจีนบุรี บางปะกง โตนเลสาป ชายฝlmงทะเล 18 ตะวันออก

20 31 20 7 11 16 2 4 8 2 11 4 4 3

19 เพชรบุรี ชายฝlmงทะเล ประจวบคีรีขันธX 21 ภาคใต(ฝlmงตะวันออก 20

1

ลุMมน้ำใหมM (22 ลุMมน้ำ) รหัสลุMม จำนวนลุMมน้ำ ชื่อลุMมน้ำ น้ำ สาขา 01 สาละวิน 22 02 โขงเหนือ 17 โขง 03 36 ตะวันออกเฉียงเหนือ 04 ชี 27 05 มูล 53 06 ป`ง 30 07 วัง 11 08 ยม 19 09 นBาน 23 10 เจ(าพระยา 2 11 สะแกกรัง 6 12 ปÉาสัก 11 13 ทBาจีน 2 14 แมBกลอง 17 15 บางปะกง 10 16

โตนเลสาป

3

6

17

ชายฝlmงทะเลตะวันออก

10

3

18

เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธX

9

5 13

ที่มา : ไชยาพงษX (2562) 5-5


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ลุMมน้ำเดิม (25 ลุMมน้ำ) 22 ตาปh

8

19

23 ทะเลสาบสงขลา

3

20

24 ปlตตานี

2

21

25 ภาคใต(ฝlmงตะวันตก

13

22 รวม (ลุMมน้ำ)

รวม (ลุMมน้ำ)

25

254

ลุMมน้ำใหมM (22 ลุMมน้ำ) ภาคใต(ฝlmงตะวันออก 19 ตอนบน ทะเลสาบสงขลา 6 ภาคใต(ฝlmงตะวันออก 7 ตอนลBาง ภาคใต(ฝlmงตะวันตก 13 22

353

ภาพที่ 5- 4 การแบBงขอบเขตลุBมน้ำเดิมและลุBมน้ำใหมBของประเทศไทย2

2

https://www.sarakadee.com/2021/11/09/ลุBมน้ำไทย/ อ(างอิงถึง สำนักงานทรัพยากรน้ำแหBงชาติ 5-6

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ดังนี้

จากหลักเกณฑXการกำหนดขอบเขตลุBมน้ำใหมBสามารถจำแนกหลักการในการพิจารณาแบBงลุBมน้ำใหมB 1) 2) 3) 4) 5) 6)

พิจารณาจากจุดออกของลุBมน้ำที่ไหลลงทะเลหรือออกจากประเทศ สภาพภูมิศาสตรXโดยพิจารณาจากระดับความสูงต่ำซึ่งกำหนดทิศทางการไหลของน้ำ องคXกร วัฒนธรรม ที่มีความคล(ายคลึงกันในพื้นที่ การแบBงเขตการปกครอง ประกอบการพิจารณากรณีพื้นที่มีลักษณะการไหลไมBแนBนอน มีการใช(น้ำหรือบริหารจัดการน้ำรBวมกันของลุBมน้ำที่มีพื้นที่ไมBใหญBมาก พื้นที่ลุBมน้ำไมBควรแบBงออกเปIนหลายสBวนและอยูBตBางพื้นที่หรือภูมิภาค

จากการศึ ก ษาการแบB ง ขอบเขตลุ B ม น้ ำ ใหมB ใ นระบบ 22 ลุ B ม น้ ำ หลั ก จึ ง นำไปสู B ก ารประกาศใช( พระราชกฤษฎีกากำหนดลุBมน้ำ พ.ศ.2564 เนื่องจากมาตรา 25 แหBงพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ.2561 บัญญัติให(มีการกำหนดลุBมน้ำ โดยคำนึงถึงสภาพอุทกวิทยา สภาพภูมิศาสตรX ระบบนิเวศ การตั้งถิ่นฐาน ผังเมือง ผังน้ำ และขอบเขตการปกครอง เพื่อประโยชนXในการบริหารจัดการน้ำที่มีความเหมาะสมกับบริบท ของแตBละพื้นที่ในประเทศไทยตBอไป จากการประกาศใช(พระราชกฤษฎีกากำหนดลุBมน้ำ พ.ศ.2564 ทั้ง 22 ลุBมน้ำหลัก จำแนกตามภูมิภาค สามารถแบBงได(เปIน 4 ภาค ซึ่งรับผิดชอบโดย สำนักงานทรัพยากรน้ำแหBงชาติภาค 1 – 4 ได(แกB ภาคเหนื อ (สำนั ก งานทรั พ ยากรน้ ำ แหB ง ชาติ ภ าค 1, จ.ลำปาง) ประกอบด( ว ย ลุ B ม น้ ำ สาละวิ น , ลุBมน้ำโขงเหนือ, ลุBมน้ำป`ง, ลุBมน้ำวัง, ลุBมน้ำยม และลุBมน้ำนBาน ภาคกลาง (สำนักงานทรัพยากรน้ำแหBงชาติภาค 2, จ.สระบุรี) ประกอบด(วย ลุBมน้ำเจ(าพระยา, ลุBมน้ำสะแกกรัง, ลุBมน้ำปÉาสัก, ลุBมน้ำทBาจีน, ลุBมน้ำแมBกลอง, ลุBมน้ำบางปะกง, ลุBมน้ำโตนเลสาป, ลุBมน้ำ ชายฝlmงทะเลตะวันออก และลุBมน้ำเพชรบุรี – ประจวบคีรีขันธX ภาคตะวั นออกเฉี ยงเหนื อ (สำนั กงานทรั พยากรน้ ำแหB งชาติ ภาค 3, จ.ขอนแกB น) ประกอบด( วย ลุBมน้ำโขงตะวันออกเฉียงเหนือ, ลุBมน้ำชี และลุBมน้ำมูล ภาคใต( (สำนั ก งานทรั พ ยากรน้ ำ แหB ง ชาติ ภ าค 4, จ.สุ ร าษฎรX ธ านี ) ประกอบด( ว ย ลุ B ม น้ ำ ภาคใต( ฝl m ง ตะวั น ออกตอนบน, ลุ B ม น้ ำ ทะเลสาบสงขลา, ลุ B ม น้ ำ ภาคใต( ฝ l m ง ตะวั น ออกตอนลB า ง และลุ B ม น้ ำ ภาคใต( ฝlmงตะวันตก

5-7


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

สำหรับบริเวณพื้นที่ภาคเหนือมีการกำหนดขอบเขตลุBมน้ำใหมBโดยแบBงลุBมน้ำโขงเปIน 2 สBวน คือ ลุBมน้ำโขงเหนือ (ลุBมน้ำโขงบริเวณภาคเหนือรวมกับลุBมน้ำกก) และ ลุBมน้ำโขงตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจาก เดิมในระบบ 25 ลุBมน้ำหลัก ลุBมน้ำโขงมีขอบเขตพื้นที่อยูBใน 2 ภาค คือ ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื ่ อ พิ จ ารณาความเหมาะสมของการบริ ห ารจั ด การน้ ำ ควรอยู B ใ นภู ม ิ ภ าคเดี ย วกั น อี ก ทั ้ ง ในปl จ จุ บั น คณะกรรมการลุBมน้ำโขงเหนือและลุBมน้ำกกมีการบริหารจัดการน้ำรBวมกัน สBงผลให(การบริหารจัดการน้ำ เปIนเอกเทศและคณะกรรมการลุBมน้ำสามารถบริหารจัดการน้ำได(อยBางสะดวก แสดงดังภาพที่ 5- 5

ภาพที่ 5- 5 การกำหนดขอบเขตลุBมน้ำใหมBของลุBมน้ำกก – ลุBมน้ำโขงเหนือ3

ขอบเขตลุMมน้ำพื้นที่การศึกษา พื้นที่การศึกษาภาคเหนือครอบคลุม 9 จั งหวัด ได(แกB 1) จังหวัดเชียงราย 2) จังหวัดเชียงใหมB 3) จังหวัดนBาน 4) จังหวัดพะเยา 5) จังหวัดแพรB 6) จังหวัดแมBฮBองสอน 7) จังหวัดลำปาง 8) จังหวัดลำพูน และ 9) จังหวัดอุตรดิตถX ครอบคลุม 111 อำเภอ 836 จังหวัด แสดงดังตารางที่ 1 เมื่อพิจารณาในรูปแบบ ขอบเขตลุBมน้ำในระบบ 22 ลุBมน้ำ ตามประกาศพระราชกฤษฎีกากำหนดลุBมน้ำ พ.ศ.2564 ประกอบด(วย 6 ลุBมน้ำ ได(แกB 1) ลุBมน้ำสาละวิน (จังหวัดแมBฮBองสอน และ จังหวัดเชียงใหมBบางสBวน) 2) ลุBมน้ำป`ง (จังหวัดลำพูน และ จังหวัดเชียงใหมBบางสBวน) 3) ลุBมน้ำโขงเหนือ (จังหวัดเชียงรายบางสBวน, จังหวัดเชียงใหมBบางสBวน และจังหวัดพะเยาบางสBวน) 4) ลุBมน้ำวัง (จังหวัดลำปางบางสBวน และ จังหวัดเชียงรายบางสBวน)

3

ที่มา : ไชยาพงษX (2562) 5-8

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

และ

5) ลุBมน้ำยม (จังหวัดแพรB, จังหวัดลำปางบางสBวน, จังหวัดพะเยาบางสBวน และจังหวัดนBานบางสBวน)

6) ลุBมน้ำนBาน (จังหวัดอุตรดิตถX, จังหวัดนBานบางสBวน และจังหวัดแพรBบางสBวน) รวมทั้งหมด 105 ลุBมน้ำ สาขา แสดงดังError! Reference source not found. และError! Reference source not found. ถึง Error! Reference source not found. ซึ่งขอบเขตลุBมน้ำและลุBมน้ำสาขาที่ครอบคลุมพื้นที่การศึกษา 9 จังหวัด มีทั้งรูปแบบครอบคลุมทั้งพื้นที่ลุBมน้ำและบางสBวนของพื้นที่ลุBมน้ำ

ภาพที่ 5- 6 ขอบเขตพื้นที่การศึกษาภาคเหนือ 9 จังหวัด (แสดงขอบเขตลุBมน้ำหลัก)

5-9


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ภาพที่ 5- 7 ขอบเขตพื้นที่การศึกษาภาคเหนือ 9 จังหวัด (แสดงขอบเขตลุBมน้ำหลักและลุBมน้ำสาขา)

ตารางที่ 5- 3 รายชื่อลุBมน้ำหลักและลุBมน้ำสาขาที่ครอบคลุมพื้นที่การศึกษา ลุMมน้ำหลัก

วัง

สาละวิน 5-10

ลุMมน้ำสาขา แมBน้ำวังตอนกลางสBวนที่ 1 แมBน้ำวังตอนกลางสBวนที่ 2 แมBน้ำวังตอนบน แมBน้ำวังตอนลBางสBวนที่ 1 แมBน้ำวังตอนลBางสBวนที่ 2 แมBน้ำวังตอนลBางสBวนที่ 3 แมBน้ำวังตอนลBางสBวนที่ 4 แมBน้ำสวย น้ำแมBจาง น้ำแมBต่ำ น้ำแมBตุçย แมBน้ำเมยตอนลBาง จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ลุMมน้ำหลัก

ลุMมน้ำสาขา แมBน้ำยวมตอนบน แมBน้ำยวมตอนลBางสBวนที่ 1 แมBน้ำยวมตอนลBางสBวนที่ 2 แมBน้ำยวมตอนลBางสBวนที่ 3 แมBน้ำยวมตอนลBางสBวนที่ 4 แมBน้ำสาละวินตอนบน น้ำแมBเงา น้ำแมBแงะ น้ำแมBปายตอนบน น้ำแมBปายตอนลBางสBวนที่ 1 น้ำแมBปายตอนลBางสBวนที่ 2 น้ำแมBปายตอนลBางสBวนที่ 3 น้ำแมBริด น้ำแมBลาหลวง น้ำแมBสะเรียง น้ำแมBสะมาด น้ำแมBสุรินทรX น้ำของ ห(วยแมBสา

5.1.3 ด(านกายภาพ การตั้งถิ่นฐาน และการใช(ที่ดิน ลักษณะทางกายภาพ พื้นที่ภาคเหนือเปIนภูมิภาคที่อยูBด(านบนสุดของไทย มีลักษณะภูมิประเทศอันประกอบไปด(วยเทือกเขา สลับซับซ(อน ตBอเนื่องมาจากทิวเขาชานในประเทศพมBาและประเทศลาว ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบทุBงหญ(า สะวันนา เหมือนกับพื้นที่สBวนใหญBของประเทศ การที่มีพื้นที่อยูBเหนือระดับน้ำทะเลและมีเส(นละติจูด อยู B ต อนบนทำให( ส ภาพอากาศของภาคเหนื อ เปลี ่ ย นแปลงตามฤดู ก าลอยB า งเห็ น ได( ช ั ด เชB น มี ฤ ดู ห นาว ที่หนาวเย็นกวBาภูมิภาคอื่น ๆ ทางด(านประวัติศาสตรXของภาคเหนือมีความสัมพันธXทางวัฒนธรรมกับอาณาจักร ล(านนา และมีพื้นที่สำคัญของประเทศหลายจุด เชBน พื้นที่ทางด(านตะวันตกสุดของประเทศที่อำเภอแมBสะเรียง จังหวัดแมBฮBองสอน พื้นที่ทางด(านเหนือสุดของประเทศที่อำเภอแมBสาย จังหวัดเชียงราย จุดสูงสุดของประเทศ

5-11


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ที่ดอยอินทนนทX จังหวัดเชียงใหมB นอกจากนี้ ภาคเหนือยังเปIนพื้นที่แรกของประเทศที่แมBน้ำโขงไหลผBาน โดยจุดแรกที่แมBน้ำโขงไหลผBานประเทศไทยอยูBบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ขนาดพื้นที่ทั้งหมด 93,690.85 ตร.กม. คิดเปIนสัดสBวนร(อยละ 0.06 ของพื้นที่บนผิวโลกและอาณาเขต เขตแดนติดกับประเทศเพื่อนบ(านและภูมิภาคอื่น ๆ ของภาคเหนือ ได(แกB ทิศเหนือและทิศตะวันตก ติดตBอกับประเทศพมBา ทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดตBอกับประเทศลาว ทิศใต( ติดตBอกับภาคกลาง พื้นที่จังหวัดพิษณุโลก และสุโขทัย ทางด(านตะวันตกเฉียงใต( มีพื้นที่ติดตBอกับภาคตะวันตก บริเวณจังหวัดตาก

การตั้งถิ่นฐาน การใช(ที่ดิน • ภาคเหนือมีพื้นที่ปÉาไม(เปIนสัดสBวนที่สูงที่สุด รวมมากกวBา 37 ล(านตารางกิโลเมตร หรือมากกวBา ร(อยละ 60 ของพื้นที่ภาคเหนือ รองลงมาเปIนพื้นที่เกษตรกรรม มีมากกวBา 15 ล(านตารางกิโลเมตร หรือร(อยละ 25 • ภาคเหนือมีพื้นที่ประเภทปÉาไม(มีปริมาณลดลงกวBา 2.6 ล(านตารางกิโลเมตร หรือประมาณร(อยละ 7 • ในชB ว งเวลาประมาณ 10 ปh ที ่ ผB า นมา พื ้ นที ่ ชุ มชนเมื อง เกษตรกรรม และแหลB ง น้ ำ เพิ ่ มมากขึ้ น ยกเว(นจังหวัดเชียงใหมBที่ขนาดพื้นที่แหลBงน้ำลดลง ตารางที่ 5- 4 ปริมาณเนื้อที่การใช(ที่ดินประเภทหลักในพื้นที่รายจังหวัดในภาคเหนือ ชุมชนเมือง 2551-52 2561-63 421,128 510,952 114,490 143,199

เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน รวม

เกษตรกรรม 2551-53 2561-64 2,777,253 2,980,973 775,434 913,213

ป่าไม้ 2551-54 9,045,401 1,767,041

2561-65 8,755,504 1,633,678

แหล่งน้ำ 2551-55 2561-66 124,531 120,384 33,452 37,792

อื่น ๆ 2551-56 198,598 125,759

2561-67 199,098 88,294

282,308 174,993 133,968 121,698 114,501 354,970 73,693

320,265 184,593 146,421 139,022 160,373 441,578 84,427

1,311,388 1,563,183 983,560 1,912,265 1,430,728 3,209,140 1,212,036

1,806,919 1,650,242 1,200,192 2,526,320 1,587,973 3,735,647 1,216,282

5,930,564 2,890,118 2,844,207 5,047,429 2,249,718 3,406,238 6,591,008

5,454,271 2,780,635 2,645,649 4,429,394 2,061,247 2,822,664 6,570,216

78,606 218,901 39,879 44,068 50,510 101,688 22,062

109,484 226,317 47,033 51,884 88,292 116,978 26,109

230,860 51,925 85,010 44,585 83,955 226,965 26,988

142,787 57,333 47,329 23,425 61,527 182,114 28,753

1,791,749

2,130,830

15,174,987

17,617,761

39,771,724

37,153,258

713,697

824,273

1,074,645

830,660

หมายเหตุ ข(อมูลปh 2561-63 สีแดง คือ ลดลงจากปh 2551-52, สีเขียว คือ เพิ่มขึ้นจากปh 2551-52

5-12

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ภาพที่ 5- 8 ประเภทการใช(ที่ดินพื้นที่ศึกษา 9 จังหวัดภาคเหนือ

ผังเมืองรวมจังหวัดพื้นที่ภาคเหนือ เปI น การศึ ก ษาลั ก ษณะทางกายภาพของพื ้ น ที ่ ภ าคเหนื อ จากผั ง เมื อ งรวมจั ง หวั ด ทั ้ ง 9 จั ง หวั ด ซึ่งแสดงถึงภาพรวมการกำหนดกรอบนโยบายด(านการผังเมืองระดับภาค แนวทางในการพัฒนาการตั้งถิ่นฐาน ในอนาคต การกระจายตัวของการใช(ประโยชนXที่ดินแตBละประเภท ประกอบไปด(วย 9 ประเภทหลัก ได(แกB ชุมชน อุตสาหกรรมและคลังสินค(า ชนบทและเกษตรกรรม พื้นที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม อนุรักษX สภาพแวดล(อมเพื่อการทBองเที่ยว อนุรักษXปÉาไม( พื้นที่อนุรักษXเพื่อสBงเสริมเอกลักษณXศิลปวัฒนธรรมไทย อนุรักษX ชนบทและเกษตรกรรม ที่โลBงเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล(อม (ภาพที่ 5- 9)

5-13


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ภาพที่ 5- 9 ผังเมืองรวมจังหวัดพื้นที่ภาคเหนือ

ภาพรวมพื้นที่ภาคเหนือมีสัดสBวนพื้นที่อนุรักษXปÉาไม(มากที่สุดกระจายตัวครอบคลุมทั้งภาค รองลงมา คือ พื้นที่ชนบทและเกษตรกรรมซึ่งกระจุกตัวมากที่สุดในบริเวณจังหวัดเชียงราย และอยูBในบริเวณพื้นที่ ตBอเนื่องโดยรอบพื้นที่ชุมชนในแตBละจังหวัด ศูนยXกลางชุมชนหลักกระจุกตัวอยูBในจังหวัดเชียงใหมB ลำปาง พะเยา และเชียงราย ซึ่งมีการกระจุกตัว ของพื้นที่ชุมชนขนาดใหญBเมื่อเปรียบเทียบกับศูนยXกลางชุมชนในจังหวัดอื่น ๆ โดยมีตำแหนBงที่ตั้งสัมพันธXกับ ลักษณะภูมิประเทศของแตBละจังหวัด อุตสาหกรรมและคลังสินค(า มีเฉพาะในจังหวัดเชียงราย สBวนพื้นที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม สBวนใหญBกระจุกตัวอยูBในบริเวณจังหวัดเชียงรายและจังหวัดพะเยา

ผังเมืองรวมเมืองและผังเมืองรวมชุมชนพื้นที่ภาคเหนือ เปIนการศึกษาการกระจายตัวของศูนยXกลางชุมชน ซึ่งมีตำแหนBงที่ตั้งสัมพันธXกับผังเมืองรวมจังหวัด แสดงถึงโครงสร(างรูปแบบศูนยXกลางชุมชน การกระจายตัวของชุมชนในแตBละจังหวัด ซึ่งมีขนาดของชุมชน แตกตBางกัน การสBงเสริมการใช(ประโยชนXที่ดินแตBละประเภทในอนาคต สัมพันธXกับบทบาทของชุมชนแตBละแหBง ในการทำหน(าที่เปIนศูนยXกลางหลักและศูนยXกลางรอง รวมถึงสัมพันธXกับบทบาทภาพรวมของพื้นที่ภาค (ภาพที่ 5- 10) ประกอบด(วยการใช(ประโยชนXที่ดิน 12 ประเภทหลัก ได(แกB ที่อยูBอาศัยหนาแนBนน(อย ที่อยูBอาศัย หนาแนB น ปานกลาง พาณิ ช ยกรรมและที ่ อ ยู B อ าศั ย หนาแนB น มาก อุ ต สาหกรรมและคลั ง สิ น ค( า ชนบท 5-14

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

และเกษตรกรรม ที่โลBงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล(อม สถาบันการศึกษา ที่โลBงเพื่อรักษา คุณภาพสิ่งแวดล(อม อนุรักษXเพื่อสBงเสริมเอกลักษณXศิลปวัฒนธรรมไทย สถาบันศาสนา สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ

ภาพที่ 5- 10 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดพื้นที่ภาคเหนือ

5.1.4 โครงสร(างพื้นฐานระดับภาค การคมนาคมขนสMง พื้นที่ภาคเหนือมีระบบโครงขBายถนนที่สามารถเชื่อมโยงระบบการคมนาคมขนสBงที่สะดวก รวดเร็ว ทั้งในแงBการเดินทาง การขนสBงสินค(า และการทBองเที่ยว

ระบบการคมนาคมขนสMงเชื่อมโยงระหวMางประเทศ ระบบการคมนาคมขนสB ง ในกลุ B ม จั ง หวั ด ภาคเหนื อ ได( ร ั บ การบริ ก ารจากระบบคมนาคมขนสB ง ที่หลากหลาย ทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ และมีการเชื่อมโยงไปยังประเทศเพื่อนบ(านอยBางสะดวก ผBานเส(นทาง R3A และ R3B ภายใต(โครงการ North-South Economic Corridor (ดังแสดงในภาพที่ 5- 11) โดยให(ความสำคัญกับการคมนาคมขนสBงทางบกด(วยระบบล(อยางเปIนหลัก เนื่องจากเปIนระบบที่มีโครงสร(าง พื้นฐานครบสมบูรณXที่สุด ซึ่งกBอให(เกิดมูลคBาทางเศรษฐกิจจากการ สBงถBายสินค(าและการทBองเที่ยวระหวBาง ประเทศเปIนอยBางมาก แตBในทางกลับกันก็เปIนประเภทของการคมนาคมขนสBงที่มีอัตราการสิ้นเปลืองพลังงาน สูง สBงผลให(ขีดความสามารถในการแขBงขันในเชิงการผลิตสินค(า ระบบ การคมนาคมขนสBงในกลุBมจังหวัด ภาคเหนือ ดังแสดงในภาพที่ 5- 11ถึงภาพที่ 5- 14 5-15


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ภาพที่ 5- 11 ระเบียงเศรษฐกิจระดับภูมิภาค

5-16

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ภาพที่ 5- 12 ระบบการคมนาคมขนสBงเชื่อมโยงระหวBางประเทศ

5-17


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน

ภาพที่ 5- 13 โครงขBายการเชื่อมโยงระหวBางประเทศตามโครงขBายทางหลวงเอเชีย

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

5-18

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ภาพที่ 5- 14 โครงขBายทางหลวงเอเชียในกลุBมจังหวัดภาคเหนือ

5-19


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

การคมนาคมขนสMงทางถนน ประกอบด(วยทางหลวงแผBนดินสายประธาน ทางหลวงแผBนดินสายหลัก ทางหลวงแผBนดินสายรอง และทางหลวงแผBนดินสายยBอย (ภาพที่ 5- 15) 1) ทางหลวงแผMนดินสายประธาน ทำหน(าที่เปIนถนนสายสำคัญที่เชื่อมตัวชุมชนตBาง ๆ ในระดับภาค หรือระดับจังหวัด ซึ่งมีปริมาณการจราจรและความเร็วสูง แตBจะมีมาตรฐานการออกแบบที่ต่ำกวBาทางดBวน (Expressways) ได(แกB ทางหลวงแผBนดินหมายเลข 1 (พหลโยธิน) และ ทางหลวงแผBนดินหมายเลข 11 2) ทางหลวงแผM น ดิ น สายหลั ก เปI น ถนนเชื ่ อ มตB อ การจราจรระหวB า งถนนสายรองในเขตชุ ม ชน กับถนนสายประธาน ถนนประเภทนี้อาจจะมีการจราจรประเภทผBานเมืองรวมอยูBด(วย จะทำหน(าที่เปIน เส(นทางเชื่อมตBอระหวBางจังหวัดภายในภาคเหนือเข(าด(วยกัน ได(แกB ทางหลวงแผBนดินหมายเลข 101 ทางหลวงแผBนดินหมายเลข 103 ทางหลวงแผBนดินหมายเลข 105 ทางหลวงแผBนดินหมายเลข 106 ทางหลวงแผBนดินหมายเลข 107 ทางหลวงแผBนดินหมายเลข 108 ทางหลวงแผBนดินหมายเลข 109 ทางหลวงแผBนดินหมายเลข 114 และทางหลวงแผBนดินหมายเลข 118 เปIนต(น 3) ทางหลวงแผMนดินสายรอง เปIนถนนที่รวม และกระจายการจราจรระหวBางถนนสายหลัก และทางหลวง สายยBอย เชื่อมตBอสBวนตBาง ๆ ภายในจังหวัดเข(าด(วยกัน เชBน ทางหลวงแผBนดินหมายเลข 1020 ทางหลวง แผBนดินหมายเลข 1021 ทางหลวงแผBนดินหมายเลข 1035 และทางหลวงแผBนดินหมายเลข 1080 เปIนต(น 4) ทางหลวงสายยMอย เปIนถนนของกรมทางหลวงชนบทและองคXการบริหารสBวนท(องถิ่น ที่เกี่ยวข(อง เปIนโครงขBายถนนที่รองรับและกระจายการจราจรบนถนนของกรมทางหลวง

การคมนาคมขนสMงทางรถไฟ ในเขตพื ้ น ที ่ ภ าคเหนื อ มี ร ะบบรางซึ ่ ง เปI น เส( น ทางรถไฟสายเหนื อ เริ ่ ม จากกรุ ง เทพมหานคร ผBานจุดเชื่อมตBอที่จังหวัดพิษณุโลก สถานีรถไฟศิลาอาสนX ผBานสถานีรถไฟลำปาง และสิ้นสุดที่สถานีรถไฟ เชียงใหมB การคมนาคมขนสBงทางรถไฟเชื่อมโยงระหวBางจังหวัดในพื้นที่อนุภาคเหนือตอนบนกับภูมิภาคอื่น ๆ ที่สถานีชุมทางผBานอำเภอเดBนชัย (จังหวัดแพรB) เมืองลำปาง เมืองลำพูน สิ้นสุดระยะทางที่จังหวัดเชียงใหมB ปlจจุบันมีให(บริการเดินรถธรรมดา รถเร็ว รถดBวน รถดBวนพิเศษ รถดีเซลรางปรับอากาศ (ภาพที่ 5- 15)

การคมนาคมขนสMงทางน้ำ การคมนาคมขนสBงทางน้ำภายในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนมีความสำคัญคBอนข(างน(อย เนื่องจาก การขนสBงทางบกมีความสะดวกรวดเร็วกวBามาก รวมทั้งมีข(อจำกัดหลายประการเชBน ความตื้นเขินของแมBน้ำ มีสิ่งกีดขวางทางน้ำ และการดูดทราย เปIนต(น สำหรับการเชื่อมโยงโครงขBายการคมนาคมขนสBงทางน้ำ กับกลุBมพื้นที่อื่น ๆ นั้น ภาคเหนือตอนบนมีทBาเรือเชียงแสนและทBาเรือเชียงของที่สามารถเชื่อมโยงทางเหนือ ไปจนถึงทBาเรือซื้อเหมา ของประเทศจีนตอนใต( โดยสินค(าที่ผBานทBาเรือเชียงแสนสBวนใหญBเปIนสินค(าเกษตร (ภาพที่ 5- 15) 5-20

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

การคมนาคมขนสMงทางอากาศ ในกลุBมภาคเหนือ มีทBาอากาศยานให(บริการเพื่อการเดินทางและขนสBงสินค(าทางอากาศจำนวน 7 แหBง ประกอบด(วย ทBาอากาศยานนานาชาติ 2 แหBง ได(แกB ทBาอากาศยานนานาชาติเชียงใหมB และ ทBาอากาศยาน นานาชาติแมBฟòาหลวง จังหวัดเชียงราย ให(บริการการบินทั้งภายในประเทศและเชื่อมโยงประเทศตBาง ๆ และทBาอากาศยานในประเทศ อีก 5 แหBง ได(แกB ทBาอากาศยานลำปาง แพรB นBาน แมBฮBองสอน และปาย (ภาพที่ 5- 15)

ภาพที่ 5- 15 รวมโครงขBายคมนาคมบก น้ำ และอากาศ

5-21


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

5.1.5 ด(านประชากร สังคม ประวัติศาสตรi และวัฒนธรรม ประชากร ประเทศไทยมีจำนวนประชากรทั่วราชอาณาจักร ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 รวมทั้งสิ้น 66,558,935 คน โดยในพื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนือมีจำนวประชากร รวมทั้งสิ้น 6,350,499 คน ประชากรสBวนใหญBร(อยละ 28.02 อาศัยอยูBจังหวัดเชียงใหมB รองลงมาร(อยละ 20.44 อาศัยอยูBจังหวัดเชียงราย และร(อยละ 11.63 อาศัยอยูBจังหวัดลำปาง จังหวัดที่มีจำนวนประชากรน(อยที่สุดร(อยละ 4.47 อาศัยอยูB จังหวัดแมBฮBองสอน เมื่อพิจารณาอัตราการเปลี่ยนแปลงจำนวนประชำกร 10 ปhย(อนหลัง (พ.ศ. 2552-2562) พบวBา จังหวัดแมBฮBองสอน มีอัตราการเพิ่มของประชำกรสูงสุด คือ ร(อยละ 17.49 ในขณะที่จังหวัดที่มี อัตราการลดลงของประชำกร ได(แกB จังหวัดแพรB ร(อยละ 4.41 จังหวัดลำปาง ร(อยละ 3.42 จังหวัดพะเยา ร(อยละ 3.03 และจังหวัดอุตรดิตถX ร(อยละ 2.13 ตามลำดับ ดังError! Reference source not found.

5-22

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ตารางที่ 5- 5 จำนวนประชากร 10 ปHย(อนหลัง (พ.ศ. 2552-2562) ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9

จังหวัด

จำนวนประชากรประจำป2 พ.ศ. (คน) 2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

2561

2562

เชียงราย 1,194,933 1,198,218 1,198,656 1,200,423 1,204,660 1,207,699 1,277,950 1,282,544 1,287,615 1,292,130 1,298,304 เชียงใหมU 1,632,548 1,640,479 1,646,144 1,655,642 1,666,888 1,678,284 1,728,242 1,735,762 1,746,840 1,763,742 1,779,254 นUาน 475,614 476,363 476,612 477,673 477,912 478,264 479,518 479,916 479,838 478,989 478,227 พะเยา 487,120 486,304 486,472 488,120 486,744 484,454 482,645 479,188 477,100 475,215 472,356 แพรU 462,090 460,756 458,750 457,607 456,074 454,083 452,346 449,810 447,564 445,090 441,726 แมUฮUองสอน 241,847 242,742 244,048 244,356 246,549 248,178 273,764 275,884 279,088 282,566 284,138 ลำปาง 764,498 761,949 757,534 756,811 754,862 753,013 752,356 748,850 746,547 742,883 738,316 ลำพูน 404,693 404,560 403,952 404,673 405,268 405,468 406,385 405,999 405,918 405,955 405,075 อุตรดิตถ\ 462,951 462,618 461,040 461,294 460,995 460,400 459,768 458,197 457,092 455,403 453,103

อัตราการเปลี่ยนแปลง (ร@อยละ) 8.65 8.99 0.55 -3.03 -4.41 17.49 -3.42 0.09 -2.13

5-23


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ตารางที่ 5- 6 จำนวนประชากร และจำนวนบCาน รายจังหวัด ปQ 2562 จังหวัด เชียงใหม่

พื้นที่ ตร.กม. 20,107.06

ประชากรรวม 1,779,254

ลําพูน ลําปาง

4,505.88 12,533.96

405,075 738,316

195,140 360,324

209,935 377,992

179,812 292,423

อุตรดิตถ์ แพร่

7,838.59 6,538.60

453,103 441,726

221,583 213,494

231,520 228,232

170,691 177,308

น่าน พะเยา

11,472.07 6,355.06 11,678.37 12,681.26 93,710.85

478,227 472,356 1,298,304 284,138 6,350,499

239,661 230,476 632,413 144,302 3,099,085

238,566 241,880 665,891 139,836 3,251,414

168,476 192,755 548,617 112,268 2,660,170

เชียงราย แม่ฮ่องสอน รวม

ประชากรชาย ประชากรหญิง 861,692 917,562

จำนวนบ้าน 817,820

จำนวนประชากร และจำนวนบ/าน รายจังหวัด 2562 2000000

900000

1800000

800000

1600000

700000 600000

1200000

500000

1000000

400000

800000

300000

600000 400000

200000

200000

100000

0

0 เชียงใหม3

ลำพูน

ลำปาง

อุตรดิตถC

แพร3

ประชากรรวม

น3าน

พะเยา

เชียงราย

แม3ฮ3องสอน

จำนวนบKาน

ภาพที่ 5- 16 ประชากรและจำนวนบCานรายจังหวัด ปQ พ.ศ. 2562

5-24

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร

จำนวนบKาน

จำนวนประชากร

1400000


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ข#อมูลประชากรกลุ/มชาติพันธุ6 • ประชากรกลุUมชาติพันธุVในภาคเหนือ สามารถแบUงไดCทั้งหมด 13 กลุUมชาติพันธุV ไดCแกU กลุUมชาติพันธุV กะเหรี ่ ย ง กลุ U ม ชาติ พ ั น ธุ V ม C ง (แมC ว ) กลุ U ม ชาติ พ ั น ธุ V ล าหู U (มู เ ซอ) กลุ U ม ชาติ พ ั น ธุ V อ าขU า (อี ก C อ ) กลุUมชาติพันธุVลัวะ (ละวCา) กลุUมชาติพันธุVเมี่ยน (เยCา) กลุUมชาติพันธุVลีซู (ลีซอ) กลุUมชาติพันธุVจีนฮUอ กลุ U ม ชาติ พ ั น ธุ V ข มุ กลุ U ม ชาติ พ ั น ธุ V ป ะหลU อ ง (ดาลาอั ้ ง ) กลุ U ม ชาติ พ ั น ธุ V ม ลาบรี (ตองเหลื อ ง) กลุUมชาติพันธุVถิ่น และกลุUมชาติพันธุVคะถิ่น • ประชากรกลุUมชาติพันธุVภาคเหนือทั้งหมด 800,507 คน • ประชากรกลุUมชาติพันธุVภาคเหนือสUวนใหญUเปbนกลุUมชาติพันธุVกะเหรี่ยง รองลงมาเปbนกลุUมชาติพันธุV มCง (แมCว) กลุUมชาติพันธุVลาหูU (มูเซอ) กลุUมชาติพันธุVอาขUา (อีกCอ) กลุUมชาติพันธุVลัวะ (ละวCา) กลุ U มชาติ พั นธุ V เมี ่ ยน (เยC า) กลุ U มชาติ พั นธุ V ลี ซู (ลี ซอ) กลุ U มชาติ พั นธุ V จี นฮU อ กลุ U มชาติ พั นธุ V ขมุ กลุ U ม ชาติ พ ั น ธุ V ป ะหลU อ ง (ดาลาอั ้ ง ) กลุ U ม ชาติ พ ั น ธุ V ม ลาบรี (ตองเหลื อ ง) กลุ U ม ชาติ พ ั น ธุ V ถิ่ น และกลุUมชาติพันธุVคะฉิ่น • จังหวัดเชียงใหมUมีประชากรกลุUมชาติพันธุVมากที่สุด คือ 10 กลุUมชาติพันธุV รองลงมา คือ จังหวัด เชี ย งราย 9 กลุ U ม ชาติ พ ั น ธุ V จั ง หวั ด ลำปาง จั ง หวั ด นU า น และจั ง หวั ด แมU ฮ U อ งสอน จั ง หวั ด ละ 6 กลุUมชาติพันธุV จังหวัดแพรUและจังหวัดพะเยา จังหวัดละ 4 กลุUมชาติพันธุV โดยจังหวัดลำพูน มีเพียง 1 กลุUมชาติพันธุV คือ กลุUมชาติพันธุVกะเหรี่ยง • จังหวัดเชียงใหม/มีประชากรกลุ/มชาติพันธุ6มากที่สุด รองลงมาเปCนจังหวัดเชียงราย จังหวัด แมUฮUองสอน จังหวัดนUาน จังหวัดลำพูน จังหวัดพะเยา จังหวัดลำปาง และจังหวัดแพรU ข้อมูลประชากรกลุ่มชาติพันธุ์ภาคเหนือ 300,000

คะฉิ่น ถิ่น

250,000

มลาบรี (ตองเหลือง)

200,000

ปะหล่อง (ดาลาอั้ง) ขมุ

150,000

จีนฮ่อ 100,000

ลีซู (ลีซอ) เมี่ยน (เย้า)

50,000 0

ลัวะ (ละว้า) เชียงใหม่

ลำพูน

ลำปาง

อุตรดิตถ์

แพร่

น่าน

พะเยา

เชียงราย แม่ฮ่องสอน

อาข่า (อีก้อ)

ภาพที่ 5- 17 ประชากรกลุUมชาติภาคเหนือ 5-25


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ตารางที่ 5- 7 ขCอมูลประชากรกลุQมชาติภาคเหนือ กะเหรี่ยง

ม,ง (แม,ว) 26,964

ลาหู4 (มูเซอ) 46,390

เชียงใหม4 146,635 ลำพูน 36,078 ลำปาง 4,404 1,432 1,027 อุตรดิตถK แพร4 8,698 4,291 น4าน 31,132 26 พะเยา 15,394 เชียงราย 7,564 31,963 52,309 แม4ฮ4องสอน 114,082 3,510 7,508 รวม 317,461 114,686 107,260

5-26

อาข4า (อีก,อ) 10,349

ลัวะ (ละว,า) 2,520

1,563

เมี่ยน ลีซู จีนฮ4อ (เย,า) (ลีซอ) 1,149 20,178 10,162 6,242

ขมุ

ปะหล4อง (ดาลาอั้ง) 4,523

มลาบรี (ตองเหลือง)

73,810 86,262

11,910 9,011 14,430

คะฉิ่น 312

144

540 42,331

ถิ่น

101 357

8,668

161 6,272 6,971 15,670 2,763 5,375 5,081 56,498 42,742 32,391 25,832 11,575

345 162 4,685

458

345

312

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร

รวม 269,182 36,078 14,812 13,630 94,424 24,911 211,752 135,718 800,507


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

สังคม ข(อมูลและมิติสำคัญของการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ในการบริหารราชการสCวนภูมิภาค ภาคเหนือตอนบน ได(แบCงออกเปJน 2 กลุCมจังหวัดที่สำคัญ คือ กลุCมจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 (4 จังหวัด) และ กลุCมจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 (4 จังหวัด) และมีจังหวัด อุตรดิตถSอยูCในกลุCมจังหวัดภาคเหนือตอนลCาง 1 อีก 1 จังหวัด ซึ่งข(อมูลจากสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหCงชาติ และกระทรวงมหาดไทยได(แสดงให(เห็นถึงข(อมูลพื้นฐานการพัฒนาของแตCละกลุCมจังหวัด ดังแสดงในตารางที่ 5- 8 ตารางที่ 5- 8 ข(อมูลพื้นฐานของกลุCมจังหวัดภาคเหนือตอนบน รายการ รายชื่อจังหวัด วิสัยทัศนSของกลุCมจังหวัด ผลิตภัณฑSมวลรวมกลุCมจังหวัด (GPP) รายได(ตCอหัว % GPP ภาคเกษตร % GPP ภาคอุตสาหกรรม % GPP ภาคบริการ % GPP ภาคทCองเที่ยว จำนวนประชากร สัดสCวนวัยแรงงาน สัดสCวนผู(สูงอายุ สัดสCวนคนจน สัดสCวนผู(ใช(อินเตอรSเน็ต สัดสCวนพื้นที่ปmาไม( สัดสCวนหมูบ(านที่ประสบภัยแล(ง และอุทกภัย ปริมาณขยะที่เกิดขึ้น

กลุ@มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1

กลุ@มจังหวัดภาคเหนือ ตอนบน 2

แมCฮCองสอน เชียงใหมC ลำพูน ลำปาง

เชียงราย พะเยา นCาน แพรC เมืองนCาอยูCอยCางยั่งยืน

พัฒนาพื้นที่บนพื้นฐานวัฒนธรรมสร(างสรรคS สูC เศรษฐกิจมูลคCาสูงอยCางทั่วถึง 426,349 ล(านบาท

210,307 ล(านบาท

135,522 บาท/คน/ปj 17.75% 24.99% 65.29% 6.67% 3.2 ล(านคน 55.0% 21.52% 9.71% 51.62% 72.60% 35.17%

89,304 บาท/คน/ปj 26.5% 9.14% 73.71% 2.85% 2.69 ล(านคน 48.60% 19.73% 7.94% 46.74% 53.46% 74.99%

2,831 ตัน/วัน

1,970 ตัน/วัน

5-27


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

สCวนจังหวัดอุตรดิตถS ซึ่งรวมอยูCในกลุCมจังหวัดภาคเหนือตอนลCาง 1 มีผลิตภัณฑSมวลรวมจังหวัดตCอหัว (GPP per capita) เทCากับ 94,260 บาท/คน/ปj มีสัดสCวน GPP ภาคการเกษตรร(อยละ 20.6 % สัดสCวน GPP ภาคอุตสาหกรรม 23.34% % GPP ภาคทCองเที่ยว 0.33% อุตรดิตถSมีสัดสCวนคนจน 6.09% มีสัดสCวนพื้นที่ 55.85% มีสัดสCวนหมูบ(านที่ประสบภัยแล(งและอุทกภัยร(อยละ 63.30 และมีปริมาณขยะมูลฝอย 438 ตัน/วัน

ทิศทางการพัฒนาภาคเหนือ (พ.ศ. 2566-2570) เอกสารของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหCงชาติระบุวCา ภาคเหนือถูกวางให(เปJน “ฐานเศรษฐกิจสร(างสรรคSของประเทศ” ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร(างสรรคS สานสัมพันธSระหวCางพื้นที่ สุขภาวะดี วิถีชีวิตยั่งยืน โดยองคSประกอบที่สำคัญ 4 มิติ หรือ 4Cs ด(วยกันคือ •

Creative (High Value Added) โดยเน( น ระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ – ล( า นนาสร( า งสรรคS ซึ ่ ง ประกอบด( ว ย เชี ย งใหมC เชี ย งราย ลำพู น ลำปาง ซึ ่ ง จะทำหน( า ที ่ เ สริ ม ศั ก ยภาพสู C ก ารเปJ น ฐานเศรษฐกิจสร(างสรรคSของประเทศ สร(างระบบนิเวศ เมือง และพื้นที่สร(างสรรคS ยกระดับสินค(า และบริการสร(างสรรคS

Clean (Hi Sustainable) การพัฒนาบนฐานการเติบโตอยCางยั่งยืน ตามแนววิถีใหมCเพื่อสุขอนามัยที่ดี การฟ}~นฟูทรัพยากรสิ่งแวดล(อม อากาศ ความสะอาดของเมือง การใช(พลังงานที่สะอาด

Connect (High Opportunity) สร(างโอกาสจากการเชื่อมโยงเศรษฐกิจภายในและตCางประเทศ ทั้งระบียงเศรษฐกิจพิเศษของภาค เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน อนุภูมิภาคตCาง ๆ เมืองสร(างสรรคS และกลุCมผู(คนสร(างสรรคS

Care ดูแลผู(สูงอายุ คนยากจน และผู(ด(อยโอกาส พัฒนายกระดับฝjมือแรงงานสูCงานสร(างสรรคS และงานดิจิทัล

ภาพที่ 5- 18 ทิศทางการพัฒนาภาคเหนือ 5-28

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

แนวทางการพัฒนาภาคเหนือเปjนฐานเศรษฐกิจสร(างสรรคkของประเทศ สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหCงชาติระบุ แนวทางในการพัฒนาภาคเหนือตอนบน ดังนี้ 1. พั ฒ นาสู @ ก ารเปj น ระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคเหนื อ หรื อ Creative LANNA ในพื ้ น ที ่ จ ั ง หวั ด เชียงใหมC เชียงราย ลำพูน ลำปาง ประกอบด(วย 1. การพัฒนาระบบนิเวศของเศรษฐกิจสร(างสรรคS 2. การพัฒนาอุตสาหกรรมสร(างสรรคS ประกอบด(วยสินค(าหัตถกรรม ศิลปะการแสดงและดนตรี อุตสาหกรรมทัศนศิลปÄ และกลุCม Digital content 3. สC งเสริ มการตลาดและประชาสั มพั นธS และสร( างการรั บรู ( เกี ่ ยวกั บเศรษฐกิ จสร( างสรรคS อาทิ งานเทศกาลสร(างสรรคSระดับนานาชาติ และสินค(าสร(างสรรคS 2. พัฒนาการผลิตตามระบบเกษตรกรรมยั่งยืน เชื่อมโยงสูCอุตสาหกรรมแปรรูปมูลคCาสูง ประกอบด(วย 1. สCงเสริมการผลิตสินค(าเกษตรให(ได(มาตรฐานเกษตรปลอดภัย 2. สCงเสริมการนำเทคโนโลยี นวัตกรรมและภูมิปÜญญามาใช(ในกระบวนการผลิต 3. พัฒนาอุตสาหกรรมชีวภาพตลอดหCวงโซCคุณคCาในพื้นที่ภาคเหนือตอนลCาง

ประวัติศาสตรk บริ เ วณพื ้ น ที ่ ภ าคเหนื อ เดิ ม เปJ น ที ่ ต ั ้ ง ของอาณาจั ก รล( า นนา ซึ ่ ง พญามั ง รายทรงสถาปนาขึ้ น ในปj พ.ศ. 1835 จากการยุ บรวมกั นของอาณาจั กรในชC วงยุ คกC อนหน( า คื อ หิ รั ญนครเงิ นยางเชี ยงแสน และหริภุญชัย และสถาปนาเมืองหลวงอยCางเปJนทางการในปj พ.ศ. 1839 ในชื่อนพบุรีศรีนครพิงคSเชียงใหมC

สถานการณkประวัติศาสตรk โบราณคดี การอนุรักษkมรดกวัฒนธรรมในจังหวัดภาคเหนือ ภูมิประเทศภาคเหนือประกอบไปด(วยพื้นที่ราบลุCมตามหุบเขา ภูเขาสูง และมีที่ราบลุCมมีแมCน้ำไหลผCาน มี การตั ้ งถิ ่ นฐานมาตั ้ งสมั ยกC อนประวั ติ ศาสตรS พั ฒนาการทางสั งคมจากหมู C บ( านเติ บโตเปJ นชุ มชนเมื อง หรือสังคมเมือง เปJนไปอยCางช(า ๆ เนื่องจากสภาพภูมิประเทศเปJนปmาและภูเขาสูง จนผลพวงผลมาจาก การขยายเส(นทางการค(าจากดินแดนตอนใต(ขึ้นมา และการเข(ามาของชนกลุCมใหมC ซึ่งได(นำเอาอารยธรรม และวิทยาการตCาง ๆ เข(ามา จึงเปJนแรงผลักดันให(สังคมมีการปรับตัวและเกิดเปJนสังคมเมืองและรัฐขึ้น สำหรับ การตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณภาคเหนือ แรกเริ่มอาศัยอยูCบนพื้นที่สูงหรือบนภูเขา และคCอย ๆ ลงสูCพื้นที่ราบ ในพื ้ นที่ เ พาะปลู กและตั ้ ง เปJ นหมู C บ( านและชุ มชนบนพื ้ นที ่ ราบ นั บถื อผี ธรรมชาติ และขุ นเขา จนตC อมา เมื่อพระพุทธศาสนาเข(ามาพร(อมกับวิทยาการจากภาพนอกในราวพุทธศตวรรษที่ 14 – 15 ทำให(เกิดการสร(าง บ(านแปลงเมือง มีคูน้ำคันดิน ภาษา ผนวกพระพุทธศาสนาเข(ากับความเชื่อพื้นเมืองเข(ากับความเชื่อดั้งเดิม 5-29


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

กCอกำเนิดเปJนวัฒนธรรมแบบใหมC และนำมาสูCการสร(างบ(านแปงเมืองในล(านนาในพุทธศตวรรษที่ 19 เปJนต(นมา ปÜ จ จุ บ ั น วิ ถ ี ช ี ว ิ ต ของผู ( ค นล( า นนายั ง อิ ง อยู C ก ั บ วั ฒ นธรรมดั ้ ง เดิ ม และลั ก ษณะภู ม ิ ป ระเทศ มี เ มื อ งเกC า ที่เปJนเมืองศูนยSกลางหลัก แล(วมีอำเภอ ตำบล หมูCบ(าน และชุนชนชนบทที่อยูCหCางไกลออกไป จากข( า งต( น จะเห็ น ได( ว C า นิ เ วศวั ฒ นธรรมล( า นนานั ้ น แตกตC า งไปจากภาคตC า ง ๆ ของประเทศ อันเนื่องมาจากปÜจจัยธรรมชาติและวัฒนธรรมที่เข(ามาในแตCละชCวงเวลานั้นแตกตCางกัน ทำให(อัตลักษณSของ ล(านนาในปÜจจุบันแตกตCางกันไปด(วย ปÜจจุบันสถานการณSด(านประวัติศาสตรS โบราณคดีในภาคเหนือ พบวCาสำนักงานศิลปากรที่ 7 เชียงใหมC สั งกั ดกรมศิ ลปากร กระทรวงวั ฒนธรรม เปJ นหนC วยงานหลั กในด( านการบริ หารจั ดการมรดกวั ฒนธรรม ที่จับต(องได( โดยเฉพาะหลักฐานที่แสดงความบ(านเมืองล(านนาในอดีตทั้งโบราณสถานและโบราณวัตถุที่อยูCใน ความครอบครองของกรมศิลปากรและอยูCในครอบครองในสCวนนิติบุคคล สำนักงานศิลปากรที่ 7 เชียงใหมC มีเขตพื้นที่รับผิดชอบใน 8 จังหวัด คือ จังหวัดเชียงใหมC จังหวัดเชียงราย จังหวัดลำพูน จังหวัดแมCฮCองสอน จังหวัดนCาน จังหวัดพะเยา จังหวัดแพรC และจังหวัดลำปาง โดยมีสำนักงานตั้งอยูCที่จังหวัดเชียงใหมC ซึ่งสามารถ สรุปสถานการณSในด(านประวัติศาสตรS โบราณคดีในภาคเหนือ ดังนี้

