2015 issue 108 www.thaiprint.org
2 0 1 5 i s s ue 1 0 8
2015 issue 108 www.thaiprint.org
108
2015 issu e 108
EDITOR
นายกสมาคม คุณพิมพ์นารา จิรานิธศิ นนท์ มหกรรมงานแสดงเทคโนโลยีทางการพิมพ์ Pack Print อุปนายก คุณณรงค์ศกั ดิ ์ มีวาสนาสุข, International 2015 เวี ย นมาจั ด แสดงอี ก ครั ง้ ระหว่ า ง คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช, คุณวรธนกร พุกกะเวส, วันที่ 26-29 สิงหาคม ศกนี ้ ณ ศูนย์นิทรรศการไบเทค บางนา คุณศิริวรรณ สุกญ ั จนศิริ,คุณนิธ ิ เนาวประทีป นับว่าเป็ นโอกาสดีทงในส่ ั ้ วนของผู้ประกอบการโรงพิมพ์และ เลขาธิการ คุณวิทยา อุปริพทุ ธิพงศ์ ผู้เกี่ยวข้ อง จะได้ รับรู้ ข้อมูลและรับทราบถึงพัฒนาการทาง รองเลขาธิการ คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ, คุณสุวทิ ย์ เพียรรุ่งโรจน์, ด้ านการพิมพ์ รวมทังจั ้ ดซื ้อจัดหาเครื่ องมือเพื่อน�ำไปใช้ คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์, คุณคมสันต์ ชุนเจริญ, คุณวริษฐา สิมะชัย, พัฒนาการผลิตให้ ดียิ่งขึ ้น คุณธีระ กิตติธรี พรชัย, คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์, คุณวลัยพร ศันสนียสุนทร, คุ ณธนิต วิริยะรังสฤษฎ์ สอดรั บ กับ กิ จ กรรมของสมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย เหรัญญิก คุณประเสริฐ หล่อยืนยง ที่ก�ำลังผลักดันในหลายรู ปแบบ เพื่อให้ อตุ สาหกรรมการ นายทะเบี ยน คุณวิวฒ ั น์ อุตสาหจิต พิ ม พ์ ไ ทยมี ก ารพัฒ นาเดิ น หน้ าก้ าวไปสู่ยุ ค ใหม่ ด้ ว ย ปฏิคม คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒโิ รจน์ ครรลองที่ดี ไม่วา่ จะเป็ นการจัดประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติ ประชาสัมพันธ์ คุณพชร จงกมานนท์ การสัมมนาทังประจ� ้ ำและสัญจร รวมทังการสร้ ้ างบุคลากร รองประชาสัมพันธ์ คุณรัชฐกฤต เหตระกูล ทางการพิมพ์ ผ่านการฝึ กอบรมของสถาบันการพิมพ์ไทย ที่ปรึกษานายกสมาคม คุณเกรียงไกร เธียรนุกลุ ซึง่ เป็ นการเสริ มสร้ างระหว่างกัน ที่ปรึกษา คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์,คุณวิชยั สกลวรารุ่งเรือง, คุ ณมานิตย์ กมลสุวรรณ, คุณเกษม แย้ มวาทีทอง, คุณปฐม สุทธาธิกลุ ชัย, ขณะที่บทบาทเล็กๆ แต่ยิ่งใหญ่ และท้ าทาย ในฐานะสื่ อ อย่ า งวารสาร Thaiprint magazine คุณรังษี เหลืองวารินกุล, คุณธนะชัย สันติชยั กุล, คุณพรเทพ สามัตถิยดีกลุ , ั น์, ก็พยายามสรรหาและน�ำเสนอข่าวสารข้ อมูลทางด้ านการ คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์, คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม, คุณสมชัย มหาสิทธิวฒ คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์, คุณมารชัย กองบุญมา,คุณสมชัย ศรีวฒ ุ ชิ าญ, พิมพ์ เพื่อให้ ผ้ อู า่ นได้ รับรู้และใช้ เป็ นกรณีศกึ ษา ประกอบ คุณสุพนั ธุ์ มงคลสุธ,ี คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกลุ , คุณธวัชชัย ยติถริ ธ�ำรง, การคิดวิเคราะห์ น�ำไปใช้ ในการพัฒนาธุรกิจที่ดำ� เนินการ คุณวรสิทธิ์ เทวอักษร, คุณอุทยั ธนสารอักษร, คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง, ซึ่งก็หวังว่า จะเป็ นหนึ่งในองคาพยพที่ร่วมขับเคลื่อนให้ คุณพัชร งามเสงีย่ ม,คุณหิรญ ั เนตรสว่าง, ผศ.บุญเลี ้ยง แก้ วนาพันธ์, ์ ธุรกิจการพิมพ์ไทยเดินหน้ าด้ วยดี อ.พัชราภา ศักดิโสภิณ, คุณชัยวัฒน์ ศิรอิ ำ� พันธุก์ ลุ , คุณวิรฬุ ห์ ส่งเสริมสวัสดิ,์
ขันติ ลาภณัฐขันติ บรรณาธิการ
Special Thanks
คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย, คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล, คุณธนวัฒน์ อุตสาหจิต, ั น์, คุณชาญชัย ตระกูลยุทธชัย, คุณมยุรี ภาคล�ำเจียก, ผศ.ดร.ชวาล คูร์พพิ ฒ คุณบุญชู ลิม่ อติบลู ย์, คุณสมศักดิ์ ดารารัตนโรจน์, อ.ชนัสสา นันทีวชั ริ นทร์ , ผศ.ดร.กฤติกา ตันประเสริ ฐ ที่ปรึกษาพิเศษด้านกฎหมาย คุณธนา เบญจาธิกลุ
บริษทั ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จ�ำกัด เอื ้อเฟื อ้ กระดาษทีใ่ ช้พมิ พ์ Thaiprint magazine โทรศัพท์ 0 2586 0777 โทรสาร 0 2586 2070 บริษทั เอ็ม.พี.ลักก์ ยูวี จ�ำกัด ช่วยเคลือบปกวารสาร เพิม่ คุณค่าให้งานพิมพ์สวย รวดเร็ว ทันใจ โทรศัพท์ 0 2425 9736-41 บริษทั สีทอง 555 จ�ำกัด ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด โทรศัพท์ 0 3441 7555 โทรสาร 0 3441 7599 บริษทั สุนทรฟิ ล์ม จ�ำกัด ผู้สนับสนุนการแยกสี ท�ำเพลท โทรศัพท์ 0 2216 2760-8, 0 2613 7008-17 บริษทั บางกอกบายน์ ดTHAIPRINT งิ ้ จ�ำกัด MAGAZINE 108 ผู้สนับสนุนการไสกาว เข้าเล่ม โทรศัพท์ 0 2682 2177-9
014
TPM108_P1-78.indd 14
7/8/2558 11:17:52
108
CONTENT Thaiprint magazine ปี ที่ 16 ฉบับที่ 108 สมาคมการพิมพ์ ไทย เลขที่ 311,311/1 ซอยศูนย์วิจยั 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-mail : mayuree.tpa@gmail.com, www.thaiprint.org Thaiprint magazine ผ่ายประชาสัมพันธ์สมาคมการ พิ มพ์ ไทยจัดท� ำขึน้ เพื่ อบริ การข่าวสารและสาระ ความรู้ แก่สมาชิกและบุคคลทัว่ ไปที่สนใจข่าวสาร เกี่ ย วกับ อุต สาหกรรมการพิ ม พ์ ข้ อ คิ ด เห็ น และ บทความต่างๆ ที่ปรากฏและตีพิมพ์ในวารสาร เป็ น อิสรทรรศน์ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิมพ์ ไทยไม่จ�ำเป็ นต้ องเห็นด้ วยเสมอไป บรรณาธิการ ขันติ ลาภณัฐขันติ khanti3@hotmail.com ผู้ประสานงาน มยุรีย์ จันทร์ รัตนคีรี, วาสนา เสนาะพิณ Thai Printing Laboratory พิวสั สุขณียทุ ธ ออกแบบกราฟฟิ ค Design Studio โทรศัพท์ 0 2880 0260 พิมพ์ ท่ ี บริษทั ก.การพิมพ์เทียนกวง จ�ำกัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064
Print News 20 แนวโน้ มยอดพิมพ์ธนบัตรลดลง 28 เปิ ดศูนย์ Canon Image Square 40 ‘เซเบอร์ บีม’ลง HP Scitex ก้ าวสูย่ คุ ดิจิตอล 56 ‘เอปสัน’ ตัวเครื่ องพิมพ์ทางเลือกธุรกิจสกรี น 66 ‘ปิ ยะวัฒน์’นัง่ เก้ าอี ้ประธาน Young Printer 70 ‘ได นิปปอน ปริ น้ ท์ติ ้ง’ จับมือ ‘ชูโอ เซ็นโก’ขยายฐาน 124 ‘ไฮเดลเบิร์ก’ จับมือ MK บุกตลาดงานหลังพิมพ์ 134 ‘บราเดอร์ ’เปิ ดตัวเครื่ องพิมพ์ฉลาก‘เฮลโล คิตตี ้’ Special Report 22 แพ็ค พริ น้ ท์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล 2015 30 การพิมพ์ไทยสัญจร’58 บุกตลาดอนาคต 46 ‘คุณเกรี ยงไกร’ชี ้ทางรอดโรงพิมพ์ยคุ ดิจิตอล 74 ‘ฟูจิ ซีร็อกซ์’ เดินเกมเข้ าหานักการตลาด 82 ‘ร้ านนายอินทร์ ’จัดพื ้นที่ไลฟ์สไตล์สผู่ ้ นู �ำค้ าปลีก 110 YPG ค้ นหาวิธีชนะใจพ่อแม่และสานสัมพันธ์ Print Technology 128 มหัศจรรย์ของกระดาษ 134 ‘บราเดอร์ ’เปิ ดตัวเครื่ องพิมพ์ฉลาก‘เฮลโล คิตตี ้’ Print Knowledge 66 การล้ างลูกกลิ ้งหมึกพิมพ์ยวู ีอย่างถูกวิธี 78 แนวโน้ มบรรจุภณ ั ฑ์ในอินโดนีเซีย 98 ความสามารถการแข่งขันในเขตเศรษฐกิจพิเศษ Print Relax 104 ‘นครหาดใหญ่’ ชม ชิม ช้ อปในทริ ปเดียว 136 เช็กอิน พิพิธภัณฑ์เด็กสวรรค์ของเยาวชน Young Printer 92 ‘คุณอาท-ณภัทร’ ทายาท ‘ไซเบอร์ พริ น้ ท์กรุ๊ป’ Art Gallery 138 ภาพพระราชทาน : สมเด็จพระเทพฯ World Legend 146 Merlion สัญลักษณ์แห่งสิงคโปร์
016 TPM108_P1-78.indd 16
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
Health 150
หมอนรองกระดูกปลิ ้นทับเส้ นประสาท 7/8/2558 11:17:54
PRINT NEWS
แนวโน้มยอดพิมพ์ธนบัตร เทคโนโลยีการพิมพ์สร้างความทนทาน
ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย ชี แ้ นวโน้ มปี หน้ า การพิมพ์ ธนบัตรของประเทศไทยมีอัตราลดลง เหตุมี การใช้ เทคโนโลยีการพิมพ์ ท่ ีท�ำให้ ธนบัตรคงทนมาก ยิ่งขึน้ ขณะเดียวกัน ยังมีการรณรงค์ ให้ ใช้ อย่ างถูกวิธี คาดปี นีย้ อดพิมพ์ จะอยู่ท่ ี 2,100 ล้ านฉบับ และปี หน้ ามี ยอดพิมพ์ 2,300 ฉบับ เผยอายุการใช้ งานธนบัตรแต่ ละ ใบมีอายุ 1 ปี ครึ่ง หลายคนคงใคร่ ร้ ูวา่ เงินธนบัตรของประเทศไทยที่มี การจับถือใช้ สอยอยูท่ กุ เมื่อเชื่อวันนัน้ มีปริ มาณมากน้ อยแค่ ไหน และธนาคารแห่งประเทศไทยมีการจัดพิมพ์และมีระบบ การจัดการอย่างไร จึงขอน� ำเสนอข้ อมูลเพื่อให้ เป็ นเกร็ ด ความรู้ใกล้ ตวั คุ ณ วรพร ตัง้ สง่ า ศัก ดิ์ ศ รี ผู้ อ� ำ นวยการอาวุ โ ส ฝ่ ายบริ ห ารจั ด การธนบั ต ร ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย (ธปท.) เปิ ดเผยว่ า แนวโน้ มการพิ ม พ์ ธนบั ต รใน ปี พ.ศ. 2559 น่าจะอยูท่ รี่ ะดับประมาณ 2,200-2,300 ล้ านฉบับ เพิ่มขึ ้นประมาณ 200-300 ล้ านฉบับ หรื อคิดเป็ นการเพิ่มขึ ้น
020 TPM108_P1-78.indd 20
คุณวรพร ตัง้ สง่าศักดิ์ ศรี
ประมาณเพียง 1 % จากปี 2558 ที่คาดว่าจะมี ยอดการพิมพ์ธนบัตรออกใช้ หมุนเวียนในระบบ เศรษฐกิจประมาณ 2,100 ล้ านฉบับ สอดรับกับ การเติบโตของภาวะเศรษฐกิจปี 2559 ที่คาด ว่าน่าจะเติบโตต่อเนื่อง จากการขับเคลื่อนการ ลงทุนของภาครัฐ ที่นา่ จะเริ่ มเห็นชัดเจนมากขึ ้น ในปี หน้ า การพิมพ์ธนบัตรของ ธปท. มีแนวโน้ ม ขยายตัวในอัตราชะลอลง หรื อคิดเป็ นการพิมพ์ ธนบัต รใหม่ เ ข้ า หมุน เวี ย นในระบบเศรษฐกิ จ ขยายตัวไม่ถึง 5 % เมื่อเทียบกับก่อนหน้ านี ้ใน บางปี ซึ่ง มี ก ารพิ ม พ์ ธ นบัต รใหม่เ ข้ า สู่ร ะบบ เติ บ โตได้ ถึ ง 10 % เนื่ อ งจากปั จ จุบัน ธปท. มีการบริ หารจัดการธนบัตรให้ มีอายุการใช้ งาน ยาวนานขึ ้น ไม่วา่ จะเป็ นการบริ หารสต๊ อกที่ให้
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:17:57
แนวโน้มยอดพิมพ์ธนบัตร เทคโนโลยีการพิมพ์สร้างความทนทาน
คุณประสาร ไตรรัตน์วรกุล
กับธนาคารพาณิชย์ และการพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อให้ ธนบัตรทนทานในการใช้ งานมากขึ ้นด้ วย ดังนัน้ ในอนาคต ธปท. เชื่อว่ าจะ เห็ น แนวโน้ มการขยายตั ว ของการพิ ม พ์ ธนบัตรใหม่ ๆ ในแต่ ละปี ขยายตัวในอัตรา ทรงๆ เพราะทุกวันนีก้ ารใช้ งานธนบัตร 1 ใบจะมีอายุการใช้ งานประมาณ 17-18 เดือน หรื อประมาณ 1 ปี ครึ่ง แต่ แนวโน้ มข้ างหน้ า การใช้ ธนบัตรจะมีความทนทานขึน้ อายุการ ใช้ งานของธนบัตรแต่ ละใบจะยาวนานไป ถึง 2 ปี ท�ำให้ แนวโน้ มการพิมพ์ ธนบัตรใน อนาคต ไม่ ได้ เติบโตเหมือนในอดีตที่เติบโต ประมาณ 5 -10 % อีกต่ อไป ในปี พ.ศ. 2558 คาดการณ์วา่ การพิมพ์ ธนบัตรจะอยู่ที่ประมาณ 2,100 ล้ านฉบับ ถือ เป็ นยอดพิมพ์ทไี่ ม่ขยายตัวจากปี กอ่ นมากนัก ซึง่ ความต้ องการใช้ ธนบัตรแต่ละปี อาจไม่สอดคล้ อง กับภาวะเศรษฐกิจเสมอไป แต่ต้องใช้ หลักการ ค�ำนวณหลายส่วน ทังการขยายตั ้ วเศรษฐกิจหรือ จีดีพี ภาวะเงินเฟ้อ และการบริ หารสต็อก โดย ปี นี ้ ธปท. ประมาณการณ์การพิมพ์ธนบัตรภาย ใต้ การขยายตัวของจีดีพีที่ประมาณ 4 % และ เงินเฟ้อ 1 % “อย่างไรก็ ตาม การพิ มพ์ ธนบัตรออก มาใช้งานในระบบน้อยลงนัน้ ไม่ได้หมายความ
ว่าคนไม่ใช้จ่าย หรื อเศรษฐกิ จชะลอตัวลง ต้องบอกว่าเป็ น คนละประเด็นกันเลย เพราะการพิ มพ์แบงก์ แต่ละปี มี หลาย องค์ ประกอบ แม้จีดีพีจะเป็ นองค์ ประกอบส�ำคัญ แต่ก็ตอ้ ง ดูดา้ นอืน่ ๆ ด้วย ในอดีตการพิ มพ์แบงก์ เพิ่ มขึ้นแต่ละปี เคยมี สูงถึง 10% จากปี ก่อนหน้า แต่ปีนีไ้ ม่ขยาย” คุณวรพร กล่าว คุณประสาร ไตรรั ตน์ วรกุล ผู้วา่ การธนาคารแห่ง ประเทศไทย เปิ ดเผยว่า ธปท.ได้ ขอความร่วมมือให้ ธนาคาร พาณิชย์ร่วมรณรงค์การใช้ ธนบัตรอย่างถูกวิธี เพื่อเป็ นการ ประหยัด การใช้ ท รั พ ยากรของประเทศนัน้ ได้ มี ธ นาคาร พาณิ ช ย์ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ เป็ นส่ว นใหญ่ เช่ น ฝ่ ายบริ ห าร จัดการเงินสดของธนาคารกรุ งไทยได้ มีการสื่อสารข้ อความ “โปรดอย่ าขีดเขียน หรื อประทับตราลงบนธนบัตรทุก ชนิดราคา” ให้ แก่พนักงานของธนาคารกรุงไทยได้ ทราบเพื่อ ร่ วมรณรงค์ฯ ซึง่ นับเป็ นเรื่ องที่น่ายกย่องชมเชย นอกจากนี ้ ขอเชิญชวนประชาชนให้ ใช้ ธนบัตรอย่างถูกวิธี โดยไม่ขดี เขียน ไม่ประทับตรา ไม่กรี ดพับ เพื่อท�ำให้ ธนบัตรมีอายุการใช้ งาน อย่างเหมาะสม ไม่เสือ่ มสภาพไปก่อนเวลาอันควรด้ วยเช่นกัน
อย่ า งไรก็ ต าม ธนบั ต รที่ มี ร อยขี ด เขี ย นหรื อ ประทับ ตรา ยั ง คงสามารถใช้ ห มุ น เวี ย นได้ เ ป็ นปกติ แต่ ถือว่ าเป็ นธนบัตรเสื่ อมสภาพเพราะมี รอยเปรอะ เปื ้ อน ไม่ เหมาะสมในการใช้ งานต่ อไป หากประชาชน ได้ รับธนบัตรลักษณะดังกล่ าว สามารถน�ำไปแลกเปลี่ยน เป็ นธนบัตรสภาพดีได้ ท่ ีธนาคารออมสินและธนาคาร พาณิชย์ ท่ วั ประเทศ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 21
PRINT NEWS
021 7/8/2558 11:17:58
PRINT REPORT
PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 ที่สุดแห่งงานแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
พร้ อมแล้ ว! งานแสดงเทคโนโลยีทางการ พิมพ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 ครั ง้ ที่ 5 ได้ รับการตอบรั บจากผู้ ผลิตและจัดจ�ำหน่ ายผลิตภัณฑ์ สนิ ค้ าแบรนด์ ดงั ของโลกเข้ าร่ วมงานอย่ างล้ นหลามอีกเช่ นเคย แต่ อุดมไปด้ วยนวัตกรรมยุคใหม่ ท่ ีเป็ นค�ำตอบ ของความยั่งยืนธุรกิจในปั จจุบนั และอนาคต ขอ เชิญร่ วมสัมผัสความจริงได้ ท่ศี นู ย์ นิทรรศการไบ เทค บางนา วันที่ 26-29 สิงหาคม ศกนี ้ งาน PACK PRINT INTERNATIONAL ซึง่ จัด ขึ ้นที่ประเทศไทยทุกๆ 2 ปี ได้ รับแรงสนับสนุนมาจาก งานแสดงสินค้ าชันน� ้ ำของโลกด้ านการพิมพ์และการ บรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ ก็คอื งานดรูป้า และงานอินเตอร์ แพ็ค ที่จดั ขึ ้นที่ประเทศสหพันธรัฐเยอรมัน ทุกๆ 4 ปี และ ยังเป็ นการร่วมมือที่เหนียวแน่นของ “เมสเซ่ ดุสเซล ดอร์ ฟ เอเชีย”ซึง่ เป็ นผู้จดั งานแสดงสินค้ าชันน� ้ ำใน ภูมิภาคอาเซียน ร่ วมกับสมาคมการบรรจุภัณฑ์ ไทยและสมาคมการพิ ม พ์ ไทย นั บ เป็ นงาน แสดงเทคโนโลยีส�ำหรับผู้ประการที่ต้องการสัมผัส นวัตกรรมและเทคโนโลยีลา่ สุด และพัฒนาการของ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ โดยงานนี ้ จะจัดขึน้ ที่ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค (BITEC) ระหว่าง 26-29 สิงหาคม 2558
022 TPM108_P1-78.indd 22
ผู้เ ยี่ ย มชมงานจะได้ พ บกับ ผลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ ม า พร้ อมนวัตกรรมใหม่และโซลูชั่นต่างๆ จัดแสดงโดย บริ ษั ท ชัน้ น� ำ มากมาย นอกจากนี ้ ยัง สามารถแลก เปลีย่ นความรู้กบั ผู้เชีย่ วชาญด้ านอุตสาหกรรม จากการ จัดการสัมมนาและการประชุมย่อย รวมไปถึงสาธิตการ ใช้ งานผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ซงึ่ เป้าหมายของการจัดงานใน ครัง้ นี ้คือ การตอบโจทย์ความต้ องการขององค์กรธุรกิจ เพือ่ ความยัง่ ยืนของธุรกิจ โดยคาดการณ์วา่ จะมีผ้ เู ยีย่ ม ชมงานถึง 20,000 คน ภายในงานจะมีการจัดแสดงของบริ ษัทชันน� ้ ำ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ทวั่ โลก และ ผู้ผลิตสินค้ าและวัตถุดิบมากกว่า 20 ประเทศ อาทิ HEIDELBERG GRAPHICS, KONICA MINOLTA, VT GRAPHIC, RICOH, BOBST, BOETTCHER, DUCO
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:17:59
PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 ที่สุดแห่งงานแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
ภาพการแถลงข่ าว Pack Print International 2015 โดยคุณเกอร์ นอท ริ งลิ่ง กก.ผจก.เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ ฟเอเชี ย, คุณพิมพ์ นารา จิรานิธิศนนท์ นายกสมาคม การพิ มพ์ไทย, คุณไชยวุฒิ์ พึ่งทอง นายกสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ ไทย และได้รับ เกี ยรติ จากคุณเกรี ยงไกร เธียรนุกุล รองประธาน ส.อ.ท. ร่ วมบรรยายพิ เศษด้วย ณ ห้อง Grand Ballroom โรงแรมแกรนต์ เซ็นเตอร์ พอยต์ เมื อ่ 5 ส.ค.2558
INTERNATIONAL, HEWLETT-PACKARD, FERROSTAAL, FUJI XEROX, DUBUIT FAR EAST, FUJIFILM, CYBER SM, NATIONWIDE, RISO, DUPLO, KOENIG & BAUER, OGA INTERNATIONAL, SANKI MACHINERY, IST METZ SEA, BST ELTROMAT INTERNATIONAL BIELEFELD GMBH, PMC LABEL MATERIALS และอื่นๆ อีกมากมาย @ วิวัฒนาการความล�ำ้ สมัยของเทคโนโลยี จากรายงานวิจยั ของบริ ษัท Transparency Market Research ประมาณว่าภายในปี ค.ศ. 2019 ตลาดบรรจุภณ ั ฑ์จะเติบโตถึง 334.43 พัน ล้ านเหรียญสหรัฐ ซึง่ เติบโตอย่างรวดเร็วจาก 254.8 ล้ านเหรี ยญสหรัฐในปี 2012 นอกจากนี ้รายงานยัง คาดการณ์วา่ การจัดตังประชาคมเศรษฐกิ ้ จอาเซียน (AEC) ในปี 2015 จะส่งผลให้ ตลาดโลกเติบโตถึง 4.4 % ภายในปี 2019 ด้ วยปั จจัยดังกล่าวท�ำให้ อุต สาหกรรมการพิ ม พ์ แ ละบรรจุภัณ ฑ์ ใ นเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต้ มีจะการเติบโตที่ชดั เจนยิ่งขึ ้น อุ ต สาหกรรมอาหารและเครื่ องดื่ ม มี บทบาทส�ำคัญ ในการผลักดันการเจริ ญเติบโตของ
เกอร์ นอท ริ งลิ่ ง
อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ ต้ องยอมรับ ว่า ธุรกิจการส่งออกเป็ นธุรกิจค่อนข้ างมีความส�ำคัญ ส�ำหรับประเทศไทย ดังนัน้ บรรจุภณ ั ฑ์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ และง่ายต่อการใช้ งานของผู้บริ โภค ถือเป็ นอีกหนึง่ สิง่ ที่ ควรค�ำนึงถึง คุ ณ เกอร์ นอท ริ ง ลิ่ง กรรมการผู้จัดการ บริ ษั ท เมสเซ่ ดุ ส เซลดอร์ ฟ เอเชี ย กล่า วว่ า เนื่ อ งจากความต้ อ งการของผู้บ ริ โ ภคต่อ ผลิ ต ภัณ ฑ์ ได้ พัฒนาขึน้ เรื่ อยๆ ดังนัน้ นวัตกรรมการพิมพ์ และ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ถื อ เป็ นส่ ว นส� ำ คัญ ที่ จ ะช่ ว ยให้ ความ ส�ำเร็ จ นอกจากนี ้ อุตสาหกรรมยังต้ องเข้ าใจถึงการ เปลีย่ นแปลงของตลาดเพือ่ ให้ สามารถคิดค้ นผลิตภัณฑ์ เพื่อตอบสนองความต้ องการทางการตลาดให้ ประสบ ความส�ำเร็ จ ภายในงาน PACK PRINT INTERNATIONAL มีการจัดแสดงเทคโนโลยีการพิมพ์ดิจิตอลที่ใหญ่ที่สดุ และวิวฒ ั นาการเทคโนโลยีบริ ษัท HEWLETT-PACKARD โดยคุณเมลวิน ลิว ผู้จดั การการพัฒนาฝ่ ายการ ตลาด บริ ษัท ฮิวเลตต์-แพคการ์ ด ประจ�ำภูมิภาคเอเชีย แปซิกฟิ ก กล่าวว่า “ผูเ้ ยี ่ยมชมงานจะได้สมั ผัสประสบการณ์ การ ท�ำงานของเครื ่องพิ มพ์ HP Indigo Digital Presses THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 23
PRINT REPORT
023 7/8/2558 11:18:00
PRINT REPORT
PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 ที่สุดแห่งงานแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
และ HP Latex Printers ทีม่ าพร้อมกับ การสร้างผลผลิ ตทีม่ ี คณ ุ ภาพและอายุ การใช้งานทีย่ าวนานในราคาทีย่ อ่ มเยา นอกจากนี ้ ยังน�ำเสนอเทคโนโลยีใหม่ ล่าสุดของเครื ่องพิ มพ์ รวมทัง้ จัดโซน ทดลองการใช้งานเครื ่องพิ มพ์ส�ำหรับ การพิมพ์ฉลาก การบรรจุภณ ั ฑ์ และการ บรรจุภณ ั ฑ์แบบกระดาษลูกฟูกอีกด้วย” ปั จจุบนั เทคโนโลยีได้ เข้ ามาเป็ นส่วน หนึง่ ส�ำหรับโซลูชนั่ การจัดการเอกสาร ดังนัน้ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด จึงได้ เปิ ดตัวเครื่ องพิมพ์ดจิ ิตอล Color 1000i Press ที่มาพร้ อมกับหมึกพิมพ์Dry Ink สีทองและสีเงิน ซึง่ ได้ รับการพัฒนาจากเทคโนโลยี Emulsion Aggregation (EA) โดยมีคณ ุ สมบัตคิ อื ผงหมึกเป็ นรูปทรงรี ที่มี เม็ดสีสะท้ อนแสง ท�ำให้ ทกุ ๆ อณูของผงหมึกมีความ เป็ นสีเงินและสีทองลักษณะเมทัลลิก ด้ านบริ ษั ท ไฮเดลเบิ ร์ ก กราฟฟิ คส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้ ร่วมมือกับบริ ษัท Masterwork Machinery Co., Ltd. (MK) ผู้ผลิตเครื่ องตัด ไดคัท ยักษ์ใหญ่จากประเทศจีน เพือ่ พัฒนาเครื่องจักร ส�ำหรั บขัน้ ตอนหลังการพิมพ์ (Post press) ด้ วย การน�ำเสนอเครื่องตัดไดคัทรุ่นใหม่ สามารถตัดไดคัท และปั๊ มนูนได้ ด้วยความเร็ว 8,000 แผ่นต่อชัว่ โมง โดย มุ่งเป้าหมายไปที่ผ้ ปู ระกอบการผลิตกล่องกระดาษ ในขนาดกลาง นอกจากนี ้งาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 ยังได้ รวบรวมผู้ประกอบการแถว หน้ าของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ เพื่อ
024 TPM108_P1-78.indd 24
น�ำเทคโนโลยีมาจัดแสดงเครื่ องจักรชันยอด ้ อาทิ BOBST – ผู้ผลิตเครื่ องจักรพร้ อมบริ การบรรจุภณ ั ฑ์ ชัน้ น�ำที่เชี่ยวชาญด้ านวัสดุหลากหลายชนิด และ บริ ษั ท DUPLO ที่ จ ะมาน� ำ เสนอไลน์ ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ ส�ำหรับกระบวนการหลังการพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล รวมไปถึงการเปิ ดตัวผลิตภัณฑ์ ส�ำหรั บออฟฟิ ศรุ่ น ใหม่ ได้ แก่ DC-616, เครื่ องตัดแกนม้ วน DC-646 และเครื่ องยกซ้ อน DM-230X + DM-SE ในขณะเดี ย วกัน บริ ษั ท DUCO INTERNATIONAL ตัวแทนจัดจ�ำหน่ายส�ำหรับกลุม่ บริ ษัท
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:18:01
PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 ที่สุดแห่งงานแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ Maxcess International USA ในประเทศไทย ก็จะมา น�ำเสนอบริการทางด้ านอุตสาหกรรมทีเ่ กี่ยวกับบรรจุ ภัณฑ์ที่มีความแข็งแรงทนต่อความร้ อนประเภท สิง่ พิมพ์ ป้ายฉลาก กระดาษและเหล็ก ส�ำหรับ PMC LABEL MATERIALS จะมาแสดงสินค้ าส�ำหรั บ การผลิตป้ายฉลากที่ไวต่อแรงกด ส�ำหรับกระดาษ ธรรมดาและกระดาษกาว นอกจากนี ้ยังจะจัดแสดง ฟิ ล์มส�ำหรับการพิมพ์บาร์ โค้ ดและวัสดุอื่นๆ ที่น�ำมา ใช้ ผลิตป้ายฉลากแบบแปรรูป (label converters), นักออกแบบแพคเกจจิ ้งสินค้ าอุปโภคบริ โภค และผู้ ผลิตทางด้ านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง @ เน้ นเทคนิคเฉพาะทางอย่ างสร้ างสรรค์ ภายในงาน ผู้เยี่ยมชมงานจะได้ พบกับการ แสดงเครื่ องจักรที่ทนั สมัย อุปกรณ์ เทคโนโลยี และ โซลูชนั่ ด้ านการให้ บริ การด้ านบรรจุภณ ั ฑ์และการ พิมพ์ โดยมีผ้ ปู ระกอบการจากหลากหลายภาคส่วน เข้ าร่วมจัดแสดง ประกอบไปด้ วย: -กระบวนการก่อนการพิมพ์ และการเตรี ยม ผลิตสื่อ -เครื่ องจักรส�ำหรับการพิมพ์ เครื่ องไม้ เครื่ อง มือ และอุปกรณ์เสริ ม -การเข้ าเล่มหนังสือ และกระบวนการหลัง การพิมพ์ -การแปรรู ปกระดาษ รวมไปถึงการผลิต บรรจุภณ ั ฑ์ -เครื่ องจักรส�ำหรับการบรรจุภณ ั ฑ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์เสริ ม และเครื่ องไม้ เครื่ องมืออื่นๆ -วัสดุบรรจุภณ ั ฑ์ ช่องทางการบรรจุภณ ั ฑ์ และการให้ ค�ำปรึกษา -บริการส�ำหรับอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์และ การพิมพ์ นอจากนี ้ ยังมีการสัมมนา การแถลงข่าว
แ ล ะ ก า ร น� ำ เ ส น อ ด้ า นเทคนิ ค ในด้ า น ก า ร พั ฒ น า บ ร ร จุ ภัณ ฑ์ แ ละการพิ ม พ์ ซึ่ ง จะมี ก ารจั ด การ โดยสมาคมบรรจุ ภัณ ฑ์ ไ ทย, สมาคม การพิมพ์ ไทย, ศูนย์ ให้ ค� ำ ปรึ กษาทาง วิ ศ ว ก ร ร ม , ฟู้ ด โฟกั ส ไทยแลนด์ , ภาควิ ช าเทคโนโลยี การบรรจุ แ ละวั ส ดุ คณะอุ ต สาหกรรม เกษตรมหาวิทยาลัย เ ก ษ ต ร ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ผู้ จั ด แ ส ด ง นิ ท รรศการชั น้ น� ำ โดยหัวข้ อที่จะพูดคุย ประกอบไปด้ วย เรื่ อง อาหารและเครื่ องดื่ม บรรจุภณ ั ฑ์ การเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพและ การเปลีย่ นแปลงของ ธุ ร กิ จ การพิ ม พ์ แ บบ ดิ จิ ต อลและระบบ อัต โนมัติ การพิ ม พ์ ฉลาก นวั ต กรรม การออกแบบบรรจุ ภัณ ฑ์ แนวทางการ ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ ของยุโรป ไฮไลท์ของ ผู้ชนะรางวัล Red THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 25
PRINT REPORT
025 7/8/2558 11:18:01
PRINT REPORT
PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 ที่สุดแห่งงานแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
จากซ้ายไปขวา : คุณไชยวุฒิ์ พึ่งทอง นายกสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย, คุณพิ มพ์นารา จิ รานิ ธิศนนท์ นายกสมาคม การพิ มพ์ไทย. คุณเกอร์ นอท ริ งลิ่ ง กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษัท เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ ฟ เอเชี ย
Dot Design อลูมิเนียมและบรรจุภัณฑ์ ที่มีความ บรรจุภณ ั ฑ์ (MAP) และการท�ำให้ เกิดบรรยากาศ ยื ด หยุ่น และโอกาสทางธุ ร กิ จ ในการค้ า เสรี ข อง ดัดแปลงแบบสมดุล (EMA-3) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2015 @ งานแสดงสินค้ าที่ร่วมจัดพร้ อมกัน @ แถลงข่ าวเรื่องอาหารและเครื่องดื่มบรรจุภณ ั ฑ์ นอกจากงาน PACK PRINT INTERNA ในงานนี จ้ ะมี ก ารจัด งานแถลงข่ า วเรื่ อ ง TIONAL 2015 ยังมีงานแสดงสินค้ าที่ร่วมจัดพร้ อม อาหารและเครื่องดืม่ บรรจุภณ ั ฑ์ในตลาดประเทศไทย กัน คือ งาน “T-Plas 2015” เป็ นงานแสดงสินค้ าที่ ซึง่ จัดขึ ้นโดย ฟู้ด โฟกัส ไทยแลนด์ และ ภาควิชา ดีที่สดุ งานหนึ่งในประเทศไทย ในอุตสาหกรรมยาง เทคโนโลยี การบรรจุและวัสดุ คณะอุตสาหกรรม และพลาสติก ซึง่ งานแสดงสินค้ านี ้จะช่วยเสริมสร้ าง เกษตร มหาวิ ท ยาลัย เกษตรศาสตร์ ในวัน ที่ 26 จุดความสนใจระดับภูมิภาค และเสริ มมุมมองระดับ สิงหาคม 2558 ด้ วย เป้าหมายมุ้งเน้ นน�ำเสนอด้ าน นานาชาติ เพือ่ สร้ างโอกาสเชิงยุทธศาสตร์ อย่างกว้ าง การบริ โภค เทรนด์อุตสาหกรรมอาหารและเครื่ อง ขวาง ใช้ เป็ นก้ าวกระโดดสูต่ ลาดยางและพลาสติกใน ดื่ ม บรรจุภัณ ฑ์ ใ นปั จ จุบัน บรรจุภัณ ฑ์ แ บบยั่ง ยื น ภูมิภาคต่อไป ตามแนวคิดสีเขียว(Green concept) และความเป็ น ผู้สนใจเข้ าเยี่ยมชมงาน PACK PRINT มิตรกับสิง่ แวดล้ อม (Eco–Friendly) กฎระเบียบทาง INTERNATIONAL 2015 และ งาน T-plas 2015 สหภาพยุโรปเกี่ยวกับวัสดุสมั ผัสอาหาร วิธีเพิ่มยอด สามารถเข้ า ไปลงทะเบี ย นได้ ท่ ี www.packขายจากบรรจุภณ ั ฑ์ บรรจุภณ ั ฑ์อนั ชาญฉลาดและ print.de / www.tplas.com พิเศษ! ส�ำหรั บผู้ท่ ลี ง แบบยัง่ ยืนส�ำหรับสินค้ าอาหารสดของไทย รวมถึง ทะเบียนเข้ าชมงานล่ วงหน้ า รั บสิทธิ์ล้ ุนรั บไอ กรณี ศึกษาด้ านการดัดแปลงสภาพบรรยากาศใน โฟนรุ่ นล่ าสุดจากการจับฉลากได้ ทกุ วัน
026 TPM108_P1-78.indd 26
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:18:01
PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 ที่สุดแห่งงานแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
@ เกีย่ วกับงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 งาน PACK PRINT INTERNATIONAL ได้ จดั ขึ ้นในประเทศไทยเป็ นครัง้ แรกในปี พ.ศ.2550 โดยถือว่าเป็ นหนึง่ ในงานแสดงที่ส�ำคัญของภูมิภาค เอเชีย ส�ำหรับอุตสาหกรรมการพิมพ์และการบรรจุ ภัณฑ์ ได้ รับแรงสนับสนุนมาจากงานแสดงสินค้ าชัน้ น�ำของโลกด้ านการพิมพ์และการบรรจุภณ ั ฑ์ ผู้ จั ด งานคื อ “เมสเซ่ ดุ ส เซลดอร์ ฟ จีเอ็มบีเอช” เป็ นหนึ่งในบริ ษัทจัดงานแสดงสินค้ า ชันน� ้ ำระดับโลก ซึง่ ดูแลและรับผิดชอบการจัดงาน แสดงสินค้ าระดับโลกกว่า 20 งาน ตอบสนองหลาก
หลายภาคอุตสาหกรรม อาทิ พลาสติก การพิมพ์และ บรรจุภณ ั ฑ์ เป็ นต้ น ส�ำหรับ “เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ ฟ เอเชีย” เริ่มก่อ ตังขึ ้ ้น ในปี พ.ศ.2538 โดยมีผลงานการจัดแสดงสินค้ า ส�ำหรับอุตสาหกรรมพลาสติกและยาง ในประเทศไทย และประเทศเวียดนาม (T-PLAS และ PLASTICS & RUBBER VIETNAM) และงานแสดงสินค้ าด้ านบรรจุ ภัณฑ์และการพิมพ์นานาชาติ ประเทศไทย (PACK PRINT International) ซึง่ การจัดงานแสดงดังกล่าว ได้ ประสบความส�ำเร็จอย่างมากและเป็ นงานทีส่ ำ� คัญใน ระดับภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 27
PRINT REPORT
027 7/8/2558 11:18:01
PRINT TALK
PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 ปูทางให้นักธุรกิจไทยคว้าชัยใน AEC
คุ ณ พิ ม พ์ น ารา จิ ร านิ ธิ ศ นนท์ นายกสมาคม การพิ ม พ์ ไ ทย กล่า วไว้ ใ นงานแถลงข่า ว PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 ในตอนหนึง่ ว่า ประเทศไทยก�ำลัง จะก้ าวเข้ าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรื อ AEC ในสิ ้นปี พ.ศ.2558 นี ้ ความต้ องการใช้ สิ่งพิมพ์และการขยายตัวของ การค้ าขายระหว่างประเทศสมาชิ กก็ จะสูงขึน้ โดย AEC จะเป็ นตลาดซื ้อขายสิ่งพิมพ์แห่งใหม่ของโลก และสร้ างงาน จ�ำนวนมากให้ แก่เศรษฐกิจของไทย ในฐานะที่ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางอุตสาหกรรม การพิมพ์ที่ส�ำคัญของภูมิภาค มีผ้ ปู ระกอบการอุตสาหกรรม สิง่ พิมพ์มากมายหลายประเภท มีการลงทุนทังในด้ ้ านเทคโนโลยี และนวัตกรรมอันทันสมัย เช่น เทคโนโลยีการพิมพ์ในระบบ ดิจติ อล เทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือทีก่ ้ าวหน้ าแล้ว ประเทศไทย ยังเป็ นทีต่ งขององค์ ั้ กรธุรกิจมากมาย โดยปั จจุบนั มีผ้ ผู ลิตและ ส�ำนักพิมพ์ในประเทศมากกว่า 5,500 ราย ซึง่ เป็ นการยืนยันถึง ความต้ องการและศักยภาพของตลาดได้ อย่างชัดเจน
028 TPM108_P1-78.indd 28
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:18:12
PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 ปูทางให้นักธุรกิจไทยคว้าชัยใน AEC
PRINT TALK
เมือ่ มองออกไปนอกประเทศ ผู้ผลิตในประเทศไทยยัง สามารถพุง่ เป้าหมายไปยังตลาดของประเทศเพือ่ นบ้ านได้ อกี ด้ วย เช่น กัมพูชา ลาว เมี ยนมาร์ และเวี ยดนาม ซึ่งก็ มี ศักยภาพที่จะเติบโตตามภาวะเศรษฐกิจที่ก�ำลังขยายตัวเช่น เดียวกัน ตลาดจะมีความต้ องการสิง่ พิมพ์สงู มาก โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ในประเทศเมียนมาร์ และกัมพูชา จะขยายตัวขึ ้นอย่าง มากในอีกหลายปี ต่อจากนี ้ อันเนื่องจากมีความนิยมเพิ่มขึ ้น ทังสื ้ ่อหนังสือเพื่อการศึกษาและนิตยสารแฟชัน่ ฯลฯ ซึง่ เป็ น ผลมาจากการเปิ ดประเทศสูส่ งั คมธุรกิจของโลก งาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 จึ ง เปรี ย บเสมื อ นการปู ท างให้ กั บ นั ก ธุ ร กิ จ ในประเทศ
ธุรกิจ ซึง่ จัดให้ เป็ นพิเศษเพื่อสนับสนุนให้ บริ ษัท ในประเทศที่มีความพร้ อมที่จะท�ำการส่งออก ได้ มีโอกาสเสาะหา เลือกสรร ติดต่อ ท�ำความรู้จกั และพูดคุยกับบริษทั ข้ ามชาติและพันธมิตรธุรกิจที่ มีศกั ยภาพจากประเทศต่างๆ ทัว่ โลก นอกจากนี ้ ยัง มี ก ารจัด สัม มนาทาง วิ ช าการ ที่ จั ด ขึ น้ ส� ำ หรั บผู้ ประกอบการ อุต สาหกรรมการพิ ม พ์ โ ดยเฉพาะ มี หัว ข้ อ ที่ น่าสนใจมากมาย ทังในด้ ้ านของนวัตกรรมธุรกิจ ในอนาคต มาตรฐานการพิมพ์ รวมถึงการเพิ่ม มู ล ค่ า ให้ กั บ สิ่ ง พิ ม พ์ โ ดยใช้ นวั ต กรรมใหม่ ๆ
ได้ เสริ มโอกาสการลงทุนในห่วงโซ่อุปทานแขนงต่างๆของ อุตสาหกรรมการพิมพ์ โดยผู้เข้ าชมงาน นอกจากจะได้ รับ ประโยชน์ตา่ งๆ จากการได้ ดไู ด้ ชมเทคโนโลยีใหม่ๆ มากมาย แล้ ว ยังจะได้ พบกับบริการคลินกิ ทีป่ รึกษาด้ านการพิมพ์ทพี่ ร้ อม จะให้ คำ� แนะน�ำอย่างมืออาชีพ ให้ ข้อมูลข่าวสาร และได้ พบปะ พูดคุยแลกเปลี่ ย นกับ ผู้เ ชี่ ย วชาญ แขนงต่างๆ จนถึงการเข้ า ร่ ว มโปรแกรมจั บ คู่
เพื่อให้ ผ้ ปู ระกอบการสามารถประเมินแนวโน้ ม ส�ำคัญที่จะมีผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจและ ตลาดงานพิมพ์ในช่วงเวลา 12-14 เดือนข้ างหน้ า และก�ำหนดยุทธศาสตร์ และยุทธวิธีเพื่อช่วยให้ กิจการสามารถคว้ าโอกาสที่ก�ำลังจะมาถึง รวม ถึงสามารถระบุและบ่งชี ้ความท้ าทายที่จะมีผลก ระทบได้ ทนั ท่วงที เช่น เปลี่ยนถ่ายรูปแบบธุรกิจ ้ จจุบนั และหลังจาก การพิมพ์ของตนเอง ทังในปั ปี พ.ศ. 2558 หรือแม้ กระทัง่ การเปลีย่ นธุรกิจด้ วย เทคโนโลยีดจิ ิตอลได้ อย่างไร ก า ร เ ปิ ด ต ล า ด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คืบคลานเข้ ามา พร้ อมๆ กับ งาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2015 ได้ เข้ า มาปูทางสร้ างโอกาสให้ นักธุ รกิจไทย.. ช่ างเป็ นการประสานขานรับกันเป็ นอย่ างดี!!
