Thaiprint Magazine Vol.100

Page 1

D ?L5)F* @+ < :+&<)&čE"" < < 5- Ċ/*

F5 :2 =L @+ < 5 @ 8D <"F 5*ĉ: *9L *?!): > E-Ċ/ E ĉ!&<)&č2=L2=5< čD K E""#ą5!)Ċ/! /:)D+K/2A

@ (:&*5 D*=*L ) Ċ/* :+#-ĉ5*3)> d &9!-Ċ:!3* ĉ5/<!: =

4

BILLION/SEC.








Performance Through QualiTy That’s why quality printers choose Swed/cuT®

www.swedev.se




เครื่องพิมพ์ขาวดำ Hi-End Production ความเร็วสูงสุด เทคโนโลยี ความละเอียด คุณภาพระดับงานพิมพ์ออฟเซ็ต ขนาดเล็กสุดถึง

รองรับงานได้ถึง

RICOH Pro 8100S | Pro 8110S | Pro 8120S

ºÃÔÉÑ· ÃÔâ¡Œ (»ÃÐà·Èä·Â) ¨Ó¡Ñ´ 341 ¶.͋͹¹Øª á¢Ç§»ÃÐàÇÈ à¢µ»ÃÐàÇÈ ¡ÃØ§à·¾Ï 10250 www.ricoh.co.th µÔ´µ‹ÍÊͺ¶ÒÁÃÒÂÅÐàÍÕ´à¾ÔèÁàµÔÁ â·Ã.0-2762-1524




Thai Print Magazine ฉบับที่ 100

D ?L5)F* @+ < :+&<)&čE"" < < 5- Ċ/*

F5 :2 =L @+ < 5 @ 8D <"F 5*ĉ: *9L *?!): > E-Ċ/ E ĉ!&<)&č2=L2=5< čD K E""#ą5!)Ċ/! /:)D+K/2A

@ (:&*5 D*=*L ) Ċ/* :+#-ĉ5*3)> d &9!-Ċ:!3* ĉ5/<!: =

4

BILLION/SEC.

สวัสดีครับผูอาน Thaiprint Magazine ทุกทาน ฉบับนีค้ รบ 100 ฉบับแลวนะครับทีท่ างสมาคมการพิมพ ไทยไดผลิตใหผูอานไดติดตามมาอยางตอเนื่องและ พรอมทีจ่ ะนําเสนอผลงานดีๆ มีสาระออกมาใหผอู า นได ติดตามกันตอไป กวาที่วารสารฉบับนี้จะถึงมือผูอานก็ คิดวาคงจะกาวขามผานป 2013 กันไปแลว จึงขอโอกาส กลาวสวัสดีปใหม Happy New Year 2014 ขอใหผูอาน ทุกทานจงมีแตความสุขความเจริญ ยิ่งๆ ขึ้นไปนะครับ ผานไปอีก 1 ปทสี่ มาคมการพิมพไทยไดจดั กิจกรรม ตางๆ มาอยางตอเนื่องทั้งการประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ประจําทุกปฉบับนี้จึงขอแสดงความยินดีกับผูที่ไดสงผล งานไปประกวดในงานระดับเอเซียของงาน ASIAN PRINT AWARDS 2013 ที่ผานมา ซึ่งผลงานของไทยเราที่สงเขา ประกวดก็ไดรับเหรียญรางวัลกลับมาอยางมากมาย ได รับความปติยินดีใหกับเจาของผลงานตางๆ ติดตามผล งานของคนไทยที่ไดรับรางวัลในเลมเลยครับ กิจกรรมดีๆ อีกกิจกรรมหนึ่งคือสมาคมการพิมพ ไทยไดมีการเปด Basic Course in Print Technology & Media เปนหลักสูตรหนึง่ เดียว สําหรับผูท ตี่ อ งการความ รูพ นื้ ฐานดานงานพิมพ จัดขึ้นโดยกลุม Young Printer โดยการสนับสนุนจากสมาคมการพิมพไทยผลตอบรับ ก็ถอื วาเปนคอรสทีผ่ เู ขาอบรมชืน่ ชอบเปนอยางมาก และ อีกกิจกรรมที่ทางสมาคมฯ ไดรวมคือ โครงการพัฒนาผู ประกอบการตามแนวพระราชดําริ เพื่อเปนการตอยอด ความสํ า เร็ จ และขยายโอกาสใหแกผูประกอบการใน วงกวางยิง่ ขึน้ สสว. และศูนยบริการแหงจุฬาลงกรณมหา วิทยาลัยไดจดั ขึน้ รายละเอียดลองติดตามพรอมทัง้ สาระ ความรูอ นื่ ๆ อีกมากมายติดตามอานไดในเลมครับ อนันต ขันธวิเชียร บรรณาธิการบริหาร

THE THAI PRINTING ASSOCIATION

Editor นายกสมาคม คุณพรชัย รัตนชัยกานนท อุปนายก คุณพงศธรี ะ พัฒนพีระเดช , คุณนิธิ เนาวประทีป, คุณศิริวรรณ สุกัญจนศิริ, คุณถิร รัตนนลิน, คุณคุณา เทวอักษร เลขาธิการ คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ ผูชวยเลขาฯ คุณสุวทิ ย เพียรรุง โรจน, คุณคมสันต ชุนเจริญ, คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ, คุณวริษฐา สิมะชัย เหรัญญิก คุณประเสริฐ หลอยืนยง นายทะเบียน คุณวิวัฒน อุตสาหจิต ปฎิคม คุณชินวัชร เฉลยวุฒิโรจน ประชาสัมพันธ คุณพชร จงกมานนท กรรมการผูทรงคุณวุฒิ คุณณรงคศักดิ์ มีวาสนาสุข ที่ปรึกษานายกสมาคม คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ทีป่ รึกษา คุณมานิตย กมลสุวรรณ, คุณเกษม แยมวาทีทอง, คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย, คุณรังษี เหลืองวารินกุล, คุณธนะชัย สันติชัยกูล, คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล, คุณอาคม อัครวัฒนวงศ, คุณสุรเดช เหลาแสงงาม, คุณสมชัย มหาสิทธิวัฒน, คุณสุรพล ดารารัตนโรจน, คุณมารชัย กองบุญมา, คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ, คุณสุพันธุ มงคลสุธี, คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล, คุณธวัชชัย ยติถิรธํารง, คุณวรสิทธิ์ เทวอักษร, คุณอุทัย ธนสารอักษร, คุณชีวพัฒน ณ ถลาง, คุณพัชร งามเสงี่ยม, คุณหิรัญ เนตรสวาง, ผศ.บุญเลี้ยง แกวนาพันธ, อ.พัชราภา ศักดิ์โสภิณ, คุณชัยวัฒน ศิริอําพันธกุล, คุณวิชัย สกลวรารุงเรือง, คุณวิรุฬห สงเสริมสวัสดิ์, คุณภาสกร วงษชนะชัย, คุณพิเชษฐ จิตรภาวนากุล, คุณพิมพนารา จิรานิธิศนนท, คุณวรธนกร พุกกะเวส, คุณธนวัฒน อุตสาหจิต, ที่ปรึกษาพิเศษดานกฏหมาย คุณธนา เบญจาธิกุล

Special Thanks บริษัท ผลิตภัณฑกระดาษไทย จํากัด เอื้อเฟอกระดาษที่ใชพิมพ thaiprint magazine โทรศัพท 0-2586-0777 โทรสาร 0-2586-2070 บริษัท เอ็ม.พี.ลักก ยูวี จํากัด ชวยเคลือบปกวารสารการพิมพไทยดวยดีตลอดมา เอ็ม.พี.ลักก. เพิ่มคุณคาใหงานพิมพ สวย รวดเร็ว ทันใจคุณ บริษัท สีทอง 555 จํากัด บริษัท สุนทรฟลม จํากัด บริษัท บางกอกบายนดิ้ง จํากัด

โทรศัพท 0-2425-9736-41 ผูผลิตและจําหนายผลิตภัณฑซองทุกชนิด โทรศัพท 0-3441-7555 โทรสาร 0-3441-7599 ผูสนับสนุนการแยกสี ทําเพลท โทรศัพท 0-2216-2760-8, 0-2613-7008-17 ผูสนับสนุนการไสกาว โทรศัพท 02-682-217779

หนังสือเลมนี้พิมพดวยกระดาษคุณภาพ เพื่องานคุณภาพ PAPER



Content 22

62

82

104

Print News 18 มาสเตอร ฮับ ผูผลิตปายและสื่อโฆษณารายใหญ วางใจเลือกใชเครื่องพิมพอุตสาหกรรมไซนเท็กซจากเอชพี 22 Basic Course in PRINTING Technology and Media 28 EPSON เปดตัวเครื่องพิมพสีหนากวางติดแท็งครุนแรกในโลก 54 กลุมเจริญอักษรผูนําอุตสาหกรรมสิ่งพิมพไทยเขาเทคโอเวอรยักษใหญผูผลิต กระดาษหนังสือพิมพจาก นอรสเค สคูค อินดัสทรีเออร อาซา ประเทศนอรเวย 62 เปดศาลาการเปรียญสมาคมการพิมพไทยและมอบทุนการศึกษา ณ วัดเจดียสามยอด 65 เอชพี เสริมทัพเครื่องพิมพเลเซอรเจ็ทสําหรับองคกร 80 ฟูจิ ซีร็อกซ บุก สปป. ลาว 82 ฉลองอาคารสํานักงานแหงใหมของ CAS Group “อาคารเจริญอักษร” 86 รวมกิจการทั้งสองบริษัท ระหวางบริษัท ไซเบอร กราฟฟกส (2000) จํากัด กับบริษัท เอสเอ็ม กราฟฟค เซ็นเตอร จํากัด Thaiprint Cover Story 52 “Fuji Xerox1400 Inkjet Color” Continuous Feed Printing System Print Interview 38 บทสัมภาษณ Mr. Sandor Janos Meszaros บริษทั ฮิวเบอร อิงคส ประเทศไทย จํากัด 70 บทสัมภาษณ คุณพรชัย วรอังกูร, Director of Marketing & Business Solutions บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จํากัด 110 โลกของนักเย็บสมุด ‘ชรัมภ กาฎีโรจน’ Print Business 48 PSD Workflow โดย คุณกิตติ พรพิพฒ ั นวงศ บริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ (ประเทศไทย) จํากัด Print Technology 78 ปจจัยใด..? ที่ทําใหเครื่องวัดคาสีไมตรงกัน 94 Canon เผยสุดยอดเทคโนโลยี ‘MR System’ 115 มจธ. พัฒนาหมึกพิมพจากยางพารา Print Knowledge 90 เรซินจากธรรมชาติ - วัตถุดิบทดแทน Young Printer ธีระ กิตติธรี พรชัย / บริษทั จี.พี. ไซเบอรพริน้ ท จํากัด 98 Asian Print Awards 2013 120 สรุปผลงานของคนไทยที่ไดรับรางวัล Print Travel 104 หลวงพระบาง Print Exibition 132 “โครงการพัฒนาผูประกอบการตามแนวพระราชดําริ” Art Gallery 143 นิทรรศการ “คุณพระชวย” World Legend 146 สิ่งมหัศจรรยของโลก ยุคโบราณ Health 150 “นิ้วล็อค” โรคทันสมัยที่ไมมีใครอยากเปน

98

132

Thai Print Magazine ปีที่ 14 ฉบับที่ 100 สมาคมการพิมพไทย

เลขที่ 311, 311/1 ซอยศูนยวิจัย 4 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศพท 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-Mail : thaiprint@thaiprint.org, www.thaiprint.org Thai Print Magazine ฝายประชาสัมพันธ สมาคมการพิมพไทยจัดทําขึ้น เพื่อบริการขาวสาร และสาระความรูแกสมาชิกสมาคมการพิมพไทย และบุคคลทั่วไปที่สนใจขาวสารเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมการพิมพในประเทศไทย ขอคิดเห็นและบทความตางๆ ในวารสารนี้เปนอิสรทรรศ ของผูเขียนแตละทาน สมาคมการพิมพไทยไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอ

บรรณาธิการบริหาร อนันต ขันธวิเชียร กราฟฟค ศุภนิชา พวงเนตร ฝายบัญชี มยุรี จันทรรัตนคีรี 16 ThaiPrint Magazine

พิมพท่ี บริษทั ก.การพิมพเทียนกวง จํากัด 43 ซอยปราโมทย 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064



Print News

มาสเตอร ฮับ ผูผลิตปายและสื่อโฆษณารายใหญ วางใจเลือกใชเครื่องพิมพอุตสาหกรรมไซนเท็กซจากเอชพี กรุงเทพฯ, 28 ตุลาคม 2556 – บริษัท มาสเตอร ฮับ จํากัด ผูใหบริการ งานพิ ม พ ป า ยและสื่ อ โฆษณาทั้ ง ภายใน และภายนอกอาคาร ไดใหความไววางใจ เลือกใชเครื่องพิมพ HP Scitex FB7600 Industrial Press (เอชพี ไซนเท็กซ เอฟบี 7600 อินดัสเทรียล เพรส) เพื่อเสริมกําลัง การผลิตและการดําเนินงานพิมพอยางมี ประสิทธิภาพ

18 ThaiPrint Magazine


มาสเตอร ฮับ

(ในภาพ) คุณนันทนา เอกวิวฒ ั นธนกุล (ขวา) ผูจ ดั การฝายขาย เครือ่ งพิมพ ไซนเท็กซ ธุรกิจกราฟฟคสโซลูชน่ั ส กลุม ธุรกิจการพิมพและคอมพิวเตอร บริษทั ฮิวเลตต-แพคการด (ประเทศไทย) จํากัด และคุณภาณุจกั ษุ กาญจนอุดมการ ผูบ ริหาร บริษทั มาสเตอรฮบั จํากัด พรอมเครื่องพิมพ HP Scitex FB7600 Industrial Press

คุณภาณุจกั ษุ กาญจนอุดม การ ผูบ ริหารของมาสเตอร ฮับ กลาว วา “ตลาดสื่อโฆษณานอกบาน ในประเทศไทย ซึ่งรวมถึงตลาดปาย โฆษณาดวย ยังคงเติบโตที่รอยละ 4.8 ตอป คาดวาจะมีมูลคาตลาด รวมในป 2556 ราว 10,711 ลานบาท การแขงขันในตลาดนีม้ อี ตั ราสูง บริษทั ผูผลิตปายและสื่อโฆษณาจึงจําเปน ตองมองหาวิธพี ฒ ั นาธุรกิจเพือ่ สราง ความแตกตางในตลาดและเพิม่ มูลคา ใหกับลูกคาทั้งเกาและใหมอยูเสมอ เทคโนโลยี ข องเอชพี ไ ด ช ว ยขยาย โอกาสทางธุรกิจใหมๆ ใหเรามาอยาง ตอเนือ่ ง เราจึงมัน่ ใจเลือกติดตัง้ เครือ่ ง พิมพ HP Scitex FB7600 Industrial Press เพิ่มเติม เพราะเครื่องพิมพรุน นี้มีคุณสมบัติเหนือกวาเครื่องพิมพ อืน่ ๆ ในระดับเดียวกัน ดวยการพิมพ ทีร่ วดเร็ว ขัน้ ตอนการพิมพทม่ี ปี ระสิทธิ ภาพ รองรับการพิมพสอ่ ื ไดหลากหลาย และใหงานพิมพที่มีคุณภาพสูง”

ทางดาน คุณนันทนา เอกวิวฒ ั นธนกุล ผูจ ดั การฝายขาย เครือ่ ง พิมพไซนเท็กซ ธุรกิจกราฟฟคสโซลูชน่ั สกลุม ธุรกิจการพิมพและคอมพิวเตอร บริษัท ฮิวเลตต-แพคการด (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “เครื่องพิมพ HP Scitex FB7600 Industrial Press เปนหนึ่งในตัว เลือกที่ดีที่สุดของตลาดเครื่องพิมพระดับอุตสาหกรรม ดวยคุณภาพการ พิมพที่เยี่ยมยอด แอพพลิเคชั่นที่ใชงานไดหลากหลาย และความเร็วใน การพิมพที่สูง จึงมอบตนทุนการพิมพตอแผนที่เหมาะสม ชวยสรางความ ไดเปรียบในการแขงขันใหกับบริษัทตางๆ ในธุรกิจการพิมพปริมาณมากได เปนอยางดี” เครื่องพิมพ HP Scitex FB7600 Industrial Press ใหกําลังการผลิต สูงสุดถึง 500 ตารางเมตรตอชั่วโมง หรือ 95 แผนเต็มตอชั่วโมง และนํางาน พิมพไปใชไดทันทีเมื่อออกจากเครื่อง จึงชวยใหธุรกิจสามารถรับมือกับชวง เวลาที่มีคําสั่งพิมพจากลูกคาในปริมาณสูงสุดได นอกจากนี้ยังประยุกตใช กับการพิมพบนสื่อตางๆ ความหนาสูงสุดถึง 25 มิลลิเมตร ไดอยางหลาก หลาย ทั้งการพิมพบนอะคริลิคและพอลิโพรไพลีน อีกทั้งยังพิมพไดทั้งสื่อที่ มีความยืดหยุนและสื่อที่มีลักษณะเฉพาะตัวอีกดวย

ThaiPrint Magazine 19




Print News

หลักสูตรหนึ่งเดียว!!

สำ�หรับผู้ที่ต้องการความรู้พื้นฐานด้านงานพิมพ์

จัดขึ้นโดยกลุ่ม young Printer โดยการสนับสนุนของสมาคม การพิมพ์ไทยได้จัดอบรมในหลักสูตร Basic course in Printing technology and media โดยมีจดุ ประสงค์เพือ่ เผยแพร่ความรูเ้ บือ้ งต้นทางด้าน การพิมพ์เพือ่ พัฒนาศักยภาพให้แก่ผปู้ ระกอบการในวงการพิมพ์และผูท้ ี่ สนใจทัว่ ไป เพือ่ ให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจในธุรกิจสิง่ พิมพ์โดยองค์รวมเพือ่ สามารถน�ำไปพัฒนาองค์กรให้ยงั่ ยืนต่อไป โดยมีการถ่ายทอดความรูจ้ าก ทีมผู้มากประสบการณ์จากสถาบันการศึกษาและนักธุรกิจชั้นน�ำด้าน งานพิมพ์ของไทยเต็มอิม่ กับ 12 หัวข้อจากผูท้ รงคุณวุฒทิ งั้ ในภาคทฤษฎี จากนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ และมุมมองจากประสบการณ์จริงของผู้บริหารระดับสูงในวงการพิมพ์ อาทิเช่น - อาจารย์ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทาง การพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - Prepress division Manager จากบริษทั แฟโรสตัล (ไทยแลนด์) จ�ำกัด - Product Manager จากบริษัท ซี.เอ.เอส. เปเปอร์ และ Oji Label (Thailand) - Country Manager Thailand HP Indigo and inkjet Press Solution 22 ThaiPrint Magazine


basic course in PRINTING technology and media

- ผู้จัดการผลิตภัณฑ์วัสดุ การพิมพ์ บริษัทเนชั่นไวน์ จ�ำกัด - คุณอมรรัตน์ อัคควัฒน์ ผอ.สายงานระบบคุ ณ ภาพและ เทคโนโลยี บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พัลลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) - ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ จาก Hi-Res, Printing Solution, ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ และสุพรชัยไดคัท - ทีป่ รึกษาสถาบันออกแบบ นานาชาติชนาพัฒน์และผู้ช่วยผู้ อ�ำนวยการ ศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์ บริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ หลักสูตรดีๆ อย่างนี้ ได้ จัดเมือ่ วันที่ 5 ตุลาคม 2556 โดยมี คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายก สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยได้ ม าเป็ น ประธานกล่าวเปิดงานในวันนันั้ และ ได้ ทั ก ทายผู ้ เข้ า อบรมอย่ า งเป็ น กันเอง หลั ง จากนั้ น ก็ เริ่ ม หั ว ข้ อ บรรยาย Basic Printing Theory & Overview of Printing Process โดย รองศาสตราจารย์ ดร. อรัญ หาญสืบ สาย อาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิทยา ศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนยี

การพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเน้นเนื้อหา เกี่ยวกับระบบการพิมพ์ประเภทต่างๆ และข้อแตกต่างระหว่างระบบและ กระบวนการผลิตสิง่ พิมพ์เบือ้ งต้นและอธิบายถึงชิน้ งานต่างๆ ทีไ่ ด้จากงาน พิมพ์ในแต่ละระบบวิธีดูว่าสินค้าต่างๆ พิมพ์ด้วยระบบการพิมพ์แบบใด เปรียบเทียบกับออฟเซทและตัวอย่างงานแต่ละประเภทเป็นอย่างไร ซึ่งมี อีกหลากหลายหัวข้อโดยหลักสูตรนี้จะมีการอบรบทั้งหมด 4 สัปดาห์โดย จะอบรมเฉพาะวันเสาร์ 1 วันต่อสัปดาห์ และสิน้ สุดไปเมือ่ วันที่ 26 ต.ค 2556 ที่ผ่านมา โดยมีคุณพรชัย รัตนชัยการนนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทยให้ เกียรติมากล่าวแสดงความยินดีและได้มอบเกียรติบัตรให้กับผู้เข้าร่วม อบรมในครั้งนี้เฉพาะผู้ที่เข้าอบรมครบหลักสูตรเท่านั้นนะครับ หากผู้อ่าน ท่านใดสนใจที่จะเข้ารับการอบรมหลักสูตรดีๆ เช่นนี้ สามารถติดต่อสอบ ถามได้ที่ สมาคมการพิมพ์ไทย ได้เลยนะครับ ที่เบอร์ 02-719-6685-7 www.thaiPrint.org

ThaiPrint Magazine 23


Print News

and media gy lo no ch te G N TI IN PR in se ur co ภาพบรรยากาศหลกั สูตร basic

24 ThaiPrint Magazine


basic course in PRINTING technology and media

ThaiPrint Magazine 25


Print News

26 ThaiPrint Magazine



Print News

เปดตัวเครือ่ งพิมพสหี นากวางติดแท็งครนุ แรกในโลก พลิกโฉมอุตสาหกรรมแฟชัน่ สิง่ ทอและบุกตลาดสือ่ สิง่ พิมพ

กรุงเทพฯ--15 ต.ค.--พีอารพีเดีย เอปสันขับเคลื่อนกลยุทธในการรุกตลาด พรอมเพิ่ม ไลนสินคาเครื่องพิมพหนากวาง สงเครื่องพิมพติดแท็งครุน แรกของโลก SureColor F-Series และ B-Series บุกตลาด อุตสาหกรรมงานพิมพเพื่อสินคาแฟชั่นสิ่งทอและตลาดปาย โฆษณาประเภทตางๆ 28 ThaiPrint Magazine

เอปสั น ขั บ เคลื่ อ นกลยุ ท ธ ในการรุกตลาด พรอมเพิม่ ไลนสนิ คา เครือ่ งพิมพหนากวาง สงเครือ่ งพิมพ ติดแท็งครุนแรกของโลก SureColor F-Series และ B-Series บุกตลาด อุ ต สาหกรรมงานพิ ม พ เ พื่ อ สิ น ค า แฟชั่นสิ่งทอและตลาดปายโฆษณา ประเภทตางๆ นายยรรยง มุนีมงคลทร ผู จัดการทัว่ ไป บริษทั เอปสัน (ประเทศ ไทย) จํากัด เปดเผยวา ในปจจุบัน เครื่องพิมพหนา กว า งของเอปสั น เป น ที่ นิ ย มอย า ง มากในธุ ร กิ จพรี เ พรสธุ รกิ จสตู ดิ โ อ ถายภาพและมินิแล็ป และเริ่มไดรับ การตอบรับมากขึ้นในอุตสาหกรรม การพิมพแพ็คเกจจิ้งและลาเบลและ การพิมพเชิงเทคนิค เชน งานออกแบบ ภาพจําลองสามมิติ ประเภท CAD และงานแผนที่ GIS ในหนวยงาน ราชการ รวมถึงธุรกิจประเภทตางๆ ที่ตองการงานพิมพคุณภาพสูง เชน ธุรกิจผลิตสือ่ การเรียนการสอนธุรกิจ สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ “วั น นี้ เ อปสั น ได ข ยายฐาน ลูกคากลุมธุรกิจใหกวางขึ้นออกไป อีก ดวยการออกสินคาใหมพรอมกัน 4 รุน ในตระกูล SureColor F-Series และ B-Series เครือ่ งพิมพหนากวาง ติดแท็งครนุ แรกของโลก ซึง่ B-Series เขามาเสริมทัพอุตสาหกรรมการพิมพ ปายโฆษณาประเภทตางๆ ประกอบ ดวย SC-B6070 เครือ่ งขนาด 44 นิว้ และ SC-B7070 ขนาด 64 นิ้ เอปสัน


EPSON

ยังพลิกโฉมอุตสาหกรรมการพิมพผา สง SC-F6070 เครือ่ ง ขนาด 44 นิว้ และ SC-F7070 เครือ่ งขนาด 64 นิว้ ซึง่ เปน พรินเตอรระบบ Dye-sublimation แบบปอนมวนกระดาษ roll-fed เพือ่ อุตสาหกรรมการพิมพผา รุน ใหม ทีเ่ นนเจาะ กลุมผูประกอบการธุรกิจแฟชั่นและสิ่งทอ เครื่องนุงหม ทั้ ง สองรุ  น สามารถรองรั บ การพิ ม พ ผ  า หลากหลาย ประเภท ไมวาจะเปนชุดแตงกาย ชุดกีฬา แอกเซสเซอรี เสริมแฟชั่นหลากหลายประเภท” Epson SureColor B-Series เปนพรินเตอร สําหรับการพิมพปายโฆษณาขนาดใหญ เชน แบนเนอร โปสเตอร ปายไฟตางๆ ประกอบดวย SC-B6070 เครือ่ ง ขนาด 44 นิ้วและ SC-B7070 ขนาด 64 นิ้ว ดวยหัว พิมพไมโคร ปเอโซ แบบปเอโซฟลมบาง TFP ใหความ ละเอียดสูงถึง 720 x 1,440 dpi และสามารถปรับระดับ ความเร็วได 30.6 ตารางเมตรตอชั่วโมง ซึ่งตลับหมึก ของตัวเครือ่ งมีความจุถงึ 1.5 ลิตร ชวยลดความถี่ในการ เติมหมึกและเอปสันยังมีหมึกพิมพชนิดเติมที่มีคุณภาพ ความทนทานสูง สามารถเก็บไวนอกสถานที่โดยสีไมซีด จาง Epson SureColor F-Series เปนเครื่องพิมพ หนากวางสําหรับงานพิมพผาที่ตองการชิ้นงานคุณภาพ สูง โดยใชเทคโนโลยีหัวพิมพ Micro Piezo TFP ของ เอปสัน ทีส่ ามารถควบคุมการหยดนํา้ หมึกในขนาดตางๆ ไดอยางแมนยํา เครือ่ งพิมพทงั้ สองรุน สามารถพิมพงาน ที่ความละเอียดสูงสุดถึง 720 x 1,440 dpi และสามารถ ปรับระดับความเร็วได 30.6 ตารางเมตรตอชั่วโมง สวน หมึกพิมพที่ใชคือ Epson UltraChromeDS ที่ไดรับการ พัฒนาขึ้นมาเปนพิเศษ โดยใชเทคโนโลยี Dye-subli mation เพื่อใหไดสีที่ดูมีชีวิตชีวา สีดําที่ดําสนิท เสน

ขอบที่คมชัด และสามารถไลระดับเฉดสีตางๆ ไดอยาง เปนธรรมชาติ “สําหรับ Epson UltraChrome DS เปนเทคโน โลยีสีที่ทันสมัย เพราะหมึกจะอยูบนเนื้อผาที่สัมผัสตัว ผูสวมใสอยูตลอดเวลา เอปสันจึงตองใสใจในเรื่องของ ความปลอดภัย สีนี้มีคุณสมบัติของ Safe Pigment Formulation ซึง่ ปราศจากสารตะกัว่ และสารประกอบฟลูออ ไรด ไมสรางความระคายเคืองตอผิวหนัง มีความทนทาน ตอความเปนกรดและดางในเหงือ่ ของผูส วมใส ทัง้ ยังทน ทานตอแสงแดดและการซักลางและยังแหงเร็วอีกดวย” นายยรรยง กลาวเสริม นอกจากนี้ เครือ่ งพิมพทง้ั 4 รุน เปนเครือ่ งหนา กวางติดแท็งคแท โดยทุกชิ้นออกแบบและผลิตจากโรง งานของเอปสัน ทําใหลูกคามั่นใจในประสิทธิภาพและ คุณภาพของเครื่องไดเต็มที่ ระบบแท็งคที่สามารถจุนํ้า หมึกไดถึง 1.5 ลิตร ชวยใหพิมพงานไดจํานวนมากและ ลดความถี่ใ นการเปลี่ยนหมึกพิมพ พรอมชุดหมึกพิมพ ชนิดรีฟลลที่ชวยเพิ่มความคุมคาในการลงทุนใหกับ ผูประกอบการ ThaiPrint Magazine 29


Print News

นายยรรยง กลาวเพิม่ เติมวา “หากมองถึงโอกาส ทางการขายของ SureColor F-Series และ B-Series แลว เอปสั น มี ค วามมั่ น ใจว า จะได รั บ การตอบรั บ จากผู  ประกอบการอยางรวดเร็วและเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งดวย เพราะพิจารณาจากจํานวนผูประกอบการในอุตสาห กรรมสิ่งทอเครื่องนุงหมในเมืองไทยและผูประกอบการ งานพิมพปายตางๆ มีจํานวนมาก อีกทั้งการเปดเสรี อาเซียนในอีก 2 ป จะทําใหผูประกอบการไทยตองพบ กับการแขงขันที่สูงขึ้น ทําใหตองยกระดับความสามารถ ในการผลิต และตองปรับตัวเปนผูผลิตที่มีการออกแบบ สินคาหรือมีแบรนดเปนของตนเอง เพื่อสรางมูลคาเพิ่ม และความไดเปรียบในการแขงขัน

30 ThaiPrint Magazine

นอกจากนี้ รัฐบาลไทยยังมีความตองการที่จะ ยกระดับภาพลักษณของประเทศใหเปนผูน าํ แฟชัน่ ในภูมิ ภาคนี้ ทําใหผปู ระกอบการไทยทีม่ ศี กั ยภาพถูกผลักดันให รุกเขาสูตลาดสงออกมากขึ้น สินคาตองมีความหลาก หลายเหมาะกับผูซื้อในตลาดตางๆ ดี ไซนตองมีความ เคลือ่ นไหวอยูต ลอดเวลาเพือ่ ไมใหตกเทรนด” นายยรรยง กลาวสรุป ติดตอ เอปสัน ฮอทไลน 02-685-9899









Print Interview Interview

Sandor Janos Meszaros Managing Director

อยากใหทา นกลาวถึงความเปนมาของบริษัท ฮิวเบอร อิงคส ประเทศไทย จํากัด ในดานหมึกพิมพ วามีความเปนมาอยางไรบาง..? เราเปนโรงงานผลิตหมึกพิมพที่มีชื่อเสียงมา อยางยาวนานมากกวา 250 ปแลว โดยปจจุบันบริหาร งานโดยทายาทรุน ที่ 9 ซึง่ ไดทาํ การ เขาซือ้ บริษทั Micro Ink ทีป่ ระเทศอินเดีย ตัง้ แตป 2006 เปนตนมา ทําใหเรา สามารถผลิตหมึกดวยวัตถุดิบของเราเอง โดยไมตองพึ่ง พาวัตถุดบิ จากตลาดโลก พรอมทัง้ ยังสามารถพัฒนาเทค โนโลยีการผลิตหมึกพิมพอยางครบวงจรภายใตแบรนด Huber Group จนไดรับความเชื่อถือใหเปนผูผลิตหมึก รายใหญเปนอันดับ 5 ของโลก ทุกวันนีเ้ ราเปนผูน าํ ตลาด หมึก Offset Sheetfed ทั้งในยุโรปและอินเดีย สวนใน ภาคพื้ น เอเชี ย แปซิ ฟ  ก เราเป น ผู  นํ า ตลาดสํ า หรั บ การ พิมพระบบ Heatset และ Coldset และในขณะเดียวกัน 38 ThaiPrint Magazine

ในประเทศไทยเราสามารถกลาวไดอยางภาคภูมิใจวา เราเปนผูนําตลาด การพิมพระบบ UV Offset อีกดวย พูดถึงฮิวเบอร กรุป ในประเทศไทย ผลิตภัณฑที่มุงเนน เมื่อกลาวถึง บริษัท ฮิวเบอร อิงค ประเทศไทย ซึ่งเปน บริษัทลาสุดในเครือ ฮิวเบอร กรุป ที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อ จําหนายและแนะนําผลิตภัณฑในเครือของ ฮิวเบอรกรุป ซึ่ ง เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ มี คุ ณ ภาพสู ง และได ม าตราฐาน ระดับโลก Huber Inks ประเทศไทย ซึ่งแตเดิมไดทําธุรกิจ การคาในอุตสาหกรรมการพิมพ ภายใตชื่อของ Hostmann-Steinberg Asia โดยจําหนายขายหมึกพิมพ Offset Sheetfed ทัง้ ตลาดในประเทศไทยและตลาด SEA ตอมา เมือ่ ตลาดไดมกี ารขยายตัวเติบโตขึน้ ฮิวเบอร อิงค (ประเทศ ไทย) ไดถกู กอตัง้ ขึน้ พรอมดวยผลิตภัณฑทมี่ ปี ระสิทธิภาพ สูงและบริการที่ดีเยี่ยม เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2555 ที่ ผานมา ในขณะเดียวกัน เรามีทีมผูเชี่ยวชาญที่มีประสบ การณจากบริษัทแมและทั้งในประเทศไทยเอง เพื่อมา ดูแลและบริการลูกคา ซึง่ ปจจุบนั นี้ Huber Inks Thailand มีความพรอมเพื่อตอบสนองสําหรับลูกคาในประเทศ ไทย เรามีความยินดีเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะเปนทีป่ รึกษาพรอม ทั้งใหความชวยเหลือและสนับสนุนลูกคา เราไดทําการ พัฒนาผลิตภัณฑที่จะชวยลดตนทุนกระบวนการผลิต พรอมทั้งยังสอดคลอง กับการอนุรักษรักษาสิ่งแวดลอม ที่เราเรียกวา mineral oil free/ VOC free inks โดยที่เปน ที่ ย อมรั บ ในอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ บ รรจุ ภั ณ ฑ จ าก บริษัทชั้นนําทั่วโลกมาแลว บริษทั Huber Inks ประเทศไทย พรอมแลวสําหรับ จําหนายหมึกพิมพ Offset Sheetfed, UV, Heatset และ Coldset, รวมทัง้ ผลิตภัณฑทคี่ รอบคลุมเพือ่ ใชในกระบวน การพิมพ อันไดแก


