ประเภทของคอมพิวเตอร์ คอมพิ ว เตอร์ ส ามารถจ าแนกได้ ห ลายประเภท ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู่ กั บ ความแตกต่ า งของขนาดเครื่ อ ง ความเร็วในการประมวลผล และราคาเป็นข้อพิจารณาหลัก ซึ่งโดยทั่วไปนิยมจาแนกประเภทคอมพิวเตอร์ เ ป็ น 7ป ร ะ เ ภ ท ดั ง นี้ คื อ ซู เ ป อ ร์ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ( Supercomputer) ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เ ม น เ ฟ ร ม ( Mainframe computer) มิ นิ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ( Minicomputer) ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ตั้ ง โ ต๊ ะ ( Desktop computer) โน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ (Notebook computer) คอมพิวเตอร์พกพาขนาดฝ่ามือ (Hand-held Personal computer) คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded computer) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด จึงมี ราคาแพงมาก ความสามารถในการประมวลผลที่ ท าได้ ถึ ง พั น ล้ า นค าสั่ ง ต่ อ วิ น าที ตั ว อย่ า งการใช้ ง าน คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ เช่น การพยากรณ์อากาศ การทดสอบทางอวกาศ และงานอื่นๆ ที่มีการคานวณที่ซับ ซอน ปัจจุบันมีการนาซูเปอร์คอมพิวเตอร์ไปใช้กับงานออกแบบชิ่นส่วนรถยนต์ งานวิเคราะห์สิงค้าคงคลัง หรื อ แม้ แ ต่ ก ารออกแบบงานด้ า นศิ ล ปะ หน่ ว ยงานที่ มี ก ารใช้ ซู เ ปอร์ ค อมพิ ว เตอร์ ได้ แ ก่ องค์ ก ารนา ซา (NASA)และหน่วยงานธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น บริษัท General Motorsและ AT&T เป็นต้น
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ มีป ระสิ ทธิภ าพรองจากซูเ ปอร์ ค อมพิว เตอร์ สามารถรองรับการทางานจากผู้ ใช้ ได้ห ลายร้อยคนในเวลา เดียวกัน ประมวลผลด้วยความเร็วสูง มีหน่วยความจาหลักขนาดใหญ่ ตลอดจนการจัดเก็บข้อมูลได้เป็น จานวนมาก คอมพิวเตอร์เมนเฟรมนิยมใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ที่มีการเข้าถึงข้อมูลผู้ใช้จานวนมากในเวลา เดียวกัน (Multiple Users) เช่น งานธนาคาร การจองตั๋ว เครื่องบิน การลงทะเบียนและการตรวจสอบผล การเรียนของนักศึกษาเป็นต้น
3. มิ นิ ค อมพิ ว เตอร์ (Minicomputer) หรื อ คอมพิ ว เตอร์ ข นาดกลาง เป็ น คอมพิ ว เตอร์ ที่ มี ประสิทธิภาพในการทางานด้านความเร็วและความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลน้อยกว่าเมนเฟรม แต่สูงกว่า คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop computer) และสามารถรองรับการทางานจากผู้ใช้ได้หลายคนในการทางาน ที่แตกต่างกัน จากจุดเริ่มต้นในการพัฒนาที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ทางานเฉพาะอย่าง เช่น บริษัทที่ ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ ตลาดหลักทรัพย์สถานศึกษา รวมทั้งการให้บริการข้อมูล แก้ลูกค้า เช่น การจองห้องพักของโรงแรม เป็นต้น
4. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop C0mputer) หรือเดสก์ท็อปเป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer หรือ PC) ที่มีขนาดเล็กเหมาะกับโต๊ะทางานในสานักงาน สถานศึกษา และที่บ้าน รูปทรง ของ ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีทั้งแบบวางนอน และแบบแนวตั้งที่เรียกว่าทาวเวอร์ (Tower) เพื่อประหยัดเนื้อที่ เป็นการวางทั้งบนโต๊ะและที่พื้น
การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะยังจาแนกได้ ดั้งนี้ · All-in Computer เป็นคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะที่ รวมจอภาพและหน่วยประมวลผลอยู่ในอุปกรณ์ เดียวกัน · Workstation เป็นคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะที่มี ความสามารถและราคาสูงกว่าคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ทั้งไปออกแบบมาเพื่อใช้งานด้านการคานวณและกราฟิก ผู้ใช้ส่วนใหญ่จะเป็นสถาปนิก วิศวกร และนัก ออกแบบภาพกราฟิก · Stand-alone Computer หรือคอมพิวเตอร์ระบบเดียว เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถทางานที่ เรียกว่า IPOS cycle โดยที่ไม่ได้เชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แต่ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ประเภทนี้มี ความสามารถในการเชื่อมต่อข่ายได้ · Server Computer เป็นคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะที่มีความสามารถเช่นเดียวกันหรือใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์ เซิร์ฟเวอร์ (เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่ให้บริการต่างๆ เช่น ข้อมูลโปรแกรมจัดสรรงานพิมพ์ เป็นต้น) 5. คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค (Notebook Computer) หรือบางครั้งเรียกว่า แลปท็อปคอมพิวเตอร์ (Laptop Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะน้าหนักเบา จึงสามารถนา ติดตัวไปยังสถานที่ต่างๆ ได้ เครื่องโน้ตบุ๊กมีสมรรถนะในการทางานเทียบเท่าเครื่องพีซีแบบตั้งโต๊ะ และมีแผง แป้นพิมพ์และจอภาพติดกับตัวเครื่องรวมทั้งมีแบตเตอรี่ภายในเครื่อง จึงสามารถทางานได้ในช่วงเวลาหนึ่งโดย ไม่ต้องใช้ไฟบ้าน เหมาะกับงานส่วนบุคคลและงานสานักงานที่จาเป็นต้องออกนอกสถานที่ นอกจากโน้ตบุ๊กคอมพิวเตอร์ที่เห็นและใช้งานกันทั่วไปแล้ว ยังมีคอมพิวเตอร์พกพาที่เริ่มได้ รับความนิยมมาก ขึ้น นั้นคือ Tablet PC ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดกาลังเหมาะ น้าหนักเบา หมุนได้ 180 องศา มีทั้งแบบมี แป้นพิมพ์ในตัว และแบบไม่มีแป้นพิมพ์ในตัวแต่มีแป้นพิมพ์แยกต่างหาก การรับข้อมูล (Input)สามารถใช้ทั้ง แบบสัมผัสและใช้ปากกาชนิดพิเศษ(Stylus)เขียนแบบจอภาพได้ หรือแม้กระทั้งเสียงพูด ระบบเชื่อมต่อ เครือข่ายทั้งแบบแลง (LAN) และแบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
6. คอมพิวเตอร์ฝ่ามือ (Hand-held Personal Computer) หรือเครื่องพีซีขนาดมือถือ หรือเครื่องพีดี เอ (Personal Digital Assistant-PDA) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับเครื่องคิดเลขขนาดเล็ก น้าหนัก
เบามาก จึ ง สามารถวางบนฝ่ า มื อ ได้ โ ดยมี ส มรรถนะในการท างานเฉพาะกั บ โปรแกรมส าหรั บ งานส่ ว น บุคคล เช่น การรับส่งอีเมล์ การบันทึกตารางนัดหมาย และการเข้าถึงข้อมูลบนอินเตอร์เน็ต เครื่อง PDA (Personal Digital Assistant) บางครั้ งก็เรี ยกว่า Pen-based Computer เนื่องจากเป็นคอมพิว เตอร์ แ บบ พกพาที่ใช้ปากกาที่เรียกว่า สไตลัส (Stylus) เป็นอุปกรณ์ในการบันทึกข้อมูล ในบางครั้งก็จะใช้ปากกาในการ เขียนข้อมูลด้วยลายมือลงบนหน้ าจอ และในบางครั้งอาจจะใช้ปากกานี้สาหรับเป็นอุปกรณ์เพื่อเลื อ กการ ทางานบนจอภาพซึ่ ง Personal Digital Assistant ในปัจจุบันนอกจากจะทาหน้าที่ พื้ นฐานทั่ว ไปแล้ ว ยั ง สามารถรับ-ส่งอีเมล์ และส่งโทรสาร (Fax) ได้ด้วย
7. คอมพิ ว เตอ ร์ แ บบฝั ง (Embedded Computer) หรื อ ไมโ ครค อนโ ทร ลเล อ ร์ ( Micro Controller) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมากที่ใช้ไมโครโพรเซสเซอร์ชนิดพิเศษเพื่อฝัง (Embed) ไว้ในอุปกรณ์ ประเภทต่างๆ เช่น บัตรสมาร์ทการ์ด (Smart Card ) โทรศัพท์มือถือ ตู้เย็น เตาไมโครเวฟ และรถยนต์ ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มคุณลักษณะและความสามารถพิเศษบางประการ เช่น การเก็บข้อมูลส่วนบุคคล การให้บริการด้าน บันเทิง การค้นหาข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การควบคุมเรื่องเวลาและอุณหภูมิ และการให้ข้อมูลเพื่อ ช่วยในการเดินทาง เป็นต้น
ที่มา : https://sites.google.com/site/loryeng2/khwam-hmay-khxng-thekhnoloyi-sarsnthes