Thaiprint Magazine Vol.109

Page 1

2015 2015 issue issue109 109 www.thaiprint.org www.thaiprint.org

01 55 ii ss ss uu ee 109 109 22 01






ผลิ ต ภั ณ ฑ์

เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน Moving Forward to Green Print

ปลอดภัยตอผูใช

ลูกกลิ้งเสื่อมเร็ว สารกอมะเร็ง

เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สารไวไฟ

ผสมน้ำได

การใชน้ำมันกาด กอใหเกิดผลอยางไร มีกลิ่นฉุน

น้ำยาลางแบบใหม ดีอยางไร ถนอมลูกกลิ้ง

เปนอันตรายตอผูใช

$ $ $

ใชในปริมาณมาก

ลดตนทุนระยะยาว

จำหนายน้ำยาลางหมึกแทนน้ำมันกาด และน้ำยาลางหมึกพิมพ UV คุณภาพสูง บริษัท แอลฟา โปร เคมีคอล จำกัด

300 ซ.เพชรเกษม 42 แยก 1 ถ.เพชรเกษม แขวงบางจาก เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 Tel: 0-2457-4886, 0-2457-4889 Fax: 0-2869-5515 www.alphaprochemical.com

ไมมีกลิ่นฉุน

ใชปริมาณนอย




Ad T-Phaibul#86-m19.pdf

1

10/19/10

3:45 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

T-Paiboon 09 Ad 91 99 #103_pc3.indd 09 Ad T-paiboon #102_pc3.indd 009 AdT-Paiboon#104_pc3.indd T.paiboon#105_pc3.indd #101_pc3.indd

4/2/2558 9/12/2557 17:13:15 2:30:22 11/10/2557 3:18:14 1/9/2557 10:47:24 19/4/2557 13:17:21




12 The Ad thaiprint Association #104_pc3.indd 12 Adthai app thai #102_pc3.indd 12 1 1 12 117-118 pc1.indd 117 124 Thai printing Acc.#99_pc3.indd 104 Ad print #97_pc3.indd 104 114 thai printing Acc #95_pc3.indd ad App-member-mac19.indd 1

16/12/2557 20:59:34 3/9/255722:47:30 10:08:47 11/9/2555 4:47:36 4/11/2556 9:37:50 4/5/2556 28/2/2556 18:32:30 1/11/10 5:03:36 PM


05 Ad GSR Sakata Ink #105_pc3.indd 1

6/3/2558 3:28:33


2015 issue 109 www.thaiprint.org

109

2015 issu e 109

EDITOR

เวทีการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติหรื อ Thai Print Award ด�ำเนินการมาเป็ นครัง้ ที่ 10 และมีผลขับเคลื่อนให้ อุตสาหกรรม การพิมพ์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนประเทศไทยกลายเป็ น ศูน ย์ ก ลางการพิ ม พ์ ที่ ไ ด้ คุณ ภาพมาตรฐานในภูมิ ภ าคโดย สมบูรณ์ จากนีไ้ ปจึงขึน้ อยู่กับวิธีคิดและการท�ำตลาดของ โรงพิมพ์แต่แห่งว่าจะใช้ ประโยชน์ที่มีตรงนี ้อย่างไร ยิง่ มีนวัตกรรมทางด้ านเทคโนโลยีการพิมพ์ดจิ ติ อล นายกสมาคม คุณพิมพ์นารา จิรานิธศิ นนท์ อุปนายก คุณณรงค์ศกั ดิ์ มีวาสนาสุข, คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช, เข้ า มาช่ ว ยแล้ ว จึ ง ดูเ หมื อ นว่ า โอกาสยิ่ ง มี ม ากขึ น้ ใน คุณวรธนกร พุกกะเวส, คุณศิริวรรณ สุกญ ั จนศิริ,คุณนิธิ เนาวประทีป การสร้ างและเสริ มความเติบโตให้ ธุรกิ จ มิใช่มีเฉพาะ เลขาธิการ คุณวิทยา อุปริพทุ ธิพงศ์ แต่ด้านเสียและเข้ าใจว่าคุกคามธุรกิ จการพิมพ์ เท่านัน้ รองเลขาธิการ คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ, คุณสุวทิ ย์ เพียรรุ่งโรจน์, ดังที่ได้ สรรหาข้ อมูลข่าวสารมาน�ำเสนอในฉบับนี ้ ซึง่ มีทงั ้ คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์, คุณคมสันต์ ชุนเจริญ, คุณวริษฐา สิมะชัย, ตัวอย่างการปรับตัวเข้ าสูโ่ ลกยุคดิจติ อลและการน�ำเครื่ อง คุณธีระ กิตติธรี พรชัย, คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์, คุณวลัยพร ศันสนียสุนทร, มือดิจิตอลมาสร้ างโอกาส คุณธนิต วิริยะรังสฤษฎ์ ที่ ส� ำ คั ญ ยุ ค นี ภ้ าครั ฐ ให้ การสนั บ สนุ น เหรัญญิก คุณประเสริฐ หล่อยืนยง ั น์ อุตสาหจิต อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยอย่างจริ งจัง ดังจะเห็นได้ จาก นายทะเบียน คุณวิวฒ ปฏิ ค ม คุ ณ ชิ น วั ช ร์ เฉลยวุ ฒโิ รจน์ ทัง้ สศช.ยกให้ เป็ นอุตสาหกรรมสร้ างสรรค์ ขณะที่บีโอไอ ประชาสัมพันธ์ คุณพชร จงกมานนท์ ยอมรับในความมีนวัตกรรมและอนาคต พร้ อมทังจั ้ ดให้ รองประชาสัมพันธ์ คุณรัชฐกฤต เหตระกูล อยูใ่ นอันดับกลุม่ A3 ซึง่ ได้ สทิ ธิประโยชน์ตา่ งๆ มากมาย ที่ปรึกษานายกสมาคม คุณเกรียงไกร เธียรนุกลุ ไม่ ว่ า จะเป็ นการลงทุ น ใหม่ ห รื อ ขยายกิ จ การ และ ที่ปรึกษา คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์,คุณวิชยั สกลวรารุ่งเรือง, มีตวั อย่างน�ำเสนอในฉบับนี ้อีกเช่นกัน คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ, คุณเกษม แย้ มวาทีทอง, คุณปฐม สุทธาธิกลุ ชัย,

คุณรังษี เหลืองวารินกุล, คุณธนะชัย สันติชยั กุล, คุณพรเทพ สามัตถิยดีกลุ , คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์, คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม, คุณสมชัย มหาสิทธิวฒ ั น์, ขันติ ลาภณัฐขันติ คุ ณ สุ ร พล ดารารั ต นโรจน์ , คุ ณ มารชั ย กองบุ ญ มา,คุ ณ สมชั ย ศรี ว ฒ ุ ช ิ าญ, บรรณาธิการ คุณสุพนั ธุ์ มงคลสุธ,ี คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกลุ , คุณธวัชชัย ยติถริ ธ�ำรง, คุณวรสิทธิ์ เทวอักษร, คุณอุทยั ธนสารอักษร, คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง, คุณพัชร งามเสงีย่ ม, คุณหิรญ ั เนตรสว่าง, ผศ.บุญเลี ้ยง แก้ วนาพันธ์, อ.พัชราภา ศักดิโ์ สภิณ, คุณชัยวัฒน์ ศิริอำ� พันธุ์กลุ , คุณวิรฬุ ห์ ส่งเสริมสวัสดิ,์ คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย, คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล, บริษทั ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จ�ำกัด คุณธนวัฒน์ อุตสาหจิต, คุณมยุรี ภาคล�ำเจียก, ผศ.ดร.ชวาล คูร์พพิ ฒ ั น์, เอื ้อเฟื อ้ กระดาษทีใ่ ช้ พมิ พ์ Thaiprint magazine คุณชาญชัย ตระกูลยุทธชัย, คุณบุญชู ลิม่ อติบลู ย์, โทรศัพท์ 0 2586 0777 โทรสาร 0 2586 2070 คุณสมศักดิ์ ดารารัตนโรจน์, อ.ชนัสสา นันทีวชั รินทร์, บริษทั เอ็ม.พี.ลักก์ ยูวี จ�ำกัด ผศ.ดร.กฤติกา ตันประเสริฐ ช่วยเคลือบปกวารสาร เพิม่ คุณค่าให้ งานพิมพ์สวย รวดเร็ว ทันใจ ที่ปรึกษาพิเศษด้านกฎหมาย คุณธนา เบญจาธิกลุ โทรศัพท์ 0 2425 9736-41 บริษทั สีทอง 555 จ�ำกัด ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด โทรศัพท์ 0 3441 7555 โทรสาร 0 3441 7599 บริษทั สุนทรฟิ ลม์ จ�ำกัด ผู้สนับสนุนการแยกสี ท�ำเพลท โทรศัพท์ 0 2216 2760-8, 0 2613 7008-17 บริษทั บางกอกบายน์ดิ ้ง จ�ำกัด ผู้สนับสนุนการไสกาว เข้ าเล่ม โทรศัพท์ 0 2682 2177-9

Special Thanks


President Supply #105_pc3.indd 1 15 1515 Ad President#104_pc3.indd #103_pc3.indd 15 AdAd President supply #102_pc3.indd 015 Ad President #101_pc3.indd 15 015 Ad President #99_pc3.indd #98_pc3.indd 115 #97_pc3.indd Ad President-mac19.indd President Supply #94_pc3.indd 115 15 15

4/2/2558 17:13:54 9/12/2557 3:47:30 11/10/2557 3:29:42 1/9/2557 11:07:22 19/4/2557 17:22:28 28/10/2556 18:06:35 14/8/2556 16:43:31 4/5/2556 0:16:30 10/11/2555 1/9/10 5:17:04 0:02:41 PM


109

CONTENT วารสารการพิมพ์ ไทย ปี ที่ 16 ฉบับที่ 109 สมาคมการพิมพ์ ไทย เลขที่ 311,311/1 ซอยศูนย์วิจยั 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-mail : mayuree.tpa@gmail.com, www.thaiprint.org

Print News 28 ธปท.ออกธนบัตรฉบับ 1000 บาทแบบใหม่ 30 บีโอไอส่งเสริ ม‘สมศักดิ์’ผลิตเยื่อ 5,500 ล้ าน 56 สภาพัฒน์จดั การพิมพ์เป็ นอุตสาหกรรมสร้ างสรรค์ 62 ‘เลย์’ใช้ นวัตกรรมพิมพ์บนซองแบบหนึง่ เดียว 74 ‘ซีพีเอฟ’เปิ ดตัวบรรจุภณ ั ฑ์รักษ์ โลก PLA 78 ‘เอสซีจี แพคเกจจิ ้ง’ โชว์รายได้ ครึ่งปี 34,283 ล้ าน 96 มาตรฐานอาชีพ ‘หนังสือและสิง่ พิมพ์’เสร็ จแล้ ว 124 ‘มทร.ธัญบุรี’พัฒนาเครื่ องพิมพ์ 3 มิติ 134 ‘จรัญ หอมเทียนทอง’ เป็ นนายกส.ผู้จดั พิมพ์ฯสมัย2 Special Report 18 เบื ้องหลังบีโอไอจัด‘การพิมพ์’เข้ ากลุม่ A3,B1 24 เปิ ดใจ Mr.Alf – คุณวิรุฬห์ กับภารกิจเกียรติยศ 40 ‘ไซเบอร์ พริ น้ ท์กรุ๊ป’อลังการโรงพิมพ์ชนน� ั้ ำ 70 ‘ส.วิบลู ย์กิจ’ปิ ดนิตยสารการ์ ตนู ญี่ปนุ่ Viva Friday 92 ‘เอเอสที อินเตอร์ ’เผยกุญแจความส�ำเร็ จธุรกิจ

Thaiprint magazine ผ่ายประชาสัมพันธ์สมาคมการ พิมพ์ไทยจัดท�ำขึ ้น เพือ่ บริการข่าวสารและสาระความ รู้แก่สมาชิกและบุคคลทัว่ ไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมการพิมพ์ ข้ อคิดเห็นและบทความต่างๆ ที่ปรากฏและตีพิมพ์ในวารสาร เป็ นอิสรทรรศน์ของ Print Technology ผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิมพ์ไทยไม่จำ� เป็ นต้ อง 66 เทคโนโลยี 3D เปลี่ยนโฉมการค้ าโลก เห็นด้ วยเสมอไป 128 มหัศจรรย์ของกระดาษ (2) บรรณาธิการ ขันติ ลาภณัฐขันติ khanti3@hotmail.com ผู้ประสานงาน มยุรีย์ จันทร์ รัตนคีรี, วาสนา เสนาะพิณ, Thai Printing Laboratory พิวสั สุขณียทุ ธ ออกแบบกราฟฟิ ค Design Studio โทรศัพท์ 0 2880 0260 พิมพ์ ท่ ี บริ ษัท ก.การพิมพ์เทียนกวง จ�ำกัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064

Print Knowledge 46 Adobe InDesign กับการสร้ างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 54 เปิ ด AEC โรงพิมพ์ไทยจะแข่งกันตายหรื อแข่งกันโต 82 วิสยั ทัศน์ประชาคมอาเซียน หลังปี พ.ศ. 2558 104 สิทธิประโยชน์การลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ Print Relax 100 เสน่ห์วดั โคกจ้ าหล่า อิ่มใจงานบุญยกช่อฟ้า 136 Kidzania Bangkok จ�ำลองอาชีพสานฝั นเด็ก Young Printer 112 แป้งฝุ่ น-ฐานิพรรณ เอื ้อจงประสิทธิ์ Art Gallery 144 ผลประกวดภาพถ่าย “หลงรัก…วิถีไทย” World Legend 138 ‘เคียงบกกุง’ บนท�ำเล ‘จามิวอน’ 149 ปั สสาวะบอกโรค



Print News

สมาคมการพม ิ พ ทย The Thai Printing Association

THAI PRINTING DIRECTORY 2013-2014 แหลงรวมขอมูลลาสุดของผูประกอบการใน อุตสาหกรรมการพิมพ หนังสือ "THAI PRINTING DIRECTORY 2013-2014" เลมใหมลาสุดที่รวมรายชื่อขอมูล ลาสุดของผูประกอบการในอุตสาหกรรมการพิมพ ทั้งกอนการพิมพ การพิมพ หลังการพิมพ รวมทั้งผูจำหนายเครื่องจักร วัสดุอุปกรณดานการพิมพและการซอมบำรุง เหมาะสำหรับใชเปน คูมือการซื้อและเปนประโยชนตอองคกรของทาน

ใบสั่งซื้อหนังสือ ชื่อ - นามสกุล ................................................................... บริษัท ............................................... ที่อยู ............................................................................................................................................. โทรศัพท ............................................................................ โทรสาร ............................................. ขอสั่งหนังสือ THAI PRINTING DIRECTORY 2013-2014 จำนวน ................ เลม วิธีการชำระเงิน เงินสด 800 บาท / เลม (มารับดวยตนเอง) โอนเงิน 900 บาท/เลม (รวมคาจัดสงทางไปรษณีย) (ราคานี้ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) สั่งซื้อไดที่สมาคมการพิมพไทย 311-311/1 ซอย 15 (ซอยศูนยวิจัย) ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพ 10310 โทรศัพท 0-2719-6685-7 โทรสาร0719-6688

ชื่อบัญชี “สมาคมการพิมพไทย” ชื่อบัญชี ออมทรัพย เลขที่ 035-2-461-48-1 ธนาคาร ไทยพาณิชย สาขา ถนนพระราม 4 หมายเหตุ : กรุณาสงแฟกซหลักฐานการโอนเงินพรอมใบสั่งซื้อมาที่สมาคมฯ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

08 Ad thai #102_pc3.indd 130 Adorder Directory #100_pc3.indd 8130

018 1/9/2557 10:42:09 27/12/2556 22:18:09



PRINT TECHNOLOGY

เบื้่องหลังบีโอไอ จัดกลุ่มอุ​ุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ อยู่ในอันดับ A3 และ B1

ถื อ เ ป็ น ผ ล ง า น ชิน้ โบว์ แดงของคณะผู้น�ำใน อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ไ ทยเลย ทีเดียว เมื่อสามารถชีแ้ จงขับเคลื่อน ให้ ส�ำนั กงานคณะกรรมการส่ ง เสริ มการ ลงทุ น หรื อ บี โ อไอ(BOI) จั ด อั น ดั บ เกรดของ อุตสาหกรรมการพิมพ์ ไทยให้ สูงขึน้ ตามความเป็ น จริง และขยับปรั บฐานจากเดิมที่ถกู ลดเกรดให้ ไป อยู่ในกลุ่ม B1 กลับขึน้ สู่อนั ดับ A3 ได้ อย่ างสง่ างาม ในฐานะเป็ นธุรกิจที่มีนวัตกรรมและมีอนาคต!! เรื่องราววีรกรรมและทีม่ าทีไ่ ปของเรื่องนี ้เริ่มขึ ้น เมื่อปี ที่แล้ ว เมื่อบีโอไอท�ำการจัดกลุม่ อุตสาหกรรมใน ประเทศไทยใหม่ เพื่อสนองนโยบายรัฐบาลชุดปั จจุบนั ที่มี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์ โอชา เป็ นนายกรัฐมนตรี ที่ต้องการผลักดันให้ ประเทศเข้ าสูส่ งั คมและเศรษฐกิจ ดิจิตอล และอุตสาหกรรมการพิมพ์ถกู เพิกเฉยมองข้ าม เพราะคิดว่าเป็ นอุตสาหกรรมที่ไร้ อนาคต เป็ นเพียง แค่ธรุ กิจรับจ้ าง ฯลฯ จึงจัดให้ ไปอยูใ่ นกลุม่ B1 ซึง่ เป็ น อุตสาหกรรมสนับสนุนที่ใช้ เทคโนโลยีไม่สงู

020

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

คุณเกรี ยงไกร เธี ยรนุกลุ

เมื่อ“ข่าว”เล็ดรอดมาถึงหูผ้ นู �ำในอุตสาหกรรม การพิ ม พ์ และมี ค วามเห็ น ตรงข้ า มในประเด็ น ที่ ว่า “เป็ นอุตสาหกรรมสนับสนุนที่ใช้ เทคโนโลยีไม่สงู และ ค่อนข้ างไม่มีอนาคต” จึงเห็นควรที่จะต้ องไปชี ้แจงและ น�ำเสนอว่า ข้ อเท็จจริ งของอุตสาหกรรมการพิมพ์นนมี ั้ อนาคตและมีการใช้ เทคโนโลยีสงู สมควรจัดอันดับเกรด ให้ ขึ ้นไปอยูใ่ นกลุม่ A3 ดังเดิม


PRINT TECHNOLOGY และบรรจุภัณฑ์ อยู่ในอันดับ A3 และ B1

เบื้่องหลังบีโอไอ จัดกลุ่มอุ​ุตสาหกรรมการพิมพ์

ดังนัน้ คณะผู้ดำ� เนินงาน น�ำโดยคุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย (ส.อ.ท.), คุณวิชัย สกลวรารุ่ งเรือง ประธานกลุม่ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ (ส.อ.ท.) และ คุณพงศ์ ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายกสมาคมการ พิมพ์ไทย ฝ่ ายการพิมพ์ดิจิตอล ฯลฯ จึงร่ วมกันเขียน แผนงาน ข้ อมูลและแนวโน้ มอนาคตของอุตสาหกรรม การพิมพ์ขึ ้นมา แล้ วน�ำไปเสนอชี ้แจงอย่างทันท่วงที คุ ณ เกรี ย งไกร เธี ย รนุ กุ ล รองประธาน สภาอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และ ประธานคลัสเตอร์ การพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ ให้ สัมภาษณ์วารสาร Thaiprint magazine ว่า ด้ วยข้ อ เท็จจริ งแล้ ว อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ใน สายตาภาครัฐ ถูกจัดอยู่ในกลุม่ เดียวกับอุตสาหกรรม อื่นๆ ที่ใช้ แรงงาน และไม่มีมลู ค่าเพิ่ม ไม่มีนวัตกรรม มากเท่าที่ควร ดังนัน้ การปรับเปลี่ยนการจัดกลุม่ ครัง้ ล่าสุด อุตสาหกรรมการพิมพ์และอุตสาหกรรมต่างๆ อีก จ�ำนวนมากที่เคยได้ รับการส่งเสริ ม จึงถูกลดเกรดลง ทั ง้ นี ้ ภายใต้ แนวคิ ด ของรั ฐ บาลชุ ด นี ้ จะ สนับ สนุน ส่ ง เสริ ม อุต สาหกรรมที่ มี น วัต กรรม เช่ น อุตสาหกรรมด้ านพลังงานทดแทนจากแสงอาทิตย์ อย่าง โซล่าฟาร์ ม หรื อไบโอแมสต่าง ๆ รวมทัง้ ส่งเสริ ม อุตสาหกรรมทีใ่ ช้ เทคโนโลยีสงู อาทิ เครื่องมือแพทย์ ฯลฯ

คุณวิ ชยั สกลวรารุ่งเรื อง

“อะไรที่มีนวัตกรรม อะไรที่ใช้ การสื่อสารไอที อะไรที่มีการสร้ างมูลค่าเพิม่ พวกนี ้จะเข้ าข่ายเป็ นธุรกิจ ใหม่ เป็ นการปรั บเปลี่ ย นพื น้ ฐานอุตสาหกรรมของ ประเทศ เป็ นการยกระดับ” “ดังนัน้ ผมเห็นว่า ถ้ าเราท�ำธุรกิจการพิมพ์แบบ เดิมก็คงไม่เถียง แต่จริ งๆ แล้ วในอุตสาหกรรมการ พิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์แนวทางใหม่ ที่ผมได้ อธิบายบ่อย ครัง้ เกี่ยวกับดิจิตอล ปริ๊ นติ ้ง, ดีไซน์, นวัตกรรมและการ เพิ่มมูลค่า ฯลฯ จึงเป็ นหมวดที่ส�ำคัญและเป็ นอนาคต ของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ที่ก�ำลังจะ เกิดใหม่ ซึง่ ตรงนี ้เข้ าข่ายทุกข้ อที่รัฐบาลต้ องการ คือ หนึง่ เป็ นเรื่ องอินโนเวชัน่ สองไอที สามการสร้ างมูลค่า เพิ่ม เข้ าทุกข้ อเลย สิง่ นี ้จะท�ำให้ อตุ สาหกรรมการพิมพ์ หลุดพ้ นจากพื ้นฐานเดิมไปสูม่ ิติใหม่ของการให้ บริ การ ดังนัน้ จึงได้ จดั ท�ำข้ อมูลแล้ วตังหมวดขึ ้ ้นมาใหม่น�ำไป เสนอภาครัฐ” THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

021


PRINT TECHNOLOGY

เบื้่องหลังบีโอไอ จัดกลุ่มอุ​ุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ อยู่ในอันดับ A3 และ B1

หลั ง จากที่ น� ำ ข้ อ มู ล ไปเสนอให้ ภ าครั ฐ โดยเฉพาะบีโอไอ ในเบือ้ งต้ นทางบีโอไอเห็นว่ า อุ ต สาหกรรมการพิม พ์ แ ละบรรจุ ภัณ ฑ์ เ ข้ า ข่ า ย ถูกต้ องตรงตามนโยบายใหม่ ทกุ ข้ อ อีกทัง้ มีการยก ตัวอย่ างให้ เห็นอย่ างชัดเจน จึงได้ บรรจุเรื่ องนีเ้ ข้ า สู่ท่ ปี ระชุมคณะกรรมการส่ งเสริมการลงทุน (BOI) ที่มี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายกรั ฐมนตรี เป็ นประธาน จากนั ้น ก็ ไ ด้ ผ่ านเข้ าสู่ ที่ ป ระชุ ม คณะรั ฐ มนตรี (ครม.) ซึ่ง ในที่สุ ด ก็มี ม ติอ นุ มั ติ ให้ อุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ อยู่ใน กลุ่ม A3 แล้ วประกาศใช้ อย่ างเป็ นทางการเมื่อ วันที่ 1 มกราคม 2558 ที่ผ่านมา ดังนัน้ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ จึงเป็ นอุตสาหกรรมเดียวที่มี 2 หมวด คือ หมวดเก่า ที่ถกู ลดจากกลุม่ A ไปอยูเ่ ป็ นกลุม่ B1 คือไม่ได้ รับการ ลดหย่อนภาษี การค้ าเหมือนเดิม เพียงแต่ได้ สิทธิการ ยกเว้ นภาษี อากรขาเข้ าของเครื่ องจักรเท่านัน้ ซึง่ ไม่มี ประโยชน์ตอ่ อุตสาหกรรมและต่อผู้ลงทุนใหม่เท่าใดนัก แต่การทีอ่ ตุ สาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ มี หมวดใหม่เป็ นตัว ชี ช้ ่องพัฒนายกระดับ สามารถ สร้ างมูลค่าเพิ่มด้ วยนวัตกรรมต่างๆ แล้ วใช้ ความคิด สร้ างสรรค์ทางด้ านดีไซน์ ผสมกับการใช้ สื่อไอทีต่างๆ ร่วมกัน ก็เกิดเป็ นมิติใหม่ในการสร้ างมูลค่าในรูปแบบ ใหม่ ตรงนี เ้ องท� ำให้ ได้ เข้ ามาอยู่ในกลุ่ม A3 คือได้

022

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

รับสิทธิประโยชน์ยกเว้ นอากรขาเข้ า รวมไปถึงยกเว้ น ภาษี การค้ าเป็ นเวลา 5 ปี และอื่นๆ (ตามตาราง) “ทั้ ง หมดนี ้ เ ป็ นสั ญ ญาณชี ้ ช่ อ งให้ ค นใน อุตสาหกรรมเราเห็ นว่า ขณะนี ้เราได้อยู่ทงั้ 2 กลุ่ม คื อกลุ่มเดิ ม ถ้าท� ำธุรกิ จแบบเดิ มก็ ไม่ได้อะไร ได้แค่ ยกเว้นอากรขาเข้า แต่แนวทางใหม่ที่จะไปมี ทิศทาง และเป็ นเทรนด์ในอนาคตทีก่ �ำลังมา แล้วก็เป็ นทางรอด ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากดิ จิตอล มี เดี ย ได้รับการกระทบจากนโยบายของรัฐที ่ผลักดัน ประเทศไปสู่เศรษฐกิ จดิ จิตอล ทีจ่ ะท�ำสังคมไปสู่สงั คม ไร้กระดาษ (paperless society)” ดัง นั น้ สิ่ ง พิ ม พ์ บ างอย่ า งที่ เ ป็ นเรื่ อ งเกี่ ย ว กับเอกสารหลักฐานต่างๆ อาจจะลดลงไปอย่างเห็น ได้ ชดั รวมไปถึงธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ที่จะได้ รับผลกระทบ เช่น นิตยสาร หรื อหนังสือพิมพ์ต่างๆ ที่จะกลายเป็ น E-magazine หรื อ E-book มากขึน้ ซึ่งตรงนีถ้ ื อว่า อุตสาหกรรมการพิมพ์ได้ รับผลกระทบโดยตรง

คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช


PRINT TECHNOLOGY และบรรจุภัณฑ์ อยู่ในอันดับ A3 และ B1

เบื้่องหลังบีโอไอ จัดกลุ่มอุ​ุตสาหกรรมการพิมพ์

แ ต่ มิ ติ ใ ห ม่ ที่ จ ะ เ ดิ น ไ ป เป็ นการเปิ ดตลาดการสร้ างมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ สิ น ค้ าอื่ น ๆ ในรู ป ของ บรรจุภัณฑ์ ในเรื่ องของฉลาก ใน เรื่องของสิ่งพิมพ์ ท่มี มี ลู ค่ ามากขึน้ ซึ่ง เป็ นทิศทางเดียวกับไลฟ์สไตล์ การใช้ ชีวติ ของคนรุ่ นใหม่ ในยุคต่ อไป ทังนี ้ ้ บีโอไอมีเงื่อนไขส�ำหรับผู้ ประกอบการในอุตสาหกรรมการพิมพ์ ที่สนใจจะขอรับการสนับสนุน ตามสิทธิ ประโยชน์ของการอยู่ในอันดับกลุ่ม A3 มีดงั นี ้ 1.ผลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ ผ ลิ ต ต้ อ งมี ก าร สร้ างสรรค์ชิ ้นงานผ่านนักออกแบบ (Designer) หรื อมีนวัตกรรม (Innovation) 2.ใช้ โปรแกรมซอฟท์แวร์ ในการ ออกแบบสร้ างสรรค์ 3 . สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ ใ ห้ ค ว า ม รู้ สามารถยกระดับการศึกษาและพัฒนา ให้ แก่ประชาชน 4.ได้ รั บ การรั บ รองหรื อ ความ เห็นชอบจากกลุม่ อุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย หรื อสมาคมการพิมพ์ไทย อุ ตสาหกรรมการพิมพ์ และ บรรจุภัณฑ์ ยุคใหม่ ..ยังคงมีอนาคต ด้ วยประการฉะนี!้ ! THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

023


PRINT INTERVIEW

เปิดใจ Mr.Alf Carrigan คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์

ภารกิจเกียรติยศบนเวที Thai Print Awards

การประกวดสิ่งพิมพ์ แห่ งชาติ หรื อ Thai Print Awards จัดโดยสมาคมการพิมพ์ ไทย ได้ ดำ� เนินการมา แล้ ว 10 ครั ง้ เป็ นระยะเวลา 10 ปี ตลอดช่ วงที่ผ่านมา ถือว่ าได้ ทำ� ให้ มาตรฐานของอุตสาหกรรมการพิมพ์ มกี าร พัฒนาอยู่ในเกณฑ์ ดอี ย่ างต่ อเนื่อง จนท�ำให้ ประเทศไทย สร้ างผลงานขยับก้ าวขึน้ สู่ความเป็ นผู้นําของเอเชียใน ด้ านคุณภาพการผลิตสิ่งพิมพ์ ดังจะเห็นได้ จากการที่ สิ่งพิมพ์ ของไทยสามารถคว้ าเหรียญรางวัลรวมมากเป็ น อันดับหนึ่ง ในการประกวดสิ่งพิมพ์ แห่ งเอเชีย (Asian Print Awards) และครองแชมป์มาแล้ วหลายปี ติดต่ อกัน หนึ่ง ในคี ย์ แ มนที่ ร่ ว มท� ำ ให้ Thai Print Awards ก่อก�ำเนิดขึ ้นมาจนเป็ นทีร่ ้ ูจกั และยอมรับในวงกว้ างเช่นทุกวัน นี ้คือ Mr.Alf Carrigan ผู้เชี่ยวชาญด้ านการพิมพ์จากประเทศ ออสเตรเลีย โดยให้ เกี ยรติเป็ นประธานคณะกรรมการ ตั ด สิ น นับ ตัง้ แต่ ก ารจัด ประกวดครั ง้ แรกต่ อ เนื่ อ งจนถึ ง

024

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

ครัง้ ที่ 10 ภายใต้ การ ตัด สิ น ที่ มี ห ลัก เกณฑ์ กฎและกติ ก า ในการคัดเลือกตามมาตรฐานสิ่งพิมพ์ในระดับ สากล ท�ำให้ ประเทศไทยมีการพัฒนามาตรฐาน การพิมพ์สงู ขึ ้นตามไปด้ วย Mr.Alf Carrigan เปิ ดใจกับวารสาร Thaiprint magazine ว่า นับตังแต่ ้ ปีแรกมาจนถึง ปั จจุบนั ได้ มองเห็นการประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติ มีการพัฒนาอย่างโดดเด่นเรื่ อยมา แม้ ในช่วง ปี แรกๆ ที่ เริ่ มต้ นจะเป็ นแบบค่อยเป็ นค่อยไป อาจพบปั ญหาเรื่ องการจัดการ ปั ญหาการรับผล งานเข้ าประกวด รวมถึงเรื่ องกรรมการตัดสินบ้ าง แต่ก็ผา่ นพ้ นอุปสรรคไปด้ วยดี ส� ำ หรั บ ปี ต่ อ ๆ มา ได้ เ ห็ น สิ่ ง พิ ม พ์ ของไทยมี ก ารพัฒ นาดี ขึ้ น อย่ า งมาก เช่ น เริ่ มมองเห็ น การพิ มพ์ ใ นระบบออฟเซ็ ต มี คุณ ภาพมาตรฐานมากขึ้ น ส่ ว นในช่ ว งหลัง เริ่ มเห็ นการเติ บโตของธุรกิ จการพิ มพ์ ดิจิตอล ที ่ มี การปรั บ ตั ว และมี คุ ณ ภาพมาตรฐาน มากขึ้น รวมไปถึงเรื ่องการพิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์ อาทิ การพิ มพ์ ระบบกราเวี ยร์ มีการพัฒนาคุณภาพ มากขึ้ น อย่ า งเช่ น ได้ ชัด หรื อแม้ แ ต่ จ� ำ นวน


เปิดใจ Mr.Alf Carrigan คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ภารกิจเกียรติยศบนเวที Thai Print Awards

ผู้ ผ ลิ ต สิ่ ง พิ ม พ์ ข องไทยที ่ ส นใจส่ ง ชิ้ น งานเข้ า ร่ ว มการจัด ประกวด ก็มีเพิ่ มขึ้นมากขึ้นด้วย แม้ ในช่วงแรกๆ งานพิมพ์ออฟเซ็ตของประเทศไทย ยังไม่สามารถแข่งขันกับงานพิมพ์ของประเทศอื่นๆ ที่มาจาก ประเทศเอเชียด้ วยกันได้ แต่ในวันนี ้ประเทศไทยกลับผงาดขึ ้น เป็ นผู้น�ำด้ านการคว้ าเหรี ยญรางวัลรวม จนได้ รับการยกย่อง ผลงานทางด้ านการพิมพ์วา่ เป็ นประเทศระดับชันน� ้ ำของโลก ไปแล้ วในเชิงคุณภาพมาตรฐาน Mr.Alf กล่าวทิง้ ท้ ายว่า ภูมิใจมากที่ได้ ท�ำหน้ าที่ ภารกิ จ เกี ย รติ ย ศ ด้ ว ยการเป็ นประธานการตัด สิ น Thai Print Awards ตังแต่ ้ ปีแรกจนถึงปี ที่ 10 แต่เนื่องด้ วยอายุที่มี

PRINT INTERVIEW

มากขึ ้น ท�ำให้ สขุ ภาพไม่เอื ้ออ�ำนวยให้ กับการ เดินทางที่ต้องบินข้ ามทวีปไปมาบ่อยๆ ท�ำให้ ใน ปี ที่ 10 นี ้ จะเป็ นปี สุดท้ ายที่จะเข้ าร่ วมด�ำเนิน งานเป็ นประธานคณะกรรมการตัดสิน แต่อาจ จะยังเป็ นที่ปรึ กษาให้ กับกิจกรรม Thai Print Awards ไปเรื่ อยๆ เช่ นเดียวกับคุณวิรุฬห์ ส่ งเสริมสวัสดิ์ ประธานจัดการประกวดสิ่งพิมพ์ แห่ งชาติ ซึ่งได้ ทำ� ภารกิจเกียรติยศในฐานะประธาน การจัดประกวดติดต่ อกันมาแล้ ว 3 ปี ซ้ อน บอกว่ า ปี นี ข้ อเป็ นปี สุ ด ท้ า ยเช่ น กั น ที่รั บ หน้ าที่อันทรงเกียรตินี ้ คุ ณ วิ รุ ฬ ห์ บอกว่ า การหยุ ด เป็ น ประธานฯ เพราะอยากเปิ ดโอกาส ให้ คนรุ่นใหม่ๆ ได้ แสดง

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

025


PRINT INTERVIEW

เปิดใจ Mr.Alf Carrigan คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์

ภารกิจเกียรติยศบนเวที Thai Print Awards

ฝี มื อ บ้ า ง โดยนั บ ตัง้ แต่ ช่ ว งแรกที่ เ ข้ ามาร่ ว มงานจนถึ ง ตอนนี ้ก็เห็นการพัฒนาในธุรกิจการพิมพ์กิดขึ ้นมาก ดูได้ จาก ในปี แรกๆ งานพิมพ์ดจิ ิตอลมีการส่งเข้ าประกวดน้ อยและผล งานไม่คอ่ ยดี แต่ระยะหลังรวมถึงปี นี ้มีคณ ุ ภาพและปริ มาณ เพิ่มขึ ้นมาก หรื อแม้ แต่งานพิมพ์ออฟเซ็ตก็โดดเด่นขึ ้นเรื่ อยๆ แม้ ในช่วง 3 ปี ที่รับหน้ าที่ประธานจัดงานฯ จะเหนื่อย แต่ก็ ยินดีเป็ นอย่างยิง่ โดยตลอดเวลาที่ร่วมงานกับคณะกรรมการ มีความเป็ นทีมเวิร์คช่วยกันท�ำงานเป็ นอย่างดี “ผมเป็ นประธานจัดงานมา 3 ครั้งก็พอละ ที ่ผ่าน มาทุกคนทีเ่ ป็ นประธานจัดงาน ก็ไม่เคยมี ใครเป็ นเกิ น 3 ครัง้ เพียงเท่านัน้ ก็ถือว่าเป็ นเกี ยรติ เพราะเป็ นครั้งหนึ่งในชี วิตที ่ ได้ท�ำงานใหญ่ของสมาคมการพิ มพ์ไทย นอกเหนือจากการ เป็ นผูอ้ � ำนวยการสถาบันการพิ มพ์ไทย ในบรรดากิ จกรรม ของสมาคมฯ ที ่มี ท งั้ การจัด แรลลี ่แ ละสัม มนา ผมถื อ ว่ า กิ จกรรมการประกวด Thai Print Awards เป็ นงานใหญ่ทีส่ ดุ เพราะเป็ นเวที เปิ ดกว้างให้โรงพิ มพ์ ต่างๆ ส่งผลงานที ่ดีๆ เข้ามาประกาศให้ทงั้ คนไทยและคนต่างชาติ รู้ว่า เรามีผลงาน พิ มพ์ดีๆ สามารถพิ มพ์งานดีๆ ในระดับโลกได้” คุณวิรุฬห์ กล่าวว่า ทุกวันนี ้ผลงานที่ส่งเข้ ามาร่ วม ประกวด Thai Print Awards ดีขึน้ มีโรงพิมพ์ ส่งผลงาน มาร่ ว มประกวดมากขึน้ การประกวดได้ ช่ ว ยกระตุ้น ให้ โรงพิมพ์สง่ ผลงานที่ดีที่สดุ เข้ ามา ท�ำให้ ได้ เห็นงานพิมพ์ที่ดีๆ ว่ามีอกี มากทีย่ งั ไม่ได้ สง่ เข้ าประกวด และเมือ่ ประกวดบนเวที Thai Print Awards ในประเทศแล้ ว ก็มีการส่งต่อไปประกวด ในต่างประเทศด้ วย คือ Asian Print Awards ซึง่ ก็มีประเทศ จีน ญี่ปนุ่ และเกาหลี ส่งผลงานเข้ าร่ วมประกวดด้ วยจึง นับเป็ นเวทีระดับโลกและเหมาะกับประเทศไทย

026

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

ส่ ว นสิ่ ง ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ ท� ำ และอยากท� ำ ต่ อ ให้ เ ป็ นจริ ง คื อ ต้ อ งการจะพัฒ นา Thai Print Awards ให้ เป็ น AEC Print Awards มีประเทศเพื่อนบ้ านอย่างเช่น เมียนมาร์ ลาว เขมร อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฯลฯ ส่งผล งานเข้ ารวมประกวดด้ วย ซึง่ จะไม่เหมือน Asian Print Awards เพราะจะท�ำให้ เราสามารถขยาย ตลาดจากคนไทยที่มีกว่า 60 ล้ านคน ไปในกลุม่ เออีซีที่มีคนรวมกันกว่า 600 ล้ านคน และเชื่อว่า สามารถท�ำได้ ถ้าทางสปอนเซอร์ ให้ การสนับสนุน และก็คงอยูท่ ี่ประธานและคณะกรรมการจัดงาน ชุดใหม่ ที่จะด�ำเนินการขึ ้นในอนาคต ภารกิจเกียรติยศบนเวที Thai Print Awards ทัง้ ในส่ ว นของ Mr.Alf Carrigan ประธานคณะกรมการตัดสิน และคุณวิรุฬห์ ส่ งเสริมสวัสดิ์ ประธานจัดงาน ได้ เริ่มต้ นและ เสร็จสมบูรณ์ ด้วยความสวยงาม!!


เปิดใจ Mr.Alf Carrigan คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ภารกิจเกียรติยศบนเวที Thai Print Awards

PRINT INTERVIEW

ความทรงจ�ำเมื่อปีที่แล้ว

คุณพิมพ์ นารา จิรานิธิศนนท์ นายกสมาคม การพิมพ์ ไทย ได้ กล่ าวบนเวทีการประกวดสิ่งพิมพ์ แห่ งชาติประจ�ำปี 2557 ว่ า สมาคมการพิมพ์ ไทยมี เป้ าหมายที่จ ะกระตุ้ น จิต ส�ำ นึ ก ให้ ผ้ ู ป ระกอบการ วิ ส าหกิ จ การพิ ม พ์ เดิ น หน้ าไปสู่ ความเป็ นเลิ ศ ทางด้ านการพิมพ์ ในทุกด้ าน ไม่ ว่าจะเป็ นเทคโนโลยี การผลิต มาตรฐานคุณภาพ มีความห่ วงใยสภาวะ แวดล้ อมและการใช้ พลั ง งานสะอาด ซึ่ ง เมื่ อ ถึ ง ปลายปี 2558 ที่ มี ก ารรวมประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน หรื อ AEC ประเทศไทยก็จะมีความพร้ อม ที่จะเป็ นศูนย์ กลางการพิมพ์ ในภูมิภาค เพื่อรองรั บ ความต้ องการใช้ สิ่ ง พิ ม พ์ และการขยายตั ว ของ การค้ าขายระหว่ างประเทศสมาชิก สามารถน�ำเงิน ตราเข้ าสู่ประเทศ เป็ นตลาดซือ้ ขายสิ่งพิมพ์ แห่ งใหม่ ของโลก สร้ างงานสร้ างเศรษฐกิจให้ ไทย ซึ่งดิฉัน เชื่อมั่นว่ า อุตสาหกรรมการพิมพ์ ของไทยจะสามารถ บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ การพิมพ์ แห่ งชาติ และบรรลุเป้าการส่ งออกให้ ได้ 100,000 ล้ านบาท ในปี พ.ศ.2558 อย่ างแน่ นอน THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

027


PRINT NEWS

ธนบัตรใหม่ 1,000 บาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ 5 เทคโนโลยีกันปลอมแปลงแสนล�ำ้

ธนบัตรใหม่ 1,000 บาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ 5 เทคโนโลยีกันปลอมแปลงแสนล�้ำ ธนาคารแห่งประเทศไทย ออกธนบัตรฉบับ 1,000 บาทใหม่ เพื่อ เฉลิ มพระเกี ย รติพ ระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่ หัว รัชกาลที่ 5 บอกเล่ าเรื่องราว ผ่ า นด้ า นหลั ง ธนบั ต รแสดงถึ ง พระราชกรณี ยกิจที่ส�ำคัญของ พระองค์ และได้พฒ ั นารูปแบบให้ สวยงาม มีเทคโนโลยีต่อต้ านการ ปลอมแปลงที่ทนั สมัย ประชาชน ส า ม า ร ถ ต ร ว จ ส อ บ ไ ด้ ง่ า ย คุณประสาร ไตรรัตน์วรกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิ ดเผยว่ า ธปท.ได้ น� ำ ธนบัตรชนิดราคา 1,000 บาทแบบ ใหม่ (แบบ 16) ออกใช้ แ ละเข้ า สู่ร ะบบเศรษฐกิ จ ตัง้ แต่ วัน ที่ 21 สิ ง หาคม ที่ ผ่ า นมา โดยธนบัต ร ฉบับนี ้จัดท�ำขึ ้นเพือ่ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ า เจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ซึง่ มีพระราช สมัญญานาม“พระปิ ยมหาราช” จึง ออกแบบให้ เ รื่ อ งราวในด้ า นหลัง ธนบัตรแสดงถึงพระราชกรณี ยกิจ ที่ส�ำคัญของพระองค์

028

นอกจากนี ้ ยังได้ พฒ ั นารู ปแบบให้ สวยงาม และมีเทคโนโลยีต่อต้ าน การปลอมแปลงที่ทนั สมัย เพื่อให้ ประชาชน ภาคธุรกิจ สถาบันการ เงิน รวมถึงผู้บกพร่ องทางสายตา สามารถตรวจสอบได้ งา่ ย ธนบัต รชนิ ด ราคา 1000 บาท แบบใหม่ (แบบ 16) มีขนาด กว้ าง 72 มิลลิเมตร และยาว 162 มิลลิเมตร สีโดยรวมเป็ นสีน�ำ้ ตาล เช่ น เดี ย วกับ แบบที่ ใ ช้ ใ นปั จ จุบัน

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

(แบบ 15) โดยมีลกั ษณะต่อต้ านการ ปลอมแปลงที่สำ� คัญ ดังนี ้ 1. ลายน�ำ้ พระบรมฉายา สาทิ ส ลั ก ษณ์ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ าอยูห่ วั ฯ รัชกาลปั จจุบนั และ ตัวเลข “๑๐๐๐” ที่มีความโปร่งแสง เป็ นพิเศษ มองเห็นได้ ชดั เจนทังสอง ้ ด้ าน เมื่อยกส่องกับแสงสว่าง 2. หมึกพิมพ์ พเิ ศษสลับ สีพร้ อมตัวเลขแฝง ลายประดิษฐ์ สีทองจะเปลีย่ นเป็ นสีเขียวเมื่อพลิก


ธนบัตรใหม่ 1,000 บาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ 5 เทคโนโลยีกันปลอมแปลงแสนล�ำ้

เอียงธนบัตร และภายในมีตวั เลข “1000” ซ่อนไว้ 3. หมึ ก พิ ม พ์ พิ เ ศษสี เหลื อ บแดง เมื่อพลิกเปลี่ยนมุม มอง จะเห็ น แถวตัว เลข “1000” สลับกับลายประดิษฐ์ ในแนวตัง้ เป็ น สีเหลือบแดง 4. แถบฟอยล์ 3 มิ ติ ผนึกไว้ ตามแนวตัง้ ในแถบมี ตรา สัญ ลัก ษณ์ ง านเฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ าอยู่ หัว ฯ เนื่ อ งในโอกาสพระราชพิ ธี ม หา มงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธั น วาคม 2554 จะเปลี่ ย นสี สะท้ อนแสงวาววับเมื่อพลิกธนบัตร ไปมา ภายในตราสัญลักษณ์ ฯ มี ตัวเลข “1000” เมื่อพลิกเอียงจะ เปลี่ยนเป็ นตัวเลข “๑๐๐๐” 5 . แ ถ บ สี่ เ ห ลี่ ย ม เคลื่ อนไหวสลั บ สี ฝั งในเนื อ้ กระดาษ มี บ างส่ ว นของแถบ

ป ร า ก ฏ ใ ห้ เ ห็ น เป็ นระยะ เมื่อพลิก ธนบัต รขึ น้ ลงจะเห็ น รู ปสี่เหลี่ยมขนาดเล็กสีม่วง แดงเคลื่ อ นไหว และจะเปลี่ ย น เป็ นสี เ ขี ย วเมื่ อ เปลี่ ย นมุ ม มอง 6. สั ญ ลั ก ษณ์ ส� ำ หรั บ ผู้ บ กพร่ องทางสายตา เส้ น นูน แนวนอนเรี ย งลดหลั่ น กั น น� ำ สู่ สัญลักษณ์ อกั ษรเบรลล์ที่พิมพ์นูน เป็ นรู ปดอกไม้ 4 ดอก แทนอักษร “T” ที่ยอ่ จาก Thousand คุ ณ ประสาร กล่ า วว่ า ธนบัตรชนิดราคา 1,000 บาทแบบ ใหม่ หรือแบบที่ 16 เป็ นธนบัตรชนิด ราคาสุดท้ ายที่มีการปรับเปลี่ยนรูป แบบเป็ นแบบที่ 16 จากก่อนหน้ านี ้ ที่มีการปรับเปลี่ยนรู ปแบบธนบัตร ชนิดราคา 20 บาท 50 บาท 100 บาท และ 500 บาทไปแล้ ว และการ เปลี่ยนครัง้ นี ้ยังเพื่อทดแทนธนบัตร เก่าราคา 1,000 บาทแบบที่ 15 ที่ ใช้ มานานถึง 10 ปี ธนบัต รแบบ 1000 บาท ใหม่ สามารถขอแลกได้ ที่สถาบัน

PRINT NEWS

การเงินทุกแห่ง และสามารถช�ำระ หนี ้ได้ ตามกฎหมาย โดยเหตุที่เลือก วันจ่ายแลกเป็ นวันที่ 21 สิงหาคม เนื่ อ งจากตรงกั บ วั น ที่ พ ระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ทรงประกาศเลิกทาส โดยจ�ำนวน การผลิตรอบแรกอยูท่ ี่ 100 ล้ าน

ฉบั บ คาดว่ า จะใช้ ระยะเวลา หมุนเวียนได้ 3-4 เดือนจึงจะหมด ส่ ว นธนบัต ร 1,000 บาทแบบที่ 15 ยังสามารถใช้ ได้ ตามปกติ โดย สถาบัน การเงิ น จะค่ อ ยๆ ทยอย เก็บส่งคืนในส่วนที่ช�ำรุ ดและคาด ว่าธนบัตรแบบที่ 16 จะสามารถ ทดแทนแบบที่ 15 ได้ ทั ง้ หมด ภายใน 1-2 ปี