บริษัท ฮิวเบอร อิงคส ประเทศไทย จํากัด

• Inkredible หมึกพิมพ Offset สําหรับ Sheedfet (VOC Free) - Impression, 100% vegetable oil based - Resista, 100% vegetable oil based - Maxxima, vegetable oil based - Surprize, vegetable oil based - Rapida, vegetable oil base - Prime Plus • !NKredible range offset printing inks for Heatset called REVOLUTION For high, mid and low tack • !NKredible range offset printing inks for Newspaper printing called Good News For various press types and speeds • NewV offset inks, fount concentrates and varnishes • Pantone and Special inks • Gold and Silver Inks • Overprint varnish and water based varnishes • Fount concentrates SF/HS/CS and also IPA free for SF and HS • Printing auxiliaries หมึกพิมพ Offset Sheetfed ทั้งหมดของเราไดรับการรับรองจาก FOGRA เพื่อเปนการรับรองวาหมึกพิมพ Offset Sheetfed ไดผาน ink ISO 2846-1 ตามมาตรฐานสี ISO 12647-2 อีกทั้งผลิตภัณฑทั้งหมดนี้ ไดมีขั้น ตอนกระบวนการผลิตเปนไปตามมาตรฐานสิ่งแวดลอมโลกและเปนที่ยอม

รับจากบริษัทชั้นนําทั่วโลก สําหรับ ในภาคพื้นเอเชียนั้น เรามุงเนนไป ที่หมึก offset Sheet fed เปนหลัก สําหรับธุรกิจสิ่งพิมพ และธุรกิจการ พิมพบรรจุภัณฑ การแขงขันในดานการตลาด ธุรกิจที่เกี่ยวกับสิ่งพิมพมีการวาง แผนและพัฒนาเทคโนโลยีของหมึก พิมพมงุ เนนกลุม อุตสาหกรรมการ พิมพประเภทใดเปนพิเศษ...? Hubergroup เปนบริษทั ผลิต หมึกพิมพชั้นนําที่ผลิตหมึกพิมพ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง มาตรฐานเดี ย ว กั น ทั่ ว โลกซึ่ ง พิ สู จ น ไ ด จ ากความมี มาตรฐานทีแ่ นนอน เราไมจาํ เปนตอง กอตั้งโรงงานของเราเองในทุ ก ๆ ตลาดซึ่งนัน่ เอง ทีท่ าํ ใหเราสามารถลด ตนทุนการจัดการไดเปนอยางมาก เราสามารถทํ า งานได ด  ว ยที ม ที่ มี ประสิทธิภาพเพียง 10 ถึง 50 คน ThaiPrint Magazine 39


Print Interview

ซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญดานการพิมพ, colour Matching, ทีม ขาย, ทีมการตลาดและเจาหนาทีป่ ระจําสํานักงาน สวนใน ระบบเรือ่ งการขนสงนัน้ เราใชจากบริษทั ชัน้ นํา เราสามารถ นําเขาสินคาดวยระยะเวลาอันสั้นจากโรงงานของเราที่ อินเดียมายังประเทศไทย ทัง้ นีท้ งั้ นัน้ เราก็ยงั มีการจัดสรร คลั งสิ น ค าเพื่อ กระจายสิน คา ให ถึง เมื่อ มื อลู กค าและ ตัวแทนไดอยางรวดเร็ว

เรามีทีมผูเชี่ยวชาญเจาหนาที่ฝายเทคนิคที่รับ ไดการฝกอบรมมาอยางดีทั้งชาวไทยและชาวตางชาติ ที่จะสามารถใหบริการลูกคา Huberinks ในประเทศไทย พรอมทั้งใหการสนับสนุนและใหบริการลูกคาของเราใน มาตรฐานสูงสุด ทั้งในเรื่องของทางดานเทคนิคและวัตถุ ดิบ ผลิ ต ภั ณ ฑ ข องเรามี ฐ านการผลิ ต ทั่ ว โลกด ว ย นวัตกรรมที่ทันสมัย เปนมาตรฐานสีระดับสากล อีกทั้ง โรงงานที่ไดมาตรฐาน รวมทัง้ ยังเปนผลิตภัณฑทปี่ กปอง สิ่งแวดลอมอีกดวย เชน VOC Free inks/ Mineral Oil free ซึ่งหมึก Offset Sheetfed ของ Hubergroup เปนที่ ยอมรับจากบริษทั ชัน้ นําทัว่ โลกในอุตสาหกรรมบรรจุภฑั ณ เราไดทํางานรวมกับบริษัทตัวแทนจําหนายยักษ ใ หญ เชน บริษัท CGS ซึ่งเปนบริษัทที่มีความชํานาญและครํ่า หวอดในวงการการพิมพมาอยางยาวนาน บริษัทมีการวางนโยบายลวงหนาสําหรับการ เขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือAECไวอยางไร บาง..? ถาพูดถึงประเทศใน AEC ประเทศไทยถือไดวา เปนประเทศทีพ่ ฒ ั นาเร็วทีส่ ดุ ซึง่ มีการขยายตัวของตลาด หมึกพิมพอยางนารวดเร็ว ในระยะเวลา 5 ปมานี้ นั่นก็ คือเหตุผลหลักเลยที่เราเลือกที่จะมาตั้งสาขาที่ประเทศ ไทย หลังจากที่เราไดเปดตลาดที่ประเทศจีน อินโดนีเซีย

40 ThaiPrint Magazine


บริษัท ฮิวเบอร อิงคส ประเทศไทย จํากัด และฟลิปปนส ถึงแมวาตลาดบรรจุ ภัณฑในไทยจะมีการเปนตลาดที่มี การเติ บ โตอย า งรวดเร็ ว และการ พัฒนาอยางแข็งแกรง แตกม็ กี ารแขง ขันที่สูงมากดวยเชนเดียวกัน ซึ่งนั่น ก็ชวยในการเพิ่มมาตรฐานคุณภาพ ใหสูงขึ้นเปนมาตรฐานสากลทั่วโลก จุดแข็งอีกขอของตลาดการ พิมพในประเทศไทย นัน่ ก็คอื การมอง หาเทคโนโลยีใหมๆ ที่ทันสมัย สิ่งที่ ดีกวา, มีประสิทธิภาพสูงขึ้น และใน เวลาเดียวกันก็ยังสามารถลดตนทุน การผลิตไดอีกดวย ผลิตภัณฑทุกวัน นี้เรายังเล็งเห็นการอนุรักษสิ่งแวด ลอม ซึง่ Hubergroup เองก็เปนบริษทั แหงเดียวและแหงแรกทีส่ ามารถตอบ โจทยความตองการนีไ้ ด เรายังคงเปน ผูริเริ่มในการพัฒนาหมึกแบบ offset sheetfed สําหรับการพิมพบรรจุภณ ั ฑ อาหาร ดวยระบบ MGA ซึ่งไดรับ การรับรองจาก NESTLE เนื่องดวยจุดเดนที่แข็งแกรง ของเราเหลานี้เอง ที่เปนหัวใจสําคัญ ที่ไดรับการตอบรับจากลูกคาเปนอยาง ดี อีกทัง้ เราไดเปดสาขาในประเทศไทย แลวดวย ทําใหลูกคาไดเชื่อมั่นวาจะ ไดรบั การบริการจากเราไดอยางทัว่ ถึง ถ า มองกลั บ ไปในด า นการพั ฒ นา เรายังมีประสบการณมาเปนระยะ เวลาหลายปในตลาดเอเชีย และเมือ่ ใดก็ตามที่ AEC เริม่ ขึ้น Hubergroup ก็จะมีตัวแทนใน ประเทศในอาเซียนทัง้ หมด ทัง้ ทีเ่ ปน ตัวแทนของเรา และที่เปนสาขายอย ของเรา เรามีความพรอมแลวอยาง มาก เพื่อตอนรับเขาสู AEC

ปจจุบันการพิมพดวยระบบดิจิทัลมีการเติบโตมากนอยแคไหน และในอนาคตการขยายตัวจะเปนไปในทิศทางใด..? ระบบพิมพดิจิตอลเปนเทรนใหมในอุตสาหกรรมการพิมพ ที่มีอัตรา การเติบโตอยางเรื่อยๆ ในอุตสาหกรรมการพิมพ บริษัทตางๆ เริ่มที่จะมี การขยายบริการประเภทนี้สูลูกคาเพื่อที่จะเพิ่มมูลคาใหกับเทคโนโลยีการ พิมพ ปจจุบันนี้บริษัทใหมๆ จําเปนที่จะตองเสนอบริการประเภทนี้ ตาม มาตรฐานที่คาดหวังไวของลูกคา เพื่อที่จะชวยใหเกิดการขยายตัวมากยิ่งขึ้น แตทั้งนี้ก็ไมอาจจะพูดไดวา เทคโนโลยี Digital Printing จะเขามาแทนที่การ พิมพแบบ offset sheetfed ในระยะเวลา 5 หรือ 10 ป ขางหนา ในปจจุบนั นี้ เทคโนโลยีของ digital Printing ยังไมไดพรอมในการพิมพแบบ High speed และการผลิตในระยะยาว รวมทัง้ ราคาก็ยงั ไมอยูใ นระดับทีจ่ ะแขงขันในตลาด ได ผมไมเห็นวาในปจจุบันนี้ digital Printing จะมีการพัฒนาไดอยาง แข็งแกรง เพือ่ รองรับการพิมพบรรจุภณ ั ฑ เนือ่ งจากการพิมพบรรจุภณ ั ฑจะมี การพิมพปริมาณจํานวนมาก หลากหลายขั้นตอนการผลิต ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ตอง อยูภ ายใตเงือ่ นไขกฎขอบังคับ อาหาร, สิง่ แวดลอม และสุขภาพดวยครับ

ThaiPrint Magazine 41






YLW 780 เครื่องซิลคสกรีน

YLU เครื่องเคลือบยูวี

YLEM เครื่องอัดลาย

YLL-3AWF เครื่องเคลือบลามิเนทอัตโนมัติ

YLM-350 เครื่องถายโอนเลเซอรระบบยูวี

ผูจัดจำหนายเครื่องจักรหลังการพิมพ บริษัท ยีลี่ (ประเทศไทย) จำกัด 969/1 ซ.พัฒนาการ 15 ถ.พัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2369-4011-2 แฟกซ. 0-2369-4013 E-mail : Yiilee_Thailand@hotmail.com

YIILEE (THAILAND) CO.,LTD. 969/1 PATTANAKARN SOI 15, PATTANAKARN RD., SUANLUANG, BANGKOK 10250 TEL. 0-2369-4011-2 FAX. 0-2369-4013


S-188 U.V Varnish แบบหนา S-189 Low Viscosity U.V Varnish แบบบาง น้ำยายูวี สำหรับการเคลือบในอุตสาหกรรม กระดาษแบบหนา และ แบบบาง C-190 Screen-Printing U.V Vanish สำหรับงานที่มีความนูนต่ำ C-190H High Viscosity สำหรับงานที่มีความนูนสูง

S-168 Opp Glue เปนกาว OPP ใชสำหรับ BOPP, PET, PVC ฟลม ใหติดกับกระดาษทำใหกระดาษเงาและเรียบ น้ำยาสปอตยูวีแบบซิลคสกรีน เคลือบเฉพาะจุดเพื่อใหเกิดความเงาสูง มีประสิทธิภาพในการเคลือบกระดาษสูง มีความสวยงาม โดดเดน สามารถเก็บรักษาไวไดนาน

กาวน้ำ OPP สำหรับฟลม BOPP, PET, PVC กับกระดาษและสิ่งพิมพกระดาษ สามารถทำใหกระดาษที่เคลือบฟลมแลวมีผิวเรียบเนียน มีความเงาสูง ยึดเกาะไดดี สามารถปมนูนกระดาษหรือรีดลายกระดาษได และสามารถใชกับเครื่อง Manual และ Auto ได

OPP FILM LAMINATION ใส 15 mic ความยาว 4000 เมตร ดาน 15 mic ความยาว 4000 เมตร มี Size 400, 450, 460, 500, 540, 550, 580, 600, 630, 640, 725, 750, 780, 800, 880, 900, 915, 920, 1020

969 ซ.พัฒนาการ 15 ถ.พัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท 0-2729-8847-8 แฟกซ 0-2729-8849 E-mail : Kmorethailand@hotmail.com


Printing Business

PSD Workf low โดย กิตติ พรพิพัฒนวงศ

บริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ (ประเทศไทย) จํากัด DigitalPrint Expert

| 25489-13

vpc

ทุกทานคงพอเขาใจเกี่ยวกับเรื่อง Output Process Control ที่เปน 1 ใน 3 ของสวนประกอบสําคัญของ Process Standard Digital (PSD) กัน บางแลว ผมคิดวาทานผูอ า นหลายๆ ทาน อาจคิดวารายละเอียดและกระบวน การอาจจะมีมากไป แตสวนตัวผมกลับคิดวาการพิมพทุกระบบมีวิธีการใน การควบคุมคุณภาพที่แตกตางกัน เพียงแตตองทําความเขาใจในเรื่องของ กระบวนการตางๆ ที่ “ตองทํา” นั้นวามีความสําคัญอยางไร ผมขอเขาสู เรื่องของกระบวนการทํางาน หรือ เรียกเปนภาษาอังกฤษเทหๆ วา “Workflow” ซึ่งเปนหัวขอที่ 2 ครับ

48 ThaiPrint Magazine

Workflow คือ กระบวนการ ที่ตองปฏิบัติเพื่อใหไดผลลัพธตาม ความตองการ ปกติในชีวติ ประจําวัน ของทุกทานก็คงมี Workflow ในการ ใชชีวิตที่แตกตางกันไป เชน ตื่นแต เชามาออกกําลังกาย แปรงฟน อาบนํา้ และขับรถไปทํางาน ซึง่ ในการทํางาน โดยเฉพาะงานพิมพก็มีสิ่งที่ตองทํา เพือ่ ใหไดผลลัพธทตี่ อ งการเชนเดียว กัน เชน ลูกคาสงไฟลงานผาน Internet หรือ Write DVD มาให จากนัน้ หนวย งานออกแบบ หรือ Pre Press ก็จะ นําไฟลที่ไดรับไปตรวจสอบวามีขอ ผิดพลาดหรือไม, มี Font ถูกตองหรือ ไม, มีความละเอียดของไฟลรูปภาพ เปนอยางไร เมื่อตรวจสอบแลวพบ วามีปญ  หาก็จะติดตอประสานงานกับ ลูกคาเพื่อใหแกไขหรือลูกคาอยาก ใหโรงพิมพแก ก็อาจจะมีการคิดคา ใชจายเพิ่มเติมหรืออาจเปนการให บริการก็ไดสุดแลวแตทาน จากนั้น ลูกคาก็จะแจงถึงรูปแบบงานพิมพที่ ตองการวามีการเขาเลมแบบไหน มี การเคลือบหรือไม สุดทายก็มีการ ประเมินราคาสิ่งพิมพแลวสงกลับไป


PSD WORKFLOW ใหลกู คาเพือ่ ดําเนินการสัง่ พิมพตาม ลําดับ ซึ่งที่กลาวมานั้นก็คือ Workflow ในการทํางานพิมพทั่วๆ ไป แต ถาเปน Process Standard Digital จะ พูดถึงเรือ่ ง Workflow ทีค่ ดิ ขึน้ สําหรับ เครือ่ งพิมพ Digital แบบตางๆ ซึง่ จะ มีรายละเอียดอยางไร และสวนไหน ที่ตองใหความสําคัญ ผมขอใหทาน ผูอานคอยๆ ศึกษาและทดลองทําดู ครับ เนื้อหาคอนขางจะลงลึกไปใน สวนของ Technical แตผมจะพยายาม อธิบายเปนสวนๆ ไปในแตละฉบับ จะไดไมหนักเกินไปครับ มาเริ่มดูกัน ตั้งแตฉบับนี้ครับ ในสวนของ PSD Workflow มีสวนประกอบหลายอยางดังนี้:- PDF/X Output - Data Preflight - ICC Handling - PDF/X Creation - Altona Test Suite V1 & V2 - Light Audit โดยแตละสวนมีความสําคัญ ในการใชตรวจสอบ และควบคุมคุณ ภาพในการทํางานของระบบการพิมพ Digital โดยมีรายละเอียดในแตละ หัวขอดังนี้:1. PDF/X Output (Use PDF/ X Compliant) : ในการทํางานกับเครือ่ ง พิมพ Digital สิ่งสําคัญประการหนึ่ง คือ การเตรียมไฟลงานใหถูกตองซึ่ง ผมเชื่อวาทุกวันนื้ ทุกทานคงใชไฟล “PDF” เปนหลักในการทํางานอยูแ ลว เพราะในปจจุบันนี้ PDF กลายเปน มาตรฐานสํ า คั ญ ของงานพิ ม พ ไ ป แลว สําหรับทานผูอานที่พิมพงาน ผาน PostScript Driver อยู ผมขอ อนุญาตแนะนําใหทําการแปลงไฟล เปน PDF ครับ เพราะวามีประโยชน

กวาการพิมพผา น Driver มากมาย ซึง่ ประโยชนทงั้ หมดเคยมีการเขียนไปแลว ครับ ทานผูอานทราบไหมครับวาในเอกสาร PSD ถึงขนาดกลาววา “Say goodbye Postscript driver” กันเลยทีเดียว ในขอกําหนดของ PSD มีราย ละเอียดวาตองใช PDF ไฟลในการทํางาน และไฟล PDF ดังกลาวนั้น ตอง เปน PDF/X เทานั้น มาถึงตรงนี้ทานผูอานเห็นความสําคัญของ PDF มาก ขึ้นแลวใชไหมครับ แลว PDF/X คือ อะไร ผมเคยเขียนไปแลว แตขอใหราย ละเอียอดอยางยอเพื่อความเขาใจของทุกทานดังนี้ครับ PDF/X ยอมาจาก PDF Exchange ซึ่งเปนไฟล PDF ที่สรางมา เพื่องานพิมพอยางเดียวเทานั้น เพราะจริงๆ แลวไฟล PDF มีความสามารถ หลายดาน ไมวาจะเปนการเพิ่มเติมไฟลเสียง หรือ ไฟล VDO ใหเขาไปอยู ใน PDF ไฟล การฝง Attached File เขาไปในไฟล PDF หรือความสามารถใน การเปดไฟลภาพ 3 มิติเขาไปใน PDF ไฟลไดดวย ซึ่งความสามารถที่กลาว มานี้ ไมเกี่ยวของอะไรเลยกับงานพิมพเลย ดังนั้น PDF/X จึงเปนการสราง ไฟลงาน PDF ที่ใชเฉพาะสําหรับงานพิมพโดยตรงนั่นเอง ไฟล PDF/X ใน ปจจุบันมีอยูหลาย Version เชน PDF/X1-a, PDF/X-4 เปนตน โดยในแตละ Version ก็มีความสามารถบางอยางแตกตางกันไป เชน การรองรับ Transparency, รองรับความสามารถของสีพเิ ศษ, ความสามารถในการรองรับงาน พิมพเฉพาะบุคคล แตทั้งหมดนี้ก็มีขอบังคับในการสรางไฟล PDF ดวย ยก ThaiPrint Magazine 49


Printing Business

ตัวอยางเชน :- ตองมีการกําหนด Bleed ในไฟล PDF/X - ตองมีการฝง Font ในไฟล PDF/X - ตองมี Output Intent (คุณลักษณะที่ระบุอยูในไฟล PDF/X เพื่อ แจงวาไฟลนไี้ ดถกู เตรียมพิมพดว ยมาตรฐานอะไร และควรพิมพดว ยมาตรฐาน อะไร เชน ถูกเตรียมพิมพ และควรพิมพดวย Fogra39) ซึ่งขอยํ้าวา Output Intent ไมใช ICC Color Profile - ตองใชภาพที่มีคุณภาพดีในการทํางาน โดยในการสรางไฟล PDF/X สามารถใชคา PDF/X Preset ที่มีอยู แลวใน Software ตระกูล Adobe เชน การ Export PDF ไฟลจากโปรแกรม Adobe InDesign, การ Save As เปน PDF/X จาก Adobe Illustrator ไดเลย โดยคา Preset มีใหเลือกตั้งแตการ Save เปน PDF/X1-a ซึ่งรองรับงาน พิมพที่เปน CMYK และ SPOT Color หรือ เลือก Save เปน PDF/X-4 ที่ รองรับทุก Color Mode ไมวาจะเปน RGB, CMYK, Gray, LAB และ SPOT Color รวมทั้งรองรับการทํางานแบบ Live Transparency ดวย ทําใหไมมีขอ จํากัดในการออกแบบ ใน PSD PDF/X Compliant Workflow แนะนําใหใช PDX V-2 Ready joboptions ของ PDF/X Ready เพื่อใชในการสรางไฟล PDF ซึ่งหนวยงาน PDF/X Ready เปนหนวยงานที่ตั้งขึ้นเพื่อโปรโมทการใช งาน PDF/X โดยมี Partner เขารวมมากมาย อาทิเชน AGFA, Adobe, Fogra, UGRA, Callas และอืน่ ๆ เพือ่ ชวยกันผลักดันใหเกิดการใชงาน PDF/X และเผยแพรความรูเกี่ยวกับการใชงาน PDF/X อีกดวย (สามารถหาขอมูล เพิม่ เติมไดจาก http://www.pdfx-ready.ch แตจะอานยากนิดนึงตรงทีข่ อ มูล ทัง้ หมดเปนภาษาเยอรมันและฝรัง่ เศสครับ โดยทานผูอ า นสามารถ Download 50 ThaiPrint Magazine

จาก Website ดังกลาวไดเลยไมมีคา ใชจา ยครับ ในฉบับนีแ้ นะนําให Down load ตัว Job Option ทีใ่ ชในการสราง PDF/X กอน โดยเขาไปที่ http://www. pdfx-ready.ch แลวเลือกเมนู Download และเลือก Download ไฟลตาม ภาพดานลาง คือ PDFX-Ready InDesign_ABCS4_V2.0-CMYK.Zip เมื่อ Download ไฟลเสร็จ เรียบรอยแลว ใหทําการ Unzipped ไฟล (ลูกศรสีแดง) ซึ่งจะไดไฟลที่ชื่อ วา “PDFX-ready_ID-abCS4-V2.0CMYK.joboptions” แลวทําการ Copy ไปเก็บไวใน Directory ของโปรแกรม Adobe เชน ใน “C:\Users\Useraccount\AppData\Roaming\Adobe\ Adobe PDF\Settings” เมื่อทําการ Copy เรียบรอยแลว ใหทําการเปด Program ตระกูล Adobe เพื่อตรวจ สอบวาตัว Job Option สามารถใช ไดอยางสมบูรณหรือไม โดยจากภาพ ตัวอยาง ผมเขาไปทีโ่ ปรแกรม Adobe InDesign เพื่อทําการตรวจสอบ โดย เขาไปทีเ่ มนู File-> Export แลวเลือก ไฟลเปน PDF จะมี PDFX-Ready Job Option ใหเลือก จากนัน้ ก็ทาํ การ Export ตามปกติ เพียงเทานี้ทานผูอานก็จะ ไดไฟล PDF/X ที่ตรงตามมาตรฐาน ของ PSD ทันที ไมตองเสียเวลามา นั่งคิดวาจะสรางไฟล PDF แบบใด ใหเหมาะกับระบบการพิมพ Digital ผมหวังวาคงเปนประโยชนกับทานผู อานครับ ในฉบับหนาก็มาตอเรื่อง ของ PSD Workflow ในสวนถัดไป ครับ



Thaiprint Cover Story

Continuous Feed Printing System

“โอกาสที่ธุรกิจของคุณจะเติบโตอยางยั่งยืนมาถึงแลว” กาวไปขางหนากอนใคร ดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดจาก ฟูจิ ซีร็อกซ พรอมใหคุณ ไดเปดโอกาสทางธุรกิจใหมไปกับแทนพิมพสี่สีอิงคเจ็ทแบบปอนมวนความเร็วสูง ที่มีความเร็วใน การพิมพ 100 เมตรตอนาที สามารถรองรับงานพิมพไดมากกวา 10 ลานหนา A4 ตอเดือน คุณภาพคมชัด ดวยความละเอียดในการพิมพสูงถึง 600 x 600 dpi และหัวพิมพ 40 KHz แบบ ใหมลาสุดที่ถูกปรับปรุงใหดีขึ้น คุณจึงมั่นใจไดวางานพิมพที่ไดรับจะมีคุณภาพเปนที่นาพึงพอใจ

FX 1400 Inkjet Color บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จำกัด

123 อาคารซันทาวเวอรส เอ ชั้น 23-26 ถ.วิภาวดี-รังสิตแขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท : 02 660 8000 ตอ 8808 มือถือ : 081 701 5955 โทรสาร : 02 617 6740 Website : www.fujixerox.co.th Email : jinsipa.t@tha.fujixerox.com

52 ThaiPrint Magazine


บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด

“เชื่อมโยงธุรกิจของคุณกับอนาคตในการพิมพแบบดิจิตอลไดอยางลงตัว” จากขอมูลวิเคราะหทางการตลาดชี้ใหเห็นวาในอนาคต งานพิมพจากเครือ่ งออฟเซทนัน้ มีแนวโนมทีจ่ ะลดลงอยางเห็นไดชดั อันเนือ่ งมาจากพฤติกรรม ของผูบริโภคที่เปลี่ยนไปจากเดิม ซึ่งงานพิมพจำนวนนอย หรืองานที่มีการเปลี่ยนแปลงขอมูลเฉพาะบุคคลนั้น ไดรับความนิยมมากขึ้นและมีมูลคาเพิ่มขึ้น ดังนัน้ สิง่ ทีจ่ ะมาตอบโจทยเหลานี้ คงหนีไ้ มพน แทนพิมพดจิ ติ อลศักยภาพสูงอยาง FX 1400 Inkjet Color ทีจ่ ะเชือ่ มโลกการพิมพแบบออฟเซทและดิจติ อลเขา ไวดวยกันอยางลงตัว

“สะดวก คลองตัว เพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิตไดอยางเต็มที่ ” FX 1400 Inkjet Color ถูกออกแบบโดยรวมหนวยพิมพสอง หนวยเขาไวดวยกันเปนเแทนเดียว ซึ่งสามารถพิมพงานไปพรอม กันไดทั้งดานหนาและดานหลัง ซึ่งทำใหเกิดความสะดวก คลองตัว และชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตไดอยางเต็มที่ นอกจากนี้เวลา ในการทำงานยังลดลงดวยวิธีการ RIP ไปพรอมกับการพิมพ (RIP คือ การแปลงตัวหนังสือและรูปภาพใหเปนภาพแบบ raster หรือที่เรียก กันวา bitmap) ซึ่งตรงขามกับวิธีเดิมที่จะเริ่มพิมพงานภายหลังจาก สรางภาพแบบ raster เสร็จสมบูรณทั้งหมดแลวเทานั้น ซึ่งสามารถ รองรับไดทั้งไฟล PostScript, PDF (APPE 2.6), และ VIPP

“สามารถปลอยหมึกได มากกวา 4.2 พันลานหยดตอวินาที” ด ว ยเทคโนโลยี ก ารพิ ม พ แ บบ Piezoelectric Drop-OnDemand ที่ใชความตางศักยไฟฟาในการทำใหแผน Piezo Electric Crystal บิดตัว เพื่อดันหมึกออกจากหัวพิมพ ซึ่งหัวพิมพที่ใชเปนแบบ 40kHz รุนใหมที่ปรับปรุงการสงสัญญาณใหดีขึ้น มีจำนวนทั้งหมด 40 หัว ทำใหแทนพิมพ FX 1400 Inkjet Color สามารถปลอยหมึก ไดมากกวา 4.2 พันลานหยดตอวินาที คุณจึงสามารถผลิตงานได อยางรวดเร็ว ดวยความละเอียดในการพิมพทส่ี งู และคมชัด ยิง่ ไปกวา นั้นการใชงานรวมกับหมึกที่มีเม็ดสีคุณภาพสูง ทำใหหัวพิมพมีอายุ การใชงานที่ยาวนานมากกวาเดิม ซึ่งจะชวยลดตนทุนคาหัวพิมพ ลงไปไดอยางมาก

“ระบบควบคุมตำแหนงของขอบกระดาษ” นอกเหนือจากความเร็วทีส่ งู ถึง 100 เมตรตอนาที และคุณภาพ ในการพิมพอนั ยอดเยีย่ มแลว แทนพิมพ FX 1400 Inkjet Color ยังสามารถ พิมพงานไดอยางแมนยำ ดวยระบบควบคุมตำแหนงของขอบกระดาษ (Edge Positioning Control) ซึ่งทำหนาที่ตรวจสอบขอบกระดาษ และปรับเขาสูตำแหนงที่ถูกตองขณะพิมพงานอยูเสมอ

“ชุดทำแหงแบบ Near Infrared ทีท่ ำใหหมึกแหงตัวไดรวดเร็ว” สิ่งสำคัญสำหรับการผลิตงานพิมพคุณภาพสูงภายในเวลาอัน รวดเร็ว ก็คือหมึกที่อยูบนกระดาษนั้นจะตองแหงเร็วพอที่จะไมทำให เกิดจุดดางขึ้นบนงานพิมพ แทนพิมพ FX 1400 Inkjet Color จึงใชชุด ทำแหงแบบ Near Infrared ซึ่งมีคุณสมบัติที่ทำใหหมึกแหงตัวไดเร็ว โดยไมทำใหสภาวะของกระดาษเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ยังลดการ ปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟา และสัญญาณรบกวนไปยังอุปกรณอื่น จึงลด การใชแผนโลหะเพื่อปองกันคลื่นแมเหล็กลง ทำใหประหยัดพลังงาน มากขึ้น และยังเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอีกดวย

“ตัวเครือ่ งมีนำ้ หนักเบา สามารถติดตัง้ บน ชั้นที่ 2 หรือชั้นอื่นๆ ไดอยางปลอดภัย” เพื่อใหการติดตั้งสามารถทำไดงายขึ้น แทนพิมพจึงออกแบบ โครงสรางมาใหมีน้ำหนักเบา และลดการใชแผนโลหะลง โดยมีการ กระจายน้ำหนักเพียงแค 500 กิโลกรัมตอตารางเมตร ทำใหสามารถ ติดตั้งบนชั้นที่ 2 หรือชั้นอื่นๆ ไดอยางปลอดภัย

“ฝายพัฒนาธุรกิจ คอยใหคำปรึกษา และ สรางแผนการ เพื่อความสำเร็จในธุรกิจ” นอกจากนี้ ฟูจิ ซีรอ็ กซ ยังมีฝา ยพัฒนาธุรกิจ ทีค่ อยใหคำปรึกษา และสรางแผนการทีจ่ ะทำใหธรุ กิจของลูกคาประสบความสำเร็จ รวมทัง้ คำนวณผลตอบแทนจากการลงทุนไดอยางแมนยำ นอกจากนีย้ งั สามารถ พัฒนาโปรแกรมใหมเพื่อขยายการเติบโตทางดานธุรกิจการพิมพแบบ ดิจิตอลไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งเรามีทีมงานผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน ทีพ่ รอมจะชวยใหลกู คาประสบความสำเร็จในธุรกิจการพิมพแบบดิจติ อล อยางสูงสุด FX 1400 Inkjet Color

ThaiPrint Magazine 53


Print News

กลุมเจริญอักษรผูนําอุตสาหกรรมสิ่งพิมพไทย เขาเทคโอเวอรยักษใหญผูผลิตกระดาษหนังสือพิมพ จาก นอรสเค สคูค อินดัสทรีเออร อาซา ประเทศนอรเวย

กลุมเจริญอักษรผูนําอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ เขาซื้อกิจการ โรงงานผลิตกระดาษหนังสือพิมพ บริษัท นอรสเค สคูค (ประเทศ ไทย) จาก นอรสเค สคูค อินดัสทรีเออร อาซา ประเทศนอรเวย ชู น โยบายขยายกิ จ การรองรั บ ตลาดส ง ออกสู ภู มิ ภ าคอาเซี ย น ตอนรับ AEC พุงเปารายไดใหกลุมบริษัทเจริญอักษรเพิ่มขึ้น 65% ชี้เทรนดกระดาษหนังสือพิมพ แมปรับตัวลดลง แตยังคงมีปริมาณ การใชภายในประเทศมากกวากําลังผลิตและเชื่อมั่นสามารถขยาย ฐานยังอาเซียนได 54 ThaiPrint Magazine

กลุม บริษทั เจริญอักษรดําเนิน ธุรกิจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ แบบครบวงจรธุรกิจและมีการบริหาร พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมสิ่งพิมพแหง เดียวภายในประเทศไทย อีกทั้งยังมี ความเชี่ยวชาญในหลายธุรกิจ อาทิ โรงงานผูผ ลิตลวดกระดูกงู, ผูผ ลิตอาร เอฟไอดี รวมทัง้ ผูผ ลิตถุงยางอนามัย ที่มีโรงงานที่ใหญที่สุดในโลก เมื่อ เทียบจํานวนการผลิตโรงงานตอโรง งาน ซึง่ ถือไดวา เปนผูม ปี ระสบการณ ดานธุรกิจมายาวนานกวา 40 ป และ ปจจุบนั ไดมกี ารขยายกิจการโดยการ เขาซื้อกิจการโรงงานผลิตกระดาษ หนังสือพิมพ บริษัท นอรสเค สคูค (ประเทศไทย) จํากัด จาก Norske Skog Group ประเทศนอรเวย ในวันที่ 21 พฤศจิกายน 2556 ที่ผานมา ณ หอง บอลรูม 2 ชัน้ 4 โรงแรมอินเตอรคอน ติเนนตัล กรุงเทพฯ สงผลใหกลุม บริษทั เจริญอักษรถือหุน รายใหญเปนสัดสวน 94.12% เปลี่ยนจากชื่อบริษัท นอรส เค สคูค (ประเทศไทย) จํากัด มาเปน บริษทั ซี.เอ.เอส.เปเปอร มิลล จํากัด คุณสุรพล ดารารัตนโรจน ประธานกรรมการบริหาร ซี.เอ.เอส. เปเปอร มิลล จํากัด และกรรมการผู จัดการ บริษทั ซี.เอ.เอส.เปเปอร จํากัด เปดเผยวา การเขาซื้อหุนดังกลาว สง ผลใหกลุมบริษัทเจริญอักษร ดําเนิน ธุ ร กิ จด านอุ ตสาหกรรมสิ่ งพิ มพ ไ ด ครบวงจรมากยิ่งขึ้น ขอสําคัญเปน โรงงานกระดาษหนั ง สื อ พิ ม พ ร าย


C.A.S.Paper Mill

เดี ย วในประเทศไทยที่ นํ า วั ต ถุ ดิ บ ใชแลวมาผลิตใหมเปนการชวยลด ปญหาสิ่งแวดลอม สําหรับนโยบายการตลาดของ กลุม บริษทั เจริญอักษร จะพิจารณาถึง ความตองการของตลาดและลูกคาเปน หลัก โดยจะเนนการพัฒนาคุณภาพ สินคาและควบคุมตนทุนใหสามารถ แขงขันได อีกทั้งเนนการขยายตลาด สงออกโดยเฉพาะในภูมภิ าคอาเซียน ซึง่ ซี.เอ.เอส.เปเปอร มิลล จะทําให รายไดของกลุมกระดาษเพิ่มขึ้นเปน 65% ในป 2557 ภายใตการดําเนินการ ของโรงงานกระดาษ ซี.เอ.เอส.เปเปอร มิลล ซึง่ มีโรงงานตัง้ อยูท จ่ี งั หวัดสิงห บุรแี ละมีกาํ ลังการผลิตกระดาษหนังสือ พิมพ 1.35แสนตันตอป ทางดานผูบ ริหารของ Norske Skog Group มิสเตอร สเวน ออม บัดทเว็ต ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท นอรสเค สคูค อินดัสทรีเออร อาซากลาวแสดงความยินดีที่กลุม บริษทั เจริญอักษร ซึง่ เปนกลุม บริษทั ชัน้ นําในอุตสาหกรรมสิง่ พิมพของไทย จะได เข า มารั บ ช ว งต อ และบริ ห าร จัดการโรงงานตอไป ซึ่งกลุมบริษัท เจริญอักษรถือเปนคูค า และพันธมิตร ที่สําคัญของ Norske Skog มาเปน

ระยะเวลาหลายป และมิสเตอร สเวน ยังกลาวเสริมอีกวา “ผมเชือ่ มัน่ อยาง ยิ่งในความสามารถของกลุมผูบริหารจากเจริญอักษร ที่มีประสบการณและ ความพรอมในทุกๆ ดานในการเขามาบริหารจัดการซึ่งสามารถพัฒนาและ เติบโตไดอยางแนนอน”

ThaiPrint Magazine 55








Print News

เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ที่ผาน มาสมาคมการพิมพไทยนําโดย คุณพรชัย รัตนชัยกา นนท นายกสมาคมการพิมพไทยไดนําคณะกรรมการ บริ ห ารสมาคมการพิ ม พ ไ ทยและผู มี จิ ต ศรั ท ธาร ว ม เดินทางไปยังจังหวัดลําพูน เพื่อไปรวมพิธีเปดศาลา การเปรียญสมาคมการพิมพไทยที่วัดเจดียสามยอด จังหวัดลําพูน ซึ่งงบประมาณในการสรางเมื่อป 2555 ก็ไดรับจากผูมีจิตศรัทธาของคนในแวดวงอุตสาหกรรม การพิ ม พ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ ไ ทยรวมถึ ง ผู ส นั บ สนุ น ตางๆ ที่อยูในกลุมอุตสาหกรรมการพิมพและคณะ ผูบริหารสมาคมฯ จนสามารถสรางศาลาการเปรียญ จนแลวเสร็จ สมาคมการพิมพไทยพรอมทั้งคณะจึง ถือโอกาสในชวงระหวางปลายปนี้และถือเปนฤกษดีที่ จะไดเดินทางไปยังจังหวัดลําพูนเพื่อรวมพิธีเปดศาลา การเปรียญอยางเปนทางการ ณ วัดเจดียสามยอด 62 ThaiPrint Magazine


เปดศาลาการเปรียญ “สมาคมการพิมพไทย”

หลั ง จากนั้ น ทางสมาคม การพิมพไทยยังเรงเห็นความสําคัญ ของการศึกษา จึงไดรวบรวมทุนการ ศึกษาและคอมพิวเตอร รวมมูลคา 84,000 บาท เพื่อสนับสนุนทุนการ ศึกษาสําหรับเด็กอนุบาล 1 - ป.6 และ งบบริหารโรงเรียนวัดเจดียสามยอด สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลําพูน เขต 1 เพื่อเปน การสงเสริมดานการศึกษาของเด็กไทย ในอนาคตสืบไป...

รายนามผูสรางศาลาการเปรียญ “สมาคมการพิมพไทย”

• สมาคมการพิมพไทย • บริษัท สาฮะแอนดซันสพริ้นติ้ง จํากัด • บริษัท ราชาการพิมพ (2002) จํากัด • บริษัท ดานสุทธาการพิมพ จํากัด • บริษัท เอสเอ็ม กราฟฟค เซ็นเตอร จํากัด • บริษัท คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ (ไทยแลนด) จํากัด • บริษัท ส.ศรีอักษร พริ้นติ้ง โปรดักส จํากัด • บริษัท สุพรชัย จํากัด • บริษัท ไฮเดลเบิรก กราฟฟคส (ประเทศไทย) จํากัด • บริษัท ซันซิง พริ้นติ้ง แมชชินแมททีเรียล (ประเทศไทย) จํากัด • บริษัท สุนทรฟลม จํากัด • Messe Dusseldorf Asia Pte Ltd. • คุณอนันต - คุณกนกวรรณ อัคคพงษกุล (อุทิศให คุณแมบุญศรี อัคคพงษกุล)

ThaiPrint Magazine 63


Print News

64 ThaiPrint Magazine


Print News HP

เอชพี เสริมทัพเครื่องพิมพเลเซอรเจ็ทสําหรับองคกร ลดขั้นตอนการพิมพแบบไรสายไดอยางมีประสิทธิภาพ ขยายพอรตโฟลิโอผลิตภัณฑเครือ่ งพิมพเลเซอรเจ็ท ครอบคลุมเครือ่ งพิมพมลั ติฟง กชนั่ แบบ ทัช-ทู-ปริน๊ ท รุน แรก พรอมโซลูชนั่ การพิมพลา สุด กรุงเทพฯ, 29 ตุลาคม 2556 -- เอชพี เผยโฉมเครื่องพิมพเลเซอรเจ็ทมัลติฟงกชั่นรุนใหมที่มีการ จัดการกับขอมูลซึ่งเกิดจากการทํางานแบบเคลื่อนที่ที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งเปนปจจัยหนึ่งที่ผลักดันให องคกรตางๆ ตองทบทวนวาจะดําเนินธุรกิจและจัดการกับขอมูลขององคกรอยางไร เอชพีไดตอบสนอง ความทาทายในครั้งนี้ดวยแนวคิด “New Style of IT” โดยนําเสนอเทคโนโลยีการพิมพสําหรับองคกรธุรกิจ ที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน ในยุคที่ตองการการเชื่อมตอระหวางการพิมพและการบันทึกขอมูลแบบ ดิจิตอล เครื่องพิมพเลเซอรเจ็ทมัลติฟงกชั่นใหม HP LaserJet Enterprise M800 series flow MFPs (เอชพี เลเซอรเจ็ท เอ็นเตอรไพรซ เอ็ม 800 ซีรี่ส โฟลว เอ็มเอฟพี) สั่งพิมพงานดวยระบบ NFC (near field communication) และระบบไรสาย ถือวาเปนนวัตกรรมเครื่องพิมพเลเซอรเจ็ทมัลติฟงกชั่น ลาสุดของเอชพี ที่มีฟทเจอรเดียวกับเครื่องพิมพ HP Officejet Pro X series และ HP LaserJet Enterprise M500 series flow MFPs ทั้งนี้ เครื่องพิมพ HP LaserJet Enterprise M800 series ไดมีการผสมผสานโซลูชั่นที่ไดรับ

การพัฒนาใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมถึ ง เพิ่ ม ตั ว เลื อ กในการจั ด การ งานพิมพมากขึ้น เอชพี นําเสนอเครื่องพิมพ ทัง้ ในรูปแบบซิงเกิล้ ฟงกชนั่ มัลติฟง ก ชัน่ และสแกนเนอรรนุ ใหมทปี่ รับปรุง ThaiPrint Magazine 65


Print News

กระบวนการใชงานแบบดิจิตอลการ นัน้ จะชวยพัฒนาประสบการณการพิมพแบบไรสายใหกบั ลูกคา รวมถึงปรับ จัดการกระดาษ ทําใหชวยเพิ่มกําลัง ปรุงขัน้ ตอนการจัดเก็บขอมูลแบบดิจติ อลและการพิมพใหลนื่ ไหล เพือ่ ศักยภาพ การผลิตใหกับภาคธุรกิจอีกดวย ในการดําเนินธุรกิจที่ดียิ่งขึ้น” นายธิปไตย สิริโยธิน ผูจัด การพัฒนาการตลาดผลิตภัณฑเครือ่ ง พิมพเลเซอรเจ็ท บริษัท ฮิวเลตตแพคการด (ประเทศไทย) จํากัด กลาว วา “องคกรตางตองปรับตัวอยาง รวดเร็ว สําหรับการเปลี่ยนแปลงมุม มองเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่ ง มี ค วามเชื่ อ มโยงไปถึ ง กระบวน การและขอมูลอันมากมายที่ถูกจัด การด ว ยเครื่ อ งมื อ การทํ า งานใน เทคโนโลยี โ ทรศั พ ท มื อ ถื อ ที่ กํ า ลั ง พัฒนาอยางตอเนื่องอยูในขณะนี้ ดังนัน้ เอชพีจงึ นําเสนอโซลูชนั่ NFC ทีม่ คี วามเหมาะสมกับภาคธุรกิจและ เครื่องพิมพมัลติฟงกชั่น เลเซอรเจ็ท เอ็นเตอรไพรส โฟลว เอ็มเอฟพี ลาสุด 66 ThaiPrint Magazine

การพิมพไรสายที่งายและปลอดภัยยิ่งขึ้น มีการคาดการณวา ในป พ.ศ. 2558 การทํางานแบบเคลื่อนที่จะมี สัดสวนถึงรอยละ 37 ซึ่งองคกรตางๆ จะตองสามารถตอบสนองแนวโนม ของคนสวนใหญทตี่ อ งการความคลองตัวผานโซลูชนั่ ทีใ่ ชงานงาย เพิม่ ประสิทธิ ภาพและมีความปลอดภัย


HP โซลูชั่นการพิมพไรสายใหม จากเอชพี ประกอบดวย • HP JetDirect 2800w (เอชพี เจ็ทไดเร็ค 2800 ดับบลิว) ซึ่ง ผูใชสามารถเชื่อมตอแบบไรสายได โดยตรงและดวยเทคโนโลยี NFC ทํา ใหสั่งพิมพจากสมารทโฟน แท็บเล็ต และคอมพิวเตอรพกพาไดทันที รวม ถึงเชื่อมตอกับเครื่องพิมพมัลติฟง กชั่นที่ติดตั้ง HP FutureSmart หรือ เครื่องพิมพมัลติฟงกชั่นรุนตางๆ ที่ มีราคาที่สามารถซื้อหาได อุปกรณ ชนิ ด นี้ ติ ด ตั้ ง ง า ยเพี ย งใส เข า ไปใน ชองฮารดแวรของอุปกรณ จากนั้นก็ สามารถเปดใชงานผาน FutureSmart 3.0 firmware ได • HP LaserJet Enterprise M800 series (เอชพี เลเซอร เจ็ท เอ็นเตอรไพรส เอ็ม 800 ซีรีส) เปนครั้งแรกของวงการเครื่องพิมพ มัลติฟงกชั่น และเครื่องพิมพสําหรับ องคกรที่สามารถสั่งพิมพแบบสัมผัส และเชื่อมตอสัญญาณแบบไรสายได โดยตรง ซึง่ เครือ่ งพิมพ HP LaserJet Enterprise M800 series ประกอบไป ดวย HP LaserJet Enterprise M806 (เอชพี เลเซอรเจ็ท เอ็นเตอรไพรส เอ็ม 806) HP LaserJet Enterprise flow MFP M830 (เอชพี เลเซอรเจ็ท เอ็น เตอรไพรส โฟลว เอ็มเอฟพี เอ็ม 830) HP Color LaserJet Enterprise M855 (เอชพี คัลเลอร เลเซอรเจ็ท เอ็นเตอร ไพรส เอ็ม 855) และ HP Color Laser Jet Enterprise flow MFP M880 (เอช พี คัลเลอร เลเซอรเจ็ท เอ็นเตอรไพรส โฟลว เอ็มเอฟพี เอ็ม 800) ซึ่งเครือ่ ง พิมพรนุ ตางๆ เหลานี้ ลวนเปนทาง ThaiPrint Magazine 67


Print News เลือกทีง่ า ยขึน้ ของลูกคาใหสามารถพิมพงานอยางปลอด ภัย สามารถสัง่ พิมพดว ยเทคโนโลยี NFC จากสมารทโฟน หรือแท็บเล็ตเพียงแคปลายนิ้วสัมผัสอีกทั้งยังปองกัน การรัว่ ไหลของขอมูลทีม่ คี วามออนไหวสูงดวยฮารดดิสก แบบ High-Performance Secure Hard Disk ของเอชพี • HP ePrint Enterprise (เอชพี อีปริ๊นท เอ็น เตอรไพรส) รุน อัพเดท มอบฟทเจอรการเชือ่ มตอทีม่ ากยิง่ ขึน้ พรอมชวยรักษาสิง่ แวดลอมดวยการสัง่ งานผานอุปกรณ ไรสาย ทัง้ นี้ เอชพีไดนาํ เสนอแอพพลิเคชัน่ ePrint Enter prise app เวอรชั่นใหมสําหรับโทรศัพทมือถือ Blackberry 10 และแอพพลิเคชั่น Good app สําหรับระบบ ปฏิบัติการ Android และ iOS ที่ชวยใหผูใชโทรศัพทมือ ถือพิมพงานไดอยางปลอดภัย นอกจากนี้ ซอฟตแวร HP ePrint Enterprise server ยังสามารถเชือ่ มตอแบบ Wifi จากโทรศัพทมอื ถือบางรุน ไปยังเครือ่ งพิมพไดอกี ดวย • HP Capture and Route 1.3 (เอชพี แคป เจอร แอนด เราท 1.3) สามารถใชงานไดกับโทรศัพทมือ ถือที่มีระบบปฏิบัติการ iOS และ Android ทําใหงายตอ การจัดการ อัพเดท รวมถึงเก็บขอมูลไดอยางแมนยําและ มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ผูใชยังสามารถสแกนขอมูลจาก เอ็นเตอรไพรส โฟลว 5000s2) ซึ่งผลิตภัณฑในกลุมนี้จะ อุปกรณของเอชพีมายัง Google Docs เพื่อจัดเก็บไว มีคณ ุ สมบัตใิ นการทํางานทีค่ ลองตัว โดยสามารถเปลีย่ น บนระบบคลาวดไดโดยตรง ขอมูลในกระดาษใหเปนไฟลดิจิตอลที่แ ก ไขไดอยางรวด เร็วและนาเชื่อถือ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นดวยระบบ เอชพีขยายสายผลิตภัณฑเครื่องพิมพเลเซอร สแกนหนาคู และมีเทคโนโลยีระบบ Optical Character เจ็ทใหม เพื่อการทํางานที่ลื่นไหลยิ่งขึ้น เอชพีนําเสนอ Recognition (OCR) และ HP EveryPage ที่จะชวยปอง โซลูชั่นการพิมพใหม ที่เหมาะกับกลุมลูกคาองคกรและ กันความผิดพลาดในการสแกน นอกจากนี้ เครื่องพิมพ กลุม ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม ชวยใหลกู คาสามารถ HP Color LaserJet Enterprise flow MFP M880 และ ผสานการทํางานของภาคธุรกิจใหเขากับกระบวนการ HP LaserJet Enterprise flow MFP M830 ยังมีหนาจอสี ทํางานรูปแบบดิจิตอลไดเปนอยางดี ระบบสัมผัสขนาด 8 นิ้ว และคียบอรดที่พับเก็บไดทําให งายตอการดูงานกอนพิมพ แกไข และสแกนเปนไฟลได • เอชพี ไดทําการขยาย HP Flow portfolio หลายประเภท อีกทั้งยังสงเอกสารเพื่อจัดเก็บเปนไฟล (เอชพี โฟลว พอรตโฟลิโอ) ซึ่งรวมถึง HP Color Laser- แบบดิจิตอลไดโดยตรง นอกจากนี้ ยังมาพรอมออปชั่น Jet Enterprise flow MFP M880 (เอชพี คัลเลอร เลเซอร เสริม 2-bin stapler/stacker, booklet marker และ hole เจ็ท เอ็นเตอรไพรส โฟลว เอ็มเอฟพี เอ็ม 880) HP La- punch output ซึง่ จะชวยใหเครือ่ งพิมพเอชพีมลั ติฟง กชนั่ serJet Enterprise flow MFP M830 (เอชพี เลเซอรเจ็ท รุนใหมๆ เหลานี้ สามารถตอบสนองความตองการของ เอ็นเตอรไพรส โฟลว เอ็มเอฟพี เอ็ม 830) และ HP ธุรกิจที่มีการผสานการทํางานทั้งในรูปแบบของกระดาษ Scanjet Enterprise Flow 5000s2 (เอชพี สแกนเจ็ท และดิจิตอลไดเปนอยางดี 68 ThaiPrint Magazine


HP

• HP LaserJet Pro MFP M127fn (เอชพี เลเซอรเจ็ท โปร เอ็มเอฟพี เอ็ม 127 เอฟเอ็น) เครื่อง พิมพมัลติฟงกชั่นที่มีขนาดเล็กที่สุดของเอชพี สามารถ พิมพงานขาว-ดํา สแกน คัดลอก และสงแฟกซ ได • HP Color LaserJet Pro MFP M176/M177 series (เอชพี คัลเลอร เลเซอรเจ็ท โปร เอ็มเอฟพี เอ็ม 176/เอ็ม177 ซีรี่ย) เครื่องพิมพมัลติฟงกชั่นที่มอบการ ทํางานในรูปแบบเดิม เหมาะกับการใชงานสําหรับธุรกิจ ขนาดเล็กและขนาดกลางที่ตองการขยายการบริหาร จัดการทีเ่ พิม่ ขึน้ และยังสามารถเปนศูนยกลางการจัดการ เอกสารขององคกร ผานการเชื่อมตอกับ Cloud service อาทิ Google Docs หรือ Box.net • HP Embedded Capture (เอชพี เอ็มเบดเด็ด แคปเจอร) โซลูชั่นการจับภาพเนื้อหาในระบบที่ไมตอง เชือ่ มตอกับเซิรฟ เวอร ไดรบั การออกแบบมาเพือ่ อํานวย ความสะดวกในการสแกนรูปภาพที่งายขึ้น ทําใหเพิ่ม ประสิทธิภาพการทํางานไดมากยิ่งขึ้น

ThaiPrint Magazine 69


Print Interview Interview

พรชัย วรอังกูร

Director of Marketing & Business Solutions ริโก พัฒนาและเตรียมตัวสําหรับการกาว เขาสูธุรกิจกลุมอุตสาหกรรมการพิมพมานานพอ สมควร โดยนอกเหนือจากการทํา R&D ภายในกัน เองแลวก็ยงั มีการเขาเทคโอเวอร หรือรวมเปนพันธ มิตรกับเจาของเทคโนโลยีดานนี้บางสวน เชน กลุม Hitachi Printing หรือแมแตลาสุดจากการซื้อธุรกิจ InfoPrint จากทาง IBM เพื่อกาวเขาสูธุรกิจนี้อยาง เต็มตัว รวมถึงการเปน Business Partner กับ Heidel berg เมื่อปที่แลวเปนตนมา ซึ่งยอมเปนการแสดง ถึงความตั้งใจจริงในการกาวเขาสูธุรกิจนี้อยางเต็ม ตัว เพื่อตอบสนองความตองการที่เปลี่ยนไปของ ตลาดการพิมพ และพฤติกรรมลูกคาซึง่ มักเปนเรือ่ ง เกี่ยวกับ Supply Chain Management ดวยเทคโน โลยีดจิ ติ อลทีร่ โิ กเปนผูน าํ อยู โดยปจจัยสําคัญทีส่ ง ผลกระทบตออุตสาหกรรมการพิมพหลักๆ ไดแก • การเปลีย่ นแปลงและความรวดเร็วในการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ทําใหปจจุบันธุรกิจสิ่ง พิมพไดรบั ผลกระทบไมมากก็นอ ย นับจากปริมาณ งานทีล่ ดลงและเปลีย่ นเปนหรือทดแทนเปนเอกสาร 70 ThaiPrint Magazine


พรชัย วรอังกูร

แบบดิจิตอลมากขึ้น • สภาพการเติบโตทางเศรษฐกิจ และภาวะการแขงขันที่ขยายขอบ เขตกวางไกลขึ้น ยกตัวอยางเชนการเขามาของ AEC หรือที่รูจักกันในนาม กลุมประชาคมเศรษฐกิจอาเชี่ยน เรียกไดวาใครมีเทคโนโลยีที่ดีกวายอมได เปรียบและเปนผูชนะในที่สุด ไมวาจะในเรื่องความรวดเร็ว ตนทุน และการ บริหารความคาดหวัง และการตอบสนองตอตลาด การเปลีย่ นแปลงในความคาดหวังและพฤติกรรมของลูกคา เชน ตอง การงานแบบเรงดวน ยิ่งเร็วยิ่งดี เพราะสามารถสรางโอกาสทางการแขงขัน และปรับตัวไดดกี วา แกไขชิน้ งานไดจนวินาทีสดุ ทายกอนเริม่ ทําการจัดพิมพ ไมตองการเก็บสตอก เกิดการจมในเรื่องเงินทุน หรือสูญเสียในบางกรณีที่ เอกสาร งานพิมพลาสมัย ความคลองตัวเหลานี้เปนอุปสรรคตอการเติบโต ของระบบการพิมพแบบเดิมๆ เชน งานพิมพออฟเซ็ท เนือ่ งจากไมสามารถ ตอบสนองการพิมพแบบทีเ่ รียกวา Print-On-Demand ไดเลยสืบเนือ่ งระบบ และขัน้ ตอนการพิมพทย่ี งุ ยากและมีตน ทุนคงทีใ่ นระดับหนึง่ หากปริมาณงาน ไมมากพอก็จะทําใหตน ทุนตอแผนสูงไมสามารถแขงขันได Digital Printing จึง เปนคําตอบในเรื่องนี้ สําหรับเครื่องพิมพแบบ Black & White Production Printing ริโก มีสว นแบงการตลาดเปนอับดับหนึง่ ในปจจุบนั เนือ่ งจากเรามีฐานลูกคา CRD หรือ In-house Printing ที่เปนกลุม Corporate อยูจํานวนมากและไดรับ ความเชื่อถึอทั้งในดานคุณภาพตัวสินคาและการบริการมาตลอดจึงไมใช เรื่องยากในการผลักดันสินคาตัวนี้สูตลาดและในขณะเดียวกันก็เริ่มสรางชื่อ และขยายเขาไปในกลุมธุรกิจการพิมพ Commercial Printing พรอมๆ กับ

การเปดตัวเครือ่ งพิมพ Color Production Printing ซึง่ ก็ไดรบั การตอบรับที่ ดีจากฐานลูกคากลุมธุรกิจการพิมพ ที่เพิ่มขึ้นอยางมากเปรียบเทียบกับ ในอดีตที่ไมไดทําตลาดอยางจริงจัง รวมถึงการรวมมือกับพันธมิตรอยาง Heidelberg ก็ยง่ิ เปนตัวผลักดันความ สําเร็จอยางดี และขณะนี้เราเชื่อวา นาจะมีสวนแบงสําหรับเครื่องสีเปน อันดับ 2 ในตลาด และนาจะขยับ เขาใกลที่ 1 ในระยะเวลาอีกไมนาน จากการเป ด ตั ว เครื่ อ งรุ น ใหม ที่ มี ศักยภาพในการแขงขันสูง และตอบ สนองความตองการกลุมลูกคาโรง พิมพไดดียิ่งขึ้น Printing product line ของ Ricoh ในปจจุบันสามารถแบงออก เปนตัวกลุมหลักๆ คือกลุม Office Printing ซึ่งใชในธุรกิจสํานักงานทั่ว ไป กับอีกกลุม หนึง่ คือ กลุม Commer cial Printing โดยในกลุมนี้สามารถ แยกเป็น 2 Product lines ได้แก่ ThaiPrint Magazine 71


Print Interview Continuous Feed และแบบ Cut-sheet Continuous Feed หรือแบบกระดาษปอนมวน จะเหมาะกับกลุมแบบ Heavy Production Printing พิมพ งานทีเ่ ปนแบบ Variable data จาก Data Center เชนการ พิมพ Statement, Report ตางๆ นอกจากนีย้ งั สามารถ พิมพงานที่มีปริมาณงานจํานวนมาก ในตนทุนที่ต่ําเชน แผนพับ ใบปลิว ทั้งสี และขาวดําจากไฟลรูปแบบตางๆ รองรั บ งานได ห ลากหลายด ว ยความเร็ ว ในการพิ ม พ ตั้งแต 64 ถึง 200 เมตรตอนาที Cut-sheet หรือแบบกระดาษปอนแผน ริโกมี เครือ่ งทีส่ ามารถใชในกลุม ทีเ่ ราเรียกวา Light Production สําหรับงานพิมพในรูปแบบ Print-On-Demand เพื่อตอบ โจทยสภาพการแขงขัน และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปใหคุณ ภาพงานใกลเคียงชิ้นงานจากเครื่องพิมพระบบออฟเซ็ท โดยเรามีเครื่องพิมพแบบ Black & White 3 รุน ที่ความ เร็วในการพิมพ 95, 110 จนถึง 135 หนาตอนาที ความ

72 ThaiPrint Magazine

แมนยําในการพิมพดวยระบบ Mark Registration ไม เกิน 0.5 มิลลิเมตร รองรับงานพิมพไดถงึ 3 ลานหนาตอ เดือน ในขณะที่เครื่องพิมพ 4 สีก็มีใหเลือกเปน 3 แบบ ตามปริมาณงานของลูกคา เริ่มจาก Pro C901 ความเร็ว 90 แผน (A4) ตอนาที เหมาะกับลูกคาทีม่ ปี ริมาณงานมาก ตอเดือน เครื่อง Pro C 751 และ Pro C 651 ความเร็ว 75 และ 65 แผนตอนาทีตามลําดับ สําหรับปริมาณงาน พิมพสีระดับกลางเฉลี่ย 30,000 แผนตอเดือน พรอม ความสามารถที่ยอดเยี่ยมในเรื่อง Mark Registration ที่ จําเปนในธุรกิจการพิมพแบบ Offset และหาไดยากใน เทคโนโลยีเครื่องดิจิตอล และนองใหมสุดที่เปดตัวเปน ครั้งแรกใน Southeast Asia เครื่อง Pro C 5100S, Pro C 5110 - Color Production Printing สําหรับผูที่ตองการ เริ่มตนในธุรกิจ Digital Production Printing ดวยคุณ สมบัติการพิมพที่ยอดเยี่ยมจากเทคโนโลยีใหมลาสุด ดวยความเร็วในการพิมพที่ 65 และ 80 หนาตอนาที สามารถพิมพ และรองรับ Media ที่หลากหลาย มีระบบ AC Transfer พิมพงานบนกระดาษ Texture ไดสวยงาม ไมมีที่ติ ถ า ถามว า ป จ จั ย ใดที่ มี ผ ลในการตั ด สิ น ใจซื้ อ เครือ่ ง Production Printing ของลูกคา ตอบไดเลยวา คง เปนการพิจารณาเรือ่ งคุณภาพของงานพิมพวา เหมาะสม กับลักษณะงานของตัวเองหรือไม หรือสามารถนําเอาชิ้น งานไปตอยอด หรือสรางธุรกิจไดหรือไม มีตัวเลือกอื่น ทดแทนในงบลงทุนที่ดีกวา ใหผลตอบแทนดีกวาหรือไม เชนงานพิมพทั่วไป ก็ไมตองไปกังวลกับคุณภาพของสี มากนัก แตถา เอาไปเสริมงานออฟเซ็ท ก็คงตองพิจารณา เครื่องที่สามารถพิมพใหคุณภาพงานสีใกลเคียงออฟ เซ็ทใหมากที่สุด เรื่ อ งต อ ไปก็ ค งเป น เรื่ อ งของคุ ณ ภาพของตั ว เครื่องพิมพเองวาถูกออกแบบมาใหรองรับกับงานพิมพ ประเภทใด รองรับงานหนัก หรือปานกลาง รวมถึงการ พิจารณาโครงสรางการออกแบบผลิตภัณฑซ่ึงจะทําให สามารถทราบไดวาจะเปนปญหาตอไปหรือไมเมื่อมีการ ใชงานไปนานๆ คุณภาพสีที่สม่ําเสมอตั้งแตแผนแรกถึง แผนสุดทาย สามารถรองรับกระดาษ หรือ media ที่ หลากหลายและแบบมืออาชีพ ไมใชเพียงแคใชกันไดแต ไมรองรับการผลิตแบบอุตสาหกรรม อยางนี้เรียกวามีไว โชว ไมไดใหใช...


