ซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์แวร์ (Software)
1
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพืน้ ฐาน
1. ความหมายของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึงชุดคาสังหรื ่ อโปรแกรมทีใ่ ช้สงงานให้ ั่ คอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จงึ หมายถึงลาดับขัน้ ตอนการทางานที่เขียน ขึ้ น ด้ ว ยค าสั ง่ ของคอ มพิ ว เตอร์ ค าสั ง่ เหล่ า นี้ เรีย งกั น เป็ นโปรแกรม คอมพิวเตอร์ จากทีท่ ราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทางานตามคาสัง่ การทางาน พืน้ ฐานเป็ นเพียงการกระทากับข้อมูลทีเ่ ป็ นตัวเลขฐานสอง ซึง่ ใช้แทนข้อมูลที่ เป็ นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็ นเสียงพูดก็ได้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ใี ช้สงงานคอมพิ ั่ วเตอร์จงึ เป็ นซอฟต์แวร์ เพราะเป็ นลาดับขัน้ ตอนการทางาน ของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทางานแตกต่างกันได้มากมายด้วยซอฟต์แวร์ทแ่ี ตกต่างกัน ซอฟต์แวร์จงึ หมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภททีท่ าให้คอมพิวเตอร์ทางานได้
2. ความจาเป็ นของการใช้ซอฟต์แวร์ การที่เ ราเห็ น คอมพิ ว เตอร์ท างานให้ กับ เราได้ ม ากมาย เพราะว่ า มีผู้ พ ัฒ นาโปรแกรม คอมพิวเตอร์มาให้เราสังงานคอมพิ ่ วเตอร์ ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ทาบัญชีทย่ี ุ่งยากซับซ้อน บริษทั ขายตั ๋วใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบการจองตั ๋ว คอมพิวเตอร์ช่วยในเรื่องกิจการงานธนาคารทีม่ ขี อ้ มูล ต่าง ๆ มากมาย คอมพิวเตอร์ช่วยงานพิมพ์เอกสารให้สวยงาม เป็ นต้น การทีค่ อมพิวเตอร์ดาเนินการ ให้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ม ากมายมหาศาลจะอยู่ ท่ี ซ อฟต์ แ วร์ ซอฟต์ แ วร์จ ึง เป็ นส่ ว นส าคัญ ของระบบ คอมพิวเตอร์ หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทางานได้ ซอฟต์แวร์จงึ เป็ นสิง่ ที่จาเป็ น และมีความสาคัญมาก และเป็ นส่วนประกอบหนึ่งทีท่ าให้ระบบสารสนเทศเป็ นไปได้ตามทีต่ อ้ งการ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์จงึ เป็ นส่วนสาคัญทีค่ วบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ ให้ดาเนินการตามแนวความคิดที่ได้กาหนดไว้ล่วงหน้ าแล้ว คอมพิวเตอร์ต้องทางานตามโปรแกรม เท่านัน้ ไม่สามารถทางานทีน่ อกเหนือจากทีก่ าหนดไว้ในโปรแกรม
3. ภาษาคอมพิ วเตอร์ (Programming Languages) เมื่อมนุ ษ ย์ต้องการใช้ค อมพิวเตอร์ช่วยในการทางาน มนุ ษ ย์จะต้องบอกขัน้ ตอนวิธ ีการให้ คอมพิว เตอร์ท ราบ การที่บ อกสิ่งที่ม นุ ษ ย์เข้าใจให้ค อมพิว เตอร์รบั รู้ และท างานได้อ ย่างถู ก ต้อ ง จาเป็ นต้องมีส่อื กลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวติ ประจาวันแล้ว เรามีภาษาทีใ่ ช้ในการติดต่อซึง่ กันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุ ษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รบั รูแ้ ละปฏิบตั ติ าม จะต้องมี สื่อกลางสาหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รบั รู้ เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิ วเตอร์