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 29
029 7/8/2558 11:18:15
PRINT NEWS
การพิมพ์ไทยสัญจร‘58 ‘รับด้วยรุก บุกตลาดอนาคต’
อุดมด้วยทางออกและการแก้ปัญหาธุรกิจ
สีสันการจัดกิจกรรมของสมาคมการพิมพ์ ไทยในช่ วงกลางปี 2558 มีโปรแกรมเด็ดอยู่ท่ กี าร จัดงาน “การพิมพ์ ไทยสัญจร’58 PRINTING 4.0 รั บด้ วยรุ ก บุ กตลาดอนาคต” ณ ห้ องตะกั่วป่ า โรงแรมหรรษา เจบี หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เมื่อ วันเสาร์ ท่ ี 27 มิถุนายน ที่ผ่านมา หลายคนที่ติดตามกิจกรรมความเคลื่อนไหว ของสมาคมการพิมพ์ไทยคงจะทราบดีว่า เหตุที่เลือก “นครหาดใหญ่ ” เป็ นจุดหมายปลายทางการจัดงาน “การพิมพ์ ไทยสัญจร” เพราะเป็ นพื ้นที่ที่มีโรงพิมพ์ น้ อยใหญ่หนาแน่นที่สดุ ขณะเดียวกัน ก็เป็ นศูนย์กลาง การคมนาคมที่ผ้ คู นในพื ้นเพภาคใต้ ที่สนใจ สามารถ เดินทางไปร่ วมกิ จกรรมได้ อย่างสะดวกสบาย และ เป็ นที่มาของการตังชื ้ ่อหัวรองการสัญจรแบบเก๋ไก๋ว่า
030 TPM108_P1-78.indd 30
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:18:20
การพิมพ์ไทยสัญจร‘58 ‘รับด้วยรุก บุกตลาดอนาคต’ อุดมด้วยทางออกและการแก้ปัญหาธุรกิจ
PRINTING 4.0 ซึง่ อธิบายความหมายได้ วา่ เป็ นการจัด สัมมนาในพื ้นที่แห่งนี ้เป็ นครัง้ ที่ 4 นัน่ เอง คุ ณ พิ ม พ์ นารา จิ ร านิ ธิ ศ นนท์ นายก สมาคมการพิมพ์ ไทย กล่าวในพิธีเปิ ดงานการพิมพ์ ไทยสัญจร’58 ว่า สมาคมการพิมพ์ไทยยังคงมีความ มุ่งมัน่ ที่จะสรรค์สร้ างสังคมอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ให้ เติบโตไปพร้ อมๆ กันทังในส่ ้ วนกลางและต่างจังหวัด จึงเป็ นที่มาของการจัดสัมมนาสัญจร โดยมุ่งหวังว่า ผู้ประกอบการในทุกภูมภิ าคของไทย จะได้ รับองค์ความ รู้ ข้ อคิดความเห็นและข่าวสารด้ านเทคโนโลยีต่างๆ เทียบเท่ากับผู้ประกอบการในส่วนกลาง ขณะเดี ย วกั น ถื อ เป็ นประเพณี ป ฏิ บั ติ ว่ า นอกเหนือจากการจัดให้ มกี ารสัมมนาทีม่ หี วั ข้ อเพือ่ การ แก้ ไขปั ญหาให้ ถกู จุดโดนใจแล้ ว ยังน�ำพาผู้ประกอบ การค้ าเทคโนโลยีด้านการพิมพ์และเกี่ยวข้ อง เข้ าร่ วม ขบวนเดินทางไปเผยแพร่ เทคโนโลยี ที่จะเข้ ามาช่วย ส่งเสริ มการประกอบธุรกิจการพิมพ์ให้ ประสบความ ส�ำเร็ จด้ วย ซึง่ ครัง้ นี ้ได้ รับเกียรติจากซัพพลายเออร์ ให้ การสนับสนุนกิจกรรมมากถึง 13 องค์กร และร่วมขบวน น�ำเทคโนโลยีไปจัดแสดงถึงที่หน้ าห้ องสัมมนาจ�ำนวน 8 องค์กรด้ วยกัน
คุณเกรี ยงไกร เธี ยรนุกลุ
ด้ านหั ว ข้ อการสั ม มนาเพื่ อ ให้ ความรู้ นั น้ เป็ นทีเ่ ด่นชัดว่า เน้ นวัตถุประสงค์ตามกิจกรรมการพิมพ์ ไทยสัญจร นั่นคือ “รั บด้ วยรุ ก บุกตลาดอนาคต” ดังนัน้ โปรแกรมแรกจึงจัดเต็มแบบเข้ าประเด็นด้ วยการ บรรยายพิเศษ Future Trends of Printing Business โดยคุ ณ เกรี ย งไกร เธี ย รนุ กุ ล รองประธานสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) อดีตนายก สมาคมการพิมพ์ไทย 3 สมัย ซึง่ ได้ ทำ� การชี ้แนะแนวทาง การท� ำ ธุ ร กิ จ การพิ ม พ์ ใ ห้ อ ยู่ร อดในยุค ปั จ จุบัน และ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 31
PRINT NEWS
031 7/8/2558 11:18:23
PRINT NEWS
การพิมพ์ไทยสัญจร‘58 ‘รับด้วยรุก บุกตลาดอนาคต’
อุดมด้วยทางออกและการแก้ปัญหาธุรกิจ
อนาคต โดยมีค�ำตอบให้ อย่างชัดเจนพร้ อมตัวอย่าง ประกอบ อี ก ทัง้ มี วิ ถี ท างให้ เ ลื อ กในหลายแนวทาง (มีรายละเอียดน�ำเสนอในฉบับนี ้) ที่สามารถหยิบยกไป ประยุกต์ใช้ ได้ อย่างแน่นอน ถัด ไปเป็ นการน� ำ เสนอข้ อ มูล แนวคิ ด และ วิ ธี ก ารด� ำ เนิ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพงานพิ ม พ์ เพื่ อ การส่งเข้ าประกวด Thai Print Award 2010 ภายใต้ ชื่อ หัวข้ อ Quality in Print – เคล็ด(ไม่ )ลับ คว้ ารางวัล Thai Print Award โดยคุณพชร จงกมานนท์ ซึง่ เป็ น หนึง่ คณะกรรมการตัดสิน Thai Print Award และท�ำ หน้ าที่นี ้มาแล้ ว 4 สมัย ไปบอกเล่าประสบการณ์การ พิจารณาให้ คะแนนผลงานที่สง่ เข้ าประกวด พร้ อมกับ น�ำเสนอข้ อสังเกตที่เป็ นข้ อผิดพลาดของผลงานที่ส่ง เข้ าประกวดที่เป็ นสาเหตุท�ำให้ ไม่ได้ รับรางวัล ซึง่ บาง ผลงานนันมี ้ ตำ� หนิหรื อข้ อผิดพลาดทางเทคนิคนิดเดียว และสามารถแก้ ไขได้ ซึง่ น่าเสียดายยิ่งนัก อย่ า งไรก็ ต าม การบรรยายของคุ ณ พชร แม้จะมี เป้ าหมายการน�ำเสนอข้อมูลและประสบการณ์
032 TPM108_P1-78.indd 32
คุณพชร จงกมานนท์
การพิ จ ารณาตัด สิ น ผลงานเพื ่อ การส่ ง เข้ า ประกวด Thai Print Award แต่หากผู้ประกอบการโรงพิ มพ์ หรื อ ผู้ป ฏิ บัติ ง านด้า นพัฒ นาคุณ ภาพงานพิ ม พ์ ข อง โรงพิ ม พ์ ต่ า งๆ น� ำ ไปปรั บ ใช้ โ ดยมุ่ ง หมายเพื ่ อ การพัฒนาแล้ว แม้ไม่ ต้องเล็ งเป้ าหมายเพื ่อการชิ ง รางวัล แต่ผลจากการปรับเปลีย่ นแก้ไขและการพัฒนา ก็จะเกิ ดผลดีต่อโรงพิ มพ์นนั้ ๆ ด้วยเช่นกัน
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:18:24
การพิมพ์ไทยสัญจร‘58 ‘รับด้วยรุก บุกตลาดอนาคต’ อุดมด้วยทางออกและการแก้ปัญหาธุรกิจ
PRINT NEWS
สะกดให้ ผ้ ฟู ั งแน่วแน่ จดจ่อ นิ่งฟั ง เพราะเป็ นทังตรรกะ ้ และข้ อเท็จจริ งแบบไม่คาดคิดมาก่อน โดยประเด็นหลักของศาสตร์ ธุรกิ จครอบครัว คือ เป็ นเรื ่องราวการบริ หารจัดการของธุรกิ จครอบครัว ซึ่ ง เกี ่ย วข้อ งทัง้ กับระบบกงสี การแบ่ ง ปั น แก่ ค นใน ครอบครัว กฎเหล็กข้อห้ามทีเ่ ป็ นธรรมนูญของคนร่ วม วงไพบูลย์วา่ มีอย่างไร ข้อคิดแนวปฏิ บตั ิทงั้ ทีเ่ กิ ดปัญหา และเป็ นผลดี วิธีการจัดสรรและจัดการทางเทคนิคด้าน กฎหมาย เพือ่ ให้ธุรกิ จครอบครัวอยู่ยงั้ ยัง่ ยื น รวมทัง้ การจัดการร่ วมกับนักบริ หารมื ออาชี พ ฯลฯ โดยที่เรื่ องราวเหล่านัน้ ไม่วา่ ใครๆ ก็ตาม ทัง้ ที่เคยท�ำงานอยูใ่ นองค์กรที่เป็ นธุรกิจครอบครัว หรื อมี ความเป็ นครอบครัวมาเกี่ยวข้ อง อาจจะเคยได้ ยินได้ ฟั งถึงวิถีและการด�ำเนินการบางอย่างมาบ้ างไม่มากก็ น้ อย เพียงแต่ไม่คาดคิดว่า ความจริ งแล้ วนี่คือศาสตร์
ล� ำ ดับ ถัด ไปของกิ จ กรรม “การพิ ม พ์ ไ ทย สัญจร’58” คือการน�ำเสนอเทคโนโลยีและวัสดุอปุ กรณ์ การพิมพ์ เพื่อสนับสนุนการ “รั บด้ วยรุ ก บุกตลาด อนาคต” ภายใต้ ชื่อช่วง “Technology & Product Showcase” ซึง่ เป็ นการแนะน�ำเทคโนโลยีด้วยตัวของ ผู้ประกอบการค้ า ที่จดั แสดงอยูห่ น้ าห้ องสัมมนาทัง้ 8 องค์กร โดยเป็ นการสัมภาษณ์ ถามตอบและเปิ ดโอกาส ให้ อธิบายรายละเอียด ในรูปแบบการถ่ายทอดสดแสดง ผ่านจอโปรเจ็คเตอร์ ในห้ องสัมมนา เพื่อให้ ได้ รับชมกัน อย่างทัว่ ถึง (มีรายละเอียดในฉบับ) การบรรยายพิเศษหัวข้ อสุดท้ ายได้ แก่ Triple Lanes – ศาสตร์ แห่ งธุรกิจครอบครั ว โดย ผศ.ดร. เอกชัย อภิศักดิ์กุล ผู้อ�ำนวยการศูนย์ศึกษาธุรกิจ ครอบครัวและ SMEs และคณบดีคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย นับเป็ นการบรรยายที่ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 33
033 7/8/2558 11:18:28
PRINT NEWS
การพิมพ์ไทยสัญจร‘58 ‘รับด้วยรุก บุกตลาดอนาคต’
อุดมด้วยทางออกและการแก้ปัญหาธุรกิจ
ที่ต้องศึกษา แต่ยงั ไม่เคยมีใครเรี ยบเรี ยงเป็ นหนังสือ หรื อจัดท�ำเป็ นหลักสูตรการเรี ยนการสอนอย่างเป็ น รูปธรรมมาก่อน ซึง่ อาจารย์เอกชัย บอกว่า ในอนาคต ศาสตร์ นี ้ จะต้ อ งมี ก ารเปิ ดเป็ นหลัก สูต รการเรี ย น การสอนเป็ นวิชาการอย่างเป็ นทางการอย่างแน่นอน อาจารย์ มี ก ารยกตั ว อย่ า งให้ เห็ น ภาพ ว่า ศาสตร์ นีม้ ี จริ ง ด้ วยการน� ำเสนอข้ อมูลเรื่ องราว ของตระกูลต่างๆ ประกอบ อาทิ ตระกูลจิราธิวัฒน์ เจ้ าของห้ างสรรพสินค้ าเซ็นทรัล, ตระกูลภิรมย์ ภกั ดี เจ้ าของเบียร์ สงิ ห์-ลีโอ, ตระกูลโชควัฒนา เจ้ าของเครือ สหพัฒน์ ฯลฯ ซึ่งท� ำให้ เห็นภาพที่ อาจารย์ บรรยาย อย่างชัดเจนว่า การเติบใหญ่ของธุรกิจครอบครัว เป็ น เพราะมี ก ารน� ำ ศาสตร์ นี ไ้ ปใช้ อ ย่ า งถูก ทิ ศ ทางและ เหมาะสม ใครที่ มี โ อกาสได้ ฟั ง อาจารย์ ด ร.เอกชัย บรรยายในเรื่ องนี ้แล้ ว คาดว่าจะจดจ�ำบรรยากาศและ ค�ำบรรยายในแง่มมุ ต่างๆ ไปประกอบกอบข้ อคิดความ เห็นในวันข้ างหน้ าไม่มากก็น้อยอย่างแน่นอน ช่ ว งท้า ยสุด ของ “การพิ ม พ์ ไ ทยสัญ จร’58” มี การจับฉลากมอบของที ่ระลึ กแก่ ผู้เดิ นทางไปร่ วม สัมมนาในวันนัน้ หลากหลายรายการ ซึ่ งก็มีเฮ..เพราะ นอกจากได้รับความรู้ จากการสัมมนาแล้ว ยังได้ของ
034 TPM108_P1-78.indd 34
ผศ.ดร.เอกชัย อภิ ศกั ดิ์ กลุ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:18:31
การพิมพ์ไทยสัญจร‘58 ‘รับด้วยรุก บุกตลาดอนาคต’ อุดมด้วยทางออกและการแก้ปัญหาธุรกิจ
PRINT NEWS
ทีร่ ะลึกติ ดไม้ติดมื อกลับบ้านด้วย การพิมพ์ ไทยสัญจร’58 PRINTING 4.0 ที่จดั ขึน้ ที่เมืองหาดใหญ่ อาจไม่ ใช่ กจิ กรรมที่โดด เด่ นที่สุดของสมาคมการพิมพ์ ไทยในรอบปี 2558 แต่ เป็ นกิจกรรมที่ใครๆ คงไม่ ปฏิเสธว่ า ทรงคุณค่ า ไม่ ด้อยน้ อยกว่ ากิจกรรมใดๆ อย่ างแน่ นอน!!
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 35
035 7/8/2558 11:18:35
PRINT REPORT
การพิมพ์ไทยสัญจร’58 ส�ำเร็จด้วยแรงหนุนสปอนเซอร์
ประสบความส�ำเร็ จอย่างงดงามกับการ จัดกิจกรรม “การพิมพ์ ไทยสั ญจร’58” ของ สมาคมการพิม พ์ ไ ทย โดยนอกเหนื อจากมี ผู้ประกอบโรงพิมพ์น้อยใหญ่สนใจแห่ไปร่วมงาน อย่างแน่นขนัดแล้ ว ยังมีบรรดาสปอนเซอร์ หลัก ใจดี 13 รายให้ การสนับสนุน และมี 8 รายได้ ร่วม ขนเทคโนโลยีไปจัดแสดงถึงหน้ างานที่หาดใหญ่ ด้ วย สร้ างความคั ก คึ ก และเป็ นสี สั น อย่ า ง น่าสนใจ จนต้ องน�ำมาบอกเล่าในที่นี ้อีกครัง้ สปอนเซอร์ 8 รายที่น�ำผลิตภัณฑ์ไฮไลต์ ไปเนรมิตบูธแนะน�ำสินค้ า ได้ แก่ บริษัท โคนิก้า มินอลต้ า บิสสิเนส โซลูช่ ันส์ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด , บริ ษั ท ไซเบอร์ เอสเอ็ ม (ไทย) จ�ำกัด, บริษัท ผลิตภัณฑ์ กระดาษไทย จ�ำกัด ในกลุ่มเอสซีจี แพคเกจจิง้ ,บริษัท โตโยอิง๊ ค์
036 TPM108_P1-78.indd 36
คุณบุณรัตน์ เรื องข�ำ
(ประเทศไทย) จ�ำกัด, บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด, บริ ษัท ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิ กส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด,บริษทั ซี.เอ.เอส. เปเปอร์ จ�ำกัด และ เมสเซ่ ดซุ เซล ดอร์ ฟเอเชีย เริ่ ม กั น ที่ บู ธ ที่ 1. บริ ษั ท โคนิ ก้ า มิ น อลต้ า บิ ส สิ เ นสโซลู ช่ ั นส์ (ประเทศไทย) จ� ำ กัด น� ำ ที ม โดย
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:18:38
การพิมพ์ไทยสัญจร’58 ส�ำเร็จด้วยแรงหนุนสปอนเซอร์
คุ ณ บุ ณ รั ตน์ เรื องข� ำ ผู้ จั ด การ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ข า ย มี ก า ร น� ำ เ ค รื่ อ ง พิ ม พ์ ดิ จิ ต อลรุ่ น bizhub PRESS C1070 ไปจัด แสดง ถื อ เป็ นสิ น ค้ าพระเอกดาวรุ่ งที่ ม า แรงตัง้ แต่ น� ำ เข้ าสู่ ต ลาดเมื่ อ ปลายปี 2557 แต่ปัจจุบนั ก็ยงั มียอดขายวิ่งแรงดีไม่มีตก ไฮไลต์ ห ลั ก ๆ ของเครื่ อ งพิ ม พ์ รุ่ น นี ้ อย่างแรกคือ เข้ ามาแก้ ปัญหาระบบการป้อน กระดาษ เพราะส่วนใหญ่กระดาษที่ลกู ค้ าใช้ กบั เครื่ องพิมพ์ระบบดิจิตอลจะเป็ นกระดาษเคลือบ ท�ำให้ เกิดปั ญหาของไฟฟ้าสถิตย์ ท�ำให้ กระดาษ ซ้ อนและกระดาษติด เครื่ องนี ้มีระบบการป้อน กระดาษที่ลดปั ญหาได้ อย่างที่ 2 ในตัวเครื่ อง จะมีเทคโนโลยีการตรวจสอบคุณภาพค่าหมึก พิมพ์ทกุ ใบ ท�ำให้ คณ ุ ภาพสีที่ได้ จะใกล้ เคียงกัน ทุกแผ่น และสิง่ ทีพ่ เิ ศษคือสามารถพิมพ์หน้ ากว้ าง 33 x 120 เซ็นติเมตร ซึง่ นับเป็ นขนาดยาวที่สดุ ที่ โคนิก้าฯท�ำได้ และเป็ นหนึ่งเดียวในตลาดด้ วย ส� ำ หรั บ บู ธ ที่ 2. บริ ษั ท ไซเบอร์ เอสเอ็ม (ไทย) จ�ำกัด” น�ำทีมโดย คุณเดชา อินทพรโสภิต ฝ่ ายจัดจ�ำหน่าย ได้ น�ำสินค้ าไป โชว์คือเครื่ องพับกระดาษ Horizon รุ่น PF-P330 มี คุณสมบัติโดดเด่นหลากหลายข้ อ และมี วิธี การใช้ งานสุดแสนจะง่าย เหมาะกับการใช้ ใน หลังงานพิมพ์ของระบบการพิมพ์ดจิ ิตอล เพราะ มีฟังก์ ชนั่ การท�ำงานเพียงกดปุ่ ม 3 ปุ่ มเท่านัน้ ก็ จ ะได้ งานพั บ ที่ มี ม าตรฐานตามรู ป แบบที่ ต้ องการ อีกทังสามารถค� ้ ำนวณงานพับให้ ออก มาตามจ�ำนวนที่ต้องการได้ โดยมีการตังระบบ ้ อัตโนมัตทิ ี่ใช้ งานได้ งา่ ยมาก
ส่วนบูธที่ 3 บริษัท ผลิตภัณฑ์ กระดาษไทย จ�ำกัด ในกลุม่ เอสซีจี แพคเกจจิ ้ง น�ำทีมโดยคุณร็อด วงศ์ ลขิ ติ ปั ญญา ผู้ช่วยผู้จดั การฝ่ ายส่งเสริ มการตลาด ได้ น�ำสินค้ าเด่นหลาย ตัวไปจัดแสดง ได้ แก่ “กระดาษเพื่อสิง่ แวดล้ อม” หรื อที่เรี ยก ว่าอีโคไฟเบอร์ ลดการใช้ เยื่อไม้ 50 % แต่สามารถพิมพ์ งานสี่สีออฟเซ็ตทัว่ ไปสวยงาม ไม่แตกต่างจากกระดาษปกติ “กระดาษไอเดีย กรี น พลัส” มีจดุ เด่นคือ รักษ์ โลกลดการใช้ เยื่อต้ นไม้ 50 % คุณภาพการพิมพ์สวยงามและราคาเดิม ไม่ ต้ องจ่ า ยเงิ น เพิ่ ม ก็ รั ก ษ์ โลกได้ อี ก ตั ว คื อ กระดาษ การ์ ดโปรซึ่งมีทัง้ กระดาษอาร์ ตมันและกระดาษอาร์ ตด้ าน เฉดสีออกฟ้า เด่น สวย มัน วาว ออกสีครีมๆ ใช้ พมิ พ์งานหลาก หลายสไตล์สวยงามแตกต่างกันไป
คุณเดชา อิ นทพรโสภิ ต
คุณร็ อด วงศ์ลิขิตปั ญญา
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 37
PRINT REPORT
037 7/8/2558 11:18:39
PRINT REPORT
การพิมพ์ไทยสัญจร’58 ส�ำเร็จด้วยแรงหนุนสปอนเซอร์
บูธที่ 4 บริษทั โตโยอิง๊ ค์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด น�ำทีมโดย คุณชาติชาย เคี่ยมทองค�ำ ผู้ จั ด การฝ่ ายการขายและการตลาด ได้ น� ำ ผลิตภัณฑ์หมึกและน� ้ำยาชนิดต่างๆ ทีเ่ ป็ นไฮไลต์ ของโตโยอิง๊ ค์ไปจัดแสดง โดยมีการน�ำเสนอว่า ปี นี ้ มีการปรับแผนขยายตลาดมาทางภาคใต้ มากขึ ้น และไม่ใช่มงุ่ เน้ นขายหมึกพิมพ์อย่างเดียว แต่ขาย เป็ นโซลูชั่นด้ วย โดยจะมีการน� ำเสนอเทคนิ ค การพิ ม พ์ ใ ห้ ไ ด้ ง านคุณ ภาพและบริ ก ารหลัง การขายเข้ ามาช่วยด้ วย ซึ่งคาดว่า ลูกค้ าใน
คุณชาติ ชาย เคีย่ มทองค�ำ
แถบภาคใต้ นา่ จะตอบรับด้ วยดี บู ธ ที่ 5 บริ ษั ท ไฮเดลเบิ ร์ ก กราฟฟิ กส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด น�ำทีมโดยคุณประชา อินทร์ ผลเล็ก ผู้จัด การทั่ว ไป การไปออกงานคราวนี ้ ไม่ ต้ อ งยกเครื่ อ ง พิมพ์ ไฮเดลเบิร์กไปแนะน�ำแล้ ว เพราะคนทั่วโลกรู้ จักเป็ น อย่างดี ดังนัน้ สิง่ ที่น�ำไปเสนอในพื ้นที่ภาคใต้ ก็เป็ นประเภท วัส ดุสิ น้ เปลื อ ง ได้ แ ก่ ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ Saphira ซึ่ ง มี ทัง้ หมึ ก พิมพ์ เพลท และน� ้ำยาทุกชนิด แต่ก็มีการแนะน�ำด้ วยวาจา ด้ วยว่า ปี นี ้ไฮเดลเบิร์ก(ไทย) ได้ ร่วมเป็ นพันธมิตรกับ Master work Machinnery (MK) เป็ นผู้ผลิตเครื่ องจักรหลังการพิมพ์ ยักษ์ ใหญ่ ของจี น สนใจสอบถามรายละเอี ยดได้ หลังไมล์ หรื อไปชมเครื่ องจริ งได้ ที่งานแพ็ค พริ น้ ท์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล 2015 ได้ ด้วย บูธที่ 6 “เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ ฟ เอเชีย” น�ำโดย คุณอมิต โรจน์ ทวีฤทธิ์ ตัวแทนประจ�ำประเทศไทย ได้ ไป น�ำเสนอและเชิญชวนผู้ประกอบการให้ เดินทางไปร่ วมงาน Pack Print International 2015 ระหว่างวันที่ 26-29 สิงหาคม
คุณประชา อิ นทร์ ผลเล็ก
038 TPM108_P1-78.indd 38
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:18:42
การพิมพ์ไทยสัญจร’58 ส�ำเร็จด้วยแรงหนุนสปอนเซอร์
ศกนี ้ ที่ศนู ย์นิทรรศการไบเทค บางนา โดยปี นี ้ ถือเป็ นงานที่ยิ่งใหญ่มากเนื่องจากมีผ้ ปู ระกอบ การผลิตและจ�ำหน่ายแบรนด์ดงั ทัว่ โลกเข้ าร่ วม งามงานเกือบทังหมด ้ (ดูได้ จากข่าวในฉบับนี ้) บู ธ ที่ 7 บ ริ ษั ท ฟู จิ ซี ร็ อ ก ซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด น�ำโดยคุณจิณห์ สิภา เธียรเจริ ญชัย ผู้จดั การทัว่ ไป ส่วนงาน PSB ได้ เ ลื อ กเครื่ อ งพิ ม พ์ ดิ จิ ต อลที่ ค าดว่ า เหมาะ สมกับ ตลาดโรงพิ ม พ์ ที่ ห าดใหญ่ ไ ปจัด แสดง นั่น คื อ เครื่ อ งพิ ม พ์ VERSANT 80 PRESS ซึ่ง แม้ จ ะเป็ นรุ่ น ค่ อ นข้ า งเล็ ก แต่ ก็ สูง ไปด้ ว ย ประสิทธิภาพตามสโลแกนว่า “ท�ำได้ มากกว่ า ได้ ผ ลลั พ ธ์ ท่ ีม ากขึ น้ ” ส่วนรายละเอี ยดของ สเป็ คคงไม่ต้องอธิ บายอะไรมาก เพราะชื่อชัน้ ของความเป็ น ฟูจิ ซีร็อกซ์ การันตีอยูใ่ นตัวแล้ ว แต่ กระนันทั ้ งคุ ้ ณดนัยพัฒน์ พรหมหิรัญ ส่วนงาน สือ่ สารการตลาด และคุณวศิน สุขพูลผลเจริญ
คุณอมิ ต โรจน์ทวีฤทธิ์
คุณดนัยพัฒน์ พรหมหิ รญ ั
คุณอารี รตั น์ ส�ำราญสิ นธุ์
ส่วนงานสนับสนุนผลิตภัณฑ์และซอฟท์แวร์ ก็ได้ อธิบายให้ แขกเหรื่ อที่หน้ างานฟั งอย่างละเอียด บูธที่ 8 บริษัท ซี.เอ.เอส. เปเปอร์ จ�ำกัด น�ำทีม โดยคุณอารี รัตน์ ส�ำราญสินธุ์ ผู้บริ หารการตลาด ได้ น�ำ ผลิตภัณฑ์กระดาษที่ผลิตและเป็ นตัวแทนจ�ำหน่ายไปแนะน�ำ หลากหลายชนิด ทัง้ ที่เป็ นตัวอย่างกระดาษที่ใช้ พิมพ์ งาน หลากหลายรู ปแบบ อาทิ แบรนด์ GOLD EAST PAPER ฯลฯ และกระดาษถ่ายเอกสารแบรนด์ Paper One ไปจัด แสดง นอกจากนี ้ ยังน�ำผลิตภัณฑ์สงิ่ พิมพ์ที่ได้ จากการพิมพ์ บนกระดาษที่น�ำเสนอ และสิ่งพิมพ์ขึ ้นรู ปต่างๆ ไปจัดแสดง ด้ วย ส่วนรายละเอี ยดและคุณสมบัติต่างๆ ของกระดาษ หากใครสนใจเป็ นพิเศษสามารถคุยหลังไมค์ได้ ตลอดเวลาที่ อยากทราบค่ะ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 39
PRINT REPORT
039 7/8/2558 11:18:45
PRINT ‘เซเบอร์ บีม’ ก้าวสู่ยุคดิจิตอล ขยายลงทุน HP Scitex 11000 Industrial Press INTERVIEW ควบ ESKO Kongsberg XP24 ตอบทุกโจทย์และความต้องการลูกค้า
“เซเบอร์ บี ม ” ก้ าวสู่ การพิ ม พ์ ยุ ค ดิจิตอลตัดสินใจขยายการลงทุนเต็มรู ปแบบ ด้ ว ยการลงเครื่ องพิ ม พ์ HP Scitex 11000 Industrial Press พร้ อมกั บเครื่ องตัด ESKO Kongsberg XP24 เพื่อสร้ างมาตรฐานการพิมพ์ ใหม่ เสริมทัพเทคโนโลยีการพิมพ์ สกรีนที่มอี ยู่เดิม รองรั บการตอบทุกโจทย์ และความต้ องการของ ลูกค้ า ภายใต้ สโลแกน “เร็วได้ ใจ ในราคาที่ถูกใจ” บริษัท เซเบอร์ บีม จ�ำกัด เป็ นผู้ให้ บริ การผลิต งานป้ายโฆษณาและสื่อส่งเสริ มการขายแบบครบวงจร อย่างรวดเร็ วภายในเวลาที่ ก�ำ หนด ด้ ว ยก� ำ ลัง นับตังแต่ ้ การส�ำรวจความต้ องการของลูกค้ า ออกแบบ ผลิต ในการผลิตกว่า 300,000 ตารางเมตรต่อเดือน ติดตัง พร้ ้ อมการรับประกันคุณภาพงาน โดยส่งมอบงาน มีทีมงานคุณภาพคอยให้ บริ การกว่า 300 คน มี ม าตรฐานการควบคุม การผลิ ต ที่ เ ข้ ม งวด ส�ำหรับดูแลจัดการด้ านมลพิษและสิง่ แวดล้ อม ภายในโรงงานด้ วยระบบ ISO 18001 ปัจจุบนั นับเป็ นหนึ่งในโรงพิมพ์ สกรี นและดิจิตอล อิงค์เจ็ตชันน� ้ ำของประเทศ คุ ณ อดิ ศ ร กาญจนเภตรา กรรมการผู้ จัด การ บริ ษั ท เซเบอร์ บี ม จ� ำ กั ด กล่ า วถึ ง จุด เริ่ ม ต้ น ของ การด� ำ เนิ น กิ จ การว่ า เริ่ ม ขึ น้ เมื่ อ ปี พ.ศ.2536 หรื อด�ำเนินกิจการมาแล้ ว 22 ปี เริ่ มจากให้ บริ การออกแบบและ
040 TPM108_P1-78.indd 40
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:18:47
PRINT ‘เซเบอร์ บีม’ ก้าวสู่ยุคดิจิตอล ขยายลงทุน HP Scitex 11000 Industrial Press INTERVIEW ควบ ESKO Kongsberg XP24 ตอบทุกโจทย์และความต้องการลูกค้า
ผลิ ต สื่ อ โฆษณาด้ านงานพิ ม พ์ ส กรี น ส� ำ หรั บ งานป้ ายประเภทต่ า งๆ และมี การพิ ม พ์ ส กรี น แบบสอดสี 4 สี ใ ห้ กั บ ลูก ค้ า ชัน้ น� ำ มากมาย ทัง้ ในกลุ่ม สิ น ค้ า อุปโภคบริ โภค การสื่อสาร ธุรกิจแฟรนไชน์ ห้ า งสรรพสิ น ค้ า บริ ษั ท และร้ านค้ า ต่า ง ๆ ไม่ ว่า จะเป็ นชัน้ วางสิ น ค้ า POP (Point of Purchase), Kiosk, บูธชงชิม, สแตนดี ้, ธงญี่ปน, ุ่ ธงราว, โปสเตอร์ , ป้ายแบนเนอร์ , ป้ายพีพบี อร์ ด, ป้ายล้ อมกอง, ป้ายโฆษณากลางแจ้ ง, กล่องไฟ, ป้ายตกแต่งภายในและนอกอาคาร, สติก๊ เกอร์ ตดิ ตู้ โดยขยายการลงทุนแบบเต็มรู ปแบบสู่งานพิมพ์ดิจิตอล แช่ / ติดผนัง / ติดพื ้นทางเดิน / ติดรถโฆษณา / ติด ด้ วยเครื่ องพิมพ์ HP Scitex 11000 Industrial Press อาคาร, งานตกแต่งภายใน รวมถึงพิมพ์กล่องบรรจุ ซึ่ง เป็ นเครื่ อ งพิ ม พ์ วัส ดุแ ผ่ น เรี ย บ (Flatbed) ขนาด ใหญ่ระดับอุตสาหกรรม ที่ให้ ความละเอียดภาพพิมพ์ ภัณฑ์ลกู ฟูก คุณ อดิ ศ ร กล่ า วถึ ง การขยายธุ ร กิ จ ในรู ป และมีความเร็วในการพิมพ์สงู ทีส่ ดุ ในตลาดเครื่องพิมพ์ แบบเดิมว่า หากวันนี ้บริ ษัทต้ องขยายก�ำลังการผลิต อิ ง ค์ เ จ็ ต สามารถพิ ม พ์ ต รงลงบนแผ่ น พี พี บ อร์ ด เพื่ อ รองรั บ ลูก ค้ า ที่ เ พิ่ ม มากขึ น้ ด้ ว ยระบบการพิ ม พ์ กระดาษลูก ฟูก กระดาษกล่อ งบรรจุภัณ ฑ์ แผ่ น สกรี น เพื่อให้ ได้ ก�ำลังการผลิตเพิ่มอีกเท่าตัว ก็จ�ำเป็ น พลาสติก หรือวัสดุแผ่นเรียบต่าง ๆ ได้ อกี หลากหลาย ต้ องเพิ่มทีมงานฝ่ ายผลิตและพื ้นที่ในการท�ำงานเพิ่มขึ ้น ชนิด ที่ส�ำคัญ ช่วยเพิ่มก� ำลังการผลิตและเสริ ม ้ งต้ องเพิ่มระบบงานก่อนพิมพ์ งานพิมพ์สกรี นเดิมได้ อีกกว่าเท่าตัว ท�ำให้ บริ ษัท อีก 1 เท่าตัวเช่นกัน อีกทังยั ที่ ต้ อ งใช้ เ วลาเตรี ย มงานอี ก ส่ว นหนึ่ง ด้ ว ย ซึ่ง เป็ นระบบ สามารถตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าได้ ้ ่องคุณภาพและความรวดเร็ว ที่ยงุ่ ยาก ตรงข้ ามกับตลาดปั จจุบนั ลูกค้ าต้ องการงานด่วน เป็ นอย่างดี ทังในเรื การส่งมอบงานแบบรวดเร็วทันใจภายใน 24 ชัว่ โมงหลังจาก ในการส่งมอบงาน “เครื ่ องพิ มพ์ ดิจิตอลท� ำให้เราไม่ สัง่ ผลิตงาน และมีความต้ องการงานที่ออกแบบเฉพาะเจาะจง ซึง่ แต่ละกลุม่ ที่มีความชอบแตกต่างกัน ขณะที่งานหลังพิมพ์ก็ ต้ อ งเพิ่ ม คนในฝ่ ายผลิ ต แต่ ส ามารถเพิ่ ม ก� ำลังในการผลิ ตและคุณภาพงานพิ มพ์ที่ดี ต้ องเรี ยบร้ อยสวยงาม ปั จจัยดังกล่าว ท�ำให้ บริ ษัทต้ องปรั บเปลี่ยนนโยบาย ขึ้นเที ยบเท่าระบบการพิ มพ์ออฟเซ็ ต และ และกระบวนการในการผลิต ให้ ตรงกับความต้ องการของตลาด ยังมี ต้นทุนที ่สามารถแข่ งขันในตลาดได้
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 41
041 7/8/2558 11:18:51
PRINT ‘เซเบอร์ บีม’ ก้าวสู่ยุคดิจิตอล ขยายลงทุน HP Scitex 11000 Industrial Press INTERVIEW ควบ ESKO Kongsberg XP24 ตอบทุกโจทย์และความต้องการลูกค้า
ที ่ ส� ำ คัญ เครื ่ อ งรุ่ น นี ้ เ พิ่ ง เปิ ดตัว เป็ นครั้ ง แรกใน ที่ถกู ใจ” ภายใต้ มาตรฐานการผลิตใหม่ เครื่องพิมพ์เครื่อง ุ ภาพ เอาใจใส่ในทุก ภูมิภาคเอเชี ย และบริ ษัทฯ ก็เลื อกลงทุนเป็ นราย ตัดทีท่ นั สมัย พร้ อมบุคลลากรทีม่ คี ณ ้ ต มีระบบตรวจสอบคุณภาพเพือ่ ให้ ลกู ค้ า แรกในการน�ำเข้ามาติ ดตัง้ ในประเทศไทย พร้อมกัน ขันตอนการผลิ ุ ภาพดีที่สดุ และเชื่อมัน่ ว่า การลงทุนเพื่อ นี ้ ยังได้ติดตัง้ เครื ่ องตัดดิ จิตอลความเร็ วสูง ESKO ได้ งานที่มีคณ Kongsberg XP24 พร้อมด้วยโปรแกรมออกแบบงาน รองรับการเปลี่ยนแปลงของตลาดในครัง้ นี ้ จะท�ำให้ ั้ ไม่วา่ แบบ 3 มิ ติ เพือ่ รองรับการออกแบบงาน POP งานป้ าย สามารถตอบโจทย์ลกู ค้ าในปั จจุบนั ได้ ทงหมด โฆษณา สือ่ ส่งเสริ มงานขาย กล่องบรรจุภณ ั ฑ์และอืน่ ๆ ” จะเป็ นงานจ� ำ นวนน้ อย หรื อ งานปริ ม าณมาก โดยที่ ท างบริ ษั ท ฯ มี เ ทคโนโลยี อ ยู่ เ ดิ ม ทั ง้ งานด่วน และงานที่ต้องการรับประกันคุณภาพ “เชื ่อว่าอี กไม่นานทุกอย่างจะเข้าสู่ยคุ ของ เครื่ องพิมพ์ อิงค์ เจ็ตป้อนม้ วนขนาดเล็กและขนาดใหญ่ มีระบบหมึกทัง้ Water based, Solvent based, UV และ ดิ จิ ต อลโดยสมบู ร ณ์ และทางบริ ษั ท ฯ มี ก าร ลาเท็กซ์ (Latex) ส�ำหรับงานภายในและภายนอกอาคาร วางแผนทีจ่ ะขยายไลน์การผลิ ตในระบบดิ จิตอล ที่ต้องการความละเอียดสูง หมึก พิ ม พ์ ที่ ใ ช้ เ ป็ นมิ ต รกับ สิ่ ง เพิ่มขึ้นอีกอย่างแน่นอน” คุณอดิศร กล่าวและว่า แวดล้ อ ม 100% สามารถรั บ ประกัน คุณ ภาพงานพิ ม พ์ ไ ด้ ทัง้ นี ้ เพื่อให้ บริษัท เซเบอร์ บีม จ�ำกัด ยาวนานถึง 5 ปี ใช้ เป็ นตัวช่วยเสริ มทัพงานพิมพ์ดจิ ิตอลด้ วย สามารถเคี ย งข้ างเป็ นที่ ป รึ ก ษาด้ าน เรี ยกได้ ว่า หากวั นนี ล้ ู กค้ าให้ โจทย์ มา ไม่ ว่าจะ งานพิ ม พ์ ส่ ื อ โฆษณาและบรรจุ ภั ณ ฑ์ เป็ นรู ปแบบงานพิมพ์ สกรี นหรื องานพิมพ์ ดิจิตอลอิงค์ เจ็ต ลู ก ฟู ก ให้ กั บ ลู ก ค้ า ทุ ก กลุ่ ม ทุ ก ขนาด ทางบริ ษัทฯ สามารถรั บประกันคุณภาพและระยะเวลาการ ทัง้ ปั จจุบนั และอนาคตอย่ างสมบูรณ์ !! ผลิตงานในทุกเกรด ทุกคุณภาพ ทุกระดับราคา แบบเหนือ คู่แข่ ง และมีผลงานสามารถช่ วยสร้ างความแตกต่ างให้ กับ ลูกค้ าของบริษัทได้ เป็ นอย่ างดี คุ ณ อดิ ศ ร ด� ำ เนิ น นโยบายการบริ หารงานภายใต้ Line ID: saberbeamgroup “ความซื่ อสั ตย์ ” และยึดมั่นในสโลแกนที่ว่า “เร็ วได้ ใจ ในราคา Facebook.com/SaberBeamColtd
042 TPM108_P1-78.indd 42
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:18:51
SPECIAL REPORT
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ชี้ทางรอดธุรกิจโรงพิมพ์ยุคดิจิตอล ...ออกแบบ-สร้างสรรค์-เพิ่มมูลค่า..
046 TPM108_P1-78.indd 46
ภายใต้ หวั ข้ องาน “การพิมพ์ ไทยสัญจร’58 PRINTING 4.0” ซึ่ ง จั ด ขึ น้ ที่ โ รงแรมหรรษา เจบี เทศบาลนครหาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา เมื่ อ วัน ที่ 27 มิ ถุน ายน ที่ ผ่านมา คุ ณ เกรี ย งไกร เธี ย รนุ กุ ล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้ ให้ เกียรติเป็ นผู้บรรยาย พิเศษในหัวข้ อเรื่ อง “Future Trends of Printing Business” หรื อ “อนาคตธุ ร กิจ การพิม พ์ ทางรอดและการปรั บ ตั ว ” ซึ่ง มี เ นื อ้ หา ที่ นับเป็ นกุญแจส�ำคัญในการเปิ ดประสู่ความส�ำเร็ จของการด�ำเนิ น กิจการโรงพิมพ์ในยุคดิจิตอล และเห็นควรน�ำมาเสนอ ณ ที่นี ้อีกครัง้ หนึง่ เพื่อให้ ผ้ ทู ี่พลาดการไปเข้ าร่วมกิจกรรมในครัง้ นัน้ รับรู้และมีข้อมูล เท่าถึงกัน คุ ณ เกรี ย งไกร ฟั น ธงอย่ า งชัด เจนว่า ทางรอดและความ ส� ำ เร็ จ ของโรงพิ ม พ์ ใ นยุค ดิ จิ ต อลนับ ต่ อ จากนี ้ จะเกิ ด ขึ น้ ได้ ก็ ต่ อ เมื่ อ มีการพัฒนาและต่อยอดจาก 3 ปั จจัยคือ Digital Design & Creative Digital Printing and High Value Added Printing และย� ้ำว่า ภารกิจ งานของโรงพิมพ์จะไม่สามารถอยู่ได้ เพียงแค่การรับจ้ างพิมพ์อย่างเดียว เหมือนในอดีตอีกต่อไป “เราจะต้องมีองค์ประกอบอย่างน้อย 3 ปัจจัยคือ Design Creative Value Added และจะมี Design หรื อออกแบบอย่างเดียวก็ไม่พอ กระดาษ และหมึ กก็ส�ำคัญเช่นกัน ท� ำอย่างไรให้กระดาษและหมึ กมี มูลค่าเพิ่ มขึ้ น ขณะที ่ Creative คือ ความคิ ดสร้างสรรค์ก็เป็ นอี กเรื ่องทีส่ �ำคัญ จากเดิ ม คิ ดเพี ยงอย่างเดี ยวว่าท� ำอย่างไรให้พิมพ์ งานเสร็ จทันเวลา ซึ่ งทุกวันนี ไ้ ม่ พอแล้ว และตัวสุดท้ายส�ำคัญทีส่ ดุ คือ Value Added ท�ำอย่างไรให้มี มูลค่าเพิ่ มขึ้น ไม่ใช่ยิ่งท�ำยิ่ งตัดราคาถูกลง”
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:18:54
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ชี้ทางรอดธุรกิจโรงพิมพ์ยุคดิจิตอล ...ออกแบบ-สร้างสรรค์-เพิ่มมูลค่า..
ส�ำหรั บรายละเอียดของ Digital Design & Creative Digital Printing and High Value Added Printing สามารถแยกย่ อยได้ หลายประเภท ประกอบด้ วย :
Digital Design & Creative คื อ การ อ อ ก แ บ บ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ แ ล ะ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ ด้ ว ย การใช้ ร ะบบ Software Digital Media โดยการ ออกแบบนัน้ นอกเหนื อ จากการสร้ างต้ น แบบที่ มี
ความสวยงามแล้ ว ยังประกอบด้ วยความคิดสร้ างสรรค์ ทัง้ รู ป แบบหรื อ โครงสร้ างสิ่ ง พิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภัณ ฑ์ ซึ่งมีความแตกต่าง โดดเด่น สวยงาม ดึงดูดสายตา แข็งแรงและใช้ วสั ดุที่เหมาะสมกับสินค้ า เพื่อป้องกัน ความเสียหายของสินค้ าและยื ดอายุสินค้ า สะดวก ต่อการขนส่งและเก็บรักษา Digital Printing คื อ กระบวนการผลิ ต สิ่ ง พิ ม พ์ ด้ ว ยระบบดิ จิ ต อลที่ ทัน สมัย ตัว อย่า งเช่ น การพิ ม พ์ ท่ี ไ ม่ ใ ช้ ระบบแม่ พิ ม พ์ เ หมื อ นระบบเดิ ม แต่สร้ างภาพด้ วยระบบประมวลผลจาก Software ที่ ส ามารถเปลี่ ย นข้ อ ความและรู ป ภาพบนสิ่ ง พิ ม พ์ ไม่ให้ เหมือนกันเลย หรื อตามแต่ความต้ องการของ ลูกค้ าแต่ละราย Digital Printing Jobs ได้ แก่ Variable Data เช่น ใบแจ้ งหนี ค้ ่าสาธารณูปโภคต่างๆ บัตรเครดิต Direct Mail รวมถึง Digital Publication เช่น E-book, Digital Magazine, Digital Content ต่างๆ และ Customized education book
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 47
SPECIAL REPORT
047 7/8/2558 11:18:56
SPECIAL REPORT
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ชี้ทางรอดธุรกิจโรงพิมพ์ยุคดิจิตอล ...ออกแบบ-สร้างสรรค์-เพิ่มมูลค่า..