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

029


PRINT NEWS

บอร์ดบีโอไอ อนุมัติส่งเสริม ‘คุณสมศักดิ์ ดารารัตนโรจน์’

ทุ่ม 5,500 ล้าน ตั้งโรงงานเยื่อกระดาษ

“พล.อ.ประยุ ทธ์ ”นั่ ง หั ว โต๊ ะประชุ ม บอร์ ด บี โ อไอ อนุ มั ติ ส่ งเสริ ม“คุ ณ สมศั ก ดิ์ ดารารั ตนโรจน์ ” ทุ่ม 5,500 ล้ าน ตั ้ง โรงงานผลิ ต เยื่ อกระดาษ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ส นั บ ส นุ น อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ให้ ใช้ วัตถุดบิ ในประเทศมากขึน้ และ ช่ วยเกษตรกรภาคอี ส านให้ มี รายได้ จากการป้ อนวั ต ถุ ดิ บ ทางการเกษตร เผยการ ตั ้ ง โ ร ง ง า น ใ น พื ้ น ที่ จั ง ห วั ด มหาสารคาม จะได้ สทิ ธิประโยชน์

030

ในระดับเทียบเท่ ากับการตัง้ ใน เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตาม ประกาศบีโอไอที่4/2557 พล.อ.ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โอชา นายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน การประชุมคณะกรรมการส่งเสริ ม การลงทุน (BOI) ครัง้ ที่ 4/2558 ร่ วมกั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ยวข้ อง โดยมี ม.ร.ว.ปรี ดิยาธร เทวกุล รองนายกรัฐมนตรี , คุณหิรัญญา สุ จินัย เลขาธิ การคณะกรรมการ ส่งเสริ มการลงทุน เข้ าร่ วมด้ วย ณ ตึ ก สั น ติ ไ มตรี ท� ำ เนี ย บรั ฐ บาล

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

เมื่ อ เวลา 09.00 น. วั น ที่ 10 กรกฎาคม 2558 ทั ง้ นี ้ ที่ ป ระชุ ม ฯ ได้ มี ม ติ อ นุ มั ติ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น แก่ กิ จ การจ� ำ นวน 17 โครงการ เงินลงทุนรวมทังสิ ้ ้น 43,917.7 ล้ าน บาท โดย 2 ใน 17 โครงการที่ ได้ รั บ การอนุมัติ เ ป็ นกิ จ การเกี่ ย ว เนื่องกับอุตสาหกรรมการพิมพ์และ บรรจุภณ ั ฑ์ รวมมูลค่ากว่า 6,908.2 ล้ านบาท ประกอบด้ วย 1.โครงการของ “คุณสมศักดิ์ ดารารั ต นโรจน์ ” ได้ รั บ ส่ง เสริ ม


บอร์ดบีโอไอ อนุมัติส่งเสริม ‘คุณสมศักดิ์ ดารารัตนโรจน์’ ทุ่ม 5,500 ล้าน ตั้งโรงงานเยื่อกระดาษ

การลงทุนกิจการผลิตเยื่อกระดาษ ส�ำหรั บผลิตกระดาษหนังสือพิมพ์ เงิ นล งทุ น 5,500 ล้ านบาท ตังโครงการที ้ ่จงั หวัดมหาสารคาม โครงการนี เ้ ป็ นการสนั บ สนุ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร พิ ม พ์ ใ ห้ ใ ช้ วัต ถุดิ บ ในประเทศมากขึ น้ และ ช่ ว ยสนั บ สนุ น ให้ เกษตรกรภาค ตะวันออกเฉี ยงเหนือมีรายได้ จาก การป้อนวัตถุดิบทางการเกษตรให้ โครงการ 2.โครงการของบริ ษั ท สยามเซลลู โ ลส จ� ำ กั ด ได้ รั บ ส่งเสริ มการลงทุนกิจการผลิตเยื่อ กระดาษส�ำหรับผลิตกล่องกระดาษ ลูกฟูก เงินลงทุน 1,408.2 ล้ านบาท ตังโครงการอยู ้ ่ที่จงั หวัดกาญจนบุรี โดยโครงการนี ้มีสว่ นช่วยสนับสนุน

อุตสาหกรรมการผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ น อ ก จ า ก นี ้ ที่ ป ร ะ ชุ ม บี โ อไอได้ มี ก ารพิ จ ารณาเรื่ อง นโยบายส่งเสริ มการลงทุน เพื่ อ สนับสนุนให้ เกิดการลงทุนในพื ้นที่ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และใน พื ้นที่ชายแดนภาคใต้ โดยที่ประชุม ได้ มีมติเห็นชอบให้ มีการผ่อนปรน เงื่ อ นไขส� ำ หรั บ ผู้ ประกอบการ

PRINT NEWS

เอสเอ็มอี ที่ต้องการเข้ าไปลงทุนใน พื น้ ที่ เ ขตพัฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ซึ่ ง เดิ ม ก� ำ หนดเงื่ อ นไขว่ า ต้ อง มี เ งิ น ลงทุ น ขั น้ ต�่ ำ ไม่ น้ อยกว่ า 1 ล้ า นบาท ให้ เ ปลี่ ย นเป็ นมี เ งิ น ขัน้ ต�่ำไม่น้อยกว่า 500,000 บาท และอนุ ญ าตให้ น� ำ เครื่ อ งจั ก รใช้ แล้ ว มู ล ค่ า ไม่ เ กิ น 10 ล้ า นบาท มาใช้ ในโครงการได้

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

031


PRINT NEWS

บอร์ดบีโอไอ อนุมัติส่งเสริม ‘คุณสมศักดิ์ ดารารัตนโรจน์’

ทุ่ม 5,500 ล้าน ตั้งโรงงานเยื่อกระดาษ

ส�ำหรั บการลงทุนในพืน้ ที่ จั ง หวั ด นราธิ ว าส ซึ่ ง อยู่ ภ ายใต้ นโยบายส่งเสริ มการลงทุนในพื ้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ และอยู่ใน นโยบายพื ้นที่พฒ ั นาเขตเศรษฐกิจ พิ เ ศษด้ ว ย ที่ ป ระชุม จึง พิ จ ารณา เห็ น ชอบให้ โครงการที่ ล งทุ น ใน 4 จัง หวัด ชายแดนภาคใต้ ได้ แ ก่ นราธิ ว าส ยะลา ปั ตตานี สตู ล และ 4 อ� ำ เภอในจัง หวัด สงขลา (อ.จะนะ อ.เทพา อ.นาทวี

อ.สะบ้ าย้ อย) ได้ รับสิทธิประโยชน์ ภายใต้ นโยบายส่งเสริ มการลงทุน ในพื น้ ที่ จั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ และได้ รั บ การผ่ อ นปรนเงื่ อ นไข ของกิ จ การที่ จ ะลงทุ น ให้ เ หมื อ น กับกิจการเป้าหมายในเขตพัฒนา เศรษฐกิ จ พิ เ ศษ รวมทัง้ อนุญ าต ให้ ใช้ แรงงานต่ า งด้ า วไร้ ฝี มื อ ใน ทุกพื ้นที่ จากเดิมที่อนุญาตเฉพาะ โครงการที่ ล งทุน ในนิ ค มหรื อ เขต อุตสาหกรรม

032

พร้ อมกันนี ้ นายกรัฐมนตรี ได้ ม อบหมายให้ ส� ำ นัก งานคณะ ก ร ร ม ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น พิ จ ารณาเพื่ อ กระตุ้ น ให้ เกิ ด การ ลงทุนในแต่ละพื ้นทีใ่ นเขตเศรษฐกิจ พิเศษว่ามีกลุ่มอุตสาหกรรม หรื อ ประเภทกิ จ การใดบ้ า งที่ ส ามารถ ที่จะเกิดขึน้ และด�ำเนินการได้ โดย เร็วภายในปี 2558-2559 นี ้ ซึง่ ทาง คณะกรรมการส่ง เสริ มการลงทุน รับที่จะไปด�ำเนินการและประสาน งานกับภาคเอกชนในการที่จะผลัก ดันให้ เกิดการลงทุนได้ อย่างแท้ จริ ง ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ทั้ ง นี้ โครงการลงทุ น กิจการผลิตเยื่อกระดาษส�ำหรั บ ผ ลิ ต ก ร ะ ด า ษ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ เงินลงทุน 5,500 ล้ านบาทของ คุ ณ “สมศั กดิ์ ดารารั ตนโรจน์ ” ตั้ ง อยู่ ที่ จั ง หวั ด มหาสารคาม ซึ่ ง เป็ นการตั้ ง สถานประกอบ ก า ร ใ น พื้ น ที่ ที่ มี ร า ย ไ ด้ ต่ อ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

หั ว ต�่ ำ ที่ สุ ด ของประเทศ 20 จังหวัด ได้ แก่ กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ นครพนม น่ าน บึงกาฬ บุรีรัมย์ แพร่ มหาสารคาม มุ ก ดาหาร แม่ ฮ่ อ งสอน ยโสธร ร้ อยเอ็ ด ศรี ส ะเกษ สกลนคร สระแก้ ว สุ โขทัย สุ รินทร์ หนองบั วล�ำภู อุบลราชธานี และอ�ำนาจเจริ ญ ตามยุ ท ธศาสตร์ ส่ งเสริ ม การ ลงทุนปี 2558 จึงท�ำให้ ได้ สิทธิ ประโยชน์ ห ลายประการเทีย บ เท่ ากับการตัง้ สถานประกอบการ ในเขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ (อ่านรายละเอียดบทความฉบับนี ้) โดยสิทธิประโยชน์ กรณี ตั ง้ สถานประกอบการในพื น้ ที่ ที่ มี ร ายได้ ต่ อหั ว ต�่ ำ ที่ สุ ด ของ ประเทศจ�ำนวน 20 จังหวัด คือ 1. ยกเว้ นภาษี เงิ น ได้ นิตบิ คุ คลเพิ่มเติมเป็ นเวลา 3 ปี แต่ รวมแล้ วไม่เกิน 8 ปี 2 . ก ร ณี ไ ด้ รั บ ย ก เ ว้ น


บอร์ดบีโอไอ อนุมัติส่งเสริม ‘คุณสมศักดิ์ ดารารัตนโรจน์’ ทุ่ม 5,500 ล้าน ตั้งโรงงานเยื่อกระดาษ

ภาษี เงิ น ได้ นิ ติ บุ ค คลเป็ นเวลา 8 ปี อยูแ่ ล้ ว (กลุม่ A1 A2) ให้ ได้ รับ ลดหย่อนภาษี เงินได้ นิติบคุ คลร้ อย ละ 50 เพิ่มเติมอีก 5 ปี 3. ให้ หั ก ค่ า ขนส่ ง ค่ า ไฟฟ้ า และค่ า ประปา 2 เท่ า ในการค�ำนวณภาษี เป็ นเวลา 10ปี 4. ให้ หั ก ค่ า ติ ด ตั ง้ หรื อ ก่อสร้ างสิ่งอ�ำนวยความสะดวกได้ ร้ อยละ 25 ในการค�ำนวณภาษี 5. ยกเว้ นอากรขาเข้ า ส�ำหรับเครื่ องจักร 6. ยกเว้ นอากรขาเข้ า วัตถุดบิ และวัสดุจำ� เป็ นส�ำหรับส่วนที่ ผลิตเพือ่ การส่งออกเป็ นระยะเวลา 5 ปี 7. ให้ ใช้ แรงงานต่างด้ าวไร้ ฝี มือในโครงการที่ได้ รับการส่งเสริ ม ตามที่ BOI จะก�ำหนด 8. สิทธิและประโยชน์ทมี่ ใิ ช่ ภาษีอากร (ซึง่ จะก�ำหนดในภายหลัง)

รู้ จัก..คุณสมศักดิ์ ดารา รั ตนโรจน์ คุ ณ ส ม ศั ก ดิ์ ด า ร า รั ตนโรจน์ เป็ นที่ ร้ ู จั ก ของคนใน อุตสาหกรรมการพิ มพ์ ในฐานะเป็ น ประธานกรรมการบริ หารกลุ่มบริ ษัท เจริ ญอักษร โฮลดิ ้ง กรุ๊พ จ�ำกัด และ เป็ นที่ร้ ู จักแพร่ หลายยิ่งขึน้ ทังในและ ้ ต่ า งประเทศ คื อ การเป็ นประธาน บริ ษั ท ซี . เอ.เอส.แอสเซท จ� ำ กั ด

PRINT NEWS

ผู้กอ่ ตังและบริ ้ หารนิคมอุตสาหกรรม ก า ร พิ ม พ์ แ ล ะ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ สิ น สาคร ส่ ว นด้ านกิ จ กรรมคื อ เป็ น ที่ ป รึ ก ษาสมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยมา หลายสมั ย รวมถึ ง ปั จจุ บั น และ เคยเป็ นนายกสมาคมการค้ าวั ส ดุ อุ ป กรณ์ การพิ ม พ์ ไ ทย 2 วาระ ช่วงระหว่างปี พ.ศ.2552-56 บ ริ ษั ท เ จ ริ ญ อั ก ษ ร โฮลดิง้ กรุ๊ พ จ�ำกัด ถื อก� ำเนิดขึน้ เมื่อปี พ.ศ. 2514 โดยธุรกิจแรกของ บริ ษั ท ในขณะนั น้ คื อ การผลิ ต ตั ว พิมพ์ ไทย จีน อังกฤษ และอุปกรณ์ การพิ ม พ์ จ� ำ หน่ า ยให้ กั บ โรงพิ ม พ์ ทั่ ว ประเทศ ในปี พ.ศ. 2530 มี ก ารปรั บ แผนกลยุ ท ธ์ ก ารตลาด ให้ มี ค วามสอดคล้ อ งกับ พัฒ นาการ ด้ านเทคโนโลยีการพิมพ์ โดยยึดหลัก “ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ คุ ณ ภ า พ สู ง แ บ บ ครบวงจร” ท� ำ ให้ เป็ นที่ ม าของ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

033


PRINT NEWS

บอร์ดบีโอไอ อนุมัติส่งเสริม ‘คุณสมศักดิ์ ดารารัตนโรจน์’

ทุ่ม 5,500 ล้าน ตั้งโรงงานเยื่อกระดาษ

น โ ย บ า ย ก า ร ส ร ร ห า คั ด เ ลื อ ก และน� ำ เข้ าผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากทั่ ว ทุ ก มุมโลกมาจ�ำหน่ายในประเทศ ไม่ว่า จะเป็ นเครื่ อ งจัก ร อะไหล่ อุป กรณ์ ก า ร พิ ม พ์ ก ร ะ ด า ษ ค า ร์ บ อ น กระดาษพิ เ ศษและกระดาษพิ ม พ์

ทุ ก ประเภท รวมทั ง้ มี ก ารลงทุ น ขยายกิ จ การเรื่ อ ยมาจนถึ ง ปั จ จุบัน มี กิ จ ก า ร ใ น เ ค รื อ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย 1.บริ ษัท ซี.เอ.เอส. แอสเซส จ�ำกัด 2.บริ ษั ท ซี . เอ.เอส.เปเปอร์ จ� ำ กัด 3.บริ ษั ท ซี . เอ.เอส. อิ๊ ง ค์ แ อนด์

แมชชินเนอรี่ จ�ำกัด 4.บริ ษัท เจริ ญ อักษร เทรดดิ ้ง จ�ำกัด 5.บริ ษัท สตาร์ ไวร์ คอมบ์ จ�ำกัด 6.บริ ษัท สตาร์ อาร์ เอฟไอดี จ�ำกัด 7.บริษัท ไทยนิปปอน รับเบอร์ อินดัสตรี ้ จ�ำกัด และ 8.บริษทั ซี.เอ.เอส.เปเปอร์มลิ ล์ จ�ำกัด

แหลลงนนนเขขนสนนคคญ 15 อคนดคบแรกของไทยรนยประเทศ

หนนาททท 1/1

กระดนษหนคงสสอพพมพพ มมลคลน : ลขนนบนท

อคนดคบ

ประเทศ

ททท

2555

2556

2557

2557

2558

2555

2556

อคตรนขยนยตคว (%) 2557 2557

2558

(ม.ค.-มพ.ย.)

(ม.ค.-มพ.ย.)

2555

2556

สคดสลวน (%) 2557 2557

2558

(ม.ค.-มพ.ย.)

(ม.ค.-มพ.ย.)

1

เกาหลทใตน

708.72

964.02

965.23

(ม.ค.-มพ.ย.) 487.57

(ม.ค.-มพ.ย.) 256.81

-30.13

36.02

0.13

8.75

-47.33

35.68

46.74

52.13

53.07

43.05

2

รรสเซทย

148.86

291.75

220.47

118.50

76.32

-22.53

95.99 -24.43

3.70

-35.59

7.49

14.14

11.91

12.90

12.79

3

เบลเยทยม

77.92

2.04

18.77

10.12

65.01

715.56 -97.39 821.48

0.00

542.38

3.92

0.10

1.01

1.10

10.90

4

เยอรมนท

0.03

42.57

12.34

12.34

45.25

479.55 166,827.84 -71.02

-4.78

266.74

0.00

2.06

0.67

1.34

7.58

5

สหรรฐอเมรรกา

273.88

257.87

237.74

139.37

39.87

15.02

-7.81

-11.57

-71.40

13.79

12.50

12.84

15.17

6.68

6

สวทเดน

364.41

245.42

158.15

53.76

38.24

218.89 -32.65 -35.56

-39.90

-28.87

18.34

11.90

8.54

5.85

6.41

7

ฝรรทงเศส

35.76

17.33

66.11

17.64

32.77

58.43 -51.54 281.47

1.78

85.77

1.80

0.84

3.57

1.92

5.49

8

สหราชอาณาจรกร

103.46

105.81

74.82

25.40

12.68

255.03

-29.29

-52.65

-50.06

5.21

5.13

4.04

2.76

2.13

9

ฟฟนแลนดด

37.58

15.08

12.88

8.45

11.43

180.00 -59.87 -14.57

0.00

35.20

1.89

0.73

0.70

0.92

1.92

10

ญททปปน

66.96

43.82

27.49

13.17

7.96

-33.16 -34.55 -37.27

-47.84

-39.58

3.37

2.12

1.48

1.43

1.33

11

แคนาดา

71.78

33.32

34.37

12.02

5.17

-25.70 -53.58

3.15

-63.92

-57.03

3.61

1.62

1.86

1.31

0.87

12

เนเธอรดแลนดด

2.33

4.13

0.00

0.00

3.26

0.00

0.00

0.12

0.20

0.00

0.00

0.55

13

สโลวทเนทย

0.00

0.00

0.00

0.00

1.52

0.00

0.00

0.00

0.00

0.00

0.00

0.25

14

จทน

0.01

0.00

0.01

0.00

0.29

-99.40 -94.44 2,840.00

120.00

26,427.27

0.00

0.00

0.00

0.00

0.05

15

ไตนหวรน

700.00 168.75 -62.79

รวม 15 รายการ รวมอสทนๆ

0.00

0.00

0.00

0.00

0.00

1,891.7

2,023.2

1,828.4

898.3

596.6

94.8

39.5

23.2

20.4

0.0

1,986.50

2,062.66

1,851.61

918.77

596.56

รวมทปกประเทศ ทททมา : ศศนยดเทคโนโลยทสารสนเทศและการสสทอสาร สสานรกงานปลรดกระทรวงพาณรชยด โดยความรรวมมสอจากกรมศปลกากร

034

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

-5.85

2.28

0.00

77.05

0.00

0.00

0.00

0.00

-62.79

-100.00

0.00

0.00

0.00

0.00

0.00

-9.63

-6.06

-33.59

95.23

98.08

98.75

97.78

100.00

-40.35 -58.33 -41.20

-27.61

-100.00

4.77

1.92

1.25

2.22

-0.22

-6.68

-35.07

3.26

6.95

3.83

-10.23

100.00 100.00 100.00 100.00

0.00 100.00


บอร์ดบีโอไอ อนุมัติส่งเสริม ‘คุณสมศักดิ์ ดารารัตนโรจน์’ ทุ่ม 5,500 ล้าน ตั้งโรงงานเยื่อกระดาษ

อีก 15 โครงการทีไ่ ด้ รับอนุมตั ิ ส่งเสริ มการลงทุนพร้ อมกัน 1.บริ ษัท เอ็นเอส บลูสโคป (ประเทศไทย) จ� ำกัด ได้ รับส่งเสริ ม การลงทุนกิจการผลิตเหล็กแผ่นเคลือบ อลู มิ เ นี ย ม สัง กะสี แ ละเหล็ ก แผ่ น เคลือบสี เงินลงทุน 3,279.2 ล้ านบาท ตังโครงการที ้ จ่ งั หวัดระยอง 2.บริ ษั ท เอสอี ไ อ ไทย อิ เ ล็ ค ทริ ค คอนดั ก เตอร์ จ� ำ กั ด ได้ รับส่งเสริ มการลงทุนกิ จการผลิต เหล็ ก ลวดอลู มิ เ นี ย มส� ำ หรั บ ผลิ ต สายไฟฟ้ าและสายส่ ง สั ญ ญาณ ข อ ง อุ ป ก ร ณ์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ในรถยนต์ เงินลงทุน 1,324 ล้ านบาท ตังโครงการที ้ ่จงั หวัดระยอง 3.บริ ษั ท อาโอยามาไทย จ� ำ กั ด ได้ รั บ ส่ ง เสริ มการลงทุ น กิ จ การผลิ ต สลั ก ภั ณ ฑ์ เช่ น สลั ก เกลียว แป้ นเกลียว ส� ำหรั บ ใช้ เป็ นชิ น้ ส่ ว นยานพาหนะ มูล ค่ า

เงินลงทุน 2,193 ล้ านบาท ตังโครงการ ้ ที่จงั หวัดระยอง 4.บริ ษั ท ไทย เบเวอร์ เ รจ แคน จ�ำกัด ได้ รับส่งเสริ มการลงทุน กิ จ การผลิ ต ตัว กระป๋ องอลู มิ เ นี ย ม เงินลงทุน 1,410 ล้ านบาท ตังโครงการ ้ ที่จงั หวัดสระบุรี โครงการที่ 5-7 บริ ษัท ไดเซล เซฟตี ้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้ รับส่งเสริ มการลงทุนกิ จการผลิต ชิน้ ส่วนยานพาหนะ ได้ แก่ อุปกรณ์ ก�ำเนิดก๊ าซส�ำหรับถุงลมนิรภัย จ�ำนวน 3 โครงการ เงินลงทุนรวม 2944.2 ล้ าน บาท ตังโครงการที ้ ่จงั หวัดปราจีนบุรี 8.บริ ษั ท โอตานิ เรเดี ย ล จ�ำกัด ได้ รับส่งเสริ มการลงทุนกิจการ ผลิ ต ยางยานพาหนะ เงิ น ลงทุ น 6,555.8 ล้ า นบาท ตัง้ โครงการที่ จังหวัดนครปฐม 9.บริษทั มิลลิเมด จ�ำกัด ได้ รบั ส่งเสริ มการลงทุนกิจการผลิตยาแผน

PRINT NEWS

ปั จจุบนั เงินลงทุน 1,436.4 ล้ านบาท ตังโครงการที ้ จ่ งั หวัดเชียงราย 10.บริ ษั ท เอสอาร์ เอฟ อินดัสตรี ส้ ์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ได้ รับ ส่ง เสริ ม การลงทุน กิ จ การผลิ ต ฟิ ล์ ม พลาสติก และฟิ ล์มพลาสติกเคลือบ โลหะ เงิ น ลงทุน 2,429 ล้ า นบาท ตังโครงการที ้ ่จงั หวัดระยอง 11.บริ ษั ท น� ำ้ ตาลสิ ง ห์ บุ รี จ�ำกัด ได้ รับส่งเสริ มการลงทุนกิจการ ผลิ ต ไฟฟ้ าจากเชื อ้ เพลิ ง ชี ว มวล และไอน� ้ำ เงินลงทุน 910 ล้ านบาท ตังโครงการที ้ ่จงั หวัดสิงห์บรุ ี 1 2 . บ ริ ษั ท อู่ ท อ ง ก รี น พาวเวอร์ จ� ำ กัด ได้ รั บ ส่ง เสริ ม การ ลงทุนกิจการผลิตไฟฟ้าจากเชื ้อเพลิง ชีวมวล เงินลงทุน 1,665.8 ล้ านบาท ตังโครงการที ้ ่จงั หวัดสุพรรณบุรี 13.บริ ษัท พลังงานบริ สุทธิ์ จ� ำ กั ด (มหาชน) ได้ รั บ ส่ ง เสริ ม การลงทุ น กิ จ การผลิ ต ไฟฟ้ าจาก พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ เงิ น ลงทุ น 8,500 ล้ านบาท ตังโครงการที ้ ่จงั หวัด พิษณุโลก 14.MR. ROGER RENSCH REYNOLDS ได้ รับส่งเสริ มการลงทุน กิจการสวนสนุก เงินลงทุน 1,440 ล้ าน บาท ตังโครงการที ้ ่จงั หวัดภูเก็ต 15.บริ ษัท เหมราช อีสเทิร์น ซี บ อ ร์ ด อิ น ดั ส เ ต รี ย ล เ อ ส เ ต ท 4 จ�ำกัด ได้ รับส่งเสริมการลงทุนกิจการ เขตอุตสาหกรรม เงินลงทุน 2,922.1 ล้ านบาท ตังโครงการที ้ ่จงั หวัดระยอง

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

035


PRINT DATA

เทรนด์อุตสาหกรรมการพิมพ์และการบรรจุภัณฑ์ของทั่วโลก

เทรนด์อุตสาหกรรม การพิมพ์และ การบรรจุภัณฑ์ ของทั่วโลก

เผยผลการวิจยั ของ Transparency Market Research ระบุอกี 4 ปี ตลาดบรรจุภณ ั ฑ์ กระดาษของ โลกจะเติบโตมีมลู ค่ า 11.69 ล้ านล้ านบาท รวมทุก บรรจุภณ ั ฑ์ ทำ� ยอด 34.1 ล้ านล้ านบาท ขณะ ที่ตลาดการบรรจุภณ ั ฑ์ ในประเทศไทยปี หน้ าจะเติบโต 3.85 แสนล้ านบาท และ การพิมพ์ ในประเทศไทยจะเติบโตมี ยอดขายเป็ น 100,000 ล้ านบาท คุ ณ เกอร์ นอท ริ งลิ่ ง กรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท เมสเซ่ ดุ ส เซลดอร์ ฟ เอเชี ย ผู้ ด� ำ เนิ น การจั ด งาน PACK PRINT INTER NATIONAL 2015 ได้ น� ำ เสนอรายงาน การวิ จั ย ของบริ ษั ท Transparency Market Research โดยคาดการณ์ ว่ า ภายในปี พ.ศ.2562 ตลาดการบรรจุภณ ั ฑ์ กระดาษโลกจะเติ บ โตและมี มู ล ค่ า ถึ ง 11.69 ล้ า นล้ า นบาท ซึ่ ง นั บ ว่ า เติบโตอย่างรวดเร็ วเมื่อเทียบกับการ เติ บ โตประมาณ 9 พัน ล้ า นบาทใน ปี พ.ศ.2558 นอกจากนี ้ รายงานยั ง คาดการณ์ ว่าตลาดโลกจะเติบโตถึง 4.4 % CAGR ภายในปี พ.ศ.2562

036

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


เทรนด์อุตสาหกรรมการพิมพ์และการบรรจุภัณฑ์ของทั่วโลก

ส่วนยอดขายตลาดบรรจุภณ ั ฑ์ทวั่ โลก มีแนว โน้ มจะมี มูลค่าประมาณ 34.1 ล้ านล้ านบาท ในปี พ.ศ. 2561 โดยยอดขายส่วนใหญ่จะมาจากทวีปเอเชีย และการจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (AEC) ในปี พ.ศ.2558 จะท�ำให้ อุตสาหกรรมการพิมพ์และ บรรจุภัณ ฑ์ ใ นเอเชี ย ตะวัน ออกเฉี ย งใต้ มี ก ารเจริ ญ เติบโตที่แข็งแกร่ง ตลาดการบรรจุภณ ั ฑ์ ในประเทศไทย : อุ ต สาหกรรมอาหารและเครื่ องดื่ ม ใน ประเทศไทย ยังเป็ นแรงขับเคลือ่ นหลักของอุตสาหกรรม การบรรจุภัณ ฑ์ มี ค วามต้ อ งการในการส่ง ออกสูง ง่ายต่อการเข้ าถึงวัตถุดิบ และมีความต้ องการส�ำหรับ บรรจุภณ ั ฑ์ที่ทนั สมัยเพิ่มมากขึ ้น โดยประเทศไทยมี บ ริ ษั ท ทางด้ านอาหาร กว่ า 10,000 แห่ ง ตลาดอุ ต สาหกรรมอาหาร และอุป กรณ์ บ รรจุภัณ ฑ์ ใ นประเทศจะเติ บ โตเฉลี่ ย 20% ต่อปี และคาดว่า ภายในปี พ.ศ.2559 ตลาดการ บรรจุภณ ั ฑ์มแี นวโน้ มจะเติบโตสูงถึง 3.85 แสนล้ านบาท โดยมี อุ ต สาหกรรมอาหารและเครื่ อ งดื่ ม เป็ นแรง ขับ เคลื่ อ นหลัก เช่ น เดิ ม และในปี นี ก้ ารส่ง ออกวัส ดุ บรรจุภณ ั ฑ์ โดยเฉพาะ ฟิ ล์ม, พลาสติก และสิง่ พิมพ์ อาจจะสูงถึง 1 แสนล้ านบาท ตลาด การพิมพ์ ในประเทศไทย : ประเทศไทยมีบริษทั ยักษ์ใหญ่ด้านการพิมพ์และ

PRINT DATA

การบรรจุภณ ั ฑ์อยูก่ ว่า 300 แห่ง มีมลู ค่าอุตสาหกรรม อยู่ท่ี 4 – 5 แสนล้ านบาท มูลค่าการส่งออกสิ่งพิมพ์ และบรรจุภณ ั ฑ์โดยประมาณ จะเพิ่มขึ ้นจาก 6 หมื่น เป็ น 1 แสนล้ า นบาท และมี แ นวโน้ ม จะเติ บ โตขึน้ 10 % ต่อปี โอกาสทางตลาด : -การพิมพ์แบบไฮบริ ด (Hybrid Printing) -การพิมพ์ภาพสีคณ ุ ภาพสูง (High-Fidelity Printing) -การพิมพ์ออฟเซ็ตที่ใช้ กระดาษเป็ นม้ วน (web offset) ภาคอุตสาหกรรมที่สำ� คัญ : ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางอุตสาหกรรมการ พิมพ์ในภูมิภาค มีอตุ สาหกรรมผลิตรถยนต์ที่แข็งแกร่ง และมี อุ ต สาหกรรมการผลิ ต พลาสติ ก ที่ ใ หญ่ ท่ี สุด ในภูมิภาค การสนับสนุน : รั ฐ บาลให้ การสนั บ สนุ น ผ่ า นส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน (สกท.) ทังในส่ ้ วน ของธุ ร กิ จ ผลิ ต เยื่ อ กระดาษ, กระดาษ, เครื่ อ งจัก ร และอุตสาหกรรมการผลิต คือหนึง่ ใน 10 อุตสาหกรรม ที่ได้ รับการผลักดัน มีโปรโมชัน่ การลงทุนพิเศษส�ำหรับ อุตสาหกรรมการพิมพ์ โดยที่ขนาดของอุตสาหกรรมที่ มีมลู ค่าสูงถึง 6.4 แสนล้ านบาท THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

037


038

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9 199.22 158.54 41.74 58.74 12.98 24.76 31.29 62.73 41.87 56.05

211.18

215.33

63.75

68.37

18.37

23.05

27.66

103.02

33.10

28.72

พม่ า

10 เวียดนนาม

11 เม็กซิโก

12 เยอรมณี

13 กัมพูชา

14 อิตาลี

15 ศรี ลังกา

16 ออสเตรเลีย

17 ลาว

18 อินเดีย

9

81.96

118.69

มาเลเซีย

8

385.88

268.58

สิงคโปร์

7

228.00

374.10

สหรั ฐอเมริกา

6

232.70

171.99

ญี่ปุ่น

5

123.02

78.30

ฟิ ลิปปิ นส์

4

202.08

ฮ่ องกง

3

131.15

สหราชอาณาจักร

2

166.68

อินโดนีเซีย

1

146.13

2556 295.36

2555

261.32

ประเทศ

54.59

69.93

51.31

38.11

19.23

33.60

54.77

59.32

92.53

145.98

82.72

212.63

228.23

322.57

159.22

108.51

168.83

324.89

2557

34.23

25.34

19.41

24.49

7.69

17.02

32.48

41.54

29.73

71.44

36.27

88.07

94.39

98.89

76.81

46.37

77.30

202.76

16.16

16.56

19.55

22.30

22.53

25.13

27.63

30.75

40.10

42.26

48.92

55.39

70.27

78.14

81.73

98.64

103.40

122.65

2557 2558 (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มิ.ย.)

มูลค่ า : ล้ านบาท

58.74

-8.59

-44.09

203.85

-41.79

420.45

-28.20

4.51

-12.36

58.22

25.73

59.95

-17.46

11.03

-33.74

30.80

-34.95

13.15

2555

95.16

26.50

-39.11

13.13

7.45

-29.37

-14.08

-34.52

-26.37

-5.66

-30.95

43.68

-39.05

35.30

57.12

54.09

14.06

13.03

2556

-2.62

67.01

-18.21

21.77

-22.36

158.93

-6.76

42.11

-41.64

-26.73

0.94

-44.90

0.10

38.62

29.42

-46.31

1.29

10.00

2557

43.17

152.44

-41.72

104.04

-5.75

140.20

13.56

66.57

-69.65

-51.39

-18.94

-63.14

-5.43

-20.02

42.35

-56.25

-22.10

44.18

-52.79

-34.66

0.70

-8.96

192.98

47.68

-14.92

-25.97

34.88

-40.85

34.89

-37.10

-25.55

-20.98

6.40

112.73

33.76

-36.51

2557 2558 (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มิ.ย.)

อัตราขยายตัว (%)

ตลาดส่งออก 18 อันดับแรกของไทยรายประเทศ หนังสือและสิ่งพิมพ์

1.02

1.18

3.67

0.98

0.82

0.65

2.43

2.27

7.66

7.52

4.22

9.56

13.31

6.12

2.79

4.67

5.20

9.30

2555

1.99

1.49

2.23

1.11

0.88

0.46

2.09

1.48

5.63

7.08

2.91

13.71

8.10

8.27

4.37

7.18

5.92

10.50

2556

2.13

2.73

2.00

1.49

0.75

1.31

2.14

2.31

3.61

5.70

3.23

8.30

8.90

12.59

6.21

4.23

6.59

12.68

2557 (ม.ค.-มิ.ย.)

สัดส่ วน (%)

2.86

2.12

1.62

2.05

0.64

1.42

2.72

3.47

2.49

5.98

3.03

7.37

7.00

8.27

6.43

3.88

6.47

16.96

1.54

1.58

1.86

2.12

2.15

2.39

2.63

2.93

3.82

4.02

4.66

5.27

6.69

7.44

7.78

9.39

9.84

11.68

2557 (ม.ค.-มิ.ย.)

หน้ าที่ 1/1


THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

039

2,813.8 1,299.6 232.7 228.0 377.0

2,809.9 1,205.7 172.0 374.1 403.4

822.0

29.73

71.44

39.27

2,563.0 1,122.1 322.6 228.2 344.0

2557

1,050.41

308.9

741.5

40.10

42.26

48.92

1,195.4 547.7 98.9 94.4 168.1

1,050.4 433.0 78.1 70.3 185.8

2557 2558 (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มิ.ย.)

มูลค่ า : ล้ านบาท

1,846.1

92.53

145.98

82.72

55.39

122.65 103.40 98.64 81.73 78.14 70.27

ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยร่วมมือจากกรมศุลกากร

รวมทุกประเทศ อาเซียน(9) ญี่ปุ่น สหรั ฐอเมริกา สหภาพยุโรป(27)

2556

2,809.90 2,813.76 2,563.03

รวมทุกประเทศ

2555

1,195.42

740.3

833.10

รวมอื่นๆ

ประเทศ

373.4

716.9

2,073.4

1,976.8

รวม 10 รายการ

158.54

215.33

เวียดนาม

10

199.22

211.18

พม่ า

9

81.96

118.69

88.07

มาเลเซีย

212.63

8

385.88

268.58

202.76 77.30 46.37 76.81 98.89 94.39

สิงคโปร์

324.89 168.83 108.51 159.22 322.57 228.23

2557 2558 (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มิ.ย.)

7

295.36 166.68 202.08 123.02 232.70 228.00

261.32 146.13 131.15 78.30 171.99 374.10

2557

อินโดนีเซีย สหราชอาณาจักร ฮ่ องกง ฟิ ลิปปิ นส์ ญี่ปุ่น สหรั ฐอเมริกา

2556

2555

1 2 3 4 5 6

ประเทศ

มูลค่ า : ล้ านบาท

0.14

-8.91

-3.16

-10.96

-41.64

-26.73

0.94

-44.90

10.00 1.29 -46.31 29.42 38.62 0.10

2557

-3.89 16.94 11.03 -17.46 -33.69

2555

0.14 7.79 35.30 -39.05 -6.54

2556

-18.42

10.55

-27.10

-59.65

-51.39

-18.94

-63.14

44.18 -22.10 -56.25 42.35 -20.02 -5.43

-8.91 -13.66 38.62 -5.43 -8.76

2557

-18.42 -23.54 -20.02 -25.55 -13.22

-12.13 -20.95 -20.95 13.31 10.50

2557 2558 (ม.ค.-มิ.ค.) (ม.ค.-มิ.ค.)

-12.13

-17.27

-9.80

34.88

-40.85

34.89

-37.10

-39.51 33.76 112.73 6.40 -20.98 -25.55

2557 2558 (ม.ค.-มิ.ย.) (ม.ค.-มิ.ย.)

อัตราขยายตัว (%)

หนังสือและสิ่งพิมพ์

ตลาดส่งออกสินค้าส�ำคัญ

-3.89

-11.14

4.89

2.76 -16.68

-26.37

-5.66

-30.95

43.68

13.03 14.06 54.09 57.12 35.30 -39.05

2556

-12.36

58.22

25.73

59.95

13.15 -34.95 30.80 -33.74 11.03 -17.46

2555

อัตราขยายตัว (%)

หนังสือและสิ่งพิมพ์

ตลาดส่งออก 10 อันดับแรกของไทยรายประเทศ

100.00 42.91 6.12 8.10 14.35

2555

100.00

29.65

70.35

7.66

7.52

4.22

9.56

9.30 5.20 4.67 2.79 6.12 13.31

2555

100.00

27.97

72.03

3.61

5.70

3.23

8.30

12.68 6.59 4.23 6.21 12.59 8.90

2557 (ม.ค.-มิ.ย.)

100.00 46.19 8.27 8.90 13.40

2556

100.00 43.78 8.27 7.90 13.42

2557 (ม.ค.-มิ.ค.)

สัดส่ วน (%)

100.00

26.31

73.69

5.63

7.08

2.91

13.71

10.50 5.92 7.18 4.37 8.27 8.10

2556

สัดส่ วน (%)

29.41

70.59

3.82

4.02

4.66

5.27

11.68 9.84 9.39 7.78 7.44 6.69

100.00 100.00 45.82 41.22 12.59 8.27 6.43 7.78 14.07 17.69

2557 (ม.ค.-มิ.ค.)

100.00 100.00

31.24

68.76

2.49

5.98

3.03

7.37

16.96 6.47 3.88 6.43 8.27 7.90

2557 (ม.ค.-ม.ิย.)

หน้ าที่ 1/2


PRINT PROFILE

‘ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป’ อลังการงานสร้างโรงพิมพ์ชั้นน�ำของประเทศ

‘ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป’ อลังการงานสร้าง โรงพิมพ์ชั้นน�ำของประเทศ

040

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

แม้ ห ลายคนจะรู้ จัก และเคยไปเยี่ ย มเยื อ น ศึกษาดูงานโรงพิมพ์บริ ษัท ไซเบอร์ พริ น้ ท์ กรุ๊ ป จ�ำกัดมาแล้ วก็ตาม แต่ในวันที่ “คุณอาท- ณภัทร วิวรรธนไกร” ทายาททางการพิมพ์ในกลุม่ Young Printer ได้ ไขขานไลฟ์สไตล์ส่วนตัวให้ ฟัง ดังที่ได้ น� ำเสนอไปในฉบับที่ แล้ ว พร้ อมๆ กับย้ อนรอย ความเป็ นมาของกิจการครอบครั วให้ ฟังอีกครั ง้ เรื่ องราวพัฒนาการของโรงพิมพ์ไซเบอร์ พริ น้ ท์ก็ มีเสน่ห์โดดเด่นอย่างน่าสนใจและชวนให้ ร่วม ย้ อนรอยขึ ้นมาทันที คุณ อาทบอกเล่า ความเป็ นมาของ กิจการครอบครัวว่า เริ่ มต้ นเกิดจากอากงหรื อ “คุณบันลือ อุตสาหจิต” กับพี่เขยของอากง ร่วมกันท�ำธุรกิจโดยการก่อตัง้ “ส�ำนักพิมพ์ บรรลือสาส์ น” เมื่อปี พ.ศ. 2498 ต่อมาเมื่อ ปี พ.ศ. 2508 ได้ ก่อตัง้ “โรงพิมพ์ บรรลือ อักษร” เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิต จากการที่ ได้ จั ด พิ มพ์ นิ ตยสาร ภาพยนตร์ หลายฉบับ จึงมีความสัมพันธ์ ที่ ดี กั บ นั ก แสดงและผู้ อยู่ ใ นวงการ ภาพยนตร์ จนเกิดแรงบันดาลใจในการ ทดลองเข้ าสู่อุตสาหกรรมภาพยนตร์ ด้ วยการเปิ ดบริ ษั ท ศรี ส ยามโปร ดักชั่น จ�ำกัด ซึง่ มีผลงานการผลิต


‘ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป’ อลังการงานสร้างโรงพิมพ์ชั้นน�ำของประเทศ ภาพยนตร์ ไทยที่มีชื่อเสียงกว่า 10 เรื่ อง เช่น หนึง่ นุช กระสือสาว ผีหวั ขาด เป็ นต้ น แต่ปัจจุบนั อากง ได้ เลิกธุรกิจผลิตภาพยนตร์ ไปแล้ ว โดยมุ่งเน้ นแต่ ธุรกิจโรงพิมพ์และส�ำนักพิมพ์เป็ นหลัก โดยธุรกิจส�ำนักพิมพ์และโรงพิมพ์ นอกจาก จะมีนติ ยสารศรีสยามและนิตยสารขวัญเรือน ทีไ่ ด้ รับ ความนิยมเป็ นอย่างมาก ก็ยงั มีการจัดท�ำนิตยสาร การ์ ตนู ที่ม่งุ เน้ นเรื่ องอารมณ์ขนั และเสียงหัวเราะเป็ น หลัก ซึง่ นิตยสารการ์ ตนู ที่มีชื่อเสียง คือ การ์ ตูนขาย หัวเราะ และการ์ ตูนมหาสนุ ก เป็ นต้ น จนพื ้นที่โรง พิมพ์เดิมไม่สามารถรองรับการเพิม่ เครื่องจักรได้ เพียงพอ ผู้บริหารจึงตัดสินใจย้ ายโรงพิมพ์จากผ่านฟ้ามาทีด่ นิ แดง และใช้ ชื่อบริ ษัทใหม่วา่ บริ ษัท ศรี สยามการพิมพ์ จ�ำกัด เมื่อปลายปี พ.ศ. 2532 อากงและพี่เขยได้ แยก บริษัทออกเป็ น 2 บริษัท เพือ่ ให้ สามารถบริหารงานได้ อย่าง คล่องตัวและเป็ นเอกเทศ โดยพี่เขยของอากงได้ ด�ำเนินการ บริษทั ศรีสยามการพิมพ์ จ�ำกัด ต่อไป ส่วนอากงเป็ นผู้ดำ� เนิน การบริ ษัท ศรี สยามพริ น้ ท์แอนด์แพคก์ จ�ำกัด บริ ษัทได้ ก่อตัง้ ขึ ้น พร้ อมๆ กับการสร้ างโรงพิมพ์แห่งใหม่ที่ยา่ นดินแดง ซึง่ ถือ เป็ นจุดเริ่ มต้ นธุรกิจโรงพิมพ์แบบครบวงจร เพื่อให้ บริ การด้ าน งานพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ โดยมุง่ เน้ นการให้ บริการงานพิมพ์ทมี่ ี คุณภาพได้ มาตรฐาน ส่งงานตรงต่อเวลา รวมทังมี ้ ความซือ่ สัตย์ และดูแลลูกค้ าด้ วยน� ้ำใจไมตรี ล่วงสู่ปี พ.ศ. 2542 ได้ มีการก่อตัง้ บริ ษัท ไซเบอร์ พริน้ ท์ จ�ำกัด รวมทังโรงพิ มพ์เพิ่มเติม ซึง่ ตังอยู ้ ใ่ กล้ เคียงกับ ้

PRINT PROFILE

คุณวิ ธิต อุตสาหจิ ต

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

041


PRINT PROFILE

‘ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป’ อลังการงานสร้างโรงพิมพ์ชั้นน�ำของประเทศ

โรงพิมพ์แห่งแรก ในซอยรัชดาภิเษก 3 เพื่อให้ เป็ นโรงพิมพ์ ครบวงจรเพื่อรองรั บ มาตรฐาน ISO ต่อมาบริ ษัท ไซเบอร์ พริ น้ ท์ จ�ำกัด ก็ได้ รับการรั บรองจาก BVQI ว่าเป็ น โรงพิ ม พ์ ที่ มี ร ะบบคุณ ภาพมาตรฐานสากล ISO 9002 และ 9001 โดยเป็ นองค์กรที่มงุ่ เน้ น ผสานความสมบูรณ์แบบของระบบคุณภาพและ เทคโนโลยีเข้ าด้ วยกัน นอกจากนี ้ ยังได้ เริ่ มเข้ าสู่ ธุรกิจการพิมพ์เพือ่ การส่งออกอย่างเต็มรูปแบบอีก ด้ วย พ.ศ. 2551 ได้ มีการตัง้ บริ ษัทรวมทัง้ โรง พิมพ์ใหม่เพิ่มเติม ซึง่ ตังอยู ้ ใ่ นนิคมอุตสาหกรรมการ พิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์สนิ สาคร จังหวัดสมุทรสาคร ชื่อ บริษทั ซี.พี.ไอ. อินเตอร์ พริน้ ท์ จ�ำกัด เพือ่ ขยายงาน ด้ านการส่งออก เนื่องจากปริ มาณงานที่เพิ่มขึ ้น ขนาด ของสถานที่ ความพร้ อมในการขนย้ ายคอนเทนเนอร์ คุณณภัทร วิ วรรธนไกร ระวางเรื อ และพิธีการศุลกากร ส�ำหรับงานส่งออก แตก ต่างไปจากเดิมที่เคยให้ บริ การลูกค้ าภายในประเทศ ที่ ส�ำคัญคือโรงพิมพ์เดิมที่ซอยรัชดาภิเษก 3 ไม่อาจรองรับ ได้ ลงทุนกว่า 1,000 ล้ านบาท เพื่อเข้ าซื ้อที่ดนิ ขนาด การด�ำเนินงานได้ เพียงพออีกต่อไป 30 ไร่ รวมทังก่ ้ อสร้ างโรงพิมพ์และโกดังขนาดใหญ่ โดยพืน้ ที่บริ เวณนิคมอุตสาหกรรมฯสินสาคร มี พร้ อมกับเพิ่มเครื่ องจักรและอุปกรณ์ครบครัน อีก สาธารณูปโภคพื ้นฐานส�ำหรับการส่งออก รวมทังจั ้ ดสรร ทังยั ้ งได้ ขยายสายงานการผลิตรู ปเล่ม โดยเพิ่ม สาธารณูปโภคด้ านการพิมพ์ได้ อย่างเหมาะสม ทังนี ้ ้ บริ ษัท การให้ บริ การการท�ำปกแข็ง ซึ่งเป็ นที่ต้องการ

042

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


‘ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป’ อลังการงานสร้างโรงพิมพ์ชั้นน�ำของประเทศ

PRINT PROFILE

อย่ า งมากส� ำ หรั บ ลูก ค้ า ต่ า งประเทศ เพื่ อ ที่จะเป็ นผู้ให้ บริ การสิ่งพิมพ์ครบวงจรทังระบบ ้ ออฟเซ็ตและระบบดิจิตอล และในปี พ.ศ. 2556 ผู้บริ หารได้ ตดั สิน ใจควบรวมบริ ษัทในเครื อทัง้ หมดประกอบด้ วย บริ ษัท ศรี สยามพริ น้ ท์แอนด์แพคก์ จ�ำกัด บริ ษัท ไซเบอร์ พริ น้ ท์ จ�ำกัด และบริ ษัท ซี.พี.ไอ. อินเตอร์ พริ น้ ท์ จ� ำกัด มารวมอยู่ภายใต้ บริ ษัทชื่ อ บริ ษั ท ไซเบอร์ พริน้ ท์กรุ๊ป จ�ำกัด โดยมีคณ ุ วิธติ อุตสาหจิต เป็ นกรรมการผู้จดั การ นอกจากนี ้ ในช่วงปี พ.ศ. 2544 กลุม่ ครอบครัว ยังได้ ริเริ่ มธุรกิจใหม่เพิ่มเติม คือ ธุรกิจสปา นวดเพื่อ สุขภาพ โดยก่อตังบริ ้ ษัท บลูมมิ่งสปา จ�ำกัด ขึ ้น (ปั จจุบนั เปลี่ยนชื่อเป็ นบริ ษัท สยามเวลเนสกรุ๊ ป จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อให้ บริ การสปาเพื่อสุขภาพแบบครบวงจร ในนาม Let’s Relax และ RarinJinda Wellness Spa ซึง่ มีสาขากว่า 10 สาขาในกรุ ง เทพฯ และหัว เมื อ งท่อ งเที่ ย วที่ ส� ำ คัญ ในต่า ง จังหวัด และในปั จจุบนั เป็ นบริ ษัทจดทะเบียนอยูใ่ นตลาดหลัก ทรัพย์เอ็ม เอ ไอ ซึง่ ใช้ ชื่อย่อว่า “SPA” เรื่องราวพัฒนาการของ “ไซเบอร์ พริน้ ท์กรุ๊ป” ฟั งกี่ครัง้ ก็มเี สน่ ห์และน่ าสนใจ ส่วนใครที่เพิ่งเคยได้ฟังและรับรู้ครัง้ แรก คงทึ่งในฝี มืออากงผู้ก่อตัง้ และยกนิว้ โป้งให้ ผ้ บู ริหารที่สามารถ สานกิจการจนเติบใหญ่ เป็ นโรงพิมพ์ระดับชัน้ น�ำของประเทศ!! THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

