ฐานข้อมูลเทศบาลตำบลดอนหัวฬ่อ 2557

Page 1


สารบัญ

2

05

1 บทน�า

หน้า

15

2 ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่

หน้า

29

3 ลักษณะทางกายภาพเเละสิ่งเเวดล้อม

หน้า

79

4 ลักษณะทางด้านสังคม

หน้า

1.1 ความส�าคัญของโครงการศึกษา 1.2 ความมุ่งหมายเเละวัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.3 กระบวนการศึกษา 1.4 ขอบเขตการศึกษา

2.1 ความส�าคัญของชุมชน 2.2 ประวัติความเป็นมา 2.3 การปกครองส่วนท้องถิ่น

3.1 ที่ตั้ง 3.2 เส้นทางการเข้าถึง 3.3 ลักษณะโครงสร้างเมือง 3.4 การใช้ประโยชน์ที่ดินเเละการใช้ประโยชน์อาคาร 3.5 สาธารณูปโภค 3.6 สาธารณูปการ

4.1 ประชากร 4.2 วัฒนธรรม 4.3 ประเพณี 4.4 แผนที่วัฒนธรรม ประเพณี 4.5 ปฎิทินชุมชน

6 7 11 13

17 20 26

31 32 38 50 59 62

80 88 91 92 93


97

5 ลักษณะทางด้านเศรษฐกิจ

5.1 การเปลี่ยนเเปลงเศรษฐกิจท้องถิ่น 5.2 ปัจจัยส�าคัญของการเปลี่ยนแปลง - นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร - ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (มอเตอร์เวย์) 5.3 เศรษฐกิจชุมชน - กลุ่มส่งเสริมอาชีพ - หน่วยธุรกิจ 5.4 เศรษฐกิจสนับสนุน - โครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน - โครงการเทศบาลเคลื่อนที่ 5.5 รายได้โดยเฉลี่ยของประชาชน 5.6 ข้อมูลการคลัง

หน้า 98 100 104 107 109 113

117

6 นโยบายเเผนเเละโครงการที่เกี่ยวข้อง

หน้า

6.1 กองทุนหมู่บ้าน 6.2 แหล่งทุนเเละโครงการที่เกี่ยวข้อง 6.3 การพัฒนาทางด้านโครงสร้างพื้นฐานระบบ สาธารณูปโภค

118 119 120

129

7 วิเคราะห์ SWOT เเละข้อเสนอเเนะ การวางผังเเม่บทเเละแผนพัฒนา

หน้า

7.1 ผลการวิเคราะห์ 7.2 ข้อเสนอเเนะการวางผังเเม่บทเเละเเผนพัฒนา

124 127

3


4


1. บทน�า 1.1 ความส�าคัญของโครงการศึกษา 1.2 ความมุ่งหมายเเละวัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1.3 กระบวนการเเละวิธีการศึกษา 1.4 ขอบเขตการศึกษา

5


บทน�า

1.1 ความส�าคัญของโครงการศึกษา การศึกษาในครั้งนี้เพื่อจัดท�าฐานข้อมูลชุมชนจากข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน อดีต เเละ อนาคต มารวบร่วม พร้อมประยุกต์ข้อมูลที่มีอยู่เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องของเนื้อหาเเละสามารถน�าข้อมูลที่ได้ประยุกต์เป็นฐานในการ ท�าแผนพัฒนาในส่วนต่างๆของชุมชนที่จะเกิดขึ้น ด้วยชุมชนเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อมีความเจริญก้าวหน้าด้วย ความรวดเร็วของตัวชุมชนที่มีนิคมอุตสาหกรรมเข้ามาท�าให้มีประชากรในชุมชนเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อมากขึ้น ตามจ�านวนความต้องการของเเรงงานในการท�าการผลิตทางด้านอุตสาหกรรมท�าให้ต้องมีความจ�าป็นในการรองรับ การเจริญเติบโตของชุมชนไปในทางที่มีการวางเเผนไว้เพื่อสามารถให้ชุมชนก้าวหน้าด้วยคุณภาพของการใช้ชีวิตที่ดี ร่วมกับความเจริญก้าวหน้าที่เข้ามาในชุมชนอุตสาหกรรมแห่งนี้

6


1.2 ความมุ่งหมายเเละวัตถุประสงค์ของการศึกษา

เ พื่ อ ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า เรี ย น รู้ ห ลั ก ก า ร แ ล ะ กระบวนการการออกแบบชุ ม ชนเมื อ งโดยเน้ น กระบวนการเก็บรวมรวมข้อมูลการประสานงานกับ ชุ ม ชนและองค์ ก รการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล เบื้ อ งต้ น และ การน�าเสนอข้อมูลเพื่อการออกแบบและวางผังชุมชน เมื อ งทั้ ง ที่ เ ป็ น ข้ อ มู ล ปฐมภู มิ แ ละทุ ติ ย ภู มิ จ ากแหล่ ง ข้อมูลต่างๆและจากพื้นที่ศึกษาโดยการปฏิบัติการทั้ง ในภาคสนามและในห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารผลงานจากการ ปฏิบัติการนี้เป็นรายงานการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ชุมชน“COMMUNITY PROFILE” เพื่อเป็นประโยชน์ ต่ อ การศึ ก ษาการออกแบบชุ ม ชนเมื อ งและเป็ น ประโยชน์ให้กับชุมชนที่สามารถน�าเอาCOMMUNITY PROFILE ไปใช้ในกาวางแผนและออกแบบการพัฒนา ชุมชนต่อไป

การศึ ก ษาและปฏิ บั ติ ก ารในรายวิ ช าประกอบด้ ว ย การร่ ว มมื อ ระหว่ า งกลุ่ ม อาจารย์ แ ละนั ก ศึ ก ษาของ ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมืองร่วมกับ เจ้ า หน้ า ที่ ฝ่ า ยการปกครองท้ อ งถิ่ น ผู้ น� า ชุ ม ชนและ ประชาชนในชุ ม ชนรวมถึ ง องค์ ก รภาคเอกชนและ องค์กรอิสระที่มีบทบาทต่อการบริหารจัดการและการ วางแผนพัฒนาชุมชนด้วยโดยมีการบูรณาการร่วมกับ โครงการบริการวิชาการของภาควิชาการออกแบบ และวางผังชุมชนเมือง“โครงการจัดท�าข้อมูลชุมชน ดอนหัวฬ่อปี 2557”ที่มีวัตถุประสงค์ให้บริการทาง วิ ช าการสู่ สั ง คมที่ ส ามารถสร้ า งประโยชน์ ต่ อ การ พั ฒ นาชุ ม ชนเมื อ งจากการสร้ า งความร่ ว มมื อ จาก องค์กรและหน่วยงาน บูรณาการร่วมกับการเรียนการสอนใน รายวิชา 264 441 การปฏิบัติการภาค สนามเพื่อการออกเเบบชุมชนเมือง

การจัดท�าฐานข้อมูลชุมชน

สื่อการเรียนรู้ ฐานข้อมูลชุมชน เพื่อการวางแผนพัฒนาชุมชน อย่างเป็นระบบในอนาคต ภาพที่ 1-1 กระบวนการจัดท�าฐานข้อมูลชุมชน 7


บทน�า

วัตถุประสงค์ของการศึกษา วัตถุประสงค์ในการให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์กับ ชุมชนในลักษณะที่แตกต่างและคัดเลือกชุมชนในการบูรณา การในโครงการบริ ก ารวิ ช าการของภาควิ ช าที่ เ ป็ น ชุ ม ชนที่ ต้องการฐานข้อมูลเพื่อใช้ประโยชน์ในการวางแผนและวางผัง การพัฒนาชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมได้จริงต่อไป

8


ารวิชกาการแกสั งคม อเพืและมี ่อใหบริ การวิ ชาการแกสังคม อและมีสวนรวม อใหบริการวิชาการแกสังคม เพื่อใหบริกโดยมี การสรางความรวมมื โดยมีการสรางความรวมมือและมีสวน ารสรางความรวมมื สโดยมี วนรวม

เพื่อให้บริการวิชาการเเก่สังคม

โดยการสร้างความร่วมมือเเละการมีส่วนร่วม ระหว่างหน่วยงานราชการ สถานศึกษา เอกชน สมาชิกในชุมชน เเละประชาชนทั่วไป

มีสวนรวมในการวางแผน

มีส่วนร่วมในการวางแผน ก�าหนดหัวข้อในการศึกษา

เผยเเพร่​่ผลงานในรูปแบบ เพืเพื่อ่อเผยแพรผลงานในรู ปแบบ เเละนิททรรศการนอกสถานที ่ ่ หนัหนังสืงอสือเเละนิ รรศการนอกสถานที ภาพที่ 1-2 กระบวนการจัดท�าฐานข้อมูลชุมชน 9


บทน�า

10


1.3 กระบวนการศึกษา 1. ร่างโครงการ และประสานงานกับเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

2. ศึกษากรณีศึกษา

ชุมชนประเวศเเละชุมชนทุ่งสองห้อง

วางแผนการเก็บข้อมูล

มีการแบ่งการเก็บข้อมูลในเเต่ละด้าน

ด�าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล

วิเคราะห์ข้อมูล

3.

4.

5. น�าเสนอความก้าวหน้า

แสดงนิทรรศการ

6. มอบให้เทศบาลเพื่อสามารถเผยเเพร่ข้อมูล ต่อประชาชนบุคคลที่สนใจ

จัดท�ารูปเล่มหนังสือ

7.

8. ประเมินผลโครงการ

รายงานสรุปผล ภาพที่ 1-3 กระบวนการศึกษา 11


บทน�า

12


1.4 ขอบเขตการศึกษา

หมู่ 6 บ้านดอนล่าง

พื้นที่ศึกษา

หมู่ 5 บ้านดอนหัวฬ่อ

เนื่องจากหมู่ 5 เเละหมู่ 6 เป็นศูนย์กลางของเทศบาล ต� า บลดอนหั ว ฬ่ อ อ.เมื อ ง จ.ชลบุ รี ซึ่ ง รวมกิ จ กรรม ของชุมชนเเละยังเป็นที่ตั้ง ของส� า นั ก งานเทศบาล ต�าบลดอนหัวฬ่อในปัจจุบัน

ที่มา : ส�านักงานเทศบาลดอนหัวฬ่อ, “รายละเอียดการเเบ่งการปกครอง,”กันยายน 2557. ที่มา : ดัดเเปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.4204111,101.0465205,14z

ภาพที่ 1-4 ขอบเขตการศึกษาส่วนพื้นที่

ภาพที่ 1-5 ภาพอาคารในพื้นที่หมู่ 6 บ้านดอนล่าง

13


14


2. ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ 2.1 ความส�าคัญของชุมชน 2.2 ประวัติความเป็นมา 2.3 การปกครองท้องถิ่น

15


ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่

ชุมชน ดอนหัวฬ่อ ชุมชน อุตสาหกรรม ภาพที่ 2-1 : ภาพเเสดงการเชื่อมต่อ สถานที่ส�าคัญ

ที่มา : ระยะทางเข้าถึงเทศบาลต�าบล ดอนหัวฬ่อ,เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก http://www.amata. 16


2.1 ความส�าคัญของชุมชน 3 ด้าน

ชุมชนบ้านดอนหัวฬ่อเป็นชุมชนที่มีความส�าคัญ

ด้ า นเเรก-การเข้ า ถึ ง ที่ ส ะดวกด้ ว ยเครื อ ข่ า ย คมนาคมเป็ น ส่ ว นที่ มี ค วามส� า คั ญ มากของชุ ม ชนบ้ า น ดอนหั ว ฬ่ อ ด้ ว ยการเข้ า ถึ ง ที่ ส ะดวกมากจากหั ว เมื อ งที่ มี ความส�าคัญในเเต่ละหัวเมืองเช่นทางด้านกรุงเทพฯจะมี เส้นที่ทางทั้งหมด 3 เส้นทางดังนี้ 1. เส้นทางหลวงพิเศษ หมายเลข 7 มีระยะทาง 42 กิโลเมตร 2. เส้นทางพิเศษ บูรพาวิถี 4-01 3. เส้นทางถนนสุขุมวิท มีระยะทาง 57 กิโลเมตร เเละอีกด้านหัวเมืองคือมาจากชลบุรี ท่าเรือเเห ลมฉบัง ถนนสุขุมวิท มีระยะทาง 46 กิโลเมตร ด้านที่สอง-เป็นชุมชนอุตสาหกรรมระดับประเทศ

ด้วยเส้นทางที่สามารถเข้าถึงชุมชนได้เชื่อมต่อกับสถาน ที่ส�าคัญต่างๆโดบรอบมาให้เกิดประสิทธิภาพของก�าลัง การผลิตของมนุษย์ท�าให้ชุมชนกลายเป็นชุมชนอุตสาห กรรมระดับประเทศได้ ด้านที่สาม-การย้ายเข้าของประชากร เพื่อเข้า มาท�างานท�าให้ชุมชนที่มีความหลากหลายเเละด้วยจ�า นวนประชากรที่มาอยู่ในชุมชนท�าให้เศรษฐกิจของพื้น ที่สามารถเจริญตามไปกับการพัฒนาที่เกิดขึ้นได้ที่มีทั้ง สถานบันเทิง ร้านสะดวกซื้อ ร้านอาหาร ร้านทอง เมื่อ เกิดเเหล่งท่องเที่ยงเข้ามาท�าให้พื้นที่ของชุมชนมีความ หลากหลายของการใช้ชีวิต ท�าให้ตัวชุมชนเกิดความน่า สนใจด้วยตัวของชุมชนเอง

ภาพเเสดงการเชื่อมต่อสถานที่ส�าคัญ กรุงเทพมหานครฯ

สนามบินสุวรรณภูมิ

ทางพิเศษบูรพาวิถี

42 km.

มอเตอร์เวย์

57 km. อ่าวไทย ถนนสุขุมวิท

46 km.

เทศบาลต�าบล ดอนหัวฬ่อ

ท่าเรือน�้าลึกเเหลมฉบัง 17


ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่

ชุมชน อุตสาหกรรม ชุมชน ดอนหัวฬ่อ

18


ความสัมพันธ์ของพื้นที่ชุมชน กับพื้นที่อุตสาหกรรม ชุมชนดอนหัวฬ่อมีพ้ืนที่อุตสาหกรรมทับซ้อน ในส่วนของพื้นที่หมูที่ 6 ที่เป็นที่ตั้งของเทศบาลต�าบล ดอนหั ว ฬ่ อ เเละเป็ น ศู น ย์ ก ลางของชุ ม ชนซึ้ ง พื้ น ที่ ในส่วนนี้มักใช้จัดงานกิจกรรมของชุมชนต่างๆเช่น งานการวิ่งธงเพื่อรณรงค์ลดยาเสพติดของชุมชนเเละ งานบุญต่างๆ

พื้นที่อุตสาหกรรม ชุมชนดอนหัวฬ่อ

ภาพเเสดงความสัมพันธ์ของพื้นที่ชุมชนกับพื้นที่อุตสาหกรรม

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อเป็นชุมชนอุตสาหกรรมชั้นน�าระดับโลก นิคมอุตสาหกรรม พื้นที่ 40 ตารางกิโลเมตร 25,000ไร่ หมู่6 บ้านดอนล่าง เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ พื้นที่ 18.50 ตารางกิโลเมตร 11,562.5ไร่

หมู่1,2,3,4,7 หมู่5 ดอนหัวฬ่อ

ชลบุรี ภาพที่ 2-2 : ภาพเเสดงความสัมพันธ์ของพื้นที่ชุมชนกับพื้นที่อุตสาหกรรม ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

19


ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่

2.2 ประวัติความเป็นมา

โบราณกล่าวว่า เดิมบ้านดอนหัวฬ่อ เป็นป่ามีสัตว์ นานาชนิ ด เเละมี ห นองน�้ า อั น กว้ า งใหญ่ อ ยู ่ แ ห่ ง หนึ่ ง พวกล่าสัตว์ได้ดักล่าสัตว์ในบริเวณหนองน�้าเเห่งนี้โดย ท�าหุ่นเป็นรูปสัตว์ต่างๆ สวมศรีษะเเล้วใช้หลอกล่อสัตว์ ให้หลงกลว่าเป็นพวกเดียวกันมาติดกับเเล้วฆ่าเอาเนื้อ ไปรับประทานอาหารอยู่เป็นประจ�า ชาวบ้านจึงเรียก บริเวณนี้ว่า “ดอนหัวฬ่อ” เเละต่อมาได้มีผู้อพยพเข้า มาหากิน หักร้างถางป่าท�าเป็นไร่นาจนเตียนโล่ง จน ปั จ จุ บั น ได้ มี อุ ต สาหกรรมเข้ า มาในพื้ น ที่ จึ ง เกิ ด การ เปลี่ยนเเปลงรูปแบบการใช้ชีวิตจากเกษตรกรรมกลาย เป็นธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อให้กลุ่มประชากรที่ทา� งาน อุตสาหกรรมได้มีที่พักอาศัย ที่มา : ส�านักงานเทศบาลดอนหัวฬ่อ, “ประวัติความเป็นมา,”กันยายน 2557.