Video in Print Technology คื อ การน� ำ เทคโนโลยีดิจิตอลทางด้ านภาพเคลื่อนไหวและเสียง ลงไปบนสิ่งพิมพ์ เพื่อให้ สิ่งพิมพ์มีความโดดเด่นและ น่ า สนใจในการสื่ อ สารกั บ ผู้ บ ริ โ ภคได้ ดี ก ว่ า ระบบ การพิ ม พ์ เ ดิ ม ที่ มี เ พี ย งภาพนิ่ ง ประกอบเท่า นัน้ เช่น การใส่เ สี ย งเพลงลงบนหนัง สื อ หรื อ ใส่ค ลิ ป VDO ลงบนสิง่ พิมพ์ One to One Digital Printing Campaign คือ การใช้ ความสามารถของระบบดิจิตอลในการพิมพ์ ชื่อบุคคลต่างๆ บนผลิตภัณฑ์สนิ ค้ า อาทิ กระป๋ องน� ้ำ อัดลมโค้ ก ซึง่ มีชื่อแตกต่างกันในแต่ละกระป๋ องไม่ซ� ้ำ กัน เพื่อสร้ างความแตกต่าง และเป็ นการน�ำเสนอความ แปลกใหม่ด้านการตลาด Personalize Data Printing คือ การเพิ่ม มูลค่าให้ กับสินค้ าโดยพิมพ์ ชื่อ-นามสกุลส่วนบุคคล ลงบนฉลากหรื อตัวผลิตภัณฑ์สินค้ า เพื่อเป็ นการเพิ่ม มูลค่าให้ แก่ผ้ รู ับทังทางด้ ้ านมูลค่าและคุณค่าของจิตใจ
048 TPM108_P1-78.indd 48
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:18:58
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ชี้ทางรอดธุรกิจโรงพิมพ์ยุคดิจิตอล ...ออกแบบ-สร้างสรรค์-เพิ่มมูลค่า..
SPECIAL REPORT
3D Printer Technology คือ เทคโนโลยี การพิมพ์แบบ 3 มิติ (3D Printer) ซึง่ ในปั จจุบนั เข้ า มามี บ ทบาทส� ำ คัญ ในทุ ก อุ ต สาหกรรม ทัง้ แฟชั่น สถาปั ตยกรรม วิศวกรรม และการแพทย์ ฯลฯ และ จะมีบทบาทมากขึน้ เรื่ อยๆ ในอนาคต โรงพิมพ์ ไทย ควรจะมองด้ านนี ้ไว้ รองรับความต้ องการของลูกค้ าด้ วย High Value Added Printing สิ่งพิมพ์และ บรรจุภณ ั ฑ์ต่างๆ ที่ผ่านกระบวนการพิมพ์ ด้ วยระบบ เทคนิคพิเศษต่างๆ เช่น การใช้ หมึกพิมพ์ พิเศษที่ใช้ เทคโนโลยีคุณภาพสูง อาทิ หมึกป้องกันการปลอม THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 49
049 7/8/2558 11:19:00
SPECIAL REPORT
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ชี้ทางรอดธุรกิจโรงพิมพ์ยุคดิจิตอล ...ออกแบบ-สร้างสรรค์-เพิ่มมูลค่า..
Eco Friendly คื อ การใช้ วั ส ดุ ท ดแทน ใหม่ๆ หรื อกระบวนการผลิตเป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม และประหยัดพลังงาน แปลงต่างๆ หมึกล่องหน (Invisible) หมึกเรื องแสง (Electroluminescent Ink) หมึกที่สามารถเหนี่ยวน�ำ ไฟฟ้าได้ Conductive Ink, Graphene Ink, หมึกทีส่ มั ผัส อาหารได้ (Food Grade Ink)
Food Grade Paper คือ การใช้ กระดาษ Food Grade ซึง่ เป็ นกระดาษทีไ่ ด้ รับมาตรฐานให้ นำ� ไป ผลิตเป็ นบรรจุภณ ั ฑ์ท่ีสามารถสัมผัสอาหารได้ โดยตรง หรื อกระดาษนัน้ สามารถน� ำไปเข้ าเตาไมโครเวฟได้ โดยไม่ต้องเปลี่ยนภาชนะ
050 TPM108_P1-78.indd 50
Smart Packaging สิ่งพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ที่สร้ างความแตกต่าง และมูลค่าเพิ่มให้ กบั สินค้ านันๆ ้ เช่น บรรจุภณ ั ฑ์หรือฉลากอัจฉริยะ (Smart Packaging & Label) ทีใ่ ช้ เทคโนโลยีการพิมพ์ของหมึกทีส่ ามารถบ่ง บอกวันผลิตและวันหมดอายุของผลิตภัณฑ์ เช่น อาหาร เครื่องดืม่ ยา เครื่องส�ำอาง ในบรรจุภณ ั ฑ์นนได้ ั ้ โดยการ เปลีย่ นสีของสัญลักษณ์ เพือ่ ให้ ผ้ บู ริโภคทราบถึงอายุของ สินค้ า เช่น แถบสีสญ ั ลักษณ์ทไี่ ด้ รับการออกแบบไว้ จะ เปลีย่ นสีจากสีเขียว ซึง่ แสดงว่ายังเป็ นสินค้ าใหม่อยูจ่ ะ ค่อยๆ เปลีย่ นสีเป็ นสีส้มอ่อนและเข้ มขึ ้นเรื่อยๆ ตามเวลา ทีส่ นิ ค้ าใกล้ หมดอายุ และสุดท้ ายจะกลายเป็ นสีแดงเมือ่ สินค้ านันหมดอายุ ้ ลง
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:19:02
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ชี้ทางรอดธุรกิจโรงพิมพ์ยุคดิจิตอล ...ออกแบบ-สร้างสรรค์-เพิ่มมูลค่า..
Smart Label สิ่ ง พิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ มี ส่วนประกอบของเทคโนโลยี ทางด้ าน IT ควบคูไ่ ปด้ วย เพื่ อ สร้ างยอดขายเพิ่ ม อรรถประโยชน์ และ มู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ สิ่ ง พิมพ์ บรรจุภณ ั ฑ์ และ สินค้ านันๆ ้ QR Code Technology คือ การสร้ างความ มัน่ ใจและปลอดภัยให้ แก่ ผู้ บริ โ ภคแทนการพิ ม พ์ ระบบเดิมที่ใช้ แค่ตัวเลข วัน หมดอายุ ซึ่ง ตัว เล็ ก และอ่ า นยาก โดยการ น�ำระบบ QR Code พิมพ์ ลงไปในฉลาก กล่ อ ง บรรจุภณ ั ฑ์ของยา หรือเครื่องส�ำอาง
ที่ต้องการข้ อมูลรายละเอียด และวิธีใช้ มากขึ ้นทังภาพ ้ ประกอบหรือวิดโี อผ่านแอพพลิเคชัน่ บนสมาร์ทโฟน ทีจ่ ะ ท�ำให้ ผ้ บู ริโภคได้ ทราบถึงรายละเอียดของสรรพคุณ หรือ วิธกี ารใช้ ยาทีถ่ กู ต้องอย่างปลอดภัย Cross Media Printing คือ การเชือ่ มเทคโนโลยี Digital Printing กับ Digital Data เข้ ากับฐานข้ อมูล ส่วนบุคคล เช่น ประวัตกิ ารบริโภคทีแ่ ตกต่าง Life Style โดยการพิมพ์ QR Code ลงบนสิง่ พิมพ์นนๆ ั ้ วิธีการนี ้ เป็ นเครื่ องมือทางการตลาด ประหยัดต้ นทุน รวดเร็ ว ตรงกลุม่ เป้าหมายอย่างแม่นย�ำ และสร้ างมูลค่าเพิม่ AR : Cross Media Printing คือ การน�ำเทคโนโลยี AR ซึง่ ย่อมาจาก Augmented Reality สามารถใช้กล้องจาก Smart Phone สแกนติดตามต�ำแหน่งของสัญลักษณ์บนสิง่ พิมพ์ หลังจากนันโปรแกรมจะท� ้ ำการสร้ างกราฟิ ก 2D หรือ ั้ อ่ นไหวและเสียงปรากฏ 3D Animation ซึง่ จะมีทงภาคเคลื ซ้อนขึ ้นมาในภาพนันๆ ้ ทัง้ หมดนี ค้ ือสิ่งที่โรงพิมพ์ ในยุ คดิจิตอล จะต้องพิจารณาเลือกน�ำมาใช้ควบคู่กบั การพิมพ์งาน ในระบบปกติ เพื่อเป็ นทางรอดและสร้ างความเติบโต ในอนาคต!! THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 51
SPECIAL REPORT
051 7/8/2558 11:19:05
TPM108_P1-78.indd 52
7/8/2558 11:19:06
TPM108_P1-78.indd 53
7/8/2558 11:19:07
PRINT NEWS
เปิดศูนย์ Canon Image Square สร้างประสบการณ์ด้านพิมพ์ภาพ
แม้ ในช่ ว งหลายปี ที่ ผ่ า นมา “แคนนอน ประเทศไทย” จะรุ กท� ำ ตลาดผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก ล้ องอย่ า งเข้ มข้ น จนท� ำ ให้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งพิ ม พ์ ข อง แคนนอน ไม่ โ ดดเด่ น เมื่ อ เที ย บกั บ แบรนด์อนื่ แต่ด้วยความเป็ นมืออาชีพเล็ง เห็นโอกาสดึงผลิตภัณฑ์ ทงหมดที ั้ ่มีอยู่ มาต่อยอดสร้ างเม็ดเงินท�ำรายได้ ท�ำให้ ล่าสุดได้ เห็นการจับมือกับ “โฟโต้ บัค” (Photo Bug) ลุย งานด้ า นการพิ ม พ์ ควบคูก่ ารขายกล้ อง เปิ ดตัวศูนย์บริ การ “Canon Image Square” ต้ นแบบสาขา แรกในเมืองไทย เพื่อสร้ างประสบการณ์ ด้ านการถ่ายภาพและพิมพ์ ภาพสุดล� ้ำ แบบครบวงจร พร้ อมหวังเพิ่มช่องทาง ค้ าปลีกผ่านระบบแฟรนไชส์ดนั ยอดขาย ทัว่ ประเทศ คุณวริ นทร์ ตันติพงศ์ พาณิช รองประธานกลุ่ม ผลิ ต ภัณ ฑ์ บริ ษั ท แคนนอน มาร์ เก็ตติง้ (ไทยแลนด์ ) จ� ำ กั ด เปิ ดเผยว่ า การเปิ ดศู น ย์ บริ ก าร “Canon Image Square”
054 TPM108_P1-78.indd 54
ผ่านระบบแฟรนไชส์เป็ นโมเดลธุรกิจใหม่ที่ต่อยอดความส�ำเร็ จมา จากศูนย์บริ การครบวงจร “Canon New Concept Store” ก่อนหน้ านี ้ ซึ่งคาดว่าจะช่วยกระตุ้นการเติบโตของแคนนอนในกลุ่มผลิตภัณฑ์ อิมเมจ คอมมูนิเคชัน่ โปรดักส์ (กล้ องและเลนส์) และกลุม่ ผลิตภัณฑ์ คอนซูเมอร์ ซิสเต็ม โปรดักส์ (พริ น้ เตอร์ และอุปกรณ์ พรี เซ็นเตชัน่ ) ในพื ้นที่ภมู ิภาคต่างๆ ทัว่ ประเทศได้ เป็ นอย่างดี “เราต้ อ งการสื ่ อ สารให้ ผู้ บ ริ โภคได้ รั บ รู้ ถึ ง องค์ ป ระกอบ และเทคโนโลยี ที ่ท�ำ ให้แคนนอนก้าวขึ้ น มาเป็ นผู้น� ำ ตลาดกล้อ ง ดิ จิตอลระดับโลกในปั จจุบนั จึ งออกแบบให้ศูนย์ บริ การ Canon Image Square เป็ นสถานที ่ พ บปะของผู้ที่ รั ก การถ่ า ยภาพซึ่ ง ทุกคนสามารถเดิ นเข้ามาอัพเดตเทคโนโลยี และทดลองสัมผัสสิ นค้า ใหม่ๆ ของแคนนอนได้ก่อนใคร รวมถึงข่าวสารกิ จกรรมอบรมต่างๆ ซึ่ งไม่เพี ยงจะช่วยเพิ่ มความสะดวกสบายให้กบั ลูกค้าในพื น้ ที ่ต่างๆ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:19:08
เปิดศูนย์ Canon Image Square สร้างประสบการณ์ด้านพิมพ์ภาพ
PRINT NEWS
แต่ ย ัง ช่ ว ยให้ เ ข้ า ถึ ง ลู ก ค้ า และสร้ า ง ความคุ้นเคยได้มากขึ้ น โดยเราจะมี ผู้ เชี ่ยวชาญคอยให้ความรู้ และตอบทุก ข้อสงสัยเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์โดยละเอียด” ทังนี ้ ้ร้ านโฟโต้ บัค เป็ นพันธมิตร ทางธุ ร กิ จ รายแรกที่ แ คนนอนวางใจ มอบแฟรนไชส์ให้ เปิ ดศูนย์บริการ Canon Image Square แห่งแรกในเมืองไทย โดยใช้ ชื่อว่า “Canon Image Square by Photo Bug” ตัง้ อยู่บนชัน้ 3 ของ ศูนย์ การค้ าเซ็นทรั ลพลาซา เชียงใหม่ แอร์ พอร์ ต จังหวัดเชียงใหม่ ซึง่ เป็ นหนึง่ ในเมืองท่องเที่ยวที่ส�ำคัญของประเทศ และยัง วางแผนที่ จ ะให้ ร้ านนี เ้ ป็ นร้ าน ต้ นแบบของ Canon Image Square สาขาอื่ น ที่ จ ะเปิ ดต่ อ ไปในอนาคตอี ก ด้ วย โดยทางบริ ษัทมีแผนที่จะเปิ ดสาขา ที่ 2 ในจังหวัดขอนแก่นเร็ วๆ นี ้ โดยภายในงานเปิ ดตัวศูนย์บริ การ Canon Image Square by Photo Bug สาขาแรกในประเทศไทยอย่างเป็ นทางการ ได้ รับเกียรติจากผู้บริ หารจากแคนนอน มร. อลัน ชึง ประธานบริ ษัท และประธานกรรมการบริหาร บริษทั แคนนอน มาร์ เก็ตติ ้ง (ไทยแลนด์) จ�ำกัด คุณศุภวัฒน์ กรรณกุลสุนทร กรรมการผู้จดั การ บริ ษัท โฟโต้ บัค จ�ำกัด สื่อมวลชน และแฟนคลับผลิตภัณฑ์แคนนอนมาร่วมแสดง ความยินดีกนั อย่างคับคัง่ โดยในงานยังมีกิจกรรมเวิร์คช็อปให้ ความรู้ โดยช่างภาพมืออาชีพอีกด้ วย ทังนี ้ “Canon ้ Image Square” เป็ นโมเดลธุรกิจค้ าปลีกระบบ แฟรนไชส์ของแคนนอนที่มีแพร่ หลายในหลายประเทศทั่วภูมิภาค เอเชีย โดยปั จจุบนั มีสาขารวมทังสิ ้ ้น 176 แห่ง ใน 9 ประเทศ ได้ แก่ บรูไน อินเดีย อินโดนีเซีย มาเลเซีย พม่า สิงคโปร์ ศรี ลงั กา เวียดนาม และไทย “แคนนอน” ขยับตัวทัง้ ที มักมีสีสันให้ เห็นอยู่เสมอ! THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 55
055 7/8/2558 11:19:08
PRINT NEWS
‘เอปสัน’เปิดตัว Epson SureColor F9270 เพิ่มทางเลือกธุรกิจพิมพ์สกรีน
‘เอปสัน’เปิดตัว
Epson SureColor F9270
เพิ่มทางเลือกธุรกิจพิมพ์สกรีน
“เอปสั น ” เปิ ดตั ว เครื่ องพิ ม พ์ Epson SureColor F9270 เพื่อเป็ นทางเลือกใหม่ สำ� หรั บ ธุ รกิจการพิมพ์ สกรี น ในงานพิมพ์ เสือ้ และงาน โฆษณาประเภทต่ างๆ ด้ วยระบบที่เพียบพร้ อม ทัง้ ความแข็งแกร่ งของหัวพิมพ์ และเทคโนโลยีการ ประหยัดหมึก เพิ่มโอกาสการแข่ งขันทางธุรกิจได้ เป็ นอย่ างดี คุณยรรยง มุนีมงคลทร ผู้จดั การทัว่ ไป บริ ษัท เอปสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด เปิ ดเผยว่า เอปสันได้ เปิ ด ตัวเครื่ องพิมพ์ Epson SureColor F9270 เพื่อเป็ น ทางเลือกใหม่ของธุรกิจการพิมพ์ผ้าและธุรกิจการพิมพ์ สกรี นที่เกี่ยวกับการพิมพ์เสื ้อยึดและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยว กับงานโฆษณาต่างๆ โดยจะช่วยเพิ่มศักยภาพในการ แข่งขันทางธุรกิจได้ เป็ นอย่างดี เพราะเป็ นเครื่ องพริ น้ เตอร์ ระบบ dye-sublimation ที่ใช้ PrecisionCore เทคโนโลยีหวั พิมพ์ของเอปสันถึง 2 หัว ส่งผลให้ พิมพ์ งานได้ อย่างรวดเร็ ว และให้ สีสนั โดดเด่น ลวดลายคม
056 TPM108_P1-78.indd 56
ชัด เหมาะกับการพิมพ์เสื ้อยืดธรรมดา ชุดกีฬา ไปจนถึง ปลอกหมอน ผ้ าปูที่นอน ผ้ าม่าน ธงต่างๆ อีกทังยั ้ ง สามารถพิมพ์ผ้าม้ วนแบบยกพับได้ อีกด้ วย จุดเด่นที่ส�ำคัญของเครื่ องพิมพ์ SC-F9270 ก็ คือความประหยัด สามารถพิมพ์งานจ�ำนวนมากได้ ด้วย ต้ นทุนต�่ำ เมื่อเทียบกันแบบต่อตารางเมตร เพราะเป็ น เครื่ องพิมพ์ระบบแท้ งค์แท้ ที่มีช่องหมึกความจุสงู แบบ 2 ช่อง ท�ำให้ สามารถพิมพ์งานได้ อย่างต่อเนื่องโดยไม่ ต้ องเปลีย่ นหรือเติมหมึกอยูบ่ อ่ ยๆ ช่วยประหยัดเวลาใน การท�ำงาน ส่วนหมึกพิมพ์ที่ใช้ เป็ นแบบ UltraChrome DS ซึง่ ต้ องการการบ�ำรุงรักษาหรือท�ำความสะอาดน้ อย มาก ยิ่งใช้ หมึกพิมพ์ HDK ซึง่ เป็ นหมึกด�ำความเข้ มสูง สามารถเลือกใช้ งานกับงานที่ต้องการค่าความลึกของ หมึกสีด�ำได้ เหนือกว่าหมึกด�ำธรรมดา และประหยัดน� ้ำ หมึกอีกด้ วย คุณยรรยง กล่าวว่า เอปสันเริ่ มเข้ ามาท�ำตลาด อย่างจริ งจังในในธุรกิจการพิมพ์สกรี นเมื่อ 3 ปี ที่แล้ ว
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:19:11
‘เอปสัน’เปิดตัว Epson SureColor F9270 เพิ่มทางเลือกธุรกิจพิมพ์สกรีน
เพราะมองเห็นถึงโอกาสทางธุรกิจที่เปิ ดกว้ าง ส�ำหรับ เทคโนโลยีการพิมพ์ระบบดิจิตอล เพราะอุตสาหกรรม นี ้เป็ นหนึ่งในอุตสาหกรรมหลักที่ขบั เคลื่อนเศรษฐกิจ ของประเทศ มีมูลค่าแต่ละปี มหาศาล มีผ้ ูประกอบ การหลายขนาดและจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลังจากทางรัฐบาลได้ ก�ำหนดนโยบายด้ าน เศรษฐกิจ ดิจิตอล (Digital Economy) ท�ำให้ ผ้ ปู ระกอบการใน อุตสาหกรรมนี ้ เริ่ มปรับตัวหันมาใช้ เทคโนโลยีดิจิตอล ในกระบวนการออกแบบและการผลิตมากยิ่งขึ ้น เพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ช่วยเพิ่มมูลค่าให้ กับตัวสินค้ า ขณะที่ชว่ ยลดต้ นทุนและลดระยะเวลาใน การเข้ าสูต่ ลาดได้ อย่างมีประสิทธิภาพ “เอปสัน ได้ น� ำ เสนอสิ น ค้ า ใหม่ ๆ เพื่ อ สร้ าง โซลูชั่นทางธุรกิ จให้ แก่ผ้ ูประกอบการอย่างต่อเนื่ อง จนในวันนี ้เอปสันกลายเป็ นแบรนด์ที่ค้ นุ เคย และเริ่ ม เข้ ามามีส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ ้นในกลุ่มธุรกิจเอสเอ็มอี ที่ต้องการอัพเกรดตัวเอง จากเดิมที่ใช้ ปริ๊ นเตอร์ ขนาด เล็ ก รั บ ออเดอร์ พิ ม พ์ เ สื อ้ ยื ด และของพรี เ มี ย ม และ กลุ่มโรงงานเสือ้ ผ้ าขนาดเล็กถึงขนาดกลาง รวมไป ถึงกลุ่มเจ้ าของแบรนด์เสื ้อผ้ าที่เคยใช้ ระบบการพิมพ์ สกรี น และรั บ ออเดอร์ จ� ำ นวนไม่ ม าก ซึ่ง ก้ า วต่ อ ไป ของเอปสัน คื อ การเข้ า ถึ ง กลุ่ม โรงงานเสื อ้ ผ้ า ขนาด
ใหญ่ที่มีไลน์การผลิตเสื ้อผ้ าจ�ำนวนมากระดับ mass production ซึง่ กลุม่ นี ้ปั จจุบนั ยังใช้ ระบบการพิมพ์ผ้า แบบอนาล็อกเป็ นหลัก เพื่อควบคุมต้ นทุนส�ำหรับการ ผลิตงานปริ มาณมาก เอปสันจึงต้ องการที่จะเข้ าไปน�ำ เสนอโอกาสในการขยายธุรกิจ โดยน�ำปริ๊ นเตอร์ ระบบ ดิจิตอลของเอปสันเข้ าไป รองรับงานที่ต้องการเน้ น คุณภาพสูง หรื อ made to order” นอกจากนี ้ คุ ณ ยรรยงมองว่ า ธุ ร กิ จ การ พิมพ์สกรี นไทยก�ำลังปรับตัวอย่างรวดเร็ ว การพิมพ์ ในระบบอนาล็อกไม่ใช่ค�ำตอบทัง้ หมดของธุรกิจอีก ต่อไป เนื่องจากระบบอนาล็อกเปิ ดช่องให้ เกิดข้ อผิด พลาดจากการท�ำงานของคน และกินเวลานานในช่วง การเตรี ยมเครื่ องก่อนใช้ งาน อีกทัง้ คุณภาพและรู ป แบบของงานดีไซน์ ก็ถูกจ�ำกัด ไม่ให้ มีความซับซ้ อน ท�ำให้ ไม่สามารถสร้ างสรรค์ผลงานที่มีความแตกต่าง ได้ ที่ส�ำคัญระบบอนาล็อกไม่สามารถรับออเดอร์ งาน ปริ มาณน้ อยได้ ท�ำให้ เสียโอกาสทางธุรกิจไป ดังนัน้ จึงเป็ นโอกาสดีสำ� หรับเอปสัน ทีจ่ ะผลัก ดันระบบดิจิตอลเข้ าไปสู่ธุรกิจมากยิ่งขึ ้น เพราะปริ๊ น เตอร์ ของเอปสันสามารถรองรับการพิมพ์งานจ�ำนวน �่ ผู้ประกอบการไม่ต้อง มากได้ ด้วยต้ นทุนการพิมพ์ที่ตำ กังวลในเรื่ องความคุ้มค่าในการลงทุน และเอปสันยัง เป็ นผู้ผลิตเครื่ องพิมพ์เพียงรายเดียวที่มีเทคโนโลยีหวั พิมพ์ หมึกพิมพ์ และระบบกลไกของเครื่ องเป็ นของตัว เอง จึงกล้ ารับประกันกับลูกค้ าได้ ในทุกด้ าน ไม่วา่ จะ เป็ นประสิทธิภาพการท�ำงานของเครื่ อง ความแม่นย�ำ เที่ยงตรง คุณภาพของสินค้ าและผลงานพิมพ์ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 57
PRINT NEWS
057
7/8/2558 11:19:11
PRINT NEWS
ทายาททางการพิมพ์ให้ความไว้วางใจเลือก คุณกอล์ฟ-ปิยะวัฒน์
นั่งเก้าอี้ประธานกลุ่ม Young Printer คนใหม่
คุณกอล์ ฟ-ปิ ยะวัฒน์ ปิ ยไพชยนต์ ได้ รับความไว้ ใจจาก สมาชิกทายาททางการพิมพ์ และเลือกตัง้ ให้ เป็ นประธานกลุ่ม Young Printer คนใหม่ หลังแสดงบทบาทโดดเด่ นในการร่ วมท�ำกิจกรรม ตลอดช่ วงที่ผ่านมา เผยจะมุ่งสืบทอดงานกิจกรรมให้มคี วามแข็งแกร่ ง และหลากหลายมากยิ่งขึน้ พร้ อมเปิ ดโอกาสให้คนรุ่นใหม่เข้าร่ วมอย่าง ไร้ ขดี จ�ำกัด สี สัน การจัด กิ จ กรรมของกลุ่ม ยัง ปริ๊ น เตอร์ (Young Printer Group) สมาคมการพิมพ์ไทย ฉายแววโดดเด่นอย่างน่าสนใจ เมื่อหนุ่มน้ อยนักจัดกิจกรรม “คุ ณกอล์ ฟ ปิ ยะวั ฒน์ ปิ ยไพชยนต์ ” ซึ่ง โดดเด่ น อย่ า งมากในบทบาทพิ ธี ก รได้ รับเลือกตังให้ ้ เป็ นประธานกลุ่มคนใหม่ ต่ อ จากคุ ณ ปรเมศวร์ ปรี ย านนท์ ประธานกลุม่ ฯ ที่หมดวาระลง ณ ห้ อง ประชุม โรงแรมเบย์ บีช รี สอร์ ท พัทยา เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2558 บรรยากาศการ เลื อ กตั ง้ ประธานกลุ่ ม ยั ง ปริ๊ นเตอร์ เป็ นไปด้ วยความ คึ ก คั ก โดยมี คุ ณ ธี ร ะ กิต ติธี ร พรชั ย กรรมการ สมาคมฯ และคุณปรเมศวร์ ปรี ยานนท์ ประธาน กลุ่มฯ ร่ วมเป็ นพิ ธีกรและ ด� ำ เนิ น การจัด การเลื อ กตัง้ ซึ่ ง การเลื อ กตัง้ มี ขั น้ ตอนคื อ
062 TPM108_P1-78.indd 62
จะท� ำ การลงคะแนนเสี ย งเลื อ ก ตั ง้ กรรมการก่ อ นให้ ได้ จ� ำ นวน 25 คน จากนันกรรมการทั ้ ง้ 25 คน ก็ จ ะท� ำ การสรรหาบุค คลขึ น้ เป็ น ประธานกลุม่ ฯ อีกครัง้ นี ้ ในเบื อ้ งต้ นมี ก ารเสนอ บุคคลชือ่ เข้ ารับเลือกตังเป็ ้ นกรรมการ กลุ่มยังปริ๊ นเตอร์ ชุดใหม่ จ� ำนวน 32 คนด้ วยกัน ซึง่ เกินกว่าเป้าหมาย จ�ำนวนกรรมการที่ก�ำหนดไว้ ดงั นัน้ จึงเปิ ดโอกาสให้ทกุ คนแนะน�ำชือ่ เสียง เรียงนามของตนเองก่อนเป็ นพิธี จาก นันจึ ้ งให้ สมาชิกฯท�ำการลงคะแนน เสียงเลือกตังให้ ้ ได้จำ� นวนเพียง 25 คน อย่างไรก็ตาม ในล�ำดับที่ 25 ซึง่ เป็ น ล�ำดับที่สดุ ท้ าย ปรากฏว่ามีผ้ ไู ด้ รับ คะแนนเท่ากัน 3 คน ทีป่ ระชุมจึงเห็น ควรให้ เข้ าร่วมเป็ นกรรมการด้ วยกัน ทังหมด ้ ดังนัน้ เบื ้องต้นกรรมการชุดนี ้ จึงมีทงหมด ั ้ 27 คน ทั ้ง นี ้ ผ ล ก า ร ป ร ะ ชุ ม กรรมการทัง้ 27 คนปรากฏว่า ได้ มอบหมายและเลือกให้ คุณกอล์ ฟ ปิ ยวัฒน์ ปิ ยไพชยนต์ รับหน้ าที่ เป็ นประธานกลุ่ ม ยั ง ปริ๊ น เตอร์
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:19:20
ทายาททางการพิมพ์ให้ความไว้วางใจเลือก คุณกอล์ฟ-ปิยะวัฒน์ นั่งเก้าอี้ประธานกลุ่ม Young Printer คนใหม่
คนใหม่ ซึ่งตรงกับ ความต้ องการ ของทายาททางการพิมพ์ส่วนใหญ่ เช่ น กัน สัง เกตได้ จ ากผลการลง คะแนนเลือกเป็ นกรรมการครัง้ แรก ที่มีการเทคะแนนเสียงให้ คณ ุ กอล์ฟ มากถึง 67 คะแนน ซึง่ สูงเป็ นอันดับหนึง่ คุ ณ กอล์ ฟ-ปิ ยะวั ฒ น์ ปิ ยไชยนต์ ประธานกลุ่ม Young Printer คนใหม่ กล่ า วภายหลัง ทราบผลการเลือกตังว่ ้ า จะสืบทอด การจัดกิจกรรมของกลุม่ ให้ ก้าวหน้ า ต่อไป โดยจะสร้ างเสริ มให้ มีความ
คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช
แข็งแกร่ งและหลากหลายมากขึน้ พร้ อมทังได้ ้ ขอบคุณยังปริ๊ นเตอร์ รุ่น บุกเบิก และรุ่นพีท่ งหลายก่ ั้ อนหน้ านี ้ ทีเ่ ป็ นตัวอย่างและสอนให้ เป็ นนักท�ำ กิจกรรมที่ดี เมื่อโอกาสนี ้มาถึงก็จะ ท�ำหน้ าที่การสานต่อให้ ดีที่สดุ คุ ณ กอล์ ฟได้ เชิ ญชวน ทายาททางการพิมพ์ทกุ คนด้ วยว่า แม้ ไม่ได้ เป็ นกรรมการ แต่หากใคร ประสงค์เข้ าร่วมท�ำกิจกรรมในกลุม่ ด้ ว ยก็ ไ ด้ และยิ น ดี ต้ อ นรั บ ทุก คน ที่ จ ะมาช่ ว ยกั น ท� ำ กิ จ กรรมของ
คุณเกรี ยงไกร เธี ยรนุกลุ
กลุม่ ฯ ให้ มคี วามแข็งแรงและเติบโต ไปด้ วยกัน พร้ อมกันนี ้ ได้ เชิญผู้ที่ มี ค ะแนนผลโหวตน้ อยและเพิ่ ง หลุ ด จากการเลื อ กตั ง้ เป็ นคณะ กรรมการ เข้ า เป็ นกรรมการเพิ่ ม อี ก ด้ วยทั ง้ หมด 5 คน ดั ง นั น้ คณะกรรมการชุ ด นี ้ จึ ง ถื อ ว่ า มี 32 คน ดังรายชื่อแนบท้ าย สอดรั บ กับ คุ ณ พงศ์ ธี ร ะ พัฒนพีระเดช อุปนายกสมาคม การพิ ม พ์ ไ ทย (ฝ่ ายการพิ ม พ์ ดิ จิ ต อล) ที่ ไ ด้ กล่ า วสนั บ สนุ น การท�ำกิจกรรมในฐานะรุ่ นพี่ที่เคย เป็ น Young Printer รุ่ น บุก เบิ ก เมือ่ 14 ปี ทแี่ ล้ ว โดยอยากให้ ทายาท ทางการพิมพ์ทกุ คนจ�ำภาพและสิ่ง ที่เกิ ดขึน้ ในวันนี ้ และรวมพลังกัน เพื่อผลักดันอุตสาหกรรมการพิมพ์ ไทยให้ เ ดิ น หน้ า ต่ อ ไป เนื่ อ งจาก ทุ ก วั น นี ้ต้ อ ง เ ผ ชิ ญ กั บ ค ว า ม ท้ าทายทุ ก รู ปแบบ ทั ง้ ในส่ ว น โซเชี่ยล เน็ตเวิร์ค และการตลาด รูปแบบใหม่ๆ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 63
PRINT NEWS
063 7/8/2558 11:19:26
PRINT NEWS
ทายาททางการพิมพ์ให้ความไว้วางใจเลือก คุณกอล์ฟ-ปิยะวัฒน์
นั่งเก้าอี้ประธานกลุ่ม Young Printer คนใหม่
“ สิ่ ง ห นึ่ ง ที ่ จ ะ ท� ำ ใ ห้ อุตสาหกรรมของเราเติ บโตต่อไปได้ คือ จะต้องรวมพลังกันเอาเทคโนโลยี ใหม่ๆ เอาความรูใ้ หม่ๆ ก�ำลังของคน รุ่นใหม่ เสี ยสละร่ วมแรงร่ วมใจกัน เพื ่อ ท� ำ ให้ อุต สาหกรรมการพิ ม พ์ ไทยของเราเดิ นหน้ า ต่ อ ไปได้ วัน หนึ่ ง ข้ า งหน้ า หลายคนในที ่ นี้ ก็ยงั จะต้องเติบโตและไปเป็ นกรรมการ สมาคมการพิ มพ์ไทยชุดใหญ่ในรุ่น ต่อๆ ไป ดังนัน้ ในการประชุมสมาคมฯ แต่ละครัง้ ก็อยากให้นอ้ งๆ ยังปริ๊ นเตอร์ ไปร่วมประชุมด้วย เพือ่ วันหนึง่ น้องโต มาเป็ นผูใ้ หญ่และเข้าร่วมเป็ นกรรมการ ก็จะได้สานต่อกิ จกรรมของสมาคมฯ ได้เลย” ทางด้ า นคุ ณ เกรี ย งไกร เธี ยรนุ กุ ล รองประธานสภา อุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย ซึง่ ได้ ให้ เกียรติมอบช่อดอกไม้ แสดง ความยินดีต่อประธานกลุ่มยังปริ๊ น
เตอร์ คนใหม่ และกล่าวให้ โอวาท แก่ ส มาชิ ก ยั ง ปริ๊ นเตอร์ ด้ วยว่ า ขอแสดงความยิ น ดี กั บ ประธาน ยัง ปริ๊ น เตอร์ แ ละคณะกรรมการ ชุดใหม่ และขอสนับสนุนค�ำกล่าว ของคุณกอล์ ฟที่เรี ยนเชิญชวนทุก ท่ า นเข้ าร่ ว มท� ำ กิ จ กรรมด้ ว ยกั น เพราะสมาคมการพิ มพ์ ไทยไม่ได้ เป็ นของใครคนใดคนหนึง่ แต่เป็ นของ คนในอุตสาหกรรมการพิมพ์ทกุ คน สมาคมการพิมพ์ไทยมีอายุ 69 ปี ซึง่ คงมีน้อยนักทีจ่ ะมีสมาคมใด ในประเทศไทยทีม่ อี ายุยนื ยาวมาได้ เท่านี ้ ปั จจุบนั มีที่ท�ำการถาวรอยูท่ ี่ ถนนพระราม 9 และก�ำลังมีโครงการ กิ จ กรรมที่ จ ะเกิ ด ขึ น้ ในเร็ ว ๆ นี ้ เกี่ ย วกับ เรื่ อ งการออกแบบ การ เตรี ย มพิ ม พ์ การดี ไ ซน์ เรื่ อ งของ ดิจิตอลปริ๊ นติ ้ง แล้ วก็เรื่ องการเพิ่ม มูลค่าในงานพิมพ์ ซึง่ ตรงนี ้จะเป็ น ประโยชน์ตอ่ อุตสาหกรรมการพิมพ์
จึงอยากจะเชิญชวนทายาททางการ พิมพ์ทกุ คนให้ ไปเข้ าร่วมด้ วย “ ผ ม เ ชื ่ อ ว่ า ภ า ย ใ ต้ การด� ำ เนิ นของคณะกรรมการ ยังปริ๊ นเตอร์ ชุดนี ้ จะสามารถสาน ต่อกิ จกรรมเหล่านีไ้ ด้ ซึ่งผูท้ ีด่ ูแลคือ คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายก สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย ฝ่ ายการ พิ มพ์ ดิจิตอล โดยเฉพาะอย่ างยิ่ ง อุตสาหกรรมการพิมพ์ของเรามีการ ตัง้ เป้ าหมายว่า จะเป็ นศูนย์ กลาง การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ในภูมิภาค ดั ง นั้ น เราจะเป็ นคนรุ่ นใหม่ ที ่ จ ะบุ ก เบิ กเข้ า ไปยั ง ประเทศ เพื ่อ นบ้ า น เราจะไม่ ต ั้ง รั บ อยู่ ใ น ประเทศไทยอย่ า งเดี ย วอี ก ต่ อ ไป จึ งขอให้ ทุ ก คนเข้ า มาร่ วมและ เป็ นพลัง ผลัก ดัน การจัด กิ จ กรรม และเป็ นก� ำลังส� ำคัญของสมาคมฯ และอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ไ ทย ต่อไป” คุณเกรียงไกร กล่าวในตอนท้าย
รายชื่อประธานกลุ่มยังปริ๊นเตอร์ ตงั ้ แต่ ยุคแรกจนถึงปั จจุบนั Y1
Y2
Y3
Y4
Y5
Y6
064 TPM108_P1-78.indd 64
Y1.คุณวรสิ ทธิ์ เทวอักษร บริ ษัท ไทยร่ มเกล้า จ� ำกัด Y2.คุณวิ ทยา อุปริ พทุ ธิ พงศ์ หจก. โรงท�ำสมุดเม้งฮัว้ Y3.คุณอภิ ชยั จิ วจั ฉรานุกูล บริ ษัท รุ่งศิ ลป์ การพิ มพ์ (1977) จ� ำกัด Y4.คุณสุวิทย์ เพียรรุ่งโรจน์ บริ ษัท พี.รุ่งโรจน์ การพิ มพ์ จ� ำกัด Y5.คุณปรเมศวร์ ปรี ยานนท์ หจก. บี .บี . การพิ มพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ Y6.คุณปิ ยะวัฒน์ ปิ ยไพชยนต์ บริ ษัท ปิ ยะวัฒน์การพิ มพ์ จ� ำกัด
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:19:34
PRINT NEWS
ทายาททางการพิมพ์ให้ความไว้วางใจเลือก คุณกอล์ฟ-ปิยะวัฒน์ นั่งเก้าอี้ประธานกลุ่ม Young Printer คนใหม่
รายชื่อคณะกรรมการ Young Printer Group วาระปี 2558/60 1.คุณปิ ยะวัฒน์ ปิ ยไพชยนต์ (ประธาน) ปิ ยะวัฒน์การพิมพ์ บจก. 2.คุณอภิเชษฐ์ เอื ้อกิจธโรปกรณ์ (รองประธาน) เอส โอ ฟูล พริ น้ ติ ้ง เซอร์ วิส บจก. 3.คุณฐานิพรรณ เอื ้อจงประสิทธิ์ (รองประธาน) สามเจริ ญพาณิชย์ (กรุงเทพ) บจก. 4.คุณปฐพี วัฒนเวชวิจิตร (รองประธาน) พิมพ์พิจิตร บจก. 5.คุณนริ สสรา เฉลิมชัยชาญ เจนเนอรัล คอมพิวเตอร์ บจก. 6.คุณทิพย์นารี วงศ์ทวีเกียรติ วี เจ พริ น้ ติ ้ง หจก. 7.คุณธัญญวัฒน์ เตวชิระ เอ็ม.พี.ลักก์ ยูวี บจก. 8.คุณนิรวิทย์ ลิมวรเกียรติ์ โตก้ าแมช บจก. 9.คุณวิสทุ ธิ์ จงพิพฒ ั น์ยิ่ง ส�ำนักพิมพ์เลีย่ งเชียง พียรเพือ่ พุทธศาสน์ บจก. 10.คุณพิมพ์สริ ิ เหลืองเจริ ญนุกลุ ก.พล (1996) บจก 11.คุณณภัทร วิวรรธนไกร ไซเบอร์ พริ น้ ท์ บจก. 12.คุณธวัชชัย เฉลยวุฒิโรจน์ สุพรชัย ไดคัท หจก. 13.คุณจิรานุช ชุนเจริ ญ พงศ์พฒ ั น์การพิมพ์ หจก. 14.คุณธนเดช เตชะทวีกิจ จอยปริ น้ ท์ บจก. 15.คุณพรรณธิการ์ วรรณศิริกลุ เกรย์ แมทเทอร์ บจก. 16.คุณรัฐวิชญ์ เอกพงษ์ ไพศาล คุณกระดาษ(ประเทศไทย) บจก.