การบริหารจัดการและการอนุรักษkมรดกวัฒนธรรมในเมืองเก@าภาคเหนือ 1. การรุกล้ำกำแพงเมือง คูน้ำคันดิน ในจังหวัดภาคเหนือ สCวนใหญCเปJนเปJนเมืองที่มีกำแพงเมือง คูนำ้ คันดิน ซึ่งเกิดปÜญหาด(านการบุกรุกทั้งที่ตั้งใจและที่ไมCตั้งใจทุกเมืองในภาคเหนือ สังเกตได(วCาผู(ที่บุกรุก คือ กลุCมคนตCางด(าวหรือกลุCมคนที่มีจากตCางถิ่นที่ต(องการที่ทำกิน หรือตั้งบ(านเรือนใกล(กับที่ทำมาหากิน เปJ น หลั ก เชC น กำแพงดิ น เชี ย งใหมC มี ก ลุ C ม ผู ( เ ข( า มาตั ้ ง บ( า นเรื อ นใกล( ก ั บ คั น ดิ น คื อ กลุ C ม คนตC า งด( า ว หรือกลุCมชาติพันธุSตCาง ๆ เพื่อมาพักอาศัยแล(วไปขายของที่ยCานไนทS บาซารS ที่อยูCไมCไกลกันนัก 2. การรื ้ อ ถอนทำลายแหลC ง มรดกวั ฒ นธรรมที ่ ส ำคั ญ ของจั ง หวั ด โบราณสถาน โบราณวั ต ถุ หรื อ แหลC ง มรดกวั ฒ นธรรมที ่ เ ปJ น แหลC ง ศู น ยS ร วมจิ ต ใจของชุ ม ชน สั ง คม ถู ก ทุ บ ทำลายหรื อ รื ้ อ ถอนลง โดยหนCวยงานรัฐ หรือองคSกรเพื่อประโยชนSในการพัฒนาที่ดิน จึงเกิดกระบวนการรวมตัวกันของประชาชน ในจังหวัดและในบางครั้งในประเทศเพื่อเรียงร(องให(มีการรับผิดชอบตCอการการรื้อทำลายดังกลCาว และมองวCา ประชาชนควรมีสCวนรCวมในการตัดสินใจ ยกตัวอยCางเชCน กรณีปรับปรุงพื้นทัณฑสถานกลางเมืองเกCาเชียงใหมC เปJนต(น ซึ่งเปJนพื้นที่ของราชพัสดุ กรมธนารักษS และเปJนพื้นที่ตั้งใจกลางเมืองเชียงใหมC แตCประชาชน กลับมองวCาถึงจะเปJนพื้นที่รัฐ แตCอยูCใจกลางเมือง ประชาชนควรมีสCวนรCวมในการตัดสินใจในการใช(ประโยชนS พื้นที่ของเมืองซึ่งเปJนสาธารณะมากกวCาการเอื้อประโยชนSให(กับหนCวยงานหนCวยงานหนึ่ง 3. การพัฒนาพื้นที่โดยไมCคำนึงถึงผังเมือง สภาพแวดล(อม มรดกวัฒนธรรมที่มีอยูC ไมCวCาจะเปJน การตัดถนนหรือการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคโดยไมCคำนึงถึงผังเมืองเดิม สภาพแวดล(อมมรดกวัฒนธรรม ที ่ มี อยู C เดิ ม อั นสC งผลทำให( ความเปJ นเมื องที ่ มี อั ตลั กษณS ของภาคเหนื อเปลี ่ ยนแปลงไป ซึ ่ งโดยปกติ แล( ว 5-30

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

เมืองในภาคเหนือล(วนดำรงซึ่งคุณคCาความแท(ขององคSประกอบเมืองทีมีพัฒนาการสังคมและวัฒนธรรมมาช(านาน แตCในปÜจจุบันมักมีการรื้อถอน ทำลาย หรือสร(างทับบนผืนเมืองใหมCโดยไมCคำนึงถึงสภาพแวดล(อมดั้งเดิม 4. วิธีการการบริหารจัดการงานมรดกวัฒนธรรมในภาคเหนือในห(าปjนี้ที่ผCานมา ทีเห็นได(ชัดคือ วิธีการ สร( างความมี สC วนรC วม สร( างความรู ( รC วมกั นตC อความเปJ นเจ( าของ และการให( สร( างความเข( าใจตC อชุ มชน และหนCวยงานที่เกี่ยวข(อง เปJนวิธีการที่ใช(ในการบริหารจัดการแหลCงวมรดกวัฒนธรรมภาคเหนือ ซึ่งหากเมื่อ ชุมชน หนCวยงานที่เกี่ยวข(อง ซึ่งเปJนระบบสังคมนั้นมีความเข(าใจรCวมกันแล(ว ทำให(ไมCเกิดการทำแหลCง และสิ่งแวดล(อม หรือนำไปสูCการพัฒนาตCอยอดทุนทางวัฒนธรรมท(องถิ่นนำไปสูCการใช(ประโยชนSในด(านอื่น ตCอไป ปÜจจุบันได(มีหนCวยงานการศึกษา หนCวยงานรัฐใช(วิธีดังกลCาวในการบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรม เชCน กรณีปรับปรุงพื้นทัณฑสถานกลางเมืองเกCาเชียงใหมC เปJนต(น

การบริหารจัดการและการอนุรักษkมรดกวัฒนธรรมในพื้นที่ชุมชนห@างไกลในภาคเหนือ 1. การบริหารจัดการและการอนุรักษSมรดกวัฒนธรรมและเมืองเกCาในพื้นที่ภาคเหนือเปJนงานเชิงรับ มากกวCางานเชิงรุก หนCวยงานรัฐจะมีงบประมาณในการดูแลบริหารจัดแหลCงที่กำหนดในแตCละปjงบประมาณ แตCอยCางไรก็ตามด(วยจำนวนมรดกวัฒนธรรมทั้งโบราณสถาน โบราณวัตถุ มีจำนวนมาก และจำนวนบุคลากร และงบประมาณที่มีอยูCอยCางจำกัดจึงไมCสามารถทำงานในเชิงรุกได( รวมกับลักษณะภูมิประเทศที่หCางไกล การเดินทางใช(เวลามาก ประกอบการบริหารจากสCวนกลางแบบรวมศูนยS ทำให(การปฏิบัติงานลCาช(า เมื่อมี ชุมชนชาวบ(านมาร(องปÜญหา เชCน ปÜญหาการบุกรุกที่ดินโบราณสถาน รุกล้ำที่ดิน ปÜญหาการกำหนดขอบเขต ของโบราณสถาน การรื้อทำลายโบราณสถาน การซCอมแซมตCอเติมโบราณสถาน ฯลฯ หนCวยงานที่เกี่ยวข(อง จึงเข(าไปจัดการในปÜญหาเฉพาะหน(านั้น ๆ ซึ่งอาจจะใช(เวลานานกวCาจะจัดการปÜญหานั้นได( ซึ่งปÜญหาดังกลCาว เปJนปÜญหาเชิงโครงสร(างและระบบที่ทำให(การบริหารจัดการและอนุรักษSแหลCงมรดกวัฒนธรรมในประเทศ เปJนเชCนนี้ทั่วประเทศ 2. ธรรมชาติของการตั้งแหลCงโบราณสถานในภาคเหนือ จะมีทั้งโบราณสถานในเมืองและมีพระธาตุ นอกเมืองในแถบภูเขา เชCน จังหวัดแพรC มีพระธาตุชCอแฮ จังหวัดนCาน มีพระธาตุแชCแห(ง จังหวัดพะเยา มีพระธาตุจอมแจ(ง จังหวัดลำปาง มีพระธาตุลำปางหลวง จังหวัดเชียงใหมC มีพระธาตุดอยสุเทพ เปJนต(น พระธาตุนอกเมืองเหลCานี้ ล(วนเปJนโบราณสถานเกCาแกCที่เปรียบเสมือนหมุดหมายของเมืองนั้น และโดยรอบ ๆ ตามเชิงเขาจะมีพระธาตุที่เปJนหมายบอกทาง บอกอาณาเขต รายรอบถัดไปในหมูCบ(านจะมีพระธาตุประจำ ชุมชนเมือง ถัดไปในปmาเขาจะมีพระธาตุประจำชุมชนที่อยูCถัดไป พระธาตุเหลCานี้นอกจะเปJนสิ่งศักดิ์สิทธิ์คูCเมือง และชุมชนแล(ว ยังเปJนหมุดหมายที่เส(นทางด(วย ตCอมามีการผูกพระธาตุและเรื่องสภาพแวดล(อมเข(ากับตำนาน ทางศาสนาและกลายเปJนตำนานประจำท(องถิ่น ลักษณะดังกลCาวเปJนอัตลักษณSของการตั้งถิ่นฐานที่เชื่อมโยง กับความเชื่อและศาสนาและสิ่งแวดล(อม หากในปÜจจุบันพระธาตุเหลCานี้ในบางแหCงโดยเฉพาะตามเชิงเขา มักจะทิ้งร(างและชำรุดทรุดโทรมลง

5-31


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ชุมชนหรือนอกเมืองนั้น โดยทั่วไปแล(วชุมชนหรือชาวบ(านจะไมCได(บุกรุกที่ดินโบราณสถานโดยตั้งใจ หรือจะไมCตั้งใจทำลายโบราณสถาน โดยเฉพาะในพื้นที่ปmาเขาหรือในแถบภูเขา เนื่องจากชุมชนหรือชาวบ(าน มีความเชื่อเรื่องภูเขา ให(ความเคารพ และมีความเชื่อวCาโบราณสถานนั้นอยูCคูCกับภูเขาเปJนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หากโบราณสถานนั้นถูกทำลายลงไปจะเปJนการผิดผี มีผลทำให(ชุมชนชาวบ(านหรือหมูCบ(านนั้นเกิดเหตุเพทภัยได( ดังนั้นโบราณสถานในแถบภูเขามักคงสภาพเอาไว(ได(เปJนอยCางดี ยกเว(นในกรณีที่มีการบุกรุกโบราณสถาน เพื่อทำสำนักสงฆS ปÜญหาการรุกล้ำเขตโบราณสถาน เกิดปÜญหาจากพระสงฆSเปJนสCวนใหญC เนื่องจากวัดเปJนที่ตั้งของ โบราณสถาน พระสงฆSมักมีการสร(าง ซCอมแซมโดยไมCได(คำนึงถึงความเปJนโบราณสถาน ทำให(โบราณสถานนั้น เสียหายหรือเสื่อมคุณคCาลง นอกจากนั้นปÜญหาชCองวCางทางกฎหมาย โดยเฉพาะการให(วัดร(างใดก็ตาม สามารถตั้งเปJนวัดได( ทำให(พระสงฆSมาจำพรรษามาที่วัดร(าง ตั้งสำนักสงฆS และตCอมาสามารถพัฒนาเปJนวัด ในสังกัดสำนักพุทธศาสนาได(ตามกฎหมาย

วัฒนธรรม 5.1.6 ด(านการบริหารปกครอง การแบ@งเขตการปกครอง จังหวัดในภาคเหนือ กำหนดโดยคณะกรรมการภูมิศาสตรSแหCงชาติเมื่อปj พ.ศ. 2521 และประกาศใช( โดยราชบั ณฑิ ตยสถาน เปJ นการแบC ง ตามลั กษณะทางภู มิ ศาสตรS ประเพณี สั ง คม วั ฒนธรรมและภาษา เปJนการแบCงระบบ 6 ภูมิภาค ประกอบไปด(วย 9 จังหวัด ตามลักษณะภูมิภาคตามธรรมชาติที่ตั้งอยูCในเขตภูเขา นอกจากการแบCงตามราชบัณฑิตยสถานแล(ว ยังมีหนCวยงานที่เคยจัดแบCงภูมิภาคของประเทศไทยขึ้น เพื่อกำหนดแผนบริหารงานด(านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเปJนการแบCงภูมิภาคอยCางไมCเปJนทางการ ได(แกC คณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแหC ง ชาติ โดยกำหนดให( ภ าคเหนื อ มี ท ั ้ ง หมด 17 จั ง หวั ด ประกอบด(วย 9 จังหวัดภาคเหนือข(างต(น กับ 8 จังหวัด ได(แกC จังหวัดตาก พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณS พิจิตร กำแพงเพชร นครสวรรคS และจังหวัดอุทัยธานี จังหวัดทั้ง 9 ของภาคเหนือในการแบCงเชCนนี้อาจเรียกวCา ภาคเหนือตอนบน ซึ่งสCวนใหญCเคยเปJนที่ตั้ง ของอาณาจักรล(านนามากCอน (สำหรับจังหวัดอุตรดิตถSและจังหวัดตากเคยเปJนบางสCวน) และมีภาษาถิ่น เปJนคำเมือง สCวน 8 จังหวัดที่เหลืออาจเรียกวCา ภาคเหนือตอนลCาง ซึ่งมีศูนยSกลางอยูCที่จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดนครสวรรคS อันเปJนศูนยSกลางการคมนาคมที่สำคัญ ปÜจจุบันการแบCงแบบนี้ไมCนิยมใช(อ(างอิง ในเอกสารของทางราชการและบทความทางวิ ช าการอื ่ น ๆ เนื ่ อ งจากราชบั ณ ฑิ ต ยสถานได( ก ำหนดให( จังหวัดเหลCานี้ เปJนจังหวัดในเขตภาคกลาง ยกเว(นจังหวัดตากอยูCในภาคตะวันตก

5-32

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

จังหวัดในภาคเหนือที่แบCงตามราชบัณฑิตยสถานมี 9 จังหวัด ได(แกC 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

เชียงราย (โยนกเชียงแสน) เชียงใหมC (นพบุรีศรีนครพิงคSเชียงใหมC) นCาน (นันทบุรีศรีนครนCาน) พะเยา (ภูกามยาว) แพรC (เวียงโกศัย) แมCฮCองสอน ลำปาง (เขลางคSนคร) ลำพูน (หริภุญชัย) อุตรดิตถS (เมืองพิชัย,เมืองลับแล)

เขตปกครองยCอยของทั้ง 9 จังหวัดในภาคเหนือ ประกอบด(วย เขตอำเภอ และตำบล มีจำนวนดังนี้

5-33


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ตารางที่ 5- 9 จำนวนเขตอำเภอและตำบลใน 9 จังหวัดภาคเหนือ ProvinceID 50 51 52 53 54 55 56 57 58

จังหวัด เชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน รวม

จํานวนอําเภอ

จํานวนตําบล

25 8 13 9 8 15 9 18 7 112

204 51 100 67 78 99 68 124 45 836

จำนวนเขตปกครอง (อำเภอ ตำบล) ในจังหวัดภาคเหนือ 30

25

250

204 200

20

15 100 10

99 67

78

100 68 45

51

5

0

จำนวนตำบล

จำนวนอำเภอ

150 124

25

8

13

เชียงใหม3

ลำพูน

ลำปาง

9

8

อุตรดิตถC แพร3 จำนวนอำเภอ

15

9

18

7

น3าน จำนวนตำบล

พะเยา

เชียงราย

แม3ฮ3องสอน

50

0

ภาพที่ 5- 19 กราฟแสดงจำนวนเขตอำเภอและตำบลใน 9 จังหวัดภาคเหนือ

5-34

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

5.2

ข(อมูลเฉพาะระดับจังหวัด 5.2.1 จังหวัดเชียงใหม@ 5.2.1.1 ด(านภูมิศาสตรk ภูมิประเทศ

พื้นที่โดยทั่วไปของจังหวัดเชียงใหมCมีสภาพพื้นที่เปJนภูเขาและปmาละเมาะ มีที่ราบอยูCตอนกลาง ตามสองฟากฝÜçงแมCน้ำปéงมีภูเขาสูงที่สุดในประเทศไทย คือ "ดอยอินทนนทS" มีความสูงจากระดับน้ำทะเล ปานกลาง ประมาณ 2,565 เมตร นอกจากนี้ยังมีดอยอื่น ๆ ที่มีความสูงรองลงมาอีกหลายแหCง เชCน ดอยผ(าหCมปก (ความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 2,285 เมตร) ดอยหลวงเชียงดาว (ความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 2,170 เมตร) ดอยสุเทพ (ความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 1,601 เมตร) สภาพพื้นที่จังหวัดเชียงใหมCแบCงออกเปJน 2 ลักษณะ คือ พื้นที่ภูเขา คิดเปJนพื้นที่ประมาณ 80% ของพื้นที่จังหวัดเปJนพื้นที่ปmาต(นน้ำลำธารไมCเหมาะตCอการเพาะปลูก และพื้นที่ราบลุCมน้ำและที่ราบเชิงเขา ทอดตัวในแนวเหนือ-ใต( ได(แกC ที่ราบลุCมน้ำสาละวิน ลุCมน้ำกก-โขง และลุCมน้ำปéง เปJนพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณS เหมาะสมตCอการเกษตร

ธรณีวิทยา จังหวัดเชียงใหมCมีสภาพภูมิประเทศสCวนใหญCเปJนภูเขาสูงชันสลับกับที่ราบลุCมแมCน้ำสภาพธรณีวิทยา ประกอบด(วยหินอัคนีชนิดหินแกรนิตและหินภูเขาไฟที่ผุพังงCาย และอยูCในเขตอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต( ในชCวงฤดูฝนมีฝนตกชุกติดตCอกันหลายวันท าให(มีโอกาสเกิดดินถลCมได(สูงและมีรอยเลื่อนมีพลัง 2 แหCง ที่พาดผCานจังหวัด ได(แกC "รอยเลื่อนแมCจัน" ซึ่งตั้งอยูCทางทิศเหนือของจังหวัด และ "รอยเลื่อนแมCทา" พาดผCาน พื้นที่ตอนกลางของจังหวัดในทิศเหนือ-ใต( มีการผลิตแรCธาตุที่สำคัญ 8 ชนิด ได(แกC ถCานหิน เฟลดSสปารS แมงกานีส ดีบุก ดินขาว ฟลูออไรดS และแรCหิน นอกจากนี้จังหวัดเชียงใหมCยังมีแหลCงทรัพยากรธรณีที่สำคัญ เชCน แหลCงปéโตรเลียม อำเภอฝาง นอกจากนี้ยังมีสภาพธรณีวิทยาที่เปJนแหลCงทCองเที่ยวในจังหวัดอีกหลายแหCง เชCน บCอน้ำพุร(อน อำเภอสันกำแพง โปmงเดือด อำเภอแมCแตง และบCอน้ำแรCธรรมชาติ อำเภอแมCริม เปJนต(น

ภูมิอากาศ เชียงใหมCเปJนจังหวัดที่มีสภาพอากาศคCอนข(างเย็นเกือบตลอดทั้งปj มีอุณหภูมิ เฉลี่ยทั้งปj 25.4 องศา เซลเซียส โดยมีคCาอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 20.1 องศาเซลเซียส มีปริมาณ น้ำฝนเฉลี่ย 1,100 - 1,200 มิลลิเมตร สภาพภูมิอากาศจังหวัดเชียงใหมCอยูCภายใต(อิทธิพลมรสุม 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันตก-เฉียงใต(และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือแบCงภูมิอากาศออกเปJน 3 ฤดู ได(แกC 5-35


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ฤดูฝน เริ่มตั้งแตCกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ฤดูหนาว เริ่มตั้งแตCเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนกุมภาพันธS ฤดูร(อน เริ่มตั้งแตCเดือนกุมภาพันธSถึงกลางเดือนพฤษภาคม

5.2.1.2 ด(านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม ลุ@มน้ำ จังหวัดเชียงใหมCมีพื้นที่ซ(อนทับกับเขตลุCมน้ำ คือ มีพื้นที่สCวนใหญCอยูCในลุCมน้ำปéง

แหล@งน้ำ จังหวัดเชียงใหมCมีลุCมน้ำหลักในพื้นที่ทั้งหมด จำนวน 3 ลุCมน้ำ ได(แกC ลุCมน้ำปéงตอนบนลุCมน้ำโขง สCวนที่ 1 และลุCมน้ำสาละวินและยวม โดยลุCมน้ำปéงตอนบนมีพื้นที่รับน้ำฝนมากที่สุดในจังหวัดเชียงใหมC ซึ่งมีเขื่อนภูมิพลเปJนเขตแบCงลุCมน้ำปéงตอนบนและลุCมน้ำปéงตอนลCาง ลำน้ำธรรมชาติสCวนใหญCมีต(นน้ำมาจาก ภูเขาตCาง ๆ แมCน้ำตามธรรมชาติที่สำคัญของจังหวัดเชียงใหมC ได(แกC • แมC น้ ำ ปé ง เปJ น แมC น้ ำ สายหลั ก มี ค วามยาวประมาณ 600 กิ โ ลเมตร มี ต ( น น้ ำ มาจากดอยถ( ว ย ในอำเภอเชี ย งดาว ไหลผC า นอำเภอเชี ย งดาว อำเภอแมC แ ตง อำเภอสั น ทราย อำเภอแมC ริ ม อำเภอเมืองเชียงใหมC (ความจุ 440 ลบ.ม./วินาที) อำเภอสารภี อำเภอหางดง อำเภอสันปmาตอง อำเภอจอมทอง อำเภอฮอด และอำเภอดอยเตC า จั ง หวั ด เชี ย งใหมC ผC า นจั ง หวั ด เชี ย งใหมC จั ง หวั ด ตาก จั ง หวั ด กำแพงเพชร และไหลมารวมกั บ แมC น้ ำ นC า นที ่ ต ำบลปากน้ ำ โพ จั ง หวั ด นครสวรรคS เปJนแมCน้ำเจ(าพระยา • แมCน้ำแตง มีความยาว 135 กิโลเมตร ต(นน้ำมาจากดอยบุกปmาแฝกขุนแมCแตงในเขตอำเภอเวียงแหง ผCานอำเภอแมCแตง ไหลลงสูCแมCน้ำปéงฝÜçงขวา ที่ตำบลสันมหาพน อำเภอแมCแตง จังหวัดเชียงใหมC ความจุของลำน้ำ 300 ลบ.ม./วินาที • แมC น้ ำ แมC ง ั ด มี ค วามยาว 70 กิ โ ลเมตร มี ต ( น น้ ำ มาจากภู เ ขาทางทิ ศ เหนื อ ของอำเภอพร( า ว จังหวัดเชียงใหมC ไหลผCานตำบลเวียง ตำบลน( าแพรC ตำบลแมCแวน ตำบลแมCปÜëง ตำบลโหลCงขอด แล(วไหลลงสูCแมCน้ำปéงฝÜçงซ(าย ที่บ(านชCอแล อำเภอแมCแตง จังหวัดเชียงใหมC • แมCน้ำแมCกวง มีความยาว 105 กิโลเมตร มีต(นน้ำจากดอยผีปÜนน้ำ ไหลผCานอำเภอดอยสะเก็ด อำเภอสันทราย อำเภอสันกำแพง อำเภอเมืองเชียงใหมC และอำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหมC และไหลผCานจังหวัดลำพูน อำเภอบ(านธิ อำเภอเมืองล าพูน ลงสูCแมCน้ำปéงฝÜçงซ(ายที่อำเภอปmาซาง • แมCน้ำแมCริม มีความยาว 49 กิโลเมตร ต(นน้ำเกิดจากปmาแปí อำเภอแมCแตง จังหวัดเชียงใหมC ไหลผCานอำเภอแมCริม ลงสูCแมCน้ำปéงฝÜçงขวาที่ตำบลริมใต(อำเภอแมCริม จังหวัดเชียงใหมC

5-36

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

• แมCน้ำแมCขาน มีความยาว 107 กิโลเมตร ต(นน้ำเกิดจากดอยแมCตะละกับดอยแมCแดด • น(อย อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหมC ไหลผCานอำเภอแมCวาง ลงสูCแมCน้ำปéงฝÜçงขวาที่ตำบลทCาวังพร(าว อำเภอสันปmาตองจังหวัดเชียงใหมC • แมCน้ำกลาง มีความยาว 45 กิโลเมตร ต(นน้ำเกิดจากเทือกเขาดอยอินทนนทSด(านตะวันออก ไหลผCานอำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหมC ลงสูCแมCน้ำปéงฝÜçงขวา • แมC น้ ำ แมC แ จC ม มี ค วามยาว 170 กิ โ ลเมตร ต( น น้ ำ เกิ ด จากภู เ ขาทิ ศ เหนื อ ของชC อ งปางเกี ๊ ย ะ ในอำเภอแมCแจCม ผCานตัวอำเภอแมCแจCม และอำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหมC ไหลลงสูCแมCน้ำปéงฝÜçงขวา ที่บ(านสบแจCมอำเภอฮอดจังหวัดเชียงใหมC • แมC น้ ำ แมC ห าด มี ค วามยาวประมาณ 70 กิ โ ลเมตร ต( น น้ ำ เกิ ด จากเทื อ กเขาในเขตอำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ไหลลงสูCแมCน้ำปéงฝÜçงซ(ายที่อำเภอดอยเตCาจังหวัดเชียงใหมC • แมC น้ ำ แมC ต ื ่ น มี ค วามยาว 150 กิ โ ลเมตร ต( น น้ ำ เกิ ด จากชC อ งเขาระหวC า งอำเภออมกî อ ย จังหวัดเชียงใหมC ไหลผCานอำเภออมกîอย แล(วไหลลงสูCแมCน้ำปéงฝÜçงขวาในเขตจังหวัดตาก • แมCน้ำกก มีความยาว 180 กิโลเมตร ต(นน้ำจากภูเขาทางทิศใต(ของเมืองเชียงตุงประเทศพมCา ไหลผCานเมืองกก เมืองสาตะในพมCา ผCานอำเภอแมCอาย จังหวัดเชียงใหมC ผCานอำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงรายแล(วไหลลงสูCแมCน้ำโขง ที่อำเภอเชียงแสนจังหวัดเชียงราย • แมC น้ ำ ฝาง มี ค วามยาว 70 กิ โ ลเมตร ต( น น้ ำ เกิ ด จากดอยหั ว โท บนถนนสายเชี ย งใหมC - ฝาง เขตอำเภอไชยปราการ ไหลขึ้นทางทิศเหนือ ผCานอำเภอไชยปราการ อำเภอฝาง อำเภอแมCอาย จังหวัดเชียงใหมCแล(วไหลลงสูCแมCน้ำกกฝÜçงขวา ระบบชลประทาน จังหวัดเชียงใหมCมีโครงการพัฒนาแหลCงน้ำจำนวนมากทั้งโครงการขนาดใหญC โครงการขนาดกลาง โครงการขนาดเล็กและโครงการสูบน้ำด(วยไฟฟïา ซึ่งโครงการเหลCานี้อยูCภายใต(ความรับผิดชอบของหนCวยงานตCาง ๆ ได(แกC กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล กรมเจ(าทCา กรมโยธาธิการและผังเมือง และองคSกรปกครองสCวนท(องถิ่น รวมทั้งองคSกรภาคเอกชนโดยสามารถจำแนกได( ดังนี้4 1) โครงการขนาดใหญC ประกอบด(วย 3 โครงการ ได(แกC • โครงการสCงน้ำและบำรุงรักษาแมCแตง ตั้งอยูC ตำบลแมCแตง อำเภอแมCแตง ประเภทฝายระดับน้ำ สูงสุด +394.500 ม.(รกท.) ระดับเก็บกัก +347.000 ม.(รกท.) พื้นที่โครงการ 174,238 ไรC พื้นที่ชลประทาน 148,102 ไรC มีวัตถุประสงคSเพื่อพัฒนาพื้นที่ฝÜçงขวาของลำน้ำแมCปéงภายในเขต จังหวัดเชียงใหมCให(มีการชลประทานเพียงพอแกCการทำนาและปลูกพืชอื่น ๆ ในฤดูแล(ง

4

ที่มา : โครงการชลประทานจังหวัดเชียงใหมC ข(อมูล ณ เดือนกันยายน 2559 5-37


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

• โครงการเขื่อนแมCงัดสมบูรณSชล ตั้งอยูC ตำบลชCอแล อำเภอแมCแตง ประเภทอCางเก็บน้ำความจุ ของอC า ง ที่ ร ะดั บ น้ ำ สู ง สุ ด 325 ล( า นลู ก บาศกS เมตร ระดั บ ต่ำ สุ ด 10 ล( า นลู ก บาศกS เ มตร ระดับน้ำเก็บกักได( 265 ล(านลูกบาศกSเมตร ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปjในพื้นที่รับน้ำฝนเหนืออCาง 1,300 มิลลิเมตรพื้นที่ชลประทาน 30,000 ไรC มีวัตถุประสงคSเพื่อเก็บกักน้ำสำหรับชCวยเหลือ พื้นที่เพาะปลูกฝÜçงซ(ายลุCมน้ำปéง • โครงการสCงน้ำและบำรุงรักษาแมCกวง ตั้งอยูCบริเวณตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด ความจุ ของอCางที่ระดับน้ำสูงสุด 295 ล(านลูกบาศกSเมตร ระดับต่ำสุด 14 ล(านลูกบาศกSเมตร ระดับน้ำ เก็ บกั กได( 263 ล( านลู กบาศกS เ มตร ปริ มาณน้ ำ ฝนเฉลี ่ ยทั ้ งปj ในพื ้ นที ่ รั บน้ำ ฝนเหนื ออC าง 1,200 มิลลิเมตร พื้นที่โครงการ 175,000 ไรC พื้นที่ชลประทาน 156,440 ไรC มีวัตถุประสงคS เพื่อการชลประทาน ปïองกันอุทกภัยการประมง การประปาและอุปโภคบริโภค 2) โครงการขนาดกลาง จำนวน 32 แหCง อาทิ อุทยานแหCงชาติดอยอินทนนทS ฝายแมCสาว ฝายพญาคำ อCางเก็บน้ำห(วยแก(ว อCางเก็บน้ำห(วยหยวก ฝายแมCสาว อCางเก็บน้ำบ(านแมCตะไคร( 3) โครงการชลประทานขนาดเล็ก ในจังหวัดเชียงใหมC มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 311 แหCง พื้นที่ 410,178 ไรC ประกอบด(วย โครงการที่มีระบบจำนวน 80,850 ไรC และโครงการที่ไมCมีระบบ 329,328 ไรC 4) โครงการชลประทานนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ที่อยูCในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงใหมC มีจำนวน รวมทั้งสิ้น 336 แหCง ประกอบด(วย อCางเก็บน้ำ 76 แหCง ฝายทดน้ำ 156 แหCง และอาคารอื่น ๆ 104 แหCง

ปzาไม(และสัตวkปzา จังหวัดเชียงใหมC มีเนื้อที่ประมาณ 13 ,834 ,594 .19 ไรC เปJนพื้นที่ปmา 9,627,355.98 ไรC คิดเปJนร(อยละ 69.59 ของพื้นที่จังหวัด ในอดีตที่ผCานมาเคยมีพื้นที่ปmาไม(ถึงร(อยละ 80 (ปj 2504) และในปj 2562 มีพื้นที่ปmาไม( เหลือเพียงร(อยละ 69.59 (กรมปmาไม( : 2562) คิดเปJนร(อยละ 9.39 ของพื้นที่ปmาไม(ทั้งประเทศ ประเภทปmา ประกอบด(วย ปmาดิบเขา, ปmาดิบแล(ง, ปmาสนเขา, ปmาเบญจพรรณ และปmาเต็งรัง เปJนต(นเมื่อจำแนกประเภทปmา ตามกฎหมายของจังหวัดเชียงใหมCได( ดังนี้ 1) 2) 3) 4) 5)

ปmาสงวนแหCงชาติ อุทยานแหCงชาติ วนอุทยานแหCงชาติ เขตรักษาพันธุSสัตวSปmา เขตห(ามลCาสัตวSปmา

จำนวน 25 ปmา จำนวน 15 แหCง จำนวน 1 แหCง จำนวน 7 แหCง จำนวน 1 แหCง

เนื้อที่ 7,153,223.13 ไรC เนื้อที่ 4,066,177.68 ไรC เนื้อที่ 9,375.00 ไรC เนื้อที่ 1,135,769.37 ไรC เนื้อที่ 10,937.00 ไรC

หมายเหตุ : (1) พื้นที่ปmาสงวนฯ บางปmามีอาณาเขตเกินขอบเขตพื้นที่ของจังหวัดและอุทยานแหCงชาติเขตรักษา พันธุSสัตวSปmาบางแหCง ประกาศทับซ(อนปmาสงวนฯ 5-38

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

(2) เนื้อที่ของอุทยานฯ ได(รวมถึงอุทยานฯเตรียมประกาศ และอุทยานฯที่ดำเนินการสำรวจด(วย (3) อุทยานฯ เตรียมประกาศ และอุทยานฯที่ด าเนินการสำรวจ มีพื้นที่ทับซ(อนปmาสงวนฯ จังหวัดเชียงใหมCมีปmาไม(หลายประเภท ประกอบด(วย ปmาดิบเขา ปmาดิบแล(ง ปmาเบญจพรรณปmาเต็งรัง และปmาเต็งรังผสมปmาสนเขา และปmาแดง เปJนต(น พื้นที่ปmาไม(ประกอบด(วย ปmาธรรมชาติ สวนปmาและปmาฟ}~นฟู ตามธรรมชาติ ในปj 2562 มีพื้นที่ปmาไม(อยูCในจังหวัดเชียงใหมC 9,627,355.98 ไรC คิดเปJนร(อยละ 69.59 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด โดยแนวโน(มลดลงจากอดีต การลดลงของพื้นที่ปmาเกิดได(จากหลายสาเหตุ ทั้งจาก การใช(ประโยชนSที่ดิน การตัดไม(เพื่อการค(า รวมทั้งนโยบายของรัฐที่เน(นการพัฒนาทางด(านเศรษฐกิจและสังคม ได(แกC การให(สัมปทานการทำไม( การกCอสร(างสาธารณูปโภคพื้นฐานตCาง ๆ และการเกิดไฟปmา

มลพิษและของเสีย คุณภาพอากาศ จั ง หวั ด เชี ย งใหมC ม ี ล ั ก ษณะภู ม ิ ป ระเทศเปJ น แอC ง กระทะ เมื ่ อ เกิ ด การสะสมของมลพิ ษ และเกิ ด ความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนแผCลงมาปกคลุม อุณหภูมิและความชื้นทำให(เกิดหมอก ในตอนเช(าเมื่อหยดน้ำในอากาศรวมตัวกับฝุmนละอองในอากาศจึงเกิดหมอกควันขึ้นได(งCาย ทำให(เกิดสภาพฟïา หลัวปกคลุมไปทั่วทั้งเมือง โดยอีกสาเหตุหลักที่ทำให(เกิดหมอกควันไฟปmาเพิ่มขึ้นจากปjกCอนหน(านั้น คือ สาเหตุ จากหมอกควันข(ามแดนทั้งการเผาในที่โลCง ทั้งในพื้นที่เกษตรและพื้นที่ปmาและไมCใชCเพียงภายในประเทศ อยCางเดียว ซึ่งจากภาพถCายจากดาวเทียมก็แสดงให(เห็น วCาจุดความร(อนใน ระดับภูมิภาคที่รวมประเทศ เพื่อนบ(านก็มีจุดความร(อนที่เกิดจากการเผาเชCนกัน ซึ่งทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศจากประเทศเพื่อนบ(าน ที่มายังภาคเหนือของไทย ก็เปJนปÜจจัยเสริมที่ทำให(หมอกควันหนาแนCนขึ้น (อ(างอิงจากหัวหน(าศูนยSวิจัย วิทยาศาสตรSสิ่งแวดล(อมมหาวิทยาลัยเชียงใหมC จากบทความขCาว “ฝุmน:เชียงใหมC วิกฤตหมอกควันภาคเหนือ วาระแหCงชาติที่ยังแก(ไมCได(มา 12 ปj”) อีกทั้งการเผาในที่โลCงบุกรุกทำลายปmาไม(เพื่อประโยชนSของกลุCมบุคคล แตCละกลุCม และเนื่องด(วยวิถีชีวิตการทำการเกษตรของเกษตรกรบางพื้นที่ที่มีการปลูกพืชเชิงเดี่ยว เผาเศษวัสดุ ทางการเกษตรเพื่อเตรียมพื้นที่ในการทำการเกษตรในฤดูกาลตCอไป นอกจากนี้ยังมีการเผาขยะบริเวณ ชานเมืองและในตัวเมือง ทำให(ยากตCอการควบคุมคCามลพิษจากฝุmนละอองขนาดเล็ก ซึ่งจังหวัดเชียงใหมCได( ประสบปÜ ญ หาหมอกควั น นั บ เปJ น เวลา 10 กวC า ปj ตั ้ ง แตC ป j 2549 - 2550 หมอกควั น และฝุ m น ละออง ในพื้นที่ภาคเหนือรุนแรงหนักสูงกวCามาตรฐาน 3 - 6 เทCา ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหมC เชียงราย แพรC ในชCวงเดือน มีนาคม 2550 (อ(างอิงจากขCาวไทยรัฐ “ฝุmนพิษ: ปÜญหาเกCาเก็บ ผลพวงอากาศแปรปรวน”) และปÜญหายังคง เกิดตCอเนื่องเปJนประจำทุกปjในชCวงเดือนกุมภาพันธS-เมษายน มาจนถึงปÜจจุบัน โดยปj 2562 นับวCาเปJนอีกปjหนึ่ง ที่เชียงใหมCได(รับผลกระทบจากเหตุการณSหมอกควันไฟปmาปกคลุมทั่วเมืองและเกิดอยCางรุนแรงและเกิดใน ระยะเวลายาวนานกวCาปjที่ผCานมา สCงผลให(คCาคุณภาพอากาศของเชียงใหมCติดอันดับคCาคุณภาพอากาศแยC อี ก เมื อ งหนึ ่ ง ของประเทศไทย อี ก ทั ้ ง ปj น ี ้ ย ั ง เกิ ด ปรากฏการณS เ อลนี โ ญ ทำให( อ ากาศร( อ นแห( ง แล( ง หนั ก และมาเร็วกวCาปjกCอนหน(า ฝนทิ้งชCวงระยะเวลานาน สCงผลให(พื้นที่ภาคเหนือที่ล(อมรอบด(วยปmาและพื้นที่ภูเขา 5-39


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

หลายจุดมีสภาพอากาศพื้นดินขาดความชุCมชื้น ความแห(งแล(งหนักนั้นยังเปJนต(นเหตุเกิดไฟปmาได(งCาย สามารถ ขยายไฟปmาได(รวดเร็วกระจายเปJนวงกว(างลุกลามเกิดปริมาณเขมCาควันสะสมเพิ่มมากขึ้น และอากาศแห(ง มีผลให(อนุภาคของฝุmนละอองขนาดเล็กมีน้ำหนักเบา ลอยอยูCในอากาศได(เปJนเวลานาน โดยเฉพาะในพื้นที่แอCงราบ ตามหุบเขาในภาคเหนือ สCงผลกระทบตCอการเกิดสภาวะหมอกควันและเกิดฟïาหลัวในตอนกลางวัน

5.2.1.3 ด(านกายภาพ การตั้งถิ่นฐาน และการใช(ที่ดิน จังหวัดเชียงใหมCตั้งอยูCทางทิศเหนือของประเทศไทย เส(นรุ(งที่ 16 องศาเหนือ และเส(นแวงที่ 99 องศา ตะวั นออก สู ง จากระดั บน้ ำทะเลปานกลางประมาณ 1,027 ฟุ ต (310เมตร) หC างจากกรุ งเทพมหานคร 696 กิโลเมตร โดยมีสCวนกว(างที่สุดจากทิศตะวันออกถึงตะวันตก กว(างประมาณ 138 กิโลเมตร และสCวนที่ ยาวที่สุด คือ จากทิศเหนือถึงทิศใต( ยาวประมาณ 320 กิโลเมตร (ยาวมากที่สุดของประเทศ) มีพื้นที่ประมาณ 20,107.057 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 13,865,388.61 ไรC มีขนาดใหญCเปJนอันดับ 1 ของภาคเหนือ และเปJนอันดับ 2 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา จำแนกเปJนพื้นที่ปmาไม( 69.92% (8,787,656 ไรC) พื้นที่ทางการเกษตร 12.82% (1,835,425 ไรC) พื้นที่อยูCอาศัยและอื่น ๆ 17.26% (2,167,971 ไรC) อาณาเขตติดตCอ ทิ ศ เหนื อ ติ ด ตC อ กั บ รั ฐ ฉาน สาธารณรั ฐ แหC ง สหภาพเมี ย นมา (The Republic of the Union of Myanmar) ทิศใต( ติดตCอกับอำเภอสามเงา อำเภอแมCระมาด อำเภอทCาสองยาง จังหวัดตาก ทิศตะวันออก ติดตCอกับอำเภอแมCฟïาหลวง อำเภอเมืองเชียงราย อำเภอแมCสรวย อำเภอเวียงปmาเปïา จั ง หวั ด เชี ย งราย, อำภอเมื อ งปาน อำเภอเมื อ งลำปาง จั ง หวั ด ลำปาง, อำเภอบ( า นธิ อำเภอเมื อ งลำพู น อำเภอปmาซาง อำเภอเวียงหนองลCอง อำเภอบ(านโฮCง อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ทิ ศตะวั นตก ติ ดตC อกลั บอำเภอปาย อำเภอเมื องแมC ฮC องสอน อำเภอขุ นยวม อำเภอแมC ลาน( อย อำเภอแมCสะเรียงอำเภอสบเมย จังหวัดแมCฮCองสอน จังหวัดเชียงใหมCมีชายแดนติดกับสาธารณรัฐแหCงสหภาพเมียนมารS โดยพื้นที่เขตติดตCอ 5 อำเภอ ได(แกC 1. อำเภอแมCอาย ได(แกC ตำบลแมCอาย ตำบลมะลิกา ตำบลแมCสาว และตำบลทCาตอนเมือง ที่ติดตCอ คือ เมืองยอน รัฐฉาน 2. อำเภอฝาง ได(แกC ตำบลมCอนปéçน และตำบลแมCงอน เมืองที่ติดตCอ คือ บ(านโปmง ปmาแขม เมืองตCวน รัฐฉาน 3. อำเภอเชียงดาว ได(แกC ตำบลเมืองนา เมืองที่ติดตCอ คือ บ(านน้ำยุม เมืองตCวนรัฐฉาน 4. อำเภอเวี ย งแหง ได( แ กC ตำบลเปj ย งหลวง ตำบลเมื อ งแหง และตำบลแสนไห เมื อ งที ่ ต ิ ด ตC อ คือ บ(านบางใหมCสูง บ(านปางเสือเฒCา บ(านกองเฮือบิน เมืองตCวน รัฐฉาน 5-40

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

5. อำเภอไชยปราการ ได(แกC ตำบลหนวงบัว เมืองที่ติดตCอ คือ บ(านโปmงปmาแขม เมืองตCวน รัฐฉาน ผังเมืองรวมจังหวัดเชียงใหม@ ผังเมืองรวมจังหวัดเชียงใหมC มีกรอบนโยบายด(านการผังเมือง แนวทางในการพัฒนาการตั้งถิ่นฐาน ในอนาคต การกระจายตัวของการใช(ประโยชนSที่ดินแตCละประเภท ประกอบไปด(วย 5 ประเภทหลัก ได(แกC ชุมชน ชนบทและเกษตรกรรม อนุรักษSสภาพแวดล(อมเพื่อการทCองเที่ยว อนุรักษSปmาไม( ที่โลCงเพื่อการรักษา คุณภาพสิ่งแวดล(อม มีสาระสำคัญดังนี้ (1) สCงเสริมและพัฒนาจังหวัดเชียงใหมCให(เปJนเมืองที่มีเอกลักษณSทางวัฒนธรรมล(านนา และรักษา วิถีชีวิตของชุมชนแตCละท(องถิ่น (2) สCงเสริมและพัฒนาจังหวัดเชียงใหมCให(เปJนศูนยSกลางทางเศรษฐกิจและการคมนาคม เชื่อมโยง กลุCมอนุภูมิภาคลุCมน้ำโขงและเอเชียใต( (3) สCงเสริมและพัฒนาจังหวัดเชียงใหมCให(เปJนศูนยSกลางการทCองเที่ยว โดยสงวนรักษา แหลCงทCองเที่ยว ทางธรรมชาติ วัฒนธรรม ประเพณี และสถาปÜตยกรรม ให(สมบูรณSและยั่งยืน (4) สCงเสริมและพัฒนาจังหวัดเชียงใหมCให(เปJนศูนยSกลางการบริการสุขภาพ อุตสาหกรรม ซอฟตSแวรS และการค(าตCางประเทศ (5) ดำรงรั กษาพื ้ นที ่ ที ่ มี คุ ณคC าทางเกษตรกรรมที ่ มี อยู C อยC างจำกัดและพัฒนาให(เปJนการเกษตร ที่ปราศจากมลพิษ มีความหลากหลาย และมีการบริหารจัดการสมัยใหมC (6) สCงเสริมและพัฒนาหัตถกรรมและอุตสาหกรรมที่ปราศจากมลพิษให(เปJนไปตาม มาตรฐานสากล (7) อนุรักษSและฟ}~นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

5-41


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ภาพที่ 5- 20 ผังเมืองรวมจังหวัดเชียงใหมC

5-42

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดเชียงใหม@ ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดเชียงใหมCที่บังคับใช(ในปÜจจุบัน ประกอบไปด(วย ผังเมืองรวมเมือง เชียงใหมC ผังเมืองรวมชุมชนสันกำแพง และผังเมืองรวมชุมชนเวียงฝาง ผังเมืองรวมเมืองเชียงใหมC มีโครงสร(างแบบหลายศูนยSกลางกระจายตัวเปJนแนวรัศมี ซึ่งศูนยSกลางหลัก บริเวณใจกลางเมืองมีพื้นที่อนุรักษSเพื่อสCงเสริมเอกลักษณSศิลปวัฒนธรรมไทยเปJนศูนยSกลาง ล(อมรอบด(วย พาณิชยกรรมและที่อยูCอาศัยหนาแนCนมาก ที่อยูCอาศัยหนาแนCนปานกลาง และที่อยูCอาศัยหนาแนCนน(อย ชนบท และเกษตรกรรม ตามลำดับ ในขณะที่ศูนยSกลางรอง 6 แหCง มีพาณิชยกรรมและที่อยูCอาศัยหนาแนCนมาก เปJนศูนยSกลาง ผังเมืองรวมชุมชนสันกำแพง และผังเมืองรวมชุมชนเวียงฝาง มีโครงสร(างแบบหลายศูนยSกลาง ซึ่งพาณิชยกรรมและที่อยูCอาศัยหนาแนCนมากเปJนศูนยSกลางหลักบริเวณใจกลางเมืองล(อมรอบด(วย ที่อยูCอาศัย หนาแนCนปานกลาง และที่อยูCอาศัยหนาแนCนน(อย ชนบทและเกษตรกรรม ตามลำดับ ในขณะที่ศูนยSกลางรอง เน(นรองรับที่อยูCอาศัยหนาแนCนน(อยเปJนหลัก

5-43


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ภาพที่ 5- 21 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดเชียงใหมC

5-44

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

5.2.1.4 ด(านเศรษฐกิจ จังหวัดเชียงใหมCผลิตภัณฑSมวลรวมจังหวัดเชียงใหมC ปj พ.ศ. 2561 มีมูลคCา 247,831 ล(านบาท โดยขยายตัวและปรับตัวดีขึ้นตCอเนื่องจาก 162,988-247,831 ล(านบาท ในปj พ.ศ. 2554-2561 ในขณะที่ ผลิตภัณฑSมวลรวมจังหวัดตCอหัว (GPP per capita) มีคCาเฉลี่ยของผลิตภัณฑSจังหวัดตCอหัวเพิ่มขึ้นจาก 93,452137,316 บาทตC อ คนตC อ ปj ใ นปj พ.ศ. 2554-2561 โดยมู ล คC า สู ง สุ ด ของโครงสร( า งผลิ ต ภั ณ ฑS ม วลรวม จังหวัดเชียงใหมCในปj พ.ศ. 2561 ขึ้นอยูCกับภาคนอกเกษตร สาขาการผลิตที่มีบทบาทสำคัญตCอเศรษฐกิจ จั ง หวั ด เชี ย งใหมC ได( แ กC ภาคบริ ก าร อั น ดั บ ที ่ 1 การขายสC ง และการขายปลี ก การซC อ มยานยนตS และจักรยานยนตS(34,134ล(านบาท) อันดับที่ 2 พักแรม และบริการด(านอาหาร (21,875 ล(านบาท) และอันดับ 3 กิจกรรมทำงการเงิน และการประกันภัย (19,411 ล(านบาท) รองลงมาภาคอุตสาหกรรม ในสCวนของสาขา การผลิต (20,291 ล(านบาท)

5.2.1.5 ด(านประชากร สังคม ประวัติศาสตรk และวัฒนธรรม ประชากร จั ง หวั ด เชี ย งใหมC อำเภอเมื อ งเชี ย งใหมC มี ส ั ด สC ว นประชำกรในเขตเมื อ งเปJ น 99.13 โดยอยู C ใ น เทศบาลนครเชียงใหมCสูงสุดร(อยละ 58.15 ของประชากรอำเภอเมือง อำเภอที่มีสัดสCวนประชากรในเขตเมือง สูงมากกวCาร(อยละ 80 ได(แกC อำเภอดอยสะเก็ดมีสัดสCวนประชำกรในเขตเมืองเปJน 97.56, อำเภอจอมทอง มี ส ั ด สC ว นประชากรในเขตเมื อ งเปJ น 91.21, อำเภอหางดงมี ส ั ด สC ว นประชากรในเขตเมื อ งเปJ น 90.70, อำเภอเชียงดาวมีสัดสCวนประชำกรในเขตเมืองเปJน 82.60, อำเภอสันกำแพงมีสัดสCวนประชากรในเขตเมืองเปJน 81.35 สCวนอำเภอที่มีสัดสCวนประชกรในเขตเมืองน(อยกวCา ร(อยละ 20 ได(แกC อำเภออมกîอย (1.68), อำเภอแมCแจCม (13.37), อำเภอแมCอาย(13.45), อำเภอเวียงแหง (14.73), อำเภอแมCวาง (15.50) และ อำเภอดอยเตCา (15.94) สCวนอำเภอที่ไมCมีเทศบาล คือ อำเภอแมCออน และ อำเภอกัลยาณิวัฒนา • ประชากรกลุCมชาติพันธุSในจังหวัดเชียงใหมC สามารถแบCงได(ทั้งหมด 10 กลุCมชาติพันธุS ได(แกC กะเหรี่ยง ม(ง (แม(ว) ลาหูC (มูเซอ) อาขCา (อีก(อ) ลัวะ (ละว(า) เมี่ยน (เย(า) ลีซู (ลีซอ) จีนฮCอ ปะหลCอง (ดาลาอั้ง) และคะถิ่น • ประชากรกลุCมชาติพันธุSจังหวัดเชียงใหมCสCวนใหญCเปJนกลุCมชาติพันธุSกะเหรี่ยง 146,635 คน ร(อยละ 54.47รองลงมา คือ กลุCมชาติพันธุSลาหูC (มูเซอ) 46,390 คน ร(อยละ 17.23 กลุCมชาติพันธุS ม( ง (แม( ว ) 26,964 คน ร( อ ยละ 10.02 กลุ C ม ชาติ พ ั น ธุ S ล ี ซ ู (ลี ซ อ) 20,178 คน ร( อ ยละ 7.50 กลุ C ม ชาติ พ ั น ธุ S อ าขC า (อี ก ( อ ) 10,349 คน ร( อ ยละ 3.84 กลุ C ม ชาติ พ ั น ธุ S จ ี น ฮC อ 10,162 คน ร(อยละ 3.78 กลุCมชาติพันธุSปะหลCอง (ดาลาอั้ง) 4,523 คน ร(อยละ 1.68 กลุCมชาติพันธุSลัวะ (ละว(า) 2,520 คน ร(อยละ 0.94 กลุCมชาติพันธุSเมี่ยน (เย(า) 1,149 คน ร(อยละ 0.43 และกลุCมชาติพันธุS คะฉิ่น 312 คน ร(อยละ 0.12 (ภาพที่ 5- 22) 5-45


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ข้อมูลประชากรกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดเชียงใหม่ (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์) ลัวะ (ละว้า) 0.94%

ปะหล่อง (ดาลาอั้ง) 1.68%

เมี่ยน (เย้า) 0.43%

จีนฮ่อ 3.78%

คะฉิ่น 0.12%

อาข่า (อีก้อ) 3.84% ลีซู (ลีซอ) 7.50% ม้ง (แม้ว) 10.02%

กะเหรี่ยง 54.47%

ลาหู่ (มูเซอ) 17.23%

ภาพที่ 5- 22 ประชากรกลุCมชาติพันธุSจังหวัดเชียงใหมC (แยกรายกลุCมชาติพันธุS)