043


44 Ad Ad PMC #103_pc3.indd 441 4436 #102_pc3.indd 044 PMCLabel #101_pc3.indd 44 38 113 Ad PMCL #91_pc3.indd 113 36 118 38 Ad AdPMC#104_pc3.indd PMCL PMCL PMC #97_pc3.indd #99_pc3.indd Label Label #94_pc3.indd #98_pc3.indd 118 AD PMCL-m19.indd 1

11/10/2557 3:46:08 9/12/2557 4:04:37 1/9/2557 19/4/2557 17:59:23 19/4/2555 16:00:45 28/10/2556 10/11/2555 14/8/2556 4/5/2556 11:47:07 18:36:32 17:05:54 0:08:22 1:01:29 5/31/10 11:26:05 AM


SM #105_pc3.indd 1 45 Ad 45 #103_pc3.indd 45 Ad Cyber CyberSM#104_pc3.indd SM2014 #102_pc3.indd 45

4/2/2558 9/12/2557 17:04:31 4:07:21 11/10/2557 3:47:09 1/9/2557 11:48:03


PRINT KNOWLEDGE

Adobe InDesign กับการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์

หลัง จากที่ Apple ออก iPad ครั ง้ แรกเมื่ อ หลายปี ก่ อ น ในวงการสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ต่ า งก็ คิ ด ว่ า อ น า ค ต ข อ ง สิ่ ง พิ ม พ์ ต้ อ ง ถู ก สัน่ คลอน เพราะคนจะต้ องเปลี่ยน พฤติกรรมการอ่านจากกระดาษไป อยูบ่ น Tablet และยิง่ เห็นค่าย Adobe ที่เป็ นผู้พัฒนาซอฟท์ แวร์ ทางด้ าน งานกราฟิ คสิ่งพิมพ์เปิ ดตัว Digital Publishing Suite (DPS) ออกมา ท�ำให้ คนในวงการพิมพ์คดิ ว่าวงการ พิมพ์คงจะถูกกระบวนการนีท้ �ำให้ จ�ำนวนการพิมพ์ลดลง เนื่องจากมี ส�ำนักพิมพ์ หลายแห่งพยายามจะ สร้ างหนังสือของตัวเองส�ำหรับการ ให้ คนอ่านได้ อ่านผ่าน iPad หรื อ Tablet ซึ่งผมเองได้ พยายามบอก หลายครั ง้ ว่า สิ่งที่จะท� ำให้ วงการ พิมพ์ หยุดการเติบโต ไม่ใช่เพราะ ปั จจัยนี ้ทังหมด ้ เพราะสุดท้ ายเวลา 2-3 ปี ที่ ผ่ า นมา Adobe และ ผู้ พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร อ่ า น แ บ บ อิเล็กทรอนิกส์ยงั ต้ องมีการปรับรู ป กระบวนใหม่ เพราะผลการส�ำรวจ ทัว่ โลกไม่ได้ เป็ นไปอย่างที่คาดหวัง

046

แต่ในช่วง 2-3 ปี ที่ผา่ นมา ผมว่าคนในวงการบ้ านเราน่าจะเริ่ม มองเห็น และจับทิศทางได้ แล้ วว่า Digital Publishing นัน้ มันจะเดิน ไปอย่างไร และหลายคนต้ องยอมรับ ว่า ระบบทีด่ จี ริงๆ มันไม่สามารถจับ ต้ องได้ ด้วยราคา SME และไม่ใช่วา่ ใครๆ ก็สามารถสร้ างสื่อออนไลน์ท่ี เป็ นระบบเพื่ อ ธุร กิ จจริ ง ๆ โดยไม่ ศึกษาและไม่ลงทุนในระยะยาวได้ หากต้ องการสร้ างระบบการผลิตสือ่ ออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพจริ งๆ ต้ องเบนเข็ ม ไปหาความรู้ เรื่ อง Digital Marketing ให้ ค รบถ้ ว น เสียก่อน แต่ถ้าหากเราต้ องการจะ มองเพียงแค่การกระจายสื่อ หรื อ เนื อ้ หาของเราแบบไม่ ใ ช้ ระบบ การขาย แต่ เ ราท� ำ เพื่ อ เผยแพร่ แบบฟรี ๆ เราก็ไม่จ�ำเป็ นที่จะต้ อง ลงทุนอะไรที่เกินตัว หรื อมากเกินไป วั น นี เ้ มื่ อ เราได้ เห็ น เทคโนโลยี ของอุ ป กรณ์ มี ก ารพั ฒ นาแบบ ก้ าวกระโดด การเข้ าถึงเนื ้อหามีรูป แบบที่หลากหลายมากขึ ้น มีวิธีการ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

โดย ขจร พีรกิจ Adobe Community Professional

ที่เชื่อมโยงข้ อมูลมากขึ ้น ท�ำให้ สงิ่ ที่ เราต้ องเรี ยนรู้คอื การเข้ าใจในระบบ การ Publish ต่างๆ ซึง่ ผมจะอธิบาย ในสิ่ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ คนในวงการ พิมพ์ถงึ วิธกี ารสร้ างสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ด้ ว ยความสามารถโดยตรงผ่ า น โปรแกรม Adobe InDesign CC ที่ มีความสามารถในการสร้ างสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ได้ จากตัวโปรแกรม เอง โดยไม่ต้องใช้ ระบบ Solutions เสริ มเพิ่มเติมแต่อย่างใด Adobe InDesign สามารถสร้ าง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้ อย่ างไรบ้ าง ส�ำหรับโปรแกรม Adobe


Adobe InDesign กับการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์

InDesign หากนับ มาถึง เวอร์ ชั่น ล่าสุดที่ Update เมื่อเดือนสิงหาคม 2558 นัน้ มีความสามารถในการ Output ไฟล์ที่เป็ นสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ในรูปแบบต่างๆ ดังต่อไปนี ้ รู ปแบบ PDF ส�ำหรับงาน พิมพ์ และงาน Interactive รูปแบบ DPS Article (DPS) รูปแบบ ePub (Fixed Layout & Reflowable) Publish Online (ความ สามารถใหม่) เราจะเห็นว่า ทาง Adobe ได้ พ ยายามสร้ างความสามารถ ในการ Output ไฟล์ได้ หลากหลาย รูปแบบ ซึง่ การที่ทีมพัฒนาได้ คดิ ใน การใช้ ง านหลากหลายรู ป แบบก็ เพราะว่า ในความเป็ นจริงไม่มวี ธิ กี าร ใดทีจ่ ะสามารถสร้ างสือ่ อิเล็กทรอนิกส์

เพียงรูปแบบเดียว เพือ่ ให้ ท�ำงานได้ ครบประสิ ท ธิ ภ าพตามที่ ลู ก ค้ า ต้ องการทัง้ หมด ในรู ปแบบต่างๆ เหล่านี ้มีทงจุ ั ้ ดเด่นและจุดด้ อยที่ไม่ สามารถจะท�ำให้ รูปแบบใดรูปแบบ หนึง่ ไม่มจี ดุ ด้ อยได้ เลย ในบทความนี ผ้ มจะขอ อธิ บายเพี ย งแค่ 2 รู ปแบบที่ เป็ น ความสามารถใหม่ใ นการท� ำ งาน ด้ วยโปรแกรม InDesign คือ รู ป แบบ ePub FixedLayout (FXL) การ Publish Online ทุ ก วั น นี เ้ ทคโนโลยี ข อง ePub ได้ มีการพัฒนาการสร้ างและ รู ป แ บ บ เ พิ่ ม ขึ น้ อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว การสร้ าง ePub ไม่ใช่เป็ นเรื่ องที่ ยุ่งยากอีกต่อไป และในความเป็ น จริ งแล้ ว ความส�ำคัญของ Digital

PRINT KNOWLEDGE

Publishing ตังแต่ ้ แรกนันคื ้ อ การท�ำ อย่ า งไรให้ เ นื อ้ หาที่ เ ราสร้ างไปสู่ กลุ่ม เป้ าหมายได้ อ ย่ า งครบถ้ วน ทังการอ่ ้ าน การดู การโต้ ตอบ และ ที่ ส�ำคัญคือ การเข้ าถึงเนื อ้ หานัน้ การกระจายเนื ้อหานัน้ และรายได้ จากการท�ำเนื ้อหานัน้ EPUB Fixed-Layout แ บ บ ค ง ไ ว้ ข อ ง ห น้ า ต า ก า ร ออกแบบ ก า ร ส ร้ า ง ง า น e P u b ในรูปแบบนี ้ เป็ นการสร้ างงานด้ วย โปรแกรม Adobe InDesign แบบปกติทวั่ ไป สามารถเริ่ มใช้ การ ท�ำงานที่มาจาก Artwork ที่ท�ำเพื่อ สิ่งพิมพ์ แล้ วสามารถน�ำเอาเครื่ อง มือสร้ าง Interactive ทีเ่ ป็ น Animation มาประกอบกับรูปแบบเดิมเพิ่มเติม เข้ าไป เพื่อท�ำให้ เอกสารมีความน่า สนใจเพิ่มขึ ้น ซึง่ ค�ำสัง่ Animation

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

047


PRINT KNOWLEDGE

Adobe InDesign กับการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์

ePub แบบนีเ้ ลย เพียงแต่ในการ สร้ างไฟล์จาก InDesign ต้ องสร้ าง งานได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อง ต้ องเข้ าใจ เครื่ องมื อ ในการใช้ งาน Typo graphy ต่างๆ ให้ ครบถ้ ว น ก็ จ ะ สามารถสร้ าง ePub เพื่อน�ำไปเผย แพร่ได้ แล้ ว ซึง่ ไฟล์ ePub ที่ได้ มานี ้ สามารถน�ำไปเปิ ดอ่านบน iPad บน Android Tablet และบน คอมพิ ว เตอร์ Desktop ด้ วย โปรแกรม Adobe Digital Edition ที่ Adobe เปิ ดให้ ด าวน์ โ หลดฟรี ส�ำหรับอ่านไฟล์ ePub แบบนี ้ได้

ที่สามารถน�ำมาใช้ ได้ มีทงการสร้ ั้ าง Effects ต่ า งๆ ไม่ ว่ า จะเป็ นการ ท�ำภาพสไลด์โชว์ การสร้ างปุ่ มให้ วัตถุเคลื่อนไหว การใส่วิดีโอ เพลง ประกอบ และการเอาไฟล์ HTML

048

มาร่ วมประกอบในเนื ้อหา โดยการ ท�ำงานที่ InDesign สามารถสัง่ ด้ วย ค�ำสัง่ Export เป็ น ePub FixedLayout ได้ โดยไม่ ต้ องมี ก ารใช้ โปรแกรมเมอร์ มาช่วยในการสร้ าง

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

Publish Online ความสามารถใหม่ลา่ สุดที่ ทีมพัฒนา Adobe InDesign ได้ น�ำ ออกมาให้ ผ้ ใู ช้ งานสามารถนเนื ้อหา ที่สร้ างจาก Adobe InDesign ขึ ้น เผยแพร่ ผ่านระบบอินเตอร์ เน็ตได้ โดยไม่ต้องใช้ Application ส�ำหรับ อ่าน หรื อแปลความหมายง่ายๆ คือ การสร้ างไฟล์ InDesign ให้ อา่ นได้ บนระบบออนไลน์นนั่ เอง โดยความ สามารถนี ้ผู้สร้ างสรรค์งานสามารถ ใช้ ค�ำสัง่ Publish Online แล้ วไฟล์ที่ สร้ างขึ น้ จะถู ก น� ำ ไปเก็ บ ไว้ ที่ https://indd.adobe.com ซึง่ ความ สามารถนี ้ยังอยู่ในระดับ Preview ซึ่ ง อาจจะมี ก ารปรั บ รู ป แบบการ บริหารจัดการไฟล์อกี ครัง้ เมื่อความ


Adobe InDesign กับการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์

PRINT KNOWLEDGE

สามารถนี ก้ � ำลังจะถูกประกาศใช้ อย่างเป็ นทางการเร็วๆ นี ้ หากท่านได้ ใช้ งาน Adobe inDesign CC 2015 อยู่ต อนนี ้ สามารถทดลองการใช้ งานด้ วยการ สร้ างงานด้ ว ยโปรแกรม Adobe InDesign ขึ น้ มาแล้ วลองใส่ Animation ต่างๆ รวมไปถึงความ สามารถด้ าน Interactive ต่างๆ เช่ น การสร้ าง Text Hyperlink ต่างๆ ดังนี ้ URLs Emails Page destinations TOC markers Index markers Cross references เมือ่ ท�ำเสร็จแล้ วให้ เลือกค�ำ สัง่ Publish Online บนเมนูบาร์ ด้าน ขวาบน แล้ วเลือกสัง่ ตามขัน้ ตอน เพี ย งแค่นี ท้ ่า นก็ จ ะสามารถสร้ าง งาน InDesign ให้ ปรากฏบน ออนไลน์ได้ แล้ ว หลั ง จากที่ เ ราได้ ท� ำ การ Publish Online ไฟล์ของเราไปแล้ ว ไฟล์ที่อยู่บนออนไลน์ จะสามารถ แสดงผลทุกอย่างตามที่เราก�ำหนด จากโปรแกรม Adobe InDesign และเราสามารถส่ง Link ไฟล์นี ้ไปให้ ผู้อา่ นเปิ ดผ่าน Browser ต่างๆ บน Desktop ได้ แล้ ว ยังสามารถส่งไป THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

049


PRINT KNOWLEDGE

Adobe InDesign กับการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์

ยัง Mobile หรื อ Tablet ที่สามารถ แสดงผลได้ อย่างดี และมี Mode ใน การแสดงผลแบบเต็มจอเพือ่ ให้ อา่ น ได้ สบายตาอี ก ด้ วย นอกจากนี ้ ยังสามารถแชร์ เนื ้อหาไปยังโชเชียล ผ่ า น F a c e b o o k , T w i t t e r น�ำสูส่ าธารณะได้ อย่างรวดเร็ว และ เรายังสามารถส่งผ่านทาง Email ไปให้ ลกู ค้ าได้ โดยตรงอีกด้ วย การประยุกต์ความสามารถ Publish Online มาใช้ งานนั น้

050

เราสามารถน� ำ ไปใช้ ใ นเรื่ อ งของ การส่งไฟล์ให้ ลกู ค้ าให้ สามารถรับรู้ ข้ อมูลต่างๆ ที่เราสร้ างขึน้ มาด้ วย InDesign เช่ น เอกสารทางการ ตลาด ที่ เ ราสร้ างด้ ว ยโปรแกรม I n D e s i g n ห รื อ ก า ร ส่ ง ไ ฟ ล์ ประชาสัมพันธ์ ไฟล์ Presentation ต่างๆ เอกสารคูม่ อื การใช้ งาน เพราะ ในความสามารถของการอ่านบน ออนไลน์ของไฟล์ชนิดนี เราสามารถ ้ ใช้ คุณสมบัติเหมือนการใช้ งานใน

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

รูปแบบ ePub Fixed layout ได้ และ ในปั จจุบนั นี ้เราไม่จ�ำเป็ นต้ องส่งใน รู ป ไฟล์ PDF เพื่ อ เป็ นเอกสาร ประชาสัมพันธ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เอกสารที่ เ ราต้ อ งการสร้ างในรู ป แบบ Interactive เพื่ อ เป็ นการ แนะน� ำ สิ น ค้ า มี วิ ดี โ อ มี เ พลง ประกอบ จะท� ำ ให้ ลูก ค้ า มี ค วาม สะดวกสบายในการรั บ รู้ ข้ อมู ล ได้ ง่ า ย และเราสามารถบริ ห าร จัด การไฟล์ ไ ด้ ต ลอดเวลา ไม่ ว่ า


Adobe InDesign กับการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์

PRINT KNOWLEDGE

จะเป็ นการปรั บ ปรุ ง ข้ อมู ล หรื อ ต้ องการลบเอกสารออกจากระบบ สิ่งที่ต้องท�ำความเข้ าใจใน การสร้ างงานด้ วยระบบนี ก้ ็ คื อ เราไม่ ส ามารถท� ำ ระบบ Digital Rights Management ได้ เพราะการ Publish Online นี ้ใช้ Server ของ Adobe ยั ง ไม่ มี ร ะบบการจั ด จ�ำหน่าย หรื อการขายไฟล์ ดังนัน้ ข้ อมูลที่ควรจะใช้ ท�ำงานในเวอร์ ชนั่ Preview นี ค้ ื อ เอกสารที่ แ จกฟรี เท่านัน้ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

051


บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จำกัด

123 อาคารซันทาวเวอรส เอ ชั้น 23-26 ถ.วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ติดตอคุณจิณหสิภา

โทรศัพท : 02 660 8000 ตอ 8808 มือถือ : 081 701 5955 โทรสาร : 02 617 6740

Website : www.fujixerox.co.th Email : jinsipa.t@tha.fujixerox.com



SPECIAL THINK

เปิดตลาด AEC โรงพิมพ์ไทยจะแข่งกันตายหรือแข่งกันโต (7)

“หมวยโรงพิมพ์ ” มี ค นอยากรู้ ว่ า โรงพิ ม พ์ ใ หญ่ ห รื อ โรงพิ ม พ์ ที่ ประสบความส�ำเร็ จในปั จจุบัน มี วิ ธี ก ารคิ ด และ วางแผนอย่ างไรเมื่อตอนเริ่ มต้ นก่อตังโรงพิ ้ มพ์เมื่อ 30-50 ก่อน “หมวยโรงพิมพ์ ”ก็ขอบอกว่า ในอดีต เครื่ องพิมพ์ทกุ คนก็มีเหมือนกัน งานก่อนพิมพ์ ท�ำแม่ พิมพ์กค็ ล้ ายกัน แต่เครื่องแปรรูปหรือเครื่องจักรหลังการ พิมพ์ไม่เหมือนกัน รวมทังมี ้ มมุ มองแนวคิดต่างกัน คนที่เริ่มต้ นมากับธุรกิจการพิมพ์หนังสือก็มอง ว่า หนังสือจะต้ องไปได้ ดี เพราะคนเกิดมาทุกคนต้ อง อ่านหนังสือ ใช่..ทุกคนต้ องอ่านหนังสือ 7 วันให้ หลัง อ่านรายสัปดาห์ 15 วันให้ หลังอ่านรายปั กษ์ แต่ใครจะ รู้วา่ อีก 50 ปี ให้ หลัง จะมีระบบดิจิตอลแท็บเล็ต,ไอแพ็ด เข้ ามา มีมอื ถือสมาร์ ทโฟนทีท่ ำ� ได้ ทกุ อย่าง อ่านหนังสือ ก็ ไ ด้ รั บ ข่ า วสารก็ ไ ด้ กลายเป็ นว่ า หนัง สื อ พิ ม พ์ ทุกวันนี ้แทบจะตายอยูแ่ ล้ ว

054

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

ตื่ น เช้ าแปรงฟั นอยู่ วิ ท ยุ ก็ อ่ า นข่ า วให้ ฟั ง สื่ อ โทรทัศ น์ เรื่ อ งเล่ า เช้ า นี อ้ ่ า นข่ า วให้ เ ราฟั ง หมด สือ่ หนังสือพิมพ์จริงๆ บทบาทได้ น้อยลง แล้ วเหลืออะไร เมือ่ ก่อนรายได้ หลักคือโฆษณา แต่เดีย่ วนี ้มีการขายตรง เป็ นการลดต้ นทุนให้ กบั ผู้ซื ้อ หรือไม่กเ็ อาเข้ าไปวางขาย ที่ เ ซเว่น เทสโก้ โ ลตัว ฯลฯ โฆษณาในสิ่ง พิ ม พ์ ห รื อ โทรทัศน์ก็มีสว่ นหนึง่ แล้ วยิ่งเดี๋ยวนี ้มีโทรทัศน์ดจิ ิตอลดาวเทียม 200 ช่อง ดูกนั จนตาแฉะ มีทงขายยาหอม ั้ ถึ ง ยาปลุก เซ็ ก ซ์ แม้ กระทั่ง ขายพระ ขายนาฬิ ก า ขายทุกอย่าง สือ่ สิง่ พิมพ์กด็ ้ อยความส�ำคัญลงไป แล้วเดีย๋ วนี ้ เปิ ดเสรี ทุ ก อย่ า ง มี ก ฎหมายควบคุ ม เล็ ก น้ อย แค่กินแล้ วไม่ตายก็ได้ แล้ ว ยุคนี ้มันบ้ ากันไปแล้ ว กิน ชาเขียวขวดหนึ่งเดี๋ยวได้ รถสปอร์ ตมาขี่ เปิ ดโทรทัศน์ ช่องนัน้ ช่องนีแ้ ล้ วดูโฆษณาก่อนไปหาของกินแล้ วได้


เปิดตลาด AEC โรงพิมพ์ไทยจะแข่งกันตายหรือแข่งกันโต (7)

ของรางวัล มีแต่เรื่ องลูกล่อลูกชนทังนั ้ น้ หนังสือพิมพ์ ท�ำแบบนันไม่ ้ ได้ จึงมีแต่เตี ้ยลงๆ เมื่ อ ก่ อ นเล่ น ตั ว ชะมั ด แต่ เ ดี๋ ย วนี ไ้ ม่ ค่ อ ย เหลือล่ะ หนังสือพิมพ์ก็ไปเปิ ดสื่อโทรทัศน์ มีเนชัน่ ทีวี มี ไ ทยรั ฐ ที วี ดาราที วี เพื่ อเก็ บ ชื่ อและความเป็ นสื่อ หนังสือพิมพ์ส่วนนี ้ไว้ เพราะโลกยุคใหม่มนั ไปแล้ วไม่ กลับ มีแต่จะเดินหน้ าไปเรื่ อยๆ คนมากขึ ้น กินมากขึ ้น มีข้อจ�ำกัดเพียงในระดับหนึง่ ถามว่ า บรรจุ ภั ณ ฑ์ แบบประหลาดๆ ล่ ะมีไหม ขอตอบว่ ามี แต่ กต็ ้ องหาให้ เจอ อย่ างเช่ น กล่ องเนสเล่ คอลเกต ฯลฯ ถ้ ารู้ จกั แค่ นัน้ ก็ได้ แค่ นัน้ ไม่ ใช่ ทำ� แค่ กล่ องเหล้ าเป็ นก็คดิ ว่ าอยู่ได้ ..ไม่ ใช่ แค่ สเปกอย่ างเดียวก็อ้วกแตกแล้ ว เพราะฉะนัน้ มันมีความเฉพาะในตัวมันเอง การมองเมื่อ 40-50 ปี ที่แล้ ว คนรับงานพิมพ์ หนังสือ..พิมพ์ไม่ทนั มันโตจริ งๆ แต่ใครจะคิดว่า ในอีก 40 ปี ให้ หลังจะมีโทรทัศน์มาแข่ง มีสอื่ ดิจติ อลมาคุกคาม

SPECIAL THINK

หรือแม้ แต่ระบบการพิมพ์เอง เดีย๋ วนี ้มีระบบดิจติ อลเข้ า มา ไม่ต้องใช้ แม่พิมพ์หรื ออะไรแล้ ว กดปุ่ มเดียวพิมพ์ อะไรๆ ได้ หมด เพราะฉะนัน้ การคิดเมื่อ 40 ปี ที่แล้ วก็ อาจไม่ใช่แล้ ว แต่อยูท่ ี่วา่ ในวันนี ้จะพลิกตัวไปทางไหน ทางออกก็มอี ยู.่ . ก็ดซู วิ า่ รูปแบบและก�ำลังการผลิตของ ตัวเองที่มีอยู่ จะพลิกตัวไปท�ำบรรจุภณ ั ฑ์หรื อท�ำอย่าง อื่นอีกได้ ไหม ทางรอดก็มี แต่ก็อาจจะรอดไม่จริ งก็ได้ คนมาคิ ดแบบรูเดียวกันหมด การสัมมนาอะไร ก็ จะปลุกกระแสให้หนั มาท� ำบรรจุภณ ั ฑ์ อย่าไปเชื ่อ ทัง้ หมด ต้องดูตวั เองด้วยว่าคิ ดเป็ นหรื อไม่ คนทีร่ วย ก็คือคนขายเครื ่อง เขาจะบอกมาเลย เครื ่องท�ำกล่อง ก็มี ท�ำถ้วยก็มี เครื ่องพับก็มี เครื ่องไดคัทก็มี เครื ่องที ่ เกี ่ย วกับ บรรจุภัณ ฑ์ มี ห มด ให้ล งทุน ซื ้ อ ไปท� ำ งาน บรรจุภณ ั ฑ์กนั ซึ่งอาจจะรอดตายไปได้ระดับหนึ่ง “หมวยโรงพิ ม พ์ ” ท� ำ มานานไม่เ ดื อ ดร้ อน ใครจะมีเครื่ องมือหรื อเทคโนโลยี หรื อใครจะเดินตาม ก็ได้ ไม่มีปัญหา วิธีคิดและก้ าวเดินต่อไปก็คือการ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

055


SPECIAL THINK

เปิดตลาด AEC โรงพิมพ์ไทยจะแข่งกันตายหรือแข่งกันโต (7)

เปิ ดตลาดใหม่ๆ ให้ ได้ และต้ องโตขึ ้นไปทุกวัน จะท�ำ อะไรต้ องเร่ งให้ เร็ วกว่าเดิม จากเดิมวางแผนไว้ 3 ปี ว่าจะท�ำอะไรบ้ าง ก็ร่นระยะเวลาให้ เหลือแค่ 2 ปี เพื่อ หนีการวิ่งตาม แล้ วโรงพิมพ์เล็กจะเป็ นอย่างไร พูดกันตรงๆ เลยก็คอื อาจจะตายเอา เอ๊ า...แน่นอน ถ้ าไม่อยากตาย ท�ำยังไง ก็ต้องย้ อนถามกลับไปว่า คุณท�ำอะไรเป็ น บ้ างล่ะ พูดไปพูดมาก็เพราะคนท�ำโรงพิมพ์แทบไม่เคย เปลี่ยนแปลงเลย จะท�ำแบบเดิมๆ มาตลอด 30-40 ปี ทังๆ ้ ทีท่ กุ อย่างรอบตัวเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา มันก็ขึ ้น อยู่กับคุณทังนั ้ น้ แหละ ก็คุณไม่ท�ำเอง พูดให้ ฟังมา หลายสิบปี ก่อนหน้ าแล้ วว่า อนาคต (ซึง่ ก็คือปั จจุบนั ) สถานการณ์ จ ะเป็ นแบบนี ๆ้ บอกแล้ ว ว่ า คุ ณ ต้ อง พยายาม แล้ วจะมาพูดอะไรอีก บางคนบอก...ลองแล้ วแต่ ทำ� ไม่ ได้ สาเหตุ เพราะที่ผ่านมามันมีทางเลือกอื่นๆ เยอะ เลยไม่

056

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

พยายามคิดท�ำต่ อ แต่ พรุ่ งนี ส้ ิ ทางเลื อกแทบ จะไม่ มีเหลือ จะมาคิดใหม่ ท�ำใหม่ อาจจะไม่ ทัน เรื่ องแบบนีม้ ันเกิดในยุโรป อเมริกา ญี่ปุ่นมาแล้ ว ตอนนีม้ ันมาถึงคิวบ้ านเรา ยกตัวอย่าง เท่าที่ทราบมาว่าเวลานี ้ พวกท�ำ บรรจุภณ ั ฑ์มือใหม่หลังเจอปั ญหาลองผิดลองถูกก็เริ่ ม ฉลาดขึ ้นมาอีกนิดหนึ่ง เห็นขนมโมจิท�ำใส่กล่องขาย ที่ปากน�ำ้ โพ นครสวรรค์ วางขายตัง้ แต่ก�ำแพงเพชร จนถึงอ่างทอง ขายเป็ นของกินและเป็ นของฝากให้ กบั รถที่ขบั ผ่านไปมา มีร้านขนมโมจิ 20 ร้ านรอขาย โอเค พรุ่ งนี ้ส่งเซลไปลุยปากน� ้ำโพเก็บกล่องขนมโมจิมาท�ำ เสนอเจ้ าของร้ านห้ ามเปลี่ยนไซด์กล่องห้ ามพิมพ์เกิน 4 สี เคลือบมันยูวี ไดคัทเหมือนเดิม โรงพิมพ์เดิมคิด ใบละ 2 บาท ผมคิดราคาให้ 1.50 บาท ก็ดเู หมือนเป็ น ทางรอดได้ ในระดับหนึง่ แต่การตัดราคาเพื่อให้ ได้ งาน มาท�ำเป็ นเรื่ องที่ไม่ถกู ต้ อง เพราะสูตรนี ้ใครๆ ก็ทำ� เป็ น


เปิดตลาด AEC โรงพิมพ์ไทยจะแข่งกันตายหรือแข่งกันโต (7)

SPECIAL THINK

โรงพิมพ์เล็กอยากจะโตไม่อยากตายก็ต้องมา คิ ด หาทางกัน ใหม่ อาจจะไปในรู ป แบบงานพิ ม พ์ ดิจิตอล รับท�ำงานจ�ำนวนน้ อย แต่ก็แน่นอน ทุกคน ก็คดิ เป็ น สุดท้ ายก็หนีไม่พ้นกลับมาที่จดุ เดิม เพราะวัน นี ้ท�ำธุรกิจจะหวังให้ โชคช่วยคงไม่มี จะต้ องมีความเก่ง หรื อเก่งกว่าอย่างเดียว มีโรงพิมพ์ เล็กดีดตัวเองไป ท� ำ เป็ นแบบย่อกระเป๋ าให้ เล็กลง อาจจะเป็ นแบบ เจาะจงรับงานเบเกอรี่ อย่างเดียว ออกแบบกล่องขนม เค้ กแบบแปลกๆ แต่กล่องขนมเค้ กแบบแปลกๆ ก็อาจ จะยากส�ำหรับคนที่คิดไม่เป็ น พูดกันตรงๆ พูดอย่างไม่ เบรก ถ้ าพูดแบบปลอบใจมันจะยิ่งไปกันใหญ่ ต้ องพูด ให้ คดิ เพื่อที่จะได้ เตรี ยมหาทาง แบบเดียวกับที่ “หมวยโรงพิมพ์ ” เคยพูดไว้ ให้ ฟังว่า เมื่อ 40 ปี ที่แล้ วคนท�ำโรงพิมพ์อยูไ่ ด้ เพราะ ท�ำซองยาแก้ ปวด แก้ ไข้ ซองยาหอม กล่องยาหม่อง ยาแก้ ไอ ยาสตรี กล่องยาสีฟัน สบู่ ผงซักฟอก วันนี ้ เปลี่ยนไปเกือบหมด ถ้ าตอนนี ้จะมาพูดถึงอนาคตใน วันข้ างหน้ าในตลาดเออีซี อยากจะบอกเหล่าบรรดาผู้ประกอบการกระ ป๋ องกระแป๋ งทัง้ หลาย อย่าไปคิ ดการณ์ ไกลใหญ่โตให้ เสียเวลา ปล่อยให้เป็ นเรื ่องของคนทีม่ ีความพร้อมกว่า ไปคิ ดท�ำ เพราะการไปลงทุนท�ำธุรกิ จข้ามชาติ ความ หมายแท้จริ งก็คือ การเข้าไปแย่งงานเขาดีๆ นีเ่ อง ก็เหมือนกับโรงพิมพ์ ต่างชาติหลายๆ แห่ ง ที่ขยายงานเข้ ามาตัง้ โรงพิมพ์ ในบ้ านเรา มีสญ ั ชาติ จีน ไต้ หวัน ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย สวีเดน ฟิ นแลนด์ แล้ วมาแย่ งรั บงานพิมพ์ ของพวกเราท�ำ! THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

057


58-60 S.Sriaksorn #105_pc3.indd 58 Ad SAd #104_pc3.indd 5858 #103_pc3.indd 58 AdAd SSriAksorn SriAksorn #102_pc3.indd 58 58 058-060 Ad S.Sri #101_pc3.indd 58-60 sriaksorn1-3 #100_pc3.indd

4/2/2558 9/12/2557 17:07:33 4:30:53 11/10/2557 3:53:28 1/9/2557 13:43:46 19/4/2557 18:25:15 3/1/2557 16:45:58


58-60 S.Sriaksorn #105_pc3.indd 59 Ad ITOTEC #104_pc3.indd 5959 59 #103_pc3.indd 59 AdAd ITOTEC #102_pc3.indd

4/2/2558 9/12/2557 17:07:40 4:32:05 11/10/2557 3:54:19 1/9/2557 13:45:17


58-60 S.Sriaksorn #105_pc3.indd 60 Ad SAd #103_pc3.indd 6060 #103_pc3.indd 60 AdAd SSriAksorn SriAksorn #102_pc3.indd 60 60 058-060 Ad S.Sri #101_pc3.indd 58-60 sriaksorn1-3 #100_pc3.indd

4/2/2558 9/12/2557 17:07:46 4:35:47 11/10/2557 3:55:09 1/9/2557 13:46:29 19/4/2557 18:25:47 3/1/2557 16:47:44


10 Ad MD#107_pc3.indd 10

23/6/2558 20:48:18


PRINT REPORT

“เลย์” ดึงนวัตกรรมการพิมพ์ พิมพ์ชื่อและรสชาติบนซอง สร้างคุณค่าสินค้าชิ้นเดียวในโลก

ในรอบปี มานีไ้ ด้ ยิน “เหล่ ากูรูแวดวงการพิมพ์ ” ท�ำ นายทายทั ก หนาหู ขึ น้ เรื่ อยๆ ว่ า แนวโน้ มธุ ร กิ จ การพิม พ์ มิ ติใ หม่ ก�ำ ลั ง มาแรงขึ น้ เรื่ อยๆ เพราะเชื่ อ ว่ างานพิมพ์ ด้วยการออกแบบและสร้ างสรรค์ รูปแบบ บรรจุภณ ั ฑ์ หรื อฉลากที่เป็ นเอกลักษณ์ เฉพาะแบบหนึ่ง เดียว สอดคล้ องและเป็ นไปตามทิศทางเดียวกับไลฟ์ สไตล์ การใช้ ชีวติ ของคนรุ่ นใหม่ ที่ ส�ำคัญ..การพิมพ์ มิติใหม่นี ้ จะเป็ นการสร้ างมูล ค่าเพิ่มให้ กบั สินค้ าแบบวินวินด้ วยกัน ไม่วา่ จะเป็ นโรงพิมพ์ที่ จะมีงานมีออเดอร์ ขณะทีเ่ จ้ าของสินค้ าก็จะมียอดขายเติบโต เหนือคูแ่ ข่ง!

คุณธามาศ ชุ่มภาณี

แต่เห็นทีเทรนด์ที่ว่าจะมาเร็ วจริ งทันใจ เพราะเมื่ อ ช่ ว งปลายเดื อ นกรกฎาคม 2558 ที่ผ่านมา มันฝรั่งทอดกรอบชื่อดังที่มียอดขาย อัน ดับ หนึ่ ง ในเมื อ งไทยอย่ า ง “เลย์ ” จัด งาน แถลงข่าวใหญ่โตเปิ ดตัว 2 พรี เซ็นเตอร์ สดุ ฮอต

062

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


“เลย์” ดึงนวัตกรรมการพิมพ์ พิมพ์ชื่อและรสชาติบนซอง สร้างคุณค่าสินค้าชิ้นเดียวในโลก

ตลอดกาล “ณเดชน์ คูกิมิยะ” และ “ญาญ่ า อุรัสยา เสปอร์ บนั ด์ ” พร้ อมเปิ ดตัวรสชาติใหม่ และที่ส�ำคัญปล่อยแคมเปญ ‘เลย์ เปิ ดครัว ชวน ปรุง (Lay’s Open Kitchen)’ สุดยิ่งใหญ่แห่งปี ไฮไลต์การท�ำตลาดแคมเปญนี ้ ไม่ได้ อยู่ แ ค่ ก ารเปิ ดโอกาสให้ ผู้ บริ โภคลิ ม้ ลอง ประสบการณ์ ความอร่ อยใหม่ไปกับ 2 รสชาติ ล่าสุดคือ “เลย์ รสน� ำ้ ตกหม้ อไฟ” และ “เลย์ รสสะเต๊ ะทรงเครื่ อง” จากการรั งสรรค์สูตรลับ ความอร่ อ ยอย่ า งพิ ถี พิ ถัน ของ 2 เชฟกระทะ เหล็กชื่อดังระดับประเทศอย่าง “เชฟชุมพล” และ

PRINT REPORT

“เชฟเอียน” แต่หากสังเกตบนแพคเกจจิ ้งผลิตภัณฑ์จะพบว่า มีการพิมพ์ชื่อ 2 พรี เซ็นเตอร์ บนสินค้ าด้ วย แม้ นี่ จะเป็ นครั ้ ง แรก!!! ของมั น ฝรั่ งเจ้ า ตลาดอย่ าง “เลย์ ” ที่ รุ ก มาเชิ ญ ชวนผู้ บริ โ ภคร่ วม สร้ างสรรค์ ร สชาติเ ลย์ แ สนอร่ อยสุ ด โดนใจในสไตล์ ของตัวเอง (DIY : Do it yourself) อีกทัง้ ชูความพิเศษ ได้ บ รรจุ ภั ณ ฑ์ ซ อง “เลย์ ” รุ่ นพิ เ ศษที่ มี ก ารพิ ม พ์ รู ป และชื่อรสของตัวเองไว้ เก็บสะสมเป็ นที่ระลึกอีกด้ วย

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

063


PRINT REPORT

“เลย์” ดึงนวัตกรรมการพิมพ์ พิมพ์ชื่อและรสชาติบนซอง สร้างคุณค่าสินค้าชิ้นเดียวในโลก

แต่ ก็ มี ก ระแสตอบรั บ ดี เพราะหลั ง จากปล่ อ ย แคมเปญเด็ ด ดึ ง นวัต กรรมการพิ ม พ์ ที่ สุ ด จะสร้ างสรรค์ มาเพิ่ ม มูล ค่ า ให้ กับ สิ น ค้ า ปรากฎว่ า มี ผ้ ูส นใจซื อ้ “เลย์ ” กั บ ครั ว เลย์ เ คลื่ อ นที่ ต ามเงื่ อ นไขครบ 100 บาท เพื่ อ รับสิทธิ์ปรุ งรสเลย์ในสไตล์ของตัวคุณเองได้ จ�ำนวน 1 ซอง ขนาด 52 กรัม ดันยอดขาย “เลย์” ที่ดีอยูแ่ ล้ วดียิ่งขึ ้น คุ ณ ธ า ม า ศ ชุ่ ม ภ า ณี ผู้ จั ด ก า ร อ า วุ โ ส ฝ่ ายการตลาด - ผลิตภัณฑ์มนั ฝรัง่ ทอดกรอบเลย์ บริษทั เป๊ปซี่

064

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

-โคล่ า (ไทย) เทรดดิ ง้ จ� ำ กั ด กล่ า วว่ า กระบวนการพิ ม พ์ บ รรจุภัณ ฑ์ “เลย์ ” รสชาติ ตั ว เองไม่ ยุ่ ง ยากโดยมี เ พี ย ง 4 ขั น้ ตอน คื อ เริ่ ม ตัง้ แต่ก ารเลื อ กสี ข องซองที่ มี ใ ห้ เ ลื อ ก จ�ำนวน 4 สี พร้ อมตังชื ้ ่อรสชาติที่ชอบและถ่าย ภาพตัว ลูก ค้ า จากนัน้ เลื อ กรู ป แบบของแผ่ น มันฝรั่ งเลย์ ที่ มีให้ เลือกทัง้ แบบแผ่นหยักและ แผ่นเรี ยบ พร้ อมเข้ าสู่การมิกซ์แอนด์แมทช์ รส ชาติเลย์ แสนอร่ อยในสไตล์ ตัวเอง จากนัน้ จะ เข้ าสู่ขบวนการผลิตหรื อพิมพ์ซอง ปิ ดท้ ายด้ วย การเข้ ากระบวนการซีลปิ ดซองเก็บความอร่ อย ให้ ยาวนาน เพียงเท่านี ้ลูกค้ าก็จะได้ รับเลย์แสน อร่อยสุดโดนใจในสไตล์ของตัวเอง “เดี ๋ยวนี ้เทคนิ คการพิ มพ์ ทนั สมัยและ รวดเร็ ว มาก แถมเป็ นการสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กลายเป็ นสิ นค้าที ่มีชิ้นเดี ยวในโลก สอดคล้อง กับกลยุทธ์ การท�ำตลาดของเราทีม่ ่งุ มัน่ จะพัฒนา และน� ำเสนอผลิ ตภัณฑ์ ใหม่ๆ รวมถึ งกิ จกรรม ทางการตลาดที ่มุ่งสร้ างประสบการณ์ ร่วมกัน


“เลย์” ดึงนวัตกรรมการพิมพ์ พิมพ์ชื่อและรสชาติบนซอง สร้างคุณค่าสินค้าชิ้นเดียวในโลก

ระหว่ า งแบรนด์ กั บ ผู้ บ ริ โภค (Consumer Engagement) มาโดยตลอด” ถื อ เป็ นอี ก หนึ่ง แคมเปญทอล์ ค ออฟ เดอะ ทาวน์ของปี โดยเฉพาะในโลกของโซเชี่ยล มี เ ดี ย มี ก ารโพสต์ แ ละแชร์ รู ป ภาพบรรจุภัณ ฑ์ ซองมันฝรั่ ง “เลย์ ” ที่ มีการพิมพ์ รูปและชื่ อรส ของตัว เองกระหน�่ ำ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง มี ทัง้ นิ ย ม พิมพ์ ชื่อของตัวเองและชื่ อผู้ที่จะมอบให้ อย่าง เช่น แฟน, ลูก, คุณพ่อคุณแม่, เพื่อน เป็ นต้ น ทัง้ นี ้ ปรากฏการณ์ เ ช่ น นี ้ มี ลัก ษณะ เดียวกันกับเมื่อปี 2556 ซึ่ง “เครื่ องดื่มโค้ ก” เคยใช้ นวัตกรรมการพิมพ์เพิ่มมูลค่าบรรจุภณ ั ฑ์ ให้ กลายเป็ นโค้ กที่ มีกระป๋ องเดียวในโลก จน เกิดกระแสปากต่อปากดันยอดขายทะลุทะลวง มาแล้ ว โดยการจั ด กิ จ กรรมส่ ง โค้ ก Share

PRINT REPORT

a Coke เชิญชวนผู้บริโภคมาเป็ นเจ้ าของโค้ กในแบบฉบับของ คุณเอง!! ด้ วยการซื ้อสินค้ าครบตามเงื่อนไขแล้ วจะสามารถ พิมพ์ค�ำเท่ๆ หรื อชื่อตัวเอง หรื อชื่อคนที่จะมอบให้ เป็ นพิเศษ ส่วนตัว๊ .. ส่วนตัว แล้ วเอาไปฝากหรื อเก็บไว้ เป็ นที่ระลึก THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

065


PRINT TECHNOLOGY

เทคโนโลยี 3D PRINTING เปลี่ยนโฉมการผลิตและการค้าโลกในอนาคต

ธุรกิ จ 1 ฝ่ ายวิ จยั ธุรกิ จ EXIM BANK

ในยุคที่เทคโนโลยีเข้ ามามีบทบาทใน ชีวติ ปั จจุบนั มากขึ ้น หนึง่ ในเทคโนโลยีทถี่ กู จับตา มองเป็ นพิเศษคือ เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ หรื อ 3D Printing ซึง่ มีคณ ุ ลักษณะพิเศษที่ต่างจาก เครื่ องพิมพ์ทวั่ ไปที่ใช้ หมึกพิมพ์ลงบนกระดาษ หรือวัสดุอนื่ ออกมาเป็ นภาพ 2 มติ แต่เครื่องพิมพ์ 3 มิติ สามารถใช้ พิมพ์วสั ดุได้ หลากหลาย อาทิ เส้ นพลาสติก เส้ นใยสังเคราะห์ ด้ ายขนสัตว์ และ โลหะ ฯลฯ

066

วิธีพิมพ์ วัสดุโดยใช้ เทคนิ คการพิมพ์ ซ้อนทับลงไป เรื่อยๆ จนเกิดเป็ นรูปทรง 3 มิตทิ จี่ บั ต้ องได้ ทําให้ สามารถผลิต สิง่ ของได้ เหมือนจริงและตรงกับความต้ องการของผู้ออกแบบ โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการผลิตจากโรงงานอุตสาหกรรม ส่งผลให้ เริ่ มมีการนําเทคโนโลยี 3 มิติไปใช้ ในหลากหลาย วงการ ไม่วา่ จะเป็ นวงการแพทย์ การออกแบบเครื่ องประดับ การออกแบบเสื ้อผ้ า งานสถาปั ตยกรรม อุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมอาหาร ส�ำหรับตัวอย่างของการนําเทคโนโลยี 3 มิติไปใช้ ทํางาน อาทิ การสร้ างแบบจําลองใบหน้ าคนร้ ายแทนการ วาดภาพแบบเดิม การทําโมเดลสําหรั บการวิเคราะห์ ทาง ทันตกรรม การออกแบบและผลิต เครื่ องประดับ ของเล่น ซอง ใส่โทรศัพท์ พวงกุญแจ การสร้ างขากรรไกรเทียม เป็ นต้ น เทคโนโลยี 3 มิติ นอกจากจะช่วยให้ ผ้ ผู ลิต สามารถนาํ ผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสูต่ ลาดได้ เร็วขึ ้นแล้ ว ยังช่วยประหยัดค่าใช้ จ่ายในการผลิต เพราะเพียงแค่ออกแบบผลิตภัณฑ์ในรูปของ ไฟล์ 3D เสร็ จก็สามารถส่งพิมพ์ หรื อสัง่ พิมพ์งานเป็ นต้ นแบบ ได้ เลย จากเดิมที่กว่าจะได้ เห็นชิ ้นงานจริ งต้ องผ่านขันตอน ้ การออกแบบและสร้ างแม่พิมพ์ เพื่อเป็ นแบบหล่อในโรงงาน ผลิต ก่อนจะปรับแก้ ไขจนได้ แม่พิมพ์สมบูรณ์ ซึง่ อาจใช้ เวลา

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


เทคโนโลยี 3D PRINTING เปลี่ยนโฉมการผลิตและการค้าโลกในอนาคต

PRINT TECHNOLOGY

เป็ นเดือนเพราะชิ ้นงานทีผ่ ลิตได้ อาจไม่ตรงตามความต้ องการ ของผู้ออกแบบ แต่ เ ทคโนโลยี 3D Printing ทํ า ให้ ผู้ ออกแบบ สามารถเห็นชิ ้นงานที่ออกแบบได้ ก่อนการผลิตจริ ง สามารถ ตรวจสอบและปรับปรุ งแก้ ไขแบบให้ สมบูรณ์ ก่อนส่งต่อไป ยังกระบวนการผลิตในลําดับถัดไป ซึง่ จะช่วยลดข้ อผิดพลาด ในการผลิตและการใช้ งานจริ ง ส่งผลให้ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผา่ นมา บริ ษัทชันน� ้ ำของโลกหลายบริ ษัท เริ่ มใช้ เทคโนโลยี 3 มิตริ ่วม ในการผลิตมากขึ ้น อาทิ กลุม่ บริ ษัท Unilever ที่น�ำเทคโนโลยี 3 มิติมาใช้ ในการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ต้นแบบ ซึง่ สามารถ ลดระยะเวลาในการผลิตได้ ถึงร้ อยละ 40 เมื่อเทียบกับการ ผลิตแบบเดิม แถมยังช่วยให้ บริ ษัทฯ สามารถออกแบบบรรจุ ภัณฑ์ใหม่ๆ และผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพือ่ ตอบสนองความต้ องการ ของผู้บริ โภคได้ รวดเร็ วยิ่งขึ ้น เช่นเดียวกับ Ford ที่ลงทุนสร้ าง โรงงานเพื่อรองรับการใช้ เทคโนโลยี 3 มิติ พร้ อมลงทุนวิจยั และพัฒ นาเทคโนโลยี ดัง กล่ า วอย่ า งจริ ง จัง โดยหวัง ว่ า เทคโนโลยีนี ้จะช่วยย่นระยะเวลาในการพัฒนารถยนต์รุ่นใหม่ ของ Ford และท�ำให้ มีสนิ ค้ าวางตลาดจ�ำหน่ายได้ เร็ วขึ ้น