พรชัย วรอังกูร นอกจากนี้ยังตองคํานึงถึง เรื่องการออกแบบใหใชงานงาย ลด ปญหาจุกจิก การใชงานผิดพลาดที่ ลวนแลวแตกระทบกับตนทุนการผลิต และแน น อนสุ ด ท า ยก็ ค งเป น เรื่ อ ง ของตนทุนรวมทีเ่ รียกวา TCP (Total Cost of Production) ซึง่ ก็คอื ตนทุนทุก อยางทีม่ ผี ลกระทบการผลิตชิน้ งานทัง้ ทางตรงและทางออม เชน กระดาษ เสียมาก เครื่องหยุดบอย ความเร็ว ในการพิมพที่ชาเกินไป สีไมไดมาตร ฐานในการพิมพแตละหลัง และอาจ รวมถึงการพิมพงานในล็อตถัดๆ มา อย า งไรก็ ต ามข อ พิ จ ารณาเหล า นี้ ไมใชเรื่องยุงยากจนเกินไปหากได รับคําแนะนําทีถ่ กู ตอง ซึง่ ก็เปนสิง่ ที่ ริโกใช เ ป น แนวทางในการดํ า เนิ น ธุรกิจนี้ดว ยการนําเสนอผลิตภัณฑใน รูปแบบที่ปรึกษาทางธุรกิจ การที่จะ สามารถนําเสนอในรูปแบบเชนนี้ได นอกจากความรู  ใ นผลิตภัณฑและ ธุรกิจสิง่ พิมพแลว ก็ยังรวมถึงความ มั่นใจวาเครื่องของริโกมคี วามหลาก หลายและเหมาะสมกับแตกลุมงาน และตอบโจทย ที่ พ บในธุ ร กิ จ ได อยางแนนอน ไมวาจะเปนเรื่องตน ทุนการผลิต คุณภาพชิน้ งานคุณภาพ และความสมํ่ า เสมอของสี ที่ พิ ม พ การรองรับงานพิมพที่หลากหลาย กวา ไมมีปญหาจุกจิก ใชงานงาย เครือ่ งพิมพดจิ ติ อลโดยเฉพาะ เครื่อ งสี ข องริ โ ก ท่ีอ อกมาใหม ใ นป 2013 นี้นอกจากจะมีความละเอียด ที่เพิ่มขึ้น เปน 1,200 x 4,800 dpi แลว เรายังเพิ่มลูกเลนใหกับเครื่อง พิมพอกี หลายอยางทีเ่ ดนๆ เลยก็คอื เครื่องของเราสามารถพิมพบนวัสดุ ไดหลากหลายขึ้น ไมวาจะเปนซอง จดหมาย กระดาษที่มีพื้นผิวขรุขระ

เปนรองลึกอยางกระดาษหนังชาง และสามารถพิมพกระดาษไดหนาขึน้ 350 แกรม เปนรุน PRO C901 หรือเครื่อง PRO C5100 ที่พิมพกระดาษไดหนา ถึง 300 แกรม ยาว 1.2 เมตรหรือการพิมพแบบแบนเนอร (Banner) ซึ่งเรา มองวา เทคโนโลยีของเราพัฒนาใหตอบโจทยตลาดงานพิมพบรรจุภัณฑได สวนหนึ่ง โดยเฉพาะงานพิมพบรรจุภัณฑที่เปนแบบ On Demand งานพิมพ บรรจุภัณฑที่มีปริมาณนอยไมคุมกับการใชเครื่องพิมพออฟเซ็ท การสราง งานพิมพบรรจุภัณฑแบบเฉพาะเจาะจง Personalized ซึ่งใหมูลคางานพิมพ ที่สูงกวาการพิมพแบบแมส (Mass Production) ทั่วๆ ไป ตัวอยางที่เห็นจาก ลูกคาของริโก ก็คือลูกคาโรงพิมพใชเครื่องริโกของเรามารองรับและผลิตงาน พิมพบรรจุภัณฑใหกับธุรกิจ OTOP ในพื้นที่ดวยรูปแบบที่หลากหลาย มี จํานวนตอแบบไมมาก แตสรางมูลคาไดดี รวมถึงมีการตอยอดรับออกแบบ ใหลกู คาของตนซึง่ ก็เปนชองทางรายไดอกี ชองทางหนึง่ ลดการแขงขันทีม่ อง แตเรื่องคาพิมพตอชิ้นต่ําสุดไปโดยปริยาย ในแงของตัวเครื่องริโกแลว ถือเปนผลิตภัณฑใหม มีการออกแบบ โดยคํานึงถึงรูปแบบการทํางานของลูกคาเปนสําคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ความสม่ําเสมอ ทั้งเรื่องสี เรื่องความเที่ยงตรงของตําแหนง (Mark Registration) ผงหมึกพิมพที่ออกแบบมาใหมีคุณภาพงานพิมพใกลเคียงงานพิมพ จากระบบออฟเซ็ต ลูกคาไมตอ งลงทุนเพิม่ กับขัน้ ตอนงานหลังพิมพเพือ่ งาน พิมพจากระบบดิจิตอลโดยเฉพาะ สามารถวางเครื่องพิมพดิจิตอลไวขางๆ เครือ่ งออฟเซตไดอยางสบายใจวา เปนการลงทุนมาเพือ่ เพิม่ โอกาสทางการคา สามารถเดินงานเสริมงาน long run ของออฟเซ็ตได ลูกคาสามารถเลือกเลน กับกระดาษไดหลากหลายแบบโดยรองรับความหนาของกระดาษไดมากถึง 300-350 แกรม นอกจากนี้เครื่อง Pro C751, Pro C651, Pro C5100 และ Pro C5110S ที่มีชุด AC Transfer รองรับงานพิมพบนกระดาษ Texture ที่ ไมตอ งกลัวกระดาษทีม่ รี อ งลึกวางานจะพิมพแลวออกมาไมสวย เห็นรองพืน้ สีขาว เพราะเทคโนโลยีนจ้ี ะดันตัวผงหมึกใหลงไปสุดรองลึกของกระดาษและ ThaiPrint Magazine 73


Print Interview

ไมหลุดลอกออก นอกเหนือจากคุณสมบัติของตัวเครื่องแลว ซอฟทแวรโซลูชั่น ก็จะ เปนหนึ่งในปจจัยที่มีผลตองานพิมพเชนเดียวกัน เพราะตลาดสิ่งพิมพ จะ ถูก minimized จํานวนแผนตองานลง แต จํานวนงานประเภทการโฆษณา การกระตุนใหเกิดการบริโภคจะมีเยอะขึ้น ทําใหงานที่เปนที่จับตามองที่สุด ในตอนนี้คืองาน Personalized งาน Personalized เปนงานเฉพาะตัวบุคคล ยกตัวอยางเชน ผมเปน คนชอบซื้อนาิกา และอุปกรณการกีฬา บัตรเครดิต ก็จะมีขอมูล life style ของผมเก็บไวในฐานขอมูล เวลาทีม่ ี Statement สงมาทีบ่ า นของผม ก็อาจจะ มีโฆษณาของนาิกา หรือกิจกรรมอะไรที่ผมชอบปรากฎอยูในเอกสาร ซึ่ง แตละคนก็จะไมเหมือนกัน โฆษณาที่เกี่ยวกับตัวผมก็จะแฝงตัวอยูในทุกๆ ที่ ครับ ไมใชแคกระดาษ แตรวมถึงอุปกรณ Mobility ตางๆ ตลาดในประเทศ 74 ThaiPrint Magazine

ไทยก็เริ่มมีการตื่นตัวบางแลว ใน ขณะที่ตางประเทศอยางยุโรปหรือ อเมริกา ริโกประสบความสําเร็จมา แลว จํานวนแผนตองานจะลดลง แตงานพิมพจะยังคงมีในตลาดอยู มุมมองของเจาของกิจการโรงพิมพก็ ตองปรับตาม จากเมือ่ กอนทีเ่ รามอง กันทีป่ ริมาณ เนนออรเดอรใหญๆ อยู กันยาวๆ เราตองมองวาสิ่งที่นํามา พิมพนั่นเปนขอมูล เปนขอมูลที่มีคา มากเสียดวย และขอมูลเหลานี้ก็มี ปริมาณมาก ผูป ระกอบการก็ตอ งหา โซลูชั่นที่จะมาตอบรับตลาดตรงนี้ ซอฟทแวรโซลูชั่น เปนคําตอบหนึ่ง ที่เรามั่นใจวาจะเปนคําตอบสําหรับ การลงทุนที่คุมคาของลูกคาครับ ทีนี้มีคําถามวา แลวอนาคต ของลู ก ค า กลุ ม ที่ ไ ม ใช โรงพิ ม พ ล ะ ตรงนีผ้ มตองเรียนเลยวา ซอฟทแวร โซลูชน่ั ของริโกนน้ั เราไมไดมงุ เนนแค ที่ output ตองเปนกระดาษเทานั้น แต เรายั ง มี โซลู ชั่ น ที่ ต อบโจทย ต อ Output device ที่เปน Mobility หรือ


พรชัย วรอังกูร แมกระทั่ง Solution ดานการใหบริการ อยาง Printing Service, Scanning Service, Office Consultant Service เพราะริโกเชื่อเสมอวาทางออกของลูกคา ไมไดมีแคทาง เดียว คุณพรชัย วรอังกูร Director of Marketing & Business Solutions บริษัท ริโก(ประเทศไทย) จํากัด Product features summary: Charis – C1 Pro [C5100S (65) & C5110S (80)] - A real production features for light production market, 70% color ratio - 3 types of controller = GW+, EFI light (E22B) and EFI Server (E42B) - DV range 20K / month - Key features; • New chemical toner เทคโนโลยีลาสุดใหขอบ เขตสี Gamut กวางขึ้น • DEMS, เซ็นเซอรตรวจจับการสั่นของชุดสราง ภาพ ทํางานเพื่อใหสีสม่ําเสมอ โดยทํางานทุก ๆ 20,000 ครั้งดวยการปรับคาประจุ และ developers • PPG Gear ควบคุมการหมุน OPC แตละสีให มีรอบวงการหมุนคงที่ ลดการเกิด Banding • CVEC technology ควบคุมความเร็วของ ITB ลดปญหาหมึกลงไมสม่ําเสมอ

ThaiPrint Magazine 75


Print Interview

• มีการปรับระยะหาง OPC กับ Development roller ใหแคบลงลดการสั่นที่เปนปญหาเกิด Banding • Active toner density control ควบคุมความ เขมสีแบบ real time • Fusing Belt Smoothing Roller ชุดลูกยางผิว นิม่ สําหรับขัดผิวสายพาน ลดปญหารอยลากบนสายพาน • AC Transfer Technology สําหรับพิมพงาน บนกระดาษ Texture หมึกจะยึดเกาะบนพื้นผิวกระดาษ ไดดี • สามารถปรับระยะระหวาง Fusing Roller กับ Press Roller ลดรอยยับของซองที่มีความหนาระหวาง ผานชุดความรอน • Silicone solid roller รองรับการพิมพกระดาษ หนาไดดี ภาพคมชัด • Banner Printing 1260 mm. นอกจากนี้ตัวเครื่องยังออกแบบใหงายตอการ ใชงาน เชน Easy Jam Fix Operation, ORU, On the Fly Toner Replacement มาพรอมกับชุดหลังพิมพ Booklet Finisher SR4100 รองรับงานขนาด 13” x 19.2”, 52 gsm – 300 gsm, 2,000 sheets Stack capability, 60 sheets Staple, 20 sheets for Saddle Stich with Square Fold. Ricoh Pro 8120S / 8110S / 8100S (135/110 /95 ppm) - GW+ Controller / Booklet Finisher (custom-size/folding without staple) / Multi Folding Unit (Z Folding and Punch job at the same job) / Rotate, Crease and Bleed Trimmer for Plockmatic. 76 ThaiPrint Magazine


พรชัย วรอังกูร

- Image Quality • New Pulverized Toner • มีขนาดเล็ก สามารถละลายภายใตอุณหภูมิ ต่ํา ประหยัดพลังงาน ไมจับตัวนูนใหคุณภาพใกลเคียง ระบบการพิมพแบบออฟเซ็ต • 1,200 x 4,800 dpi VCSEL Technology with Registration adjustment on front & back of paper • Indirect image transfer mechanism to reduce image quality issues – Scratches, Halftone, Toner drops, Toner scattering, Roller marks on edges of stacked paper and Jitter. - Paper Handling • Belt Fusing Unit • Improved image quality and enhance of paper handling – Thick papers (300gsm and 256gsm for duplex), Thin papers (40gsm and 52gsm for duplex), Coated papers, Envelopes, Textured papers • Mechanical Registration • High registration precision, Accurate Duplex Registration, Skew Detection and Double Feed Detection. • New Paper Library - easy to sort/search function, • Paper Path – Flat and Large Purge Tray

ThaiPrint Magazine 77


Print Technology

ป จ จั ย ใด..? ที่ ทํ า ให เครื่ อ งวั ด ค า สี ไ ม ต รงกั น สวัสดีครับ วันนี้กระผมนายไอไอเค มีบทความที่นาสนใจเกี่ยวกับเครื่องมือวัดคาสีที่

เราใชกันในโรงพิมพมาฝากกันนะครับ อยากรูหรือไมครับวาทําไมเครื่องมือวัดคาสีแตละ เครื่องถึงใหคาขอบเขตสีที่แตกตางกัน อะไรเปนสาเหตุของสีที่เปลี่ยนไป ถาทานอยากรู ผมขอเชิญทุกทานมาติดตามดวยกันครับของสีบนงานพิมพนะครับ ในปจจุบันเครื่องมือวัดคาสีตางๆ เชน เครื่องสเปกโตโฟโตมิเตอร (Spectrophotometer) ที่มีประสิทธิภาพ สูงไดมีการนํามาใชในโรงพิมพตางๆ เพิ่มขึ้น ทําใหผูผลิตเครื่องวัดสีจึงตองสรางเครื่องมือใหมีความแมนยํามากขึ้น ตามไปดวย แตอยางไรก็ตามวัตถุอาจจะไมไดมีคาสีที่แมนยําเหมือนอยางที่เห็นเมื่อเปรียบเทียบกับผลจากการ ใชเครื่องมือที่แตกตางกันถึงแมวาจะมาจากผูขายเดียวกันก็ตาม ถาเราลองทําการเทียบ มาตรฐานเครือ่ งมือใหมคี า เทากันแลวนําไปวัดคาขอบเขตความ ต า งของสี ก็ จ ะเห็ น ว า มี ค า สี จ ะ แตกตางกัน (∆E > 7 ตามมาตรฐาน PIA/GATF) ทีเ่ ปนเชนนีน้ า จะมาจาก เครื่ อ งมื อ สามารถตอบสนองตอ ความเงาบนกระดาษเคลือบ การ เคลือบดวยน้าํ ยา การเคลือบยูวแี ละ การลามิเนตที่แตกตางกัน และเรา จะเห็ น ความต า งได อ ย า งชั ด เจน เมื่ อ ใช อุ ป กรณ ป อ งกั น รั ง สี ยู วี (นิยมมากในแถบยุโรป) เหตุใดเครือ่ งมือวัดสีแตละเครือ่ ง มีความตกตางกัน • สภาพแวดลอมที่เปลี่ยน แปลงรวมถึงเครื่องมือที่เหนี่ยวนํา ความรอนใหกับตัวอยางจะทําให 78 ThaiPrint Magazine


อินเตอรอิ้งค

ที่มา : Gorden Pritchard

เกิดปรากฏการณการเปลี่ยนไปของสี เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง (Thermo chromism) ทําใหหมึกเกิดการเปลี่ยน สีไปและเกิดปรากฏการณคา สีทเ่ี ปลีย่ น ไปตามความชืน้ ทีเ่ ปลีย่ นแปลง (Hygro chromic) เพราะความชื้นที่เปลี่ยนไป มีผลตอการทําปฏิกิริยากันระหวาง หมึกกับกระดาษ ซึ่งผมคิดวาแนวคิดนี้เปนสิ่ง ที่ดีที่เมื่อไหรก็ตามที่มีการวัดคาสีผูใช ควรบันทึกคาอุณหภูมิและความชื้น ดวย • สัญญาณที่เกิดขึ้นสงผลตอ ความไม เ สถี ย รของเครื่ อ งมื อ วั ด ค า การหักเหของแสง โดยเครื่องมือและ สภาพแวดล อ มจะยิ่ง เหนี่ย วนํ า สั ญ ญาณและเบี่ยงเบนกระแสไฟฟาตอน เวลาไมมีแสงเขา • แสงฟลูออเรสเซนตบนวัสดุ จะทําใหคาการกระจายตัวของสเปก ตรัมของเครื่องมือสองสวางเปลี่ยน แปลง ซึ่งมีคามากกวาหรือนอยกวา แสงยูวี • รูปทรงของเครือ่ งมือ เครือ่ ง มื อ ที่ มี เ ส น ใยแก ว นํ า แสงจะมี แ นว โนมใหเกิดความคลาดเคลื่อนมากขึ้น

ที่มา : Gorden Pritchard

• ฟงกชั่นของแถบสเปกตรัมอาจแคบเกินหรือกวางเกินตามความยาว คลืน่ ทีเ่ ปลีย่ นไปจากความยาวคลืน่ หนึง่ ไปสูค วามยาวคลืน่ หนึง่ instrument band width effect • การตัง้ ศูนยเครือ่ งมือในระดับต่าํ สุดทีด่ าํ สนิทไมเพียงพอหรือมีการดัก จับหรือตรวจพบแสงสีที่ไมใชดําสนิทในหนวยรับแสงได • ผูใชมีการดูแลรักษาเครื่องมือนอย • โรงงานไมมีการรับรองมาตรฐานเครื่องมือซ้ํา ตอนนีเ้ ราจะเห็นแลววามีปจ จัยหลายอยางทีม่ ผี ลตอคาสีทว่ี ดั ได ดังนัน้ ผูใ ชจาํ เปนตองคํานึงถึงปจจัยเหลานีด้ ว ยนะครับ สําหรับบทความนีผ้ มคิดวานา จะเปนประโยชนตอหลายๆ ทาน ในฉบับหนาผมจะนําเสนอในสวนอื่นตอไป พบกันใหมในฉบับหนาครับ

ThaiPrint Magazine 79


Print News

80 ThaiPrint Magazine


ฟูจิ ซีร็อกซ บุก สปป. ลาว

ThaiPrint Magazine 81


Print News

ฉลองอาคารสํานักงานแหงใหมของ CAS Group

อาคารเจริญอักษร

CAS Group จัดงานฉลองการใชอาคาร เจริญอักษร ซึ่งใช เปนอาคารสํานักงานแหงใหมโดยไดรวมบริษทั ในเครือของ CAS Group เขาดวยกัน ซึง่ จะสามารถอํานวยความสะดวกในการติดตอและประสาน งานใหกับลูกคาและพันธมิตรทางการคาไดมีมากขึ้น โดยอาคารสํานัก งานแหงใหมนก้ี อ สรางดวยรูปแบบ THE PAPER LANTERN ซึง่ สะทอน คุณคาขององคกรและเปนอาคารประหยัดพลังงาน โดยมีพิธิเปดเมื่อวัน อังคารที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2556 โดยพิธี เริ่มตั้งแต 9.00 น. โดยมีประธานไดทําการตัดริบบิ้นเพื่อเปดอาคาร แหงใหมอยางเปนทางการสักการะ สิ่ ง ศั ก สิ ท ธิ์ ต ามทํ า เนี ย มชาวพุ ท ธ และมีการแสดงเชิดสิงโต เพื่อนํา ความเจริญรุงเรืองใหแดผูบริหาร และแขกผู มี เ กี ย รติ ที่ เข า ร ว มงาน เสร็ จ จากพิ ธิ ช ว งเช า พอช ว งสาย ก็ ป ระกอบพิ ธี ท างพุ ท ธศาสนา เพื่อเปนสิริมงคล ณ หองโดมชั้น 5 เสร็จจากพิธที างสงฆ แขกผูม เี กียรติ ก็ไดเริ่มลงทะเบียนเพื่อถายภาพที่ ระลึกหนางาน ณ หองประชุมใหญ ชั้น 6 82 ThaiPrint Magazine


เปดอาคารเจริญอักษร

หลังจากถายภาพเสร็จก็เขา รวมพิธอี น่ื ๆ ชมวีดที ศั นประวัตกิ ลุม บริษทั เจริญอักษรและรูปแบบอาคาร สํานักงานแหงใหม พิธีการกลาว ตอนรับแขกผูมีเกียรติและเขาสูพิธี การ โดยมี คุณสมศักดิ์ ดารารัตน โรจน ขึน้ กลาวถึงรายละเอียดสํานัก งานแหงใหมของกลุมเจริญอักษร และชมการแสดงดนตรีจากกรุงเทพ ไลทออเคสตราพรอมรวมรับประทาน อาหารเที่ยง จนไดเวลาอันเหมาะ สม คุณโกมล ดารารัตนโรจน กลาว ปดงานและขอบคุณพันธมิตรทาง การคาและรับของที่ระลึกเปนการ จบพิธีการสําหรับงานในวันนั้น...

ThaiPrint Magazine 83




Print News

รวมกิจการทั้งสองบริษัท ระหวาง บริษัท ไซเบอร กราฟฟกส (2000)จํากัด กับ บริษัท เอสเอ็ม กราฟฟค เซ็นเตอร จํากัด ในวันพุธที่ 18 ธ.ค. 2556 ณ โรงแรมแมนํ้า ริเวอรไซด ไดมีงาน bishi รวมถึงอุปกรณหลังการพิมพ แถลงขาวและใหสัมภาษณเกี่ยวกับการรวมกิจการธุรกิจของทั้งสอง เพือ่ ใหการขายและการบริการเกีย่ ว บริษัทที่รวมเปนผูแทนจําหนายเครื่องพิมพออฟเซต Ryobi และ Mitsu กับธุรกิจกิจสิ่งพิมพแบบครบวงจร เมือ่ เวลา 17.00 น. ชัน้ 2 ภัตตาคาร อายัท อบาโลน (Ah yat Abalone Forum Restaurant) โดยมี คุณหลุยส จิระเจริญ พร ทีป่ รึกษา กลาวถึงทีม่ าของการ รวมลงทุนของ Ryobi กับ Mitsubishi ทีป่ ระเทศญีป่ นุ และการรวมกิจการ ระหวาง บริษทั ไซเบอร กราฟฟกส (2000) จํากัด กับ บริษทั เอสเอ็ม กราฟฟค เซ็นเตอร จํากัด โดย กลาววา จากการที่บริษัท Ryobi Limited ที่ประเทศญี่ปุน ผูผลิต เครื่องพิมพออฟเซตยี่หอ Ryobi 86 ThaiPrint Magazine


CYBER SM

(เรียวบิ) ตั้งแตขนาดเล็กถึงขนาด กลางที่มีชื่อเสียงไปทัว่ โลกและใน ประเทศไทยกับบริษัท Mitsubishi Heavy industries Printing & Pack aging LTD. ที่ประเทศญี่ปุน ผูผ ลิต เครื่องพิมพออฟเซ็ตยี่หอ Mitsu bishi ขนาดใหญ ไดมีการเจรจา ตกลงดานธุรกิจวาจะรวมกันทําตลาด เครือ่ งพิมพออฟเซต เนื่องจากใน ปจจุบนั เทคโนโลยีใหมๆเขามาแทน ที่ธุรกิจสิ่งพิมพและคูแขงทางการ ตลาดทีม่ อี ยูม าก ทัง้ สองบริษทั เล็ง เห็นวาในขอดีของการรวมธุรกิจ กัน โดยไดแยกแผนกเฉาะเครื่อง พิมพออฟเซตระบบปอนแผนของ ทัง้ สองบริษทั ฯออกมารวมกันเปด เป น บริ ษั ท ใหม โ ดยใช ชื่ อ บริ ษั ท Ryobi MHI Graphic Technology LTD.ทําใหสามารถบริการและตอบ สนองความตองการของลูกคาที่ ตองการเครื่องพิมพขนาดเล็กจน ถึงขนาดใหญได

ดวยสาเหตุนี้ทําใหทางบริษัท ไซเบอร กราฟฟกส (2000) จํากัด ซึ่งเปนตัวแทนจําหนายเครื่องพิมพ Ryobi ในประเทศไทยและบริษัท เอสเอ็มกราฟฟค เซ็นเตอร จํากัด ซึ่งเปนตัวแทนจําหนายเครื่องพิมพ Mitsubishi ในประเทศไทยไดตกลงรวมกิจการกันภายใตชื่อ บริษัท ไซเบอร เอสเอ็ม (ไทย) จํากัด เพือ่ ใหการบริการหลังการขายเปนไปดวย ความเรียบรอยและไมเปนอุปสรรคโดยจะเริ่มใชบริษัทใหมนี้ตั้งแต 2 มกราคม พ.ศ.2557เปนตนไป หลังจากนั้น คุณทรงสิทธิ์ หอวิจิตร ในฐานะกรรมการผูจัดการ บริษัท เอสเอ็ม กราฟฟค เซ็นเตอร จํากัด ไดกลาวถึงประวัติความเปนมา ยอๆ ของบริษัทวา บริษัทไดกอตั้งและจดทะเบียนวันที่ 10 มิถุนายน

ThaiPrint Magazine 87


Print News

2535 ปจจุบันนี้มีทุนจดทะเบียน 50 ลานบาท โดย มีคุณทรงสิทธิ หอวิจิตรและคุณสมศักดิ์ ดารารัตน โรจน เปนผูถือหุนใหญเริ่มตนดวยการเปนตัวแทน จําหนายและใหบริการเครื่องพิมพมิตซูบิชิเปนเวลา กวา 22 ปแลว ของบริษัท Mitsubishi Heavy indus tries Printing & Packaging LTD. จัดจําหนายเครื่อง พิมพมิตซูบิชิใหมไปแลวกวา 131 เครื่อง มีทั้งเครื่อง พิมพมิตซูบิชิ 2 สี, 4 สี, 5 สี, 5 สี พรอมหนวย เคลือบเงา, 6 สี พรอมหนวยเคลือบเงาและ UV เครือ่ งพิมพ 8 สี และเครือ่ งพิมพปอ นมวน Commer cial web ทีฐ่ านการพิมพและเครือ่ งพิมพหนังสือพิมพ Daily News อีกทั้งทางบริษัทฯ ยังจัดจําหนายเครือ่ ง พิมพมติ ซูบชิ ิ (ใชแลว) อีกกวา 30 เครือ่ ง นอกจากนี้ ทางบริษัทฯยังเปนตัวแทนจําหนายและใหบริการ แยกเปนเครื่องจักทางการพิมพและเครื่องจักรและ อุปกรณหลังการพิมพ รวมถึงสินคาหลังการพิมพจาก ประเทศจีน ตอมา คุณศรัยคุปต สาตพร กรรมการรอง ผูอํานวยการ บริษัท ไซเบอรกราฟฟกส (2000) จํากัด 88 ThaiPrint Magazine

กลาววาบริษัทไดกอตั้งธุรกิจขึ้นมาเมื่อ ป 2000 โดย ดําเนินธุรกิจทางดานการสั่งนําเขาเครื่องพิมพและ อุปกรณการพิมพจากประเทศญี่ปุนเพื่อจัดจําหนาย ในประเทศไทย รวมทั้งใหบริการหลังการขายมาเปน ระยะเวลา 13 ป ทางบริษัทฯ มีพนักงานฝายขาย ฝาย บริการหลังการขาย ฝายบัญชี/การเงิน ฝายธุรกิจและ ชางเทคนิค รวมทัง้ สิน้ 22 คน มียอดขายประมาณ 100 ลานตอป มีเครื่องพิมพยี่หอ Ryobi มีจําหนาย แพรหลายในประเทศไทยมาแลวกวา 30 ป โดยมี เครื่องขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ รวมเครื่องทั้งหมด ประมาณ 1000 เครื่อง หลังจากที่ตอบขอซักถามจาก สื่ อ มวลชนก็ ไ ด ถ  า ยรู ป ร ว มกั น ของทั้ ง สองบริ ษั ท พรอมรับประทานอาหารคํ่าและแจกของที่ระลึกเปน อันเสร็จพิธีการ...



Print Knowledge

เรซินจากธรรมชาติ - วัตถุดิบทดแทน ความลับจากธรรมชาติทสี่ ามารถสมานรอยแยก ของเปลือกไม ที่เรารูจักกันในชื่อวา “ยางไม/เรซิน” ซึ่ง ยางไม (เรซิน) นี้ ไดถูกนํามาใชในกระบวนการผลิตของ อุตสาหกรรมหมึกพิมพอีกดวย เรซิน ซึ่งเปนผลิตผลจากธรรมชาติ ซึ่งประกอบ ไปดวยสสารทีม่ ลี กั ษณะเหนียว มีสคี อ นขางเหลืองหรือสี ออกนํ้าตาลและไมตกผลึก ซึ่งสามารถละลายไดดีในสาร อินทรีย (organic solvents) แตไมสามารถละลายกับนํ้า ไดเรซินของตนสน เปนเรซินทีถ่ กู นํามาใชมากทีส่ ดุ เพราะ มันทัง้ เหนียวทัง้ หนืดและมีกลิน่ ฉุน ซึง่ สามารถละลายตัว ไดดีในนํา้ มัน (Oil), แอลกฮอลและนํา้ มันทีม่ สี ว นประกอบ ของสารเบนซิน(Benzine)

การสกัดเรซิน เรซินจะถูกสกัดออกมาจากตนไม โดยกรรมวิธีที่ เราเรียกกันวา การกรีด (Tapping) การกรีดนั้นตองทํา อยางระมัดระวังโดยการกรีดลงไปบนเปลือกไมเรซิน หรือยางไมจะคอยๆ ไหลซึมออกมาตามรองของเปลือก ไมที่ถูกกรีดออกมาแลวหยดลงในภาชนะรองรับที่ผูก ติดไวกับลําตนของตนไม ซึ่งตองอาศัยระยะเวลานาน การกรีดเพื่อทําใหเรซินไหลออกมานั้นมีความแตกตาง กันออกไปขึ้นอยูกับสายพันธของตนไมนั้นๆ ทุกวันนี้ผู ผลิตรายสําคัญหลักๆ จะอยูแ ถบภูมภิ าคเอเชียและอเมริกา แต การกรี ด นั้ น ก็ มี ร ากฐานที่ สืบ ทอดกั น มาอย า งยาว นานจากฝงยุโรป การนําเรซินไปใช ชันสน (โรซิน/Rosin) เปนที่รูจักกันดีวาเปนสาร ชนิดหนึ่งซึ่งสกัดมาจาก ยางไม (เรซิน) ตามธรรมชาติ ชัน สน/โรซินจากยางไมของตนปาลมและตนสนสวนใหญได ถูกนํามาใชในผลิตภัณฑในเครือของฮิวเบอร กรุป ซึง่ สกัด

90 ThaiPrint Magazine


เรซินจากธรรมชาติ

มาจากธรรมชาติเพื่อเปน ตัวนําพา (Vehicle) และ วานิช (Varnish) เรายังพบวา ชันสน (โรซิน) นั้นยังนํามาใชเพื่อ ใหเกิดความเหนียวติดแนนสําหรับเปนพาสเตอรปด แผลและในหมากฝรัง่ อีกดวย ในสวนของนักดนตรีทเี่ ลน ดนตรีประเภทเครื่องสายก็ไดมีการประยุกตชันสนเขา กับเครือ่ งดนตรีซงึ่ มันจะชวยทําใหเสียงดีขนึ้ ในอดีตกาล ชาวกรีซไดเติมยางไม (เรซิน) จากตนสน (Aleppo Pine) ลงในไวนขาวเพื่อเก็บรักษากลิ่นและรสชาติของไวนให คงที่ ซึ่งไวนนี้ก็เปนที่รูจักกันในชื่อ “Retsina” ซึ่งเปนที่ นิยมในเทศกาลเฉลิมฉลองของประเทศกรีกอีกดวย กระบวนการในการนําเรซินมาใช ในกระบวน การผลิตหมึกพิมพ เริม่ ตนโดยกระบวนการวิธที าํ ใหเรซิน นั้นละลาย ดวยอุณหภูมิความรอนที่ประมาณ 120 องศา เซลเซียสในเตาหลอม ขณะเดียวกันก็เติมสารละลายตัว 31,000 ตัน และโดยสวนใหญนาํ มาใชในกระบวนการผลิต อื่นๆ ลงไปในเรซินขณะกําลังรอน เพื่อทําปฏิกิริยา หลัง หมึก, นํา้ มันเคลือบเงา (Varnishes), และกาว (Adhesives) จากนั้นก็ปลอยทิ้งไวใหเย็นลงจะเกิดเปนชั้นแผนบางๆ แลวหลังจากนั้นก็นําไปสูกระบวนการผลิตขั้นตอไป ที่มา: รายงานจาก Micro Ink Co., Ltd. Mr. RufolfEinsiedler (Managing Director, MHM) ซึง่ ในปจจุบนั นี้ อุตสาหกรรมเคมีในประเทศเยอรมัน ไดมีการใชเรซินจากธรรมชาติ โดยเฉลีย่ ประมาณปละ ThaiPrint Magazine 91




Print Technology

เผยสุดยอดเทคโนโลยี ‘

MR System ’

สรางมิติใหมใหงานออกแบบไรขีดจํากัด เชื่อมโยงโลกเสมือนเขากับสภาพแวดลอมจริงไดอยางแนบเนียน บริษัท แคนนอน ไอที โซลูชั่นส (ประเทศไทย ) จํากัด ผูนําเทคโนโลยีอิมเมจจิ้งระดับโลก เผยสุด ยอดเทคโนโลยี ‘ระบบมิกซ เรียลลิตี้ หรือ Mixed Reality (MR) System’ ในประเทศไทยเปนครั้งแรกที่ งานเมทัลเลกซ 2013 โดยระบบมิกซ เรียลลิตี้ หรือระบบ MR นี้เปนเครื่องมือสําหรับการออกแบบ ผลิตภัณฑที่เชื่อมโยงภาพในโลกเสมือนเขากับสภาพแวดลอมจริงที่ตามองเห็นไดอยางแนบเนียน พรอม แสดงเปนภาพสามมิติในขนาดเทาของจริงใหผูใชที่สวม Head-Mounted Display (HMD) ของแคนนอน สามารถมองเห็นและตอบโตกับวัตถุไดจากทุกมุมมอง ชวยลดขั้นตอน ประหยัดเวลา และเพิ่มประสิทธิภาพ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ นายฮิเดซาโตะ โคดามะ ประธานบริษทั แคนนอน ไอที โซลูชนั่ ส (ประเทศ ไทย) จํากัด เผยถึงการเปดตัวระบบ MR ครั้งนี้วา “ปจจุบันวงจรอายุของผลิตภัณฑทุกชนิดลวนมีแนวโนมที่สั้นลงอยาง เห็นไดชดั ดังนัน้ จึงเปนเรือ่ งสําคัญทีอ่ ตุ สาหกรรมการผลิตจะตองสามารถสงมอบ ผลิตภัณฑเขาสูต ลาดไดอยางเหมาะสมและทันเวลา ระบบมิกซเรียลลิตี้ หรือระบบ MR ของแคนนอนทําใหผูใชมองเห็นภาพ CG (Computer-generated) รวมเขา กับสภาพแวดลอมจริง โดยไมวาผูใชจะอยูในตําแหนงหรือกําลังเคลื่อนที่ในทิศ ทางใดก็สามารถเห็นเปนภาพแบบสามมิติในขนาดเทาของจริงและตอบโตกับผู ใช ไ ด จ ากทุกมุมมอง ทําให ผู  ใช สามารถประเมินผลงานการออกแบบและ ประสิทธิภาพการใชงานของผลิตภัณฑ ชวยลดจํานวนการสรางผลิตภัณฑตน แบบ

94 ThaiPrint Magazine

และยังชวยประหยัดเวลาในขั้นตอน ของการพัฒนาผลิตภัณฑ ชวยลดตน ทุนและผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจาก การพัฒนาผลิตภัณฑ” “แคนนอนได เ ลื อ กเป ด ตั ว ระบบ MR System ในประเทศไทย เป น ประเทศแรกในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต เพราะวาลูกคากลุม เปาหมายหลัก คือ กลุมอุตสาหกรรม ยานยนตและอุตสาหกรรมการผลิตซึ่ง ประเทศไทยเปนฐานผลิตที่ใหญและ มี ศั ก ยภาพแห ง หนึ่ ง ของเอเชี ย โดย ระบบ MR System จะอยูภายใตความ รับผิดชอบของบริษัท แคนนอน ไอที โซลูชั่นส (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งทํา หนาที่เปนตัวแทนจําหนายและพัฒนา ระบบ MR ทั้งนี้ราคาของระบบ MR จะแตกต า งกั น ไปตามองค ป ระกอบ และความซับซอนของระบบ โดยจะมี การออกแบบโปรแกรมตามความ ตองการและลัก ษณะการใช งานของ


MR System

ลูกคาแตละรายโดยเฉพาะ แคนนอน และลู ก ค า จะออกแบบและพั ฒ นา โปรแกรมไปพรอมๆ กัน เพื่อใหระบบ MR เปนประโยชนและเอื้อกับการทํา งานของลูกคาไดมากที่สุด” ระบบมิกซ เรียลลิตี้ หรือ Mixed Reality (MR) System คือ เทคโนโลยี ก ารประมวลผลภาพที่ สามารถรวมโลกจริงและโลกเสมือน เขาไดดวยกันไดอยางแนบเนียน จึง เกิ ด เป น ภาพที่ มี ร ายละเอี ย ดชั ด เจน ของสภาพแวดล อ มจริ ง บวกกั บ ภาพ CG ที่สามารถสรางและเปลี่ยนแปลง ไดตามตองการ จึงมอบประสบการณ การสร า งสรรค ภ าพที่ ก  า วลํ้ า ไปกว า เทคโนโลยี VR (Virtual Reality) ที่ทํา ไดเพียงการสรางภาพสภาพแวดลอม โดยใช CG เทานั้น ทั้งนี้ยังแตกตาง จากเทคโนโลยี AR (Augmented Reality) ที่ปจจุบันใชอยูในวงการเกมส โฆษณาและแอพพลิเคชั่นตางๆ ตรงที่ ภาพทีเ่ กิดจาก AR จะเปนการวางซอน ภาพ CG บนสภาพแวดลอมจริงเทานัน้ แตภาพจากระบบ MR จะทําใหผูใช มองเห็นภาพ CG ขนาดเทาของจริง ในสภาพแวดลอมจริงจากทุกมุมมองได อยางไรรอยตอ จึงทําใหผใู ชรสู กึ เหมือน กับภาพ CG นั้นมีอยูจริง ยิ่งกวานั้น