17.คุณชูพินิจ ไตรจักร์ วนิช ซี.เอ็น.ซี.ยูเนี่ยน บจก. 18.คุณธนวัฒน์ เตชะกิจวิบลู ย์ ต.กิจวิบลู ย์เทรดดิ ้ง บจก. 19.คุณวิธวัช คูหารัตนไชย ยู คัลเลอร์ ปริ น้ ต์ บจก. 20.คุณนัทธมน ปาละวงศ์ เหรี ยญไทยบุญกิจ บจก. 21.คุณกร เธียรนุกลุ นิวไวเต็ก บจก. 22.คุณอภิชยั คงไทยเสรี กลุ เนชัน่ ไวด์ บจก. 23.คุณชนิดา จินดาปราณีกลุ บีเค อินเตอร์ พริ น้ ท์ บจก. 24.คุณรติ พันธจารุนิธิ ฝาหมิน เพรส บจก. 25.คุณวรวรรษ รักวงษ์ พลัสเพรส บจก. 26.คุณกฤช ปานะภาค เอส.พี.เอส.อิ ้งค์ (ไทยแลนด์) บจก. 27.คุณณัชชา ธรวงศ์ธวัช ไฟว์ แอนด์ โฟร์ พริ น้ ติ ้ง บจก. 28.คุณกิตติศกั ดิ์ ชลชลาธาร ถาวร เลเบิล แอนด์ ริ บบอน บจก. 29.คุณสุกิจ ปริ ญญาปริ วฒ ั น์ เทียมเซ่งเฮงอุตสาหกรรม 30.คุณอรรถพล พัฒนเสถียรกุล โฟร์ แบท อินโนเวชัน่ พริ น้ ติ ้ง บจก. 31.คุณชัยริ นทร์ อินทุวิศาลกุล ยู คัลเลอร์ ปริ น้ ต์ บจก. 32.คุณสารัช คล่องเวสสะ ศรี สยามการพิมพ์ บจก. THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 65
065 7/8/2558 11:19:38
PRINT KNOWLEDGE
การล้างลูกกลิ้งอย่างถูกวิธีในระบบออฟเซ็ตหมึกพิมพ์ยูวี
การล้างลูกกลิ้งอย่างถูกวิธี ในระบบออฟเซ็ตหมึกพิมพ์ยูวี ในคราวที่แล้ ว ผมได้ พดู ถึงการล้ างลูกกลิง้ อย่ างไรให้ ปลอดภัยและ Go Green ไปแล้ ว ซึ่งใน คราวที่แล้ วนั น้ จะเป็ นระบบออฟเซ็ตหมึกพิมพ์ ธรรมดา และน�ำ้ ยาล้ างลูกกลิง้ หมึกพิมพ์ ธรรมดา ในคราวนี จ้ ะมาแนะน�ำกันถึงการล้ างลูกกลิง้ ใน ระบบพิมพ์ ออฟเซ็ตหมึกพิมพ์ ยูวี และน�ำ้ ยาล้ าง ลูกกลิง้ ส�ำหรั บหมึกพิมพ์ ยูวีกันบ้ างครั บ ระบบพิมพ์ ออฟเซ็ตที่ใช้ หมึกพิมพ์ ยูวี เริ่ มมี การใช้ กนั เพิ่มขึ ้นในระยะเวลาไม่กี่ปีที่ผา่ นมา ถึงแม้ วา่ ต้ นทุนของการพิมพ์ ด้วยหมึกพิมพ์ ยูวีจะสูงกว่าหมึก พิมพ์ธรรมดาก็ตาม แต่เนื่องจากข้ อดีของหมึกพิมพ์ยวู ี ที่ให้ ภาพพิมพ์ที่สดใสสวยงามและสามารถแห้ งตัวได้ ทันทีเมื่อพิมพ์งานเสร็จ ท�ำให้ สามารถย่นระยะเวลาได้ มากขึ ้น สามารถน�ำชิ ้นงานไปเข้ าสู่กระบวนการหลัง พิมพ์ได้ ทนั ที และยังสามารถพิมพ์ลงบนวัสดุได้ หลาก หลายชนิดอีกด้ วย อย่างไรก็ดี โรงพิมพ์หลายแห่งอาจจะประสบ กับปั ญหาบางประการ เมื่อเริ่ มใช้ ระบบพิมพ์ออฟเซ็ต หมึกพิมพ์ยวู ี เนื่องจากหมึกพิมพ์ยวู ีนนั ้ ต้ องการวัสดุ และอุปกรณ์เฉพาะบางอย่างในการพิมพ์ ที่ไม่เหมือน
066 TPM108_P1-78.indd 66
พิ ชิต วงศ์อ�ำนิ ษฐกุล บริ ษัท แอลฟา โปร เคมี คอล จ� ำกัด
กับออฟเซ็ตหมึกพิมพ์ธรรมดา โรงพิมพ์หลายแห่งคิดว่า แค่เปลี่ยนชนิดของหมึกพิมพ์ และเพิ่มยูนิตแสงอัลตร้ า ไวโอเลตก็ เ พี ย งพอแล้ ว ทัง้ ๆ ที่ ค วามเป็ นจริ ง แล้ ว สิง่ ส�ำคัญทีต่ ้ องเปลีย่ นเพือ่ ให้ สามารถใช้ พมิ พ์หมึกพิมพ์ ยูวีได้ มีหลายสิง่ ได้ แก่ ลูกกลิ ้งหมึก ระบบลูกน� ้ำ เพลท น� ำ้ ยาล้ า งลูก กลิ ง้ เป็ นต้ น แต่ ใ นที่ นี ผ้ มจะเน้ นไป ที่ปัญหาของลูกกลิ ้ง และน� ้ำยาที่ใช้ ล้างลูกกลิ ้งส�ำหรับ หมึกพิมพ์ยวู ี
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:19:41
การล้างลูกกลิ้งอย่างถูกวิธีในระบบออฟเซ็ตหมึกพิมพ์ยูวี
ในโรงพิ ม พ์ ที่ ใช้ ระบบพิ ม พ์ ออฟเซ็ ต หมึ ก พิ ม พ์ ยู วี อาจจะเคยพบกั บ ปั ญหาเหล่ า นี ้ มาก่ อน เช่ น 1. ล้ างหมึกพิมพ์ ยูวีไม่ออก หรื อไม่สะอาด อย่างที่ต้องการ 2. ลูกกลิ ้งเสียเร็วมาก ต้ องเปลี่ยนบ่อยๆ 3. น� ้ำยาล้ างหมึกพิมพ์ยวู ีมีกลิน่ ฉุน 4. เพลทหลุดเมื่อโดนน� ้ำยาล้ างหมึกพิมพ์ยวู ี 5. ล้ างลูกกลิ ้งเสร็จแล้ ว พอขึ ้นสีใหม่ พิมพ์งาน แล้ วหมึกไม่ยดึ ติดกับวัสดุที่ใช้ พิมพ์ ลองมาดูสาเหตุ และวิธีแก้ กันครั บ จริ งๆ แล้ ว ในระบบพิมพ์ที่ใช้ หมึกพิมพ์ยวู ีนนั ้ ขันตอนในการล้ ้ างลูกกลิ ้งก็ไม่แตกต่างจากระบบพิมพ์ หมึกพิมพ์ธรรมดาเท่าใดนัก ซึง่ การล้ างทีถ่ กู วิธีกม็ ี 3 ขัน้ ตอน เหมือนกับการล้ างในระบบพิมพ์หมึกธรรมดา คือ ต้ อ งล้ า งด้ ว ยน� ำ้ ยาล้ า งลูก กลิง้ ส� ำ หรั บ หมึก พิ ม พ์ ยูวี น� ้ำเปล่า และครี มฟอกลูกกาว ซึ่งน� ้ำยาที่ใช้ ล้างหมึก พิมพ์ยวู นี ี่เอง ทีม่ คี ณ ุ สมบัตไิ ม่เหมือนกับน� ้ำยาล้ างหมึก พิมพ์ธรรมดา
PRINT KNOWLEDGE
หมึกพิมพ์ยวู ตี า่ งจากหมึกพิมพ์ธรรมดา ตรงวิธี การแห้ งตัวและยึดติดกับพื ้นผิวของวัสดุที่ใช้ พิมพ์ โดย หมึกพิมพ์ยวู ีต้องได้ รับแสงอัลตร้ าไวโอเลต ส่วนหมึก พิมพ์ธรรมดาจะแห้ งด้ วยการระเหยของตัวท�ำละลาย ประเภทน� ้ำมันในหมึกพิมพ์ ซงึ่ จากคุณสมบัตขิ องหมึก พิ มพ์ ที่แตกต่างกันนี ้ ท� ำให้ หมึกพิ มพ์ ทัง้ 2 อย่างนี ้ ต้ องการตัวท�ำละลายสีที่แตกต่างกัน (ความเป็ นขัวของ ้ ตัวท�ำลายตรงข้ ามกัน) ดังนัน้ ในการล้ างหมึกพิมพ์ยวู ีจะไม่สามารถ ใช้ น� ้ำมันก๊ าด หรื อน� ้ำยาล้ างลูกกลิ ้งหมึกพิมพ์ธรรมดา มาใช้ ล้างสีได้ เพราะเป็ นการใช้ น� ้ำยาผิดประเภทนัน่ เอง และนอกจากจะล้ า งสี ไ ม่ อ อกแล้ ว การใช้ น� ำ้ ยาผิ ด ประเภท จะท�ำเกิดความเสียหายให้ กบั ลูกกลิ ้งส�ำหรับ หมึกพิมพ์ยวู ีอีกด้ วย ลูกกลิง้ ในระบบพิมพ์ ออฟเซ็ตหมึกพิมพ์ ยู วีนัน้ มีอยู่ 2 ประเภท 1. ลูกกลิ ้งยางซึง่ ใช้ ส�ำหรับพิมพ์หมึกพิมพ์ยวู ี เพียงอย่างเดียว ใช้ ยางยูวีประเภท EPDM (Ethylene Propylene Diene Rubber) ลูกกลิ ้งยางประเภทนี ้จะ ไม่สามารถใช้ พิมพ์หมึกพิมพ์ธรรมดา หรื อใช้ น� ้ำยาล้ าง หมึกพิมพ์ธรรมดา หรื อน� ้ำมันก๊ าด หรื อน� ้ำยาล้ างหมึก พิมพ์ยวู ที มี่ ีสว่ นผสมของสารอะโรมาติกไฮโดรคาร์ บอน THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 67
067 7/8/2558 11:19:42
PRINT KNOWLEDGE
การล้างลูกกลิ้งอย่างถูกวิธีในระบบออฟเซ็ตหมึกพิมพ์ยูวี
ได้ เลย หากน�ำไปใช้ ลกู กลิ ้งจะเสียหายอย่างรวดเร็ ว เพราะตัวท�ำละลายประเภทน� ำ้ มันในหมึกพิมพ์ และ น� ำ้ ยาล้ า งจะเข้ า ไปท� ำ ลายโครงสร้ างของยาง โดย ช่างพิมพ์ต้องใช้ น� ้ำยาล้ างลูกกลิ ้งส�ำหรับหมึกพิมพ์ยวู ี ในการล้ างเท่านัน้ 2.ลูกกลิ ้งยางไฮบริ ด ใช้ ยาง NBR Modified (Acrylonitrile-Butadiene-Rubber Modified) สามารถ ใช้ พิมพ์ได้ ทงหมึ ั ้ กพิมพ์ยวู ีและหมึกพิมพ์ธรรมดา ส่วน การล้ างลูกกลิ ้งประเภทนี ้ ถ้ าหากพิมพ์ในระบบหมึก พิ ม พ์ ยูวี ให้ ใ ช้ น� ำ้ ยาล้ า งหมึก พิ ม พ์ ยูวี ล้ า งท� ำ ความ
068 TPM108_P1-78.indd 68
สะอาดลูกกลิ ้ง แต่ถ้าหากพิมพ์ในระบบหมึกธรรมดา ให้ ใช้ น� ้ำยาล้ างลูกกลิ ้งหมึกพิมพ์ธรรมดาล้ างท�ำความ สะอาดลูกกลิ ้ง หรื ออาจจะใช้ น� ้ำยาล้ างลูกกลิ ้ง 2 ระบบ เพียงชนิดเดียวมาใช้ ล้างก็ได้ แต่มขี ้ อเสียคือ ในบางครัง้ อาจจะล้ างหมึกพิมพ์ยวู ีได้ ไม่สะอาดเท่าที่ควร ดังนัน้ ถ้ าไม่เป็ นการยุ่งยากเกินไป ควรใช้ น�ำ้ ยาล้ างลูกกลิ ้ง ตามประเภทของหมึกพิมพ์ จะให้ ผลลัพธ์ ในการล้ าง ได้ ดีที่สดุ ส�ำหรับลูกกลิ ้งยางประเภทนี ้ ปั ญ หาที่ เ กิ ด จากการใช้ ลูก กลิ ง้ ผิ ด ประเภท โดยไปใช้ ลกู กลิ ้งยางส�ำหรับหมึกพิมพ์ธรรมดา (ยาง NBR -Acrylonitrile-butadiene-rubber) มาใช้ พิมพ์ หมึกพิมพ์ยวู ี ผลคือ ลูกกลิ ้งจะเสียหายอย่างรวดเร็ ว เวลาล้ างลูกกลิ ้งก็จะล้ างได้ ไม่สะอาด ถึงแม้ ว่าจะใช้ น� ้ำยาล้ างลูกกลิ ้งส�ำหรับหมึกพิมพ์ยวู ีก็ตาม เนื่องจาก ตัวท�ำละลายจากหมึกพิมพ์จะเข้ าไปท�ำลายโครงสร้ าง ของยางให้ เสียหาย และเมือ่ ล้ างลูกกลิ ้งด้ วยน� ้ำยาล้ างลูกกลิ ้งหมึก พิมพ์ยูวีเสร็ จแล้ ว เมื่อเริ่ มพิมพ์สีใหม่อาจพบปั ญหา พิมพ์สีแล้ วไม่ยดึ เกาะวัสดุอีกด้ วย สาเหตุก็เป็ นเพราะ น� ้ำยาล้ างลูกกลิ ้งหมึกพิมพ์ยวู ี ยังหลงเหลืออยู่บนผิว หน้ ายางของลูกกลิ ้งนัน่ เอง และเมื่อน�ำลูกกลิ ้งกลับมา ใช้ พิมพ์ด้วยหมึกพิมพ์ธรรมดาก็อาจจะไม่สามารถใช้ งานได้ ดเี ช่นเดิม เพราะผิวหน้ ายางที่ใช้ ในการถ่ายทอด หมึกพิมพ์ของลูกกลิ ้งได้ เสียหายไปแล้ ว เมื่อเรารู้ ประเภทของยางแล้ ว ลองมาดู คุ ณ สมบั ติ ข องน� ้ำ ยาล้ างลู ก กลิ ้ง หมึ ก พิ ม พ์ ยูวีกันบ้ าง
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:19:43
การล้างลูกกลิ้งอย่างถูกวิธีในระบบออฟเซ็ตหมึกพิมพ์ยูวี
1.สามารถละลายหมึกพิมพ์ยวู ีได้ ดี 2.ไม่มีกลิน่ ฉุน 3.ไม่มี ส่ว นผสมของสารอะโรมาติ ก ไฮโดร คาร์ บ อน ท� ำ ให้ ป ลอดภัย ต่ อ ผู้ใ ช้ สิ่ ง แวดล้ อ มและ ลูกกลิ ้งยาง 4.ระเหยช้ า เพราะจะอยูบ่ นลูกกลิ ้งได้ นานเพื่อ ท�ำละลายสี ท�ำให้ ปริ มาณการใช้ น้อย 5.สามารถใช้ ผสมกับน� ้ำได้ ท�ำให้ ล้างได้ สะอาด มากขึ ้น 6.ช่วยบ�ำรุงรักษาลูกกลิ ้งให้ มีอายุการใช้ งานที่ นานขึ ้น การใช้น�้ำยาล้างหมึ กพิ มพ์ ยูวี ที ่มีส่วนผสม ของสารอะโรมาติ กไฮโดรคาร์ บอน ซึ่งมีราคาถูกกว่า แต่ ว่าความจริ งแล้วจะส่งผลเสี ยหลายอย่างในระยะยาว ซึ่ งข้อเสี ยของสารอะโรมาติ กไฮโดรคาร์ บอนนัน้ มี ทงั้ สร้างความเสียหายของลูกกลิ้ ง เป็ นพิ ษต่อสิ่ งแวดล้อม เป็ นพิ ษต่อผูใ้ ช้งานและผูท้ ีอ่ ยู่ในโรงพิ มพ์ดว้ ย
PRINT KNOWLEDGE
และเมื่อเราใช้ ลกู กลิ ้งและน� ้ำยาล้ างลูกกลิ ้งที่ ถูกประเภทแล้ ว ก็ยงั อาจจะพบปั ญหาเพิ่มเติมได้ เช่น เพลทหลุดลอก เมื่อโดนน� ้ำยาล้ างหมึกพิมพ์ยวู ี ซึง่ จริงๆ แล้ ว เพลทที่ใช้ ในการพิมพ์ระบบยูวี ควรจะต้ องผ่าน กระบวนการอบเพลท จึงจะสามารถแก้ ปัญหานี ้ได้ หรือ ถ้ าไม่ก็ต้องถอดชุดเพลทออกก่อนการล้ างลูกกลิ ้ง เพื่อ ป้องกันความเสียหาย จะเห็นว่าในการพิมพ์ด้วยระบบหมึกพิมพ์ยวู ี นัน้ มีรายละเอียดที่ต้องศึกษาท�ำความเข้ าใจ เนื่องจาก หมึกพิมพ์ทงั ้ 2 ประเภทนี ้จริงๆ แล้ วแตกต่างกันมาก ถึง แม้ วา่ มองผิวเผินทางลักษณะภายนอกอาจจะดูเหมือน กัน แต่ความไม่เข้ าใจเหล่านี ้ได้ สร้ างปั ญหาจุกจิกกวน ใจให้ กบั โรงพิมพ์มาแล้ วหลายแห่ง สูญเสียเวลาในการ ท�ำงาน และสูญเสียค่าใช้ จา่ ยในการแก้ ไขปั ญหา ดั ง นั ้น ถ้ า หากโรงพิ ม พ์ ไ หนสนใจที่ จ ะ เปลี่ยนมาใช้ หมึกพิมพ์ ยวู ี ก็อย่ าลืมศึกษาท�ำความ เข้ าใจกันก่ อนนะครั บ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 69
069 7/8/2558 11:19:43
PRINT NEWS
‘ได นิปปอน ปริ้นท์ติ้ง’ จับมือ ‘ชูโอ เซ็นโก’ สร้างพันธมิตรขยายฐานลูกค้า
เจาะตลาดกลุ่มลูกค้าญี่ปุ่น-อาเซียน
“ได นิปปอน ปริ น้ ท์ ติง้ ” ประกาศจับมือ เป็ นพันธมิตรทางธุรกิจกับเอเยนซี่ยกั ษ์ ใหญ่ “ชูโอ เซ็นโก” เสริมสร้ างความแข็งแกร่ งด้ านบริการ รวม ทัง้ ตอบโจทย์ ความต้ องการของลูกค้ าแบบครบ วงจร ด้ วยธุ รกิจในรู ปแบบต่ างๆ ที่ครอบคลุ ม บริ การสื่อสารการตลาด จับกลุ่มลูกค้ านักลงทุน ญี่ปุ่นและกลุ่มประเทศอาเซียน ชูความเชี่ยวชาญ ด้านธุรกิจสิ่งพิมพ์ บรรจุภณ ั ฑ์ การออกแบบดิสเพลย์ สินค้ าไลฟ์สไตล์ และอุปกรณ์ อเิ ล็กทรอนิกส์ ต่างๆ โดยมีบริษทั แม่ ท่แี ข็งแกร่ งในประเทศญี่ปนุ่ ร่ วมวาง กลยุทธ์ พฒ ั นาลูกค้ ารายใหม่ ๆ มร.โยชิโทชิ คิทาจิมา (Yoshitoshi kitajima) ประธาน บริษัท ได นิปปอน ปริน้ ท์ ตงิ ้ จ�ำกัด หรื อ DNP เปิ ดเผยว่า บริษทั ฯ ได้ ขยายฐานจากประเทศญี่ปนุ่
070 TPM108_P1-78.indd 70
มาเริ่ มท�ำธุรกิจให้ บริ การในประเทศไทย, อินโดนีเซีย, สิ ง คโปร์ แ ละเวี ย ดนาม มาเป็ นระยะเวลาหนึ่ง แล้ ว ปั จจุบนั ให้ บริ การครอบคลุมทังการพิ ้ มพ์ การท�ำไอซี การ์ ด การผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ การท�ำธุรกิจรับจ้ างบริ หาร ระบบ Business Process Outsourcing : BPO และ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:19:45
‘ได นิปปอน ปริ้นท์ติ้ง’ จับมือ ‘ชูโอ เซ็นโก’ สร้างพันธมิตรขยายฐานลูกค้า เจาะตลาดกลุ่มลูกค้าญี่ปุ่น-อาเซียน
การให้ บริ การด้ านการส่งเสริ มการตลาดทุกประเภท ส�ำหรับความร่ วมมือเป็ นพันธมิตรกับบริ ษัท ชูโอ เซ็นโก (ประเทศไทย) จ�ำกัด(มหาชน) ในครัง้ นี ้ ถือเป็ นครัง้ แรกที่บริ ษัทฯ จะได้ เป็ นผู้ให้ บริ การด้ านการ ตลาดครอบคลุมทุกประเทศในกลุม่ อาเซียน เนื่องจาก บริ ษัทชูโอฯ มีฐานลูกค้ าอยู่เกื อบทุกประเทศ โดยที่ ประเทศไทยและตลาดอาเซียนมีศกั ยภาพและเติบโต อย่างรวดเร็ วในช่วงหลายปี ที่ผ่านมา ท�ำให้ นกั ลงทุน ชาวญี่ ปุ่นจ�ำนวนมากให้ ความสนใจ และคาดว่าจะ มี บริ ษัทญี่ ปุ่นมาลงทุนเพิ่มขึน้ อย่างต่อเนื่ อง ดังนัน้ ดีเอ็นพี จึงตัดสินใจมาท�ำธุรกิจในตลาดนี ้อย่างจริ งจัง เพือ่ รองรับการเข้ ามาลงทุนของชาวญี่ปนที ุ่ ป่ ระเทศไทย และการลงทุนในภูมิอาเซียน “นับเป็ นการมองไปข้างหน้าอย่างมี วิสยั ทัศน์ ทีด่ ี โดยพันธมิ ตรจะช่วยยกระดับและขยายฐานลูกค้า รวมทัง้ การให้บริ การโดยชู โอเซ็ นโก (ประเทศไทย) และการท� ำงานร่ วมกัน ซึ่ งจะได้รับการสร้ างสรรค์ ขึ้น เพือ่ ใช้งานร่ วมกัน อี กทัง้ มี ความรู้และพร้อมที จ่ ะแลก
PRINT NEWS
มร.โยชิ โทชิ คิ ทาจิ มา
“ชูโอ เซ็นโก” มีความสามารถในการวางแผนและ ้ การพัฒนา รวมทังการแก้ ปัญหาต่างๆ ขณะที่ ดีเอ็นพี จะให้ การสนับสนุนส�ำหรับการวางแผนของกลยุทธ์การ ้ สร้ างแบรนด์และการพัฒนาการตลาด รวมทังมาตรการ ส่งเสริ มการขาย เช่น โฆษณาและกิจกรรมพร้ อมกับ การตลาดดิจิตอล ฯลฯ “การสนับ สนุน จะมี ก ารเสนอให้ กับ บริ ษั ท ฯ ท้ องถิ่ นในกลุ่มประเทศอาเซียน รวมทัง้ วางกลยุทธ์ การสร้ างตราสินค้ าออกมาเพื่อเพิ่มภาพลักษณ์การท�ำ ธุรกิจและกิจกรรมเพื่อสังคม เหมือนกับการท�ำธุรกิจ ในประเทศญี่ปน นอกจากนี ุ่ ้ ยังจะมีการวางแผนการ พัฒนาและการด�ำเนินการของโชว์รูมและทัวร์ โรงงาน” “เราพร้ อมจะน� ำเสนอโซลูชั่นที่ ออกแบบมา แบบลึกมากขึ ้น เพื่อการสื่อสารกับผู้บริ โภคและบริ ษัท เปลี ่ยนบุคลากรในการขยายธุรกิ จในตลาดอาเซี ยน ที่ทำ� ธุรกิจและต้ องการมีสว่ นร่วมในตลาดอาเซียน และ ทีอ่ ยู่ระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิ จทีโ่ ดดเด่น” นอกเหนือไปจากการส่งเสริ มความสะดวกสบายของ มร.โยชิ โ ทชิ กล่ า วว่ า การเป็ นพั น ธมิ ต ร ลูกค้ า การเป็ นพันธมิตรของเรา ยังจะน�ำไปสูก่ ารเพิม่ ขึ ้น จะเป็ นการรวมประสบการณ์ ที่ ก ว้ า งขวางขึ น้ โดย ของยอดขายและการบริ การใหม่ๆ ที่เพิ่มมากขึ ้นด้ วย” THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 71
071 7/8/2558 11:19:46
PRINT NEWS
‘ได นิปปอน ปริ้นท์ติ้ง’ จับมือ ‘ชูโอ เซ็นโก’ สร้างพันธมิตรขยายฐานลูกค้า
เจาะตลาดกลุ่มลูกค้าญี่ปุ่น-อาเซียน
ด้ าน มร.ชูจิ โอคาวะ ประธานเจ้ าหน้ าที่ บริหาร บริษัท ชูโอ เซ็นโก (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า การร่ วมมือทางธุรกิจในครัง้ นีม้ ี วัตถุประสงค์เพื่อเสริ มสร้ างความแข็งแกร่ งในบริ การ ของบริษัทฯ รวมไปถึงเพือ่ ตอบสนองความต้ องการของ ลูกค้ าได้ อย่างสมบูรณ์ แบบและครบวงจรมากยิ่งขึน้ ด้ วยธุรกิจในรู ปแบบต่างๆ ที่จะครอบคลุมบริ การการ สือ่ สารการตลาดในประเทศแถบอาเซียน ด้ วยศักยภาพ และเครือข่ายในระดับภูมภิ าคของชูโอ เซ็นโก และความ เชี่ยวชาญในธุรกิจด้ านโฆษณาที่มีมาเป็ นระยะเวลา อันยาวนานทังในและต่ ้ างประเทศ ท�ำให้ ทางดีเอ็นพี มัน่ ใจที่จะเป็ นพาร์ ทเนอร์ ด้วย “ด้ วยความร่ วมมือกันของทัง้ 2 บริ ษัทฯ จะ น�ำไปสู่การให้ บริ การด้ านดิจิตอล กิจกรรมเพื่อสังคม การออกแบบโชว์รูม และน�ำเยีย่ มชมโรงงาน เพือ่ พัฒนา
ธุรกิ จในตลาดเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ รวมทัง้ จะมี การเพิ่มบริ การใหม่ๆ ที่เป็ นผลมาจากการรวมความ รู้ และจุดแข็งของทัง้ สองบริ ษัท ท�ำให้ เราสามารถให้ บริ การที่ดียิ่งขึ ้น เพื่อเสริ มสร้ างความสัมพันธ์ ระหว่าง ลูกค้ าของเราและผู้บริ โภค เพิ่มความสะดวกสบาย และประสิทธิภาพเพือ่ เพิม่ ยอดขายให้ แก่ลกู ค้ าของเรา” มร.โอคาวะ กล่าว บริษัท ได นิปปอน ปริน้ ท์ ตงิ ้ จ�ำกัด หรื อ DNP เป็ นผู้ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ า นสิ่ ง พิ ม พ์ บรรจุภัณ ฑ์ การออกแบบดิสเพลย์ สินค้ าไลฟ์สไตล์ และอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกต่างๆ มีมลู ค่าธุรกิจกว่า 1,448,500 ล้ านเยน ในปี 2557 ที่ผ่านมา มีพนักงาน 39,451 คน เป็ น โรงพิมพ์ที่มีประวัติมาอย่างยาวนาน โดยเริ่ มด�ำเนิน กิจการมาตังแต่ ้ ปี พ.ศ.2419 ที่กรุ งโตเกียว ประเทศ ญี่ ปุ่น ถื อเป็ นโรงพิมพ์ แรกๆ ที่ถือก�ำเนิดขึน้ รวมทัง้
มร.ชูจิ โอคาวะ
072 TPM108_P1-78.indd 72
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:19:46
‘ได นิปปอน ปริ้นท์ติ้ง’ จับมือ ‘ชูโอ เซ็นโก’ สร้างพันธมิตรขยายฐานลูกค้า เจาะตลาดกลุ่มลูกค้าญี่ปุ่น-อาเซียน
มี การน� ำเทคโนโลยี และพัฒนาวิจัยนวัตกรรมใหม่ๆ ขึ น้ มาใช้ โดยตลอด ทัง้ ระบบการพับ และเย็ บ เก็ บ เล่ม การใช้ โฮโลแกรม การพิมพ์ ออฟเซ็ต การพิมพ์ ดิ จิ ต อล ฯลฯ เคยมี ก ารควบรวมกิ จ การกับ หลาย โรงพิมพ์หลายบริ ษัทตามเหตุผลทางธุรกิจ ขณะที่ บริษัท ชูโอ เซ็นโก (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด (มหาชน) ก่ อ ตั ง้ ในประเทศไทยเมื่ อ ปี พ.ศ.2506 มีประสบการณ์ มากกว่า 50 ปี ในด้ าน สื่อสารการตลาด การเป็ นเอเยนซี่ มีผลงานที่สร้ างชื่อ มาแล้ วมากมาย ทังแคมเปญโฆษณาและการออกแบบ ้ ร้ านเพื่อสะท้ อนความเป็ นมืออาชีพของลูกค้ า รวมทังมี ้ เครื อ ข่ า ยครอบคลุม ทัง้ เอเชี ย ตะวัน ออกเฉี ย งใต้ ใ น 7 ประเทศ ได้ แก่ ประเทศไทย อินโดนีเซีย เวียดนาม กัมพูชา พม่า อินเดีย และฟิ ลปิ ปิ นส์ ปั จจุบนั กลุม่ บริ ษัทชูโอ เซ็นโก มีรายได้ หลัก มาจากประเทศไทย โดยบริษทั ชูโอ เซ็นโก (ประเทศไทย) จ� ำกัด (มหาชน) มีรายได้ รวม 1,139.84 ล้ านบาท
เพิ่มจาก 51.6 ล้ านบาท หรื อ 4.74% ในปี 2556 โดย รายได้ หลักยังมาจากโปรดักชัน่ ด้ านโฆษณา 80% และ มีเดีย 20% นั บ เป็ นอี ก หนึ่ งดี ล ที่ น่ าสนใจส� ำ หรั บ “ได นิปปอน ปริน้ ท์ ตงิ ้ ” ที่สามารถดึง “ชูโอ เซ็นโก” ซึ่งมีจุดแข็งทัง้ ด้ านการตลาด และความเชี่ยวชาญ ในธุ ร กิ จ โฆษณาทั ง้ ในไทยและกลุ่ มประเทศ อาเซียนมาเป็ นพันธมิตร เพื่อต่ อยอดขยายฐาน ลูกค้ าใหม่ ๆ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 73
PRINT NEWS
073 7/8/2558 11:19:47
PRINT INTERVIEW
Advertorial ใน Marketeer น�ำร่อง ‘ฟูจิ ซีร็อกซ์’ เดินเกมเข้าหานักการตลาด
มุ่งเป้า Growth Together
สื บ เนื่ อ งจากในช่ ว งนี จ้ ะเห็ น สื่ อ โฆษณาของ ผลิ ต ภัณ ฑ์ “ฟู จิ ซี ร็ อ กซ์ ” กระจายไปตามสื่ อ หลัก ของ สั ง คม รวมทั ง้ มี ผู้ บริ หารระดั บ ผู้ จั ด การอย่ า งเช่ น “คุณจิณห์ สิภา เธียรเจริ ญชัย” เดินสายออกสื่อวารสาร และนิตยสารที่มีชื่อเสียงในตลาดมากมายหลายฉบับด้ วย กัน อาทิ Marketeer ซึง่ เป็ นนิตยสารชันน� ้ ำของประเทศที่มี เป้ าหมายผู้อ่า นเป็ นนัก การตลาดชัน้ น� ำ ของประเทศด้ ว ย เช่ น กัน จึ ง เป็ นที่ น่ า สนใจว่ า ณ วัน เวลานี ้ บริ ษั ท ฟู จิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ก�ำลังเดินเกมใช้ กลยุทธ์อะไร ในการท�ำตลาด? คุณจิณห์ สิภา เธียรเจริญชัย ผู้จดั การทัว่ ไป กลุม่ งาน PSB บริ ษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ให้ สัมภาษณ์ วารสาร Thaiprint magazine ถึงการเดินเกม
074 TPM108_P1-78.indd 74
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:19:52
Advertorial ใน Marketeer น�ำร่อง ‘ฟูจิ ซีร็อกซ์’ เดินเกมเข้าหานักการตลาด มุ่งเป้า Growth Together
ตามแผนการตลาดในช่วงนี ้ว่า ปี นี ้นโยบายของ บริ ษัทฯ มุ่งเน้ น Growth Together เติบโตไป ด้ วยกัน เพื่อเป็ นการสร้ างพันธมิตรทางธุรกิจ อย่ า งยั่ง ยื น โดยจะไม่ มุ่ง เน้ น ขยายฐานกลุ่ม ดีลเลอร์ ใหม่ๆ เนื่องด้ วย 2 เหตุผลหลัก ข้ อแรก เพราะเศรษฐกิจยังไม่ค่อยดี และข้ อสองเพราะ ผู้ขายสินค้ าแบรนด์ “ฟูจิ ซีร็อกซ์” ในตลาดมีมาก พอสมควรมากแล้ ว แต่หน้ าทีข่ องบริษทั ฯ ยังมีอยู่ คือ ท�ำอย่างไรให้ ลกู ค้ าเติบโตได้ มากที่สดุ สิ่งที่จะท�ำให้ ลกู ค้ าเติบโตได้ คือ การมี งานพิ ม พ์ ม ากที่ สุด ดัง นัน้ วัน นี จ้ ึ ง เห็ น ภาพ การหันหัวเรื อไปยังการท�ำตลาดกลุม่ คอร์ ปอเรต เช่น ไปลงโฆษณาที่ต้นตอของคนใช้ สื่อสิ่งพิมพ์ เลย นัน่ ก็คือ “นักการตลาด” ซึง่ การพุง่ เข้ าหา นักการตลาดเพื่อท�ำให้ เขารู้จกั “ดิจิตอล ปริ๊ นต์” (Digital Print) และเรี ยกหางาน “ดิจิตอล ปริ๊ นต์” นี่จงึ เป็ นที่มาของการไปออกสือ่ แมสอย่างการลง แอดเวอร์ เทอเรี ยล (Advertorial) เป็ นโฆษณา แฝงสอดแทรกอยูใ่ นบทความ เพือ่ บอกให้ นกั การ ตลาดรับรู้และเข้ าใจรู้วา่ “ฟูจิ ซีร็อกซ์” ไม่ใช่แค่ “ออฟฟิ ศ ออโตเมชั่น (Office Automation)” แต่ มี เ รื่ อ งดิ จิ ต อล ปริ๊ น ต์ และครอส มี เ ดี ย
PRINT INTERVIEW
(Cross Media) ให้ นั ก การตลาดได้ รู้ ว่ า บริ ษั ท ฯ มี มุ ม แบบนี ้ด้ วย “เราเป็ นคนเดิ นเข้ า ไปพรี เซ้ น ต์ น ั ก การตลาด เหล่านัน้ เราคุยกับเขาในฐานะนักการตลาดที ่ดูแลมาร์ เก็ต ติ้ งของฟูจิ ซี ร็อกซ์ ดว้ ย เราเข้าใจว่าเขาต้องการอะไร? แล้ว ดิ จิตอล ปริ๊ นต์ไปตอบโจทย์เขาตรงไหน อันนีค้ ือจุดส�ำคัญที ่ คิ ดว่าโรงพิ มพ์บางแห่งไม่ได้มีศกั ยภาพจะคุยในจุดนี ้ เพราะ การจะเดิ นเข้าไปเจอต้นตอมี น้อยโรงพิ มพ์ มากที ่จะท� ำได้ เนื ่องจากจะถูกสกัดกัน้ ด้วยฝ่ ายจัดซื ้อ จะเข้าไปได้แค่ฝ่าย จัดซื อ้ ไม่มีโอกาสพรี เซ้นท์ว่า การท�ำการตลาดในมุมมองอืน่ ๆ ของดิ จิตอล ปริ๊ นต์ มี อะไรบ้าง” คุณจิ ณห์สิภา กล่าว ทั ง้ นี ้ ด้ วยความที่ บ ริ ษั ท ฯ มี แ ต้ มต่ อ คื อ รู้ จั ก คุ้น เคย และมี ส ายสัม พัน ธ์ อัน ดี กั บ กลุ่ม งานคอร์ ป อเรต ของแต่ ล ะองค์ ก รอยู่ แ ล้ ว จากฐานลู ก ค้ าหลั ก ของฟู จิ ซี ร็ อ ก ซ์ ที่ มี ม า ก ก ว่ า 3,000 บริ ษัททัว่ ประเทศ ดั ง นั น้ ก าร ที่ เ ร า เ ดิ น เ ข้ า ไ ป ข อ พ บ นั ก ก า ร ตลาด จึงไม่ใช่เรื่ องแปลก ตรงกันข้ ามพวกเขาพร้ อม จะรับฟั งเรา มีกระแสตอบ รั บดีและมี โปรเจ็กต์ ออก มาเป็ นงานดิจิตอล ปริ๊ นต์ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 75
075 7/8/2558 11:19:57
PRINT INTERVIEW
Advertorial ใน Marketeer น�ำร่อง ‘ฟูจิ ซีร็อกซ์’ เดินเกมเข้าหานักการตลาด
มุ่งเป้า Growth Together
มูลค่าตัวเลข 7-8 หลักขึ ้นไป ถือว่าเราประสบความส�ำเร็ จ ที่ ท�ำให้ ลูกค้ าเห็นว่า “ดิจิตอล ปริ๊ นต์ ” มี งานและมี ตลาด หลากหลาย ที่ผา่ นมาบริ ษัทฯ จะเอาประสบการณ์ตา่ งๆ กลับไป ถ่ายทอดให้ กบั ลูกค้ ากลุม่ โรงพิมพ์วา่ ปกติในการน�ำเสนองาน ของโรงพิมพ์ จะมีการคุยกันว่าจะใช้ กระดาษกี่แกรมหรื อกี่รีม แล้ วก็พดู ถึงสเป็ คของงานพิมพ์ ซึง่ ในความเป็ นจริ งแล้ ว เวลา ที่เข้ าไปคุยกับกลุม่ งานคอร์ ปอเรตจะไม่พดู แบบนี ้เลย แต่จะ สื่อสารกับนักการตลาดว่า การท�ำโปรเจ็กต์เพอร์ ซนั นอลไลซ์ ปริ๊ นติ ้ง (Personalize Printing) มีข้อดีและจะได้ รับมูลค่าคืน กลับมาอย่างไรบ้ าง อาทิ ลู ก ค้ ามี ค วามภั ก ดี ต่ อแบรนด์ สิ น ค้ า (Customer Loyalty), ความแตกต่ างการท�ำตลาดจาก คู่แข่ ง (Marketing Differentiation), การสร้ างและบริหาร ความสั ม พั น ธ์ อั น ดี กั บ ลู ก ค้ า (Customer Relation
076 TPM108_P1-78.indd 76
Management) รวมไปถึงการรักษาฐานลูกค้ า ในรูปแบบการเป็ นพาร์ ตเนอร์ กบั ลูกค้ าอย่ าง ยั่งยืน และมีความชื่นชอบจนถึงขัน้ บอกแบบ ปากต่ อปาก “วันนี ้ต้ องบอกว่า เราบุกเข้ าไปในตลาด คอร์ ปอเรตแบบนี ้ โดยจัดสัมมนาให้ ต้นน� ้ำรู้ ว่า ดิจิตอล ปริ๊ นต์มีประโยชน์อะไรกับเขา แล้ วเรี ยก หาดิจิตอล ปริ๊ นต์ รวมถึงมุมโปรดักชัน่ เซอร์ วิส บิ ส สิเ นส เราพยายามที่ จ ะสร้ างค� ำ ว่า ท� ำ ไม ลูกค้ าต้ องซื ้อฟูจิ ซีร็อกซ์ ท�ำไมลูกค้ าต้ องเรี ยกหา ฟูจิ ซีร็อกซ์ ไม่ใช่แค่เครื่ องพิมพ์ แต่เราขายโนว ฮาวในการท�ำธุรกิจ เราขายประสบการณ์ที่เรามี เราขายทริคแอนทูที่เราท�ำ ในการท�ำธุรกิจมีอะไร เราได้ ทุ่มเม็ดเงินในส่วนคอร์ ปอเรตมาก ไม่ว่า จะเป็ นป้ายโฆษณา บิลบอร์ ด ไดเร็ คเมล ครอส มีเดียต่างๆ และสือ่ นิตยสารชันน� ้ ำ การจัดสัมมนา ให้ กบั กลุม่ จัดซื ้อ โดยเชิญสมาคมจัดซื ้อมา แล้ ว คุยให้ ฟังเกี่ยวกับดิจิตอล ปริ๊ นต์ ฯลฯ” คุณ จิ ณ ห์ สิ ภ า กล่ า วว่ า ปั จ จุ บัน แม้ ฟูจิ ซีร็อกซ์ จะมีส่วนแบ่งการตลาดเป็ นอันดับ หนึ่งอยู่แล้ ว แต่เนื่องด้ วยสภาพเศรษฐกิจยังไม่ ค่อยกระเตือ้ งหรื อเติบโตเท่าที่ควร ท�ำให้ ท่าน ประธานบริ ษัทฯ ใส่ใจที่สดุ คือ“ลูกค้ า”ของเรา ดังนัน้ จึงพลิกกลยุทธ์ จากที่เคยทุ่มเม็ดเงินใน
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:20:00
Advertorial ใน Marketeer น�ำร่อง ‘ฟูจิ ซีร็อกซ์’ เดินเกมเข้าหานักการตลาด มุ่งเป้า Growth Together
อุตสาหกรรมการพิมพ์ เริ่ มปรับเปลี่ยนโยกย้ าย ไปในกลุ่มงานคอร์ ปอเรต ให้ มีการเคลื่อนไหว เรี ยกหา“ดิจิ ตอล ปริ๊ นต์ ”ให้ ม ากยิ่ งขึน้ ท� ำ ให้ ลูกค้ าตระหนักว่าดิจิตอล ปริ๊ นต์มีมากกว่าค�ำว่า “ออน ดีมานด์” (On Demand) ข้ อ ความส� ำ คั ญ (Key Message) ที่ต้องการสื่อความถึงลูกค้ าในปี นี ้ คือ Growth Together เติบโตไปด้ วยกัน คาดหวังให้ ลกู ค้ า กลุ่ ม องค์ ก รรั บ รู้ และตระหนั ก ว่ า บริ ษั ท ฯ มียูนิต บิสิเนสมากกว่ าเป็ นออฟฟิ ศ มัลติ ฟั งก์ ช่ ัน แล้ วก็ตัง้ เป้าให้ เรี ยกใช้ บริการกลุ่ม ลู กค้ าโรงพิมพ์ ท่ ีมีเครื่ องพิมพ์ ฟูจิ ซีร็อกซ์ อยู่ ถือเป็ นการวางกลยุทธ์ การตลาดที่ยงิ ปื น นัดเดียวได้ นกหลายๆ ตัว ทุก วัน นี ้ “ฟูจิ ซี ร็ อ กซ์ ” แบ่ง ออกเป็ น 4 กลุ่มงาน คือ ออฟฟิ ศออโตเมชัน่ , ปริ๊ นเตอร์
PRINT INTERVIEW
โฮม ออฟฟิ ศ, โปรดักชั่น ปริ๊ นติง้ และโกลบอล เซอร์ วิส ซึง่ ทุกคนทุกหน่วยงานต้ องคิดว่า จะท�ำอย่างไรเพื่อให้ เติบโต ไปด้ วยกันกับลูกค้ าได้ “ในยูนิตที่ดฉิ นั ดูแลเป็ นผลิตภัณฑ์เครื่ องพิมพ์ที่ใช้ ใน โรงพิมพ์ ก็จะต้ องท�ำให้ โรงพิมพ์เติบโตไปด้ วยกันกับเรา แต่ การขายเครื่ องพิมพ์เข้ าไปในโรงพิมพ์เยอะๆ ก็มีข้อจ�ำกัด ทุก โรงพิมพ์ร้ ูสกึ ว่าดีมานด์ไม่พอ เหตุที่ดมี านด์ไม่พอเพราะมีการ ขายเครื่ องลงมาในตลาดเยอะมากเลย ขณะเดียวกันโรงพิมพ์ กลับต้ องแข่งขันกันเอง ในจุดนี ้เราเลยต้ องกลับไปที่ต้นตอที่ เป็ นต้ นน� ้ำ คือท�ำให้ ต้นน� ้ำเห็นแล้ วท�ำ“ตาน� ้ำ”ออกมาเยอะ กว่านี ้ ไม่ใช่ท�ำออกมาตาเดียวแล้ วทุกคนแย่งกัน” คุณจิณห์ สิภา กล่าวทิ ้งท้ าย ความเคลื่อนไหวของ “ฟูจิ ซีร็อกซ์ ” ในรอบนี ้ ช่ าง เต็มไปด้ วยความเก๋ าประสบการณ์ อ่ านเกมขาดและวาง กลยุทธ์ อย่ างแยบยล ตอกย�ำ้ ความเป็ นแบรนด์ อันดับ หนึ่งได้ เป็ นอย่ างดี!! THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_P1-78.indd 77
077 7/8/2558 11:20:05
PRINT KNOWLEDGE
แนวโน้มบรรจุภัณฑ์ในอินโดนีเซีย โอกาสของผู้ประกอบการไทย
แนวโน้มบรรจุภัณฑ์ในอินโดนีเซีย
โอกาสของผู้ประกอบการไทย ส่วนวิ จยั ธุรกิ จ 1 ฝ่ ายวิ จยั ธุรกิ จ EXIM BANK อินโดนีเซียนับเป็ นตลาดเป้าหมายของนักลงทุน และผู้ ส่ ง ออกทั่ว โลก เนื่ อ งจากจ�ำ นวนประชากรที่มี ถึงราว 250 ล้ านคน มากเป็ นอันดับ 4 ของโลก ขณะที่ เศรษฐกิ จ ของอิ น โดนี เ ซี ย ขยายตั ว ในอั ต ราสู ง เฉลี่ ย ร้ อยละ 5.8 ต่ อปี ในช่ วงปี 2553-2557 ซึ่งส่ วนหนึ่งเป็ น ผลจากการขับเคลื่อนของการบริโภคภาคเอกชนที่ขยาย ตัวเฉลี่ยร้ อยละ 5.3 ในช่ วงดังกล่ าว ทัง้ นี ้ ความต้ อ งการบริ โ ภคในประเทศที่ เ พิ่ ม ขึ น้ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งท� ำ ให้ การผลิ ต ในภาคอุ ต สาหกรรมของ อินโดนีเซียขยายตัวเฉลี่ยร้ อยละ 4.7 ต่อปี ในช่วง 5 ปี ที่ ผ่านมา ซึง่ บรรจุภณ ั ฑ์เป็ นหนึง่ ในอุตสาหกรรมที่ได้ ประโยชน์ จากแนวโน้ มดังกล่าว เนื่องจากถือเป็ นส่วนประกอบที่สำ� คัญ ของการผลิตสินค้ า ไม่ว่าจะเป็ นตัวก�ำหนดต้ นทุนและราคา สินค้ า รวมถึงเป็ นเครื่ องมือทางการตลาดในการกระตุ้นยอด ดังนัน้ ผู้ประกอบการจึงควรติดตามแนว จ�ำหน่ายสินค้ า โน้ มของตลาด อุตสาหกรรม และลักษณะของ บรรจุภณ ั ฑ์ซงึ่ มีทิศทางที่ส�ำคัญในปั จจุบนั ดังนี ้ ความส�ำคัญของบรรจุภัณฑ์ ในตลาดสินค้ า อินโดนีเซีย 1.เครื่ องมื อ ส่ งเสริ ม การตลาด : ท่ามกลางการแข่งขันบนชันวางจ� ้ ำหน่ายสินค้ าที่ ค่อนข้ างรุนแรง บรรจุภณ ั ฑ์ถือว่ามีความส�ำคัญ อย่างมากในฐานะเป็ นตัวบ่งชี ้ต�ำแหน่งทางการ ตลาดของผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละของผู้ ผลิ ต สิ น ค้ า (Brand/Product Positioning) ไม่วา่ จะเป็ นเกรด
078 TPM108_P1-78.indd 78
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:20:05
แนวโน้มบรรจุภัณฑ์ในอินโดนีเซีย โอกาสของผู้ประกอบการไทย
หรื อกลุม่ ผู้บริ โภคเป้าหมายของสินค้ า นอกจากนี ้บรรจุภณ ั ฑ์ ยังมีส่วนช่วยสร้ างภาพลักษณ์ ด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และดึงดูดความสนใจจากผู้บริโภคอินโดนีเซีย ซึง่ ถือว่ามีความ ส�ำคัญอย่างมาก โดยเฉพาะผู้บริโภคอินโดนีเซียทีช่ อบทดลอง สินค้ าใหม่ๆ ในบรรจุภณ ั ฑ์ทมี่ สี สี นั แปลกตา และมีรูปทรงแตก ต่างไปจากรูปทรงสี่เหลี่ยมธรรมดาแบบเดิม ขณะเดียวกันบรรจุภณ ั ฑ์ ยังเป็ นช่องทางสื่อสารไป ยังผู้บริ โภค เช่น การใช้ บรรจุภัณฑ์ ใหม่กับผลิตภัณฑ์ ที่มี สูตรผสมใหม่เพื่อประชาสัมพันธ์ถงึ พัฒนาการของสินค้ า หรื อ การปรั บปรุ งบรรจุภัณฑ์ ของผลิตภัณฑ์ เดิมเพื่ อสร้ างภาพ ลักษณ์ความทันสมัยให้ กบั สินค้ า ตัวอย่ างแนวโน้ มลักษณะบรรจุภณ ั ฑ์ ในตลาดอินโดนีเซีย - ผลิ ต ภัณ ฑ์ ดูแ ลรั ก ษาความงาม : รู ป ทรงใหม่ อาทิ วงรี และรูปทรงที่ไม่สมมาตรต่างๆ เพื่อสร้ างภาพลักษณ์ ทันสมัยและไม่จ�ำเจ
PRINT KNOWLEDGE
- ผลิตภัณฑ์อาหาร : สีสนั สดใส เพือ่ สร้ าง ภาพลักษณ์ทนั สมัยส�ำหรับเจาะตลาดผู้บริโภควัยรุน่ 2.มีผลต่ อการก�ำหนดราคาสินค้ า : ในมุมมองของผู้ผลิตและผู้บริ โภค บรรจุภณ ั ฑ์ เป็ นต้ นทุนหนึง่ ของสินค้ า และเป็ นอีกปั จจัยหนึง่ ที่ ใ ช้ ก� ำ หนดราคาสิ น ค้ า ทั ง้ นี ้ การเลื อ กใช้ บรรจุภณ ั ฑ์ที่ต้นทุนไม่สงู นักเพื่อช่วยให้ สินค้ ามี ราคาถู ก ลง เริ่ ม เป็ นที่ นิ ย มเพิ่ ม ขึ น้ ในตลาด อินโดนีเซีย เนื่องจากผู้บริ โภคส่วนใหญ่ยงั ค�ำนึง ถึ ง ความคุ้ มค่ า ของสิ น ค้ าเป็ นหลั ก อาทิ บรรจุภณ ั ฑ์กระดาษที่มีลกั ษณะบางลงและน� ำ้ หนักเบาขึ ้น บรรจุภณ ั ฑ์พลาสติกแบบยืดหยุน่ ได้ (Flexible Plastic Packaging) และขวดพลาสติก ที่มีขนาดฝาขวดบางลง ขณะทีค่ วามนิยมในบรรจุภณ ั ฑ์ทมี่ รี าคา สูง เริ่ ม ลดลง อาทิ ขวดแก้ ว และบรรจุภัณ ฑ์ พลาสติกแบบหนา ตัวอย่างแนวโน้ มความนิยม ดังกล่าว ได้ แก่ ขวดซอสแบบพลาสติกได้ รับความ นิยมมากกว่าขวดซอสแบบแก้ ว และน�ำ้ มันพืช แบบเติม ซึ่งบรรจุในถุงพลาสติกแบบยืดหยุ่น ได้ รั บ ความนิ ย มมากกว่ า น� ำ้ มัน พื ช แบบขวด พลาสติกแข็ง นอกจากนี ้ตลาดอินโดนีเซียยังมีกระแส ความนิยมผลิตภัณฑ์ทำ� ความสะอาดภายในบ้ าน THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 79
079 7/8/2558 11:31:05
PRINT KNOWLEDGE
แนวโน้มบรรจุภัณฑ์ในอินโดนีเซีย โอกาสของผู้ประกอบการไทย
ชนิดเข้ มข้ น (Concentrate Products) เนื่องจากถือเป็ นสินค้ า ที่ประหยัดกว่าผลิตภัณฑ์แบบปกติ ส่งผลให้ มีความต้ องการ ใช้ บรรจุภณ ั ฑ์ซงึ่ มีขนาดเล็กลง ทังนี ้ ้ แนวโน้ มดังกล่าวคาดว่า จะยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องตามการขยายตัวของชนชันกลาง ้ ของอินโดนี เซีย ซึ่งมี พฤติกรรมเลือกซือ้ สินค้ าที่เน้ นความ คุ้มค่าเป็ นหลัก 3.กระแสสิ่ งแวดล้ อมเริ่ มมี ผ ลต่ อการผลิ ต บรรจุภณ ั ฑ์ : ปั จจุบนั ผู้บริ โภคชาวอินโดนีเซียยังตระหนักถึง สิง่ แวดล้ อมไม่มากนัก ส่งผลให้ บรรจุภณ ั ฑ์เพื่อสิง่ แวดล้ อมยัง ไม่แพร่ หลาย อย่างไรก็ตาม รัฐบาลอินโดนีเซียเริ่ มให้ ความ ส�ำคัญกับการก�ำจัดขยะบรรจุภณ ั ฑ์ โดยในปี 2555 ได้ ออก กฎระเบียบก�ำหนดให้ ผ้ ผู ลิตสินค้ า ต้ องท�ำหน้ าที่รวบรวมและ จัด การบรรจุภัณ ฑ์ สิ น ค้ า ใช้ แ ล้ ว ของตน หากบรรจุภัณ ฑ์ ดังกล่าวไม่สามารถย่อยสลายเองได้ ตามธรรมชาติ ซึง่ ผู้ผลิต สินค้ ามีระยะเวลาในการปรับตัว 10 ปี เพือ่ รับมือกับการบังคับ ใช้ กฎระเบียบดังกล่าว
080 TPM108_79-156.indd 80
โดยคาดว่าผู้ผลิตอาหารและเครื่ องดื่ม จะได้ รั บ ผลกระทบค่อ นข้ า งมาก เนื่ อ งจากมี สัดส่วนการใช้ บรรจุภณ ั ฑ์สงู สุดที่ราวร้ อยละ 70 ของบรรจุภณ ั ฑ์ทงหมดในตลาด ั้ ทังนี ้ กฎระเบี ้ ยบ ดังกล่าวต้ องการผลักดันให้ มีการใช้ บรรจุภณ ั ฑ์ เพื่อสิ่งแวดล้ อม อาทิ พลาสติกที่ย่อยสลายได้ ตามธรรมชาติ ซึง่ คาดว่าผู้ผลิตสินค้ าจะเปลี่ยน มาใช้ บรรจุภัณฑ์ ดังกล่าวเพิ่มมากขึน้ ในระยะ ข้ างหน้ า อุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ ในอินโดนีเซีย ตลาดบรรจุภณ ั ฑ์ของอินโดนีเซียเป็ นที่ สนใจจากผู้ผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ต่างชาติ เนื่องจาก เป็ นตลาดขนาดใหญ่ และเศรษฐกิจขยายตัวดี โดยการลงทุนของผู้ประกอบการต่างชาติส่วน ใหญ่เน้ นการเข้ าซื ้อกิจการในประเทศหรือเข้ าร่วม
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:31:06
แนวโน้มบรรจุภัณฑ์ในอินโดนีเซีย โอกาสของผู้ประกอบการไทย