5-46

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ตารางที่ 5- 10 ข(อมูลประชากรกลุGมชาติพันธุJจังหวัดเชียงใหมG (แยกรายกลุGมชาติพันธุJ) ลำดับ กลุ)มชาติพันธุ2

หมู)บ5าน ครัวเรือน ครอบครัว

ชาย

หญิง

เด็กชาย

เด็กหญิง

รวม

ร5อยละ (1) ร5อยละ (2)

1

กะเหรี่ยง

623

33,689

35,874

54,578

53,927

19,352

18,778

146,635

12.77

54.47

2

ลาหูG (มูเซอ)

172

9,397

10,445

15,409

15,573

7,531

7,877

46,390

4.04

17.23

3

ม(ง (แม(ว)

47

4,023

5,272

8,999

9,464

4,090

4,411

26,964

2.35

10.02

4

ลีซู (ลีซอ)

73

4,175

4,475

7,030

7,151

2,963

3,034

20,178

1.76

7.5

5

อาขGา (อีก(อ)

43

2,109

2,495

3,499

3,728

1,605

1,517

10,349

0.9

3.84

6

จีนฮGอ

4

1,139

1,165

4,008

3,685

1,138

1,331

10,162

0.89

3.78

7

ปะหลGอง (ดาลาอั้ง)

10

796

900

1,287

1,540

790

906

4,523

0.39

1.68

8

ลัวะ (ละว(า)

9

517

446

967

983

307

263

2,520

0.22

0.94

9

เมี่ยน (เย(า)

4

284

284

395

425

172

157

1,149

0.1

0.43

10

คะฉิ่น

1

65

66

99

94

58

61

312

0.03

0.12

986

56,194

61,422

96,271

96,570

38,006

38,335

269,182

รวม

5-47


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ประวัติศาสตร+ เมืองเชียงใหมPมีชื่อที่ปรากฏในตำนานวPา "นพบุรีศรีนครพิงคSเชียงใหมP" เปTนราชธานีของอาณาจักร ลCานนาไทยมาตั้งแตPพระยามังรายไดCทรงสรCางขึ้น เมื่อ พ.ศ. 1839 ซึ่งจะมีอายุครบ 720 ป` ในป` พ.ศ. 2559 และเมืองเชียงใหมPไดCมีวิวัฒนาการสืบเนื่องกันมาในประวัติศาสตรSตลอดมา เชียงใหมPมีฐานะเปTนนครหลวง อิสระปกครองโดยกษัตริยSราชวงศSมังราย ประมาณ 261 ป` (ระหวPาง พ.ศ. 1839 - 2100) ในป` พ.ศ. 2101 เชียงใหมPไดCเสียเอกราชใหCแกPกษัตริยSพมPาชื่อบุเรงนอง และไดCตกอยูPภายใตCการปกครองของพมPานานรPวม สองรCอยป` จนถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระเจCาตากสินมหาราช และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟiาจุฬาโลกมหาราช ไดCทรงชPวยเหลือลCานนาไทยภายใตCการนำของพระยากาวิละและพระยาจPาบCานในการทำสงครามขับไลPพมPา ออกไปจากเชียงใหมPและเมืองเชียงแสนไดCสำเร็จ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟiาจุฬาโลกมหาราชสถาปนา พระยากาวิละเปTนเจCาเมืองเชียงใหมP ในฐานะเมืองประเทศราชของกรุงเทพมหานครและมีเชื้อสายของพระยา กาวิละ ซึ่งเรียกวPาตระกูลเจCาเจ็ดตนปกครองเมืองเชียงใหมP เมืองลำพูนและลำปาง สืบตPอมาจนกระทั่ง ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลCาเจCาอยูPหัวฯ ไดCโปรดใหCปฏิรูปการปกครองหัวเมืองประเทศราช ไดCยกเลิกการมีเมืองประเทศราชในภาคเหนือ จัดตั้งการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล เรียกวPา มณฑลพายัพ และเมื่อป` พ.ศ. 2476 พระบาทสมเด็จพระปกเกลCาเจCาอยูPหัวไดCปรับปรุงการปกครองเปTนแบบจังหวัดเชียงใหมP จึงมีฐานะเปTนจังหวัดจนถึงปmจจุบัน เมืองเก3าเชียงใหม3 เมืองเกPาเชียงใหมPเปTนเมืองเกPาสมัยประวัติศาสตรSเดิมชื่อวPา นพบุรีศรีนครพิงคS การสรCางกำแพง และคูเมืองเชียงใหมPสันนิษฐานวPานPาจะสรCางขึ้นในสมัยของพระเจCามังราย เมื่อป` พ.ศ. 1839 กำแพงเมืองชั้นใน มีลักษณะเปTนรูปสี่เหลี่ยมผืนผCา ประกอบดCวย กำแพงดิน 3 ชั้น และมีประตูเมือง 5 ประตู กำแพงเมืองชั้นนอก หรื อ ที ่ ป m จ จุ บ ั น เรี ย กวP า กำแพงดิ น มี ล ั ษ ณะคP อ นขC า งเปT น รู ป ครึ ่ ง วงกลมเริ ่ ม จากมุ ม กำแพงเมื อ งชั ้ น ใน ดCานทิศตะวันออกเฉียงเหนือ หรือบริเวณแจPงศรีภูมิปmจจุบันโคCงโอบรอบกำแพงเมืองดCานในทางทิศตะวันออก มาจนถึ ง แนวกำแพงเมื อ งทางทิ ศ ใตC จากนั ้ น หั ก มุ ม เปT น เสC น ตรงไปบรรจบกั บ มุ ม ทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใตC ของกำแพงเมืองชั้นใน บริเวณกำแพงดินทางมุมทิศตะวันตกเฉียงใตC พบหลักฐานเปTนอิฐกPออยูPใตCเนินกำแพงดิน สันนิษฐานวPา กำแพงเมืองชั้นนอกบางสPวยกPอดCวยอิฐเชPนกันแตPมีขนาดเล็กกวPา ปmจจุบันสภาพไมPสมบูรณS เหลืออยูPเพียงบางสPวน สPวนกำแพงเมืองชั้นในมีประตูเมือง 5 ประตู กำแพงชั้นนอก (กำแพงดิน) มีประตูเมือง 5 ประตู ภายในกำแพงเมืองและคูเมืองเมืองเกPาเชียงใหมP มีวัดและโบราณสถานที่สำคัญหลายแหPง มีทั้ง ที่ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและไมPไดCขึ้นโบราณสถาน สถาปmตยกรรมของลCานนามีวิวัฒนาการที่เกิดจาก การผสมผสานของชPางศิลปะสกุลตPาง ๆ เชPน ละวCา มอญ (ทวารวดี) เชียงแสน สุโขทัย พมPา รัตนโกสินทรS และศิ ล ปะจากยุ โ รป ซึ ่ ง เกิ ด เปT น รู ป แบบเฉพาะของงานสถาปm ต ยกรรมในแตP ล ะยุ ค สะทC อ นใหC เ ห็ น ถึ ง ประวัติศาสตรS วัฒนธรรม ประเพณีไดCอยPางชัดเจน

5-48

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

แผนที่ท้ายประกาศคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า เรื่อง ประกาศเขตพื้นที่เมืองเก่าเชียงใหม่ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๓

ภาพที่ 5- 23 เขตพื้นที่เมืองเกPาเชียงใหมP อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหมP สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า สถานการณ+ประวัติศาสตร+ โบราณคดี การอนุรักษ+มรดกวั ฒนธรรมในจั งหวัอดมเชียงใหม3 สํานักงานนโยบายและแผนทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้

ปmจจุบันในจังหวัดเชียงใหมPมีโบราณสถานทั้งสิ้น 595 แหPง แบPงเปTนโบราณสถานขึ้นทะเบียนแลCว จำนวน 109 แหPง และยังไมPขึ้นทะเบียนทั้งหมด 416 แหPง และยังมีโบราณสถานที่ยังรอการสำรวจอยูPอีกมาก สถานการณSสำคัญของการอนุรักษSในจังหวัดเชียงใหมPในปmจจุบัน เกิดสำนึกในชุมชนและสังคมในการจัดการ พื้นที่รPวมกันในพื้นที่เมือง โดยมองวPาเรื่องการจัดการพื้นที่วัฒนธรรมและสิ่งแวดลCอมไมPใชPหนCาที่ของหนPวยงานใด หนPวยงานหนึ่ง แตPประชาชนควรมีสPวนรPวมในการแสดงความคิดเห็น เนื่องจากพื้นที่เหลPานี้เปTนพื้นที่สาธารณะ ที่ประชาชนยังดำรงอยูPรPวมกันจึงไมPควรเปTนการพิจารณาเฉพาะหนPวยงานใดหนPวยงานหนึ่งเทPานั้น

5-49


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ดังจะเห็นไดCในกรณีรวมกลุPมเพื่อเรียงรCองใหCเกิดการประชาพิจารณSพิจารณาการใชCพื้นที่ทัณฑสถานกลาง จังหวัดเชียงใหมP ซึ่งเคยเปTนเวียงแกCว วังเจCานายเชียงใหมPมาแตPเดิม จากเดิมที่จะปรับปรุงใหCเปTนขPวง พุทธมณฑลกลางเมือง โดยหนPวยงานรัฐ และในปmจจุบันยังคงดำเนินการอยูPในปmจจุบันผPานการมีสPวนรPวมของ ชุมชน และจะเห็นไดCจากการรPวมกลุPมกันเพื่อขับเคลื่อนเมืองเชียงใหมPสูPการเปTนมรดกโลก ดังนั้นลักษณะของ เมืองเปTนภาพที่ไมPใชPแคPประวัติศาสตรSโบราณคดีแคPอยPางเดียว แตPเปTนการบริหารจัดการพื้นที่เมืองใหCคน ในสังคมปmจจุบันอยูPรวมกับมรดกวัฒนธรรม

5.2.1.6 ดJานการบริหารปกครอง จั ง หวั ด เชี ย งใหมP แ บP ง เขตการปกครองออกเปT น 25 อำเภอ 204 ตำบล และ 2,066 หมู P บ C า น สPวนราชการและหนPวยงานที่ตั้งอยูPในพื้นที่ของจังหวัดเชียงใหมP ประกอบดCวย หนPวยงานบริหารราชการ สPวนกลาง จำนวน 166 แหPง หนPวยงานราชการสPวนภูมิภาค จำนวน 34 แหPง และหนPวยงานบริหารราชการ สPวนทCองถิ่น จำนวน 211 แหPง แบPงเปTน องคSการบริหารสPวนจังหวัด จำนวน 1 แหPง เทศบาลนคร จำนวน 1 แหPง เทศบาลเมือง จำนวน 4 แหPง เทศบาลตำบล จำนวน 116 แหPง และองคSการบริหารสPวนตำบล จำนวน 89 แหPง

5.2.2 จังหวัดลำพูน 5.2.2.1 ดJานภูมิศาสตร+ ภูมิประเทศ จั ง หวั ด ลำพู น มี ล ั ก ษณะภู ม ิ ป ระเทศโดยทั ่ ว ไปเปT น ที ่ ร าบหุ บ เขา และพื ้ น ที ่ ภ ู เ ขา ที ่ ร าบอยู P ท าง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัด ซึ่งเปTนสPวนหนึ่งของที่ราบเชียงใหมP-ลำพูน หรือที่ราบลุPมแมPน้ำปrง กวง ลี้ และแมPทา เปTนที่ตั้งของอำเภอเมืองลำพูน อำเภอปsาซาง และตอนเหนือของอำเภอบCานโฮPง มีความสูงเฉลี่ย 200-400 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง ตัวเมืองลำพูนมีระดับความสูง 290.29 ม. จากระดับน้ำทะเลปานกลาง พื้นที่คPอยลาดสูงขึ้นในตอนกลางทางทิศตะวันออกเฉียงใตCและตะวันตกเฉียงใตC ตั้งแตPอำเภอแมPทาตอนใตCของ อำเภอบCานโฮPง อำเภอทุPงหัวชCางและอำเภอลี้ มีลักษณะภูมิประเทศเปTนที่ราบสูงและภูเขาสูงมีระดับความสูง ระหวPาง 400-800 เมตรขึ้นไป ระดับความสูงจะลดลงเมื่อเขCาเขตที่ราบในอำเภอลี้ที่ระดับความสูงประมาณ 400-800 เมตร แลCวยกตัวสูงขึ้นมาทางทิศใตCซึ่งเปTนเขตชายแดนติดตPอกับจังหวัดลำปางและจังหวัดตาก ที่ระดับความสูง 600-1,000 เมตร

ธรณีวิทยา สภาพทรัพยากรแรPจังหวัดลำพูน มีการทำเหมืองแรPถPานหินลิกไนตSที่อำเภอลี้ ทรัพยากรแหลPงทราย ทั้งทรายบกและทรายน้ำ โดยมีทPาทรายแมPน้ำ 9 แหPงตามแนวแมPน้ำปrง ตั้งแตPอำเภอปsาซางจนถึงอำเภอเวียงหนองลPอง

5-50

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

และอำเภอบCานโฮPง นอกจากนี้ยังมีพื้นที่ศักยภาพแรPตะกั่ว-สังกะสี-ฟลูออไรตS และหินปูเพื่ออุตสาหกรรม กPอสรCาง กรณีพิบัติภัย พื้นที่เสี่ยงดินถลPมในจังหวัดลำพูน สPวนใหญPอยูPทางตอนบนดCานตะวันออกของจังหวัด มีหมูPบCานที่กำหนดใหCเปTนพื้นที่เสี่ยงภัยดินถลPม จำนวน 42 หมูPบCาน ในเขตอำเภอทุPงหัวชCาง บCานโฮPง ปsาซาง แมPทา และอำเภอลี้ แหลPงควรอนุรักษSทางธรณีวิทยา แหลPงน้ำพุรCอน พบแหลPงน้ำพุรCอน จำนวน 2 แหPง คือ แหลPงเหมือง เทพนิมิตร ตำบลทากาศ อำเภอแมPทา และแหลPงหนองหลPม อำเภอเมือง ซึ่งน้ำพุรCอนทั้ง 2 แหลPง มีอุณหภูมิ ที่ผิวดินประมาณ 42 องศาเซลเซียส ในเขตทC องที ่ จั งหวั ดลำพู นมี ชนิ ดแรP ที ่ สำรวจพบในปm จจุ บั น จำนวน 17 ชนิ ด ไดC แกP แรP ถPานหิ น แรPฟลูออไรตS แรPมังกานีส แรPพลวง แรPเฟลดSสปารSแรPดินขาว แรPบอลเคลยS แรPตะกั่ว แรPสังกะสี แรPดีบุก แรPแบไรตS แรPแคลไซตS แรPฟอสเฟต แรPทองคำ หินอPอน หินอุตสาหกรรมชนิดหินปูนเพื่ออุตสาหกรรม กPอสรCาง และหินประดับชนิดหินปูน

ภูมิอากาศ ตามตำแหนPงที่ตั้งอยูPในเขตรCอนที่คPอนไปทาง เขตอากาศอบอุPน ในฤดูหนาวจึงมีอากาศเย็นคPอนขCางหนาว แตPเนื่องจากอยูPลึกเขCาไปในแผPนดินหPางไกลจากทะเล จึงมีฤดูแลCงที่ยาวนานและอากาศจะรCอนถึงรCอนจัด ในฤดูรCอน จะมีฝนตกชุกในชPวงฤดูฝน ในฤดูหนาวและฤดูรCอนจะเปTนชPวงฤดูแลC งที่มีระยะเวลา ติดตPอกัน ประมาณ 6 เดือน ในชPวงฤดูฝนอีก 6 เดือน ทำใหCอากาศจะไมPรCอนเทPากับในฤดูรCอนและไมPหนาวเย็นเทPา ฤดูหนาว คือมีอุณหภูมิปานกลางอยูPระหวPางสองฤดูดังกลPาว ฤดูรCอน อยูPระหวPาง เดือนมีนาคม-เดือนเมษายน ฤดูฝน อยูPระหวPาง เดือนพฤษภาคม-เดือนตุลาคม ฤดูหนาว อยูPระหวPาง เดือนพฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธS

5.2.2.2 ดJานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลJอม ลุ3มน้ำ จังหวัดลำพูนมีพื้นที่ซCอนทับกับเขตลุPมน้ำ คือ มีพื้นที่สPวนใหญPอยูPในลุPมน้ำปrง

5-51


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

แหล3งน้ำ แหลPงน้ำในจังหวัดลำพูนที่สำคัญ ประกอบดCวย ลำน้ำสายหลัก คือ แมPน้ำปrง แมPน้ำกวง แมPน้ำทา แมPน้ำลี้ โดยมีพื้นที่ชุPมน้ำ ไดCแกP อPางเก็บน้ำ แมPน้ำ คู คลอง ลำหCวย สระเก็บน้ำและหนองน้ำธรรมชาติ 155 แหPง พื้นที่ผิวน้ำ 18,853 ไรP สามารถเก็บน้ำไดC 122 ลCาน ลบ.ม. ในจังหวัดลำพูน มีแมPน้ำที่สำคัญ 4 สาย ดังนี้ แมPน้ำปrง เปTนแมPน้ำสายสำคัญที่ไหลอยูPในหุบเขาระหวPางทิวเขาถนนธงชัยกลางกับทิวเขา ผีปmนน้ำ ตะวันตก มีตCนน้ำอยูPที่ดอยถCวย ในเทือกเขาแดนลาวเขตตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหมP จากตCนกำเนิดแมPน้ำปrงไหลลงมาทิศใตCผPานเมืองเชียงใหมPลำพูนและไหลเขCาเขตจังหวัดตากไปบรรจบกับ แมPน้ำวังที่อำเภอบCานตาก จังหวัดตาก แลCวไหลตPอลงไปทางใตCผPานอำเภอเมืองกำแพงเพชร บรรจบกับ แมPนำ้ นPานที่จังหวัดนครสวรรคSรวมเปTนแมPน้ำเจCาพระยาโดยมีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 715 กิโลเมตรระยะทาง ที่แมPน้ำปrงไหลผPานพื้นที่ในเขตจังหวัดเชียงใหมPมีความยาวประมาณ 335 กิโลเมตร และเปTนเสCนกั้นเขตแดน ระหวP า งจั ง หวั ด เชี ย งใหมP แ ละจั ง หวั ด ลำพู น ลงไปทางทิ ศ ใตC เ ปT น ระยะทางยาวประมาณ 70 กิ โ ลเมตร ในจังหวัดลำพูน น้ำที่ไหลลงสูPแมPน้ำปrง โดยเรียงจากเหนือจดใตC คือ น้ำแมPทา น้ำแมPกวง แมPน้ำลี้ หCวยแมPตาล หCวยแมPหาด และน้ำแมPกCอ นอกจากนี้ยังมีลน้ำที่ไมPมีชื่ออีกเปTนจำนวนมากที่ไหลลงสูPแมPน้ำปrงสำหรับพื้นที่รับน้ำ (Catchment Area) ประมาณ 6,355 ตารางกิโลเมตร น้ำแมPกวง มีตCนน้ำอยูPที่ดอยผีปmนน้ำ (หรือดอยนางแกCว) ดอยมด แลCวไหลไปทางทิศตะวันตกเฉียงใตC ลงสูPที่ราบเชียงใหมP-ลำพูน ผPานอำเภอดอยสะเก็ด อำเภอสันทราย และไหลตPอลงไปทางใตCผPานอำเภอเมือง ลำพูน แลCวบรรจบกับแมPน้ำปrงที่บCานสบทาอำเภอปsาซางจังหวัดลำพูน น้ำแมPกวงมีความยาวประมาณ 110 กิโลเมตร น้ำแมPกวงเปTนแมPนำ้ ที่สำคัญอีกสายหนึ่งใน บริเวณที่ราบเชียงใหมP - ลำพูน มีลำน้ำสาขาที่สำคัญ คือ น้ำแมPทาและหCวยแมPสะแงะ น้ำแมPกวงมีพื้นที่รับน้ำ (Catchment Area)ประมาณ 1,740 ตารางกิโลเมตร น้ ำ แมP ท า น้ ำ แมP ท ามี ต C น น้ ำ อยู P ท ี ่ ด อยขุ น ทาในเทื อ กเขาผี ป m น น้ ำ ตะวั น ตก กิ ่ ง อำเภอแมP อ อน จังหวัดเชียงใหมP ไหลผPานที่ราบซึ่งขนาบไปดCวยภูเขา ไปสูPอำเภอแมPทาทางทิศใตC แลCวไหลวกขึ้นไปทางเหนือ ผPานที่ราบเชียงใหมP-ลำพูน ผPานอำเภอปsาซาง แลCวบรรจบกับแมPน้ำกวงที่บCานสบทา เขตตPอระหวPางอำเภอเมือง ลำพู น กั บ อำเภอปs า ซาง นอกจากนี ้ น้ ำ แมP ท ายั ง ไดC ห ลP อ เลี ้ ย งพื ้ น ที ่ ท ำการเกษตรของชุ ม ชนหลายตำบล ในอำเภอแมPออน อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหมP และอำเภอแมPทา จังหวัดลำพูน น้ำแมPทามีความยาว ประมาณ 90 กิโลเมตร แมPน้ำลี้ แมPน้ำลี้ตCนน้ำอยูPที่ดอยสบเทิม อำเภอทุPงหัวชCางจังหวัดลำพูน ไหลลงไปทางใตCจนถึงบริเวณ ใกลC อ ำเภอลี ้ จ ึ ง คP อ ยไหลวกกลั บ ไปทางเหนื อ เปT น รู ป ตั ว ยู ผ P า นอำเภอลี้ อำเภอบC า นโฮP ง แลC ว ไหลตP อ ไป ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ บรรจบกับแมPน้ำปrงที่บCานวังสะแกงกิ่งอำเภอเวียงหนองลPอง จังหวัดลำพูน แมPน้ำลี้ มีความยาวประมาณ 180 กิโลเมตร แมPน้ำลี้มีพื้นที่รับน้ำ (Catchment Area)ประมาณ 315 ตารางกิโลเมตร นอกจากลำน้ำสำคัญที่กลPาวถึงแลCว ยังมีลำธาร ลำหCวย จำนวนมากตามอำเภอตPาง ๆ ไดCแกP

5-52

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

แมPน้ำสาขาที่สำคัญ ไดCแกP 1. น้ำสาน ไหลผPานอำเภอเมืองลำพูน 2. น้ำเย็น ไหลผPานอำเภอบCานโฮPง 3. น้ำแมPธิ ไหลผPานอำเภอบCานธิ 4. น้ำขนาด ไหลผPานอำเภอแมPทา 5. น้ำแวน ไหลผPานอำเภอลี้ 6. น้ำเมย ไหลผPานอำเภอแมPทา 7. น้ำกCอ ไหลผPานอำเภอลี้ 8. น้ำแมPสะปÅวด ไหลผPานอำเภอแมPทา 9. น้ำออบ ไหลผPานอำเภอบCานโฮPง 10. น้ำแมPตุÇด ไหลผPานอำเภอแมPทา

ระบบชลประทาน 1. โครงการชลประทานขนาดใหญP “โครงการเขื่อนแมPกวงอุดมธารา” (ตั้งอยูPในพื้นที่จังหวัดเชียงใหมP แตPมีพื้นที่โครงการบางสPวนอยูPในจังหวัดลำพูน) จำนวน 1 โครงการ พื้นที่ชลประทาน 51,800 ไรP 2. โครงการชลประทานขนาดกลาง จำนวน 9 โครงการ พื้นที่ชลประทาน 10 ไรP ประกอบดCวย 2.1 อP า งเก็ บ น้ ำ ขนาดกลาง จำนวน 4 แหP ง ความจุ ร วม 35.10 ลC า นลู ก บาศกS เ มตร พื ้ น ที่ ชลประทาน 23,700 ไรP 2.2 ฝายทดน้ำขนาดกลาง จำนวน 5 แหPง พื้นที่ชลประทาน 78,200 ไรP 3. โครงการชลประทานขนาดเล็ก จำนวน 54 แหPง พื้นที่ชลประทาน 58,200 ไรP ประกอบดCวย 3.1 โครงการชลประทานขนาดเล็ ก อั น เนื ่ อ งมาจากพระราชดำริ จำนวน 54 แหP ง พื ้ น ที่ ชลประทาน 58,200 ไรP 3.2 โครงการชลประทานขนาดเล็ก (ถPายโอนภารกิจใหC อปท.) จำนวน 92 แหPง พื้นที่ชลประทาน 122,065 ไรP 3.3 โครงการสถานีสูบน้ำดCวยไฟฟiา จำนวน 32 แหPง พื้นที่ชลประทาน 37,375 ไรP

มลพิษและของเสีย ปmญหามลพิษจากหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ ซึ่งมีสภาพพื้นที่เปTนภูเขาสลับกับพื้นที่ราบ ลักษณะ ภูมิประเทศดังกลPาว เปTนปmจจัยที่มีผลตPอการระบายมลพิษ โดยเฉพาะสภาพภูมิอากาศในชPวง ฤดูแลCงจะมี ความกดอากาศสูงจากประเทศจีนปกคลุมพื้นที่ ทำใหCอากาศเคลื่อนตัวชCา เกิดการสะสมมลพิษในอากาศ คือ ฝุsนละออง และเขมPาควัน ที่มีสาเหตุการเผาในพื้นที่ตPาง ๆ ไดCแกP การเผาในพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อเตรียม พื้นที่เพาะปลูก การเผาในพื้นที่ปsา การเผาในที่โลPง เชPน ริมถนน ทางรถไฟ สองฝmÖงคลอง พื้นที่สาธารณะ 5-53


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

และการเผาในพื้นที่รกรCางวPางเปลPา กิจกรรมที่ท าใหCเกิดฝุsนละอองฟุiงกระจาย เชPน มลพิษจากยานพาหนะ โรงงานอุ ต สาหกรรม และการกP อ สรC า ง โดยพบวP า ระดั บ หมอกควั น ในรู ป ของฝุ s น ละอองขนาดเล็ ก กวP า 10 ไมครอน (Particulate Matter Less than 10 Micron: PM10) มีคPาเกินเกณฑSมาตรฐาน เกิดเปTนสภาวะ หมอกควันปกคลุมในพื้นที่ภาคเหนือ ซึ่งมีความสัมพันธSกับจำนวนจุดความรCอน (Hot Spot) หรือจุดที่ความวPา จะมีการเผาไหมCในพื้นที่โลPง การบริหารจัดการเพื่อแกCไขปmญหาวิกฤติหมอกควันของจังหวัดลำพูนที่ผPานมา มีการบริหารจัดการ แบบเดิม ๆ ทุกป` คือ มีการจัดตั้งศูนยSอำนวยการเฉพาะกิจปiองกันและแกCไขปmญหาหมอกควันและไฟปsา ประจำป`งบประมาณ จัดกิจกรรมรณรงคSประชาสัมพันธSผPานสื่อตPาง ๆ การกำหนดมาตรการและแนวทาง มาตรการตPาง ๆ ใหCหนPวยงานที่เกี่ยวขCองเพื่อปiองกันและแกCไขปmญหา ซึ่งไดCรับความรPวมมือจากภาคสPวนตPาง ๆ ตามศักยภาพของหนPวยงาน ทำใหCยังไมPสามารถแกCไขปmญหาดังกลPาวไดCทั้งหมด เนื่องจากความพรCอมองคSกร ปกครองสPวนทCองถิ่น และชุมชนมีความเขCมแข็งที่แตกตPางกัน

5.2.2.3 ดJานกายภาพ การตั้งถิ่นฐาน และการใชJที่ดิน จั ง หวั ด ลำพู น ตั ้ ง อยู P ท างภาคเหนื อ ตอนบนของประเทศไทย อยู P ห P า งจากกรุ ง เทพมหานคร ตามทางหลวงแผP นดิ นหมายเลข 11 (สายเอเชี ย) เปT นระยะทาง 689 กิ โลเมตร ตามทางหลวงแผP นดิ น สายพหลโยธิน เปTนระยะทาง 724 กิโลเมตรและตามทางรถไฟ 729 กิโลเมตร ตั้งอยูPระหวPางเสCนรุCงที่ 18 องศาเหนือ และเสCนแวงที่ 99 องศาตะวันออก อยูPในกลุPมจังหวัดภาคเหนือตอนบนที่เปTนพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนา เปTนศูนยSกลางความเจริญของภาคเหนือและอนุภูมิภาคลุPมน้ำโขงหรือพื้นที่สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ เปTนจังหวัดที่มี ขนาดเล็ ก ที ่ ส ุ ด ของภาคเหนื อ มี พ ื ้ น ที ่ ท ั ้ ง หมดประมาณ 4,505.882 ตารางกิ โ ลเมตร หรื อ ประมาณ 2,816,176.25 ไรP หรื อ คิ ด เปT น รC อ ยละ 4.85 ของพื ้ น ที ่ ภ าคเหนื อ ตอนบนบริ เ วณที ่ ก วC า งที ่ ส ุ ด ประมาณ 43 กิโลเมตรและยาวจากเหนือจดใตC 136 กิโลเมตร อาณาเขตติดตPอ ทิศเหนือ ติดตPอกับอำเภอสารภี อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหมP ทิศใตC ติดตPอกับอำเภอเถิน จังหวัดลำปางและ อำเภอสามเงา จังหวัดตาก ทิศตะวันออก ติดตPอกับอำเภอหCางฉัตร อำเภอสบปราบ อำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง ทิศตะวันตก ติดตPอกับอำเภอฮอด อำเภอจอมทอง อำเภอหางดง อำเภอสันปsาตอง จังหวัดเชียงใหมP ผังเมืองรวมจังหวัดลำพูน ผังเมืองรวมจังหวัดลำพูน มีกรอบนโยบายดCานการผังเมือง แนวทางในการพัฒนาการตั้งถิ่นฐาน ในอนาคต การกระจายตัวของการใชCประโยชนSที่ดินแตPละประเภท ประกอบไปดCวย 5 ประเภทหลัก ไดCแกP

5-54

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ชุมชน ชนบทและเกษตรกรรม อนุรักษSชนบทและเกษตรกรรม ที่โลPงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพ สิ่งแวดลCอม อนุรักษSปsาไมC ที่โลPงเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลCอม มีสาระสำคัญดังนี้ (1) สPงเสริมและพัฒนาการใชCประโยชนSที่ดินในจังหวัดลำพูน เพื่อรองรับการพัฒนาเมือง เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการทPองเที่ยว ใหCสอดคลCองกับศักยภาพการพัฒนาพื้นที่ อยPางเปTนระบบ (2) สPงเสริมการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมในจังหวัดลำพูนใหCเปTนศูนยSกลางอุตสาหกรรม สะอาด ปราศจากมลพิษของภาคเหนือ (3) พัฒนาระบบคมนาคมขนสPงและโครงสรCางพื้นฐาน ใหCมีความเชื่อมโยงกับการพัฒนา พื้นที่ภายใน จังหวัดและจังหวัดใกลCเคียงอยPางมีประสิทธิภาพ (4) พั ฒ นาพื ้ น ที ่ เ กษตรกรรม เพื ่ อ ใหC จ ั ง หวั ด ลำพู น เปT น ศู น ยS ก ลางการผลิ ต และจำหนP า ยสิ น คC า ทางการเกษตรที่มีคุณภาพและปลอดภัยในระดับภูมิภาค (5) อนุ ร ั ก ษS ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดลC อ มใหC อ ุ ด มสมบู ร ณS อ ยP า งยั ่ ง ยื น และเสริ ม สรC า ง แหลPงทPองเที่ยวทางธรรมชาติใหCสวยงามและสมดุล (6) อนุรักษSและพัฒนาศิลปวัฒนธรรม โบราณสถาน สถาปmตยกรรม ประวัติศาสตรS และ โบราณคดี เพื่อดำรงรักษาใหCยั่งยืนและเปTนแหลPงทPองเที่ยวที่สำคัญของจังหวัด

5-55


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ภาพที่ 5- 24 ผังเมืองรวมจังหวัดลำพูน

5-56

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดลำพูน ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดลำพูนที่บังคับใชCในปmจจุบัน ประกอบไปดCวย ผังเมืองรวมเมือง ลำพูน ผังเมืองรวมชุมชนทากาศ และผังเมืองรวมชุมชนบCานโฮPง ผังเมืองรวมเมืองลำพูน มีโครงสรCางแบบ 2 ศูนยSกลาง โดยมีศูนยSกลางหลักขนาดใหญPบริเวณใจกลางเมือง ศูนยSกลางทั้ง 2 แหPงมีลำดับการใชCประโยชนSที่ดินแบบเดียวกัน คือ โดยมีศูนยSกลางหลักขนาดใหญPบริเวณ ใจกลางเมือง มีพาณิชยกรรมและที่อยูPอาศัยหนาแนPนมากเปTนศูนยSกลาง ลCอมรอบดCวยที่อยูPอาศัยหนาแนPน ปานกลาง และที่อยูPอาศัยหนาแนPนนCอย ชนบทและเกษตรกรรม ตามลำดับ และมีการศูนยSกลางอุตสาหกรรม และคลังสินคCาขนาดใหญPกระจายตัวตามพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ผังเมืองรวมชุมชนทากาศ และผังเมืองรวมชุมชนบCานโฮPง มีโครงสรCางแบบหลายศูนยSกลาง เนCนรองรับ ที ่ อ ยู P อ าศั ย หนาแนP น ปานกลาง และที ่ อ ยู P อ าศั ย หนาแนP น นC อ ยเปT น หลั ก ลC อ มรอบดC ว ยพื ้ น ที ่ ช นบทและ เกษตรกรรม

5-57


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ภาพที่ 5- 25 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดลำพูน

5-58

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

5.2.2.4 ดJานเศรษฐกิจ จังหวัดลำพูน ผลิตภัณฑSมวลรวมจังหวัดลำพูน ป` พ.ศ. 2561 มีมูลคPา 84,395 ลCานบาท โดยขยายตัว และปรับตัวดีขึ้นตPอเนื่องจาก 72,832 -84,395 ลCานบาท ในป` พ.ศ. 2554-2561 ในขณะที่ผลิตภัณฑSมวลรวม จังหวัด ตPอหัว (GPP per capita) มีคPาเฉลี่ยของผลิตภัณฑSจังหวัดตPอหัวเพิ่มขึ้นจาก 177,343-211,489 บาท ตP อ คนตP อ ป` ใ นป` พ.ศ. 2554-2561 โดยมู ล คP า สู ง สุ ด ของโครงสรC า งผลิ ต ภั ณ ฑS ม วลรวมจั ง หวั ด ลำพู น ในป` พ.ศ. 2561 ขึ้นอยูPกับภาคนอก เกษตร สาขาการผลิตที่มีบทบาทสำคัญตPอเศรษฐกิจจังหวัดลำพูน ไดCแกP ภาคอุตสาหกรรม อันดับที่ 1 ในสPวนของ สาขาการผลิต (3,152 ลCานบาท) เปTนหลัก อันดับที่ 2 ไฟฟiา กÇาซ ไอน้ ำ และระบบการปรั บ อากาศ (1,280 ลC า นบาท) และอั น ดั บ 3 การจั ด การน้ ำ กำรจั ด กำรน้ ำ เสี ย และของเสี ย รวมถึ ง กิ จกรรมที ่ เ กี ่ ยวขC อ ง (729ลC านบาท) รองลงมาภาค บริ การ อั นดั บที ่ 1 การขายสP ง และการขายปลีก การซPอมยานยนตS และจักรยานยนตS (10,952 ลCานบาท) อันดับที่ 2 กิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัย (2,870 ลCานบาท) และอันดับที่3 การศึกษา (2,496 ลCานบาท)

5.2.2.5 ดJานประชากร สังคม ประวัติศาสตร+ และวัฒนธรรม ประชากร จังหวัดลำพูน อำเภอเวียงหนองลPอง มีสัดสPวนประชากรในเขตเมืองรCอยละ 100 เนื่องจากเปTนเทศบาล ทั้งหมดไมPมีองคSการบริหารสPวนตำบล สPวนอำเภอเมืองลำพูนมีสัดสPวนประชากรในเขตเมืองเปTน 98.33 สPวนอำเภอที่มีสัดสPวนประชากรในเขตเมืองสูงมากกวPารCอยละ 80 ไดCแกP อำเภอแมPทำ (91.56) อำเภอที่มี สัดสPวนประชากรในเขตเมืองนCอยกวPารCอยละ 20 ไดCแกP อำเภอทุPงหัวชCาง (13.00) สPวนอำเภอลี้ อำเภอบCานธิ อำเภอปsาซาง และอำเภอบCานโฮPง มีสัดสPวนประชากรในเขตเมือง 56.77, 53.77, 47.08 และ 34.41 ตามลำดับ • ประชากรกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดลำพูน มีเพียงกลุ่มเดียว คือ กลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง 36,078 คน ร้อยละ 100

5-59


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ข้อมูลประชากรกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดลำพูน (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์)

กะเหรี่ยง 100% ภาพที่ 5- 26 ประชากรกลุPมชาติพันธุSจังหวัดลำพูน (แยกรายกลุPมชาติพันธุS)

5-60

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ตารางที่ 5- 11 ข(อมูลประชากรกลุEมชาติพันธุHจังหวัดลำพูน (แยกรายกลุEมชาติพันธุH) ลำดับ 1

กลุ่มชาติพันธุ์

หมู่บ้าน

กะเหรี่ยง รวม

60 60

ครัวเรือน 9,634 9,634

ครอบครัว 11,040 11,040

ชาย

หญิง

14,555

13,667

14,555

13,667

เด็กชาย 3,996 3,996

เด็กหญิง

รวม

3,860 36,078 3,860

ร้อยละ (1)

ร้อยละ (2)

3.14

100

36,078

5-61


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ประวัติศาสตร+ จังหวัดลำพูน เดิมชื่อเมืองหริภุญชัย เปQนเมืองโบราณ มีอายุประมาณ 1,346 ปW ตามพงศาวดารโยนก เลXาสืบตXอกันถึงการสรCางเมืองหริภุญชัย โดย[ษีวาสุเทพเปQนผูCเกณฑ^พวกเม็งคบุตรหรือชนเชื้อชาติมอญ มาสรCางเมืองนี้ขึ้น ในพื้นที่ระหวXางแมXน้ำสองสาย คือ แมXน้ำกวง และแมXน้ำป`ง เมื่อมาสรCางเสร็จไดCสXงทูต ไปเชิญราชธิดากษัตริย^เมืองละโวCพระนาม “จามเทวี” มาเปQนปฐมกษัตริย^ปกครองเมืองหริภุญชัย สืบราชวงศ^ กษัตริย^ตXอมาหลายพระองค^ จนกระทั่งถึงสมัยพระยายีบาจึงไดCเสียการปกครองใหCแกXพXอขุนเม็งรายมหาราช ผูCรวบรวมแวXนแควCนทางเหนือเขCาเปQนอาณาจักรลCานนา เมืองลำพูนถึงแมCวXาจะตกอยูXภายใตCการปกครองของ อาณาจักรลCานนา แตXก็ไดCเปQนผูCถXายทอดมรดกทางศิลปะและวัฒนธรรมใหCแกXผูCที่เขCามาปกครอง ดังปรากฏ หลั ก ฐานทั ่ ว ไปในเวี ย งกุ ม กาม เชี ย งใหมX และเชี ย งราย เมื อ งลำพู น จึ ง ยั ง คงความสำคั ญ ในทางศิ ล ปะ และวัฒนธรรมของอาณาจักรลCานนา จนกระทั่งสมัยสมเด็จพระเจCาตากสินมหาราช เมืองลำพูนจึงไดCเขCามา อยูXในราชอาณาจักรไทย มีผูCครองนครสืบตXอกันมาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร^ ตXอมาภายหลังการเปลี่ยนแปลง การปกครอง พ.ศ. 2475 เมื่อเจCาผูCครองนครองค^สุดทCาย คือ พลตรีเจCาจักรคำ ขจรศักดิ์ ถึงแกXพิราลัย เมืองลำพูนจึงเปลี่ยนเปQนจังหวัดมีผูCวXาราชการจังหวัดเปQนผูCปกครองสืบมาจนกระทั่งถึงปiจจุบัน เมืองเก3าลำพูน เมื อ งลำพู น ตั ้ ง อยู X ใ นบริ เ วณแอX ง ที ่ ร าบเชี ย งใหมX - ลำพู น พบรX อ งรอยของแหลX ง โบราณคดี และการอยูXอาศัยของชุมชนโบราณสมัยกXอนประวัติศาสตร^ คือ แหลXงโบราณคดีบCานวังไฮ จนถึงยุคตCน ประวัติศาสตร^ชXวงสมัยหริภุญชัย จนถึงปiจจุบัน มีการตั้งถิ่นฐานทับซCอนกันมาทุกยุคทุกสมัย รXองรอยหลักฐาน ที่หลงเหลือแสดงถึงความเปQนเมืองเกXามีเพียงบิเวณเวียงหริภุญชัย ดั้งเดิมและบริเวณโดยรอบ เมืองเกXาลำพูน เปQนเมืองที่มีคูน้ำคันดินลCอมรอบ กำแพงเมืองเดิมเปQนเพียงคันดินที่เกิดจากการขุดคูเมืองแลCวนำดินมาถมเปQน แนว พบรXองรอยประตูเมือง 6 แหXง ปiจจุบันกำแพงเมืองและประตูเมืองถูกรื้อถอนไปเกือบทั้งหมด เหลือเพียง รXองรอยของประตูมหาวันที่เห็นเฉพาะสXวนฐานของประตูดCานเหนือ สXวนประตูดCานใตCเหลือเพียงกองอิฐ บางสXวน ศิลปะและสถาปiตยกรรมในเขตเมืองเกXาลำพูนมีความโดดเดXนและมีเอกลักษณ^เฉพาะสกุลชXางหริภุญชัย ศาสนสถานที่มีอยูXในบริเวณเมืองเกXาลำพูนและพื้นที่โดยรอบมีทั้งที่ขึ้นทะเบียน เปQนโบราณสถานและยังไมXไดC ขึ้นทะเบียน สXวนใหญXเปQนวัดและอาคารที่เกี่ยวขCองกับพระพุทธศาสนา

5-62

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

แผนที่ท้ายประกาศคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า เรื่อง ประกาศเขตพื้นที่เมืองเก่าลําพูน อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน พ.ศ. ๒๕๕๔

ภาพที่ 5- 27 เขตพื้นที่เมืองเกXาลำพูน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน

สถานการณ+ประวัติศาสตร+ โบราณคดี การอนุรักษ+มรดกวัฒนธรรมในจังหวัดลำพูน สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า

ปiจจุบันในจังหวัดลำพูนมีโบราณสถานทั ้งสิ้น 219 แหXง แบX งเปQนโบราณสถานขึ สํานักงานนโยบายและแผนทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้​้ นอทะเบี ม ย นแลC ว จำนวน 18 แหXง และยังไมXขึ้นทะเบียนทั้งหมด 201 แหXง จังหวัดลำพูนเปQนที่ตั้งของเมืองเกXาแกXชื่อเมืองหริภุญชัย เปQนเมืองที่นำมาดCวยวิทยาการ ภาษา ศาสนา จากดินแดนภายนอกทางภาคกลางมาสูXภาคเหนือ และเมื่อพญามังรายไดCมาบุกยึดเมืองหริภุญชัย นับตั้งแตXนั้น วิทยาการ ความเชื่อ ภาษา ก็ถูกนำไปใชCเปQนตCนแบบในการพัฒนาเมืองตXาง ๆ ในอาณาจักรลCานนาตXอไป ปiจจุบันยังปรากฏเมืองโบราณที่มีคูน้ำคันดินลCอมรอบ มีเรือกสวนไรXนาบางแหXงที่จูX ๆ ก็ขุดพบโบราณวัตถุ หรือซากเจดีย^จากใตCผืนดิน ดังนั้นประชาชนลำพูนจึงคXอนขCางคุCนเคยกับความเกXาแกXของบCานเมืองลำพูน ผXานทางโบราณวัตถุสถาน

5-63


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

จังหวัดลำพูนมุXงเนCนการอนุรักษ^พัฒนาวัฒนธรรมจากทCองถิ่นและคนในทCองที่เปQนสำคัญ ตัวอยXางเชXน โครงการอบรมอนุรักษ^คัมภีร^ใบลานลCานนา วัดบCานโฮXงหลวง เพื่อใหCความรูCในการสืบทอด อนุรักษ^คัมภีร^ใบลาน และสรC างการมี สX วนรX วมของชุ มชนในการดู แลมรดกทางวั ฒนธรรม โครงการประกวดภาพถX ายสX งเสริ ม เทศกาลโคม 100,000 ดวงที่เมืองลำพูน เพื่อประชาสัมพันธ^และสXงเสริมเผยแพรXคุณคXาประเพณีวัฒนธรรม ตลอดจนสXงเสริมการแตXงกายดCวย ผCาพื้นเมืองลำพูน เพื่อใหCเกิดรายไดCการทXองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม นอกจากนั ้ น ยั ง มี ส ถานที ่ เ รี ย นรู C ท างวั ฒ นธรรมหลายแหX ง นอกจากจะมี ก ารจั ด ตั ้ ง พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ^ ตามโรงเรียนและตามวัดวาอารามแลCว สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำพูนยังไดCจัดตั้งหอศิลปqสลXาเลXาเรื่องขึ้น เพื่อเปQน แหลXงรวบรวม ภูมิปiญญาและฝsกอบรมสืบทอดภูมิปiญญาสลXา หรือชXางฝWมือสาขาตXาง ๆ ของจังหวัดลำพูน รวบรวมขCอมูลประวัติของเจCาผูCครองนครในจังหวัดลำพูน และผูCที่เปQนตCนแบบของงาน ศิลปะ งานวรรณกรรม ประวัติศาสตร^ วัฒนธรรม งานวิชาการทาง พระพุทธศาสนา และงานเอกลักษณ^ของลำพูน และลCานนา

5.2.2.6 ดKานการบริหารปกครอง จังหวัดลำพูนแบXงเขตการปกครองออกเปQน 8 อำเภอ 51 ตำบล และ 577 หมูXบCาน ประกอบดCวย องค^กรปกครองสXวนทCองถิ่น 58 แหXง ประกอบดCวย 1 องค^การบริหารสXวนจังหวัด 1 เทศบาลเมือง 39 เทศบาล ตำบล และ 18 องค^การบริหารสXวนตำบล

5.2.3 จังหวัดลำปาง 5.2.3.1 ดKานภูมิศาสตร+ ภูมิประเทศ จังหวัดลำปาง อยูXสูงจากระดับน้ำทะเล 268.80 เมตร พื้นที่มีลักษณะเปQนรูปยาวรี ภูมิประเทศ โดยทั่วไปเปQนที่ราบสูง มีภูเขาสูงอยูXทั่วไปทอดตัวยาวตามแนวทิศเหนือไปทางทิศใตCของจังหวัด และในบริเวณ ตอนกลางของจังหวัดบางสXวนมีที่ราบลุXมริมฝitงแมXน้ำและตามลักษณะทางกายภาพทางดCานธรณีสัณฐานวิทยา จังหวัดลำปางมีพื้นที่เปQนที่ราบลCอมรอบดCวยภูเขา มีลักษณะเปQนแอXงแผXนดินที่ยาวและกวCางที่สุดในภาคเหนือ เรียกวXา “อXางลำปาง” ลักษณะภูมิประเทศแบXงออกเปQน 3 ลักษณะ คือ บริเวณตอนบนของจังหวัด เปQนที่ราบสูง ภู เ ขา และเปQ น ปu า คX อ นขC า งทึ บ อุ ด มสมบู ร ณ^ ด C ว ยไมC ม ี ค X า ไดC แ กX พื ้ น ที ่ อ ำเภอเมื อ งปาน แจC หX ม วั ง เหนื อ และงาว บริเวณตอนกลางของจังหวัด เปQนที่ราบและที่ราบลุXมริมฝitงแมXน้ำซึ่งเปQนแหลXงเกษตรกรรมที่สำคัญ ของจังหวัด ไดCแกX พื้นที่ อำเภอหCางฉัตร เมืองลำปาง เกาะคา แมXทะ และสบปราบ บริเวณตอนใตCของจังหวัด เปQนปuาไมCรัง บางสXวนเปQนทุXงญหญCา ไดCแกX พื้นที่อำเภอเถิน แมXพริก บางสXวนของอำเภอเสริมงาม และแมXทะ

5-64

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ธรณีวิทยา มีการประทานบัตร จำนวน 127 แปลง มีผูCถือประทานบัตร 36 เหมือง โดยจำแนกตามชนิดแรXดังนี้ (1)

ถXานหิน จำนวน 65 แปลง

(2)

หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนต^ จำนวน 16 แปลง

(3)

ดินขาว จำนวน 13 แปลง

(4)

หินดินดานและหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนต^ จำนวน 6 แปลง

(5)

หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกXอสรCาง จำนวน 5 แปลง

(6)

บอลเคลย^ จำนวน 4 แปลง

(7)

บอลเคลย^ + ถXานหิน จำนวน 4 แปลง

(8)

หินดินดานเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนต^ จำนวน 3 แปลง

(9)

หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมเคมี จำนวน 3 แปลง

(10)

ดินขาว + หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนต^ จำนวน 2 แปลง

(11)

ดินอุตสาหกรรมชนิดดินซีเมนต^ จำนวน 2 แปลง

(12)

พลวง จำนวน 1 แปลง

ภูมิอากาศ จากลักษณะพื้นที่ของจังหวัดที่เปQนแอXงคลCายกCนกระทะ จึงทำใหCอากาศรCอนอบอCาวเกือบตลอดปW ฤดูรCอนอากาศรCอนจัด และหนาวจัดในฤดูหนาว ฤดูรCอน อยูXระหวXาง เดือนมีนาคม-เดือนพฤษภาคม ฤดูฝน อยูXระหวXาง เดือนพฤษภาคม-เดือนตุลาคม ฤดูหนาว อยูXระหวXาง เดือนพฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธ^

5.2.3.2 ดKานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลKอม ลุ3มน้ำ จังหวัดลำปางมีพื้นที่ซCอนทับกับเขตลุXมน้ำ คือ มีพื้นที่สXวนใหญXอยูXในลุXมน้ำวัง ลำปางประกอบดCวย ลุXมน้ำวังและลุXมน้ำงาว มีการแบXงพื้นที่ลุXมน้ำวังออกเปQน 7 ลุXมน้ำสาขา ดังนี้