20


จากคุณลุงสยาม...ถึงบ้านดอน คุณสยาม ไตรรักษ์หรือคุณลุงสยามเป็นผู้บุกเบิกและ บุคคลส�าคัญที่ร่วมพัฒนาบ้านดอนหัวฬ่อจนมาเป็นเทศบาล ต�าบลดอนหัวฬ่อในปัจจุบันได้เล่าให้กับพวกเราได้ฟังว่าเมื่อ ก่อนประมาณปี 2489 บ้านดอนหัวฬ่อยังปกคลุมไปด้วยท้องทุ่ง นา ชาวบ้านอยู่กันอย่างเรียบง่าย ประกอบอาชีพเลี้ยงกุ้ง เลี้ยง ปลา ท�านาแบบนาด�า ตามความเหมาะสมของสภาพพื้นที่บ้าน ดอนหั ว ฬ่ อ พื้ น ที่ มี ค วามเป็ น ชนบทอยู ่ ม ากห่ า งจากตั ว เมื อ ง ชลบุรีในเวลานั้นพอสมควรเมื่อครั้นก่อนจะสร้างบ้านสร้างเรือน ที่บ้านดอนหัวฬ่อคุณลุงสยามจะต้องเดินทางไปที่บ้านบึงเพื่อ ตัดไม้มาแปรรูปสร้างเป็นบ้านเรือนที่นี่ ไม่ว่าจะเป็น ไม้ตะแบก ไม้มะค่า ไม้ยางจึงท�าให้เห็นว่าบ้านดอนหัวฬ่อยังมีทรัพยากรป่า ไม้ที่อุดมสมบูรณ์ค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นเช่นพื้นที่ อ�าเภอบ้านบึงที่เป็นแหล่งทรัพยากรหนึ่งของบ้านดอนหัวฬ่อ แต่ก่อนนั้นบ้านดอนหัวฬ่อยังคงความเป็นวิถีชนบทที่ใกล้กับ ชายฝั่งทะเลอ่าวไทย คุณลุงจะชอบไปหาจับปูแสมเพื่อน�าไป แลกมะพร้าวมาใช้ในครัวเรือนและยังชอบไปขุดหลุมตามคันนา

คุณลุงสยามกล่าวว่า เและเมื่อมีกลุ่มของโรงงานเข้ามา ในชุ ม ชนจึ ง เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงในส่ ว นของภาคสิ น ค้ า และ บริการที่จะมารองรับกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นจากการมีโรงงาน ไม่ ว่าจะเป็นอาคารพานิชยกรรม ที่พักอาศัย ก็ย่อมต้องเพิ่มมาก ขึ้นด้วย จากพื้นที่ที่ค่อนข้างชนบท เป็นท้องทุ่งนา ได้กลายเป็น พื้นที่เมืองย่อมๆ พื้นที่ดินทุกตารางวามีราคา มีแม่เหล็กดึงดูด ให้คนเข้ามาลงทุนในพื้นที่ทั้งเรื่องของโลจิสติกส์ ซึ่งคนส่วนใหญ่ ในพื้นที่ต่างมีรถหัวลากไว้คอยบรรทุกส่งของ รวมไปถึงการ สร้างหน่วยที่อยู่อาศัยที่เป็นอีกธุรกิจหนึ่งที่ได้รับความนิยมของ บ้านดอนหัวฬ่อในแหล่งงานนี้ คุณลุงสยามได้ให้มุมมองดีๆว่า เวลาที่มีการจัดงานบุญหรือมีงานประเพณีต่างๆที่วัดเป็นผู้จัด งานจะมีผู้ที่เข้าร่วมงานในจ�านวนที่มากขึ้นเรื่อยๆ ท�าให้มีรายได้

หรือแหล่งน�า้เพื่อให้ปลาดุกมาหลบในหลุมและจับในช่วงฤดู หนาว เมื่อถึงฤดูหลังเก็บเกี่ยวหรือช่วงเวลาหลังเกี่ยวข้าว จะมี การจัดงานประเพณีท�าบุญกลางบ้าน มีการไหว้สักการะศาลพ่อ แก่และมีการละเล่นอีกาคาบไข่ โดยมักจะให้ผู้ที่มีอารมณ์ขัน แสดงเป็ น อี ก าคาบไข่ เ พื่ อ สร้ า งสนุ ก สนานให้ กั บ ชาวบ้ า น ปัจจุบันเองคุณลุงสยามพยายามที่จะรักษาประเพณีอันดีงามนี้ ไว้ แต่อาจจะยากสักหน่อยเพราะพื้นที่ที่เคยเป็นที่ทา� นาไม่ค่อย ปรากฏแล้วและผู้สืบทอดก็ค่อยๆลดจ�านวนลง แต่อย่างไรก็ดี เรื่องราวดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตของคนบ้านดอนหัวฬ่อ ในสมัยนั้น ที่อยู่อาศัยไปตามระบบนิเวศได้อย่างชัดเจน ใน ระยะเวลาต่อมาบ้านดอนหัวฬ่อแปรเปลี่ยนสภาพไปตามความ เป็นเมืองที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการเกิดขึ้นของ นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ตามนโยบายการพัฒนาของภาค รัฐบาล นักลงทุนเริ่มเข้ากว้านซื้อพื้นที่ดินของชาวบ้านบ้านดอน หัวฬ่อในขณะนั้นเพื่อท�าเป็นโรงงานหรือโกดังเก็บสินค้า

เข้าวัดมากขึ้นและเชื่อว่าหากมีพื้นที่ให้คนท�ากิจกรรมร่วมกันจะ ท�าให้เกิดความสามัคคีมากขึ้นด้วยเช่นกัน ทุกวันนี้บ้านดอนหัวฬ่อได้เปลี่ยนมาเป็นเทศบาลต�าบล ดอนหัวฬ่อ เหตุเพราะความเจริญที่เพิ่มขึ้นจากการขยายตัวใน พื้นที่และกิจกรรมหลักของพื้นที่คืออุตสาหกรรม คุณลุงสยาม ได้เห็นความเปลี่ยนแปลงในทุกช่วงส�าคัญของพื้นที่และได้เป็น ส่วนหนึ่งในการร่วมสร้าง แม้ในวันนี้คุณลุงสยามเองอาจจะไม่ พร้อมในเรื่องกาย แต่เรื่องแรงใจ แรงความคิด คุณลุงสยามบอก ว่ามีเกินร้อย จะคอยเป็นผู้ดูแลรักษาและร่วมพัฒนาพื้นที่บ้าน เกิดนี้ให้ดีที่สุด ที่มา : บทสัมภาษณ์ นาย สยาม ไตรรักษ์, อดีตก�านัน เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, กันยายน 2557. 21


ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่

ประวัติความเป็นมา ท�าหุ่นเป็นรูปสัตว์ต่างๆ สวมศรีษะเเล้วใช้หลอกล่อสัตว์ให้หลงกล ว่าเป็นพวกเดียวกันมาติดกับเเล้วฆ่าเอาเนื้อไปรับประทานอาหารอยู่เป็น ประจ�าชาวบ้านจึงเรียกบริเวณนี้ว่า “ดอนหัวฬ่อ”

ภาพที่ 2-3 : รูปภาพเเสดงประวัติความเป็นมา 22


23


ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่

2531 ต่` อมาได้มีผู้อพยพเข้ามาหากินหักร้างถางป่าท�าเป็นไร่นาจนเตียนโล่ง 2533 ต่อมาได้มีอุตสาหกรรมเข้ามาในพื้นที่มีการเปลี่ยนเเปลงรูปแบบการใช้ ชีวิตจากการท�าเกษตรกลายเป็นท�าอสังหาริมทรัพย์

ภาพที่ 2-4 : รูปภาพเเสดงประวัติความเป็นมา 24


25


ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่

2.3 การปกครองท้องถิ่น

ในส่วนของการปกครองส่วนท้องถิ่นเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อประกอบด้วยพื้นที่ 7 หมู่บ้านบริหารงานโดยคณะเทศมนตรีเเละข้าราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและก�านัน ผู้ใหญ่บ้านดูเเลหมู่บ้านเเละมีคณะกรรมการช่วยดูเเลตามหมู่บ้านเเละที่ปรึกษาที่เป็นคนที่เคย ท�างานมาก่อนเเละมีความรู้เรื่องของเทศบาลดอนหัวฬ่อในอดีตว่าพื้นที่ได้มีการเปลี่ยนเเปลงมี เรื่องราวอย่างไร

นางสาวนวรัตน์ ไตรรักษ์ นายกเทศมนตรี

หมู่ 1 บ้านชากสมอ หมู่ 2 บ้านหนองใผ่กลางดอน หมู่ 3 บ้านหนองกงฉาก หมู่ 4 บ้านดอนบน หมู่ 5 บ้านดอนหัวฬ่อ หมู่ 6 บ้านดอนล่าง หมู่7 บ้านมาบสามเกลียว

นายมนตรี ไตรรักษ์ ก�านันต�าบลดอนหัวฬ่อ

26


นายศรีชล ปานผดุง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 7

นายไมตรี ประเสริฐ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 4 นายสมศักดิ์ พฤทธิพงษ์ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 5

นายธ�ารงค์ ใจดี ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 2

นางสาวดรุณี เพ็ญงามดี ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 3 นางสมพิศ สุดสงวน ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 1 ที่มา : การปกครองส่วนท้องถิ่นเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก http://dhr.go.th/public/person/data/chart/structure_id/21/menu/32.

27


28


3. ลักษณะทางกายภาพ เเละสิ่งเเวดล้อม 3.1 ที่ตั้ง 3.2 เส้นทางการเข้าถึง 3.3 ลักษณะโครงสร้างเมือง 3.4 การใช้ประโยชน์ที่ดินเเละการ ใช้ประโยชน์อาคาร 3.5 สาธารณูปโภค 3.6 สาธารณูปการ 3.6.1 ศาสนสถาน 3.6.2 โรงเรียน 3.6.3 สถานพยาบาล 3.6.4 สวนสาธารณะเเละพื้นที่ นันทนาการ 3.6.5 หน่วยงานราชการ

29


ลักษณะทางกายภาพ

ภาพแสดงขอบเขต+ต�าแหน่งที่ตั้ง+ลักษณะกายภาพ ของพื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

ดอน หั ว ฬ่อ ภาพที่ 3-1 : ภาพเเสดงเส้นทางการเข้าถึงเทศบาลดอนหัวฬ่อ ที่มา : กรมแผนที่ทหาร,แผนที่บริเวณเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ,ม.ป.ป.

30


ภาพแสดงต�าแหน่งที่ตั้งของพื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ในระดับภูมิภาค

3.1 ที่ตั้ง ต�าบลดอนหัวฬ่อตั้งอยู่ทางทิศตะวัน ออกของศาลากลางจังหวัดชลบุรีและอ�าเภอ เมืองชลบุรี โดยมีระยะทางห่างจากศาลากลาง จังหวัดชลบุรีและอ�าเภอเมืองชลบุรีประมาณ 8 กิโลเมตร ตั้งอยู่ในพื้นที่ลุ่มน�า้บางปะกงซึ่งเป็น ลุ ่ ม น� า้ ส� า คั ญ ในภาคตะวั น ออกของประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบทางเหนือจะมีเทือก เขาสูงซึ่งเป็นต้นก�าเนิดของแม่น�า้นครนายก ส่วนทางตอนใต้และทางตะวันออกเฉียงใต้ของ ลุ่มน�า้มีเทือกเขาซึ่งเป็นแนวแบ่งเขตระหว่าง

จังหวัดชลบุรี ฉะเชิงเทรา และจังหวัดจันทบุรี ซึ่งเป็นต้นก�าเนิดของล�าน�า้สาขาสายต่างๆ โดยแม่น�า้นครนายกมีทิศทางการไหลจาก ทิศเหนือลงมาทางทิศใต้และมาบรรจบกับ แม่น�า้ปราจีนบุรีซึ่งไหลเข้ามาทางฝั่งซ้ายที่ บริ เ วณเหนื อ อ� า เภอบางน� า้ เ ปรี้ ย วจั ง หวั ด ฉะเชิงเทรา ก่อนจะไหลลงทางใต้ผ่านที่ราบ ต� า่ ใ นเขตอ� า เภอบางคล้ า และอ� า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทราและไหลลงอ่ า วไทยที่ อ�าเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา

ต�าแหน่งที่ตั้งของเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ อยู่ในเขตพื้นที่ Eastern Seaboard Industrial Estate ของประเทศไทย พื้ น ที่ เ ทศบาลดอนหั ว ฬ่ อ อยู ่ ภ ายใต้ อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลม มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือนอกจากนี้ยังมีพายุ ดีเปรสชั่นและพายุไต้ฝุ่นซึ่งมาจากทะเลจีนใต้ พัดผ่านเข้ามาเป็นครั้งคราวซึ่งส่งผลท�าให้เกิด

ฤดูกาลต่างๆ ได้แก่ฤดูฝนจะเกิดในช่วงเดือน พฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมฤดูหนาวจะเกิด ในช่วงปลายเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ และฤดู ร ้ อ นจะเกิ ด ในช่ ว งเดื อ นมี น าคมถึ ง เดือนเมษายน 31


ลักษณะทางกายภาพ

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

ภาพที่ 3-2 : ภาพเเสดงเส้นทางการเข้าถึงเทศบาลดอนหัวฬ่อ ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

3.2 เส้นทางการเข้าถึง ทางหลวงหลัก

เชื่อมต่อระหว่างกรุงเทพมหานคร ไปยังภูมิภาคหลักของประเทศ

3

ถนนสุขุมวิท (ทางหลวงแผ่นดิน)

7

ถนนมอเตอร์เวย์ กรุงเทพ -ชลบุรี(ทางหลวงพิเศษ)

ทางหลวงแผ่นดินสายรองประธาน เชื่อมต่อเป็นโครงข่าย เพื่อการ กระจายทางหลวงออกสู่พื้นที่ย่อย

315 361

ถนนศุขประยูร ถนนเลี่ยงเมืองชลบุรี

ถนนที่ไม่ได้เป็นทางหลวง ถนนบ้านเก่า-ศุขประยูร และถนนวิบูลย์ประชารักษ์ 32

ทางหลวงแผ่นดินที่เชื่อมจังหวัด กับอ�าเภอ ทางหลวงเชื่อมทางย่อย แต่ไม่ได้ เป็นโครงข่ายระยะทางยาว

3022 3466

ถนนบ้านเก่า-หนองต�าลึง ถนนบ้านเก่า เส้นทางรถไฟ


เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ภาพที่ 3-3 : ภาพเเสดงโครงข่ายถนนบริเวณเทศบาลดอนหัวฬ่อ ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึง ได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

โครงข่ า ยถนน ถนนสายประธาน

ถนนหลัก

ถนนรอง

ถนนย่อย

ภาพถนนในพื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

ถนนวิบูลย์ประชารักษ์

ซอยบทเดียว(ทางลัดสู่นิคม) ถนนบ้านเก่า ศุขประยูร

ทางลอดไป อ.พานทอง

33


ลักษณะทางกายภาพ ภาพที่ 3-4 ภาพศาลพ่อเเก่

ภาพที่ 3-5 : ภาพบ้านในชุมชนหมู่ 6 ด้านหลังเทศบาล

34


ภาพที่ 3-6 : ภาพบ้านในชุมชนหมู่ 6 ด้านหลังเทศบาลเป็นสถาปัตยกรรมศาสตร์พื้นถิ่นของเชุมชน

35


ลักษณะทางกายภาพ

ภาพที่ 3-7 : ภาพถ่ายทางอากาศ พ.ศ.2518 ที่มา : กรมแผนที่ทหาร,แผนที่บริเวณเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, ปี 2518.