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
สาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
2 ซอฟต์แวร์ (Software) ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย 3.1 ภาษาเครื่อง (Machine Languages) เนื่ อ งจากคอมพิว เตอร์ท างานด้ว ยสัญ ญาณทางไฟฟ้ า ใช้แ ทนด้ว ยตัว เลข 0 และ 1 ได้ ผู้อ อกแบบคอมพิว เตอร์ใช้ต ัว เลข 0 และ 1 นี้ เ ป็ น รหัส แทนค าสัง่ ในการสัง่ งานคอมพิว เตอร์ซ่ึง คอมพิว เตอร์ส ามารถเข้า ใจได้ เราเรีย กเลขฐานสองที่ป ระกอบกัน เป็ นชุ ด ค าสัง่ และใช้ ส ัง่ งาน คอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครือ่ ง การใช้ภาษาเครื่องถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทนั ที แต่มนุ ษย์จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะ เข้าใจและจดจาภาษาเครือ่ งได้ยาก ดังนัน้ จึงมีผสู้ ร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นทีเ่ ป็ นตัวอักษร 3.2 ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Languages) เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยาก ในการเขียนโปรแกรมเพื่อ ติดต่ อกับคอมพิวเตอร์ แต่ อย่างไรก็ต าม ภาษาแอสเซมบลีก็ยงั มีความ ใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มาก โดยใช้ตวั แปลภาษาทีเ่ รียกว่าแอสเซมเบลอร์ (Assembler) เพื่อแปลชุด ภาษาแอสเซมบลีให้เป็ นภาษาเครือ่ ง 3.3 ภาษาระดับสูง (High-Level Languages) เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริม่ มีการใช้ชุดคาสังที ่ เ่ รียกว่า Statements ทีม่ ลี กั ษณะเป็ น ประโยคภาษาอังกฤษ ทาให้ผเู้ ขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคาสังเพื ่ ่อสังให้ ่ คอมพิวเตอร์ทางานง่าย ขึน้ ผู้คนทัวไปสามารถเรี ่ ยนรูแ้ ละเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึน้ เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษา มนุ ษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็ นภาษาเครื่องมีอยู่ 2 ชนิด คือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และ อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) คอมไพเลอร์ จะทาการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็ นภาษาระดับสูงทัง้ โปรแกรมให้เป็ น ภาษาเครือ่ งก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทางานตามภาษาเครือ่ งนัน้ อินเทอร์พรีเตอร์ จะทาการแปลทีละคาสัง่ แล้วให้คอมพิวเตอร์ทาตามคาสังนั ่ น้ เมื่อ ทาเสร็จแล้วจึงแปลคาสังล ่ าดับต่อไป ดังนัน้ ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กบั อินเทอร์พรีเตอร์จงึ อยู่ท่กี ารแปลทัง้ โปรแกรมหรือแปลทีละ คาสัง่ สาหรับตัวอย่างภาษาระดับสูง ได้แก่ ภาษาโคบอล(COBOL) ฟอร์แทรน (FORTRAN) เบสิก (Basic) ปาสคาล (Pascal) และภาษาซี(C) เป็ นต้น 3.4 ภาษายุคที่ 4 (Fourth-Generation Languages: 4GL) เนื่องจากภาษาระดับสูงนัน้ เป็ นภาษาทีต่ ้องกาหนดขัน้ ตอนการทางาน(Procedural) จึงทาให้ ในบางครัง้ จาเป็ นต้องเขียนโค้ดโปรแกรมที่ยาวยืดเยือ้ กว่าจะได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ดังนัน้ จึงเกิด ภาษายุคที่ 4 ขึน้ ซึ่งเป็ นภาษาที่ไม่ต้องกาหนดขัน้ ตอนการทางาน (Non-Procedural) เพียงแต่สงว่ ั่ า ต้องการข้อมูลอะไร ก็สามารถแสดงผลลัพธ์ได้ตามต้องการ ตัวอย่างภาษายุคที่ 4 เช่น ชุดคาสังภาษา ่ SQL (Structured Query Language)