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

067


PRINT TECHNOLOGY

เทคโนโลยี 3D PRINTING เปลี่ยนโฉมการผลิตและการค้าโลกในอนาคต

พึง่ ช่างฝี มอื เท่านันในการขึ ้ ้นรูป ด้ วยเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิตนิ ี ้ ก็จะช่วยให้ การสร้ างชิ ้นงานดังกล่าวนันเป็ ้ นไปได้ เหล่ า นี ค้ ื อ คุณ ลัก ษณะของผลิ ต ภัณ ฑ์ หัต ถกรรม แบบประณีตหรื อหัตถกรรมชันสู ้ ง ซึง่ จะไม่พบในผลิตภัณฑ์ เชิงอุตสาหกรรมทีผ่ ลิตโดยเครื่องจักรในระบบ mass production ที่ส่งผลให้ ผลิตภัณฑ์จ�ำต้ องมีรูปลักษณ์เรี ยบง่าย และ สามารถผลิตได้ ในระบบสายพานการผลิต ในแวดวงการออกแบบเครื่ องแต่งกาย นับเป็ นบริ บท ที่งานหัตถกรรมและแนวคิดของการผลิตในเชิงอุตสาหกรรม คงอยูร่ ่วมกัน มาลองดูกนั ว่า เมื่อน�ำนวัตกรรมการพิมพ์สาม มิตมิ าใช้ จะสามารถเพิ่มโอกาสหรื อสร้ างเงื่อนไขใหม่ๆ ให้ กบั การออกแบบอย่างไรบ้ าง

ทางด้ านอาจารย์ นันทนา บุญลออ อาจารย์ ป ระจ� ำ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบ มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี พระจอมเกล้ าธนบุรี (มจธ.) กล่าวถึงโอกาสใน การสร้ างสรรค์ผลงานการออกแบบที่เครื่ องพิมพ์ 3 มิตสิ ามารถเนรมิตให้ เกิดขึ ้นได้ กอ่ นในเบื ้องต้ น ว่า ศักยภาพของเครื่ องพิมพ์ 3 มิติมีส่วนช่วย ปลดล็อคเรื่ องข้ อจ�ำกัดในด้ านการสร้ างรู ปทรง ทีซ่ บั ซ้ อน และเปิ ดโอกาสให้ นกั ออกแบบสามารถ สร้ างชิ น้ งานแบบ‘มี เ พี ย งชิ น้ เดี ย วในโลก’ได้ โดยยัง คงความเป็ นไปได้ ใ นเชิ ง การผลิ ต เพื่ อ การพาณิชย์ นักออกแบบสามารถสัง่ ผลิตชิ ้นงาน ได้ ในจ�ำนวนน้ อย โดยไม่ต้องสัง่ เป็ นล็อตใหญ่ๆ เหมื อ นการสั่ง ผลิ ต จากโรงงานอุต สาหกรรม สามารถผลิตชิ น้ งานที่ มีความซับซ้ อนในด้ าน รูปทรงทีน่ กั ออกแบบปรารถนา แต่อาจจะไม่เคย ผลิตได้ ด้วยเครื่ องจักรอุตสาหกรรม จ�ำเป็ นต้ อง

068

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


เทคโนโลยี 3D PRINTING เปลี่ยนโฉมการผลิตและการค้าโลกในอนาคต

PRINT TECHNOLOGY

อย่างละเอียดแล้ ว จะพบว่า มีความเป็ นแฟชัน่ ชันสู ้ งไม่แพ้ งาน ที่ท�ำจากหัตกรรมเย็บปั กขันสู ้ งฝี มือมนุษย์เลย Van Herpen ยอมรับว่า ในฐานะคนท�ำงานด้ านแฟชัน่ เธอยกย่อ งและเห็ น คุณ ค่า ของการสร้ างงานด้ ว ยฝี มื อ คน ในขณะที่การใช้ คอมพิวเตอร์ ‘พิมพ์ ’ชิน้ งานออกมาเลยนัน้ เป็ นการผลักดันคนออกไปจากกระบวนการสร้ างสรรค์ ชิน้ งาน อย่างไรก็ตาม เครื่ องพิมพ์ 3 มิตินัน้ มอบโอกาสใน การสร้ างสรรค์ ที่มากขึน้ เพราะนอกจากช่วยให้ การสร้ าง แต่ละองค์ประกอบเป็ นไปได้ อย่างอิสระ มีขนาดและรู ปทรง

นั่ น คื อ นั ก ออกแบบเครื่ อ งแต่ ง กาย ชาวเนเธอร์ แลนด์ Iris Van Herpen ใช้ เทคโนโลยี การพิมพ์ 3 มิติ ในงานออกแบบเสื ้อผ้ าที่นิยาม ว่า เป็ น Tech-couture หรื อ การประสานกัน ของ technology และความเป็ นแฟชั่นชัน้ สูง เน้ นทักษะฝี มือในการตัดเย็บชันสู ้ ง และบางครัง้ ในแบบฉบับดังเดิ ้ ม (Haute couture) ผลงาน ที่เป็ นภาพจดจ�ำของสาธารณะ มีรูปลักษณ์ที่ดู เหมือนหลุดมาจากนิยายวิทยาศาสตร์ (science fiction) หรื อ หลุด โลก โดยมี เ ลดี ก าก้ าและ เฉพาะตัวแล้ ว กระบวนการ ‘เขียนแบบ’ เสื ้อผ้ าเหล่านันขึ ้ ้น บียอร์ ค 2 ศิลปิ นผู้น�ำเสื ้อผ้ าของเธอมาสวมใส่ใน มาโดยใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ยังเปิ ดโอกาสให้ เธอได้ ค้นพบ การแสดงคอนเสิร์ตเป็ นผู้รับประกัน เมือ่ พิจารณา รูปทรง และ movement effect ของเสื ้อผ้ าขณะอยูบ่ นเรื อน ร่างของผู้สวมใส่ ซึง่ เป็ นสิง่ ที่ Van Herpen ให้ ความสนใจมาก เพราะยังไม่เคยมีมาก่อนได้ อีกด้ วย อาจารย์ นั น ทนา กล่ า วว่ า มองอย่ า งคนโลก สวย นวัตกรรมการพิมพ์ 3 มิตจิ ะช่ วยให้ คนเราเข้ าถึง งานที่มี ‘คุณลักษณะ’ ของความเป็ นหัตถกรรมได้ ง่าย ขึน้ มิได้ จำ� กัดอยู่เฉพาะคนเพียงบางกลุ่ม ท�ำให้ คนได้ มีโอกาสได้ เสพย์ และชื่นชมผลงานที่เต็มไปด้ วยศิลปะ และจินตนาการ มากกว่ าจะถูกก�ำกับด้ วยความจ�ำกัด ของเครื่ องจักรที่ผลิตมันขึน้ มา ผลงานบางส่วนมาจากชุดการแสดงแฟชัน่ โชว์ชดุ ‘Voltage’ Spring Summer 2013 collection ในงาน Paris Fashion Week เครดิ ตภาพ (1) http://www.3ders.org (2) http://senatus.net THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

069


SPECIAL REPORT

‘ส.วิบูลย์กิจ’ ปิดนิตยสารการ์ตูนญี่ปุ่น Viva Friday อยู่คู่คนไทย 21 ปี ปรับตัวเจาะตลาดอ่านผ่าน e-book

คุณพิ ธูร ตีรพัฒนพันธ์

ท�ำเอาแฟนการ์ตนู “โอตาคุน่องเหล็ก” และ “โอซาว่า ฮายกครัว” หรือทีร่ ้ จู กั ในนาม “ครอบครัว ตัวฮอ” ดราม่าร้ องไห้หนักไปตามๆ กัน เมือ่ เห็นข่าว ทีถ่ กู แชร์ กระหน�ำ่ ในโลกอินเตอร์ วา่ “ส�ำนักพิมพ์ วิบลู ย์ กจิ ” ประกาศยุตกิ ารตีพมิ พ์นติ ยสารการ์ตนู ญีป่ นุ่ Viva Friday ซึง่ พิมพ์ออกจ�ำหน่ายเป็ นราย สัปดาห์อยูค่ แู่ ฟนการ์ตนู มานานถึง 21 ปี และนับว่า เป็ นการ์ตนู ลิขสิทธิเ์ ล่มแรกของประเทศไทย โดยข้ อความที่ ท าง “ส� ำ นั ก พิ ม พ์ วิบลู ย์กจิ ” โพสต์บนเฟสบุ๊คของตัวเองหัวเรื่อง “ประกาศยุตกิ ารตีพมิ พ์นติ ยสาร VIVA! FRIDAY” ระบุว่า เรียนผู้อ่านทุกท่าน เรามี เรื ่ องส� ำคั ญ มาประกาศครั บ นิ ตยสาร VIVA! FRIDAY no.28/2015 ที ่จะ ออกวางตลาดในวันจันทร์ ที่ 27 ก.ค. 2558 นีจ้ ะ เป็ นฉบับสุดท้ายแล้วครับ

070

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


‘ส.วิบูลย์กิจ’ ปิดนิตยสารการ์ตูนญี่ปุ่น Viva Friday อยู่คู่คนไทย 21 ปี ปรับตัวเจาะตลาดอ่านผ่าน e-book

นิ ตยสาร VIVA! FRIDAY ฉบับสุดท้าย โดยสาเหตุที่เ ราจะต้อ งยุติ ก ารตี พิ ม พ์ เนื ่อ งจาก ปั ญหาในการด� ำเนิ นการผลิ ตและสภาพเศรษฐกิ จ หลายอย่ า ง ส� ำหรั บ ท่ า นสมาชิ กนิ ตยสาร VIVA! FRIDAY ทีย่ งั มีอายุสมาชิ กเหลืออยู่ เราจะท�ำการส่งจดหมาย แจ้งการเปลี ่ยนแปลงอายุสมาชิ กไปหาทุกท่านครับ การ์ ตูน เรื ่องต่าง ๆ ในนิ ตยสาร VIVA! FRIDAY นัน้ เราจ� ำเป็ นต้อง หยุดการตีพิมพ์ฉบับรวมเล่มของการ์ ตนู หลายเรื ่องในนิตยสาร รวมไปถึงการ์ ตูนเรื ่ องอื ่น ๆ ของค่ายอาคิ ตะโชเต็นไประยะ หนึ่งก่อน แต่แน่นอนว่าเราจะพยายามแก้ไขปั ญหาทีม่ ี เพือ่ ให้เรื ่องต่าง ๆ ที ค่ า้ งอยู่ สามารถออกวางตลาดต่อไปได้ใน อนาคตอันใกล้ อย่างไรก็ตาม ยังคงมีหนังสือรวมเล่มของค่ายอาคิตะ โชเต็นทีจ่ ะออกวางจ� ำหน่ายได้ตามปกติ อยู่ 3 เรื ่อง ประกอบ ด้วย CROWS ZERO II, DROP คนดิ บ ภาค OG และ มหาสงคราม BASARA3 ภาคเทพวิ บตั ิ สุดท้ายนี ้เราขอขอบคุณแฟน ๆ นิ ตยสาร VIVA! FRIDAY ที ่ ติ ด ตามอ่ า นกัน มาตลอดระยะเวลาหลายปี หากมี ความคื บหน้าเกี ่ยวกับหนังสื อรวมเล่มของเรื ่องต่าง ๆ เราจะรี บแจ้งข่าวให้ทราบทันที

SPECIAL REPORT

ทั ง้ นี ้ คุ ณ พิ ธู ร ตี ร พั ฒ น พั น ธุ์ บรรณาธิการ ส�ำนักพิมพ์ วบิ ลู ย์ กจิ ออกมาให้ สัมภาษณ์ ว่า ปั จจุบนั มีการ์ ตูนละเมิดลิขสิทธิ์ หาอ่ า นได้ ฟ รี ท างอิ น เทอร์ เ น็ ต มากขึน้ ท� ำ ให้ คนซื ้อนิตยสารน้ อยลง ยอดขายจึงลดต่อเนื่อง จนแบกรับต้ นทุนการพิมพ์และค่าลิขสิทธิ์ไม่ไหว โดยส�ำนักพิมพ์เคยผลิตนิตยสารการ์ ตนู รายสัปดาห์ 9 ฉบับ แต่ปัจจุบนั เหลือ 3 ฉบับ ส่ ว นนิ ต ยสารการ์ ตู น รายเดื อ นหายไปจาก ประเทศไทยแล้ ว เพราะไม่ทันใจผู้อ่านที่ต้อง อดใจรอนานนับเดือน ส่วนการ์ ตนู รวมเล่มก็มี ยอดขายลดลงเช่นกัน ส�ำหรับทางออกทีส่ ำ� นักพิมพ์ทดลองมา แล้ ว 1 ปี คือการขายการ์ ตนู แบบ e-book ผ่านทัง้ แอพลิเคชัน่ วิบลู ย์กิจผ่านระบบ AIS และ TRUE ราคาขายโดยเฉลี่ยต่อเล่มคือ 35-40 บาท โดย ทางส�ำนักพิมพ์จะได้ สว่ นแบ่งเล่มละ 7-8 บาท รายรับที่เหลือแบ่งให้ ต้นสังกัดและผู้ให้ บริ การ

จึงเรี ยนมาเพือ่ ทราบ ส�ำนักพิ มพ์วิบูลย์กิจ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

071


SPECIAL REPORT แ

‘ส.วิบูลย์กิจ’ ปิดนิตยสารการ์ตูนญี่ปุ่น Viva Friday อยู่คู่คนไทย 21 ปี ปรับตัวเจาะตลาดอ่านผ่าน e-book อ

อย่ างไรก็ดี ทางส�ำนักพิมพ์ ฯ ยังไม่ ทงิ ้ สื่อสิ่งพิมพ์ ซะทีเดียว เพราะหากหนังสือการ์ ตูนเล่ มไหนยอดขาย ผ่ านการดาวน์ โหลดไปได้ ดอี ย่ าง คินดะอิจิ หรื อ โคนัน ก็จะตีพมิ พ์ ในฉบับรวมเล่ มอย่ างแน่ นอน ส่ วนเรื่องที่ไม่ ดังอาจต้ องรอนานกว่ าเดิม และหวังว่ านักอ่ านจะเข้ าใจ ส�ำนักพิมพ์ ที่ต้องปรั บกลยุทธ์ เพื่อเอาตัวรอดให้ ได้ ใน ภาวะเศรษฐกิจเช่ นนี ้

แอพพลิเคชันที่เกี่ยวข้ อง ซึง่ ระบบนี ้ท�ำให้ ส�ำนัก พิมพ์ตดั ภาระเรื่ องค่าพิมพ์และจัดส่งได้ ทงหมด ั้ สิ่งที่จะดึงให้ ผ้ ูโหลดการ์ ตูนละเมิด ลิขสิทธิ์หันมาซือ้ e-book คือคุณภาพของ ภาพที่ดกี ว่ า และ e-book ยังไม่ เข้ มงวดเรื่ อง การเซ็นเซอร์ เท่ าสิ่งพิมพ์ เพราะใช้ กฎหมาย ควบคุมที่แตกต่ างกัน ทังนี ้ ้ ส�ำนักพิมพ์วิบลู ย์กิจมีการ์ ตนู 300 กว่าเรื่ องที่ซื ้อลิขสิทธิ์มา ขณะนี ้อยูใ่ นระบบอีบ๊ คุ แล้ วประมาณ 70 เรื่อง และตังเป ้ ้ าอัพโหลดเพิม่ ให้ มากทีส่ ดุ ภายใน 3 ปี ขณะเดียวกัน นิตยสารการ์ตนู ก็ จ ะหายไป และลดการผลิ ต หนัง สื อ การ์ ตูน

072

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


‘ส.วิบูลย์กิจ’ ปิดนิตยสารการ์ตูนญี่ปุ่น Viva Friday อยู่คู่คนไทย 21 ปี ปรับตัวเจาะตลาดอ่านผ่าน e-book

SPECIAL REPORT

“ส�ำนักพิมพ์ วบิ ลู ย์ กจิ ” ยักษ์ ใหญ่ หนังสือการ์ ตนู ญี่ปุ่นในไทย เดิ ม ที “ส� ำ นั ก พิ ม พ์ วิ บู ล ย์ กิ จ ” เคยเป็ นผู้ น� ำ ตลาดหนั ง สื อ การ์ ตู น ในยุ ค ที่ ลิ ข สิ ท ธิ์ ไ ม่ เ ข้ ม งวดมากนัก มี ห นัง สื อ การ์ ตูน รายสัปดาห์หลายหัว เช่น เดอะซีโร่ (the Zero), อนิเมทวีคลี่ (AnimateWeekly), วีคลีส่ เปเชียล (Weekly -Special) และหนัง สื อ การ์ ตูน ฮี โ ร่ ร ายสัป ดาห์ ที่ ไ ด้ รั บความนิยมอย่างสูงอย่าง ทีวีไลน์ และนิตยสารเกม การ์ ตูนเล่มทีอ่ อกจ� ำหน่าย 28 ก.ค.2558 ออนไลน์ เมก้ า ภายหลัง ได้ เ ป็ นค่ า ยการ์ ตูน ค่ า ยแรกๆ ในประเทศ ที่หนั มาซื ้อลิขสิทธิ์การ์ ตนู อย่างถูกต้ องจากต้ น สังกัดในประเทศญี่ปนุ่ ว่ากันว่า “ส�ำนักพิมพ์วบิ ลู ย์กจิ ” ได้ ถอื สิทธิ์ของการ์ ตนู ญี่ ปุ่นไว้ เป็ นจ�ำนวนมาก และหลายเรื่ องก็เป็ นที่ร้ ู จักกันใน หมูน่ กั อ่านการ์ ตนู ชาวไทย เช่น ข้ าชื่อโคทาโร่, โคนัน, GTO, คุณครูจอมเวทย์ เนกิมะ , ล่าอสูรกาย, เซนต์เซย์ยา่ , จอมคน แดนฝั น เป็ นต้ น แต่ผลงานการ์ ตนู ที่ประสบความส�ำเร็ จทาง ด้ านยอดขายสูงสุดได้ แก่ ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน ในอดีต “ส�ำนักพิมพ์วบิ ลู ย์กิจ” ปฏิเสธทีจ่ ะท�ำหนังสือ การ์ ตูนเล่มทีอ่ อกจ� ำหน่าย 10 ส.ค.2558 การ์ ตนู รายสัปดาห์แบบเล่มใหญ่ และใช้ วิธีอ่านจากหลังไป หน้ าแบบญี่ปนุ่ ท�ำให้ ไม่สามารถขอลิขสิทธิ์การ์ ตนู บางเรื่ อง ที่ส�ำนักพิมพ์ค่อนข้ างเข้ มงวดกับรู ปเล่มได้ แต่ ปั จ จุบัน ได้ เ ริ่ ม ตี พิ ม พ์ โ ดยใช้ วิ ธี อ่า นจากหลัง ไปหน้ าแล้ ว โดยการ์ ตนู ญี่ปนเรื ุ่ ่ องแรกที่ตีพิมพ์ แบบจากหลังไปหน้ าคือ ซึบาสะ สงครามเทพ ข้ ามมิติ จากนิตยสาร KC.Trio เนื่องจากทาง ต้ นฉบับต้ องการให้ คงภาพและวิธีอ่านไว้ โดย ท�ำให้ ปัจจุบนั นิตยสารการ์ ตูนญี่ ปุ่นทัง้ หมดใช้ สัญญาของทางญี่ปนเป็ ุ่ นหลัก โดยเป็ นข้ อตกลง ทางการค้ าและลิขสิทธิ์ท�ำให้ ต้องพิมพ์และวาง จ�ำหน่ายหนังสือจากญี่ปนุ่ โดยวิธีการอ่านแบบ ญี่ปนเท่ ุ่ านัน้ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

073


PRINT REPORT

‘ซีพีเอฟ’ เปิดตัวบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก PLA ประเดิมใช้กลุ่มอาหารสดแช่เย็น

“ซีพีเอฟ”สร้ างมิติใหม่ ให้ ผ้ ูบริ โภคหันมาใส่ ใจ สิ่งแวดล้ อม เปิ ดตัวบรรจุภัณฑ์ รักษ์ โลก “Poly Lactic Acid” (PLA) ภายใต้ โครงการ “นวัตกรรมบรรจุภัณฑ์ เพื่อความยั่งยืน” (Sustainable Packaging Innovation) นับเป็ นครัง้ แรกที่ซพ ี เี อฟได้ เลือกใช้ นวัตกรรมพลาสติก ชีวภาพมาใช้ กบั สินค้ าแช่ เย็นกลุ่มอาหารสด น�ำร่ องด้ วย การใช้ กับผลิตภัณฑ์ เนือ้ ไก่ สดซีพี ผู้บริโภคจึงมั่นใจใน ความปลอดภัยและเป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม คุ ณ กุ ห ลาบ กิ ม ศรี ผู้ ช่ ว ยกรรมการผู้ จั ด การ ส�ำนั กระบบมาตรฐานสากล บริ ษัท เจริ ญโภคภัณฑ์ อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) หรื อซีพีเอฟ กล่าวว่า ที่ผ่าน มาซีพเี อฟได้ ดำ� เนินโครงการผลิตภัณฑ์ซพี เี อฟทีย่ งั่ ยืน (CPF’s Product Sustainability) อย่างหลากหลาย โดยนอกจาก การมุ่ง พัฒ นาผลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ ยั่ง ยื น เพื่ อ น� ำ เสนอผลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ มี คุ ณ ค่ า เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

074

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

คุณกุหลาบ กิ มศรี


‘ซีพีเอฟ’ เปิดตัวบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก PLA ประเดิมใช้กลุ่มอาหารสดแช่เย็น

แก่ ผ้ ู บริ โ ภคแล้ ว ยั ง ให้ ความสนใจกั บ การ ออกแบบพัฒนาและเลือกใช้ บรรจุภณ ั ฑ์เพื่อลด ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อม โดยน� ำ นวัต กรรมบรรจุ ภัณ ฑ์ สี เ ขี ย ว ที่ ผ ลิ ต จากพื ช ที่ เ รี ย กว่ า Ingeo จากบริ ษั ท เนเจอร์ เวิร์คส์ เอเชีย แปซิฟิค จ�ำกัด ผู้ผลิต เม็ดพลาสติกชีวภาพระดับโลก ในชื่อที่เรี ยกว่า Poly Lactic Acid (PLA) ซึง่ เป็ นวัสดุธรรมชาติ ที่ท�ำมาจากพืช สามารถย่อยสลายเองได้ มา ใช้ กับผลิตภัณฑ์ เนือ้ ไก่สดซีพี เพื่อให้ มั่นใจได้ ว่า ผลิต ภัณ ฑ์ มี ค วามยั่ง ยื น ตลอดวัฏ จัก รชี วิ ต (Product Life Cycle) และเป็ นทางเลื อ ก ให้ ผ้ บู ริ โภคยุคใหม่ใส่ใจสิ่งแวดล้ อม มีสว่ นร่ วม ในการตัดสินใจเลือกซือ้ สินค้ าที่คิดค้ นมาเพื่อ ความยัง่ ยืน “บรรจุภณ ั ฑ์ คื อหนึ่ งในสาเหตุส�ำคัญ ของปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ยิ่ งเราบริ โภคสิ นค้าเพิ่ ม มากขึ้น ก็ย่อมมีการใช้บรรจุภณ ั ฑ์ทีห่ อ่ หุม้ สินค้า เพิ่ มมากขึ้นตามไปด้วย บรรจุภณ ั ฑ์ทีเ่ ราใช้จาก การบริ โภคทั้ง หลายเหล่ า นี ้ไ ด้ก ลายเป็ นขยะ ทีเ่ พิ่มมากขึ้นทุกวัน ยิ่ งไปกว่านัน้ หากบรรจุภณ ั ฑ์

PRINT REPORT

ถู ก ก� ำ จัด ผิ ด วิ ธี ก็ จ ะกลายเป็ นแหล่ ง มลพิ ษ และสร้ า ง ผลกระทบต่ อ สิ่ งแวดล้ อ มตามมา ซี พี เ อฟ ตระหนั ก และห่ ว งใยถึ ง ปั ญ หาดัง กล่ า ว จึ ง ได้ พ ัฒ นาบรรจุ ภ ัณ ฑ์ นวัต กรรมใหม่ ส ามารถย่ อ ยสลายเองได้ ต ามธรรมชาติ ผู้บ ริ โภคจึ ง มั่น ใจได้ว่ า ถ้า คุณ เลื อ กผลิ ต ภัณ ฑ์ เ นื ้อ ไก่ ส ด ซี พี บรรจุภณ ั ฑ์ ทีเ่ ราใช้ นอกจากคุณภาพและปลอดภัยแล้ว ยังจะย่อยสลายกลับคืนสู่ธรรมชาติ ไม่สร้างผลกระทบต่อสิ่ ง แวดล้อมแน่นอน ถือเป็ นผลิ ตภัณฑ์น�ำร่ องตัวแรกของแบรนด์ ซี พีทีต่ งั้ ใจให้ผบู้ ริ โภคได้มีสว่ นร่ วมในการสร้างเส้นทางสีเขี ยว ไปด้วยกัน” คุณกุหลาบ กล่าว นวั ต กรรมพลาสติ ก ชี ว ภาพ PLA ที่ น� ำ มาใช้ เป็ นบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ เหมาะกั บ สิ น ค้ าแช่ เ ย็ น ซี พี เอฟ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

075


PRINT REPORT

‘ซีพีเอฟ’ เปิดตัวบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก PLA ประเดิมใช้กลุ่มอาหารสดแช่เย็น

จึงเลือกใช้ ในกลุม่ อาหารสด ได้ แก่ เนื ้อไก่ เนื ้อหมู โดยในช่วง 1 การลดลงของคาร์ บอนฟุตพริ น้ ต์ อย่ างต่ อ ปี แรกวางแผนจะใช้ บรรจุภณ ั ฑ์ PLA ประมาณ 9,000,000 ชิ ้น เนื่องและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของซีพเี อฟให้เป็ น คาดว่ า จะมี ก ารปล่ อ ยค่ า คาร์ บ อนฟุ ต พริ น้ ต์ เ หลื อ เพี ย ง ผลิตภัณฑ์ ท่ยี ่ งั ยืน 52 ตัน (tonCO2eq) เมื่อเทียบกับบรรจุภณ ั ฑ์เดิมที่ท�ำมา จาก PET ซึ่งเป็ นพลาสติกจากปิ โตรเลียมที่มีการปล่อยค่า คาร์ บอนฟุตพริ น้ ต์ประมาณ 326 ตัน (tonCO2eq) ช่วยลด การปล่อยก๊ าซเรื อนกระจกได้ ถงึ 82 % หรื อ 274 ตัน (ton CO2eq) เที ย บเท่ า กับ การปิ ดไฟจ� ำ นวน 12 ล้ า นดวง เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง เท่ากับว่าผู้บริ โภคที่ได้ เลือกใช้ บรรจุภณ ั ฑ์ นี ้มีสว่ นร่วมลดโลกร้ อนด้ วย บรรจุภัณ ฑ์ ที่ ยั่ง ยื น ตามนโยบายของซี พี เ อฟ คื อ บรรจุภัณ ฑ์ ที่ มี คุณ สมบัติ ดี ต่อ การถนอมรั กษาผลิตภัณฑ์ ให้ มีคณ ุ ภาพดี ท�ำให้ อาหารปลอดภัยต่อการบริ โภค โดย บรรจุภณ ั ฑ์ เหล่านัน้ ต้ องไม่มีสารที่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ และต้ องเป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อม เช่น บรรจุภณ ั ฑ์ทอี่ อกแบบโดย การใช้ วสั ดุและพลังงานให้ น้อยลง (Reduce) ออกแบบให้ มี การใช้ ซ� ้ำ (Reuse) รีไซเคิล (Recycle) ผลิตจากวัสดุธรรมชาติ ย่อยสลายได้ หรือการใช้ วสั ดุทสี่ ามารถสร้ างทดแทนได้ นอกจากนี ้ ซีพเี อฟยังมีแผนการรณรงค์ ลดก๊ าซ เรื อนกระจกอย่ างต่ อเนื่อง ผ่ านโครงการต่ าง ๆ ที่เน้ น การใช้ ทรั พยากรอย่ างมีประสิทธิภาพ ส่ งผลโดยตรงต่อ

076

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


‘ซีพีเอฟ’ เปิดตัวบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก PLA ประเดิมใช้กลุ่มอาหารสดแช่เย็น

PLA นวัตกรรมจากสหรั ฐอเมริกา พอลีแลคติคแอซิด (Polylactic Acid) หรื อ PLA ใช้ วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต ที่ ม าจาก ทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ ้นใหม่ได้ (renewable resource) ซึง่ ได้ แก่พืชที่มีแป้งเป็ นองค์ประกอบ หลัก เช่น ข้ าวโพด และมันส�ำปะหลัง โดยมี กระบวนการผลิตเริ่ มต้ นจากการบดหรื อโม่พืช นันให้ ้ ละเอียดเป็ นแป้ง จากนันท� ้ ำการย่อยแป้ง ให้ ได้ เป็ นน� ้ำตาล แล้ วน�ำไปหมัก (fermentation) ด้ วยจุลนิ ทรี ย์เกิดเป็ น Lactic Acid ซึง่ มีกรรมวิธี คล้ ายกับการหมักเบียร์ จากนันน� ้ ำ Lactic Acid ที่ ได้ ไปผ่านกระบวนการทางเคมี เพื่ อเปลี่ยน โครงสร้ างให้ เป็ นสารใหม่ที่มีโครงสร้ างทางเคมี เป็ นวงแหวนเรี ยกว่า lactide หลังจากนันน� ้ ำมาก ลั่นในระบบสุญญากาศเพื่อเปลี่ยนโครงสร้ าง ได้ เป็ นโพลิเมอร์ ของ lactide ที่เป็ นสายยาวขึ ้น เรี ยกว่า Polylactic Acid (PLA) ซึง่ การก�ำหนด

PRINT REPORT

ความยาวของสายโพลิเมอร์ ให้ ได้ ตามที่ต้องการจะเป็ นสิ่ง ที่ท�ำให้ คณ ุ สมบัตขิ อง PLA เปลีย่ นไปตามลักษณะการใช้ งาน ทังนี ้ ้ PLA สามารถน�ำไปเป็ นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์ พลาสติ ก ได้ เช่ น เดี ย วกั บ เม็ ด พลาสติ ก จากปิ โตรเลี ย ม อีกทัง้ PLA ยังมีคณ ุ สมบัตพิ ิเศษคือมีความใส ไม่ยอ่ ยสลาย ในสภาพแวดล้ อมทั่วไป แต่สามารถย่อยสลายได้ เองเมื่อ น�ำไปฝั งกลบในดิน ประเทศสหรั ฐอเมริ กาซึ่งเป็ นหนึ่งในประเทศผู้น�ำ ด้ านวิทยาการและเทคโนโลยีด้านต่างๆ ได้ ก้าวเป็ นผู้น�ำการ ผลิตพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้ โดยเริ่ มตังแต่ ้ การประสบ ความส�ำเร็ จในการผลิตเม็ดพลาสติกชีวภาพย่อยสลายได้ ใน ระดับอุตสาหกรรม เช่น บริษทั CargillDow หรือ Natureworks ได้ ใช้ ข้าวโพดเป็ นวัตถุดิบเพื่อผลิตกรดแลคติกและพอลีแลค ติคแอซิด (Polylactic Acid -PLA) THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

077


PRINT NEWS

‘เอสซีจี แพคเกจจิ้ง’ โชว์รายได้ ครึ่งปีทะลุ 34,283 ล้าน

“เอสซีจี แพ็คเกจจิง้ ”โชว์ รายได้ ไตรมาส 2 ทะลุ 17,172 ล้ าน รวมครึ่งปี 34,283 ล้ าน ขณะ ที่ภาพรวม “เอสซีจี” มีก�ำไรเพิ่มขึน้ จากธุ รกิจ เคมี ภั ณ ฑ์ ที่ มี ม าร์ จิ น้ ในตลาดโลกเพิ่ ม สู ง ขึ น้ เชื่อมั่นครึ่ งปี หลังเศรษฐกิจฟื ้ นตัวจากโครงการ ภาครั ฐ ส่ วนโครงการลงทุนในอาเซียนรุ ดหน้ า ตามแผน เตรี ยมจ่ ายเงินปั นผล 7.5 บาทต่ อหุ้น คุ ณ กานต์ ตระกู ล ฮุ น กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ เอสซี จี เปิ ดเผยว่า เอสซี จี แพคเกจจิ ง้ มีรายได้ จากการขายในไตรมาสที่สอง 17,172 ล้ าน บาท เพิ่มขึน้ ร้ อยละ 8 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน แต่ใกล้ เคียงกับไตรมาสก่อน มีก�ำไร 764 ล้ านบาท ลดลงร้ อยละ 14 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน และ ลดลงร้ อยละ 13 จากไตรมาสก่ อ น โดย ในครึ่งปี แรกของปี 2558 รายได้ จากการ ขายเท่า กับ 34,283 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึน้ ร้ อยละ 8 จากช่วงเดียวกันของ ปี ก่อน ซึ่งปริ มาณการขายที่เพิ่มขึ ้น มาจากทั ง้ สายธุ ร กิ จ บรรจุ ภั ณ ฑ์ และสายธุรกิ จเยื่อและกระดาษ มีก�ำไร 1,642 ล้ านบาท ลดลงร้ อยละ 23 จากช่วงเดียวกัน ของปี ก่อน จากค่าเสื่อมราคาและต้ นทุนทางการเงิน ที่เพิ่มขึ ้น

078

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


‘เอสซีจี แพคเกจจิ้ง’ โชว์รายได้ ครึ่งปีทะลุ 34,283 ล้าน

PRINT NEWS

คุณกานต์ กล่าวว่า งบการเงินรวมก่อนสอบทานของ เอสซีจี ในไตรมาสที่ สองปี 2558 มี รายได้ จากการ ขาย 113,818 ล้ านบาท ลดลงร้ อยละ 9 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปี กอ่ น แต่เพิม่ ขึ ้นร้ อยละ 4 จากไตรมาส ก่อน มีก�ำไร 13,877 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 63 จาก ช่วงเดียวกันของปี ก่อน และเพิ่มขึน้ ร้ อยละ 25 จาก ไตรมาสก่อน จากการด�ำเนินงานของธุรกิจเคมีภณ ั ฑ์ ทีม่ มี าร์ จิ ้นในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ ้นอย่างมาก อันเนือ่ ง มาจากการปรับตัวลดลงของราคาวัตถุดิบและราคา น� ้ำมัน แม้ วา่ การด�ำเนินงานของธุรกิจซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์ ก่อสร้ างและธุรกิจแพคเกจจิ ้งในประเทศยังคงชะลอตัว แต่กเ็ ริ่มมีสญ ั ญาณของการฟื น้ ตัวในช่วงครึ่งปี หลังจาก โครงการภาครัฐ ส� ำ ห รั บ ผ ล ป ร ะ ก อ บ ก า ร ค รึ่ ง ปี แ ร ก ของ ปี 2558 เอสซีจี มีรายได้ จากการขาย 223,094 ล้ านบาท ลดลงร้ อยละ 10 จาก ช่ วงเดียวกันของ ปี ก่ อ น และมี ก�ำ ไร 24,950 ล้ า นบาท เพิ่ม ขึ น้ ร้ อยละ 48 จากช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน ส่วนธุรกิจของเอสซีจีในอาเซียนนอกเหนือจาก ประเทศไทย ซึง่ รวมรายได้ จากฐานการผลิตและการส่ง ออกไปอาเซียน เอสซีจีมีรายได้ ในไตรมาสที่สองของ ปี 2558 เท่ากับ 25,724 ล้ านบาท ลดลงเล็กน้ อยเมื่อ เทียบกับช่วงเดียวกันของปี กอ่ น จากตลาดวัสดุกอ่ สร้ าง ในประเทศอินโดนีเซียที่ชะลอตัว และการปรับลดลง ของราคาสินค้ าเคมีภณ ั ฑ์ ส�ำหรับในช่วงครึ่งปี แรกของ ปี 2558 มีรายได้ จากการขาย 49,846 ล้ านบาท คิดเป็ น สัดส่วนร้ อยละ 23 ของรายได้ รวม เพิ่มขึ ้นจากสัดส่วน ร้ อยละ 21 จากช่วงครึ่งปี แรกของปี 2557 ทัง้ นี ้ ณ วัน ที่ 30 มิ ถุน ายน 2558 เอสซี จี มี สิ น ทรั พ ย์ ร วมในอาเซี ย นมู ล ค่ า 95,955 ล้ าน บาท หรื อ ร้ อยละ 19 ของสิ น ทรั พ ย์ ร วมของบริ ษั ท เพิ่ ม ขึ น้ จากมู ล ค่ า สิ น ทรั พ ย์ ร วมในอาเซี ย นมู ล ค่ า THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

079


PRINT NEWS

‘เอสซีจี แพคเกจจิ้ง’ โชว์รายได้ ครึ่งปีทะลุ 34,283 ล้าน

76,811 ล้ า นบาท ณ วัน ที่ 30 มิ ถุ น ายน 2557 ขณะที่ สิ น ทรั พ ย์ ร วมทั ง้ หมดของกลุ่ ม เอสซี จี ณ วันที่ 30 มิถนุ ายน 2558 มีมลู ค่า 500,837 ล้ านบาท ด้ า น ผลการด� ำ เนิ น งานในไตรมาสที่ ส อง และครึ่งปี แรกปี 2558 แยกตามรายธุรกิจดังนี ้ เอสซีจี ซิเมนต์ -ผลิตภัณฑ์ ก่อสร้ าง มีรายได้ จากการขายในไตรมาสที่ ส อง 45,663 ล้ า นบาท ลดลงร้ อยละ 2 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อนและลดลง ร้ อยละ 3 จากไตรมาสก่อน มีกำ� ไร 2,896 ล้ านบาท ลดลง ร้ อยละ 16 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อนและลดลงร้ อย ละ 19 จากไตรมาสก่อน ในครึ่งปี แรกของปี 2558 มีราย ได้ จากการขายเท่ากับ 92,744 ล้ านบาท ลดลงร้ อยละ 1 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน มีก�ำไร 6,454 ล้ านบาท ลดลงร้ อยละ 15 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน เอสซี จี เคมิ ค อลส์ มี รายได้ จากการขาย ในไตรมาสที่สอง 53,636 ล้ านบาท ลดลงร้ อยละ 17 จากช่ ว งเดี ย วกัน ของปี ก่ อ น แต่ เ พิ่ ม ขึน้ ร้ อยละ 12 จากไตรมาสก่อน มีก�ำไร 9,182 ล้ านบาท เพิ่มขึน้

080

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

ร้ อยละ 306 จากช่วงเดียวกันของปี กอ่ นและเพิม่ ขึ ้นร้ อย ละ 86 จากไตรมาสก่อน สาเหตุหลักจากมาร์จิ ้นในตลาด โลกที่ปรับตัวสูงขึ ้นมาก เนื่องมาจากการปรับตัวลดลง ของราคาวัตถุดิบและราคาน� ้ำมัน ประกอบกับธุรกิจมี ก�ำไรจากการปรับมูลค่าสินค้ าคงเหลือ ในครึ่งปี แรกของ ปี 2558 มีรายได้ จากการขาย 101,592 ล้ านบาท ลดลง ร้ อยละ 19 เมื่อเทียบกันช่วงเดียวกันของปี ก่อน มีก�ำไร 14,120 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 198 จากช่วงเดียวกัน ของปี ก่อน จากส่วนต่างราคาและส่วนแบ่งก�ำไรจาก เงินลงทุนในบริ ษัทร่วมเพิ่มขึ ้น “ในช่ ว งครึ่ งปี แรก ตลาดปู น ซี เมนต์ ใน ประเทศได้รับอานิ สงส์จากมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิ จ ซึ่ งขอขอบคุณรัฐบาลที ท่ �ำให้ความต้องการปูนซี เมนต์ ปรับตัวดี ขึ้น จากที ่ติดลบมาตลอดนับตัง้ แต่ไตรมาส ที ส่ ามของปี ก่อนจนถึงไตรมาสที ห่ นึ่งของปี นี ้ ส�ำหรับ ในไตรมาสที ส่ องของปี นี ค้ วามต้องการปรับตัวเพิ่ มขึ้น


‘เอสซีจี แพคเกจจิ้ง’ โชว์รายได้ ครึ่งปีทะลุ 34,283 ล้าน

ร้ อ ยละ 2 เป็ นผลจากโครงการก่ อ สร้ า งภาครั ฐ โตขึ้นร้อยละ 11 และโครงการก่อสร้างเพือ่ การพาณิ ชย์ โตขึ้ น ร้ อ ยละ 1 จากสัญ ญาณการฟื ้ นตัว ดัง กล่ า ว เสริ มกับการเดิ นหน้าผลักดันลงทุนโครงสร้ างพืน้ ฐาน และโครงการขนาดย่อมของภาครัฐอย่างต่อเนือ่ งตาม แผน เชื ่อว่ าโครงการภาครัฐจะช่ วยให้เศรษฐกิ จใน ครึ่ งปี หลังกระเตื ้องขึ้ น และสร้ างความมัน่ ใจให้กับ นักลงทุนมากขึ้น“คุณกานต์ กล่าว ทัง้ นี ้ ตลาดต่างประเทศในไตรมาสนี พ้ บว่า มี ค วามต้ อ งการปูน ซี เ มนต์ เ พิ่ ม ขึน้ สูง อย่า งต่อ เนื่ อ ง เช่ น กัน โดยเฉพาะเมี ย นมาร์ เ พิ่ ม สูง ขึน้ ร้ อยละ 19 และกัมพูช า ร้ อยละ 12 เมื่ อเที ยบกับช่วงเดี ย วกัน ของปี ก่อน เนื่องจากปูนซีเมนต์ของเอสซีจีเป็ นที่นิยม และยอมรับว่ามีคณ ุ ภาพสูง ส�ำหรับการด�ำเนินโครงการ ลงทุน ของเอสซี จี ใ นอาเซี ย นรุ ด หน้ า ตามแผน โดย ขณะนีโ้ รงงานปูนซีเมนต์ในกัมพูชาเริ่ มเดินเครื่ องใน สายการผลิ ต ที่ ส องแล้ ว และโรงงานปูน ซี เ มนต์ ใ น อิ น โดนี เ ซี ย จะเริ่ ม ผลิ ต ในปลายปี นี ้ ส่ว นเมี ย นมาร์ จะแล้ วเสร็ จในปี หน้ าและสปป.ลาวในปี 2560 เพื่อ เร่งตอบสนองความต้ องการของผู้บริ โภคในอาเซียนได้ ทันความต้ องการ อย่ างไรก็ดี สินค้ าและบริการที่มมี ลู ค่ าเพิ่ม (High Value Added-HVA) ในครึ่ งปี แรกของปี นี ้

PRINT NEWS

เอสซีจมี ียอดขายสินค้ า HVA 82,408 ล้ านบาท ลด ลงร้ อยละ 3 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน เนื่ องจากราคาสินค้ าเคมีภัณฑ์ ท่ ีปรั บลดลงค่ อน ข้ างมากแม้ จะมีปริ มาณการขายเพิ่มสูงขึน้ โดย เป็ นสัดส่ วนร้ อยละ 37 ของยอดขายรวม ขณะที่ สินค้ าเป็ นมิตรต่ อสิ่งแวดล้ อมภายใต้ ตราสินค้ า SCG eco value มียอดขาย 59,311 ล้ านบาท เพิ่ม ขึน้ ร้ อยละ 13 เมื่อเทียบกับช่ วงเดียวกันของปี ก่ อน คิดเป็ นสัดส่ วนร้ อยละ 27 ของยอดขายรวม THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

081


PRINT AEC

วิสัยทัศน์และแผนงานประชาคมอาเซียนภายหลังปี 2558

กรมอาเซียน กระทรวงการต่ างประเทศ

082

ภูมหิ ลัง อาเซียนได้ ด�ำเนินการตาม แผนงานการจั ด ตั ง้ ประชาคม อาเซียน ปี 2552-2558 (Roadmap for an ASEAN Community) ซึง่ ได้ รับการรับรองที่การประชุมสุดยอด อาเซียนที่ชะอ�ำ-หัวหิน ในปี 2552 เพื่อให้ อาเซียนบรรลุเป้าหมายการ ร ว ม ตั ว กั น เ ป็ น ป ร ะ ช า ค ม ที่ มี สันติภาพและความมัน่ คง มีความ เจริ ญ รุ่ ง เรื อ งทางเศรษฐกิ จ และ ประชาชนมีคณ ุ ภาพชีวติ ที่ดีภายใน ปี 2558 และภายหลังจากปี 2558 อาเซียนจ�ำเป็ นต้ องมีวิสยั ทัศน์และ แผนงานฉบับ ใหม่ เ พื่ อ ขับ เคลื่ อ น ประชาคมอาเซี ย นให้ มี ค วาม แข็งแกร่งยิ่งขึ ้นต่อไป เมื่ อ ปี 2556 ที่ ป ระชุ ม สุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 23 ณ บันดาร์ เสรี เบกาวัน ได้ ประกาศจะจัดท� ำ วิ สั ย ทั ศ น์ ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น ภายหลังปี 2558 และต่อมาในปี 2557 ที่ ป ระชุ ม สุด ยอดอาเซี ย น

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

ครัง้ ที่ 25 ณ กรุงเนปิ ดอว์ ได้ รับรอง องค์ ประกอบหลั ก (central elements) ของวิสยั ทัศน์ฯ และจัด ำงานระดับสูงเพื่อยกร่ าง ตังคณะท� ้ วิ สัย ทัศ น์ ป ระชาคมอาเซี ย นภาย หลังปี 2558 (High Level Task Force on the ASEAN Community’s Post-2015 Vision : HLTF) ซึ่ง ประกอบด้ ว ยผู้แ ทนระดับ สูง จาก ประเทศสมาชิกอาเซียน รวม 10 คน ผู้แทนไทย ใน HLTF คือ นายสีหศักดิ์ พวงเกตุแก้ ว เอกอัครราชทูต ณ กรุง โตเกียว อดีตปลัดกระทรวงการต่าง ประเทศ และอดีตเจ้ าหน้ าที่อาวุโส ไทยประจ�ำอาเซียน (ASEAN SOM Leader) HLTF มีหน้ าที่ยกร่ างวิสยั ทัศน์ประชาคมอาเซียน ค.ศ. 2025 และแผนงานประชาคมการเมื อ ง และความมัน่ คงอาเซียน (APSC) ทัง้ นี ้ High Level Task ForceEconomic Integration Working Group (HLTF-EI WG) เป็ นกลไกใน


วิสัยทัศน์และแผนงานประชาคมอาเซียนภายหลังปี 2558 การยกร่ า งแผนงานประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน โดยผู้แทนไทย คือ นายธวัชชัย โสภาเสถี ยรพงศ์ อธิ บ ดี ก รมเจรจาการค้ า ระหว่ า ง ประเทศ กระทรวงพาณิ ช ย์ และ High Level Task Force on ASEAN Socio-Cultural Community (HLTF ASCC) เป็ นกลไกในการยก ร่ างแผนงานประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน โดยผู้แทนไทย

คือ นายชินชัย ชี เ้ จริ ญ ที่ปรึ กษา วิชาการพัฒนาสังคม กระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ เมื่อกระบวนการยกร่างแผน งานทังสามเสร็ ้ จสิ ้นแล้ ว HLTF จะ เป็ นผู้รวบรวมแผนงานดังกล่าว เพือ่ เสนอให้ ผ้ นู �ำอาเซียนรับรองระหว่าง การประชุมสุดยอดอาเซียน ครัง้ ที่ 27 ณ กรุ งกัวลาลัมเปอร์ ในเดือน พฤศจิกายน 2558 โครงสร้ างเอกสารวิสัยทัศน์ ฯ เอกสารวิสยั ทัศน์ฯ ประกอบ ด้ วย 1) ปฏิญญากรุงกัวลาลัมเปอร์ ว่าด้ วยวิสยั ทัศน์ประชาคมอาเซียน ค.ศ. 2025 (Kuala Lumpur

PRINT AEC

เสร็ จในปี 2559 เป็ นส่วนหนึ่งของ เอกสารวิสยั ทัศน์ฯ ด้ วยต่อไป

Declaration on ASEAN Community Vision 2025) 2) วิสัยทัศน์ ประชาคมอาเซี ย น ค.ศ. 2025 (ASEAN Community Vision 2025) และ 3) แผนงานประชาคมอาเซียน ทัง้ 3 เสา รวมเป็ น 5 ฉบับ นอกจากนี ้ อาเซียนถือว่า เอกสาร Initiative for ASEAN Integration (IAI) Work Plan III เพือ่ ลดช่ อ งว่ า งด้ านการพั ฒ นาใน อาเซียนและ Post-2015 Agenda on ASEAN Connectivity เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความเชื่ อ มโยงระหว่ า ง ประเทศสมาชิ ก อาเซี ย นและ ระหว่างอาเซียนกับภูมิภาคอื่น ๆ ซึง่ อยูร่ ะหว่างการจัดท�ำ และจะแล้ ว

สาระส�ำคัญและโครงสร้ างของ วิ สั ย ทั ศ น์ ฯ แ ล ะ แ ผ น ง า น ประชาคมอาเซียน วิ สั ย ทั ศ น์ ป ร ะ ช า ค ม อาเซียน ค.ศ. 2025 ระบุภาพรวมของอาเซียน ในอีก 10 ปี ข้ างหน้ าที่จะต้ องมีการ รวมตัวกันอย่างลึกซึ ้งมากขึ ้น ทังใน ้ ด้ านการเมื อ งและความมั่ น คง เศรษฐกิจ และสังคมและวัฒนธรรม โดยประชาคมอาเซียนจะต้ องเป็ น ป ร ะ ช า ค ม ที่ มี ป ร ะ ช า ช น เ ป็ น ศูนย์กลาง โดยภาคส่วนต่าง ๆ มี ส่วนร่วมในการขับเคลือ่ นประชาคม เป็ นประชาคมที่อยู่บนพื ้นฐานของ กฎเกณฑ์ และมองไปข้ างหน้ า (forward-looking) โดยอาเซียน ไม่ควรถดถอยจากที่เป็ นอยู่ในทุก ด้ าน ทังนี ้ ้ วิสยั ทัศน์ฯ ประกอบด้ วย 3 ส่วนส�ำคัญ ได้ แก่

