“พรปี ใหม่” ภาพ: pexels.com
ภาพ: pexels.com
เ
ภาพ: pexels.com
สวัสดีวันปี ใหม่พา ให้บรรดาเราท่านรื่นรมย์ ฤกษ์ยามดีเปรมปรีด์ชืิ ่ นชม ต่างสุขสมนิยมยินดี ข้าวิงวอนขอพรจากฟ้า ให้บรรดาปวงท่านสุขศรี โปรดประทานพรโดยปรานี ให้ชาวไทยล้วนมีโชคชั ย ให้บรรดาปวงท่านสุขสันต์ ทุกวันทุกคืนชื่ นชมให้สมฤทัย ให้รุง่ เรืองในวันปี ใหม่ ผองชาวไทยจงสวัสดี ตลอดปี จงมีสขุ ใจ ตลอดไปนับแต่บัดนี้ ให้สิ้นทุกข์สขุ เกษมเปรมปรีด์ิ สวัสดีวันปี ใหม่เทอญ
พลงพระราชนิพนธ “พรปใหม” เปนเพลงพระราชนิพนธลําดับที่ 13 ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระราชนิพนธขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2494 เมื่อเสด็จนิวัตพระนครและประทับ ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต มีพระราชวินิจฉัยวาอยากจะพระราชทานพรปใหม แกบรรดาพสกนิกรไทยดวยบทเพลง จึงทรงพระราชนิพนธ เพลง พรปใหม และทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหพระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาจักรพันธเพ็ญศิริ นิพนธคํารองเปนคําอวยพร ปใหม แลวพระราชทานแกวงดนตรี 2 วง คือ วงดนตรีนิสิตจุ าลงกรณมหาวิทยาลัย นําออกบรรเลง ณ จุ าลงกรณมหาวิทยาลัย และวงดนตรีสุนทราภรณ นําออกบรรเลง ณ ศาลาเฉลิมไทย ในวันปใหม วันอังคารที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2495 วันรุงขึ้นทางกรม โ ษณาการจึงบันทึกเสียงเพลงพระราชนิพนธพรปใหม เพื่อนําไปกระจายเสียงใหชาวไทยทั่วประเทศไดรับฟง
สวัสดี ปี ใหม่
2561
1
สวัสดีปีใหม่ 2561 & Happy New Year 2018
ปี มี 1 ครัง้ สําหรับคําว่า “ปี ใหม่” หรือ ทีใ่ นปี นี้เราเรียกกันว่า “วันขึ้นปี ใหม่ 2561” หรือ ปี ใหม่ในภาษา อังกฤษ ที่วา่ “Happy New Year 2018” ที่กาํ ลังจะมาถึงแล้วในเร็ววันนี้ และแน่นอนว่าหลายคนคงชอบ และรอคอยที่จะได้หยุ ดงานและใช้เวลาในช่ วงเทศกาลแห่งความสุขและวันหยุ ดยาวๆ แบบนี้ สําหรับบางท่านที่อาจจะไม่ได้หยุ ดในช่ วงวันปี ใหม่กข็ ออย่าได้เสียใจไป ขอให้คดิ ในทางที่ดวี า่ เราไม่ได้ไป แย่งกินแย่งเที่ยวกับคนอื่นๆ แต่ไม่วา่ ท่านจะอยูใ่ นสถานการณ์ใดในช่ วงวันขึน้ ปี ใหม่ทใ่ี กล้เข้ามาแล้วนี้ ท่านทราบไหม ว่า ประวัตปิ ี ใหม่ หรือ วันขึ้นปี ใหม่ มีความเป็นมาอย่างไร หากท่านยังไม่ทราบ ฉบับนี้ ข่าวภูเก็ต มีเกร็ดความรู้ เล็กๆ น้อยๆ มาฝาก ไปดูกนั !