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
สาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ซอฟต์แวร์ (Software)
3
3.5 ภาษาเชิ งวัตถุ (Object-Oriented Languages) เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 5 ที่เรียกว่า การเขียนโปรแกรมเชิงวัต ถุ (Object-Oriented Programming: OOP) ซึง่ จะมองทุกสิง่ เป็ นวัตถุ (Object) โดยวัตถุจะประกอบด้วยข้อมูล (Data) และ วิธกี าร (Method) และจะมีคลาส (Class) เป็ นตัวกาหนดคุณสมบัตขิ องวัตถุ รวมทัง้ ความสามารถใน การถ่ายทอดคุณสมบัติ (Inheritance) การ Encapsulation และการนากลับมาใช้ใหม่ ภาษาเชิงวัตถุสามารถนามาพัฒนาระบบงานทีม่ คี วามซับซ้อนได้เป็ นอย่างดี ตัวอย่างภาษานี้ เช่น Visual Basic, C++ และ JAVA เป็ นต้น
4. ชนิ ดของซอฟต์แวร์ ในบรรดาซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่มี ผี ู้พฒ ั นาขึน้ เพื่อใช้งานกับคอมพิวเตอร์ม ี มากมาย ซอฟต์แวร์เหล่านี้อาจได้รบั การพัฒนาโดยผูใ้ ช้งานเองหรือผูพ้ ฒ ั นาระบบหรือผูผ้ ลิตจาหน่ าย หากแบ่งแยกชนิดของซอฟต์แวร์ตามสภาพการทางาน แบ่งแยกซอฟต์แวร์ได้เป็ น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) 4.1 ซอฟต์แวร์ระบบ คือซอฟต์แวร์ทบ่ี ริษทั ผูผ้ ลิตสร้างขึน้ มาเพื่อใช้จดั การกับระบบคอมพิวเตอร์ หน้าทีก่ ารทางาน ของซอฟต์แวร์ระบบคือดาเนินงานพืน้ ฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากคียบ์ อร์ด แล้ว แปลความหมายให้ ค อมพิว เตอร์เ ข้า ใจ น าข้อ มู ล ไปแสดงผลบนจอภาพหรือ น าออกไปยัง เครือ่ งพิมพ์ จัดการข้อมูลบนหน่วยความจา เมื่อ เราเปิ ด เครื่อ งคอมพิว เตอร์ ข้ึน มา ทัน ทีท่ีม ีก ารจ่า ยกระแสไฟฟ้ าให้กับ คอมพิว เตอร์ คอมพิวเตอร์จะทางานตามโปรแกรมทันที โปรแกรมแรกทีส่ งให้ ั ่ คอมพิวเตอร์ทางานนี้เป็ นซอฟต์แวร์ ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบอาจเก็บไว้ในรอมหรือในแผ่ น จานแม่เหล็ก (สมัยก่ อน) หากไม่มซี อฟต์แวร์ ระบบคอมพิวเตอร์จะทางานไม่ได้ ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็ นเครื่องมือในการพัฒนาซอฟต์แวร์อ่นื ๆ และยังรวมไปถึงซอฟต์แวร์ทใ่ี ช้ในการแปลภาษาต่าง ๆ 4.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็ นซอฟต์แวร์ทใ่ี ช้กบั งานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ทส่ี ามารถนามาใช้ประโยชน์ ได้โดยตรง ปั จจุบนั มีผู้พฒ ั นาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจาหน่ ายมากมาย การประยุกต์ งานคอมพิวเตอร์จงึ กว้างขวางและแพร่หลาย เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็ นสองกลุ่มคือ ซอฟต์แวร์สาเร็จและซอฟต์แวร์ท่พี ฒ ั นาขึน้ ใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สาเร็จในปั จจุบนั มีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคา ซอฟต์แวร์ตารางทางาน ฯลฯ