ระบบ MR ยังสามารถออกแบบใหผูใชโตตอบกับภาพเสมือนได โดยจะมีไม เซ็นเซอรใชถือเพื่อรับ การเคลื่อนไหวของมือและเลือกชิ้นส ว นที่ ต องการโต ตอบไดตามโปรแกรมที่ตั้งเอาไว การทํางานของระบบ MR นั้น เริ่มจากกลองวิดีโอสองตัวที่ติดอยูบน Head-Mounted Display (HMD) หรืออุปกรณแสดงภาพที่ผูใชตองสวมครอบอยู บนศีรษะ กลองวิดีโอสองตัวนี้จะอยูที่ดานหนา ทําหนาที่จับภาพจริงที่ตามอง เห็นเพื่อสงไปยังคอมพิวเตอร ณ ตําแหนงที่กําหนดใหมีภาพ CG เกิดขึ้นจะมี เครือ่ งหมายในกรอบสีเ่ หลีย่ มวางอยูต ามจุด โดยระบบจะคํานวณและวัดตําแหนง ของผูใชจากเครื่องหมายที่กลองสองตัวนั้นจับภาพไดรวมกับขอมูลตําแหนงของ ผูใชจากเซ็นเซอรที่ติดอยูบน HMD ซึ่งระบบจะทําการจัดเรียงตําแหนงที่ถูกตอง และแสดงภาพจริงทีร่ วมเขากับภาพเสมือนบนจอขนาดเล็กใน HMD ภาพทีแ่ สดง อยูบนจอขนาดเล็กนั้นจะถูกขยายใหชัดเจนขึ้นดวยปริซึมทรงอิสระ (Free-form Prism) ที่สามารถเปลี่ยนรูปทรงได ทําใหผูใชไดสัมผัสกับภาพสามมิติที่มีความ คมชัดและมีขนาดสมจริงมากที่สุด นับตัง้ แตเปดตัวครัง้ แรกจนถึงปจจุบนั ในประเทศญีป่ นุ มีผซู อื้ ระบบ MR ของแคนนอนไปใชแลวมากกวา 20 ยูนิต โดยลูกคาเปนกลุมอุตสาหกรรมยาน ยนต อุตสาหกรรมกอสราง รวมถึงสถาบันวิจัยในมหาวิทยาลัย ซึ่งไดนําระบบ MR ไปใชในการตรวจสอบการออกแบบ ทดสอบสถานที่ผลิต และแสดงผลการ วิเคราะห โดยไดรับเสียงตอบรับที่ดีจากลูกคาทั้งในเรื่องของตัว HMD ที่มีความ สมบูรณระดับสูง และคุณภาพของภาพ กลาวคือ เกิดการเหลื่อมของภาพนอย มากทําใหภาพมีความสมจริง ไมทําใหเกิดอาการเวียนหัว และยังสามารถนําไป ใชงานรวมกับแอพพลิเคชั่นที่มีอยูไดงายอีกดวย นอกเหนือจากงานออกแบบผลิตภัณฑแลว ระบบ MR ยังสามารถนํา ไปประยุกตใชไดอยางหลากหลาย อาทิ สามารถนําไปใชในงานออกแบบการ วางผังเครื่องจักรในอุตสาหกรรมการผลิตใหมีประสิทธิภาพและใหประสิทธิผลที่ สูงที่สุด โดยผูสามารถเดินชมโรงงาน ดูสายการผลิต และระบบความปลอดภัยที่ ออกแบบไวได หรือนําไปใชในงานออกแบบตกแตงภายใน ใหลูกคาสามารถเห็น แบบบานไดอยางสมจริงมากที่สุด หรือแมแตในพิพิธภัณฑระบบ MR ก็สามารถ ThaiPrint Magazine 95


Print Technology ทําใหการจัดแสดงมีความนาสนใจและโตตอบกับผูชมได แคนนอนยังคงมุงมั่นที่ จะขยายการใชงานระบบ MR ใหกวางขึ้น ขอมูลระบบ มิกซ เรียลลิตี้จากแคนนอน (Canon Mixed Reality System) ระบบมิกซ เรียลลิตี้ หรือ Mixed Reality(MR) Systemเทคโนโลยีลํ้ายุค จากแคนนอนที่สามารถแสดงภาพCG (Computer-generated) หรือภาพที่สราง จากคอมพิวเตอรรวมเขากับภาพตามสภาพแวดลอมจริงที่ตามองเห็นไดสมจริง มากที่สุด แคนนอนไดพัฒนาเทคโนโลยีดานอิมเมจจิ้งนี้ขึ้นเพื่อนําไปประยุกตใช ในหลากหลายสาขาตั้งแตงานออกแบบดีไซน งานอุตสาหกรรมการผลิต ไปจน ถึงการศึกษา การจัดนิทรรศการ และเพื่อสรางความบันเทิง รวมโลกแหงความจริงเขากับโลกเสมือน (Integrating the Real and Virtual World) เทคโนโลยีอิมเมจจิ้งลํ้ายุค ภาพเสมือนที่ปรากฎขึ้นในสภาพ แวดลอมจริงกอนที่ผูใชจะมองเห็นทําใหผูใชมีความรูสึกวาภาพ CG เหลานั้นมี อยูจริง โดย MR คือเทคโนโลยีอิมเมจจิ้งที่รวมภาพจริงและภาพเสมือนใหเขากัน ไดอยางแนบเนียนในแบบเรียลไทม ใหผูใชสามารถตอบโตกับภาพ CG ที่สมจริง ไดจากทุกมุมมอง สรางความเพลิดเพลินและเปดประสบการณใหมในการมอง เห็นใหกับผูใช การทํางานของระบบ MR 1. กลองวิดีโอสองตัวที่ติดอยูบนHead-Mounted Display (HMD) หรือ อุปกรณแสดงภาพที่ผูใชตองสวมครอบอยูบนศีรษะ กลองวิดีโอสองตัวนี้จะอยูที่ ดานหนาตําแหนงเดียวกับดวงตาดานซายและขวา ทําหนาทีจ่ บั ภาพจริงทีต่ ามอง เห็นเพื่อสงไปยังคอมพิวเตอร 2. ณ ตําแหนงที่กําหนดใหมีภาพ CG เกิดขึ้นจะมีเครื่องหมายในกรอบ สี่เหลี่ยมวางอยูตามจุด โดยระบบจะคํานวณและวัดตําแหนงของผูใชจากเครื่อง หมายที่กลองสองตัวนั้นจับภาพไดรวมกับขอมูลตําแหนงของผูใชจากเซ็นเซอรที่ ติดอยูบ น Head-Mounted Display โดยระบบจะทําการจัดเรียงตําแหนงทีถ่ กู ตอง และแสดงภาพจริงที่รวมเขากับภาพเสมือนบนจอขนาดเล็กใน Head-Mounted Display

96 ThaiPrint Magazine

3. ภาพทีแ่ สดงอยูบ นจอขนาด เล็กนั้นจะถูกขยายใหชัดเจนขึ้นดวย Free-form Prismที่สามารถเปลี่ยนรูป ทรงไดทอี่ ยูภ ายใน Head-Mounted Dis play (HMD) ผูใชจะไดสัมผัสกับภาพ สามมิ ติ ที่ มี ค วามคมชั ด และมี ข นาด สมจริงมากที่สุด ประสิทธิภาพของปริซึมรูป ทรงอิสระ (Free-form Prism) รวม เทคโนโลยีเกี่ย วกับการแสดงภาพ ของแคนนอนเขาไวดวยกัน หนึ่งในความทาทายของการ พัฒนาระบบ MR นี้ ก็คือการทําให Head-Mounted Display (HMD) มี ขนาดเล็กลง จึงทําใหมีการพัฒนาปริ ซึ มรู ป ทรงอิ ส ระขึ้ น มาโดยปริ ซึ ม นี้ มี ลักษณะพื้นผิวที่สามารถเปลี่ยนแปลง รู ป ทรงได อ ย า งอิ ส ระเพื่ อ การขยาย ภาพจากจอแสดงผลภายใน HMD โดย ภาพที่ แ สดงในจอแสดงผลจะหั ก เห และสะทอนภายในปริซึมซึ่งไมไดเพียง แต ข ยายภาพที่ ร วมภาพจริ ง และ ภาพเสมือนเอาไวใหมีขนาดใหญขึ้น เทานั้น แตยังทําใหภาพมีความคมชัด ในทุกมุมมองโดยปราศจากการผิดรูป หรือความเบลอของภาพที่อาจเกิดได จากความผิดปกติของการแสดงภาพ ลักษณะนี้อีกทั้งปริซึมรูปทรงอิสระนี้ ยังมีขนาดกะทัดรัดจึงทําให HMD มี ทั้งนํ้าหนักและขนาดที่เล็กลงดวย เทคโนโลยีการรับขอมูลเขา สูร ะบบ (Registration Process Tech nology) สรางภาพเสมือนในสภาพ แวดลอมจริงไดอยางแนบเนียน อีกหนึ่งความทาทายของการ พัฒนาระบบ MR นี้ ก็คือการพัฒนา เทคโนโลยีการวางตําแหนงภาพ CG ให ถูกตองซึ่งภาพ CG จะปรากฎขึ้นแบบ เรียลไทมในสภาพแวดลอมจริงโดยจะ อิงกับกับตําแหนงของผู  ใช โดยเฉพาะ ยกตัวอยางเชน เมือ่ ภาพวัตถุทเี่ ปน CG


MR System

ปรากฎอยูบนโตะ มันอาจจมอยูในโตะหรือลอยอยูเหนือโตะก็เปนไดหากภาพ จริงและภาพเสมือนนั้นไมไดจัดวางอยูในตําแหนงที่ถูกตอง หรือภาพจากโลก เสมือนที่ปรากฎอาจไมมีความสมจริงหากระบบ MR ไมสามารถรับการเรียงตัว ของวัตถุที่เปลี่ยนแปลงไปได ดวยเทคโนโลยีกระบวนการแสดงภาพของแคนนอนที่ศึกษามานาน หลายป แคนนอนจึงเอาชนะความทาทายนี้ไดดวยการพัฒนาวิธีการตรวจจับ เครื่องหมายที่มีความแมนยําและมีความเร็วสูง กลองวิดีโอสองตัวที่ติดอยูกับ Head-Mounted Display (HMD) สามารถจับภาพและอานเครือ่ งหมายเพือ่ คํานวณ ตําแหนงและทิศทางที่ถูกตองของHMD ที่ผูใชสวมอยู นอกจากนี้ ยังมี เซ็นเซอรวงแหวน (Gyro sensors) และ เซ็นเซอร แสง (Optical Sensors) ที่อยูภายใน HMD ทําใหการจัดวางตําแหนงมีความถูก ตองแมนยํามากยิง่ ขึน้ อีกดวย ดังนัน้ เมือ่ สรางภาพเสมือนรวมกับสภาพแวดลอม จริงแลว ระบบ MR จึงมีเครื่องมือวัดที่ชวยยกระดับการวัดตําแหนงใหมีประสิทธิ ภาพมากขึ้นเมื่อเทียบกับวิธีการเดิมๆ ที่มีความยุงยากและซับซอน ซึ่งเทคโน โลยีที่กาวไกลนี้ทําใหเกิดความกาวหนาใน เทคโนโลยี MR ไดอีกมากมาย ลดการใชเวลาในขัน้ ตอนการพัฒนาผลิตภัณฑ (Reduced Development Times) การใชระบบMR ในงานออกแบบและการสรางผลิตภัณฑตน แบบ แคนอนไดเริ่มวิจัยและพัฒนา ระบบ MR ตั้งแตป 2540 แคนนอนได รวบรวมศักยภาพดานวิศวกรรมฮารดแวรและซอฟตแวรเพื่อใหการใช MR เกิด ขึ้นไดจริง เนื่องจากปจจุบันวงจรชีวิตของผลิตภัณฑสั้นลงเปนอยางมาก จึงเปน เรื่องสําคัญที่อุตสาหกรรมการผลิตจะตองนําเสนอผลิตภัณฑสูตลาดไดอยาง เหมาะสมและทันเวลา เมื่อใชระบบ MR ในขั้นตอนการพัฒนาผลิตภัณฑ ผูใชจะสามารถมอง

เห็นภาพ CG ในขนาดเทาของจริงโดย ภาพ CG ที่เกิดขึ้นสามารถตอบสนอง ไดในทันทีและตรงกับตําแหนงทิศทาง ของผูใ ช กอใหเกิดวิวฒ ั นาการดานการ ออกแบบผลิตภัณฑและการใชงานที่ หลากหลาย ทัง้ นีย้ งั ชวยลดจํานวนการ สรางผลิตภัณฑตนแบบ และลดการใช เวลาในการพัฒนาผลิตภัณฑอีกดวย ซึ่ ง ทั้ ง หมดนี้ นํ า มาซึ่ ง การลดต น ทุ น และลดผลกระทบกับสิ่งแวดลอม ผูที่สนใจระบบมิกซ เรียลลิตี้ (MR) สามารถติดตอไดที่ info@canonits.co.th โทรศัพท 0-2105-6380 ขอบคุ ณ ข อ มู ล จากคอลั ม น ขาวไอที MTHAI โดย เฮียณัฐ กิตติพงษ

ThaiPrint Magazine 97


Young Printer

ธีระ กิตติธีรพรชัย

บริษทั จี.พี. ไซเบอรพริน้ ท จํากัด “สวัสดีครับผูอานที่เคารพรัก สําหรับ Young Printer ฉบับนี้ขอแนะนํา “คุณธีระ กิตติธีรพรชัย” หรือ “คุณโบลิ่ง” ซึ่ง เขาเองก็ มี บ ทบาทในการรั บ ผิ ด ชอบกิ จ กรรมพิ เศษหลายๆ อยางที่ทางสมาคมการพิมพไทยไดจัดขึ้นและงานอื่นๆ ที่จะมีเขา เขารวมทุกๆ ครั้ง ลองมาทําความรูจักกับเขากันดูเลยครับ ”

อยากจะใหชวยแนะนําตัวเองสั้นๆ กอนจะถาม ความชืน่ ชอบทีม่ ตี อ ธุรกิจการพิมพของครอบครัว คําถามตอไป...? เปนอยางไรบาง..? สวัสดีครับ ธีระ กิตติธีรพรชัย ชื่อเลน Bowling (โบลิ่ง) ครับ ชื่อเลนนี้ไดมาจากเมื่อสมัยสามสิบกวาปกอน คุณพอชอบกีฬานี้มากครับ แตหลังๆ คนจะเรียกสั้นๆ วา “โบ” จนบางทีเขาใจผิดวาเปนผูหญิง จบการศึกษาชั้น ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตนจากโรงเรียนอัสสัมชัญ มัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดม ศึกษา และปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะพาณิชย ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยครับ ซึง่ ชีวติ ในโรงเรียนนัน้ ผมมีชื่อเลนอีกชื่อซึ่งเปนชื่อลอที่ติดตัวมาตั้งแตเด็กๆ เพือ่ นๆ จะเรียกวา “เปด” ซึง่ จะเรียกอยางไรก็ไมขดั ของครับ ผมเปนพีช่ ายคนโต มีนอ งสาวสองคน คนรองตอน นีก้ ช็ ว ยดูแลธุรกิจการพิมพอยูด ว ย สวนคนเล็กกําลังศึกษา ดานแบรนดทลี่ อนดอน ก็หวังวาจะกลับมามีสว นรวมพัฒนา ธุรกิจครอบครัวซึ่งมีชื่อวา “จี.พี. ไซเบอรพริ้นท จํากัด” อยูลาดพราว 107 98 ThaiPrint Magazine

สิง่ ทีจ่ าํ ความไดตงั้ แตสมัยเด็กๆ คือการมีโรงพิมพ อยูช นั้ ลางของบาน มีออฟฟศและมีทเี่ ก็บ stock สินคาของ ลูกคารวมถึงสินคาตัวอยางซึ่งเปนบรรจุภัณฑของสินคา หลากหลาย โดยผมจะสนใจกลองของเลนและขนมเปน พิเศษ และเฝาสงสัยวาทําไมกลองทีม่ ขี องเลนหรือขนมอยู จริงๆ นัน้ มีแคไมกกี่ ลองตัง้ โชวบนชัน้ วางของ และเคยมีครัง้ หนึ่งที่ผมติดตามคุณพอออกไปพบลูกคาที่จําหนายของ เลนและไดรับของขวัญติดมือมาเปนรถบังคับวิทยุ รูสึก ดีใจมาก มาถึงวันนีท้ เี่ ริม่ เขาใจการทําธุรกิจมากขึน้ เล็งเห็น ความนาสนุกของธุรกิจการพิมพวาเราเขาไปเกี่ยวของกับ สินคาตางๆ ของลูกคามากมายหลายประเภท ทําใหเรา ไดรูจักวิธีคิดวิธีทําการตลาดของสินคาในธุรกิจอื่นๆ และ เนื่องจากลูกคาสวนใหญของโรงพิมพเราจะมีลักษณะเปน B2B คือ ลูกคาสั่งงานพิมพไปเพื่อเพิ่มมูลคาใหกับสินคา


ธีระ กิตติธีรพรชัย

หรือธุรกิจของเขา เชน เปนกลอง เปนถุงบรรจุสินคา เปนโบรชัวร ฯลฯ หลายครั้ง หลายหนที่ความรูสึกสมัยเด็กๆ ที่เราตื่นตากับสินคาของลูกคามันยอนกลับมา มันทําใหเราตระหนักวาเราเปนสวนหนึ่งในความสําเร็จของลูกคาดวยเชนกัน บทบาทและหนาที่รับผิดชอบกับงานธุรกิจการพิมพมีอะไรบางและมี ความยากหรือไม..? หลังจากเรียนจบผมไดเริม่ ทํางานทีเ่ ครือซิเมนตไทยในตําแหนงนักการ ตลาดกอน ซึ่งก็ไดมีโอกาสเรียนรูระบบการทํางานขององคกรขนาดใหญที่มี แตคนเกงๆ สิ่งที่รูสึกหนักที่สุด เมื่อกลับมาชวยธุรกิจของครอบครัวคือ “บท บาทการเปนหัวหนาที่เปนเจาของกิจการ” ซึ่งทําใหรูสึกมึนแบบ 360 องศา โดยเฉพาะอยางยิ่ง หนาที่ที่คุณพอมอบหมาย คือ การแตกไลนธุรกิจแบบ forward คือ ธุรกิจการผลิตสื่อสิ่งพิมพ นั่นทําใหเราตองเรียนรูทั้งการเปน publisher และเรียนรูดานงานพิมพในเชิงการประยุกต ทั้งที่ตอนนั้นผมแทบไม มีความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีการพิมพเลย แตก็ขอดีคือผมไดรับบทเสมือนเปน “ลูกคา” ที่สงงานเขาโรงพิมพตัวเอง ทําใหเราไดมุมมองใหมๆ ที่จะพัฒนา ธุรกิจ แบ งเวลาอย า งไรระหวา งงานกั บ ชี วิ ต สว นตัว มีเวลาใหกับตัว เองมาก แคไหน..? เมื่อกอนเปนคนที่แบงเวลาไมเปนเลย ชีวิตมีแตอะไรที่เปน Ad hoc ตลอดเวลา แตก็เขาทํานอง “ทุกขไมมา ปญญาไมเกิด” เมื่อไมนานมานี้ผมจึง ไดฝกเรื่องการบริหารเวลา การตั้งเปาหมาย และการจัดสมดุลชีวิต ซึ่งการใช เวลากับชีวิตสวนตัวก็เปนหนึ่งในเปาหมายที่ผมตั้งไวและจัดสรรเวลาใหกับ มัน พอเราคอยๆ จัดสมดุลใหกับหลายๆ เรื่องได เราก็สามารถมีความสุขเล็กๆ ได แมในชวงเวลาที่ยุงเหยิง

ThaiPrint Magazine 99


Young Printer

มากที่สุด เชื่อวาหลายๆ ทานคงนึก ออกเวลาที่ ถ กเถี ย งกั บ คนในครอบ ครัว เปนความหงุดหงิดเฉพาะตัวจริงๆ แตถาเราฝกที่จะรีดเอาความทรงจํา ดีๆ เกี่ยวกับครอบครัวขึ้นมาในชวง เวลาที่จิตตก ไดแกความรัก ความผูก พัน จะทําใหเรามีกําลังใจขึ้นมากเลย

อาชีพทีท่ าํ เกีย่ วกับการพิมพคดิ วาเราโชคดีกวาคนอื่นหรือไม ที่ เ กิ ด มาอยูในครอบครัวที่ทํา ธุรกิจการพิมพ..?

อุปสรรคที่เกิดขึ้นกับงานมีอะไรบางและเรามีวิธีแกไขอยางไรถึง ผานพนไปได..?

มากมายกายกองแบบ 360 องศา ยิ่งเราเปนโรงพิมพขนาดเล็กเรายิ่ง เห็นความไมสมบูรณมากมายหลายสิ่ง ทั้งเรื่องบุคลากร เทคโนโลยี ระบบการ ทํางาน เงินทุน ฯลฯ หลายครั้งที่ผมเกิดความกังวล ความกลัว ความเครียด ซึ่ง ผมมาตระหนักในภายหลังวาตัวเรานี่แหละที่ไปจดจอกับอุปสรรคมากเกินไป พอเราจิตใจไมปลอดโปรงการตัดสินใจก็มีโอกาสผิดพลาด ยิ่งพลาดก็ยิ่งกลัว ยิ่งกลัวก็ยิ่งทอ พอยิ่งทอก็ยิ่งไมกลาตัดสินใจ ปจจัยพื้นฐานที่ชวยใหผมผานพนอุปสรรคมาไดคือครอบครัวและ เพื่อน โดยเฉพาะครอบครัวซึ่งเปนสิ่งที่ใกลชิดเราที่สุดและทําใหเราออนไหวได 100 ThaiPrint Magazine

โชคดีครับ แตคงไมอยากไป เปรียบเทียบวาโชคดีกวาคนอื่นหรือ ไม ที่บอกวาโชคดีนั้นประเด็นแรกคือ การที่เรามีธุรกิจสวนตัว ไมวามันจะ ใหญหรือเล็ก ผมวามันสอนเราในเชิง บูรณาการ อาจจะบานๆ บาง ใชประสบ การณบา ง ซึง่ ผมมองวาเปนความโชค ดีที่เรามีโอกาสแบบนี้ อยางนอยเรา ก็มีโอกาสเปดโลกทรรศนไดทั้งการ บริ ห ารธุ ร กิ จ ครอบครั ว หรื อ การหา ประสบการณการทํางานกับองคกร ภายนอก


ธีระ กิตติธีรพรชัย

ประเด็นทีส่ อง ธุรกิจการพิมพในประเทศไทยเทาที่ผมเห็นนั้นเกินกวา รอยละ 90 เปนธุรกิจครอบครัว แตผูใหญสมาคมการพิมพของเรามีวิสัยทัศน ที่ทําใหวงการเรามีภาพลักษณที่ดี ไมแพอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่เปนธุรกิจ ขนาดใหญหรือธุรกิจขามชาติ สิ่งนี้จะชวยตอบโจทยทายาทธุรกิจรุนใหมใหมี ความภาคภูมใิ จในอาชีพของเรา ซึง่ ผมไดยนิ เสียงชืน่ ชมจากเพือ่ นนักธุรกิจประ เภทอื่นที่มีลักษณะเปนธุรกิจครอบครัวเชนกันแตเขายังไมสามารถทําไดแบบ สมาคมของเรา

ตอนนี้ยังโสดอยูหรือมีครอบครัวแลวครับ แลวแบงเวลาอยางไร ใหกับครอบครัวที่เรารักบาง.. ?

กําลังจะแตงงานในเดือนมกราคม 2557 นี้ครับ คบกันมา 3 ปแลว เขาเปนคนที่ชวยสอนผมทางออมในเรื่องการแบงเวลาครับ เพราะเขาเปนคน ชอบเที่ยวตางจังหวัด เปนคนรักครอบครัว เราก็เรียนรูมาจากเขาดวย โดย ปกติเราก็จะคุยกันทั้งเรื่องงานเรื่องเลน แตในชวงนอกเวลางานเราจะมีกติกา วาเราสามารถพูด “ขอบนเรื่องงานหนอยนะ” หรือ “พอเหอะ ไมคุยเรื่องงาน แลว” ก็ชวยสรางความสมดุลไดครับ

มีกิจกรรมอะไรบางกับครอบครัวที่ทําเปนประจํา..?

เรื่องกินเปนความสุขที่เรียบงายแตมีคุณคามากครับ หลังๆ นี้ไมคอย ไดมีเวลาดวยกันมากนัก ขอแคไดทานอาหารดวยกันอาจเปนมื้องายๆ ตอน กลางวันหรือแคคณ ุ พอไดเห็นวาผมทานอาหารทีท่ า นเตรียมไวใหกร็ สู กึ ดีละครับ

เราไดคิดพัฒนาธุรกิจดานเกี่ยวกับการพิมพที่ตอยอดมาจากรุน กอนๆ มีอะไรบางที่คิดวาจะทําขึ้นใหดีกวาจากเดิม? จากปญหาลานแปดพันเกาแบบ 360 องศาที่ผมและนองสาวพยายาม

ฮึดสูก บั มัน เราจัดกลุม และมองเปนเสา หลักอยู 3 เรื่องครับ ไดแกเรื่องระบบ เรื่องพัฒนาคน และเรื่องแบรนด โดย เราเริ่มจากเรื่องคนกอนและก็เริ่มจาก ตัวเราเอง ผมคนพบวาอุปสรรคดานแรก คือทัศนคติของตัวเราเอง เราเห็นแต อุปสรรค เรามีแตคําวา “ไมได” เต็ม ไปหมด เราก็ยอมไมสามารถทําใหคน ของเราเปลี่ยนได ผมและนองสาวเริ่ม เรียนรูและฝกฝนเรื่องการมอบหมาย งาน การใหความไววางใจกับพนักงาน การใหพนักงานมีสวนรวมในการตั้ง เปาตามความเหมาะสม ซึ่งเปนสิ่งที่ เราเคยคิดไปเองวามันทําไมได แตที่ จริงเพราะเราไมเปดใจตางหาก ตอนนี้ เราเริม่ เห็นศักยภาพมากขึน้ ในพนักงาน ของเรา เริ่มมีความเปลี่ยนแปลงทีละ นอย เมื่อเราเริ่มเรื่อง “คน” แลว เรื่อง “ระบบ” จึงคอยมีโอกาสตามมา เรายังไมสามารถลงทุนสูงๆ ในระบบ การผลิตที่ใชเทคโนโลยีลํ้าๆ ได แต เราสามารถพัฒนาระบบในการบริหาร จัดการได โดยใชระบบไอทีเขามาชวย ThaiPrint Magazine 101


Young Printer

วงการพิมพไทยในทุกๆ มิติ ทําใหสมาชิกมารวมตัวกัน อยางเหนียวแนนจนรูสึกไดวาเรามีพลังมีความแข็งแกรง มากจริงๆ แตกิจกรรมที่ผมสนใจที่สุด คือ หลักสูตรอบรม Basic Course ซึ่งตรงกับความตองการสวนตัวของผมมาก เนื่องจากผมมีความรูพื้นฐานดานเทคโนโลยีการพิมพ คอนขางนอย และเห็นวายังมีเจาหนาที่หรือทายาทธุรกิจ การพิมพอีกมากที่ยังไมรูจะเริ่มตรงไหนในการเรียนรูดาน งานพิมพ นอกจากนี้ ผมยังเห็นโอกาสอีกมากที่หลักสูตร Basic Course จะเปนสื่อกลางดึงคนจากธุรกิจอื่นๆ ใหเขา มารูจักกับสมาคมของเรา ซึ่งเปน win-win-win-win คือ 1) สมาคมไดเปนที่รูจักในวงกวางมากขึ้น 2) ธุรกิจอื่นๆ ที่เปนลูกคางานพิมพจะไดมีความรู ความเขาใจดานงานพิมพ รวมถึงมีความคิดสรางสรรคที่ จะออกแบบการใชสิ่งพิมพมากขึ้น 3) ลดความผิดพลาดในการผลิตสิ่งพิมพและ 4) ลูกคาจะไดเขาใจวางานพิมพนี้ใชเทคโนโลยีชั้น สูงและเครื่องจักรราคาแพง จะไดไมตอราคาเรามากนัก... ประเด็นนี้สําคัญอยางยิ่ง

ซึ่งผมเชื่อวามีโอกาสมหาศาลมากสําหรับโรงพิมพของผม ที่วามหาศาลก็เพราะวาเรายังใชประโยชนจากไอทีนอย มากๆๆๆ แสดงวาเรามีชองวางใหพัฒนาอีกเยอะเลย แต ยังตองสูรบตบตี (อยางนุม นวล) กับคนทีเ่ ขาเคยชินกับวิธี ทํางานเดิมๆ ของเขา เรื่อง branding เปนสิ่งที่ผมมีความสนใจอยางมาก ก็ยงั อยูใ นชวงศึกษาเรียนรู และจะพยายามเอาแนวคิดการ สรางแบรนดมาปรับใชอยางสนุกสนานใหเร็วที่สุด เรื่อง branding เปนเหมือนวิสยั ทัศนทเี่ ราอยากจะกลาคิด อยาก จะกลาฝน ผมเชือ่ วาถาเราฝนใหใหญ อุปสรรคก็จะเล็ก แต เขาเปนสมาชิก Young Printer ไดอยางไรและรูส กึ ถาเราตั้งเปาเล็กๆ ทุกอุปสรรคก็จะดูใหญไปหมด

อยางไรกับตําแหนงนี้?

ไดรูจัก YPG ครั้งแรกจากเปง ซึ่งเปนรุนนองทั้งที่ รูสึกอยางไรกับกิจกรรมตางๆ ที่ทางสมาคมจัด ขึ้นประทับใจตรงไหนบางและกิจกรรมที่ชอบ อัสสัมชัญและทีจ่ ฬุ าฯ เมือ่ หลายปมาแลว แตมาเปนสมาชิก จริงๆ เมื่อปที่ผานมาหลังจากไดเขาอบรม K SME Care เปนพิเศษ? ประทับใจทุกๆ กิจกรรมของสมาคม โดยสัมผัส และไดรูจักเพื่อนๆ ที่ทําธุรกิจโรงพิมพหลายคน ทําใหเริ่ม ได ถึ ง ความมุ  ง มั่ น ของสมาคมที่ จ ะผลั ก ดั น และพั ฒ นา มีความสนใจมากขึ้น อยากจะเขามารูจักกับสมาคม ก็ได 102 ThaiPrint Magazine


ธีระ กิตติธีรพรชัย

โอกาสเขารวมแคมป CMYK Color Key Next Gen เมื่อ ปลายป 2012 ซึ่งเปนกิจกรรมแรกเลยที่ไดเขารวม ก็รูสึก ประทับใจมากวาเรามีเพื่อนในวงการนี้มากเหลือเกิน และ มีความรักใครสามัคคี อบอุนมาก ในการนี้ตองขอเอยถึง นองเวบ วี.เจ.พริน้ ติง้ ซึง่ ทัง้ ถามทัง้ ชวนบอยมากใหเรามารวม YPG ถือเปนอีกหนึง่ แรงกระตุน ทีส่ าํ คัญ และรูส กึ ขอบคุณ มากครับ

บทบาทในการเปนสมาชิกนัน้ เราไดรบั ผิดชอบใน สวนไหนและรูสึกอยางไร? การงานตองรับผิดชอบ แตกย็ งั ยินดีสละเวลามาชวยงานและ ด ว ยความที่ ผมยั งใหมม ากสํ า หรับ วงการพิมพ แตไดรับมอบหมายใหอยูในสวนงานประชาสัมพันธ ก็ถือ เปนโอกาสในการเรียนรูเรื่องวงการไปในตัว โดยสวนตัวก็ พยายามใชทักษะความรูที่มีใหเปนประโยชนที่สุด ซึ่งงาน ที่ไดทําใหกับสมาคมฯ และ YPG ที่ผานมาก็คือการเปนผู ดําเนินรายการในงานประกาศผลรางวัล Thai Print Awards 2013 คูกับนองแบงค ซึ่งเปนประสบการณที่ดีมาก แมวา จะมีขอผิดพลาดไปบาง (ที่สําคัญเปนการกระตุนใหเราสง ผลงานเขาประกวดเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรโรงพิมพ สงไปเยอะมากและไดรางวัลกลับมา 1 รางวัล เปนการจุด ประกายใหทีมงานมองเปาหมายที่ใหญขึ้น) นอกจากนี้ยัง รับผิดชอบงานเอกสารประชาสัมพันธ และรวมจัดหลักสูตร Basic Course in Printing Technology & Media รวมไป ถึงกิจกรรม Rally ที่กําลังจะมีขึ้นในป 2014 รูส กึ ประทับใจในความเสียสละของคณะกรรมการ สมาคมและคณะกรรมการ YPG ซึ่งแตละคนตางก็มีภาระ

ชวยอยางเต็มทีส่ นุกสนานดวย ผมคิดวานีเ่ ปนวัฒนธรรมที่ดี มากๆ และเปนปจจัยทีส่ าํ คัญในความกาวหนาของสมาคม อยากจะฝากอะไรหรือแนะนําแนวคิดดีๆ ใหกบั สมาชิก รุนตอๆ ไปไวอยางไรบาง? ทําตัวเปนแกวเปลา แลวเราจะไดเรียนรูประสบ การณใหมๆ อยูเสมอ การมารวมเปนสมาชิกสมาคมการ พิมพไทย หรือเปนสมาชิก Young Printer Group นั้น เปน อีกโอกาสใหเราไดเรียนรู รูจ กั วงการ รูจ กั การทํางานรวมกับ คนหลากหลาย และที่สําคัญขอใหคิดวาเราพรอมทํางาน เพื่อสวนรวม ยิ่งเสียสละเราจะมีพลัง ยิ่งมีพลังก็ยิ่งทําได มาก เมื่อทํามาก เราก็ยิ่งไดสิ่งดีๆ กลับมามากมาย... ขอบคุณครับ