5-65


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ลุXมน้ำแมXน้ำวังตอนบน มีพื้นที่ประมาณ 1,639.55 ตารางกิโลเมตร มีแหลXงตCนกำเนิดมาจากเทือกเขา ผีปiนน้ำบริเวณดอยหลวง บCานปuาหุXง อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ที่อยูXทางทิศเหนือของอำเภอวังเหนือ บริเวณ ตำบลวังแกCว เขตติดตXออำเภอวังเหนือกับอำเภอเวียงปuาเปzา จังหวัดเชียงราย ครอบคลุมพื้นที่อำเภอวังเหนือ และอำเภอแจCหXม จังหวัดลำปาง รวมตำบลที่อยูXในพื้นที่ลุXมน้ำสาขาทั้งหมด 11 ตำบล มีลุXมน้ำยXอยที่สำคัญ คือ ลุXมน้ำแมXเย็นและลุXมน้ำแมXมา ลุXมน้ำแมXสอย มีพื้นที่ประมาณ 732.97 ตารางกิโลเมตร มีแหลXงกำเนิดมาจากเทือกเขาทางดCาน ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ แนวเขตแดนจังหวัดลำปางกับเชียงใหมX ลุXมน้ำแมXสอยอยูXในเขตพื้นที่ในอำเภอแจCหXม และอำเภอเมืองปาน รวมตำบลที่อยูXในพื้นที่ 5 ตำบล มีลุXมน้ำยXอยที่สำคัญ คือ ลุXมน้ำแมXปานและลุXมน้ำแมXมอน ลุXมน้ำแมXตุ{ย มีพื้นที่ประมาณ 809.38 ตารางกิโลเมตร มีแหลXงตCนกำเนิดมาจากเทือกเขาในเขต อำเภอเมืองปาน ไหลจากทิศเหนือลงมาทางทิศใตCเขCาเขตอำเภอเมืองลำปางกXอนไปบรรจบกับแมXน้ำวัง ที่อำเภอเมืองลำปาง พื้นที่ลุXมน้ำอยูXในอำเภอเมืองปานและอำเภอเมืองลำปาง รวมตำบลที่อยูXในพื้นที่ 4 ตำบล ลุXมน้ำแมXน้ำวังตอนกลาง มีพื้นที่ประมาณ 2,077.07 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่อำเภอหCางฉัตร อำเภอเมืองลำปาง อำเภอเกาะคา และอำเภอแจCหXม มีลุXมน้ำยXอยที่สำคัญ คือ ลุXมน้ำแมXยาว น้ำแมXไพร น้ำแมXตาล และน้ำแมXเกี๋ยง รวมตำบลที่อยูXในพื้นที่ 33 ตำบล ลุXมน้ำแมXจาง มีพื้นที่ประมาณ 1,626.86 ตารางกิโลเมตร เปQนลุXมน้ำสาขาขนาดกลางที่สำคัญ ลุXมน้ำหนึ่งของลุXมน้ำวัง มีตCนกำเนิดมาจากดอยหลวงกับดอยผาแดง ซึ่งเปQนแนวสันปiนน้ำกับลุXมน้ำงาว ครอบคลุมพื้นที่อำเภอแมXทะกับอำเภอแมXเมาะทั้งหมด มีทิศทางการไหลจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใตC ไปบรรจบกับแมXน้ำวังที่บCานสบจาง ในเขตอำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง มีลุXมน้ำยXอย ที่สำคัญ คือ ลำน้ำแมXเมาะ ลำน้ำแมXทะ และลำน้ำแมXวะ รวมตำบลที่อยูXในพื้นที่ 15 ตำบล ลุXมน้ำแมXต๋ำ มีพื้นที่ประมาณ 755.75 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่อำเภอเสริมงาม มีแหลXง ตCนกำเนิดมาจากเทือกเขาเขตอำเภอเสริมงาม จังหวัดลำปาง กับอำเภอแมXทา จังหวัดลำพูน ไหลไปบรรจบ แมXน้ำวังในเขตอำเภอสบปราบ มีลุXมน้ำยXอยที่สำคัญ คือลุXมน้ำแมXเลียงและน้ำแมXเสริม รวมตำบลที่อยูXในพื้นที่ 4 ตำบล ลุXมน้ำแมXน้ำวังตอนลXาง มีพื้นที่ 3,151.581 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่อำเภอเกาะคา อำเภอแมXทะ อำเภอสบปราบ อำเภอเถิน อำเภอแมXพริก และพื้นที่ในเขตอำเภอบCานตาก อำเภอสามเงา จังหวัดตาก มีลุXมน้ำสาขาที่สำคัญ คือ หCวยแมXพริกและหCวยแมXสลิด รวมตำบลที่อยูXในพื้นที่ 22 ตำบล

แหล3งน้ำ มีแมXน้ำสำคัญคือ แมXน้ำวังที่มีตCนน้ำอยูXที่ตอนเหนือบริเวณอำเภอวังเหนือ ที่ไหลลงจากเหนือสูXใตC พื้นที่ราบที่กวCางใหญXที่สุดอยูXบริเวณตอนกลาง คือบริเวณอำเภอเมืองลำปาง อำเภอเกาะคา และอำเภอหCางฉัตร

5-66

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

แหลX ง น้ ำ ชลประทานเพื ่ อ การอุ ป โภคบริ โ ภคและใชC ใ นการเกษตรกรรมภายในจั ง หวั ด ลำปาง ประกอบดCวยสระเก็บน้ำ 94 แหXง ฝายน้ำลCน 144 แหXง อXางเก็บน้ำ 135 แหXง ขุดลอกแหลXงน้ำ 206 แหXง ศูนย^บริการเกษตรกรเคลื่อนที่ 117 แหXง สระเก็บน้ำในไรXนา 1,648 แหXง มีพื้นที่การเกษตรที่ไดCรับประโยชน^ จากโครงการชลประทานประเภทตXาง ๆ ที่ดำเนินงานโดยกรมชลประทาน 858,497 ไรX และพื้นที่ชลประทาน ของหนXวยงานอื่น ๆ ประมาณ 114,900 ไรX

ปUาไมKและสัตว+ปUา จังหวัดลำปางมีเนื้อที่ปuาไมC แยกเปQน 1. ปuาสงวนแหXงชาติ จำนวน 33 ปuา เนื้อที่ 5,302,474.00 ไรX 2. อุทยานแหXงชาติ จำนวน 7 แหXง เนื้อที่ 3,034,198 ไรX (เนื้อที่ในจังหวัดลำปาง 1,986,138 ไรX) 3. เขตรักษาพันธุ^สัตว^ปuาดอยผาเมือง จำนวน 1 แหXง เนื ้ อ ที ่ 364,449 ไรX (เนื ้ อ ที ่ ใ นจั ง หวั ด ลำปาง 86,984 ไรX) 4. วนอุทยานแหXงชาติ จำนวน 1 แหXง เนื้อที่ 18,579 ไรX ที่มา : สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอมจังหวัดลำปางและสำนักจัดการทรัพยากรปuาไมC ที่ 3 ลำปาง

5.2.3.3 ดKานกายภาพ การตั้งถิ่นฐาน และการใชKที่ดิน จังหวัดลำปาง หXางจากกรุงเทพฯ ตามทางหลวงแผXนดินสายพหลโยธิน ประมาณ 602 กิโลเมตร ตามทางรถไฟประมาณ 625 กม. มีเนื้อที่ประมาณ 12,533.961 ตร.กม. หรือประมาณ 7,833,726 ไรX มีพื้นที่ใหญXเปQนอันดับดับ 5 ของภาคเหนือรองจากเชียงใหมX ตาก แมXฮXองสอน และเพชรบูรณ^ อาณาเขตติดตXอ ทิศเหนือ ติดตXอกับจังหวัดเชียงใหมX จังหวัดเชียงรายและจังหวัดพะเยา ทิศใตC ติดตXอกับจังหวัดตาก ทิศตะวันออก ติดตXอกับจังหวัดแพรX และจังหวัดสุโขทัย ทิศตะวันตก ติดตXอกับจังหวัดลำพูน ผังเมืองรวมจังหวัดลำปาง เมืองรวมจังหวัดลำปาง มีกรอบนโยบายดCานการผังเมือง แนวทางในการพัฒนาการตั้งถิ่นฐาน ในอนาคต การกระจายตัวของการใชCประโยชน^ที่ดินแตXละประเภท ประกอบไปดCวย 6 ประเภทหลัก ไดCแกX ชุ ม ชน อุ ต สาหกรรมและคลั ง สิ น คC า ชนบทและเกษตรกรรม พื ้ น ที ่ ป ฏิ ร ู ป ที ่ ด ิ น เพื ่ อ เกษตรกรรม ที่โลXงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลCอม อนุรักษ^ปuาไมC มีสาระสำคัญดังนี้ 5-67


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

(1) สXงเสริมและพัฒนาระบบชุมชนเพื่อการพัฒนาเปQนกลุXมชุมชนที่มีระบบเกื้อกูลซึ่งกันและกัน โดยมีพื้นที่สีเขียวเปQนเขตกันชนระหวXางชุมชน พรCอมทั้งจัดใหCมีแหลXงงานและที่อยูXอาศัยใกลCแหลXงงาน เพื่อประหยัดการลงทุนดCานสาธารณูปโภคและอำนวยความสะดวกในการบริการสาธารณะ (2) สXงเสริมและพัฒนาจังหวัดลำปางใหCเปQนศูนย^กลางการคมนาคมและขนสXงของภาคเหนือตอนบน โดยจัดทำเปQนระบบโครงขXายเชื่อมโยงกันทั้งภายในและภายนอกจังหวัด (3) สXงเสริมและพัฒนาใหCเปQนแหลXงทXองเที่ยวเชิงอนุรักษ^ธรรมชาติ (4) อนุรักษ^ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ภาพที่ 5- 28 ผังเมืองรวมจังหวัดลำปาง

5-68

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดลำปาง ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดลำปางที่บังคับใชCในปiจจุบัน ประกอบไปดCวย ผังเมืองรวมเมือง ลำปาง ผังเมืองรวมชุมชนหลวงเหนือ และผังเมืองรวมชุมชนลCอมแรด ผังเมืองรวมเมืองลำปาง มีโครงสรCางแบบศูนย^กลางหลัก 1 แหXง ควบคูXกับศูนย^กลางรอง 2 แหXง กระจายตัวคูXขนานตามแนวแกนหลัก โดยมีศูนย^กลางพาณิชยกรรมและที่อยูXอาศัยหนาแนXนมากเปQนศูนย^กลาง หลักบริเวณใจกลางเมือง ลCอมรอบดCวยที่อยูXอาศัยหนาแนXนปานกลาง และที่อยูXอาศัยหนาแนXนนCอย ชนบท และเกษตรกรรม ตามลำดับ และมีสถาบันราชการ การสาธารณูปโภค สาธารณูปการขนาดใหญXแทรกตัว อยูXกับพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ผังเมืองรวมชุมชนหลวงเหนือ มีโครงสรCางแบบศูนย^กลางหลัก 1 แหXง ควบคูXกับศูนย^กลางรอง 3 แหXง กระจายตัวเชื่อมโยงจากศูนย^กลางหลัก โดยบริเวณศูนย^กลางหลักมีศูนย^กลางพาณิชยกรรมและที่อยูXอาศัย หนาแนXนมากใจกลางเมือง ลCอมรอบดCวยที่อยูXอาศัยหนาแนXนปานกลาง และที่อยูXอาศัยหนาแนXนนCอย ชนบท และเกษตรกรรม ตามลำดับ สXวนศูนย^กลางรองเนCนรองรับที่อยูXอาศัยหนาแนXนนCอยเปQนหลัก ลCอมรอบดCวย พื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ผังเมืองรวมชุมชนลCอมแรด มีโครงสรCางแบบศูนย^กลางหลัก 2 แหXง ขนานตามแนวแกนถนนสายหลัก เนC น รองรั บ ที ่ อ ยู X อ าศั ย หนาแนX น นC อ ยเปQ น หลั ก ลC อ มรอบดC ว ยพื ้ น ที ่ ช นบทและเกษตรกรรม นอกจากนี้ ยังมีการสXงเสริมพื้นที่อนุรักษ^ปuาไมC แทรกตัวอยูXระหวXางพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม

5-69


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ภาพที่ 5- 29 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดลำปาง

5-70

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

5.2.3.4 ดKานเศรษฐกิจ จังหวัดลำปาง ผลิตภัณฑ^มวลรวมจังหวัดลำปาง ปW พ.ศ. 2561 มีมูลคXา 71,950 ลCานบาท โดยขยายตัว และปรับตัวดีขึ้นตXอเนื่องจาก 59,997-71,950 ลCานบาท ในปW พ.ศ. 2554-2561 ในขณะที่ผลิตภัณฑ^มวลรวม จังหวัด ตXอหัว (GPP per capita) มีคXาเฉลี่ยของผลิตภัณฑ^จังหวัดตXอหัวเพิ่มขึ้นจาก 81,084-100,709 บาท ตX อ คนตX อ ปW ใ นปW พ.ศ. 2554-2561 โดยมู ล คX า สู ง สุ ด ของโครงสรC า งผลิ ต ภั ณ ฑ^ ม วลรวมจั ง หวั ด ลำปาง ในปW พ.ศ. 2561 ขึ้นอยูXกับภาค นอกเกษตร สาขาการผลิตที่มีบทบาทสำคัญตXอเศรษฐกิจจังหวัดลำปาง ไดCแกX ภาคบริการ อันดับที่ 1 การขายสXง และการขายปลีก การซXอมยานยนต^ และจักรยานยนต^ (8,736 ลCานบาท) อันดับที่ 2 การศึกษา (6,565 ลCานบาท) และอันดับ 3 กิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัย(4,718 ลCานบาท) รองลงมาภาคอุตสาหกรรม ในสXวนของ สาขาการทำเหมืองแรX และเหมืองหิน (4,718 ลCานบาท) เปQนหลัก

5.2.3.5 ดKานประชากร สังคม ประวัติศาสตร+ และวัฒนธรรม ประชากร จังหวัดลำปาง อำเภอเมืองลำปาง มีสัดสXวนประชากรในเขตเมืองเปQน 66.33 อำเภอที่มีสัดสXวน ประชากรในเขตเมืองสูงมากกวXารCอยละ 80 คือ อำเภอเกาะคา (83.61) สXวนอำเภอที่มีสัดสXวนประชากร ในเขตเมืองนCอยกวXารCอยละ 20 ไดCแกX อำเภอวังเหนือ (15.53), อำเภอเมืองปาน (16.74), อำเภองาว (18.97) อำเภอสXวนใหญXมีสัดสXวนประชากรในเขตเมืองในชXวงรCอยละ 54-66 ไดCแกX อำเภอเสริมงาม อำเภอเถิน อำเภอแมXพริก อำเภอแมXทะ อำเภอหCางฉัตร • จังหวัดลำปางมีประชากรกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมด 6 กลุ่มชาติพันธุ์ ได้แก่ เมี่ยน (เย้า) กะเหรี่ยง อาข่า (อีก้อ) ม้ง (แม้ว) ลาหู่ (มูเซอ) และขมุ • ประชากรกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดลำปางส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์เมี่ยน (เย้า) 6,242 คน ร้อยละ 42.14 รองลงมา คือ กลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง 4,404 คน ร้อยละ 29.73 กลุ่มชาติพันธุ์อาข่า (อีก้อ) 1,563 คน ร้อยละ 10.55 กลุ่มชาติพันธุ์ม้ง (แม้ว) 1,432 คน ร้อยละ 9.67 กลุ่มชาติพันธุ์ ลาหู่ (มูเซอ) 1,027 คน ร้อยละ 6.93 และกลุ่มชาตพันธุ์ขมุ 144 คน ร้อยละ 0.97 ภาพที่ 5- 30

5-71


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ข้อมูลประชากรกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดลำปาง (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์)

ลาหู่ (มูเซอ) 6.93% ม้ง (แม้ว) 9.67% อาข่า (อีก้อ) 10.55%

ขมุ 0.97%

เมี่ยน (เย้า) 42.14%

กะเหรี่ยง 29.73%

ภาพที่ 5- 30 ประชากรกลุXมชาติพันธุ^จังหวัดลำปาง (แยกรายกลุXมชาติพันธุ^)

5-72

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ตารางที่ 5- 12 ข(อมูลประชากรกลุGมชาติพันธุJจังหวัดลำปาง (แยกรายกลุGมชาติพันธุJ) ลำดับ

กลุ)มชาติพันธุ2

หมู)บ5าน

ครัวเรือน

ครอบครัว

ชาย

หญิง

เด็กชาย

เด็กหญิง

รวม

ร5อยละ (1)

ร5อยละ (2)

1

เมี่ยน (เย(า)

22

1,409

1,482

2,430

2,441

699

672

6,242

0.54

42.14

2

กะเหรี่ยง

21

1,202

1,223

1,769

1,607

532

496

4,404

0.38

29.73

3

อาขGา (อีก(อ)

7

341

346

548

592

221

202

1,563

0.14

10.55

4

ม(ง (แม(ว)

6

335

340

421

452

295

264

1,432

0.12

9.67

5

ลาหูG (มูเซอ)

5

253

270

381

349

155

142

1,027

0.09

6.93

6

ขมุ

1

36

36

53

53

21

17

144

0.01

0.97

รวม

62

3,576

3,697

5,602

5,494

1,923

1,793

14,812

5-73


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ประวัติศาสตร+ จั งหวั ดลำปาง มี ความเกP าแกP และมี ความสำคั ญทางประวั ติ ศาสตรR ไมP นC อยกวP า 1,335 ปW ตั ้ ง แตP สมั ย หริ ภ ุ ญ ชั ย เปX น ตC น มา คื อ ราวพุ ท ธศตวรรษที ่ 13 ชื ่ อ ของเมื อ งเขลางคR อั น เปX น เมื อ งในยุ ค แรก ๆ และเมืองนครลำปางปรากฏอยูPในหลักฐานทางประวัติศาสตรRหลายแหPง ทั้งจากตำนานศิลาจารึกพงศาวดาร และจากคำที่นิยมเรียกกันโดยทั่วไปอยPางแพรPหลาย ไดCแกP ตำนานจามเทวี ชินกาลบาลีปกรณR ตำนาน มูลศาสนา ตำนานพื้นเมืองเชียงใหมPตำนานเจCาเจ็ดตน พงศาวดารโยนก คําวPา “ละกอน” หรือ "ละคร" (นคร) เปXนชื่อสามัญของเมืองเขลางคRที่นิยมเรียกกันอยPางแพรPหลาย ทั้งในตำนานและภาษาพู ดโดยทั ่ วไป แมC แตP จั งหวั ดใกลC เคี ยงเชP น แพรP นP าน เชี ยงราย ลำพู น เชี ยงใหมP มักจะเรียกชาวลำปางวPา “จาวละกอน” ซึ่งหมายถึง ชาวนคร คําวPาละกอนมีชื่อทางภาษาบาลีวPา เรียกวPา “เขลางค” เชP น เดี ย วกั บ ละพู ร หรื อ ลำพู น ซึ ่ ง ทางภาษาบาลี เ รี ย กวP า “หริ ภ ุ ญ ชั ย ” และเรี ย กลำปางวPา “ลัมภกัปปะ” ดังนั้น เมืองละกอนจึงหมายถึง บริเวณอันเปXนที่ตั้งของเมืองเขลางคR คือเมืองโบราณรูปหอยสังขR ซึ่งตั้งอยูPบริเวณฝijงตะวันตกของแมPน้ำวัง อยูPในตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง สP ว นคํ า วP า “ลำปาง” เปX น ชื ่ อ ที ่ ป รากฏหลั ก ฐานอยP า งชั ด แจC ง ในตำนานพระธาตุ ล ำปางหลวง ซึ่งมีชื่อเรียกเปXนภาษาบาลีวPา “ลัมภกัปปนคร” ตั้งอยูPบริเวณลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง อยูPหPางจากตัวเมืองลำปางไปทางทิศใตCตามแมPน้ำวังประมาณ 16 กิโลเมตร อันเปXนที่ตั้งของวัดพระธาตุลำปางหลวง ตัวเมืองลัมภกัปปนคร มีพื้นที่ประมาณ 200 ไรP ลักษณะของเมือง ศึกษาดูจากภาพถPายทางอากาศและการเดินสำรวจทางภาคพื้นดิน พบวPา มีคันคู ลC อ มรอบ 3 ชั ้ น (แตP ปi จ จุ บ ั น เหลื อ เพี ย งบางสP ว นเทP า นั ้ น ) นอกจากนี ้ พ บเศษกระเบื ้ อ ง ภาชนะดิ น เผา เศียรพระพุทธรูปดินเผา สมัยหริภุญชัยและสถูปแบบสมัยหริภุญชัย สันนิษฐานวPาเมืองลัมภกัปปะ นี้นPาจะเปXน เมืองกัลปนาสงฆR (เมืองทางศาสนา) มากกวPาจะเปXนเมืองทางอาณาจักรที่มีอำนาจทางการปกครองบCานเมือง อยPางเปXนระเบียบแบบแผน ตามตำนานวัดพระธาตุ ลำปางหลวง (ฉบับสาขาสมาคม เพื่อการรักษาสมบัติวัฒนธรรมประจำ จังหวัดลำปาง) ไดCกลPาวถึงเรื่องราวของเมืองลำปางไวCวPา “พระพุทธเจCาไดCเสด็จดCวยลำดับบCานใหญPเมืองนCอย ทั้งหลายพระพุทธเจCาไปรอดบCานอันหนึ่งชื่อ ลัมพการีวัน พระพุทธเจCานั่งอยูPเหนือดอยมPอนนCอย สูงสะหนPอย ยังมีลัวะ ชื่ออCายคอน มันหันพระพุทธเจCา เอาน้ำผึ้งใสCกระบอกไมCปpางมาหื้อทานแกPพระพุทธเจCา กับหมากพCาว 4 ลูก พระพุทธเจCายื่นบอกน้ำเผิ้งหื้อแกPมหาอานนทRถอกตกปากบาตร พระพุทธเจCาฉันแลCว ชัดบอกไมCไปตกหน เหนือแลCวพระพุทธเจCาทำนายวPา สถานที่นี้จักเปXนเมืองอันหนึ่งชื่อ “ลัมภางคR” ดังนั้น นามเมืองลำปาง จึงหมายถึง ชื่อของเมืองอันเปXนที่ตั้งของพระธาตุลำปางหลวงในปiจจุบัน จังหวัดลำปางเดิมชื่อ “เมืองนครลำปาง” จากหลักฐานทางประวัติศาสตรRไดCระบุไวCอยPางชัดเจน ไดCแกPศิลาจารึก เลขทะเบียน ลป.1 จารึกเจCาหมื่นคำเพชรเมื่อ พ.ศ. 2019 และศิลาจารึกเลขทะเบียน ลป.2 จารึกเจCาหาญสีทัต 5-74

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ไดCจารึกชื่อเมืองนี้วPา “ลคอร” สPวนตำนานชินกาลมารีปกรณR ตำนานพื้นเมืองเชียงใหมP ตำนานเมืองเชียงแสน ตลอดจนพงศาวดารของทางฝsายเหนือ ก็ลCวนแลCวแตPเรียกชื่อวPา เมืองนครลำปาง แมCแตPเอกสารทางราชการ สมัยรัตนโกสินตอนตCน ก็เรียกเจCาเมืองวPา พระยานครลำปาง นอกจากนี้จารึกประตูพระอุโบสถวัดบุญวาทยR วิหาร ก็ยังมีขCอความตอนหนึ่งจารึกวPา เมืองนครลำปาง แตPเมื่อมีการปฏิรูปบCานเมืองจากมณฑลเทศาภิบาล เปXนจังหวัดตามคำสั่งของกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 ปรากฏวPาชื่อของเมืองนครลำปาง ไดCกลายมาเปXนจังหวัดลำปางมา เมืองเก3าลำปาง เมืองลำปางมีความสำคัญทางประวัติศาสตรRไมPนCอยกวPา 1,300 ปW ศตวรรษที่ 13 ชื่อจองเมืองเขลางคR ปรากฏอยูPในหลักฐานทางประวัติศาสตรR เมืองนครลำปางปiจจุบันเปXนที่ตั้งของศาลจังหวัดและตลาดเมือง ลำปาง ทางดCานทิศตะวันตกนอกเขตคูเมืองและกำแพงมืองเปXนทางเดินและทางเกวียน เพื่อเขCาสูPเมือง ดCานประตูตาล โดยดCานหลังประตูตาลภายในเขตกำแพงเมือง คือ ขPวงเมือง คูเมืองชั้นนอกอยูPบริเวณสPวนนอก แนวกำแพงเมื อ ง จั ง หวั ด ลำปางมี เ อกลั ก ษณR แ ละความงดงามในลั ก ษณะของศิ ล ปกรรมตP า งถิ ่ น ที ่ อ ยู P ใ น พื้นที่เมืองเกPาลำปางมีโบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนและยังไมPไดCขึ้นทะเบียน

5-75


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

แผนที่ท้ายประกาศคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า เรื่อง ประกาศเขตพื้นที่เมืองเก่าลําปาง อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง พ.ศ. ๒๕๕๓

ภาพที่ 5- 31 เขตพื้นที่เมืองเกPาลำปาง อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า สํานักงานนโยบายและแผนทรั และสิ ่งแวดล้ อม สถานการณ+ประวัติศาสตร+ โบราณคดี การอนุรักษ+มรดกวัพยากรธรรมชาติ ฒนธรรมในจั งหวั ดลำปาง

ปiจจุบันในจังหวัดลำปางมีโบราณสถานทั้งสิ้น 223 แหPง แบPงเปXนโบราณสถานขึ้นทะเบียนแลCว จำนวน 36 แหPง และยังไมPขึ้นทะเบียนทั้งหมด 187 แหPง โบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนแลCวสPวนใหญPอยูPที่ อำเภอเมืองลำปางและในอำเภอใกลCเคียงคืออำเภอเกาะคาและอำเภอหCางฉัตร ตัวอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ตั้งอยูPริมแมPน้ำวัง เปXนที่ตั้งของเมืองเกPาเขลางคRนครที่มีพัฒนาการสืบมา จากเวียงละครที่ตั้งอยูPในบริเวณฝijงตรงขCามแมPน้ำ ประกอบไปดCวยโบราณสถานตPาง ๆ ในและนอกเวียง จำนวนมาก ถัดไปจากนั้นยังมีเวียงพระธาตุลำปางหลวง และเวียงโบราณอื่น ๆ รายลCอม

5-76

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ประชาคมและหนP ว ยงานในจั ง หวั ด ลำปางใหC ค วามตระหนั ก ในการอนุ ร ั ก ษR ม รดกวั ฒ นธรรม และนิ เ วศวั ฒ นธรรมเปX น อยP า งยิ ่ ง มี ก ารจั ด ตั ้ ง ประชาคมดC า นการอนุ ร ั ก ษR ม รดกวั ฒ นธรรมของจั ง หวั ด มีการจัดเสCนทางทPองเที่ยวทางวัฒนธรรมเ รื้อฟxyนชุมชนทPามะโอ ชุมชนโบราณริมน้ำที่เปXนแหลPงขนสPงไมC รื้อฟxyน บCานหลุยสR ที. เลียวโนเวนสR นายหCางคCาไมCของจังหวัดลำปาง และถนนหนทางรอบ ๆ เพื่ออนุรักษRฟxyนฟู แหลPงมรดกวัฒนธรรมที่สัมพันธRกับสิ่งแวดลCอมโบราณ และตPอยอดสูPการพัฒนาเศรษฐกิจดCวยการทPองเที่ยว

5.2.3.6 ดJานการบริหารปกครอง จังหวัดลำปางแบPงเขตการปกครองออกเปXน 13 อำเภอ 100 ตำบล และ 931 หมูPบCาน ประกอบดCวย องคRการบริหารสPวนจังหวัด 1แหPง เทศบาลนคร 1 แหPง เทศบาลเมือง 2 แหPง เทศบาลตำบล 39 แหPง องคRการบริหารสPวนตำบล 62 แหPง

5.2.4 จังหวัดอุตรดิตถ+ 5.2.4.1 ดJานภูมิศาสตร+ ภูมิประเทศ ที่ราบลุPมแมPน้ำนPาน บริเวณสองฝijงของแมPน้ำนPาน และลำน้ำสาขาที่ไหลมาบรรจบกับแมPน้ำนPาน สภาพพื้นที่สPวนใหญPเปXนพื้นที่ราบลุPม อยูPในเขตอำเภอตรอน พิชัย และบางสPวนของ อำเภอเมืองอุตรดิตถR ลับแล และอำเภอทองแสนขัน (ประมาณ 20% ของพื้นที่ทั้งหมด) ที่ราบระหวPางหุบเขาและเชิงเขา บริเวณที่อยูPตPอเนื่องจากบริเวณที่ราบลุPมแมPน้ำทางดCานเหนือ และดCานตะวันออกของจังหวัด ประกอบดCวยที่ราบแคบ ๆ ระหวPางหุบเขาตามแนวคลองตรอน แมPน้ำปาด คลองแมPพรPอง หCวยน้ำไครC และลำธารสายตPาง ๆ สลับกับภูมิประเทศเปXนเขาอยูPในเขตอำเภอเมืองอุตรดิตถR ลับแล น้ำปาด ฟากทPา ทPาปลาและอำเภอบCานโคก (ประมาณ 20% ของพื้นที่ทั้งหมด) เขตภูเขาและที่สูง อยูPในบริเวณทางดCานเหนือ และทางตะวันออกของจังหวัด โดยเฉพาะเขตอำเภอ เมืองอุตรดิตถR อำเภอลับแล น้ำปาด ฟากทPา ทPาปลา และอำเภอบCานโคก (ประมาณ 60% ของพื้นที่ทั้งหมด)

ธรณีวิทยา โครงสรCางธรณีวิทยาในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถR เปXนผลจากการบีบอัด การขยาย การแยก และเลื่อนออก จากกั น ของเปลื อ กโลก เนื ่ อ งดC ว ยเหตุ ก ารณR แ ปรสั ณ ฐานหลายชP ว งเวลา มี ท ิ ศ ทางอยู P ใ นแนวทิ ศ ตะวันออกเฉียงเหนือ-ทิศตะวันตกเฉียงใตC เกือบทั้งหมด ซึ่งก ากับรูปรPางและทิศทางการวางตัวของจังหวัด และอีกหนึ่งแนววางตัวทิศเหนือ-ทิศใตC ตามแนวของแมPน้ำนPาน พบตั้งแตPชPวงอำเภอเมืองอุตรดิตถR ผPานอำเภอ ตรอนจนถึงอำเภอพิชัย โครงสรCางธรณีวิทยาที่สำคัญ ประกอบดCวยการวางตัวชั้นหิน ชั้นหินโคCงงอ รอยแยก

5-77


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

และรอยเลื่อน แนวแตกเรียบ และรCอยชั้นไมPตPอเนื่อง โครงสรCางธรณีดังกลPาว มีความสัมพันธRซึ่งกันและกัน และมักเกิดอยูP ดCวยกันมากกวPา 2 ชนิด ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี

ภูมิอากาศ จังหวัดอุตรดิตถRมีภูมิอากาศแบบรCอนชื้นสลับรCอนแหCงแลCง หรือฝนเมืองรCอนเฉพาะฤดูเพราะอิทธิพล จากกระแสลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตกเฉียงใตC มีความชื้น และความรCอนสูง ในฤดูรCอนอากาศ จะรCอนจัด อุณหภูมิเฉลี่ย 35 องศาเซลเซียส อากาศเย็นสบายในฤดูหนาวและมีฝนตกชุกในฤดูฝน ฤดูฝน อยูPระหวPาง กลางเดือนพฤษภาคม-เดือนตุลาคม ฤดูหนาว อยูPระหวPาง กลางเดือนตุลาคม-เดือนกุมภาพันธR ฤดูรCอน อยูPระหวPาง กลางเดือนกุลภาพันธR-เดือนพฤษภาคม

5.2.4.2 ดJานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลJอม ลุ3มน้ำ จังหวัดอุตรดิตถR มีพื้นที่ซCอนทับกับเขตลุPมน้ำ คือ มีพื้นที่สPวนใหญPอยูPในลุPมน้ำนPาน

แหล3งน้ำ จังหวัดอุตรดิตถRมีแมPน้ำนPานไหลผPาน ซึ่งเปXนแมPน้ำที่ไหลมาจากจังหวัดนPาน เขCามาทาง อำเภอทPาปลา และอำเภอน้ำปาด โดยมีแมPน้ำปาด ซึ่งมีตCนน้ำมาจากประเทศลาวและเปXนเขตติดตPอกับจังหวัดอุตรดิตถR ไหลผPาน อำเภอฟากทPา อำเภอน้ำปาด ไหลลงมาบรรจบกับแมPน้ำนPาน จากนั้นลำน้ำนPานจะไหลผPานลงมา ทิ ศ ตะวั น ตกเขC า เขตอำเภอทP า ปลา อำเภอเมื อ ง อำเภอลั บ แล และไหลลงผP า นบริ เ วณที ่ ร าบถึ ง ที ่ ตั้ ง จังหวัดอุตรดิตถRแลCวไหลผPาน อำเภอตรอน อำเภอพิชัย ไปยังจังหวัดพิษณุโลกเนื่องจากแมPน้ำนPานมักจะเปลี่ยน ทางเดินของน้ำในอดีตบPอย ๆ จึงทำใหCเกิดรPองรอยของทางน้ำเดิมอยูPเกิดเปXนหนองบึงเล็ก ๆ ซึ่งจะเห็นไดCชัด ในบริเวณที่เปXนราบจากอำเภอเมือง อำเภอตรอนและอำเภอพิชัย นอกจากนี้ยังมีคลอง ซึ่งไหลลงสูPแมPนC านPาน เชPน คลองตรอน ซึ่งไหลผPานพื้นที่บริเวณอำเภอตรอน จากทิศตะวันออกมาทางทิศตะวันตก คลองแมPพรPองไหลมาจากทิศเหนือของอำเภอลับแล ลงมาทางทิศใตC นอกจากนี้ยังมีคลองน้ำริด คลองน้ำหมัน และล าหCวยที่เกิดจากภูเขาตPาง ๆ ซึ่งอยูPทางทิศเหนือ ซึ่งจะมีน้ำเฉพาะ ในปiจจุบันนี้ราษฎรไดCอาศัยน้ำในแมPน้ำนPาน คลองตรอนและน้ำปาด มาใชCประโยชนRในทางเกษตรกรรม และใชCในครอบครัว เพราะมีน้ำอยูPตลอดปW สPวนลำหCวยตPาง ๆ จะมีนC าเฉพาะในฤดูฝนเทPานั้น นอกจากนี้ ยังมีหนองและบึงตPาง ๆ เชPน บึงมาย บึงกะโลP บึงหลPม บึงชPอ บึงสกัด และหนองตPาง ๆ ซึ่งเกิดจากรPองรอยของ 5-78

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

แมPน้ำในอดีตที่เปลี่ยนทิศทางเดิมของน้ำ ซึ่งสามารถกักเก็บน้ำไวCใชCในฤดูแลCง แตPก็มีปริมาณน้ำไมPมากนัก ราษฎรยังใชCน้ำบาดาลบริโภคและใชCในการเกษตรบCางเล็กนCอย ระดับน้ำใตCดินเฉลี่ยลึกประมาณ 3-5 เมตร เนื่องจากแมPน้ำนPานมีความสำคัญรองจากแมPน้ำป}งของภาคเหนือ ซึ่งไหลลงสูPแมPน้ำเจCาพระยาเชPนเดียวกัน ในปiจจุบันนี้มีการสรCางเขื่อนสิริกิติ์ขึ้นที่อำเภอทPาปลา และมีเขื่อนทดน้ำเปXนทอด ๆ จึงนับวPาโครงการ ลำน้ำนPานมีความสำคัญในดCานเกษตรกรรมเปXนอยPางมาก แมP น้ำนP าน ตC นน้ ำอยู P ที ่ อำเภอปiว-อำเภอทP าวั งผา จั งหวั ดนP าน ไหลผP านเขC ามาจั งหวั ดอุ ตรดิ ตถR ที่อำเภอทPาปลา ลงมาทางใตCของจังหวัด โดยไหลผPานอำเภอเมืองอำเภอตรอนและอำเภอพิชัยไปสูPจังหวัด พิ ษ ณุ โ ลก รวมความยาวของแมP น้ ำ ที ่ ไ หลผP า นจั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถR ป ระมาณ 160 กิ โ ลเมตร แมP น้ ำ สายนี้ เปรียบเสมือนเสCนโลหิตใหญPของประชาชนในจังหวัด ประชาชนสPวนใหญPอาศัยน้ำจากแมPน้ำนPานเปXนหลัก ในการเกษตรกรรมและการบริโภค ซึ่งกรมชลประทานไดCกPอสรCางเขื่อนสิริกิติ์ป}ดกั้นแมPน้ำ อำเภอทPาปลา เพื ่ อกั กเก็ บน้ ำไวC ใชC ในการเกษตรกรรมและผลิ ตกระแสไฟฟp า ปi จจุ บ ั นเขื ่ อนอยู P ในความรั บผิ ดชอบของ การไฟฟpาฝsายผลิต แมPน้ำปาด ตCนกำเนิดของแมPน้ำปาดคือภูเขาทุPงแลCง ซึ่งเปXนภูเขาที่แบPงเขตระหวPางประเทศไทยกับ สปป.ลาว ลำน้ำปาดไหลผPานตำบลมPวงเจ็ดตCน อำเภอบCานโคก อำเภอฟากทPา และไหลผPานอำเภอน้ำปาด ไปบรรจบแมPน้ำนPาน ที่บCานปากปาด อำเภอน้ำปาด บริเวณทCายน้ำเขื่อนสิริกิติ์ความยาวลำน้ำประมาณ 160.65 กิโลเมตร คลองตรอน ตCนน้ำเกิดในภูเมี่ยง ตำบลนC าไผP อำเภอน้ำปาด ไหลผPานอำเภอตรอนลงสูPแมPน้ำนPาน ที่บCานแกPง ตำบลบCานแกPง อำเภอตรอน ความยาวลำน้ำประมาณ 125.50 กิโลเมตร คลองฝาง เกิดจากเขาขุนฝาง บCานเหลPาปsาสา ตำบลผาจุก ไปไปบรรจบแมPน้ำนPานที่บCานปากฝาง ตำบลงิ้วงาม อำเภอเมือง คลองน้ำริด ตCนน้ำเกิดจากเทือกเขาพลึง อำเภอเดPนชัย จังหวัดแพรP ไหลผPานบCาน ปางตCนผึ้งมาบรรจบ กับหCวยแมPเฉยที่ผาตั้ง แลCวไหลผPานบCานดPานนาขามและบCานน้ำริด ลงสูPแมPน้ำนPานที่ตอนเหนือของมณฑล ทหารบกที่ 35 อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถR คลองโพ เกิดจากเทือกเขาในเขตอำเภอลับแล ไหลผPานบCานมPอนดินแดง ตำบลทPาเสาไปบรรจบ แมPน้ำนPานที่วัดกลางธรรมสาคร หCวยแมPพูล-คลองแมPพรPอง ตCนน้ำเกิดจากตำบลแมPพูลไหลผPานตำบลแมPพูลมาบรรจบคลองแมPพรPอง ที่ตำบลฝายหลวง แลCวไหลผPานตำบลทุPงยั้ง ตำบลไผPลCอม ลงบึงมายยังเขตตอนใตCของอำเภอลับแลติดกับ อำเภอตรอนและอำเภอพิชัย คลองละมุง เปXนคลองระบายน้ำจากบึงมายและบริเวณทุPงสามขากับคลองตPาง ๆ ในเขตอำเภอศรีนคร จังหวัดสุโขทัย ลงสูPคลองละมุง ไหลลงสูPแมPน้ำนPาน ที่บCานปากคลอง ตำบลคอรุม อำเภอพิชัยความยาว คลองละมุงประมาณ 35 กิโลเมตร 5-79


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

แหลPงน้ำชลประทานที่สำคัญ คือ 1. เขื่อนสิริกิติ์ ซึ่งกPอสรCางขึ้นตามโครงการพัฒนาลุPมแมPน้ำนPาน โดยสรCางป}ดกั้นแมPน้ำนPานที่บริเวณ ตำบลผาเลื อ ด อำเภอทP า ปลา จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถR เปX น เขื ่ อ นดิ น ที ่ ใ หญP ท ี ่ ส ุ ด ในประเทศไทย และเปXนเขื่อนเอนกประสงคR เพื่อใชCประโยชนRในการผลิตกระแสไฟฟpาและการชลประทาน เขื่อนสิริกิติ์เนื้อที่ประมาณ 284.8 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 178,000 ไรP เก็บน้ำไดCสูงสุด 9,510 ลCานลูกบาศกRเมตร สรCางเสร็จเมื่อปW 2515 2. อPางเก็บน้ำคลองตรอน ตั้งอยูPที่บCานหCวยแมง ต.น้ำไครC อ.น้ำปาด เปXนเขื่อนดินแกนดินเหนียว สันเขื่อนกวCาง 9.00 ม. ยาว 220 ม. สูง 48 ม. มีพื้นที่รับน้ำฝนเหนือที่ตั้งเขื่อน 265 ตารางกิโลเมตร เก็บกักน้ำไดCสูงสุด 59 ลCานลูกบาศกRเมตรซึ่งกPอสรCางโดยกรมชลประทานในปW พ.ศ. 2537-2540 3. อPางเก็บน้ำหCวยแมPเฉย ตั้งอยูPที่บCานมPอนหัวฝาย ตำบลบCานดPานนาขาม อำเภอเมืองอุตรดิตถR จังหวัดอุตรดิตถR เปXนเขื่อนดินแกนดิน สันเขื่อนกวCาง 9.00 เมตร ความยาวสันเขื่อน 343.50 เมตร ความสู ง สั น เขื ่ อ น 35.00 เมตร เก็ บ กั ก น้ ำ ไดC 4.00 ลC า นลู ก บาศกR เ มตร ซึ ่ ง กP อ สรC า งโดย กรมชลประทานในปW พ.ศ. 2453 – 2556 4. อPางเก็บน้ำหCวยน้ำรีอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตั้งอยูPที่บCานกิ่วเคียน หมูPที่ 12 ตำบลจริม อำเภอทPาปลา จังหวัดอุตรดิตถR เปXนเขื่อนดินแบบแบPงสPวน ความยาวสันเขื่อน 440.00 เมตร ความสูงสันเขื่อน 55.00 เมตร ความกวCาง 9 เมตร เก็บกกักน้ำไดCสูงสุด 73.70 ลCานลูกบาศกRเมตร ซึ่งกPอสรCางโดยกรมชลประทานในปW พ.ศ.2556-2563 5. เขื่อนทดน้ำผาจุก ตั้งอยูPที่บCานผาจุก ตำบลบCานดPาน อำเภอเมืองอุตรดิตถR จังหวัดอุตรดิตถR เปXนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กและประตูบานเหล็กโคCง จำนวน 7 ชPอง บานขาด 12.5x11.50 เมตร ระบายน้ำไดCสูงสุด 3,344 ลCานลูกบาศกRเมตร/วินาที

ปVาไมJและสัตว+ปVา ทรัพยากรปsาไมCจังหวัดอุตรดิตถRประกอบดCวยปsาไมCหลายชนิด มีชนิดปsาไมCประกอบดCวย ปsาเบญจพรรณ ซึ่งเปXนปsาผลัดใบพบที่ระดับความสูง 500-600 เมตร และปsาเต็งรัง ซึ่งเปXนปsาโปรPง ทำใหCฝนตกตามฤดูกาล ปริมาณน้ำฝนอยูPในระดับที่เหมาะสมตPอการเจริญเติบโตของพืช ปsาดงดิบแลCง ซึ่งมีไมCมีคPาทางเศรษฐกิจ ที่พบมาก คือ ไมCสัก พื้นที่ปsาจังหวัดอุตรดิตถRมีปกคลุมอยูPในทุกอำเภอ แตPพื้นที่ปsาไมCที่พบมาก คือ ในพื้นที่ อำเภอน้ำปาด อำเภอฟากทPา อำเภอบCานโคก อำเภอทPาปลา อำเภอลับแล อำเภอเมือง และอำเภอทองแสนขัน สPวนในเขตอำเภอตรอน และอำเภอพิชัย มีพื้นที่ปsาไมCอยูPสPวนหนึ่งกระจายเปXนหยPอม ๆ พื้นที่ปsาอนุรักษRเปXนพื้นที่ปsาที่รัฐไดCกำหนดไวC เพื่อการอนุรักษRทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม ไดCแกP น้ำ ปsาไมC พันธุRพืช และพันธุRสัตวR โดยพื้นที่ปsาอนุรักษRในจังหวัดอุตรดิตถR ไดCแกP อุทยานแหPงชาติ จำนวน 3 แหPง วนอุทยานแหPงชาติ จำนวน 5 แหPง เขตรักษาพันธุRสัตวRปsา จำนวน 2 แหPง และเขตหCามลPาสัตวRปsา จำนวน 2 แหPง หนPวยควบคุมพื้นที่ที่จะประกาศเปXนเขตหCามลPาสัตวRปsา 1 แหPง 5-80

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ในปW พ.ศ. 2563 ขCอมูลของกรมปsาไมCไดCระบุพื้นที่ปsาสงวนในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถRที่มีการประกาศ ตั้งแตPปW พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2530 มีจำนวนทั้งหมด 15 ปsา กรมปsาไมCไดCจำแนกประเภทการใชCประโยชนRที่ดิน ในเขตปsาไมCในพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถRไวCเปXนพื้นที่ปsาเพื่ออนุรักษRเปXนสPวนใหญP ไดCแกP เขตปsาเพื่อการอนุรักษR 2,005,213.00 ไรPรCอยละ 40.58 และเขตปsาเพื่อเศรษฐกิจ 2,759,385.06 ไรP รCอยละ 55.85

มลพิษและของเสีย จากการติ ด ตามตรวจสอบสถานการณR ค ุ ณ ภาพอากาศของสำนั ก งานทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลCอมจังหวัดอุตรดิตถRรPวมกับกรมควบคุมมลพิษ ซึ่งไดCมีการเฝpาระวังติดตามตรวจสอบคุณภาพ อากาศ จากสถานีตรวจคุณภาพอากาศโดยใชCเครื่องตรวจวัดปริมาณฝุsนละอองขนาดเล็ก PM2.5 แบบสถานี ชั่วคราว ระหวPางวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 - 31 พฤษภาคม 2564 จำนวน 1 สถานี ณ สำนักงานเทศบาล เมืองอุตรดิตถR พบวPา มีคPาฝุsนละอองที่ขนาดเล็กวPา 2.5 ไมครอน(PM2.5) อยูPระหวPาง 7 - 92 ไมโครกรัม/ลบ.ม. มี คP าเฉลี ่ ย เทP ากั บ 32.16 ไมโครกรั ม/ลบ.ม. มี จ ำนวนวั นที ่ มี คP าฝุ s นละอองขนาดเล็ กกวP า 2.5 ไมครอน เกินคPามาตรฐานที่กำหนด (คPาเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไมPเกิน50 ไมโครกรัม/ลบ.ม.) จำนวน 26 วัน

5.2.4.3 ดJานกายภาพ การตั้งถิ่นฐาน และการใชJที่ดิน จังหวัดอุตรดิตถR ตั้งอยูPในภาคเหนือตอนลPางของประเทศไทย อยูPระหวPางละติจูดที่ 17 องศา 8 ลิปดา เหนือถึงละติจูดที่ 18 องศา 11 ลิปดาเหนือ และลองจิจูดที่ 99 องศา 54 ลิปดาตะวันออกถึงลองจิจูดที่ 101 องศา 11 ลิปดาตะวันออก สูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 63 เมตร อยูPหPางจากกรุงเทพฯโดยทางรถยนตR 491 กิโลเมตรและโดยทางรถไฟ 485 กิโลเมตร จังหวัดอุตรดิตถR มีพื้นที่ทั้งหมด 7,838.6 ตารางกิโลเมตร หรือ 4,899,120 ไรP อาณาเขตติดตPอ ทิศเหนือ ติดตPอกับ จังหวัดแพรPและจังหวัดนPาน ทิศใตC ติดตPอกับ จังหวัดพิษณุโลก ทิศตะวันออก ติดตPอกับ จังหวัดพิษณุโลก และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศตะวันตก ติดตPอกับ จังหวัดสุโขทัย ผังเมืองรวมจังหวัดอุตรดิตถ+ เมืองรวมจังหวัดอุตรดิตถR มีกรอบนโยบายดCานการผังเมือง แนวทางในการพัฒนาการตั้งถิ่นฐาน ในอนาคต การกระจายตัวของการใชCประโยชนRที่ดินแตPละประเภท ประกอบไปดCวย 6 ประเภทหลัก ไดCแกP ชุมชน อุตสาหกรรมและคลังสินคCา ชนบทและเกษตรกรรม อนุรักษRชนบทและเกษตรกรรม อนุรักษRปsาไมC ที่โลPงเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลCอม มีสาระสำคัญดังนี้

5-81


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

(1) สPงเสริมชุมชนเมืองที่มีอยูPเดิมใหCเปXนศูนยRกลางการบริหาร การปกครอง การบริการ ทางเศรษฐกิจ และสังคม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการใหCเพียงพอและไดCมาตรฐาน พรCอมกับ ยกระดับ ชุมชนที่มีแนวโนCมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจใหCเปXนชุมชนเมืองแหPงใหมP (2) สPงเสริมและพัฒนาใหCมีการใชCประโยชนRที่ดินในพื้นที่ใหCเกิดประโยชนRสูงสุดและเหมาะสม กับศักยภาพของพื้นที่ โดยสงวนและอนุรักษRฟxyนฟูพื้นที่ปsาไมCและแหลPงตCนน้ำลำธาร (3) พั ฒ นาระบบโครงสรC า งพื ้ น ฐาน แหลP ง น้ ำ และการชลประทานใหC เ หมาะสมเพี ย งพอ และสอดคลCองกับยุทธศาสตรRการพัฒนาจังหวัดดCานผลิตผลทางการเกษตร การคCาชายแดน และการทPองเที่ยวเชิงนิเวศ

ภาพที่ 5- 32 ผังเมืองรวมจังหวัดอุตรดิตถR

5-82

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดอุตรดิตถ+ ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดอุตรดิตถRที่บังคับใชCในปiจจุบัน ประกอบไปดCวย ผังเมืองรวมเมือง อุตรดิตถR ผังเมืองรวมเมืองลับแล ผังเมืองรวมชุมชนหัวดง ผังเมืองรวมชุมชนวังกะพี้ และผังเมืองรวมชุมชนพิชัย ผังเมืองรวมเมืองอุตรดิตถR ผังเมืองรวมเมืองลับแล มีโครงสรCางแบบศูนยRกลางเดียว โดยมีศูนยRกลาง พาณิชยกรรมและที่อยูPอาศัยหนาแนPนมากเปXนศูนยRกลางหลักบริเวณใจกลางเมือง ลCอมรอบดCวยที่อยูPอาศัย หนาแนPนปานกลาง และที่อยูPอาศัยหนาแนPนนCอย ชนบทและเกษตรกรรม ตามลำดับ และมีสถาบันราชการ การสาธารณูปโภค สาธารณูปการขนาดใหญPแทรกตัวอยูPกับพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ผังเมืองรวมชุมชนหัวดง โครงสรCางศูนยRกลางหลัก 1 แหPง โดยมีศูนยRกลางพาณิชยกรรมและที่อยูPอาศัย หนาแนPนมากเปXนศูนยRกลางหลักบริเวณใจกลางเมือง ลCอมรอบดCวยที่อยูPอาศัยหนาแนPนปานกลาง และที่อยูP อาศัยหนาแนPนนCอย ชนบทและเกษตรกรรม ตามลำดับ โดยมีพื้นที่อนุรักษRชนบทและเกษตรกรรมตPอเนื่องกับ พื ้ น ที ่ อ ยู P อ าศั ย หนาแนP น นC อ ยตลอดแนวพื ้ น ที ่ เ มื อ ง และมี พ ื ้ น ที ่ อ นุ ร ั ก ษR ป s า ไมC แ ทรกตั ว ในพื ้ น ที ่ ช นบท และเกษตรกรรม ผังเมืองรวมชุมชนวังกะพี้ และผังเมืองรวมชุมชนพิชัย มีโครงสรCางแบบเดียวกัน คือ ศูนยRกลางหลัก 1 แหPง โดยมีศูนยRกลางพาณิชยกรรมและที่อยูPอาศัยหนาแนPนมากเปXนศูนยRกลางหลักบริเวณใจกลางเมือง ลCอมรอบดCวยที่อยูPอาศัยหนาแนPนปานกลาง และที่อยูPอาศัยหนาแนPนนCอย ชนบทและเกษตรกรรม ตามลำดับ นอกจากยังมีพื้นที่อนุรักษRชนบทและเกษตรกรรมตPอเนื่องกับพื้นที่อยูPอาศัยหนาแนPนนCอยตลอดแนวพื้นที่เมือง

5-83


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ภาพที่ 5- 33 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดอุตรดิตถR

5-84

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

5.2.4.4 ดJานเศรษฐกิจ จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถR ผลิ ต ภั ณ ฑR ม วลรวมจั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถR ปW พ.ศ. 2561 มี ม ู ล คP า 39,190 ลC า นบาท โดย ขยายตั วและปรั บตั วดี ขึ ้ นตP อเนื ่ องจาก 29,651-39,190 ลC านบาท ในปW พ.ศ. 2554-2561 ในขณะที่ ผลิ ตภั ณฑR มวล รวมจั งหวั ดตP อหั ว (GPP per capita) มีคPาเฉลี่ยของผลิตภัณฑRจังหวัดตPอหัวเพิ่มขึ้นจาก 68,010-94,260 บาทตPอ คนตPอปWในปW พ.ศ. 2554-2561 โดยมูลคPาสูงสุดของโครงสรCางผลิตภัณฑRมวลรวม จังหวัดอุตรดิตถRในปW พ.ศ. 2561 ขึ้นอยูPกับภาคนอกเกษตร สาขาการผลิตที่มีบทบาทสำคัญตPอเศรษฐกิจ จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถR ไดC แ กP ภาคบริ ก าร อั น ดั บ ที ่ 1 การขายสP ง และการขายปลี ก การซP อ มยานยนตR และจั ก รยานยนตR (4,968 ลC า นบาท) อั น ดั บ ที ่ 2 การศึ ก ษา (3,267 ลC า นบาท) และอั น ดั บ 3 กิ จ กรรม ทางการเงิน และการประกันภัย (3,098 ลCานบาท) รองลงมา ภาคอุตสาหกรรม ในสPวนของสาขาการผลิต (4,472 ลCานบาท) เปXนหลัก