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

083


PRINT AEC

วิสัยทัศน์และแผนงานประชาคมอาเซียนภายหลังปี 2558

1) ความส�ำเร็จในการสร้ าง ประชาคมอาเซี ย น โดยอ้ างอิ ง เอกสารที่ เ ป็ นรากฐานส� ำ คั ญ ของอาเซี ย น อาทิ สนธิ สัญ ญา มิตรภาพและความร่วมมือในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) วิสยั ทัศน์ อาเซียน ค.ศ. 2020 (ASEAN Vision 2020) ปฏิ ญ ญาว่ า ด้ วยความ ร่ วมมือในอาเซียนฉบับที่ 2 (Bali Concord II) กฎบั ต รอาเซี ย น แผนงาน การจั ด ตั ง้ ประชาคม อาเซี ย น ปี 2552-2558 และ ป ฏิ ญ ญ า บ า ห ลี ว่ า ด้ ว ย เ รื่ อ ง ประชาคมอาเซียนในประชาคมโลก (Bali Concord III) 2) วิ สั ย ทั ศ น์ ป ระชาคม อาเซียนในอีก 10 ปี ข้ างหน้ า โดย แบ่งออกเป็ นวิสยั ทัศน์ในภาพรวม (overarching vision) วิสยั ทัศน์ใน ด้ านประชาคมการเมืองและความ มัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน และประชาคมสังคมและ

084

วั ฒ นธรรมอาเซี ย น โดยเน้ น ประชาชนเป็ นศูนย์กลาง ลดความ เหลือ่ มล� ้ำในภูมภิ าค และส่งเสริมให้ มีสงั คมอาเซียนที่เอื ้ออาทร 3) การเสริ มสร้ างความเข้ ม แข็งให้ แก่องค์กรต่าง ๆ ของอาเซียน โดยเฉพาะส�ำนักเลขาธิการอาเซียน และการสนับสนุนการจัดตังหน่ ้ วย งานต่าง ๆ ของอาเซียนในประเทศ สมาชิกอาเซียนให้ มากขึ ้น แผนงานประชาคม การเมืองและความมั่นคงอาเซียน เน้ นการระบุ สิ่ ง ที่ จ ะต้ อ ง ปฏิบตั อิ ย่างเป็ นรูปธรรมต่อไป เพือ่ ให้

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

อาเซียนบรรลุเป้าหมายที่ระบุไว้ ใน วิสยั ทัศน์ฯ โดยมีองค์ประกอบหลัก (characteristics) 4 ประการ ได้ แก่ (1) การเป็ นประชาคมที่อยู่ บนพืน้ ฐานของกฎเกณฑ์ (rulesbased) มี ค่ า นิ ย มร่ ว มกั น เช่ น การส่งเสริ มธรรมาภิบาล และการ เคารพความหลายหลาย และมี ประชาชนเป็ นศูนย์กลาง (people -centred) ซึ่ ง หมายความว่ า ประชาชนเป็ นที่ตงของการพั ั้ ฒนา นโยบายอาเซียน และควรได้ รับผล ประโยชน์อย่างเป็ นรูปธรรมจากการ มีประชาคมอาเซียน


วิสัยทัศน์และแผนงานประชาคมอาเซียนภายหลังปี 2558 (2) การเป็ นประชาคมที่มี ความมั่ น คง เสถี ย รภาพและ สั น ติ ภ าพ สามารถตอบสนอง ต่อความท้ าทายต่างๆ ได้ อย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ น้ ทั ง้ นี ้ โดยยึ ด หลัก การของความมั่น คง อย่างครอบคลุม (comprehensive security) ในการนี ้ ประชาคม อาเซียนควรมีความสามารถในการ แก้ ไขปั ญหาความมัน่ คงในรู ปแบบ เดิ ม และรู ป แบบใหม่ ซึ่ ง รวมถึ ง ปั ญหาอาชญากรรมข้ ามชาติ ปั ญหาผลกระทบทางลบจากการมี ความเชื่ อมโยงมากขึน้ ในภูมิภาค และปั ญหาความมั่นคงทางทะเล เป็ นต้ น ทังนี ้ ้เพื่อให้ เกิดความมัน่ คง และเสถียรภาพในภูมิภาค ซึ่งเป็ น ปั จจัยส�ำคัญของการเจริ ญเติบโต ทางเศรษฐกิจที่ยงั่ ยืนและมีพลวัต (3) การรั ก ษาความเป็ น แกนกลางของอาเซียนใสถาปั ตยกร รมของภูมิภาค และในการด�ำเนิน ความสัมพันธ์กบั ภาคีภายนอก เพื่อ ให้ อาเซียนมีบทบาทน�ำและมีท่าที ร่ วมกันมากยิ่งขึ ้นในเรื่ องที่เป็ นผล ประโยชน์ ร่ ว มกัน ในเวที ร ะหว่ า ง ประเทศ โดยเฉพาะในภูมภิ าคเอเชีย – แปซิฟิก (4) การมีสถาบันและกลไก อาเซียน รวมถึงส�ำนักงานเลขาธิการ อ า เ ซี ย น ที่ เ ข้ ม แ ข็ ง แ ล ะ มี ประสิ ท ธิ ภ าพมากขึ น้ เพื่ อ รองรั บ ภารกิจที่เพิ่มขึ ้น ซึง่ เป็ นผลมาจาก

การรวมตัวเป็ นประชาคม ในการนี ้ ประเทศไทยได้ ผลักดันให้ เป็ นที่ตงของศู ั้ นย์ ต่างๆ ของอาเซี ย น เพื่ อ พั ฒ นาความ ร่ วมมือ ในการแก้ ไขปั ญหาความ มั่ น คงต่ า งๆ ในภู มิ ภ าค เช่ น ส� ำ นัก งานประสานความร่ ว มมื อ ด้ านยาเสพติดอาเซียน (ASEAN NARCO) และศูน ย์ แ พทย์ ท หาร อาเซียน (ASEAN Centre of Military Medicine) เป็ นต้ น แผนงานประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน องค์ประกอบหลัก 5 ด้ าน ของประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น 2025 มีดงั นี ้ องค์ ประกอบหลักที่ 1 : มีการรวมตัวสูง (An Integrated and Highly Cohesive Economy) ประกอบด้ วย การเปิ ดเสรีสนิ ค้ า โดย มุ่ง เน้ นการอ� ำ นวยความสะดวก

PRINT AEC

ทางการค้ า ยกเลิก /ลดมาตรการ ที่ มิใช่ภาษี ปรั บปรุ งกระบวนการ พิ ธี ก ารศุ ล กากร ปรั บ ประสาน มาตรฐานให้ สอดคล้ องกัน การเปิ ด เสรีการค้ าบริการและส่งเสริมสภาพ แวดล้ อมด้ านการลงทุน การเปิ ดเสรี บริ การด้ านการเงินและพัฒนาและ รวมตัวตลาดทุน และการอ�ำนวย ความสะดวกการเคลื่ อ นย้ าย แรงงานทีม่ ฝี ี มอื และนักธุรกิจ เพือ่ ส่ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของประเทศ สมาชิกอาเซียนในห่วงโซ่มลู ค่าโลก องค์ ประกอบหลักที่ 2 : ความสามารถการแข่งขัน นวัตกรรม และพลวัต (Competitive, Innovative and Dynamic ASEAN) มุ่งเน้ น การเสริ มสร้ างขีดความสามารถใน การแข่งขัน นวัตกรรมและ ความ พร้ อมในการรองรับการเปลีย่ นแปลง อ า ทิ น โ ย บ า ย ก า ร แ ข่ ง ขั น การคุ้มครองผู้บริ โภค ทรัพย์สนิ ทาง ปั ญญา การส่ ง เสริ ม นวั ต กรรม

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

085


PRINT AEC

วิสัยทัศน์และแผนงานประชาคมอาเซียนภายหลังปี 2558

เทคโนโลยี ความร่ วมมือด้ านภาษี (taxation issues) การยึ ด หลัก ธรรมาภิบาล ส่งเสริมให้ มกี ฎระเบียบ และหลักปฏิบตั ิที่ดีด้านกฎระเบียบ ที่ มี ป ระสิท ธิ ภ าพ สอดคล้ อ งและ สามารถพร้ อมตอบสนองได้ มากขึ ้น การพัฒ นาเศรษฐกิ จ อย่ า งยั่ง ยื น โดยค�ำนึงถึงทิศทางการเปลีย่ นแปลง ที่ ส�ำคัญของโลก (global mega trends) และประเด็นการค้ าใหม่ ๆ องค์ ประกอบหลักที่ 3 : ขยายการเชื่อมโยงด้ านเศรษฐกิจ และการรวมตัวรายสาขา (Enhancing Economic Connectivity and Sectoral Integration) : มุ่งเน้ น การส่ ง เสริ ม และบู ร ณาการด้ า น

086

การขนส่งในภูมภิ าคเพือ่ ให้ สามารถ เข้ าถึงได้ มีค่าขนส่งที่เหมาะสม มี ประสิทธิภาพ แข่งขันได้ ยัง่ ยืนและ ปลอดภัย เพื่อสนับสนุนการเคลื่อน ย้ า ยสิน ค้ า และประชาชนอย่า งไร้ พรมแดน ส่งเสริ มความร่วมมือด้ าน เทคโนโลยีการสือ่ สารและสารสนเทศ และด้ า นพาณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ รวมทัง้ การเชื่อมโยงด้ านพลังงาน และมุ่งเน้ นการรวมกลุ่มรายสาขา ต่าง ๆ ให้ มีประสิทธิ ภาพมากขึน้ ได้ แก่ การเงิน อาหาร เกษตรและป่ า ไม้ การท่องเที่ยว สุขภาพ เหมืองแร่ และวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี องค์ ประกอบหลักที่ 4 : ครอบคลุมทุกภาคส่วน ยืดหยุน่ และ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

มีประชาชนเป็ นศูนย์กลาง (Resilient, Inclusive, People-Oriented and People Centered ASEAN) มุ่ง สร้ างความเข้ ม เข็ ง แก่ SMEs การเพิ่มบทบาทและการมีสว่ นร่ วม ของภาคเอกชน ความร่ ว มมื อ ระหว่างภาครัฐและเอกชน (PublicPrivate Partnership) การลดช่อง ว่างด้ านการพัฒนา การเข้ าถึงแหล่ง เงินอย่างทัว่ ถึง และการมีสว่ นร่ วม ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในประเด็น/ ข้ อริ เริ่ มด้ านเศรษฐกิจต่าง ๆ องค์ ประกอบหลักที่ 5 : เป็ นส่วนส�ำคัญของประชาคมโลก (Global ASEAN) โดยจั ด ท� ำ แนวทางเชิงยุทธศาสตร์ และมีความ


วิสัยทัศน์และแผนงานประชาคมอาเซียนภายหลังปี 2558

สอดคล้ องกันในการด�ำเนินความ สัมพันธ์ ทางเศรษฐกิจกับภายนอก ภูมภิ าค การทบทวน/ปรับปรุงความ ตกลงการค้ า เสรี ข องอาเซี ย นกับ ประเทศคูเ่ จรจา ส่งเสริ มความเป็ น หุ้นส่วนทางเศรษฐกิจกับประเทศคู่ เจรจาที่มิได้ มี FTA และการมีสว่ น ร่วมกับพันธมิตรทังในระดั ้ บภูมภิ าค และโลก สนับ สนุน ระบบการค้ า พหุภาคีและส่งเสริ มการมีสว่ นร่ วม ในเชิงรุ กในเวทีระดับภูมิภาค รวม ทังส่ ้ งเสริมการมีสว่ นร่วมกับสถาบัน ต่าง ๆ ทังในระดั ้ บโลกและภูมิภาค

แผนงานประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน ร่ า ง เ อ ก ส า ร แ ผ น ง า น ประชาคมสัง คมและวั ฒ นธรรม อาเซียน ประกอบด้ วย 3 ส่วน ดังนี ้ ส่ ว น ที่ 1 บ ท น� ำ (Introduction) กล่ า วถึ ง ความ เ ป็ น ม า แ ล ะ ค ว า ม ส� ำ คั ญ ความก้ า วหน้ า ในการด� ำ เนิ น งาน ปั ญหาอุปสรรคและความท้ าทาย และเป้ าหมายและทิ ศ ทางใน การด� ำ เนิ น งานภายหลัง ปี ค.ศ. 2015

PRINT AEC

ส่ วนที่ 2 คุณลักษณะและ องค์ ประกอบ (Characteristics and Elements) ซึง่ เป็ นส่วนทีส่ าคัญ ที่ สุ ด และประกอบด้ วย 5 องค์ ประกอบ ดังนี ้ A. เกี่ ย วข้ องและเป็ น ประโยชน์ (Engages and Benefits) มุ่ง เสริ ม สร้ างความมุ่ง มั่น การมี ส่วนร่ วม และความรับผิดชอบทาง สังคมของประชาชนอาเซียน ผ่าน กลไกที่สามารถตรวจสอบได้ และมี ความครอบคลุมเพื่อประโยชน์ของ ส่วนรวม ส่งเสริ มความคิดริ เริ่ มที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง แ ล ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่อประชาชนอาเซียน ภายใต้ หลัก การของธรรมาภิบาล B. มี ค วามครอบคลุ ม (Inclusive) มุ่งส่งเสริ มการเข้ าถึง โอกาสอย่างเท่าเทียมกัน ส่งเสริ ม และพิทกั ษ์ สทิ ธิมนุษยชน มุง่ จัดการ กั บ อุ ป สรรคในการเข้ าถึ ง สิ ท ธิ และโอกาสอย่างเท่าเทียมส�ำหรั บ ประชาชนอาเซียน และมุ่งส่งเสริ ม และพิทกั ษ์ สิทธิ มนุษยชนของสตรี

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

087


PRINT AEC

วิสัยทัศน์และแผนงานประชาคมอาเซียนภายหลังปี 2558

เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ แรงงานต่ า งด้ าว [บุ ค คลที่ ไ ม่ มี สถานะทางทะเบียน] กลุม่ ชาติพนั ธุ์ และกลุ่ม ผู้ด้ อ ยโอกาส ตลอดทุก ช่วงวัย C. มีความยั่งยืน (Sustainable) มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริ ม การพั ฒ นาสั ง คมที่ ส มดุ ล และ สิง่ แวดล้ อมอย่างยัง่ ยืน ซึง่ สามารถ ตอบสนองความต้ องการทั ง้ ใน ปั จจุบนั และอนาคตของประชาชน อาเซียน D. มีภมู คิ ้ มุ กัน (Resilient) มุ่ ง ยกระดั บ ความสามารถและ ศัก ยภาพในการปรั บ ตัว และตอบ สนองต่อความเสี่ยงทางด้ านสังคม แ ล ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ภั ย พิ บั ติ ท า ง ธรรมชาติ การเปลี่ ย นแปลงทาง

สภาพภูมิอากาศ เช่นเดียวกับภัย คุ ก คามที่ อุ บั ติ ขึ น้ และความ ท้ าทายต่าง ๆ E. มีพลวัต (Dynamic) มีเป้าหมายในการเสริ มสร้ าง ความสามารถในการสร้ างสรรค์ นวัตกรรมอย่างต่อ เนื่ อ งและ เป็ นสมาชิกประชาคมโลกที่มี บทบาทสูง เสริ มสร้ างสิ่ง แวดล้ อมที่ เ อื อ้ อ� ำ นวย กล่ า วคื อ นโยบายและ สถาบั น ที่ เ สริ ม สร้ างให้ คนและ

088

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

องค์กรเปิ ดกว้างและปรับตัวมากขึ ้น มี ความคิดสร้ างสรรค์และนวัตกรรม และ มีทกั ษะของการเป็ นผู้ประกอบการ ส่ วนที่ 3 การทบทวนและ การดาเนิ น การ (Review and Implementation) ซึง่ ประกอบด้ วย รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ กลไกการ ด�ำเนินการ ทรั พยากร การติดต่อ สื่อสาร และการทบทวน

ข้ อมูลอ้ างอิง 1 ข้อมูลจากกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์ 2 ข้อมูลจากสานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมัน่ คงของมนุษย์


#105_pc3.indd 1 89 89 Ad #104_pc3.indd 89 Ad R.U.W #103_pc3.indd 128 AdR.U.W R.U.W #101_pc3.indd 128 Ad R.U.W #101_pc3.indd 189

4/2/2558 9/12/2557 17:08:57 4:37:49 11/10/2557 4:55:04 19/4/2557 18:50:03 20/2/2557 22:59:42


90-91 Ad VT Graphic#105_pc3.indd 90

4/2/2558 16:23:41


90-91 Ad VT Graphic#105_pc3.indd 91

4/2/2558 16:23:59


PRINT REPORT

‘เอเอสที อินเตอร์’ เผยกุญแจความส�ำเร็จธุรกิจ ตอบโจทย์ลูกค้าได้เหมาะสม

ด้ วยการพุ่งเข้ าสู่เป้าหมายหลัก คือ การตอบ โจทย์ ลูกค้ าโรงพิมพ์ ให้ ถูกต้ องและเหมาะสม ดังนั น้ บริษัท เอเอสที อินเตอร์ (1995) จ�ำกัด ในวันนีจ้ งึ เป็ น ที่ร้ ู จกั แพร่ หลายในอุตสาหกรรมการพิมพ์ และขึน้ แท่ น เป็ นหนึ่งในผู้น�ำเข้ าและจัดจ�ำหน่ ายหมึกพิมพ์ อุปกรณ์ และสินค้ าที่เกี่ยวข้ องด้ านการพิมพ์ ท่ใี ครๆ ก็ต้องนึกถึง!! คุณอาวุธ ทองช่ วง กรรมการผู้จดั การ บริษทั เอเอสที อิ น เ ต อ ร์ ( 1 9 9 5 ) จ� ำ กั ด เ ปิ ด ใ จ กั บ ว า ร ส า ร Thaiprint magazine ถึ ง การด� ำ เนิ น งานกว่ า จะประสบ ความส� ำ เร็ จ ให้ ฟั ง ว่ า ก่ อ นจะมาเป็ นเจ้ า ของกิ จ การและ ผู้ ก่ อ ตัง้ บริ ษั ท นี เ้ คยเป็ นเซลล์ อ ยู่ ที่ บ ริ ษั ท สยามเอ็ น วี ใ น เครื อ สยามหล่ อ ยางมาก่ อ น ท� ำ ให้ ได้ มี โ อกาสคลุ ก คลี อยู่ใ นแวดวงการค้ า และจ� ำ หน่ า ยอุป กรณ์ ด้ า นการพิ ม พ์ จนเล็ ง เห็ น โอกาสและศัก ยภาพการท� ำ ตลาดให้ เติ บ โต

092

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

โดยเฉพาะจะสามารถสร้ างทางเลื อ กให้ แ ก่ ลูก ค้ า ได้ จึง ตัด สิน ใจออกมาท� ำ ธุ ร กิ จ ของตัว เองในปี ค.ศ.1995 หรื อ พ.ศ.2538 ภายใต้ ชื่อ “ร้ านเอเอสที เซอร์ วสิ ” เริ่ ม แรกวางสถานะตั ว เองเป็ นหนึ่ ง ในตัว แทนจ� ำ หน่ า ยของหมึ ก พิ ม พ์ โ ตโยอิ๊ ง ค์ (TOYOINK) และจ�ำหน่ายผ้ ายางหลายแบรนด์ ที่ น� ำ เ ข้ า ม า จ า ก ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ จ า ก นั น้ กิ จ การด� ำ เนิ น ไปได้ ดี จึง ขยับ ขยายไปเรื่ อ ยๆ จนถึง ทุก วัน นี ไ้ ด้ เป็ นตัวแทนจ� ำ หน่ายสิน ค้ า ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ อุ ป ก ร ณ์ ก า ร พิ ม พ์ ที่ ใ ช้ กั บ เครื่ อ งพิ ม พ์ อ อฟเซ็ ต ครอบคลุม เกื อ บทัง้ หมด


และท�ำการจดทะเบียนเป็ น “บริษัท เอ เอส ที อินเตอร์ (1995) จ�ำกัด” เมื่อปี พ.ศ.2556 มี ส� ำ นัก งานและโกดัง สิ น ค้ า ตัง้ อยู่ บ นถนน พระราม 2 แขวงท่ า ข้ าม เขตบางขุ น เที ย น กรุงเทพฯ ปั จ จุบัน บริ ษั ท ฯ เป็ นผู้น�ำ เข้ า และจัด จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์หมึกพิมพ์ออฟเซ็ต มีทงหมึ ั้ ก พิมพ์ชดุ สี่สี, สีเงิน, สีทอง ส�ำหรับเครื่ องพิมพ์ ออฟเซ็ตป้อนแผ่น ทัง้ หมึกพิ มพ์ ธรรมดาและ ยูวี, เคมีภณ ั ฑ์การพิมพ์ ได้ แก่ น� ้ำยาอาบเงาและ ด้ าน มีทงฐานน� ั้ ้ำ, ฐานน� ้ำมันและยูว,ี น� ้ำยาเฟาว์ เท่นต์, น� ้ำยาล้ างในส่วนต่างๆ, รวมถึงอุปกรณ์ ซัพพลายด้ านการพิมพ์ ไม่ว่าจะเป็ นผ้ ายางทัง้ ในเครื่ อ งพิ ม พ์ ร ะบบป้ อนแผ่ น และป้ อนม้ ว น, แป้งพ่นกันเลอะ, ผ้ าลูกน� ้ำ, สเปรย์พ่นกันแห้ ง, น� ้ำมัน และอื่นๆ

โดยสัดส่วนยอดขายส่วนใหญ่ของบริ ษัทฯ มาจาก กลุม่ หมึกพิมพ์สงู ถึง 50 % ตามด้วยกลุม่ เคมีการพิมพ์และกลุม่ อุปกรณ์ดา้ นการพิมพ์ เช่น ผ้ายาง, แป้ งพ่น, ผ้าลูกน�้ำ ฯลฯ กลุม่ ละ 20% เท่ากัน ขณะทีก่ ลุ่มน�้ำมันและอืน่ ๆ ประมาณ 10% กุ ญ แจความส� ำ เร็ จ ส่ ว นหนึ่ ง ที่ น� ำ พาบริ ษั ท ฯ ก้ าวสู่การเติบโตในเช่นทุกวันนี ้ คุณอาวุธ บอกว่า มาจาก การวางแนวคิดแตกต่างฉีกหนีคแู่ ข่ง เพื่อตอบโจทย์ลกู ค้ าได้ ทังตลาดในประเทศและต่ ้ างประเทศ ด้ วยการมุ่งเน้ น “ลด ต้ นทุน” แต่ “เพิ่มประสิทธิภาพ” ในการผลิตอย่างสูงสุด ให้ กับ ลูก ค้ า และเป็ นที่ ม าของการวางนโยบาย เพื่ อ รุ ก ขยายส่วนแบ่งการตลาดหมึกพิมพ์ออฟเซ็ต และสินค้ าอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องอย่างต่อเนื่องบนความเหมาะสมทังในแง่ ้ “ราคา” และ “คุณภาพ” โดยการมองหาและน�ำเข้ าสินค้ ามาจากหลาก หลายแหล่งที่มา THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

093


PRINT REPORT

‘เอเอสที อินเตอร์’ เผยกุญแจความส�ำเร็จธุรกิจ ตอบโจทย์ลูกค้าได้เหมาะสม

“สิ น ค้ าที่ ภู มิ ใ จน� ำ เสนอซึ่ ง เป็ นแบรนด์ ญี่ ปุ่ น คื อ หมึ ก พิ ม พ์ โ ตโยอิ๊ ง ค์ ที่ ผ ลิ ต ในประเทศไทย และหมึ ก พิ ม พ์ สี เ งิ น ,สี ท องของแบรนด์ มิ ต ซู โ บชิ (MITSUBOSHI) ซึ่ ง น� ำ เข้ า มาจากประเทศญี่ ปุ่ น ส่ ว นเกาหลี มี ห มึ ก พิ ม พ์ ป้ อนแผ่ น สี่ สี แ ละป้ อนม้ วนของแบรนด์ ไ ดฮาน อิ๊ ง ค์ (DAHANINK) กั บ หมึ ก พิ ม พ์ ป้ อนแผ่ น สี่ สี ข องแบรนด์ ดงยาง อิ๊ ง ค์ (DONG YANG INK) ส� ำ หรั บ มาเลเซี ย มี ทั ้ง น� ้ำ ย า อ า บ เ ง า แ ล ะ ด้ า น น� ้ำ ย า เ ฟ า ว์ เ ท่ น ต์ น� ำ้ ยาล้ างผ้ ายาง ลู ก กาวของแบรนด์ ช าโดว์ แ ฟ็ กซ์ (Shadowfax) แล้ วก็มีสนิ ค้ าน�ำเข้ าไต้ หวัน คือน� ้ำยาอาบเงา ยูวีของแบรนด์ฮีโย เอ็นเตอร์ ไพรส์ (HEYO ENTERPRISES) และล่าสุดเป็ นตัวแทนน� ำเข้ าและจ� ำหน่ายผ้ ายางแบรนด์ อาโคม่า จากเยอรมันแต่เพียงผู้เดียวในประเทศไทย ที่เหลือ ้ นและยุโรป” มีน�ำเข้ าทังจี

094

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

กุ ญ แจความส� ำ เร็ จอี ก ดอก คุ ณ อาวุ ธ กล่ า วไว้ คื อ การมุ่ ง เน้ นให้ บริ ก ารทุ ก ด้ าน ไม่ ว่ า จะเป็ นด้ าน การขาย, เทคนิ ค , สิ น ค้ า คงคลัง , จัด ส่ ง เพื่ อ สร้ างความพึ ง พอใจ สูงสุดแก่ลกู ค้ า ซึง่ ถือเป็ นคนส�ำคัญ ที่ มี ส่ ว นผลัก ดัน ให้ ธุ ร กิ จ เติ บ โต สอดรั บ กับ สโลแกนของบริ ษั ท ฯ ที่ ว่ า “คุ ณ ภาพได้ มาตรฐาน บริ การเป็ นที่ หนึ่ ง” ถื อ เป็ น การสะท้ อนความทุ่มเทด้ านบริ การ ควบคู่ไปกับการสรรหาสินค้ าเฉพาะที่ มี คุณภาพและมาตรฐานมาจ� ำหน่ายใน อุตสาหกรรมการพิมพ์ได้ เป็ นอย่างดี


“แม้ เ ราจะมองหาแนวทางลดต้ น ทุน การผลิ ต และวั ต ถุ ดิ บ ให้ กั บ ลู ก ค้ าโรงพิ ม พ์ แต่ไม่ลืมค�ำนึงถึงคุณภาพด้ วย อย่างหมึกพิมพ์ เรามองไปที่โรงงานเกาหลี ซึง่ เป็ นทางเลือกจาก หมึกพิมพ์ญี่ปนุ่ เพราะมีการควบคุมต้ นทุนการ ผลิตให้ ต�่ำ แต่คุณภาพมาตรฐานเทียบชัน้ กับ ญี่ ปุ่ น ซึ่ง ลูก ค้ า ก็ รั บ ได้ ดูจ ากกระแสตอบรั บ ดี ท� ำ ยอดขายได้ เช่ น หมึ ก พิ ม พ์ แ ม็ ก ซ์ วั น (Maxone) เป็ นหมึ ก พิ ม พ์ ที่ มี ส่ ว นผสมของ น� ำ้ มัน ถั่ว เหลื อ ง มี ค วามเข้ ม ข้ น ของเนื อ้ หมึก เซ็ ต ตัว ได้ ดี แ ละแห้ ง ไว แถมทนต่อ การขูด ขี ด

เหมาะกับเครื่ องพิมพ์ที่มีความเร็ วสูง ที่ส�ำคัญตัวนี ้ลดต้ นทุน การพิมพ์ให้ ลกู ค้ าโรงพิมพ์เห็นชัดเจน” “หรื ออย่ างน�้ ำยาต่ างๆ ที ่เราน� ำเข้าจากมาเลเซี ย จะไม่ มี ก ารบรรจุ ใ หม่ ไม่ มี ก ารผสมองค์ ป ระกอบอื ่ น ๆ เพื ่อ เพิ่ ม ปริ มาณหรื อ ลดต้น ทุน สิ น ค้า ใดๆ ทั้ง สิ้ น เราคง คุณภาพไว้ เพราะเรามี สโลแกนดังทีบ่ อกไว้แล้วว่า ‘คุณภาพ มาตรฐาน บริ การเป็ นทีห่ นึ่ง’ ท�ำให้ลูกค้าเชือ่ มัน่ ทีจ่ ะซื ้อขาย กับเรา” คุณอาวุธ กล่าว ฟั งแล้ วไม่ แปลกใจเลยว่ า ท�ำไม? วันนี ้ ชื่อชัน้ บริ ษัทแบรนด์ “เอเอสที อินเตอร์ ” จึงเป็ นที่ร้ ู จักแพร่ หลายในอุตสาหกรรมการพิมพ์ ไทย !! THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

095


PRINT มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิ สาขาธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์เสร็จสมบูรณ์ NEWS พร้อมให้การรับรองบุคลากรและนักศึกษา

สถาบั น คุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ (องค์ การ มหาชน) จัดท�ำโครงการมาตรฐานอาชีพและ คุณวุฒิวิชาชีพ “สาขาวิชาชีพธุรกิจหนังสือ และสิ่งพิมพ์ ” ส�ำเร็จแล้ วทัง้ 6 อาชีพที่เกี่ยว เนื่อง ได้ แก่ นักเขียน นักแปล นักออกแบบ ภ า พ ป ร ะ ก อ บ ห นั ง สื อ แ ล ะ สิ่ ง พิ ม พ์ บ ร ร ณ า ธิ ก า ร นั ก อ อ ก แ บ บ ก ร า ฟิ ก ห นั ง สื อ แ ล ะ สิ่ ง พิ ม พ์ แ ล ะ นั ก พิ สู จ น์ อั ก ษร พร้ อมเตรี ยมน� ำ ไปใช้ รั บรอง คุณวุฒิให้ กับบุคคลในอาชีพและนักศึกษา ในสถาบันการศึกษาต่ อไป โครงการจัด ท� ำ มาตรฐานอาชี พ และ คุณวุฒิวิชาชีพธุรกิจหนังสือและสิง่ พิมพ์ ด�ำเนิน การโดยสถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพ (องค์การมหาชน) ร่ วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า

096

พระนครเหนือ และได้ รับความร่ วมมือจากสมาคมผู้จดั พิมพ์ และผู้จ�ำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย เพื่อให้ การรั บรอง บุคลากรที่ประกอบอาชีพต่างๆ ให้ ได้ รับการยอมรับถึงความ สามารถ และได้ รับคุณวุฒิวิชาชีพที่สอดคล้ องกับสมรรถนะ ประสบการณ์ แ ละสามารถ เพื่ อ การพัฒ นาความเจริ ญ ก้ าวหน้ าในอาชีพของตนเองได้ โดยใช้ ระยะเวลาด�ำเนินการ มาตังแต่ ้ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2557 – เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 โดยมีวตั ถุประสงค์คือ 1. เพื่ อ ส่ง เสริ ม และสนับ สนุน ให้ ก ลุ่ม อาชี พ ธุร กิ จ หนังสือและสิง่ พิมพ์ จัดท�ำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒวิ ชิ าชีพ ในจ�ำนวน 6 อาชีพ คือ 1) อาชีพนักเขียน 2) อาชีพนักแปล 3) อาชีพนักออกแบบภาพประกอบหนังสือและสิง่ พิมพ์ 4) อาชีพ บรรณาธิการ 5) อาชีพนักออกแบบกราฟิ กหนังสือและสิง่ พิมพ์ 6) อาชีพนักพิสจู น์อกั ษร

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิ สาขาธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์เสร็จสมบูรณ์ พร้อมให้การรับรองบุคลากรและนักศึกษา

2. เพื่อสร้ างเครื อข่ายการจัดท�ำ พัฒนา และเผยแพร่มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวชิ าชีพ 3. เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ ระบบคุณวุฒิ วิชาชีพและมาตรฐานอาชีพเป็ นทีร่ บั รู้และยอมรับ ในทุกภาคส่วน การจั ด ท� ำ มาตรฐานอาชี พ และ คุณวุ ฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพธุ รกิจหนั งสือ และสิ่งพิมพ์ จ�ำนวน 6 อาชีพ แบ่ งเป็ นระดับ ชัน้ ดังนี ้ 1. อาชีพนักเขียน : มาตรฐานอาชีพนัก เขียน มีวตั ถุประสงค์ส�ำคัญเพื่อพัฒนาบุคลากร ในกลุ่มอาชีพ ให้ มีสมรรถนะ ในการเขียนผล งานประเภทบันเทิงคดี (Fiction) หรื อ สารคดี (Non-Fiction) ในสื่อหนังสือ สิง่ พิมพ์ รวมถึงสื่อ สิ่งพิมพ์ดิจิตอล โดยมีการจัดเตรี ยม วางแผน ผลิ ต ต้ น ฉบับ จัด ท� ำ ข้ อ ตกลงในการเผยแพร่ บริ ห ารจัด การด้ า นลิข สิท ธิ์ ง านเขี ย น ก� ำ หนด

PRINT NEWS

นโยบาย และแผนการท�ำงานในระยะยาว และสร้ างนวัตกรรม และผลงานทีเ่ ป็ นเลิศ ให้ มคี ณ ุ ภาพได้ ตามมาตรฐานทีก่ ำ� หนด และเป็ นทีย่ อมรับในระดับชาติและอาเซียน ซึง่ อาชีพนักเขียนได้ แบ่งระดับชันเป็ ้ น 4 ระดับชัน้ ได้ แก่ อาชีพนักเขียน ชัน้ 4 ชัน้ 5 ชัน้ 6 และ ชัน้ 7 2. อาชี พ นั ก แปล : มาตรฐานอาชี พ นั ก แปล มี วัต ถุป ระสงค์ ส� ำ คัญ เพื่ อ พัฒ นาบุค ลากรในกลุ่ม อาชี พ ให้ มีสมรรถนะ ในการแปลและถ่ายทอดสารของต้ นฉบับ หนังสือและสิ่งพิมพ์ จากภาษาต่างประเทศเป็ นภาษาไทย ผ่ า นกระบวนการปฏิ บัติ ก ารแปลอย่ า งมี ร ะบบ มี ค วามรู้ และทั ก ษะด้ านภาษาต้ นฉบั บ แปล และภาษาฉบั บ แปลภาษาไทย รวมถึ ง ความรู้ และทัก ษะด้ า นการเขี ย น ในระดั บ ดี ม าก เพื่ อ สื่ อ และถ่ า ยทอดความหมายให้ ตรงกั น ของทั ง้ สองภาษาให้ มากที่ สุ ด ให้ มี คุ ณ ภาพได้ ตามมาตรฐานที่ ก� ำ หนดและเป็ นที่ ย อมรั บ ในระดับ ชาติ และอาเซี ย น ซึ่ ง อาชี พ นั ก แปลได้ แ บ่ ง ระดับ ชั น้ เป็ น 3 ระดับชัน้ ได้ แก่ อาชีพนักแปลชัน้ 4 ชัน้ 5 และ ชัน้ 6 THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

097


PRINT มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิ สาขาธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์เสร็จสมบูรณ์ NEWS พร้อมให้การรับรองบุคลากรและนักศึกษา

3. อาชี พ นั ก ออกแบบภาพประกอบ หนังสือและสิ่งพิมพ์ : มาตรฐานอาชีพนักออกแบบ ภาพประกอบหนัง สื อ และสิ่ ง พิ ม พ์ มี วัต ถุป ระสงค์ ส�ำคัญเพือ่ พัฒนาบุคลากรในกลุม่ อาชีพ ให้ มสี มรรถนะ ในการออกแบบภาพประกอบหนัง สื อ ทุก ประเภท รวมทัง้ นิ ต ยสาร วารสารและหนัง สื อ พิ ม พ์ เป็ นผู้ สามารถออกแบบภาพให้ สอดคล้ องกับเรื่ องได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ ให้ มีคณ ุ ภาพได้ ตามมาตรฐานที่ก�ำหนด และเป็ นทีย่ อมรับในระดับชาติและอาเซียน ซึง่ อาชีพนัก ออกแบบภาพประกอบหนังสือและสิง่ พิมพ์ แบ่งจ�ำนวน ชันเป็ ้ น 4 ระดับชัน้ ได้ แก่ ชัน้ 3 ชัน้ 4 ชัน้ 5 และ ชัน้ 6 4. อาชีพบรรณาธิการ : มาตรฐานอาชีพ บรรณาธิการ มีวตั ถุประสงค์สำ� คัญเพือ่ พัฒนาบุคลากร ในกลุม่ อาชีพ ให้ มีสมรรถนะในความรู้ ความสามารถ ด้ านการบรรณาธิการ เช่น ตรวจพิสจู น์อกั ษรและตรวจ เนื ้อหาต้ นฉบับที่บรรณาธิการต้ นฉบับตรวจแล้ ว ช่วย ตรวจสอบความถูกต้ องของงานอาร์ ตเวิร์ค ตรวจเพลท

098

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

ประสานงานร้ านเพลท โรงพิมพ์ ค�ำนวณต้ นทุน ติดตาม ตรวจสอบ แก้ ไขปั ญหาขันตอนการพิ ้ มพ์ได้ จัดท�ำแผน ผลิตหนังสือ แผนการเงิน แผนสือ่ สารการตลาด ความ สามารถวางแผนงาน ดูแล ควบคุมการผลิตหนังสือ ตามข้ อก�ำหนด ให้ มคี ณ ุ ภาพได้ ตามมาตรฐานทีก่ ำ� หนด และเป็ นที่ยอมรับในระดับชาติและอาเซียน ซึง่ อาชีพ บรรณาธิการ ได้ แบ่งจ�ำนวนชันเป็ ้ น 4 ระดับชัน้ ได้ แก่ อาชีพบรรณาธิการ ชัน้ 3 ชัน้ 4 ชัน้ 5 และ ชัน้ 6 5. อาชีพนักออกแบบกราฟิ กหนังสือและ สิ่งพิมพ์ : มาตรฐานอาชีพนักออกแบบกราฟิ กหนังสือ และสิง่ พิมพ์ มีวตั ถุประสงค์สำ� คัญเพือ่ พัฒนาบุคลากรใน กลุม่ อาชีพ ให้ มสี มรรถนะในการออกแบบกราฟิ กหนังสือ และสิง่ พิมพ์ วางแผนการบริ หารงาน ตามมาตรฐานที่ ก�ำหนดและเป็ นทีย่ อมรับในระดับชาติและอาเซียน ซึง่ อาชีพนักออกแบบกราฟิ กหนังสือและสิ่งพิมพ์ ได้ แบ่ง ระดับชันเป็ ้ น 3 ระดับชัน้ ได้ แก่ อาชีพนักออกแบบ กราฟิ กหนังสือและสิง่ พิมพ์ ชัน้ 3 ชัน้ 4 และ ชัน้ 5


มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิ สาขาธุรกิจหนังสือและสิ่งพิมพ์เสร็จสมบูรณ์ พร้อมให้การรับรองบุคลากรและนักศึกษา

6.อาชีพนักพิสูจน์ อักษร : มาตรฐานอาชีพ พิสจู น์อกั ษรมีวตั ถุประสงค์ส�ำคัญเพื่อพัฒนาบุคลากร ในกลุม่ อาชีพให้ มีสมรรถนะ ในการตรวจสอบความถูก ต้ องเรี ยบร้ อยของการเรี ยงพิมพ์ ทังในแง่ ้ ความสมบูรณ์ ของการเรียงพิมพ์ รูปแบบและการจัดท�ำอาร์ ตเวิร์ก เช่น ตรวจขนาดคอลัมน์ว่าตรงกับที่ก�ำหนดหรื อไม่ ตรวจ ขนาดตัวพิมพ์และแบบตัวพิมพ์ ตลอดจนระยะระหว่าง บรรทัด รวมถึงตรวจตัวสะกด การันต์ เครื่ องหมาย ค�ำ ตกหล่น วรรคตอน โดยยึดถือต้ นฉบับเป็ นหลักแต่กต็ ้ อง ไม่ละเลยหลักภาษา เพือ่ ให้ มคี ณ ุ ภาพได้ ตามมาตรฐาน ที่ก�ำหนดและเป็ นที่ยอมรับในระดับชาติและอาเซียน ซึง่ อาชีพนักพิสจู น์อกั ษร ได้ แบ่งระดับชันเป็ ้ น 3 ระดับ ชัน้ ได้ แก่ ชัน้ 3 ชัน้ 4 และ ชัน้ 5 ทังนี ้ ้ มาตรฐานอาชีพทัง้ 6 อาชีพ ได้ จดั ท�ำขึ ้น จากการมีส่วนร่ วมของบุคคลในอาชีพ สาขาวิชาชีพ ธุรกิจหนังสือและสิง่ พิมพ์ และมาตรฐานที่จดั ท�ำขึ ้นได้

PRINT NEWS

ถูกน�ำไปทดลองใช้ กบั บุคลากรในอาชีพ เพื่อประเมิน คุณภาพของเครื่ องมื อที่ ใช้ ในการทดสอบสมรรถนะ บุคคลที่ต้องการขอรับรองคุณวุฒิวิชาชีพแล้ ว พบว่า มีผลสมบูรณ์ และได้ ด�ำเนินการเสร็ จสิ ้นแล้ ว พร้ อม ที่จะน�ำมาตรฐานอาชีพนี ้ไปใช้ เพื่อการรับรองคุณวุฒิ วิชาชีพให้ กบั บุคคลในอาชีพและนักศึกษาในสถาบัน การศึกษาต่อไป ทัง้ นี ้ ผู้สนใจสามารถศึกษารายละเอียด เพิ่ ม เติ ม ได้ ท่ ี www.tpqi.go.th หรื อ สอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมได้ ท่ ีสถาบันคุณวุ ฒิวิชาชีพ (องค์ การมหาชน) โทรศัพท์ 0 2617 7970 ต่ อ 103 THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

099


PRINT TRAVEL

เสน่ห์วัดโคกจ้าหล่า อิ่มใจงานบุญยกช่อฟ้า พุทธสถานเก่าแก่ชานเมืองหลวง

เสน่ห์วั ด โคกจ้ า หล่ า อิ่มใจงานบุญยกช่อฟ้า พุทธสถานเก่าแก่ชานเมืองหลวง

ถ้ าเอ่ ยชื่อ “วัดโคกจ้ าหล่ า” ใครฟั งแว้ บแรกก็อาจมโนภาพ ไปไกลว่ า ก�ำลังพูดถึงวัดที่อยู่บนเนิ นสูงบ้ าง หรื อเป็ นวัดที่ตัง้ อยู่แห่ งใดแห่ งหนึ่งทางภาคอีสาน เพราะฟั งดูสไตล์ คล้ ายๆ กับ เป็ นแถบถิ่นบ้ านหนองหมาว้ อแห่ งทุ่งหมาเมินอะไรปานนัน้ แต่ ส�ำหรั บคนย่ านออเงิน โดยเฉพาะคนในชุมชนวัชรพล 3 ฟั งแล้ ว เป็ นต้ องร้ องอ๋ อ..ลากเสียงยาวบอกว่ าคือชื่อของวัดเก่ าแก่ ที่ร้ ู จัก กันเป็ นอย่ างดี ตัง้ อยู่บ้านจ้ าหล่ า หมู่ 7 แขวงออเงิน เขตสายไหม กรุงเทพฯ และเป็ นศูนย์ กลางยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธศาสนิกชน ที่ อยู่เคียงคู่ผ้ ูคนละแวกนีม้ ายาวนานตัง้ แต่ สมัยต้ นกรุ งรัตนโกสินทร์ ผู้เฒ่าผู้แก่แห่งชุมชนใกล้ ๆ วัดเล่าให้ ฟังต่อๆ กันมาว่า วัดแห่งนี ้ ได้ สร้ างขึ ้นบนผืนนาของ “คุณยายปั่ น นามสุขใจ” เจ้ าของที่นาบริ เวณ นีท้ ี่สมัยก่อนคุณยายมีมากกว่าร้ อยไร่ ถ้ าถามถึงอายุอานามของวัด อย่างน้ อยก็มีมาตังแต่ ้ ยคุ ต้ นกรุ งรัตนโกสินทร์ เรี ยกว่าเกิดขึ ้นไล่เลี่ยกับ “วัดพระยาสุเรนทร์ ” ที่ตงอยู ั ้ ย่ า่ นใกล้ เคียงและคนท้ องถิ่นเรี ยกว่าฟาก กระโน้ น แต่ด้วยความที่วดั นี ้มีผ้ ูคนตังรกรากโดยรอบน้ ้ อยกว่า ท�ำให้ วิวฒ ั นาการมีน้อยกว่าตามไปด้ วย จึงมีช่วงเวลาหนึ่งที่ได้ กลายเป็ นวัด ร้ างอยูน่ านหลายสิบปี เลยทีเดียว

100

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

ล่ว งมาถึ ง ปี พ.ศ.2532 จึ ง ได้ รั บ การบู ร ณะปฏิ สัง ขรณ์ ใ หม่ โดย “พระปลัดสง่ า ลาลู่” ในฐานะเจ้ า อาวาสวัดโคกจ้ าหล่า จากนันมี ้ พระ สงฆ์มาจ�ำวัดมากกว่า 10 รู ป แต่ เนื่องด้ วยพระปลัดฯ อาพาธ จึงลา ออกจากต�ำแหน่งและเดินทางกลับ บ้ านเกิดตัวเอง จนเมื่อปี พ.ศ. 2545 เจ้ าคณะเขตสายไหม กรุงเทพฯ ได้ แต่งตังให้ ้ “พระครู ปลัดธนวัฒน์ ” มาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ าอาวาสแทน


เสน่ห์วัดโคกจ้าหล่า อิ่มใจงานบุญยกช่อฟ้า พุทธสถานเก่าแก่ชานเมืองหลวง

PRINT TRAVEL

นับตังแต่ ้ นนเป็ ั ้ นต้ นมา ท่านเจ้ าอาวาส ได้ ริเริ่ มพัฒนาวัดมาเรื่ อย ในทิศทางที่ดงี ามและเจริญผิดหูผดิ ตาเมื่อเทียบกับในอดีต จากเดิมมีเพียง พระประธาน, กุฏิ, ศาลาการเปรี ยญ และหอระฆัง แต่ยงั ขาดพระอุโบสถ ด้ วยความทุ่มเทและมุ่งมัน่ ของท่านเจ้ าอาวาส พร้ อมด้ วยคณะสงฆ์และ ชาวบ้ านต่างพร้ อมใจกันพัฒนา ทังจั ้ ดงานบุญต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นท�ำบุญ ทอดกฐิ น, ท�ำบุญทอดผ้ าป่ าสามัคคี สงกรานต์ ฯลฯ เพื่อรวบรวมราย ได้ สมทบทุนก่อสร้ างพระอุโบสถ และไม่ใช่แค่ชาวบ้ านเท่านัน้ ยังมีผ้ ูมี จิตศรัทธาต่างถิ่นที่เดินทางมาร่ วมกันบริ จาคทรัพย์ท�ำบุญตามจิตศรัทธา ในแต่ล ะครั ง้ จนล่า สุด ณ วัน นี แ้ ม้ พ ระอุโ บสถจะยัง ก่ อ สร้ างไม่เ สร็ จ แต่ก็เป็ นรูปเป็ นร่างสวยงามน่าอนุโมทนาบุญ ปั จจุบนั ท่านเจ้ าอาวาส มีฉายาใหม่คือ “พระครู สถิตโชติวัฒน์ ” และด�ำรงต�ำแหน่ง “เจ้ าคณะแขวงสายไหม” แห่งส�ำนักงานเจ้ าคณะเขต สายไหมควบอีกหนึง่ ต�ำแหน่งด้ วย ทุกวันนี ้วัดโคกจ้ าหล่า มีก�ำแพงล้ อมรัว้ เป็ นสัดส่วนสวยงามบน พื ้นที่ 7 ไร่ 2 งาน 22 ตารางวา โดยรอบซ้ ายขวาถูกโอบล้ อมด้ วยบึงน� ้ำและ ผืนนาเขียวขจี โล่งกว้ าง และอากาศบริสทุ ธิ์ บริเวณด้ านหลังวัดติดกับคลอง ที่สามารถเดินข้ ามเชื่อมต่อไปยังชุมชนวัชรพล 3 ได้ ขณะที่ด้าน THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

101


PRINT TRAVEL

เสน่ห์วัดโคกจ้าหล่า อิ่มใจงานบุญยกช่อฟ้า พุทธสถานเก่าแก่ชานเมืองหลวง

หน้ าทางเข้ าวัดติดกับด่านเก็บเงินถนนจตุโชติของทางด่วนพิเศษฉลองรัช (ส่วนเชื่อมต่อทางด่วนเอกมัย-รามอินทรา) เรี ยกว่า วัดตังอยู ้ บ่ นเส้ นบางๆ ระหว่างวิถีชีวติ ธรรมชาติของคนท้ องถิ่นที่ยงั ท�ำอาชีพไถนาปลูกข้ าว กับวิถี คนเมืองที่กระจายไปตังรกรากในหมู ้ บ่ ้ านจัดสรรที่เกิดขึ ้นใหม่ อย่ างไรก็ตาม แม้ คนเมืองและความเจริญจะเริ่มมาเยือนย่ าน นีม้ ากแล้ ว แต่ ดจู ากสภาพแวดล้ อมของวัดเมื่อเทียบกับวัดอื่นๆ ใน กรุงเทพฯและละแวกใกล้ เคียงแล้ ว ก็ดเู หมือนยังห่างไกลความศรัทธา พอสมควร แม้ จะมีไฮไลต์ สำ� คัญที่เกิดขึน้ โดดเด่ นกลางบริเวณวัดคือ พระอุโบสถหลังใหม่ ท่เี พิ่งสร้ างมาได้ ไม่ ก่ปี ี และยังไม่ เสร็จสมบูรณ์ แต่ ก็สามารถสัมผัสได้ ถงึ พลังศรัทธาแรงกล้ าของผู้สร้ างและผู้ร่วมสร้ าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเร็ วๆ นี ้ ทางวัดโคกจ้ าหล่าได้ จดั งานบุญ “ยกช่ อฟ้าพระอุโบสถ” โดยมีพระพรหมดิลก (เอื ้อน หาสธมโม) เจ้ าคณะ กรุ งเทพมหานคร เป็ นประธานฝ่ ายสงฆ์ และมีพทุ ธศาสนิกชนทังคนใน ้ และนอกพื ้นที่ที่ทราบข่าวหลัง่ ไหลมาร่ วมงานพอสมควร โดยปราศจาก งานรื่ นเริ งเพื่อเรี ยกผู้คน จึงยิ่งเห็นพลังศรัทธาการร่วมสร้ างวัดแห่งนี ้อย่าง เด่นชัด ซึง่ บรรยากาศบริเวณวัดวันนัน้ นอกจากคึกคักด้ วยมีพธิ ีการตามขัน้ ตอนแล้ ว ยังมีผ้ มู จี ติ ศรัทธาไปร่วมเปิ ดโรงทานแจกน� ้ำและอาหารสารพัดแก่ ผู้ไปร่วมท�ำบุญ ท�ำให้ ผ้ ใู ห้ ได้ อิ่มบุญและผู้รับได้ อิ่มท้ องกันทัว่ หน้ า

102

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

พระครู สถิ ตโชติ วฒ ั น์ เจ้าอาวาสวัดโคกจ้าหล่า

กล่าวส�ำหรับ “ช่อฟ้าพระ อุโบสถ” ถือเป็ นสิง่ ที่อยูส่ งู สุด มอง ด้ านข้ างคล้ ายรู ป พนมสั ก การะ ทวยเทพและพระพุทธเจ้ าบนสรวง สวรรค์ แต่ที่นิยมส่วนใหญ่คือท�ำให้ คล้ ายรู ปพญานาค มีครี บนาคเป็ น ใบระกา มองดูสง่างามเป็ นองค์ ประกอบพระอุโบสถที่ส�ำคัญยิ่ง


เสน่ห์วัดโคกจ้าหล่า อิ่มใจงานบุญยกช่อฟ้า พุทธสถานเก่าแก่ชานเมืองหลวง

พระพรหมดิ ลก (เอือ้ น หาสธมโม) เจ้าคณะกรุงเทพมหานคร

สาเหตุ ที่ นิ ย มท� ำ เป็ นรู ป พญานาค เนื่ อ งจากมี ค ติ ที่ ว่ า พญานาคเป็ นผู้ พิ ทั ก ษ์ พ ระพุ ท ธ ศาสนามาทุกยุคทุกสมัย และมักพบ “ช่อฟ้า” ในอาคารสถาปั ตยกรรมชัน้ สูงที่ได้ รับการอุปถัมภ์จากเจ้ านาย พระบรมวงศานุวงศ์ และองค์ พระ มหากษัตริ ย์ และมีหลากหลายรู ป

PRINT TRAVEL

หลายลักษณะ เช่น ช่อฟ้าปากนก ช่อฟ้าหางปลาไหล ช่อฟ้าปากปลา หรื อท�ำเป็ นรู ปเทวดา นางฟ้า อยู่ เหนือจั่วเหนือหน้ าบัน ก็เรี ยกว่า “ช่อฟ้า” เช่นกัน บ้ า งก็ นิ ย มติ ด กระดิ่ ง รู ป ใบโพธิ์ เข้ าไปเพื่อให้ ได้ ประโยชน์ ดังเดิ ้ ม คือไล่นกกาที่จะมาถ่ายรด หลังคา หรือไล่นกอัปมงคลก็ได้ เช่น กัน ดังนัน้ ส�ำหรับ “การยกช่อฟ้า” จึงถือเป็ นพิธีส�ำคัญมาก หากใครได้ ร่วมบุญแล้ ว นับเป็ นกุศลมหากุศล อย่างยากจะหาบุญใดเท่าเทียมได้ เนื่องจากเป็ นการยกส่วนบนสูงสุดของ พระอุโบสถ ถือเป็ นการท�ำองค์ประกอบแห่งพระอุโบสถให้ สมบูรณ์นนั่ เอง เสน่ ห์วัดโคกจ้ าหล่ าและการไปร่ วมงานบุญยกช่ อฟ้าใน คราวนี ้ ขอน�ำมาฝากผู้อ่านให้ ได้ รับบุญกันโดยทั่ว เพราะปั จจุบัน ในกรุ งเทพฯ ค่ อนข้ างหายาก ด้ วยเหตุผลว่ าวัดส่ วนใหญ่ ล้วนมีพระ อุโบสถกันหมดแล้ ว แต่ ถงึ กระนัน้ แต่ ละวัดก็ยังมีเสน่ ห์มุมอื่นๆ ให้ ได้ ร่วมท�ำบุญเสมอ..วันหยุดวันว่ างไปเที่ยววัดท�ำบุญกันนะคะ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

103


PRINT KNOWLEDGE

สิทธิประโยชน์การลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ.. ผู้ประกอบการจะได้อะไร?