ThaiPrint Magazine 103


Print Travel

LUANG PRABANG : SUNRISE OVER THE RIVER FLOW เรื่อง : ศภิสรา เข็มทอง

ใครตอใครทีไ่ ดมาเยือนหรือมาพํานักอยูท หี่ ลวงพระบาง

(Luang Prabang) อดีตเมือง หลวงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวนี้ ตางก็ใหคาํ นิยามถึงความเปนทองถิน่ ทีส่ งบ อบอุน มี ไมตรีจติ และชีวติ เนิบชา อีกทัง้ ยังเปนเมืองมรดกโลกซึง่ มีบรรยากาศกลมกลอมแบบผสมผสาน ดวยทุก อยางถูกจัดวางในตําแหนงและนํา้ หนักทีพ ่ อเหมาะพอควร กลาวคือ มีโครงสรางหลักทางวัฒนธรรม สถาปตยกรรม และวิถชี วี ติ พืน้ เมืองของชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต แทรกเสริมดวยกลิน่ ไอของดินแดนอาณา นิคมตะวันตกในชวงศตวรรษที่ 19-20 ความพิเศษของตัวเมืองที่ ทอดขนานกับแมนํ้าโขงแมนํ้าคาน และโอบล อ มด ว ยขุ น เขาเขี ย วขจี แหงนี้ อาจดูเปนความธรรมดา แต ในความธรรมดาเหล า นั้ น กลั บ ให ความรูสึกลึกซึ้ง ใหคนหาและเรียนรู ไดไมรจู บ แมวา จะใชเวลาเพียงสัน้ ๆ หรือพักอาศัยอยูเปนเวลายาวนาน สิ่งที่ผูมาเยือนจากทั่วโลกจะสัมผัส ได คือ ความรูส กึ เสมือนวาหลวงพระ บางเปนบานที่เปดโอกาสใหไดเรียน รู เก็บเกี่ยวประสบการณ และเรียง ร อ ยอารมณ ค วามรู  สึ ก ที่ ล ะเอี ย ด 104 ThaiPrint Magazine


หลวงพระบาง

ทุกๆ เชาตามถนนสายหลักอยางที่สี่แยกถนนสีสะหวางวง (Srisaออนกวาการเห็นจากภาพถายหรือ คําบรรยายที่รับฟงกันมาแบบปาก vangvong) เราจะเห็นบรรดานักทองเที่ยวนั่งคุกเขาอยูบนเสื่อบริเวณทาง เทา ในมือมีภาชนะบรรจุขาวเหนียวหรือหอใบตองเตรียมพรอมที่จะถวาย ตอปากหลายเทาทวี แดพระสงฆ กลาวกันวาวิถปี ฏิบตั ทิ กี่ ลายมาเปนธรรมเนียมปฏิบตั นิ กี้ าํ ลังอยู The Ordinary Slow Life ในสถานะทีค่ อ นขางนาเปนหวง เพราะเมือ่ ศรัทธาเริม่ มีธรุ กิจการทองเทีย่ วเขา โมงยามของการเริ่มตนชีวิต มาเกี่ยวของ คงยากที่จะหลีกเลี่ยงเรื่องการควบคุมใหเกิดความเปนระเบียบ ในวันใหมของหลวงพระบางไมตาง เรียบรอยทั้งเรื่องพฤติกรรมของนักทองเที่ยว ผูคา การแตงกาย หรือแมแต จากทีอ่ นื่ ๆ คือ ดําเนินไปพรอมๆ กับ สุขอนามัยของอาหารและภาชนะที่รานคาหรือเกสตเฮาสเตรียมมาเพื่อ เมื่อแสงอาทิตยโผลพนขอบฟา วิถี จําหนายใหกบั นักทองเทีย่ ว ถึงกระนัน้ ทามกลางกระแสความนิยมทีเ่ ริม่ จะ ชีวิตปฏิบัติที่ทําซํ้ากันอยูทุกเมื่อเชื่อ บิดเบือนไปนี้ ดานดีคือชาวเมืองหลวงพระบางโดยแทยังคงมั่นคงอยูบนวิถี วันของชาวเมือง คือ การตื่นเชาขึ้น มาลางหนาลางตา จับจายสินคาใน ตลาดเชา หุงหาอาหารเพือ่ ถวายพระ และรับประทานกันในครอบครัว สิ่ง เหลานี้อาจไมใชของใหมสําหรับคน ไทยหรือชาวพุทธทัว่ โลก แตสงิ่ ทีต่ า ง สําหรับทีห่ ลวงพระบางแหงนีค้ อื การ ตักบาตรขาวเหนียว ซึ่งแตเดิมเปน “วิถีปฏิบัติของทองถิ่น” แตปจจุบัน นั้นไดกลายเปนกิจกรรมทางศาสนา ที่ นั ก ท อ งเที่ ย วให ค วามสนใจกั น มากเปนพิเศษ จนคลายกับวาเปน “ธรรมเนียมปฏิบตั สิ าํ หรับผูม าเยือน” ThaiPrint Magazine 105


Print Travel

ปฏิบัติเพื่อเปนแบบอยางที่ดีใหกับนักทองเที่ยว โดยมีการติดปายรณรงค ใหรักษาวิถีอันงดงามนี้ดวยประโยคสั้นๆ ที่เตือนสตินักทองเที่ยววา “ชวย เราเคารพประเพณีการตักบาตร” นาสนใจเปนอยางยิ่งวาในอนาคตทั้งใกลและไกลนี้ ระหวางความ เคารพศรัทธาและธุรกิจฉาบฉวย สิง่ ใดจะยังคงอยูแ ละเสือ่ มสลายไปเร็วกวา กัน งายขึ้นและชาลงคือความสุขแบบหลวงพระบาง ชาวเมืองหลวงพระบางไดรับคําชื่นชมเสมอวา เปนคนใจเย็น ใจดี เปนมิตร ยิ้มงาย และมักไมเอาเปรียบใคร แตในความเรียบงายและความ เนิบชาของการใชชีวิต สิ่งหนึ่งที่สังเกตเห็นไดชัดเจน คือ ความมีระเบียบ เครงครัดในขอปฏิบัติตางๆ อาทิ การแตงกายที่สุภาพ โดยเฉพาะสตรีที่มัก นุงผาซิ่นยาวคลุมเขาทั้งเด็กและผูใ หญ ทั่วทั้งเมืองจะพบการรณรงคใหนัก ทองเทีย่ วทัง้ ชายและหญิงแตงกายใหเหมาะสมกับสถานทีแ่ ละไมแสดงพฤติ กรรมทีไ่ มเหมาะสมระหวางชายหญิงในทีส่ าธารณะ หรือการรณรงคใหหลวง พระบางเปนเมืองมรดกโลกที่ปลอดบุหรี่ เพราะเมื่อชาวเมืองปฏิบัติใหเห็น

106 ThaiPrint Magazine

โดยเครงครัดแลว ยอมเปนแนวทาง ที่ ชัด เจนให นั กท องเที่ ย วได ปฏิ บัติ ตามเพื่อยังคงรักษาวัฒนธรรมการ ดํารงอยูแบบหลวงพระบางเอาไว สํ า หรั บ นั ก ท อ งเที่ ย วไทย การตกหลุมรักหลวงพระบางยิ่งเปน เรือ่ งงาย เพราะเมือ่ กําแพงทางภาษา ไมใชอุปสรรค และไทย-ลาวยังคง เป น เมื อ งพี่ เ มื อ งน อ งที่ สื่ อ สารกั น อยางเขาใจ ขณะทีค่ า ครองชีพก็ทไี่ ม ตางจากบานเรามากนัก ทั้งอาหาร การกินก็ถูกปากดวยรสชาติและเมนู ที่คนไทยคุนเคย หารับประทานได ทุกตรอกซอกซอย ศิลปวัฒนธรรม ใกลเคียงกับทางภาคเหนือและภาค อีสานตอนเหนือของไทย ความคุน เคยเหลานี้จึงใหความรูสึกอบอุนใจ จนบางคนถึงกับกลาววาหลวงพระ บางเปนเสมือนจังหวัดหนึ่งของไทย ไปไหนๆ ก็ไมตอ งกลัวหลงทางเพราะ ที่หลวงพระบาง “ทางอยูที่ปาก” คือ ไมวา จะไปที่ไหนหากติดขัดสงสัยเรือ่ ง เสนทางหรือคําแนะนําก็สามารถจอด แวะถามไดตลอด ไมวาจะเปนการ เดินทางสัญจรดวยยานพาหนะขนาด เล็กอยางรถสามลอ จักรยานยนต จักรยาน หรือการเดินเทา และแมแต เรือหางยาวที่แลนไปมาเหนือสาย


หลวงพระบาง

นํ้ า โขงและคานที่ มี จุ ด บรรจบกั น บริเวณวัดเชียงทอง เขตของเมืองที่ คอนขางสงบแตก็มีการเคลื่อนไหว ของวิถีชีวิตแบบชาวเมืองหลวงพระ บางใหเห็น จุ ด นั ด พบของมิ ต รภาพ และสุขภาพ กิ จ กรรมท อ งเที่ ย วที่ ห ลวง พระบาง นอกจากจะเนนเรื่องศิลป วัฒนธรรมที่เกาแก บอกเลาประวัติ ศาสตรอนั ยาวนานของเมืองและสถาน ที่เที่ยวชมวิถีชีวิต อันไดแก วัด เจดีย วัดบนภู (ยอดเขา) วัดถํ้า พิพิธภัณฑ ตลาดสด ตลาดริมนํา้ และตลาดกลาง คืนแลว นักทองเทีย่ วยังสามารถแสวง หาประสบการณใหมทผี่ สมผสานการ เดินทางเขากับการบรรยากาศแปลกใหม ไปจนถึงการสรางเสริมสุขภาพที่ดีได อีกดวย หากในคํา่ คืนทีส่ นุกสุดเหวีย่ ง จนถึงเวลาหลังเทีย่ งคืนเมือ่ รานอาหาร หรือผับเล็กๆ ปดใหบริการแลว ลอง โบกรถตุกตุกไปดื่มตอในลานโบวลิ่ง (Luang Prabang Bowling Alley) ซึ่ง เปนที่รูจักดีในหมูนักทองเที่ยวแบก เป เพราะสถานที่แหงนี้คือจุดนัดพบ

ของนักทองเที่ยวที่ตองการหาเพื่อนใหม แลกเปลี่ยนประสบการณการทอง เที่ยว และพูดคุยสารพัดเรื่องในชีวิต พรอมกับจิบเครื่องดื่มเบาๆ ในราคา สบายกระเปา แลวยังสามารถโยนโบวลงิ่ แกงว งไดจนกระทัง่ ถึงเวลา 02.00 น. แตหากวารักการออกกําลังกายยามเชาเพื่อเติมพลังกายพลังใจให ชีวิต ที่หลวงพระบางนี้ก็มีองคกรเอกชนเล็กๆ ที่เปดใหบริการสอนโยคะซึ่ง มีชั้นเรียนหลายระดับความชํานาญ เปนการรวมกลุมของคนที่รักโยคะเปน ชีวติ จิตใจ โดยไดรบั ความรวมมือจากสตูดโิ อโยคะหลายๆ แหงในเมือง อาทิ สตูดิโอยูโทเปย (Utopia) แมโขงโยคะ (Mae khong Yoga) หรือการเปด คลาสสอนในโรงแรมมีระดับสําหรับนักทองเที่ยวที่มีกําลังจายสูง พรอมกัน นั้นก็มีการจัดกิจกรรมสัมมนาแนะแนวทางการบําบัดและการดูแลสุขภาพ กายและจิตใจจากผูเชี่ยวชาญ ที่สวนมากจะเปนชาวตะวันตก ซึ่งกิจกรรมนี้ กําลังไดรบั ความนิยมอยางสูงในหมูน กั ทองเทีย่ วทีร่ กั สุขภาพ เพราะมีโอกาส นอยครัง้ มากในชีวติ ทีจ่ ะไดเลนและเรียนโยคะทามกลางบรรยากาศของขุนเขา เขียวขจีและเคลื่อนไหวรางกายอยางมีสติแบบใกลชิดกับธรรมชาติที่บริสุทธิ์ พรอมกาวออกจากหองเรียนโยคะสี่เหลี่ยมที่คับแคบสูลานโยคะเลียบเลาะ

ThaiPrint Magazine 107


Print Travel

ริมแมนํ้าโขง และแมนํ้าคาน ที่เปนขอเสนอซึ่งหลายคนคงยากจะปฏิเสธได ชีวิตที่เนิบชาสูการพัฒนาที่มั่นคง ความเรียบงายที่ใหสัมผัสของความรุมรวยทางจิตวิญญานตะวัน ออกและตะวันตกของหลวงพระบางที่ยังคงไดรับการถนอมรักษาไวเปน อยางดี คือปจจัยสําคัญที่ทําใหเมืองนี้ไดรับการประกาศใหเปนเมืองมรดก โลกโดยองคการยูเนสโกเมื่อป1995 และยังไดรับการยกยองวาเปนเมืองที่ ไดรับการอนุรักษที่ดีที่สุดแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต ความเฉพาะตัวของสถาปตยกรรมในหลวงพระบางนั้นสะทอนให เห็นการผสมผสานของรูปแบบและวัสดุแบบทองถิ่นกับยุโรป โครงสราง หลักเปนแบบพื้นเมืองที่สรางจากไม แตวัด โบสถ วิหาร เจดีย หรือพระธาตุ นั้นจะสรางจากปูน และตกแตงประดับประดาอยางวิจิตรสวยงาม เชนที่วัด เชียงทอง อาคารบานเรือนสวนมากจะปลูกสรางขึ้นโครงจากไม แตใช เทคนิคและวัสดุตกแตงแบบอาณานิคมหรือที่เรียกกันวาแบบโคโลเนียล อาทิ ไมไผจักสานเปนแผนหรือไมขัดแตะเคลือบเงา สวนบานเรือนแบบ อาณานิคมที่สรางจากอิฐและปูนจะประดับประดาสวนประกอบอื่นๆ ดวย

108 ThaiPrint Magazine

ไมฉลุลาย เชน หนาตาง ประตู บันได และชองแสง มีระเบียงบานเพือ่ ปลูก ดอกไมหรือใชสอยเพื่อการอื่นๆ อาคารเกาแกที่ทรงคุณคา ทางประวัติศาสตรและเก็บรักษาวัน เวลาในอดีตของเมืองหลวงพระบาง ยั ง คงได รั บ การอนุ รั ก ษ แ ละสงวน รักษาเปนอยางดี แตบางสวนก็ถกู ดัด แปลงไปเปนสวนหนึ่งของอุตสาห กรรมการทองเที่ยวที่ขยับตัวมาเปน แหลงรายไดหลักของเมือง เปนโรง แรม บานพัก รานอาหาร รานขาย ของ ทั้งแบบที่อยูภายใตการควบคุม ของหนวยงานทีร่ บั ผิดชอบ และบาง สวนก็ถูกลักลอบดัดแปลงอยางผิด กฎหมาย แตสว นศาสนสถานนัน้ ยัง คงยึดถือธรรมเนียมปฏิบตั แิ บบเกาแก คือ พระสงฆจะเปนผูบ รู ณะซอมแซม โดยพระผูม อี าวุโสจะถายทอดความรู เทคนิคการกอสรางซอมแซมแกพระ ผูเยาวพรรษากวา ซึ่งในอีกดานหนึ่ง นั้นพระสงฆเหลานี้ก็ยังขาดแคลน ความรูดานการอนุรักษที่ถูกตอง ใน สภาพความเสื่อมโทรมที่ตางปจจัย กัน จึงทําใหศาสนสถานหลายแหงมี ความผิดเพี้ยนไปจากเคาโครงเดิม อยูมาก


หลวงพระบาง เพื่ อ ตอบรั บ ความท า ทาย ใหมๆ ที่เริ่มเขามาเยือน เมืองมรดก โลกแหงนี้จึงจําเปนตองริ่เริ่มวางพื้น ฐานการพัฒนาการทองเที่ยวแบบ พอเพียง รวมถึงการอนุรกั ษภมู ทิ ศั น ของเมืองรวมถึงพื้นทางการเกษตร ที่อยูแวดลอม โดยผานความเห็น ชอบจากหนวยงานกลางของประเทศ ในป 2012 ใหขยายพื้นที่กันชนกวา 12.5 ลานตารางเมตร เพื่อรองรับ การวางผังเมืองใหม โดยจะแบงโซน ของโครงการขนาดใหญ เ ป น ของ เอกชน (ไดแก เมืองใหม และโรงแรม ขนาดใหญ) และโครงการอาคาร สาธารณะซึง่ อยูภ ายใตการกํากับดูแล ของรัฐบาลอยางโรงเรียนประถมและ โรงเรียนศิลปะ รวมทัง้ มีการตัง้ หนวย งานขึน้ มาเพือ่ กํากับดูแลกิจการดาน การดู แ ลรั ก ษามรดกของชาติ โ ดย เฉพาะชื่อวา “กรมมรดก (Heritage Department)” เพื่อใหความรู คํา แนะนํา และตอกยํ้าใหทุกๆ ฝายได ตระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการ อนุ รั ก ษ ม รดกทางวั ฒ นธรรมของ หลวงพระบาง แมแตการเลือกใชอิฐ ไม หรือผลิตภัณฑดินเผาของพื้น เมื อ งที่ จ ะคงรั ก ษารู ป แบบดั้ ง เดิ ม ของสิ่งปลูกสรางทั้งหลายไว นอกจากนั้น ยังมีโครงการ อบรมใหความรูดานการพัฒนาอุต สาหกรรมการทองเทีย่ วใหแข็งแรง เปน สากล และมีความทันสมัยทัดเทียม กั บ เมื อ งท อ งเที่ ย วทางวั ฒ นธรรม แหงอืน่ ๆ ของโลก ซึง่ เปนหนึง่ ในเปา หมายสําคัญของโครงการ “ยกระดับ การทองเทีย่ วแบบพอเพียง ผลิตภัณฑ สะอาด และเพิ่มขีดความสามารถ ทางการสงออกของสาธารณรัฐประชา ธิปไตยประชาชนลาว” ซึ่งเปนโครง

การที่รัฐบาลลาวจัดขึ้นครอบคลุมทั่วประเทศ โดยไดรับการสนับสนุนจาก องคการแรงงานนานาชาติ (International Labor Organization) ทั้งนี้เพื่อ นําพาประเทศลาวโดยเฉพาะอยางยิ่งเมืองหลวงพระบางสูความเปนเลิศใน อุตสาหกรรมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การเกษตร และการพัฒนาผลิต ภัณฑทางการเกษตรและงานหัตกรรมชุมชนเพื่อการสงออกไปทั่วโลก สิ่งเหลานี้นับเปนอีกหนึ่งความเคลื่อนไหวที่สําคัญของหลวงพระ บาง เมืองทองเทีย่ วทีต่ ดิ อันดับทีห่ มายในฝนของนักเดินทางจากทัว่ โลก เพราะ แมวาจะมีทรัพยากรทางการทองเที่ยวทั้งทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรม สมบูรณอยูมากแลว ก็ยังเล็งเห็นความสําคัญของการวางรากฐานเพื่อการ พัฒนาการทองเที่ยวในระยะยาวควบคูไปกับการอนุรักษสงวนไวซึ่งสิ่งที่ ทรงคุณคาและตกทอดมาเปนมรดกในปจจุบันไปพรอมๆ กันนั้นดวย ขอบคุณบทความจาก

ThaiPrint Magazine 109


Print Interview Interview

โลกของนักเย็บสมุด

‘ชรัมภ กาฎีโรจน’

110 ThaiPrint Magazine

บางคนคนพบตัวเองในระหวางการตามหาอีก บางสิ่ง... หลังลาออกจากอาชีพนักขาว เปาหมายของการ เดินทางไปเยือนประเทศโปแลนดของ รีฟ - ชรัมภ กาฎีโรจน คือ การไปเก็บเกี่ยวขอมูล เพื่อมาเขียนหนังสือ ซึ่งการ เดินทางครั้งนั้นทําใหเขาบังเอิญไปพบและตกหลุมรักโลก ของคนเย็บสมุด “เลือกไปโปแลนด เพราะมีเพื่อนอยูที่นั่น นอก จากไปเที่ยว ก็ตั้งใจวาจะเขียนหนังสือดวย ไมไดเกี่ยวกับ เรื่องเย็บสมุดเลย แลวชวง 3 เดือนที่เที่ยวไปทั่วโปแลนด มักจะไดเจอคนอาชีพอยางนี้ อยางเชนคนหนึ่งที่รูจักกัน ระหวางเดินทาง เขาทํางานเย็บสมุด เรียกไดวาเปนศิลปน สมุด ไมไดทาํ เปนงานอดิเรกดวย แตทาํ เปนอาชีพ อยูไ ด ดวยการเย็บสมุด สรางศิลปะบนกระดาษ ทําสมุดใหกลาย เปนงานศิลปะ สําหรับเรามันเปนอะไรทีแ่ ปลกดี เพราะตัง้ แตเกิด มาไมเคยเห็นอาชีพแบบนี้ในบานเรามากอนเลย ทําให รูสึกตื่นเตน แตก็ตื่นเตนไดแคระดับหนึ่ง เพราะรูตัวเองวา ไมมคี วามสามารถทางดานศิลปะ สุดทายก็กลับมาเมืองไทย เตรียมเขียนหนังสือเกี่ยวกับโปแลนด เขียนได ไ ม เทาไหร หรอกครับ เพราะวาเปนคนทํางานชามาก ไปเขียนหนังสือ อยูที่ภูเก็ต จากนั้นแมก็เรียกตัวใหกลับไปชวยงาน แตไมอยากทํางานเกี่ยวกับพวกบานจัดสรร หรือ เกีย่ วกับทีด่ นิ ทีแ่ มทาํ อยู ก็เลยหาขออางไปเรียนทีโ่ ปแลนด


ชรัมภ กาฎีโรจน

ไปเรียนเย็บสมุดโดยตรง เพือ่ นเปนคน ติดตอที่เรียนให ซึ่งอาจารยที่สอนเย็บ สมุดเปนเพือ่ นกับแมของเพือ่ น เขาเย็บ สมุดมาตัง้ แตเด็กจนโตจนเรียนจบ แตง งาน เย็บสมุดมาตลอด เพราะเกิดมาในครอบครัวที่ ซอมหนังสือและเย็บพวกคัมภีรไบเบิล พอโตขึ้ น ก็ ไ ปเรี ย นศิ ล ปะที่ เ กี่ ย วกั บ กระดาษ เมื่อจบมาก็มาทํางานซอม หนังสือเย็บสมุดและเอาสวนที่ไดจาก การเรียนศิลปะมาตอยอดใหการเย็บ สมุด (Book Binding) กลายเปน Book Art ซึ่งแฟนของอาจารยกท็ าํ เหมือนกัน ตอนนีท้ งั้ คูอ ายุกวาหกสิบปแลว จริงๆ แลวอาจารยไมไดเปด สอน เขาเปดเปนสตูดิโอทํางานและ รับงาน แตรีฟไปขอเรียน ขออยูนาน เหมือนกันนะ เอาเขาจริง วิชาเย็บสมุด หาเรียนยาก ยากในที่นี้ คือไอแบบที่ งายๆ หาเรียนงายเปดดูไดตามอินเตอร เน็ท มันก็จะเจอแบบงายๆ เหมือนกัน เปนการเย็บสมุดเปดสันธรรมดา แตมนั ไมไดมกี ารตอยอดลงไปในแบบ เย็บแต แบบเดิมๆ ทีเ่ ขาเย็บกัน ดีนะที่รีฟสนิท กับเพื่อน ซึ่งเปนคนโปแลนด”

ผูช ายรักกระดาษ ชอบขีดเขียน จากที่ตั้งใจวาจะไปเรียนแค 3 อาทิตย กลับตอเนื่องกลายเปน 2 ปครึ่ง ซึง่ สิง่ ทีท่ าํ ใหรฟี ใชเวลาไปกับการเรียนเย็บสมุดไดโดยไมรเู บือ่ สวนหนึง่ เพราะพืน้ ฐานเปนคนที่ชอบกระดาษอยูดวยนั่นเอง “ชอบกระดาษ ชอบเขียน แลวเวลาเจอคนที่ชอบเขียน เขาก็มักจะบอก วา สมุดที่เขาซื้อมันไมคอยไดดั่งใจ สวนใหญเปนสมุดที่มาจากโรงพิมพ แคเลือก ปก เลือกกระดาษ แตพอเขียนไปสักระยะมันไมใช ชวงทีเ่ รียนก็ยงั ตองเทียวไปเทียวมาระหวางโปแลนดกบั ประเทศไทย เพราะ รีฟไมไดขอวีซาระยะยาว สองปครึ่งสําหรับรีฟมันเร็วมากๆ เพราะความรูที่เราได ทุกวัน มันเหมือนสิ่งที่ตั้งแตเกิดมามันไมเคยเจอครับ เดิมเราก็รูวามันมีการเย็บ สมุด แตจริงๆ แลวมันมีอะไรมากกวาการเย็บสมุด มันลงลึกไปในเรือ่ งของกระดาษ วัสดุอุปกรณ สารเคมี ที่ใชทํากาวทําสีและทุกอยางตองทําดวยมือหมดเลย จากเรียนเย็บแบบเดียว คอยๆแตกไปเรื่อยๆ เหมือนกิ่งกานของตนไม

ThaiPrint Magazine 111


Print Interview

ที่มัน คอยๆ ลงลึกไปในรายละเอียด มันก็เลยสนุก รีฟเรียนอยูที่บานอาจารยที่ กรุงวอรซอ 2 ป แลวอีกครึ่งปหลังไปเรียนที่คราโคว เมืองหลวงเกาของโปแลนด ใกลกันเหมือนกรุงเทพฯ กับอยุธยา เรียนกับลูกศิษยของอาจารยนั่นแหละ แลว ระหวางที่เรียนก็จะขามไปทางเยอรมัน ไปเรียนเสริม นั่งเรียนรวมกับคนอื่น” รีฟบอกวาเขาโชคดีที่ไดมีโอกาสไดเรียนกับผูที่มีความเชี่ยวชาญทาง ดานนี้โดยตรง ที่สอนเขานับตั้งแตการซอมกระดาษ ซอมหนังสือ เย็บสมุด (Book Binding) ไปจนถึงการใหแนวทางในการทําใหสมุดเลมหนึ่งกลายเปนงานศิลปะ (Book ART) “เพราะในรัว้ มหาวิทยาลัยยังการเรียนการสอนแต Book Art และมี Book Binding แทรกเปนคอรสเล็กๆ แตพวกซอมกระดาษ ซอมหนังสือ รีฟไดมาจาก อาจารย ซึ่งความรูลักษณะนี้ใครที่สนใจตองไปหาเรียนจากขางนอก” กลับเมืองไทยเปนนักเย็บสมุด “ตอนที่ไปเรียนก็ไมไดคิดวาจะทําเปนอาชีพ มาเริ่มคิดตอนหลังวา เรา ตองทําเปนอาชีพใหได ซึง่ ตอนแรกก็เครียดเหมือนกัน ถากลับมาจะทําอะไร เมือง ไทยเขาก็ไมไดรูจักกันมาก คิดหนักเหมือนกัน แตเมือ่ เราตัดสินใจทีจ่ ะมาทางนีท้ าํ แนนอนแลว ซึง่ รีฟเชือ่ อยูอ ยางหนึง่ วา คนทีร่ อู ะไรแลวรูล กึ จริงๆ แมจะแคอยางเดียวมันก็จะอยูได ตอนกลับมาโชคดี เพราะวาสวนหนึง่ ไดงานของลูกคาของอาจารยมาทําดวย เพราะอาจารยไมสามารถ ทําทัน ชวงแรกทําแคงานลูกคาของอาจารย แคนั้นก็ทําไมทันแลว” สิ่งที่ทําใหอาชีพของคนเย็บสมุดอยูไดและเครื่องจักรไมสามารถมา ทดแทนได เพราะสมุดทีถ่ กู สรางสรรคขนึ้ ดวยมือและความคิดของนักเย็บสมุดเปน ที่ตองการของคนหลากหลายกลุม “กลุมแรกซื้อไปใชงาน เปนกลุมคนที่ชอบเขียนและจะมีไดอารี่สวยๆ ไว ใชปล ะเลมหรือปละสองเลม บางคนปนงึ ใชถงึ 4 เลม เพราะวาหนึง่ เลมใช 3 เดือน กลุม ทีส่ องใชสมุดไปในเชิงธุรกิจ เพราะสมุดบางแบบมันไมไดเปนแคสมุด บางแบบสามารถทําเปนพวกแคตตาล็อค, เมนู, หนังสือเซ็นตสญ ั ญา, ของทีระลึก 112 ThaiPrint Magazine

ในทางธุรกิจ และการดเชิญเกๆ กลุมที่สามซื้อไปเปนของขวัญ และกลุมที่สี่ซื้อไปสะสม กลุมนี้จะเนน สมุดแปลกๆ ลายเย็บสวยๆ เก็บสะสม ไวโดยไมไดใชงาน” ดังนัน้ นักเย็บสมุดเชนเขา จึง มีทงั้ งานทีต่ อ งทําตามออเดอรและงาน ทีส่ รางสรรคขนึ้ อยางอิสระ รอคอยผูช น่ื ชอบมันอยางแทจริงซื้อหาไปสะสมไม ตางจากงานศิลปะ “งานที่อยากจะเก็บไวเองไม เคยไดเก็บ เพราะวาพอทําเสร็จปุบ ก็จะ มีคนขอซือ้ ตลอดลงเฟซบุก ไมเกินชัว่ โมง ก็จะมีคนขอซื้อแลว เปนคนเย็บสมุดที่ ไมมีสมุดของตัวเอง เวลาเขียนงาน รีฟ ยังเขียนใสกระดาษอยางนี้อยูเลย (ยก เศษกระดาษขึน้ โชว) บางเลมอยากเก็บไว ทํานิทรรศการของตัวเอง อยากมากแต ไมเคยไดเก็บ แตลกู คาทีเ่ ขาซือ้ ไปสวนที่ อยูเ มืองไทย เขาก็จะบอกวาถาคุณรีฟจัด เดีย๋ วใหยมื ไปโชวไดไมมปี ญ  หาอยูแ ลว รีฟเปนคนใจออน เวลาเห็นใคร ที่เขาอยากไดอยากซื้อ เราก็จะ ออ... ไมเปนไร เดีย๋ วเราคอยทําใหม ซึง่ มันก็ ไมมีทางซํ้ากันหรอกครับ เพราะรีฟไม ชอบทําอะไรซํา้ ๆ อยางแคลายเย็บมันก็ มีเยอะแยะมากมาย เย็บใหจนตาย มัน ก็ไมมีซํ้ากันหรอก ทําไปเรื่อยๆ เปลี่ยน นูน เปลีย่ นนีไ่ ป” Reeves Bindery สมุดแนว วินเทจ หนาตาของสมุดซึ่งเปนผลงาน ของรีฟ ในนาม Reeves Bindery จะ ออกไปแนววินเทจนิดๆ ตามรสนิยม สวนตัวที่เปนคนชอบอะไรที่ดูยอนยุค “รีฟถูกสอนมาวา ใหเอาความ รูท ไี่ ดจากอาจารยไปใช เปนแนวทางได แตอยาเดินซํ้ารอย ซํ้ารอยคือการทํา ตาม เมือ่ เราทําตามใครแลว เราจะไมมี เอกลักษณของตัวเอง เราจะไมมรี อยเทา ของตัวเอง รีฟถูกสอนมาอยางนี้ ใหดู


ชรัมภ กาฎีโรจน ของคนอืน่ ๆ ไดวา เขาทําอยางไร แตตอ ใหสวยหรือดีแคไหน อยาไปทําตาม จง หาเสนทางของตัวเอง แลวงานของเรา มันก็จะเปนเหมือนลายเซ็นตของเราเอง คนดูก็รูวาเปนงานเรา รีฟชอบอะไรที่มันเกา ในที่นี้ คือ ชอบกระดาษเกาๆ เพราะมันดูนา จับ โดยสวนตัวจะชอบสีนาํ้ ตาลมาก แลว งานของรีฟ สีจะออกโทนนํา้ ตาลหมดเลย จะไมมงี านทีส่ สี ดๆ ถาลูกคาสัง่ ก็ทาํ ได แตอยางไร มันก็ยงั ออกไปในแนววินเทจ นิดๆ ตอใหทาํ ออกมานารักอยางไร มัน ก็จะมีกลิ่นไอของวินเทจอยูในสมุด สิง่ เหลานีส้ ว นตัวเรารูส กึ วามัน ดูแลวไมเบื่อ จับดูกี่ทีๆ มันไมเบื่อ แต อะไรที่มันสดใส มันวูบวาบ สวยไม... สวย แตสวยนานไม... ไมรู มันแลวแต ความชอบ เราพยายามเอาความชอบ มาทํา เพราะรีฟคิดวา ถาเราทําอะไรที่ เราชอบ เราจะทําไดดี แตในขณะที่เรา ทําอะไรที่เราชอบ เราตองระลึกไววา บางครั้งเราไมไดทําของเราเอง เราทํา ใหลกู คา เพราะฉะนัน้ เราตองดึงความ ชอบของเรา แทรกเขาไปในความชอบ ของลูกคา ในสัดสวนทีพ่ อเหมาะพอสม บางงาน ถาเปนงานของตัวเอง ก็ จะใสเต็มที่ แตถา เปนงานออเดอร คน

ทีใ่ ชสมุดเขาควรจะไดใชอยางทีเ่ ขาตองการเหมือนกับความตองการของเรา ตอน ที่เรายังเย็บสมุดไมเปน บางงานก็เลยตองคุยกันวาอยางนี้ดีไหม แตสวนใหญ ลูกคาจะชอบแนวรีฟอยูแลว คือบางครั้งแทบไมตองคุยเลย แคบอกวาอยากได สมุดไวเขียนปหนาแลว อะไรอยางนี้ ตัวอยางงานที่เห็นในเฟซบุก เลมเล็กๆ ทั้งนั้นเลยนะครับ เพราะวางาน บางชิ้นไมสามารถลงได สวนหนึ่งเปนงานของลูกคาที่เขาออเดอร บางอยางใน งานมันจะมีรปู ของลูกคา หรือบางคนเขาจะเขียนบันทึกมาเรียบรอยเลย แตยงั ไม เปนเลม รีฟก็จะมีหนาทีน่ าํ มาเย็บเปนเลมใหเขาเสร็จ มันจะไมใชแคกระดาษเปลา บางคนก็จะมีทั้งรูป ทั้งตัวอักษร ทั้งจดหมาย และสาระพัดสิ่ง ที่เปนของสวนตัว” หองเรียนเย็บสมุด จากทีเ่ คยเปนลูกศิษยมากอน ปจจุบนั นีร้ ฟี ยังเปลีย่ นบทบาทมาเปนคอลัม นิสตและอาจารยสอนการเย็บสมุดอยางงายๆ ในนิตยสาร MUSIC & ART ตอเนือ่ ง มาถึงการเปดคอรสสอนการเย็บสมุดใหกับลูกศิษยหลากหลายอาชีพ ทั้งแบบที่ เรียนเปนกลุมและเรียนทางออนไลนอีกดวย “พอกลับมาจากโปแลนด จัดระเบียบชีวิตของตัวเองไดเรียบรอย ไมได คิดวาจะสอนอะไรหรอก เพราะเวลาที่เราอยูกับมัน เราก็มีความสุข อยูได มีราย ไดเขาประจําอยูแลว ไมตองไปอยูกับผูคน อยูกับตัวเอง อยูกับกระดาษ อยูกับ งานที่รัก มันก็มีความสุขแลว แตจุดเริ่มตนของการสอน มันมาจากนองคนหนึ่ง เพราะชวงที่ไปเรียนโปแลนด รีฟก็จะเขียนไดอารี่ออนไลนดวยแลวมีนองคนหนึ่ง เขาอยากเรียน พอกลับมานองเขาก็บอกวา พี่ชวยสอนหนอย จากสอนคนเดียว จนมาถึงวันนี้ นักเรียนเยอะมาก เยอะจนตกใจ ทําใหรวู า มีคนทีช่ อบแบบนีอ้ ยูเ ยอะ นะ แตรีฟจะไมชอบสอนอะไรที่แบบที่คนอื่นเขาสอน ถาในยูทูปหรือในหนังสือมี รีฟจะไมสอน รีฟจะเอาความรูที่เขาหาเรียนไมไดมาสอน” มากกวางานฝมือ “คนทีม่ าเรียนบางคนเหตุผลเพราะชอบเรือ่ งกระดาษหรือบางคนชอบทํา พวกงานฝมือ แตเวลาสอนรีฟจึงบอกพวกเขาวา ทําของพวกนี้อยาคิดวามันเปน แคงานฝมือ เพราะถาเราคิดวามันเปนแคงานฝมือ เราก็จะทําไดแคงานฝมือ

