[สรุป]รายการพิเศษ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ ศ 2558

Page 1

รายงานพิเศษ : รายการพิเศษ นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ออกอากาศ วันที่ 2 กันยายน 2557 เวลา 16.00 - 17.00 น. สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์

รายการพิเศษ

หนา 1

“นโยบาย”

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2558 นายปรเมษฐ์ โมลี ผู้ อํานวยการ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา นางเบญญา ภา คงรอด ผู้ อํานวยการโรงเรี ย นสตรี วิ ท ย า น า ย เ ชิ ด ศั ก ดิ์ ศุ ภ โ ส ภ ณ ผู้ อํ า นวยการโรงเรี ย นสวนกุ ห ลาบ วิทยาลัย และนักเรียน สังกัดสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ร่วม รายการถ่ายทอดสด รายการพิเศษ

นโยบายสํ า นั ก งานคณะกรรมการ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ปี ง บประมาณ พ . ศ . 2 5 5 8 จั ด โ ด ย สํ า นั ก ง า น คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เมื่ อ วั น ที่ 2 กันยายน 2557 เวลา 16.00 - 17.00 น. ส ถ า นี โ ท ร ทั ศ น์ โ ม เ ดิ ร์ น ไ น น์ โดยมี น ายสุ รั ต น์ ศิล ปอนั น ต์ ประธาน คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน น า ย ก ม ล ร อ ด ค ล้ า ย เ ล ข า ธิ ก า ร คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ร่วมเสวนา ผู้แทนผู้อํานวยการเขตพื้นที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า แ ล ะ มั ธ ยมศึ ก ษา ร่ ว มตอบข้ อ ซั ก ถามจาก

ผู้ชมทางบ้านทางโทรศัพท์ 10 ท่าน ครู และนั ก เรี ย นสั ง กั ด ประถมศึ ก ษา และ มั ธ ยมศึ ก ษา เข้ า ร่ ว มรั บ ฟั ง การเสวนา ปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยกําลัง จะก้าวเข้าสู่ประชาชมอาเซียน และมีกฎ บัตรร่ ว มกั น ในการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นา คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ข องประชากรใน ประเทศ ด้วยการให้ประชากรได้เข้าถึง โอกาสต่ า งๆอย่ า งเท่ า เที ย มกั น และ รากฐานที่สําคัญในการพัฒนาประเทศก็ คือ การศึกษา รวมไปถึงการส่งเสริมการ ฝึกอบรม การพัฒนาขีดความสามารถใน การแข่งขัน การเข้ าถึงเทคโนโลยีแ ละ น วั ต ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ร ว ม ทั้ ง ก า ร ใ ช้ ภาษาอังกฤษ เนื่องจากเป็นภาษากลาง ในการสื่อการกันระหว่างภูมิภาค เพื่ อ การพั ฒ นาสั ง คมและเศรษฐกิ จ ของ ประเทศ กระทรวงศึกษาธิการเล็งเห็นถึง ความสํ า คั ญ ในการพั ฒ นาศั ก ยภาพ เด็ก ไทยให้ มี ความรู้ควบคู่กับคุ ณธรรม เตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคม

อาเซียน โดยสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดําเนินการกํากับ ดูแล ส่งเสริม สนับสนุน การศึกษาขั้น พื้ น ฐาน ตั้ ง แต่ ร ะดั บ ประถมศึ ก ษา จนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ดูแล เด็ ก ในวั ย เรี ย นทุ ก ประเภท เช่ น เด็ ก ทั่วไป เด็กผู้พิการทุพพลภาพ เด็กด้อย โอกาส และเด็กที่มีความสามารถพิเศษ ให้เ ข้า ถึ ง การศึ ก ษาอย่ างเท่ า เทีย มกั น “สพฐ. ใส่ ใ จ มุ่ ง มั่ น พั ฒ นา การศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย ให้ มี คุ ณ ภาพและมี ม าตรฐานระดั บ สากลบนพื้นฐานของความเป็นไทย” ยกระดับการศึกษาในทุกมิติที่ส ะท้อน จากผลการประเมิ นคุณภาพผู้เรียนใน ระดับชาติและระดับนานาชาติ พบว่า คณะแทนในการทดสอบกลางใน 5 วิชา หลัก(O-NET) ป.6 ,ม.3 และม.6 ไม่ถึง ร้ อ ยละ 50 คุ ณ ภาพการศึ ก ษาเมื่ อ เปรียบเทียบกันนานาชาติ เช่น ในการ สอบ PISA และ TIMSS ที่แม้ค ะแนน จะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องแต่ก็ ยั ง ไม่ ถึ ง ระดั บ ประเทศที่ พัฒนาแล้ว อย่างไรก็ตามในการ ด้านโอกาสทางการศึกษา แม้เด็กไทยส่วนใหญ่ได้รับ โอกาสทางกาศึกษา โดยมี อัตราเข้าเรียนค้อนข้างสูง และอัตราการออกกลางคัน ลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่ยังมีบางส่วนใน กลุ่มผู้ด้อยโอกาสที่มีรายได้ต่ําสุด ยังไม่ สามารถเข้าถึงบริการทางการศึกษาได้