5.2.4.5 ดJานประชากร สังคม ประวัติศาสตร+ และวัฒนธรรม ประชากร จังหวัดอุตรดิตถR อำเภอเมืองอุตรดิตถRมีสัดสPวนประชากรในเขตเมืองเปXน 79.75 และไมPมีอำเภอ ที่มีสัดสPวนประชากรในเขตเมืองสูงมากกวPารCอยละ 80 อำเภอสPวนใหญPมีสัดสPวนประชากรในเขตเมืองนCอยกวPา รCอยละ 20 ไดCแกP อำเภอตรอน (11.70), อำเภอน้ำปาด (10.04), อำเภอฟากทPา (5.51), อำเภอพิชัย (4.81) และอำเภอทองแสนขัน (14.88) สPวนอำเภอลับแล อำเภอทPาปลา และ อำเภอบCานโคก มีสัดสPวนประชากร ในเขตเมืองรCอยละ 43.57, 30.17 และ 26.80 ตามลำดับ

ประวัติศาสตร+ สมัยกPอนการเดินทางและการขนสPงสินคCาเพื่อขึ้นมาคCาขายทางตอนเหนือ ใชCการเดินทางทางน้ำ และแมP น ้ ำ ที ่ ส ามารถใหC เ รื อ สิ น คC า ประเภทเรื อ สำเภาบรรทุ ก สิ น คC า ขึ ้ น ลงไดC ส ะดวกมี เ พี ย ง แมP น ้ ำ นP า น โดยเดินทางจากกรุงเทพมหานคร และกรุงศรีอยุธยา ขึ้นมาจนถึงตำบลบางโพทPาอิฐ (ทPาอิด) จังหวัดอุตรดิตถR เพราะเหนือแมPน้ำขึ้นไปมีสภาพตื้นเขิน และมีเกาะแกงมาก ฉะนั้นตำบลบางโพทP าอิ ฐ (ทP าอิ ด) จึ งเปX น ยPานการคCาที่สำคัญในสมยกPอน เปXนที่รวมสินคCานานาชนิดที่พPอคCาจากทางใตCและพPอคCาทางเหนือก็นำสินคCามา จำหนPายและแลกเปลี่ยนกัน ในปW พ.ศ. 2430 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจCาอยูPหัว (รัชกาลที่ 5) มีพระราชดำริเห็นวPา ตำบลนี้คงจะเจริญตPอไปภายหนCา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลCาฯ ใหCตั้งเปXนเมืองขึ้น เรียกวPา เมืองอุตรดิตถR (หมายความถึงเมืองทPาทางเหนือ) แตPยังทรงโปรดใหCเปXนเมืองขึ้นกับเมืองพิชัย ตPอมา ในปW พ.ศ. 2442 ใหCยCายศาลากลางจากเมืองพิชัยไปตั้งที่เมืองอุตรดิตถR

5-85


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

สถานการณ+ประวัติศาสตร+ โบราณคดี การอนุรักษ+มรดกวัฒนธรรมในจังหวัดอุตรดิตถ+ ปiจจุบันในจังหวัดอุตรดิตถRมีโบราณสถานทั้งสิ้น 50 แหPง แบPงเปXนโบราณสถานขึ้นทะเบียนแลCว จำนวน 15 แหPง และยังไมPขึ้นทะเบียนทั้งหมด 35 แหPง โบราณสถานสPวนใหญPอยูPในเมืองโบราณทุPงยั้ง พิชัย ลับแล และอำเภอเมืองอุตรดิตถR จั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถR ใ นอดี ต มี ค วามสำคั ญ เพราะเปX น เมื อ งที ่ ท รั พ ยากรปs า ไมC เ ปX น แหลP ง ของปs า และเปXนสินคCาของสPงออกสำคัญในสมัยอยุธยา และยังเปXนดินแดนที่เชื่อมตPอระหวPางภาคกลางและภาคเหนือ มีพื้นที่ราบมีจำนวนมากถัดไปจึงเปXนเทือกเขา ดังนั้นผูCคนจึงตั้งถิ่นฐานและเปลี่ยนแปลงไปตามความอุดมสมบูรณR ของพื้นที่ อยPางไรก็ตามในจังหวัดอุตรดิตถRยังมีความตื่นตัวในดCานการอนุรักษRมรดกวัฒนธรรมและนิเวศ วัฒนธรรมอยูPนCอยเมื่อเปรียบเทียบกับจังหวัดอื่นในภาคเหนือ

5.2.4.6 ดJานการบริหารปกครอง จังหวัดอุตรดิตถRแบPงเขตการปกครองออกเปXน 9 อำเภอ 67 ตำบล 613 หมูPบCาน ประกอบดCวย สPวนราชการบริหารสPวนกลาง ที่มีสำนักงานตั้งอยูPในสPวนภูมิภาค จำนวน 60 หนPวยงาน สPวนราชการบริหาร สPวนภูมิภาค จำนวน 33 หนPวยงาน และสPวนราชการบริหารสPวนทCองถิ่น 80 แหPง ประกอบดCวย องคRการ บริ ห ารสP ว นจั ง หวั ด จำนวน 1 แหP ง เทศบาลเมื อ งฯ จำนวน 1 แหP ง เทศบาลตำบล จำนวน 25 แหP ง และองคRการบริหารสPวนตำบล จำนวน 53 แหPง

5.2.5 จังหวัดแพร3 5.2.5.1 ดJานภูมิศาสตร+ ภูมิประเทศ พื้นที่จังหวัดแพรPลCอมรอบดCวยภูเขาทั้ง 4 ทิศ พื้นที่สPวนใหญPประมาณรCอยละ 80 เปXนภูเขา มีพนื้ ที่ราบ เพียงรCอยละ 20 โดยลาดเอียงไปทางทิศใตCตามแนวไหลของแมPน้ำยมคลCายกCนกระทะ พื้นที่ราบของจังหวัด จะอยูPระหวPางหุบเขามี2แปลงใหญPคือ ที่ราบบริเวณพื้นที่อำเภอรCองกวางอำเภอเมืองแพรPอำเภอสูงเมPน และอำเภอเดPนชัยและอีกหนึ่งแปลงคือ บริเวณที่ตั้งอำเภอลองและอำเภอวังชิ้น ซึ่งที่ราบดังกลPาวใชCเปXน ที่อยูPอาศัยและทำการเกษตร

ภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดแพรPจัดอยูPในลักษณะแบบฝนเมืองรCอนเฉพาะฤดูหรือแบบทุPงหญCาเมือง รC อ น (Tropical Savanna) บริ เ วณดั ง กลP า วอยู P ใ นเขตรP อ งอากาศเขตรC อ น (Intertropical Convergence Zone) ปริมาณและการกระจายของฝนจะไดCรับอิทธิพลจากลมมรสุม 2 ประเภท คือลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตC 5-86

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ทำใหCมีฝนตกชุกและลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ที่นำเอาอากาศหนาวและแหCงแลCงจากประเทศจีน มาปกคลุมทั่วบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย นอกจากนี้ลักษณะพื้นที่ของจังหวัดแพร ที่เปXนแอPงคลCายกCน กระทะและลักษณะภูมิประเทศเปXนภูเขา จึงทำใหCสภาพอากาศแตกตPางกันมาก ลักษณะภูมิอากาศของ จังหวัดแพรPแบPงเปXน 3 ฤดูกาล ฤดูหนาว ระหวPางกลางเดือนตุลาคม-กลางเดือนกุมภาพันธR ฤดูรCอน กลางเดือนกุมภาพันธR-กลางเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน กลางเดือนพฤษภาคม-กลางเดือนตุลาคม

5.2.5.2 ดJานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลJอม ลุ3มน้ำ จังหวัดแพรP มีพื้นที่ซCอนทับกับเขตลุPมน้ำ คือ มีพื้นที่สPวนใหญPอยูPในลุPมน้ำยม ลุPมน้ำยม เปXนลุPมน้ำหลักในภาคเหนือของประเทศไทย เปXนลุPมน้ำสาขาที่สำคัญของลุPมน้ำเจCาพระยา มีพื้นที่รับน้ำฝน 23,618 ตารางกิโลเมตรครอบคลุมพื้นที่11จังหวัด ประกอบดCวย พะเยา นPาน ลำปาง แพรP ตาก กำแพงเพชร สุ โ ขทั ย อุ ต รดิ ต ถR พิ ษ ณุ โ ลก พิ จ ิ ต ร และนครสวรรคR ประกอบดC ว ย 11 ลุ P ม น้ ำ ยP อ ย คือ แมPน้ำยมตอนบน แมPน้ำควร น้ำปWyแมPน้ำงาว แมPน้ำยมตอนกลาง น้ำแมPคำมี น้ำแมPตCา หCวยแมPสิน น้ำแมPมอก น้ำแมPรำพัน และแมPน้ำยมตอนลPางลุPมน้ำยมมีปริมาณฝนเฉลี่ยปWละ 1,143 มม. มีปริมาณน้ำทPาเฉลี่ยปWละ 4,143 ลCาน ลบม. เปXนปริมาณน้ำทPาในฤดูแลCง 696 ลCาน ลบม.คิดเปXนรCอยละ 17 ของปริมาณน้ำทPาทั้งหมด จากการรายงานการศึกษาของกรมชลประทานเมื่อปWพ.ศ. 2541 พบวPา ความจุน้ำของลำน้ำยมตั้งแตPตCนน้ำ ถึงอำเภอเมืองสุโขทัยจะมีคPาอยูPระหวPาง 1,500 ถึง 3,000 ม.3/วินาทีในสPวนของจังหวัดแพรP ความจุของลำน้ำ ที่สถานีหCวยสัก (Y20) อ.สอง 3,538 ลบม./วินาทีระดับตลิ่ง 12.506 ม. ที่สถานีน้ำโคCง (Y12) อ.เมือง มีความจุ 1,027 ลบม./วินาทีระดับตลิ่ง 8.260 ม. และที่สถานีวังชิ้น (Y37) มีความจุ 1,692 ลบม./วินาที ระดับตลิ่ง 12.990 ม. เนื่องจากสภาพคอขวดของลำน้ำทำใหCการระบายน้ำในฤดูฝนทำไดCไมPดีเทPาที่ควรและมักเปXนปiญหา เรื่องอุทกภัยอีกทั้งมีลักษณะคดเคี้ยวไปมา ทำใหCในฤดูฝนเมื่อมีน้ำไหลบPาอยPางแรงมักเกิดอุทกภัยในพื้นที่ราบ ลุPมสองริมฝijงแมPน้ำยม แมPน้ำยมเปXนแมPน้ำสายเดียวในจำนวนแมPน้ำสายหลักของลุPมแมPน้ำเจCาพระยาที่ไมPมี เขื่อนเก็บกักน้ำในชPวงฤดูแลCง ประกอบกับการที่ลำน้ำสาขามีปริมาณน้ำนCอยจึงมักเกิดปiญหาการขาดแคลนน้ำ ในพื้นที่ลุPมน้ำเปXนประจำทุกปW

แหล3งน้ำ แมPน้ำยม เปXนแหลPงน้ำที่สำคัญของจังหวัด มีตCนน้ำกำเนิดจากดอยขุนยวม 2 ในทิวเขาผีปiนน้ำ เขตอำเภอปงจังหวัดพะเยาโดยไหลลงทางทิศตะวันตกเฉียงใตCผPานซอกเขาที่ปกคลุมดCวยปsาและมีความลาดเทมาก มี ท ี ่ ร าบแคบ ๆ ริ ม ลำน้ ำ เปX น บางตอน เมื ่ อ เขC า ทC อ งที ่ จ ั ง หวั ด แพรP แ ละผP า นลำน้ ำ งาวแลC ว ลงทางทิ ศ ใตC 5-87


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

เริ่มออกที่ราบผืนใหญPของจังหวัดแพรP จากอำเภอสองผPานอำเภอหนองมPวงไขP อำเภอเมือง อำเภอสูงเมPน ไปจนถึ ง อำเภอเดP น ชั ย จากนั ้ น ไหลลงสู P ท ิ ศ ตะวั น ตกเขC า ซอกเขา ไหลผP า นอำเภอลอง อำเภอวั ง ชิ้ น กPอนเขCาทCองที่สุโขทัยลงทางทิศใตCถึงอำเภอศรีสัชนาลัย และมีความลาดเทนCอยลงเมื่อผPานที่ตั้งจังหวัดสุโขทัย แลC ว ลงทางทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งใตC ท C อ งที ่ จ ั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลกถึ ง ทC อ งที ่ จ ั ง หวั ด พิ จ ิ ต รแลC ว ไหลลงทางทิ ศ ใตC เปXนครั้งสุดทCายและมีแนวขนานคูPเคียงกับแมPน้ำนPาน จนไหลลงแมPน้ำสายนั้นที่บCานเกยชัยในเขตอำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรคRยาวประมาณ 735 กม. โดยไหลผPานจังหวัดแพรPตามแนวยาวของจังหวัดระยะทาง 280 กม. ซึ่งเปXนความยาว 1 ใน 3 ของความยาวทั้งหมดของลำน้ำ

ปVาไมJและสัตว+ปVา จังหวัดแพรP มีพื้นที่ปsาไมC2,627,401.47 ไรP คิดเปXนรCอยละ 64.84 ของพื้นที่จังหวัดแพรP จำแนกเขต การใชCประโยชนRที่ดินออกเปXน 3 เขต ดังนี้ 1. เขตปsาเพื่อการอนุรักษR(Zone C) 2. เขตปsาเพื่อเศรษฐกิจ (Zone E) 3. เขตปsาทีเ่ หมาะสมกับการเกษตรกรรม (Zone A)

เนื้อที่ 2,033,314 ไรP เนื้อที่ 1,082,889 ไรP เนื้อที่ 57,334 ไรP

5.2.5.3 ดJานกายภาพ การตั้งถิ่นฐาน และการใชJที่ดิน จังหวัดแพรPเปXน 1 ใน 17 จังหวัดภาคเหนือของประเทศไทย ตั้งอยูPระหวPางเสCนรุCงเหนือที่ 14.70 ถึง 18.44 องศา กับ เสCนแวงที่ 99.58 ถึง 100.32 องศา อยูPสูงกวPาระดับน้ำทะเลประมาณ 155 เมตร อยูPหPางจากกรุงเทพมหานครตามทางหลวง หมายเลข11 และ 101 ประมาณ 551 กิโลเมตรและทางรถไฟ 550 กิ โ ลเมตร (ถึ ง สถานี ร ถไฟเดP น ชั ย ) จั ง หวั ด แพรP มี ข นาดพื ้ น ที ่ ป ระมาณ 6,538.59 ตารางกิ โ ลเมตร หรือประมาณ 4,086,625 ไรP อาณาเขตติดตPอ ทิศเหนือ เขตอำเภอสอง และอำเภอรCองกวาง ติดตPอกับ จังหวัดลำปาง นPาน และพะเยา ทิศตะวันออก เขตอำเภอเมืองแพรP และอำเภอรCองกวาง ติดตPอกับจังหวัดนPาน และอุตรดิตถR ทิศใตC เขตอำเภอเดPนชัย และอำเภอวังชิ้น ติดตPอกับ จังหวัดอุตรดิตถR และสุโขทัย ทิศตะวันตก เขตอำเภอสอง อำเภอลอง และอำเภอวังชิ้น ติดตPอกับจังหวัดลำปาง ที่มา : หนังสือประวัติมหาดไทยสPวนภูมิภาคจังหวัดแพรP

5-88

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ผังเมืองรวมจังหวัดแพร3 เมืองรวมจังหวัดแพรP มีกรอบนโยบายดCานการผังเมือง แนวทางในการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานในอนาคต การกระจายตัวของการใชCประโยชนRที่ดินแตPละประเภท ประกอบไปดCวย 7 ประเภทหลัก ไดCแกP ชุมชน อุ ต สาหกรรมและคลั ง สิ น คC า ชนบทและเกษตรกรรม อนุ ร ั ก ษR ช นบทและเกษตรกรรม อนุ ร ั ก ษR ป s า ไมC สถาบันการศึกษา ที่โลPงเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลCอม มีสาระสำคัญดังนี้

ภาพที่ 5- 34 ผังเมืองรวมจังหวัดแพรP

(1) กำหนดกรอบการใชCประโยชนRที่ดินที่ชัดเจน เหมาะสม และสอดคลCองกับสภาพพื้นที่ (2) สP ง เสริ ม และพั ฒ นาระบบขนสP ง มวลชน และเชื่ อ มโยงโครงขP า ยระบบคมนาคมขนสP ง ใหC ส มบู ร ณR แ ละมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง พั ฒ นาระบบสาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การ เพื่อรองรับการพัฒนาพื้นที่ในอนาคต

5-89


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

(3) อนุ รั กษR และฟx y นฟู พื ้ นที่ เกษตรกรรมใหC มี ความอุ ดมสมบู รณR สP งเสริ มการเกษตรชี วภาพ อุ ตสาหกรรมแปรรู ป สิ นคC าเกษตรปลอดสารพิ ษ อุ ตสาหกรรมพื้ นบC านเพื่ อการสP งออก และสนับสนุน การทPองเที่ยวเชิงเกษตร (4) สPงเสริมและพัฒนาการทPองเที่ยว โดยเฉพาะการทPองเที่ยวทางธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิต โดยมุPงเนCนการอนุรักษRและฟxyนฟูแหลPงทPองเที่ยว และการสPงเสริมภูมิปiญญาทCองถิ่น (5) สPงเสริมการคCาขายบริเวณชายแดน เพื่อรองรับการเป}ดตลาดการคCาขายบริเวณชายแดน ในระดับอนุภูมิภาค โดยพัฒนาระบบโครงขPายคมนาคมใหCเปXนศูนยRกลางการขนถPายสินคCา เพื่อการประกอบอุตสาหกรรมและการทPองเที่ยว ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดแพร3 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดแพรPที่บังคับใชCในปiจจุบัน ประกอบไปดCวย ผังเมืองรวมเมืองแพรP ผังเมืองรวมชุมชนรCองกวาง ผังเมืองรวมชุมชนแมPหลPาย ผังเมืองรวมชุมชนสูงเมPน ผังเมืองรวมชุมชนเดPนชัย-แมPจั๊ว ผังเมืองรวมเมืองแพรP มีโครงสรCางแบบหลายศูนยRกลาง โดยมีศูนยRกลางหลัก 1แหPง และศูนยRกลางรอง 8 แหPง กระจายตัวโดยรอบ ศูนยRกลางหลักมีพาณิชยกรรมและที่อยูPอาศัยหนาแนPนมากเปXนศูนยRกลางหลัก บริเวณใจกลางเมือง ลCอมรอบดCวยที่อยูPอาศัยหนาแนPนปานกลาง และที่อยูPอาศัยหนาแนPนนCอย ชนบท และเกษตรกรรม ตามลำดั บ สP ว นศู น ยR ก ลางรองแตP ล ะแหP ง เนC น รองรั บ อยู P อ าศั ย หนาแนP น ปานกลาง และที่อยูPอาศัยหนาแนPนนCอยเปXนหลัก ผั ง เมื อ งรวมชุ ม ชนสู ง เมP น มี โ ครงสรC า งแบบศู น ยR ก ลางเดี ย ว โดยมี ศ ู น ยR ก ลางพาณิ ช ยกรรม และที่อยูPอาศัยหนาแนPนมากควบคูPกับที่อยูPอาศัยหนาแนPนปานกลางเปXนศูนยRกลางหลักบริเวณใจกลางเมือง ลCอมรอบที่อยูPอาศัยหนาแนPนนCอย ชนบทและเกษตรกรรม ตามลำดับ ผังเมืองรวมชุมชนรCองกวาง และผังเมืองรวมชุมชนเดPนชัย-แมPจั๊ว ประกอบดCวยศูนยRกลางหลัก 2 แหPง โดยมีศูนยRกลางพาณิชยกรรมและที่อยูPอาศัยหนาแนPนมากเปXนศูนยRกลางหลักบริเวณใจกลางเมือง ลCอมรอบดCวย ที่อยูPอาศัยหนาแนPนปานกลาง และที่อยูPอาศัยหนาแนPนนCอย ชนบทและเกษตรกรรม ตามลำดับ โดยมีพื้นที่ อนุรักษRชนบทและเกษตรกรรมในสัดสPวนที่มากกวPาพื้นที่อยูPอาศัย และปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมแทรกตัวอยูPดCวย ผั ง เมื อ งรวมชุ ม ชนแมP ห ลP า ย เนC น รองรั บ ที ่ อ ยู P อ าศั ย หนาแนP น นC อ ย โดยมี พ ื ้ น ที ่ อ นุ ร ั ก ษR ช นบท และเกษตรกรรมแทรกตัวผPากลางเมืองระหวPางพื้นที่อยูPอาศัย และลCอมรอบดCวยพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม

5-90

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ภาพที่ 5- 35 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดแพรP

5-91


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

5.2.5.4 ดJานเศรษฐกิจ จังหวัดแพรP ผลิตภัณฑRมวลรวมจังหวัดแพรP ปW พ.ศ. 2561 มีมูลคPา 30,403 ลCานบาทโดยขยายตัว และปรับตัวดีขึ้นตPอเนื่องจาก 22,357 -30,403 ลCานบาท ในปW พ.ศ. 2554-2561 ในขณะที่ผลิตภัณฑRมวลรวม จังหวัด ตPอหัว (GPP per capita) มีคPาเฉลี่ยของผลิตภัณฑRจังหวัดตPอหัวเพิ่มขึ้นจาก 52,878-78,276 บาทตPอคน ตPอปWในปW พ.ศ. 2554-2561 โดยมูลคPาสูงสุดของโครงสรCางผลิตภัณฑRมวลรวมจังหวัดแพรPในปW พ.ศ. 2561 ขึ้นอยูPกับภาคนอก เกษตร สาขาการผลิตที่มีบทบาทสำคัญตPอเศรษฐกิจจังหวัดแพรP ไดCแกP ภาคบริการ อั น ดั บ ที ่ 1 การศึ ก ษา (4,410 ลC า นบาท) อั น ดั บ ที ่ 2 การขายสP ง และการขายปลี ก การซP อ มยานยนตR และจักรยานยนตR (3,226 ลCานบาท) และ อันดับ 3 กิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัย (2,841 ลCานบาท) รองลงมาภาคอุตสาหกรรม ในสPวนของสาขาการผลิต (3,152 ลCานบาท)

5.2.5.5 ดJานประชากร สังคม ประวัติศาสตร+ และวัฒนธรรม ประชากร จังหวัดแพรP อำเภอเมืองแพรPมีสัดสPวนประชากรในเขตเมืองเปXน 64.65 และไมPมีอำเภอที่มีสัดสPวน ประชากรในเขตเมืองสูงมากกวPารCอยละ 80 สPวนอำเภอที่มีสัดสPวนประชากรในเขตเมืองนCอยกวPารCอยละ 20 ไดCแกP อำเภอสูงเมPน (5.66) และอำเภอวังชิ้น (6.77) อำเภอสPวนใหญPมีสัดสPวนประชากรในเขตเมืองอยูPในชPวง รCอยละ 25-58 คือ อำเภอรCองกวาง อำเภอลอง อำเภอเดPนชัย อำเภอสอง และ อำเภอหนองมPวงไขP • ประชากรกลุPมชาติพันธุRในจังหวัดแพรP สามารถแบPงไดCทั้งหมด 4 กลุPมชาติพันธุR ไดCแกP กะเหรี่ยง มCง (แมCว) อาขPา (อีกCอ) และมลาบรี (ตองเหลือง) • ประชากรกลุPมชาติพันธุRจังหวัดแพรPสPวนใหญPเปXนกลุPมชาติพันธุRกะเหรี่ยง 8,698 คน รCอยละ 64 รองลงมา คือ กลุPมชาติพันธุRมCง (แมCว) 4,291 คน รCอยละ 31 กลุPมชาติพันธุRอาขPา (อีกCอ) 540 คน รCอยละ 4 และกลุPมชาติพันธุRมลาบรี (ตองเหลือง) 101 คน รCอยละ 1 Error! Reference source not found.

5-92

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ ข้อมูลประชากรกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดแพร่ (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์)

อาข่า (อีก้อ) 3.96%

มลาบรี (ตองเหลือง) 0.74%

ม้ง (แม้ว) 31.48% กะเหรี่ยง 63.82%

ภาพที่ 5- 36 ประชากรกลุPมชาติพันธุRจังหวัดแพรP (แยกรายกลุPมชาติพันธุR)

5-93


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ตารางที่ 5- 13 ขCอมูลประชากรกลุRมชาติพันธุSจังหวัดแพรR (แยกรายกลุRมชาติพันธุS) ลำดับ

กลุ่มชาติพันธุ์

ครัวเรือน

ครอบครัว

ชาย

หญิง

เด็กชาย

เด็กหญิง

รวม

ร้อยละ (1)

ร้อยละ (2)

1

กะเหรี่ยง

16

2,436

2,553

3,741

3,599

675

683

8,698

0.76

63.82

2

ม้ง (แม้ว)

3

450

450

1,462

1,635

632

562

4,291

0.37

31.48

3

อาข่า (อีก้อ)

2

110

113

220

208

69

43

540

0.05

3.96

4

มลาบรี (ตองเหลือง)

1

14

14

29

26

22

24

101

0.01

0.74

รวม

5-94

หมู่บ้าน

22

3,010

3,130

5,452

5,468

1,398

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร

1,312

13,630


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ประวัติศาสตร+ เมืองแพร? เปAนเมืองโบราณสร(างมาช(านานแล(วตั้งแต?อดีตกาล แต?ยังไม?ปรากฏหลักฐานแน?ชัดว?า สร(างขึ้นในสมัยใดและใครเปAนผู(สร(างเมืองแพร?เปAนเมืองที่ไม?มีประวัติของตนเองจารึกไว(ในที่ใด ๆ โดยเฉพาะ นอกจากปรากฏในตำนานพงศาวดารและจารึกของเมืองอื่น ๆ บ(างเพียงเล็กน(อย จากการศึกษาค(นคว(าและตรวจสอบหลักฐานจากตำนานเมืองเหนือพงศาวดารโยนกและศิลาจารึก พ?อขุนรามคำแหงเมืองแพร?น?าจะสร(างยุคเดียวกันกับกรุงสุโขทัย เชียงใหม?ลำพูน พะเยา น?าน เมืองแพร?มีชื่อเรียกกันหลายอย?าง ตำนานเมืองเหนือเรียกว?า “พลนคร” หรือ “เมืองพล” ดังปรากฏ ในตำนานสร(างพระธาตุลำปางหลวงว?า “เบื้องหน(าแต?นั้นนานมา ยังมีพระยาสามนตราชองค\หนึ่ง เสวยราชสมบัติ ในพลรัฐนคร อันมีในที่ใกล(กันกับลัมภกัปปะนคร (ลำปาง) นี่ ทราบว?าสรีรพระธาตุพระพุทธเจ(ามีในลัมภกัปปะนคร ก็ปรารถนาจะใคร?ได(” ในสมัยขอมเรืองอำนาจราว พ.ศ. 1470-1560 นั้น พระนางจามเทวีได(แผ?อำนาจเข(าครอบครอง ดินแดนในเขตลานนาได(เปลี่ยนชื่อเมืองในเขตลานนาเปAนภาษาเขมร เช?น ลำพูนเปAนหริภุญชัย น?านเปAน นันทบุรีเมืองแพร?เปAนโกศัยนคร หรือ นครโกศัย ชื ่ อ ที ่ ป รากฏในศิ ล าจารึ ก พ? อ ขุ น รามคำแหง เรี ย กว? า “เมื อ งพล” และได( ก ลายเสี ย งตามหลั ก ภาษาศาสตร\เปAน “แพร?” ชาวเมืองนิยมออกเสียงว?า “แปf” ที่มา : หนังสือประวัติมหาดไทยส?วนภูมิภาคจังหวัดแพร

เมืองเก3าแพร3 เมื อ งเก? า แพร? ม ี ล ั ก ษณะทางกายภาพของเวี ย งแพร? เ ปA น เมื อ งรู ป ร? า งยาวคล( า ยสี ่ เ หลี ่ ย มผื น ผ( า หรือเรียกว?า “เมืองรูปหอยสังข\” มีทิศทางขนานไปกับแม?น้ำยม มีลำน้ำธรรมชาติที่เข(ามาเปAนส?วนหนึ่ง ของคูเมืองทางด(านทิศเหนือ กำแพงพูนดินขึ้นสูงมาก ชาวบ(านเรียกว?า “เมฆ” ซึ่งมีเพียงคูน้ำเพียงชั้นเดียว ล(อมรอบด(านนอก ปjจจุบันเหลือชัดเจนเพียงส?วนหนึ่ง เรียกว?า “น้ำคือ” และแนวร?องรอยที่ต?อเนื่องกับลำห(วย แม?แคมที่ไหลมาจากเทือกเขาแถบปkาแดง-ช?อแฮ? ประตูเมืองดั้งเดิมมีทั้ง 4 ด(าน คือ ประตูยั้งม(า (ประตูเวียง) ประตู ช ั ย ประตู ศ รี ช ุ ม และประตู ม าร และมี ก ารสร( า งประตู เ พามขึ ้ น ในภายหลั ง ใกล( ก ั บ ประตู ย ั ้ ง ม( า เรียกว?า “ประตูใหม?” จนกลายเปAน 5 ประตูในปjจจุบัน สถาปjตยกรรมทางศาสนาภายในเวียงแพร?แสดงถึง อิทธิพลของศิลปกรรมจากสุโขทัยและล(านนาภายในเวียงแพร?มีวัดสำคัญและวัดหลวงชั้นวรวิหารประจำเมือง ในปjจจุบัน และส?วนนอกเมืองทางฝjnงเชิงเขาด(านทิศตะวันออกมีพระธาตุช?อแฮเปAนพระธาตุศักดิ์สิทธิ์ประจำเมือง

5-95


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ภาพที่ 5- 37 เขตพื้นที่เมืองเก?าแพร? อำเภอเมือง จังหวัดแพร?

สถานการณ+ประวัติศาสตร+ โบราณคดี การอนุรักษ+มรดกวัฒนธรรมในจังหวัดแพร3 ปj จจุ บั นในจั งหวั ดแพร? มี โบราณสถานทั ้ งสิ ้ น 66 แห? ง แบ? งเปA นโบราณสถานที ่ ขึ ้ นทะเบี ยนแล( ว จำนวน 15 แห? ง และยั ง ไม? ข ึ ้ น ทะเบี ย นทั ้ ง หมด 51 แห? ง ซึ ่ ง ส? ว นใหญ? โ บราณสถานที ่ ข ึ ้ น ทะเบี ย น เปAนโบราณสถานประเภทวัดอยู?ในอำเภอเมืองแพร?ทั้งสิ้น จังหวัดแพร?เปAนเมืองที่มีกำแพงเมือง (เมก) และคูน้ำที่สมบูรณ\ที่สุดในประเทศ มีเรือนไม(บ(านไม( และพื้นที่ปkาไม(ที่เปAนมรดกตกทอดถึงการเปAนเมืองอุตสาหกรรมไม(สักในอดีต นอกจากนั้นยังมีวัดวาอาราม เก? าแก? ในสมั ยเวี ยงแพล? และล( านนาจำนวนมาก นอกจากนั ้ นยั งมี หม( อห( อมที ่ เปA นภู มิ ปj ญหาการย( อมผ( า จากธรรมชาติ ดั ง นั ้ น ในจั ง หวั ด แพร? จ ึ ง มี ก ระบวนการอนุ ร ั ก ษ\ ม รดกวั ฒ นธรรมและนิ เ วศธรรมชาติ ผ?านทั้งหน?วยงานรัฐ และที่สำคัญคือมีแรงกระตุ(นที่มาจากภาคประชาสังคม 5-96

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ในจังหวัดแพร?มีเครือข?ายอนุรักษ\เมืองเก?าแพร?จัดตั้งโดยภาคประชาสังคม มีการศึกษาบ(านเก?าไม( เมืองแพร? ประวัติศาสตร\ มรดกธรรมชาติและวัฒนธรรเมืองแพร?อย?างเข(มข(น เห็นได(จากเหตุการณ\ที่หน?วยงาน ภาครัฐได(รื้อถอนทำลายอาคารศูนย\เรียนรู(ปkาไม( สวนรุกขชาติเชตวัน โดยรื้ออาคารเดิมที่อยู?ริมน้ำออก ภาคีเครือข?ายรักษ\เมืองเก?าแพร?ได(คัดค(านและยื่นข(อเรียกร(องให(ระงับการก?อสร(างโครงการ ปรับปรุงซ?อมแซม อาคารศูนย\เรียนรู(การปkาไม( สวนรุกขชาติเชตวันทันที และขอให(เปrดเผยข(อมูลโครงการ งบประมาณ รูปแบบ การก?อสร(าง แผนการดำเนินงาน ผู(รับผิดชอบโครงการ ตรวจสอบหาผู(รับผิดชอบในการรื้อถอนทำลายอาคาร ประวั ต ิ ศ าสตร\ ซึ ่ ง ก? อ ให( เ กิ ด กระแสการต? อ ต( า นการสร( า งใหม? ต ามแผนเดิ ม ของหน? ว ยงานรั ฐ รวมไปทั้ ง แผนการสร(างเขื่อนและถนนริมแม?น้ำยมด(วย

5.2.5.6 ดIานการบริหารปกครอง จังหวัดแพร?แบ?งเขตการปกครองออกเปAน 8 อำเภอ 78 ตำบล และ 706 หมู?บ(าน

5.2.6 จังหวัดน3าน 5.2.6.1 ดIานภูมิศาสตร+ ภูมิประเทศ จังหวัดน?าน มีทิวเขาหลวงพระบางและทิวเขาผีปjนน้ำ ซึ่งเปAนทิวเขาหินแกรนิต ที่มีความสูง 600 1,200 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลทอดผ?านทั่วจังหวัด คิดเปAนพื้นที่ประมาณร(อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด พื้นที่ของจังหวัดน?านโดยทั่วไป มีสภาพพื้นที่เปAนลูกคลื่นลอนชันและมีความลาดชันเกิน 30 องศา ประมาณ ร(อยละ 85 ของพื้นที่จังหวัด ส?วนลูกคลื่นลอนลาด ตามลุ?มน้ำ จะเปAนที่ราบแคบ ๆ ระหว?างหุบเขาตามแนวยาว ของลุ?มน้ำน?าน สา ว(า ปjว และน้ำกอน

ธรณีวิทยา จังหวัดน?านมีแหล?งแร?ที่สำคัญหลายชนิด ได(แก? ถ?านหิน โครไมล\นิกเกิล แมกนีไชค\ ลิกไนต\ แบไรต\ ฟลูออไรด\ แมงกานีส ดินขาว บอลเคย\ โอปอล หินประดับวุลแฟรม พลวง เหล็ก ยิปซัม ควอทซ\ เฟลด\สปาร\ หินอ?อน สังกะสี ตะกั่ว ดีบุก หินประดับชนิดปูน และแร?ใยหิน นอกจากความสำคัญทางเศรษฐกิจแล(ว ยังมีแหล?งศึกษาทางด(านวิศวกรรมเหมือแร?ได(ด(วย

ภูมิอากาศ มี ค วามแตกต? า งกั น ของฤดู ก าล โดยอากาศจะร( อ นอบอ( า วในฤดู ร ( อ น อุ ณ หภู ม ิ เ ฉลี ่ ย สู ง สุ ด ในปx เท? า กั บ 39.8 องศาเซลเซี ย ส และหนาวเย็ น ในฤดู ห นาว อุ ณหภู ม ิ ต ่ ำ สุ ด ในเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ\ มี อ ุ ณหภู มิ 9.00 องศาเซลเซียส โดยได(รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต(พัดพาเอาความชุ?มชื้นมาสู?ภูมิภาค ทำให(มี

5-97


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ฝนตกชุกในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน ซึ่งเปAนช?วงฤดูฝน น้ำฝนเฉลี่ย 10 ปxย(อนหลัง 1,294 มิลลิเมตร และได(รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดพาเอาความหนาวเย็นสู?ภูมิภาคในเดือนตุลาคม ถึ ง กุ ม ภาพั น ธ\ แ ละในช? ว งเดื อ นมี น าคมถึ ง เมษายน จะได( ร ั บ อิ ท ธิ พ ลจากลมมรสุ ม ตะวั น ออกเฉี ย งใต( ทำให(มีสภาพอากาศร(อน ฤดูร(อน อยู?ในช?วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน อยู?ในช?วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม ฤดูหนาวอยู?ในช?วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ\

5.2.6.2 ดIานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลIอม ลุ3มน้ำ จังหวัดน?าน มีพื้นที่ซ(อนทับกับเขตลุ?มน้ำ คือ มีพื้นที่ส?วนใหญ?อยู?ในลุ?มน้ำน?าน

แหล3งน้ำ แม?น้ำน?าน มีต(นกำเนิดจากล(าห(วยหลายสายไหลมารวมกับต(นแม?น้ำที่เทือกเขากิ่งศาลาแล(วไหลลงสู? ที่ราบต่ำทางทิศเหนือในเขตอำเภอบ?อเกลือ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ อำเภอทุ?งช(าง ผ?านอำเภอเชียง-กลาง อำเภอปjว อำเภอท?าวังผา อำเภอเมือง อำเภอเวียงสา อำเภอนาน(อย และอำเภอนาหมื่น จากนั้นไหลผ?าน จังหวัดอุตรดิตถ\ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดพิจิตร ไปบรรจบแม?น้ำปrง วังยม ที่ปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค\ แม?น้ำว(า ต(นกำเนิดจากเทือกเขาผีปjนน้ำ ไหลผ?าน อำเภอบ?อเกลือ อำเภอแม?จริม อำเภอสันติสุข และไปบรรจบแม?น้ำน?านที่อำเภอเวียงสา จังหวัดน?าน แม?น้ำสา มีต(นกำเนิดจากทิวเขาอำเภอเวียงสา ไหลมาบรรจบกับแม?น้ำน?านที่ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา จังหวัดน?าน แม?น้ำปjว มีต(นกำเนิดจากเทือกเขาดอยภูคาไหลบรรจบแม?น้ำน?านที่บ(านสบปjว อำเภอปjว จังหวัดน?าน

ปTาไมIและสัตว+ปTา พื้นที่ส?วนใหญ?ของลุ?มน้ำน?านเปAนพื้นที่ปkาไม( 7,409,123 ไร? คิดเปAนร(อยละ 49.30 ของพื้นที่ทั้งลุ?มน้ำ เห็นได(ว?า ลุ?มน้ำน?านยังมีการอนุรักษ\ปkาต(นน้ำ มีความอุดมสมบูรณ\อยู?มาก สำหรับการใช(ประโยชน\ที่ดิน ในเขตพื้นที่ปkาสงวนแห?งชาติในลุ?มน้ำน?านที่มีพื้นที่มากที่สุด คือ ปkาอนุรักษ\ นอกจากนี้ ยังมีอุทยานแห?งชาติ ที่มีพื้นที่ครอบคลุมอยู?ในลุ?มน้ำน?าน มีจำนวน 6 แห?ง มีพื้นที่รวม 2,853,621 ไร? คิดเปAนร(อยละ 13.16 ของพื้นที่ลุ?มน้ำ เขตรักษาพันธ\สัตว\ปkา 5 แห?ง เขตห(ามล?าสัตว\ปkา 2 แห?ง และพื้นที่ชุ?มน้ำอีก 2 แห?ง

5-98

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

อย?างไรก็ตาม ปkาสงวนแห?งชาติเหล?านี้มิได(เปAนสภาพปkาทั้งหมด ส?วนใหญ?ได(ถูกบุกรุกเปAนพื้นที่เกษตร และพื ้ น ที ่ อ ยู ? อ าศั ย ไปแล( ว แต? ก ็ ย ั ง มิ ไ ด( ท ำการเพิ ก ถอน ดั ง นั ้ น พื ้ น ที ่ เ หล? า นี ้ จ ึ ง ยั ง คงสภาพเปA น ปk า ไม( อยู?ตามพระราชบัญญัติปkาสงวนแห?งชาติ พ.ศ. 2507 โดยบางบริเวณไม?มีสภาพปkาไม(

5.2.6.3 ดIานกายภาพ การตั้งถิ่นฐาน และการใชIที่ดิน จังหวัดน?าน ตั้งอยู?ติดกับชายแดนทางด(านทิศตะวันออกของภาคเหนือตอนบนติดกับสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ห?างจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนต\ ประมาณ 668 กิโลเมตร บริเวณเส(นรุ(งที่ 18 องศา 46 ลิปดาฟrลิปดาเหนือ เส(นแวงที่ 18 องศา 46 ลิปดา 44 ฟrลิปดาตะวันออก ระดับความสูงของพื้นที่อยู?สูง 2,112 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง ขนาดพื้นที่ทั้งสิ้นประมาณ 7,581,035.02 ไร? หรือ 12,163.04 ตารางกิโลเมตร ซึ่งสภาพพื้นที่ โดยทั่วไปของจังหวัดส?วนใหญ?เปAนภูเขาถึงร(อยละ 87.2 ของพื้นที่ทั้งหมด มีที่ราบเพียงร(อยละ 12.8 ของพื้นที่ ทั้งหมด พื้นที่ของจังหวัดน?านส?วนใหญ?เปAนปkาและภูเขาสลับซับซ(อน จำแนกได(ดังนี้ (1) (2) (3) (4)

พื้นที่ปkาสงวนแห?งชาติ 3.22 (ล(าน) ไร? คิดเปAนร(อยละ 42.48 พื้นที่ปkาอนุรักษ\ 2.83 (ล(าน) ไร? คิดเปAนร(อยละ 37.34 พื้นที่ส านักงานปฏิรูปเพื่อเกษตรกรรม (สปก.) 0.46 (ล(าน) ไร? คิดเปAนร(อยละ 6.06 พื้นที่เอกสารสิทธิ์อื่น ๆ 1.07 (ล(าน) ไร? คิดเปAนร(อยละ 14.12

อาณาเขตติดต?อ ทิศเหนือ ติดต?อกับ เมืองเงิน เมืองเชียงฮ?อน แขวงไชยบุรีสปป.ลาว ทิศตะวันออก ติดต?อกับ แขวงไชยบุรี สปป.ลาว ทิศใต( ติดต?อกับ อำเภอบ(านโคก จังหวัดอุตรดิตถ\และอำเภอร(องกวาง จังหวัดแพร? ทิศตะวันตก ติดต?อกับ อำเภอเชียงม?วน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา จังหวัดน?านมีด?านเข(าออกกับประเทศลาวหลายแห?งด(วยกัน เช?น จุดผ?านแดนถาวรสากลห(วยโกyนน้ำเงิน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ, จุดผ?อนปรนบ(านใหม?ชายแดน อำเภอสองแคว และจุดผ?อนปรนบ(านห(วยสะแตง อำเภอทุ?งช(าง ผังเมืองรวมจังหวัดน3าน เมืองรวมจังหวัดน?าน มีกรอบนโยบายด(านการผังเมือง แนวทางในการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานในอนาคต การกระจายตัวของการใช(ประโยชน\ที่ดินแต?ละประเภท ประกอบไปด(วย 4 ประเภทหลัก ได(แก? ชุมชน ชนบท และเกษตรกรรม อนุรักษ\ปkาไม( และที่โล?งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล(อม มีสาระสำคัญดังนี้

5-99


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ภาพที่ 5- 38 ผังเมืองรวมจังหวัดน?าน

(1) ส? งเสริ มและพั ฒนาจั งหวั ดน? านให( เปA นศู นย\ กลางการขนส? งและอุ ตสาหกรรมท? องเที ่ ยว เพื่อเชื่อมโยงพื้นที่โดยรอบจังหวัดและประเทศเพื่อนบ(าน (2) ส?งเสริมการค(าชายแดนเพื่อรองรับการเปrดตลาดการค(าชายแดนในระดับอนุภูมิภาค (3) ส?งเสริมและพัฒนาการเกษตร การเกษตรชีวภาพ และอุตสาหกรรมการแปรรูปผลิตผล ทางการเกษตรที่ไม?ก?อให(เกิดมลพิษ (4) ดำรงรักษาพื้นที่เกษตรกรรมให(เปAนแหล?งผลิตอาหาร 5-100

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

(5) ส?งเสริมและพัฒนาการท?องเที่ยวเชิงนิเวศน\ เชิงเกษตร และเชิงศิลปวัฒนธรรมและ วิถีชีวิต ชุมชนที่เปAนเอกลักษณ\ของท(องถิ่น โดยเน(นการอนุรักษ\และฟz{นฟูแหล?งท?องเที่ยว และส?งเสริม ภูมิปjญญาท(องถิ่น (6) ส?งเสริมงานหัตถกรรมพื้นบ(านเพื่อการส?งออก (7) อนุรักษ\โบราณสถาน ศิลปวัฒนธรรมที่มีคุณค?าทางศิลปกรรม ประวัติศาสตร\ และโบราณคดี (8) พัฒนาการบริการทางสังคม สาธารณูปโภค และสาธารณูปการให(เพียงพอและได(มาตรฐาน (9) อนุรักษ\ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดน3าน ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดน?านที่บังคับใช(ในปjจจุบัน ประกอบไปด(วย ผังเมืองรวมเมืองน?าน ผังเมืองรวมชุมชนทุ?งช(าง ผังเมืองรวมชุมชนเชียงกลาง ผังเมืองรวมชุมชนเวียงสา ผังเมืองรวมชุมชนนาน(อย ผั ง เมื อ งรวมเมื อ งน? า น มี โ ครงสร( า งแบบศู น ย\ ก ลางเดี ย ว โดยมี ศ ู น ย\ ก ลางหลั ก มี พ าณิ ช ยกรรม และที่อยู?อาศัยหนาแน?นมากเปAนศูนย\กลางหลักบริเวณใจกลางเมือง ล(อมรอบด(วยที่อยู?อาศัยหนาแน?นปานกลาง และที่อยู?อาศัยหนาแน?นน(อย ชนบทและเกษตรกรรม ตามลำดับ ผังเมืองรวมชุมชนทุ?งช(าง ผังเมืองรวมชุมชนเชียงกลาง มีโครงสร(างแบบหลายศูนย\กลาง โดยมี ศูนย\กลางพาณิชยกรรมและที่อยู?อาศัยหนาแน?นมากควบคู?กับที่อยู?อาศัยหนาแน?นปานกลางเปAนศูนย\กลางหลัก ล(อมรอบที่อยู?อาศัยหนาแน?นน(อย และมีพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรมในสัดส?วนมากที่สุด ผั ง เมื อ งรวมชุ ม ชนเวี ย งสา มี โ ครงสร( า งแบบศู น ย\ ก ลางหลั ก 1 แห? ง และศู น ย\ ก ลางรอง 1 แห? ง เน(นรองรับที่อยู?อาศัยหนาแน?นปานกลางและที่อยู?อาศัยหนาแน?นน(อยเปAนศูนย\หลัก พื้นที่ส?วนใหญ?ล(อมรอบด(วย พื้นที่ชนบทและเกษตรกรรมในสัดส?วนมากที่สุด ควบคู?กับอนุรักษ\ชนบทและเกษตรกรรม ผั งเมื องรวมชุ มชนนาน( อย มี โครงสร( างแบบศู นย\ กลางหลั ก 1 แห? ง และศู นย\ กลางรอง 2 แห? ง เน(นรองรับที่อยู?อาศัยหนาแน?นปานกลางและที่อยู?อาศัยหนาแน?นน(อยเปAนศูนย\หลัก พื้นที่ส?วนใหญ?ล(อมรอบด(วย พื้นที่ชนบทและเกษตรกรรมในสัดส?วนมากที่สุด ควบคู?กับอนุรักษ\ชนบทและเกษตรกรรม และปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม

5-101


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ภาพที่ 5- 39 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดน?าน

5-102

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

5.2.6.4 ดIานเศรษฐกิจ จังหวัดน?าน ผลิตภัณฑ\มวลรวมจังหวัดน?าน ปx พ.ศ. 2561 มีมูลค?า 33,674 ล(านบาทโดยขยายตัว และปรับตัวดีขึ้นต?อเนื่องจาก 22,512 -33,674 ล(านบาท ในปx พ.ศ. 2554-2561 ในขณะที่ผลิตภัณฑ\มวลรวม จังหวัดต?อหัว (GPP per capita) มีค?าเฉลี่ยของผลิตภัณฑ\จังหวัดต?อหัวเพิ่มขึ้นจาก 49,792-75,676 บาทต?อคน ต?อปxในปx พ.ศ. 2554- 2561 โดยมูลค?าสูงสุดของโครงสร(างผลิตภัณฑ\มวลรวมจังหวัดน?านในปx พ.ศ. 2561 ขึ้นอยู?กับภาคนอกเกษตร สาขาการผลิ ตที ่ มี บทบาทสำคัญต?อเศรษฐกิจจังหวัดน? าน ได(แก? ภาคบริ การ อันดับที่ 1 การขายส?ง และการขายปลีก การซ?อม ยานยนต\ และจักรยานยนต\(4,107ล(านบาท) อันดับที่ 2 การศึกษา (3,741 ล(านบาท) และอันดับ 3 การบริหารราชการ การปfองกันประเทศ และการประกันสังคม ภาคบังคับ (2,931 ล(านบาท) รองลงมาภาคอุตสาหกรรม ในส?วนของสาขาการผลิต (2,480ล(านบาท)

5.2.6.5 ดIานประชากร สังคม ประวัติศาสตร+ และวัฒนธรรม ประชากร จังหวัดน?าน อำเภอเมืองน?านมีสัดส?วนประชากรในเขตเมืองเปAน 43.00 และไม?มีอำเภอที่มีสัดส?วน ประชากรในเขตเมืองสูงกว?าร(อยละ 80 อำเภอที่มีสัดส?วนประชากรในเขตเมืองน(อยกว?าร(อยละ 20 ได(แก? อำเภอแม? จ ริ ม (14.85) และ อำเภอท? า วั ง ผา (11.00) ส? ว นอำเภอที ่ ไ ม? ม ี เ ทศบาลคื อ อำเภอบ( า นหลวง อำเภอสันติสุข อำเภอภูเพียง และ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ อำเภอส?วนใหญ?มีสัดส?วนประชากรในเขตเมือง ในช?วงร(อยละ 23-60 ได(แก? อำเภอทุ?งช(าง อำเภอเชียงกลาง อำเภอบ?อเกลือ อำเภอนาน(อย อำเภอปjว อำเภอเวียงสา อำเภอนาหมื่น และอำเภอสองแคว • ประชากรกลุ?มชาติพันธุ\ในจังหวัดน?าน สามารถแบ?งได(ทั้งหมด 6 กลุ?มชาติพันธุ\ ได(แก? ลัวะ (ละว(า) ม(ง (แม(ว) เมี่ยน (เย(า) ขมุ มลาบรี (ตองเหลือง) และลาหู? (มูเซอ) • ประชากรกลุ?มชาติพันธุ\จังหวัดน?านส?วนใหญ?เปAนกลุ?มชาติพันธุ\ลัวะ (ละว(า) 42,331 คน ร( อ ยละ 44.83 รองลงมา คื อ กลุ ? ม ชาติ พ ั น ธุ \ ม ( ง (แม( ว ) 31,132 คน ร( อ ยละ 32.97 กลุ?มชาติพันธุ\เมี่ยน (เย(า) 11,910 คน ร(อยละ 12.61 กลุ?มชาติพันธุ\ขมุ 8,668 คน ร(อยละ 9.18 กลุ?มชาติพันธุ\มลาบรี (ตองเหลือง) 357 คน ร(อยละ 0.38 และกลุ?มชาติพันธุ\ลาหู? (มูเซอ) 26 คน ร(อยละ 0.03 ภาพที่ 5- 40