ถนนวิบูลย์ประชารักษ์

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ถนนบ้านเก่า 5

ถนนมิตรภาพ ถนนศุขประยูร ทางรถไฟ

ภาพถ่ายทางอากาศ พ.ศ.2518 36


ภาพที่ 3-8 : ภาพถ่ายทางอากาศ พ.ศ.2557 ที่มา : กรมแผนที่ทหาร,แผนที่บริเวณเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, ปี 2557.

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 กรุงเทพ-ชลบุรี สายใหม่

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

ถนนวิบูลย์ประชารักษ์

ถนนบ้านเก่า 5

ทางรถไฟ ถนนศุขประยูร

ถนนมิตรภาพ

ภาพถ่ายทางอากาศ พ.ศ.2557 37


ลักษณะทางกายภาพ

พื้นที่ ในอดีต เปลีย่ นแปลงจนกลายเป็น 3.3 ลักษณะโครงสร้างเมือง

“การเปลี่ ย นแปลงในพื้ น ที่ เ ท ศ บ า ล ด อ น หั ว ฬ ่ อ ” จากเดิมพื้นที่ในเขตเทศบาลต�าบลดอนหัว ฬ่อเป็นพื้นที่ที่มีการประกอบการเกษตรกรรมหลาย ชนิด เช่น การท�านา ปลูกพืชสวน และท�านากุ้ง เป็นต้นแต่เนื่องจากปัญหาด้านความแห้งแล้งของ พื้ น ที่ แ ละการพั ฒ นาด้ า นเศรษฐกิ จ ในภาค อุตสาหกรรมในช่วงเวลาถัดมา ท�าให้เกิดการเข้ามา ตั้งเขตพื้นที่อุตสาหกรรมเนื่องจากปัจจัยทางด้าน กายภาพ และที่ตั้งของพื้นที่ซึ่งมีข้อได้เปรียบในการ

38

เชื่อมโยงระหว่างเขตศูนย์กลางทั้งในจังหวัดชลบุรี และกรุงเทพมหานครทั้งนี้ยังสามารถเชื่อมกับเขต การค้าและท่าเรือซึ่งถือว่าเป็นหน่วยสนับสนุนหน่วย อุ ต ส า ห ก ร ร ม ด ้ ว ย เ ห ตุ นี้ จึ ง ท� า ใ ห ้ เ ข ต พื้ น ที่ อุ ต สาหกรรมเกิ ด การขยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและ ท�าให้เกิดการพัฒนาชุมชนในพื้นที่สู่การเป็นชุมชน เมืองมากขึ้นทั้งนี้ท�าให้เกิดการกระจายตัวของชุมชน ในแนวการพัฒนาเมืองมากยิ่งขึ้นจะเห็นได้จากการ เปรียบเทียบของภาพถ่ายทางอากาศที่จะน�าเสนอ ในล� า ดั บ ถั ด ไปเพื่ อ อธิ บ ายการขยายตั ว ของพื้ น ที่ ชุ ม ช น ที่ สั ม พั น ธ ์ กั บ ก า ร ข ย า ย ตั ว ข อ ง เ ข ต อุตสาหกรรมในพื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ


ดอนหัวฬ่อ

ชุมชนเมืองอุตสาหกรรม เปลีย่ นไปอย่างไร ? ภาพที่ 3-9 : ภาพถ่ายทางอากาศ พ.ศ.2545 ที่มา : กรมแผนที่ทหาร,แผนที่บริเวณเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, ปี 2545.

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 กรุงเทพ-ชลบุรี สายใหม่

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ถนนบ้านเก่า 5 ถนนวิบูลย์ประชารักษ์ ทางรถไฟ

ถนนศุขประยูร

ภาพถ่ายทางอากาศ พ.ศ.2545 39


ลักษณะทางกายภาพ

ดอนหัวฬ่อ พ.ศ.2518

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ถนนวิบูลย์ประชารักษ์

ถนนบ้านเก่า 5

ทางรถไฟ

ถนนศุขประยูร

40


ลักษณะโครงสร้างเมือง จากการก่ อ ตั ว ของชุ ม ชนจะสั ง เกตได้ ว ่ า ชุมชนมีการตั้งถิ่นฐานตามบริเวณแยกของถนนสอง สายที่ตัดกัน เส้นทางถนนในช่วงระยะเวลานั้นมีเพียง ไม่กี่เส้นทางการตั้งถิ่นฐานจะเป็นรูปแบบกลุ่มหรือ กระจุกอยู่บริเวณแยกของถนนเพราะสะดวกต่อการ คมนาคมและมี พื้ น ที่ ข องการท� า การเกษตรแต่ จ ะ สังเกตได้ว่าบางพื้นที่มีการตั้งบ้านเรือนห่างกันเพราะ ต้องการพื้นที่ท�าการเกษตรในบริเวณที่พักอาศัย หมู่ 1 บ้านชากสมอ หมู่ 2 บ้านหนองใผ่กลางดอน หมู่ 3 บ้านหนองกงฉาก หมู่ 4 บ้านดอนบน หมู่ 5 บ้านดอนหัวฬ่อ หมู่ 6 บ้านดอนล่าง หมู่7 บ้านมาบสามเกลียว

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

สี่เเยกที่เกิดการตั้งถิ่นฐาน ถนนบ้านเก่า 5 ถนนศุขประยูร ภาพที่ 3-10 : ภาพถ่ายทางอากาศ พ.ศ.2518 ที่มา : กรมแผนที่ทหาร, ดัดแปลงจากแผนที่บริเวณเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, ปี 2518.

41


ลักษณะทางกายภาพ

ดอนหัวฬ่อ พ.ศ.2535

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ถนนวิบูลย์ประชารักษ์

ถนนศุขประยูร

42

ถนนบ้านเก่า 5


ลักษณะโครงสร้างเมือง ในปี พ.ศ.2535 เมื่อเมืองมีการขยายตัว จึง เกิดการตัดถนนใหม่เพิ่มขึ้น และในปีนี้เริ่มมีเส้นทาง รถไฟรางคู่ตัดผ่านเข้ามาในชุมชนในหมู่ 1 เเละ 2 ชุมชนมีการขยายตัวและกระจายตัวไปตามทิศทาง ต่างๆ มีการก่อสร้างงอาคารใหม่ที่มีการกระจุกตัวตาม บริเวณถนนมากในหมู่ที่1, 2, 3, 4 ซึ่งนิคมอุตสาหกรรม นั้นได้ก่อตั้งขึ้นมาตั้งแต่ในปีพ.ศ.2533มีโรงงานเข้ามา ตั้ ง อยู ่ ใ นนิ ค มอุ ต สาหกรรมนี้ จ� า นวนมากเพราะ สามารถเข้าถึงกรุงเทมหานครได้สะดวก หมู่ 1 บ้านชากสมอ หมู่ 2 บ้านหนองใผ่กลางดอน หมู่ 3 บ้านหนองกงฉาก หมู่ 4 บ้านดอนบน หมู่ 5 บ้านดอนหัวฬ่อ หมู่ 6 บ้านดอนล่าง หมู่7 บ้านมาบสามเกลียว

ทางรถไฟ

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

เส้นทางรถไฟ สี่เเยกที่เกิดการตั้งถิ่นฐาน ถนนบ้านเก่า 5 ถนนศุขประยูร ภาพที่ 3-11 : ภาพถ่ายทางอากาศ พ.ศ.2535 ที่มา : กรมแผนที่ทหาร, ดัดแปลงจากแผนที่บริเวณเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, ปี 2535.

43


ลักษณะทางกายภาพ

ดอนหัวฬ่อ พ.ศ.2545

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 กรุงเทพ-ชลบุรี สายใหม่

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ถนนวิบูลย์ประชารักษ์

ถนนศุขประยูร

44

ถนนบ้านเก่า 5


ลักษณะโครงสร้างเมือง เริ่ ม มี โ รงงานขยายตั ว เพิ่ ม มากขึ้ น ในนิ ค ม อุ ต สาหกรรมโดยขยายตั ว ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย ง เหนือ และมีถนนมอเตอร์เวย์ตัดผ่านพื้นที่ชุมชน ท�าให้ ชุมชนถูกแบ่งออกเป็นสองฝั่ง การขยายตัวของชุมชน ยังคงกระจายตัวไปตามทิศทางของการตัดถนน และ เริ่มกระจุกตัวมากยิ่งขึ้นในทางทิศใต้ ในหมู่ที่ 1, 2, 3, 4, 5 และในปีนี้ อบต ก็ได้ก่อตั้งขึ้นมาแล้ว เเละพัฒนา เป็นเทศบาล ในปี พ.ศ. 2557 ชุมชนจึงมีศูนย์กลาง ของการปกครอง หมู่ 1 บ้านชากสมอ หมู่ 2 บ้านหนองใผ่กลางดอน หมู่ 3 บ้านหนองกงฉาก หมู่ 4 บ้านดอนบน หมู่ 5 บ้านดอนหัวฬ่อ หมู่ 6 บ้านดอนล่าง หมู่7 บ้านมาบสามเกลียว

ทางรถไฟ

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

เส้นทางรถไฟ สี่เเยกที่เกิดการตั้งถิ่นฐาน ถนนบ้านเก่า 5 ถนนศุขประยูร ภาพที่ 3-12 : ภาพถ่ายทางอากาศ พ.ศ.2545 ที่มา : กรมแผนที่ทหาร, ดัดแปลงจากแผนที่บริเวณเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, ปี 2545.

45


ลักษณะทางกายภาพ

ดอนหัวฬ่อ พ.ศ.2557

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 กรุงเทพ-ชลบุรี สายใหม่

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ถนนวิบูลย์ประชารักษ์

ถนนศุขประยูร

46

ถนนบ้านเก่า 5


ลักษณะโครงสร้างเมือง การตั้ ง ถิ่ น ฐานเริ่ ม มี ค วามหนาแน่ น ของ อาคารเพิ่มมากขึ้น จากพื้นที่เมื่อก่อนเป็นพื้นที่ ท�าการเกษตร ก็ถูกลดบทบาทลง เพราะคนใน ชุมชนเปลี่ยนมาประกอบอาชีพอย่างอื่นแทนและ จะสังเกตได้ว่าชุมชนมีการขยับตัวเข้าใกล้แหล่ง อุตสาหกรรมเมืองมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว จึงมี การตั ด ถนนผ่ า นหลายเส้ น ทางเมื่ อ เริ่ ม มี ก าร ตัดถนนใหม่เข้ามาก็น�ามาซึ้งความเจริญสู่ชุมชน และในปีนี้ อบต.ก็ได้เปลี่ยนการปกครองมาเป็น เทศบาล ชุมชนขยายศูนย์กลางมากยิ่งขึ้น และมี ความชัดเจนของศูนย์กลางการปกครอง หมู่ 1 บ้านชากสมอ หมู่ 2 บ้านหนองใผ่กลางดอน หมู่ 3 บ้านหนองกงฉาก หมู่ 4 บ้านดอนบน หมู่ 5 บ้านดอนหัวฬ่อ หมู่ 6 บ้านดอนล่าง หมู่7 บ้านมาบสามเกลียว

ทางรถไฟ

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ เส้นทางรถไฟ สี่เเยกที่เกิดการตั้งถิ่นฐาน ถนนบ้านเก่า 5 ถนนศุขประยูร ภาพที่ 3-13 : ภาพถ่ายทางอากาศ พ.ศ.2557 ที่มา : กรมแผนที่ทหาร, ดัดแปลงจากแผนที่บริเวณเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, ปี 2557.

47


ลักษณะทางกายภาพ

ลักษณะโครงสร้างเมือง พ.ศ.2518

การเปรียบเทียบการเพิ่มขึ้นของระบบถนนในพื้นที่ พ.ศ.2545 พ.ศ.2557

พ.ศ.2535

ภาพที่ 3-14 ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลง และการเพิ่มขึ้นของระบบถนน ในพื้นทีเ่ ทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ที่มา : กรมแผนที่ทหาร, ดัดแปลงจากแผนที่บริเวณเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, ปี 2518, ปี 2535, ปี 2545, ปี 2557.

“การเปลี่ยนแปลงสู่การเป็นเมือง ในพื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อเกิดจาก ปัจจัยที่หลากหลายซึ่งสาเหตุที่ท�าให้เกิดการก้าวกระโดดอย่างเห็นได้ชัดคือการพัฒนา ด้านอุตสาหกรรมในพื้นที่” การเปรียบเทียบการขยายตัวของกลุ่มอาคารในช่วงเวลาต่างๆ พ.ศ.2518 พ.ศ.2535

พ.ศ.2545

พ.ศ.2557

ภาพที่ 3-15 : ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงการตั่งถิ่นฐานของชุมชนดอนหัวฬ่อ ที่มา : กรมแผนที่ทหาร, ดัดแปลงจากแผนที่บริเวณเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, ปี 2518, ปี 2535, ปี 2545, ปี 2557. 48

การก่อตัวขึ้นของชุมชนจะเห็นว่า จะมี ก ารเกาะกลุ ่ ม อยู ่ กั บ แนวถนนศุ ข ประยู ร เพราะเนื่ อ งจากเป็ น เส้ น ทางการ คมนาคมหลักตั้งแต่อดีตซึ่งเป็นเส้นทางที่ สามารถเชื่อมต่อการเดินทางเข้าสู่บริเวณ อ�าเภอเมืองชลบุรี และเมื่อมีการพัฒนาพื้นที่บริเวณ หมู่ที่5และหมู่ที่6 เพื่อเป็นเขตอุตสาหกรรม ท� า ให้ มี ก ารขยายตั ว ของชุ ม ชนเข้ า ไปใน พื้ น ที่ ดั ง กล่ า วมากขึ้ น มี ก ารสร้ า งอาคาร บ้านเรือนเพื่อรองรับประชากรที่ย้ายเข้า มาและส่ ว นมากจะเป็ น ลั ก ษณะหอพั ก และบ้านเช่าเป็นจ�านวนมาก


การเปรียบเทียบพื้นที่เขตอุตสาหกรรม ในพื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ภาพที่ 3-16 ภาพแสดงการเปรียบเทียบพื้นที่อุตสาหกรรมกับชุมชน ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

พื้นที่เขตอุตสาหกรรมอมตะนคร

การกระจายตัวของเขตอุสาหกรรม กับพื้นที่เขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

สัดส่วนพื้นที่ของอุตสาหกรรม และพื้นที่ชุมชน... สั ด ส ่ ว น พื้ น ที่ ร ะ ห ว ่ า ง เ ข ต อุ ต สาหกรรมอมตะนครเเละพื้ น ที่ เ ขต เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

ภาพที่ 3-17 : ภาพแสดงสัดส่วนพื้นที่อุตสาหกรรมเเละพื้นที่ชุมชน ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

49


ลักษณะทางกายภาพ

3.4 การใช้ประโยชน์ที่ดิน และการใช้ประโยชน์อาคาร (กรณีศึกษา หมู่5-6) แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน ปี 2553

การใช้ประโยชน์ที่ดิน

ภาพที่ 3-18 : ภาพแสดงข้อก�าหนดของผังเมืองรวมเมืองชลบุรี ปี พ.ศ.2553 ที่มา : การใช้ประโยชน์ที่ดิน, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก GIS ออนไลน์จังหวัดชลบุรี ข้อมูลล่าสุด 13/12/2553.

ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย

ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม

ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก

ที่ดินประเภทที่โล่งเพื่อนันทนาการและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า 50

ที่ดินประเภทศาสนา ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ


ภาพที่ 3-19 : รูปภาพแผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดินปี พ.ศ.2553 ที่มา ที่มา : การใช้ประโยชน์ที่ดิน, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก GIS ออนไลน์จังหวัดชลบุรี ข้อมูลล่าสุด 13/12/2553.

ตัวเมืองและย่านการค้า โรงงานอุตสาหกรรม ท่าเรือ ทุ่งหญ้าและไม้ละเมาะ ทุ่งนา สถาบัน/สถานที่ราชการทุ่งนา หมู่บ้าน แหล่งน�า้ พืชไร่ พื้นที่ลุ่ม เหมืองแร่ อื่นๆ

ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่น ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและ คลังสินค้า ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ที่ดินประเภทศาสนา ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

ภาพที่ 3-20 : ภาพแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรมเเละที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลัง ที่มา : การใช้ประโยชน์ที่ดิน, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก GIS ออนไลน์จังหวัดชลบุรี ข้อมูลล่าสุด 13/12/2553 51


ลักษณะทางกายภาพ

1

52

2 3


การใช้ประโยชน์ที่ดิน

ที่ดินประเภทเกษตรกรรม เเละพื้นที่โล่ง ภาพที่ 3-23 : ภาพแสดงพื้นที่เกษตรกรรมเเละพื้นที่โล่ง ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z. ที่มา : กรมแผนที่ทหาร, ดัดแปลงจากแผนที่บริเวณเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, ปี 2557.