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
สาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
4 ซอฟต์แวร์ (Software)
5. ซอฟท์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์ประกอบด้วย หน่ วยรับเข้า หน่ วย End Users แสดงผล หน่ วยความจา และหน่ วยประมวลผล ในการ Application Software ทางานของคอมพิวเตอร์จาเป็ นต้องมีการดาเนินงานกับ Operating System หน่ ว ยต่ า งๆ ดัง นั ้น จึง ต้ อ งมีซ อฟต์ แ วร์ร ะบบเพื่อ ใช้ Hardware จัดการระบบเหล่านี้ หน้าทีห่ ลักของซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วย จัดการหน่ วยรับเข้าและหน่ วยแสดงผล เช่น ส่ งรหัส ตัว อัก ษรออกทางจอภาพ หรือเครื่องพิมพ์ และติดต่อกับอุปกรณ์ รับเข้าและแสดงผลอื่น ๆ จัดการหน่ วยความจาเพื่อนาข้อมูลจากแผ่นบันทึก (เช่นฮาร์ดดิสก์หรือ handy drive) มาบรรจุยงั หน่ วยความจาหลัก หรือในทานองกลับกันคือนาข้อมูลจากหน่ วยความจา หลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก ใช้เป็ นตัวเชื่อมต่อระหว่างผูใ้ ช้งานกับคอมพิวเตอร์ให้สามารถใช้งานได้งา่ ยขึน้ ซอฟต์แวร์ระบบโดยพืน้ ฐานทีเ่ ห็นกันทัวไปแบ่ ่ งออกเป็ น 1) ระบบปฏิบตั กิ าร 2) ตัวแปลภาษา ซอฟต์แวร์ทงั ้ สองประเภทนี้ทาให้เกิดพัฒนาการประยุกต์ใช้งานได้ง่ายขึน้
Hardware
Operating System
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
Application program
สาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
User
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ซอฟต์แวร์ (Software)
5
5.1 ระบบปฏิ บตั ิ การ ระบบปฏิบตั กิ ารหรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส (Operating System: OS) เป็ นซอฟต์แวร์ใช้ใน การดูแ ลระบบคอมพิว เตอร์ เครื่อ งคอมพิว เตอร์ทุ ก เครื่อ งจะต้ อ งมีซ อฟต์แ วร์ระบบปฏิบ ัติก ารนี้ ระบบปฏิบ ัติก ารที่นิ ย มใช้ก ัน มากและเป็ น ที่รู้จ กั กัน ดี เช่ น ดอส (Disk Operating System: DOS) วินโดวส์ (Windows) โอเอสทู (OS/2) ยูนิกซ์ (UNIX) 1) ดอส เป็ นซอฟต์แวร์จดั ระบบงานทีพ่ ฒ ั นามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คาสังเป็ ่ นตัวอักษร ดอสเป็ นซอฟต์แวร์ทร่ี จู้ กั กันดีในหมูผ่ ใู้ ช้ไมโครคอมพิวเตอร์ 2) วินโดวส์ เป็ นระบบปฏิบตั กิ ารที่พฒ ั นาต่อจากดอส เพื่อเน้นการใช้งานที่ง่ายขึน้ โดยงาน แต่ละงานจะอยูใ่ นกรอบช่องหน้าต่างทีแ่ สดงผลบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิ ก ผูใ้ ช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ตาแหน่ งเพื่อเลือกตาแหน่ งทีป่ รากฏบนจอภาพ ทาให้ ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้งา่ ย วินโดวส์จงึ ได้รบั ความนิยมในปั จจุบนั 3) โอเอสทู เป็ นระบบปฏิบตั ิการแบบเดียวกับ วินโดวส์ แต่บริษทั ผู้พฒ ั นาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้ทางานได้หลายงานพร้อมกัน และการใช้งานก็ เป็ นแบบกราฟิ กเช่นเดียวกับวินโดวส์ 4) ยู นิ ก ซ์ เป็ นระบบปฏิ บ ั ติ ก ารที่ พ ั ฒ นามาตั ง้ แต่ ค รัง้ ที่ ใ ช้ กับ เครื่อ งมินิ ค อมพิ ว เตอร์ ระบบปฏิบตั กิ ารยูนิกซ์เป็ นระบบปฏิบตั กิ ารที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และ ทางานได้ห ลาย ๆ งานในเวลาเดียวกัน ยูนิกซ์จงึ ใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับ เครือ่ งปลายทางได้หลายเครือ่ งพร้อมกัน ระบบปฏิบตั กิ ารยังมีอกี มาก โดยเฉพาะระบบปฏิบตั กิ ารทีใ่ ช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อให้ คอมพิวเตอร์ทางานร่วมกันเป็ นระบบ เช่น ระบบปฏิบตั กิ ารเน็ตแวร์ วินโดวส์เอ็นที ชนิ ดของระบบปฏิ บตั ิ การ สามารถจาแนกออกได้เป็ น 3 ชนิดด้วยกัน คือ 5.1.1 ประเภทใช้งานเดียว (Single-tasking) ระบบปฏิบตั กิ ารประเภทนี้จะกาหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครัง้ ละหนึ่ งงานเท่านัน้ ใช้ในเครือ่ งขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบตั กิ ารดอส เป็ นต้น 5.1.2 ประเภทใช้หลายงาน (Multi-tasking) ระบบปฏิบ ัติ ก ารประเภทนี้ ส ามารถควบคุ ม การท างานพร้อ มกัน หลายงานใน ขณะเดียวกัน ผู้ใช้สามารถทางานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดีย วกัน โดย ระบบปฏิบตั กิ ารจัดสรรทัง้ เวลา และเนื้อทีท่ ่ตี ้องใช้ในการประมวลผลคาสังของซอฟต์ ่ แวร์แต่ ละชนิด เช่น ระบบปฏิบตั กิ าร Windows 98 ขึน้ ไป และ UNIX เป็ นต้น 5.1.3 ประเภทใช้งานหลายคน (Multi-user) ในหน่ ว ยงานบางแห่ งอาจใช้ค อมพิว เตอร์ข นาดใหญ่ ท าหน้ าที่ป ระมวลผล ท าให้ ในขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานี งานของตนเอง
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
สาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
6 ซอฟต์แวร์ (Software) เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องใช้ระบบปฏิบตั ิการที่มคี วามสามารถสูง เพื่อให้ผู้ใช้ทุกคน สามารถทางานเสร็จในเวลา เช่น ระบบปฏิบตั กิ าร Windows NT และ UNIX เป็ นต้น 5.2 ตัวแปลภาษา ในการพัฒนาซอฟต์แวร์จาเป็ นต้องมีซอฟต์แวร์ทใ่ี ช้ในการแปลภาษาระดับสูง เพื่อแปลภาษา ระดับสูงให้เป็ นภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงมีหลายภาษา ภาษาระดับสูงเหล่านี้สร้างขึน้ เพื่อให้ผเู้ ขียน โปรแกรมเขียนชุดคาสังได้ ่ งา่ ย เข้าใจได้ ตลอดจนถึงสามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้ ภาษาระดับสูงทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มาทุกภาษาจะต้องมีตวั แปลภาษาสาหรับแปลภาษา ภาษาระดับสูง ซึง่ เป็ นทีร่ จู้ กั และนิยมกันมากในปั จจุบนั เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาเบสิก ภาษาซี และภาษาโลโก 1) ภาษาปาสคาล เป็ น ภาษาสังงานคอมพิ ่ ว เตอร์ท่ีม ีรูป แบบเป็ น โครงสร้าง เขีย นสังงาน ่ คอมพิวเตอร์เป็ นกระบวนความ ผู้เขียนสามารถแบ่งแยกงานออกเป็ นชิ้นเล็ก ๆ แล้วมา รวมกันเป็ นโปรแกรมขนาดใหญ่ได้ 2) ภาษาเบสิก เป็ น ภาษาที่ม ีรูป แบบค าสังไม่ ่ ยุ่งยาก สามารถเรีย นรู้แ ละเข้าใจได้ง่าย มี รูปแบบคาสังพื ่ น้ ฐานทีส่ ามารถนามาเขียนเรียงต่อกันเป็ นโปรแกรมได้ 3) ภาษาซี เป็ นภาษาทีเ่ หมาะสาหรับใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์อ่นื ๆ ภาษาซีเป็ นภาษาที่ม ี โครงสร้างคล่องตัวสาหรับการเขียนโปรแกรมหรือให้คอมพิวเตอร์ตดิ ต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ 4) ภาษาโลโก เป็ นภาษาที่เหมาะสาหรับการเรียนรูแ้ ละเข้าใจหลักการโปรแกรมภาษาโลโก ได้รบั การพัฒนาสาหรับเด็ก นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์อกี มากมาย เช่น ภาษาฟอร์แทรน ภาษาโคบอล ภาษาอาร์พจี ี
Turbo C++ (ตัวแปลภาษา C/C++)
LOGO (ตัวแปลภาษา LOGO) รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
Visual C++ (ตัวแปลภาษา C/C++)
JAVA Builder (ตัวแปลภาษา JAVA) สาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ซอฟต์แวร์ (Software)
7
5.3 การทางานของตัวแปลภาษา การประมวลผลโปรแกรมทีเ่ ขียนขึน้ ด้วยภาษาระดับสูง จาเป็ นต้องอาศัยโปรแกรมทีท่ าหน้าที่ ช่วยในการแปลโปรแกรมภาษาระดับสูงให้เป็ นภาษาเครื่อง โปรแกรมแปลภาษาที่ใช้แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ ได้แก่ 5.3.1 คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็ นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการแปลโปรแกรมที่เขียนด้วย ภาษาระดับสูงที่เรียกว่า โปรแกรมต้นฉบับ (source code/program) ให้เป็ นโปรแกรมภาษาเครื่อ ง (object program) ถ้ า มีข้ อ ผิด พลาดเครื่อ งจะพิ ม พ์ ร หัส หรือ ข้ อ ผิด พลาด ออกมาด้ ว ย หากไม่ ม ี ข้อผิดพลาดผู้ใช้สามารถสังประมวลผลโปรแกรมและสามารถเก็ ่ บโปรแกรมที่แปลภาษาเครื่องไว้ใช้ งานต่อไปได้อกี โดยไม่ตอ้ งทาการแปลโปรแกรมซ้าอีก ตัวอย่างโปรแกรมแปลภาษาแบบนี้ เช่น โปรแกรมแปลภาษาฟอร์แทรน โปรแกรมแปลภาษา โคบอล โปรแกรมแปลภาษาปาสคาล โปรแกรมแปลภาษาซี เป็ นต้น 5.3.2 อิ นเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็ นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ในการแปลโปรแกรมที่เขียน ด้วยภาษาระดับสูงให้เป็ นภาษาเครื่องเช่นเดียวกับคอมไพเลอร์ ความแตกต่างจะอยู่ท่อี ินเทอร์พรี เตอร์จะทาการแปลและประมวลผลทีละคาสัง่ ข้อเสียของอินเทอร์พรีเตอร์คอื ถ้านาโปรแกรมนี้มาใช้ งานอีกจะต้องทาการแปลโปรแกรมทุกครัง้ ตัวอย่างภาษาทีใ่ ช้อนิ เทอร์พรีเตอร์ในการแปล เช่น ภาษา HTML เป็ นต้น
6. ซอฟท์แวร์ประยุกต์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้พฒ ั นาก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการทีม่ คี อมพิวเตอร์ขนาด เล็กทาให้มกี ารใช้งานคล่องตัวขึน้ จนในปั จจุบนั สามารถนาคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กติดตัวไปใช้งานในที่ ต่าง ๆ ได้สะดวก การใช้งานคอมพิวเตอร์ตอ้ งมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซึง่ อาจเป็ นซอฟต์แวร์สาเร็จทีม่ ผี พู้ ฒ ั นาเพื่อ ใช้งานทัวไปท ่ าให้ทางานได้สะดวกขึน้ หรืออาจเป็ นซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะซึง่ ผูใ้ ช้เป็ นผูพ้ ฒ ั นาขึน้ เอง เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการทางานของตน 6.1 ซอฟต์แวร์สาเร็จ ในบรรดาซอฟต์แวร์ประยุกต์ทม่ี ใี ช้กนั ทัวไป ่ ซอฟต์แวร์สาเร็จ (Package) เป็ นซอฟต์แวร์ท่มี ี ความนิยมใช้กนั สูงมาก ซอฟต์แวร์สาเร็จเป็ นซอฟต์แวร์ท่บี ริษัทพัฒนาขึ้น แล้วนาออกมาจาหน่ าย เพื่ อ ให้ ผู้ ใ ช้ ง านซื้ อ ไปใช้ ไ ด้ โ ดยตรง ไม่ ต้ อ งเสีย เวลาในการพัฒ นา ซอฟต์แวร์อกี ซอฟต์แวร์สาเร็จทีม่ จี าหน่ายในท้องตลาดทัวไป ่ และเป็ นที่ นิยมของผูใ้ ช้ม ี 5 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ 1) ซอฟต์แวร์ประมวลคา เป็ นซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้สาหรับการ พิมพ์เอกสาร สามารถแก้ไข เพิ่ม แทรก ลบ และจัดรูปแบบเอกสารได้ อย่างดี ปั จจุบนั มีการเพิม่ ขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ประมวลคาอีกมากมาย
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
สาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
8 ซอฟต์แวร์ (Software) 2) ซอฟต์แวร์ตารางทางาน เป็ นซอฟต์แวร์ทช่ี ่วยในการคิดคานวณ การทางานของซอฟต์แวร์ ตารางทางาน ใช้หลักการเสมือนมีโต๊ะทางานที่มกี ระดาษขนาดใหญ่วางไว้ มีเครื่องมือคล้ายปากกา ยางลบ และเครื่องคานวณเตรียมไว้ให้เสร็จ บนกระดาษมีช่องให้ใส่ตวั เลข ข้อความหรือสูตร สามารถ สังให้ ่ คานวณตามสูตรหรือเงือ่ นไขทีก่ าหนด ซอฟต์แวร์ตารางทางานทีน่ ิยมใช้ เช่น Excel เป็ นต้น 3) ซอฟต์แวร์จดั การฐานข้อมูล การใช้คอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งคือการใช้เก็บข้อมูล และจัดการ กับข้อมูลทีจ่ ดั เก็บในคอมพิวเตอร์ จึงจาเป็ นต้องมีซอฟต์แวร์จดั การข้อมูล การรวบรวมข้อมูลหลาย ๆ เรื่องทีเ่ กี่ยวข้องกันไว้ในคอมพิวเตอร์ เราก็เรียกว่าฐานข้อมูล ซอฟต์แวร์จดั การฐานข้อมูลจึงหมายถึง ซอฟต์แวร์ทช่ี ่วยในการเก็บ การเรียกค้นมาใช้งาน การทารายงาน การสรุปผลจากข้อมูล ซอฟต์แวร์ จัดการฐานข้อมูลทีน่ ิยมใช้ เช่น Access, Dbase 4) ซอฟต์แวร์นาเสนอ เป็ นซอฟต์แวร์ท่ใี ช้สาหรับนาเสนอข้อมูล การแสดงผลต้องสามารถ ดึงดูดความสนใจ ซอฟต์แวร์เหล่านี้จงึ เป็ นซอฟต์แวร์ทน่ี อกจากสามารถแสดงข้อความในลักษณะทีจ่ ะ สื่อความหมายได้ง่ายแล้วจะต้องสร้างแผนภูม ิ กราฟ และรูปภาพได้ ตัวอย่างของซอฟต์แวร์นาเสนอ เช่น เพาเวอร์พอยต์ 5) ซอฟต์ แ วร์ส่ ือ สารข้ อ มู ล ซอฟต์ แ วร์ส่ือ สารข้อ มู ล นี้ ห มายถึ ง ซอฟต์ แ วร์ท่ีจ ะช่ ว ยให้ ไมโครคอมพิวเตอร์ติดต่อสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์อ่นื ในที่ห่างไกล โดยผ่านทางสายโทรศัพท์ ซอฟต์แวร์ส่อื สารใช้เชื่อมโยงต่อเข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ทาให้สามารถ ใช้บ ริก ารอื่น ๆ เพิ่ม เติม ได้ สามารถใช้รบั ส่ งไปรษณี ย์อิเล็ก ทรอนิ กส์ ใช้โอนย้ายแฟ้ มข้อ มูล ใช้ แลกเปลีย่ นข้อมูล เป็ นต้น 6.2 ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ การประยุกต์ใช้งานด้วยซอฟต์แวร์สาเร็จมักจะเน้นการใช้งานทัวไป ่ แต่อาจจะนามาประยุกต์ โดยตรงกับงานทางธุรกิจบางอย่างไม่ได้ เช่นในกิจการธนาคาร มีการฝากถอนเงิน งานทางด้านบัญชี หรือในห้างสรรพสินค้าก็มงี านการขายสินค้า การออกใบเสร็จรับเงิน