ทุนกับผู้ประกอบการอินโดนีเซีย อาทิ บริ ษัทร่วมทุนระหว่าง Asahi Group Holding ของญี่ ปุ่น และบริ ษัท Indofood Sukses Makmur Tbk ของอินโดนีเซีย เข้ าซื ้อกิจการบริ ษัท Pepsi-Cola Indobeverages ผู้ผลิตขวดส�ำหรั บ Pepsi ในอินโดนีเซีย ในปี 2556 ขณะที่บริ ษัท Thai Containers Group ซึง่ เป็ นการร่ วมทุนระหว่างเครื อซิเมนต์ไทยกับบริ ษัท Rengo ของญี่ ปุ่น เข้ าซือ้ กิ จการบรรจุภัณฑ์ กระดาษของ อินโดนีเซีย ได้ แก่ บริ ษัท Primacorr Mandiri ในปี 2556 และ บริ ษัท Indoris Printingdo ในปี 2557 ทังนี ้ ้การลงทุนในอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์มีแนวโน้ ม เพิ่มขึ ้นต่อเนื่องในระยะข้ างหน้ า เนื่องจากภาคเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรมของอิ นโดนี เซี ยยังมี ทิศทางที่ ดี ประกอบกับ สถานการณ์การเมืองมีความมัน่ คง ปั จจัยดังกล่าวสร้ างความ
PRINT KNOWLEDGE
เชื่อมัน่ ให้ ผ้ ผู ลิตบรรจุภณ ั ฑ์และนักลงทุนขยาย การลงทุนอย่างต่อเนื่อง โอกาสของผู้ประกอบการไทย สินค้ าส่งออกของไทย ทีไ่ ด้ ประโยชน์จาก ตลาดบรรจุ ภัณ ฑ์ ข องอิ น โดนี เ ซี ย เป็ นสิ น ค้ า วัตถุดบิ เป็ นหลัก ได้ แก่ เม็ดพลาสติก (ส่งออกไป อินโดนีเซียมูลค่า 870 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐในปี 2557 และขยายตัวเฉลี่ยร้ อยละ 40.7 ในช่วง 5 ปี ที่ผา่ นมา) และแผ่นฟิ ล์มพลาสติก (มูลค่าส่ง ออก 117 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐ ในปี 2557 ขยาย ตัวเฉลี่ยร้ อยละ 11.6 ในช่วง 5 ปี ที่ผา่ นมา) ขณะทีก่ ารส่งออกบรรจุภณ ั ฑ์ของไทยไป อินโดนีเซียดูจะได้ อานิสงส์ไม่มากนัก เนื่องจาก ที่ผา่ นมาอินโดนีเซียมีการลงทุนในอุตสาหกรรม บรรจุภัณฑ์ จากผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ ต่างชาติราย ใหญ่ ท� ำ ให้ อุ ต สาหกรรมบรรจุ ภั ณ ฑ์ ข อง อินโดนีเซียมีความสามารถในการผลิตระดับหนึง่ เพื่ อ รองรั บ ความต้ อ งการใช้ ภ ายในประเทศ โอกาสของผู้ผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ของไทย จึงควรเน้ น เข้ าไปลงทุนในอินโดนีเซียเป็ นหลัก เช่น เครื อ ซิเมนต์ไทยทีร่ ุกลงทุนผลิตบรรจุภณ ั ฑ์กระดาษใน อินโดนีเซียมาแล้ วระยะหนึง่ อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการรายใหญ่ ซึ่งมีความพร้ อมด้านเงินทุนจะเป็ นผู้ท่มี โี อกาส มากกว่ า เนื่องจากตลาดอินโดนีเซียต้ องเน้ น ผลิตจ�ำนวนมากในราคาที่แข่ งขันได้ ท�ำให้ โครงการลงทุนต้องมีขนาดใหญ่ และจ�ำเป็ นต้อง เข้าเป็ นพันธมิตรหรือร่ วมทุนกับผู้ประกอบการ อินโดนีเซีย เพื่อให้สามารถเจาะตลาดได้ง่ายขึน้ อีกทัง้ ยังช่ วยให้การประสานงานกับหน่ วยงาน ราชการของอินโดนีเซียเป็ นไปอย่างราบรื่น THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 81
081 7/8/2558 11:31:06
SPECIAL REPORT
‘ร้านนายอินทร์’ เปิดเกมรุกสู่ผู้น�ำค้าปลีกหนังสือ
ทุ่ม 30 ล้าน สร้างพื้นที่ไลฟ์สไตล์จุดหมายการใช้เวลาของทุกคน
ร้ านนายอินทร์ ฉลองครบรอบ 22 ปี ด้ วยการทุ่ม งบกว่ า 30 ล้ านบาทแปลงโฉมพืน้ ที่ร้านหนังสือเพื่อให้ เป็ นแหล่ ง แฮงเอ้ าท์ ของคนรุ่นใหม่ ในรูปแบบของไลฟ์สไตล์ เซ็นเตอร์ ภายใต้ คอนเซ็ปต์ “ใครๆ ก็อ่านหนังสือที่ร้านนายอินทร์ ” พรั่ งพร้ อมด้ วย รู ปแบบและบริการที่โดดเด่ นไม่ เหมือนใคร เนื่ อ งจากปั จจุ บั น การใช้ ชี วิ ต คนในเมื อ งมี ค วาม เปลี่ ย นแปลง ผู้ค นโหยหา”สัง คมใหม่ ” ของตนเอง และเป็ นสัง คม ที่สะท้ อนความเป็ นตัวตน นอกเหนือจากบ้ าน โรงเรี ยน หรื อที่ท�ำงาน ซึง่ อาจเรี ยกว่าเป็ นบ้ านหลังที่ 3 หรื อ “third place” ที่มีความหมายถึง แหล่งพักพิงระหว่างวัน โดยเฉพาะ กลุ่ม คนรุ่ น ใหม่ ที มี ไ ลฟ์ สไตล์ การใช้ ชี วิ ต ที่ เ ชื่ อ มโยงกั บ กระแสโลกยุ ค ใหม่ อ ย่ า ง ชัดเจนมากขึ ้นเรื่ อยๆ
082 TPM108_79-156.indd 82
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:31:09
‘ร้านนายอินทร์’ เปิดเกมรุกสู่ผู้นำ� ค้าปลีกหนังสือ
ทุ่ม 30 ล้าน สร้างพื้นที่ไลฟ์สไตล์จุดหมายการใช้เวลาของทุกคน
SPECIAL REPORT
คุณระพี อุทกะพันธุ์ ผู้ชว่ ย กรรมการผู้จดั การสายงานค้ าปลีก บริษทั อมรินทร์ บุ๊ค เซ็นเตอร์ จ�ำกัด กล่าวในงาน ฉลองครบรอบ 22 ปี ร้ านนายอินทร์ ณ ลานกิจกรรม หน้ าร้ านนายอินทร์ ห้ างสรรพสินค้ าเซ็นทรั ลเวิร์ลด์ เมื่ อเร็ วๆ นี ว้ ่า ตลอดระยะเวลาที่ ผ่านมา ร้ านนาย อินทร์ ได้ รับการตอบรับที่ดจี ากลูกค้ ามาโดยตลอด และ เพื่อก้ าวสู่อนาคตด้ วยการเป็ นผู้น�ำของตลาดค้ าปลีก หนังสือ ดังนัน้ ร้ านนายอินทร์ จึงมุ่งสร้ างความเป็ น ที่หนึ่งในใจลูกค้ า เพื่อให้ ทุกคนนึกถึงร้ านนายอินทร์ เป็ นที่แรกของการใช้ เวลานอกเหนือจากบ้ าน โรงเรี ยน หรื อที่ท�ำงาน
มุมติ วเตอร์
สร้ าง“บุ๊คส์ เมท”เพื่อนรั กนักอ่ าน ร้ านนายอิ น ทร์ เ ริ่ ม กลยุท ธ์ เ ชิ ง รุ ก ด้ ว ยการ จัดตังบุ ้ ๊ คเมท (Book Mate) เพื่อนรักนักอ่าน ซึง่ นับ ปรึ กษาเกี่ยวกับหนังสือประเภทต่างๆ อย่างละเอียด เป็ นการปฏิวตั วิ งการธุรกิจค้ าปลีกหนังสือ โดยบุ๊คเมท รวมถึงค้ นหาหนังสือที่ ต้องการ มี ความเอาใจใส่ใน จะท�ำหน้ าทีค่ ล้ ายบรรณารักษ์สว่ นตัว เป็ นผู้ให้ คำ� แนะน�ำ ลักษณะนิสยั ของนักอ่าน ว่าชอบอ่านหนังสือประเภท ใดจากประวัติการซื ้อ เพื่อที่จะสามารถเป็ นคู่คิดเกี่ยว กับหนังสือได้ อย่างรู้ ใจนักอ่าน สามารถอธิ บายข้ อดี ของแต่ละเล่ม วิเคราะห์ความเหมาะสมของหนังสือให้ สอดคล้ องกับนักอ่านมากทีส่ ดุ นับเป็ นจุดเด่นทีแ่ ตกต่าง จากพนักงานประจ�ำร้ านหนังสือทัว่ ไปที่เพียงแค่ค้นหา หนังสือว่าอยูต่ �ำแหน่งใดเพียงเท่านัน้ บุ๊ ค เมทภายในร้ านนายอิ น ทร์ ได้ คัด เลื อ ก บุคลากรจากอุปนิสยั พื ้นฐานที่มีใจรักการอ่านเป็ นนิจ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 83
083 7/8/2558 11:31:11
SPECIAL REPORT
‘ร้านนายอินทร์’ เปิดเกมรุกสู่ผู้น�ำค้าปลีกหนังสือ
ทุ่ม 30 ล้าน สร้างพื้นที่ไลฟ์สไตล์จุดหมายการใช้เวลาของทุกคน
และใฝ่ หาความรู้ รอบตัวด้ วยการอ่านอย่างสม�่ำเสมอ รวมทังยิ ้ นดีเปิ ดกว้ างรับเรื่องราวใหม่ๆ ไม่หยุดนิง่ อยูก่ บั ที่ รวมทังได้ ้ รับการฝึ กอบรบหลักสูตร “ความรู้ พนื ้ ฐาน และการใช้ หนังสือภาพส�ำหรั บเด็ก” จากสาขาวิชา วรรณกรรมส�ำหรับเด็ก ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ และ สารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรี นคริ นทรวิโรฒ
เปิ ดโซนพิเศษรั บไลฟ์สไตล์ ยุคใหม่ ร้ านนายอินทร์ มีการเปิ ดพื ้นที่เพื่อสร้ างสรรค์ โซนพิเศษภายในร้ าน แบ่งออกเป็ น 3 โซนดังนี ้ 1.มุมเด็ก (Kids Station) คือโซนแห่งการเสริม สร้ างพัฒนาการเด็กในช่วงอายุแรกเกิด – 6 ปี เป็ นพื ้นที่ เน้ นการเสริ มสร้ างทักษะการอ่านซึง่ เป็ นพื ้นฐานส�ำคัญ ในการเรี ยนรู้ โดยจัดหนังสือส�ำหรับเด็กพร้ อมของเล่น
โซน Kids Station
และสิ่งประดิษฐ์ เสริ มการเรี ยนรู้ (Education Toys) ที่จะช่วยเสริ มทักษะการเรี ยนรู้และพัฒนาการของเด็ก ได้ โดยมีพนักงาน Book Mate ที่สามารถให้ ค�ำแนะน�ำ แก่พอ่ แม่มือใหม่ ในเรื่ องการเลือกซื ้อหนังสือ หรื อของ เล่นที่เหมาะสมกับเด็กในแต่ละช่วงปี ด้ วย โดยผู้ป กครองสามารถมี ส่ว นร่ ว มกับ น้ อ งๆ ในการอ่าน เพื่อสร้ างความรั กความผูกพันกับคนใน ครอบครัว ตอบรับยุคปั จจุบนั ที่พ่อแม่หนั มาเลี ้ยงลูก ด้ วยตัวเองในลักษณะครอบครัวเดี่ยว ที่จะต้ องมีการ ศึกษาและเรี ยนรู้ พัฒนาการของลูกผ่านหนังสือหรื อ คู่มือจากผู้ท่ี มีประสบการณ์ และต้ องการสถานที่ ที่ รองรับพื ้นทีส่ ำ� หรับลูกน้ อยในวันหยุดพักผ่อน เพือ่ สร้ าง กิจกรรมการเรี ยนรู้ ของลูกน้ อย โดยมุมเด็กจะมีทงสิ ั ้ ้น 60 สาขาทัว่ ประเทศ และขยายเป็ น 100 สาขาในปลาย ปี นี ้ ร้ านนายอินทร์ ตงเป ั ้ ้ ายอดขายหนังสือเด็กและของ
084 TPM108_79-156.indd 84
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:31:12
‘ร้านนายอินทร์’ เปิดเกมรุกสู่ผู้นำ� ค้าปลีกหนังสือ
ทุ่ม 30 ล้าน สร้างพื้นที่ไลฟ์สไตล์จุดหมายการใช้เวลาของทุกคน
เล่นเสริ มการเรี ยนรู้ในปี 2558 กว่า 40 ล้ านบาทจาก ยอดขายทังหมด ้ 2. มุมติวเตอร์ (Tutor Zone) โซนแห่งการ แบ่งปั นความรู้ เปิ ดโอกาสให้ น้องๆ ได้ ใช้ พืน้ ที่ เป็ น แหล่งนัดพบพร้ อมอุปกรณ์ในการอ่านหนังสือ และใช้ เวลาว่างระหว่างเพื่อน,ครู กบั ลูกศิษย์ เป็ นการติวเข้ ม ในวันหยุด โดยไม่ต้องเสียค่าใช้ จ่าย ซึ่งจะประเดิมที่ สาขาซีคอนสแควร์ ศรี นคริ นทร์ เป็ นต้ นแบบแห่งแรก ก่อนกระจายไปยังสาขาอื่นๆ ในอนาคต โดยมีทิศทาง ในการขยายสาขาไปตามหัวเมืองใหญ่ที่เป็ นที่ตงของ ั้ แหล่งสถาบันกวดวิชาและศูนย์การเรียนรู้ตา่ งๆ โดยมุม ติวเตอร์ จะเป็ นความต้ องการของลูกค้ าและขยายฐาน เติบโตขึ ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต ตังเป ้ ้ ายอดหนังสือ คูม่ ือแบบเรี ยนโตกว่า 10 ล้ านบาทภายในปี 2558 3. มุม How To Corner ศูนย์รวมหนังสือ เชิงจิตวิทยา หนังสือที่เป็ นแนวคิดหรื อกลยุทธ์ ในเชิง การท�ำธุรกิจ ตลาดหรื อหุ้น เพื่อให้ ผ้ สู นใจสามารถเรี ยน รู้ เทคนิค ขันตอนและวิ ้ ธีการในการปฏิบตั ิได้ อย่างถูก ต้ องและประสบความส�ำเร็ จในเป้าหมายที่คาดหวังไว้ โดยร้ านนายอินทร์ ได้ มงุ่ เป็ นผู้นำ� ศูนย์รวมหนังสือด้ านนี ้
เพราะปั จจุบนั กลุม่ ลูกค้ า GEN-Y และ GEN-Z รวมกัน มีจ�ำนวนเกือบ 50% ของประชากรไทย หรื อมากกว่า 30 ล้ านคนทัว่ ประเทศ ซึง่ ธรรมชาติของคน 2 กลุม่ นี ้ ให้ ความสนใจในการเรี ยนรู้ การท� ำ ธุ ร กิ จ ต่ า งๆ ด้ ว ยตนเองมากขึ น้ จึ ง มั่น ใจว่ า ยอดขายหนัง สื อ ประเภทนี จ้ ะโตขึ น้ มากกว่ า 15% หรื อเพิ่ ม ขึ น้ กว่า 20 ล้ านบาทภายในสิ ้นปี 2558 ทั ้ง นี ้ ร้ านนายอิ น ทร์ ตั ้ง เป้ าปรั บโฉม สาขาในรูปแบบไลฟ์สไตล์ เพลสทัง้ สิน้ ให้ ครบ 100 สาขาภายในปี 2559 และคาดว่ า จะสามารถดึงลูกค้ า ทุกกลุ่มให้ เพิ่มขึน้ ได้ กว่ า 30%
พิ ธีเป่ าเค้กฉลอง 22 ปี THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 85
SPECIAL REPORT
085 7/8/2558 11:31:13
SPECIAL REPORT
‘ร้านนายอินทร์’ เปิดเกมรุกสู่ผู้น�ำค้าปลีกหนังสือ
ทุ่ม 30 ล้าน สร้างพื้นที่ไลฟ์สไตล์จุดหมายการใช้เวลาของทุกคน
“ร้ านนายอินทร์ สัญจร”เดินเกมรุ ก นอกจากการปรั บ ภาพลัก ษณ์ ภ ายในร้ าน เพื่ อ ดึ ง ลูก ค้ า ทุก กลุ่ม ให้ เ พิ่ ม ขึ น้ ร้ านนายอิ น ทร์ ยัง เพิม่ กลยุทธ์เชิงรุกด้ วยโปรเจ็ค “ร้ านนายอินทร์ สญ ั จร” คอนเซ็ปต์ของโปรเจ็คนี ้ คือการจัดมหกรรมการขาย หนังสือ กระจายตัวไปตามพื ้นที่ต่างๆ ทังในกรุ ้ งเทพฯ และตามจังหวัดใหญ่ๆ โดยจะจัดให้ มลี านพื ้นทีก่ จิ กรรม ในห้ างสรรพสินค้ า อาคารส�ำนักงาน โรงเรี ยนและ โรงพยาบาล ซึ่ง ครึ่ ง ปี แรกที่ ผ่า นมาได้ จัด กิ จ กรรม ดัง กล่า วนี ไ้ ปแล้ ว กว่ า 20 ครั ง้ โดยมี รู ป แบบงาน Kids Station, Book to Film, และ DIY Garden และในครึ่ ง ปี หลัง ต่อ จากนี ้ จะเป็ นรู ป แบบ “ใครๆ ก็อ่านหนังสือ” ซึง่ การจัดกิจกรรมประเภทนี ้ เป็ นการ รุ ก เข้ าหากลุ่ ม ลู ก ค้ า เพิ่ ม ความสนุ ก สนานและ ความคึกคักกับลูกค้ าที่มาเลือกซื ้อหนังสือ โดยตังเป ้ ้า ยอดขายหนังสือจากการจัดกิจกรรมในรู ปแบบนี ้ 100
ล้ านบาทภายในสิ ้นปี ซึง่ ปั จจุบนั ได้ มาเกือบ 50% แล้ ว ก้ าวสู่โลกดิจติ อลทุกรู ปแบบ ร้ านนายอินทร์ ยังสร้ างปรากฏการณ์ครัง้ แรก ในการผสานโลกยุคดิจิตอลเข้ ากับโลกแห่งหนังสือด้ วย “นายอินทร์ ดิจทิ ชั ” (Naiin DigiTouch) บริ การด้ าน
เครื ่อง “นายอิ นทร์ ดิ จิทชั ”
จากซ้ายไปขวา คุณองอาจ สุขเลิ ศกมล/ คุณจักรวุธ ใจดี/ ม.ร.ว. จันทรลัดดา (ยุคล) อุบลเดชประชา รักษ์ / คุณระพี อุทกะพันธุ์/ คุณนิ ธิมา เหลืองอรุณอุทยั / ม.ร.ว.สุทธิ ภาณี ยุคล/ คุณพิ ธา ลิ้ มเจริ ญรัตน์/
086 TPM108_79-156.indd 86
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:31:14
‘ร้านนายอินทร์’ เปิดเกมรุกสู่ผู้นำ� ค้าปลีกหนังสือ
ทุ่ม 30 ล้าน สร้างพื้นที่ไลฟ์สไตล์จุดหมายการใช้เวลาของทุกคน
SPECIAL REPORT
หนังสือออนไลน์ และเลือกซื ้อหนังสือได้ อีกด้ วย “นับเป็ นการน�ำเสนอทุกบริ การให้ เข้ าใกล้ ชีวิต กลุ่มลูกค้ าคนรุ่ นใหม่มากขึน้ ซึ่งคาดว่าจะสามารถ รุกตลาดเพิ่มขึ ้นได้ อีกกว่า 20 % จากยอดขายปั จจุบนั ซึ่งปั จจุบนั ร้ านมีส่วนแบ่งการตลาดอยู่ 10% คิดเป็ น มูลค่ากว่า 2,000 ล้ านบาท จากมูลค่าตลาดรวมกว่า 20,000 ล้ านบาท ครองต�ำแหน่งอันดับ 2 ของตลาด ค้ าปลีกหนังสือ และเป็ นการเตรี ยมก้ าวสู้ความเป็ น หนึง่ ของธุรกิจค้ าปลีกหนังสือในอนาคต” คุณระพีกล่าว การ์ ตนู “น้ องอินทร์ ”สร้ างแบรนด์ บรรยากาศภายในงานฉลองครบ 22 ปี ร้ าน นายอินทร์ ได้ จดั ให้ มีการเปิ ดตัวมาสคอต (Mascot) ขึน้ เป็ นครั ง้ แรกในชื่ อ ว่ า “น้ องอิ น ทร์ ” มี ลัก ษณะ เป็ นหนอนหนังสือสีน�ำ้ เงินสุดน่ารั ก เพื่อเป็ นตัวแทน ร้ านนายอินทร์ ให้ สามารถเข้ าถึงกลุ่มลูกค้ าทุกเพศทุก วัย โดยเฉพาะกลุม่ คนรุ่นใหม่มากขึ ้น โดยน้ องอินทร์ จะ มีคาแรคเตอร์ ทเี่ ป็ นมิตรและสร้ างความจดจ�ำในแบรนด์ ออนไลน์ด้วยตัวคุณเองผ่านเครื่องอัตโนมัตแิ บบ Touch ของร้ านนายอินทร์ ซึ่งคาดว่าจะมีส่วนในการดึงดูด Screen ที่ ติดตัง้ ภายในร้ าน ด้ วยการบริ การค้ นหา ข้ อมูล และพรีววิ หนังสือก่อนการตัดสินใจได้ เป็ นอย่างดี โดยนักอ่านสามารถท�ำการสัง่ ซื ้อหนังสือได้ ด้วยตัวเอง ทันทีและไม่ต้องรอคิว แถมยังพ่วงบริ การจัดส่งถึงบ้ าน ถือเป็ นการบริ การที่เน้ นความสะดวกรวดเร็ วส�ำหรั บ คนที่มีเวลาจ�ำกัด ไม่เพียงเท่านัน้ ร้ านนายอินทร์ ยงั ได้ สร้ างสรรค์ แอพพลิเคชัน่ “นายอินทร์ ปั ณณ์ ” (Naiin Pann) โลกแห่ง หนังสือออนไลน์ ในรูปแบบ e-Book และ e-Magazine ที่มีมากกว่า 15,000 เล่ม จากกว่า 400 ส�ำนักพิมพ์ชื่อ ดัง ให้ เลือกอ่านได้ อย่างจุใจ โดยสามารถดาวน์โหลดฟรี ลูกค้ าให้ เข้ ามาใช้ เวลากับร้ านนายอินทร์ มากขึ ้น และ ได้ ทงในระบบ ั้ android , ios และ PC รวมถึงการพัฒนา สะท้ อนความเป็ นตัวตนของคนรุ่นใหม่ที่ร้านนายอินทร์ เว็บไซต์ Naiin.com ให้ มีความทันสมัย สามารถอ่าน ตังใจสร้ ้ างไลฟ์สไตล์เซ็นเตอร์ นี ้แก่ลกู ค้ า THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 87
087 7/8/2558 11:31:16
SPECIAL REPORT
‘ร้านนายอินทร์’ เปิดเกมรุกสู่ผู้น�ำค้าปลีกหนังสือ
ทุ่ม 30 ล้าน สร้างพื้นที่ไลฟ์สไตล์จุดหมายการใช้เวลาของทุกคน
เปิ ดตัว Line Sticker “น้ องอินทร์ ” นอกจากนี ้ ยังมี การเปิ ดตัว Line Official “ร้ านนายอินทร์ ” ให้ ผ้ ูสนใจได้ ดาวน์ โหลดฟรี เพื่อ ตอกย� ้ำว่าเราจะเป็ นเพื่อนนักอ่านในทุกที่ทกุ เวลา และ เตรี ยมพบกับ Line Sticker “น้ องอินทร์ ” ที่จะสร้ าง ความตื่นเต้ นให้ กบั ทุกคนได้ เร็ วๆ นี ้ คาดว่าจะเป็ นอีก ช่องทางในการสือ่ สารการตลาดที่เข้ าถึงใจลูกค้ าทุกคน เป็ นอย่างดี และสร้ างความสัมพันธ์อย่างลึกซึ ้งระหว่าง ร้ านนายอินทร์ กบั นักอ่านได้ อย่างมากในอนาคต มัน่ ใจ ว่าจะมียอดดาวน์ โหลด Line Sticker “น้ องอินทร์ ” มากกว่า 1 ล้ านคนหลังเปิ ดตัวอย่างเป็ นทางการ ในส่วนของการกระตุ้นการใช้ จ่าย คุ ณระพี อุ ท กะพั น ธุ์ กล่ า วว่ า ได้ ท� ำ โปรโมชั่น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กับการใช้ คะแนนสะสม ถือเป็ นกลยุทธ์สำ� คัญในการท�ำ ตลาดผ่านการภักดีแบรนด์ ซึง่ ปั จจุบนั ลูกค้ าสมาชิกร้ าน นายอินทร์ มีความภักดีกับร้ านนายอินทร์ สูง คิดเป็ น สัดส่วนสูงกว่า 40% ของลูกค้ าร้ านนายอินทร์ ทงหมด ั้
088 TPM108_79-156.indd 88
และพบว่าการจัดแคมเปญที่ ผ่านมา ส่งผลต่อยอด ใช้ จ่ายของลูกค้ าต่อบิลเพิ่มขึน้ 10-20% สะท้ อนให้ เห็นว่าลูกค้ ามีความเข้ าใจ และเห็นความส�ำคัญของ การสะสมแสตมป์มากขึ ้น นอกจากนี ้ ยัง ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ กับ ส� ำ นัก พิ ม พ์ ชั น้ น� ำ ที่ ร่ ว มรายการ อาทิ หนั ง สื อ คุ ณ ภาพ ในเครืออมรินทร์ , แจ่มใส, สถาพรบุ๊คส์, เคล็ดไทย, สยาม อินเตอร์ , อีคิวพลัส, ปราณ, ฟิ สิกส์เซ็นเตอร์ , แฮปปี ้ บานาน่า, วีเลิร์น, โพสต์บ๊ คุ และส�ำนักพิมพ์คณ ุ ภาพ อีกมากมาย ในการให้ สว่ นลดหนังสือและร่วมกิจกรรม ต่างๆ ของทางร้ านนายอินทร์ ครบรอบ 22 ปี ของร้ านนายอินทร์ อุดม ไปด้ วยกลยุทธ์ การตลาดเพื่อกระตุ้นการใช้ จ่าย ที่เ พิ่มขึน้ การซื อ้ หนั ง สื อเพิ่มขึน้ และการขาย หนังสือของส�ำนักพิมพ์ ต่างๆ เพิ่มขึน้ และแน่ นอน ว่ า มีผลต่ อการสั่งซือ้ งานพิมพ์ และใช้ บริ การโรง พิมพ์ เพิ่มมากขึน้ ด้ วย!!
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:31:17
YOUNG PRINTER อาท-ณภัทร วิวรรธนไกร ทายาท ‘ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป’ ภายใต้มุมคิดธุรกิจครอบครัวต้องมาก่อน
ณภัทร วิวรรธนไกร ทายาท ‘ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป’
ภายใต้มุมคิด ธุรกิจครอบครัวต้องมาก่อน ด้ วยความที่ เ ติ บ โตมากั บ ธุ ร กิ จ โรงพิ ม พ์ ดังนัน้ “คุณอาท ณภัทร วิวรรธนไกร” หนึง่ ในทายาท “ไซเบอร์ พริน้ ท์ กรุ๊ ป” จึงมีความรู้สกึ ซึมซับและผูกพัน กับธุรกิจนี ้ติดตัวเรื่ อยมาตังแต่ ้ เด็กๆ แถมหลังจากเรี ยน จบปริญญาโทก็เข้ าช่วยงานโรงพิมพ์ทนั ที ถึงแม้ บางครัง้ จะมีความคิดอยากออกไปเรี ยนรู้งานข้ างนอกบ้ าง แต่ก็ คิดเสมอว่า การเข้ ามาช่วยธุรกิจครอบครัวต้ องมาก่อน ร่ วมอาณาจักร “ไซเบอร์ พริน้ ท์ กรุ๊ ป” “คุ ณ อาท” บอกว่ า ใช้ ชี วิ ต อยู่ ที่ ป ระเทศ นิ วซีแลนด์ กว่า 8 ปี จบการศึกษาระดับมัธยมจาก Northcote College ต่ อ ด้ วยปริ ญ ญาตรี ส าขา Economics and Finance จาก University of Auckland ประเทศนิ ว ซี แ ลนด์ และกลับ มาเรี ย น
092 TPM108_79-156.indd 92
ปริ ญญาโทสาขา International Economics and Finance จากจุฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลัย ปั จ จุบัน แต่งงานแล้ วกับ“คุณดิสยา วิวรรธนไกร” เริ่ มเข้ ามาช่วยงานโรงพิมพ์ในต�ำแหน่งผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการด้ านการเงินและบัญชี บริ ษัท ไซเบอร์ พริ น้ ท์ จ� ำ กั ด ซึ่ ง ปั จจุ บั น เปลี่ ย นชื่ อ เป็ น บริ ษัท ไซเบอร์ พริ น้ ท์ กรุ๊ ป จ�ำกัด ตังแต่ ้ ปี 2552 จนถึงปั จจุบนั ทัง้ นี ้ กิจการครอบครั วเริ่ มต้ นจากอากงของ คุณ อาทหรื อ “คุ ณ บั น ลื อ อุ ต สาหจิ ต ” กับ พี่ เ ขย ของอากง ก่อตังส� ้ ำนักพิมพ์บรรลือสาส์น เมื่อปี พ.ศ. 2498 ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2508 ได้ ก่อตังโรงพิ ้ มพ์บรรลือ อักษร เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิต และธุรกิจมีการ พัฒนาแบบควบคูเ่ ติบโตเรื่ อยมา ผู้คนในสังคมรู้จกั เป็ น
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:31:22
YOUNG อาท-ณภัทร วิวรรธนไกร ทายาท ‘ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป’ PRINTER ภายใต้มุมคิดธุรกิจครอบครัวต้องมาก่อน
อย่ า งดี ทัง้ ในฐานะเจ้ า ของต� ำ นานหนัง สื อ การ์ ตูน ขายหัวเราะ การ์ ตนู มหาสนุก นิตยสารขวัญเรื อน และ เป็ นโรงพิมพ์ใหญ่ที่จดั อยู่ในระดับชัน้ น�ำของประเทศ ให้ บ ริ ก ารสิ่ ง พิ ม พ์ ค รบวงจรทัง้ ระบบออฟเซ็ ต และ ระบบดิจิตอล คิดเสมอ“ธุรกิจครอบครั วต้ องมาก่ อน” ขณะที่ ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญญาตรี ที่ประเทศนิวซีแลนด์ ได้ ใช้ เวลาช่วงปิ ดเทอมกลับมา ศึ ก ษาหาความรู้ ด้ า นการพิ ม พ์ เ พิ่ ม เติ ม ที่ เ มื อ งไทย โดยสมั ค รเข้ าศึ ก ษาหลั ก สู ต รพิ เ ศษที่ ภ าควิ ช า วิทยาศาสตร์ ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยีทางการพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมทัง้ เข้ าฝึ กงานที่บริ ษัท ไซเบอร์ พริ น้ ท์ จ�ำกัด ในหลายๆ นอกจากนี ยั้ งได้ เคยลงเรียนหลักสูตร “การพิมพ์ แผนก เพื่อเรี ยนรู้งานที่เกี่ยวข้ องกับโรงพิมพ์ ออฟเซ็ทเบื ้องต้ น” จากสถาบันการพิมพ์ไทย (ภายใต้ การก�ำกับของสมาคมการพิมพ์ไทย) ซึ่งตังอยู ้ ่ที่นิคม อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ สินสาคร เพื่อ ศึกษาหาความรู้ เพิ่มเติมเกี่ ยวกับการพิมพ์ ซึ่งได้ รับ ประโยชน์จากหลักสูตรดังกล่าวอย่างมาก และสามารถ น� ำ มาประยุ ก ต์ ใ ห้ เ ข้ า กั บ การท� ำ งานในปั จ จุ บัน ได้ อย่างดียิ่ง เมื่อเรี ยนจบปริ ญญาโทจากจุฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ในปี พ.ศ. 2552 ถึ ง แม้ ว่ า มี ค วามต้ อ งการที่จ ะสมั ค รงานข้ า งนอกเพื่ อ ให้ มีประสบการณ์ ในการท�ำงานก่ อน แต่ ก็มีแนวคิด ว่ า ธุ รกิจครอบครั วต้ องมาก่ อน โดยต้ องการที่ จะเข้ ามาช่ วยแบ่ งเบาภาระของธุ รกิจครอบครั ว ให้ เ ร็ ว ที่ สุ ด จึ ง ได้ เ ริ่ มเข้ ามาช่ วยงานที่ บ ริ ษั ท ไซเบอร์ พริน้ ท์ จ�ำกัด ทันที ทัง้ นี ้ คุ ณ อาท มี มุม มองการท� ำ งานธุ ร กิ จ ครอบครัวว่า มีข้อดี ดังนี ้ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 93
093 7/8/2558 11:31:22
YOUNG PRINTER อาท-ณภัทร วิวรรธนไกร ทายาท ‘ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป’ ภายใต้มุมคิดธุรกิจครอบครัวต้องมาก่อน
1.ได้ รับความร่ วมมือในการท�ำงานอย่างเต็ม ที่จากทุกๆ ฝ่ าย เนื่องจากทุกๆ คนต่างมีจดุ ประสงค์ เดียวกันคือต้ องการท�ำให้ ธรุ กิจของครอบครัวเติบโต 2.การมอบหมายงานให้ บุคคลในครอบครั ว เป็ นไปอย่ า งคล่อ งตัว เข้ า ใจง่ า ย และรวดเร็ ว กว่ า มอบหมายให้ กั บ พนั ก งาน เนื่ อ งจากแต่ ล ะคนได้ มีโอกาสซึมซับธุรกิจมาตังแต่ ้ วยั เด็ก 3.มี ก ารช่ ว ยเหลื อ เกื อ้ กู ล กั น และให้ ความ ร่วมมือกันอย่างดี เนื่องจากเป็ นครอบครัวเดียวกัน 4.เนื่ อ งจากการเป็ นธุ ร กิ จ ครอบครั ว ท� ำ ให้ มีความรู้ สกึ ถึงความเป็ นเจ้ าของ ดังนัน้ จึงทุ่มเทให้ กับการท�ำงานอย่างเต็มที่เพื่อให้ เกิดความส�ำเร็ จตาม เป้าหมาย “แต่ ยอมรั บว่ าการท� ำ งานกั บ ธุ รกิ จ ครอบครั วก็มีข้อไม่ ดบี ้ าง คือ อาจเกิดการกระทบ กระทั่งกันบ้ างระหว่ างบุคคลภายในครอบครัว และ บางเรื่อง จะมีแนวคิดสวนทางกับทางผู้ใหญ่ ซึ่งอาจ จะเกิดจากมุมมองต่ างยุคต่ างวัย” คุณอาทกล่ าว ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานให้ ดี ยิ่ ง ๆ ขึ น้ ในทุก ๆ วัน เพื่อประหยัดเวลาและทรัพยากรอื่นๆ ในการท�ำงานให้ ปรัญชาและแนวทางการท�ำงาน มากทีส่ ดุ รวมทังหมั ้ น่ ฝึ กฝนการท�ำงานในด้ านต่างๆ อยู่ ส� ำ ห รั บ ป รั ช ญ า ก า ร เสมอ เพือ่ ให้ สามารถปฏิบตั งิ านได้ อย่างรวดเร็วขึ ้น โดย ท�ำงานมุ่งเน้ นการพัฒนาตนเอง ยังคงไว้ ซงึ่ คุณภาพของงาน อย่างไม่มีที่สิน้ สุด โดยการเพิ่ม ส่ ว นเป้ าหมายการท� ำ งาน เนื่ อ งจากงาน ส่วนใหญ่ จะท�ำอยู่ที่แผนกบัญชีและการเงิน จึงวาง เป้าหมายการท�ำงานมุ่งเน้ นลดค่าใช้ จ่ายของบริ ษัท และมุ่งเน้ นการใช้ ทรัพยากร ที่มีอยู่ให้ เกิดประโยชน์สงู สุด รวมทัง้ ตรวจสอบการจัด ท� ำ และส่ ง งบการเงิ น ให้ ถูก ต้ อ ง และตามก� ำ หนดเวลาตาม ที่กฎหมายก�ำหนด
094 TPM108_79-156.indd 94
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:31:24
YOUNG อาท-ณภัทร วิวรรธนไกร ทายาท ‘ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป’ PRINTER ภายใต้มุมคิดธุรกิจครอบครัวต้องมาก่อน
“ผมจะร่ วมเป็ นส่ วนหนึ่งที่ช่วยขับเคลื่อน ให้ ธุรกิจของครอบครั วพัฒนาต่ อไปและเติบโตได้ อย่ างยั่งยืน โดยเป็ นองค์ กรที่มีประสิทธิภาพ และ ผลิตงานพิมพ์ ท่มี คี ณ ุ ภาพ เพื่อสร้ างสรรค์ งานพิมพ์ ที่ดอี อกสู่ลูกค้ าและสังคม” เหตุผลเข้ ากลุ่ม Young Printer ต่อค�ำถามว่า มองอนาคตของอุตสาหกรรมการ พิมพ์ไทยไว้ อย่างไร คุณอาท กล่าวว่า อุตสาหกรรมการ พิมพ์ไทยมีแนวโน้ มเติบโตได้ อย่างเข้ มแข็งและมากขึ ้น เรื่ อยๆ จากความร่ วมมือและช่วยเหลือกันอย่างดีของ โรงพิมพ์ท่ีเป็ นสมาชิกของสมาคมการพิมพ์ไทย เพื่อที่ จะท�ำให้ อตุ สาหกรรมการพิมพ์ไทยสามารถพัฒนาและ เติบโตไปได้ อย่างยัง่ ยืน “และนัน่ คื อ เหตุผลที ่มาเข้าร่ วมกิ จกรรมกับ กลุ่ม Young Printer เนือ่ งด้วยทางครอบครัวของผม
มี ความสนใจจะส่งผู้บริ หารเข้าร่ วมกิ จกรรมกับทาง สมาคมการพิมพ์ไทย โดยกรรมการสมาคมรุ่นใหญ่ ทาง บริ ษัทส่งคุณน้าผมมาร่ วมเป็ นกรรมการ ส่วนกรรมการ สมาคมรุ่นเล็กก็มีผมเข้ามาปฏิ บตั ิ หน้าที เ่ ป็ นกรรมการ กลุ่ม Young Printer ซึ่งได้มีการแลกเปลีย่ นความคิ ด เห็นในเรื ่องต่างๆ รวมถึงปัญหาทีเ่ กิ ดขึ้นเกีย่ วการปฏิ บตั ิ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 95
095 7/8/2558 11:31:26
YOUNG PRINTER อาท-ณภัทร วิวรรธนไกร ทายาท ‘ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป’ ภายใต้มุมคิดธุรกิจครอบครัวต้องมาก่อน
งานจริ ง รวมทัง้ ได้รบั รู้ข่าวสารเทคโนโลยีทางการพิ มพ์ ใหม่ๆ ทีเ่ กิ ดขึ้นในทีต่ ่างๆ ของโลก” “กิจกรรมที่ทางสมาคมการพิมพ์ ไทยจัดให้ กับกลุ่ม Young Printer ล้ วนแล้ วแต่ เป็ นกิจกรรม ที่มีประโยชน์ เช่ น ศึกษาดูงานโรงพิมพ์ ต้นแบบ ให้ ความรู้ และข่ าวสารต่ างๆ ซึ่งผมก็ได้ เข้ าร่ วม กิ จ กรรมอยู่ หลายครั ้ ง หลายครา นอกจากนี ้ จากการเข้ าร่ วมกิจกรรมกับกลุ่ม Young Printer ยังท�ำให้ ผมได้ พบกับเพื่อนดีๆ อีกมากมาย” ส�ำหรั บบทบาทในการท�ำกิ จกรรมกับกลุ่มฯ คุณ อาทรั บ หน้ า ที่ เ ป็ นกรรมการ ได้ เ ข้ า ร่ ว มประชุม เพื่อเตรี ยมจัดงานหรื อกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ ยวข้ องกับ สมาคมการพิมพ์ ไทย เช่น การจัดประกวดสิ่งพิมพ์ แห่งชาติ (Thai Print Award) ซึ่งจะจัดขึ ้นทุกปี เพื่อ ประกาศเกี ยรติคุณ คัดสรรงานพิ มพ์ คุณภาพ และ จัดส่งไปประกวดต่อในเวทีระดับอาเซียน (Asian Print Award) รวมทัง้ มีการเรี ยกประชุมติดตามความคืบ หน้ าในเรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับวงการพิมพ์ไทย ซึง่ จะ
096 TPM108_79-156.indd 96
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:31:27
YOUNG อาท-ณภัทร วิวรรธนไกร ทายาท ‘ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป’ PRINTER ภายใต้มุมคิดธุรกิจครอบครัวต้องมาก่อน
เข้ าร่วมสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ร่วมรับฟั งและแสดงความคิดเห็น นอกจากนี ้ ยังได้ ร่วมกับกลุม่ Young Printer ช่วยกันจัดกิจกรรมต่างๆ ขึ ้นมา เช่น กิจกรรมอบรม สัม มนา,การจัดแรลลี่ YPG Super Hero ซึ่งจัด ขึ ้นที่พทั ยา และการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา เช่น ศึกษา ดูงานโรงพิมพ์ต้นแบบ ให้ กบั โรงพิมพ์ทเี่ ป็ นสมาชิก ฯลฯ กิจกรรมยามว่ างและงานอดิเรก “ในเวลาว่า ง ส่ว นมากผมจะใช้ เวลาอยู่กับ ครอบครัว โดยมีกิจกรรมท�ำร่วมกัน เช่น ท�ำกับข้ าวรับ ประทานกันเองที่บ้าน หรื อตามหาของอร่ อยทานนอก บ้ าน ร้ านไหนเด็ดต้ องตามไปชิม ขนมร้ านไหนน่ากิน ต้ องลอง และเน้ นการออกก�ำลังกายที่เป็ นการสังสรรค์ กับเพื่อนด้ วย เช่น เล่นฟุตบอล ตีกอล์ฟ เป็ นต้ น รวมทัง้ กิจกรรมแปลกๆ ใหม่ๆ เช่น ต่อยมวยไทย เวคบอร์ ด อีก ทังผมยั ้ งชอบที่จะเข้ ารับการอบรมในคอร์ สต่างๆ เพื่อ เพิ่มเติมความรู้ให้ กบั ตัวเองด้ วย” คุณอาทชอบใช้ ชีวิตโดยท�ำในสิ่งที่ตนเองท�ำ แล้ วมีความสุข และรู้สกึ ผ่อนคลาย เช่น พบปะสังสรรค์ กับเพื่อนๆ ดูคอนเสิร์ต ดูหนัง ดูฟตุ บอล ออกก�ำลังกาย นวดผ่อนคลาย บริ จาคโลหิตให้ สภากาชาดไทย รวมถึง
การได้ ไปท่องเที่ยวในสถานที่ใหม่ๆ ไปเที่ยวต่างจังหวัด หรื อต่างประเทศกับเพื่อนๆ ท้ ายนี ้ คุณอาทฝากว่ า อยากให้ เพื่อนๆ พี่ๆ น้ องๆ ในแวดวงการพิมพ์ ทกุ คนช่ วยกันสร้ างสรรค์ สิ่ ง ดี ๆ ให้ กั บ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ของเรา ร่ วมกันผนึ กก�ำลังให้ อุตสาหกรรมการพิมพ์ ของ เราแข็งแกร่ ง เพื่อประโยชน์ ท่ ีจะเกิดขึน้ กับพวก เราทุกคนครั บ! THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 97
097 7/8/2558 11:31:28
PRINT KNOWLEGE
แนวทางในการแข่งขันของผู้ประกอบการเพิ่มขีดความสามารถ
เพื่อรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ในการแข่งขันของผู้ประกอบการ เพิ่มขีดความสามารถ
เพื่อรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ การจัด ตัง้ เขตพัฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษถื อ เป็ นการพัฒ นา เชิ ง พื น้ ที่ ที่ส�ำคัญ ซึ่งปั จ จุบันรั ฐ บาลได้ มีน โยบายที่ จะพัฒนาเขต เศรษฐกิจพิเศษ โดยเริ่ มจากการพัฒนาด่านการค้ าชายแดนและโครง ข่ายการคมนาคมขนส่งบริเวณประตูการค้ าหลักของประเทศ เพือ่ เชือ่ ม โยงกระบวนการผลิตและการลงทุนข้ ามแดน โดยปรับปรุงโครงข่าย ระบบถนน พัฒนาระบบ National Single Window (NSW) และ สิง่ อ�ำนวยความสะดวกทางการค้ าและการขนส่งสินค้ าข้ ามแดนอย่าง ต่อ เนื่ อ ง รองรั บ การเข้ า สู่ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN Economic Community: AEC) คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) ได้ เห็นชอบพื ้นที่ที่มีศกั ยภาพเหมาะสม ในการจัดตังเป็ ้ นเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษระยะแรกของไทยใน 5 พื ้นที่ชายแดน ได้ แก่ (1) อ�ำเภอ แม่ ส อด จัง หวัด ตาก (2) อ� ำ เภออรั ญ ประเทศ จัง หวัด สระแก้ ว (3) อ�ำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด (4) อ�ำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร และ(5) อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ซึง่ ในเวลานี ้นับเป็ น โอกาสอั น ดี ที่ ผ้ ู ประกอบการควรได้ มี
098 TPM108_79-156.indd 98
การปรั บ ตัว เตรี ย มความพร้ อม เพื่ อ รองรั บ เขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษที่ ก�ำลังจะเกิดขึ ้นในอีกไม่ช้านี ้ หลั ก เกณฑ์ และวิ ธี ก ารสนั บ สนุ น การจัดตัง้ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ คณะกรรมการนโยบาย เขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ได้ มี ม ติ เห็นชอบการแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการ เพื่ อ ปฏิ บั ติ ง านและกลั่ น กรองเรื่ อง ตามนโยบายของคณะกรรมการนโยบาย เขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษจ� ำ นวน 3 คณะได้ แก่
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:31:29
แนวทางในการแข่งขันของผู้ประกอบการเพิ่มขีดความสามารถ เพื่อรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
1) คณะอนุกรรมการด้ านสิทธิประโยชน์ ขอบเขตพื ้นที่ และ ศูนย์บริ การเบ็ดเสร็ จด้ านการลงทุน 2) คณะอนุก รรมการศูน ย์ บ ริ ก ารเบ็ ด เสร็ จ ด้ า นแรงงาน การสาธารณสุข และความมัน่ คง และ 3) คณะอนุกรรมการด้ านโครงสร้ างพื ้นฐานและด่านศุลกากร โดยในส่ ว นของกระทรวงอุต สาหกรรมมี ก ารนิ ค มอุต สาหกรรม แห่งประเทศไทย เป็ นกรรมการในองค์ประกอบของคณะกรรมการ ชุดที่ 1) และ 3) โดยมีหลักเกณฑ์ และวิธีการสนับสนุนการจัดตัง้ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 4 เรื่ อง ได้ แก่ 1) สิทธิประโยชน์สำ� หรับการลงทุน ด้ วยการให้ สทิ ธิประโยชน์ ตามเขตการส่งเสริ มการลงทุนเขต 3 พิเศษและสิทธิประโยชน์อื่นทังที ้ ่ เป็ นภาษี และไม่ใช่ภาษี 2) การให้ บริ การจุดเดียวแบบเบ็ดเสร็ จ โดยจัดตังศู ้ นย์การ ให้ บริ การจุดเดียวแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service : OSS) ด้ านการ ลงทุน โดยมีส�ำนักงานในพื ้นที่ และเชื่อมโยงกับศูนย์บริ การด้ านการ ลงทุนของส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน หรื อ BOI และ จัดตัง้ OSS ด้ านแรงงาน สาธารณสุข และการตรวจคนเข้ าเมือง 3) มาตรการสนับสนุนการใช้ แรงงานต่างด้ าว จัดระบบแรงงาน ต่างด้ าวแบบไป-กลับ รวมทังก� ้ ำหนดแนวทางการฝึ กอบรมแรงงาน
PRINT KNOWLEGE
4) การพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐาน และด่านศุลกากรในพื ้นที่ โดยจะพัฒนา ด้ านศุลกากรและการผ่านแดนโครงสร้ าง พื ้นฐานด้ านการขนส่ง ระบบน� ้ำ ไฟฟ้า และอื่นๆ ทั ง้ นี ้ เพื่ อ ให้ สามารถรองรั บ กิจกรรมในพื ้นทีเ่ ขตเศรษฐกิจ และเชือ่ มโยง ประเทศในภูมภิ าคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ศักยภาพด้ านอุตสาหกรรมของเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 5 พืน้ ที่ ส� ำ ห รั บ ศั ก ย ภ า พ ใ น ด้ า น อุตสาหกรรมของเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ 5 พืน้ ที่นัน้ ในแต่ละพืน้ ที่ต่างมี ศักยภาพที่แตกต่างกัน โดยจังหวัดตาก มีศักยภาพในการพัฒนาอุตสาหกรรม ที่ เ น้ นการใช้ แรงงานสู ง โดยมี ก ลุ่ ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม ที่ มี ศั ก ย ภ า พ เ ช่ น อุตสาหกรรมเกษตรแปรรู ป (ข้ าวโพด
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 99
099 7/8/2558 11:31:30
PRINT KNOWLEGE
แนวทางในการแข่งขันของผู้ประกอบการเพิ่มขีดความสามารถ