เนื้ อ ที่ ใ นส่ ว นพื้ น ที่ โ ล่ ง ทั้ ง หมดโดย ประมาณ 288 ไร่ลักษณะพื้นที่โดยทั่วไปเป็นพื้นที่ เปิดโล่งที่ลุ่มซึ่งสามารถพัฒนาได้ส่วนใหญ่เป็น พื้นที่ในส่วนของภาคเอกชน

ภาพแสดงลักษณะที่ว่างในบริเวณต่างๆ

53


ลักษณะทางกายภาพ

การใช้ประโยชน์อาคาร

ความสูงอาคารและสิ่งปลูกสร้าง

ความสูงอาคาร อาคาร 1-2 ชั้น อาคาร 3-4 ชั้น อาคาร 5-6 ชั้น อุตสาหกรรม ภาพที่ 3-21 : ภาพแสดงความสูงของอาคาร ที่มา : ส�านักงานเทศบาลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดโรงเรือน หมู่ที่ 5และ 6 กองคลัง ปี 2554-2556,”กันยายน 2557. 54


อาคารคลุมดินและที่ว่าง

พื้นที่อาคารคลุมดินโดยประมาณคิดเป็น ร ้ อ ย ล ะ 2 9 ข อ ง พื้ น ที่ ทั้ ง ห ม ด และขนาดพื้นที่ว่างโดยประมาณคิดเป็น ร ้ อ ย ล ะ 7 1 ข อ ง พื้ น ที่ ทั้ ง ห ม ด

ภาพที่ 3-22 : ภาพแสดงอาคารที่คลุมดินเเละพื้นที่ว่าง ที่มา : ส�านักงานเทศบาลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดโรงเรือน หมู่ที่ 5และ 6 กองคลัง ปี 2554-2556,”กันยายน 2557.

จ� า นวนการขออนุ ญ าตปลู ก สร้างอาคารประเภทต่างๆ หมู่ที่5และ หมู่ที่6 จากกองช่าง เทศบาลต�าบลดอน หัวฬ่อ ปีพ.ศ.2539-2557พบว่า มีกา รก่อสร้​้าง อาคารมากขึ้นในปี พ.ศ. 2544-2550 โดยเฉพาะ ที่อยู่อาศัย อาคารพาณิชยกรม และอื่นๆ(ส�านักงาน โรงแรม ตลาด คลังสินค้า ร้านอาหาร ฯลฯ) นอกจากนี้จะเห็นได้ว่า ในปี พ.ศ. 2545 เริ่มมีการก่อสร้างอาการชุดพัก อาศัย อาคารพักอาศัยรวม และอาคาร พาณิชยกรรมเพื่อรองรับกลุ่มแรงงานใน นิคมอุตสาหกรมซึ่งปัจจุบันมีการเติบโต เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประเภทอาคารที่ขอยื่นอนุญาตก่อสร้าง ที่อยู่อาศัย อาคารชุดพักอาศัยรวม โรงงาน พาณิชยกรรม+ที่อยู่อาศัย ประเภทอื่นๆ แผนภูมิที่ 3-1 : ภาพแสดงอัตราส่วนการยื่นขอนุญาตในเเต่ละปี ที่มา : ส�านักงานเทศบาลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดโรงเรือน หมู่ที่ 5และ 6 กองคลัง ปี 2554-2556,”กันยายน 2557.

55


ลักษณะทางกายภาพ

2 4 คลังสินค้า และโรงงานอุตสาหกรรม สถานที่ราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ประเภทอาคารพักอาศัย ประเภทอาคารพาณิชยกรรม

56

1 3


การใช้ประโยชน์อาคาร

5

ภาพที่ 3-24 : ภาพแสดงการใช้ประโยชน์อาคาร ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z. ที่มา : กรมแผนที่ทหาร, ดัดแปลงจากแผนที่บริเวณเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, ปี 2557.

ภาพแสดงลักษณะการใช้ประโยชน์อาคาร 57


ลักษณะทางกายภาพ 58

ถนนทางลัดจากชุมชนหมู่5-6 เข้าสู่นิคมอมตะ นคร ชาวบ้านเรียก “ซอยบาทเดียว”

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อมีถนนดอนหัวฬ่อ-ศุข ประยูร เป็นเส้นทางหลักและศูนย์กลางชุมชน

เสาไฟลักษณะเป็นสปอตไลท์เพื่อให้แสง สว่างในวงกว้าง

แสดงลักษณะเสาไฟแสงสว่างในแนว ถนนในพื้นที่ชุมชน

คลองตะไพร

คลองสามวา


ถนนเส้นรองในพื้นที่ชุมชนคือ ถนน วิบูลประชารักษ์ ซึ่งผ่าน บริเวณหน้าที่ท�าการเทศบาลฯ

ระบบสาธารณูปโภค 3.5 สาธารณูปโภค

สาธารณูปโภค หมายถึงบริการสาธารณะที่จัด ท� า เพื่ อ อ� า นวยประโยชน์ แ ก่ ป ระชาชนในสิ่ ง อุปโภคที่จ�าเป็นต่อการด�าเนินชีวิตในด้านการ ผั ง เมื อ งสาธารณู ป โภคจะมี ค วามหมายถึ ง ลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ ที่ดินและอาคาร ในพื้นที่โล่งว่างมีเสาไฟฟ้าแรง หรื อ สิ่ ง ก่ อ สร้ า งส� า หรั บ กิ จ การสาธารณะที่ สูงตัดผ่านในพื้นที่ บางจุดอยู่ จ� า เป็ น ต้ อ งมี ส� า หรั บ การด� า รงชี วิ ต ในสั ง คม ใกล้กับพื้นที่อยู่อาศัย

เมืองซึ่งแบ่งสาธารณูปโภคที่มีความส�าคัญออก เป็น 6 ด้าน คือ การไฟฟา การประปา การ สื่อสารและโทรคมนาคม การปองกันน้�าท่วม และระบายน้�าฝน การรวบรวมและบ�าบัดน้�า เสีย และการจัดเก็บและก�าจัดขยะมูลฝอยและ ปฏิกูล

ระบบระบายน�้าในพื้นที่ชุมชน ตามแนวถนน

59


ไฟฟ้า ภาพที่ 3-25 : ภาพแสดงต�่าเเหน่งส�านักงานการไฟฟาส่วนภูมิภาค ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่ออยู่ในเขตพื้นที่การให้บริการของส�านักงานการไฟฟาส่วนภูมิภาคจังหวัดชลบุรีซึ่งในเขตต�าบล ดอนหัวฬ่อมีจา� นวนครัวเรือนที่มีไฟฟาใช้ครบทุกครัวเรือน ส�าหรับไฟฟาสาธารณะมีการติดตั้งไฟฟาเเสงสว่างสาธารณะจ�านวน ประมาณ 650 จุดครอบคลุมพื้นที่ในเขตต�าบลดอนหัวฬ่อ

การประปา

ภาพที่ 3-26 : ภาพแสดงต�าแหน่งส�านักงานการปะปาส่วนภูมิภาค ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

60

เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่ออยู่ในเขตพื้นที่การให้บริการของส�านักงานการประปาส่วนภูมิภาคจังหวัดชลบุรี


การสื่อสาร เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่ออยู่ในเขตพื้นที่การให้บริการของบริษัท ทศท.คอปอเรชั่น จ�ากัด (หมาชน) สาขาจังหวัดชลบุรี

ภาพที่ 3-27 : ภาพแสดงต�าแหน่งศูนย์บริการลูกค้า ทีโอที ชลบุรี ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z. ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

ภาพที่ 3-28 : ภาพแสดงต�าแหน่งสถานที่ฝังกลบขยะ

การจัดเก็บ เเละก�าจัด ขยะมูลฝอย 61


ลักษณะทางกายภาพ

ส า ธ า ร ณู ป ก า ร

3.6 สาธารณูปการ สาธารณูปการหมายถึงบริการสาธารณะที่ จัดท�า เพื่ออ�านวยประโยชน์แก่ประชาชนการด�าเนิน ชีวิต เช่น การบริการด้านการศึกษา การแพทย์และ สาธารณสุข การพักผ่อนหย่อนใจและนันทนาการ ส�าหรับการผังเมือง “สาธารณูปการ” ที่มีความหมาย ไปในทางกายภาพคือ หมายความถึงที่ดินและอาคาร หรือสิ่งก่อสร้างที่จ�าเป็นต้องมีส�าหรับการด�ารงชีวิตใน สังคมเมือง

เกณฑ์ ม าตรฐานด้ า นผั ง เมื อ งขึ้ น เป็ น การ เฉพาะ เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพข้อเท็จจริง ปัญหา และการเปลี่ยนแปลงของกรุงเทพมหานคร การวาง และจัดท�า ผังเมืองรวม ผังเมืองเฉพาะ และแผนผัง พัฒนาในระดับต่าง ๆ สามารถวางและจัดท�าได้อย่าง

มีประสิทธิภาพ สามารถชี้น�าการพัฒนาเมืองได้อย่าง เหมาะสม และน�าไปสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่ตามวิสัย ทัศน์การพัฒนากรุงเทพมหานคร`

ที่มา : กฎกระทรวงศึกษาธกฎกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 1 พ.ศ. 2507 ออกตามในพระราช บัญญัติคณะสงฆ์, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก http://trt.onab.go.th/download/LAW12.pdf.

62


3.6.1 ศาสนสถาน(วัด)

วัดมาบสามเกลียว หมู่ที่ 7

วัดดอนด�ารงธรรม หมู่ที่ 4

วัดชากสมอ หมู่ที่ 2

วัดสังกะสี หมู่ที่ 1

ภาพที่ 3-29 : ภาพแสดงรัศมีศูนย์กลางบริการศาสนสถาน(วัด) ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

วัด คือ สถานที่ทางศาสนา ตามปกติจะมี เสนาสนะและอาคารถาวรวัตถุต่าง ๆ เป็นที่พา� นัก อาศัยศึกษาปฏิบัติพระธรรมวินัยและประกอบศาสน กิจของพระภิกษุสงฆ์ ตลอดจนเป็นที่บา� เพ็ญกุศล ต่างๆนอกจากนี้วัดยังเป็นศูนย์กลางบริการทางการ ศึกษาและทางสังคม รวมทั้งเป็นแหล่งส่งเสริมศิลป วัฒนธรรมและประเพณี วัดทั้งหลายมีฐานะทาง กฎหมายคือ เป็นนิติบุคคลเท่าเทียมกัน แต่ในทาง พระวินัยมีฐานะแตกต่างกัน ดังนั้น ตามมาตรา 31 แห่ง พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505

ข้อ1(1)หนังสือส�าคัญแสดงกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิ ครอบครองที่ดินที่จะยกให้สร้างวัดและที่ดินนั้นต้อง มีเนื้อที่ไม่น้อยกว่า 6 ไร่ ข้ อ 2(2)วั ด ที่ จ ะสร้ า งขึ้ น ต้ อ งประกอบด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ดังนี้คือเป็นประโยชน์แก่ประชาชนที่ตั้งบ้าน เรือนในรัศมี 2 กิโลเมตร โดยเฉลี่ยวัดละไม่น้อยกว่า 1,000 คน เว้นแต่มีเหตุจ�าเป็น ข้อ2(4) ตั้งอยู่ห่างจากวัดอื่นไม่น้อยกว่า 2 กิโลเมตร เว้นแต่จะมีเหตุจ�าเป็น v 63


ลักษณะทางกายภาพ

64


3 1 4 2 ภาพที่ 3-30 : ภาพเเสดงต�าแหน่งวัดในเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องศาสนา กองการศึกษา,” กันยายน 2557.

ศาสนา

จากข้อมูลประชากรส่วนใหญ่ในต�าบลดอนหัว ฬ่อนั้น นับถือศาสนาพุทธ ซึ่งในต�าบลดอนหัวฬ่ามีวัด อยู่ทั้งหมด 4 วัด ได้แก่ 1. วัดดอนด�ารงธรรม หมู่ที่ 4 2. วัดสังกะสี หมู่ที่ 1 3. วัดมาบสามเกลียว หมู่ที่ 7 4. วัดชากสมอ หมู่ที่ 2

ภาพที่ 3-31 : ภาพเเสดงหน้าวัดดอนด�ารงธรรม หมู่ที่ 4

ภาพที่ 3-32 : ภาพเเสดงภายในวัดดอนด�ารงธรรม 65


ลักษณะทางกายภาพ

3.6.2 โรงเรียน

ภาพที่ 3-33 : ภาพแสดงรัศมีศูนย์กลางบริการการศึกษา ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

- ร.ร. เทศบาลดอนหัวฬ่อ 1

- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัย เรียน (บ้านมาบสามเกลียว) - ร.ร. วัดดอนด�ารงธรรม - ศูนย์พัฒนาเด็ก - ศูนย์การเรียนรู้ประจ�า เล็กบ้านดอนบน ต�าบลดอนหัวฬ่อ

มาตรฐานของต� า แหน่ ง ที่ ตั้ ง และรั ศ มี บ ริ ก ารของโรงเรี ย นระดั บ ต่ า งๆโดยพิ จ ารณาจากมาตรฐาน ประกอบต่างๆ สามารถสรุประยะให้ บริการของสถานศึกษาได้คือ ระดับอนุบาล ควรก�าหนดให้ตั้ง อยู่ในระยะของรัศมีการให้บริการระยะ จากที่อยู่อาศัยไม่เกิน 400 เมตร

*

* *

ระดับประถม ควรก�าหนดให้ตั้ง อยู่ในระยะของรัศมีการให้บริการ ระยะไม่เกิน 800 เมตร ระดับมัธยมต้น ควรก�าหนดให้ตั้ง อยู่ในระยะของรัศมีการให้บริการจาก ที่อยู่อาศัยในระยะไม่เกิน 1200 เมตร

* *

ระดับมัธยมปลาย ควรก�าหนด ให้ตั้งอยู่ในระยะของรัศมีการให้บริการ ในระยะไม่เกิน 1600 เมตร ระดับอาชีวศึกษา ควรก�าหนด ให้ตั้งอยู่ในระยะของรัศมีการให้บริการ ในระยะไม่เกิน 1600 เมตร

ที่มา : กรมโยธาธิการและผังเมือง, โครงการจัดท�ามาตรฐานด้านผังเมืองของกรุงเทพมหานคร มาตรฐานที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมของการเคหะแห่งชาติ รายงาน ฉบับสมบูรณ์, ม.ป.ท. 66


3.6.3 สถานพยาบาล

ภาพที่ 3-34 : ภาพแสดงรัศมีศูนย์กลางบริการพยาบาล ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบลดอนหัวฬ่อ

ในพื้ น ที่ เ ทศบาลต� า บลดอนหั ว ฬ่ อ มี สถานพยาบาลได้แก่โรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพต� า บลดอนหั ว ฬ่ อ ซึ่ ง เป็ น ลั ก ษณะของ ศูนย์บริการสาธารณสุข ประเภท สถานีอนามัย ชั้น 2 โดยระยะการให้บริการแก่ประชาชน ควรมีระยะรัศมีบริการ 7 กิโลเมตร

*หมายเหตุ ใ นพื้ น ที่ เ ทศบาลต� า บลดอนหั ว ฬ่ อ เมื่ อ เทียบสัดส่วนของพื้นที่ และจ�านวนประชากรเห็นควร ว่าควรมีการจัดสถานพยาบาลประเภทโรงพยาบาล ของภาครัฐเพื่อให้มีความครอบคลุมความต้องการ ของประชากรในพื้นที่มากที่สุด

ที่มา : กรมโยธาธิการและผังเมือง, โครงการจัดท�ามาตรฐานด้านผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เกณฑ์และมาตรฐานผังเมืองรวม พ.ศ. 2549 รายงานฉบับสมบูรณ์, ม.ป.ท. 67


ลักษณะทางกายภาพ

การศึกษา 1) โรงเรียนสังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 1 จ�านวน 1 แห่ง โรงเรียนวัดดอนด�ารงธรรม เปิดท�าการสอนระดับก่อนประถมศึกษา – ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2) โรงเรียนสังกัดเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ จ�านวน 1 แห่ง โรงเรียนเทศบาลดอนหัวฬ่อ 1 (บ้านมาบสามเกลียว) เปิดท�าการสอนระดับก่อน ประถมศึกษา – ระดับประถมศึกษา 3) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน จ�านวน 2 แห่ง 4) ศูนย์การเรียนประจ�าต�าบลดอนหัวฬ่อ (กศน.ต�าบลดอนหัวฬ่อ) จ�านวน 1 แห่ง 5) ศูนย์การเรียนรู้ต�าบลดอนหัวฬ่อ จ�านวน 1 แห่ง

แผนที่เเสดงที่ตั้งสถานศึกษาในเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

ภาพที่ 3-35 : ภาพเเสดงต�าแหน่งสถานศึกษาในเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องโรงเรียน กองการศึกษา,” กันยายน 2557.