ThaiPrint Magazine 113


Print Interview

แลวมูลคาของงานฝมอื เมือ่ เทียบกับงานศิลปะมันตางกัน รีฟจะบอกเสมอวา รีฟ ไมไดสอนแคใหเย็บสมุดได เย็บสมุดเปน รีฟสอนมากกวาแคเย็บสมุด ไอที่มากกวานั้น รีฟพยายามเอาแนวคิด เอาไอเดีย เอาความรูที่เรามี ที่เขาสามารถหยิบเอาไปตอยอดได เวลาสอนเย็บสมุดในแตละแบบ ทุกคนก็จะ ไดเรียนวิธกี ารเหมือนกันหมด แตเราจะทําอยางไรใหแตละคนทํางานออกมาแตก ตางกัน พยายามใหเขาเปนตัวของตัวเอง เอาความรูเอาสิ่งที่ไดจากรีฟไปผนวก กับความรูแ ละประสบการณทเี่ ขามี แลวดูสวิ า สุดทายสมุดมันจะมีหนาตาออกมา อยางไร ลูกคาเราคือใคร เราจะทําระดับไหน อยางไร เราจะทําราคาถูก เย็บแขงกับ โรงงานไหม ซึง่ อันนัน้ รีฟไมไดสนับสนุน คือคนเราจะเย็บสมุดเลมละรอยสองรอย ขาย มันก็ดี เพราะมันก็เปนงาน แตถามวา จะไปทําแขงกับเครื่องจักรมันทําไม ทํา อะไรทีม่ นั นอยๆ แลวมันมีคา เทากับไอทเี่ ย็บเปนรอยเลม มันดีกวาไหม สมุดเลม หนึ่ง คอยๆ คิด คอยๆ ทํา แลวเราขายเลมหนึ่ง ใหมันเทาๆ กันคนที่เขาตอง เย็บ สองสามรอยเลมอยางนั้นดีไหม ของเราแคเลมเดียวเราอาจจะใชแรงใชความคิดมากกวาดวยซํ้า เพราะ วา งานศิลปะมันตองใชความคิด ไมไดใชแรงงานอยางเดียว ก็พยายามจะสอนเขา อยางนี้ การที่เราพยายามทําตามใครที่เขาประสบความสําเร็จ เราจะไมมีวัน ประสบความสําเร็จหรอก มันเหมือนเราพยายามจะเปนแบบเขา พยายามหาตัว ตนของเราใหเจอ เรารูแลววาเราชอบอยางนี้ ทายที่สุดแลว แมแตในความชอบที่ เหมือนกัน มันจะมีไอรายละเอียดที่แตกตางกันของแตละคน” ทําตัวเราใหนาอิจฉา นักศึกษา แมบาน คุณหมอ พยาบาล วิศวกร พนักงานธนาคาร หรืออีก หลายอาชีพที่ไมคิดวาสนใจ ตางก็ตบเทาเขาสูหองเรียนเย็บสมุดกับอาจารยรีฟ กันทัง้ สิน้ แมสถานทีๆ ่ ใชสอน จะเปนแคเพียงมุมเล็กๆ ใตรม ไมดา นหนา Tascany Avenue ในซอยพหลโยธิน 24 (ลาดพราวซอย 1) เพราะสตูดิโอของอาจารยรีฟ หรือครูรีฟอยูที่บานเกิดที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา “อยางคุณหมอเนีย่ รีฟถามเลยวา คุณหมอมาเรียนทําไม คุณหมอบอก วา มันชวยใหเรานิง่ ลง ซึง่ มันก็จริง การเย็บสมุดมันชวยใหเราใจเย็นลง ผอนคลาย 114 ThaiPrint Magazine

มีสมาธิมากขึน้ ตอนเรียนทีโ่ ปแลนดจะ มีคอรสสอนทีเ่ รียกวา การเย็บสมุดเพือ่ การบําบัดดวยเหมือนกัน ซึ่งรีฟก็ไม แปลกใจเลยวา ทําไมรีฟถึงไปอยูไดนาน ถึงสองปครึ่ง เดิมทีรีฟเปนคนใจรอนมาก ทําอะไรอยากใหเสร็จเร็วๆ การเย็บสมุด มันชวยใหเรานิ่งลง มีสมาธิมากขึ้น ใจ เย็นลง” แม บ างครั้ ง เขาจะอดรู  สึ ก ใจ รอนขึน้ มาไมได ในเวลาทีเ่ ห็นอะไรผิดหู ผิดตา เชนเวลาที่เห็นวิธีการถายทอด วิชาการเย็บสมุดแบบผิดๆ และใหแบบ ครึ่งๆ กลางๆ ตามสื่อตางๆ “เราเห็นแตพูดอะไรไมได พูด ไปก็จะเปนอิจฉา เราอยูข องเราอยางมี ความสุข แลวสอนอะไรที่เรามี ใหกับ นักเรียนทีเ่ ขามาเรียนกับเรา เราก็ไดรบั ความสุขเต็มๆแลว พอแลว ชีวติ มันมีความสุขมากเลยทีไ่ ด ตืน่ มาอยูก บั สิง่ ทีช่ อบทุกเชา ไดดาํ เนิน ชีวติ ตอ เย็บสมุด ทํานูน ทํานี่ มันไมรสู กึ วา วันจันทรอีกแลวเหรอ มีแตถามตัว เองวา โอ.. วันศุกรอีกแลวเหรอ คือไม อยากหยุด มันมีความสุขมากๆ แลวมันไมตองไปแขงกับใคร แขงกับตัวเอง เวลาเรียนก็จะบอกกับ นักเรียนวา ไมตองไปแขงกับใคร แขง กับตัวเอง ตัวเองนาแขงที่สุด ไมตอง ไปแขงกับใครเลย แลวไมตองไปอิจฉา ใคร ทําตัวเราใหตัวเรานาอิจฉา” ขอบคุณบทความ ASTV ผูจัดการออนไลน Text : ออย ปอมสุวรรณ Photo : ปวริศร แพงราช


หมึกพิPrint มพจากยางพารา Technology

มจธ. พัฒนาหมึกพิมพจากยางพารา

ลดสารระเหยทีเ่ ปนอันตรายตอสุขภาพ และเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม พรอมคิดคนวิธใี หคณ ุ สมบัตใิ กลเคียงหมึกพิมพอตุ สาหกรรม

รศ.ดร.เพลินพิศ บูชาธรรม

หมึกพิมพโดยทั่วไปมีสวนประกอบหลัก ไดแก สารใหสี (Colorant) ทําใหเรามองเห็นเปนสีสรรตางๆ ตัวพา (Vehicle หรือ Binder) ทําหนาที่ เปนตัวเชือ่ มสารใหสยี ดึ ติดกับวัสดุตา งๆ และยังใหสมบัตทิ างกายภาพ สภาพ การไหล และความทนทานตอสภาวะแวดลอมของหมึกพิมพ และสารเติม แตง (Additive) ซึง่ ใสเพียงเล็กนอยเพือ่ ปรับใหหมึกพิมพมคี ณ ุ สมบัตติ ามตอง การ เชน แหงเร็ว ลดแรงตึงผิว ปรับคาความเปนกรดดาง ลดฟอง ปองกัน เชื้อรา เปนตน สวนสุดทาย คือ ตัวทําลาย (Solvent) โดยทั่วไปแบงเปน 2 กลุม กลุมแรก สําหรับหมึกพิมพประเภทตัวทําละลายและฐานนํ้ามัน ไดแก สาร ประกอบตัวทําละลายอินทรีย สาร โทลูอีน (Toluene) ไซลีน (Xylene) เมทิล เอทิลคีโตน (MEK) เอทิลอะซีเตต (EA) หรือกลุมแอลกอฮอล เอทานอล (Ethanol) ไอโซโพรพานอล (Isopropanol) นอกจากนี้ยังมี Hydrocarbon, Mineral oil, White spirit สําหรับกลุมฐานนํ้ามัน สวนมากจะระเหยออกไป เมื่อหมึกพิมพ นั้นสามารถยึดติดกับวัสดุพิมพแลว เราจึงมักไดกลิ่นเหม็นฉุนและแสบจมูก หากเขาไปในโรงพิมพที่ไมมีระบบระบายอากาศดีพอ กลุมที่ 2 คือ หมึกพิมพ ฐานนํ้า ซึ่งตัวทําละลายเหลานี้ทําหนาที่ ปรับความขนเหนียว สภาพการไหล การแหงตัว ปรับความเหมาะสมกับ แตละระบบพิมพ

รศ.ดร.เพลินพิศ บูชาธรรม จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกลาธนบุรี (มจธ.) ระบุวา สารประกอบกลุ  ม ตั ว ทํ า ละลายในหมึกพิมพ สวนมากเปนสาร อินทรียท รี่ ะเหยงาย (VOCs) บางชนิด เปนสารกอมะเร็ง อยางเชน โทลูอนี อะซิโตน ดังนั้น จึงมีแนวคิดในการ ทํางานวิจยั ในกลุม หมึกพิมพฐานนํา้ ทดแทนกลุ  ม หมึ ก พิ ม พ ฐ านตั ว ทํ า ละลาย ทีมวิจยั จึงคนควานําเอาวัตถุ ดิบจากธรรมชาติมาเปนตัวพาอยาง เรซิน (resin) โดยนํานํ้ายางดิบมาดัด แปรโครงสร า งให มี ค วามสามารถ เขาไดกับวัสดุใชพิมพทั้งวัสดุรูพรุน อยางกระดาษ และวัสดุไมมีรูพรุน อยางพลาสติก รวมถึงสามารถใชได กับผลิตภัณฑทยี่ อ ยสลายได (Biodegradable) เปน กรีนโปรดักส Green product อยางแทจริง “หมึ ก พิ ม พ ส  ว นใหญ ผ ลิ ต จากสารทีเ่ ปนเรซิน ทีส่ งั เคราะหผา น กระบวนการทางป โ ตรเคมี จ าก นํ้ามันปโตรเลียม ซึ่งเปนทรัพยากร ฟอสซิล ที่ ใช แลวหมดไป ทดแทนได ยาก สวนสารตัวทําละลายอินทรีย หรือสารระเหยเหลานัน้ เปนอันตราย ตอคนและสิง่ แวดลอม ทัว่ โลกมีความ พยายามลดการใช เลิกใช มาอยาง ตอเนื่อง เพราะมันมีสารทอกซินซึ่ง มีกลิ่นเหม็น ที่สําคัญคือติดไฟงาย เราจะเห็นไดวาพวกโรงงานทํากาว ทําหมึกพิมพ โรงงานสีอุตสาหกรรม ThaiPrint Magazine 115


Print Technology

หมึกพิมพจากยางพารา

ยางแผนที่สะอาดและผสมน้ํากรดยางพาราถูกตอง

ตัวหนังสือสีน้ําเงินจากหมึกพิมพยางพารา 116 ThaiPrint Magazine

จะเกิดเหตุไฟไหมบอยครั้ง” รศ.ดร. เพลินพิศ กลาว ทีมวิจยั จึงหันมาพัฒนาหมึก พิมพที่เปนฐานนํ้ามากขึ้น และนํา นํ้ายางพารามาเปนวัตถุดิบ โดยนับ วาเปนการผลิตหมึกพิมพแบบฐานนํา้ และประสบผลสําเร็จในระดับหนึ่ง ในกลุมวัสดุพิมพประเภทกระดาษ “งานทีท่ า ทายในการพัฒนา หมึกพิมพประเภทนี้ คือ วัสดุพิมพ บางชนิด หมึกพิมพไมสามารถเกาะ ติดหรือเกาะติดไดยาก อยางพวก พลาสติกฟลม กระสอบปุย เปนตน แตลา สุดเราสามารถคิดคนวิธที ที่ าํ ให หมึ ก พิ ม พ จ ากนํ้ า ยางธรรมชาติ มี คุณสมบัติที่ ใ กลเคียงหรือเทียบเทา หมึกพิมพอตุ สาหกรรมทัว่ ไปไดแลว” รศ.ดร.เพลินพิศ กลาว รศ.ดร.เพลินพิศ กลาววา กลุมวิ จั ย ที่ นํ า นํ้ า ยางพารามาเพิ่ ม มูลคาโดยการดัดแปรในระดับโครง สรางโมเลกุลและเปนการเพิม่ โอกาส ในการนําไปใชอยางเปนรูปธรรมใน อุตสาหกรรมหมึกพิมพ ถือเปนไอเดีย ใหมที่ยังไม มี ใ ครทํามากอน “หากนําหมึกพิมพชนิดนี้ไป ใช ใ นอุตสาหกรรมการพิมพอยาง แพรหลาย ก็จะเปนอีกชองทางชวย ใหเกษตรกรผูปลูกยางมีโอกาสมาก ขึ้นในตลาดการคาอุตสาหกรรม อีก ทั้งยังเปนผลิตภัณฑทเี่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมและมนุษยอีกดวย เนื่อง จากจะทําใหลดการใชผลิตภัณฑปโ ตร เลี ย มและไม ต  อ งใช ตั ว ทํ า ละลาย อินทรีย” รศ.ดร.เพลินพิศ กลาว ขอบคุณบทความ ASTVผูจัดการออนไลน


หมึกพิมพจากยางพารา

ThaiPrint Magazine 117


Print Technology World of Wine

‘ไวน์แดง’ แพงที่สุดในโลก

ราคาขวดละ 6 ล้าน วางจ�าหน่ายแล้วที่สนามบินดูไบ

วันที่ 28 ต.ค. 2556

ร้านไวน์หรูที่สนามบินนานาชาติดูไบ เปิดตัวสุดยอดไวน์แดง ‘ชา โตว์ มาร์โกซ์ (Chateau Margaux) ปี 2009’ รุ่นลิมิเต็ด อิดิชั่น ขนาดบรรจุ 12 ลิตร ที่มีค่าตัว สูงถึงขวดละ $195,000 หรือประมาณ 6 ล้านบาท ขึ้นแท่นไวน์แดงที่มีราคาขายปลีกต่อขวด สูงที่สุดในโลก เป็นที่รู้กันว่า ไวน์แดง ที่ผลิตจากองุ่นซึ่งเก็บ เกี่ยวในปี 2009 คือหนึ่งในไวน์วินเทจคุณภาพเยี่ยม ที่สุดของ ‘ชาโตว์ มาร์โกซ์’ (Chateau Margaux) ซึ่งเป็นโรงไวน์เก่าแก่ในเมืองบอร์โด ประเทศฝรั่งเศส ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 400 ปี และได้รับ 118 ThaiPrint Magazine

ยกย่ อ งว่ า เป็ น หนึ่ ง ในผู้ ผ ลิ ต ไวน์ บ อร์ โ ดระดั บ แถว หน้าของโลก เมื่อโรงไวน์ดังกล่าวนำาสุดยอดไวน์มา บรรจุขวด ‘บัลธาซาร์’ (ขวดยักษ์ ความจุ 12 ลิตร) เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ แถมยังมีจำานวนจำากัด เพียง 6 ขวด และนำามาวางจำาหน่ายเพียง 3 ขวด ก็


หมึกChateau พิมพจากยางพารา Margaux ทำาให้ไวน์ดังกล่าวไม่ธรรมดา และ ล้ำาค่าน่าสะสมมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ไวน์ที่ว่ายังมา พร้อมกล่องไม้โอ๊คและขาตั้งเหล็ก ซึ่งดัดแปลงมาจากรูปแบบถังบ่ม ไวน์ของ ‘ชาโตว์ มาร์โกซ์’ ขณะ ที่บริเวณขวดมีการสลักตัวอักษร และเขียนลายด้วยทองคำา โดยช่าง ฝีมอื ระดับเทพ ทีส่ าำ คัญไวน์ในขวด ไม่เพียงมีรสชาติเยีย่ มและเป็นหนึง่ ในไวน์วินเทจดีที่สุดเท่าที่ ‘ชาโตว์ มาร์โกซ์’ เคยผลิตมา แต่ยังเก็บไว้ ได้นานนับ 100 ปีอีกด้วย เท่านั้น ยังไม่พอ ผู้ที่ซื้อไวน์ดังกล่าวจะได้ นัง่ เครือ่ งบินชัน้ เฟิรส์ คลาสไปเยือน ไร่ อ งุ่ น และโรงไวน์ ร ะดั บ ตำ า นาน ‘ชาโตว์ มาร์โกซ์’ ในเมืองบอร์โด ประเทศฝรั่งเศส พร้อมทั้งร่วมรับ ประทานอาหารค่ำ า กั บ นายพอล ปอนแตลลิเออร์ หัวหน้าทีมผลิต ไวน์และกรรมการผูจ้ ดั การ ‘ชาโตว์ มาร์โกซ์’ ปัจจุบัน ‘ไวน์แดง’ แพงที่ สุดในโลก 3 ใน 6 ขวด มีจำาหน่าย แล้วที่ร้านไวน์สุดหรู ‘เลอ โคลส’ (Le Clos) ในราคาขวดละ $195,000 หรือประมาณ 6 ล้านบาท โดยหนึ่ง ในนั้ น ถู ก นำ า มาอวดโฉมที่ แ ฟล กชิพสโตร์ ซึ่งตั้งอยู่ในเทอร์มินัล 3 ของสนามบินนานาชาติดูไบ

ThaiPrint Magazine 119


Asian Print Awards

Best of the Best

UPM PLATINUM SPONSOR AWARD BEST IN WEB OFFSET PRINTING COUNTRY Thailand ENTRANT Cyberprint Co., Ltd TITLE OF ENTRY Elle Thailand Magazine (Aug 2013) CLIENT Post International Media Co., Ltd

GMG PLATINUM SPONSOR AWARD

BEST IN PACKAGING PRINTING AND CONVERTING COUNTRY Thailand ENTRANT Benjamit Packaging Co., Ltd TITLE OF ENTRY Nescafe Vintage Box CLIENT Nestle (Thai) Ltd 120 ThaiPrint Magazine


11th Asian Print Awards 2013

Gold AWARDS 2013 POSTER, SHOWCARDS AND POINT-OF-SALE MATERIAL 4 OR MORE COLOURS GOLD AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Sirivatana Interprint PLC

TITLE OF ENTRY Noble Cosper (Thailand)

CLIENT Noble Cosper (Thailand)

SHEETFED MAGAZINES - 4 OR MORE COLOURS GOLD AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Rung Silp Printing Company Limited

TITLE OF ENTRY Love Wedding Magazine Issue 05 May-July 2013

CLIENT Primed Srf Company Limited

WEB OFFSET - COATED STOCK 70GSM AND ABOVE GOLD AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Cyberprint Co., Ltd

TITLE OF ENTRY Elle Thailand Magazine (Aug 2013)

CLIENT Post International Media Co., Ltd

PACKAGING

GOLD AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Benjamit Packaging Co., Ltd

TITLE OF ENTRY Nescafe Vintage Box

CLIENT Nestle (Thai) Ltd

EMBELLISHMENT GOLD AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Continental Packaging (Thailand) Co., Ltd

TITLE OF ENTRY Smirnoff

CLIENT Diageo Moet Hennessy ThaiPrint Magazine 121


Asian Print Awards

Silver AWARDS 2013 CATALOGUES, BOOKLETS AND BROCHURES 4 OR MORE COLOURS, 16 PAGES SILVER AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Aksorn Sampan Press (1987) Co., Ltd

TITLE OF ENTRY Catalog Lexus IS Full Version

CLIENT Toyota Motor Thailand

CATALOGUES, BOOKLETS AND BROCHURES 4 OR MORE COLOURS, 16 PAGES SILVER AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Supornchai Co., Ltd

TITLE OF ENTRY Maya

CLIENT Maya

CATALOGUES, BOOKLETS AND BROCHURES 4 OR MORE COLOURD, 16 PAGES - DIGITAL PRINTING SILVER AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Soontorn Film Co., Ltd

TITLE OF ENTRY Nature Inspire 2012

CLIENT Chamikorn Soonthornmea

POSTER, SHOWCARDS & POINT-OF-SALE MATERIALS DIGITAL PRINTING SILVER AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Pan PaciямБc Printing Co., Ltd

TITLE OF ENTRY Standy Lucky Pepsi

CLIENT Number 8 Co., Ltd

DIGITAL OUTDOOR_LARGE FORMAT AND SIGNAGE SILVER AWARD COUNTRY Thailand CLIENT ABC Group

122 ThaiPrint Magazine

ENTRANT Image Quality Lab Co., Ltd


11th Asian Print Awards 2013 MULTI-PIECE PRODUCTIONS AND CAMPAIGNS SILVER AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Benjamit Packaging Co., Ltd

TITLE OF ENTRY Jonnie Walker Series, Red Black & Gold

CLIENT Diayeo Moet Hennessy Thailand

DIGITAL COLOUR PROOFING SILVER AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Rung Silp Printing Company Limited

TITLE OF ENTRY Golf Digest July 2013

CLIENT Media Tranasia Thailand Company Limited

BRONZE AWARDS 2013 BOOK PRINTING - 4 OR MORE COLOURS BRONZE AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Sirivatana Interprint PLC

TITLE OF ENTRY World Map

CLIENT Imago Publishing

PACKAGING

BRONZE AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Continental Packaing (Thailand)

TITLE OF ENTRY Johnny Walker Gold Label Reserve

CLIENT Diageo Moet Hennessy

ThaiPrint Magazine 123


Asian Print Awards CATALOGUES, BOOKLETS AND BROCHURES 4 OR MORE COLOURS, 16 PAGES BRONZE AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Tanabutr Co., Ltd

TITLE OF ENTRY Hat Studio Annual 2013-2014

CLIENT Hat Studio

CATALOGUES, BOOKLETS AND BROCHURES DIGITAL PRINTING BRONZE AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Amarin Printing and Publishing PLC

TITLE OF ENTRY Modernform: Office Seating

CLIENT Tsemsippbangkok Design Firm

CALENDARS & PHOTOBOOKS - DIGITAL PRINTING BRONZE AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT M.I.W. Group Co., Ltd

TITLE OF ENTRY Calendar Tops

CLIENT Central Food Retail Company Limited

POSTER, SHOWCARDS & POINT-OF-SALE MATERIALS DIGITAL PRINTING BRONZE AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Modern Film Center Co., Led

TITLE OF ENTRY Alfa One

CLIENT Alfa One

POSTER, SHOWCARDS & POINT-OF-SALE MATERIALS DIGITAL PRINTING BRONZE AWARD

124 ThaiPrint Magazine

COUNTRY Thailand

ENTRANT M.I.W. Group Co., Ltd

TITLE OF ENTRY Poster Teerapon

CLIENT Mr Teerapon Jantra


11th Asian Print Awards 2013 PACKAGING AND NUMBER OF COLOURS ON ANY SUBSTRATE BRONZE AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Modern Film Center Co., Ltd

TITLE OF ENTRY Adventure

CLIENT ASP Design Co., Ltd

DIGITAL OUTDOOR, LARGE-FORMAT & SIGNAGE BRONZE AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Space one Co., Ltd

TITLE OF ENTRY Ratatouille

CLIENT FCI

EMBELLISHMENT BRONZE AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Sirivatana Interprint PLC

TITLE OF ENTRY 7 / LOX1148 (Standard edition)

CLIENT Imago Publishing

INNOVATION / SPECIALTY BRONZE AWARD COUNTRY Thailand

ENTRANT Space One Co., Ltd

TITLE OF ENTRY Butterfly

CLIENT Saran Youkongdee

ThaiPrint Magazine 125


Asian Print Awards

The Asian Print Awards Commitee would like to thank our Title Sponsor PPi and Messe Dusseldorf the organisers, of DRUPA, our Platinum sponsors and Gold sponsors. Together we recognise the best in print quality Asia has to offer. Platinum Sponsors

Brand Sponsor

Gold Sponsor

126 ThaiPrint Magazine





               

                    

          

 

 

 

 

                                                  

    





               



  



Print Exibition

โครงการ

“พัฒนาผูป ระกอบการตามแนวพระราชดําริ” จากความสําเร็จในครั้งที่ผานมาของโครงการ “พัฒนาขีดความสามารถผูประกอบการดานการออกแบบผลิตภัณฑ/ บรรจุภัณฑ” อันเกิดจากความรวมมือระหวางสํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) และศูนยบริการ วิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทําใหผปู ระกอบการทีไ่ ดรบั การคัดเลือกใหเขา รวมโครงการจากทัว่ ประเทศกวา 2,500 ราย ไดรับโอกาสในการรับคําปรึกษา เขารวมอบรมพื้นฐานแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ รวมถึงไดรับการ พัฒนาผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑจากผูเชี่ยวชาญโดยไมเสียคาใชจาย สงผลใหมีผลิตภัณฑที่เขารวมโครงการกวา 1,800 ชิ้น ไดรับการพัฒนาใหสามารถตอบสนองตอความตองการของผูบริโภคไดอยางตรงเปาหมาย อีกทั้งยังชวยเสริมสรางความ มั่นใจของผูประกอบการในการแขงขันไดดียิ่งขึ้น เพื่อเปนการตอยอดความ สําเร็จและขยายโอกาสใหแกผูประ กอบการในวงกวางยิง่ ขึน้ สสว. และ ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณ มหาวิ ท ยาลั ย ได เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความ สําคัญของการพัฒนาและยกระดับ ใหกบั ผลิตภัณฑชมุ ชนเหลานี้ จึงรวม กันจัดตัง้ โครงการ “พัฒนาขีดความ สามาถผูป ระกอบการตามแนวพระ ราชดําริ” ขึ้น มีวัตถุประสงคเพื่อ สรางศักยภาพใหกบั ผูป ระกอบการ โดยจัดใหมีทีมงานที่เชี่ยวชาญโดย เฉพาะ พรอมทีจ่ ะใหคาํ ปรึกษาอยาง มีประสิทธิภาพ จัดการสัมมนาอบรม

132 ThaiPrint Magazine

ความรู ทางด านการพั ฒ นาผลิ ตภั ณ ฑ แ ละรั บ ออกแบบผลิ ตภั ณ ฑ และ บรรจุภัณฑใหกับผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมและ ผูประกอบการสินคาชุมชนซึ่ ง โครงการนี้ จ ะช ว ยสร า งความเข ม แข็ ง ให กับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมของไทย ใหสามารถตอยอดทางธุรกิจ ไดอยางตอเนื่องและยั่งยืนจนกระทั่งสามารถแขงขันทั้งตลาดในประเทศ และตลาดสากล เพื่อรองรับการเปดเสรีของ Asian Economy Community หรือ AEC ในป พ.ศ. 2558 และปลุกจิตสํานึกใหผูประกอบการไดเขาใจ ถึงความสําคัญของการพัฒนาผลิตภัณฑและบรรจุภณ ั ฑ โดยไดจดั ใหมกี าร อบรมสัมมนาใหความรูจากบรรดาวิทยากรผูทรงคุณวุฒิในแขนงตางๆ และการจัดนิทรรศการ การออกแบบและบรรจุภัณฑ ซึ่งการจัดสัมมนาใน ครั้งนี้มีทั้งหมด 3 หลักสูตร ประกอบดวย หลักสูตรความรูเ บือ้ งตนดานการพัฒนาผลิตภัณฑหรือบรรจุภณ ั ฑ หลักสูตรดานการออกแบบบรรจุภัณฑ หลั ก สู ต รการสั ม มนาสํ า หรั บ ผู ป ระกอบการที่ ส นใจจะพั ฒ นา สินคาสูตลาด AEC


Chula Design นอกจากนี้ โครงการพัฒนาผูประกอบการฯ ยังมีผูเชี่ยวชาญที่รับ ออกแบบบรรจุภัณฑฟรี ซึ่งครอบคลุมผลิตภัณฑและบริการ ดังนี้ - ผลิตภัณฑอาหารและเครื่องดื่ม - สิ่งทอและเครื่องนุงหม - สิ่งพิมพ - เครื่องใชไฟฟา - ธุรกิจทองเที่ยวและบริการ - คาปลีก คาสง - ผูประกอบการสินคาชุมชนทั่วไป ในปนี้ไดเดินทางไปถึง 13 จังหวัดทั่วประเทศอีกเชนเคย ก็ถือวา ประสบความสําเร็จอยางเชนครั้งที่ผานมา มีประชาชน เจาของกิจการและ นองๆ เยาวชนนักศึกษา ไดใหความสนใจและตอบรับเขารวมกิจกรรมเปน อยางมาก โดยในวันแรกเปนการจัดอบรมใหกบั ผูป ระกอบการทัว่ ไปทีม่ คี วาม สนใจที่จะพัฒนาผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑของตนเอง และในบางจังหวัด จะมีการจัดการอบรม 2 วัน ซึ่งในวันนี้จะเปนการจัดอบรมหลักสูตรทาง การออกแบบบรรจุภัณฑโดยทีมคณาจารยภาควิชามีเดียอาตส มหาวิทยา ลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า ธนบุ รี แ ละหลั ก สู ต รการสร า งอั ต ลั ก ษณ มี

ผลต อ ภาพลั ก ษณ สิ น ค า อย า งไร การตลาดมีความสําคัญอยางไรตอ ผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑ นอกจากนี้ ภายในงานยังมี การจัดนิทรรศการการออกแบบและ บรรจุภณ ั ฑ ซึง่ จะชวยเพิม่ พูนความรู และมุมมองใหมๆ ที่เปนประโยชน แกผูประกอบการ ในการที่จะนําไป พัฒนาสินคาและบรรจุภณ ั ฑของตน เอง เพือ่ สรางมูลคาเพิม่ และสามารถ สรางรายไดที่มั่นคงไดอยางยั่งยืน

ÀÒ¾ºÃÃÂÒ¡ÒȧҹÊÑÁÁ¹Ò¢Í§·Ñé§ 13 ¨Ñ§ËÇÑ´·ÑèÇ»ÃÐà·È

á¾Ã‹

ThaiPrint Magazine 133


Print Exibition

¾ÐàÂÒ

134 ThaiPrint Magazine


Chula Design

ÊØÃÒɮà ¸Ò¹Õ

ThaiPrint Magazine 135


Print Exibition

¾§Ñ §Ò

¹¤ÃÃÒªÊÕÁÒ

136 ThaiPrint Magazine


Chula Design

Õ

Íشøҹ

ThaiPrint Magazine 137


Print Exibition

ÊÃкØÃÕ

¹¹·ºØÃÕ

138 ThaiPrint Magazine


Chula Design

©ÐàªÔ§à·ÃÒ

ThaiPrint Magazine 139


Print Exibition

¨¹Ñ ·ºÃØ Õ

ÊÁطûÃÒ¡ÒÃ

140 ThaiPrint Magazine


Chula Design

ÍÂظÂÒ

ThaiPrint Magazine 141


Print News

สมาคมการพม ิ พ ทย The Thai Printing Association

THAI PRINTING DIRECTORY 2013-2014 แหลงรวมขอมูลลาสุดของผูประกอบการใน อุตสาหกรรมการพิมพ หนังสือ "THAI PRINTING DIRECTORY 2013-2014" เลมใหมลาสุดที่รวมรายชื่อขอมูล ลาสุดของผูประกอบการในอุตสาหกรรมการพิมพ ทั้งกอนการพิมพ การพิมพ หลังการพิมพ รวมทั้งผูจำหนายเครื่องจักร วัสดุอุปกรณดานการพิมพและการซอมบำรุง เหมาะสำหรับใชเปน คูมือการซื้อและเปนประโยชนตอองคกรของทาน

ใบสั่งซื้อหนังสือ ชื่อ - นามสกุล ................................................................... บริษัท ............................................... ที่อยู ............................................................................................................................................. โทรศัพท ............................................................................ โทรสาร ............................................. ขอสั่งหนังสือ THAI PRINTING DIRECTORY 2013-2014 จำนวน ................ เลม วิธีการชำระเงิน เงินสด 800 บาท / เลม (มารับดวยตนเอง) โอนเงิน 900 บาท/เลม (รวมคาจัดสงทางไปรษณีย) (ราคานี้ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) สั่งซื้อไดที่สมาคมการพิมพไทย 311-311/1 ซอย 15 (ซอยศูนยวิจัย) ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพ 10310 โทรศัพท 0-2719-6685-7 โทรสาร0719-6688

ชื่อบัญชี “สมาคมการพิมพไทย” ชื่อบัญชี ออมทรัพย เลขที่ 035-2-461-48-1 ธนาคาร ไทยพาณิชย สาขา ถนนพระราม 4 หมายเหตุ : กรุณาสงแฟกซหลักฐานการโอนเงินพรอมใบสั่งซื้อมาที่สมาคมฯ 142 ThaiPrint Magazine


คุณพระชวย (OhArtMyGallery God!)