เพื่อรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ผัก ผลไม้ ) อุต สาหกรรมสิ่ง ทอและเครื่ อ งนุ่ง ห่ม (ตัด เย็ บ เสื อ้ ผ้ า ส�ำเร็ จรูป) อุตสาหกรรมไม้ และเฟอร์ นิเจอร์ อุตสาหกรรมอัญมณีและ เครื่ องประดั บ จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร มี ก ลุ่ ม อุ ต สาหกรรมที่ มี ศักยภาพ เช่น อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป (ข้ าว อ้ อย) อุตสาหกรรม แปรรูปยางพารา และอุตสาหกรรมแปรรูปปศุสตั ว์ จังหวัดสระแก้ ว มี ก ลุ่ม อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ เช่นอุตสาหกรรมเกษตรแปรรู ป (มันส�ำปะหลัง) อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน จังหวัดตราด มีกลุม่ อุตสาหกรรมทีม่ ศี กั ยภาพ เช่น อุตสาหกรรมเกษตร แปรรูป (ปาล์ม ผลไม้ ประมง) และอุตสาหกรรมแปรรูปยางพารา ส่วน จังหวัดสงขลา มีกลุม่ อุตสาหกรรมทีม่ ศี กั ยภาพ เช่น อุตสาหกรรมแปรรูป ยางพาราอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเล และ อุตสาหกรรมเครื่องแต่งกายมุสลิม เป็ นต้ น แนวทางการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่ งขันของ ผู้ประกอบการเพื่อรองรั บเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ส�ำหรับแนวทางการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ผู้ประกอบการเพือ่ เตรียมความพร้ อมรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ผู้ประกอบการควรมุ่งเน้ นที่การพัฒนาใน 4 เรื่ องหลัก ซึ่งล้ วนแล้ ว
100 TPM108_79-156.indd 100
แต่ไม่ใช่เรื่องใหม่แต่อย่างใด แต่เป็ นเรื่อง ที่ ผ้ ูป ระกอบการควรตระหนัก และให้ ความส�ำคัญอย่างต่อเนื่องในการพัฒนา เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ให้ กบั กิจการของตนเอง ได้ แก่ 1) การพั ฒ นาผลิ ต ภาพ (Productivity) ตามแนวทางยุทธศาสตร์ การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและผลิ ต ภาพ ของภาคอุตสาหกรรม พ.ศ. 2551-2555 ที่ได้ ก�ำหนดยุทธศาสตร์ ไว้ 5 ด้ าน ได้ แก่ - การยกระดับความสามารถ ทักษะแรงงาน (Human Skill) ทังแรงงาน ้ ที่ มี อ ยู่ เ ดิ ม และแรงงานที่ ก� ำ ลั ง เข้ าสู่ ภาคอุตสาหกรรม - การยกระดับความสามารถ ทางด้านการบริหารจัดการ (Management) - การปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพ เครื่ องจักร - การพัฒนาระบบ Logistics ภายในกลุม่ อุตสาหกรรม - การสร้ างเครื อข่ายพันธมิตร ธุรกิจ และ Supply Chain ซึ่ง ผู้ป ระกอบการสามารถน� ำ แนวทางการพัฒนาเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ และผลิ ต ภาพของภาคอุ ต สาหกรรม มาปรั บใช้ เข้ ากับกิ จการของตนเองได้
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:31:31
แนวทางในการแข่งขันของผู้ประกอบการเพิ่มขีดความสามารถ เพื่อรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
เช่น ยกระดับความรู้ ทักษะแรงงานใหม่และทักษะ แรงงานเดิมที่มีอยู่ให้ มีความสามารถเพิ่มขึ ้นเพื่อรองรับและ ทันต่อความเปลี่ยนแปลง การน�ำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) มาใช้ ในกระบวนการเพิ่มประสิทธิ ภาพและผลิตภาพ การพัฒนา คุณภาพอย่างต่อเนือ่ ง (Continual Quality Improvement) การพัฒนา และปรับปรุงกระบวนการผลิต การพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพ เครื่องจักรในกิจการของตนเพือ่ การเพิม่ ประสิทธิภาพและผลิตภาพใน การผลิ ต การพัฒ นาระบบโลจิ ส ติ ก ส์ (Logistics) ภายในกลุ่ม อุตสาหกรรม เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพลดต้ นทุนด้ าน Logistics โดยการรวมกลุ่ม ธุ ร กิ จ ในลัก ษณะเครื อ ข่ า ยวิ ส าหกิ จ (Cluster) และ Supply Chain เพือ่ เชื่อมโยงการผลิต โดยเน้ นการเรี ยน รู้ซงึ่ กันและกันระหว่างผู้ประกอบการรายใหญ่และรายเล็ก 2) การสร้ างมูลค่ า (Value Added) และคุณค่ า (Value Creation) ให้ กับสินค้ าและบริการ กลยุทธ์สำ� คัญในการเสริ มสร้ าง ความสามารถในการแข่งขันให้ แก่ธรุ กิจ ในยุคทีต่ ้ องขับเคลือ่ นด้ วยทุน สมอง สติปัญญาและความคิดสร้ างสรรค์ แทนการแข่งขันด้ วยการใช้ ความได้ เปรี ยบด้ านวัตถุดิบ แรงงาน และความสามารถในการผลิต ตามแนวคิดเดิมของระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมการผลิตจ�ำนวนมาก (Mass Production) ซึง่ ก�ำลังหมดสมัย ไม่สามารถแข่งขันได้ ในปั จจุบนั ควรให้ ความส�ำคัญกับการยกระดับคุณค่า (Value Up) ซึง่ เป็ นกระ บวนการในการสร้ างสรรค์ คุ ณ ค่ า อั น จะน� ำ ไปสู่ มู ล ค่ า เพิ่ ม ของ ผลิตภัณฑ์หรื อบริ การ ช่วยยกระดับความสามารถในการแข่งขันของ ธุรกิจให้ สงู ขึ ้น สร้ างภูมคิ ้ มุ กันจากการลอกเลียนแบบและการตัดราคา รวมทังปรั ้ บต�ำแหน่งของธุรกิจสูต่ ำ� แหน่งที่สามารถเป็ นผู้ก�ำหนดราคา ได้ ตามความ เหมาะสม น�ำมาซึง่ รายได้ และผลก�ำไรที่เพิ่มขึ ้น โดยมี
PRINT KNOWLEGE
แนวทางในการสร้ างมูลค่าและคุณค่า เช่น การพัฒนาการออกแบบสินค้ าให้ มคี วาม แปลกใหม่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึง่ จะ ท�ำให้ ยากต่อการลอกเลียนแบบ รวมทัง้ พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ให้ มคี วามหลาก หลายเป็ นทีต่ ้ องการของตลาดมากขึ ้น 3) การพัฒ นาคุ ณ ภาพและ มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ ทัง้ ในด้ าน การพัฒนาสินค้ าให้ มีคณ ุ ภาพดีขึ ้น และ ผลิ ต สิ น ค้ าให้ ได้ มาตรฐานมากขึ น้ ซึ่ ง ปั จจุ บัน เป็ นที่ ย อมรั บ กั น ว่ า เรื่ อ ง มาตรฐานเป็ นเรื่ องที่สำ� คัญและจ�ำเป็ นที่ จะต้ องมีการยกระดับเพื่อสร้ างขีดความ สามารถของผู้ประกอบการ และสนอง ความต้ องการของประเทศคู่ค้า ทัง้ ใน เรื่ องคุณภาพ ความปลอดภัย สุขอนามัย และสิง่ แวดล้ อม เนื่องจากประเทศต่างๆ ได้ ส ร้ างเกราะคุ้ม กัน และปกป้ องผล ประโยชน์ ท างการค้ า ของตนด้ ว ยการ ก�ำหนดมาตรการต่างๆ ขึ ้น เพื่อใช้ เป็ น เครื่องมือกีดกันทางการค้ าโดยมาตรฐาน สิ น ค้ าอุ ต สาหกรรมมี อ ยู่ ห ลายระดับ เช่น มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน (มผช.) และมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (มอก.) ซึง่ เป็ นมาตรฐานระดับประเทศ ที่ มี ข้ อก� ำ หนดเพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพ การผลิ ต สิ น ค้ าของประเทศให้ เป็ น ที่ยอมรับในระดับสากล นอกจากนี ้ยังมี มาตรฐานที่ยึดถือกันระหว่างประเทศที่ ผู้ประกอบการส่งออกของไทยต้ องถื อ ปฏิบตั ิ ซึง่ มาตรฐานระหว่างประเทศเป็ น มาตรฐานทีพ่ ฒ ั นาขึ ้นโดยองค์กรระหว่าง ประเทศที่ มี ก ารยอมรั บ และใช้ กั น
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 101
101 7/8/2558 11:31:33
PRINT KNOWLEGE
แนวทางในการแข่งขันของผู้ประกอบการเพิ่มขีดความสามารถ
เพื่อรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
โดยหลักๆ ได้ แก่ องค์การการค้ าโลก (World Trade Organization : WTO) และ International Organization of Standardization : ISO คือ อีกองค์กรหนึ่งที่พฒ ั นามาตรฐานระหว่างประเทศกว่า 17,000 รายการ ในขณะที่แต่ละปี หน่วยงานนี ้จะพัฒนามาตรฐานใหม่ๆ เพิ่ม ขึ ้นถึง 1,100 รายการต่อปี โดยแบ่งออกเป็ น 40 สาขา เช่น เกษตรกรรม เทคโนโลยีอาหาร อุตสาหกรรมเสื ้อผ้ า สื่อสาร โทรคมนาคม และด้ าน การปกป้องสุขอนามัย ความปลอดภัย และสิง่ แวดล้ อม เป็ นต้ น หรื อ แบ่งออกตามคณะกรรมการที่มีการตังขึ ้ ้นเพื่อดูแล ซึง่ มีอยู่ประมาณ 215 กลุม่ แยกตามประเภทของสินค้ าเป็ นหลัก โดยมีประเทศสมาชิก เข้ าร่วมถึง 157 ประเทศทัว่ โลก ส�ำหรับมาตรฐานระหว่างประเทศที่ นิยมใช้ กนั โดยทัว่ ไป อาทิ Codex / OIE / IPPC / Food Safety / HACCP / GMP / COC และที่นา่ จับตามองเพิม่ ขึ ้น (โดยเฉพาะการน�ำ มาประยุกต์ใช้ กบั ประเทศไทย) คือ REACH ซึง่ เป็ นระเบียบว่าด้ วยสาร เคมีของสหภาพยุโรป ที่ก�ำหนดโดยคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป ควบคุมการใช้ สารเคมีด้วยระเบียบ REACH (Registration Evaluation and Authorization of Chemicals) 4) การหาช่ องทางขยายตลาด มีการวางแผนกลยุทธ์การ ขยายโอกาสทางการตลาด โดยการศึกษาและวิจยั เพื่อหาตลาดใหม่ๆ ที่เหมาะสมกับสินค้ าและผลิตภัณฑ์ของตนเอง ซึง่ มีตลาดใหม่ที่น่า สนใจ เช่น ตลาดในกลุม่ ประเทศเพื่อนบ้ าน และตลาดในกลุม่ ประเทศ BRICS1 ซึง่ ปั จจุบนั ประเทศไทยมีความร่ วมมือในกรอบทวิภาคีและ พหุภาคี รวมถึงมีความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจการค้ าและการลงทุนกับ ประเทศต่างๆ ในกลุ่ม BRICS (กลุ่มประเทศก�ำลังพัฒนาที่มีการ พัฒนาและการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว (Emerging Market)
102 TPM108_79-156.indd 102
ประกอบด้ วยประเทศบราซิล (Brazil) รัสเซีย (Russia) อินเดีย (India) และจีน (China) โดยมีความส�ำคัญหลายกรอบ ความร่วมมือ อาทิ ไทย-จีน ได้ แก่ การท�ำ ASEAN-China FTA ในกรอบพหุภาคี ความร่ ว มมื อ ในกรอบทวิ ภ าคี ต่ า งๆ ไทย-อินเดีย อยูร่ ะหว่างการเจรจา FTA ระหว่างกัน และอินเดียยังเป็ นตลาดใหม่ ที่ส�ำคัญของไทย ไทย-รัสเซีย ซึง่ รัสเซีย เป็ นประเทศคู่ค้าอันดับหนึ่งของไทยใน กลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกและกลุ่ม ประเทศเครื อ รั ฐ เอกราช (Commonwealth of Independent States : CIS) ไทย-บราซิล ได้ มีการลงนามความตกลง ทวิ ภ าคี ท างการค้ า ระหว่ า งกัน ไทยแอฟริ กาใต้ แอฟริ กาใต้ เป็ นคูค่ ้ าอันดับ หนึง่ ของไทยในทวีปแอฟริกาและเป็ นตลาด ส่ง ออกข้ า วที่ ใ หญ่ ที่ สุด ของไทยในอนุ ภูมภิ าคแอฟริกาตอนใต้ บทสรุ ป ใ น ยุ ค ที่ มี ก า ร แ ข่ ง ขั น ท า ง เศรษฐกิ จ สู ง “ใครพร้ อมก่ อ นย่ อ ม ได้ เปรี ยบ” ดังนัน้ ผู้ประกอบการควร เตรี ยมความพร้ อมรองรั บ การเกิ ด เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยการเพิ่ม ขี ดความสามารถในการแข่ง ขัน ให้ กับ กิ จการของตนเอง ซึ่งจะเป็ นการสร้ าง ความเข้ ม แข็ ง และเพิ่ ม โอกาสในการ ประกอบธุ ร กิ จ แก่ ผ้ ู ประกอบการให้ ประสบผลส�ำเร็จและกิจการมีการเติบโต อย่างยัง่ ยืน ส�ำหรับการเตรี ยมการเพื่อ รองรับการเกิดเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:31:33
แนวทางในการแข่งขันของผู้ประกอบการเพิ่มขีดความสามารถ เพื่อรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
PRINT KNOWLEGE
ของกระทรวงอุตสาหกรรมนัน้ มี 2 หน่วยงานทีส่ ำ� คัญในการขับเคลือ่ น นโยบายการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษสนองรับนโยบายของ รัฐบาล ได้ แก่ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้ มีแผนที่จะ ศึกษาการจัดตังนิ ้ คมอุตสาหกรรมในเขตเศรษฐกิจพิเศษ 5 พื ้นทีน่ �ำร่อง ตามนโยบายรัฐบาล ในปี 2558 และอยูร่ ะหว่างแก้ ไขพระราชบัญญัติ ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อให้ เกิดความคล่องตัว ในการบริ หารจัดการ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับประเทศ สมาชิ ก อาเซี ย น ตลอดจนจูง ใจให้ นัก ลงทุน เข้ า มาลงทุน ในนิ ค ม อุตสาหกรรม นอกจากนี ้ ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ได้ แต่งตังคณะ ้ กรรมการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษด้ านอุตสาหกรรมขึ ้น โดย มีอ�ำนาจหน้ าที่ในการเสนอแนะแนวทางการพัฒนาและแผนการผลัก ดัน เขตพัฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษด้ า นอุต สาหกรรมให้ กับ กระทรวง อุต สาหกรรม พร้ อมทัง้ ได้ แ ต่ ง ตัง้ คณะท� ำ งานพัฒ นาเขตพัฒ นา เศรษฐกิจพิเศษด้ านอุตสาหกรรม โดยมีอ�ำนาจหน้ าทีใ่ นการจัดท�ำและ วิเคราะห์ข้อมูล รวมทังยกร่ ้ างแผนการพัฒนาและแผนการผลักดันเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษด้ านอุตสาหกรรมเสนอต่คณะกรรมการพัฒนา เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษด้ านอุตสาหกรรม ซึง่ เมื่อแผนการพัฒนา
และแผนการผลักดันเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษด้านอุตสาหกรรม ได้รบั ความเห็นชอบ จากผู้บริหารของกระทรวงอุตสาหกรรมแล้ว ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมจะด�ำเนิน การผลักดันแผนการพัฒนาและแผนการผลัก ดันฯ ผ่านคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรม แห่งชาติ (กอช.) เพือ่ พิจารณาให้ความเห็น ชอบและน�ำเสนอต่อคณะรัฐมนตรีตอ่ ไป ซึง่ จะท�ำให้ กระทรวงอุตสาหกรรมมีกรอบ แนวทางในการพัฒนาอุตสาหกรรมในพื ้นที่ ทัง้ 5 พื ้นทีเ่ ศรษฐกิจชายแดนดังกล่าว ซึง่ จะ เป็ นการชี ้น�ำการพัฒนาอุตสาหกรรมภูมภิ าค ในเชิงรุก อันจะน�ำไปสูก่ ารเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขันประเทศสามารถใช้เป็ น แนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ในแต่ละพื ้นทีข่ องทัง้ 5 จังหวัดให้ขบั เคลือ่ น น�ำพาเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศให้เจริญ รุดหน้ายิง่ ขึ ้นในอนาคต แหล่ งข้ อมูลอ้ างอิง -ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, แผนแม่บทการ เพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพของภาคอุ ตสาหกรรม พ.ศ. 2551-2555 -กรมเอเชียใต้ ตะวันออกกลางและแอฟริ กา กระทรวงพาณิชย์ (http://sameaf.mfa.go.th).กลุม่ เศรษฐกิจบริ คส์ (BRICS), ธันวาคม 2556 -สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม http://www.ismed.or.th, บริการเพิม่ มูลค่าผลผลิตและออกแบบผลิตภัณฑ์, ธันวาคม 2556 -ชมัยพร วิเศษมงคล ที่ปรึกษา SMEs, ส�ำนักงานส่งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) , มาตรฐานสินค้ า...สิง่ ที่พลาดไม่ได้ , สืบค้ นเมื่อ 16 มกราคม 2558 THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 103
103
7/8/2558 11:31:34
PRINT TRAVEL
‘นครหาดใหญ่’ สวรรค์นักท่องเที่ยว ชม ชิม ช้อป ครบครันในทริปเดียว
ผลพวงจากการจัดงาน “การพิมพ์ ไทย สัญจร’58” ครัง้ ล่าสุดของสมาคมการพิมพ์ไทย เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ท�ำให้ ได้ มี โอกาสสัมผัสมนต์เสน่ห์ของ “หาดใหญ่ ” ซึง่ เป็ น สถานทีจ่ ดั งาน และพูดถึงทีไรหลายคนอาจเข้ าใจ ว่าเป็ น 1 ใน 77 จังหวัดของประเทศไทย แต่จริ งๆ แล้ ว เป็ นเพี ย งอ� ำ เภอหนึ่ ง ของจัง หวัด สงขลา เท่านัน้ มีพืน้ ที่ครอบคลุมทัง้ หมด 21 ตาราง กิโลเมตร ตังอยู ้ ่ห่างจากกรุ งเทพมหานคร 945 กิ โลเมตร ห่า งจากตัว อ�ำเภอเมื องสงขลา 27 กิโลเมตร ห่างจากชายแดนไทย – มาเลเซีย (ด่าน สะเดา) 60 กิโลเมตร และได้ รับยกฐานะเป็ น “เทศบาลนครหาดใหญ่ ” หรือ “นครหาดใหญ่ ” เมื่อปี พ.ศ. 2538 “นครหาดใหญ่ ” เป็ นศูนย์ กลางทาง เศรษฐกิจ การค้ าและการคมนาคมขนส่งทีส่ ำ� คัญ ของภาคใต้ แถมยั ง เป็ นที่ ตั ง้ ของสนามบิ น น า น า ช า ติ อี ก ด้ ว ย ข ณ ะ ที่ ใ น ตั ว เ มื อ ง มี โรงแรมที่ พั ก อยู่ ม ากมายเกื อ บ 100 แห่ ง ไ ว้ ต้ อนรั บนั ก ท่ อ งเที่ ยวทั ง้ ชา วไทยและ ชาวต่างชาติ ว่ากันว่าช่วงค�่ำๆ ทุกวันศุกร์ ของสัปดาห์ ใจกลางเมื อ งหาดใหญ่ จ ะคึ ก คัก ไปด้ ว ยชาว ต่างชาติ โดยเฉพาะเพื่อนบ้ านชาวมาเลเซียเป็ น
104 TPM108_79-156.indd 104
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:31:39
‘นครหาดใหญ่’ สวรรค์นักท่องเที่ยว ชม ชิม ช้อป ครบครันในทริปเดียว
PRINT TRAVEL
สีสนั ถนนคนเดิ นยามค�่ำคืน
แขกวีไอพีที่เข้ ามาท่องเที่ยวมากที่สดุ เพราะสามารถขับรถ ข้ ามแดนไม่ถึงชัว่ โมงก็ได้ มาเที่ยวต่างแดน มีทงถนนคนเดิ ั้ น ชวนชิมอาหารอร่อยยามค�ำ่ คืน ทัวร์ ไหว้ พระ แหล่งช้ อปปิ ง้ ครบ ครันในทริ ปเดียวจบ สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วยอดนิ ย มในหาดใหญ่ ท่ี ท้ั ง ชาวไทยและต่ างชาตินิยมไปเดินทอดน่ อง ได้ แก่ 1) ตลาดกิมหยง มาจากชื่อเต็มว่า “ตลาดชีกิม หยง” เป็ นชื่อของคหบดีชาวจีนชื่อ “ชีกิมหยง” และภรรยา ชื่ อ “ละม้ า ย” เจ้ า ของที่ ดินดัง้ เดิม ตัง้ อยู่บนถนนละม้ าย สงเคราะห์ เป็ นอาคารสูง 2 ชัน้ บริ เ วณชัน้ บนเคยเป็ น โรงภาพยนตร์ ชอื่ โรงภาพยนตร์ เฉลิมไทย ขณะทีบ่ ริเวณชันล่ ้ าง เป็ นตลาดสดเหมือนตลาดทัว่ ไป แต่ปัจจุบนั รู้จกั กันอย่างแพร่ หลายว่า เป็ นตลาดขายสินค้ าหนีภาษีทขี่ าช้ อปต้ องแวะ สินค้ า
กุง้ ไก่ นกกระทาทอด อาหารยอดนิ ยม
ที่ขายส่วนใหญ่น�ำเข้ ามาจากประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะช็อคโกแลต กาแฟส�ำเร็ จรู ป น� ้ำหอม กระเป๋ าแบรนด์เนมทังแท้ ้ และเทียม เครื่องส�ำอาง เครื่ องใช้ ไฟฟ้า เสื ้อผ้ า กระโปรง รองเท้ า แว่นตา นาฬิกา ปากกา ของเล่น รวมไปถึงผลไม้ ของ ขบเคี ้ยว และผลไม้ อบแห้ ง เช่น ถัว่ บ๊ วย สาหร่าย ลูกท้ อ ลูกเกด เม็ดมะม่วงหิมพานต์ ฯลฯ ซึง่ เป็ น ราคาที่สามารถต่อรองกับพ่อค้ าแม่ค้าได้ 2) ตลาดสันติสุข ตังอยู ้ ่ใจกลางเมือง บริ เ วณถนนนิ พัท ธ์ อุทิ ศ 1, นิ พัท ธ์ อุทิ ศ 2 และ นิพทั ธ์อทุ ิศ3 สามารถเดินทะลุได้ กนั ทังหมด ้ เป็ น ย่ า นการค้ าเก่ า แก่ ข องหาดใหญ่ ที่ จ� ำ หน่ า ย THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 105
105 7/8/2558 11:31:40
PRINT TRAVEL
‘นครหาดใหญ่’ สวรรค์นักท่องเที่ยว ชม ชิม ช้อป ครบครันในทริปเดียว
สินค้ าหลากหลายประเภท ไม่วา่ จะเป็ นน� ้ำหอม เมืองหาดใหญ่พวงกุญแจเมืองหาดใหญ่ เสื ้อยืดคอกลมสกรีน เครื่ องส�ำอาง เสื ้อผ้ า นาฬิกา กระเป๋ า รองเท้ า ค�ำว่า “หาดใหญ่” มีทกุ สีทกุ ไซด์ให้ เลือกซื ้อ เรี ยกว่าเดินถนน แว่นตา และผลไม้ หลากหลายชนิด ไฮไลต์ของ สายนี ้อิม่ ท้ องแถมได้ ของฝากเต็มไม้ เต็มมือ..แต่กระเป๋ าแบน! ตลาดนี ้คือเกาลัดคัว่ หอมชวนชิม 4) สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ ตังอยู ้ ่ 3) ถนนคนเดินกลางคืน เนื่องด้ วยเป็ น ถนนกาญจนวนิ ช เป็ นสถานที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจของ ที่ร้ ูกนั ของคนท้ องถิ่นว่าช่วงค�่ำๆ ของทุกวันย่าน ชาวหาดใหญ่และนักท่องเที่ยว เพราะนอกจากแวดล้ อมไป ถนนเสน่หานุสรณ์ เริ่ มตังแต่ ้ หน้ า “โรงแรมหรื อ ศูนย์ การค้ าลีการ์ เด้ นพลาซ่ า” ตรงข้ ามกับห้ าง สรรพสิ น ค้ า เซ็ น ทรั ล จะห้ า มไม่ ใ ห้ ร ถใหญ่ วิ่ ง เข้ าไป เพราะสองฝั่ งข้ างทางคึกคักไปด้ วยนักท่อง เทีย่ วและบรรดาพ่อค้ าแม่ค้าทีต่ งแผงขายอาหาร ั้ ยาวๆ กันไปตังแต่ ้ 4-5 ทุม่ บางร้ านขายถึงเช้ าก็มี โดยมีของกินหลากหลายเมนูให้ เลือกชิม เริ่ ม ที่ พ ระเอกอย่ า งไก่ ท อดหาดใหญ่ ชิ น้ โต นกกระทาทอด กุ้งทอดตัวใหญ่ ย�ำรวมมิตรทะเล หรื อของหวานขึ ้นชื่อเห็นเป็ นสิบๆ ร้ านต้ องยกให้ รังนก แป๊ ะก๊ วย เต้ าทึง ข้ าวเหนียวมะม่วง ข้ าว เหนียวทุเรี ยนไปตรงช่วงฤดูกาลก็มีให้ กินเช่นกัน หรื อ ของฝากของที่ ร ะลึ ก ก็ มี เ รี ย งรายตลอด 2 ข้ างถนน ส่วนใหญ่เน้ นขายของแฮนด์เมดและ ไอเดียทีบ่ ง่ บอกเอกลักษณ์หาดใหญ่ เช่น ตะเกียง
106 TPM108_79-156.indd 106
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:31:41
‘นครหาดใหญ่’ สวรรค์นักท่องเที่ยว ชม ชิม ช้อป ครบครันในทริปเดียว
พระพุทธมงคลมหาราช ด้ วยต้ นไม้ นานาชนิ ด ร่ ม รื่ นสวยงามแล้ ว ยั ง ยั ง เป็ นที่ ประดิษฐานของพระบรมราชานุสาวรี ย์พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ท้ าวมหาพรหม พระพุทธมงคลมหาราช พระโพธิสตั ว์กวนอิมหยก ฯลฯ และมีจดุ ชมวิวทังกลางวั ้ นและ กลางคืนที่นกั ท่องเที่ยวสามารถชมความงามของหาดใหญ่ได้ ทังเมื ้ องอย่างเต็มตา ด้ วยอาคารบ้ านเรื อน และทะเลสาบ สงขลาที่เห็นอยูไ่ กลๆ ในวันที่ฟ้าโปร่ง
PRINT TRAVEL
ส� ำ หรั บ ผู้ชื่ น ชอบทัว ร์ ไ หว้ พ ระแนะน� ำ นมัสการ “พระพุทธมงคลมหาราช” ประดิษฐาน ณ ยอดเขาคอหงส์ เป็ นพระพุท ธรู ป ประจ� ำ หาดใหญ่ที่ใหญ่ที่สดุ ในภาคใต้ ก่อสร้ างขึ ้นด้ วย จิตศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทังชาวไทยและชาว ้ ต่างประเทศ เพือ่ เฉลิมพระเกียรติเนือ่ งในวโรกาส ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่หัว ฯ ทรงเจริ ญ พระชนมพรรษา 72 พรรษา (พ.ศ. 2542) ออกแบบโดย ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปิ นแห่ง ชาติ ขนาดความสูง 19.90 เมตร หล่อด้ วยทอง เหลื อ งเนื อ้ ดี อ ย่ า งวิ จิ ต รงดงาม และได้ รั บ
ทัศนียภาพนครหาดใหญ่
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 107
107 7/8/2558 11:31:43
PRINT TRAVEL
‘นครหาดใหญ่’ สวรรค์นักท่องเที่ยว ชม ชิม ช้อป ครบครันในทริปเดียว
พระราชทานนาม “พระพุทธมงคลมหาราช จาก พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดช มหาราช หมายความว่า “ความเป็ นสิริมงคลอัน ยิ่งใหญ่” ต่อด้ วย “พระโพธิสัตว์ กวนอิม” พระ โพธิสตั ว์ปางประทานพรใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย ก่ อ สร้ างด้ ว ยหิ น หยกสี ข าว โดยเทศบาลนคร หาดใหญ่ พร้ อมด้ วยพ่อค้ าประชาชน สมาคม มูลนิธิ ร่วมใจสร้ างถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้ า อยูห่ วั ฯ เนื่องในวโรกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี (พ.ศ.2539) แกะสลักอย่างประณีต บรรจง โดยช่ า งชาวจี น มณฑลเหอเป่ ย สาธารณรัฐประชาชนจีน ขนาดความสูง 9.9 เมตร น� ้ำหนักโดยรวมประมาณ 80 ตัน ได้ ท�ำพิธี พุทธาภิเษกและสมโภชเป็ นเวลา 3 วัน เมื่อวันพุธ ที่ 7 เมษายน 2540 ทังพิ ้ ธีแบบจีนและแบบ ไทยพุทธ
ศึกษาดวงดาวต้องมาทีน่ ี ่
108 TPM108_79-156.indd 108
เคเบิ ลคาร์ หยุดซ่อมไม่มีก�ำหนดเสร็ จ (ฮา)
ทังนี ้ ้ ภายใต้ ฐานองค์พระโพธิสตั ว์กวนอิม จัดท�ำเป็ น ห้ องโถง 8 เหลีย่ ม ซึง่ แต่ละมุมเป็ นทีป่ ระดิษฐานของรูปปั น้ ของ เซียนทัง้ 8 องค์ ภายในตกแต่งด้ วยสถาปั ตยกรรมแบบจีน และ ด้วยความศักดิส์ ทิ ธิข์ องพระโพธิสตั ว์กวนอิม ท�ำให้มนี กั ท่องเทีย่ ว ทังชาวไทยและชาวต่ ้ างชาติเดินทางมากราบไหว้เป็ นจ�ำนวนมาก สะท้ อนให้ เห็นถึงบารมีที่แผ่ไพศาลมายังผู้มีจิตศรัทธาได้ เป็ น อย่างดี ภายในบริเวณใกล้ กนั ยังมีเทพเจ้ าจีนอีกหลายองค์ให้ ผู้เลื่อมใสศรั ทธามาขอพร เพิ่มสิริมงคลให้ กับชีวิต อาทิ “เทพเจ้ ากวนอู” เทพแห่งคุณธรรมและความซื่อสัตย์, “เง็ก เซี ย นฮ่ องเต้ ” ประมุ ข ของเทพเจ้ าทั ง้ หลาย, “พระ สังกัจจายน์ ” เทพแห่งโชคลาภและความอุดมสมบูรณ์ และ “เทพเจ้าฮกลกซิ่ว” เทพแห่งโชคลาภ ความร�่ำรวย และอายุยนื นอกจากนี ้ ยังมี “ท้ าวมหาพรหม” ประดิษฐาน ณ ยอดเขาชุมสัก เป็ นพระผู้สร้ างสรรพสิ่งต่างๆ บนโลกนี ้ตาม
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:31:45
‘นครหาดใหญ่’ สวรรค์นักท่องเที่ยว ชม ชิม ช้อป ครบครันในทริปเดียว
ไอซ์ โดม ไม่ไปไม่ได้ ความเชื่อของศาสนาฮินดู จึงมีผ้ นู ิยมมากราบไหว้ ขอพรให้ ประกอบกิจการงานประสบความส�ำเร็จดังใจหวัง โดยภายใน บริ เ วณเดี ย วกัน ยัง มี เ ทพสูง สุด ของศาสนาฮิ น ดูแ ละช้ า ง เอราวัณขนาดใหญ่อีกด้ วย ส่ ว นผู้ สนใจด้ านดาราศาสตร์ ที่ ส วนสาธารณะ แห่ ง นี ม้ ี “ศู น ย์ การเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ นครหาดใหญ่ ” ถือได้ วา่ เป็ นแหล่งการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ ที่สมบูรณ์แบบและพร้ อมสรรพไปด้ วยความทัน สมัยในด้ านต่างๆ อาทิ ห้ องนิทรรศการ โรงฉายภาพยนตร์ และโดมดูดาว ซึง่ สามารถเติมเต็มจินตนาการและความรู้ของ เด็กและเยาวชน
ไฮไลต์นา่ ตืน่ ตาตืน่ ใจของส่วนสาธารณะ แห่งนี ้เห็นจะเป็ น “หาดใหญ่ ไอซ์ โดม (Hatyai Ice Dome)” การแสดงประติมากรรมน� ำ้ แข็ง ระดับ โลกภายใต้ อุ ณ หภู มิ ติ ด ลบ 15 องศา เซลเซียส อันเป็ นความร่ วมมือระหว่างเทศบาล นครหาดใหญ่และการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย จัดขึ ้น โดยได้ รับความร่ วมมือจากเมืองฮาร์ บิน สาธารณรัฐประชาชนจีนร่ วมสนับสนุนช่างแกะ สลักน� ้ำแข็งฝี มือระดับโลก มาสร้ างสรรค์ผลงาน ประติมากรรมอันงดงาม ทริปสัมมนาสัญจรปี ’ 58 ของสมาคม การพิมพ์ ไทยคราวนี ้ นอกเหนือจากได้ เติม เต็มความรู้ และข้ อคิดแล้ ว ยังได้ ของแถม เป็ นการท่ องเที่ยวพักผ่ อนเมืองหาดใหญ่ ท่ ี ใครๆ ก็ใฝ่ ฝั นถึงว่ า สักวันหนึ่งอยากไปเยือน ให้ ได้ ด้วย THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 109
PRINT TRAVEL
109 7/8/2558 11:31:46
PRINT PARTY
YPG ค้นหาวิธีชนะใจพ่อแม่ & ปาร์ตี้สานสัมพันธ์คนรุ่นใหม่
YPG
ค้นหาวิธีชนะใจพ่อแม่ & ปาร์ต้ีสานสัมพันธ์คนรุ่นใหม่
เสน่ ห์ของกลุ่มยังปริ๊นเตอร์ (Young Printer Group-YPG) ใน ยุคปั จจุบนั ใครๆ ก็คงสามารถสัมผัสได้ เมื่อเข้ าไปร่ วมกิจกรรม นั่น คือ มีทัง้ ความเร้ าใจในกลยุทธ์ การด�ำเนินกิจกรรม และกลวิธีการ ป้อนองค์ ความรู้ ส่ ูสมาชิก ซึ่งเป็ นที่ประจักษ์ ว่า ทุกคนที่เป็ นผู้รับสาร ล้ วนมีความรู้สกึ ยินดีรับ ปราศจากความรู้สกึ ถูกยัดเยียด และที่สำ� คัญ มีความฮาและเสียงหัวเราะตลอดรายการ!! ล่าสุดเมื่อวันที่ 18-19 กรกฎาคม 2558 ได้ มีการจัดกิจกรรม YPG SEMINAR SERIES 2 ภายใต้ หัวข้ อ HOW TO WIN OVER DAD/ MOM’HEART IN YOUR PRINTING COMPANY หรื อ “จะชนะใจพ่ อแม่ อย่ างไรในโรงพิมพ์ ของคุ ณ” หลังจากประสบความส�ำเร็ จในการจัด สัมมนาแนวนี ้-การรับไม้ ตอ่ ฯ มาแล้ วเมื่อต้ นปี 2558 ซึง่ ได้ รับการกล่าวขาน ถึงอย่างมาก ทังในแง่ ้ วา่ เป็ นประเด็นเด็ด ช่างคิดและตรงจุดโดนใจกับข้ อ เท็จจริ งที่เป็ นปั ญหาระหว่างพ่อแม่ผ้ สู ร้ างและลูกหลานผู้สานงานต่อธุรกิจ โรงพิมพ์ของครอบครัว
110 TPM108_79-156.indd 110
งานนี ้กลุม่ ยังปริ๊นเตอร์ ผ้ จู ดั งาน ได้ เตรี ยมการละลายพฤติกรรม และเก็บรายละเอียดการสร้ างสาน สัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งสมาชิ ก ไว้ อย่ า ง ละเอียด ดังนัน้ จึงจัดโปรแกรมแบบ นักเรี ยนประจ�ำภาคบังคับ นับตังแต่ ้ การขึ น้ รถบั ส ออกเดิ น ทางจาก กรุงเทพฯไปพัทยาด้ วยกัน กินอยู่ ละ เล่น สังสรรค์ พักผ่อนหลับนอนที่ โรงแรมเดียวกัน รวมทังนั ้ ง่ รถกลับ และแวะท�ำบุญด้ วยกัน ใช่ ห รื อ ไม่ ? ความเห็ น ของยังปริ๊ นเตอร์ รุ่ นใหม่ ที่เพิ่ง เข้ าไปร่ วมกิจกรรมครั้ งแรกคง
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:32:04
YPG ค้นหาวิธีชนะใจพ่อแม่ & ปาร์ตี้สานสัมพันธ์คนรุ่นใหม่
ตอบได้ ดใี นตอนท้ าย แถมเห็นมี หลายคนไม่ น้อย ถามไถ่ กันว่ า งานแบบนี้จะจัดขึ้นอีกเมื่อไหร่ .. จะไปอีก!! คุณพิมพ์นารา จิรานิธศิ นนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย ได้ กล่ า วต้ อ นรั บ และท� ำ พิ ธี เ ปิ ดงาน กิจกรรม ณ ห้ องสัมมนา โรงแรมเบย์ บีช รี สอร์ ท หาดจอมเทียน พัทยา โดยแสดงความยินดีทมี่ โี อกาสได้ มา ต้ อนรับน้ องๆ ยังปริ๊นเตอร์ รุ่นใหม่ ซึง่ จะเป็ นผู้สืบทอดธุรกิจการพิมพ์ของ ครอบครั ว และอุ ต สาหกรรมการ พิมพ์ของประเทศไทยต่อไป การ สัมมนาในครัง้ นี ้ ด้ วยความหวังว่า จะได้ สร้ างทัศนคติที่ดีให้ แก่ชาวยัง ปริ๊ น เตอร์ รุ่ น ใหม่ ใ นการรั บ ไม้ ต่ อ ธุ ร กิ จ ของครอบครั ว รวมทัง้ สาน สัมพันธ์ กับเพื่อนพ้ องน้ องพี่ที่เป็ น หนุม่ สาวคนรุ่นใหม่ เพื่อสร้ างความ ร่วมมือร่วมใจที่จะมีขึ ้นในอนาคต กิจกรรมเวิร์คช็อป..การรับ ไม้ ตอ่ ภาค 2 เริ่มขึ ้นในช่วงบ่าย โดย คุณกอล์ฟ-ปิ ยะวัฒน์ ปิ ยไพชยนต์ รั บ หน้ าที่ เ ป็ นผู้ ด� ำ เนิ น กิ จ กรรม อีกเช่นเคย เริ่ มจากการแบ่งสมาชิก ยังปริ๊ นเตอร์ ออกเป็ น 4 กลุ่ม แล้ ว ให้ สมาชิ ก ของแต่ ล ะกลุ่ ม ระดม สมองว่ า การท� ำ งานกั บ ธุ ร กิ จ ครอบครั ว สมาชิ ก ยัง ปริ๊ น เตอร์ มี ข้ อดีอะไรบ้ าง หลังจากนัน้ ในมุม กลับกัน ก็ให้ วเิ คราะห์วา่ ด้ านข้ อเสีย มีอะไรบ้ าง แล้ วให้ แต่ละกลุม่ ขึ ้นไป น�ำเสนอบนเวที
TPM108_79-156.indd 111
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
PRINT PARTY
111 7/8/2558 11:32:09
PRINT PARTY
YPG ค้นหาวิธีชนะใจพ่อแม่ & ปาร์ตี้สานสัมพันธ์คนรุ่นใหม่
ประเด็นข้ อดีของสมาชิกยังปริ๊ นเตอร์ ออกมาในโทนว่า เป็ นคนรุ่น ใหม่ที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยี สามารถน�ำมาประยุกต์ในการท�ำงานได้ ดี มี ความรู้ด้านการบริ หารและสามารถก้ าวทันยุคสมัย ฯลฯ ขณะที่ข้อเสียที่มี เหมือนๆ กันคือ ขาดประสบการณ์การท�ำงาน อารมณ์ร้อน บางครัง้ ไม่เข้ าใจ ความคิดของพ่อแม่ และท�ำงานผิดพลาดบ่อยๆ ท�ำให้ พอ่ แม่ยงั ไม่มีความ ไว้ วางใจมอบหมายให้ ท�ำงานใหญ่ๆ ฯลฯ คุณกอล์ฟ สรุปเป็ นข้ อคิดให้ ฟังคล้ ายๆ กับการจัดสัมมนาการรับ ไม้ ตอ่ ..ในครัง้ แรกคือ การท�ำงานอยูใ่ นธุรกิจของครอบครัวต้ องเอาใจเขามา ใส่ใจเรา ต้ องนึกถึงความคิดของคนเป็ นพ่อแม่ที่สร้ างธุรกิจมาย่อมมีความ ห่วงใย ขณะทีค่ นทุกคนย่อมมีข้อดีข้อเสีย แม้ กระทัง่ ตัวเราเองอย่างทีท่ กุ ๆ กลุ่มน� ำเสนอเหมื อนกันคือ เป็ นคนใจร้ อน ขาดความละเอียด รอบคอบ ขาดวิสยั ทัศน์ที่ดีพอ ดังนัน้ จึงไม่ อาจสบประมาทพ่ อแม่ ได้ เลย แต่ สิ่งที่คนที่รับไม้ ต่อจะต้ องแสดงให้ เห็นว่ า ความเป็ น คนรุ่ นใหม่ มีประโยชน์ ในเรื่ องการท�ำงานอย่ างไร อาทิ มีความเชี่ยวชาญด้ านเทคโนโลยี ก็ต้องแสดง ความสามารถนั น้ ให้ เห็น หรื อเชี่ยวชาญด้ านการ ตลาดและการบริ ห ารตามที่ ไ ด้ ร่ � ำ เรี ย นมาก็ ต้ อ ง แสดงออกมาให้ เห็นเช่ นกัน พ่ อแม่ จงึ จะให้ ความไว้ วางใจ และนั่นคือวิธีการชนะใจพ่ อแม่ ท่ ดี ที ่ สี ุด จากนันเป็ ้ นกิจกรรมการเล่นเกมต่างๆ ที่ด�ำเนินการ
112
TPM108_79-156.indd 112
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
โดยที ม งานบริ ษั ท เรดปาร์ ตี ้ เอ็ น เตอร์ เทนเม้ น ต์ จ�ำ กั ด ซึ่ง รังสรรค์ออกมาเพือ่ ความสนุกสนาน ให้ แก่ ส มาชิ ก กลุ่ ม ยั ง ปริ๊ นเตอร์ เป็ นการเฉพาะ ไม่วา่ จะเป็ นเกมแดนซ์ กระจาย เกมรถไฟลูกโป่ ง เกมโยน บอลใส่ตระกร้ า เกมตีลูกโป่ งข้ าม ตาข่าย เกมยิงหนังสติกแองกรี ้เบิร์ด ซึง่ แต่ละเกมมีการสรุปเป้าหมายให้ ทราบในภายหลัง ด้ วยการให้ ชาวยัง ปริ๊นเตอร์ ร่วมกันแสดงความเห็น ซึง่ มีทัง้ การฝึ กให้ มีการวางแผน การ สร้ างความสามัค คี ความพร้ อม เพียง ฯลฯ และทุกเกมทุกเป้าหมาย ล้ วนเต็มไปด้ วยเสียงฮา!! กิจกรรมภาคกลางวันเสร็ จ สิ ้นไปโดยปราศจากความอ่อนล้ า ช่วงเย็นมีการพักผ่อนที่ห้องส่วนตัว เล็กน้ อยก็ได้ เวลาปาร์ ตี ้ยามค�่ำคืน
คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์
7/8/2558 11:32:48
YPG ค้นหาวิธีชนะใจพ่อแม่ & ปาร์ตี้สานสัมพันธ์คนรุ่นใหม่
ภายใต้ คอนเซ็ปต์ YPG JUNGLE PARTY 2015 เปิ ดโอกาสให้ แต่ละคน แต่งตัวโชว์ความน่ารักแนวป่ าๆ แบบที่เจ้ าตัวสบายใจ พร้ อมกับมีการจัด แสดงต่างๆ ทัง้ 5 ทีม ซึง่ ก็อดุ มไปด้ วยความสนุกสนานและความฮาอีกเช่น เคย และบรรยากาศที่เต็มไปด้ วยความสนุกสนานเดินหน้ าแบบเร็ วจี๋แป๊ บ เดียวดึกดื่น จนต้ องเลื่อนไปมอบรางวัลการแสดงในตอนสายของอีกวัน กิจกรรมเช้ าวันอาทิตย์ที่ 19 กรกฎาคม ยังคงสนุกสนานไม่เลิก โดยทางบริ ษัท เรดปาร์ ตี ้ เอ็นเตอร์ เทนเม้ นต์ จ�ำกัด ยังจัดต่อเนื่องแบบเอาฮาเป็ น หลั ก ก่ อ นจะเข้ าสู่ โ หมด พิ ธี ก า ร แ น ะ น� ำ ค ณ ะ กรรมการสมาคมการ พิมพ์ไทยอย่างเป็ น ท าง ก าร ห ลั ง จ า ก ที่ ไ ด้ ท� ำ ความรู้จกั กันมา พอสมควรแล้ ว และถ่ า ยภาพ เป็ นที่ ร ะลึก ทัง้ ในส่วนของคณะ กรรมการสมาคม การพิ ม พ์ ไ ทย คณะ กรรมการยั ง ปริ๊ น เตอร์
และถ่ายภาพหมู่รวมคณะทังหมด ้ ที่ เ ดิ น ทางไปร่ ว มกิ จ กรรมด้ วย กันในครัง้ นี ้ จากนั น้ เข้ าสู่ โ หมดการ เลือกตังคณะกรรมการและประธาน ้ ยังปริ๊ นต์เตอร์ คนใหม่ ซึง่ ปรากฏว่า ผู้ท่ีได้ รับความไว้ วางใจจากทายาท ทางการพิมพ์ให้ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้น�ำ ในรอบวาระปี 2558-2560 คือคุณ กอล์ฟ ปิ ยะวัฒน์ ปิ ยไพชยนต์ ดังที่ ได้ น�ำเสนอในฉบับนี ้ด้ วยแล้ ว กิ จ กรรมสุ ด ท้ ายของ สุดท้ ายคือ การแวะร่ วมท�ำบุญ และบริ จาคสิ่งของที่บ้านมูลนิธิ คุ ณ พ่ อ เ ร ย์ ซึ่ ง เ ป็ น ส ถ า น สงเคราะห์ เด็กและผู้พกิ าร ตัง้ อยู่ ที่ เ ขตพั ท ยานั่ นเอง เรี ย กว่ า กิจกรรมของกลุ่มยังปริ๊นเตอร์ คราวนี ้ ครบถ้ วนสมบูรณ์ ทั ้ ง ก า ร ใ ห้ ค ว า ม รู้ สานสั ม พั น ธ์ และ สร้ างบุญกุศล
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 113
PRINT PARTY
113
7/8/2558 11:32:53
PRINT PARTY
YPG สันทนาการเพื่อการสานสัมพันธ์
YPG
114 TPM108_79-156.indd 114
สันทนาการ
เพื่อการสานสัมพันธ์
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:33:14
YPG สันทนาการเพื่อการสานสัมพันธ์
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 115
PRINT PARTY
115 7/8/2558 11:33:19
PRINT PARTY
116 TPM108_79-156.indd 116
สีสัน YPG Jungle Party 2015
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:33:21
สีสัน YPG Jungle Party 2015
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 117
PRINT PARTY
117 7/8/2558 11:33:22
PRINT PARTY
118 TPM108_79-156.indd 118
ผู้ใหญ่ & ผู้ใหญ่ใจดี ร่วมสังเกตการณ์
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:33:23
YPG ร่วมแบ่งปันน�้ำใจบ้านคุณพ่อเรย์
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 119
PRINT PARTY
119 7/8/2558 11:33:24
PRINT NEWS
ตรวจแถว...โรงพิมพ์ รับมือ ‘ประชามติ’ ร่าง รธน.