68


ภาพที่ 3-36 : ภาพเเสดงความสัมพันธ์นักเรียนในพื้นที่ระหว่างลูกของประชากรแฝงเเละลูกของประชากรตามทะเบียนราษฎร ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องโรงเรียน กองการศึกษา,” กันยายน 2557.

สถานศึกษาในพื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อมีนักเรียนที่เป็นบุตรของประชากรแฝงเเละบุตรของประชากรตามทพเบียน ราษฎร์ของเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อทั้งนี้ จากการสัมภาษณ์ผู้น�าหมู่ 5 เเละผู้น�าหมู่ 6 เเละรวมถึงการได้ลงพื้นที่ได้พบเเละพูดคุยกับ น้องๆในสถานศึกษา พบว่าสถานศึกษาในเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อส่วนมากจะมีนักเรียนที่มาจากเป็นบุตรของประชากรเเฝงที่อยู่ นอกพื้นที่เเละมาท�างานในนิคมอุตสาหกรรมท�าให้ครอบครัวต้องย้ายถิ่นมาศึกษาเเละอยู่อาศัยภายในพื้นที่เทศบาลดอนหัวฬ่อเเละ พื้นที่ใกล้เคียง เเต่ในจ�านวนลูกหลานของประชากรดอนหัวฬ่อเองได้มีการออกไปศึกษาในตัวเมืองชลบุรี เพื่อศึกษษต่อระดับ มหาวิทยาลัย หรือบางส่​่วนไปศึกษษต่อที่กรุงเทพฯ ภาพที่ 3-37 : ภาพเเเเสดงบรรยากาศสถานศึกษาที่มีในเทศบาลดอนหัวฬ่อ -

69


ลักษณะทางกายภาพ

สถานศึกษาชลบุรี

ภาพที่ 3-38 : ภาพเเสดงต�าแหน่งสถานศึกษาในระดับต่างๆ ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องโรงเรียน กองการศึกษา,” กันยายน 2557.

ในจังหวักชลบุรีมีสถานศึกษาหลายเเห่งทุกระดับการศึกษา ทั้งระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาถึงระดับ มหาวิทยาลัยซึ่งหลายมหาลัยได้เปิดวิทยาเขตการศึกษาขึ้นในพื้นที่จังหวัดชลบุรีเช่น มหาลัยเกษตรศาสตร์ มหาลัยศรีปทุม ด้วยระบบ การเดินทางที่มีความสะดวกเเละใช้ระยะเวลาไม่นานนักท�าให้ลูกหลานในเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อมีทางเลือกด้านการศึกษามาก ยิ่งขึ้น

70


แผนที่เเสดงที่ตั้งสถานศึกษาระดับมัธยม

ภาพที่ 3-39 : ภาพเเสดงต�าแหน่งที่ตั้งสถานศึกษาระดับมัธยม ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องโรงเรียน กองการศึกษา,” กันยายน 2557.

แผนที่เเสดงที่ตั้งสถานศึกษาระดับมหาวิทยาลัย

ภาพที่ 3-40 : ภาพเเสดงต�าแหน่งที่ตั้งสถานศึกษาระดับมหาวิทยาลัย ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องโรงเรียน กองการศึกษา,” กันยายน 2557. ในส่วนที่เป็นสีเเเดงจะเป็นสถานศึกษาที่เป็นที่นิยมของนักเรียนเเละนักศึกษาในพื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อที่ศึกษาต่อ 71


ลักษณะทางกายภาพ

สถานศึกษาเทศบาลดอนหัวฬ่อ

ภาพที่ 3-41 : ภาพเเสดงบรรยากาศโรงเรียนวัดดอนด�ารงธรรม

ภาพที่ 3-42 : ภาพเเสดงบรรยากาศโรงเรียนเทศบาลดอนหัวฬ่อ 1 (บ้านมาบสามเกลียว)

72


ภาพที่ 3-43 : ภาพเเสดงบรรยากาศศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน (บ้านมาบสามเกลียว)เเละสวนสุขภาพ

ภาพที่ 3-44 : ภาพเเสดงบรรยากาศศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดอนบน

ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องโรงเรียน กองการศึกษา,” กันยายน 2557.

73


ลักษณะทางด้านสังคม

สถิติจ�านวนนักเรียน

ภาพที่ 3-45 : ภาพเเสดงจ�านวนนักเรียนในพื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

ภาพที่ 3-46 : ภาพเเสดงอัตตราส่วนจ�านวนนักเรียนในพื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องโรงเรียน กองการศึกษา,” กันยายน 2557.

74


สถิติจา� นวนนักเรียนในเทศบาลดอนหัวฬ่อเเสดงให้เห็นถึงจ�านวนนักเรียนของเเต่ละสถานการศึกษาเเละเมื่อเทียบกับ จ�านวนประชากรในเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อพบว่าสถานศึกษาสามารถที่จะพัฒนาไปถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลายได้ด้วยจ�านวน ของประชากรที่มีในเขตเทศบาล เเต่ด้วยปัจจุบันในพื้นที่ใกล้เคียงมีสถานศึกษาอยู่เป็นจ�านวนมากเเละมีชื่อเสียงอยู่เเล้วประกอบกับ ระบบการคมนาคมที่สะดวกท�าให้ผู้เรียนมีทางเลือกไปศึกษายังสถานศึกษานอกเขตหรือในเขตเทศบาลได้

สาธารณสุข

ภาพที่ 3-47 ภาพเเสดงต�าแหน่งที่ตั้งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องโรงเรียน กองการศึกษา,” กันยายน 2557.

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล จ�านวน 1 แห่งตั้งอยู่หมู่ที่ 6

โรงพยาบาลในเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อมีเพียง 1 แห่งเเละไม่มีเตียงเพื่อรองรับผู้ป่วยเพราะเป็นเพียงโรงพยาบาลส่ง เสริมสุขภาพต�าบลเท่านั้น เเต่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อสามารถที่จะพัฒนาสร้างโรงพยาบาลระดับกลางได้เพื่อรองรับกับจ�านวน ประชากรที่เพิ่มมากขึ้นในเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ 75


ลักษณะทางกายภาพ

3.6.4 สวนสาธารณะ และพื้นที่นันทนาการ

- สวนสุขภาพ เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

- เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ - สวนสาธารณะ

ภาพที่ 3-48 : ภาพแสดงรัศมีศูนย์กลางบริการสวนสาธารณะเเละพื้นที่นันทนาการ ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

ข น า ด พื้ น ที่ ข อ ง ส ว น สาธารณะที่มีในพื้นที่เทศบาลต�าบล ดอนหัวฬ่อ มี3แห่งซึ่งแบ่งเป็นสวน สาธารณะชุมชน และพื้นที่ว่าง ส� า หรั บ กิ จ กรรมนั น ทนาการหรื อ กิจกรรมในชุมชุน โดยจากมาตรฐาน ของขนาดพื้นที่แต่ละแห่งจะสามารถ จัดไว้อยู่ในประเภท สวนหมูบาน

หรือสวนละแวกบาน ซึ่งมีขนาด พื้นที่ 2 - 25 ไร่ รัศมีให้บริการในวง รอบประมาณ 1 - 3 กิโลเมตร เป็น สวนส� า หรั บ ผู ้ อ าศั ย ในละแวกนั้ น ใช้เป็นสนามเด็กเล่น สถานที่ออกก�า ลั ง กายและพบปะสั ง สรรค์ ข อง ประชาชนทุกวัย

ที่มา รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการจัดท�ามาตรฐานด้านผังเมืองของกรุงเทพมหานคร 76

ทั้ ง นี้ ใ น ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง พื้ น ที่ นันทนาการควรจัดให้มีลักษณะกา รพักผ่อน หย่อนใจในรูปแบบอื่นด้วย เช่น ห้องสมุดประชาชน ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา/ ลานกีฬา


3.6.5 หน่วยงานราชการ สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภทได้แก่ 1. หน่วยราชการ และการปกครอง ควรก� า หนดให้ ตั้ ง อยู ่ ใ นระยะ ของรั ศ มี ก ารให้ บ ริ ก ารระยะไม่ เ กิ น 5 กิโลเมตร 2. สถานีตา� รวจ ควรก� า หนดให้ ตั้ ง อยู ่ ใ นระยะ

ของรั ศ มี ก ารให้ บ ริ ก ารระยะไม่ เ กิ น 5 กิโลเมตร 3. สถานีดับเพลิง ที่ ตั้ ง ควรสามารถส่ ง หน่ ว ยดั บ เพลิ ง ออกไปให้ ก ารช่ ว ยเหลื อ ในพื้ น ที่ ประสบภั ย ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ซึ่ ง ในพื้ น ที่ เทศบาลต� า บลดอนหั ว ฬ่ อ สามารถ

อธิบายชุมชนได้ 2 ลักษณะคือ - เขตศูนยการค้าและอุตสาหกรรม ระยะการบริ ก ารการดั บ เพลิ ง ไม่ควรเกิน1.2 กิโลเมตร - เขตชุมชนหนาแน่น ระยะการบริ ก ารการดั บ เพลิ ง ไม่ควรเกิน2.4 กิโลเมตร

ที่มา รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการจัดท�ามาตรฐานด้านผังเมืองของกรุงเทพมหานคร

- เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ - สถานนีดับเพลิง

- สถานีต�ารวจ

ภาพที่ 3-49 : ภาพแสดงรัศมีศูนย์กลางบริการหน่วยงานราชการ ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z. 77


78


4. ลักษณะทางด้านสังคม 4.1 ประชากร 4.2 วัฒนธรรม 4.3 ประเพณี 4.4 แผนที่วัฒนธรรม ประเพณี 4.5 ปฎิทินชุมชน

79


ลักษณะทางด้านสังคม

จ�านวนประชากร

กราฟที่ 1-1 : กราฟเเสดงการเปลี่ยนเเปลงจ�านวนประชากรตั้งเเต่ปี พ.ศ.2553-พ.ศ.2557 ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องประชากร,” กันยายน 2557.

4.1 ประชากร

การเปลี่ยนแปลงของจ�านวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์ในหมู่ที่ 5 ดอนหัวฬ่อ และหมู่ที่ 6 บ้านดอน ล่าง ระหว่างปี 2553 ถึงปี 2557 พบว่า จ�านวนประชากรในเขตหมู่ที่ 5 มีจ�านวนประชากรเพิ่มขึ้นถึง 251 คน ซึ่งมากกว่า การเพิ่มของจ�านวนประชากรในหมู่ที่ 6 ที่มีประชากรเพิ่มขึ้นเพียง 29 คนเท่านั้น ทั้งนี้อาจด้วยพื้นที่ในหมู่ที่ 6 บ้านดอน ล่าง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรมครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ ท�าให้จ�านวนผู้อยู่อาศัยในหมู่ที่ 6 จึงอยู่ใน จ�านวนที่น้อยกว่า หมู่ที่ 5 บ้านดอนหัวฬ่อและหมู่อื่นๆ ในเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ หมู่ที่ 1 ชากสมอเป็นเขตที่มี จ�านวนประชากรเเละอัตราการเพิ่มของประชากรมากที่สุด

80


การเปลี่ยนเเปลงจ�านวนประชากรระหว่างปี พ.ศ.2553 และ พ.ศ.2557

ภาพที่ 4-1 : ภาพแสดงการเปลี่ยนเเปลงจ�านวนประชากรระหว่างปีพ.ศ.2553 เเละ พ.ศ. 2557 ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

81


ลักษณะทางด้านสังคม

จ�านวนครัวเรือน

กราฟที่ 1-2 : กราฟเเสดงการเปลี่ยนเเปลงจ�านวนครัวเรือนตั้งเเต่ปี พ.ศ.2553-พ.ศ.2557 ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องประชากร,” กันยายน 2557.

การเปลี่ยนแปลงของจ�านวนครัวเรือนในหมู่ที่ 5 ดอนหัวฬ่อ และหมู่ที่ 6 บ้านดอนล่าง ระหว่างปี 2553 ถึงปี 2557 พบว่ามีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันกับการเปลี่ยนแปลงของจ�านวนประชากร ซึ่งจ�านวนครัวเรือนใน เขตหมู่ที่ 5 มีจ�านวนเพิ่มขึ้น 322 หลัง และการเพิ่มของจ�านวนครัวเรือนในหมู่ที่ 6 ยังคงอยู่ในจ�านวนที่น้อยโดยเพิ่มขึ้น เพียง 55 หลัง และด้วยสาเหตุของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม จึงท�าให้จ�านวนครัวเรือนในหมู่ที่ 6 บ้าน ดอนล่างมีการเพิ่มจ�านวนน้อยที่สุดในเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อด้วยเช่นกัน หมู่ที่4 บ้านดอนบนมีการเพิ่มจ�านวนครัว เรือนในอัตราที่สูงเเละชปัจจุบันเป็นหมู่ที่มีจา� นวนครัวเรือนสูงที่สุด ถึงเเม้จะมีจ�านวนประชากรน้อยกว่าหมู่ที่ 1 ชากสมอ ก็ตามอาจเนื่องมาจากการเติบโตของชุมชนตามเเนวเส้นสายหลักภายในชุมชนคือถนนบ้านเก่าศุขประยูรมีการเพิ่ม จ�านวนหน่วยพักอาศัยรองรับประชากรแฝงที่เป็น

82


การเปลี่ยนเเปลงจ�านวนครัวเรือนระหว่างปี พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2557

ภาพที่ 4-2 : ภาพแสดงการเปลี่ยนเเปลงจ�านวนครัวเรือนระหว่างปีพ.ศ.2553 เเละ พ.ศ. 2557 ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

83


ลักษณะทางด้านสังคม

ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่ ปี 2557

ภาพที่ 4-3 : ภาพแสดงความหนาเเน่นจ�านวนประชากรต่อพื้นที่ปี พ.ศ. 2557 ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่ในหมู่ที่ 5 บ้านดอนหัวฬ่อ จากข้อมูลจ�านวนประชากรในปี 2557 พบว่า มีความหนาแน่นของจ�านวนประชากรอยู่ที่ 1,525 คน ต่อ ตารางกิโลเมตร ซึ่งจัดล�าดับอยู่ในล�าดับที่ 3 จากทั้งหมด 7 หมู่ ในเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ และหมู่ที่ 6 บ้านดอนล่างมีความแน่นของจ�านวนประชากรอยู่ที่ 139 คน ต่อ ตารางกิโลเมตร ซึ่งจัดอยู่ในล�าดับที่ 6 ของเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

84


ความหนาแน่นของครัวเรือนต่อพื้นที่ ปี 2557

359

ภาพที่ 4-4 : ภาพแสดงความหนาเเน่นของครัวเรือนต่อพื้นที่ปี พ.ศ. 2557 ที่มา : ดัดแปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.3771212,100.4656289,10z.