รายงานพิเศษ : รายการพิเศษ นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ออกอากาศ วันที่ 2 กันยายน 2557 เวลา 16.00 - 17.00 น. สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์

และยั ง มี ก ลุ่ ม เด็ ก ที่ มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะไม่ ประสบความสํ า เร็ จ ในการเรี ย นและ เสี่ยงต่อการออกกลางคัน เมื่อพิจารณา ด้ า น ก า ร บ ริ ห า ร จั ดการ ใ น ค ว า ม พยายามการกระจายอํ า นาจของการ บริ ห ารจั ด การสู่ สํ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ 3 การศึ ก ษาและสถานศึ ก ษา เพิ่ ม ความ สะดวกคล่องตัว และเพื่อการมีส่วนร่วม ในการบริหารจัดการพบว่ายังทําได้เป็น ส่ว นน้ อ ย ขณะที่ ใ นเวที ป ระชาคมโลก โดยเฉพาะความสามารถของนั ก เรี ย น ไ ท ย ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น กั บ น า น า ช า ติ การศึ ก ษาไทยยั ง คงไม่ ส ามารถเตรี ย ม ความพร้อมให้กับนักเรียนให้มีศักยภาพ ใ น ก า ร แ ข่ ง ขั น ไ ด้ อ ย่ า ง เ ต็ ม ที่ เพื่อให้การศึกษาขั้นพื้นฐานของ ประเทศไทยมีคุณภาพมาตรฐานระดับ สากลบนพื้นฐานของความเป็นไทย ให้ นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพสูงสุด ในตน มี ค วามรู้ แ ละทั ก ษะที่ แ ข็ ง แกร่ ง และเหมาะสม เป็นพื้นฐานสําคัญในการ เรียนรู้ระดับสูงขึ้นไปและการดํารงชีวิต ในอนาคต

สํ า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษา ขั้ น พื้ น ฐานจึ ง กํ า หนดนโยบายของ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้ น ฐาน ปี ง บประมาณ พ.ศ. 2558 ดังนี้ 1. เร่งรัดปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มี การปรับปรุง เปลี่ยนแปลงระบบ และ กระบวนการ การจัดการการศึกษาขั้น พื้ น ฐานทั้ ง ระบบให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ทันสมัย ทันเหตุการณ์ ทันโลก ให้สําเร็จ อย่างเป็นรูปธรรม 2. เร่ ง พั ฒ นาความแข็ ง แกร่ ง ทาง การศึ ก ษา ให้ ผู้ เ รี ย นทุ ก ระดั บ ทุ ก ประเภท รวมถึ ง เด็ ก พิ ก ารและด้ อ ย โอกาส เพื่ อ ให้ มี ค วามพร้ อ มเข้ า สู่ การศึ ก ษาระดั บ สู ง และโลกของการ ทํางาน

หนา 2

3. เร่ ง ปรั บ ระบบสนั บ สนุ น การจั ด การศึ ก ษาที่ ส อดคล้ อ งไปในทิ ศ ทาง เดี ย วกั น มี ก ารประสานสั ม พั น ธ์ กั บ เนื้ อ หา ทั ก ษะและกระบวนการเรี ย น การสอน 4. ยกระดั บ ความแข็ ง แกร่ ง มาตรฐาน วิชาชีพครูและผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อ สร้างความมั่นใจและไว้วางใจ ส่งเสริม ให้เกิดความรับผิดชอบที่เกิดกับนักเรียน และสอดคล้องกับวิชาชีพ 5. เร่งสร้างระบบให้สํานักงานเขตพื้นที่ ก า ร ศึ ก ษ า เ ป็ น อ ง ค์ ก ร คุ ณ ภ า พ ที่ แ ข็ ง แ ก ร่ ง แ ล ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ รั บ ผิ ด ช อ บ ก า ร จั ด การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานที่ มี คุ ณ ภาพและ มาตรฐานได้เป็นอย่างดี 6. เร่งรัดปรับปรุงโรงเรียนให้เป็นองค์กร ที่มีความเข้มแข็ง มีแรงบันดาลใจ และมี วิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ชัดเจน 7. สร้ า งระบบการควบคุ ม การจั ด การ การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาที่มีข้อมูล สารสนเทศและข่ า วสาร เกี่ ย วกั บ กระบวนการเรียนการสอนอย่างพร้อม บริบูรณ์ และมีนโยบายการประเมินผล อย่างเป็นรูปธรรม 8. สร้ า งวั ฒ นธรรมใหม่ ใ นการทํ า งาน เร่ ง รั ด การกระจายอํ า นาจและความ รับผิดชอบ ปรับปรุงระบบของโรงเรียน ให้ เ ป็ น แบบร่ ว มคิ ด ร่ ว มทํ า การมี ส่ ว น ร่ ว มและการประสานงานสามารถใช้