เรวดี แก้ วมณี ส�ำนักนโยบายอุตสาหกรรมมหภาค (สม.)

นับ ตัง้ แต่ รั ฐ บาลปั จ จุบัน ได้ มีนโยบายขับเคลื่อนและด�ำเนิน การในเรื่ อ งการจัด ตัง้ เขตพัฒ นา เศรษฐกิ จพิ เศษที่ ชัดเจนและเป็ น รู ปธรรม โดยเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนันถื ้ อได้ วา่ เป็ นสิง่ ใหม่สำ� หรับ ประเทศไทย จึงท�ำให้ ทกุ ภาคส่วน ทัง้ ภาครั ฐและเอกชนต่างก็ตื่นตัว ในการเตรียมความพร้ อมเพือ่ รองรับ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่ก�ำลัง จะเกิ ด ขึน้ อย่า งเต็ ม รู ป แบบในไม่ ช้ านี ้ ในส่วนของผู้ประกอบการเอง ก็ ค ง อ ย า ก จ ะ ท ร า บ ว่ า สิ ท ธิ ประโยชน์ / สิ ท ธิ พิ เ ศษที่ จ ะได้ รั บ หากสนใจที่จะเข้ าไปลงทุนในเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมีอะไรบ้ าง บทความนี ้มีค�ำตอบ

104

รู ป แบบการพั ฒ นาพื น้ ที่ แ ละ กิ จ ก ร ร ม ห ลั ก ภ า ย ใ น เ ข ต เศรษฐกิจพิเศษน�ำร่ อง 5 แห่ ง อ�ำเภอแม่ สอด จังหวัด ตาก พัฒนาพื ้นที่ให้ สามารถรองรับ การเป็ นย่านการค้ าระหว่างประเทศ และอุ ต สาหกรรมที่ ใ ช้ แรงงาน เข้ มข้ น โดยพั ฒ นาให้ เป็ นเขต ประกอบการอุตสาหกรรมเชื่อมโยง เครื อข่ายการผลิตในเมื องเมี ยวดี และแนวระเบี ย งเศรษฐกิ จ ตะวัน ออก-ตะวัน ตก ปรั บ ปรุ ง กิ จ กรรม บริ เ วณเขตพื น้ ที่ ช ายแดนบริ เ วณ สะพานข้ ามแม่น� ้ำเมยแห่งที่ 1 ให้ เป็ นเขตการค้ าปลอดภาษี พร้ อม ปรับปรุ งภูมิทศั น์ ให้ เป็ นตลาดการ ค้ าชายแดนที่มีความทันสมัยและ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

มีระบบการจัดการที่มีมาตรฐาน อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร พัฒนาพืน้ ที่เป็ นย่าน การค้ าส่งและขนส่งต่อเนื่องหลาย รู ปแบบ ด้ วยความได้ เปรี ยบด้ าน โครงสร้ างพื น้ ฐาน โดยพัฒนาให้ เป็ นเขตประกอบการเสรี บริ เวณ พื น้ ที่ ต� ำ บลบางทรายใหญ่ ซึ่ ง เกี่ ย วข้ องกั บ กิ จ กรรมโลจิ ส ติ ก ส์ การอ� ำ นวยความสะดวกในการ ขนส่งสินค้ าข้ ามแดน สถานีขนส่ง ผู้โ ดยสารที่ เ ชื่ อ มโยงการเดิ น ทาง ทังในระดั ้ บเมืองและระดับภูมิภาค เขตพาณิชยกรรม ตลาดกลางสินค้ า เกษตร ปรับปรุงกิจกรรมบริเวณเขต พืน้ ที่เขตการค้ าดัง้ เดิมให้ เป็ นเขต การค้ าปลอดภาษี ปรั บ ปรุ ง ภู มิ


สิทธิประโยชน์การลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ.. ผู้ประกอบการจะได้อะไร?

ทัศน์ ให้ เป็ นตลาดการค้ าชายแดน ที่ มี ค วามทั น สมั ย และมี ร ะบบ การจัดการที่มีมาตรฐาน อ� ำ เภอสะเดา จั ง หวั ด สงขลา พัฒนาพื ้นที่โดยการจัดหา พืน้ ที่ระหว่างด่านชายแดนทัง้ สอง แห่งเพื่อเป็ นพื ้นที่กิจกรรมหลัก และ พัฒ นาเส้ น ทางคมนาคมระหว่า ง ประเทศที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการ เชื่ อ มโยง โดยพัฒ นาให้ เ ป็ นเขต ประกอบการเสรี และกิ จ กรรม ด้ านการผลิ ต และแปรรู ป สิ น ค้ า เกษตร การบริ การด้ านการขนส่ง ครบวงจร เชื่ อมโยงกิ จกรรมด้ าน การค้ า การผลิ ต และการขนส่ ง สิ น ค้ าไปยั ง ประเทศมาเลเซี ย อ� ำ เภออรั ญ ประเทศ จั ง หวั ด สระแก้ ว มี แ นวทางการพัฒ นา เป็ นศูนย์อตุ สาหกรรมแปรรูปสินค้ า เกษตร และการขนส่งต่อเนื่องหลาย รู ป แบบ โดยให้ ความส� ำ คัญ กั บ การเป็ นย่านค้ าส่งระหว่างประเทศ ค วบ คู่ ไ ปกั บ ย่ า นการค้ าปลี ก ที่ มี ศัก ยภาพสูง ที่ ต ลาดโรงเกลื อ

โดยพัฒนาให้ เป็ นเขตประกอบการ เสรี และศูนย์โลจิสติกส์ เพือ่ เชือ่ มโยง เครื อข่ายการผลิตและอ�ำนวยความ สะดวกในการขนส่งสินค้ าข้ ามแดน ระหว่ า งเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษปอย เปต โอเนี ย ง และพื น้ ที่ ต ามแนว ระเบียงเศรษฐกิ จตอนใต้ ต่อเนื่ อง ไปยังฐานการผลิตในพืน้ ที่ชายฝั่ ง ทะเลตะวันออกของไทย ปรับปรุ ง กิจกรรมการค้ าชายแดนตลาดโรง เกลือให้ เป็ นเขตการค้ าปลอดภาษี ปรับปรุ งภูมิทศั น์ ให้ เป็ นตลาดการ ค้ าชายแดนที่มีความทันสมัยและมี ระบบการจัดการที่มีมาตรฐาน อ� ำ เ ภ อ ค ล อ ง ใ ห ญ่ จั ง หวั ด ตราด พัฒ นาพื น้ ที่ โ ดย รอบด่านชายแดนให้ เป็ นศูนย์กลาง ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ศนู ย์การขนส่ง ต่ อ เนื่ อ งหลายรู ป แบบ เชื่ อ มโยง ทางบก-ทะเล และการค้ าชายแดน แบบปลอดภาษี โดยพัฒนาให้ เป็ น เขตการค้ าปลอดภาษี ตลาดการ ค้ าชายแดนที่มีความทันสมัยและมี ระบบการจัดการที่มีมาตรฐาน และ

PRINT KNOWLEDGE

พื ้นที่อ�ำนวยความสะดวกของการ ขนส่งสินค้ าระหว่างไทยและกัมพูชา ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจชายฝั่ ง ตอนใต้ ป รั บ ปรุ ง และจัด สรรพื น้ ที่ เลียบชายฝั่ งทะเลส�ำหรับกิจกรรม ท่องเที่ยว สิทธิประโยชน์ การลงทุนในเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ส�ำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริ มการลงทุน (The Board of Investment of Thailand: BOI) ได้ ออกประกาศคณะกรรมการส่ง เสริ มการลงทุน ที่ 4/2557 ลงวันที่ 18 ธันวาคม 2557 เรื่ อง นโยบาย ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ในเขตพัฒ นา เศรษฐกิจพิเศษ เพือ่ เป็ นการส่งเสริม การลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ โดยเฉพาะพื ้นที่ชายแดนทัง้ ในและนอกนิคมอุตสาหกรรม เพื่อ ให้ เกิดการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ กับประเทศเพื่อนบ้ าน และรองรับ การรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN Economics

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

105


PRINT KNOWLEDGE

สิทธิประโยชน์การลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ.. ผู้ประกอบการจะได้อะไร?

Community: AEC) โดยมี ส าระ ส� ำ คัญ ของการให้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ จ�ำแนกเป็ น 2 กรณี ดังนี ้ 1.กรณีเป็ นกิจการทั่วไป ที่ไม่ ได้ รับการส่ งเสริม เนื่องจาก ไม่ ใ ช่ กิ จ การเป้ าหมายส� ำ หรั บ เขตเศรษฐกิจพิเศษ ตามที่คณะ กรรมการนโยบายเขตพั ฒ นา เศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) ก�ำหนด ให้ ได้ รับสิทธิประโยชน์เท่ากับกรณี ตัง้ สถานประกอบการในพื น้ ที่ ที่มี รายได้ ต่อ หัว ต�่ำที่ สุดของประเทศ 20 จังหวัด ได้ แก่ กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ นครพนม น่ า น บึ ง กาฬ บุรี รั ม ย์ แพร่ มหาสารคาม มุ ก ดาหาร แม่ ฮ่ อ งสอน ยโสธร ร้ อยเอ็ ด ศรี สะเกษ สกลนคร สระแก้ ว สุโขทัย สุรินทร์ หนองบัวล�ำภู อุบลราชธานี และอ�ำนาจเจริ ญ นอกจากนี ้ ยั ง ได้ สิ ท ธิ ประโยชน์ จ ากมาตรการภาษี เพื่ อ

106

ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ในเขตพัฒ นา เศรษฐกิจพิเศษของกระทรวงการ คลัง โดยลดหย่อนอัตราภาษี เงินได้ นิติบคุ คลส�ำหรับบริ ษัทหรื อห้ างหุ้น ส่วนนิตบิ คุ คล จากร้ อยละ 20 เหลือ ร้ อยละ 10 ของก�ำไรสุทธิ เป็ นเวลา 10 รอบระยะเวลาบัญ ชี ต่อ เนื่ อ ง กัน โดยมีเงื่อนไขว่า กิจการนันจะ ้ ต้ องจดแจ้ งการขอใช้ สิทธิ การเป็ น บริ ษัทหรื อห้ างหุ้นส่วนนิตบิ คุ คล ใน พื ้นที่เขตพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ก่อนหรื อในปี พ.ศ. 2560 ไม่ใช้ สทิ ธิ ยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบุคคล ตาม กฎหมาย ว่าด้ วยส่งเสริมการลงทุน ไม่ ใช้ สิทธิยกเว้ นภาษี เงินได้ นิติบคุ คล ส�ำหรับธุรกิจขนาดกลางหรื อ SMEs และจัดท�ำบัญชีแยกรายการส�ำหรับ กิ จ การที่ ไ ด้ รั บ สิท ธิ ป ระโยชน์ ท าง ภาษี และกิ จ การที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ประโยชน์ ทางภาษี ซึ่งปั จจุบนั มติ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

ที่ ป ระชุม คณะรั ฐ มนตรี เมื่ อ วัน ที่ 20 เมษายน 2558 ได้ อนุมตั ิหลัก การร่ างพระราชกฤษฎีกาออกตาม ความในประมวลรัษฎากร ว่าด้ วย การลดอัต ราและยกเว้ น รั ษ ฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการภาษี เพื่อส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนา เศรษฐกิ จพิเศษ) ตามที่กระทรวง การคลังเสนอเรี ยบร้ อยแล้ ว ส�ำหรั บมาตรการทางการ เงิ น ในส่ ว นของเงิ น กู้ ตามมติ ที่


สิทธิประโยชน์การลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ.. ผู้ประกอบการจะได้อะไร? ประชุม กนพ. ครั ง้ ที่ 2/2557 ได้ ก�ำหนดให้ ภาครัฐด�ำเนินมาตรการสิน เชือ่ ดอกเบีย้ ต�่ำผ่านธนาคารออมสิน และการค�้ำประกันทัง้ จ� ำนวน ผ่าน บรรษัทประกันสิ นเชื อ่ อุตสาหกรรม ขนาดย่อม (บสย.) โดยให้ บยส. เข้า ไปค�้ ำ ประกัน การปล่ อ ยกู้ข อง สถาบันการเงิ นต่ างๆ แบบไม่ คิด ค่าธรรมเนี ยมค�้ ำประกัน 2 ปี ซึ่ ง รัฐจะเป็ นผู้ออกให้ โดยมี ดอกเบี ้ย ผ่อนปรน รายละ 1-20 ล้านบาท ซึ่ ง ปั จ จุ บัน กระทรวงการคลัง อยู่ ระหว่ า งการน� ำเสนอต่ อ คณะ รั ฐ มนตรี เพื ่ อ ขออนุ มัติ โ ครงการ และงบประมาณ 2) กรณี เป็ นกิ จ การ เป้ าหมายที่ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม ส� ำ หรั บเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ตามที่ กนพ. ก� ำ หนด ให้ ได้ รั บสิ ท ธิ ประโยชน์ ในระดั บ สูง สุด ด้ ว ยการ “ยกเว้ น” ภาษี เงิ น ได้ นิ ติ บุค คล 8 ปี และได้ รั บ การลดหย่ อ นภาษี เ งิ น ได้ 50% เพิม่ อีก 5 ปี เฉพาะกลุม่ อุตสาหกรรม ที่อยู่ในบัญชีแนบท้ ายตามเงื่อนไข ของประกาศคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน ตามยุทธศาสตร์ ใหม่ปี 2558 ส่วนอุตสาหกรรมใดทีไ่ ม่ได้ อยู่ ในบัญชีแนบท้ ายดังกล่าวสามารถ ไปใช้ สิ ท ธิ ท างภาษี จ ากกระทรวง การคลัง แทน ตามที่ ไ ด้ ก ล่ า วมา แล้ วข้ างต้ น

กิ จ การเป้ าหมายที่ ไ ด้ รั บ การส่งเสริ มในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ ประกอบด้วย 13 กลุม่ กิจการ ดังนี ้ 1. อุตสาหกรรมการเกษตร ประมงและกิจการทีเ่ กีย่ วข้ อง 2. เซรา มิกส์ 3. อุตสาหกรรมสิง่ ทอ เครื่องนุง่ ห่ม และเครื่องหนัง 4. อุตสาหกรรม ผลิตเครื่ องเรื อน 5. อุตสาหกรรม อัญมณีและเครื่ องประดับ 6. การ ผลิตเครื่องมือแพทย์ 7. อุตสาหกรรม ยานยนต์ เครื่ องจักร และชิน้ ส่วน 8. อุตสาหกรรมเครื่ องใช้ ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ 9. การผลิตพลาสติก 10. การผลิตยา 11. กิจการโลจิสติกส์ 12. นิ ค มหรื อ เขตอุ ต สาหกรรม 13. กิจการเพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ส� ำ หรั บ กิ จ การเป้ าหมาย ที่ ไ ด้ รั บ การส่ง เสริ ม ในเขตพัฒ นา เศรษฐกิจพิเศษทัง้ 5 แห่ง ประกอบ ด้ วย จัง หวั ด ตาก ครอบคลุมทัง้ 13 กลุม่ กิจการ จังหวัดมุกดาหาร ครอบคลุ ม 5 กิ จ การ ได้ แก่ อุ ต สาหกรรมการเกษตรประมง

PRINT KNOWLEDGE

และกิจการทีเ่ กี่ยวข้ อง อุตสาหกรรม เครื่ องใช้ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ กิ จ การโลจิ ส ติ ก ส์ นิ ค มหรื อ เขต อุ ต สาหกรรม และกิ จ การเพื่ อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย ว จั ง หวั ด สงขลา ครอบคลุม 6 กิจการ ได้ แก่ อุต สาหกรรมการเกษตร ประมง และกิจการทีเ่ กี่ยวข้ อง อุตสาหกรรม สิ่ ง ทอ เครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม และเครื่ อ ง หนั ง อุ ต สาหกรรมผลิ ต เครื่ อง เรื อน กิจการโลจิสติกส์ นิคมหรื อ เขตอุตสาหกรรม และกิจการเพื่อ ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย ว จั ง หวั ด สระแก้ ว ครอบคลุม 12 กิจการ โดยยกเว้ นกิ จการเซรามิ กส์ และ จังหวัดตราด ครอบคลุม 4 กิจการ ได้ แก่ อุ ต สาหกรรมการเกษตร ประมงและกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อง กิ จ การโลจิ ส ติ ก ส์ นิ ค มหรื อ เขต อุต สาหกรรม และกิ จ การเพื่ อ ส่ง เสริ มการท่องเที่ยว น อ ก จ า ก นี ้ ยั ง มี สิ ท ธิ ประโยชน์ที่ได้ รับจากกรมศุลกากร

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

107


PRINT KNOWLEDGE

สิทธิประโยชน์การลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ.. ผู้ประกอบการจะได้อะไร?

กรณี ที่ ผ้ ู ประกอบการมี ค วาม ประสงค์จะตังเขตปลอดอากรและ ้ คลังสินค้ าทัณฑ์ บน ซึ่งจะมี การ ให้ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ไ ด้ แ ก่ ยกเว้ น อากรน� ำ เข้ าเครื่ อ งจั ก ร ยกเว้ น อากรน� ำ เข้ า วัต ถุดิ บ ที่ น� ำ มาผลิ ต เพื่ อ ส่ ง ออก ยกเว้ น อากรขาออก ยกเว้ นอากรการก�ำจัดหรื อท�ำลาย วัสดุ ยกเว้ นภาษี มลู ค่าเพิ่ม (VAT) ส� ำ หรั บ วั ต ถุ ดิ บ ที่ น� ำ เข้ ามาผลิ ต เพื่อส่งออก ยกเว้ นภาษี มลู ค่าเพิ่ม (VAT) ส� ำ หรั บ สิ น ค้ าน� ำ เข้ า-ส่ ง ออก และก� ำ หนดระยะเวลาเก็ บ สินค้ า ยกเว้ นในส่วนของคลังสินค้ า ทัณ ฑ์ บ น ก� ำ หนดให้ ไ ม่ เ กิ น 2 ปี

ลงทุ น (One Start OneStop Investment Center: OSOS) ของ BOI หรื อศูนย์บริ การจุดเดียว เบ็ดเสร็ จด้ านการลงทุนในพื ้นที่เขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษทัง้ 5 จังหวัด นอกจากนี ้ ผู้ ประกอบ การควรเตรี ยมความพร้ อมในการ พัฒ นาศัก ยภาพของตนเองเพื่ อ รองรั บเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยมุ่งเน้ นการพัฒนาเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันให้ กบั กิจการของตนเอง อาทิ การพัฒนา ผลิตภาพ (Productivity) การสร้ าง มูลค่า (Value Added) และคุณค่า (Value Creation) ให้ กบั สินค้ าและ

บทสรุ ป เมื่อทราบถึงสิทธิประโยชน์ ที่จะได้ รับในการลงทุนภายในเขต เศรษฐกิจพิเศษแล้ ว หากผู้ประกอบ การมีความสนใจที่จะเข้ าไปลงทุน สามารถติดต่อสอบถามข้ อมูลได้ ที่ ศูนย์ ประสานการบริ การด้ านการ

บริ ก าร การพัฒ นาคุณ ภาพและ มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ และการ หาช่องทางขยายตลาด เป็ นต้ น อัน เป็ นการสร้ างความเข้ ม แข็ ง และ เพิ่มโอกาสในการประกอบธุรกิจแก่ ผู้ประกอบการให้ ประสบผลส�ำเร็ จ และกิจการมีการเติบโตอย่างยัง่ ยืน

108

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

ส�ำหรับการเตรี ยมการเพื่อ รองรับการเกิดเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษของกระทรวงอุตสาหกรรมนัน้ ก า ร นิ ค ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ห่ ง ประเทศไทยอยู่ระหว่างการศึกษา จั ด ตั ง้ นิ ค มอุ ต สาหกรรมในเขต เศรษฐกิจพิเศษ 5 พื ้นที่น�ำร่องตาม นโยบายรั ฐบาล ในปี 2558 และ อยู่ร ะหว่า งแก้ ไ ขพระราชบัญ ญัติ ของการนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทยเพื่อให้ เกิดความคล่อง ตัว ในการบริ ห ารจัด การ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขัน กั บ ประเทศสมาชิกอาเซียน ตลอดจน จูง ใจให้ นัก ลงทุน เข้ า มาลงทุน ใน นิคมอุตสาหกรรม นอกจากนี ้ ส� ำ นั ก งาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรมอยู่ระหว่าง การศึกษาเพือ่ จัดท�ำยุทธศาสตร์ การ พัฒนาอุตสาหกรรมในเขตพัฒนา เศรษฐกิ จ พิ เ ศษทัง้ 5 แห่ ง เพื่ อ ให้ กระทรวงอุ ต สาหกรรมมี แ ผน ปฏิบตั กิ ารเชิงรุกส�ำหรับการพัฒนา อุ ต สาหกรรมในพื น้ ที่ เ ขตพัฒ นา เศรษฐกิจพิเศษต่อไป


สิทธิประโยชน์การลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ.. ผู้ประกอบการจะได้อะไร?

แหล่ งข้ อมูลอ้ างอิง -ส�ำนักงานคณะกรรมการ พั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสัง คม แห่ง ชาติ, เขตเศรษฐกิ จ พิ เศษใน ประเทศไทย, 20 มกราคม 2558 - ส�ำนักงานคณะกรรมการ พั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสัง คม แ ห่ ง ช า ติ , เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ การบรรยายเรื่ อง การพั ฒ นา เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษของไทย, 10 เมษายน 2558 - ส�ำนักงานคณะกรรมการ ส่ ง เสริ มการลงทุ น , ประกาศ คณะกรรมการส่งเสริ ม การลงทุน ที่ 4/2557 ลงวัน ที่ 18 ธัน วาคม 2557 เรื่ อง นโยบายส่งเสริ มการ ลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ, สืบค้ นเมื่อ 30 เมษายน 2558

เขตปลอดอากร (Free Zone) คื อ พื น้ ที่ ที่ ก� ำ หนดไว้ ส�ำหรั บการประกอบอุตสาหกรรม พาณิ ช ยกรรม หรื อ กิ จ การอื่ น ที่ เป็ นประโยชน์แก่การเศรษฐกิจของ ประเทศ โดยของที่น�ำเข้ าไปในเขต ดังกล่าวจะได้ รับสิทธิประโยชน์ทาง อากรตามที่กฎหมายบัญญัติคลัง สินค้ าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse) คือ เขตพื ้นที่ที่ภาคเอกชน ยืน่ ขอจัดตังจากกรมศุ ้ ลกากรเพือ่ ให้ ได้ รับสิทธิประโยชน์ทางการค้ า คลัง สินค้ าเพื่อประกอบการเก็บ แปรรูป จัด แสดง หรื อ ซ่อ มแซมสิน ค้ า ที่ มี การน�ำเข้ าส่งออกระหว่างประเทศ เขตประกอบการเสรี (I-EA-T Free Zone) คือ เขตพื ้นที่ ที่ ก� ำ หนดไว้ ส� ำ หรั บ การประกอบ

PRINT KNOWLEDGE

อุต สาหกรรมพาณิ ช ยกรรม หรื อ กิ จ การอื่ น ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การ ประกอบอุตสาหกรรมหรื อพาณิ ช ย ก ร ร ม เ พื่ อ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ท า ง เศรษฐกิ จ การรั ก ษาความมั่น คง ของรัฐ สวัสดิภาพของประชาชนการ จัดการด้ านสิ่งแวดล้ อม หรื อความ จ� ำ เป็ นอื่ น ตามที่ ค ณะกรรมการ ก�ำหนด โดยของที่น�ำเข้ าไปในเขต ดังกล่าวจะได้ รับสิทธิประโยชน์ทาง ภาษี อากรและค่า ธรรมเนียมเพิ่ม ขึ ้นตามที่กฎหมายบัญญัติ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

109



56 Ad C.A.S. NEVIA SPARKLING #103_pc3.indd 56

11/10/2557 5:15:28


YOUNG PRINTER

แป้งฝุ่น ฐานิพรรณ เอื้อจงประสิทธิ์ นิยามชีวิต Work-Life Balance จัดสรรเวลาให้มีความสมดุล

คุณแป้งฝุ่ น-ฐานิพรรณ เอือ้ จงประสิทธิ์ ทายาท รุ่นที่ 4 แห่งโรงพิมพ์สามเจริ ญพาณิชย์ จบปริ ญญาตรี คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ สาขาออกแบบอุ ต สาหกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปั จจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้ชว่ ยผู้จดั การ ฝ่ ายการผลิต บริษทั สามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพ) จ�ำกัด “คุณแป้งฝุ่ น” ย้ อนวันวานให้ ฟังว่า ธุรกิจโรงพิมพ์ ของครอบครัวด�ำเนินการมามากกว่า 50 ปี ตังแต่ ้ สมัยคุณ ทวดยังหนุ่ม จากการเป็ นโรงพิมพ์ห้องแถวย่านพระนคร รับจ้ างพิมพ์หนังสือต่างๆ ได้ แก่ หนังสือมวย หนังสือนิยาย และท�ำสมุดให้ โรงเรียนชันน� ้ ำต่างๆ ทัว่ ประเทศ ต่อมา คุณปู่ เข้ ารับช่วงต่อธุรกิจและมีการย้ ายโรงพิมพ์มา อยูท่ ยี่ า่ นบางพลัด เพือ่ รองรับการขยายก�ำลังการ ผลิตที่มากขึ ้น ทังทางด้ ้ านขนาดของโรงพิมพ์และ ลงเครื่ องจักรเพิ่ม โดยงานส่วนใหญ่เป็ นงานที่มี หน่วยเรียกเป็ น “เล่ม” จนถึงรุ่นลูกๆ ของคุณปู่ และ ปั จจุบนั รุ่นหลานเข้ ามาด�ำเนินการเป็ นเจนเนเรชัน่ ที่ 4 สร้ างเสริมประสบการณ์ นอกบ้ าน “คุณแป้งฝุ่ น” มองว่า ประสบการณ์อาจหาอ่านได้ ทั่วไป แต่ประสบการณ์ จริ งไม่สามารถหาได้ ในต�ำราเรี ยน จึงเชื่อว่าการเก็บเกี่ยวประสบการณ์ที่หลากหลายจะช่วยให้ ได้ เพิม่ พูนความรู้รอบๆ ด้ าน ท�ำให้ ต้องเริ่มจากการค้ นหาชีวติ ไปเรื่ อยๆ ส่วนใหญ่จะอยูใ่ นสายการออกแบบและการตลาด “ตัง้ แต่แป้ งจบจากมหาวิ ทยาลัย สิ่ งแรกที ่คิดและ ลงมื อท�ำคือ รวมกลุ่มกับเพือ่ นท�ำธุรกิ จออกแบบกระเป๋ าและ

112

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

ผลิ ตกระเป๋ าขาย และไปออกขายในงานแฟร์ BIG+BIH ซึ่ งท� ำให้เราได้ติดต่อต่างชาติ และ ศึกษาตลาดของผูบ้ ริ โภค” หลังจากได้ ท�ำสิ่งที่คิดแล้ วก็มาลองท�ำ สิ่งที่ฝันดูบ้าง คือ การท�ำงานในบริ ษัทโฆษณา ระดับโลก BBDO โดยท�ำในต�ำแหน่ง Account Executive เพราะสมัยเรี ยนมหาวิทยาลัยเคยได้


แป้งฝุ่น ฐานิพรรณ เอื้อจงประสิทธิ์ นิยามชีวิต Work-Life Balance จัดสรรเวลาให้มีความสมดุล

YOUNG PRINTER

พยายามศึก ษาเพิ่ ม เติ ม ด้ ว ยตัว เอง ท� ำ ให้ ไ ด้ ร้ ู ว่า “ความ พยายามอยูท่ ี่ไหน ความส�ำเร็ จอยูท่ ี่นนั่ ” มันเป็ นอย่างนี ้นี่เอง “เมื ่อ เราคิ ด ว่ า ประสบการณ์ ที่ส ะสมมานัน้ ก็ มี อ ยู่ พอควร ประกอบกับวันเวลาที ่เพิ่ มมากขึ้ น (หัวเราะในใจ) จึ งมี ความคิ ดว่าไฟที ่มีอยู่ในตัวและประสบการณ์ นอกบ้าน ของเรา น่าจะเอากลับมาท�ำอะไรสักอย่างกับธุรกิ จครอบครัว ได้บา้ ง จึงหันกลับสู่บา้ น เพือ่ มาต่อยอดธุรกิ จครอบครัวทีไ่ ด้ สร้างมาจนถึงทุกวันนี”้

ลองท�ำงานด้ าน PR ในละครสถาปั ตย์ แล้ วยัง ติดใจกับงานประมาณนัน้ อยู่ ท�ำให้ ได้ คลุกคลี กับงานออกแบบ งานโฆษณา การจัดการ การน�ำ เสนอและการตลาดจริ งนอกต�ำรา จากนั น้ ก็ ไ ด้ โอกาสท� ำ งานบริ ษั ท ออกแบบสายบันเทิง H.U.I ซึง่ เน้ นการออกแบบ คอนเสิร์ต การแสดงต่างๆ เราก็เป็ น Project Manager ดูแลโครงการให้ ส� ำเร็ จลุล่วงไปได้ ตามโจทย์ของลูกค้ า และเงื่อนไขเวลาที่ก�ำหนด แล้ วก็หักเหมาท�ำการวางแผนการตลาด ด้ าน การบริ ห ารความสัม พั น ธ์ กั บ ลู ก ค้ า (CRM) ที่บริ ษัท ทรูคอปเปอร์ เรชัน่ (มหาชน) จ�ำกัด ดูแล และพัฒนาธุรกิจของโครงการ ทรู การ์ ด (True Card) ตังแต่ ้ เริ่มต้ นของโครงการ ต้ องบอกว่าเป็ น ความท้ าทายในชีวติ อีกครัง้ หนึง่ ที่เราได้ ท�ำในสิง่ ที่ ไ ม่ เ คยได้ เรี ย นในห้ องเรี ย น จึ ง ต้ องตั ง้ ใจ

เผย “ปู่ -แม่ ” ไอดอลการด�ำเนินชีวติ ตลอดระยะเวลาการท�ำงานมีบคุ คลอยู่ 2 ท่าน ที่เป็ น แบบอย่าง (Role Model) ให้ กบั ชีวิต คนแรกเลยคือ “คุณปู่ ” เมื่อยังเล็กเราจะเห็นคุณปู่ ท�ำงานอยู่ตลอดเวลาไม่มีวนั หยุด แม้ กระทัง่ สุขภาพไม่คอ่ ยแข็งแรง คุณปู่ ก็ยงั ดูงานในโรงพิมพ์ อยูต่ ลอด และให้ ความส�ำคัญกับทุกขันตอนและรายละเอี ้ ยด ของงาน ถึ ง แม้ ต อนนัน้ เราจะยัง ไม่เ ข้ า ใจ ว่า ท� ำ ไมคุณ ปู่

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

113


YOUNG PRINTER

แป้งฝุ่น ฐานิพรรณ เอื้อจงประสิทธิ์ นิยามชีวิต Work-Life Balance จัดสรรเวลาให้มีความสมดุล

ถึงต้ องขยันอย่างนัน้ ท�ำไมไม่พกั ผ่อนบ้ าง แต่ตอนนี ้เราก็เข้ าใจ แล้ ว ว่ า การท� ำ งานจะต้ อ งท� ำ อย่ า งจริ ง จัง และละเอี ย ด รอบคอบ ทุกขันตอนต้ ้ องใส่ใจ เพราะถ้ าหากงานผิดไปหนึง่ ขันตอนก็ ้ จะเกิดความเสียหายต่อทังชิ ้ ้นงาน อีกท่านหนึง่ คือ “คุณแม่ ” เรามองคุณแม่ท�ำงานเป็ น ผู้หญิงเก่ง ทังงานในบ้ ้ านและนอกบ้ าน ในเรื่องของการบริหาร งานและบริ หารคน ต้ องยกให้ คณ ุ แม่ คุณแม่จะสอนเสมอว่า การจะบริ หารงานได้ ดี เราต้ องลงมือท�ำจริ ง ตรวจทุกขันตอน ้ ตัง้ ใจ และเอาใจใส่กับ งาน ที่ ส� ำ คัญ จะต้ อ งเอาใส่ใ จกับ บุคลากรของเราให้ เหมือนกับเขาาเป็ นครอบครัวของเราด้ วย

114

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

ฉะนัน้ ในการเริ่ มต้ นที่เข้ ามาท�ำธุรกิจ ครอบครัว สิ่งส�ำคัญที่คิดอยู่ในจิตใต้ ส�ำนึกเลย คือ เราต้ องรักในสิง่ ที่เราท�ำ “I LOVE MY JOB” และท�ำให้ ดีที่สดุ “DO MY BEST” เพราะเชื่อว่า ถ้ าเรารักที่จะท�ำอะไรสักอย่าง เราจะท�ำมันได้ อย่างดีที่สดุ และไม่ยอ่ ท้ อต่ออุปสรรคใดๆ ก่ อ นอื่ น เลย เราต้ อ งรู้ จัก และเข้ าใจ องค์กรก่อน ศึกษาตลาด อบรมการพิมพ์ เรี ยกว่า


แป้งฝุ่น ฐานิพรรณ เอื้อจงประสิทธิ์ นิยามชีวิต Work-Life Balance จัดสรรเวลาให้มีความสมดุล

ต้ อง Multi-Tasking ให้ เหมือนตัวเองเป็ นสมาร์ ท โฟน และเริ่ มปฏิบตั งิ านจากจุดเล็กๆ ขององค์กร ทีเ่ รามีประสบการณ์มากทีส่ ดุ ก็คอื ส่วนออกแบบ และค่อยๆ ขยับไปสูห่ น่วยต่างๆ ต่อไป

YOUNG PRINTER

ระยะยาว ตัง้ เป้าอยากให้ องค์ กรมีความสูญเสีย เท่ากับศูนย์ คือตัง้ เป้าให้ สูงไว้ ก่อน พอตัง้ เป้าแล้ วก็จะหา ข้ อมูล และวิ ธี ที่ จ ะท� ำ ให้ มัน เกิ ด ขึ น้ ได้ พร้ อมกั บ ปรึ ก ษา ผู้มีประสบการณ์ทา่ นอื่นๆ ในแวดวงต่างๆ มาประกอบกัน เมื่อตังเป ้ ้ าได้ แล้ วก็จะมาคิดว่าท�ำอย่างไรจึงจะไป ถึงเป้าได้ นอกจากวิเคราะห์หาอุปสรรค ล�ำดับความส�ำคัญ ก่อน-หลังของแต่ละเป้าหมาย คิดกลยุทธ์ และก�ำหนดเงื่อนไข เวลาการท� ำ ให้ ไ ปถึ ง เป้ าหมายแล้ ว สิ่ ง ที่ ส� ำ คัญ ที่ สุด คื อ การสร้ างความเข้ าใจกับบุคคลากรในองค์กรของเรา ให้ มอง ไปทีภ่ าพเดียวกัน เช่น ทุกครัง้ ในการจัดประชุมจะเน้ นย� ้ำเสมอ ในเรื่ องการท�ำให้ ความสูญเสียเท่ากับศูนย์ และรับฟั งข้ อเสนอ แนะจากบุคลากรในแนวทางที่องค์กรปรับปรุงได้

“ตัง้ เป้าและลงมือท�ำ” อย่ างสม�่ำเสมอ ในการท�ำงานจะต้ องมีการวางแผนงาน ก่อนเสมอ และมีการวางเป้าแบ่งเป็ น 2 ระยะ ระยะสัน้ มักจะเกิดขึ ้นอยูบ่ อ่ ยๆ เป็ นเป้า ง่ายๆ ที่ท�ำได้ อย่างรวดเร็ว บางครัง้ ก็เกิดจากการ พบปั ญหาในองค์กร เช่น กิจกรรมอวยพรวันเกิด พนักงานในทุกๆ เดือน เพื่อสร้ างความสัมพันธ์ อันดีอย่างต่อเนื่อง ระหว่างผู้บริ หารกับพนักงาน เป็ นต้ น มองธุรกิจสิ่งพิมพ์ ไปต่ อ หากรู้ จกั ปรั บตัว คุณแป้งเชื่อมัน่ ทักษะความช�ำนาญที่สะสมมาตังแต่ ้ สมัยบรรพบุรุษ ได้ เข้ าไปสู่ DNA ของทุกคนในครอบครัว ฉะนัน้ จึง มองว่า ถึง แม้ ใ นภาคธุ ร กิ จ สิ่ง พิ ม พ์ จ ะถูก กล่า วขานว่า ถึง จุด อิ่ ม ตัว แต่สิ่ง พิ ม พ์ เ องนัน้ ก็ ยัง คงต้ อ งด� ำ รงอยู่ต่อ ไป แต่ต้องปรับตัวให้ ตอบสนองกับพฤติกรรมการบริโภคแบบใหม่ เช่น การพิมพ์จ�ำนวนน้ อยลง ความรวดเร็วในการผลิต การท�ำ เทคนิคพิเศษต่างๆ และการออกแบบในรูปแบบใหม่ ผสมกับ นวัตกรรม ซึง่ จ�ำเป็ นต้ องอาศัยเทคโนโลยี เพื่อให้ เข้ าถึงและ เข้ าใจผู้ บริ โ ภคมากที่ สุ ด อี ก ทั ง้ มองถึ ง ช่ อ งทางการท� ำ การตลาดในต่างประเทศ ที่ยงั มีความต้ องการด้ านสิง่ พิมพ์ใน การสื่อสารกับผู้บริ โภค และต้ องการการออกแบบที่ทนั สมัย เนื่องด้ วยคนรุ่ นใหม่ในยุคดิจิตอลมีแนวโน้ มการใช้ สือ่ ใหม่ (New Media) และสือ่ สังคมออนไลน์ (Social Media) เช่น สมาร์ ทโฟน แท็บเล็ต เพิ่มมากขึ ้น เพื่อตอบสนองต่อ พฤติกรรมและไลฟ์สไตล์ในยุคปั จจุบนั ที่ต้องการการสือ่ สารที่ สะดวกรวดเร็วและมีปฏิสมั พันธ์ในการสือ่ สารแบบทันทีทนั ใด มากขึน้ ท�ำให้ ทิศทางของอุตสาหรรมการพิมพ์ ในอนาคต จ� ำเป็ นต้ องเปลี่ยนไปตามยุคสมัย ซึ่งในความคิดส่วนตัว THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

115


YOUNG PRINTER

แป้งฝุ่น ฐานิพรรณ เอื้อจงประสิทธิ์ นิยามชีวิต Work-Life Balance จัดสรรเวลาให้มีความสมดุล

มองว่า การผลิตต้ องเร็ วเพื่อตอบรับพฤติกรรมที่รวดเร็ วของ คนรุ่นใหม่ และความแปลกใหม่ในรูปแบบของการพิมพ์ต้อง มีการพัฒนา เพราะคนกลุ่มนีต้ ้ องการสิ่งที่เป็ นเอกลักษณ์ ไม่เหมือนใครและไม่มีใครเหมือน ความก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี ก ารพิม พ์ ยั ง ไม่ หยุดนิ่ง อนาคตของอุตสาหกรรมการพิมพ์ ยังสามารถ เติ บ โตต่ อไปได้ แต่ จะต้ องเพิ่ ม ความแนวคิ ด และ การออกแบบ ที่มผี สมนวัตกรรมเข้ าไปมากขึน้ เพื่อสร้ าง สิ่งแปลกใหม่ ให้ กับผู้บริโภคอยู่ตลอดเวลา

116

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

ภูมใิ จร่ วมกิจกรรมกับกลุ่ม Young Printer ก า ร เ ข้ า ม า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม กั บ ก ลุ่ ม Young Printer ถือเป็ นกลุม่ ที่มีศกั ยภาพในการ ท�ำงานเป็ นอย่างมาก และเป็ นถือเป็ นกลุม่ พลัง ส�ำคัญในการขับเคลื่อนวงการพิมพ์ในอนาคต หลายคนอาจจะมี ค วามคิ ด ลัง เลที่ จ ะเข้ า มา เพราะมี แ ต่ คู่ แ ข่ ง ทั ง้ นั น้ แต่ ใ นมุ ม มองของ ตั ว เองคิ ด ว่ า โลกธุ ร กิ จ ในปั จจุ บั น เป็ นโลก แห่ ง การพึ่ ง พาอาศั ย ซึ่ ง กั น และกั น การมา รวมตัวกัน ของคนธุร กิ จเดี ย วกัน ก็ เหมื อ นกับ การสร้ างพันธมิตรในวงการเดียวกันนันเอง ้ สิง่ ทีท่ ำ� ในกลุม่ ฯ คือการปรึกษาหารือกัน ในเรื่ องของการพิมพ์ แนะน� ำสิ่งดีๆ ให้ แก่กัน นอกจากเรื่ องงานแล้ ว เรายังคุยกันได้ ทุกเรื่ อง ตั ง้ แต่ ไ ม้ จิ ม้ ฟั น...ยั น เรื อ รบ อยู่ กั น เหมื อ น เป็ นครอบครัวเดียวกัน เป็ นพีน่ ้ องได้ รับความรู้สกึ อบอุน่ มากเลยทีเดียว


แป้งฝุ่น ฐานิพรรณ เอื้อจงประสิทธิ์ นิยามชีวิต Work-Life Balance จัดสรรเวลาให้มีความสมดุล

นอกจากนี ้ การเข้ าร่ วมกลุม่ ฯ ยังท�ำให้ เราได้ เป็ นส่วนเล็กๆ ที่ช่วยวงการการพิมพ์ของ ไทยเราให้ พฒ ั นามากขึ ้น แค่นี ้ก็ร้ ูสกึ ดีใจมากแล้ ว กับบทบาทและหน้ าทีใ่ นการท�ำกิจกรรม กับกลุม่ ฯ ในสมาคมเราช่วยกันท�ำ โดยมากแล้ ว จะช่ ว ยงานในด้ านที่ เ กี่ ย วกั บ การออกแบบ เช่น การออกแบบกราฟฟิ คงานแรลลีเ่ มื่อปี 2557 โปสเตอร์ งานสัมมนาของสมาคม และช่วยเรื่ อง การประสานงานในโครงการต่ า งๆ เป็ นต้ น ปั จจุบนั เป็ นรองประธานกลุ่ม Young Printer วาระปี 2558-60 แนะ “เริ่มต้ น” ลงมือท�ำมุ่งสู่ “ความส�ำเร็จ” เมื่ อ พูด ถึ ง กิ จ กรรมยามว่ า งและงาน อดิ เ รกดู จ ะเป็ นค� ำ ถามที่ ต อบง่ า ยมากที่ สุ ด (หัว เราะ) ชี วิ ต จริ ง หลัก ๆ เลยคื อ การท� ำ งาน เราอุ ทิ ศ ตั ว ให้ กั บ งาน แต่ ใ นการท� ำ งานจะ พยายามจัดสรรเวลาชีวิตให้ มีความสมดุลหรื อ

YOUNG PRINTER

ทีเ่ ค้ าเรี ยกกันว่า Work-Life Balance เพราะเชื่อว่าถ้ าสามารถ สร้ างสมดุลยภาพในการท� ำ งาน การมี เวลาให้ ค รอบครั ว เข้ าหาสัง คมบ้ างและให้ ตัว เองด้ วย จะช่ ว ยผลัก ดัน ใน เกิดความส�ำเร็จ ความก้ าวหน้ า และสร้ างความสุขกับชีวติ ของ เราจริ งๆ เราเชื่อชีวิตเป็ นของเรา.. ใช้ ซะ! ด้ วยความที่เป็ นคนรักครอบครัวมาก เพราะมองว่า ครอบครัวคือส่วนหนึง่ ในชีวิตที่ขาดไม่ได้ จริ งๆ ขณะเดียวกัน ก็ชอบสังสรรค์เฮฮากับเพื่อนๆ แต่พอเหมาะพอควร ชอบเรี ยน รู้สงิ่ ใหม่อยูต่ ลอดเวลาเพราะรู้สกึ ว่าความรู้และความสามารถ ต้ องเติมเข้ าไปอีกเรื่อยๆ เราจะหยุดนิง่ ไม่ได้ ท�ำให้ เพิง่ เริ่มเรียน ภาษาญี่ปนุ่ นอกจากนี ้“รักการกินมาก” จะลองไปชิมอาหารตาม ร้ านอาหารใหม่ๆ ใครว่าอะไรดี อะไรใหม่ ก็จะตามไปลอง และ “รักสุขภาพทางกาย” ด้ วยการออกก�ำลังกาย เช่น ปั่ นจักรยาน THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