ความหมายของวันขึ้นปี ใหม่ วันขึ้นปใหม ตามความหมายใน พจนานุกรมใหความหมายคําวา “ป” หมายถึง เวลาทั่วโลกโคจรรอบดวง อาทิตยครั้งหนึ่งราว 365 วัน หรือ เวลา 12 เดือนตามสุริยคติ ดังนั้น “ปใหม” จึง หมายถึง การขึ้นรอบใหมหลังจาก 12 เดือน หรือ 1 ป ความเป็ นมาของ วันขึ้นปี ใหม่ วันขึ้นปใหม มีประวัติความเปนมาซึ่ง เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยตามความ เหมาะสม ตั้งแตในสมัยเริ่มแรกเมื่อชาว บาบิโลเนีย เริ่มคิดคนการใชปฏิทินโดย อาศัยระยะตางๆ ของดวงจันทรเปนหลัก ในการนับ เมื่อครบ 12 เดือน ก็กําหนดวา เปน 1 ป และเพื่อใหเกิดความพอดี ระหวางการนับปตามปฏิทินกับปตาม ฤดูกาล จึงไดเพิ่มเดือนเขาไปอีก 1 เดือน เปน 13 เดือนในทุกๆ 4 ป ตอมาชาวอียิปต กรีกและชาวเซมิติก ไดนําการปฏิบัติของชาวบาบิโลเนียมา ดัดแปลงแกไขอีกหลายคราวเพื่อใหตรง กับฤดูกาลมากยิ่งขึ้น จนถึงสมัยของ กษัตริยจูเลียต ซีซาร (ประมาณ 46 ป กอนคริสตศักราช) ไดนําความคิดของนัก ดาราศาสตรชาวอียิปตชื่อโยซิเยนิส มา ปรับปรุงใหหนึ่งปมี 365 วัน โดยในทุกๆ 4 ป ใหเติมเดือนที่มี 28 วัน เพิ่มขึ้น 1 วัน เปน 29 วัน คือเดือนกุมภาพันธ เรียกวา อธิกสุรทิน เมื่อเพิ่มใหเดือนกุมภาพันธมี 29 วัน ใหทุกๆ 4 ป แตวันในปฏิทินก็ยัง ไมคอยตรงกับฤดูกาลนัก คือเวลาใน
ภาพ: pexels.com
แบบใหมนี้จึงเรียกวาปฏิทินเกรกอเรี่ยน จากนั้นไดปรับปรุงประกาศใช วันที่ 1 มกราคม เปนวันเริ่มตนของปเปนตนมา
ภาพ: pexels.com
ปฏิทินยาวกวาปตามฤดูกาล เปนเหตุให ฤดูกาลมาถึงกอนวันในปฏิทิน และในวัน ที่ 21 มีนาคม ตามปปฏิทินของทุกๆ ป จะเปนชวงที่มีเวลากลางวันและกลางคืน เทากัน คือเปนวันที่ดวงอาทิตยจะขึ้นตรง ทิศตะวันออก และลับลงตามทิศตะวันตก วันนี้ทั่วโลกจึงมีชวงเวลาเทากับ 12 ชั่วโมงเทากัน เรียกวา วันทิวาราตรีเสมอ ภาคมีนาคม (Equinox in March)
แตในป พ.ศ. 2125 วัน Equinox in March กลับไปเกิดขึ้นในวันที่ 11 มีนาคม แทนที่จะเปนวันที่ 21 มีนาคม ดังนั้นพระ สันตะปาปาเกรกอรี่ที่ 13 จึงทําการ ปรับปรุงแกไขหักวันออกไป 10 วัน จาก ปปฏิทิน และใหวันหลังจากวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2125 แทนที่จะเปนวันที่ 5 ตุลาคม ก็ใหเปลี่ยนเปนวันที่ 15 ตุลาคม แทน (ใชเฉพาะในป พ.ศ. 2125) ปฏิทิน
ความเป็ นมาวันปี ใหม่ ในประเทศไทย สําหรับวันปใหมในประเทศไทยนั้น แตเดิมเราถือเอาวันแรม 1 คํ่า เดือนอาย ซึ่งตรงกับเดือนมกราคม เปนวันขึ้นปใหม เพื่อใหสอดคลองกับคติแหงพระพุทธ ศาสนา ที่ถือชวงเหมันตหรือหนาหนาว เปนการเริ่มตนป ตอมาไดเปลี่ยนแปลงไป ตามคติพราหมณ คือถือเอาวันขึ้น 1 คํ่า เดือน 5 เปนวันขึ้นปใหม ซึ่งตรงกับวัน สงกรานต ดังนั้นในสมัยโบราณเราจึงถือ เอาวันสงกรานตเปนวันขึ้นปใหมของไทย แตการนับวันปใหมหรือวันสงกรานต ตามวันทางจันทรคติ เมื่อเทียบกับวันทาง สุริยคติ ยอมคลาดเคลื่อนกันไปในแตละป ดังนั้นในวันขึ้น 1 คํ่า เดือน 5 ป พ.