นายภชุ งค์
การท� ำ ประชามติ ร่ า งรั ฐ ธรรมนูญ ฉบับ ใหม่ ที่ก�ำหนดในวันที่ 10 มกราคม 2559 ยังมีปมปั ญหาที่ น่าหนักใจหลายเรื่ อง หลังจาก “นายภุชงค์ นุตราวงศ์ ” เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตัง้ (กกต.) เปิ ดเผย ภายหลังหารื อกับนายวิ ษ ณุ เครื อ งาม รองนายก รัฐมนตรี เพราะเงื่อนไขจ�ำนวนผู้มีสิทธิ ลงประชามติ มี ป ระมาณ 49 ล้ า นคน ซึ่ง กกต.จะต้ อ งพิ ม พ์ ร่ า ง รัฐธรรมนูญให้ กับประชาชน 23 ล้ านครัวเรื อนให้ ได้ ร้ อยละ 80 ของผู้มีสทิ ธิออกเสียง นอกจากนั น้ ประเด็ น การหย่ อ นบั ต รลง คะแนนนัน้ กกต.ก�ำหนดโมเดลเบื ้องต้ นน่าจะใช้ บตั ร 3 ใบ เป็ นสีฉดู ฉาดและกล่องจะเป็ นสีฉดู ฉาดเพือ่ ให้ เห็น ชัดเจนจะได้ ไม่หย่อนผิดกล่อง
นายวิ ษณุ เครื องาม
120 TPM108_79-156.indd 120
นตุ ราวงศ์
สกู๊ปข่ าว นสพ.มติชน ฉบับวันที่ 14 มิ.ย.2558 นายภุชงค์ ออกมายอมรับว่า “มี ความหนักใจ ในเรื ่ อ งของการหากระดาษมาจัด พิ ม พ์ เพราะเดิ ม ทีรบั ผิ ดชอบบัตรจ� ำนวน 49 ล้านใบ แต่นีม่ ี 3 ค�ำถาม อาจจะต้องคูณ 3 และต้องรับผิ ดชอบในการจัดพิ มพ์ ร่ างรัฐธรรมนูญเพื อ่ เผยแพร่ ให้กบั ประชาชน จ� ำนวน 23 ล้านครัวเรื อน ดังนัน้ จะพยายามหาโรงพิ มพ์ ที่ มี ศกั ยภาพให้ได้” หากย้ อนไปดู ป ระเด็ น เรื่ อ งการพิ ม พ์ ร่ า ง รัฐธรรมนูญเพื่อแจกจ่ายไปยังประชาชนนัน้ มีแนวทาง การจัดพิมพ์ทงการจ้ ั้ างโรงพิมพ์ของรัฐ อาทิ ส�ำนักงาน สลาก โรงพิมพ์ต�ำรวจ โรงพิมพ์ครุ ุ สภา เบื ้องต้ นคาด ว่าอาจจะยึดแนวทางของส�ำนักงานเลขาธิ การสภา ผู้แทนราษฎร คือการว่าจ้ างโรงพิมพ์ของส่วนราชการ และรั ฐ วิ ส าหกิ จ ด� ำ เนิ น การจั ด พิ ม พ์ ห นั ง สื อ ร่ า ง รัฐธรรมนูญฉบับปี 2550 ที่มีการพิมพ์ 20 ล้ านเล่ม ว่าจ้ างโรงพิมพ์ถึง 8 แห่ง คือ โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์ การเกษตรแห่ ง ประเทศไทย โรงพิ ม พ์ อ าสารั ก ษา ดินแดน โรงพิมพ์ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:33:26
ตรวจแถว...โรงพิมพ์ รับมือ ‘ประชามติ’ ร่าง รธน. PRINT NEWS โรงพิมพ์ ต�ำรวจ โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ โรงพิ ม พ์ ค ณะรั ฐ มนตรี และราชกิ จ จานุ เ บกษา ส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการส่ง เสริ ม สวัส ดิ ก ารและ สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ศูนย์สอื่ และสิง่ พิมพ์แก้ วเจ้ าจอม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ส่ ว นการพิ ม พ์ บั ต รที่ ต้ องลง ประชามตินนจะมี ั้ โรงพิมพ์เพียงไม่กี่แห่ง ที่สามารถจัดพิมพ์ได้ เพราะต้ องใช้ ระบบ การพิมพ์ แบบซีเคี ยวริ ตี ้ ประกอบด้ วย โรงพิ ม พ์ ข องส� ำ นั ก งานสลาก ซึ่ ง ใน ส่ ว นนี ม้ ี ก ารประเมิ น เบื อ้ งต้ นไม่ น่ า จะรั บ พิ ม พ์ ง านนอกในช่ ว งนี ้ เพราะ ข ณ ะ นี ้ส� ำ นั ก ง า น ส ล า ก มี ภ า ร กิ จ ที่ จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร เ ป ลี่ ย น ร ะ บ บ ก า ร พิ ม พ์ ใ หม่ จ ากกรณี ก ารยกเลิ ก รางวั ล แจ๊ กพ็ อ ต และออกเลขรางวัล หน้ า 3 ตัว เพิ่ ม เติ ม ที่ จ ะเริ่ ม ใน เดือนกันยายน 2558 นี ้ ส่ว นโรงพิ ม พ์ ข องธนาคารแห่ง ประเทศไทย (ธปท.) นัน้ เคยรับพิมพ์งานนอกแล้ วมีปัญหา ดังนัน้ จึงมี นโยบายที่ จะไม่รับงานนอกไปพิมพ์ อีก คาดว่า โรงพิมพ์ที่น่าจะมีศกั ยภาพพอที่จะด�ำเนินการเรื่ องดัง กล่าวนันเป็ ้ นโรงพิมพ์ของภาคเอกชน โดยที่มีศกั ยภาพ จะรับงานมากขนาดนี ้นันมี ้ ประมาณ 3 แห่งที่สามารถ ด�ำเนินการได้ คือ โรงพิมพ์ ที.เค.เอส. โรงพิมพ์ ไทย บริตชิ และโรงพิมพ์ จนั วาณิชย์ เนื่องจากกลุม่ เอกชน ทัง้ 3 แห่งนี ้ได้ มีการพิมพ์ในระบบดังกล่าวทังการพิ ้ มพ์ เช็ค พาสปอร์ ตจากภาครัฐหลายงานแล้ ว ทังนี ้ ้ ในการจัดพิมพ์มองว่า ถ้ าว่าจ้ างเอกชน น่าจะท�ำได้ เร็ วกว่าที่จ้างโรงพิมพ์ ที่เป็ นหน่วยงานรั ฐ หรื อรัฐวิสาหกิจ เพราะในส่วนรัฐวิสาหกิจนันต้ ้ องเสนอ บอร์ ด และต้ องสัง่ ซื ้อวัสถุดบิ ในการพิมพ์ด้วยการจัดซื ้อ จัดจ้ าง ใช้ เวลาประมาณ 1 เดือนถึงเดือนครึ่ง หากเป็ น
งานเร่งด่วน อย่างกรณีพิมพ์คปู องทีวีดจิ ิตอล โรงพิมพ์ ส�ำนักงานสลากจะไม่รับพิมพ์ นายเกรี ย งไกร เธี ย รนุ กุ ล รองประธาน และประธานคลัสเตอร์ การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า ใน ส่วนของอุตสาหกรรมการพิมพ์มคี วามพร้ อมส�ำหรับการ พิมพ์รัฐธรรมนูญและบัตรเพื่อลงประชามติอยูแ่ ล้ ว โดย มีก�ำลังผลิตที่พร้ อมรับในช่วง 45 วัน หลายสิบโรงพิมพ์ เพราะเป็ นโรงพิมพ์ขนาดใหญ่ ก�ำลังผลิตต่อโรงจึงค่อน ข้ างมาก เพียงพอ แต่ไม่มนั่ ใจว่ารัฐบาลจะมีวธิ ีคดั เลือก
นายเกรี ยงไกร เธี ยรนุกลุ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 121
121 7/8/2558 11:33:27
PRINT NEWS
ตรวจแถว...โรงพิมพ์ รับมือ ‘ประชามติ’ ร่าง รธน.
บริ ษัทผู้ผลิตอย่างไร แต่เชื่อว่าจะโปร่ งใสและน่าจะมี บริ ษัทรับท�ำไม่ต�่ำกว่า 3 รายแน่นอน ส่วนงบประมาณ เฉพาะด้ านการผลิตน่าจะอยูห่ ลักร้ อยล้ านบาท “ปกติเมือ่ มีการเลือกตัง้ จะเป็ นปี ทีอ่ ตุ สาหกรรม การพิมพ์ชืน่ ชอบอยู่แล้ว เพราะเป็ นงานพิเศษระหว่างปี นอกเหนือจากการผลิ ตตามปกติ ซึ่ งการผลิ ตดังกล่าว ช่วยกระตุน้ เศรษฐกิ จ ถือเป็ นโบนัสก็วา่ ได้ นอกจากนีใ้ น ปี ทีม่ ี การเลือกตัง้ หรื อการท�ำประชามติ จะมี การซื ้อสือ่ ทัง้ สิ่ งพิมพ์ บิ ลบอร์ ด มีงบประมาณมหาศาล ดังนัน้ เชือ่ ว่าในการผลิ ตรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน และผลิ ตบัตร ลงประชามติ จะมี งบประมาณมหาศาลเข้าสู่วงการสือ่ เห็นได้จากช่วงทีม่ ี การลงประชามติ รัฐธรรมนูญ 2550 ก็คึกคักเหมื อนกัน” ขณะที่ นายอารี ย์ สื บ วงศ์ ประธาน สหภาพแรงงานองค์ ก ารค้ าของส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการส่ง เสริ ม สวัส ดิ ก ารและสวัส ดิ ภ าพครู แ ละ บุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) กล่าวว่า องค์การค้ าฯ เคยรับพิมพ์รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ.2550 มาแล้ วจ�ำนวน 5 ล้ านฉบับ ใช้ เวลาประมาณ 30 วัน ซึง่ รัฐบาลขณะนัน้ ใช้ วธิ ีกระจายงานไปยังโรงพิมพ์ตา่ งๆ จึงสามารถด�ำเนิน การได้ ทนั ส่วนการจัดพิมพ์ร่างรัฐธรรมนูญ 19 ล้ านฉบับ ภายใน 45 วัน จากนันพิ ้ มพ์บตั รลงประชามติอีก 150 ล้ านชุดนัน้ โดยศักยภาพองค์การค้ าฯ ขณะนี ้หากจะ ให้ ทำ� ทังหมด ้ อาจต้ องหยุดงานทีร่ ับไว้ กอ่ นหน้ านัน้ โดย
122 TPM108_79-156.indd 122
ประมาณการจากเครื่องจักรทีส่ ามารถจัดพิมพ์พร้ อมปก สามารถพิมพ์ร่างรัฐธรรมนูญได้ วนั ละประมาณ 2 แสน เล่ม ขณะทีบ่ ตั รลงคะแนนน่าจะอยูท่ ปี่ ระมาณ 1.6 ล้ าน ใบ ส่วนจ�ำนวนกระดาษที่ใช้ นนขึ ั ้ ้นอยูก่ บั จ�ำนวนหน้ าที่ จัดพิมพ์ ตรงนี ้ต้ องให้ ชา่ งเทคนิคเป็ นผู้ค�ำนวณ แต่ ส่วนตัวเห็นว่ า ถ้ ารัฐบาลกระจายงานให้ 5-6 โรงพิมพ์ น่ าจะสามารถด�ำเนินการได้ ทนั ตาม เวลาที่กำ� หนด
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:33:27
PRINT NEWS
ไฮเดลเบิร์ก จับมือ Masterwork Machinery (MK) พันธมิตรธุรกิจเทคโนโลยี หลังการพิมพ์ เพิ่มศักยภาพการผลิตบรรจุภัณฑ์
เครื ่อง MK Easymatrix 106CS ทีน่ �ำไปจัดแสดงในงาน Pack Print International 2015
ไฮเดลเบิร์กมีกลยุทธ์ ม่ ุงเน้ นการยกระดับ ประสิทธิภาพการผลิตเพื่อพัฒนาธุรกิจแต่ ละด้ าน และหลักเกณฑ์ ในการพัฒนาในธุรกิจสาขาใหม่ ที่มศี กั ยภาพนัน้ ไฮเดลเบิร์กตระหนักถึงมาตรฐาน คุณภาพสินค้ า เทคโนโลยีเครื่ องจักรในการผลิต งานคุณภาพสูง ทีมงานวิจัยค้ นคว้ าที่มีศักยภาพ ปรั ชญาและแนวคิดในการบริหารงาน ดังนัน้ ในปลายปี ที่แล้ ว ไฮเดลเบิร์กจึงได้ ลง นามข้ อตกลงในการเป็ นผู้จดั จ�ำหน่ายเครื่ องจักรหลัง การพิมพ์สำ� หรับอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์กบั Masterwork Machinery (MK) ผู้ผลิตเครื่องปั๊มไดคัททีล่ � ้ำหน้าและใหญ่ ทีส่ ดุ ในประเทศจีน โดยกลยุทธ์ในครังนี ้ ้ได้ชว่ ยผสานความ แข็งแกร่งให้ พนั ธมิตรทังสอง ้ โดยไฮเดลเบิร์ก สามารถขยายสายผลิตภัณฑ์ เพื่อ รองรับความต้ องการผลิตภัณฑ์ตาม แนวโน้ มตลาดโลกทีก่ ำ� ลังขยายตัว ทังนี ้ ้ ในปั จจุบนั ผลิตภัณฑ์ ที่ ท�ำด้ วยกระดาษส�ำหรั บงานบรรจุภัณฑ์ ของโลกครองตลาดถึง 1 ใน 3 ของตลาดบรรจุภณ ั ฑ์
124 TPM108_79-156.indd 124
อาทิ งานฉลาก งานจากเครื่ องปะกล่อง งานกล่อง กระดาษลูกฟูก 2 พันธมิตรจึงได้ น�ำเครื่ องปั๊ มไดคัทรุ่น MK Easymatrix 106CS เข้ ามารองรับตลาดบรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ มีแนวโน้ มที่จะเติบโตอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ ว และ ส�ำหรับบริ ษัท MK จะสามารถรุ กขยายตลาดได้ อย่าง มัน่ คงและกว้ างขวาง เนื่องจากไฮเดลเบิร์กมีส�ำนักงาน สาขาตังอยู ้ ใ่ นประเทศต่างๆ ทัว่ โลก โดย MK มีทีมงาน ที่มีจ�ำนวนถึงกว่า 80 คน ที่จะค้ นคว้ าวิจยั เพื่อพัฒนา
MK 550Qmini
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:33:39
ไฮเดลเบิร์ก จับมือ Masterwork Machinery (MK) พันธมิตรธุรกิจเทคโนโลยี PRINT NEWS หลังการพิมพ์ เพิ่มศักยภาพการผลิตบรรจุภัณฑ์
มร. เรเน่ ลุดวิ กเซ่น ประธานบริ ษัท ไฮเดลเบิ ร์กฯ จับมื อกับมาดามลี แห่ง MK แสดงสถานะเป็ นพันธมิ ตรร่ วมธุรกิ จต่อกัน
เครื ่อง MK 1060ERsl
ผลิตภัณฑ์เครื่ องจักรหลังการพิมพ์และโซลูชนั่ ส์ต่างๆ ส�ำหรับอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ในอนาคต ให้ มคี ณ ุ ภาพ ทีด่ ที สี่ ดุ มีรูปแบบทีห่ ลากหลาย ใช้ งานได้ อเนกประสงค์ มากยิ่งขึ ้น และมีประสิทธิภาพในการผลิตสูงสุด มร. เรเน่ ลุดวิกเซ่ น ประธานบริ ษัท ไฮเดล เบิร์ก กราฟฟิ คส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ภายใต้ คอนเซ็ป ต์ Together & Better ไฮเดลเบิ ร์ ก และ Masterwork Machinery (MK) จะน�ำเครื่ องจักรหลัง พิมพ์ของ MK มาจัดแสดงในงาน Pack Print Inter national 2015 ซึ่ ง จะจั ด ขึ น้ ที่ ไ บเทค กรุ ง เทพฯ บูธหมายเลข Q01 ระหว่างวันที่ 26 - 29 สิงหาคม 2558 นี ้ เพื่อน�ำเสนอก้ าวใหม่แห่งการพัฒนาความสามารถ และเหนือการแข่งขันส�ำหรับตลาดการพิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์
ซึง่ ช่วยผสานความแข็งแกร่งให้ ไฮเดลเบิร์กในการขยาย สายผลิตภัณฑ์เพื่อรองรับความต้ องการตามแนวโน้ ม ตลาด โดยจะน�ำเสนอเครื่ องปั๊ มไดคัทรุ่น MK Easymatrix 106CS ซึง่ สามารถปรับตังงานได้ ้ อย่างรวดเร็ ว ส�ำหรับกระดาษหนา 90–2,000 แกรม และลูกฟูกหนา สูง สุดถึง 4 ม.ม. ระบบป้อนกระดาษแบบต่อ เนื่ อ ง โต๊ ะพากระดาษที่มีสายพานลมดูด และระบบปรับตัง้ ล้ อกดและแปรงกดจากศูนย์กลาง มีระบบปรับตังฉาก ้ ซึง่ ครอบคลุมถึงระบบกระทุ้ง การปรับแต่งแบบไดคัท และแบบมีดได้ อย่างรวดเร็ว เครื่องดังกล่าวมีคณ ุ สมบัติ ที่ดี อ�ำนวยความสะดวกแก่ผ้ ใู ช้ งาน และมีราคาต่อชิ ้น งานในระดับที่นา่ พอใจ นอกจากนัน้ ยังจะจัดแสดงเครื่องจักรหลังพิมพ์ ของ MK อาทิ เครื่ องตรวจวัดคุณภาพ MK550Qmini Blank Inspection Machine และเครื่ องเครื่ องปั๊ มไดคัท MK 1060ER sl โดยประโยชน์ ที่ ลูก ค้ า จะได้ รั บ คื อ เครื่ องจักรอันทันสมัยและใช้ งานได้ อย่างอเนกประสงค์ มากขึ ้น ตอบโจทย์ความต้ องการได้ อย่างคุ้มค่า ซึง่ จะ ต่อยอดธุรกิจลูกค้ าให้ พฒ ั นาก้ าวไกลอย่างไม่หยุดยัง้ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 125
125 7/8/2558 11:33:45
20
PRINT REVIWE
Miracle of Paper(1)
Miracle of
Paper
ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าวัสดุที่เรียกว่า ‘กระดาษ’ นั้นผูกพันกับชีวิตของเราตลอดทั้งชีวิต เริ่มตั้งแต่เราลืมตาขึ้นมาดูโลก เราถูกต้อนรับด้วยกระดาษแผ่นแรกทีช่ อื่ ว่าสูตบิ ตั ร เมือ่ สำาเร็จการศึกษาได้รบั ความยินดีจากปริญญาบัตร มีทะเบียนสมรส เป็นตัวแทนความสุขสมหวังในชีวิตคู่ เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดินด้วยโฉนดที่ดิน ใช้พาสปอร์ตเมื่อออกเดินทางท่องเที่ยว และมีใบมรณบัตรเป็นกระดาษแผ่นสุดท้ายของชีวิต นี่เป็นเพียงแค่ภาพกว้างๆ ของกระดาษต่อหนึ่งวงจรชีวิตเราเท่านั้น เพราะหากลองมองทุกขณะในหนึง่ วัน กระดาษนับเป็นเรือ่ งราวสำาคัญและมีความเกีย่ วข้องในชีวติ ประจำาวันของเรามากมาย ตั้งแต่กระดาษชำาระถึงกระดาษหลากชนิดนานาประโยชน์ PULPING
MECHANICAL PULPING DE-INKING
PAPER FOR RECYCLING
COATING CHEMICAL PULPING CLEANING DE-BARKING AND CHIPPING
HEAD BOX
FINISHING
WIRE SECTION
CALENDERING
PAPER MAKING PRESS SECTION WOOD
DRYING www.paperonline.org
กระบวนการผลิตกระดาษแต่ละชนิดมีรายละเอียดที่แตกต่างกัน ในอดี ต จุ ด เริ่ ม ต้ น ของกระดาษมาจากต้ นไม้ ที่ โ ตเต็ ม วั ย ถู ก นำ า เข้ า สู่ สายพานการผลิต และทุกคนต่างรับรู้ว่ากระดาษแต่ละแผ่น มีที่มา จากต้นไม้ แต่ปัจจุบันกระดาษที่ผ่านการใช้งานแล้ว หรือวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตรก็สามารถนำามาผลิตเป็นกระดาษแผ่นใหม่ได้ สะท้อนภาพ การชุบชีวติ กระดาษให้ฟนื้ คืนสูก่ ระดาษแผ่นใหม่ที่ใช้งานได้อย่างไม่รจู้ บ
128 TPM108_79-156.indd 128
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:33:46
PRINT Miracle of Paper(1) REVIWE
21
From the beginning จุดเริ่มต้นวงจรชีวิตของกระดาษนั้นหากเป็นกระบวนการผลิตกระดาษแบบเดิมจะเริ่มออกตัวที่การนำาต้นไม้ที่โตพอเหมาะลำาเลียงเข้าสู่ โรงงานเพื่อผลิตเยื่อกระดาษ แล้วนำาเยื่อที่ได้ไปผสมกับสารเติมแต่งในอัตราส่วนต่างๆ เพื่อปรับคุณสมบัติของกระดาษให้ตรงตามความต้องการ กับการใช้งาน จากนั้นนำาไปทำาเป็นแผ่นโดยใช้เครื่องจักรผลิตกระดาษ แล้วจึงนำาไปแปรรูปให้เหมาะกับการใช้งาน
ในฐานะที่ SCG Packaging (หรือชือ่ เดิมคือ SCG Paper) เป็นผูผ้ ลิต เยื่อกระดาษ กระดาษ และบรรจุภัณฑ์อย่างครบวงจร จึงอยู่ในสถานะ ที่สามารถช่วยปกป้องสิ่งแวดล้อมได้ SCG Packaging จึงมุ่งมั่นทุ่มเท ที่จะให้ทุกกระบวนการผลิตเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมตั้งแต่ต้นทางจนถึง ปลายทาง เริ่มจากการจัดการและส่งเสริมการปลูกไม้เชิงพาณิชย์เพื่อ นำามาเป็นวัตถุดิบในการผลิตเยื่อกระดาษ โดยสวนไม้ดังกล่าวจัดเป็น แหล่งรองรับคาร์บอนไดออกไซด์ที่ส่งผลดีโดยตรงในการลดสภาวะ
โลกร้อน นอกจากนี้วัสดุเหลือใช้จากการผลิตเยื่อกระดาษได้แก่ เศษ เปลือกไม้ และ Black Liquor ก็ ได้มีการนำากลับมาใช้เป็นเชื้อเพลิง ในโรงงาน สำาหรับการผลิตกระดาษอุตสาหกรรมและบรรจุภัณฑ์นั้น ก็ใช้เยื่อกระดาษที่ ได้จากกระบวนการรี ไซเคิลด้วยการจัดเก็บรวบรวม กระดาษที่ใช้แล้วอย่างเป็นระบบ นำาเข้าโรงอัดเศษกระดาษและนำากลับ สู่โรงงาน นับเป็นการจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 129
129 7/8/2558 11:33:47
22
PRINT REVIWE
Miracle of Paper(1)
Miracle of EcoFiber นอกจากการผลิตกระดาษแบบเดิมที่ ใช้เยื่อจากต้นไม้ใหม่แล้ว ปัจจุบันบริษั ท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จำากัด ใน SCG Packaging มีการพัฒนากระบวนการผลิตกระดาษที่ลดการใช้ทรัพยากร โดยการนำาเศษกระดาษที่ผ่านการใช้แล้ว และ ผลผลิตที่เหลือใช้ทางการเกษตร เช่น ชานอ้อย มาคัดสรร จัดการและควบคุมการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพจนได้เยื่อกระดาษ ที่เรียกว่าเยื่อ EcoFiber (อีโคไฟเบอร์) ซึ่งเป็นเยื่อกระดาษที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ใช้ต้นไม้ใหม่ในกระบวนการผลิตเลย แม้แต่ต้นเดียว มีคุณภาพดีสามารถใช้ทดแทนเยื่อกระดาษที่ผลิตจากไม้ใหม่ได้ นับเป็นการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่ดี ขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง Waste Paper
Sludge
Effluent End User
Waste Water Treatment Plant (WWTP)
River
Paper Mill
โดยบริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จำากัด ได้มีการผลิตกระดาษเพื่อ สิ่งแวดล้อมภายใต้ชื่อว่า กระดาษ Green Series (กรีนซีรีย์) นวัตกรรม กระดาษเพื่อสิ่งแวดล้อมคุณภาพสูง มีผลิตภัณฑ์หลากหลายครอบคลุม ทุกการใช้งานทั้งในกลุ่มกระดาษไม่เคลือบผิวซึ่งประกอบไปด้วยกระดาษ กรีนออฟเซ็ต (Green Offset) กระดาษกรีนการ์ด (Green Card) และกระดาษ ไอเดีย กรีน พลัส (Idea Green Plus) และกลุ่มกระดาษเคลือบผิวชนิดด้าน ซึ่งประกอบไปด้วย กระดาษกรีนแม็ท (Green Matt) และกระดาษ กรีนแม็ทการ์ด (Green MattCard) โดยกระดาษ Green Series มีการผลิต จากเยื่ อ อี โ คไฟเบอร์ ตั้ ง แต่ 50% ซึ่ ง ลดการใช้ ไ ม้ ใ หม่ ล งครึ่ ง หนึ่ ง ใน กระบวนการผลิตไปจนถึงผลิตจากเยือ่ อีโคไฟเบอร์ 100% นัน่ คือไม่ใช้เยือ่ จาก ไม้ใหม่ในกระบวนการผลิตเลยแม้แต่ต้นเดียว โดยยังคงคุณภาพที่ดี รองรับ การใช้งานได้หลากหลายและสามารถรองรับเทคนิคการพิมพ์ในระบบ ออฟเซ็ตเหมือนกระดาษปกติ จึงนับว่าเป็นผลิตภัณฑ์กระดาษเพือ่ สิง่ แวดล้อม อย่างแท้จริง อีโคไฟเบอร์ เยื่อ...ใย เพื่อสิ่งแวดล้อม • เยื่อกระดาษอีโคไฟเบอร์ 1 ตัน ช่วยรักษาต้นไม้ได้ถึง 45 ต้น • กระบวนการผลิตเยือ่ อีโคไฟเบอร์ 1 ตัน สามารถลดปริมาณการใช้นาำ้ ได้ 10,362 ลิตร พลังงานไอนำา้ 1.42 ตัน และพลังงาน ไฟฟ้าได้ 237 กิโลวัตต์ คำานวณตามมาตรฐาน SCG Packaging
130 TPM108_79-156.indd 130
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:33:48
PRINT Miracle of Paper(1) REVIWE
นอกจากนี้ โ รงงานผลิ ต เยื่ อ อี โ คไฟเบอร์ (EcoFiber Plant) ยังมีกระบวนการผลิตแบบ Green Process ที่คำานึงถึงการใช้ทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพในทุกขั้นตอนการผลิต ไม่วา่ จะเป็นนำา้ ไฟฟ้า หรือพลังงานอืน่ ๆ รวมทัง้ ของเสี ย ก็ ถูก นำามาใช้ใ ห้เ กิด คุณ ค่า สูงสุด เช่น ใช้เครื่องจักรที่สามารถใช้นำ้าที่เหลือจาก กระบวนการผลิตได้ โดยใช้นำ้าใหม่เพียง 1520% เท่านั้น ทั้งยังมีกระบวนการจัดการนำ้าภายใน ระบบเพื่อให้สามารถนำานำ้ากลับมาใช้ได้อีกครั้ง หรือในส่วน ของเศษตะกอนหมึกพิมพ์จากกระบวนการดึงหมึก ยังสามารถอัดแห้ง ส่งไปเป็นเชื้อเพลิงสำาหรับกระบวนการผลิตได้อีกด้วย นอกเหนื อ จากโรงงานผลิ ต เยื่ อ อี โ คไฟเบอร์ แ ล้ ว ทางบริ ษั ท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จำากัด ยังให้ความสำาคัญในเรือ่ งการใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่าตลอดกระบวนการผลิต จนกระทั่งครอบคลุมไปถึงการตั้ง โรงงานอยู่ในเขตชุมชนได้อย่างมีความสุข พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และช่วยกันดูแลสิ่งแวดล้อมรอบโรงงานให้ดียิ่งขึ้น เช่น นำาไม้ส่วนที่ ไม่สามารถผลิตเยื่อกระดาษได้มาทำาเป็น Palett สำาหรับวางกระดาษ
นำาเส้นเทปต่อม้วนกระดาษซึง่ เป็นเศษวัสดุเหลือใช้จากกระบวนการผลิต ส่งต่อให้ชาวบ้านบริเวณใกล้เคียงโรงงานนำาไปจักสานเป็นผลิตภัณฑ์ ชุมชน มีระบบการจัดการพื้นที่ปฏิบัติงานสีเขียว (Green Plant) ที่ ปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิตอย่างต่อเนื่องทุกพื้น ที่รวมทั้งยังได้รับ การรับรองระบบบริหารคุณภาพ และระบบจัดการสิ่งแวดล้อมอีกด้วย จะเห็นได้วา่ ในฐานะผูผ้ ลิตนัน้ ได้มกี ารพยายามอย่างยิง่ เพือ่ ลดการ ใช้ต้นไม้และลดการใช้พลังงานในการผลิตกระดาษ ในฐานะผู้ใช้งาน เราจึงต้องใช้กระดาษให้เกิดประโยชน์คุ้มค่ามากที่สุด เพราะกระดาษ ถูกนำามาใช้ในชีวิตประจำาวันได้หลายรูปแบบ เช่น การเขียน วาดภาพ งานพิมพ์ รวมถึงเป็นบรรจุภัณฑ์ ทุกคนสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการ ใช้กระดาษได้อย่างง่ายๆ เริ่มต้นด้วยการยืดอายุให้กับกระดาษ หาก กระดาษมีพื้นที่ในการใช้งานเหลือก็สามารถเก็บไว้ใช้เป็นกระดาษโน้ต หรือนำาไปพิมพ์งานที่ไม่เป็นทางการมากนัก หรืออาจเริม่ ต้นด้วยวิธงี า่ ยๆ กว่านั้นด้วยการพยายามเลือกใช้กระดาษเพื่อสิ่งแวดล้อมในการใช้งาน ต่างๆ ในชีวิตประจำาวัน หวังว่าเรื่องราวความอัศจรรย์ในทุกขั้นตอนกว่าจะมาเป็นอีโค ไฟเบอร์ จะปลุกให้ใครหลายคนรับรูแ้ ละใช้ประโยชน์ของกระดาษอย่างรู้ คุณค่ามากขึ้น
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 131
23
131 7/8/2558 11:33:51
24
PRINT REVIWE
Miracle of Paper(1)
Paper Lover ในฐานะผู้ผลิตได้คาำ นึงถึงประโยชน์สูงสุดในทุกๆ ขั้นตอนในกระบวนการผลิตกระดาษ เมื่อวงจรชีวิตของกระดาษ เดินทางมาถึงมือผู้ใช้งาน จึงควรใช้กระดาษให้เกิดประโยชน์สูงสุดด้วยเช่นกัน แนวความคิดดังกล่าวจึงถูกนำามาใช้ในการ สร้างสรรค์งานออกแบบที่น่าอัศจรรย์ ร่วมสัมผัส 3 เรื่องราวของดีไซเนอร์ผู้มีใจรักและผูกพันกับกระดาษ ที่บางมุมอาจ กระตุกต่อมคิดให้คุณหันมาหลงรักในวัสดุที่เรียกว่ากระดาษมากยิ่งขึ้น
PRACTICAL design studio ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2004 โดย 3 ผู้ร่วมคิด คุณสันติ ลอรัชวี (co-founder/ partner & design consultant) คุณกนกนุช ศิลปวิศวกุล (co-founder / partner & design director) และคุณณัฐพล โรจนรัตนางกูร (partner & senior designer) โดยมี คุณเจษฎา วีสุวรรณ (Graphic designer) เป็นหนึ่งในทีม
งานออกแบบของ PRACTICAL ที่เป็น ที่รู้จักรับรู้ในสังคมหลากหลาย งานมาก เช่ น Design identity หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร งาน rebranding พรรคประชาธิปัตย์ และ สสส. ฯลฯ งานไทยกราฟิ ก ดี ไซน์เนอร์ ร่วมกับสมาคมออกแบบ เรขศิลป์ และในช่วงนี้มีโปรเจ็กต์งาน ออกแบบนิ ท รรศการของอาจารย์ อิทธิพล ตั้งโฉลก ศิลปินแห่งชาติ งาน ออกแบบแคตตาล็อกกระดาษ Green Series ของ SCG Packaging ฯลฯ คุณสันติเล่าว่า “ลักษณะการทำางานของเราต้องปรึกษาหารือกับ ลูกค้ามากกว่ารับงานตามสัง่ โปรเจ็กต์ทช่ี ว่ ยกันคิดช่วยกันสร้างขึน้ มาจึง เป็นแนวทางการทำางานของเรา โดยงานออกแบบแคตตาล็อกกระดาษ Green Series ของ SCG Packaging ก็เช่นกัน เพราะต้องผ่านการระดม ความคิด ซึ่งต้องเชื่อมโยงหรือตรงกับแนวทางขององค์กร มีประโยชน์ กับวงการออกแบบหรือผู้ที่ได้รับด้วย โจทย์ของการทำางานไม่ใช่เพียงการออกแบบเพือ่ นำาเสนอกระดาษ Green Series กระดาษที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมที่ผลิตจากเยื่อ อีโคไฟเบอร์ แต่แฝงแนวความคิดเรื่องการใช้กระดาษหรือสิ่งเหลือ ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ภายใต้แนวคิด Use-Used-Used “หนังสือ
132 TPM108_79-156.indd 132
เล่มนีพ้ ดู ถึงกระบวนการใช้งาน ไม่วา่ จะเป็นการใช้แล้ว สิง่ ของทีถ่ กู ใช้ แล้วเราจะใช้มันอย่างไร จะเอาไปใช้ทำาอะไร รวมถึงการเพิ่มการรับรู้ ที่เข้มข้นขึ้น เช่น วงการของนักออกแบบหรือคนที่ ใช้กระดาษใน อีกรูปแบบหนึง่ ทีเ่ ขาอยูก่ บั กระดาษตลอด หรือผูท้ ตี่ ดั สินใจเลือกใช้เพือ่ ความสวยงาม ความลงตัว ดังนั้น concept ของหนังสืออาจไม่จำาเป็น ต้องพูดเรื่องของตัวกระดาษ เพราะปัจจุบันคนส่วนใหญ่ค่อนข้างรับรู้ เกี่ยวกับกระดาษกลุ่ม Green ทั้งการรีไซเคิล 100% การเอาเยื่อเก่า มาแปรรูป หรือการนำาวัสดุที่ไม่ใช้แล้วมาแปรรูป ผมคิดว่าพืน้ ฐานของ คนที่ใช้กระดาษโดยเฉพาะนักออกแบบจะมีความรูเ้ รือ่ งนีอ้ ยูแ่ ล้ว แต่จะ ทำาอย่างไรให้เขาประทับใจและจดจำา” วิธีการนำาเสนอจึงไม่ ใช่การออกแบบแคตตาล็อกเพื่อการขาย กระดาษ แต่สอื่ สารเรือ่ งทีม่ าของกระดาษ การใช้ซาำ้ อย่างรูค้ ณ ุ ค่าผ่าน งานออกแบบ ซึง่ ท้ายทีส่ ดุ ขึน้ อยูก่ บั คุณแล้วว่าจะเลือกใช้เพียงหนึง่ ครัง้ หรืออีกหลายครั้งจึงค่อยทิ้ง “เราจึงนึกถึงกระบวนการออกแบบว่าใน ขณะทีน่ กั ออกแบบทำางาน ทุกคนจะมีของเหลือใช้หรือมีของที่ไม่ถกู ใช้ หรือใช้แล้ว ซึง่ สิง่ เหล่านัน้ ไม่ใช่วตั ถุแต่เป็นแบบ เช่น ออกแบบโลโก้ให้ ลูกค้าก็ต้องทำาออกมา 2-3 แบบ ให้ลูกค้าพิจารณา สุดท้ายลูกค้าจะ เลือกเพียงหนึง่ อีกสองตัวทีท่ าำ มาจึงไม่ถกู ใช้ เราจึงมีไอเดียขอผลงาน เหล่านัน้ เพือ่ นำามาปรุงใหม่ ซึง่ จะเป็นความคิดพืน้ ฐานเดียวกับการผลิต กระดาษ Green Series โดยนำามาอุปลักษณ์ อุปมา อุปไมย เทียบเคียง ซึ่งคิดว่าน่าจะเป็นภาษาที่นักออกแบบหรือคนในวงการสร้างสรรค์นั้น คุ้นเคย ท้ายที่สุดก็จะเกิดการรับรู้ถึงกระดาษในจังหวะที่ ไม่ ใช่การ ขายตรง
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:33:52
PRINT Miracle of Paper(1) REVIWE
ผมคิดว่านี่อาจเป็น หนังสือที่เราอยากเก็บไว้หรือใช้เวลากับมัน มากกว่าแคตตาล็อกโดยทั่วไป เราจึงเชิญชวนนักออกแบบในเครือข่าย ประมาณ 40-50 คน ซึ่งได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีเพราะมีผลงาน กลับมาประมาณ 70 ชิ้นงาน แต่ละชิ้นมีความหลากหลายและแตกต่าง กันมาก แต่ท้ายที่สุดในความหลากหลายนั้นเราก็พยายามหาคอนเซ็ปต์ ของหนังสือเพื่อให้มาอยู่ด้วยกันได้อย่างกลมกล่อม
25
จะเห็นว่าหน้าปกเป็นชิ้นงานรูปทรงพื้นฐานเปรียบได้กับวัสดุหรือ เยื่อกระดาษ จากหน้าปกที่เจาะเป็นคำาว่า Used เมื่อเปิดมาจะเป็นคำา ว่า Eco ซึ่งก็จะเป็นวิธีการจัด Typography ที่ใช้จำานวนชิ้นงานเท่าเดิม แทนที่เราตัดแล้วจะมีส่วนที่ถูกทิ้งไปแต่เรานำากลับมาสร้างอีกคำาหนึ่ง ขึ้นมา ตัวอย่างแรกคือ Start where you are. คือเริ่มจากจุดที่คุณอยู่ นั่นแหละ ไม่ต้องไปเพิ่มเติมอะไรมากมาย หาสิ่งที่มีอยู่ เพราะฉะนั้น ด้วย Mechanic ชุดนีจ้ ะทำาให้งานทีห่ ลากหลายถูกคุมให้เป็นหนังสือเล่ม เดียวกันจากไอเดียเดียวกัน ผลลัพธ์ทเี่ ราต้องการคืออยากให้คนที่ได้รบั หนังสือได้นั่งคิดแล้วค่อยๆ นึกถึงกระดาษ ซึ่งดีกว่าการยัดเยียดข้อมูล ว่ากระดาษของเรานั้นดีอย่างไร ในส่วนท้ายจึงจะเป็นข้อมูลเฉพาะว่า กระดาษ Green Series นั้นมีกระดาษอะไรบ้าง ใช้ส่วนผสมใดบ้าง มีขนั้ ตอนการผลิตอย่างไร ซึง่ เป็นจังหวะทีด่ เี พราะเมือ่ เสพงานด้านหน้า แล้วจึงค่อยรับข้อมูล แค็ตตาล็อกเล่มนีเ้ ป็นสิง่ ทีท่ าง PRACTICAL ทำาไป และรู้สึกตื่นเต้นตลอดระหว่างการทำางาน” คุณเจษฎา กราฟิก ดีไซเนอร์ กล่าวเสริมว่า “ไอเดียเรื่องการร้อย เรียงเป็นคำาเกิดขึ้นหลังจากได้เห็นชิ้นงาน และต้องคิดต่อว่าจะบริหาร จัดการอย่างไรเพื่อให้เล่าเรื่องที่อยากจะเล่า เราลองทำาหลากหลายวิธี จึงใช้วิธี Transfer ด้วยการไดคั ท ซึ่งเราจะตั้งความต้องการไว้ใน เบื้องต้นก่อน หลังจากนั้นจะดูว่าแต่ละชิ้นจะถูกจัดวางไว้ในหน้าไหน ซึ่งขึ้นอยู่กับสีของชิ้นงาน contrast รวมถึงเรื่อง form ว่าเข้ากันไหม ถือว่าเป็นหนังสือที่ค่อนข้างซับซ้อนพอสมควร”
บทความนี้นำามาจากนิตยสาร IDESIGN ฉบับที่ 146 กรกฎาคม 2015
โดยฝ่ายส่งเสริมการตลาดเพื่อประชาประชาสัมพันธ์ SCG Packaging
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 133
133 7/8/2558 11:33:53
PRINT NEWS
‘บราเดอร์’ เปิดตัวเครื่องพิมพ์ฉลาก เอาใจแฟนคลับ ‘เฮลโล่ คิตตี้’
เครื ่องพิ มพ์ฉลาก
“บราเดอร์ ”เอาใจแฟนคลับตัวการ์ ตูนดังระดับ โลกอย่ าง“เฮลโล คิตตี”้ (Hello Kitty) ด้ วยการเปิ ดตัว เครื่องพิมพ์ ฉลาก Hello Kitty รุ่ น PT-D200KT ผลิตภัณฑ์ ใหม่ ล่ าสุ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ แ ท้ จ ากญี่ ปุ่ น เพื่ อ ให้ ค นรุ่ นใหม่ เพลิดเพลินไปกับการพิมพ์ ตัวอักษรหรื อข้ อความต่ างๆ โชว์ ความน่ ารักสดใสของตัวการ์ ตนู อย่ างสนุกเต็มที่ ด้ วย ฝี มือตนเอง พร้ อมมีกรอบน่ ารั กๆ ลาย Hello Kitty จาก คอลเล็กชั่นของญี่ปุ่นให้ เลือกกว่ า 300 แบบ