117


YOUNG PRINTER

แป้งฝุ่น ฐานิพรรณ เอื้อจงประสิทธิ์ นิยามชีวิต Work-Life Balance จัดสรรเวลาให้มีความสมดุล

ขีม่ ้ า ตีแบดมินตัน ปี นหน้ าผาจ�ำลอง วิง่ ต่อยมวย ว่ายน� ้ำ โยคะ แล้ วแต่ชว่ งก็ผลักเวียนกันไปเรื่ อยๆ รวมถึง “รักสุขภาพทางใจ” ด้ วยการเข้ าวัดปฏิบตั ิ ธรรม จะได้ เตือนตัวเองให้ มีสติมากขึ ้น “แป้ งรักกิ จกรรมชิ ลๆ ก็จะประมาณว่า ออกสู่โลกกว้าง หาอาหารสมองด้วยการท่อง เที ย่ วในที ต่ ่างๆ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ รวมไปถึงโลกใต้น�้ำด้วยการด�ำน�้ำ และก็รกั ทีเ่ ปิ ด ใจทีจ่ ะลองท�ำกิ จกรรมใหม่ๆ อยูเ่ รื ่อยๆ เพือ่ นชวน ไปไหนก็ไป เพราะเป็ นคนง่ายๆ อยู่ง่าย กิ นง่าย ชอบท่องเทีย่ ว รักสุขภาพ อยากให้ตวั เองดูดีอยู่ เสมอๆ” ท้ ายนี ้ “คุณแป้งฝุ่ น” บอกว่ า อยาก ขอแบ่ งปั นแนวความคิดเรื่ อง “ความคิดกับ ความส�ำเร็ จ” ที่ปัจจุบันนีแ้ ม้ แต่ ตัวเองบาง ครั ง้ ก็ยังมัวแต่ คิด มัวแต่ วิตกกังวลไม่ ม่ ันใจ และก็ ป ล่ อ ยให้ ค วามคิ ด กลายเป็ นสสาร

118

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


แป้งฝุ่น ฐานิพรรณ เอื้อจงประสิทธิ์ นิยามชีวิต Work-Life Balance จัดสรรเวลาให้มีความสมดุล

YOUNG PRINTER

หายไปในอากาศ ไม่ ลงมือท�ำสักที จึงอยากให้ ทกุ คนลอง มาคิดกันดู เวลาเราจะหาความหมายของค�ำว่ า Success มันไม่ เคยได้ อยู่ก่อนค�ำว่ า Start ในดิกชันนารีในเล่ มไหน ในโลก ฉะนัน้ หากว่ าเราต้ องการความส�ำเร็จ (Success) เราจงเริ่ มลงมือท�ำตัง้ แต่ วันนี ้ (Start) เพื่อจะได้ เจอกับ ความส�ำเร็จ (Success) ในวันข้ างหน้ า แต่ หากเราท�ำถึงที่ สุดแล้ วและมันไม่ ใช่ อย่ างที่เราคิดไว้ อย่ างน้ อยมันก็ ท�ำให้ เราได้ เรี ยนรู้ ส่ งิ ใหม่ ๆ ที่จะปรั บปรุ งในวันข้ างหน้ า ให้ เกิดความส�ำเร็จ (Success) ได้ อย่ างแน่ นอน มาสู้ไป ด้ วยกันนะคะ! THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

119


PRINT CSR

CSR

เอสซี จี ส นั น สนุ น คื น ช้ างสู่ป่า คุ ณ ธ น ว ง ษ์ อ า รี รั ช ช กุ ล ก ร ร ม ก า ร ผู้จดั การ บริ ษัท เอสซีจี แพคเกจจิ ้ง จ�ำกัด ท�ำพิธีมอบ เงินจ�ำนวน 2.5 ล้ านบาทให้ แก่คุณศิวะพร ทรรทรานนท์ เลขาธิ การมูลนิ ธิคืนช้ างสู่ธรรมชาติ เพื่ อสนับสนุนโครงการ “คื น ช้ างสู่ ป่ าเฉลิ ม พระเกี ย รติ 60 พรรษา สมเด็ จ พระ เทพรั ต นราชสุด าฯ สยามบรมราชกุม ารี ” เนื่ อ งในโอกาสทรงเจริ ญ พระชนมายุ 5 รอบ เพื่ อ จัด หาช้ า ง น้ อมเกล้ าฯ ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อทรงปล่อยช้ างคืนสู่ธรรมชาติ ณ เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่าซับลังกา จังหวัดลพบุรี ในวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ.2558 อันเป็ นการอนุรักษ์ ช้างไทยอย่าง ยัง่ ยืน ตามวัตถุประสงค์ของมูลนิธิคืนช้ างสูธ่ รรมชาติ แคนนอนจับมือไปรษณีย์ไทยช่ วยเนปาล บริ ษั ท แคนนอน มาร์ เก็ ต ติ ง้ (ไทยแลนด์ ) จ� ำ กั ด จั บ มื อ กั บ บริ ษั ท ไปรษณี ย์ ไ ทย จ� ำ กั ด จั ด ท� ำ แสตมป์ ชุด ไทยแลนด์ “โพสต์ ฟอร์ เนปาล”(Thailand “Post for Nepal”) เพื่ อ ระดมทุน ช่ว ยเหลื อ ผู้ป ระสบภัย จากแผ่ น ดิ น ไหวในประเทศเนปาล ในช่ ว งเดื อ นปลาย เดือนเมษายน 2558 ซึง่ เป็ นภาพถ่ายเนปาลในความทรงจ�ำ ทังภู ้ มทิ ศั น์ทสี่ วยงาม สถานทีส่ ำ� คัญ และวิถชี วี ติ ผู้คน ทีบ่ นั ทึกไว้ ในช่วงหนึง่ เดือนก่อนเกิดเหตุธรณีพบิ ตั คิ รังใหญ่ ้ ทสี่ ดุ ในรอบ 80ปี ซึง่ สถานทีใ่ นภาพเหล่านันได้ ้ รบั ความเสียหายจากเหตุแผ่นดินไหว ในครังนี ้ ้ โดยภาพแสตมป์ทังหมดแคนนอนให้ ้ การสนับสนุน ถ่าย โดย อ.วรนันท์ ชัชวาลทิพากร ศิลปิ นแห่งชาติ ปี 2552 สาขาทัศน ศิลป์ด้านภาพถ่าย, คุณจิระนันท์ พิตรปรีชา กวีซไี รต์ ปี 2532 และ ช่างภาพมืออาชีพ รวม 10 ท่าน แสตมป์ประกอบด้วยชนิดราคา 3 บาท 20 ดวง จ�ำหน่ายแผ่นละ 120 บาท รายได้ทงหมดได้ ั้ สมทบ ทุนช่วยเหลือผู้ประสบภัยแผ่นดินไหวเนปาล ผ่านสภากาชาดไทย

120

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


CSR

PRINT CSR

เอปสันติดตัง้ Epson Smart ใน 25 โรงเรี ยน คุณยรรยง มุนีมงคลทร ผู้จดั การทัว่ ไป บริ ษัท เอปสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ปี 2558 นี ้ เป็ นปี ที่เอปสัน ประเทศไทย ได้ ด�ำเนินธุรกิจมาครบ 25 ปี เพื่อฉลองโอกาส พิเศษนี ้ บริ ษัทฯ จึงได้ จัดแคมเปญซีเอสอาร์ หรื อโครงการ เพื่อสังคมขึ ้น เพื่อแทนค�ำขอบคุณและแสดงถึงความตังใจ ้ ที่จะมีสว่ นร่วมในการพัฒนาสังคมไทย โดยบริ ษัทฯ จะมอบ โซลูชนั่ ห้ องเรี ยนอัจฉริยะที่เรี ยกว่า Epson Smart Classroom ให้ แก่โรงเรี ยน 25 แห่งในไทยและประเทศอื่นๆ ที่เอปสัน ประเทศไทยให้ การดูแลอยู่ ได้ แก่ เวียดนาม พม่า กัมพูชา ลาว และปากีสถาน ซึง่ รวมแล้ วมีมลู ค่าโครงการกว่า 8 ล้ าน บาท โดยจะเริ่ มติดตังที ้ ่โรงเรี ยนกาญจนานุเคราะห์ จังหวัด กาญจนบุรี เป็ นโรงเรี ยนต้ นแบบ และจะติดตังครบทุ ้ กแห่ง ภายในสิ ้นปี นี ้ “ริโก้ ”ช่ วยเหลือเด็กปากแหว่ งเพดานโหว่ บริ ษั ท ริ โก้ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด จั บ มื อ กั บ มู ล นิ ธิ OperationSmile Thailand หรื อรู้ จั ก กั น ดี ใ น ชื่ อ ว่ า มู ล นิ ธิ ส ร้ า ง ร อ ย ยิ ้ม ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ผู้ ให้ การรั กษาผู้ ป่ วยภาวะปากแหว่ ง เพดานโหว่ ที่ ยากไร้ ร่ ว มกัน สร้ างกิ จ กรรมดี ๆ โดยบริ ษั ท ริ โ ก้ ใ ห้ ก าร สนับ สนุน กิ จ กรรมของมูล นิ ธิ นี ม้ าตลอด พร้ อมให้ ค วาม ช่ ว ยเหลื อ ผู้ป่ วยที่ มี อ าการปากแหว่ ง เพดานโหว่ อ ย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพและยั่ง ยื น โดยมุ่ง หวัง ให้ ค นไทยทุ ก คนมี รอยยิ ้มที่สดใสกันถ้ วนหน้ า

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

121


PRINT CSR

CSR

“ฟูจิ ซีร็อกซ์ ” จัดท�ำ Workbook แจกนักเรี ยน มร. โคจิ เทสึ ก ะ ประธาน บริ ษั ท ฟู จิ ซี ร็ อ กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ฟูจิ ซีร็อกซ์ มีความมุ่งมัน่ ในการน� ำเทคโนโลยีการพิมพ์ ที่ดีสุดของบริ ษัทฯ มาใช้ ให้ เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพของสังคม โดยเฉพาะ กลุม่ เยาวชน จึงจัดให้ มีกิจกรรม CSR เพื่อเยาวชนในระยะ ยาว โดยใช้ ชื่อโครงการว่า “Work book สนุกคิด สนุกเขียน” เพื่อสร้ าง “สื่อเสริ มทักษะ” ให้ แก่เด็กจ�ำนวน 100,000 คน ภายในปี 2567 ในภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก อาทิ ฟิ ลิปปิ นส์, ไทย, เวียดนาม และเมียนมาร์ เป็ นต้ น โดยได้ ร่วมกับองค์กร ภาคเอกชน (NGO), คูค่ ้ าทางธุรกิจ และชุมชน มีวตั ถุประสงค์ ในการปรับปรุ งคุณภาพชีวิตเยาวชนในชุมชนที่ด้อยโอกาส ของทัง้ 4 ประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก มุ่งเป้าหมาย เพื่อช่วยลดข้ อจ�ำกัดในการเข้ าถึงสื่อการเรี ยนรู้ เพื่อเป็ นการ วางรากฐานทางความคิดที่จะช่วยพัฒนาทักษะ และความ สามารถของเด็ก ๆ ให้ เติบโตไปเป็ นอนาคตที่ดีของชาติตอ่ ไป พนักงานจิตอาสาร่ วมอนุรักษ์ มรดกโลก กลุ่มบริ ษัทแคนนอนในประเทศไทย ประกอบไปด้ วยบริ ษัท แคนนอน มาร์ เก็ตติ ้ง (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริ ษัท แคนนอน ไฮ-เทค (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ บริ ษัท แคนนอน ปราจีนบุรี (ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่ วมกันจัดกิจกรรม “แคนนอนอาสา ครั ง้ ที่ 12 “แคนนอนร่ ว มใจ รั ก ษ์ ม รดกโลก” ณ อุท ยาน ประวัติศาสตร์ จังหวัดพระนครศรี อยุธยา เพื่อปลูกจิตส�ำนึก และสร้ างจิตอาสาในการอนุรักษ์ มรดกโลกและสิ่งแวดล้ อม ให้ แก่พนักงาน โดยมีพนักงานกว่า 80 คนเข้ าร่วมกิจกรรม เป็ นอาสาสมัครอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้ อมบริ เวณโดยรอบ อุทยานประวัตศิ าสตร์ อยุธยา อาทิ การปลูกต้ นไม้ เพิม่ ความอุดมสมบูรณ์ ท�ำความสะอาดและก�ำจัดวัชพืชบริเวณ วัดมหาธาตุและวัดนก และร่ วมกันเก็บผักตบชวาในบึงพระราม พร้ อมทังบริ ้ จาคอุปกรณ์ท�ำความสะอาดและ ถังขยะ เพื่อใช้ ประโยชน์ส�ำหรับการอนุรักษ์ สงิ่ แวดล้ อมของอุทยานฯต่อไป

122

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9



PRINT ‘มทร.ธัญบุรี’ พัฒนาเครื่องพิมพ์ 3 มิติ เล็งจดสิทธิบัตรต่อยอดอุตสาหกรรม TECHNOLOGY

เครื่ องพิมพ์ 3 มิตหิ รื อ 3D Printer นับเป็ นความ ก้ าวหน้ าทางด้ านเทคโนโลยี มีการพัฒนาไปอย่ างรวดเร็ว และมี ความส�ำคั ญ ต่ อภาคอุ ตสาหกรรมเป็ นอย่ า งยิ่ง หน้ าที่หลักของเครื่ องพิมพ์ 3 มิติ คือ ท�ำให้ ผลงาน ที่ถกู ออกแบบไว้ ในซอฟแวร์ ผลิตออกมาเป็ นชิน้ งานจริง ตามแบบที่ได้ กำ� หนดไว้ โดยมองเห็นโครงสร้ างงานได้ ทัง้ หมดทัง้ ในแนวกว้ าง ยาวและสูง ปั จจุบนั มีการน�ำไปใช้ งานอย่างแพร่หลาย ทังในภาค ้ ธุรกิจและอุตสาหกรรม การผลิตชิ ้นงานจริ งหรื อสร้ างโมเดล ตัว อย่ า งทางด้ า นวิ ศ วกรรมศาสตร์ แ ละสถาปั ต ยกรรม การพิมพ์วสั ดุหรื อการใช้ ประโยชน์ในวงการแพทย์ รวมถึงวงการอาหาร เช่น การสร้ างศิลปะการจัด วางจานอาหาร เป็ นต้ น แม้ ในระยะหลังเครื่ องพิมพ์ 3 มิติได้ แพร่ หลายเข้ ามาให้ บคุ คลทัว่ ไปใช้ สร้ างผลงานมากยิง่ ขึ ้น แต่ในส่วนของโครงสร้ างเครื่ องพิมพ์ 3 มิติ ค่อนข้ าง ซับซ้ อนในการประกอบ อาจยากส�ำหรับผู้ที่ไม่เคยใช้ งานมาก่อน โดยส่วนใหญ่ผ้ ใู ช้ งานจะสัง่ ซื ้อจากทางผู้จดั จ�ำหน่าย ซึง่ มีทงเครื ั ้ ่ องที่ประกอบส�ำเร็ จ กับเครื่ องที่แยก ชิ ้นส่วนมา ท�ำให้ เกิดความสับสนในการประกอบ เพราะชิ ้น ส่วนมีมากมาย อีกทังคู ้ ม่ ือการประกอบและคูม่ ือการใช้ งาน

124

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


PRINT ‘มทร.ธัญบุรี’ พัฒนาเครื่องพิมพ์ 3 มิติ เล็งจดสิทธิบัตรต่อยอดอุตสาหกรรม TECHNOLOGY

ไม่ชดั เจน มีค�ำศัพท์เทคนิคจ�ำนวนมาก จึงท�ำให้ เกิดความยุง่ ยากในการประกอบ คุ ณ สิ ท ธิ ก ร ห มึ ก แ ด ง แ ล ะ คุณวัชระ บุญกระจ่ าง สองนักศึกษาชันปี ้ ที่ 4 คณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรม สาขาครุ ศาสตร์ คอมพิวเตอร์ มหาวิท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าช มงคลธั ญ บุ รี (มทร.ธั ญ บุ รี ) จึ ง ได้ สร้ าง เครื่ องพิมพ์ 3 มิติ ที่ผ้ ใู ช้ งานสามารถประกอบ ชิ น้ ส่ ว นได้ ด้ วยตนเอง พร้ อมกั บ จั ด ท� ำ คู่ มื อ แนะน� ำ การประกอบในแบบฉบับ ภาษาไทย โดยมี อาจารย์กิตติ จุ้ยก�ำจร และ ผศ.จักรี รัศมี ฉาย อาจารย์ประจ�ำสาขาครุศาสตร์ คอมพิวเตอร์ เป็ นที่ปรึกษา เครื่ องพิมพ์ 3 มิติ ออกแบบใน 4 โหมดหลัก คือ

1.โหมดรั บข้ อมูล เครื่ องพิมพ์ 3 มิติจะเชื่อมต่อ กับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ผ่านทาง Port USB และใช้ โปรแกรม Repetier-Host ในการควบคุมเครื่ องพิมพ์ 3 มิติ ซึง่ รองรับ ไฟล์นามสกุล .stl แล้ วถอดรหัสไฟล์ .stl ให้ เป็ น G-Code เพื่อสัง่ พิมพ์ชิ ้นงาน มีโหมดทดสอบการเคลือ่ นที่ของแนวแกน X , Y , Z และ Extruder 2.โหมดการท� ำ งาน ประกอบด้ วย บอร์ ด ไมโครคอนโทรลเลอร์ Ardunio Mega 2560 ส� ำ หรั บ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

125


PRINT ‘มทร.ธัญบุรี’ พัฒนาเครื่องพิมพ์ 3 มิติ เล็งจดสิทธิบัตรต่อยอดอุตสาหกรรม TECHNOLOGY

ควบคุมการท�ำงานของบอร์ ด RAMPS 1.4 โดยที่ บอร์ ด RAMPS 1.4 มี ห น้ าที่ รั บ ค� ำ สั่ง จากซอฟแวร์ Repetier -Host ให้ เ ป็ น G-Code ควบคุม การเคลื่ อ นที่ แ นวแกน X , Y , Z ควบคุม การท� ำ งานของหัว ฉี ด (Head Bed) ควบคุม Stepper Motor จ�ำนวน 4 ตัวและควบคุมการท�ำงาน ของแผ่นความร้ อนหัวฉีด ซึง่ มีขนาดรู 0.4 มิลลิเมตร ระบาย ความร้ อนด้ วยพัดลม อุณหภูมิที่หัวฉี ดไม่เกิน 230 องศา เซลเซียส ใช้ เพลาแบบ Lead Screw โดยมี Booth ทองเหลือง เป็ นตัวบังคับให้ เคลื่อนที่ตามแนวแกน

3.โหมดส่ งออกข้ อมูล ชิ ้นงานขนาดไม่เกิน 20 x 20 x 20 เซ็นติเมตร เครื่ องพิมพ์ 3 มิตมิ ีขนาดกว้ างยาวสูงเท่ากับ 40 x 50 x 45 เซ็นติเมตร และมีน� ้ำหนักไม่เกิน 15 กิโลกรัม โครงสร้ างทางกลไกและชุดขับเคลือ่ นของเครื่องพิมพ์ 3 มิตมิ ีสว่ นประกอบส�ำคัญ 4 ส่วน คือ แท่ นเครื่ อง (Machine Bed) เป็ นโครงสร้ างหลักท�ำ หน้ าที่รองรับชิ ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่ องพิมพ์ เพื่อติดตังแกน ้ การเคลือ่ นทีอ่ นื่ ๆ โต๊ ะ (Table) ส�ำหรับรองรับการพิมพ์ชิ ้นงาน และรองรับการวางแผ่นรองความร้ อน (Head Bed) หัวฉีด ท�ำหน้ าที่ให้ ความร้ อนกับเส้ นพลาสติกที่ป้อน เข้ ามาจากส่วนควบคุมการป้อนเส้ นพลาสติก โดยอุณหภูมิ ที่หวั ฉีดนี ้จะอยูใ่ นช่วงที่ท�ำให้ เส้ นพลาสติกหลอมละลาย ชุดขับแกนการเคลื่อนที่ ซึง่ ประกอบด้ วย Stepper Motor มีหน้ าที่รับค�ำสัง่ ทางไฟฟ้าจากชุดควบคุม มาแปลง เป็ นการเคลื่อนที่ไปตามต�ำแหน่งต่าง ๆ

126

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

ชุ ด ขั บ เคลื่ อ น Lead Screw และ Coupling ท�ำหน้ าที่ยึดเพลาสองเพลาให้ เข้ า ด้ วยกัน โดยเครื่ องพิมพ์ 3 มิติ จะพิมพ์ชิ ้นงาน ออกมาทีละชัน้ พิมพ์ไปเรื่ อย ๆ หลายร้ อยหลาย พันชันจนออกมาเป็ ้ นรู ปร่ าง 3 มิติ นอกจากนี ้ เครื่ องพิมพ์ 3 มิติ ยังสามารถปรับเปลี่ยนหัวฉีด พลาสติก ไปเป็ นหัว Spindle เพื่อท�ำงานเป็ น เครื่ อง Mini CNC ออกแบบชิน้ งานขนาดเล็ก หรื อแกะสลักได้ เครื ่องพิ มพ์ 3 มิ ติทีอ่ อกแบบและพัฒนา ขึ้นมาใหม่นี้ นับเป็ นเครื ่องต้นแบบส�ำคัญในการ พัฒนาต่อยอดเป็ นธุรกิ จการผลิ ตและจ� ำหน่าย เครื ่ องพิ มพ์ 3 มิ ติแบบ D.I.Y ที ่ตอบโจทย์ ใน เรื ่องการประกอบใช้งาน ความสะดวกสบายใน การเคลื ่อนย้ายเนื ่องจากมี ขนาดเล็ก สามารถ เคลื ่อนย้ายน� ำไปใช้งานได้ทกุ พื น้ ที ่ มี ราคาถูก สามารถเข้าถึงได้งา่ ย และเหมาะกับการเรี ยนรู้ใน เรื ่องเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิ ติ ทีส่ �ำคัญยังเหมาะ สมกับการผลิ ตชิ้ นงานในระดับครัวเรื อนอีกด้วย เครื่ องพิมพ์ 3 มิตแิ บบ D.I.Y นีอ้ ยู่ ในขัน้ ตอนของการขอจดสิทธิบัตรและการ พัฒนาต่ อยอดในเชิงอุตสาหกรรมต่ อไป


127 AD_Quicklabel #105_pc3.indd 1

4/2/2558 16:27:23


PRINT REVIEW

Miracle of Paper(2)

Miracle of Paper(2) A piece(s) of

paper

แก๊ ป-ธนเวทย์ สิริวฒ ั น์ธนกุล และ นํ ้า-รัตนิน สุพฤฒิพานิชย์ ร่ วมสร้ าง แบรนด์โดยน�ำความสนใจด้ านงานออกแบบ งาน Craft และ งาน D.I.Y. ซึง่ เป็ น ความถนัดและความชอบของทังคู ้ ม่ าผสมผสานเข้ าไว้ ด้วยกัน คุณแก๊ ปร่ วมบอก เล่าเรื่ องราวของกระดาษที่ใช้ ได้ ไม่สิ ้นสุด ในฐานะนักออกแบบที่ให้ ความส�ำคัญ เรื่ องอีโค (Eco) “สิ่งแรกที่มองคือสินค้ าที่มีอยู่ในท้ องตลาดที่ เป็ นกระดาษนัน้ มีช่องว่างไหนที่เราสามารถลงไปเล่น หรือท�ำอะไรได้ บ้าง เราก็มองเห็น ‘กระดาษห่อของขวัญ’ ที่ยงั ไม่มีแบรนด์ที่เป็ น Top of mind และด้ วยความที่ เราสนใจเรื่ อง Eco Friendly และ Social Enterprise จึงกลับมาคิดต่อว่าถ้ าเราท�ำแบรนด์ที่อีโคและมีสิ่งที่ ส่งต่อให้ สงั คมได้ ด้วยก็ถือเป็ นเรื่ องที่ดี จึงตีโจทย์ ว่า กระดาษห่อของขวัญอีโคจะเป็ นอย่างไรได้ บ้าง เราเลย ช่วยกันคิดต่อยอดให้ สินค้ ามีความพิเศษเพิ่มมากขึ ้น และมองไปถึงเรื่ องพฤติกรรมของคน พบว่าหลังจากที่ เอากระดาษห่อของขวัญมาห่อแล้ วอายุการใช้ งานจะ สันมากเพราะเมื ้ ่อถึงมือผู้รับเขาจะฉีกทิ ้งทันที เราจะ ท�ำอย่างไรให้ เขาน�ำกลับมาใช้ งานต่อได้ อย่างง่ายๆ ถ้ า

128

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

เราอยากให้ ค นใช้ ต่ อ หรื อ Reuse ผมว่ามัน ต้ องง่ายหรื อท�ำให้ สนุก ท�ำให้ เขารู้ สึกว่ามันไม่ เป็ นปั ญหา ไม่ ต้ อง ให้ เขาพยายามมาก ท้ ายทีส่ ดุ จึงมา ลงตัวที่เราจะท�ำ ‘รอย ปรุ ’ ลงบนกระดาษห่อ ของขวัญ ปรุเป็ นตารางขนาด 8x8 เซนติเมตร ไว้ ทวั่ แผ่น ซึง่ จะเป็ นขนาดที่พอดีส�ำหรับใช้ เป็ น Notepad เมื่อน�ำ ของขวัญไปให้ แทนทีผ่ ้ รู ับจะขย�ำกระดาษทิ ้งเหมือนเคย เขาก็จะค่อยๆ คลี่แล้ วฉีกกระดาษตามรอยปรุ


PRINT Miracle of Paper(2) REVIEW

ซึง่ ถ้ าเขาไม่คิดอะไรมากก็จะได้ กระดาษโน้ ตประมาณ 10-20 แผ่ น ถื อ ว่ า เขาได้ ใช้ กระดาษถึ ง สองครั ง้ นอกจากนี เ้ รายั ง พยายามส่ ง ต่ อ ไอเดี ย ถึ ง ลู ก ค้ า เช่น น�ำกระดาษไปตัดตามรอยเหมือนเคส iPhone คุณก็จะได้ Paper case หรื อท�ำเป็ นปกสมุด แม้ แต่ Tumbler กระบอกนํ า้ ก็ สามารถเปิ ดฝาแล้ วเปลี่ยน ลวดลายของกระดาษได้ คือกระดาษของเราสามารถ น�ำไปใช้ ประโยชน์ครัง้ ที่สองหรื อสามได้ เราจึงเรี ยกว่า Reusable wrappingpaper ซึง่ ตอบโจทย์แบรนด์คือ A piece(s) of paper ซึง่ มี (s) ไว้ ทงที ั ้ ่ถ้ามี A ต้ องเป็ น เอกพจน์แต่เราเชื่อว่ามันเป็ นพหูพจน์ได้ เพราะกระดาษ หนึ่งแผ่นไม่ได้ มีคณ ุ ค่าเพียงหนึ่งแต่มีคณ ุ ค่ามากกว่า นันได้ ้ ขึ ้นอยู่กบั คุณว่าจะเติม s ให้ มนั หรื อเปล่า เรา เป็ นแบรนด์ที่อยากจะท�ำให้ เรื่ อง Eco Friendly มีความ ยัง่ ยืน เราไม่ใช่แบรนด์ใหญ่โต สิง่ ที่ท�ำก็เป็ นเรื่ องเล็กๆ แต่พยายามท�ำให้ งา่ ย จึงเริ่ มต้ นจากค�ำง่ายๆ อย่าง A piece(s) of paper แต่ในความง่ายสามารถท�ำให้ มี ความพิเศษได้ ในเชิงวัสดุเราเลือกใช้ กระดาษเพือ่ สิง่ แวดล้ อม อย่างกระดาษกรี นออฟเซ็ต (Green offset) ของ SCG Packaging ในการผลิตโดยทางเราได้ หาข้ อมูลและ ศึกษามาพอสมควรที่ร้ ู มาก็คือมีกระดาษหลายชนิด ที่ ม าจากป่ าที่ ป ลูก ขึ น้ มาโดยเฉพาะ หรื อ กระดาษ รี ไ ซเคิ ล ที่ ผ ลิ ต จากเศษกระดาษหรื อ วัส ดุ เ หลื อ ใช้ ทางการเกษตร แต่อย่างน้ อยที่สดุ เราก็พยายามเลือก

ใช้ แ บรนด์ ไ ทยเพื่ อ ลดต้ น ทุน เรื่ อ ง การขนส่งอีกสิง่ หนึง่ คือลักษณะของ เนื ้อกระดาษ ซึง่ กระดาษกรี นออฟ เซ็ตท�ำให้ ได้ ชิน้ งานที่มีอารมณ์ อีก แบบหนึ่ง งานจะดูเนียนๆ ซึ่งเป็ น อี กข้ อที่ เราชอบเพราะเข้ ากับโทน สี Pastel ของสินค้ า นอกจากนี ้เรา ยังต้ องTest เรื่ องรอยปรุ เพื่อจะดู ว่ารอยปรุ แบบไหนที่ง่ายต่อการฉีก หรือเวลาพับแล้ วกระดาษไม่ชํ ้า และ สุดท้ ายคือเลือกพิมพ์ด้วยหมึกถัว่ เหลืองซึง่ เท่าที่ทราบ คือไม่มีข้อเสียอะไรเลย เพียงแค่อาจใช้ เวลารอให้ แห้ ง นานขึ ้นอีกไม่กี่วนั แต่ผมถือว่ามันเป็ นสิ่งที่ท�ำได้ ง่าย แล้ วมันก็ดีตอ่ ทังคนงานในโรงงาน ้ วิธีการย่อยสลายก็ ง่าย Process ในการท�ำมันขึ ้นมาก็ Clean ดี” นอกจากนันในเรื ้ ่องแพคเกจจิ ้ง เนือ่ งจากสินค้ า มีรอยปรุ จึงสามารถพับให้ ใส่ซองพลาสติกเพื่อให้ เห็น ลวดลาย ซึ่ง ซองพลาสติ ก นัน้ ตอบโจทย์ เ รื่ อ งความ สะดวกและลดพื ้นที่ในการขนส่ง แต่ไม่ตอบโจทย์เรื่ อง อีโค ทังสองจึ ้ งแก้ ปัญหาโดย “เราเลือกใช้ ถงุ zip lock ซึ่งสามารถน�ำไปใช้ ต่อได้ และยังคง Concept เรื่ อง reuse ด้ วย เพราะเราคิดมาตลอดว่าการจะท�ำให้ อี โ คอย่ า งยั่ง ยื น นัน้ จะต้ อ งเริ่ ม จากพฤติ ก รรม วัส ดุ เป็ นส่วนแรกที่ผ้ ผู ลิต ผู้ออกแบบสามารถท�ำได้ แต่ใน กระบวนการทังหมดคิ ้ ดว่าสุดท้ ายแล้ วผู้บริ โภคส�ำคัญ ที่สดุ เพราะพฤติกรรมเป็ นสิง่ ส�ำคัญที่สดุ ไม่วา่ คุณจะ ท�ำของดีแค่ไหนก็ตาม อย่างขวดนํ ้าถ้ าเราบอกวิธีบิด แต่ เ ขาไม่ บิ ด ก็ ไ ม่ มี ป ระโยชน์ อ ะไร หรื ออย่ า ง ผมท� ำ กระดาษห่ อ ของขวั ญ แต่ ก็ ท� ำ ให้ เขารู้ ถึ ง คุณ ค่ า ของมัน ให้ ม ากขึ น้ ขอแค่ ใ นชี วิ ต ประจ� ำ วัน ให้ ผ้ ูใ ช้ ง านคิ ด ได้ ว่ า จะใช้ ก ระดาษให้ ค้ ุม ค่ า ขึ น้ ถ้ า สิ น ค้ าของเราสามารถเปลี่ ย นพฤติ ก รรมของ เขาหรื อสิ่ ง ที่ เ ราเป็ นอยู่ ใ นชี วิ ต ประจ� ำ วั น ให้ มั น ดีขึ ้น ผมคิดว่าน่าจะเป็ นสิง่ ที่ผมมีความสุขที่อย่างน้ อย เราช่วยให้ อะไรมันดีขึ ้นในการใช้ ทรัพยากร” THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

129


PRINT REVIEW

Miracle of Paper(2)

T e a s p o o n studio สตูดโิ อแห่งนี ้เติบโตขึ ้นจากความรักกระดาษมาตังแต่ ้ วยั เด็ก และค่อยๆ ก้ าว ย่างอย่างเพลิดเพลินกับงานเปเปอร์ คราฟท์ (Papercraft) ที่ตดั แต่งด้ วยความ สนุกในช่วงเวลาผ่อนคลายจากการท�ำงานของ พิม จงเจริ ญ ผู้เป็ นทัง้ Design director และทุกอย่างของพื ้นที่สรรสร้ างงานกระดาษแห่งนี ้ โดยพิมได้ จบั แผ่น กระดาษมาแต่งตัวเป็ นผลงานศิลปะถ่ายทอดตัวตนของ Teaspoon ออกมาได้ อย่างน่าสนใจ “พิ ม ชอบกระดาษมาตัง้ แต่ เ ด็ ก จะซื อ้ ของ เพราะแพคเกจจิ ง้ ที่ มี ดี ไ ซน์ แ ละลวดลายสวยๆ พิ ม ชอบวาดรูป ชอบท�ำ Pattern เลยมีความคิดอยากน�ำ ลวดลายที่วาดไปใส่ไว้ บนกระดาษห่อของขวัญแล้ ว ก็ขาย แต่พอเริ่ มต้ นท�ำสตูดิโอสิ่งที่ตัง้ ใจคือการขาย กระดาษนันใช้ ้ ต้นทุนสูง เลยเบรคตัวเองไว้ ก่อนแล้ วหัน ไปรับงานลูกค้ า งานที่ท�ำช่วงแรกๆ คืองาน Illustration งานออกแบบแพ็คเกจจิ ้ง ออกแบบการ์ ด หากใครถามเรื่ องแรงบันดาลใจ (Inspiration) จะตอบยากมากเพราะทุกชิน้ งานนัน้ ออกมาจากตัว เรา พิมเชื่ อว่าแรงบันดาลใจมาจากประสบการณ์ ที่ สั่งสมมา เปรี ยบเหมื อนการสร้ างบ้ านที่ ไม่สามารถ

สวยงามได้ ภายในวันเดียว เราไม่ ส ามารถตกแต่ ง สวนโดยการซือ้ ต้ นไม้ แล้ ว เอามาลงในวัน เดี ย วเพื่ อ ให้ ได้ สวนสวยสมบู ร ณ์ ที่ จ ริ ง พิ ม ท� ำ ได้ ไม่ กี่ อ ย่ า ง เพราะรู้ ตัว เองว่า เราอะไร ได้ ท�ำอะไรไม่ได้ พิมไม่ได้ เป็ นกราฟิ กดี ไ ซเนอร์ ที่ ท� ำ งานกราฟิ กได้ ทุก แบบ พิ ม รู้ ว่า จะไม่ รั บ งานแบ ไหนเพราะรู้ ตวั ว่าท�ำได้ ไม่ดี หรื อเรารู้ ว่าเรามีขนตอน ั้ ในการคิ ด งานอย่ า งไร เพราะฉะนัน้ ทุก งานที่ พิ ม คิ ด จะเป็ นตัว ตนของเราเท่า กับ เราไม่ห ลอกตัว เอง

แนวคิดทุกอย่างออกมาจากกระบวนการคิด ของพิมทังหมด ้ งานที่ออกมาจึงเป็ นตัวตนของเรา พิม ไม่มีกลุ่มลูกค้ าที่เฉพาะเจาะจงแต่ถ้าลูกค้ าอยากได้ งานกระดาษทีม่ รี ายละเอียดเขาก็จะนึกถึง Teaspoon

130

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


PRINT Miracle of Paper(2) REVIEW ซึง่ จะเป็ นคนที่ชอบงานในสไตล์เรา บางครัง้ ก็เป็ นงาน ตกแต่งผนังซึ่งก็สื่อสารออกมาในแบบของเราเพราะ ลูกค้ าจ้ างเราเพราะอยากได้ งานสไตล์นี ้ งานกระดาษชิ น้ แรกที่ ท� ำ เกิ ด ขึ น้ เพราะ ความเครี ยดจากการท�ำงาน พอเลิกงานก็ตดั กระดาษ ขึ ้นเป็ นฟอร์ มดอกไม้ เริ่ มจากท�ำหมวกกระดาษ ช่วย กั น กั บ น้ องฝึ กงานปั ้น โครงขึ น้ มากระทั่ง ได้ หมวก ดอกไม้ เป็ นเปเปอร์ คราฟท์ชิ ้นแรก พอเริ่ มสนุกก็ท�ำมา เรื่ อยๆ หลังจากนันเริ ้ ่ มมีคนเห็นก็มาขอเช่า ซึง่ ก็ตกใจ นิดหน่อยว่างานแบบนี ม้ ันหาเงินได้ ด้วยแต่ตอนนัน้ ไม่คดิ ว่าจะมาสุดทางขนาดนี ้ หลังจากนันจึ ้ งเริ่ มใช้ เทคนิคอื่นๆ เพิ่มเติม แต่ ทุกอย่างที่เราท�ำนันไม่ ้ ได้ เรี ยนมา เหมือนกับเราแค่คดิ ว่าอยากลองท�ำ โดยงานเปเปอร์ คราฟท์ส่วนใหญ่ยงั เป็ นงานส่วนตัว พิมเลยน�ำไปจัดนิทรรศการแล้ ว 2-3 ครัง้ ซึ่งถือเป็ นการท�ำงานที่ตอบสนองความต้ องการ ของตัวเอง ต้ องบอกก่อนว่าไม่ได้ หาเงินได้ จากงาน เหล่านี ้เพราะเหมือนกับเป็ นการท�ำโชว์มากกว่า โดย งานลูกค้ าจะเริ่ มมีมาหลังจากนันแต่ ้ ก็จะอยูใ่ นรูปแบบ ที่ท�ำขึ ้นมาเพื่อใช้ ส�ำหรับการถ่ายภาพ

งานที่ก�ำลังท�ำอยู่ตอนนีม้ ีอยู่งานหนึ่งที่ค่อน ข้ างสนุกกับมันมากนั่นคือการน� ำกระดาษมาท� ำสื่อ ประชาสัมพันธ์ ให้ กับกระดาษ Green Series ของ SCG Packaging โดยโจทย์ที่ได้ รับมาคือตังแต่ ้ ปี 2008 จนถึงปั จจุบนั กระดาษ Green Series ได้ ช่วยลดการ ใช้ เยื่อจากไม้ ใหม่ได้ ถงึ 734,285 ต้ น หรื อคิดเป็ นพื ้นที่ ประมาณ 4,319 ไร่ ซึง่ เทียบเท่ากับพื ้นที่ของวนอุทยาน

ทุ่งบัวตอง จ.แม่ฮ่องสอน พิมจึงได้ น�ำกระดาษมาตัด เป็ นชิ ้นเล็กๆ และประกอบกันขึ ้นมาจนได้ ฉาก 3 มิติ ของทุง่ ดอกบัวตองสีเหลืองทองขนาดใหญ่ มีต้นไม้ สัตว์ และคนทีก่ �ำลังตังแคมป ้ ์ อยูโ่ ดยชิ ้นงานทังหมดนี ้ ้ท�ำด้ วย กระดาษและตัดจากสองมือทังหมดโดยคิ ้ ดว่าภายในปี นี ้จะเห็นงานเซ็ตนี ้ออกมาประมาณ 4-5 แบบ โดยจะมี เรื่ องราวที่สื่อสารแตกต่างกันออกไป แต่มีคอนเซ็ปต์ที่ ชัดเจนเหมือนกันคือเป็ นงานเปเปอร์ คราฟท์ที่ละเอียด และท�ำด้ วยใจทังหมดทุ ้ กชิ ้น” ในส่วนของกระดาษที่น�ำมาใช้ ในงานคราฟท์ นับ เป็ นสิ่ ง ที่ คุณ พิ ม ให้ ค วามส� ำ คัญ ที่ สุด “พิ ม เลื อ ก กระดาษเองทัง้ หมด โดยส่วนตัวพิมชอบกระดาษที่ มีความด้ าน และเป็ นคนชอบดมกระดาษคือจับแล้ ว สัมผัสต้ องดีแต่เราก็แอบดมก่อนทุกครัง้ พิมค่อนข้ าง ซีเรี ยสว่าพอจับแล้ วมี Texture อย่างไร กระดาษชนิด แรกที่ พิ ม ใช้ ท� ำ งานคื อ กระดาษ 100 ปอนด์ สี ข าว หลังจากนันก็ ้ คอ่ ยๆ ปรับมาใช้ กระดาษประเภทอืน่ มาก ขึ ้นเรื่ อยๆ ของทุกอย่างทีพ่ มิ ท�ำจะเป็ นแบบเฉพาะของเรา อย่ า งออกแบบการ์ ด งานกราฟิ ก งานแพคเกจจิ ง้ ก็ มีความเป็ นพิ มอยู่ ชิ น้ งานจะมี ลูก เล่น มี Pop-up พับไปพับมา หรื อไดคัท อย่างช่วงปี ใหม่ก็จะมีร้านขนม ให้ ออกแบบแพค เกจจิ ้ง หรือออกแบบ ส�ำหรับโอกาสพิเศษ ในจ�ำนวนที่ไม่มาก นั ก อย่ า ง Wrapping paper ก็ มี วางขายและเป็ น ลวดลายที่ เ ราวาด เอง ซึ่งตอนนีก้ �ำลัง ปรับปรุงใหม่และจะ เพิ่ ม Product ให้ หลากหลายมากขึ ้น THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

131


PRINT REVIEW

Miracle of Paper(2) ที่ผา่ นมาหลายๆ คนอาจจะคุ้นเคยกับกระดาษในรูปแบบ ของสื่อที่ใช้ รองรับงานพิมพ์และเขียน สื่อประชาสัมพันธ์ หรื อ อุปกรณ์ ที่ใช้ ในการตกแต่งต่างๆ แต่จะมีใครรู้ หรื อไม่ว่าเยื่อ และกระดาษในทุกวันนี ้มีความอัศจรรย์และสามารถทีจ่ ะน�ำไป ผลิตสิง่ ของต่างๆ ได้ มากมายเพื่อตอบสนองทุกความต้ องการ ในชีวิตประจ�ำวันของเราทุกคน

คุณวิ มล จันทร์ เทียร ผูอ้ �ำนวยการฝ่ ายการตลาด บริ ษัท ผลิ ตภัณฑ์กระดาษไทย จ� ำกัด ใน SCG Packaging

Next Step

of Pulp and Paper

“เยื่ อ และกระดาษทุ ก วั น นี ส้ ามารถที่ จ ะ น�ำไปต่อยอดเป็ นผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ได้ หลากหลายมาก จากทีเ่ มือ่ ก่อนเราน�ำเยือ่ จากไม้ ทไี่ ด้ จากป่ าปลูกไปผลิต เป็ นกระดาษเพียงอย่างเดียวนัน้ ปั จจุบนั ทางบริ ษัท ได้ มี ก ารพัฒ นาปรั บ ปรุ ง กระบวนการผลิ ต เยื่ อ จน สามารถน� ำ เยื่ อ จากต้ นยู ค าลิ ป ตั ส ที่ ท างเรามี การพั ฒ นาสายพั น ธุ์ และส่ ง เสริ มให้ เกษตรกร ปลูกพร้ อมรับซื ้อคืนมาผลิตเป็ นเยื่อ Dissolving Pulp หรื อที่ เ รี ยกว่ า เยื่ อ เคมี ล ะลายได้ ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น นวัต กรรมที่ ส� ำ คัญ ของอุต สาหกรรมสิ่ ง ทอ เพื่ อ ใช้ ทดแทนฝ้าย (Cotton) ท�ำให้ ผ้ บู ริ โภคได้ สมั ผัสกับเนื ้อ ผ้ า ที่ เ บาสบาย ระบายอากาศได้ ดี แ ละเป็ นมิ ต รต่อ สิ่งแวดล้ อม” คุณวิมล จันทร์ เทียร ผู้อ�ำนวยการฝ่ าย

132

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

การตลาดบริ ษัท ผลิตภัณฑ์ กระดาษไทย จ�ำกัด ใน SCG Packaging กล่าว นอกจากนี เ้ รายั ง มี การปรั บปรุ ง กระบวนการผลิตเพื่อผลิตกระดาษส�ำหรับบรรจุภณ ั ฑ์ อาหารที่สะอาด ปลอดภัย โดยมุ่งเน้ นการยกระดับ คุณภาพชีวิตของสังคมไทยให้ ดีขึ ้นและมุ่งตอบสนอง ความต้ องการของลูกค้ า ทัง้ ทางบริ ษัทได้ ศึกษาการ ท�ำบรรจุภัณฑ์ อาหารที่สะอาด ปลอดภัย ไร้ สารพิษ และ สารก่อมะเร็งเพื่อทดแทนโฟมที่พวกเราต่างทราบ ดีวา่ เป็ นอันตราย โดยปั จจุบนั นี ้มีการผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ อาหารที่ ผ ลิ ต จากเยื่ อ ธรรมชาติ แ ละกระดาษออก มามากมายหลายชนิ ด ครอบคลุม ทุก การใช้ ง านซึ่ง ผลิตภัณฑ์ทงหมดนั ั้ นปลอดภั ้ ย และสามารถน�ำเข้ าไมโครเวฟได้ เพื่อตอบสนองพฤติกรรมการใช้ ชีวติ ของคนในสังคมปั จจุบนั โดย บรรจุภณ ั ฑ์ทกุ ประเภทของบริษทั สามารถย่อยสลายได้ ซึ่งถื อว่า เป็ นการช่วยลดปริ มาณขยะใน ประเทศได้ อกี ทางหนึง่ ด้ วย


PRINT Miracle of Paper(2) REVIEW

Paper Life Cycle Special Thanks Thai Paper Co., Ltd. PRACTICAL design studio A piece(s) of paper Teaspoon studio

กระดาษสื่ อ ความหมายเชิ ง สั ญ ลั ก ษณ์ เรื่ องสิ่งแวดล้ อมได้ หลายมิติ หากมองอย่างผิวเผิน กระดาษท� ำจากต้ นไม้ หากลดการใช้ กระดาษย่อม ช่วยลดการตัดต้ นไม้ ได้ แต่เมื่อพิจารณาลักษณะทาง กายภาพของกระดาษที่สามารถใช้ แล้ วน�ำกลับมาผ่าน

กระบวนการเพื่อผลิตเป็ นกระดาษใหม่ได้ อีก ก็นบั ว่า เป็ นการช่วยลดขยะหรื อเป็ นการใช้ ทรัพยากรให้ ค้ มุ ค่า มากที่สดุ ด้ วยเหตุนี ้สิ่งพิมพ์ที่ใช้ กระดาษรี ไซเคิลหรื อ เยื่อหมุนเวียนใหม่จงึ เป็ นสัญลักษณ์หนึง่ ทีแ่ สดงถึงการ เอาใจใส่ในเรื่ องสิง่ แวดล้ อมอย่างเป็ นรูปธรรม

ยกตัวอย่าง วัสดุใช้ แล้ วจากส�ำนักงานโดย เฉพาะกระดาษมีการปนเปื อ้ นเล็กน้ อยสามารถที่น�ำ กลับมาใช้ ซํ ้าหรื อแปรรู ปเป็ นเยื่อกระดาษใหม่ได้ แต่ ในประเทศไทยยังไม่ค่อยให้ ความส�ำคัญในเรื่ องนี ้เท่า ที่ควร รวมถึงส�ำนึกเรื่ องการแยกขยะด้ วย จึงมักพบ เศษกระดาษจากส� ำ นัก งานทิ ง้ ปะปนกับ ขยะทั่ว ไป ดัง นัน้ หากเรามี ก ารรณรงค์ แ ละร่ ว มมื อ ร่ ว มใจกั น น� ำ เศษกระดาษกลั บ มาใช้ ประโยชน์ ใ นรู ป แบบ ต่างๆ ตามความเหมาะสม แยกขยะกันอย่างถูกต้ อง

ถูกประเภท จะสามารถลดปริ มาณขยะที่เกิดขึ ้นได้ เป็ น อย่างดี และยังสามารถน� ำเศษกระดาษเหล่านัน้ ไป หมุนเวียนผลิตเป็ นกระดาษเพือ่ สิง่ แวดล้ อมทีม่ คี ณ ุ ภาพ สูงสามารถหมุนเวียนมาใช้ ใหม่ได้ ไม่ร้ ูจบ เมื่อรู้ เช่ นนี้แล้ วคุณจะท�ำให้ วงจรชีวิต ของกระดาษนั้ น มหั ศ จรรย์ หรื อ ไม่ ...ย่ อมขึ้ น อยู่ กั บ คุ ณ เป็ นส� ำ คั ญ เพราะชี วิ ต ของกระดาษ หมายรวมถึ ง ชี วิ ต ต้ น ไม้ แ ละแต่ ล ะชี วิ ต บนโลก ใบนี้ด้วยคุณว่ าไหม?