ศ. 2432 (ร.ศ. 108) ซึ่งตรงกับวันที่ 1 เมษายน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว จึงใหถือเอาวันที่ 1 เมษายน เปนวันขึ้นปใหมของไทยนับแตนั้นมา เพื่อ วันปใหมจะไดตรงกันทุกปเมื่อนับทาง สุริยคติ (แมวาวันขึ้น 1 คํ่า เดือน 5 ปตอ ๆ มาจะไมตรงกับวันที่ 1 เมษายน แลว
ก็ตาม) ดังนั้นจึงถือเอาเดือนเมษายนเปน เดือนแรกของปนับแตนั้นมา อยางไรก็ดี ประชาชนสวนใหญโดยเฉพาะตามชนบท ยังคงยึดถือเอาวันสงกรานตเปนวันขึ้นป ใหมอยู เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมา เปนระบอบประชาธิปไตย ทางราชการจึง เห็นวาวันขึ้นปใหมวันที่ 1 เมษายน มักจะ ไมมีงานรื่นเริงอะไรมากนักและเห็น สมควรที่จะฟนฟูขึ้นมาใหม จึงไดประกาศ ใหมีงานรื่นเริงวันขึ้นปใหมในวันที่ 1 เมษายน 2477 ขึ้นในกรุงเทพฯ เปนครั้ง แรก จนแพรหลายออกไปตางจังหวัดในป ตอ ๆ มา โดยในป พ.ศ. 2479 ก็ไดมีการ จัดงานปใหมทั่วทุกจังหวัด มีชื่อทาง ราชการวา “วันตรุษสงกรานต” เหตุผลเปลี่ยนวันขึ้นปี ใหม่จาก 1 เมษายน เป็ น 1 มกราคม ตอมาก็ไดมีการพิจารณาเปลี่ยนวันขึ้น ปใหมอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งไดแตงตั้งคณะ กรรมการขึ้นมาโดยมี หลวงวิจิตรวาทการ เปนประธานคณะกรรมการ และที่ประชุม ก็ไดมีมติเปนเอกฉันทใหเปลี่ยนวันขึ้นป ใหมเปนวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2484 ใน วันที่ 24 ธันวาคม ในสมัยคณะรัฐบาลของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยเหตุผล
สําคัญก็คือ เปนการไมขัดกับหลักพุทธ ศาสนาในดานการนับวัน เดือน และการ รวมฉลองปใหมดวยการทําบุญ เพื่อ เปนการเลิกวิธีนําเอาลัทธิพราหมณมา ครอมศาสนาพุทธ ทําใหเขาสูระดับสากล ที่ใชอยูในประเทศทั่วโลก และเพื่อ เปนการฟนฟูวัฒนธรรม คตินิยม และ จารีตประเพณีของชาติไทย ซึ่งตั้งแตนั้นมา วันขึ้นปใหมของไทยจึง ตรงกับวันที่ 1 มกราคมของทุกป เหมือน ดังเชนวันขึ้นปใหมของประเทศอื่นทั่วโลก (ที่มา: https://hilight.kapook.com) สําหรับกิจกรรมวันขึ้นปใหม คนไทย เราก็จะนิยมไปทําบุญตักบาตร อุทิศสวน กุศลใหญาติและผูมีพระคุณที่ลวงลับหรือ บางสวนอาจจะเขารวมกิจกกรรมสวด มนตขามป ถือศีลปฏิบัติธรรมเพื่อความ เปนมงคลกับตัวเองและผูเปนที่รัก เพื่อให จิตใจสะอาดผองแผวรับปศักราชใหม หรือบางคนอาจจะเลือกที่จะเฉลิมฉลอง กับครอบครัว เพื่อนฝูงหรือคนรัก และไม วาทานจะเลือกทํากิจกรรมตอนรับปใหม แบบใด ขาวภูเก็ต ขออวยพรใหทุกทาน จงประสบแตความสุข ความเจริญ สุขภาพกายแข็งแรง จิตใจเขมแข็งพรอม รับทุกสิ่งที่จะกาวเขามาในชีวิตของเราใน ปที่กําลังจะมาถึงนี้และปตอๆ ไป