มร.โทโมยู กิ ฟู จิ โ มโตะ กรรมการ ผู้ จั ด การ บริ ษั ท บราเดอร์ คอมเมอร์ เ ชี่ ย ล (ประเทศไทย) จ�ำกัด เปิ ดเผยว่า จากกระแสความ นิยมผลิตภัณฑ์ เครื่ องพิมพ์ ฉลาก Hello Kitty อย่างสูงที่ประเทศญี่ปนุ่ ท�ำให้ บริ ษัทฯ ตัดสินใจ น� ำ เข้ ามาให้ กลุ่ ม ลู ก ค้ าชาวไทยได้ สั ม ผั ส ประสบการณ์ตรง เพื่อตอบโจทย์ความต้ องการ ของลูกค้ าทุกกลุม่ เป้าหมาย โดยเครื่ องพิมพ์ฉลาก P-touch ถือเป็ น หนึง่ ในสินค้ าบริ ษัทฯ ที่มีประสบการณ์มากกว่า 25 ปี ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซึง่ ผู้ใช้ งานสามารถ มั่นใจในตัวสินค้ าที่ มีประสิทธิ ภาพ ตลอดจน ฉลากลามิเนต (Laminate) ถูก ออกแบบให้ มี อ ายุ การใช้ งานที่ยาวนาน และทนทาน และที่ ผ่านมาบริ ษัทฯ มียอด ขายเครื่ องพิมพ์ฉลาก
มร.โทโมยูกิ ฟูจิโมโตะ
134 TPM108_79-156.indd 134
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:33:55
‘บราเดอร์’ เปิดตัวเครื่องพิมพ์ฉลาก เอาใจแฟนคลับ ‘เฮลโล่ คิตตี้’ PRINT NEWS
เติบโตขึ ้นทุกปี ดูได้ จากล่าสุดปี 2557 มียอดขาย รวมทัว่ โลกเติบโตขึ ้น 12 % เมื่อเทียบกับปี 2556 และตังเป ้ ้ าเติบโตในปี 2558 เพิ่มขึ ้นอีก 18% ด้ าน คุ ณ ธี ร วุ ธ ศุ ภ พั น ธุ์ ภิ ญ โญ ผู้อ� ำ นวยการฝ่ ายขายและการตลาด บริ ษั ท บราเดอร์ คอมเมอร์ เชี่ยล (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ในปี นี ้บราเดอร์ เปิ ดตัวเครื่ องพิมพ์ฉลาก ขนาดเล็ก Hello Kitty รุ่น PT-D200KT ถือเป็ น ครั ง้ แรกที่ ส ร้ างสรรค์ ค วามน่ า รั ก สดใสลงใน เครื่ องพิมพ์ฉลาก เพื่อเอาใจแฟนคลับของ Hello Kitty โดยพิมพ์ได้ 2 ภาษา ทังภาษาไทยและ ้ ภาษาอังกฤษ สามารถพิมพ์ตวั อักษรได้ 2 บรรทัด ความละเอี ย ด 180 dpi พ ร้ อ ม ไ อ ค อ น น่ า รั ก ตัวอย่างฉลากทีพ่ ิ มพ์ได้ มากกว่า 300 แบบ และ ้ งง่ายต่อการออกแบบฉลาก มี ก รอบ Hello Kitty ให้ เลือกมากกว่า 10 แบบ อีกทังยั ด้ วยตัวคุณเอง เครื่ อ งพิ ม พ์ ฉ ลากรุ่ น นี ส้ ามารถเลื อ กใช้ รู ป แบบ ตัวอักษร รูปแบบกรอบ และสัญลักษณ์ได้ อย่างง่ายดาย ด้ วย ปุ่ มฟั งก์ชนั่ one-touch นอกจากนี ้ ยังมัน่ ใจได้ ว่ารู ปไอคอน เฮลโล คิ ตตี จ้ ะติ ดทนนาน ด้ วย เทปที่ มี คุณ สมบัติ กัน น� ำ้ ทนแดด สีไม่ซีดจาง ทนต่อสารเคมี ทนทุกสภาวะอากาศ ทังยั ้ งเคลือบลามิเนต (Laminate) เพื่อเพิ่มความทนทาน และ มีให้ เลือกหลากสีหลายขนาดตังแต่ ้ 3.5-12 มิลลิเมตร สามารถ ติดได้ กบั ทุกพื ้นผิว ทัง้ นี ้ เครื่ องพิมพ์ ฉลาก Hello Kitty รุ่ น PT-D200KT คุณธี รวุธ ศุภพันธุ์ภิญโญ มีวางจ�ำหน่ ายแล้ วพร้ อมกับ เทป TZE-HW31 จ�ำนวน 1 ชิน้ เป็ นเทปพืน้ ขาวลาย Hello Kitty ที่ร้าน B2S, BeTrend และตัวแทนจ�ำหน่ ายบราเดอร์ ท่ รี ่ วมรายการ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 135
135 7/8/2558 11:33:56
PRINT CHECKIN
เช็คอิน... พิพิธภัณฑ์เด็ก กทม. สวรรค์ของเด็กและเยาวชน
หลังจากปิ ดปรั บปรุ งมานาน..แบบไม่ มีก�ำหนด ในที่สุด พิพธิ ภัณฑ์ เด็กกรุ งเทพมหานคร (สวนจตุจกั ร) ก็ได้ กลับมาสร้ างสีสนั และความสุขให้ เด็ก ๆ อีกครัง้ โดยก่อนหน้ านี ้มีการปิ ดตัวไป เนื่องจาก อุปกรณ์มสี ภาพช�ำรุด อีกทังเกิ ้ ดเหตุการณ์น� ้ำท่วม วิกฤตการณ์ทางการเมือง ตลอดจนเหตุการณ์ตา่ งๆ ซึง่ ไม่อำ� นวยต่อการปรับปรุงใหม่ แต่ เ มื่ อสถานการณ์ ทางการเมื องสงบ กรุ ง เทพมหานครซึ่ง เป็ นผู้ด� ำ เนิ น งาน ได้ รั บ การ สนับสนุนจากภาคเอกชนและประชาชน ร่วมกันขับ เคลื่ อ นให้ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ ด็ ก กรุ ง เทพมหานคร จนสามารถเปิ ดให้ บริการได้ อีกครัง้ โดยมุง่ หวังให้ เป็ นแหล่งการเรียนรู้นอกห้ องเรียนและเสริมทักษะ อย่ า งเป็ นรู ป ธรรม ควบคู่ไ ปกับ การเรี ย นรู้ ใน ห้ องเรี ยนของเด็กและเยาวชน
136 TPM108_79-156.indd 136
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:34:04
เช็คอิน... พิพิธภัณฑ์เด็ก กทม. สวรรค์ของเด็กและเยาวชน
โฉมใหม่ของพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานคร ได้ มีการปรับ กิจกรรมให้ เหมาะกับพื ้นที่ซงึ่ มีขนาดเล็กลง โดยมีห้องนิทรรศการและ ส่วนการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่นา่ สนใจ ประกอบไปด้ วย อาคารทอตะวัน (อาคาร 1) ชัน้ 1 จัดแสดงนิทรรศการและ การจัดกิจกรรมในโซนลานสร้ างสรรค์ โซนวิทยาศาสตร์ สร้ างสรรค์ โซนครัวไทยวัยจิ๋ว โซนนักสืบไดโนเสาร์ โซนห้ องศิลปะ ชัน้ 2 โซนโลก ทังผองพี ้ ่น้องกัน โซนอัศจรรย์ตวั ฉันเอง โซนมุมมองพิศวง โซนสโมสร นักประดิษฐ์ ชัน้ 3 โซนละครโรงเล็ก โซนสิ่งก่อสร้ างมหัศจรรย์ โซน สร้ างเมืองของเรา อาคารสายรุ้ ง (อาคาร 2) ชัน้ 1 ประกอบด้ วยนิทรรศการและ การจั ด กิ จ กรรมในโซนสวน
หลังบ้ าน ห้ องสมุดสร้ างสรรค์ ชัน้ 2 เมือง สายรุ้ ง ส� ำ หรั บ นิ ท รรศการภายนอก ประกอบด้ วย 3 โซน ได้ แก่ โซนสวนน� ้ำ โซนผจญภัยในป่ า และชุดนิทรรศการ พลังงานน� ้ำ วั น ว่ างวั น หยุ ด ตั ้ง แต่ วั น อังคารถึงวันอาทิตย์ (เว้ นวันจันทร์ ) ช่ วงเวลา 10.00-16.00 น. เชิญชวน ผู้ปกครองพาลูกหลานไปท่ องเที่ยว พ่ วงการเรี ยนรู้ นอกห้ องเรี ยนกันนะ ครับ..รับรอง ไปแล้ วอยากกลับไปอีก ไม่ เว้ นแม้ กระทั่งเด็กและผู้ปกครอง เพราะเหมื อ นกั บ เที่ ย วสวนสนุ ก ประมาณนัน้ !!
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 137
PRINT CHECKIN
137 7/8/2558 11:34:07
ART ภาพพระราชทาน : สมเด็จพระเทพฯ GALLERY พระราชพิ ธีฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘
นับ ตัง้ แต่ ว ารสาร Thaiprint magazine ฉบับที่ 105 คอลัมน์ ART GALLERY น�ำเสนอ ผลงานรู ปแบบกราฟฟิ กดีไซน์โปสเตอร์ และบิลบอร์ ด “พระฉายาลักษณ์ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ” ที่มีนกั ออกแบบดีไซน์จดั ท�ำขึ ้น และจั ด พิ ม พ์ ใ ห้ ลู ก ค้ าผู้ สั่ง ซื อ้ งานพิ ม พ์ เพื่ อ ใช้ ใน กิ จ กรรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ เ นื่ อ งในโอกาสเจริ ญ พระ ชนมายุครบ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 และในฉบับที่ 107 ได้ ตพี มิ พ์พระฉายาลักษณ์ของสมเด็จพระเทพฯ ใน ฐานะที่เป็ นภาพพระราชทานต้ นแบบ ประกอบรายงาน ข่าวเรื่ อง “ธนบัตรที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติ” นัน้ ปรากฏว่า มีผ้ ใู ห้ ความสนใจแสดงความชื่นชม ผ่านมายังบรรณาธิการ วารสาร Thaiprint Magazine เป็ นจ�ำนวนมากว่า รู้ สึกชื่นชอบและประทับใจความ
138 TPM108_79-156.indd 138
สวยงามของพระฉายาลักษณ์และความสง่างามในพระ อิริยาบถของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี รวมทัง้ สอบถามว่ า หากประสงค์ จะน�ำไป ใช้ พิมพ์ แจกในงานแสดงเทคโนโลยีทางด้ านการ พิมพ์ Pack Print International 2015 หรื อพิมพ์ เพื่อ ใช้ เป็ นที่ระลึกเพื่อร่ วมเฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาส เจริญพระชนมายุครบ 5 รอบนัน้ ต้ องท�ำหนังสือ ขออนุญาตใช้ พระฉายาลักษณ์ นัน้ จากใครหรือไม่ ? วารสาร Thaiprint magazine จึงขอแจ้ งข่าว ให้ ทราบถึงที่มาที่ไปของพระฉายาลักษณ์พระราชทาน ทัง้ 2 ภาพ ตามประกาศของส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายก รั ฐมนตรี เมื่ อวันที่ 26 มี นาคม 2558 เรื่ อง พระ ฉายาลักษณ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรม
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:34:15
ART ภาพพระราชทาน : สมเด็จพระเทพฯ GALLERY
พระราชพิธีฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘
ราชกุ ม ารี ส� ำ หรั บ อัญ เชิ ญ ไปใช้ ในกิ จ กรรมเฉลิ ม พระเกียรติในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 เพื่อร่ วมเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสฉลอง พระชนมายุ 5 รอบ และได้ น�ำพระฉายาลักษณ์ต้นฉบับ มาตี พิ ม พ์ น� ำ เสนอในฉบั บ นี อ้ ี ก ครั ง้ เพื่ อ แสดง ความชื่นชมและยืนยันถึงความสง่างามพระอิริยาบถ ของพระองค์
หนังสือราชการของส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายก รั ฐ มนตรี ที่ ส่ ง ถึ ง หน่ ว ยราชการต่ า งๆ ระบุ ว่ า ด้ ว ย ในคราวประชุ ม คณะกรรมการอ� ำ นวยการจัด งาน เฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 ครัง้ ที่ 1/2558 เมื่อวันจันทร์ ที่ 23 มีนาคม 2558 นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการอ�ำนวย การจัดงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 มีข้อสัง่ การให้ ส�ำนักงานปลัด THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 139
139 7/8/2558 11:34:17
ART ภาพพระราชทาน : สมเด็จพระเทพฯ GALLERY พระราชพิ ธีฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘
ส�ำนักนายกรัฐมนตรีพจิ ารณาคัดเลือกพระฉายาลักษณ์ สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ส�ำหรับให้ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ทีจ่ ะจัดกิจกรรม เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุม ารี ใ นโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 อัญ เชิ ญ ไปใช้ ใ นกิ จ กรรมเฉลิ ม พระเกียรติฯ เพื่อให้ เป็ นมาตรฐานเดียวกัน ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี คัดเลือก พระฉายาลักษณ์จ�ำนวน 2 ภาพ และน�ำเรี ยนรองราช เลขาธิการ (ท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ) พิจารณาให้ ความเห็นชอบเรี ยบร้ อยแล้ ว ในการนี ้ จึงขอส่งซีดีพระ ฉายาลักษณ์ จ� ำนวน 1 แผ่น ส�ำหรั บให้ หน่วยงาน ภาครั ฐ ภาคเอกชน อัญเชิญไปใช้ ในกิ จกรรมเฉลิม พระเกียรติฯ ของหน่วยงานต่อไป ทังนี ้ ้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ทรงเจริ ญพระชนมายุ 5 รอบ ในวันที่ 2 เมษายน 2558 คณะกรรมการอ� ำ นวยการจัด งาน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุ ม ารี เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 5 รอบ 2 เมษายน 2558 ได้ ก�ำหนด ชื่ อ พระราชพิ ธี ชื่ อ การจั ด งานเฉลิ ม พระเกี ย รติ
140 TPM108_79-156.indd 140
ทังภาษาไทย ้ และภาษาอังกฤษ และก�ำหนดระยะเวลา ของการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ ดังนี ้ 1. ชื่ อ พระราชพิ ธี ว่ า “พระราชพิ ธี ฉ ลอง พระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558” 2. ชื่อการจัดงานเฉลิมพระเกี ยรติว่า “งาน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรั ตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558” 3. ชื่อภาษาอังกฤษ : “The Celebrations on
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:34:17
ART ภาพพระราชทาน : สมเด็จพระเทพฯ GALLERY
พระราชพิธีฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘
the Auspicious Occasion of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn’s 5th Cycle Birthday Anniversary 2nd April 2015” 4. ก�ำหนดระยะเวลา ตัง้ แต่ วันที่ 1 มกราคม 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 5. มอบหมายกรมศิลปากรด�ำเนินการออกแบบ ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระ ชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 โดยประกาศและหนั งสือเวียนของส�ำนั ก
ปลั ด ส�ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี ไปยั ง หน่ ว ยราชการ ต่ างๆ คงเป็ นค�ำตอบได้ เป็ นอย่ างดี แก่ ผ้ ทู ่ปี ระสงค์ น�ำพระฉายาลักษณ์ พระราชทาน ไปจัดพิมพ์ และ จัดกิจกรรมเพื่อร่ วมเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระ เทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาส เจริญพระชนมายุ 5 รอบ ตลอดปี พ.ศ.2558 นี ้ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 141
141 7/8/2558 11:34:17
ART ภาพพระราชทาน : สมเด็จพระเทพฯ GALLERY พระราชพิ ธีฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘
142 TPM108_79-156.indd 142
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:34:19
ART ภาพพระราชทาน : สมเด็จพระเทพฯ GALLERY
พระราชพิธีฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 143
143 7/8/2558 11:34:20
PRINT NEWS
‘๖๐ พรรษารัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ หนังสือที่คนไทยควรอ่าน
จัดท�ำเพื่อเฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาสครบ ๖๐ พรรษา
ดร.มนู อรดี ด ลเชษฐ์ กรรมการ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี แจ้ งว่า ฝ่ ายเลขาโครงการฯ ส�ำนักงาน พัฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ได้ จดั ท�ำหนังสือแห่งปี “60 พรรษารัตนราชสุดา วิทยาปริ ทรรศน์ ” เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรั ตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 60 พรรษา
144 TPM108_79-156.indd 144
หนัง สื อ เล่ ม นี เ้ ป็ นการรวบรวมโครงการทางด้ า น วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่มีบทบาทต่อประชาชนชาวไทย ทีค่ รบสมบูรณ์ ซึง่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ทรงเป็ นนักพัฒนาที่มีพระราชปณิธานแน่วแน่ ในการ ยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชน เนื ้อหาภายในเล่ม จึงเน้ น รวบรวมโครงการในพระราชด� ำ ริ ของพระองค์ ท่ า น ที่ น� ำ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ไ ปพัฒ นาและยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชนชาวไทยมากมายหลายโครงการ “จึงอยากให้ คนไทยได้ อ่านหนังสือเล่มนี ้ เพราะมี คุณค่าอย่างสูง โดยจ�ำหน่ายในราคา 499 บาท รายได้ ทลู เกล้ า ถวาย โดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย หาซื ้อได้ ที่ ร้ านหนังสือชันน� ้ ำทัว่ ไป” ดร.มนู อรดีดลเชษฐ์ กล่าว
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:34:22
‘ฟูจิ ซีร็อกซ์’ สร้างบุคลากรด้านเทคโนโลยีการพิมพ์ PRINT NEWS หลักสูตร Graphic Communication Technology
คุณโคจิ เทสึกะ ประธาน บริษทั ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และคุณพิชยั ธัญญวัชรกุล ผู้อำ� นวย การฝ่ ายขาย Production System Business บริ ษั ท ฟู จิ ซี ร็ อ กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ท�ำการมอบ ประกาศนียบัตรหลักสูตร “Graphic Communication Technology” ให้แก่ นักศึกษา สาขาเทคโนโลยีการพิมพ์ จาก 4 สถาบัน ได้ แก่ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้ าธนบุรี, มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลธัญ บุรี และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ ที่ท�ำการลงทะเบียนเข้ ารับ การฝึ กอบรมและส�ำเร็จหลักสูตร ทังนี ้ ้ บริ ษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ฯ จั ด การฝึ กอบรมให้ ความรู้ ด้ าน เทคโนโลยีการพิมพ์ ด้ วยหลักสูตร Graphic Communication
Technology โดยไม่เก็บค่าใช้ จ่าย ใด ๆ และนับเป็ นโครงการต่อเนื่อง มาเป็ นปี ที่ 4 แล้ ว มี เ ป้ าหมาย เพือ่ เป็ นส่วนหนึง่ ในการสร้ างบุคลากร ด้ านการพิ ม พ์ ให้ พร้ อมรองรั บ อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยที่ก�ำลัง เติบโต และมุ่งหวังให้ ผ้ ผู ่านการฝึ ก อบรมน�ำองค์ความรู้ทไี่ ด้รบั ไปต่อยอด เพือ่ พัฒนาปรับปรุงให้ เกิดประโยชน์ ด้านการพิมพ์ตอ่ ไป
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 145
145 7/8/2558 11:34:24
WORLD LEGEND
Merlion สัญลักษณ์แห่งสิงคโปร์
สัญลักษณ์แห่งสิงคโปร์ “เมอร์ ไลออน (Merlion)” หรื อ “สิงโต ทะเล” สัญลักษณ์ แห่ งสิงคโปร์ ท่ ใี ครๆ ก็ร้ ู จกั มี รู ปร่ างหน้ าตาเป็ นสัตว์ โดยส่ วนหัวเป็ นสิงโต และส่ วนตัวเป็ นปลา ยืนอยู่บนยอดคลื่น แรกเริ่ ม “เมอร์ ไลออน” เป็ นสัญลักษณ์ ของ คณะกรรมการการท่องเที่ยวของสิงคโปร์ (Singapore Tourism Board-STB) ที่ถกู ออกแบบขึ ้นในปี พ.ศ. 2507 โดยนายฟราเซอร์ บรู นเนอร์ (Mr.Fraser Brunner) สมาชิ ก คณะกรรมการฝ่ ายของที่ ร ะลึ ก และผู้ ดู แ ล พิพิธภัณฑ์สตั ว์น� ้ำแวนคลีฟ (Van Kleef Aquarium) ต่อมาในวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2509 ได้ รับการ จดทะเบียนเป็ นเครื่องหมายการค้ าของคณะกรรมการส่งเสริม การท่องเที่ยวของสิงคโปร์ (Singapore Tourist Promotion Board-STPB) ว่ากันว่าแรงบันดาลใจของการออกแบบ “เมอร์ ไลออน” มาจากการผสมผสานเรื่องราวของต�ำนานกับความจริงเข้ าไว้ ด้วย กัน โดยในอดีต “สิงคโปร์ ” มีชื่อว่า “เมืองสิงคปุระ” มาจากภาษา สันสกฤต อันมีความหมายว่า “เมืองแห่งสิงโต” ปั จจุบนั “เมอร์ ไลออน” ในประเทศสิงคโปร์ มีทงหมด ั้ 3 ตัว ประกอบด้ วย 2 ตัวแรกตังอยู ้ ท่ ี่ “เมอร์ ไลออน พาร์ ค (Merlion Park)” และตัวที่สามตังอยู ้ ท่ ี่ “เกาะเซ็นโตซ่า”
146
TPM108_79-156.indd 146
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:34:26
Merlion สัญลักษณ์แห่งสิงคโปร์ “เมอร์ ไลออน” ตัวแรกมีความสูง 8.6 เมตร และมีน� ้ำหนัก 70 ตัน ตัวที่สองมีความสูง 2 เมตร และมีน� ้ำหนัก 3 ตัน ซึง่ ทังสองตั ้ วถูกสร้ าง โดย “นายลิม นาง เส็ง (Mr.Lim Nang Seng)” ส� ำ หรั บ วัส ดุที่ ใ ช้ ก่ อ สร้ างในส่ว นล� ำ ตัว “เมอร์ ไลออน” ท�ำมาจากซีเมนต์ฟอนดูเป็ นซีเมนต์ ที่มีคณ ุ สมบัตสิ งู ในการรับแรงทางกายภาพ อีกทังยั ้ ง ทนทานต่อการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมิ และทนการ กัด กร่ อ นของสารเคมี ไ ด้ เ ป็ นอย่า งดี ขณะที่ ใ นส่ว น ผิวหนังท�ำมาจากจานลายคราม ดวงตาท�ำมาจากจาก ถ้ วยชาสีแดงขนาดเล็ก ภายในติดตังระบบปั ้ ๊ม น� ้ำที่สามารถพ่นน� ้ำได้ ตลอดทังวั ้ นทังคื ้ น “เมอร์ ไลออน” ทัง้ สองตัวนีไ้ ด้ รับ การกล่ าวขวัญว่ า เป็ นแม่ ลูกกัน แต่ ใน ความเป็ นจริงแล้ วไม่ ใช่ เพราะทัง้ สองตัว นีเ้ ป็ นตัวผู้ เนื่องจากสิงโตตัวผู้เท่ านัน้ ที่จะมี ขนบริเวณหัวและล�ำคอ ทังนี ้ ้ นายลี กวน ยู (Mr.Lee Kuan Yew) นายกรั ฐ มนตรี ข องสิ ง คโปร์ ใ นขณะนัน้ ได้ ประกอบพิธีติดตัง้ รู ปปั น้ สิงโตในวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2515 มีการติดป้ายบรอนซ์ เพือ่ เป็ นทีร่ ะลึกของโอกาสพิเศษนี โดยมี ้ ถ้อยค�ำ จารึ กไว้ ว่า “สิ ง โตทะเลถู ก สร้ างขึ น้ เพื่ อ เป็ น สัญลักษณ์ แห่ งการต้ อนรั บนั กท่ องเที่ยวทุกคน ที่มาเยือนสิงคโปร์ ” ้ วนี ้ตังอยู ้ บ่ ริเวณ เดิมที “เมอร์ ไลออน” ทังสองตั ปากแม่น� ้ำสิงคโปร์ ตรงข้ ามกับอลิซาเบธ วอล์ค (Elizabeth Walk) ต่อมาในวันที่ 23-25 เมษายน พ.ศ.2545 ได้ ถกู ย้ ายมาตังอยู ้ บ่ ริ เวณ “เมอร์ ไลออน พาร์ ค (Merlion Park)” ห่างจากที่ตงเก่ ั ้ าเพียง 120 เมตร โดยตัวแรกวางหันหน้ าออกไปยังอ่าวมาริ น่า (Marina Bay) ที่มีทศั นียภาพสวยงาม และตัวที่สองตังอยู ้ ด่ ้ าน หลังของตัวแรกห่างกันเพียง 28
เมตร ซึง่ เป็ นที่ตงปั ั ้ จจุบนั นัน่ เอง ทังนี ้ ้บริ เวณโดยล้ อมของ “เมอร์ ไลออน พาร์ ค” เป็ นสวนหย่อมขนาด 2,500 ตารางเมตร อยู่ติดกับ อาคารโรงแรมฟูลเลอตัน (fullerton Hotel) มีแหลมยื่น ไปในทะเลและมีไหล่เนินเป็ นชันๆ ้ มีลานดูววิ ที่สามารถ จุค นได้ ม ากถึง 300 คน พร้ อมด้ ว ยจุด จอดเรื อ ที่ ผ้ ู โดยสารสามารถลงจากเรื อจ้ างได้ บริเวณแห่งนี ้ถือเป็ นแลนมาร์ กชันเลิ ้ ศ ทีน่ กั ท่อง เทีย่ วชืน่ ชอบมายืนถ่ายภาพกับ “เมอร์ ไลออน” พร้ อม
THAIPRINT THAIPRINT M A G AMZAI NG EA Z1I N0 8E
TPM108_79-156.indd 147
WORLD LEGEND
147 7/8/2558 11:34:27
WORLD LEGEND
Merlion สัญลักษณ์แห่งสิงคโปร์
กับฉากหลังคือเส้ นขอบฟ้าของเมืองและท่าเรื อ มาริ นา่ ที่งดงาม รวมถึงสถานที่สำ� คัญต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นโรงแรมฟูลเลอตัน, โรงละครเอสพลานาด ริ มชายฝั่ ง “เมอร์ ไลออน” ตัวที่ 3 ตังอยู ้ ท่ ี่เกาะเซ็นโตซ่า ถือเป็ นเมอร์ ไลออนที่มีขนาดใหญ่ที่สดุ มีความสูงถึง 37 เมตร และยังเป็ นสัญลักษณ์ ของเกาะเซ็นโตซ่า อีกด้ วย ภายใน “เมอร์ ไลออน” มีทงหมด ั้ 12 ชัน้ ประกอบ ด้ วย ร้ านขายของที่ระลึกที่เกี่ยวข้ องกับเมอร์ ไลออน ร้ าน อาหาร และจุดแสดงเรื่องราวเทพนิยายของสัตว์ชนิดต่างๆ ในต�ำนาน ไม่วา่ จะเป็ นเมอร์ ไลออน มังกร นางเงือก หรื อ แม้ กระทัง่ ปลาหมึกยักษ์ คราเคน รวมทังมี ้ จดุ ชมวิว 2 แห่งด้ วยกัน คือ ชัน้ 9 บริ เวณ ออกจากปากของเมอร์ ไลออน และชัน้ 12 บริ เวณบนสุดของ หัวเมอร์ ไลออน ซึง่ สามารถชมวิวได้ ถงึ 360 องศา และหากได้ มาเยี่ยมชมในยามค�่ำคืนก็จะได้ เห็นแสงเลเซอร์ ที่ปล่อยออกมา จากตา ถือเป็ นเทคนิคทีบ่ ้ างก็วา่ น่าตืน่ ตาตืน่ ใจ แต่บ้างก็วา่ ดุดนั น่าเกรงขามเป็ นอย่างมาก แม้ ว่าสิงคโปร์ จะมีสถานที่ท่องเที่ยวมากมายหลาย แห่ ง แต่ “เมอร์ ไลออน” ถือเป็ นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวยอด
148 TPM108_79-156.indd 148
มุมถ่ายภาพยอดฮิ ต ใครๆ ก็ตอ้ งมี
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:34:29
Merlion สัญลักษณ์แห่งสิงคโปร์
WORLD LEGEND
เมอร์ ไลออน ตัวที ่ 3
เมอร์ ไลออนตัวน้อย (ตัวที ่ 2) เด็กๆ เข้าคิ วถ่ายภาพ
นิยมที่ทุกคนมาเยือนประเทศนีต้ ้ องแวะไปถ่ าย รู ป ด้ ว ย เพื่ อ เป็ นหลั ก ฐานยื น ยั น ว่ า “มาถึ ง สิงคโปร์ แล้ ว” นั่นเอง THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 149
149 7/8/2558 11:34:31
HEALTH
หมอนรองกระดูกปลิ้นทับเส้นประสาท
ดร. วรรธนะ ชลายนเดชะ มูลนิ ธิหมอชาวบ้าน
เมื่อหมอนรองกระดูกของส่ วนหลังปลิน้ ทับเส้ นประสาทด้ วยสาเหตุใดๆ ก็ตาม ผู้ป่วยจะ มีอาการปวดร้ าวลงขา กรณีนี ้ต้ องพบผู้เชีย่ วชาญเพือ่ ทีจ่ ะแยกโรคและ อาการอืน่ ๆ ออก เช่น โรคมะเร็งกระดูก โรคข้ อเสือ่ ม และ อาการกล้ ามเนือ้ อักเสบ การรักษาหมอนรองกระดูก ปลิ น้ ทับ เส้ น ประสาท ได้ แ ก่ การรั ก ษาทางยาและ ทางกายภาพบ�ำบัด
150 TPM108_79-156.indd 150
ช่ ว ง 6-12 สัป ดาห์ แ รกมี ค วามส� ำ คัญ มาก ถ้ าผู้ป่วยปฏิบตั ติ วั และระวังการใช้ ทา่ ทางในชีวติ ประจ�ำ วันได้ ดีร่วมกับการรักษาที่ถกู ต้ องจะมีโอกาสหายขาด ได้ ถ้ าอาการไม่ดีขึ ้นหรื อเป็ นๆ หายๆ หลายครัง้ จะมี อาการเรื อ้ รัง ซึง่ จ�ำเป็ นต้ องผ่าตัดเอาหมอนรองกระดูก ที่ไปกดทับเส้ นประสาทออก ผู้ เ ขี ย นขอแนะน� ำ วิธี ป ฏิบั ติตั ว ของผู้ ท่ ีมี อาการหมอนรองกระดูกปลิน้ ทับเส้ นประสาท เพื่อ ที่จะได้ มีแนวทางไปใช้ ในการดูแลตนเอง ท�ำให้ อาการลดลงได้ เร็วและไม่ เป็ นซ�ำ้ อีก เมื่อหมอนรองกระดูกปลิ ้นจะมีการฉีกขาดของ เนือ้ เยื่อหมอนรองกระดูก ผู้ป่วยต้ องระวังกิจกรรมที่ จะเพิ่มแรงกดและแรงบิดของหมอนรองกระดูกสันหลัง หมอนรองกระดูกสันหลังมี โครงสร้ างคล้ าย เยลลี่ ยิ่งกดหรื อบิดจะบาดเจ็บซ� ้ำ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:34:33
หมอนรองกระดูกปลิ้นทับเส้นประสาท
ปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อ แรงกดที่ ห มอนรองกระดูก สันหลังมี 2 ประการ คือ 1. แรงโน้ ม ถ่ ว งหรื อ น� ำ้ หนัก ตัว ที่ ก ดลงบน กระดูกสันหลัง เมื่อนัง่ หรื อยืน จะท�ำให้ แรงกดที่กระดูก สันหลังมากกว่าการนอน 2. ส่วนโค้ งของกระดูกสันหลัง ถ้ าส่วนโค้ งของ กระดูกสันหลังงอไปทางด้ านหลังหรื อค่อม เช่น การนัง่ หลังค่อมท�ำให้ แรงกดของหมอนกระดูกสันหลังเพิ่มขึ ้น ถ้ าเปรี ยบเทียบท่าทางการใช้ ชีวิตประจ�ำวัน แล้ ว การนั่ง จะท� ำ ให้ มี แ รงกดที่ ห มอนรองกระดูก มากกว่าการยืน เมื่อนัง่ สะโพกจะงอท�ำให้ เข่าอยูร่ ะดับ เดียวกันหรื อสูงกว่า เกิดการหมุนกระดูกเชิงกรานไป ทางด้ านหลัง (Posterior Tilt) บังคับให้ หลังส่วนล่าง ทีต่ อ่ กับกระดูกเชิงกรานค่อม ขณะยืน ส่วนโค้ งของหลัง จะแอ่น แรงกดในหมอนรองกระดูกสันหลังจะน้ อยกว่า จากข้ อมูลดังกล่าวน� ำมาซึ่งการปฏิ บัติ ผู้ที่ หมอนรองกระดูกสันหลังปลิ ้นใหม่ๆหรื อยังมีอาการอยู่ มากควรนั่ง ให้ น้ อ ยที่ สุด ขณะลุก จากที่ น อนมายื น ไม่ควรนั่งข้ างเตียง ให้ ใช้ วิธีนอนคว�่ำและค่อยอยู่ใน ท่า คลานสี่ ข า แล้ ว ค่อ ยถอยหลัง ลงจากเตี ย ง เวลาขึ ้นเตียงก็ใช้ วธิ ีเดียวกันแต่ปฏิบตั ติ รงข้ าม ถ้ าจ� ำ เป็ นต้ อ งนั่ง จริ ง ๆ จะมี ท างเลื อ กอยู่ 3 แบบคือ 1. นัง่ เอนหลังพิงพนัก ให้ น�ำ้ หนักตัว ช่วงบนไปอยู่ที่พนักพิง วิธีนีอ้ าจใช้ ได้ ใน กรณี ที่ ต้ อ งเข้ า ห้ อ งน� ำ้ ในลัก ษณะ ชั ก โ ค ร ก ต้ อ ง ห า ห ม อ น พลาสติก 1-2 ใบเอาไว้ พิงหลัง ถ้ าเอาหมอน ดัดหลังให้ หลังแอ่น ไ ด้ จ ะ ยิ่ ง ช่ ว ย ป้องกันไม่ให้ ปวด
ไม่ค วรเข้ า ห้ อ งน� ำ้ ในลัก ษณะนั่ง ยองเพราะ หลัง ส่ ว นล่ า งจะค่ อ มมากอาการปวดอาจมากขึ น้ ถ้ าผู้ป่วยมีอาการปวดหรื อร้ าวลงขามาก อาจต้ องใช้ หม้ อนอนส�ำหรับถ่ายอุจจาระและปั สสาวะบนเตียง 2. นัง่ หลังตรงพิงพนัก โดยมีผ้าหรื อหมอนหนุน ให้ ส่ ว นของหลัง แอ่ น ไว้ การนั่ง แบบนี ท้ � ำ ให้ ผ้ ูป่ วย มีโอกาสใช้ มอื ท�ำงานได้ ถนัดมากกว่าการนัง่ พิงหลังเต็มที่
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
TPM108_79-156.indd 151
HEALTH
151 7/8/2558 11:34:34
HEALTH
หมอนรองกระดูกปลิ้นทับเส้นประสาท
3. นัง่ ที่ขอบเก้ าอี ้ การนัง่ แบบนี ้ หัวเข่าจะต�่ำ กว่ า สะโพก ส่ว นโค้ ง ของหลัง จะแอ่ น โดยอัต โนมัติ วิธีการนัง่ แบบนีใ้ ช้ ได้ เวลาที่จ�ำเป็ นต้ องนัง่ จริ งๆ เช่น ต้ องนัง่ ประชุม นัง่ ท�ำงาน อาจเสริ มด้ วยการออกแรงยัน ด้ วยมือหรื อศอกที่ที่เท้ าแขนให้ เสมือนการลุกขึน้ ยืน เป็ นระยะ ซึง่ จะลดแรงกดหมอนรองกระดูกได้ บางส่วน ผูป้ ่ วยควรนอนพักให้มากในช่วง 2-3 วันแรก ผู้ป่วยอาจนอนหงาย ขาเหยี ยดตรงไม่ได้ เพราะจะ เป็ นการยืดเส้นประสาททีถ่ กู กดทับมากเกิ นไป อาจต้อง นอนหงายชันเข่า กรณีนี ้จะเห็นว่าหลังส่วนล่างจะค่อม แต่จะไม่มี ผลมากนัก เพราะไม่ ไ ด้ อ ยู่ใ นท่ า นั่ง หรื อ ยื น แรงกด ที่หมอนรองกระดูกจะไม่มาก การเปลี่ยนท่าทางต้ อง ระวัง การบิดตัว ของหมอนรองกระดูกสัน หลัง เช่น การเปลี่ยนท่าจากนอนหงายไปตะแคง ต้ องหาหมอน ขวางมากอดแล้ วตะแคงคล้ ายการกลิ ้งท่อนไม้ ไม่ควร เอาล� ำ ตัว ช่ ว งบนหรื อ ล่ า งไปก่ อ น อาจช่ ว ยตะแคง ตัวผู้ป่วยให้ ไหล่กบั สะโพกไปด้ วยกันในระยะแรก
152 TPM108_79-156.indd 152
ในผู้ ป่ วยบางราย การนอนตะแคงเอา ข้ า งที่ป วดขึ น้ จะเป็ นท่ า ที่ส บายที่สุ ด ใช้ ห มอน หนุนแขนหรื อขาให้ ดอี ย่ าให้ มีการบิดของเอว การให้ ผ้ ูป่วยนอนคว�่ำบ้ างเป็ นบางครั ง้ อาจ ลดอาการปวดได้ เชื่อกันว่าอาจท�ำให้ หมอนรองกระดูก ที่ปลิ ้นอยูไ่ หลกลับได้ ตามแรงโน้ มถ่วง ข้ อดี ข องการนอนคว�่ ำ คื อ สามารถประคบ เย็นหรื อร้ อนได้ สะดวกกว่าการนอนหงาย เมื่อต้ องนอน คว�่ำให้ เอาหมอนหนุนบริ เวณหน้ าอกหรื อท้ อง จะดีกว่า การหนุนคอ เพราะในท่านี ้คอต้ องหันไปด้ านในด้ านหนึง่ มากกว่าปกติ มักจะปวดคอตามมาได้ ระยะทีเ่ ป็ นใหม่ๆ อย่าออกก�ำลังด้ วยการซิตอัพ หรื อการกอดเข่า มีการค�ำนวณหาค่าแรงกดของหมอน รองกระดูก ขณะท� ำ ซิ ต อัพ พบว่ า มี ค่ า สูง ใกล้ เ คี ย ง กับขณะยกวัตถุ การกอดเข่าจะยิ่งท�ำให้ กระดูกสันหลัง ค่อมมากขึ ้น และท�ำให้ เนื ้อเยื่อด้ านหลังถูกยืด ยิ่งท�ำ ให้ ความแข็งแรงของหมอนที่ก�ำลังจะซ่อมแซมลดลง เมือ่ เป็ นใหม่ๆ ผู้ป่วยมักจะโกรธตัวเองทีไ่ ม่ระวัง หงุด หงิ ด ฉุน เฉี ย วเพราะความปวด พยายามท� ำ ใจ ให้ สบาย ยอมรับกับสิง่ ที่เกิดขึ ้น เมื่ อ อาการเริ่ มดี ขึ น้ ระมั ด ระวั ง อย่ า ให้ เป็ นซ� ้ำ อย่าฝื นทนเมื่อมีอาการปวดเพิ่มขึ ้น พยายาม นอนพัก ให้ ม าก อย่ า ยกของ อุ้ม ลูก ท� ำ งานที่ ต้ อ ง นัง่ นาน หรือก้ มหลัง หวังว่ าผู้ป่วยทุกท่ านจะหายดี กลับไปใช้ ชีวติ ประจ�ำวันได้ อย่ างเต็มที่ต่อไป
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 8
7/8/2558 11:34:36