5-103


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ข้อมูลประชากรกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดน่าน (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์) มลาบรี (ตองเหลือง) 0.38%

ลาหู่ (มูเซอ) 0.03%

ขมุ 9.18% เมี่ยน (เย้า) 12.61% ลัวะ (ละว้า) 44.83%

ม้ง (แม้ว) 32.97%

ภาพที่ 5- 40 ประชากรกลุ?มชาติพันธุ\จังหวัดน?าน (แยกรายกลุ?มชาติพันธุ\)

5-104

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ตารางที่ 5- 14 ข(อมูลประชากรกลุFมชาติพันธุIจังหวัดนFาน (แยกรายกลุFมชาติพันธุI) ลำดับ

กลุ)มชาติพันธุ2

1

ลัวะ (ละว(า)

2

หมู)บ5าน ครัวเรือน

ครอบครัว

ชาย

หญิง

เด็กชาย

เด็กหญิง

รวม

ร5อยละ (1)

ร5อยละ (2)

129

10,568

12,167

16,081

15,734

5,294

5,222

42,331

3.69

44.83

ม(ง (แม(ว)

32

4,671

5,920

9,695

9,809

5,806

5,822

31,132

2.71

32.97

3

เมี่ยน (เย(า)

30

1,957

2,240

4,810

4,595

1,276

1,229

11,910

1.04

12.61

4

ขมุ

23

2,101

2,371

3,481

3,328

939

920

8,668

0.75

9.18

5

มลาบรี (ตองเหลือง)

2

50

62

110

131

52

64

357

0.03

0.38

6

ลาหูF (มูเซอ)

2

7

7

11

8

4

3

26

0

0.03

รวม

218

19,354

22,767

34,188

33,605

13,371

13,260

94,424

5-105


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ประวัติศาสตร+ เมืองนQานในอดีตเปRนนครรัฐเล็ก ๆ กQอตัวขึ้นราวกลางพุทธศตวรรษที่ 18 บริเวณที่ราบลุQมแมQน้ำนQาน และแมQน้ำสาขา ในหุบเขาทางตะวันออกของภาคเหนือของประเทศไทยในป[พ.ศ. 1993 พระเจCาติโลกราช กษัตริย_นครเชียงใหมQ ตCองการครอบครองเมืองนQาน และแหลQงเกลือภูเขา "บQอมาง” ต.บQอเกลือใตC อ.บQอเกลือ ที่มีอยQางอุดมสมบูรณ_และหาไดCยากทางภาคเหนือ จึงไดCจัดกองทัพเขCายึดเมืองนQาน ตั้งแตQนั้นเปRนตCนมา เมืองนQานจึงถูกผนวกเขCาไวCในอาณาจักรลCานนา ตลอดระยะเวลาเกือบ 100 ป[ที่เมืองนQานอยูQในภายใตC อาณาจักรลCานนาไดCซึมซับเอาศิลปวัฒนธรรมของลCานนา มาไวCในวิถีชีวิต เมืองเก3าน3าน เมื อ งเกQ า นQ า นปรากฏครั ้ ง แรกในหลั ก ศิ ล าจารึ ก สุ โ ขทั ย ราวป[ พ.ศ. 1915 เมื อ งนQ า เกิ ด อุ ท กภั ย ในป[ พ.ศ. 2360 จึงไดCยCายเมืองไปบริเวณดงพระเนตรชCางทางทางตอนเหนือ เรียกวQา เมืองเวียงเหนือ เมืองนQานตั้งอยูQที่เมืองเวียงเหนือมาจนถึงป[ พ.ศ. 2398 แมQน้ำนQานเดCเปลี่ยนเสCนทางออกหQางกำแพงเมืองเกQา ไปมาก จึงมีการยCายเมืองกลับไปตั้งยังที่เดิมและมีการสรCางกำแพงเมืองขึ้นใหมQ ในป[ พ.ศ. 2474 ตำแหนQง เจCาผูCครองนครจึงถูกยุบนับตั้งแตQนั้นเปRนตCนมา เมืองนQานกลายเปRนจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย เมืองนQาน มีแหลQงโบราณคดีสมัยกQอนประวัติศาสตร_และแหลQงโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร_ที่สำคัญ จากหลักฐานทาง ประวัติศาสตร_และโบราณคดีเมืองนQานเปRนชุมชนและเมืองโบราณที่มีอายุเกQาแกQเมืองหนึ่งในดินแดนลCานนา ตะวันออก ตัวจังหวัดปiจจุบันตั้งซQอนทับบนตัวเมืองโบราณเดิม มีการบCายถิ่นฐานและสรCางเมืองใหมQอยูQหลายครั้ง เนื่องจากมีการปรับที่ตั้งใหCเขCากับสภาพแวดลCอมทางภูมิศาสตร_และปiจจัยอื่น ๆ เชQน ความตCองการเชื่อมตQอ กับเมืองและอาณาจักใกลCเคียง ความจำเปRนในการขยายมเมืองเนื่องจากจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ปiจจุบัน มีการสำรวจพบสQวนของปjอมกQออิฐทรงแปดเหลี่ยมบริเวณคQายทหาสุริยพงษ_ สันนิษฐานวQาเปRนสQวนหนึ่งของ ปjอมกำแพงคุCมหลวงหรือคุCมแกCว แนวกำแพงคูเมืองสูญหายจากการพัฒนาเมือง และเวียงดงพระเนตร อาจมีวัดโพธิ์เปRนวัดหลวง ซึ่งบริเวณบCานโพธิ์เปRนที่ตั้งชุมชนเปRนศูนย_กลางของเวียงเหนือ

5-106

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ภาพที่ 5- 41 ขอบเขตพื้นที่เมืองเกQานQาน “ใจเมืองนQาน” ตำบลในเวียง อำเภอเมือง จังหวัดนQาน

5-107


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ภาพที่ 5- 42 ขอบเขตพื้นที่เมืองเกQานQาน “เวียงพระธาตุแชQแหCง” ตำบลมQวงตึ๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดนQาน

สถานการณ+ประวัติศาสตร+ โบราณคดี การอนุรักษ+มรดกวัฒนธรรมในจังหวัดน3าน ปiจจุบันในจังหวัดพะเยา มีโบราณสถานทั้งสิ้น 99 แหQง แบQงเปRนโบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนแลCว จำนวน 27 แหQ ง และยั ง ไมQ ข ึ ้ น ทะเบี ย นทั ้ ง หมด 72 แหQ ง ซึ ่ ง สQ ว นใหญQ โ บราณสถานที ่ ข ึ ้ น ทะเบี ย น เปRนโบราณสถานประเภทวัดอยูQในอำเภอเมืองนQานและอำเภอปiว ซึ่งเปRนตCนกำเนิดของบCานเมืองนQานโบราณ จังหวัดนQาน เปRนพื้นที่สำคัญของแหลQงชุมชนโบราณที่เปRนชุมทางการคCาและแหลQงทรัพยากรสำคัญ คือ เกลือ อันเปRนทรัพยากรที่เปRนที่ตCองการของลCานนา ทั้งนี้สQวนใหญQโบราณสถานที่ไดCรับการขึ้นทะเบียน เปRนวัดในตัวเมืองเปRนสำคัญ นQาเสียดายวQายังมีเมืองโบราณเล็ก ๆ อยูQจำนวนหนึ่งที่มีลักษณะเปRนคูน้ำคันดิน ลCอมรอบ อันเปRนลักษณะของชุมชนโบราณที่อยูQคูQกับแหลQงเกลือโบราณ รวมทั้งพระธาตุเชิงเขาที่เปRนศูนย_กลาง ของชุมชนที่อยูQรQวมกับสิ่งแวดลCอมอีกมากที่ยังไมQไดCรับการขึ้นทะเบียนโบราณสถานและยังไมQไดCรับการสำรวจ

5-108

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ปi จ จุ บ ั น จั ง หวั ด นQ า นเปR น เมื อ งที ่ เ มื อ งทQ อ งเที ่ ย วอั น ดั บ ตC น ๆ ในภาคเหนื อ เปR น เมื อ งที ่ เ ปR น มรดกวัฒนธรรมอยูQคูQกับธรรมชาติ ปiญหาสำคัญของจังหวัดนQานคือระบบนิเวศธรรมชาติถูกทำลายรวมไปถึง วัฒนธรรมดCวย ดCวยประชากรที่มากขึ้น รวมทั้งการทQองเที่ยวที่เพิ่มขึ้นดCวย

5.2.6.6 ดGานการบริหารปกครอง จังหวัดนQานแบQงเขตการปกครองออกเปRน 15 อำเภอ 99 ตำบล และ 890 หมูQบCาน ประกอบดCวย องค_การบริหารสQวนจังหวัด 1 แหQง ประกอบดCวย องค_การบริหารสQวนจังหวัดนQาน เทศบาลเมือง 1 แหQง ประกอบดCวย เทศบาลเมืองนQานเทศบาลตำบล 18 แหQง และองค_การบริหารสQวนตำบล จำนวน 80 แหQง

5.2.7 จังหวัดพะเยา 5.2.7.1 ดGานภูมิศาสตร+ ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศสQวนใหญQเปRนที่สูงและภูเขา มีระดับความสูงของพื้นที่ตั้งแตQ 300–1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเล มีพื้นที่ปpาไมCประมาณ 2,008,648 ไรQ หรือรCอยละ 50.70 ของพื้นที่ ซึ่งปpาไมCสQวนใหญQ เปRนปpาดง ดิบและปpาเบญจพรรณ โดยมีพันธุ_ไมCที่สำคัญ ไดCแกQ ไมCสัก ไมCประดูQ ไมCมะคQา ไมCชิงชCา ไมCยาง ไมCเต็ง ไมCรัง เปRนตCน มีเทือกเขาลCอมรอบทั้งทางดCานทิศตะวันตก ทิศตะวันออก ทิศใตC และทางตอนกลาง ของจังหวัด มีทิวเขาผีปiนน้ำโอบลCอม ถือเปRนก าแพงตามธรรมชาติและเปRนเทือกเขาที่สำคัญ อันไดCแกQ ดอยภูลังกา ดอยสันปiนน้ำดอยแมQสุก ดอยขุนแมQแฝก ดอยขุนแมQต๋ำ และดอยขุนแมQตsอม (ที่มา :สำนักงานสถิติจังหวัดพะเยา, สิงหาคม 2561)

ธรณีวิทยา ทรัพยากรธรณีที่สำคัญในจังหวัด ที่สามารถนำมาผลิตในเชิงพาณิชย_ ไดCแกQ ถQานหิน หินอุตสาหกรรม และแบไรต_ ตามลำดับ โดยมีผูCยื่นขอประทานบัตรเหมืองแรQในพื้นที่ จำนวน 18 ราย โดยสQวนใหญQเปRนการยื่น กQอสรCางการเปwดเหมืองถQานหิน 11 ราย เหมืองหินอุตสาหกรรม 6 ราย และเหมืองแบไรต_ 1 ราย และมีจำนวน โรงงานโมQ บดและยQอยหิน ที่ขอขึ้นทะเบียนโรงงานทั้งสิ้น 3 แหQง หินใหญQ / 820,000 ตัน สำหรับอุตสาหกรรมเหมืองถQานหินในพื้นที่ จากการสำรวจ พบวQา จังหวัดพะเยามีแหลQง ถQานหิน ที่ไดCรับการพัฒนา 1 แหQง อยูQในบริเวณพื้นที่แอQงเชียงมQวน มีปริมาณถQานหินสำรอง 62.47 ลCานตัน โดยเปRน ถQานหินประเภท Lignite/Subbituminous ทั้งนี้ ปริมาณถQานหินในพื้นที่จังหวัดพะเยาดังกลQาว ถือเปRนรCอยละ 37.52 ของปริมาณถQานหินสำรองมีความสำคัญอยQางยิ่งเมื่อมีการน ามาใชCประโยชน_เพื่อการผลิตพลังงานไฟฟjา ในอนาคต

5-109


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

นอกจากนี้จังหวัดพะเยายังเปRนแหลQงโบราณคดีที่สำคัญมีการคCนพบฟอสซิลบรรพบุรุษอุรังอุตังบริเวณ เหมืองถQานหินเชียงมQวน อำเภอเชียงมQวน ซึ่งเปRนการคCนพบเปRนครั้งแรกของโลก ที่เปRนหลักฐานของฟอสซิลเอพ ขนาดใหญQ ท ี ่ ส มบู ร ณ_ ใ นบริ เ วณเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใตC และมี อ ายุ ร าว 13.5-10 ลC า นป[ หรื อ ปลายยุ ค ไมโอซีนตอนกลางเปRนฟiนจำนวน 18 ซี่ และสามารถจำแนกออกไดCวQาเปRนเพศผูC และเพศเมียของสัตว_ชนิด เดียวกัน โดยใหCชื่อวQา “ลูแฟง พิเธคัส เชียงมQวนเอนซิส” (Lufengpithecuschiangmuanensis) หมายถึง “ลิง จากลูแฟงที่เชียงมQวน” ทำใหCเชื่อไดCวQาในบริเวณดังกลQาวอาจเปRนศูนย_กลางการกำเนิดและวิวัฒนาการของสัตว_ เลี้ยงลูกดCวยนมหรือไพรเมตชั้นสูงที่พัฒนาการมาเปRนสายพันธุ_มนุษย_ และมีศักยภาพสูงในการคCนพบฟอสซิล ชนิดใหมQ ๆ เนื่องจากมีแอQงสะสมตัวของตะกอนยุคตQาง ๆ จำนวนมากและในวนอุทยานไดโนเสาร_แกQงหลวง บริเวณดอยแกQงหลวง-ดอยกิ่วแกCม พบกระดูกซากดึกด าบรรพ_ไดโนเสาร_มีทั้งสภาพสมบูรณ_และแตกหักกลาย สภาพเปR นหิ นฝi งตั วในหิ นทรายแปj งสี แดง ประกอบดC วยกระดู กสQ วนหาง กระดู กซี ่ โ ครง กระดู กสะโพก และกระดู ก ขาของไดโนเสาร_ ก ิ น พื ช พั น ธุ _ ซ อโรพอด (Sauropod) ขนาดใหญQ ค อยาว หางยาว เดิ น สี ่ ข า ขนาดไดโนเสาร_ ยาวประมาณ 15 เมตร ซึ่งพัฒนาเปRนแหลQงทQองเที่ยวและเรียนรูCทางซากดึกดำบรรพ_

ภูมิอากาศ อากาศรCอนจัดในเดือนพฤษภาคมอุณหภูมิสูงสุด วัดไดCประมาณ 39.5 องศาเซลเซียส ในป[ พ.ศ. 2559 มีฝนตกประมาณ 116 วัน ปริมาณน้ำฝนวัดไดC 1,080.0 มิลลิเมตร อากาศหนาวจัดในเดือนพฤศจิกายน และเดือนมกราคม อุณหภูมิต่ำสุดในเดือนธันวาคม วัดไดCประมาณ 10.8 องศาเซลเซียส ในเดือนธันวาคม แบQงภูมิอากาศออกเปRน 3 ฤดู ไดCแกQ ฤดูรCอน อยูQระหวQาง เดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน อยูQระหวQางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมของทุกป[ ฤดูหนาว อยูQระหวQางเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ_

5.2.7.2 ดGานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลGอม ลุ3มน้ำ จังหวัดพะเยา มีพื้นที่ซCอนทับกับเขตลุQมน้ำ คือ มีพื้นที่สQวนใหญQอยูQในลุQมน้ำโขงเหนือ

แหล3งน้ำ แมQน้ำยม มีตCนกำเนิดจากเทือกเขาภูลังกาในเขตอำเภอปง จังหวัดพะเยา และอำเภอบCานหลวง จังหวัดนQาน ไหลผQานอำเภอเชียงมQวน ความยาวแมQน้ำชQวงนี้ ประมาณ 60 กิโลเมตรกQอนที่จะเขCาสูQจังหวัดแพรQ แลCวไหลผQานจังหวัดสุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร และบรรจบแมQน้ำที่จังหวัดนครสวรรค_

5-110

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

แมQน้ำอิง มีตCนกำเนิดจากลำน้ำสาขาตQาง ๆ ที่อยูQในเขตอุทยานแหQงชาติดอยหลวงและอุทยานแหQงชาติ แมQปèม รวมถึงหนองเล็งทราย ไหลลงมาทางทิศใตCลงสูQกวêานพะเยา วนขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผQานอำเภอเมืองพะเยา กิ่งอำเภอภูกามยาว อำเภอจุน อำเภอเชียงคา และไหลเขCาสูQจังหวัดเชียงราย อำเภอเทิง จนบรรจบแมQน้ำโขง ที่อำเภอเชียงของ รวมความยาวที่อยูQในเขตจังหวัดพะเยาประมาณ 160 กิโลเมตร น้ำงิม เปRนลำน้ำสาขาแมQน้ำยมตอนบนอยูQในเขตอำเภอปง ความยาวลำน้ำประมาณ 20 กิโลเมตร น้ำควร เปRนสาขาแมQน้ำยมทางทิศตะวันออก ในเขตอำเภอปง ความยาวลำน้ำประมาณ 25 กิโลเมตร น้ำป[ë เปRนสาขาแมQน้ำยมทางฝiíงตะวันออก ในเขตอำเภอเชียงมQวน ความยาวลำน้ำ ประมาณ 15 กิโลเมตร น้ ำ รQ อ งชC า ง เปR น สาขาหนึ ่ ง ของแมQ น้ ำ อิ ง ตอนกลาง ไหลจากทิ ศ ใตC ข ึ ้ น ทิ ศ เหนื อ ไปลงแมQ น้ ำ อิ ง ที่อำเภอเมืองพะเยา ความยาวประมาณ 30 กิโลเมตร น้ำจุน เปRนสาขาหนึ่งของแมQน้ำอิงตอนกลาง ไหลจากทิศใตCขึ้นทิศเหนือ ไปลงแมQน้ำอิงที่อำเภอจุน ความยาวประมาณ 40 กิโลเมตร แมQ น้ ำ ลาว เปR น สาขาของแมQ น้ ำ อิ ง อยู Q ใ นเขตอำเภอเชี ย งคำ ไหลลงแมQ น้ ำ อิ ง ที่ อำเภอเทิ ง จังหวัดเชียงราย มีลำน้ำสาขาที่สำคัญ คือ น้ำญวน น้ำแวน กวêานพะเยา พื้นที่ชุQมน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ ที่ตั้งและพื้นที่ ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา เนื้อที่ 20.5296 ตาราง กิโลเมตร (12,831 ไรQ) ตำแหนQงที่ตั้งทางภูมิศาสตร_ 19 09 -13 N และ 99 51 -56 E ระวาง 4947 II ความสูงจากระดับน้ำทะเลโดยเฉลี่ย 386.40 เมตร หนองเล็งทราย เปRนแหลQงน้ำจืดที่รองลงมาจากกวêานพะเยา อยูQในเขตอำเภอแมQใจมีเนื้อที่ 5,400 ไรQ หรื อ 8.64 ตารางกิ โ ลเมตรประเมิ นสถานการณ_ ดC านทรั พยากรแหลQ งน้ำ จากการสู ญเสี ยความสามารถ ในการเก็ บกั กน้ ำ ของแหลQ ง น้ ำตามธรรมชาติ ไดC แกQ กวê านพะเยา หนองเล็ ง ทราย แมQ น้ำ อิ ง ลำน้ ำ สาขา และแมQ น้ำยม มี ความสามารถในการเก็ บกั กน้ ำนC อยลงอั นเนื ่ องมาจากตื ้ นเขิ นของแหลQ งน้ ำ ซึ ่ งเกิ ดจาก การชะลCางพังทลายของดินกQอใหCเกิดตะกอนลงไปสะสมอยูQในแหลQงน้ำตQาง ๆ นอกจากนี้ยังเกิดจากการทับถม ของซากวัชพืช การกQอสรCางฝาย หรือทำนบกั้นน้ำโดยไมQมีประตูระบายทรายและการบุกรุกที่ดินริมน้ำ และอีกสาเหตุหนึ่งความเสื่อมโทรมและการสูญเสียแหลQงน้ำอันเปRนน้ำลำธาร จากการลักลอบตัดไมCทำลายปpา การบุกรุกพื้นที่ปpา เพื่อขยายพื้นที่เกษตรกรรม การท าไรQเลื่อนลอย รวมทั้งการถูกไฟปpาเผาทำลาย จนภูเขา กลายสภาพเปRนเขาหัวโลCน โดยเฉพาะบริเวณเทือกเขาดCานตะวันออกเฉียงใตCของจังหวัด เริ่มจากดCานใตCของ อำเภอดอกคำใตCเรื่อยขึ้นไปจนถึงทิศเหนือของอำเภอจุน ระบบชลประทานจังหวัดพะเยา มีโครงการพัฒนาแหลQงน้ำตั้งแตQอดีตจนถึงปiจจุบัน (พ.ศ.2516-2562) มีจำนวน ทั้งหมด 465 โครงการ มีพื้นที่รับประโยชน_ในฤดูฝน 625,043 ไรQ ฤดูแลCง 76,710 ไรQ ปริมาณน้ำ ที่เก็บกักไดC 159.112 ลCานลูกบาศก_เมตร ทั้งนี้โครงการไดCแบQงออกเปRน 3 ประเภท

5-111


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

1. โครงการชลประทานขนาดใหญQ : มีพื้นที่บางสQวนของตำบลศรีถCอย อำเภอแมQใจ ประมาณ 14,326 ไรQ ไดCรับน้ำจากโครงการสQงน้ำและบำรุงรักษาแมQลาว ต.ดงมะดะ อ.แมQลาว จ.เชียงราย 2. โครงการชลประทานขนาดกลาง : ในจังหวัดพะเยา มี 3 โครงการ ไดCแกQ - โครงการอQางเก็บน้ำแมQปèมตามพระราชดำริ อ.แมQใจจ.พะเยา มีความจุ 50.32 ลCาน ลบ.ม. มีพื้นที่ รับประโยชน_ในฤดูฝน 45,650 ไรQ ฤดูแลCง 10,000 ไรQ - โครงการอQางเก็บน้ำแมQต๋ำตามพระราชดำริ อ.แมQกา จ.พะเยา มีความจุ 37 ลCาน ลบ.ม.มีพื้นที่ รับประโยชน_ในฤดูฝน 42,213 ไรQ ฤดูแลCง 10,000 ไรQ - โครงการอQางเก็บนC าแมQใจ อ.แมQใจจ.พะเยา มีความจุ 3 ลCาน ลบ.ม. มีพื้นที่รับประโยชน_ในฤดูฝน 2,500 ไรQ ฤดูแลCง 700 ไรQ 3. โครงการชลประทานขนาดเล็ก ไดCแกQ ฝาย อQางเก็บน้ำ สระเก็บน้ำ ตลอดจนโครงการขุดลอก หนองน้ำและคลองธรรมชาติ รวม 462 แหQง มีความจุ68.791 ลCาน ลบ.ม. มีพื้นที่รับประโยชน_ ในฤดูฝน 534,680ไรQ ฤดูแลCง 56,010 ไร

ปUาไมGและสัตว+ปUา จังหวัดพะเยา มีปpาสงวนแหQงชาติ จำนวน 15 ปpา (ตามแผนที่ทCายกฎกระทรวง) มีเนื้อที่ 2,545,537.50 ไรQ (โดยมีปpาสงวนแหQงชาติที่มีพื้นที่ที่คาบเกี่ยวกับจังหวัดเชียงราย จำนวน 3 ปpา) ปpาสงวนแหQงชาติ (ตามทCาย กฎกระทรวง) 2,837,561.32 ไรQป[ พ.ศ. 2561 มีพื้นที่ปpาประมาณ 1,992,209.93 ไรQ ประมาณ รCอยละ 51.50 ของพื้นที่ทั้งหมด (ที่มา: จากการวิเคราะห_ภาพถQายดาวเทียม สถิติกรมปpาไมC , ป[ 2561)

มลพิษและของเสีย จังหวัดพะเยาเปRนหนึ่งในจังหวัดภาคเหนือตอนบนที่ประสบปiญหาภาวะหมอกควันปกคลุมทุกป[ ซึ่งจังหวัดพะเยาจะประสบปiญหารุนแรงในชQวงเดือนกุมภาพันธ_ ถึงเดือนเมษายน คุณภาพอากาศจังหวัดพะเยา วัดคุณภาพอากาศในพื้นที่ ตำบลบCานตsอม อำเภอเมืองจังหวัดพะเยา จำนวนวันที่ปริมาณฝุpนละอองขนาดเล็ก (PM10) มีคQาเกินมาตรฐาน (120 ไมโครกรัมตQอลูกบาศก_เมตร) ตั้งแตQ วันที่ 1 มกราคม-30 เมษายน พ.ศ. 2562 จำนวน 13 วัน (คQาสูงสุด PM10 = 277 วันที่ 31 มีนาคม 2562) จากปi ญ หามลพิ ษ ทางอากาศจากภาวะหมอกควั น ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ในระยะเวลาดั ง กลQ า วขC า งตC น เปRนที่ทราบกันดีวQา ไมQใชQเกิดขึ้นเฉพาะในพื้นที่จังหวัดลำปาง แพรQ และพะเยาเทQานั้นแตQปiญหามลพิษ ทางอากาศนี้ครอบคลุมในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยซึ่งประกอบไปดCวยจังหวัดแมQฮQองสอน เชี ยงใหมQ เชี ยงราย ลำพู น ลำปาง พะเยา แพรQ และ นQ า น โดยมี สาเหตุ หลั กมาจากการเผาในพื ้ นที ่ ปpา พื ้ น ที ่ เ กษตร พื ้ น ที ่ ข C า งทางและพื ้ น ที ่ โ ลQ ง ตQ า ง ๆ ทำใหC เ กิ ด หมอกควั น กระจายตั ว ปกคลุ ม ทั ่ ว ไปในพื ้ น ที่

5-112

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ภาคเหนือตอนบนสQงผลกระทบตQอคุณภาพสิ่งแวดลCอมกQอใหCเกิดสภาวะโลกรCอนสุขภาพอนามัยของประชาชน และเศรษฐกิจการทQองเที่ยวรวมทั้งบดบังทัศนวิสัยการจราจรทั้งทางบกและทางอากาศ

5.2.7.3 ดGานกายภาพ การตั้งถิ่นฐาน และการใชGที่ดิน จังหวัดเชียงพะเยา ตั้งอยูQทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีเขตระหวQางเสCนรุCงที่ 18 องศา 44 ลิปดาเหนือ ถึง 19 องศา 44 ลิปดาเหนือ และเสCนแวงที่ 99 องศา 40 ลิปดาตะวันออก ถึง 100 องศา 40 ลิปดาตะวันออก มีที่ตั้งและอาณาเขตอยูQในภาคเหนือของประเทศไทยมีระยะทางหQางจากกรุงเทพมหานคร ตามทางหลวงแผQนดินหมายเลข1 (ถนนพหลโยธิน) 735 กิโลเมตร มีพื้นที่ปกครอง 6,335 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,959,412 ไรQ อาณาเขตติดตQอ ทิศเหนือ ติดตQอกับอำเภอพาน อำเภอปpาแดด และอำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ทิศใตC ติดตQอกับอำเภองาว จังหวัดลำปาง และอำเภอสอง จังหวัดแพรQ ทิศตะวันออก ติดตQอกับเมืองคอบแขวงไชยบุลี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และอำเภอทQาวังผา อำเภอเมืองนQาน อำเภอบCานหลวง จังหวัดนQาน ทิศตะวันตก ติดตQอกับอำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง ผังเมืองรวมจังหวัดพะเยา เมืองรวมจังหวัดพะเยา มีกรอบนโยบายดCานการผังเมือง แนวทางในการพัฒนาการตั้งถิ่นฐาน ในอนาคต การกระจายตัวของการใชCประโยชน_ที่ดินแตQละประเภท ประกอบไปดCวย 8 ประเภทหลัก ไดCแกQ ชุ ม ชน อุ ต สาหกรรมและคลั ง สิ น คC า ชนบทและเกษตรกรรม พื ้ น ที ่ ป ฏิ ร ู ป ที ่ ด ิ น เพื ่ อ เกษตรกรรม ที่โลQงเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลCอม อนุรักษ_ปpาไมC ที่โลQงเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลCอม และพื้นที่อนุรักษ_เพื่อสQงเสริมเอกลักษณ_ศิลปวัฒนธรรมไทย มีสาระสำคัญดังนี้

5-113


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ภาพที่ 5- 43 ผังเมืองรวมจังหวัดพะเยา

(1) สQงเสริมและพัฒนาจังหวัดพะเยาใหCเปRนเมืองเกษตรกรรม โดยเฉพาะเกษตรกรรมแผนใหมQ การปศุสัตว_ และการประมงน้ำจืด ใหCสอดคลCองกับศักยภาพของพื้นที่ (2) สQงเสริมและพัฒนาการคCาและการลงทุน โดยเฉพาะการลงทุนดCานอุตสาหกรรมที่ตQอเนื่อง จากการเกษตร ใหCสอดคลCองและเหมาะสมกับสภาพและศักยภาพของพื้นที่ (3) ฟèëนฟูและพัฒนาชุมชนเดิมและชุมชนเมืองใหCสอดคลCองกับการพัฒนาพื้นที่ (4) สQงเสริมและพัฒนาแหลQงทQองเที่ยวใหCสอดคลCองกับการทQองเที่ยวของจังหวัดอื่นในภูมิภาค (5) สQงเสริมและพัฒนาการบริการทางสังคม สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ใหCเพียงพอ และไดCมาตรฐาน (6) สQงเสริมและอนุรักษ_ศิลปวัฒนธรรมทCองถิ่นและโบราณสถาน (7) อนุรักษ_ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

5-114

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดพะเยา ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดพะเยาที่บังคับใชCในปiจจุบัน ประกอบไปดCวย ผังเมืองรวมเมือง พะเยา ผังเมืองรวมชุมชนแมQใจ ผังเมืองรวมชุมชนดงเจน ผังเมืองรวมชุมชนหCวยขCาวก่ำ ผังเมืองรวมชุมชน เชียงคำ-สบบง-บCานทราย ผังเมืองรวมชุมชนงิม ผังเมืองรวมชุมชนปง ผังเมืองรวมชุมชนบCานถ้ำ ผังเมืองรวม ชุมชนบริเวณโดยราบมหาวิทยาลัยพะเยา ผังเมืองรวมชุมชนดอกคำใตC ผังเมืองรวมชุมชนเชียงมQวน ผังเมืองรวมเมืองพะเยา และผังเมืองรวมชุมชนหCวยขCาวก่ำ มีโครงสรCางแบบศูนย_กลาง 1 แหQง และศูนย_กลางรอง 1 แหQง โดยมีศูนย_กลางหลักมีพาณิชยกรรมและที่อยูQอาศัยหนาแนQนมากเปRนศูนย_กลางหลัก บริเวณใจกลางเมือง ลCอมรอบดCวยที่อยูQอาศัยหนาแนQนปานกลาง และที่อยูQอาศัยหนาแนQนนCอย ตามลำดับ โดยผังเมืองรวมเมืองพะเยามีจุดเดQนคือมีที่โลQงเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลCอมขนาดใหญQใ จกลางเมือง และมีการเชื่อมตQอกับพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม อนุรักษ_ชนบทและเกษตรกรรม อนุรักษ_ปpาไมC ผังเมืองรวมชุมชนแมQใจ ผังเมืองรวมชุมชนดงเจน ผังเมืองรวมชุมชนเชียงคำ-สบบง-บCานทราย ผังเมืองรวมชุมชนงิม ผังเมืองรวมชุมชนบCานถ้ำ ผังเมืองรวมชุมชนดอกคำใตC และผังเมืองรวมชุมชนเชียงมQวน มี โ ครงสรC างแบบหลายศู นย_ กลาง โดยมี ศู นย_ กลางพาณิ ชยกรรมและที ่ อยู Q อาศั ยหนาแนQ นมากควบคู Q กับ ที่อยูQอาศัยหนาแนQนปานกลางเปRนศูนย_กลางหลัก ลCอมรอบที่อยูQอาศัยหนาแนQนนCอย และมีพื้นที่ชนบท และเกษตรกรรมในสัดสQวนมากที่สุด ผังเมืองรวมชุมชนบริเวณโดยราบมหาวิทยาลัยพะเยา มีโครงสรCางแบบหลายศูนย_กลาง เนCนรองรับ ผสมผสานพื ้ น ที ่ ช นบทและเกษตรกรรม ปฏิ ร ู ป ที ่ ด ิ น เพื ่ อ เกษตรกรรม อนุ ร ั ก ษ_ ช นบทและเกษตรกรรม และอนุรักษ_ปpาไมC ผังเมืองรวมชุมชนปง มีโครงสรCางแบบหลายศูนย_กลาง เนCนรองรับผสมผสานพื้นที่อยูQอาศัยรQวมกับ ชนบทและเกษตรกรรม และอนุรักษ_ชนบทและเกษตรกรรม

5-115


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ภาพที่ 5- 44 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดพะเยา

5-116

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

5.2.7.4 ดGานเศรษฐกิจ จังหวัดพะเยา ผลิตภัณฑ_มวลรวมจังหวัดพะเยา ป[ พ.ศ. 2561 มีมูลคQา 37,298 ลCานบาท โดยขยายตัว และปรับตัวดีขึ้นตQอเนื่องจาก 27,952-37,298 ลCานบาท ในป[ พ.ศ. 2554-2561 ในขณะที่ผลิตภัณฑ_มวลรวม จังหวัด ตQอหัว (GPP per capita) มีคQาเฉลี่ยของผลิตภัณฑ_จังหวัดตQอหัวเพิ่มขึ้นจาก 67,540-97,306 บาทตQอคน ตQอป[ในป[ พ.ศ. 2554-2561 โดยมูลคQาสูงสุดของโครงสรCางผลิตภัณฑ_มวลรวมจังหวัดพะเยาในป[ พ.ศ. 2561 ขึ้นอยูQกับภาคนอกเกษตร สาขาการผลิตที่มีบทบาทสำคัญตQอเศรษฐกิจจังหวัดพะเยา ไดCแกQ ภาคบริการ อันดับที่ 1 การศึกษา (4,478 ลCานบาท) อันดับที่ 2 กิจกรรมทางการเงิน และการประกันภัย (2,984 ลCานบาท) และอันดับ 3 การบริหาร ราชการ การปjองกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ (2,726 ลCานบาท) รองลงมาภาคอุตสาหกรรม ในสQวนของสาขาการผลิต (1,721 ลCานบาท)

5.2.7.5 ดGานประชากร สังคม ประวัติศาสตร+ และวัฒนธรรม ประชากร จังหวัดพะเยา อำเภอเมืองพะเยามีสัดสQวนประชากรในเขตเมืองเปRน 77.93 อำเภอที่มีสัดสQวน ประชากรในเขตเมืองสูงมากกวQารCอยละ 80 คือ อำเภอแมQใจ (83.94) และไมQมีอำเภอที่มีสัดสQวนประชากร ในเขตเมืองนCอยกวQารCอยละ 20 อำเภอสQวนใหญQมีสัดสQวนประชากรในเขตเมืองในชQวงรCอยละ 23-79 ไดCแกQ อำเภอจุน อำเภอเชียงคำ อำเภอเชียงมQวน อำเภอดอกคำใตC อำเภอปง อำเภอภูซาง และอำเภอภูกามยาว • ประชากรกลุQมชาติพันธุ_ในจังหวัดพะเยา สามารถแบQงไดCทั้งหมด 4 กลุQมชาติพันธุ_ ไดCแกQ มCง (แมCว) เมี่ยน (เยCา) ถิ่น และลีซู (ลีซอ) • ประชากรกลุQมชาติพันธุ_จังหวัดพะเยาสQวนใหญQเปRนกลุQมชาติพันธุ_มCง (แมCว) 15,394 คน รC อ ยละ 61.80 รองลงมา คื อ กลุ Q ม ชาติ พ ั น ธุ _ เ มี ่ ย น (เยC า ) 9,011 คน รC อ ยละ 36.17 กลุQมชาติพันธุ_ถิ่น 345 คน รCอยละ 1.38 และกลุQมชาติพันธุ_ลีซู (ลีซอ) 161 คน รCอยละ 0.65 ภาพที่ 5- 45

5-117


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ข้อมูลประชากรกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดพะเยา (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์)

ถิ่น 1.38%

ลีซู (ลีซอ) 0.65%

เมี่ยน (เย้า) 36.17% ม้ง (แม้ว) 61.80%

ภาพที่ 5- 45 ประชากรกลุQมชาติพันธุ_จังหวัดพะเยา (แยกรายกลุQมชาติพันธุ_)

5-118

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ตารางที่ 5-1 ข้อมูลประชากรกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดพะเยา (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์) ลำดับ กลุ่มชาติพันธุ์

หมู่บ้าน

ครัวเรือน

ครอบครัว

ชาย

หญิง

เด็กชาย

เด็กหญิง

รวม

ร้อยละ (1)

ร้อยละ (2)

1

ม้ง (แม้ว)

18

2,234

2,695

5,247

5,608

2,325

2,214

15,394

1.34

61.8

2

เมี่ยน (เย้า)

31

1,746

2,261

3,937

3,709

700

665

9,011

0.78

36.17

3

ถิ่น

1

76

76

163

137

28

17

345

0.03

1.38

4

ลีซู (ลีซอ)

1

35

18

57

54

24

26

161

0.01

0.65

รวม

51

4,091

5,050

9,404

9,508

3,077

2,922

24,911

5-119


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ประวัติศาสตร+ จั ง หวั ดพะเยา เปQ นเมื องเกR าแกR เ มื องหนึ ่ งแหR งลC านนาไทย เปQ นเมื องเล็ ก ๆ ซึ ่ ง แยกตั วออกจาก จังหวัดเชียงราย เดิมเปQนเพียงอำเภอรอบนอกหลาย ๆ อำเภอ ของจังหวัดเชียงราย กRอนที่จะรวมตัวกันกRอตั้ง เปQนจังหวัดพะเยา เปQนเมืองที่มีความเจริญรุRงเรืองมาตั้งแตRอดีตกาล จะเห็นไดCจากซากของสิ่งกRอสรCางที่ปรากฏ ตามโบราณสถานตRาง ๆ ในเมืองพะเยา ซึ่งโบราณสถานและโบราณวัตถุที่พบลCวนแลCวแตRแสดงถึงความเจริญ ทางดCานศิลปกรรมไดCเปQนอยRางดี หากยCอนกลับไปในอดีตจะพบวRา เมืองพะเยาเดิมชื่อวRา “ภูกามยาว” หรือ “พยาว” กRอตั้งขึ้น เมื่อป^พ.ศ.1638 โดยพRอขุนศรีจอมธรรม พระราชโอรสของกษัตริยdแหRงราชวงศdลัวะ ในพุ ท ธศตวรษที ่ 18 (พ.ศ.1700 - 1799) และในยุ ค สมั ย พR อ ขุ น ง าเมื อ งเปQ น กษั ต ริ ย d เ มื อ งภู ก ามยาว มีความเจริญรุRงเรืองมาก มีฐานะเปQนเมืองเอก เรียกวRา “อาณาจักรพยาว” ตRอมาในป^ พ.ศ. 1881 เจCาผูCครองเมือง หิรัญนครเงินยาง (เชียงแสน) ไดCสมคบกับเจCาผูCครองเมืองนันทบุรี (นRาน) ยกทัพเขCาตีอาณาจักรพยาว เปQนเหตุใหCอาณาจักรพยาวถูกผนวกเขCาไวCในอาณาจักรลCานนาไทยตั้งแตRบัดนั้นเปQนตCนมา ในป^ พ.ศ.2437 รัชสมัยรัชกาลที่ 5 โปรดใหCปฏิรูปการปกครองแบบเดิมเปQน มณฑลเทศาภิบาล ดังนั้น เมืองพะเยาจึงถูกผนวกเขCาเปQนสRวนหนึ่งของมณฑลพายัพ ซึ่งการปฏิรูปการปกครองหัวเมืองดังกลRาว สRงผลใหCเกิดการตRอตCานโดยขบถ ร.ศ.121 (พ.ศ.2445) ท าใหCเมืองพะเยาไดCรับผลกระทบไปดCวยในเหตุการณd ขบถพวกเงี้ยวกRอความวุRนวายจนกระทั่งเมื่อเหตุการณdสงบลงเมืองพะเยาจึงถูกปรับเปลี่ยนฐานะจากเมือง เปQน จังหวัด เรียกวRา จังหวัดบริเวณพะเยา ครั้น พ.ศ.2448 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลCาเจCาอยูRหัวทรงพระ ดำรัสสั่งยุบเลิกจังหวัดบริเวณพะเยาเสีย ใหCมีฐานะเปQนอำเภอเมืองพะเยา ตRอมาภายหลัง ป^ พ.ศ.2457 เทศาภิบาลมณฑลพายัพ พิจารณาระบอบการปกครองบCานเมืองฝmายเหนือ จึงสั่งใหCยุบเลิกหัวเมืองเล็กหัวเมือง นCอย แลCวใหCไปรวมกับหัวเมืองใหญR ทำใหCอำเภอเมืองพะเยา เปQน อำเภอพะเยา อยูRในอ านาจการปกครองของ จังหวัดเชียงราย จนกระทั่งไดCมีพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดพะเยาขึ้น ในป^ พ.ศ.2520 ทำใหCอำเภอพะเยา มีฐานะเปQนจังหวัดพะเยา เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2520 เปQนจังหวัดที่ 72 ของประเทศไทย (อCางอิง : ขรรคdชัย บุญปาน,สุจินตd วงษdเทศ และคณะ,2538 : ประวัติศาสตรd สังคมและวัฒนธรรม เมืองพะเยา:สำนักพิมพdมติชน)

เมืองเก3าพะเยา เมืองเกRาพะเยาเปQนเมืองเกRาแกRที่มีความสำคัญมากRอนสมัยสรCางเมืองเชียงใหมR ขุนศรีจอมธรรม ไดCพบเมืองรCางปลายเทือกเขาดCวน มีชัยภูมิเหมาะสมในการสรCางเมือง บริเวณนี้เคยเปQนเมืองเกRามีคูเมือง ลCอมรอบและมีประตูเมือง 8 ประตู สรCางเมืองเสร็จเมื่อป^ พ.ศ. 1638 เรียกชื่อเมืองแหRงนี้วRา “ภูกามยาว” หมายความวRา เมืองที่ตั้งอยูRบนเนินเขาที่มีสันยาว

5-120

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ภาพที่ 5- 46 เขตพื้นที่เมืองเกRาพะเยา บริเวณใจเมืองพะเยา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

สถานการณ+ประวัติศาสตร+ โบราณคดี การอนุรักษ+มรดกวัฒนธรรมในจังหวัดพะเยา ปpจจุบันในจังหวัดพะเยา มีโบราณสถานทั้งสิ้น 108 แหRง แบRงเปQนโบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนแลCว จำนวน 18 แหR ง และยั ง ไมR ข ึ ้ น ทะเบี ย นทั ้ ง หมด 90 แหR ง ซึ ่ ง สR ว นใหญR โ บราณสถานที ่ ข ึ ้ น ทะเบี ย น เปQนโบราณสถานประเภทวัดอยูRในอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยาเปQนเมืองประวัติศาสตรdที่เปQนแหลRงกRอกำเนิดของชุมชนโบราณกRอนพุทธศตวรรษที่ 19 และตRอเนื่องมาพุทธศตวรรษที่ 20 เปQนตCนมา ลักษณะของเวียงโบราณมีคูน้ำคันดินลCอมรอบมีจำนวนมาก ในจังหวัดพะเยา เสียดายวRายังไมRมีการอนุรักษdห รื อพั ฒนานิ เวศดั งกลR าวอยR างจริ งจั ง ปp จจุ บั นมี ปp ญหา ดCานการบุกรุกที่ดินโบราณสถานโดยเฉพาะรอบกวrานพะเยาซึ่งเปQนพื้นที่นิเวศวัฒนธรรมโบราณ ปpญหา ดCานเสื่อมโทรมมของน้ำในกวrานพะเยา สRวนแผนงานของจังหวัดใหCความสำคัญกับเชื่อมโยงการทRองเที่ยว 5-121


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ผR า นตC น ทุ น ทางวั ฒ นธรรม เชR น สิ น คC า พื ้ น เมื อ ง การะเกษตร เพื ่ อ ประโยชนd ท างเศรษฐกิ จ ของชุ ม ชน และจังหวัดเปQนสำคัญ และการทRองเที่ยวผRานวิถีชุมชนชาติพันธุd เชRน การยกระดับการทRองเที่ยวชุมชน กลุRมชาติพันธุdไทลื้อตำบลหยRวน เปQนตCน

5.2.7.6 ดJานการบริหารปกครอง จังหวัดพะเยาแบRงเขตการปกครองออกเปQน 9 อำเภอ 68 ตำบล และ 779 หมูRบCาน ประกอบดCวย องคdการบริหารสRวนจังหวัด 1 แหRง เทศบาลเมือง 2 แหRง ไดCแกR เทศบางเมืองพะเยา และ เทศบาลเมืองดอกคำใตC เทศบาลตำบล 21 แหRง จัดตั้งป^ พ.ศ. 2551 จำนวน 10 แหRง

5.2.8 จังหวัดเชียงราย 5.2.8.1 ดJานภูมิศาสตร+ ภูมิประเทศ เชียงรายมีภูมิประเทศเปQนเทือกเขาสูงในทวีปตอนเหนือ (North Continental Highland) มีพื้นราบ สูงเปQนหยRอมๆ ในเขตอำเภอแมRสรวย เวียงปmาเปÅา และเชียงของ บริเวณเทือกเขาจะมีความสูงประมาณ 1,500 - 2,000 เมตร จากระดั บน้ ำทะเล บริ เ วณสR วนที ่ ราบตามลุ R มแมR น้ ำสำคั ญในตอนกลางของพื ้ นที่ ไดCแกR อำเภอพาน เมือง แมRจัน แมRสาย เชียงแสน และเชียงของ มีความสูงประมาณ 410 - 580 เมตร จากระดับน้ำทะเล

ธรณีวิทยา จังหวัดเชียงราย เปQนจังหวัดหนึ่งในหลายจังหวัดของประเทศไทยที่เคยมีการผลิตแรRเศรษฐกิจที่สำคัญ ๆ เพื ่ อ นำมาใชC ใ นการพั ฒ นาประเทศโดยตรงและเปQ น สิ น คC า สR ง ออกตR อ เนื ่ อ งกั น มาเปQ น เวลายาวนาน ถึงแมCวRาปpจจุบันแหลRงแรRสRวนใหญRจะมีการผลิตไมRมากนักจนถึงหยุดกิจการไปก็ตาม แตRจังหวัดเชียงราย ก็ยังจัดไดCวRามีสถานภาพศักยภาพของทรัพยากรแรRหลายชนิด กระจัดกระจายอยูRในหลายบริเวณทรัพยากรแรR จังหวัดเชียงราย สามารถจำแนกเปQนประเภทตามลักษณะการใชCประโยชนdไดCเปQน 2 กลุRม คือ กลุRมแรR เพื ่ อ การพั ฒ นาสาธารณู ป โภคพื ้ น ฐานและโครงการขนาดใหญR ข องรั ฐ ไดC แ กR หิ น ปู น และทรายกลุR ม แรRเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ไดCแกR ทองคํา ดีบุก ทังสเตน พลวง แมงกานีส ฟลูออไรตd บอลเคลยd ไพโรฟÑลไลตd และแบไรตd แหลRงธรรมชาติทางธรณีวิทยาจังหวัดเชียงรายมีทั้งสิ้น 39 แหลRง แบRงเปQนแหลRงพุน้ำรCอน 10 แหลRง และแหลRงธรณีวิทยาที่มีสัณฐานโดดเดRน 29 แหลRง (ประกอบดCวย น้ำตก ชายหาด ถ้ำและภูเขา) แหลRงที่มี ศักยภาพสูงในการพัฒนา ไดCแกR ภูชี้ฟูา ถ้ำหลวงขุนน้ำนางนอน น้ำตกขุนกรณdและแหลRงพุน้ำรCอนแมRจัน

5-122

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ภูมิอากาศ อุณหภูมิ ในหCวงป^ 2544 - 2548 จังหวัดเชียงรายมีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดป^อยูRระหวRาง 33.1 องศา เซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 38.8 องศาเซลเซียส เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2544 และวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 ฝน ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยป^ละ 1,768 มิลลิเมตร มากที่สุดในป^ 2544 จำนวน 2,287.60 มิลลิเมตรนCอยที่สุด ในป^ พ.ศ. 2546 จำนวน 1,404.10 มิลลิเมตร จำนวนวันที่มีฝนตกเฉลี่ย 143 วันตRอป^ ฤดูหนาว (พฤศจิกายน กุมภาพันธd) จังหวัดเชียงรายมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 15.0 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุด 8.0 องศาเซลเซียส เมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2544 ฤดูรCอน ประมาณกลางเดือนกุมภาพันธd-กลางเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน ประมาณกลางเดือนพฤษภาคม-กลางเดือนตุลาคม ฤดูหนาว อยูRในชRวงกลางเดือนตุลาคม-กลางเดือนกุมภาพันธd

5.2.8.2 ดJานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลJอม ลุ3มน้ำ จังหวัดเชียงราย มีพื้นที่ซCอนทับกับเขตลุRมน้ำ คือ มีพื้นที่สRวนใหญRอยูRในลุRมน้ำโขงเหนือ

แหล3งน้ำ เชี ยงรายเปQ นจุ ดแรกที ่ แมR น้ ำโขงไหลผR านเขC าสู R ประเทศไทย เริ ่ มตC นจากพรมแดนไทยสปป.ลาว และเมียนมารdบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ ผRานอำเภอเชียงแสนและเชียงของ กRอนไหลสูR สปป.ลาว อีกครั้งที่ อำเภอเวียงแกRน รวมระยะทางทั้งสิ้น 94 กิโลเมตร แมRน้ำโขงเปQนพรมแดนที่แบRงกั้นระหวRางไทยสปป.ลาว เปQนเสCนทางสัญจรกับประเทศเพื่อนบCานและแหลRงทRองเที่ยวทางธรรมชาติ ที่ไดCรับความนิยมเปQนที่รูCจักทั่วโลก นอกจากนี้ยังอุดมไปดCวยปลาน้ำจืดนานาชนิด โดยเฉพาะปลาบึก ปลาน้ำจืดขนาดใหญRที่สุดที่พบในแมRน้ำโขง เพียงแหRงเดียวในโลก และที่บCานหาดไครC อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ก็เปQนแหRงเดียวที่มีการจับปลา ชนิ ด นี ้ ไ ดC เ ปQ น ประจำทุ ก ป^ นอกจากแมR น ้ ำ โขง เชี ย งรายยั ง มี แ มR น ้ ำ กก แมR น ้ ำ อิ ง แมR น ึ ค ำ แมR น ้ ำ ลาว และแมRน้ำสายไหลหลRอเลี้ยงชุมชนและพื้นที่เกษตรกรรมในที่ราบ โดยมีแมRน้ำกกที่ไหลผRานตัวเมืองเชียงราย กRอนลงสูRแมRน้ำโขงที่อำเภอเชียงแสน นับเปQนแมRน้ำสายสำคัญ เพราะนอกจากใชCอุปโภคบริโภค ริมฝpÜงแมRน้ำกก ยังมีธรรมชาติงดงามและเปQนที่ตั้งของชุมชนชาวไทยภูเขา สRงผลใหCกิจกรรมลRองแมRน้ำกกไดCรับความนิยม ในหมูRนักทRองเที่ยวที่รักการผจญภัยอยRางมาก นอกจากมีแมRน้ำสายสำคัญ 6 สาย ดังไดCกลRาวขCางตCนแลCว ยังมีหนองน้ำ รRองน้ำ ลำน้ำเล็ก ๆ เชRน แมRน้ำจัน แมRน้ำปรุง และอRางเก็บน้ำประมาณวRา ทั้ง 18 อำเภอ มีแหลRงน้ำรวมไมRนCอยกวRา 1,179 แหRง รวมเปQนพื้นที่ผิวน้ำทั้งสิ้น 167,657.75 ไรRแหลRงน้ำเพื่อการเกษตร ประกอบดCวย บRอบาดาลสRวนตัว 20,184 บRอ บRอบาดาลสาธารณะ 2,215 บRอ แหลRงน้ำธรรมชาติ มีแมRน้ำ หCวย ลำธาร คลอง 1,087 สาย หนอง บึง 461 แหRง น้ำพุน้ำซับ 38 แหRง 5-123