ในส่วนของความหนาแน่นของจ�านวนครัวเรือนต่อพื้นที่ในหมู่ที่ 5 บ้านดอนหัวฬ่อ จากข้อมูลจ�านวนครัวเรือนในปี 2557 พบว่า มีความหนาแน่นของจ�านวนครัวเรือนอยู่ที่ 1,664 หลัง ต่อ ตารางกิโลเมตร ซึ่งถือเป็นความหนาแน่นที่มากที่สุดใน เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ และหมู่ที่ 6 บ้านดอนล่างมีความแน่นของจ�านวนครัวเรือนอยู่ที่ 359 หลังต่อตารางกิโลเมตร ซึ่งจัดอยู่ใน ล�าดับที่ 6 เช่นเดียวกันกับล�าดับความหนาแน่นของประชากร ด้วยแต่ละพื้นที่ของหมู่บ้านทั้ง 7 หมู่ มีขนาดพื้นที่น้อยแตกต่างกันจึงท�าให้ค่าความหนาแน่น ไม่สัมพันธ์กันกับการ เปลี่ยนแปลงจ�านวนประชากรและจ�านวนครัวเรือน ดังเห็นได้จากค่าความหนาแน่นของจ�านวนครัวเรือนในเขตหมู่ที่ 5 มีค่าความ หนาแน่นมากที่สุด เพราะจ�านวนพื้นที่หมู่ที่ 5 มีพื้นที่ไม่มากนัก แต่กลับมีจ�านวนครัวเรือนอยู่เป็นจ�านวนมาก ท�าให้ค่าความหนา แน่นมีมากกว่าพื้นที่อื่น 85


ลักษณะทางด้านสังคม

จ�านวนประชากรแฝง

กราฟที่ 1-3 : กราฟเเสดงจ�านวนประชากรแฝงตั้งเเต่ปี พ.ศ.2555 ถึง พ.ศ.2557 ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องประชากร,” กันยายน 2557.

ประชากรแฝง ประชากรตามทะเบียนราษฎร์

มีการคาดการณ์ของจ�านวนประชากรแฝงที่เข้ามาอาศัยในพื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ในปี 2555 ถึง ปี 2557 อยู่ที่จ�านวนประมาณ 65,000 คน 70,000 คน และ 75,000 คน เพิ่มขึ้นประมาณปีละ 5,000 คน และเมื่อน�ามารวมกับ จ�านวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์ในแต่ละปี พบว่าในปี 2557 จะมีจ�านวนประชากรที่อยู่ในพื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัว ฬ่อประมาณ 85,582 คน ด้วยพื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อมีพื้นที่อุตสาหกรรมตั้งอยู่จ�านวนมาก จึงท�าให้พื้นที่มีสิ่งดึงดูด ให้ประชากรย้ายเข้ามาในพื้นที่จา� นวนมาก ทั้งมาเพื่อหาแหล่งงาน เพื่อประกอบธุรกิจ และเพื่อตอบสนองสินค้าและบริการ

86


ความหนาเเน่นประชากรแฝงเเละประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 4,036

4,331

4,626

จ�านวนเต็ม ประชากรแฝง

3,534

3,783

4,054

522

548

572

ประชากรตามทะเบียนราษฎร์

กราฟที่ 4-4 : กราฟเเสดงความหนาเเน่ประชากรตั้งเเต่ปี พ.ศ.2555 ถึง พ.ศ.2557 ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องประชากร,” กันยายน 2557.

1

:

8

จากการคาดการณ์จ�านวนประชากรที่มีอยู่ในพื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อในปี 2557 ท�าให้ทราบความหนาแน่นของ ประชากรได้ว่าจะเฉลี่ยอยู่ที่ 4,626 คน ต่อ ตารางกิโลเมตร จากเดิมที่น�าเพียงจ�านวนประชากรตามทะเบียนราษฏร์มาค�านวณ หาค่าความหนาแน่นอยู่ที่ 572 คน ต่อตารางกิโลเมตร ซึ่งความหนาแน่นที่เพิ่มมาดังกล่าวเปรียบได้ประมาณ 8 เท่าจากค่าความ หนาแน่นของจ�านวนประชากรตามทะเบียนราษฏร์ ดังนั้นหากมีแผนหรือโครงการพัฒนาใดๆ ในอนาคตที่จะเกิดในขึ้นพื้นที่ควรที่ ให้ความส�าคัญของจ�านวนประชากร ที่มีอยู่อย่างแท้จริงนี้ ไปประกอบการด�าเนินงาน และประกอบการตัดสินใจ เพื่อให้แผนหรือ โครงการนั้นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของสาธารณูปโภค สาธารณูปการ จะต้องสามารถตอบสนองและเพียงพอต่อความ ต้องการของประชากรโดยรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 87


ลักษณะทางด้านสังคม

ภูมิปัญญาพื้นถิ่น ด้านการแพทย์

4.2 วัฒนธรรม

2.การรักษาโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต นางนงลักษณ์ มาบัณฑิต อายุ 68 ปี

บ้านเลขที่ 54/55 ม.5 ต.ดอนหัวฬ่อ อ.เมือง จ.ชลบุรี ภูมิล�าเนาเดิมเกิดที่ปากน�า้จ.สมุทรปราการโดยการ เรี ย นสื บ ทอดมาจากพ่ อ ปู ่ เ นื่ อ งจากนงลั ก ษณ์ มี อาชี พ เป็ น ร่ า งทรง(คนทรงเจ้ า )ผู ้ สื บ ทอดวิ ช า

1.การกวาดยาเด็ก นางเริงจมาศ กาญจนะพันธ์ อายุ 57 ปี

บ้านเลขที่ 62 ม.5 บ้านดอนหัวฬ่อ ต.ดอนหัวฬ่อ อ.เมือง จ.ชลบุรี ครอบครัวได้รับการถ่ายทอดวิธีการรักษาเด็กด้วย การกวาดยา ยายที่ชื่อยายย้าได้เรียกตนเองไปดู ใกล้ๆตลอดและได้ท�าการรักษามาจนถึงปัจจุบัน

3.การรักษาเพื่อท�าให้คลอดบุตรง่าย นายขวัญเมือง บุญมั่น อายุ 72 ปี

บ้านเลขที่ 24 ม.5 ต.ดอนหัวฬ่อ อ.เมือง จ.ชลบุรี เริ่มรักษาคนไข้ตั้งแต่ อายุ 30 ปี จนปัจจุบัน เป็น เวลา 42 ปีโดยการเรียนสืบทอดมาจาก หลวงปู่ชาย วัดอู่ตะเภาเมื่อสมัยบวชพ.ศ.2500ผู้สืบทอดวิชา ปัจจุบันไม่มีผู้สืบทอดวิชาต่อ

แผนที่วัฒนธรรมภูมิปัญญาพื้นถิ่น ด้านการแพทย์ 1.การกวาดยาเด็ก นางเริงจมาศ กาญจนะพันธ

ภาพที่ 4-5 : ภาพเเสดงต�าแหน่งวัฒนธรรมภูมิปัญญาพื้นถิ่นด้านการเเพทย์ ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องวัฒนธรรม ประเพณี กองการศึกษา,” กันยายน 2557.

3.การรักษาเพื่อท�าให้คลอดบุตรง่าย นายขวัญเมือง บุญมั่น

2.การรักษาโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต นางนงลักษณ์ มาบัณฑิต์

88


แผนที่วัฒนธรรมภูมิปัญญาพื้นถิ่น ด้านศิลปะการแสดง และดนตรีการตีกลองยาว การตีกลองยาว 1.นายมิตร ปรีดา 2.นายอนันต์ ไวยะกูล

ด้านศิลปะ การดนตรี 1.นายมิตร ปรีดา อายุ 51 ปี

อาชีพ ท�านา บ้านเลขที่ 30/2 ม.5 บ้านดอน หัวฬ่อ ต.ดอนหัวฬ่อ อ.เมือง จ.ชลบุรี นายมิตร ปรีดา ฝึกการตีกลองยาว มาจากพ่อตา ได้ทา� พิธีครอบครูเมื่อ 30 ปีที่ แล้ว แต่ก่อนจะรับเล่นกลองยาวทั้งในต�าบล และนอกต�าบล ต่อมาภายหลังต้องล้มเลิกวง กลองยาวไปเนื่องจากมีงานเสดงน้อยลง ราย ได้จากการแสดงไม่เพียงพอปัจจุบันจะไปเล่น ตามงานบวชนาคของคนในต�าบลเท่านั้น

ภาพที่ 4-6 : ภาพเเสดงต�าแหน่งวัฒนธรรมภูมิปัญญาพื้นถิ่น ด้านศิบปะการเเสดง เเละดนตรี ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องวัฒนธรรม ประเพณี กองการศึกษา,” กันยายน 2557.

2.นายอนันต์ ไวยะกูล อายุ 56 ปี

อาชีพ รับจ้าง บ้านเลขที่ 35 ม.5 บ้านดอนหัว ฬ่อ ต.ดอนหัวฬ่อ อ.เมือง จ.ชลบุรี นายอนันต์ ไวยะกูล ตีกลองยาวมานานเกือบ 40 ปี ไม่ได้เล่าเรียนมาจากใคร แต่เป็นลักษณะ ครูพักลักจ�า เนื่องจากอยู่ในวงกลองยาวมานาน จึงได้มีการฝึกปรือฝีมือมาโดยตลอด ต่อมาภาย หลังได้มาอยู่วงเดียวกับ นายมิตร ปรีดา และ เล่นกลองยาวมาด้วยกันตลอด ปัจจุบันเปลี่ยน จากเล่นกลองยาวมาเล่นโหม่ง ซึ่งเป็นเครื่อง ดนตรีส�าคัญอีกชิ้นหนึ่งในวงกลองยาว

89


ลักษณะทางด้านสังคม

แผนที่วัฒนธรรมภูมิปัญญาพื้นถิ่น ด้านอาหารและโภชนาการ การท�าขนมแต่งงาน นางเซี่ยมเตียง พูลศรีงาม

ภาพที่ 4-7 : ภาพเเสดงต�าแหน่งวัฒนธรรมภูมิปัญญาพื้นถิ่นด้านอาหารเเละโภชนาการ ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องวัฒนธรรม ประเพณี กองการศึกษา,”

การท�าขนมแต่งงาน นางเซี่ยมเตียง พูลศรีงาม อายุ 52 ปี

บ้านเลขที่ 36 ม.5 บ้านดอนหัวฬ่อ ต.ดอนหัว ฬ่อ อ.เมือง จ.ชลบุรี นางเซี่ยมเตียงได้แต่งงานกับนายนิรมย์ พูล ศรี ง ามและย้ า ยเข้ า มาเป็ น สมาชิ ก ใน ครอบครัวพูลศรีงาม ต่อมาเรียนรู้วิธีการท�า ขนมแต่งงานจากนางสาวระย้า พูลศรีงาม ผู้ เป็นอาของสามีครอบครัวพูลศรีงามประกอบ อาชีพการท�าขนมแต่งงานมาตั้งแต่สมัย ปู่ ย่า ตา ยาย ดังนั้นถ้ามีพิธีแต่งงาน ไม่ว่าจะเป็น หมู่บ้านใกล้เคียงหรือในต่างจังหวัด ก็มักจะ มาสั่งให้ท�าขนมแต่งงานที่ดอนหัวฬ่อแห่งนี้ เนื่องจากเป็นผู้ที่ท�าขนมแต่งงานได้สวยงาม และอร่อย

90

ด้านอาหาร และโภชนาการ


แผนที่ประเพณีงานบุญกลางบ้าน หมู่บ้านดอนล่าง

การท�าบุญกลางบ้าน การเล่น “อีกา” ชาวบ้านจะท�าบุญช่วง เดือน 7 ก่อนเข้าพรรษา ของทุกปี เป็นระยะเวลา 3 วัน

ภาพที่ 4-8 : ภาพเเสดงต�าแหน่งจัดประเพณีงานบุญกลางบ้าน หมู่บ้านดอนล่าง ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องวัฒนธรรม ประเพณี กองการศึกษา,” กันยายน 2557.

ประเพณี งานบุญ กลางบ้าน

งานบุญกลางบ้าน

4.3 ประเพณี

เป็นประเพณีที่เก่าแก่ของชาวต�าบลดอนหัวฬ่อ ชาวบ้านจะท�าบุญ ช่วงเดือน 7 ก่อนเข้าพรรษาของทุกปี เป็นระยะเวลา 3 วัน คือจะเริ่มท�าบุญสวดมนต์เย็น และ ท�าบุญถวายอาหารพระท�าบุญในช่วงเช้า ในที่แห่งแรก นับเป็นวันที่ 1 สวดมนต์เย็น และท�าบุญเช้าในที่แห่งที่ 2 นับเป็นวันที่ 2 ท�าเช่นนี้จนครบ 3 วัน พอถึงเย็นของวัน ที่ 3 จะเป็นประเพณีกองข้าว โดยจะย้ายไปจัดพิธีในลานกว้างๆ หรือในทุ่ง คนถาม อีกา คนถาม อีกา

“เป็นไง น�า้นาปีนี้จะอุดมสมบูรณ์ไหม” “สมบูรณ์ดี” “แล้วปีนี้พืชผลจะอุดมสมบูรณ์ ขายได้ดีมีก�าไรไหม” “มีความอุดมสมบูรณ์ดี มีก�าไร ร�่ารวยกันทุกคน”

เมื่ออีกาเข้ามากินครบ 3 ครั้ง แล้วก็จะไม่มาอีกเลย ถือว่าอีกาน�าเอาความทุกข์ ความเจ็บไข้ไปจากชาวบ้านทุกคน เมื่อเสร็จพิธีชาวบ้านก็จะตั้งวงกินอาหารที่ตนน�า มา อาหารที่กินเหลือชาวบ้านจะไม่เอากลับบ้านจะกองทิ้งไว้ให้นก ให้กา หรือหมา กิน เพราะถือว่าพาความทุกข์โศก ความไม่ดีมาปล่อยไว้แล้วจะไม่น�ากลับบ้านอีก ที่มา ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ กองการศึกษา 91


ลักษณะทางด้านสังคม

4.4 แผนที่วัฒนธรรม ประเพณี

การท�าบุญกลางบ้าน การเล่น “อีกา” การรักษาเพื่อท�าให้ คลอดบุตรง่าย

การกวาดยาเด็ก การตีกลองยาว

การท�าขนมแต่งงาน การรักษาโรคอัมพาฤกษ์ อัมพาต

ภาพที่ 4-9 : ภาพเเสดงต�าแหน่งวัฒนธรรมเเละประเพณี ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องวัฒนธรรม ประเพณี กองการศึกษา,” กันยายน 2557.

92


4.5 ปฏิทินชุมชน 2557 มกราคม 21 -งานยุทธหัตถีของสมเด็จพระนเรศวร -พิธีถวายเครื่องราชสักการะพานพุ่ม ดอกไม้สด วันพ่อขุนรามค�าแหง

1 วันขึ้นปีใหม่ 13 วันเด็กแห่งชาติ ประจ�าปี 2557

กุมภาพันธ์ 14 วันมาฆบูชา

มีนาคม 4 -โครงการจัดประชาคมเพื่อ จัดท�าแผนชุมชน ประจ�าปี 2557 19 -โครงการอบรมสัมมนา/ทัศนศึกษา ของคณะผู้บริหาร สมาชิกสภาเทศบาล พนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจ�า และพนักงานจ้างของเทศบาล ประจ�าปี 2557 วันท้องถิ่นไทย

เมษายน -กิจกรรมก่อพระทราย 18 -โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประจ�าปีงบ ประมาณ 2557 -โครงการแข่งขันกีฬา “ดอนหัวฬ่อร่วมใจ ต้านภัย ยาเสพติด” ประจ�าปี 2557 -เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อเข้าร่วมพิธีเปิดงาน ประจ�าปีจังหวัดชลบุรี ประจ�าปี 2557 -โครงการปลูกจิตส�านึกในการช�าระภาษีและ ค่าธรรมเนียมเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ประจ�าปี 2557

6 วันจักรี 13 วันสงกรานต์/วันผู้สูงอายุ 14 วันสงกรานต์/วันครอบครัวไทย 15 วันสงกรานต์

ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องวัฒนธรรม ประเพณี กองการศึกษา,” กันยายน 2557.

93


ลักษณะทางด้านสังคม

ปฏิทินชุมชน 2557 พฤษภาคม 6 -โครงการจัดเวทีประชาคมเพื่อจัดท�า แผนพัฒนาท้องถิ่น 16 -โครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ประจ�าปี 2557

1 วันแรงงานแห่งชาติ 5 วันฉัตรมงคล 9 วันพืชมงคล 13 วันวิสาขบูชา

มิถุนายน 5 -โครงการลดโลกร้อนด้วยมือเรา ประจ�าปี 2557 16 -โครงการอบรมและส่งเสริมอาชีพ การตัดเย็บ เสื้อผ้าหรือผลิตภัณฑ์จากผ้า ประจ�าปี 2557 -โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการชุมชน และที่ปรึกษาชุมชน ประจ�าปี 2557

กรกฎาคม 11 วันอาสาฬหบูชา -ประเพณีบุญกลางบ้าน

12 วันเข้าพรรษา

17 -กิจกรรมถวายเทียนเนื่องใน วันเข้าพรรษา ประจ�าปี 2557

สิงหาคม 12 วันแม่แห่งชาติ

กันยายน

94


ปฏิทินชุมชน 2557 ตุลาคม 8 วันออกพรรษา 23 วันปิยมหาราช

พฤศจิกายน 6 วันลอยกระทง

ธันวาคม 5 วันพ่อแห่งชาติ 10 วันรัฐธรรมนูญ 31 วันสิ้นปี

2558

ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องวัฒนธรรม ประเพณี กองการศึกษา,” กันยายน 2557.