ศิลปน : ธีรวัฒน นุชเจริญผล (Teerawat Nutcharaenpol) นิทรรศการ “คุณพระชวย” สรางสรรคภาพดวยสีอะคริลิค ทุกภาพสื่อถึงวิถีชีวิตของสังคม ไทย ตั้งแตยุคแรกถึงยุคปจจุบัน ที่มีเทคโนโลยีเปนปจจัยสําคัญ ที่เขามาครอบงําในชีวิตของคนไทย แตละ ภาพจะเปรียบเทียบความตองการของคนในยุคกอนและยุคปจจุบันไวชัดเจน เปนผลงานของจิตรกรหนุม ไฟแรง “ธีรวัฒน นุชเจริญผล” อาจารยพิเศษ คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ ม.ศิลปากร “คุณพระชวย” เรามักไดยินคําอุทานนี้ จากผู อาวุโส รุน ปู ยา ตา ยาย อยางเผลอตัว พลั้งปากออกมา ตามความเคยชิน หรือไมก็เปนคําออนวอนขอสิ่งศักดิ์ สิ ท ธิ์ ช ว ยดลบั น ดาลคุ ณ พระคุ ณ เจ า ช ว ยเหลื อ ให ไ ด สมปรารถนา แตเราก็ไมรูวาที่พูดขอออกมานั้นชวยเรา ไดจริง หรือเปนคําที่เสริมการตกใจและปลอบใจตัวเอง ในขณะเดียวกัน จนเกิดเปนความเชื่อทางวัฒนธรรม สืบเนื่องกันมาชานาน ในความเปนจริง คําวา คุณพระชวย นี้หมาย ถึง “คุณพระธรรม” คําสอน ขององคสมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจา (จากทานพุทธทาส ภิกขุ) ทรงตรัสสอนให รูธรรมะในการใชชีวิต มีสติ ไมประมาทในทุกขณะจิต ดํารง เราจะขอใหทานชวย เราก็ตองชวยตัวเองโดย

เรียนรูธรรมะ เพื่อนํามาใชในชีวิต คุณพระถาชวยเรา แบบนี้ มันสะทอนใหเห็นถึงจิตใตสาํ นึกของคนทีม่ คี วาม ออนแอ กลัว ขาดการไตรตรอง แสวงหาการออนวอน รอความหวัง ฯลฯ สิง่ เหลานีเ้ ปนผลผลิตของการกระทบ ในสิง่ แวดลอม-สังคม-ความเปนอยูข องคน ณ ขณะนัน้ แนวความคิด ปจจัยเบื้องตนในการดําเนินชีวิตของมนุษย หนีไมพน อาหาร, เสือ้ ผา, ทีอ่ ยูอ าศัย, ยารักษาโรค + เงิน ถ า สิ่ ง เหล า นี้ ถู ก จั ด สรรให เข า กั บ คนในสั ง คมอย า ง เทาเทียม โลกนีก้ ค็ งจะอยูด มี คี วามสุขไรซง่ึ ปญหาใดๆ กลับกันกับโลกปจจุบัน ความเหลื่อมล้ําอยางตอเนื่อง ในสังคม คาครองชีพสูง ผลผลิตมีราคาต่ํา ตองทํางาน เพื่อไดมาซึ่งเงินที่ไมคอยจะพอใชจับจายในชีวิตอยาง ThaiPrint Magazine 143


Art Gallery

ดิน้ รนในสภาวะจํายอม โหยหาอารมณอสิ ระ ผลกระทบ ตางๆ นานา ปจจัยในการดํารงชีพไมสมดุลกับชีวติ มนุษย จนเกิดปญหาทั้งภายในสังคมและภายในจิตใจ ดวยสภาวะจิตใจที่อยากเปนอิสระ จากการงาน อาชีพที่กระทําโดยสถานะจํายอม อิสระจากคนที่ปดกั้น การทํามาหากินจากผูม อี าํ นาจอิทธิพล อิสระจากแรงกดดัน ของสิง่ แวดลอม โดนบังคับใหอยูใ นกรอบ อิสระจากกะลา

144 ThaiPrint Magazine

ภายในจิตใจ บรรจุความกลัว , ไมกลา , ความมืดมนภายใน เปนสิ่งที่คนจํานวนมากตองการ จะกาวใหพนสิ่งเหลานี้ โดยหวังดําเนินชีวติ เชือ่ มโยงกับสิง่ ทีร่ กั สอดคลองภายใน ตัวเองอยางมีอิสระ ซึ่งเปนแรงผลักดันใหสรางสรรคผล งานชุดนี้ โดยพิจารณาจากสภาวะการคน ณ ปจจุบันและ ความรูสึกของตัวตน สรางสรรคในรูปแบบเชิงสัญลักษณ +วิถมี นุษย+กาลเวลาในวัฒนธรรมแบบไทย เพือ่ จุดประ กายความกลาที่จะละความกลัวอยางมีสติ สูอิสระภาพ ภายในจิตใจใหเกิดสิง่ ทีด่ งี าม เสนอมุมมองสวนตัวทีม่ ตี อ สังคมผานผลงานศิลปะ หวังแคความบันเทิงใจ สรางความ สุขเล็กๆ ตอเติมรอยยิ้มกําลังใจในความหวังบนโลกใบ นี้ การเปลี่ ย นผ า นทางวั ฒ นธรรมที่ มี อ ยู ต ลอด เวลาในประวัติศาสตรมนุษยเปนสิ่งที่คอยย้ําเตือนให เห็นถึงโครงสรางและความสัมพันธกันระหวางกรอบ ประเพณีที่แตกตางกัน ซึ่งไมเพียงเปนคูความตางแบบ ทวิลักษณ หากแตเต็มไปดวยความหลากหลายแบบพหุ วัฒนธรรม (Multicultural) ดังนัน้ จึงเกิดคําถามขึน้ วา ใน ภาวะของความเปนไปของสิง่ ทีไ่ ดกลาวนี้ บริบทของความ เปนไทยควรถูกจัดวางไว ณ ตําแหนงใดบนระนาบของ การเปลี่ยนผานของยุคสมัย ผลงานจิตรกรรมในนิทรรศการชุด “คุณพระชวย” (Oh My God) ของธีรวัฒน นุชเจริญผล นี้มีลักษณะของ ความพยายามที่จะสื่อใหเห็นถึงการปะทะกันของวัฒน ธรรมอันหลากหลายโดยใชบริบทของความเปนไทยเปน


คุณพระชวย (Oh My God!) แกนหลักเนือ้ หาในการนําเสนอ ศิลปน แสดงใหเห็นถึงสภาวะของการไมเขา กันของรูปลักษณ (image) ที่ถูกนํามา ใช ขณะเดียวกันความหมายทางสัญญะ (Signified) ของสิ่งที่นํามาจัดวางนั้น ก็ยิ่งดูไมเขากันในบางครั้ง ซึ่งถือเปน เจตจํานงของศิลปนที่ตองการบอก เลาผานภาษาของภาพ ผลงานจิตรกรรมชุดนีแ้ สดงให เห็นถึงการปะทะทางวัฒนธรรมไมได ทําใหเกิดผลกระทบที่รุนแรง หากแต เปนการดูดกลืน่ ความแตกตางใหอยูใ น สภาพของความเปนปกติอยางแนบ เนียน สังเกตไดจากตัวละครจากภาพ จิตรกรรมไทยถูกจัดวางปะปนและทับซอนรูปราง (shape) กับภาพที่ถูกวาดใหเปนเสมือนจริง (realistic) เพื่อแสดง การเปรียบเทียบรายละเอียดของภาพลักษณภายนอก และความหมายของตั ว ละครหรื อ สิ่ ง ประกอบต า งๆ โดยใชภาษาของงานจิตรกรรมเปนชองทางในการนํา เสนอ ศิลปนอาจไมไดมีเปาหมายในการคัดงางทาง วัฒนธรรมที่แตกตาง หากแตแสดงออกถึงการจํายอม อยางสันติในการอยูรวมกันของความหลากหลายที่ถูก ทําใหดเู ปนปกติธรรมดาทัง้ นีเ้ นือ่ งจากรูปรางของสิง่ ตางๆ ในภาพมี ก ารจั ด วางให ส อดรั บ และล อ เลี ย นกั น อย า ง แนบเนียน ผลงานบางชิ้นสรางใหมีการทับซอน เหลื่อม ล้ําจนเกิดความหมายเรื่องของเวลาที่ยอกยอนไปมา สัญลักษณที่มีความหมายเฉพาะถูกนํามาใชเพื่อเปน สะพานเชื่อมกันระหวางภาพที่ปรากฏกับความหมายที่ จําเปนตองอธิบาย ทั้งนี้ศิลปนอาจจะมิไดแสดงเจตจํานงในแงมุม ของการยกยองความเปนไทยอยางตายตัว หากแตการ นําสัญญะของศิลปะไทยมาใชในเชิงการเปรียบเทียบ มากกวาตั้งกระทูถามถึงทาทีของความเปนไทยกับโลกา ภิวตั น (Globalization) ฉะนัน้ แมลกั ษณะภายนอกผลงาน ในชุดนี้จะดูคลายกับการนําเสนอภาวะขัดแยงระหวาง ความเปนไทยกับความเปนอืน่ แตเมือ่ พิจารณากันอยาง ถี่ถวนกลับจะพบทาทีของความเปนมิตรของวัฒนธรรม คูขนานมากกวาจะเปนการตอตานแบบชาตินิยมแชแข็ง

ดังนั้น อาจจะกลาวไดอยางชัดเจน วาผลงาน จิตรกรรมในนิทรรศการชุด “คุณพระชวย” นี้ไมเพียงแต ทําใหผดู ไู ดพบกับประสบการณทางสุนทรียะผานผลงาน ทีแ่ สดงใหเห็นถึงทักษะฝมอื ทางจิตรกรรมทีด่ เี ยีย่ มเทานัน้ หากแตยงั มีแงมมุ ทีแ่ สดงใหเห็นถึงความหลากหลายทาง วัฒนธรรมของสังคมไทยปจจุบนั ไดอยางชัดเจน

ขอบคุณบทความบางสวนของคุณสุรยิ ะ ฉายะเจริญ https://www.facebook.com/suriya.chaya

ThaiPrint Magazine 145


World Legend

7 ÊÔè§ÁËÑȨÃà¢Í§âÅ¡ ÂؤâºÃÒ³ สวัสดีครับผูอานที่เคารพรักทุกทานฉบับนี้เราก็ไดเขามาสูสิ่งมหัศจรรยในยุคโบราณกันแลวนะ

ครับซึ่งตองตั้งขอสงสัยไวหลายๆอยางนะครับวาในยุดนี้เครื่องจักรกลหรือเครื่องทุนแรงตางๆนั้นไมทัน สมัยเหมือนในยุคปจจุบันแลวมนุษยในยุคนั้นเขาใชวิธีใดในการกอสรางก็เปนเรื่องที่ยังไมมีใครหาคําตอบได อยางชัดเจน สําหรับ 7 สิ่งมหัศจรรยโลกยุคโบราณนั้น ถูกรวบรวมโดยกลุมนักปราชญ ชาวกรีก แต เอกสารสูญหาย ตอมา แอนติเปเตอร แหงไซดอน นักเขียนชาวกรีกโบราณ ไดรวบรวมเอกสารใหมที่หลง เหลือใหเห็นอยูในปจจุบันเพียงแหงเดียว คือ พีระมิดแหงกีซาในอียิปต นอกนั้นถูกทําลายดวยภัยพิบัติทาง ธรรมชาติและนํ้ามือมนุษย... มหาปรามิดแหงกิซา

146 ThaiPrint Magazine

มหาปรามิดแหงกิซา (Great Pyramid of Giza) ตําแหนงทีต่ งั้ ประ เทศอียิปต ตั้งอยูหางจากกรุงไคโร เมืองหลวงของอียปิ ตปจ จุบนั ไปทาง ทิศใตประมาณ 2-3 กิโลเมตร กลาง ทะเลทราย ทางตะวันตกของแมนํ้า ไนลปจจุบันสามารถเขาเยี่ยมชมได มหาพีระมิดของกษัตริยคูฟู ริมฝง ตะวันตกของแมนาํ้ ไนล หางไป ทางตอนใตของ เมืองอะเล็กซานเดรีย ประมาณ 160 กิโลเมตร ครอบคลุม


Seven Wonders of the Ancient World เนื้อที่ 12 เอเคอรและมีอายุตั้งแต สมัย 2,690 ปกอนคริสตกาล หรือ เกาแกกวานัน้ ซึง่ พีระมิดของกษัตริย คูฟู สูงถึง 147 เมตร ฐานกวางดาน ละ 230 เมตร ใชหินกอนละ 2 ตัน ครึ่ง บางกอนหนักถึง 16 ตัน รวมใช กอนหิน 2,300,000 กอน รวมนํา้ หนัก กวา 6,000,000 ตัน มีการเตรียมการ สรางถึง 10 ป ใชแรงงานถึง 100,000 คน มาใชแรงงานถึง 20 ป เพื่อสราง พีระมิดดังกลาว ใหจนลุลวงจุดมุง หมายของสิง่ กอสรางนี้ ในเบือ้ งแรกก็ เพื่อบรรจุพระศพของกษัตริยอียิปต พระนามคีออปส หรือ คูฟู ปจจุบัน สวนยอดของพีระมิดทรุดโทรมลง จน มีความสูงเพียง 137 เมตร พีระมิด แหงเมืองกิซามี 3 องคคือ พีระมิดซี เฟรน พีระมิดไมเซอนิรสุ และพีระมิด คีออปส ซึ่งพีระมิดคีออปสเปนพีระ มิดที่ใหญที่สุด สวนลอยแหงกรุงบาบิโลน (The Hanging Gardens of Babylon) ตําแหนงที่ตั้งกลางทะเลทราย เมือง แบกแดด ริมฝงแมนํ้ายูเฟรติส ประ เทศอิรักปจจุบัน ทั้งสวนและผนังดัง กลาวทรุดโทรมจนแทบไมเหลือซาก แลวสวนลอย หรือ สวนสวรรคแหง เมืองบาบิโลนนี้ กินเนื้อที่ 4 เอเคอร สวนลอยนีส้ รางเมือ่ ประมาณ 600 ป กอนคริสตกาล โดยพระเจาเนบูคาด เนสซารที่ 2 กษัตริยแหงเปอรเซีย หลังจากการพิชิตปราบปรามเมื อ ง ใกลเคียงมาอยูใ นอํานาจ แลวก็กวาด ตอนประชาชนพลเมืองมาใชเปนทาส ให ส ร า งสวนสวรรค นี้ ขึ้ น บนทะเล ทราย มีกําแพงดินกั้นลอมรอบและ ประกอบดวยลานกวางๆ เปนหลายๆ สวนบนพื้นที่โคงมีความสูงมากและ

สวนลอยแหงกรุงบาบิโลน

เทวรูปเทพเจาซีอสุ ปลูกตนไม ดอกไมสีสันสดใส สรางสระนํา้ สีตา งๆ ทํานํา้ ตก นํา้ พุ โดยทําทอ ทดเอานํา้ มาจากแมนาํ้ ยูเฟตีส สวนแหงนีส้ รางขึน้ เพือ่ เปนทีป่ ระพาสหยอน พระทัยของพระมเหสีเซมีรามีส เทวรูปเทพเจาซีอุส (The Statue of Zeus at Olympia) ตําแหนง ที่ตั้งเมืองโอลิมเปย ประเทศกรีซ ปจจุบันไมหลงเหลืออยูแลวซุส สรางขึ้น ในป ค.ศ. 53-111 ซึ่งชาวโรมันเรียกวา จูปเตอร เปนเทพเจาศักดิ์สิทธิ์ที่ชาว กรีกโบราณนับถือมากและเคารพสักการะบูชามาก เทวรูปซีอสุ แกะสลักดวย งาชางจํานวนมากประกอบกันขึ้นมีขนาดสูง 58 ฟุต เปนรูปเทพเจานั่งบน บัลลังกสีทอง พระหัตถซายทรงคธา พระหัตถขวารองรับรูปปนแหงชัยชนะ มีเครื่องประดับดวยทองคําลวนอาจพังทลายเพราะแผนดินไหว ในศตวรรที่ 6 แหงคริสตกาล ตอมาถูกขนยายไปยัง กรุงคอนสแตนติโนเปล และสุดทาย ถูกไฟไหมเสียายชาวโรมันเรียกอีกชือ่ หนึง่ วา จูปเ ตอร ชาวกรีกไดเรียกเทวรูป นี้วา ซุส ซึ่งเปนสัญลักษณวาเปนผูนําแหงเทพเจา ชาวกรีกนับถือมากที่สุด ในยุคนั้น ใครจะออกเดินทางไปเมืองใดตองมาพรจากพระองคเสียกอนแต บัดนี้ไมมีหลักฐานใหเปนที่ชมไดเพราะไดถูกไฟเผาไหมหมดทั้งองคในป ค.ศ. 476 คงเห็นภาพในเหรียญตราโบราณและจากจินตนาการที่ไดมาจาก ThaiPrint Magazine 147


World Legend วิหารอารทิมิส

คําบอกเลาหรือนิยายปรัมปราเทานัน้ แตความงามความใหญโตศักดิสทิ ธิ์ ยัง คงเปนที่ยกยองเลาลือมาจนถึงปจจุบันนี้ วิหารอารทมิ สิ (The temple of Artemis at Ephesus) ตําแหนงที่ตั้ง เมืองเอเฟซุส ประเทศกรีซ ปจจุบันยังมีซากหลงเหลืออยูบางไมมีหลักฐาน ปรากฏวาสรางขึ้นเมื่อใด แตไดบูรณะซอมแซมในป ค.ศ.186 เพราะถูกไฟ ไหม มหาวิหารเดียนา มีเนื้อที่กวาง 54,720 ตารางฟุต ตัววิหารกวาง 160 ฟุต ยาว 342 ฟุต มีเสาหินออนดานละ 20 ตน ดานหนาดานหลัง 8 ตน แตละตนมีเสนผานศูนยกลางประมาณ 6 ฟุต สูง 60 ฟุต หลังคามุงกระเบื้อง หินออน เปนวิหารทีส่ วยทีส่ ดุ ในสมัยนัน้ มหาวิหารเดียนา สรางขึน้ เพือ่ ถวาย เทพเจาอารเทมิส ผูเสด็จมาจากสวรรค ไดชวยกูความหายนะของเมืองไว ไดถึง 2 ครั้งถูกทําลายโดยพวกโกธ จากเยอรมัน ที่บุกเขามาโจมตี เมื่อ ค.ศ. 262

สุสานมุสโซเลียมแหงฮาลิ คานาสซัส (The Mausoleum of Maus sollos at Halicarnassus) ตําแหนง ทีต่ งั้ เมืองฮาลคารนาซซัส ประเทศตุรกี ปจจุบนั ยังมีซากหลงเหลือสุสานของ กษัตริยโมโซรุสหรือที่เก็บศพโมโซรุ สเปนสถานทีเ่ ก็บหรือฝงศพของพระ เจาโมโซรุส กษัตริยแ หงเอเชียไมเนอร ปจจุบนั คือ เปอรเซีย ซึง่ พระนางอา เตมีเซีย ราชินี ไ ด ขึ้ น ครองราชย ตอ จากพระราชสวามีไดเปนผูสรางขึ้น ที่เมืองซาเรีย (ปจจุบันคือเมืองฮาล คารนาซซัส) โดยใชชางออกแบบฟดิ อัส ซาติรสั บรายอาซีส สโคปาส ทิโม ทิอัส ที่มีชื่อเสียง ฝมือเยี่ยมในกรีซ ทัง้ หมด มาชวยกันสรางดวยหินออน แตยังไมทันสรางเสร็จพระนางก็สิ้น พระชนมเสียกอน เมื่อ 353 ปกอน คริสตกาลความสูง 43 เมตร บนยอด มีรูปปนโมโซรุส ประทับบนราชรถ เทียมดวยมาทั้งนี้สรางขึ้นเพื่อเปนที่ เก็บศพพระราชสวามีของพระนาง แต เ พี ย งอย า งเดี ย วซึ่ ง นั บ ว า เป น สุสานที่ใหญโตพิศดาร และสูงที่สุด ในโลกอาจจะทรุดพังเพราะแผนดิน ไหว

สุสานมุสโซเลียมแหงฮาลิคานาสซัส 148 ThaiPrint Magazine


Seven Wonders of the Ancient World

มหารูปแหงโรดส มหารูปแหงโรดส (The Colossus of Rhodes) ตําแหนงที่ตั้ง เกาะโรดส ประเทศกรีซ ปจจุบันไม หลงเหลืออยูใ นปจจุบนั เทวรูปโคโลส ซูส เปนเทพเจาที่ชาวกรีกเคารพนับ ถือมาก ซึ่งกษัตริยชาเรสแหงลินดัส สรางขึ้นเมื่อ 280 ป กอนคริสตกาล เทวรู ปนี้ ห ลอ ดว ยทองสํา ริ ดในทา ยืนสูง 100 ฟุต มือขวาถือประทีป เทวรูปตั้งอยูบนฐานทั้งสองขางของ ปากอาว องคเทวรูปยืนถางขาครอม ปากอาวใหเรือลอดไปมาได เทวรูป โคโลสซูสหรือเทพเจาอพอลโลประดิษ ฐานอยูบนเกาะโรดส ประเทศกรีซ และเมือ่ 224 ป กอนคริสตกาล เกิด แผนดินไหว เทวรูปจึงพังลงมา ไมมี ใครดูแลเอาใจใสจนถึงคริสตศตวรรษ ที่ 10 ซากทองเหลืองทีเ่ หลืออยู จึง ถูกขายใหแกชาวเมือง ซาราเชนสไป ทําอาวุธในการทําสงครามจนหมด ปจจุบนั สิง่ มหัศจรรยชนิ้ นีไ้ ดสญ ู สลาย ไปหมดแลว

ประภาคารฟาโรสแหงอเล็กซานเดรีย ประภาคารฟาโรสแหงอเล็กซานเดรีย (The Lighthouse of Alexandria) ตําแหนงที่ตั้งเกาะฟาโรส เมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต ปจจุบันไมหลงเหลืออยูแลวกระโจมไฟฟาโรส หรือ ประภาคารฟาโรส อัน ยิ่งใหญนี้ พระเจาปโตเลมีฟลาเดลฟส กษัตริยแหงประเทศอียิปต เปนผู สรางขึ้นดวยหินออนสลักลวดลายวิจิตรงดงาม อยูบนเกาะฟาโรส ที่อาว หนาเมืองอเล็กซานเดรีย ประมาณ 271 ปกอนคริสตกาล สรางขึ้นเพื่อ เปน สัญลักษณที่สังเกตเห็นแกหมูเรือทั้งหลายที่ไปมาติดตอคาขายในการเขาไป ยังเมืองทา ซึง่ ครัง้ นัน้ อียปิ ต เปนประเทศทีเ่ จริญในวิทยาการตางๆ ใครๆ ก็ ชอบติดตอเหตุนี้จึงตองสรางประภาคารขึ้นจุดตะเกียงแกสตลอดทั้งคืนเพื่อ ใหผูที่ไมเคยเดินเรือใชเปนที่สังเกตจะไดไมหลงและนอกจากนั้นแลวยังใช เปนหอคอยไวดขู า ศึกทีจ่ ะมารุกรานอีกดวยเพราะกระโจมนีส้ งู ถึง 180 เมตร หลังจากเกิดแผนดินไหว อาคารนี้ก็พังทลายลงมาตั้งแต ค.ศ.955 และถูก ทําลายโดยสมบูรณในชวงศตวรรษที่ 14

ThaiPrint Magazine 149


Health

นิว้ ล็อค

ต้อง ระวัง!!

โรคทันสมัยที่ไม่มีใครอยากเป็น

wฤติกรรมคนไทยเราสมัยนี้คงจะหลีกเลี่ยงไม่ได้นะครับว่าการทุ่มเทกับการทำ�งานอย่างเต็มที่มุ่ง

มั่นในการนั่งทำ�งานพิมพ์งานติดต่อกันเป็นเวลานานสามารถจะนำ�พาโรคร้ายเข้าสู้ตัวเราได้โดยไม่รู้ตัวฉบับนี้เรา ลองมาทำ�ความรู้จักกับโรคที่มีชื่อว่า Trigger finger & Trigger thumb กันครับว่าอาการเป็นอย่างไรและจะมี วิธีป้องกันอย่างไรบ้าง

ภาวะนิว้ ล็อค หรือ ภาวะปลอกหุม้ เอ็นอักเสบ (Trigger finger & Trigger thumb) เป็นภาวะที่มีสาเหตุ เกิดจากการหนาตัวขึ้น ปลอกหุ้มเส้นเอ็นบริเวณฐาน ของนิว้ มือ (A1-pulley) ท�ำให้เส้นเอ็นเคลือ่ นผ่านปลอก หุ้มเส้นเอ็นที่หนาขึ้นนี้ด้วยความยากล�ำบาก มีการ เสียดสีทำ� ให้เกิดอาการปวดหรือติดล็อคได้ (อ.นพ กวี ภัทราดูลย์) โรคนีพ้ บบ่อยในผูห้ ญิงมากกว่าผูช้ าย และ อายุที่พบบ่อยอยู่ประมาณ 40-50 ปี โดยมากจะเกิด กับผู้ที่ใช้งานมือในลักษณะเกร็งนิ้วบ่อยๆ เช่น การ ท�ำงานบ้านต่างๆ การบิดผ้า การหิ้ว ของหนัก การใช้ กรรไกรตัดกิ่งไม้ ตัดผ้า การยกของหนักต่างๆ เป็นต้น อาการของโรคนี้แบ่งเป็น 4 ระยะ คือ

150 ThaiPrint Magazine

1. ระยะแรก มีอาการปวดเป็นอาการหลัก โดยจะมีอาการปวดบริเวณโคนนิว้ มือ จะมีอาการ ปวดมากขึ้น ถ้าเอานิ้วกดบริเวณฐานนิ้วมือด้าน หน้าแต่ยงั ไม่มอี าการติดสะดุด 2. ระยะทีส่ อง มีอาการสะดุด (triggering) เป็นอาการหลัก แต่อาการปวดก็มกั จะเพิม่ มากขึน้ ด้วย เวลาขยับนิ้วงอและเหยียดนิ้ว จะมีการสะดุด จนรู้สึกได้ 3. ระยะทีส่ าม มีอาการติดล็อคเป็นอาการ หลัก โดยเมื่องอนิ้วลงไปแล้ว จะติดล็อคจนไม่ สามารถเหยียดนิว้ ออกเองได้ ต้องเอามืออีกข้างมา ช่วยแกะ หรืออาจมีอาการมากขึ้นจนไม่สามารถ งอนิ้วลงได้เอง 4. ระยะทีส่ ี่ มีการอักเสบบวมมาก จนนิว้ บวมติดอยู่ในท่างอเล็กน้อย ไม่สามารถเหยียด ให้ตรงได้ ถ้าใช้มือมาช่วยเหยียดจะปวดมาก


นิ้วล็อค ได ถาไปเขี่ยหรือสะกิดถูกเสน ประสาท ดังนั้น จึงไมแนะนํา สํ า หรั บ นิ้ ว ที่ มี โ อกาสเสี่ ย งต อ การบาดเจ็บของเสนประสาทสูง คือ นิ้วหัวแมมือ และนิ้วชี้ และ การผาตัดแบบปดนี้ใชไดสําหรับ คนไข ที่ มี อ าการของโรคตั้ ง แต ระยะที่สองขึ้นไป

สําหรับวิธีการรักษาโรคนี้ ประกอบไปดวย 1. การใชยารับประทาน เพือ่ ลดการอักเสบ ลดบวม และลดอาการ ปวด รวมกับพักการใชมือ 2. การใชวิธีทางกายภาพบําบัด ไดแก การใชเครื่องดามนิ้วมือ การนวดเบาๆ การใชความรอนประคบและการออกกําลังกายเหยียดนิ้ว โดยการรักษาดวยยาและกายภาพบําบัด อาจใชรว มกันได และมักใชไดผลดี เมือ่ มีอาการของโรคในระยะแรก และระยะที่สอง 3. การฉีดยาสเตียรอยดเฉพาะที่ เพื่อลดการอักเสบ ลดปวด และลดบวม เปนการรักษาที่มีประสิทธิภาพคอนขางมาก สวนมากมักจะ หายเจ็บบางรายอาการติดสะดุดจะดีขนึ้ แตการฉีดยามักถือวาเปนการรักษา แบบชั่วคราว และขอจํากัดก็คือ ไมควรฉีดยาเกิด 2 หรือ 3 ครั้ง ตอ 1 นิ้วที่ เปนโรค การรักษาโดยการฉีดยานีส้ ามารถใชไดกบั อาการของโรคตัง้ แตระยะ แรกจนถึงระยะทาย 4. การรักษาโดยการผาตัด ถือวาเปนการรักษาดีที่สุดในแงที่จะ ไมทําใหกลับมาเปนโรคอีก หลักในการผาตัด คือ ตัดปลอกหุมเสนเอ็นที่ หนาอยูใหเปดกวางออก เพื่อใหเสนเอ็นเคลื่อนผานไดโดยสะดวก ไมติดขัด หรือสะดุดอีก โดยการผาตัดแบงออกไดเปน 2 วิธี คือ การผาตัดแบบเปด เปนวิธีมาตรฐาน ที่ควรทําในหองผาตัด โดยฉีดยาชาเฉพาะที่ผาตัดเสร็จก็ กลับบานได หลังผาตัดหลีกเลีย่ งการใชงานหนัก และการสัมผัสนิว้ ประมาณ 2 สัปดาห (ดังรูป) อีกวิธีเปนการผาตัดแบบปด โดยการใชเข็มเขี่ยหรือสะกิด ปลอกหุมเอ็นออก โดยแทบไมมีแผลใหเห็น โดยวิธีนี้อาจมีผลแทรกซอน

8 ขอ ปองกันโรคนิ้วล็อก โรคนิว้ ล็อกจะเปนกับคน ทีม่ กี ารใชงานมือมากเกินไปหรือ ใชผดิ วิธี โดยเฉพาะผูห ญิงถึงรอย ละ 80 ที่หิ้วของหนักๆ ซํ้าๆ นิ้ว ที่พบปญหาล็อกบอยทีส่ ดุ คือ นิว้ หัวแมมือและนิ้วนาง อาชีพที่ เสี่ยงตอการเปนโรคนิ้วล็อกและ ตองระมัดระวังเปนพิเศษคือ แม บานที่ตองหิ้วของหนักๆ คนตัด สวน ตัดแตงกิง่ ไม ชางไฟฟา หมอ นวดแผนโบราณ พนักงานพิมพ คอมพิวเตอร นักกีฬาแบดมินตัน นักกอลฟ เปนตน

ThaiPrint Magazine 151


Health 4. เวลาท�ำงานทีต่ อ้ งอาศัย อุปกรณ์ช่าง ควรระวังการก�ำ บด เครื่องมือทุ่นแรง เช่น ไขควง เลื่อย ค้อน ฯลฯ ควรใส่ถุงมือหรือห่อหุ้ม ด้ามจับให้ใหญ่และนุ่มขึ้น 5. ชาวสวนระวังเรือ่ งการตัด กิง่ ไม้ดว้ ยกรรไกรหรืออืน่ ๆ ทีใ่ ช้แรง มือ ควรใส่ถงุ มือเพือ่ ลดการบาดเจ็บ ของปลอกเอ็นกับเส้นเอ็นและควรใช้ สายยางรดน�ำ้ ต้นไม้แทนการหิว้ ถังน�ำ้ 6. คนที่ยกของหนักๆ เป็น ประจ�ำ เช่น คนส่งน�ำ้ ขวด ถังแก๊ส แม่ครัวพ่อครัว ควรหลีกเลี่ยงการ ยกมือเปล่า ควรมีผา้ มารองจับขณะ ยก และใช้เครื่องทุ่นแรง เช่น รถ เข็น รถลาก 7. หากจ�ำเป็นต้องท�ำงาน ที่ต้องใช้มือก�ำ หยิบ บีบ เครื่องมือ เป็นเวลานานๆ ควรใช้เครือ่ งทุน่ แรง เช่น ใช้ผ้าห่อที่จับให้หนานุ่ม เช่น ใช้ผ้าห่อด้ามจับตะหลิวในอาชีพ แม่ครัวพ่อครัว 8. งานบางอย่างต้องใช้เวลา ท�ำงานนานต่อเนือ่ ง ท�ำให้มอื เมือ่ ย ล้าหรือระบม ควรพักมือเป็นระยะๆ นอกจากนี้ยังพบได้ในคนที่มือเกิดอุบัติเหตุบ่อยๆ และพบร่วม เช่น ท�ำ 45 นาที ควรจะพักมือสัก กับผู้ป่วยโรคข้ออักเสบชนิดรูมาทอยด์ หรือผู้ป่วยเบาหวานมีโอกาสเป็น 10นาที มากกว่าปกติ ถึ ง แม้ โรคนิ้ ว ล็ อ กจะเป็ น โรคนิว้ ล็อก มีสาเหตุชดั เจน และหากรูจ้ กั ระมัดระวังการใช้นวิ้ อย่าง โรคที่รักษาหายได้ แต่ก็ควรกันไว้ ถูกวิธีจะช่วยป้องกันการบาดเจ็บที่ปลอกหุ้มเส้นเอ็นได้ ดังนี้ ก่อนย่อมดีกว่า 1. ไม่หิ้วของหนัก เช่น ถุงพลาสติก ตะกร้า ถังน�ำ ้ ถ้าจ�ำเป็นต้อง หิ้ว ควรใช้ผ้าขนหนูรองและหิ้วให้น�้ำหนักตกที่ฝ่ามือ แทนที่จะให้น�้ำหนัก อ้างอิง : http://www.nangตกที่ข้อนิ้วมือ หรือใช้วิธีการอุ้มประคองช่วยลดการรับน�้ำหนักที่นิ้วมือได้ katik-club.com/smf/index.php? 2. ไม่ควรบิด ซักผ้าด้วยมือเปล่า จ�ำนวนมากๆ และซ�ำ้ บ่อยๆ และ topic=249.0 ไม่ควรบิดผ้าให้แห้งสนิท เพราะจะยึดปลอกหุ้มเอ็นจนคราก และเป็นจุด เริ่มต้นของโรคนิ้วล็อก 3. นักกอล์ฟทีต่ อ้ งตีแรง ตีไกล ควรใส่ถงุ มือ หรือใช้ผา้ สักหลาดหุม้ ด้ามจับให้หนาและนุ่มขึ้น เพื่อลดแรงปะทะ และไม่ควรไดร์ฟกอล์ฟต่อ เนื่องเป็นเวลานานๆ 152 ThaiPrint Magazine




“Micro “Micro Channel” Channel” เพ��มเพ� ความละเอี �มความละเอี ยดของงานพ� ยดของงานพ� มพ ดม วพ ยความหลากหลายของเทป ด วยความหลากหลายของเทป



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.