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

แหลRงน้ำที่สำคัญของอำเภอเชียงแสน ไดCแกR แมRน้ำโขง , แมRน้ำกก, แมRน้ำคำ, แมRน้ำรวก พื้นที่ชุRมน้ำโลก (หนองบงกาย) แหลRงน้ำที่สำคัญของอำเภอเชียงของ ไดCแกR แมRน้ำโขง แมRน้ำอิง แหลRงน้ำที่สำคัญของอำเภอแมRสาย ไดCแกR แมRน้ำสาย แมRน้ำรวก อRางเก็บน้ำหCวยไครCอRางเก็บน้ำ ถ้ำเสาหินพญานาค

ปVาไมJและสัตว+ปVา พื้นที่จังหวัดเชียงรายมีทั้งสิ้น 11,678.369 ตารางกิโลเมตร หรือ 7,298,981 ไรR ในป^ 2542 มีพื้นที่ปmา ไมCจำนวน 2,365,967 ไรR คิดเปQนรCอยละ 32.42 ของพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่ปmาไมCแบRงออกเปQนประเภทตRาง ๆ ดังนี้ อุทยานแหRงชาติ (National Park) มีอยูR 3 แหRง คือ อุทยานแหRงชาติดอยหลวง เนื้อที่ 731,250 ไรR ครอบคลุมพื้นที่อำเภอพาน แมRสรวย เวียงปmาเปÅา จังหวัดเชียงราย และอำเภอแมRใจ อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา อำเภอวังเหนือ อำเภองาว จังหวัดลำปาง อุทยานแหRงชาติขุนแจ มีเนื้อที่ 168,750 ไรR ครอบคลุมพื้นที่ อำเภอเวียงปmาเปÅา จังหวัดเชียงราย อุทยานแหRงชาติภูซาง เนื้อที่ 178,050 ไรR ครอบคลุมพื้นที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย อำเภอเชียงคำและกิ่งอำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา อุทยานแหRงชาติแมRปâม มีเนื้อที่ 227,312 ไรR ครอบคลุ ม พื ้ น ที ่ อ ำเภอเมื อ ง อำเภอพาน อำเภอปm า แดด จั ง หวั ด เชี ย งราย, อำเภอแมR ใ จ อำเภอเมื อ ง กิ่งอำเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา อุทยานแหRงชาติลำน้ำกก มีเนื้อที่ 467,185 ไรR ครอบคลุมพื้นที่อำเภอเมือง อำเภอแมRจัน อำเภอแมRลาว อำเภอแมRสรวย จังหวัดเชียงราย วนอุทยาน (Forest Park) เปQนแหลRงธรรมชาติที่รัฐจัดไวCใหCเปQนสถานที่พักผRอนหยRอนใจของประชาชน และสามารถพัฒนาเปQนแหลRงทRองเที่ยวของจังหวัด ในจังหวัดเชียงรายมีวนอุทยานทั้งหมด 10 แหRง คือ 1. วนอุ ท ยานถ้ ำ หลวง-ขุ น น้ ำ นางนอน มี เ นื ้ อ ที่ 5,000 ไรR อยู R ใ นเขตปm า สงวนแหR ง ชาติ ปmาดอยนางนอน ทCองที่ตำบลโปmงผา อำเภอแมRสาย จังหวัดเชียงราย 2. วนอุทยานดอยหัวแมRคำ มีเนื้อที่ 3,500 ไรR อยูRในเขตปmาสงวนแหRงชาติปmาน้ำแมRคำ ปmาน้ำแมRสลอง และปmาน้ำแมRจันฝpÜงซCาย ทCองที่ตำบลแมRสลองใน อำเภอแมRฟÅาหลวง จังหวัดเชียงราย 3. วนอุ ท ยานน้ ำ ตำตาดควั น มี เ นื ้ อ ที ่ 2,100 ไรR อยู R ใ นเขตปm า สงวนแหR ง ชาติ ป m า หC ว ยสั ก และปmาแมRกกฝpÜงขวา และปmาสงวนแหRงชาติปmาดอยหลวง ปmาน้ำยาว และปmาน้ำซCอ ทCองที่ อำเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย 4. วนอุ ทยานน้ ำตกแมR โท มี เนื ้ อที ่ 4,000 ไรR อยู R ในเขตปm าสงวนแหR งชาติ ป m าแมR ป ู นนC อย ปmาแมRปูนหลวง และปmาหCวยโปmงเหม็น ทCองที่อำเภอเวียงปmาเปÅา จังหวัดเชียงราย 5. วนอุทยานภูชี้ฟÅา มีเนื้อที่ 2,500 ไรR อยูRในเขตปmาสงวนแหRงชาติปmาแมRอิงฝpÜงขวา และปmาแมRงาว ทCองที่อำเภอเทิง อำเภอเวียงแกRน จังหวัดเชียงราย

5-124

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

6. วนอุ ท ยานสั น ผาพญาไพร มี เ นื ้ อ ที ่ 3,000 ไรR อยู R ใ นเขตปm า สงวนแหR ง ชาติ ป m า น้ ำ แมR ค ำ ปmาน้ำแมRสลอง และปmาน้ำแมRจันฝpÜงซCาย ทCองที่อำเภอแมRฟÅาหลวง จังหวัดเชียงราย 7. วนอุทยานน้ำตกวังธารทอง มีเนื้อที่ 8,000 ไรR อยูRในเขตปmาสงวนแหRงชาติปmาสบกกฝpÜงขวา ทCองที่อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 8. วนอุทยานดอยพระบาท มีเนื้อที่ 3,000 ไรR อยูRเขตปmาสงวนแหRงชาติปmาหCวยสัก และปmาแมRกก ฝpÜงขวา ทCองที่กิ่งอำเภอเวียงเชียงรุCง จังหวัดเชียงราย 9. วนอุ ท ยานน้ ำ ตกหC ว ยแมR ส ั ก มี เ นื ้ อ ที ่ 2,800 ไรR อยู R ใ นเขตปm า สงวนแหR ง ชาติ ปm า หC ว ยสั ก และปmาแมRกกฝpÜงขวา ทCองที่กิ่งอำเภอเวียงเชียงรุCง จังหวัดเชียงราย 10. วนอุทยานพญาพิภักดิ์ มีเนื้อที่ 3,750 ไรR อยูRในเขตปmาสงวนแหRงชาติปmาปmาแดง และปmาหCวยปmาตาล และปmาหCวยไครC ทCองที่อำเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย สวนรุกชาติ (Arboretum) จังหวัดเชียงรายมีสวนรุกชาติเพียงแหRงเดียว คือ สวนรุกชาติโปmงสลี อำเภอเมื อ ง มี พ ื ้ น ที ่ 668.75 ไรR พั น ธุ d ไ มC ส R ว นใหญR เ ปQ น ไมC ส ั ก ขนาดใหญR ซึ ่ ง เปQ น ปm า เดิ ม ที ่ เ หลื อ อยูR และมีการปลูกตCนไมCอื่น ๆ แทรกบCาง ปm า สงวนแหR ง ชาติ (National Reserved Forest) จั ง หวั ด เชี ย งรายมี ปm า สงวนทั ้ ง หมด 30 แหR ง มี พ ื ้ น ที ่ ร วม 4,485,966 ไรR คิ ด เปQ น รC อ ยละ 61.46 ของพื ้ น ที ่ จ ั ง หวั ด แบR ง เปQ น พื ้ น ที ่ เ พื ่ อ การอนุ ร ั ก ษd จำนวน 3,525,896 ไรR พื้นที่มอบ สปก. จำนวน 960,070 ไรR แยกออกเปQนพื้นที่ปmาเศรษฐกิจ 513,683 ไรR ปmาเพื่อการเกษตร 425,832 ไรR และพื้นที่กันคืนกรมปmาไมC 20,555 ไรR ปmาชุมชน (Community Forest) ปmาชุมชนเปQนปmาธรรมชาติที่ชาวบCานไดCชRวยกันปÅองกันรักษาเอาไวC สำหรับเปQนแหลRงซับน้ำและใชCสอย ปpจจุบันมีการสรCางปmาชุมชนขึ้นในพื้นที่สาธารณะ เพื่อใชCประโยชนdของ ชุมชน เขตหCามลRาสัตวdปmา มีจำนวน 1 แหRง คือเขตหCามลRาสัตวdปmาหนองบงคาย อำเภอเชียงแสน มีพื้นที่ 2,711 ไรR

5.2.8.3 ดJานกายภาพ การตั้งถิ่นฐาน และการใชJที่ดิน ที่ตั้งจังหวัดเชียงรายตั้งอยูRเหนือสุดของประเทศไทย อยูRระหวRางเสCนรุCงที่ 19 องศาเหนือ ถึง 20 องศา 30 ลิ ป ดาเหนื อ และเสC น แวงที ่ 99 องศา 15 ลิ ป ดา ถึ ง 100 องศา 45 ลิ ป ดาตะวั น ออก อยู R ห R า งจาก กรุงเทพมหานคร 785 กิโลเมตร มีขนาดพื้นที่11,678.369 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 7,290,000 ไรR อาณาเขตติดตRอ ทิศเหนือ ติดตRอกับเมืองสาดและจังหวัดทRาขี้เหล็กของรัฐฉาน ประเทศพมRา และแขวงบRอแกCว ประเทศลาว

5-125


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ทิศใตC ติดตRอกับอำเภอภูซาง อำเภอจุน อำเภอดอกคำใตC อำเภอภูกามยาว อำเภอแมRใจ จังหวัดพะเยา อำเภอเมืองปาน อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง และอำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหมR ทิศตะวันออก ติดตRอกับแขวงอุดมไซ ประเทศลาว ทิศตะวันตก ติดกับอำเภอดอยสะเก็ด อำเภอพรCาว อำเภอไชยปราการ อำเภอฝาง และอำเภอแมRอาย จังหวัดเชียงใหมR และเมืองสาด รัฐชาน ประเทศพมRา จังหวัดเชียงรายมีชายแดนติดกับประเทศพมRาประมาณ 130 กิโลเมตร และมีชายแดนติดตRอกับ ประเทศลาวประมาณ 180 กิโลเมตร เปQนเพียงหนึ่งในสองจังหวัดของประเทศไทยที่มีอาณาเขตชายแดน ติดตRอกับประเทศเพื่อนบCานดCวยกันถึงสองประเทศในจังหวัดเดียว ผังเมืองรวมจังหวัดเชียงราย เมืองรวมจังหวัดเชียงราย มีกรอบนโยบายดCานการผังเมือง แนวทางในการพัฒนาการตั้งถิ่นฐาน ในอนาคต การกระจายตัวของการใชCประโยชนdที่ดินแตRละประเภท ประกอบไปดCวย 7 ประเภทหลัก ไดCแกR ชุมชน อุตสาหกรรมและคลังสินคCา ชนบทและเกษตรกรรม พื้นที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม อนุรักษd สภาพแวดลCอมเพื่อการทRองเที่ยว อนุรักษdปmาไมC และพื้นที่อนุรักษdเพื่อสRงเสริมเอกลักษณdศิลปวัฒนธรรมไทย มีสาระสำคัญดังนี้ (1) สRงเสริมและพัฒนาจังหวัดเชียงรายใหCเปQนศูนยdกลางดCานการคมนาคมขนสRงและการคCา บริเวณชายแดนในระดับอนุภูมิภาคลุRมน้ำโขง (2) สRงเสริมและพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมใหCเปQนแหลRงผลิตอาหารที่สำคัญของภูมิภาค (3) สRงเสริมและพัฒนาระบบการชลประทานใหCมีประสิทธิภาพ และเอื้อประโยชนdตRอการเกษตร การอยูRอาศัย และการทRองเที่ยว (4) สRงเสริมและพัฒนาการบริการทางสังคม การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการใหCเพียงพอ และไดCมาตรฐาน (5) สRงเสริมและพัฒนาการทRองเที่ยวและแหลRงทRองเที่ยว (6) อนุ ร ั ก ษd ศ ิ ล ปวั ฒ นธรรมและโบราณสถานที ่ ม ี ค ุ ณ คR า ทางศิ ล ปกรรม สถาปp ต ยกรรม ประวัติศาสตรdและโบราณคดี (7) สRงเสริมการอนุรักษdภูมิปpญญาทCองถิ่นและแหลRงหัตถอุตสาหกรรมชุมชน (8) อนุรักษdทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

5-126

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ภาพที่ 5- 47 ผังเมืองรวมจังหวัดเชียงราย

5-127


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดเชียงราย ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดเชียงรายที่บังคับใชCในปpจจุบัน ประกอบไปดCวย ผังเมืองรวมชุมชน แมRจัน-สันทราย ผังเมืองรวมชุมชนจันจวCา ผังเมืองรวมชุมชนบCานเหลRา และผังเมืองรวมชุมชนเวียงชัย ผังเมืองรวมชุมชนแมRจัน-สันทราย และผังเมืองรวมชุมชนเวียงชัย มีโครงสรCางแบบหลายศูนยdกลาง โดยมีศูนยdกลางหลักมีพาณิชยกรรมและที่อยูRอาศัยหนาแนRนมากเปQนศูนยdกลางหลักบริเวณใจกลางเมือง ลCอมรอบดCวยที่อยูRอาศัยหนาแนRนปานกลาง และที่อยูRอาศัยหนาแนRนนCอย ชนบทและเกษตรกรรม ตามลำดับ ผังเมืองรวมชุมชนจันจวCา มีโครงสรCางแบบศูนยdกลางหลัก 2 แหRง โดยเนCนรองรับที่อยูRอาศัยหนาแนRน ปานกลาง และที่อยูRอาศัยหนาแนRนนCอย ลCอมรอบดCวยที่ชนบทและเกษตรกรรมในสัดสRวนมากที่สุด ควบคูRกับ พื้นที่อนุรักษdชนบทและเกษตรกรรม ตามลำดับ ผังเมืองรวมชุมชนบCานเหลRา มีโครงสรCางแบบหลายศูนยdกลาง โดยเนCนรองรับที่อยูRอาศัยหนาแนRนปานกลาง และที่อยูRอาศัยหนาแนRนนCอย ลCอมรอบดCวยที่ชนบทและเกษตรกรรมในสัดสRวนมากที่สุด ควบคูRกับพื้นที่ ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

5-128

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ภาพที่ 5- 48 ผังเมืองรวมเมืองและชุมชน จังหวัดเชียงราย

5-129


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

5.2.8.4 ดJานเศรษฐกิจ จังหวัดเชียงราย ผลิตภัณฑdมวลรวมจังหวัดเชียงราย ป^ พ.ศ. 2561 มีมูลคRา 110,815 ลCานบาท โดย ขยายตัวและปรับตัวดีขึ้นตRอเนื่องจาก 73,853 -110,815 ลCานบาท ในป^ พ.ศ. 2554-2561 ในขณะที่ ผลิ ตภั ณฑd มวล รวมจั งหวั ดตR อหั ว (GPP per capita) มีคRาเฉลี่ยของผลิตภัณฑdจังหวัดตRอหัวเพิ่มขึ้นจาก 63,125-95,895 บาทตRอคน ตRอป^ในป^ พ.ศ. 2554-2561 โดยมูลคRาสูงสุดของโครงสรCางผลิตภัณฑdมวลรวม จังหวัดเชียงรายในป^ พ.ศ. 2561 ขึ้นอยูRกับภาคนอกเกษตร สาขาการผลิตที่มีบทบาทสำคัญตRอเศรษฐกิจ จั ง หวั ด เชี ย งราย ไดC แ กR ภาคบริ ก าร อั น ดั บ ที่ 1 การขายสR ง และการขายปลี ก การซR อ มยำนยนตd และจักรยานยนตd (18,079 ลCานบาท) อันดับที่ 2 การศึกษา (11,462 ลCานบาท) และอันดับ 3 กิจกรรมทาง การเงิน และการประกันภัย (8,070 ลCานบาท) รองลงมา ภาคอุตสาหกรรม ในสRวนของสาขาการผลิต (6,321 ลCานบาท)

5.2.8.5 ดJานประชากร สังคม ประวัติศาสตร+ และวัฒนธรรม ประชากร จังหวัดเชียงราย อำเภอปmาแดด มีสัดสRวนประชากรในเขตเมืองรCอยละ 100 สRวนอำเภอเมืองเชียงราย มีสัดสRวนประชากรในเขตเมืองเปQน 83.49 อำเภอที่มีสัดสRวนประชากรในเขตเมืองสูงมากกวRารCอยละ 80 (นอกจากอำเภอเมืองเชียงราย) ไดCแกR อำเภอเชียงของ สRวนอำเภอที่มีสัดสRวนประชากรในเขตเมืองนCอยกวRา รCอยละ 20 ไดCแกR อำเภอพาน (13.99), อำเภอแมRสรวย (17.45) และอำเภอเวียงเชียงรุCง (15.61) สRวนอำเภอ ที่ไมRมีเทศบาล คือ อำเภอแมRฟÅาหลวง และ อำเภอดอยหลวง อำเภอสRวนใหญRมีสัดสRวนประชากรในเขตเมือง ในชRวงรCอยละ 39-80 ไดCแกR อำเภอเวียงชัย อำเภอเชียงแสน อำเภอแมRจัน อำเภอแมRสาย อำเภอพญาเม็งราย อำเภอเวียงแกRน อำเภอขุนตำล อำเภอเทิง อำเภอเวียงปmาเปÅา และ อำเภอแมRลาว • ประชากรกลุRมชาติพันธุdในจังหวัดเชียงราย สามารถแบRงไดCทั้งหมด 9 กลุRมชาติพันธุd ไดCแกR อาขRา (อีกCอ) ลาหูR (มูเซอ) มCง (แมCว) จีนฮRอ เมี่ยน (เยCา) กะเหรี่ยง ลีซู (ลีซอ) ลัวะ (ละวCา) และขมุ • ประชากรกลุRมชาติพันธุdจังหวัดเชียงรายสRวนใหญRเปQนกลุRมชาติพันธุdอาขRา (อีกCอ) 73,810 คน รC อ ยละ 34.68 รองลงมา คื อ กลุ R ม ชาติ พ ั น ธุ d ล าหู R (มู เ ซอ) 52,309 คน รC อ ยละ 24.70 กลุRมชาติพันธุdมCง (แมCว) 31,963 คน รCอยละ 15.09 กลุRมชาติพันธุdจีนฮRอ 15,670 คน รCอยละ 7.40 กลุ R ม ชาติ พ ั น ธุ d เ มี ่ ย น (เยC า ) 14,430 คน รC อ ยละ 6.81 กลุ R ม ชาติ พ ั น ธุ d ก ะเหรี ่ ย ง 7,564 คน รCอยละ 3.57 กลุRมชาติพันธุdลีซู (ลีซอ) 6,971 คน รCอยละ 3.29 กลุRมชาติพันธุdลัวะ (ละวCา) 6,272 คน รCอยละ 2.96 และกลุRมชาติพันธุdขมุ 2,763 คน รCอยละ 1.30 ภาพที่ xxx-9

5-130

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ ข้อมูลประชากรกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดเชียงราย (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์)

ลัวะ (ละว้า) ขมุ 1.30%

ลีซู (ลีซอ) 3.29% กะเหรี่ยง 3.57% เมี่ยน (เย้า) 6.81%

อาข่า (อีก้อ) 34.86%

จีนฮ่อ 7.40% ม้ง (แม้ว) 15.09%

ลาหู่ (มูเซอ) 24.70%

ภาพที่ 5- 49 ประชากรกลุRมชาติพันธุdจังหวัดเชียงราย (แยกรายกลุRมชาติพันธุd)

5-131


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ตารางที่ 5- 15 ขCอมูลประชากรกลุQมชาติพันธุRจังหวัดเชียงราย (แยกรายกลุQมชาติพันธุR) ลำดับ กลุ)มชาติพันธุ2 หมู)บ5าน ครัวเรือน

ครอบครัว

ชาย

หญิง

เด็กชาย

เด็กหญิง

รวม

ร5อยละ (1) ร5อยละ (2)

1

อาขQา (อีกCอ)

245

12,714

14,027

25,283

26,352

11,106

11,069

73,810

6.43

34.86

2

ลาหูQ (มูเซอ)

217

10,260

11,024

17,870

17,978

8,376

8,085

52,309

4.56

24.7

3

มCง (แมCว)

59

5,665

6,030

10,349

10,562

5,650

5,402

31,963

2.78

15.09

4

จีนฮQอ

38

2,642

2,949

6,030

5,558

2,037

2,045

15,670

1.36

7.4

5

เมี่ยน (เยCา)

56

2,677

3,088

5,510

5,675

1,636

1,609

14,430

1.26

6.81

6

กะเหรี่ยง

31

1,848

1,899

3,085

2,926

800

753

7,564

0.66

3.57

7

ลีซู (ลีซอ)

35

1,322

1,446

2,474

2,559

995

943

6,971

0.61

3.29

8

ลัวะ (ละวCา)

21

1,072

1,252

2,236

2,428

789

819

6,272

0.55

2.96

9

ขมุ

9

595

690

1,010

984

386

383

2,763

0.24

1.3

รวม

5-132

711

38,795

42,405

73,847

75,022

31,775

31,108

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร

211,752


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ประวัติศาสตร+ จากการศึกษาด(านตำนานพื้นเมืองตFาง ๆ นักวิชาการท(องถิ่นของเชียงรายกลFาววFาเรื่องราวเกี่ยวด(วย เรื่องการตั้งอาณาจักรตFาง ๆ ที่เปOนดินแดนของจังหวัดเชียงรายในปRจจุบันนั้นได(ปรากฏในพงศาวดารเหนือ เปOนหนังสือคัมภีรVใบลาน ตัวหนังสืออักษรธรรมล(านนา ตำนานเมืองโยนกนครไชยบุรีศรีช(างแสนบางแหFง เรียกวFา ตำนานโยนกนครราชธานี ไชยบุรีศรีช(างแสง เชFน ตำนานสิงหนวัติ เปOนต(น แตFละเลFมเปOนเรื่องราว เกี่ยวกับเมืองโยนกทั้งสิ้น จึงถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งวFาพงสาวดารโยนก อีกประการหนึ่งจะเกี่ยวพันกับอาณาจักร โบราณตFาง ๆ อันเปOนที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายในปRจจุบัน เมื ่ อพญามั งรายได( ทรงรวบรวมหั วเมื องฝ[ ายเหนื อในอาณาเขตรอบ ๆ ได( แล( ว จึ งทรงกรี ฑาทั พ ไปแสดงฝ]มือในการยุทธตFอหัวเมืองฝ[ายใต(ลงมา จึงได(ไปรวมพล ณ เมืองลาวกูFเต(า และหมอควาญได(น ำ ช(างมงคลของพญามังรายไปทอด (ผูก) ไว(ในป[าหัวดอยทิศตะวันออกพลัดหายไปพญามังรายจึงได(เสด็จติดตาม รอยช(างไปจนถึงดอยทองริมแมFน้ำกกนัทธี ได(ทัศนาการเห็นภูมิประเทศเปOนที่ราบลุFม อุดมสมบูรณV เปOนชัยภูมิที่ดี จึงได(สร(างเมืองใหมF ขึ้นในที่นั่น ให(กFอปราการโอบเอาดอยจอมทองไว(ในทFามกลางเมือง ขนานนามเมืองวFา “เวียงเชียงราย” ตามพระนามของพญามังรายผู(สร(าง เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 1805 ดังนั้น จึงได(นำรูปช(างสีขาวใต(เมฆแหFงความรุFงเรือง และอยูFเย็นเปOนสุขบนพื้นสีมFวงของวันเสารV ซึ่งตรงกับ วันประสูติของพญามังรายเปOนสีประจำจังหวัด

เมืองเก3าเชียงราย เมืองเกFาเชียงรายมีการปรากฏรFองรอยการตั้งถิ่นฐานของมนุษยVยุคกFอนประวัติศาสตรV โดยพบรFองรอย คูน้ำและคันดินที่แสดงการเปOนชุมชนโบราณ และมีการพบหลักฐานทางโบราณคดีหลายบริเวณ ป]พ.ศ. 1802 พญามังรายโปรดให(สร(างขึ้นโดยย(ายราชธานีมาบริเวณเวียงชัยนารายณVดอยจอมทอง ริมแมFน้ำกก โดยการ กFอปราการโอบล(อมดอยจอมทองไว(กลางเมือง เมืองเชียงรายตกเปOนเมืองภายใต(การปกครองของพมFา เปOนเวลานานถึงกวFา 200 ป] และอาณาจักรล(านนาได(ตกเปOนเมืองขึ้นของพมFาและกรุงศรีอยุธยาสลับไปมา ในเมืองเกFาเชียงรายมีสถาปRตยกรรมพื้นถิ่นที่เปOนบ(านเรือนอยูFอาศัยเกFาแกFหลายแหFง มีอาคาร สถาปRตยกรรม อาณานิคมที่ได(รับอิทธิพลจากโรแมนติค นอกจากนี้ยังมีอาคารที่ได(รับอิทธิพลสถาปRตยกรรมโมเดิรVนอีกด(วย

5-133


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ภาพที่ 5- 50 เขตพื้นที่เมืองเกFาเชียงราย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

สถานการณ+ประวัติศาสตร+ โบราณคดี การอนุรักษ+มรดกวัฒนธรรมในจังหวัดเชียงราย ปRจจุบันในจังหวัดเชียงใหมFมีโบราณสถานทั้งสิ้น 212 แหFง แบFงเปOนโบราณสถานขึ้นทะเบียนแล(ว จำนวน 42 แหFง และยังไมFขึ้นทะเบียนทั้งหมด 416 แหFง และยังมีโบราณสถานที่ยังรอการสำรวจอยูFอีกมาก ถึงแม(ในตัวเมืองเกFาเชียงราย จะไมFคFอยปรากฏรFองรอยของแหลFงมรดกวัฒนธรรมเกFาแกFในเมืองมาก เทFากับเมืองเกFาอื่น ๆ ในภาคเหนือ หากในเมืองเชียงแสนยังเปOนเมืองโบราณที่ยังเปOนประจักษVพยานของเมือง ล(านนา และยังมีเมืองโบราณที่จำนวนมากที่ปรากฏในตำนานและเปOนคูน้ำคันดิน สFวนใหญFมีความเกี่ยวข(องกับ ที่ราบ ภูเขาและหนองน้ำ ในปRจจุบันมีนักประวัติศาสตรVและศิลปnนท(องถิ่นพยายามรวมกลุFมกันเพื่อให(อนุรักษV และสร(างสรรคVต(นทุนมรดกวัฒนธรรมของเชียงราย มีสถาบันการศึกษา เชFน มหาวิทยาลัยแมFฟpาหลวง ได(เข(าไปอนุรักษVและจัดการมรดกวัฒนธรรเมมืองเชียงราย หากเปOนการเก็บข(อมูลนำไปสูFการทFองเที่ยวนิเวศ เชิงวัฒนธรรม จังหวัดเชียงรายดำเนินการอนุรักษVและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมในพื้นที่ โดยจัดตั้งโครงการตFาง ๆ เพื่อให( มีการรFวมมือกันระหวFางภาครัฐและประชาชน สFงเสริม สนับสนุน สืบสาน ขนบธรรมเนียมงานเทศกาล ประเพณีวัฒนธรรม เชFน จัดกิจกรรมถนนวัฒนธรรมชุมชนพื้นถิ่น ณ ชุมชนคุณธรรมบ(านเมืองรวง โครงการ สFงเสริมและสนับสนุนศิลปวัฒนธรรมกลุFมชาติพันธุV โครงการฟqrนฟูวิถีชีวิตกะเหรี่ยง เปOนต(น

5-134

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

5.2.8.6 ดJานการบริหารปกครอง หนFวยการปกครองจังหวัดเชียงรายแบFงหนFวยปกครองออกเปOน สFวนราชการสังกัดสFวนภูมิภาค 27 หนF ว ยงาน และสF ว นราชการสั ง กั ด สF ว นกลาง 85 หนF ว ยงาน และสF ว นราชการสั ง กั ด สF ว นท( อ งถิ่ น ได(แกF องคVการบริหารสFวนจังหวัด 1 แหFง เทศบาลนคร 1 แหFง เทศบาลตำบล 25 แหFง องคVการบริหาร สFวนตำบล 120 แหFง อำเภอ 18 อำเภอ 124 ตำบล 1,738 หมูFบ(าน

5.2.9 จังหวัดแม3ฮ3องสอน 5.2.9.1 ดJานภูมิศาสตร+ ภูมิประเทศ สภาพภู ม ิ ป ระเทศเปO น ทิ ว เขาสู ง สลั บ ซั บ ซ( อ นและเปO น พื้ น ที ่ ป [ า ไม( ต ามธรรมชาติ ท ี ่ อ ุ ด มสมบู ร ณV มีทิวเขาเรียงตามแนวทิศเหนือ-ใต( ขนานกัน ทิวเขาที่สำคัญ คือ ทิวเขาแดนลาว อยูFทางตอนเหนือสุดของ จังหวัด เปOนแนวแบFงเขตแดนประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐแหFงสหภาพเมียนมา และ ทิวเขาถนนธงชัย ประกอบด(วยทิวเขาเรียงขนานกัน 3 แนว คือ ทิวเขาถนนธงชัยตะวันตก เปOนแนวเขตแดนประเทศไทย และสาธารณรัฐแหFงสหภาพเมียนมาทิวเขาถนนธงชัยกลาง อยูFระหวFางแมFนำ้ ยวมและแมFน้ำแมFแจFม และทิวเขา ถนนธงชัยตะวันออก เปOนแนวแบFงเขตระหวFางจังหวัดแมFฮFองสอนกับจังหวัดเชียงใหมF ที่ตั้งของยอดเขา ที่สูงที่สุด คือ ยอดเขาแมFยะอยูFในเขตพื้นที่อำเภอปาย มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 2,005 เมตร

ธรณีวิทยา พื้นที่สFวนใหญFของจังหวัดแมFฮFองสอนเปOนพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาซึ่งมีความลาดชันมากกวFาร(อยละ 35 ของดินที่พบบริเวณดังกลFาว มีทั้งดินลึกและดินตื้นลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณVตามธรรมชาติ แตกตFางกันไปแล(วแตFชนิดของหินต(นกำเนิด ในบริเวณนั้นมักมีเศษหินก(อนหินหรือพื้นโผลFกระจัดกระจายทั่วไป สFวนใหญFยังปกคลุมด(วยป[าไม(ประเภทตFาง ๆ เชFน ป[าเบญจพรรณ ป[าเต็งรัง หรือป[าดงดิบชื้น หลายแหFง มีการทำไรFเลื่อนลอยโดยปราศจากมาตรการในการอนุรักษVดินและน้ำซึ่งเปOนผลท(าให(เกิดการชะล(างพังทลาย ของหน(าดิน ในพื้นที่ท(าการเกษตรบริเวณที่ราบระหวFางเขาสFวนใหญFเปOนดินลึก เนื้อดินรFวนเหนียวปนทราย ความอุดมสมบูรณVตามธรรมชาติปานกลาง ในพื้นที่ดอนสFวนใหญFเปOนดินลึกมาก เนื้อดินรFวนปนดินเหนียว มีปRญหาเปOนดินกรดและมีความอุดมสมบูรณVต่ำ บางพื้นที่เปOนดินตื้นมีหินและกรวดปน เนื้อดินรFวนปนทราย และดินเปOนดินกรด ความอุดมสมบูรณVต่ำ พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะล(างพังทลายได(งFายบริเวณที่มี ความลาดชันไมFมากนัก และดินไมFตื้นมาก อาจใช(ปลูกพืชไรFได( แตFต(องรบกวนดินน(อยที่สุด พร(อมทั้งจัดทำ ระบบอนุรักษVดินและน้ำที่เหมาะสม ใสFปูนเพื่อแก(ความเปOนกรดของดินและเพิ่มความอุดมสมบูรณVแกFดิน โดยใช(ปุvยอินทรียVรFวมกับปุvยเคมี 5-135


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ภูมิอากาศ มีภูมิอากาศแบบร(อนชื้น คือ มีอากาศร(อนอบอ(าว ในฤดูร(อน ได(รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต( มีฝนตกชุกในฤดูฝน และได(รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และความกด อากาศสูงจากประเทศจีน ทำให(อากาศหนาวถึงหนาวจัด แบFงเปOน 3 ฤดู ดังนี้ ฤดูร(อน ชFวงกลางเดือนกุมภาพันธV-กลางเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน ชFวงกลางเดือนพฤษภาคม-เดือนตุลาคม ฤดูหนาว ชFวงเดือนตุลาคม-กลางเดือนกุมภาพันธV

5.2.9.2 ดJานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลJอม ลุ3มน้ำ จังหวัดแมFฮFองสอน มีพื้นที่ซ(อนทับกับเขตลุFมน้ำ คือ มีพื้นที่สFวนใหญFอยูFในลุFมน้ำสาละวิน

แหล3งน้ำ จั งหวั ดแมF ฮF อ งสอนมี ล ุ F มน้ำสาละวิ นเปO นแมF น้ำสายหลั ก และมี กลุ F มลุ F มน้ ำ สาขา 4 สาขา ได( แกF กลุFมลุFมน้ำสาขาปาย กลุFมลุFมน้ำสาขายวม กลุFมลุFมน้ำสาขาเมย และกลุFมลุFมน้ำสาขาสาละวิน แบFงออกเปOน 17 ลุFมน้ำสาขา ซึ่งแมFน้ำทุกสายจะไหลไปบรรจบกับแมFน้ำสาละวินในเขตสาธารณรัฐแหFงสหภาพเมียนมา ซึ่งจากการบุกรุกพื้นที่ป[าอยFางตFอเนื่องสFงผลให(ปริมาณน(าต(นทุนในแมFน(าสายหลักลดลงและมีสภาพตื้นเขิน ทรัพยากรน้ำของจังหวัดแมFฮFองสอนสFวนใหญFเปOนแหลFงน้ำจากพื้นที่ป[าต(นน(าอยูFบริเวณรอยตFอระหวFางทิวเขา ถนนธงชัยกับทิวเขาแดนลาว และทิวเขาทางตอนใต(ในอำเภอขุนยวม และการจัดประเภทของแหลFงน้ำในพื้นที่ จังหวัดแมFฮFองสอน ซึ่งมี แมFน้ำสายหลัก ได(แกF แมFน้ำปาย แมFน้ำสาละวิน แมFน้ำยวม แมFน้ำสายรอง ได(แกF แมFสุรินทรV แมFลาหลวง แมFเงา น้ำของ น้ำแมFริด แมFสะเรียง แมFสะงา แมFสะมาด แมFน้ำปาย ต(นน้ำอยูFบริเวณทิวเขาถนนธงชัยบรรจบกับทิวเขาแดนลาว ในเขตอำเภอปาย สายน้ำไหล ลงสูFทางทิศใต( เมื่อผFานตัวอำเภอปายแล(วจะหักเหไปทางทิศตะวันตก ผFานอำเภอเมืองแมFฮFองสอนมีความยาว ชF ว งนี ้ ป ระมาณ 135 กิ โ ลเมตร แล( ว ไหลออกนอกเขตประเทศไทยไปลงแมF น ้ ำ สาละวิ น (แมF น ้ ำ คง) ในประเทศพมFา มีลำน้ำสาขาที่สำคัญ เชFน ลำน้ำของ ลำน้ำลาง ลำน้ำแมFสะงา ลำน้ำแมFสะงี และลำน้ำแมFสะมาด แมFน้ำยวม ต(นน้ำเกิดจากทิวเขาทางตอนใต(ชFองปากเกี๊ยะในอำเภอขุนยวม น้ำไหลไปทางทิศตะวันตก เมื่อเลยอำเภอขุนยวม ลำน้ำจะหักเหไปทางทิศใต( ผFานอำเภอแมFสะเรียง ยาวประมาณ 215 กิโลเมตร

5-136

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

แล(วจึงวกไปทางทิศตะวันตก ลงแมFน้ำเมย(พมFาเรียกวFา ตFองยิบเจ(า) ที่สบเมยอันเปOนบริเวณตะวันตกด(านใต(สุด ของจังหวัด มีลำน้ำสาขาที่สำคัญ เชFน ลำน้ำแมFลากzะ ลำน้ำแมFลาหลวง ลำน้ำแมFสะเรียง และลำน้ำแมFเงา อFางเก็บน้ำ ได(แกF อFางเก็บน้ำมFอนตะแลง ปริมาณกักเก็บน้ำปริมาณ 0.269 (ลบ.ม.) อFางเก็บน้ำห(วย แมFฮFองสอน ปริมาตรกักเก็บน้ำปริมาณ 0.663 (ลบ.ม.) อFางเก็บน้ ำจองจายปริมาตรกักเก็บน้ำปริมาณ ไมFแนFนอน มีบFอน้ำบาดาลที่สามารถใช(งานได(ทั้งหมดจำนวน 402 แหFง และสFวนที่เอกชนขออนุญาตใช(นำ้ บาดาล ที่เปOนการเจาะน้ำบาดาลเพื่อจะใชในการอุปโภคบริโภคทั่วไป หรือเพื่อการเกษตร หรือเพื่อใชในภาคธุรกิจ หรือเพื่อใชในภาคอุตสาหกรรม จำนวน 52 แหFง

ปWาไมJและสัตว+ปWา จังหวัดแมFฮFองสอน มีเนื้อที่ทั้งหมด 7,987,808.27 ไรF มีพื้นที่ป[าตามกฎหมาย 7,849,640 ไรF พื้นที่ป[า สมบูรณV 6,860,611.94 ไรF คิดเปOนร(อยละ 85.99 (ข(อมูลกรมป[าไม( 2561) ภูมิประเทศของจังหวัดแมFฮFองสอน มีลักษณะเปOนทิวเขาสลับซับซ(อน ที่มีความสูงจากน้ำทะเลปานกลางตั้งแตF 100 - 2,000 เมตร เปOนพื้นที่ป[าไม( ตามธรรมชาติที่อุดมสมบูรณV มีทิวเขาเรียงตามแนวทิศเหนือและทิศใต(ขนานกัน ทิวเขาที่สำคัญ คือ ทิวเขาแดน ลาว อยูFทางตอนเหนือสุดของจังหวัด เปOนแนวแบFงเขตแดนประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐแหFงสหภาพ เมียนมา และ ทิวเขาถนนธงชัย ประกอบด(วยทิวเขาเรียงขนานกัน 3 แนว คือ ทิวเขาถนนธงชัยตะวันตก เปOนแนวเขตแดนประเทศไทยและสาธารณรัฐแหFงสหภาพเมียนมาทิวเขาถนนธงชัยกลาง อยูFระหวFางแมFน้ำยวม และแมFน้ำแมFแจFม และทิวเขาถนนธงชัยตะวันออก เปOนแนวแบFงเขตระหวFางจังหวัดแมFฮFองสอนกับจังหวัด เชียงใหมF ทั้งยังเปOนที่ตั้งของยอดเขาที่สูงที่สุด คือ ยอดเขาแมFยะอยูFในเขตพื้นที่อำเภอปาย มีความสูง จากระดั บ น้ ำ ทะเลประมาณ 2,005 เมตร ประเภทของป[ า ไม( ท ี ่ พ บในพื้ น ที ่ จ ั ง หวั ด แมF ฮ F อ งสอน มี ทั้ ง ป[ า ชนิดไมFผลัดใบ ได(แกF ป[าดงดิบชื้น ป[าดงดิบเขา และป[าสน และป[าชนิดผลัดใบ ได(แกF ป[าผสมเบญจพรรณ และป[าเต็ง-รัง นอกจากนี ยังพบป[าไรFร(างและป[าไรFเลื่อนลอย พืชพันธุVไม(ในป[าสFวนใหญFเปOนไม(มีคFา เชFน ไม(สัก ไม(เต็งรัง ไม(แดง ไม(ประดูF ไม(ชิงชัง ไม(มะคFาโมง ไม(รกฟpา ไม(ยมหอม ไม(ตะเคียนทอง ไม(ตะเคียนหนู ไม(เต็ง ไม(รัง ยางเหียง ไม(พลวง ไม(ตะแบก ฯลฯพืชพันธุVไม(ที่มีอยูFทั่วไป ได(แกF ไม(ไผF ผักหวานป[า ต(นคราม ผักกูด ผักกูดดอย ผักพFอค(า ดอกอาว (กระเจียว) สาบแล แคป[า เพกา ปู[ยFา ผักแวFน ผักหนาม ผักเฮือด ผFา เพียฟาน ฟRกข(าว มันปลา (มันปู) เตา(สาหรFายน้ำจืด) อFองลอด (ดอกหิน) สมอไทย มะขามปpอม พืชพันธุVไม(เฉพาะ มีผักส(มป]r (หัวแหวน) ผักหนามโค(ง (หมากลม) ดอกดิน เปOนต(น สัตวVป[าที่พบได(แกF เลียงผา กวางป[า เก(ง หมูป[า วัวแดง กระทิง เสือโครFง กระตFายป[า กระรอก กระแต ชะนี นกกวFา 120 ชนิด สัตวVเลี้ยงลูกด(วยนมประมาณ 30 ชนิด สัตวVสะเทินน้ำสะเทินบก 5 ชนิด สัตวVเลื้อยคลายประมาณ 30 ชนิด ปลาน้ำจืดประมาณ 30 ชนิด และแมลงกวFา 200 ชนิด ที่สำคัญจังหวัดแมFฮFองสอน มีผืนป[าสักที่ประชาชนแมFฮFองสอนหวงแหน คือ “ป[าสักนวมินทรราชินี” เนื้อที่รวม 497.2 ตารางที่กิโลเมตร หรือ 310,725 ไรF เปOนไม(สักมีลักษณะดี ขนาดใหญFลำต(นเปลFาตรง 5-137


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

อัตราการเจริญเติบโตสม่ำเสมอ สภาพป[ามีความสมบูรณV สามารถเจริญเติบโตได(ดีในพื นที่สูงกวFา 1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล และสมเด็จพระนางเจ(าฯ พระบรมราชินีนาถแล(ว ทรงรับโครงการอนุรักษVแหลFงพันธุกรรม ไม(สักและพัฒนาคุณภาพชีวิตราษฎรบริเวณป[าลุFมน้ำของ-ลุFมน้ำปาย อำเภอปางมะผ(า จังหวัดแมFฮFองสอนไว( เปOนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริเนื่องจากผืนป[าสักดังกลFาวมีความหลากหลายทางชีวภาพเหมาะสม สำหรับศึกษาวิจัย พัฒนาพันธุVไม(สัก และเปOนแหลFงทFองเที่ยวทางธรรมชาติที่นักทFองเที่ยวให(ความสนใจ เชFน การลFองแกFงชมป[าสัก เปOนต(น มลพิษและของเสีย

5.2.9.3 ดJานกายภาพ การตั้งถิ่นฐาน และการใชJที่ดิน เปOนจังหวัดชายแดนตอนเหนือของประเทศไทย มีที่ตั้งระหวFางเส(นรุ(งที่ 19 องศาเหนือ และเส(นแวงที่ 97 องศาตะวันออก (LB .916328) ความยาวจากเหนือจดใต( ยาวประมาณ 250 กิโลเมตร กว(างประมาณ 95 กิโลเมตร อยูFหFางจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 924 กิโลเมตร จังหวัดแมFฮFองสอน เปOนจังหวัดชายแดน อยูFทางภาคเหนือตอนบน หFางจากกรุงเทพมหานครประมาณ 924 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 7,987,808.27 ไรF หรื อ ประมาณ 12,780.49 ตารางกิ โ ลเมตร เปO น จั ง หวั ด ที ่ ม ี ข นาดใหญF เ ปO น อั น ดั บ 3 ของภาคเหนื อ และเปO น อั น ดั บ 8 ของประเทศ พื ้ น ที ่ ม ี ร ู ป รF า งเรี ย วยาวจากทิ ศ เหนื อ จรดทิ ศ ใต( มี ค วามยาวประมาณ 250 กิโลเมตรและความกว(างประมาณ 95 กิโลเมตร อาณาเขตติดตFอ ทิศเหนือและทิศตะวันตก ติดตFอกับรัฐฉาน รัฐคะยา และรัฐคอทูเล ประเทศสาธารณรัฐแหFงสหภาพ เมียนมา ทิศใต( ติดตFอกับอำเภอทFาสองยาง จังหวัดตาก ทิศตะวันออก ติดตFอกับอำเภอเวียงแหง อำเภอเชียงดาว อำเภอแมFแตง อำเภอสะเมิง อำเภอแมFแจFม อำเภอฮอด และอำเภออมกÄอย จังหวัดเชียงใหมF ทุ ก อำเภอในจั ง หวั ด แมF ฮ F อ งสอนมี เ ขตแดนติ ด ตF อ กั บ ประเทศสาธารณรั ฐ แหF ง สหภาพเมี ย นมา รวมระยะทางประมาณ 483 กิ โ ลเมตร โดยเปO น พื ้ น ดิ น ประมาณ 326 กิ โ ลเมตร เปO น แมF น ้ ำ ประมาณ 157 กิโลเมตร แบFงเปOนแมFน้ำสาละวิน 127 กิโลเมตร และแมFน้ำเมย 30 กิโลเมตร

5.2.9.4 ดJานเศรษฐกิจ จังหวัดแมFฮFองสอน ผลิตภัณฑVมวลรวมจังหวัดแมFฮFองสอน ป] พ.ศ. 2561 มีมูลคFา 13,728 ล(านบาท โดยขยายตัวและปรับตัวดีขึ้นตFอเนื่องจาก 8,595-13,728 ล(านบาท ในป] พ.ศ. 2554-2561 ในขณะที่ผลิตภัณฑV มวลรวมจังหวัดตFอหัว (GPP per capita) มีคFาเฉลี่ยของผลิตภัณฑVจังหวัดตFอหัวเพิ่มขึ้นจาก 40,421-58,370 บาท ตFอคนตFอป]ในป] พ.ศ. 2554-2561 โดยมูลคF าสูงสุดของโครงสร(างผลิตภัณฑVมวลรวมจังหวัดแมFฮFองสอน 5-138

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ในป] พ.ศ. 2561 ขึ้นอยูFกับภาคนอกเกษตร สาขาการผลิตที่มีบทบาทสำคัญตFอเศรษฐกิจจังหวัดแมFฮFองสอน ได( แ กF ภาคบริ ก าร อั น ดั บ ที ่ 1 การศึ ก ษา (2,096ล( า นบาท) อั น ดั บ ที ่ 2 การขายสF ง และการขายปลี ก การซFอมยานยนตV และจักรยานยนตV (1,461 ล(านบาท) และอันดับ 3 การบริหารราชการ การปpองกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ (1,124 ล(านบาท) รองลงมาภาคอุตสาหกรรม ในสFวนของสาขาการผลิต (728 ล(านบาท)

5.2.9.5 ดJานประชากร สังคม ประวัติศาสตร+ และวัฒนธรรม ประชากร จังหวัดแมFฮFองสอน อำเภอเมืองแมFฮFองสอนมีสัดสFวนประชากรในเขตเมืองเพียง 15.84 และไมFมี อำเภอที่มีสัดสFวนประชากรในเขตเมืองมากกวFาร(อยละ 80 อำเภอสFวนใหญFมีสัดสFวนประชากรในเขตเมืองน(อย กวF า ร( อ ยละ 20 (นอกจำกอำเภอเมื อ งแมF ฮ F อ งสอน) ได( แ กF อำเภอขุ น ยวม (16.40), อำเภอปาย (7.48) และอำเภอแมFลำน(อย (11.34) สFวนอำเภอที่ไมFมีเทศบาล คือ อำเภอสบเมย และอำเภอปางมะผ(ามีเพียง อำเภอแมFสะเรียงที่มีสัดสFวนประชากรในเขตเมืองร(อยละ 40.69 • ประชากรกลุFมชาติพันธุVในจังหวัดแมFฮFองสอน สามารถแบFงได(ทั้งหมด 6 กลุFมชาติพันธุV ได(แกF กะเหรี่ยง ลาหูF (มูเซอ) ลัวะ (ละว(า) ลีซู (ลีซอ) ม(ง (แม(ว) และปะหลFอง (ดาลาอั้ง) • ประชากรกลุFมชาติพันธุVจังหวัดแมFฮFองสอนสFวนใหญFเปOนกลุFมชาติพันธุVกะเหรี่ยง 114,082 คน ร(อยละ 84.06 รองลงมา คือ กลุFมชาติพันธุVลาหูF (มูเซอ) 7,508 คน ร(อยละ 5.53 กลุFมชาติพันธุVลัวะ (ละว(า) 5,375 คน ร(อยละ 3.96 กลุFมชาติพันธุVลีซู (ลีซอ) 5,081 คน ร(อยละ 3.74 กลุFมชาติพันธุVม(ง (แม(ว) 3,510 คน ร(อยละ 2.59 และกลุFมชาติพันธุVปะหลFอง (ดาลาอั้ง) 162 คน ร(อยละ 0.12 ภาพที่ 5- 51

5-139


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให(สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล(อม

ข้อมูลประชากรกลุ่มชาติพันธุ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน (แยกรายกลุ่มชาติพันธุ์)

ม้ง (แม้ว) 2.59% ปะหล่อง (ดาลาอั้ง) 0.12%

ลีซู (ลีซอ) 3.74% ลัวะ (ละว้า) 3.96% ลาหู่ (มูเซอ) 5.53%

กะเหรี่ยง 84.06%

ภาพที่ 5- 51 ประชากรกลุFมชาติพันธุVจังหวัดแมFฮFองสอน (แยกรายกลุFมชาติพันธุV)

5-140

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ข(อมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ตารางที่ 5- 16 ข(อมูลประชากรกลุFมชาติพันธุIจังหวัดแมFฮFองสอน (แยกรายกลุFมชาติพันธุI) ลำดับ

กลุ่มชาติพันธุ์

1

กะเหรี่ยง

2

หมู่บ้าน

ครัวเรือน

ครอบครัว

ชาย

หญิง

เด็กชาย

เด็กหญิง

รวม

ร้อยละ (1)

ร้อยละ (2)

524

28,246

30,815

43,139

40,716

15,341

14,886

114,082

9.94

84.06

ลาหู่ (มูเซอ)

37

1,788

946

2,713

2,658

1,104

1,033

7,508

0.65

5.53

3

ลัวะ (ละว้า)

16

1,043

1,007

2,025

2,075

656

619

5,375

0.47

3.96

4

ลีซู (ลีซอ)

20

1,681

806

1,645

1,683

859

894

5,081

0.44

3.74

5

ม้ง (แม้ว)

11

652

638

1,235

1,238

529

508

3,510

0.31

2.59

6

ปะหล่อง (ดาลาอั้ง)

1

0

0

53

47

37

25

162

0.01

0.12

รวม

609

33,410

34,212

50,810

48,417

18,526

17,965

135,718

5-141


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ประวัติศาสตร+ จังหวัดแมQฮQองสอน มีประวัติความเปSนมายาวนานมากตั้งแตQยุคกQอนประวัติศาสตรT แตQไมQมีเอกสาร ทางประวัติศาสตรTใหCศึกษาคCนควCา ไดCแตQคาดคะเนจากหลักฐานทางโบราณคดีที่ขุดคCนในบริเวณนี้ ซึ่งระบุวQา ในภูมิภาคแถบนี้ไดCมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษยTมาตั้งแตQยุคหินเกQา การตั้งถิ่นฐานและลำดับพัฒนาการ ทางประวัติศาสตรTของแตQละอำเภอมักจะคาบเกี่ยวกันหลายอำเภอ คือ กลุQมอำเภอปาย อำเภอปางมะผCา อำเภอเมืองแมQฮQองสอน และอำเภอขุนยวม กับ กลุQมอำเภอแมQสะเรียง อำเภอแมQลานCอย และอำเภอสบเมย ยุคกQอนประวัติศาสตรT ชQวงกQอนป\พ.ศ. 1800 คาดคะเนความเปSนไปในทางประวัติศาสตรTจากหลักฐานทาง โบราณคดีที่ขุดคCนไดCจากที่ตQาง ๆ ในอำเภอเมืองแมQฮQองสอน อำเภอปางมะผCา และอำเภอขุนยวม ที่บQงบอกวQา มีการตั้งถิ่นฐานคนโบราณยุคกQอนประวัติศาสตรTตั้งแตQยุคหินเกQาตอนปลาย (32,000 ป\มาแลCว) ถึงยุคโลหะ เหล็ก (ประมาณ 1,100 ป\มาแลCว) ในพื้นที่บริเวณนี้ หลังจากยุคกQอนประวัติศาสตรTผQานไป เริ่มมีหลักฐาน ที่เปSนบันทึกเรื่องราว พงศาวดาร ตำนาน และคําบอกเลQาสืบตQอกันมา ประกอบหลักฐานที่เปSนโบราณสถาน และโบราณวัตถุที่คCนพบในพื้นที่