95


96


5. ลักษณะด้าน เศรษฐกิจ 5.1 การเปลี่ยนเเปลงเศรษฐกิจท้องถิ่น 5.2 ปัจจัยส�าคัญของการเปลี่ยนแปลง - นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร - ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (มอเตอร์เวย์) 5.3 เศรษฐกิจชุมชน - กลุ่มส่งเสริมอาชีพ - หน่วยธุกิจ 5.4 เศรษฐกิจสนับสนุน - โครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้าน และชุมชน 5.5 รายได้โดยเฉลี่ยของประชาชน 5.6 ข้อมูลการคลัง

97


ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

การเปลี่ยนแปลงจาก 5.1 การเปลี่ยนเเปลงเศรษฐกิจท้องถิ่น เกษตรกรรม

2548

ท�านา / เลี้ยงปลา / เลี้ยงกุ้ง ก่อตั้งนิคมอุตสาหกรรม รับจ้างทั่วไป / รับจ้างก่อสร้าง

ประชากรท้องถิ่น

องค์การบริหาร

ราคาที่ดิน 98

ราคาที่ดิน 2,000 บาท/ไร่


“เกษตรกรรม สู่ อุตสาหกรรม” พาณิชยกรรม อสังหาฯ บริการ

ภาพที่ 5-1 : ภาพเเสดงการเปลี่ยนเเปลงเศรษฐกิจท้องถิ่นจากเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรม ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องเศรษฐกิจ,” กันยายน 2557.

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ / อพาร์ทเม้นท์ / ทาวน์เฮาส์ / งานด้านบริการ / พาณิชยกรรม

ประชากรแฝงมี ประชากรแผงมีจจ�า�านวนเพิ นวนเพิ่ม่มขึขึ้น้น

ส่วนต�าบล

โครงการและแผนพัฒนา ชุมชน

ผลผลิตชุมชน กลุ่มส่งเสริมอาชีพ เศรษฐกิจเสริม โครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน

ราคาที่ดิน 20 ล้านบาท/ไร่ 99


ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

ป ั จ จั ย ส� า คั ญ ข อ ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง 5.2 ปัจจัยส�าคัญของการเปลี่ยนแปลง

ภาพที่ 5-2 : ภาพเเสดงการเปลี่ยนเเปลงเศรษฐกิจท้องถิ่นจากเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรม

- นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ากัด (มหาชน) เดิมชื่อบริษัท บางปะกง อินดัสเตรียล ปาร์ค 2 จ�ากัด (มหาชน) ได้จดทะเบียน จัดตั้งเมื่อวันท่ี่ 6 มีนาคม 2532 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ื่อด�าเนินธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ ในรูปของการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม เพื่อ ขายให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม โดยมีทุนจดทะเบียนเริ่มแรกจ�านวน 120,000,000 บาท (หนึ่งร้อยยี่สิบล้านบาท) ปัจจุบันทุน จดทะเบียน 1,067,000,000 บาท และได้จัดตั้งโครงการนิคมอตุสาหกรรมบางปะกง ปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อเป็น “นิคมอุตสาหกรรม อมตะนคร”เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2541 ซึ่งจัดอยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุนเขตท่ี่ 2 โดยเป็นโครงการที่ด�าเนินงานโดยภาคเอกชน ร่วมกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บนเนื้อที่ประมาณ 23,300 ไร่ ตั้งอยู่ กม.ที่ 57 ถนนบางนา-ตราด ในเขต อ�าเภอเมือง และอ�าเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี

100


“ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ” นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร

ภาพที่ 5-3 : ภาพเเสดงประเภทสินค้าของนิคมอุตสาหกรรม

บทบาทในตลาดและการสร้างงาน เมื่อความต้องการแรงงานเพิ่มขึ้นอยู่โดยตลอด ดังนั้นเพื่อให้คนในท้องถิ่น นักศึกษาที่ จบการศึกษาใหม่และผู้ที่มีความประสงค์จะเปลี่ยนงาน หรือหางานใหม่ท่ีเหมาะสมกับความรู้ท่ี ได้ศึกษา บริษัทจึงได้ด�าเนินการดังนี้ 1. โครงการติดตั้งปายรับสมัครงานที่ อบต./เทศบาล เพื่อน�าข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับการรับสมัครงานของบริษัทฯภายในนิคมอุตสาหกรรม ข่าวสารด้านสิ่ง แวดล้อม ฯลฯ ไปปิดประกาศให้ชุมชนได้ทราบ 2. โครงการจัดนัดพบแรงงาน 3.การมีส่วนร่วมในชุมชน บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงการสร้างชุมชนที่อยู่โดยรอบ นิคมฯ ให้มีความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจ จึงได้จัดท�า “โครงการส่งเสริม ผลิตภัณฑ์สินค้าของแต่ละต�าบล(OTOP)” ที่อยู่โดยรอบนิคมฯให้มีการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ที่ทันสมัย มีตลาดท่ีม่ันคง เพ่ื่อให้ชุมชนมีเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง

101


ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

ภาวะเศรษฐกิจชุมชนกับนิคม อุตสาหกรรมอมตะนคร เป็นช่วงที่การผลิตเเละการจ้างงาน เริ่มเพิ่มขึ้น รายได้เเละรายจ่ายของ ครั ว เรื อ นก็ เ ริ่ ม สู ง ขึ้ น ตามล� า ดั บ ทิศทางการลงทุนมีเเนวโน้มที่ดีขึ้น อย่างต่อเนื่อง เป็นจุดสูงสุดในระบบของเศรษกิจ มีประสิทธิภาพทั้งการผลิตเเละการ บริโภค เริ่มมีการขาดเเคลนเเรงงาน และวัตถุดิบ

ภาพที่ 5-4 : ภาพเเสดงภาวะเศรษฐกิจชุมชนกับนิคมอุตสาหกรรม ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องเศรษฐกิจ,” กันยายน 2557.

102


MOTORWAY(ทางหลวงหมายเลข 7) กั บ การเปลี่ ย นไปของชุ ม ชน ภาพที่ 5-5 : ภาพเเสดงการเริ่มมีทางหลวงหมายเลข 7 (Motorway) ที่มา ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

เริ่มต้นจากกรุงเทพมหานครที่ ถนนศรีนครินทร์ มีแนวทางตัด ใหม่ไปทางทิศตะวันออกไป บรรจบทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 36(เมืองพัทยาระยอง) ที่จังหวัดชลบุรี โดย แบ่งการก่อสร้างออกป็น 13 ตอน ออกแบบและก่อสร้าง เป็นทางหลวงพิเศษไม่มีทาง เชื่อม ควบคุมการเข้า-ออก

- ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7(มอเตอร์เวย์)

เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ.2537 ก่อสร้างแล้วเสร็จและเปิดการจราจรตลอด สายเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.2541 ปัจจุบันได้มีการก่อสร้างมนส่วนเพิ่มเติมจาก เดิมสิ้นสุดบนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36 เป็นสิ้นสุดที่ถนนสุขุมวิท

ข้อดี

ข้อเสีย

• พื้นที่ที่มีการพัฒนาการการขนส่งอย่างพอเพียงย่อม ท�าให้เศรษฐกิจเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว • สนับสนุนการคมนาคมเพื่อการขนส่งสินค้า และยก ระดับฐานเศรษฐกิจให้กับชุมชนได้ดียิ่งขึ้น • ท�าให้ประชาชนในพื้นที่สามารถน�าผลผลิตออกสู่ตลาด และส่งผลให้เกิดรายได้ให้กับชุมชน • การแลกเปลี่ยนผลผลิตและการสร้างผลผลิตเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดรายได้ การสร้างงาน การลงทุน

• การกระจายตัวของฐานเศรษฐกิจในชุมชนขาดความ ต่อเนื่อง ด้วยถนนตัดผ่านกลางชุมชนเมือง • การใช้งานถนนที่มาก ถนนของชุมชนที่ตัดเข้าถึงถนน ทางหลวง ย่อมต้องใช้งบประมาณในการดูแล

103


ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

5.3 เศรษฐกิจชุมชน

104


ภาพที่ 5-6 : ภาพเเสดงกลุ่มส่งเสริมอาชีพ ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องเศรษฐกิจ,” กันยายน 2557.

- กลุ่มส่งเสริมอาชีพ เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ได้สนับสนุนและ ส่งเสริมอาชีพให้กับประชาชนในเขตเทศบาล ต�าบลดอนหัวฬ่อ โดยมีการจัดอบรมอาชีพ ในด้านต่างๆให้กับประชาชน เพื่อแก้ปัญหา การว่างงาน และสร้างรายได้ในครัวเรือน ส่งเสริมอาชีพให้กับประชาชน สนับสนุนให้ เกิดผลิตภัณฑ์ชุมชนและได้ท�าการจัดตั้งกลุ่ม ส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชนในเขตเทศบาล ต�าบลดอนหัวฬ่อ ดังนี้

1. กลุ่มส่งเสริมอาชีพบ้านหนองไผ่กลางดอน หมู่ 2 2. กลุ่มส่งเสริมอาชีพบ้านหนองกงฉาก หมู่ 3 3. กลุ่มส่งเสริมอาชีพบ้านดอนบน หมู่ 4 4. กลุ่มส่งเสริมอาชีพบ้านดอนหัวฬ่อ หมู่ 5 5. กลุ่มส่งเสริมการท�าอาชีพขนมไทย หมู่ 6

105


ลักษณะด้านเศรษฐกิจ ภาพที่ 5-7 : ภาพเเสดงต�าแหน่งของหน่วยธุรกิจในเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ที่มา : ดัดเเปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.4204111,101.0465205,14z.

- หน่วยธุกิจ

ธุรกิจ ส่วนตัว 20%

หน่วยธุรกิจในเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

เกษตรก รรม 5% รับจ้าง 40%

อื่นๆ 10% ค้าขาย 25%

106

ภาพที่ 5-8 ภาพเเสดงหน่วยธุรกิจในเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องเศรษฐกิจ,” กันยายน 2557.


5.4 เศรษฐกิจสนับสนุน

S-M-L ๑

ขนาด S

๒ ๓

ขนาด M ขนาด L

S๑

ไม่เกิน ๒๐๐

๑๐๐,๐๐๐

S๒

๒๐๑-๓๕๐

๒๐๐,๐๐๐

S๓

๓๕๑-๕๐๐

๓๐๐,๐๐๐

๕๐๑-๑,๐๐๐ ๑,๐๐๑ คนขึ้นไป

๔๐๐,๐๐๐ ๕อv๐๐,๐๐๐

๓,๓๐๐,๐๐๐ บาท

ภาพที่ 5-9 : ภาพเเสดงการเปลี่ยนเเปลงเศรษฐกิจท้องถิ่นจากเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรม ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องเศรษฐกิจ,” กันยายน 2557.

- โครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน โครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านเเละ ชุมชนเป็นโครงการที่มีการจัดสรรงบประมาณ โดยตรง เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านและชุมชน ได้น�าไปแก้ปัญหาส่วนรวม เพื่อเป็นการด�ารง ชีวิตประจ�าวัน และการประกอบอาชีพที่มั่นคง และยั่งยืน โดยประชาชนเป็นผู้บริหารจัดการ เอง ร่วมคิด ร่วมท�า และถือเป็นอีกขั้นหนึ่งของ การพัฒนาประชาธิปไตย

โดยมีหลักการส�าคัญของโครงการคือ ให้ ประชาชนมีอิสระในการด�าเนินงาน ระดมความ คิด สังเคราะห์ความต้องการ ตามปัญหาของ หมู่บ้านและชุมชน บริหารจัดการ บ�าดับความ ส�าคัญของโครงการ

โครงการเทศบาลเคลื่อนที่ไปให้บริการประชาชนในชุมชนทั้ง 7 ชุมชน เพื่ อ ให้ ค ณะผู ้ บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาเทศบาล พนักงานเทศบาลและประชาชนทุกคนได้มีส่วนร่วมในการขับ เคลื่อนพัฒนาเทศบาล โดยมีศูนย์กลางคือ”ประชาชน” - สะดวกในการติดต่อขอรับบริการด้านต่างๆ - ให้ประชาชนเข้าใจบทบาทหน้าที่ขององค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น - ส่งเสริมและแนะน�าแนวทางการด�ารงชีพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการ ประกอบอาชีพต่างๆ 107


ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

รายได้ ต อ ่ เดื อ น รายได้ในการท�างานในนิคม

อุตสาหกรรมธรุกิจอสังหาริมทรัพย์

รายได้ต่อเดือน/วัน

รายได้จากอาคารให้เช่า/ห้องเช่า 108

ที่มา : ส�านักงานเทศ


5.5 รายได้โดยเฉลี่ยของประชาชน

ตารางที่ 5-1 : ภาพเเสดงความยากจนด้านรายได้ประชาชนในเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ที่มา : รายได้เฉลี่ยของประชาชนเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ,เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก http://www.nso.go.th

รายได้ต่อปี

รายได้จากผลผลิตทางการเกษตร

ภาพที่ 5-10 ภาพเเสดงรายได้ ศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องเศรษฐกิจ กองคลัง,” กันยายน 2557.

รายได้ ปี2556 จากจ�านวนประชากรทั้งจังหวัดชลบุรี รายได้/คน/ปี = 616,790 บ./คน/ปี ที่มา: ส�านักงานพาณิชย์จังหวัดชลบุรี ข้ อ มู ล ล่ า สุ ด จากส� า นั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ ร ะบุ ว ่ า “เส้นแบ่งความยากจน” ของประเทศไทยอยู่ท่ี 2,422 บาท หมายความว่า ถ้าในแต่ละเดือนเรามีรายได้ต�่ากว่า 2,422 บาท เราถึงจะถูกเรียกว่า “คนจนอย่างเป็นทางการ”

109


ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

ความยากจนนอกเขตเทศบาล

2547

ตารางที่ 5-2 : ภาพเเสดงความยากจนนอกเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อปี พ.ศ.2547 ที่มา : รายได้ของประชาชนเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อปี 2547,เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557,เข้าถึงได้จาก http://www.nso.go.th.

110

ภาพที่ 5-11 : ภาพเเสดงล�าดับความยากจนนอกเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อปี พ.ศ.2547 ที่มา : รายได้ของประชาชนเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อปี 2547,เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557,เข้าถึงได้จาก http://www.nso.go.th.


2550

ตารางที่ 5-3 : ภาพเเสดงความยากจนนอกเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อปี พ.ศ.2550 ที่มา : รายได้ของประชาชนเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อปี 2550,เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557,เข้าถึงได้จาก http://www.nso.go.th.

ภาพที่ 5-12 : ภาพเเสดง ภาพเเสดงล�าดับความยากจนนอกเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อปี พ.ศ.2550 ที่มา : รายได้ของประชาชนเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อปี 2550,เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557,เข้าถึงได้จาก http://www.nso.go.th. 111


2553

ลักษณะด้านเศรษฐกิจ

ตารางที่ 5-4 : ภาพเเสดงความยากจนนอกเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อปี พ.ศ.2553 ที่มา : รายได้ของประชาชนเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อปี 2553,เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557,เข้าถึงได้จาก http://www.nso.go.th.

ภาพที่ 5-13 : ภาพเเสดงภาพเเสดงล�าดับความยากจนนอกเขตเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อปี พ.ศ.2553 ที่มา : รายได้ของประชาชนเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อปี 2553,เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557,เข้าถึงได้จาก http://www.nso.go.th.

112


5.6 ข้อมูลการคลัง รายได้และรายจ่ายของเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

205,686.411

162,217,175

153,808,868

130,289,226

128,502,269

124,337,923

105,528,923

76,587,755

62,730,219

ข้อมูลกองคลังของเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ แสดงแผนภูมิรายรับย้อนหลังปี พ.ศ. 2547-2555

กราฟที่ 5-1 : ภาพเเสดงแผนภูมิรายรับย้อนหลังปี พ.ศ. 2547-2555 ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องเศรษฐกิจ กองคลัง,” กันยายน 2557.