การควบคุมสินค้าคงคลัง ดังนัน้ จึงต้องมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะสาหรับงานแต่ละประเภทให้ตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้ แต่ละราย ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็ นซอฟต์แวร์ท่ผี พู้ ฒ ั นาต้องเข้าไปศึ กษารูปแบบการทางานหรือ ความต้องการของธุรกิจนัน้ ๆ แล้วจัดทาขึ้น โดยทัวไปจะเป็ ่ นซอฟต์แวร์ท่มี หี ลายส่วนรวมกันเพื่อ ร่วมกันทางาน ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะที่ใช้กนั ในทางธุรกิจ เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงาน จัดจาหน่าย ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม บริหารการเงิน และการเช่าซือ้
7. ระบบติ ดต่อใช้งานคอมพิ วเตอร์ ระบบปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์สามารถช่วยจัดการให้ผใู้ ช้เรียกใช้หรือติดต่อกับเครื่องได้ทนั ที โดยรูป แบบของการติด ต่ อ กับ เครื่อ งจะขึ้น กับ ระบบปฏิบ ัติก ารที่ ถู ก ติด ตัง้ ระบบติด ต่ อ ใช้ง าน คอมพิวเตอร์อาจแบ่งได้เป็ นสามกลุ่มด้วยกัน คือ รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
สาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ซอฟต์แวร์ (Software)
9
7.1 กลุ่มพิ มพ์คาสังเข้ ่ าทีละบรรทัด ระบบติดต่อแบบนี้เป็ นระบบติดต่อแบบแรกทีพ่ ฒ ั นามาพร้อมๆ กับคอมพิวเตอร์ เป็ น การป้ อนคาสังที ่ ละบรรทัด ซึง่ ไม่เอือ้ ต่อการใช้งานคอมพิวเตอร์เท่าใดนัก เพราะผูใ้ ช้ต้องจาคาสังต่ ่ างๆ ให้ได้เสียก่อน เช่น การเรียกใช้คาสังของดอส ่ แต่ หากใช้จนเกิดความชานาญ ข้อดีคอื สามารถเรียก โปรแกรมมาทางานได้รวดเร็วที่สุด ใช้พ้นื ที่หน่ วยความจาน้ อย เพราะลดการแสดงผลในส่ วนของ กราฟิ ก
7.2 กลุ่มเลือกรายการเมนู ในระบบนี้จะแสดงรายการย่อยของคาสังต่ ่ างๆ ซึ่งโดยทัวไปเป็ ่ นข้อความตัวอักษร ไม่เป็ น รูป กราฟิ ก ผู้ใช้ เพียงแต่ เลื่อ นตัว ชี้ แถบสี หรือ สัญ ลักษณ์ ลูกศรขึ้น หรือ ลงไปยังรายการที่ ต้องการ แล้วกดปุ่มเลือกรายการนัน้ ระบบติดต่อคอมพิวเตอร์แบบนี้ใช้งานได้งา่ ยขึน้ ไม่ต้องจาคาสัง่ มาก เพราะจะมีรายการคาสังแสดงไว้ ่ ให้เลือก
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
สาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
10ซอฟต์แวร์ (Software) 7.3 กลุ่มเลือกสัญรูป มีล กั ษณะคล้ายระบบกลุ่มเลือกรายการเมนู เพียงแต่ ว่ ารายการของกลุ่ มนี้จะเป็ น รูปภาพหรือสัญรูปสาหรับเลือก โดยมีเมาส์เป็ นตัวเลื่อนตัวชีแ้ ละเลือกรายการ ในบางกรณีกอ็ าจเป็ น รายการเมนู ย่อยของข้อมูลในระบบ ระบบติดต่อคอมพิวเตอร์ระบบนี้ใช้งานง่าย ไม่ต้องเรียนรู้ หรือ จดจาคาสังที ่ ่ซบั ซ้อ น ระบบนี้มผี ู้นิ ยมหรือ กล่ าวถึงกันมากคือ ระบบติดต่อ ผู้ใช้เชิงกราฟิ กเรียกว่า Graphic User Interface หรือ GUI ซอฟต์แ วร์ป ระเภท GUI เป็ น ซอฟต์แ วร์ข นาดใหญ่ จงึ ใช้พ้ืน ที่ หน่วยความจามาก ต้องใช้ตวั ประมวลผลทีม่ ขี ดี ความสามารถสูงจึงจะทางานได้ผล
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
สาขาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์