รายงานพิเศษ : รายการพิเศษ นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ออกอากาศ วันที่ 2 กันยายน 2557 เวลา 16.00 - 17.00 น. สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์

เครือข่ายการพัฒนาการศึกษา 9. เร่งปรับระบบการบริหารงานบุคคล มุ่งเน้นความถูกต้อง เหมาะสมและเป็น ธรรม ให้ เ ป็ น ปั จ จุ บั น หนุ น ให้ ก าร เสริ ม สร้ า งคุ ณ ภาพและประสิ ท ธิ ภ าพ ตามภาระหน้าที่ 10. มุ่งสร้างมลเมืองดีที่ตื่นตัว และอยู่ ร่ ว มกั บ ผู้ อื่ น ในสั ง คมพหุ วั ฒ นธรรมได้ และทํ า ให้ ก ารศึ ก ษานํ า การแก้ ปั ญ หา สําคัญของสังคม 11. ทุ่ ม เทมาตรการเพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพสถานศึ ก ษาที่ พั ฒ นาล้ า หลั ง และโรงเรียนขนาดเล็กที่ไมได้คุณภาพ เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ผู้ เ รี ย นต้ อ งเสี ย โอกาสได้ รั บ การศึกษาที่มีคุณภาพ

เ ป้ า ห ม า ย ใ น ก า ร ป ฏิ รู ป ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง สํ า นั ก ง า น คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีดังนี้ 1. มุ่ ง มั่ น พั ฒ นานั ก เรี ย นทุ ก ระดั บ ทุ ก ประเภท ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ ทั่วถึงเสมอภาค และมีคุณภาพ 2. ครูแ ละบุค ลากรทางการศึ ก ษาต้ อ ง ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้มีความ เป็นมืออาชีพ 3. พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมุ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ เน้ น กระจายอํานาจและการมีส่วนร่วม 4. การศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย

หนา 3

ต้องมีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล ปั จ จุ บั น ให้ เ ก่ ง ได้ ครู ป ระจํ า ชั้ น ครู ที่ ปรึ ก ษา และครู ผู้ ส อนจะต้ อ งดู แ ล บนพื้นฐานของความเป็นไทย นั ก เรี ย นเป็ น รายบุ ค คล จะมองเห็ น ในโอกาสนี้ มี ค รู แ ละนั ก เรี ย น ทัก ษะและความสามารถของนั ก เรี ย น โรงเรี ย นเตรี ย มอุ ด มศึ ก ษา สั ง กั ด เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงออกถึง สํ า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ความถนั ด ของนั ก เรี ย นในแต่ ล ะด้ า น มัธยมศึกษา เขต 1 ซึ่งนักเรียน ได้รับ ดังเช่นนางสาวปุญญิศา แสงปรีชารัตน์ รางวั ล เหรี ย ญทองในการแข่ ง ขั น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ผู้ได้รับรางวัล ภา ษ า เ ยอร มั น โอ ลิ มปิ กร ะ ห ว่ า ง เหรียญทองในการแข่งขันภาษาเยอรมัน ป ร ะ เ ท ศ ( Internationale โ อ ลิ ม ปิ ก ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ Deutscholympiade VIII) สํ า ห รั บ (Internationale Deutscholympiade นั ก เรี ย นที่ เ รี ย นภาษาเยอรมั น เป็ น VIII) สํ า ห รั บ นั ก เ รี ย น ที่ เ รี ย น ภาษาต่ า งประเทศ ในรุ่ น A2 เป็ น ภาษาเยอรมันเป็นภาษาต่างประเทศ ใน อั น ดั บ 1 ของโลก ณ เมื อ งแฟรงก์ รุ่น A2 ณ เมืองแฟรงก์เฟิ ร์ ต ประเทศ เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี เนื้อเร็วนี้ ได้มา เยอรมนี และนางสาวธมนวรรณ เสตะปุ ให้ แ นวคิ ด และประสบการณ์ ใ นการ ระ โรงเรี ยนเตรียมอุดมศึกษา เพื่อนผู้ จั ด การเรี ย นการสอน เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ร่ ว มแข่ ง ขั น ได้ รั บ รางวั ล เกี ย รติ คุ ณ ประกาศในการแข่งขัน ในนอกจากนั้น แง่ มุ ม ของครู ป ระจํ า ชั้ น และครู ผู้ ส อน ควรพัฒนาครูด้วย โดยครูจะต้องเก่งใน วิ ช าที่ ส อน เข้ า ใจเนื้ อ หาโดยละเอี ย ด และมีความทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลง ของโลก และสื่อสารภาษาต่างประเทศ ได้ ที่สําคัญที่สุดสําหรับครูและนักเรียน นักเรียนให้มีความเป็นเลิศ ในรายการ ต้องเก่งและดี นักเรียนมีคุณลักษณะอัน พึ ง ประสงค์ เป็ น คนดี และกลั บ มา ด้วย อาจารย์ชัชชัย จิตต์ชุ่ม อาจารย์ พั ฒ นาประเทศได้ ใ นอนาคต ส่ ว นครู หมวดวิ ช าภาษาต่ า งประเทศที่ ส อง จะต้องมีจริยธรรม ศีล ธรรม และสอน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเป็นอาจารย์ นักเรียนบนพื้นฐานความดี ผู้ ดู แ ล กล่ า วว่ า การพั ฒ นาเด็ ก ในยุ ค