ข้อมูลกองคลังของเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ แสดงแผนภูมิรายจ่ายย้อนหลังปี พ.ศ. 2547-2555

รายได้หลักของเทศบาลเพิ่มสูงขึ้นทุกๆปี ซึ่ ง อ า จ มี ผ ล ม า จ า ก ก า ร ข ย า ย ตั ว ข อ ง เศรษฐกิจในท้องถิ่นเงินจัดสรรจากรัฐ และ การเรียกเก็บภาษีอากร ที่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นเทศบาลจึงมีความสามารถที่จะ พั ฒ นาให้ ชุ ม ชนมี โ ครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ ดี สาธารณูปโภค สาธารณูปการ และคุณภาพ ชีวิตที่ดีได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นรวม ถึ ง รายจ่ า ยของเทศบาลที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ตามการ พั ฒ นาและบ� า รุ ง ท้ อ งถิ่ น ในส่ ว นต่ า งๆใน แต่ละปี งบประมาณต่อปีของเทศบาล ที่ได้มาจาก เงิ น จั ด สรรจากรั ฐ และการเรี ย กเก็ บ ภาษี อากรเป็ น จ� า นวนเงิ น ที่ ม ากพอในการใช้ พั ฒ นาชุ ม ชนให้ มี โ ครงสร้ า งพื้ น ฐานระบบ สาธารณูปโภคสาธารณูปการที่ดีแต่เนื่องจาก พื้ น ที่ ข อ ง เ ท ศ บ า ล เ ป ็ น ที่ ตั้ ง โ ร ง ง า น อุตสาหกรรมด้วยซึ่งมีประชากรแฝงมาอาศัย อยู ่ ง บประมาณที่ รั ฐ จั ด สรรให้ นั บ ฉพาะ ประชากรที่มีชื่อตามทะเบียนราษฎ์แต่ไม่ได้ นับประชากรแฝงท�าให้เทศบาลต้องรับผิด ชอบมากขึ้นทั้งในส่วนประชากรที่มีชื่อตาม ทะเบียนราษฎร์และในส่วนประชากกรแฝง เป็นจ�านวนมาก

กราฟที่ 5-2 : ภาพเเสดงแผนภูมิรายจ่ายย้อนหลังปี พ.ศ. 2547-2555 ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องเศรษฐกิจ กองคลัง,” กันยายน 2557.

113


รวม

ราย

รับท

ั้งสิน

ะสง บุวัต ถุปร ดยร ะ

ุดหน

เงิน + เ อุดหน ฉพ ุนท าะก ี่รัฐ บาล ิจ

เงิน อ

ให้โ

ุทั่วไ ป

รให ้ ัดสร าลจ รัฐบ

ได้จ ากท ุน ราย

ได้เ บ็ดเ ตล็ด ราย

ภาษ ีอาก ร

ค่าธ เเละ รรมเน ใบอ ียม นุญ ค่าป าต รับ ราย ได้จ ากท รัพส ิน

ค์

ลักษณะด้านเศรษฐกิจ กราฟที่ 5-3 : กราฟเเสดงรายรับ ประจ�าปี 2555 , 2556 เเละ 2557 ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องเศรษฐกิจ กองคลัง,” กันยายน 2557.

กราฟที่ 5-4 : กราฟเเสดงรายจ่าย ประจ�าปี 2555 , 2556 เเละ 2557 ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องเศรษฐกิจ กองคลัง,” กันยายน 2557.

รายได้หลักของรัฐบาลดอนหัวฬ่อได้มาจากการเก็บภาษีอากร ซึ่งภาษีอากรนั้นจะแยกเป็น 3 ส่วน คือภาษีโรงเรือน ภาษี ท้องที่ และภาษีปาย ส่วนภาษีหลักๆที่ได้​้มากที่สุดคือ ภาษีโรงเรือน ซึ่งได้จากการเก็บจากโรงงานอุตสาหกรรม แต่จากกราฟราย จ่ายก็มีค่าสูงเช่นเดียวกัน ซึ่งอาจจะเป็นได้ว่าเทศบาลได้มุ่งเน้นการพัฒนาทางด้านโครงสร้างพื้นฐาน จึงต้องใช้จา� นวนเงินที่มาก 114


เนื่องจากเศรษฐกิจมีการเจริญเติบโตขึ้นเรื่อยๆจากการที่นิคมอุตสาหกรรมได้มาก่อตั้งนั้น จึงท�าให้เทศบาล ต�าลบลดอนหัวฬ่อได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน โดยเปลี่ยนจากระบบเกษตรกรรมเป็นระบบบริการ ซึ่งท�าให้ อาชีพและความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่เปลี่ยนได้ด้วย จะเห็นได้จากปัจจุบันพื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่พาณิช ยกรรมและโรงงานอุตสาหกรรม และรายได้หลักของเทศบาลนั้นก็ได้มาจากการเก็บภาษีจากพื้นที่เหล่านี้เป็นหลัก

ภาพที่ 5-14 : ภาพเเสดงการเจริญเติบโตของเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องเศรษฐกิจ กองคลัง,” กันยายน 2557.

115


116


6. นโยบายเเผนเเละ โครงการที่เกี่ยวข้อง 6.1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาของเทศบาล ต�าบลดอนหัวฬ่อ 6.2 การพัฒนาชีวิตและสังคม 6.3 การพัฒนาทางด้านโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภค

117


นโยบายแผนเเละโครงการที่เกี่ยวข้อง

6.1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาของเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ วิสัยทัศน์

“มุ่งเน้นการศึกษา พัฒนาเป็นเมืองใหญ่ คู่อุตสาหกรรมก้าวไกล ใส่ใจคุณภาพชีวิต” พันธกิจ 1) พัฒนาและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของคน ให้มี ความเป็นอยู่ที่ดีอยู่คู่กับสังคมอุตสาหกรรมประกอบด้วย ด้านการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมด้านสาธารณสุขและ การกีฬา ด้านสวัสดิการสังคม ด้านการส่งเสริมอาชีพและ พัฒนารายได้ 2) ก่อสร้างและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้ได้ มาตราฐาน และครอบคลุมพื่นที่ประกอบด้วย ด้านการคมา นาคมและการจราจร ด้านสาธารณูปโภค ด้านบ�ารุงรักษา สถานที่สาธารณะ ด้านอาคารสถานที่ 118

3) พัฒนาและส่งเสริมการบริหารที่ดีทั้งภายใน และภายนอกองค์กร อาทิเช่น สนับสนุนงบประมาณให้ แก่หน่วยงานของรัฐหรือเอกชนที่ท�าประโยชน์ให้แก่ ประชาชนและสั ง คมด้ า นบริ ห ารงานบุ ค คลด้ า น เทคโนโลยี ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน 4) เร่งรณรงค์ให้ประชาชนมีจิตส�านึกในการ อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มเพื่ อ ให้ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มอยู ่ คู ่ กั บ ท้ อ งถิ่ น อย่างยั่งยืน รวมทั้งการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวท้องถิ่น


6.2 การพัฒนาชีวิตและสังคม

1. ด้านการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม -โครงการวันเด็กแห่งชาติ -โครงการพัฒนาห้องสมุด 2. ด้านสาธารณสุข และการกีฬา -โครงการโภชนาการ -โครงการอนามัยแม่และเด็ก 3. ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน -โครงการปองกันและรักษาความปลอดภัยในท้องถิ่น -โครงการติดตั้งกล้องวงจรปิด หมู่ที่1,หมู่ที่6 4. ด้านสวัสดิการสังคม -โครงการอบรมอาสาสมัครดูแลผู้พิการในชุมชน -โครงการสงเคราะห์ผู้มีรายได้น้อยและไร้ที่พึ่ง 5. ด้านส่งเสริมอาชีพ และพัฒนารายได้ -โครงการให้ประชาชนเก็บออมเงิน -โครงการจัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพ

ภาพที่ 6-1 : ภาพเเสดงต�าแหน่งโครงการการพัฒนาชีวิตเเละสังคม ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องนโยบายเเละแผนของเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ,” กันยายน 2557. 119


นโยบายแผนเเละโครงการที่เกี่ยวข้อง

6.3 การพัฒนาทางด้านโครงสร้างพื้นฐานระบบสาธารณูปโภค 1.

2.

3.

ภาพที่ 6-2 : ภาพเเสดงต�าแหน่งโครงการการพัฒนาทางด้านโครงสร้างพื้นฐานระบบสาธารณูปโภค ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องนโยบายเเละแผนของเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ,” กันยายน 2557.

120


การบริหารที่ดี

ภาพที่ 6-3 ภาพเเสดงต�าแหน่งการพัฒนาด้านการบริหาร ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องนโยบายเเละแผนของเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ,” กันยายน 2557.

การท่องเที่ยวและอนุรักษ์ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม

ภาพที่ 6-4 : ภาพเเสดงต�าแหน่งการพัฒนาการท่องเที่ยวเเละอนุรักษ์ทรัพยากรสิ่งเเวดล้อม ที่มา : ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องนโยบายเเละแผนของเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ,” กันยายน 2557. 121


ผลวิเคราะ SWOT เเละข้อเสนอเเนะอนาคตดอนหัวฬ่อ

122


7. ผลวิเคราะห์ SWOT เเละ ข้อเสนอเเนะอนาคตดอนหัวฬ่อ 7.1 ผลการวิเคราะห์ 7.2 ข้อเสนอเเนะอนาคตดอนหัวฬ่อ

123


ผลวิเคราะ SWOT เเละข้อเสนอเเนะอนาคตดอนหัวฬ่อ

7.1 ผลการวิเคราะห์ SWOT วิเคราะห์ SWOT จุดเเข็ง

ปัจจัย ภายใน

- มีแหล่งงานอุตสาหกรรมในชุมชน - มีโครงข่ายการคมนาคม สะดวก รวดเร็ว - มีโครงการที่เกี่ยวข้องทางด้านอสังหาริมทรัพย์ - มีประชากรในวัย 21-30 ปี ที่เป็นวัยเเรงงาน จ�านวนมาก

โอกาส - เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงอุตสาหกรรม

จุดอ่อน - โครงสร้างพื้นฐานไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร - เศรษฐกิจของชุมชน พึ่งพาอุตสาหกรรมเพียง ทางเดียว - การจัดการแผนพัฒนาของชุมชนยังขาดการ วางแผนที่เป็นภาพรวมใหญ่ - ขาดการจัดการด้านประชากรแฝง - ขาดความสนใจที่จะสืบทอดประเพณีวัฒนธรรม

ภัยคุกคาม - น�้าท่วม ที่มีสาเหตุจากลักษณะทางภูมิศาสตร์

ปัจจัย - ระบบรถไฟทางคู่ในเส้นทางสายตะวันออก - มลพิษที่มาจากอุตสาหกรรม ภายนอก - การลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

ภายใน ภายนอก

โอกาส

จุดเเข็ง

จุดอ่อน

- มีแนวโน้มการลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์มากขึ้น - การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการวางแผนที่ - เป็นแหล่งการเรียนรู้เชิงอุตสาหกรรม มองระยะยาวโดยมีภาพรวมใหญ่เป็นสิ่งส�าคัญ - เพิ่มศักยภาพทางด้านการผลิตของอุตสาหกรรม เพื่อรองรับการพัฒนาภายนอกและระบบภายใน ด้วยการขนส่งรถไฟทางคู่ ของชุมชน - มีก�าลังประชากรในการขับเคลื่อนระบบ อุตสาหกรรม จุดเเข็ง+โอกาส

จุดอ่อน+โอกาส

- มีการร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ในการหลีกเลี่ยงปัญหาน�า้ ท่วมและมลพิษ

- ปองกันน�้าท่วมที่เกิดจากลัษณะของภูมิประเทศ และ ปองกันมบพิษ จากอุตสาหกรรม

ภัยคุกคาม จุดเเข็ง+ถัยคุกคาม

124

จุดอ่อน+ภัยคุดคาม


ผลการวิเคราะห์ SWOT สู่พื้นที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ

125


ผลวิเคราะ SWOT เเละข้อเสนอเเนะอนาคตดอนหัวฬ่อ

อนาคต ดอน หัว ฬ่อ

126


7.2 ข้อเสนอเเนะอนาคตดอนหัวฬ่อ - มีการส่งเสริมอุตสาหกรรมให้กลายเป็นเเหล่งการเรียนรู้เชิง อุตสาหกรรม - ในขบวนการพัฒนาต้องมีการจัดการวางแผนในระยะยาว เพื่อครอบคลุมแผนในการพัฒนา - ควรส่งเสริมด้านประเพณีเเละวัตนธรรมให้มีการเก็บข้อมูล หรือ มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริม - มีการหลีกเลี่ยงปัญหาน�า้ ท่วมโดยการให้ความส�าคัญกับการ มีส่วนร่วมของภาคเอกชน ภาครัฐเเละภาคประชาชน เพื่อให้ สามารถรับมือกับปัญหาน�า้ ท่วมได้ - การลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์เพิ่มมากขึ้นรวดเร็วต้องมีแผน เเม่บทการพัฒนามารองรับเพื่อให้เกิดเเนวทางการพัฒนาที่ เหมาะสมกับชุมชนอุตสาหกรรม - มีศักยภาพเรื่องของโครงข่ายการคมนาคมที่สะดวกในการ เข้าถึงพื้นที่ได้ง่ายท�าให้ชุมชนต้องมีการจัดการระเบียบเรื่อง ของการคมนาคมภายในชุมชนเพื่อรองรับการคมนาคม ภายนอก

127


บรรณานุกรม กรมแผนที่ทหาร,แผนที่บริเวณเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, ม.ป.ป. กรมแผนที่ทหาร,แผนที่บริเวณเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, ปี 2518, ปี 2545, ปี 2557. กรมโยธาธิการและผังเมือง, โครงการจัดท�ามาตรฐานด้านผังเมืองของกรุงเทพมหานคร มาตรฐาน ที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมของการเคหะแห่งชาติ รายงานฉบับสมบูรณ์, ม.ป.ท. กรมโยธาธิการและผังเมือง, โครงการจัดท�ามาตรฐานด้านผังเมืองของกรุงเทพมหานคร เกณฑ์และมาตรฐานผังเมือง พ.ศ. 2549 รายงานฉบับสมบูรณ์, ม.ป.ท. บทสัมภาษณ์ นาย สยาม ไตรรักษ์, อดีตก�านัน เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, กันยายน 2557. ส�านักงานเทศบาลดอนหัวฬ่อ, “ประวัติความเป็นมา,”กันยายน 2557. ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องศาสนา กองการศึกษา,” กันยายน 2557. ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องโรงเรียน กองการศึกษา,” กันยายน 2557. ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องประชากร,” กันยายน 2557. ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องวัฒนธรรม ประเพณี กองการศึกษา,” กันยายน 2557. ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องเศรษฐกิจ กองคลัง,” กันยายน 2557. ส�านักงานเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, “ข้อมูลรายละเอียดเรื่องนโยบายเเละแผนของ เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ,” กันยายน 2557. การปกครองส่วนท้องถิ่นเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก http://dhr.go.th/public/person/data/chart/structure_id/21/menu/32. การใช้ประโยชน์ที่ดิน, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก GIS ออนไลน์จังหวัดชลบุรี ข้อมูล ล่าสุด 13/12/2553. ดัดเเปลงจากแผนที่เทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ, เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก https://www.google.co.th/maps/@13.4204111,101.0465205,14z ระยะทางเข้าถึงเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ,เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก http://www.amata.com. รายได้เฉลี่ยของประชาชนเทศบาลต�าบลดอนหัวฬ่อ,เข้าถึงเมื่อ กันยายน 2557, เข้าถึงได้จาก http://www.nso.go.th 128


รายชื่อผู้ร่วมจัดท�า ฐานข้อมูลชุมชนเทศบาลต�าบลดอนหัว นายสุพีรณัฐ ถาแก้ว นางสาวชุติมา ศรไชย นางสาววันวิสาข์ คุณรักษ์ นายศศิน ถวิลประวัติ นางสาววีรวรรณ ใยยินดี นายวงศกร จันทวิเศษ นายปริญญา กลิ่นเมฆ นายกฤติน อยู่พงษ์พิทักษ์ นายภาณุเดช รอบคิด นางสาวไลนา ดุหล�ายะแม นางสาวนิตยา สวัสดี

129


130


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.