เมืองเก3าแม3ฮ3องสอน เมืองเกQาแมQฮQองสอน ปgจจุบันคือ ตำบลจองคำ ในเขตเทศบาลเมืองแมQฮQองสอนตามแนวเมืองโบราณ คือ ตัวเมืองอยูQในแอQงภูเขา มีลำน้ำไหลขนาบสองดCาน ทิศใตCเปSนลำน้ำแมQฮQองสอน ทิศเหนือเปSนลำน้ำบุh ทั้งสอง ลำน้ำไหลไปบรรจบกันที่บCานสบปiองและแมQน้ำปาย ตัวเมืองเปSนรูปวงรีเหลี่ยม จากขCอมูลมีการขุดขึ้น เมื่อป\ พ.ศ. 2442 ปgจจุบันไมQมีรQองรอยเหลืออยูQ บางแหQงกลายเปSนรQองน้ำไป จากผูCที่เคยเห็นคูเมืองโบราณ กลQาววQา คูเมืองเกQาแมQฮQองสอน มีลักษณะเปSนรQองมีเสาไมC ขนาดเสCนผQานศูนยTกลาง 25-30 นิ้ว ปgกเรียงสลับกัน เสาสูง 3-3.5 เมตร

5-142

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

-4-

แผนที่ท้ำยประกำ คณะกรรมกำรอนุรัก ์และพัฒนำกรุงรัตนโก นิ ทร์ และเมืองเก่ำ เรื่อง ประกำ เขตพืน้ ทีเ่ มืองเก่ำแม่ฮ่อง อน อำเภอเมือง จัง ดั แม่ฮ่อง อน พ. . ๒๕๖๑

ขอบเขตพื้นที่เมืองเก่า

ขอบเขตพื้นที่ต่อเนื่อง

ภาพที่ 5- 52 เขตพื้นที่เมืองเกQาแมQฮQองสอน อำเภอเมือง จังหวัดแมQฮQองสอน

สานักงานเลขานุการคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ และเมืองเก่า สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สถานการณ+ ป ระวั ต ิ ศ าสตร+ โบราณคดี การอนุ ร ั ก ษ+ ม รดกวั ฒ นธรรมในจั ง หวั ด แม3ฮ3องสอน จจุบันในจังหวัดแมQฮQองสอนมีโบราณสถานทั้งสิ้น 222 แหQง แบQงเปSนโบราณสถานที่ขึ้นทะเบียนแลCว จำนวน 7 แหQง และยังไมQขึ้นทะเบียนทั้งหมด 215 แหQง ซึ่งมีจำนวนโบราณสถานที่ไดCรับการขึ้นทะเบียนภายใตC การดำเนินงานของกรมศิลปากรมีจำนวนนCอยที่สุดในจังหวัดภาคเหนือทั้งหมด 5-143


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

เมื่อพิจารณาในรายละเอียดแลCวพบวQา จังหวัดแมQฮQองสอนยังไมQมีกระบวนการชัดเจนที่แสดงถึง การพั ฒนาหรื ออนุ รั กษT มรดกวั ฒนธรรมและนิ เ วศ ประชาชนยั ง ดำรงชี พดC วยการเกษตรกรรมเปS นหลั ก ประชาชนตื่นตัวตQอการอนุรักษTนCอยกวQาจังหวัดอื่น ๆ จังหวัดแมQฮQองสอนไดCมีแผนการดำรงประเพณีสำคัญ เชQน ประเพณีปอยสQางลอง ประเพณีปอยเหลินสิบเอ็ด (ประเพณีออกพรรษา) ประเพณีสิบสองมนลQองผQองไต และงานนมัสการพระธาตุดอยกองมู และแผนการพัฒนาแหลQงมรดกวัฒนธรรม เชิงนิเวศวิถีชีวิต วัฒนธรรม จั ดอยู Q ในหมวดหมู Q ของแหลQ งทQ องเที ่ ยว เชQ น สะพานประวั ติ ศาสตรT อำเภอปาย อนุ สรณT สถานไทยญี ่ ปุiน อำเภอขุนยวม วัดวาอารามเกQาแกQ เชQน วัดพระธาตุดอยกองมู วัดของกลาง วัดพระธาตุสี่จอม เปSนตCน นอกจากนั้นเปSนการพัฒนาแหลQงทQองเที่ยวเชิงชาติพันธุT เชQน การพัฒนาหมูQบCานรักไทย ศูนยTวัฒนธรรมจีนยูนาน บCานสันติชล เปSนตCน

5.2.9.6 ดJานการบริหารปกครอง จังหวัดแมQฮQองสอนแบQงเขตการปกครองออกเปSน 7 อำเภอ 45 ตำบล 415 หมูQบCาน ประกอบดCวย องคTกรปกครองสQวนทCองถิ่นในพื้นที่จังหวัดแมQฮQองสอน 50 แหQง ประกอบดCวย องคTการบริหารสQวนจังหวัด 1 แหQง เทศบาลเมือง 1 แหQง เทศบาลตำบล 6 แหQง องคTการบริหารสQวนตำบล 42 แหQง

5.3

ชุมชนที่มีความสำเร็จในการจัดการสิ่งแวดลJอมชุมชนเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ

โครงการจั ดวางแผนผั ง ภู มิ นิ เ วศของพื ้ นที ่ ภาคเหนื อไดC เ ลื อกศึ กษาชุ มชนที ่ ประสบความสำเร็ จ ในการจัดการสิ่งแวดลCอมชุมชนเชิงนิเวศซึ่งมีลักษณะสภาพแวดลCอมและวัฒนธรรมที่แตกตQางกัน 3 แหQง ไดCแกQ (1) ชุมชนบุญเรือง ตำบลบุญเรือง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เปSนชุมชนที่มีพื้นที่ปiาชุQมน้ำขนาดใหญQ ที่สุดในภาคเหนือ เปSนกลุQมคนเมืองหรือชาติพันธุTไทยวน นับถือศาสนาพุทธและมีความผูกพันกับผืนปiานี้มา ตั้งแตQรุQนบรรพบุรุษ (2) ชุมชนบCานงามเมือง หมูQ 11 ตำบลยางฮอม อำเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย เปSนชุมชน ที่มีการจัดการลุQมน้ำยQอยและการปรับตัวตQอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ดำเนินการจัดการใชCที่ดิน ตั้งแตQปiาภูเขาจนถึงที่ราบลุQมริมน้ำอิง ชาวชุมชนนับถือศาสนาคริสตTและมีผูCนำที่เขCมแข็ง เปSนทั้งผูCนำทาง การและทางศาสนา (3) ชุมชนบCานตQอแพ หมูQ 1 ต.แมQเงา อ.ขุนยวม จ.แมQฮQองสอน ดำเนินการจัดการปiาชุมชน ปmองกันและแกCไขปgญหาหมอกควันจากไฟปiาและการเผาในที่โลQง เปSนชุมชนชาวไทยใหญQที่มีศรัทธาตQอพระสงฆT ผูCนำทางศาสนาและเปSนผูCนำชุมชน นCอมนำพระราชดำริเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาใชCในการดำเนินชีวิต

5-144

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

5.3.1 การจัดการปVาชุมน้ำ ชุมชนบุญเรือง ตำบลบุญเรือง อำเภอเชียงของ จังหวัด เชียงราย ปiาชุQมน้ำบุญเรืองหรือปiาบุญเรืองตั้งอยูQในลุQมน้ำอิง เปSนปiาชุQมน้ำตามฤดูกาล (seasonal wetland) ที่ในชQวงฤดูฝนจะมีน้ำทQวมขังทั่วผืนปiาบริเวณราบลุQมริมแมQน้ำอิง เปSนผืนปiาชุQมน้ำที่มีขนาดใหญQที่สุด ในภาคเหนือ ครอบคลุมบริเวณ 5 หมูQบCาน มีพื้นที่ถึง 3,706 ไรQ ชุมชนบุญเรืองซึ่งตั้งอยูQที่ตำบลบุญเรือง อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เปSนชุมชนที่ไดCอนุรักษTปiาบุญเรืองแหQงนี้ไวC โดยปiาบุญเรืองมีเอกสารสำคัญ ทางราชการในการแสดงสิทธิในที่ดิน คือ หนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง (น.ส.ล.) ฉบับที่ 2540/2510 ซึ่งเปSนที่ สำหรับใชCในราชการจังหวัดเชียงราย (ที่เลี้ยงสัตวTสาธารณประโยชนT) 5 จากการสำรวจในป\ พ.ศ. 2560 พบวQา ปiาบุญเรืองไมQใชQปiาเสื่อมโทรม6 แตQมีความหลากหลายทางชีวภาพสูง อยQางไรก็ดีพื้นที่แหQงนี้ทางภาครัฐไดCมีแผน ใหCพัฒนาเปSนเขตเศรษฐกิจพิเศษและนิคมอุตสาหกรรม ชาวชุมชนจึงไดCคัดคCานการพัฒนาดังกลQาว โดยสรCาง ความรQวมมือกับองคTกรหลายภาคสQวนในการแสดงขCอมูลเชิงประจักษTดCานสิ่งแวดลCอมที่ยังสมบูรณT รวมถึง การทำหนCาที่นิเวศบริการของปiานี้ใหCกับชุมชนและสังคมสQวนรวม จึงนำไปสูQการรักษาไวCเปSนผืนปiาชุQมน้ำตQอไป ความพยายามจนสรC า งความสำเร็ จ ของชุ ม ชนบุ ญ เรื อ งในการฟ} ~ น ฟู ดู แ ล พิ ท ั ก ษT ร ั ก ษาและจั ด การ ความหลากหลายทางชีวภาพของผืนปiานี้ ทำใหCไดCรับรางวัลอิเควเตอรT (Equator Prize) ประจำป\ ค.ศ. 2020 จากโครงการพัฒนาแหQงสหประชาชาติ (UNDP) ซึ่งประกาศใหCชุมชนบุญเรืองเปSน 1 ใน 10 ชุมชนที่ไดCรับ คัดเลือกจากชุมชนที่ไดCรับการเสนอชื่อเกือบ 600 แหQงจาก 120 ประเทศทั่วโลก ชุมชนบุญเรืองและปiาชุQมน้ำ บุญเรืองจึงเปSนหนึ่งในพื้นที่ภาคเหนือที่ประสบความสำเร็จอยQางสูงในการจัดการสิ่งแวดลCอมชุมชนเชิงนิเวศ แนวทางการจัดการปiาชุQมน้ำแหQงนี้ ประกอบดCวย 2 แนวทาง 7 คือ 1. ยกระดับและสรCางรูปธรรมการจัดการพื้นที่ปiาชุQมน้ำอยQางมีสQวนรQวม เชQน - จัดทำแผนการจัดการพื้นที่ปiาแบQงเปSนหลายประเภท (zoning) โดยภายในพื้นที่ปiาไดCมีการแบQงโซนไวC เชQน โซนไผQ โซนขQอย โซนกูด โซนชะพลู อีกทั้งมีพื้นที่วนเกษตร พื้นที่อนุรักษTเสือปลา (บCานเสือปลา) และพื้นที่วังอนุรักษT (วังสงวน) โดยสภาประชาชนและภาคีทำงานรQวมกับสถาบันพัฒนาองคTกรชุมชน (พอช.) จัดทำแผนที่ปiาและฐานขCอมูลจากภาพถQายดาวเทียมเพื่อใชCในการประกอบการวางแผนการจัดการพื้นที่ปiาชุQมน้ำ

5

ศูนยTวนศาสตรTชุมชนเพื่อคนกับปiา. (2558). คุณคQา ความหลากหลายทางชีวภาพและแนวทางการจัดการปiาชุQมน้ำบุญเรือง: ปiาชุQมน้ำผืนที่ใหญQ ที่สุดในลุQมน้ำอิง. รายงานวิจัย, ศูนยTวนศาสตรTชุมชนเพื่อคนกับปiา. 6 วถิราพร ดQานศรีบูรณT และภนิตา พรหมประกาย. (2560). คุณคQาพื้นที่ปiาบุญเรือง. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรT (มก.) 7 สภาประชาชนลุม่ นํ .าอิงและภาคี. (2558). รายงาน "คุณค่า ความหลากหลายทางชีวภาพและแนวทางการจัดการป่ าชุม่ นํ .าบุญเรื อง: ป่ าชุม่ นํ .า ผืนใหญQที่สุดในลุQมน้ำอิง" สรุปจากเวทีเรียนรูCระบบนิเวศลุQมน้ำอิง: คุณคQา ความสำคัญของปiาบุญเรือง...ปiาชุQมน้ำผืนใหญQที่สุดในลุQมน้ำอิง วันที่ 3 ธันวาคม 2558. 5-145


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

- เสนอกิจกรรมในการจัดการปiาใหCเปSนแหลQงเรียนรูCประวัติศาสตรT นิเวศวัฒนธรรม (วิถีคน วิถีควาย ในปiาชุQมน้ำ) ระบบนิเวศปiาชุQมน้ำ การทQองเที่ยวเชิงนิเวศ และการสรCางมูลคQาจากผลผลิตจากปiาที่ใชCสมุนไพร จากปiา - สรCางกระบวนการเรียนรูCในการจัดการทรัพยากร โดยการทำวิจัยที่ใชCองคTความรูC ภูมิปgญญาทCองถิ่น ในการจัดการทรัพยากร 2. ขึ้นทะเบียนพื้นที่ปiาบุญเรืองเปSนพื้นที่ชุQมน้ำที่สำคัญในทุกระดับ - ดำเนินการขึ้นทะเบียนปiาบุญเรืองใหCเปSนพื้นที่ชุQมน้ำที่สำคัญทั้งในระดับทCองถิ่นและระดับชาติ เพื่อใหCมีมาตรการในการคุCมครองพื้นที่อยQางเปSนทางการ นอกจากนั้นแลCวชาวชุมชนบุญเรืองไดCจัดตั้งคณะกรรมการปiาชุมชน เพื่อเปSนผูCดำเนินการดูแล และจัดทำกิจกรรมตQาง ๆ ที่เกี่ยวขCองกับการจัดการปiาและกำหนดกฎระเบียบขCอบังคับประกาศใชCเพื่อการ ควบคุมดูแลทรัพยากรในปiา จัดกิจกรรมสรCางจิตสำนึกผQานกระบวนการเรียนรูCความสำคัญของพื้นที่ปiาชุQมน้ำ และจัดใหCมีพิธีกรรมการบวชปiาสืบชะตาแมQน้ำ8 รวมทั้งผูCประสานงานกลุQมอนุรักษTปiาบุญเรืองมีแนวคิดเกี่ยวกับ การทQองเที่ยวในพื้นที่ปiาบุญเรือง9 โดยใหCแบQงโซนพื้นที่สำหรับนักทQองเที่ยว เพื่อไมQเกิดผลกระทบกับปiา อีกทั้งใหCมีสื่อสารของคนในพื้นที่กับคนภายนอกพื้นที่ สรCางทรัพยากรบุคคล สรCางการมีสQวนรQวมและภาคี เครือขQายระหวQางชาวบCานกับองคTกรตQาง ๆ ดCวย ปgจจัยความสำเร็จในการจัดการสิ่งแวดลCอมชุมชนเชิงนิเวศของบCานบุญเรืองโดยเฉพาะในเรื่อง การรักษาปiาชุQมน้ำแหQงนี้ไวCไดC ประกอบดCวย10 การใชCสิทธิชุมชนตามจารีตประเพณีรQวมกันรักษาปiาผืนนี้ ตั้งแตQในอดีต โดยมีการแสดงออกใหCรัฐและสังคมเห็นวQาชุมชนตCองการรักษาผืนปiานี้ไวC และการตQอสูCที่เนCน การใหCขCอมูล การเจรจา และสรCางความเขCาใจกับทุกฝiาย โดยใชCยุทธวิธีในการปกปmองปiาหลายแนวทาง ไดCแกQ - สรCางความเขCมแข็งใหCเกิดขึ้นในชุมชน และแบQงการทำงานที่ชัดเจน - จัดทำชุดขCอมูลใหCครอบคลุมทุกดCาน เพื่อใชCในการเจรจาและสื่อสารกับสังคม - ใชCการสื่อสารแบบออนไลนTสมัยใหมQที่รวดเร็ว

8

ไกรทอง เหงCานCอย และคณะ (บ.ก.). (2562). การจัดการลุม่ นํ .าอิงอย่างมีสว่ นร่วมและยังH ยืน. เชียงใหมQ: วนิดาการพิมพT. หนCา 34 และ 48. วถิราพร ดQานศรีบูรณT และภนิตา พรหมประกาย. (2560). คุณคQาพื้นที่ของปiาบุญเรือง. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรT (มก.): หนCา 16. 10 สภาประชาชนลุQมน้ำอิงและภาคี. (2558). รายงาน "ปiาชุQมน้ำบCานบุญเรือง: เอกลักษณTของระบบนิเวศที่หลากหลายและบทบาทการปกปmองของ ชุมชนทCองถิ่น" 9

5-146

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

- ประสานภาคีและองคTกรหนQวยงานภายนอกเขCามาชQวยในการศึกษา รวบรวมขCอมูล และเสนอ ขCอเสนอตQาง ๆ แกQหนQวยงานและองคTกรที่เกี่ยวขCองกับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ รวมทั้งชQวยสนับสนุนดCาน กฎหมาย นโยบาย เปSนองคTกรกลางในการจัดเวทีในการสรCางความเขCาใจและการเจรจา - สรCางกิจกรรมดูแลรักษาปiา กิจกรรมเกี่ยวกับประเพณี วัฒนธรรม เชQน บวชปiา สืบชะตา แมQน้ำ กิจกรรมในการฟ}~นฟู บำรุงดูแลปลูกปiา กิจกรรมการเรียนรูCแกQเด็กและเยาวชน รวมทั้งกิจกรรมศิลปะ ทั้งนี้ ความสำเร็จในการอนุรักษTปiาของชุมชนบุญเรืองยังเกิดจากแรงจูงใจหลายประการ ไดCแกQ - ความรักและหวงแหนปiาที่บรรพบุรุษไดCปกปmองดูแลรักษามาตั้งแตQอดีตกวQา 300 ป\ จึงตCองการสานตQอ เจตนารมณTของบรรพบุรุษในการรักษาผืนปiาไวCตQอไป - พื้นที่ปiาแหQงนี้มีความสำคัญตQอวิถีชีวิตและระบบการผลิตของชุมชน ชQวยรองรับน้ำ เปSนแหลQงน้ำ เปSนแหลQงเพาะพันธุTและอนุบาลพันธุTสัตวTน้ำ - พื้นที่ปiาแหQงนี้เปSนแหลQงอาหารและยา - พื้นที่ปiาแหQงนี้เปSนแหลQงสรCางรายไดC ใหCเก็บหาของปiา หนQอไมC ไปขาย - พื้นที่ปiาแหQงนี้เปSนตCนทุนที่สำคัญในการพัฒนาชุมชน สามารถยกระดับเศรษฐกิจโดยการแปรรูป ผลิตภัณฑTจากของในปiา พวกสมุนไพรและพืชอาหารตQาง ๆ รวมทั้งการพัฒนาปiาเปSนแหลQงทQองเที่ยวเชิงนิเวศ ที่เนCนการเรียนรูCระบบนิเวศปiาชุQมน้ำ และวัฒนธรรมทCองถิ่น - การสรCางมาตรการคุCมครองพื้นที่ในเชิงนโยบายหรือกฎหมายตQาง ๆ เชQน การขึ้นทะเบียนเปSน พื้นที่ชุQมน้ำ

ภาพที่ 5- 53 ที่ตั้งชุมชนบุญเรือง และปiาชุQมน้ำ 5-147


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ภาพที่ 5- 54 พื้นที่ปiาบุญเรือง 3,021 ไรQ โดยแบQงการดูแล 5 ชุมชน11

5.3.2 การจัดการลุ3มน้ำย3อยและการปรับตัวต3อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ชุมชนบJานงามเมือง หมู3 11 ตำบลยางฮอม อำเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย12 ผลจากการตั้งถิ่นฐาน การเพาะปลูก และการสQงเสริมการปลูกไรQขCาวโพดจากนโยบายภาครัฐทำใหCเกิด การรุกทำลายพื้นที่ปiาเปSนจำนวนมาก สQงผลตQอพื้นที่ปiาและจำนวนสัตวTน้ำลดลง ในป\ พ.ศ. 2533 – 2535 เกิดวิกฤตขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตรและภัยแลCง ชุมชนจึงเริ่มมีโครงการปรับปรุงพื้นที่เสื่อมโทรมโดยรQวมกับ หลายหนQ ว ยงาน ในป\ พ.ศ. 2541 เครื อ ขQ า ยกลุ Q ม รั ก ษT เ ชี ย งของเขC า มาใหC ค วามรู C แ ละพาแกนนำชุ ม ชน ไปศึกษาดูงานที่จังหวัดพะเยาและจังหวัดนQานในเรื่องการจัดการปiาและการอนุรักษTพันธุTสัตวTน้ำ ชุมชนบCานงามเมือง จึงเห็นศักยภาพของชุมชนเอง ที่มีปiาทั้งบนดอย ปiาชุQมน้ำและแมQน้ำอิง รวมทั้งรับรูCวQาการเปลี่ยนปiาบนดอย เปS น ไรQ ข C า วโพดเลี ้ ย งสั ต วT ทำใหC น ้ ำ ในหC ว ยแลC ง สQ ง ผลตQ อ จำนวนปลาในน้ ำ อิ ง ที ่ น C อ ยลง อี ก ทั ้ ง มี ก ารใชC เครื่องมือจับปลาผิดวิธีอีกดCวย ชุมชนจึงไดCกลับมาประชุมหารือในการทำแหลQงอนุรักษTพันธุTปลาเหมือนอยQาง ที่ไดCไปดูงานมา จึงจัดทำพื้นที่แหลQงอนุรักษTพันธุTสัตวTน้ำบริเวณวังในแมQน้ำอิงเปSนระยะ 500 เมตร และประกาศ 11

รายงาน "ปiาชุQมน้ำบCานบุญเรือง: เอกลักษณTของระบบนิเวศที่หลากหลายและบทบาทการปกปmองของชุมชนทCองถิ่น" โดย สภาประชาชนลุQมน้ำ อิงและภาคี ป\ที่ผลิต 2558 12 นุชจรีย์ สิงคราช และคณะ. (บ.ก.). 2560. บทเรียนการจัดการทรัพยากรของชุมชนในลุ่มน้ำอิง. เชียงใหม่: Fluke Graphic Design & Printing. 5-148

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ตั้งกฎระเบียบ การจัดการปiา การจัดการเขตอนุรักษTพันธุTปลา และปiาชุQมน้ำริมน้ ำอิ ง ในป\ พ.ศ 2547 โดยมีรูปแบบการจัดการและการใชCที่ดินของชุมชน แบQงเปSน 3 ประเภท ไดCแกQ (1) ปiาภูเขาและปiาชุQมน้ำ (2) พื้นที่ตั้งบCานเรือน พื้นที่สวนผลไมCและไมCยืนตCน (3) พื้นที่ราบลุQมบริเวณแมQน้ำอิง เปSนพื้นที่ทำนา ประเภทที่ 1 ปiาภูเขาและปiาชุQมน้ำ เปSนพื้นที่ปiาตCนน้ำ แหลQงอาหาร และไมCใชCสอย โดยไดCมีการขึ้น ทะเบียนเปSนปiาชุมชนในป\ พ.ศ. 2544 พื้นที่ปiาภูเขาอยูQในเขตรับผิดชอบของเขตปiาสงวนแหQงชาติปiาหCวยแดง ปiาหCวยตาล และปiาหCวยไครC คนในชุมชนรQวมกับเจCาหนCาที่ปiาไมCชQวยกันดูแลรักษาปiาและทำแนวกันไฟปiา ในทุ ก ๆ ป\ นอกจากนี ้ ยั ง ไดC แบQ ง เขตพื ้ นที ่ ปi า ภู เ ขาตามประโยชนT การใชC สอยของชุ ม ชนเปS น 3 ประเภท คือ ปiาใชCสอย ปiาชุมชน และปiาตCนน้ำ ซึ่งมีกฎเกณฑTการจัดการทรัพยากรแตกตQางกัน สQวนปiาชุQมน้ำนั้น ชุมชน รักษาไวCเปSนพื้นที่แกCมลิงรองรับน้ำในชQวงน้ำหลาก เปSนแหลQงอาหารและไมCใชCสอยของคนในชุมชน ประเภทที่ 2 พื้นที่ตั้งบCานเรือน พื้นที่สวนผลไมCและไมCยืนตCน เปSนพื้นที่เชิงเขาน้ำทQวมไมQถึง ปลูกพืช ที่ใชCน้ำนCอย ไดCแกQ ไมCยืนตCน เชQน ยางพารา ไมCผล และผักสวนครัว สQวนใหญQใชCน้ำจากประปาภูเขา ประเภทที่ 3 พื้นที่ราบลุQมบริเวณแมQน้ำอิง เปSนพื้นที่ทำนา ที่ใชCน้ำจากแมQน้ำอิง หนองน้ำ และน้ำฝน นอกจากการจัดการและการใชCที่ดินของชุมชนแลCว ชุมชนยังมีการจัดการแหลQงน้ำในชุมชน ไดCแกQ หCวยแดนเมือง แมQน้ำอิง และหนองน้ำ 18 หนอง ในสQวนหCวยแดนเมืองไดCมีการตั้งคณะกรรมการดูแลน้ำ มีกฎระเบียบการใชCน้ำ และมีการเก็บเงินคQาบำรุงรักษาประปาภูเขาในแตQละครัวเรือน บริเวณลุQมน้ำอิงชุมชน ไดCมีมติรQวมกันประกาศตั้งกฎระเบียบและเขตอนุรักษTพันธุTสัตวTน้ ำบริเวณวังขอนโตม สQวนการใชCน้ำอิง ในการทำนาปรังในฤดูแลCง ชุมชนจะตCองมีการทำแผนเสนอตQอเทศบาล เพื่อใหCมีการจัดระเบียบการใชCน้ำ ดCานการจัดการน้ำในหนอง 18 แหQง มีคณะกรรมการดูแลจัดสรรแบQงปgนน้ ำในหนองและจัดการรายไดC เขCาสูQชุมชน โดยเปêดประมูลน้ำแกQชาวนาที่ตCองการทำนาปรังในชQวงฤดูแลCง และเปêดขายบัตรจับปลาที่อยูQ ในหนองดCวย ชุมชนบCานงามเมืองตระหนักวQาตนมีตCนทุนดCานทรัพยากรที่ยังคงความอุดมสมบูรณT และเปSนชุมชน ขนาดเล็กที่มีการรวมกลุQมที่เขCมแข็งอันจะเปSนตCนทุนและจุดแข็งในการปรับตัวตQอความเปลี่ยนแปลงของ สภาพภูมิอากาศในอนาคต ชุมชนจึงไดCเสนอแนวทางในการปรับตัว ไดCแกQ

-

การติดตามสถานการณTสภาพอากาศในระดับทCองถิ่น และการพยากรณTอากาศในพื้นที่ การจัดสรรทรัพยากรน้ำภายในชุมชนในชQวงฤดูขาดแคลนน้ำ การจัดทำระบบน้ำสำรองใหCคนในชุมชน การหาแนวทางความรQวมมือในการจัดการหCวยแดนเมืองระหวQาง 2 หมูQบCาน การฟ}~นฟูพื้นที่ปiาอนุรักษTและปiาตCนน้ำ การพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชนดCานอาชีพ การบริหารจัดการเงิน การสQงเสริมการปลูกพืชชนิดอื่นที่ใชCน้ำนCอยหรือการปลูกพืชแบบผสมผสาน

5-149


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

- การพัฒนาศูนยTเรียนรูCในชุมชนใหCเปSนแหลQงเรียนรูCและศูนยTกลางรวบรวมขCอมูล ปgจจัยความสำเร็จในการจัดการสิ่งแวดลCอมชุมชนเชิงนิเวศของชุมชนบCานงามเมือง

- การมีสQวนรQวมของชาวบCานในกระบวนการตัดสินใจ - การมีศาสนาเปSนศูนยTรวมจิตใจ คนในชุมชนนับถือศาสนาคริสตT ซึ่งมีกิจกรรมทางศาสนาทุกวันอาทิตยT -

ทำใหCเกิดการสื่อสาร แลกเปลี่ยนสถานการณTและขCอมูลกันเสมอ การมีผูCนำที่เขCมแข็ง เปSนทั้งผูCนำทางการและทางศาสนา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและรับฟgงประสบการณTจากผูCอาวุโสในชุมชน นำมาปรับใชCเปSนแนวทาง ในการทำงาน การมีเครือขQาย หนQวยงานและองคTกรพัฒนาเขCามาชQวยเหลือในดCานวิชาการความรูC และแหลQงทุน การศึกษาดูงานนอกชุมชน ทำใหCคนในชุมชนมีโอกาสเห็นตัวอยQางที่ดี ไดCแลกเปลี่ยนสถานการณT แนวคิด ในดCานการอนุรักษTฟ}~นฟูทรัพยากร และนำมาประยุกตTใชCกับชุมชนเอง การมีฐานทรัพยากรอุดมสมบูรณTในชุมชน

ภาพที่ 5- 55 แสดงที่ตั้ง ชุมชนบCานงามเมือง ตำบลยางฮอม อำเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย

5-150

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ภาพที่ 5- 56 แผนที่แสดงการใชCประโยชนTที่ดินหมูQบCานงามเมือง

ภาพที่ 5- 57 แสดงขอบเขตพื้นที่ปiาบนดอยยาวที่บCานงามเมืองอนุรักษT13 (สีเขียว : ปiาตCนน้ำ, สีมQวง : ปiาชุมชน, สีขาว : ปiาใชCสอย)

13

รายงานชุมชนบCานงามเมือง : การจัดการลุQมน้ำยQอยและการปรับตัวตQอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 5-151


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

5.3.3 การจัดการปVาชุมชน ป[องกันและแกJไขป]ญหาหมอกควันจากไฟปVาและการเผา ในที่โล3ง บJานต3อแพ หมู3 1 ต.แม3เงา อ.ขุนยวม จ.แม3ฮ3องสอน ปiาชุมชนบCานตQอแพ ตั้งอยูQในตำบลแมQเงา อำเภอขุนยวม จังหวัดแมQฮQองสอน มีชื่อวQาบCานตQอแพ เพราะแตQเดิมที่หมูQบCานมีการตัดไมCไผQมาผูกเปSนแพลQองไปตามลำน้ำยวม เพื่อบรรทุกขCาวไปขายที่เมืองยม (อำเภอแมQสะเรียงในปgจจุบัน) จำนวนมาก จึงเรียกชื่อหมูQบCานนี้วQา บCานตQอแพ ตQอมาเมื่อการพัฒนาการเกษตรเชิงพาณิชยTขึ้นในชุมชน ซึ่งตCองการผลผลิตปริมาณมาก จึงมีการขยาย พื ้ น ที ่ เ พาะปลู ก เพิ ่ ม การใชC ส ารเคมี ท างการเกษตร และเผาตอซั ง ขC า วหรื อ พื ช ไรQ ต Q า ง ๆ เพื ่ อ ลดตC น ทุ น ในการเตรียมแปลง ทำใหCเกิดปgญหาสิ่งแวดลCอมและระบบนิเวศในชุมชน ซึ่งชุมชนตCองการแกCไขปgญหาเหลQานี้ จึ งรQ วมกั นบริ หารจั ดการปi าชุ มชนใหC เ ปS นเขตปลอดไฟปi า ฟ} ~ นฟู ปi าใหC มี ความอุ ดมสมบู รณT และนC อมนำ พระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาใชCใน การอนุรักษTผืนปiา และอนุรักษTชุมชนโบราณบนดอยคูเวียงซึ่งเปSนที่ตั้งของชุมชนมาแตQเดิม ทำใหCชุมชนนี้ ไดCรับรางวัลปiาชุมชนชนะเลิศระดับประเทศ รางวัลถCวยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจCา กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการคนรักษTปiา ปiารักชุมชน ประจำป\ พ.ศ.2558 ซึ่งจัดโดย บริษัท ผลิตไฟฟmาราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) และกรมปiาไมCซึ่งกQอนหนCานั้นหมูQบCานตQอแพยังไดCรับรางวัลอีก หลายรายการ แกQ รางวัลชนะเลิศการประกวดหมูQบCานเกษตรปลอดภัยชุมชนสีเขียว ภายใตCโครงการสQงเสริม การผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อสQงเสริมการทQองเที่ยว ป\ พ.ศ. 2557 รางวัลชนะเลิศหมูQบCานปลอดการเผาในระดับ จังหวัดแมQฮQองสอน ป\ พ.ศ. 2555 และรางวัล ชุมชนดีเดQน รวมพลัง หนุนชุมชน ลดไฟปiา ป\ พ.ศ. 2556141516 ชุมชนบCานตQอแพไดCดำเนินการหลายกิจกรรมในการจัดการสิ่งแวดลCอมชุมชนเชิงนิเวศ ไดCแกQ ชุมชน

- จัดตั้งคณะกรรมการปiาชุมชน เพื่อเปSนสQวนหนึ่งของการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลCอมของ

- รQวมกันจัดทำแผนชุมชนผQานการประชุมชาวบCาน คณะกรรมการหมูQบCาน คณะกรรมการปiาชุมชน อาสาสมัครพิทักษTทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม และชุดอาสาสมัครดับไฟปiา เปSนประจำทุกเดือน เพื่อจะไดCปรับแผนและวางแผนในการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลCอมของชุมชนตQอไป - กำหนดกฎระเบียบหมูQบCาน โดยผQานมติจากที่ประชุม และมีการติดตามตรวจสอบการปรับใชC กฎระเบียบของหมูQบCานเปSนประจำ มีกฎระเบียบขCอบังคับดCานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

ชุ ม ชนบC า นตQ อ แพ. การจั ด การสิ ่ ง แวดลC อ มชุ ม ชน. (2018) สื บ คC น 16 มกราคม 2565, จาก http://community.onep.go.th/location/barn_toe_pae/ 14

15 16

เอกสารเผยแพรQทางวิชาการดCานปiาชุมชน ในเอกสารการสอนชุดวิชาการปiาไมCชุมชน. (ม.ป.ป). กรุงเทพ ฯ:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. โครงการคนรักษTปiา ปiารักชุมชน. (2558). ปiาชุมชนบCานตQอแพ. ม.ป.ท., ม.ป.พ.

5-152

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ของชุ ม ชน ไดC แ กQ การหC า มเผาในพื ้ น ที ่ ป i า และในพื ้ น ที ่ เ กษตร การหC า มตั ด ไมC การแจC ง ความดำเนิ น คดี ผูCฝiาฝ}นกฎหมาย การหCามทิ้งขยะลงในบริเวณพื้นที่สาธารณะ การหCามทะเลาะวิวาทชกตQอยกันในหมูQบCาน การหCามยิงป}นในหมูQบCาน การหCามเลQนการพนัน การหCามจับปลาในบริเวณที่อนุรักษTไวC การหCามการเกี่ยวขCอง กับยาเสพติด ถCาผูCกระทำความผิดไมQยอมเสียคQาปรับ ทางหมูQบCานจะตัดสิทธิตQาง ๆ จากหมูQบCาน และใหCชQวยกัน รักษาความสะอาดและทรัพยากรธรรมชาติที่มีคQาของชุมชน - จัดตั้งศูนยTเฝmาระวังปmองกันไฟปiาและหมอกควัน โดยคณะกรรมการหมูQบCาน คณะกรรมการปiาชุมชน และชุดอาสาสมัครดับไฟปiาของหมูQบCาน ชุดลาดตระเวนเฝmาระวังการเกิดไฟปiา แตQละสQวนมีบทบาทหนCาที่ อยQางชัดเจน ทุกครอบครัวไดCมีสQวนรQวมในกิจกรรมนี้ - จัดการความเสี่ยงการเกิดไฟปiา โดยการทำแนวกันไฟทั้งในพื้นที่ปา พื้นที่ทำกินสองขCางทาง และบริเวณพื้นที่ที่เสี่ยง รวมทั้งทำฝายชะลอน้ำและเขตอนุรักษTพันธุTสัตวTน้ำบริเวณขCางวัดตQอแพ จัดกิจกรรม การบวชปาและปลูกปาอยQางตQอเนื่องทุกป\ เพื่อการอนุรักษTปiาไวCใหCสมบูรณT - รณรงคT ก ารอนุ ร ั ก ษT ท รั พ ยากรปi า ไมC โดยการประชาสั ม พั น ธT ผ Q า นหอกระจายเสี ย งของชุ ม ชน และติดปmายประชาสัมพันธT ปmายคติและคำเตือนใจ ตามตCนไมC กระจายในพื้นที่ปiาเพื่อเตือนใจใหCชาวบCาน ที่ไปใชCประโยชนTจากปiาไดCตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลรักษาปiา - จัดการการทQองเที่ยวปiาเชิงนิเวศในปiาชุมชน และจัดนำเที่ยวสถานที่สำคัญในชุมชน เชQน ปiาหCวย ปลามุง เสCนทางประวัติศาสตรTสงครามโลกครั้งที่ 2 ตาดมรกต และวัดตQอแพซึ่งเปSนสถานที่สืบทอดวัฒนธรรม ของชุมชนซึ่งสQวนใหญQเปSนชาวไทใหญQ - ทำการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง ผลิตอาหารปลอดภัย โดยปลูกผักและเลี้ยงสัตวTโดยไมQใชC สารเคมีหรือใชCใหCนCอยที่สุด ใชCปุôยหมักลดการใชCปุôยเคมี ลดตCนทุนการผลิต มีการเพิ่มมูลคQาใบตองตึงทำเปSนแพ มุงหลังคาและคลุมแปลงปลูกสตอเบอรTรี่ ปgจจัยแหQงความสำเร็จของชุมชนบCานตQอแพ ไดCแกQ - การมีสQวนรQวมของชุมชน โดยใหCความรQวมมือและมีศรัทธาในตัวผูCนำ (พระสงฆTซึ่งเปSนผูCนำทาง ศาสนาและผูCนำทางการ) - การมีความเชื่อเรื่องการเปSนเจCาของทรัพยากรรQวมกัน - การมีกิจกรรมและประเพณีที่สืบทอดของชุมชน ที่มีอยQางตQอเนื่องทำใหCเกิดความสามัคคีกัน - ชาวชุมชนปฏิบัติตามกฎระเบียบของชุมชน การฝiาฝ}นกฎมีบทลงโทษที่ชัดเจน ทำใหCการบริหาร ชุมชนเปSนไปดCวยความราบรื่น - การประชาสัมพันธTเชิงรุก การใหCความรูCความเขCาใจ การรณรงคTลดการเผา การจัดตั้งเวรยาม การเผยแพรQนโยบายจากสQวนกลางมาใหCสมาชิกในชุมชนไดCรับทราบและปฏิบัติตาม

5-153


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ใหCสมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลCอม

- อาสาสมัครมีจิตสาธารณะ ทำใหCเกิดผลสำเร็จ - การเปêดรับสิ่งใหมQและการเปSนผูCนำการเปลี่ยนแปลง

ภาพที่ 5- 58 แผนที่แสดงที่ตั้ง บCานตQอแพ ต.แมQเงา อ.ขุนยวม จ.แมQฮQองสอน

5-154

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 5 ขCอมูลสำคัญของพื้นที่ภาคเหนือ

ภาพที่ 5- 59 แผนที่แสดงพื้นที่โคงการปiาชุมชน บCานตQอแพ ต.แมQเงา อ.ขุนยวม จ.แมQฮQองสอน17

สรุป ชุมชนทั้งสามที่นำมาศึกษาเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดลCอมชุมชนเชิงนิเวศนี้มีลักษณะ สภาพแวดลCอมและวัฒนธรรมที่แตกตQางกัน ดำเนินการสัมฤทธิ์ผลในประเด็นที่สนใจที่ตQางกัน ไมQวQาจะเปSนพื้นที่ ชุQมน้ำ พื้นที่ลุQมน้ำยQอย และการจัดการปiาชุมชน แตQลCวนมุQงไปสูQการรักษาทรัพยากรและคุณภาพสิ่งแวดลCอม ปgจจัยสำคัญที่นำไปสูQความสำเร็จของทั้งสามชุมชน คือ 1) การมี ส Q ว นรQ ว มของชาวชุ ม ชนในการจั ด การทรั พ ยากรและสิ ่ ง แวดลC อ มของตนในทุ ก ขั ้ น ตอน ทั้งการวางแผนการใชCทรัพยากร และการกำหนดกฎระเบียบของชุมชน 2) การมีผูCนำที่เขCมแข็งและมีความรูC เปSนที่รักและศรัทธาของชาวชุมชน 3) การมีคณะกรรมการของชุมชนดำเนินการตQาง ๆ เชQน การวางแผนงานและการจัดการสิ่งแวดลCอม ชุมชน การกำหนดกฎระเบียบของชุมชน และการจัดทำประชาสัมพันธTสื่อสารระหวQางกันในชุมชน 4) การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลCอมที่สอดคลCองกับวิถีชีวิตและความตCองการของชุมชน 5) ความรQวมมือของคนในชุมชนกับภาคีเครือขQาย องคTกรและหนQวยงานหลายภาคสQวน ที่สนับสนุน บุคลากร องคTความรูCและงบประมาณ 6) การแลกเปลี่ยนความรูCกับชุมชนอื่น เรียนรูCจากประสบการณTที่ผQานมาของชุมชนตQาง ๆ 17

รายงานโครงการคนรักษTปiา ปiารักชุมชนประจำป\ พ.ศ. 2558 5-155


บทที่ 6 การดำเนินงานในขั้นต5อไป

บทที่ 6 การดำเนินงานในขั้นต7อไป 6.1 ขอบเขตเนื้อหาที่ต*องดำเนินการและนำส7ง ในการดำเนินงานในขั้นต5อไป ซึ่งต=องจัดทำรายงานผลการดำเนินงานในรายงานฉบับกลาง (Interim Report) ประกอบด=วยเนื้อหาดังต5อไปนี้ 1. จัดกิจกรรมการมีส5วนร5วมกับกลุ5มผู=ทรงคุณวุฒิ ผู=เชี่ยวชาญ และผู=แทนหน5วยงานที่เกี่ยวข=อง จำนวนไม5น=อยกว5า 50 คน เพื่อนำเสนอข=อมูลโครงการ และรับข=อคิดเห็น ข=อเสนอแนะ ประเด็น ปcญหาอุปสรรค ปcจจัยแห5งความสำเร็จ รวมทั้งข=อมูลที่จำเปdน ได=แก5 หลักการ วิธีการในการพัฒนา เกณฑgและมาตรฐานการพัฒนาโครงสร=างพื้นฐานและการ จัดการสิ่งแวดล=อมในพื้นที่ภาคเหนือ และการกำหนดความเหมาะสมของการใช= พื ้ นที ่ ทางภู มิ นิ เวศพื ้ นที ่ ภาคเหนื อตาม ศั กยภาพ และข=อจำกัดในการใช=พื้นที่ ตลอดจนประเด็นการจัดการสิ่งแวดล=อมอย5างยั่งยืน การรองรับ/รับมือ กั บ การ เปลี ่ ย นแปลงสภาพภู ม ิ อ ากาศ รวมถึ ง แนวคิ ด ทิ ศ ทางการพั ฒ นาประเทศ และการเปลี่ยนแปลงโครงสร=างทางสังคม จำนวน 2 ครั้ง โดยกิจกรรมครั้งที่ 2 เปdนการนำเสนอผล การปรับปรุงการดำเนินงานจากข=อคิดเห็นและข=อเสนอแนะด=านต5าง ๆ จากกิจกรรมครั้งที่ 1 แล=ว 2. จัดทำ (ร5าง) แผนและผังภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือ ครอบคลุม 9 จังหวัด และ (ร5าง) แผนและผัง ความเหมาะสมในการใช=พื้นที่ภูมินิเวศของพื้นที่ภาคเหนือตามศักยภาพและข=อจำกัดในการใช=พื้นที่ ทางภูมินิเวศอย5างยั่งยืนของแต5ละจังหวัด เพื่อบรรลุสู5ความเปdนเมืองน5าอยู5 ชนบทมั่นคง เกษตร ยั่งยืนและปลอดภัย อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และพื้นที่พิเศษเพื่อการอนุรักษgทรัพยากรธรรมชาติ แหล5งโบราณคดี มรดกทางสถาปcตยกรรมและศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณgและวิถีชีวิตพื้นถิ่น โดยผ5านกระบวนการมีส5วนร5วมรับฟcงความคิดเห็น และข=อเสนอแนะต5อ (ร5าง) แผนและผังภูมินิเวศ ของพื้นที่ภาคเหนือ และ (ร5าง) แผนและผังความเหมาะสมในการใช=พื้นที่ทางภูมินิเวศอย5างยั่งยืน รายจังหวัด ระดับจังหวัด โดยคณะที่ปรึกษาต=องทำการศึกษาค=นคว=าข=อมูลเชิงลึก วิเคราะหg และสังเคราะหgผลการทบทวนยุทธศาสตรg นโยบาย แผน และมาตรการ และผลการทบทวน วรรณกรรม ทฤษฎี แนวคิด หลักการและวิธีการ เพื่อปฏิบัติการวิเคราะหgตามกระบวนการ และวิธีการที่นำเสนอไว=แล=ว ให=ได=ผลการวิเคราะหgที่นำไปสู5การจัดวางแผนและผังให= (ร5าง) แผน และผังตามขอบเขตเนื้อหาข=างต=น 3. ประชุมคณะกรรมการกำกับการศึกษาโครงการฯ ครั้งที่ 1 ซึ่งคณะกรรมการฯ นี้ประกอบด=วย ผู=ทรงคุณวุฒิ ผู=เชี่ยวชาญ และหน5วยงานที่เกี่ยวข=อง อย5างน=อย 20 คน และรายงานผลในรายงาน ฉบับกลาง

รายงานขั้นต*น

6-1


โครงการจัดวางแผนผังภูมินิเวศในพื้นที่ภาคเหนือ เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเชิงพื้นที่ให=สมดุลและยั่งยืน สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล=อม

4. จัดทำข=อมูลองคgความรู=ด=านการพัฒนาบนพื้นฐานภูมินิเวศ หรือการพัฒนาโดยคำนึงถึงระบบนิเวศ อั ต ลั ก ษณg และวั ฒ นธรรมพื ้ น ถิ ่ น การใช= ป ระโยชนg แ ผนผั ง ภู ม ิ น ิ เ วศ และเรื ่ อ งอื ่ น ที ่ จ ำเปd น และเกี่ยวข=อง เพื่อเสริมสร=างวัฒนธรรมเชิงนิเวศ ในพื้นที่ภาคเหนือ 5. จั ดทำโครงต= นแบบระบบข= อมู ลสารสนเทศเพื ่ อการบริ หารจั ดการแผนผั งภู มิ นิ เวศของพื ้ นที่ ภาคเหนือที่ปรับปรุง 6. จัดทำรายงานฉบับกลาง จำนวน 10 ชุด ประกอบด=วยเนื้อหาจากข=อ 1-5

6.2 ระยะเวลาในการดำเนินการ การดำเนินงานในขั้นจัดทำรายงานฉบับกลาง ตามขอบเขตเนื้อหาข=างต=น ใช=เวลา 90 วัน นับจากวันส5ง รายงานขั้นต=นแล=ว หรือ 120 วัน นับจากวันลงนามในสัญญาจ=างที่ปรึกษา ซึ่งเปdนวันพฤหัสบดีที่ 21 เมษายน 2565

6-2

จัดทำโดย มหาวิทยาลัยศิลปากร


บทที่ 6 การดำเนินงานในขั้นต5อไป

เนื้องาน 1

เดือนที่ 1

2

3

4

5

6

7

8

การทบทวน วิเคราะห.และประเมินสถานการณ. และเสนอ แผนงาน ผู#รับผิดชอบ: คณะผู#เชี่ยวชาญทุกด#าน

2

สร#างกรอบคิดเชิงทฤษฎีและหลักการ แนว ทางการจัดทำแผนผังภูมินิเวศ ผู#รับผิดชอบ: ธนะ สุพักตรา สญชัย ณัฐวุฒิ ชัยศรี

3

การออกแบบและจัดทำระบบฐานข?อมูลและสารสนเทศ ภูมิศาสตร. ผู#รับผิดชอบ: ธนะ กัมปนาท

4

รายงานขั้นต*น

5

การประชุ ม รั บ ฟG ง ข? อ คิ ด เห็ น ข? อ เสนอแนะจาก ผู?ทรงคุณวุฒิ ผู?เชี่ยวชาญ และผู?แทนหนNวยงาน ครั้งที่ 1 ผู#รับผิดชอบ: สุพิชชา และคณะผู#เชี่ยวชาญ

6

กำหนดวิสัยทัศน.แนวทางการจัดการการใช?พื้นที่ภูมินิเวศ ระดับภาคและระดับจังหวัด ผู#รับผิดชอบ: ธนะ สุพักตรา ณัฐวุฒิ สญชัย กัมปนาท ชัยศรี

7

รNางแผนผังภูมินิเวศ และแผนผังความเหมาะสมในการใช? พื้นที่ภูมินิเวศ ผู#รับผิดชอบ: ธนะ สุพักตรา ณัฐวุฒิ สญชัย กัมปนาท ชัยศรี

8

ประชุมนำเสนอ รับฟGงความคิดเห็นจากผู?ทรงคุณวุฒิ ผู?เชี่ยวชาญ และผู?แทนหนNวยงาน ครั้งที่ 2 ผู#รับผิดชอบ: สุพิชชา และคณะผู#เชี่ยวชาญ

9

ปรับปรุง รNางแผนผังภูมินิเวศ และแผนผังความเหมาะสม ในการใช?พื้นที่ภูมินิเวศ ผู#รับผิดชอบ: ธนะ สุพักตรา ณัฐวุฒิ สญชัย กัมปนาท ชัยศรี

10

ประชุมรับฟGงความคิดเห็นและข?อเสนอตNอ รNางแผนผังภูมิ นิเวศ และแผนผังความเหมาะสมการใช?พื้นที่ภูมินิเวศราย จังหวัด ผู#รับผิดชอบ: สุพิชชา และคณะผู#เชี่ยวชาญ

11

จัดทำข?อมูลองค.ความรู?ด?านการพัฒนาบนพื้นที่ภูมินิเวศ ผู#รับผิดชอบ: ธนะ สุพักตรา

12

13 14

ประชุมคณะกรรมการกำกับฯ ครั้งที่ 1 รายงานขั้นกลาง จัดทำแผนผังภูมินิเวศ และแผนผังความเหมาะสมในการ ใช?พื้นที่ภูมินิเวศ ผู#รับผิดชอบ: ธนะ สุพักตรา ณัฐวุฒิ สญชัย กัมปนาท ชัยศรี

15

จัดทําแนวทางการขับเคลื่อนและผลักดันการนําแผนผัง รายงานขั้นต*น ภูมินิเวศพื้นที่ภาคเหนือไปสูNการปฏิบัติ ผู#รับผิดชอบ: ธนะ ณัฐวุฒิ เดชรัต อดุลยคุปตF

16

ประชุมรับฟGงความคิดเห็นและข?อเสนอตNอ แผนผังภูมิ

6-3



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.