นางสาวปุ ญ ญิ ศ า แสงปรี ช ารั ต น์ โรงเรี ย นเตรี ย มอุ ด มศึ ก ษา ผู้ ไ ด้ รั บ รางวั ล เหรี ย ญทองในการแข่ ง ขั น ภา ษ า เ ยอร มั น โอ ลิ มปิ กร ะ ห ว่ า ง ประเทศ อันดับ 1 กล่าวถึงการเตรียม-


รายงานพิเศษ : รายการพิเศษ นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ออกอากาศ วันที่ 2 กันยายน 2557 เวลา 16.00 - 17.00 น. สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์

ตัวว่า มีการปรับมุมมองการเรียน โดยมุ่งที่จะเรียนรู้เนื้อหา และทํา กิจกรรมทั้งในและนอกโรงเรียนเพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรู้ทักษะ ชีวิตร่วมกันผู้อื่นด้วย ด้ า นนางสาวธมนวรรณ เสตะปุ ร ะ โรงเรี ย นเตรี ย มอุดมศึกษา เพื่อนผู้ร่วมแข่งขัน กล่าวถึงความได้เปรียบของการมี ความสามารถสื่อสารได้หลายภาษาว่า สามารถนําไปใช้ประกอบ อาชีพในอนาคต เป็นการเปิด โลกทั ศ น์ ใ ห้ ต นเอง สํ า หรั บ การเรี ย นภาษาเยอรมั น ให้ ประสบความสําเร็จจะต้องใช้ ความตั้งใจ มุ่งมั่นมีใจรัก โดย ในชีวิตประจําวันได้หาความรู้

หนา 4

ด้านภาษานอกห้องเรียน ผ่านการชมภาพยนตร์และสื่อ ออนไลน์ ภ าษาต่ า งประเทศทั้ ง ภาษาเยอะมั น และ ภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ ไ ด้รั บโอกาสจากครอบครั ว และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาให้การสนับสนุนมาโดย ตลอด หากประเทศไทยในทุ ก ภาคส่ ว นในสั ง คมไทย หั น มาให้ ค วามสํ า คั ญ เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด การศึกษา ร่วมมือกันพัฒนาอย่างจริงจัง จะส่งผลให้ ความสามารถของประเทศไทย เมื่อเทียบกับประเทศ อื่ น ๆในโลก คุ ณ ภาพการศึ ก ษาไทยของเราจะก้ า วสู่ มาตรฐานสากล

ที่มา : รายการพิเศษ นโยบายสํานักงานคณะกรรมการ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ปี ง บประมาณ พ.ศ. 2558 ออกอากาศสถานี โ ทรทั ศ น์ โ มเดิ ร์ น ไนน์ เมื่ อ วั น ที่ 2 กันยายน 2557 เวลา 16.00 - 17.00 น.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.