บทความนี้น�ำมาจากนิตยสาร IDESIGN ฉบับที่ 146 กรกฎาคม 2015 โดยฝ่ายส่งเสริมการตลาดเพื่อประชาสัมพันธ์ SCG Packaging

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

133


PRINT ‘จรัญ หอมเทียนทอง’ ชนะเลือกตั้ง นั่งเก้าอี้นายกส.ผู้จัดพิมพ์ฯ อีกสมัย NEWS มุ่งปั้นวงการหนังสือให้เติบใหญ่ยิ่งขึ้น

“คุณจรัญ หอมเทียนทอง” ได้ รับความไว้ วางใจจากสมาชิก สมาคมผู้จัดพิมพ์ ฯ เลือกตัง้ ให้ เป็ นนายกฯสมัยที่ 2 ชนะคู่แข่ ง แบบทิง้ ห่ าง เผยจะมุ่งปั ้นวงการหนังสือให้ เติบโตยิ่งขึน้ พร้ อม สร้ างช่ องทางการจ�ำหน่ ายหนังสือทุกรู ปแบบ สมาคมผู้จดั พิมพ์และผู้จดั จ�ำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย จัดให้ มีการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2558 และเลือกตังคณะ ้ กรรมการชุดใหม่ วาระปี 2558/60 ณ ห้ องโลตัส ศูนย์การ ประชุมแห่งชาติสิริกิต์ิ เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน ที่ผ่านมา ปรากฏว่า“คุณจรัญ หอมเทียนทอง” กรรมการผู้จดั การ ส�ำนักพิมพ์ แสงดาว ได้ รับการเลือกตัง้ ให้ เป็ นนายก สมาคมฯอีกสมัย เนื่องจากมีผลงานโดดเด่นใน วาระที่ผ่านมา ด้ วยคะแนน 235 คะแนน ชนะผู้ท้าชิ งคือคุณอาทร เตชะธาดา ซึง่ ได้ 91 คะแนน โดยมีส�ำนักพิมพ์ที่ เข้ าร่วมลงคะแนนจ�ำนวน 326 ราย จากสมาชิกสามัญทัง้ หมด 510 ราย มีบตั รเสียจ�ำนวน 3 ใบ และ ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7 ใบ คุณจรั ญ หอมเทียนทอง กล่าวภายหลังทราบผลการ เลื อ กตั ง้ ว่ า เข้ าใจดี ใ น สถานการณ์ บ้ านเมื อ ง และเศรษฐกิ จ เช่ น นี ้ จึง จะต้ อ งท� ำ งานหนัก ใ ห้ ส ม กั บ ค ว า ม ไ ว้ วางใจของทุ ก คน

134

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


‘จรัญ หอมเทียนทอง’ ชนะเลือกตั้ง นั่งเก้าอี้นายกส.ผู้จัดพิมพ์ฯ อีกสมัย มุ่งปั้นวงการหนังสือให้เติบใหญ่ยิ่งขึ้น

PRINT NEWS

ด้ วยการสานต่องานเดิมและสร้ างงานใหม่ โดยจะมุ่งสร้ างการเติบโตของวงการหนังสือทังใน ้ ระยะสันและระยะยาว ้ ปกติแล้ วธุรกิจหนังสือไม่ใช่ธรุ กิจที่ จะน�ำซึง่ ความร�่ำรวยมากๆ ยิง่ ในสภาวะอย่างนี ้จะเติบโต คนเดียวเป็ นไปไม่ได้ แต่จะต้ องสู้และต้ องอยูใ่ ห้ ได้ ในยาม มรสุมแบบต้ นสนต้ องลม และเมื่ อมองกันวันนี ้ “ช่อง ทางการขาย” คือสิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ และไม่สามารถทีจ่ ะใช้ แค่ชอ่ งทางเดิมได้ อกี ต่อไป ช่องทางการขายแบบ “ออฟ ไลน์และออนไลน์” จึงจ�ำเป็ นทีจ่ ะต้ องเดินควบคูก่ นั ไป “สิ่ งที เ่ ราต้องท� ำมากที ส่ ดุ คื อหาช่องทางการขาย เพิ่มช่องทางจ�ำหน่ายให้ทกุ ส�ำนักพิมพ์ อย่างในช่องทาง ออฟไลน์ เราได้รบั ความร่วมมือจากกลุม่ เซ็นทรัลพัฒนา ให้พืน้ ที ่ในต่างจังหวัดในราคาพิ เศษที ่ สามารถไปท� ำ กิ จกรรม จัดงานหนังสือในแต่ละจังหวัด ไม่ว่าจะเป็ น ขอนแก่น อุดรธานี สุราษฎร์ ธานี เชี ยงใหม่ สงขลา โดย มี สญ ั ญา 3 ปี ซึ่ งค่าบู ธก็ จะถูกลง แล้วเวลาไปท� ำ กิ จกรรมส่งเสริ มการขายอย่างนี ้ เราก็ได้ร้านค้าท้องถิ่ น มาเป็ นแกนกลางด้วย” ส่วนช่องทางออนไลน์นนั ้ นอกจากเว็บไซต์ไทยบุ๊ค โซไซตี ้ที่มนั่ ใจว่า จะเป็ นประโยชน์กบั คนท�ำหนังสือใน ระยะยาว เพราะจะเป็ นแหล่งสืบค้ นให้ แก่ร้านค้ าและ องค์กรที่เกี่ยวข้ องกับการจัดซื ้อหนังสือ และก�ำลังจะ ท�ำจะบุ๊ค พลาซ่า (Book Plaza) ซึง่ เป็ นตลาดหนังสือ ออนไลน์ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย ให้ ทกุ ส�ำนักพิมพ์ มี พื น้ ที่ น� ำ ข้ อมูล หนั ง สื อ ตัว เองไปใส่ ไ ว้ ไ ด้ เ ต็ ม ที่ จะเป็ นเว็บไซต์กลางของการซื ้อขายหนังสือ ซึง่ ทุก วันนี ้การซื ้อขายในระบบออนไลน์เติบโตขึ ้นเรื่ อยๆ อย่างมีนยั ส�ำคัญ สมาคมผู้จดั พิมพ์ ฯ จะเป็ นผู้สร้ าง ตลาดขึน้ มา แล้ วให้ คนซือ้ คนขายติดต่ อ กันได้ โดยตรง สามารถสั่งซือ้ หนังสือจาก ส�ำนักพิมพ์ ได้ เลย โดยที่ไม่ มีการหักค่ า จ�ำหน่ ายเหมือนเว็บไซต์ อ่ ืนๆ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

135


PRINT CHECK IN

Kidzania Bangkok แรงบันดาลใจการเรียนรู้ จ�ำลองอาชีพสานฝันเสมือนจริง

เมื่อพูดถึงแหล่ งเรียนรู้ค่ คู วามสนุก แถมก่ อ ให้ เกิด “แรงบันดาลใจ” กับการประกอบอาชีพใน อนาคตของเด็กๆ ยุคนี ้ เชื่อว่ าเด็กๆ ทัง้ หลายต่ าง ยกให้ “คิดส์ ซาเนีย กรุ งเทพ” (Kidzania Bangkok) เป็ นพระเอกในดวงใจแน่ ๆ “คิดส์ ซาเนีย” ก่อตังและมี ้ สำ� นักงานใหญ่อยูท่ ี่ ประเทศเม็กซิโก จากนันขยายสาขาไปยั ้ งประเทศต่างๆ ทัว่ โลก รวมถึงในประเทศไทย เริ่ มเปิ ดให้ บริ การครัง้ แรกในปี พ.ศ.2556 ด้ วยการเนรมิตบริ เวณชัน้ 5 ของ ศูนย์การค้ าสยามพารากอน บนพื ้นที่ทงหมด ั้ 10,000 ตารางเมตร ด้ วยมูลค่าการก่อสร้ างมากถึง 810 ล้ าน โลก ในลักษณะเมืองจ�ำลองย่อส่วนที่สมจริ ง ถือเป็ น บาท ให้ กลายเป็ นอุทยานการเรี ยนรู้ และบันเทิงระดับ สาขาใหญ่ที่สดุ ในภูมิภาคเอเชียและใหญ่เป็ นอันดับ 3 ของโลก ทังนี ้ ้ภายในประกอบด้ วย ถนนหนทาง อาคาร บริ การสาธารณูปโภค และยานพาหนะ เพื่อจับกลุ่ม เป้าหมายเด็กอายุตงแต่ ั ้ 4-14 ปี เปิ ดโอกาสให้ เล่น และสัม ผัส ประสบการณ์ ท� ำ งานเหมื อ นผู้ใ หญ่ ผ่ า น การเล่นบทบาทสมมติในอาชีพต่างๆ กว่า 80 อาชีพ เรี ยกว่าเป็ นศูนย์การเรี ยนรู้เสมือนโลกจริ งเลยทีเดียว วิธีการเข้ าไปเล่น เริ่ มต้ นด้ วยการซื ้อตัว๋ ผ่าน ทางเข้ าไปแล้ วทุกคนจะได้ รับสายรัดข้ อมือมาคนละเส้ น

136

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


Kidzania Bangkok แรงบันดาลใจการเรียนรู้ จ�ำลองอาชีพสานฝันเสมือนจริง

พร้ อมเช็คเงินสกุลคิดส์โซ น�ำไปแลกเป็ นเงินที่ธนาคาร ด้ านใน จากนันเด็ ้ กๆ สามารถจินตนาการสวมบทบาท อาชี พ ในความฝั น ของตัว เอง เช่ น แพทย์ , นัก บิ น , แอร์ โ ฮสเตส, นัก ดับ เพลิ ง , หมอ, พยาบาล, นาย ธนาคาร, นักธุรกิจ, นักร้ อง, นักแสดง, นักดับเพลิง, ต�ำรวจ หรื อ ช่างเสริ มสวย และอาชีพอื่นอีกมากมาย เพื่อเลือกเข้ าท�ำงานซึ่งก็คือเป็ นกิจกรรมฝึ กฝนทักษะ ของอาชี พ นัน้ ๆ ด้ ว ยอุป กรณ์ เ สมื อ นจริ ง ที่ ส ามารถ น�ำไปใช้ ในชีวิตประจ�ำวันได้ ในอนาคต ทุกครัง้ ที่เข้ าร่ วมกิจกรรมต่างๆ เสร็ จจะได้ รับ เงินสกุลคิดส์โซ เป็ นค่าตอบแทนของการท�ำงาน และ

PRINT CHECK IN

สามารถน� ำ เงิ น นี ไ้ ปจ่า ยค่า เทอมเข้ า เรี ย นหนัง สื อ ที่ มหาวิทยาลัยคิดส์ซาเนีย เพื่อรับใบปริ ญญาส�ำหรับใช้ เป็ นใบเบิกทางท� ำอาชี พที่ สูงขึน้ และได้ รับเงิ นเดื อน สูงขึน้ ในอนาคต หรื อสามารถน�ำเงินนีไ้ ปใช้ เพื่อลอง ท�ำอาชีพอื่นได้ หรื อน�ำเงินนีไ้ ปฝากไว้ ที่ธนาคารเพื่อ รั บดอกเบีย้ เพิ่มขึน้ และสุดท้ ายเงินที่ได้ รับสามารถ สะสมยอดเงินไว้ ส�ำหรับการเล่นครัง้ ต่อๆ ไปอีกด้ วย เรี ยกว่ากิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ ้นไม่ใช่มีเพียงสนับสนุน ให้ เหล่าเด็กๆ รู้ จกั ท�ำงานอย่างเดียว แต่ยงั ท�ำให้ ร้ ู จกั ใช้ จา่ ยเป็ นนัน่ เอง ถือเป็ นอีกหนึง่ แหล่งท่องเที่ยวใจกลางเมือง ที่ มีสาระความบันเทิงช่วยต่อยอดจินตนาการของเด็กๆ และสร้ างโอกาสสัมผัสประสบการณ์ โดยตรงในการ ปฏิบตั ิงานจากอาชีพนัน้ ๆ ซึ่งจะช่วยพัฒนาให้ เกิด ทักษะการใช้ ชีวิตทังในเรื ้ ่ องการตัดสินใจ การท�ำงาน ร่วมกับผู้อื่น การจัดการทางการเงิน ฯลฯ แถมอาจเป็ น อีกหนึ่งแรงผลักดันให้ เลือกประกอบอาชีพในอนาคต ได้ ง่ายขึน้ แต่เสียดายนิดหนึ่งที่ไม่มีอาชีพในแวดวง “ธุรกิจการพิมพ์ ” ให้ เด็กได้ ศกึ ษา (ฮา) ครอบครัวไหนที่มคี ณ ุ ลูกๆ วัยซนชอบคิด... ชอบถาม... ไม่ ควรพลาด!! THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

137


WORLD ‘เค่ียงบกกุง’ บนท�ำเล ‘จามิวอน’ เสน่ห์แห่งโลกตะวันออก LEGEND

“พระราชวังเคียงบกกุง” หรือบางคนออกเสียงว่ า “พระราช วังคยองบกกุง” (Gyeongbokgung Palace) เป็ นพระราชวังหลวงใหญ่ ที่สดุ ในเกาหลี มีความหมายแปลเป็ นภาษาไทยว่า “พระราชวังแห่งพร ที่ส่องสว่ าง” ตัง้ อยู่ทางตอนเหนือของกรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลีใต้ จึง ท�ำให้มชี ่อื เรียกอีกชื่อว่ า “พระราชวังทางเหนือ” “เคียงบกกุง” เป็ นพระราชวังหลักของราชวงศ์โชซอน ถูกสร้ างขึ ้นใน ปี ค.ศ.1395 ตรงกับรัชสมัยของ “พระเจ้ าแทโจ (Taejo)” ซึง่ เป็ นปฐมกษัตริ ย์หรื อ ผู้ก่อตัง้ “โชซอน” ราชวงศ์สดุ ท้ ายของเกาหลี บนเนื ้อที่ทงสิ ั ้ ้น 5.4 ล้ านตารางฟุต ในช่วงต้ นราชวงศ์ โชซอนมี สิ่งก่อสร้ างมากถึง 200 อาคาร กระทั่งช่วงปี ค.ศ.1592 กองทัพญี่ปนบุ ุ่ กรุกเกาหลี ท�ำให้ ต�ำหนักต่างๆ ได้ ถกู ทุบท�ำลายและเผาทิ ้งไป เป็ นจ�ำนวนมาก คงเหลือไว้ เพียงซากปรักหักพัง จากนันในปี ้ ค.ศ.1868 ได้ รับการฟื น้ ฟูและกู้คืนโดย “ฮึงซอน แดวอนกุน (Heungseon Daewongun)” ซึง่ เป็ นพระราชบิดาของพระเจ้ าโกจง (Gojong) จนปั จจุบนั ได้ รับการบูรณะ ซ่อมแซมและสร้ างพระราชวังขึ ้นมาใหม่ในแบบฉบับเดิม โดยมีต�ำหนักทังสิ ้ ้น 10 ต�ำหนัก ประกอบด้ วย พระต�ำหนักซาจอง (สถานที่ทรงงาน ของกษัตริ ย์), พระต�ำหนักซูจอง, พระต�ำหนักชอนชู, พระต�ำหนักมันชู, พระต�ำหนักคังนยอง (สถานที่ ประทับของกษัตริย์), พระต�ำหนักคโยแท (สถานทีป่ ระทับของราชิน)ี , พระต�ำหนักจาคยอง (สถานทีป่ ระทับ ของพระราชมารดาของกษัตริ ย์), วังตะวันออก (สถานที่ประทับของมกุฎราชกุมาร), พระต�ำหนักจางซอน ดัง (สถานที่ประทับของมกุฎราชกุมารและพระชายา) และพระต�ำหนักพีฮยอนกัก๊ (สถานที่ศกึ ษาเล่าเรี ยน ของมกุฎราชกุมาร)

138

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


‘เค่ียงบกกุง’ บนท�ำเล ‘จามิวอน’ เสน่ห์แห่งโลกตะวันออก

WORLD LEGEND

พระราชวังเคียงบกกุง ด้านหลังจะมี ภูเขาเต่าด�ำเห็นเด่นชัด

ส�ำหรับประตูหลัก ได้ แก่ ประตูควางฮวา (ประตูแรกที่ เข้ าสูพ่ ระราชวังหรื อประตูทิศใต้ ), ประตูฮงึ ยเน (ประตูที่สอง เข้ าสูพ่ ระราชวัง), ประตูคนึ จอง (ประตูทสี่ ามเข้ าสูพ่ ระราชวัง), ประตูซนิ มู (ประตูทศิ เหนือ), ประตูคอนชุน (ประตูทศิ ตะวัน ออก), ประตูยองชู (ประตูทิศตะวันตก) นอกจากนี ้ ยัง มี อ าคารส� ำ คัญ อื่ น ๆ อาทิ เช่น ศาลาคยองเฮรู (สถานที่ส�ำหรับจัดงานเลี ้ยง ของพระราชวัง), ศาลาฮยางวอนจอง, สะพาน ยองเจคโย, สะพานชีฮยางคโย ฯลฯ รวมถึง ภายในบริเวณของพระราชวังยังเป็ นทีต่ งของ ั้ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พ ระราชวัง แห่ ง ชาติ เ กาหลี ซึ่ง อยู่ท างตอนใต้ ข องประตูฮึง แนมุน (Heungnyemun Gate) ที่เป็ นประตู แรกที่อยู่ภายในพระราชวังอันเป็ น บริ เ วณเดี ย วกั บ ที่ มี ก ารแสดง พิ ธี ก ารผลัด เปลี่ ย นเวรยาม นั่น เอง โดยมี จัด แสดงขึ น้ ทุก วัน เป็ นรอบๆ ละ 20 นาที คือ รอบ 10:00 น., พิ ธีเปลีย่ นเวรยาม จัดแสดงต้อนรับนักท่องเทีย่ ว 13:00 น., 15:00 น. THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

139


WORLD ‘เค่ียงบกกุง’ บนท�ำเล ‘จามิวอน’ เสน่ห์แห่งโลกตะวันออก LEGEND

ขณะที่ด้านนอกตรงประตูควางฮวามุนก็มีการแสดงการเปลี่ยน โครยอยึดอ�ำนาจในปี ค.ศ. 1392 ต่อมา ้ ้นเป็ น “พระเจ้ าแทโจ เวรเฝ้าประตูด้วยเช่นกัน เป็ นรอบๆ ละ 10 นาที คือ 11:00 น., ปราบดาภิเษกตังตนขึ (Taejo)” ปฐมกษัตริ ย์แห่งราชวงศ์โชซอน 14:00น., 16:00 น. โดยมีเนื ้อหาหลักว่าด้ วยเรื่ องออกตามหา พระราชวั ง แห่ ง นี ไ้ ม่ ไ ด้ ขึ น้ ชื่ อ เฉพาะเรื่ อง “จามิวอน” จนเจอแล้ วมีการย้ ายเมืองหลวงจาก ขนาดที่ย่งิ ใหญ่ และความงดงามตระการตาเท่านัน้ หากแต่ ยังเป็ นที่ร่ � ำลือกันในแวดวงผู้ศึกษาและ “พย็องยัง” หรื อ “เปี ยงยาง” เมืองหลวงของราชวงศ์ สนใจ “ศาสตร์ แห่ งฮวงจุ้ย” ว่ า บริเวณที่ตงั ้ ของ โครยอหรื อเกาหลีเหนื อในปั จจุบันมาอยู่ที่ “ฮั น ยาง” “พระราชวังเคียงบกกุง” อยู่บนท�ำเล “จามิ พร้ อมสร้ าง “พระราชวังเคียงบกกุง” และเปลีย่ นชื่อประเทศ วอน” อันหมายถึงที่ตงั ้ เหมาะสมเป็ นชัยภูมิ ด้านหน้าของพระราชวังคือกรุงโซลทีร่ ุ่งเรื องในปั จจุบนั ส�ำหรับการสร้ างเมืองหรือสร้ างประเทศ แล้ วจะมั่งคงและมั่งคั่งตลอดไป คล้ ายกั บ ละครซี รี่ ส์ เ กาหลี เรื่อง “ต�ำนานกษัตริย์ พิชติ บัลลังก์ ” (The Great Seer) ที่ถ่ายทอดเรื่ อง ราวย้ อนยุ ค อิ ง ประวัติ ศ าสตร์ เล่ า ถึ ง การเปลี่ ย นผ่ า นจาก “ราชวงศ์ โ ครยอ” ไปสู่ยุค ของ “ราชวงศ์ โ ชซอน” โดยมี “นายพลอีซองเก” ซึ่ ง เ ป็ น ขุ น พ ล ค น ป้ อมทหารยามในปั จจุบนั ห้องโถงว่าราชการของกษัตริ ย์ ส�ำคัญแห่งราชวงศ์

140

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


‘เค่ียงบกกุง’ บนท�ำเล ‘จามิวอน’ เสน่ห์แห่งโลกตะวันออก

WORLD LEGEND

โปสเตอร์ ภาพยนตร์ “ต�ำนานกษัตริ ย์ พิ ชิตบัลลังก์ ” ผูกกับท�ำเลจามิ วอน

เสียใหม่เป็ น “โชซอน” หรื อที่ร้ ูจกั กันนาม “กรุ งโซล” จนถึงทุกวันนี ้ นัน่ เอง ว่ า กั น ตามหลัก ศาสตร์ แ ห่ ง ฮวงจุ้ ยเชื่ อ ว่ า ใครที่ ไ ด้ “จามิวอน” ไปครองจะเป็ นกษัตริ ย์ที่รุ่งเรื องสืบไป เพราะเป็ น สถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ไ ด้ รั บ การคุ้ มครองจากเทพเจ้ าทั ง้ สี่ ประกอบด้ วย มังกรเขียว หงส์ ไฟ เสือขาว และเต่ าด�ำ ถือเป็ นท�ำเลอุดมคติของฮวงจุ้ย ซึง่ อธิบายใจความออก มาเป็ นสภาพภูมิประเทศ ดังนี ้ ทิศเหนือ คือ “เต่ าด�ำ” หมายถึง ภูเขา ซึ่งจะเป็ นก�ำแพงธรรมชาติ ผังแสดงจามิ วอน-มังกรเขี ยว หงส์ไฟ เสือขาว และเต่าด�ำ ทิศตะวั นออก คื อ “มั งกรเขี ยว” หมายถึงทิวเขา เนิน ป่ าที่มีต้นไม้ ใหญ่ ทิศ ตะวั น ตก คื อ “เสื อ ขาว” หมายถึง เนิน หรือป่ าที่มีต้นไม้ ใหญ่ ทิ ศ ใต้ คื อ “หงส์ แดง” หมายถึง น�ำ้ หรื อสายน�ำ้ ทัง้ “มังกรเขี ยว” และ “เสื อ ขาว” ถื อ เป็ นก� ำ แพง ธรรมชาติทมี่ หี างทอดไปจรด เต่าด�ำ (ภูเขาทางทิศเหนือ) บ้ านหรื อเมืองจะอยู่ใน อ้อมกอดของธรรมชาติ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

141


142-143 ดูตัดตกดีๆนะค WORLD ‘เค่ียงบกกุง’ บนท�ำเล ‘จามิวอน’ เสน่ห์แห่งโลกตะวันออก LEGEND

มีความมัน่ คง อบอุน่ ในฤดูหนาวและเย็นสบาย ในฤดูร้อน (ทิวเขาด้านตะวันตกคือ หยิน และด้าน ตะวันออกคือ หยาง) ทิศใต้ คือ “หงส์แดง” หมายถึง น� ้ำ สายน� ้ำ และมีพื ้นที่โล่งเหมาะแก่การเพาะปลูก อันแสดงถึง ความอุ ด มสมบู ร ณ์ (น� ำ้ ) ความอบอุ่ น ความสุข ความรุ่งเรือง

142

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


ตกดีๆนะคะ j ไขว้ เอาไว้ ‘เค่ียงบกกุง’ บนท�ำเล ‘จามิวอน’ เสน่ห์แห่งโลกตะวันออก

WORLD LEGEND

เมื่อรู้ ที่มาที่ไปของ “จามิวอน” แล้ ว ย้ อนกลับมาดูท�ำเลที่ตงของ ั ้ “พระราชวังเคียง บกกุง” จะพบว่าที่นี่เป็ นสุดยอดแห่ง “ฮวงจุ้ย” ท�ำเลสร้ างเมืองสร้ างประเทศเป็ นอย่างมาก เริ่ มที่ ทิศเหนื อมีภูเขารู ปหัวมังกรอยู่ด้านหลังเปรี ยบดัง “เต่าด�ำ” ขณะที่ทิศใต้ มีแม่น�ำ้ ฮันไหลผ่านด้ านหน้ า เปรี ยบดัง “หงส์แดง” ส�ำหรับทิศตะวันออกและตะวันตก เดิมสมัยนันเป็ ้ นป่ าที่มีต้นไม้ ใหญ่โอมล้ อมโดยรอบเปรี ยบ ดัง “มังกรเขียว” และ “เสือขาว” ตามล�ำดับ ยิ่ ง กลับ ไปศึก ษาประวัติ ศ าสตร์ ก็ จ ะพบว่ า นับ จาก “พระเจ้ าแทโจ” ทรงสถาปนาราชวงศ์โชซอน และตลอดช่วงระยะ เ ว ล า ที่ ร า ช ว ง ศ์ นี ป้ ก ค ร อ ง ค า บ ส มุ ท ร เ ก า ห ลี ใ น ร ะ บ อ บ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ตังแต่ ้ ปี ค.ศ. 1392-1910 นอกจากปกครอง ยาวนานรวมกว่า 600 ปี แล้ ว โดยรวมๆ ยังปกครองด้ วยความราบรื่ น และรุ่งเรื องสืบมา แม้ จะมีบางช่วงเวลาที่ออ่ นแอจากการรุกรานของเพื่อน บ้ านอย่างญี่ปนหรื ุ่ อแมนจูเรี ยบ้ างก็ตาม หากมี โ อกาสไปเยื อ น “มหานครโซล” ขอแนะน� ำ แวะไป “เคียงบกกุง” วังหลวงใหญ่ ท่สี ุดในเกาหลี สวมบทบาท “ซินแสมือสมัครเล่ น” เดิ น ชิ ล ๆ รอบวั ง แกะรอยกั บ ท�ำ เล “จามิ ว อน” ด้ ว ยตั ว เองดู สั ก ครั ้ง !! คุณอาจทึ่งกับศาสตร์ แห่ งฮวงจุ้ยและสัมผัสได้ ถงึ เสน่ ห์ของโลกตะวันออก THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

143


ART GALLERY

ประกาศผลโครงการประกวดภาพถ่ายปีท่องเที่ยววิถีไทย ๒๕๕๘ :

2015 Discover Thainess หัวข้อ “หลงรัก...วิถีไทย : Discover Thainess Photo Contest”

ประกาศผลโครงการประกวดภาพถ่าย ปีท่องเที่ยววิถีไทย ๒๕๕๘ : 2015 Discover Thainess หัวข้อ “หลงรัก…วิถีไทย : Discover Thainess Photo Contest” การท่องเที่ ย วแห่ง ประเทศไทย ร่ วมกับสมาคมถ่ ายภาพ แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ จัดโครงการประกวด ภาพถ่ายปี ท่องเที่ยววิถีไทย ๒๕๕๘ : 2015 Discover Thainess โดยมี วัต ถุป ระสงค์ เ พื่ อ ส่ง เสริ ม และกระตุ้น ให้ เ กิ ด ความสนใจใน การเดินทางท่องเที่ยว และบันทึกภาพเก็บไว้ ในความทรงจ�ำ สามารถ น�ำภาพดังกล่าวไปเผยแพร่ อีกด้ วย นับเป็ นการส่งเสริ มการเดินทาง ท่องเที่ยวในประเทศไทยมากขึน้ โดยมุ่งเน้ นให้ เป็ นส่วนหนึ่งของ ชี วิ ต ตลอดจนปลูก ฝั ง จิ ต ส� ำ นึ ก ในการอนุ รั ก ษ์ แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ศิ ล ปวัฒ นธรรม ประเพณี และวิ ถี ชี วิ ต แบบไทย เพื่ อ สนับ สนุน “ปี ท่องเที่ยววิถีไทย ๒๕๕๘ : 2015 Discover Thainess” นัน้ คณะกรรมการตั ด สิ น ได้ ท� ำ การพิ จ ารณาภาพถ่ า ย และได้ ประกาศผลการตัดสินไปเมื่อเร็ วๆ นี ้ ซึ่งวารสาร Thaiprint magazine ขอร่ ว มแสดงความยิ น ดี กับ ผู้ช นะการประกวด และ ขอชื่นชมกับฝี มือศิลปะการถ่ายภาพ รวมทังน� ้ ำมาเสนอไว้ ณ ที่นี ้ ด้ วยหวังว่า จะช่วยสร้ างแรงบันใจในการสร้ างสรรค์ภาพต้ นทางและ กราฟฟิ ค อันจะส่งผลต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยต่อไป

144

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


ประกาศผลโครงการประกวดภาพถ่ายปีท่องเที่ยววิถีไทย ๒๕๕๘ :

2015 Discover Thainess หัวข้อ “หลงรัก...วิถีไทย : Discover Thainess Photo Contest”

ART GALLERY

ประเภทที่ ๑ วิถีไทย ภาคเหนือ ภาพที่ 1

ภาพที่ 2

ภาพรางวัลชนะเลิศ

ภาพที่ 3

ภาพที่ 5

รางวัลชนะเลิศ ชื่อภาพ อธิษฐาน ภาพโดย : สรณะ เรื องวิทยากุล

ภาพรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1

ภาพที่ 6

ภาพที่ 4

รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ชื่อภาพ รอยอดีตยินดีต้อนรับสูน่ ครหริ ภญ ุ ชัย ภาพโดย : วินนิวตั ร ไตรตรงสัตย์

ภาพที่ 7 ภาพที่ 10

ภาพที่ 8 ภาพที่ 9

รางวัลชมเชย 10 รางวัล 1.ชื่อภาพ เรี ยนรู้วิถีชีวิต ภาพโดย : อัครายชญ์ เพ็ชร์ อ�ำไพ 2.ชื่อภาพ ตักบาตร..กาดหลวง ภาพโดย : สุทศั น์ ฟองมูล 3.ชื่อภาพ เย็นกาย สุขใจ ภาพโดย : ศุภกัลป์ วงศ์ค�ำปั น 4.ชื่อภาพ แข่งเรื อเมืองน่าน ภาพโดย : ยุทธนา สามล 5.ชื่อภาพ มองมุมนา ภาพโดย : โกสินทร์ สุขมุ 6.ชื่อภาพ โถเถไทยพรวน ภาพโดย : พลฤทธิ์ ฐิ ตวิ ริ ทธินนั ท์ 7.ชื่อภาพ ประชันกลอง ภาพโดย : ประพาส สาลิกานนท์ 8.ชื่อภาพ ชิงช้ าชาวดอย ภาพโดย : ปกรณ์ ชุณหสวัสดิกลุ 9.ชื่อภาพ ถนนคนเดินตลาดกองต้ า ภาพโดย : จรัสพล สินถาวร 10.ชื่อภาพ สีสนั ปอยส่างลอง ภาพโดย : สัญชัย บัวทรง THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

145


ART GALLERY

ประกาศผลโครงการประกวดภาพถ่ายปีท่องเที่ยววิถีไทย ๒๕๕๘ :

2015 Discover Thainess หัวข้อ “หลงรัก...วิถีไทย : Discover Thainess Photo Contest”

ประเภทที่ ๒ วิถีไทย ภาคอีสาน ภาพที่ 1

ภาพรางวัลชนะเลิศ

ภาพที่ 2 ภาพที่ 3

ภาพที่ 4

ภาพรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1

รางวัลชนะเลิศ ชื่อภาพ ตะไลล้ าน ภาพโดย : ประยนต์ ช่างเกวียน รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ชื่อภาพ ไฟแห่งศรัทธา ภาพโดย : ณภัทร ศรี นามฉ�่ำ รางวัลชมเชย 1.ชื่อภาพ บังไฟขอฝน ้ ภาพโดย : ประพันธ์ ไกรศักดาวัฒน์ 2.ชื่อภาพ สนุกไปกับงาน ภาพโดย : ตรง จันทร์ งาม 3.ชื่อภาพ สุข...สดชื่น ภาพโดย : ทศพล นทีวชิรมงคล 4.ชื่อภาพ วิถีชนบท ภาพโดย : ปรี ชา ศิริบรู ณกิจ 5.ชื่อภาพ นายพรานแห่งล�ำโขง ภาพโดย : ปิ ยะวัฒน์ ผ่องใสสี 6.ชื่อภาพ แห่ช้างบวชนาค ภาพโดย : ปูรณ์ภสั สร กิจจินดารักษ์ 7.ชื่อภาพ สาธุ ภาพโดย : พิชญวัฒน์ ปรุงศักดิ์ 8.ชื่อภาพ ทดสอบจิตใจ ภาพโดย : มนูญ พงศ์พนั ธุ์พฒ ั น์ 9.ชื่อภาพ วิถีอีสาน ภาพโดย : สราวุธ หวานเสร็ จ 10.ชื่อภาพ รอยยิ ้มแห่งความสุข ภาพโดย : สราวุฒิ อินทรบ

146

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

ภาพที่ 5

ภาพที่ 6

ภาพที่ 7

ภาพที่ 8 ภาพที่ 10

ภาพที่ 9


ประกาศผลโครงการประกวดภาพถ่ายปีท่องเที่ยววิถีไทย ๒๕๕๘ :

2015 Discover Thainess หัวข้อ “หลงรัก...วิถีไทย : Discover Thainess Photo Contest”

ART GALLERY

ประเภทที่ ๓ วิถีไทย ภาคกลางและตะวั นออก

ภาพรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ภาพที่ 1

ภาพรางวัลชนะเลิศ

ภาพที่ 2

ภาพที่ 3

ภาพที่ 4

ภาพที่ 6

รางวัลชนะเลิศ ชื่อภาพ ตลาดน� ้ำวิถีไทย ภาพโดย : หรรษา ตังมั ้ น่ ภูวดล รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ชื่อภาพ สีสนั อุโมงค์วา่ ว ภาพโดย : กิตติพงศ์ ก้ อนกลิน่

ภาพที่ 7

ภาพที่ 5

ภาพที่ 8

ภาพที่ 9 ภาพที่ 10

รางวัลชมเชย 1.ชื่อภาพ พลังศรัทธาของชาวไทย ภาพโดย : เอกริ นทร์ เอกอัจฉริ ยะวงศ์ 2.ชื่อภาพ อัญเชิญยอดฉัตร ภาพโดย : เสกสรร เสาวรส 3.ชื่อภาพ ยามเช้ าของชาวนาเกลือ ภาพโดย : สุรีย์ พึงฉ�่ำ 4.ชื่อภาพ วัวลานเมืองเพชร 1 ภาพโดย : สัญชัย บัวทรง 5.ชื่อภาพ เลือกว่าว ภาพโดย : วรรณพงษ์ สุรโรจน์ประจักษ์ 6.ชื่อภาพ ศิลป์-ธรรม 1 ภาพโดย : รัตนชัย รักษาชัฎ 7.ชือ่ ภาพ ห่มผ้ าพระเจดียช์ ยั มงคล ภาพโดย : พิชญวัฒน์ ปรุงศักดิ์ 8.ชื่อภาพ ฉันเพล ภาพโดย : ฐิ ตพิ งศ์ สุขไพบูลย์วฒ ั น์ 9.ชื่อภาพ ผลผลิต ภาพโดย : จิรายุทธ พุทธิวงศ์พาณิชย์ 10.ชื่อภาพ หิว ภาพโดย : dilok tamjaipuan THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

147


ART GALLERY

ประกาศผลโครงการประกวดภาพถ่ายปีท่องเที่ยววิถีไทย ๒๕๕๘ :

2015 Discover Thainess หัวข้อ “หลงรัก...วิถีไทย : Discover Thainess Photo Contest”

ประเภทที่ ๔ วิถีไทย ภาคใต้ ภาพที่ 1

ภาพที่ 2

ภาพที่ 3

ภาพรางวัลชนะเลิศ

ภาพที่ 4

ภาพที่ 5

ภาพที่ 6

ภาพที่ 7

รางวัลชนะเลิศ ชื่อภาพ งานเมาลิดกลาง มัสยิดกลาง จังหวัดกระบี่ ภาพโดย : สถิต ขาวผ่อง รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ชื่อภาพ แกะหนังลุง ภาพโดย : สันติ เศษสิน

ภาพรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1

ภาพที่ 8 ภาพที่ 9

รางวัลชมเชย 1.ชื่อภาพ เตรี ยมออกทะเล ภาพโดย : อาหามะ สารี มา 2.ชื่อภาพ คนเล ภาพโดย สาโรจน์ ปาลกวงศ์ ณ อยุธยา ภาพที่ 10 3.ชื่อภาพ ยิ ้มสุขใจ ภาพโดย : รุสลี แยนา 4.ชื่อภาพ อ่อนช้ อยงดงาม ภาพโดย : ปูรณ์ภสั สร กิจจินดารักษ์ 8.ชื่อภาพ ชีวิตบนเกาะ ภาพโดย : จามิกร ศรี ค�ำ 5.ชื่อภาพ ตากยาง ภาพโดย : ฑิฆมั พร เสนีย์วาสน์ 9.ชื่อภาพ ถนนสายวัฒนธรรม ภาพโดย : กัมปนาท บุญสา 6.ชื่อภาพ เตรี ยมแสดง 2 ภาพโดย : ปกรณ์ ชุณสวัสดิกลุ ์ 10.ชือ่ ภาพ ยามเช้ าทีห่ นองทราย ภาพโดย : จิระพงษ์ วงศ์ววิ ฒ ั น์ 7.ชื่อภาพ บางเวลา ภาพโดย : จีรศักดิ ซุน่ ไร้

148

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


“ปัสสาวะ” บอกโรค มาเรียนรู้วิธีหนีห่างจากโรคกัน

PRINT HEALTH

ผศ.รั ตนา ฤทธิมัต มูลนิ ธิหมอชาวบ้าน

ปั สสาวะเป็ นสิ่งที่ขับถ่ ายออกมาจากร่ างกาย โดยไตจะกรองเอา ของเสียและสิ่งที่มากเกินพอออกจากเลือด และขับออกมาเป็ นปั สสาวะ ถ้ า ไตไม่ ท�ำ งานจะมี ข องเสี ย คั่ ง ในเลื อ ด ท�ำ ให้ เ กิ ด อาการผิ ด ปกติ เช่ น อ่ อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน สะอึก หอบเหนื่อย บวม เป็ นต้ น ปั สสาวะเป็ นสิ่งที่ช่วยบ่งบอกโรคได้ หลายชนิด เช่น โรคไต โรคเบาหวาน โรคตับ โรคกระเพาะ ปั สสาวะอักเสบ โรคนิ่วในทางเดินปั สสาวะ เป็ นต้ น การสังเกตปั สสาวะของตนเอง โดยดูจากจ�ำนวน สี ความขุ่น และกลิ่น ของปั สสาวะ ก็จะท�ำให้ ทราบถึงความผิดปกติหลาย ๆ อย่างของร่างกายได้ เช่น จ�ำนวนของปั สสาวะ คนปกติจะถ่ายปั สสาวะวันละ 3 ถึง 5 ครั ง้ ควรถ่ายปั สสาวะ ส่วนใหญ่ในเวลากลางวัน ตังแต่ ้ ต่ืนนอนเช้ าถึงก่อนเข้ านอน ส่วนกลาง คืนหลังเข้ านอนแล้ วไม่ควรถ่ายปั สสาวะอีกจนถึงเช้ า นอกจากจะดื่มน�ำ้ มากหรื อในเด็กเล็กหรื อคิดมาก นอนไม่หลับ อาจถ่ายปั สสาวะในเวลา กลางคืนได้ อีก การถ่ายปั สสาวะบ่อยๆ อาจเป็ นเพราะความวิตกกังวลซึง่ กระตุ้น ให้ อยากถ่ายปั สสาวะอยูเ่ รื่ อย ๆ โดยไม่ได้ เป็ นโรคไต หรื อโรคของทางเดิน ปั สสาวะก็ได้ ถ้ าปั สสาวะบ่อยเป็ นประจ�ำกะปริ ดกะปรอย อาจเป็ นโรคกระเพาะ ปั สสาวะอักเสบเฉียบพลัน หรื อเป็ นโรคไตพิการเรื อ้ รัง THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

149


PRINT HEALTH

“ปัสสาวะ” บอกโรค มาเรียนรู้วิธีหนีห่างจากโรคกัน

ปกติ เ ด็ ก อายุ 1 ถึ ง 6 ขวบ จะถ่ายปั สสาวะวันหนึง่ ไม่น้อยกว่าหนึง่ ในสามส่ ว นของหนึ่ ง ลิ ต ร (ประมาณ 1 แก้ วครึ่ง) และไม่ควรมากกว่าหนึง่ ลิตร เด็กอายุ 6 ถึง 12 ขวบ ควรถ่าย ปั สสาวะวันหนึง่ ไม่น้อยกว่าครึ่งลิตรและ ไม่ควรเกินสองลิตร ผู้ใหญ่ ควรถ่ายปั สสาวะวันละ เกือบลิตร และไม่ควรเกินสองลิตร ถ้ าถ่ า ยปั สสาวะน้ อยไปส่ ว น ใหญ่เกิดจาการดื่มน� ้ำน้ อย หรื อเกิดจาก การเสียน� ำ้ ทางอื่ นเช่น เหงื่ อออกมาก ท้ องเดินท้ องร่ วง อาเจียนมาก เป็ นต้ น ส่ ว นน้ อยเกิ ด จากโรคไต โรคหั ว ใจ และอื่น ๆ ถ้ าถ่ า ยปั สสาวะมากไปส่ ว น ใหญ่ มักเกิดจากาการดื่มน�ำ้ มาก หรื อ พบในโรคเบาหวาน เบาจื ด โรคเกี่ ยว กับ ระบบประสาท โรคไตพิ ก ารเรื อ้ รั ง บางระยะ การกินยาขับปั สสาวะ เป็ นต้ น บางครัง้ พบว่าไม่มีปัสสาวะเลย หรื อทังวั ้ นถ่ายปั สสาวะได้ น้อยกว่า 1 ใน 10 ส่วนของลิตร (น้ อยกว่า 1 ถ้ วยแก้ ว)

150

ซึง่ อาจเกิดจากการอุดตันของทางเดินปั สสาวะ, โรคเป็ นพิษเนื่องจาก ปรอท, โรคไตอักเสบอย่างรุนแรง, ภาวะช็อค (เลือดไปเลี ้ยงร่างกาย ไม่พอ) เป็ นต้ น ส�ำหรับอาการผิดปกติในการขับปั สสาวะ เช่น ปวดท้ องน้ อย ในขณะถ่ายปั สสาวะ แสบที่ชอ่ งถ่ายปั สสาวะ ปั สสาวะแล้ วรู้สกึ ไม่สดุ อยากจะถ่ายอีกทังๆ ้ ทีไ่ ม่มปี ั สสาวะ ปั สสาวะขัด อาจมีการอักเสบของ ทางเดินปั สสาวะ เป็ นต้ น สีของปั สสาวะ ปั สสาวะปกติมีสีเหลืองอ่อนเหมือนฟางข้ าว ถ้ าดื่มน�ำ้ น้ อย ปั สสาวะก็น้อยท�ำให้ สเี ข้ มขึ ้นถึงสีเหลืองอ�ำพัน ถ้ าดืม่ น� ้ำมากปั สสาวะ ก็มากท�ำให้ สีออ่ นลง จนเหมือนไม่มีสีได้ ถ้ าปั สสาวะมีสีผิดปกติไปจากนี ้ เช่น สีเหลืองอ�ำพัน แดง อาจเกิ ด จากสี ข องยูโ รบิ ลิน ซึ่ง เกิ ด จากการที่เม็ดเลือดแดงในเส้ นเลือดแตก มากกว่าปกติ สีเหลืองน� ้ำตาลหรือเหลือง เขียว มีฟองสีเดียวกับน�ำ้ ปั สสาวะ อาจเป็ นสีของน� ้ำดี จะพบในภาวะ ดีซา่ นของโรคตับหรื อท่อน� ้ำดี สี แ ดงหรื อ สี น� ำ้ ล้ า งเนื อ้ อาจเป็ นสีของเลือดซึ่งออก

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9


“ปัสสาวะ” บอกโรค มาเรียนรู้วิธีหนีห่างจากโรคกัน

มาจากบาดแผลส่ว นใดส่ว นหนึ่ง ของ ทางเดินปั สสาวะ อาจเกิดจากนิ่วหรื อ เกิดจากการอักเสบหรื ออาจปนเปื อ้ นมา จากปากช่องคลอดซึง่ เป็ นรอบเดือนของ ผู้หญิงก็ได้ สี ค ล้ า ยน� ำ้ นมอาจเป็ นสี ข อง หนอง ซึง่ เกิดจากการอักเสบของทางเดิน ปั สสาวะหรื ออาจเป็ นสีของไขมัน ซึง่ เกิด จากการที่ทอ่ น� ้ำเหลืองอุดตัน เช่น ผู้ป่วย ที่เป็ นโรคเท้ าช้ าง อาหารและยาบางอย่างท�ำให้ สี ปั สสาวะเปลีย่ นไป แบบนี ้ไม่เรี ยกว่าเป็ น สีที่เป็ นโรค เช่นกินมะละกอสุกจ�ำนวน มาก หรื อยาขับปั สสาวะบางอย่างจะ ท� ำให้ ปัสสาวะเป็ นสีเหลืองส้ ม ยาที่ มี ส่วนผสมเมทิลีนบลู จะท�ำให้ ปัสสาวะ เป็ นสีน�ำ้ เงิน เมื่อผสมกับสีเหลืองของ ปั สสาวะอาจเพี ย้ นไปเป็ นสี เ ขี ย วได้ ยาบางอย่า งท� ำ ให้ ปั ส สาวะเป็ นสี แ ดง

PRINT HEALTH

แต่ไม่ขนุ่ หรือกินอาหารทีผ่ สมสี เช่น ไส้ กรอก ขนมใส่สบี างอย่าง ท�ำให้ ถ่ายปั สสาวะมีสีตา่ งๆ ได้ เช่นเดียวกัน ความขุ่นของปั สสาวะ ปั สสาวะที่ถ่ายใหม่ๆ จะใส ถ้ าตังทิ ้ ้งไว้ จะขุ่นได้ เนื่องจาก ปั สสาวะเป็ นอาหารที่ดีส�ำหรับแบคทีเรี ย แบคทีเรี ยจึงเจริ ญเติบโต ขยายพันธุ์เพิ่มจ�ำนวนขึ ้นมากมายอย่างรวดเร็ ว ท�ำให้ ปัสสาวะขุน่ ได้ สาเหตุความขุ่นอีกอย่างหนึ่งคือแบคทีเรี ยจะเปลี่ยนยูเรี ย ในปั สสาวะให้ เป็ นแอมโมเนีย แอมโมเนียจะท�ำให้ ปัสสาวะมีฤทธิ์ เป็ นด่าง ด่างก็จะช่วยตกตะกอนของสารบางอย่าง เช่น พวกฟอสเฟท ยูเรท ท�ำให้ ปัสสาวะขุ่นได้ เช่นเดียวกัน ถ้ าปั สสาวะที่ถ่ายใหม่ขุ่น เช่น ขุน่ และมีสแี ดง ปั สสาวะอาจมีเลือดปนปั สสาวะขุน่ คล้ ายนมอาจ เกิดจากหนองหรื อไขมัน บางครั ง้ ความขุ่ น ของปั สสาวะเกิ ด จากอาหารและยา ซึง่ เป็ นสาเหตุของการตกตะกอนของสารบางชนิดได้ เช่นเดียวกัน เช่น ยาซัลฟา กินแล้ วไม่ได้ ดื่มน� ำ้ มากๆ อาจจะตกตะกอนเป็ นผงหรื อ ผลึก ท�ำให้ ปัสสาวะขุน่ ถ้ าอาการปวดท้ อง ปวดดื ้อ จนถึงปวดรุนแรง เป็ นพั ก ๆ จนบิ ด ปั สสาวะน้ อยและขุ่ น จะท� ำ ให้ นึ ก ถึ ง โรคนิ่ ว ในทางเดินปั สสาวะ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9

151


PRINT HEALTH

“ปัสสาวะ” บอกโรค มาเรียนรู้วิธีหนีห่างจากโรคกัน

กลิ่นของปั สสาวะ ปกติปัสสาวะเมื่ อถ่ายออกมา สดๆ จะมีกลิน่ หอมก�ำยาน และถ้ าตังทิ ้ ้ง ไว้ ค้างคืน จะมีกลิ่นแอมโมเนีย อาหาร และยาท�ำให้ กลิ่นปั สสาวะเปลี่ยนแปลง ได้ เช่น สะตอ สะตื อ ท� ำให้ ปัสสาวะ มีกลิน่ ฉุน กลิ่นปั สสาวะใหม่ๆ สดๆ บาง กลิ่ น สามารถเดาได้ ว่ า เป็ นปั สสาวะ ของโรคอะไร เช่ น กลิ่ น น� ำ้ นมแมว มั ก จะพบในปั สสาวะของคนที่ เ ป็ น เบาหวานที่ เ ป็ นมากและไม่ ไ ด้ รั ก ษา กลิ่นเหม็นเน่าเกิ ดจากการติด เชื ้อมักจะพบปั สสาวะขุน่ เป็ นหนองด้ วย กลิ่ น แอมโมเนี ย ของปั ส สาวะ ใหม่สด แสดงถึงการติดเชื ้อในทางเดิน ปั สสาวะ เป็ นต้ น ถ้ าปั สสาวะผิดปกติจะเก็บไปตรวจ ท�ำอย่ างไร 1.ก่อนที่จะเก็บปั สสาวะ ควรจะ ต้ องทราบเสียก่อนว่า จะเก็บเพื่อตรวจ หาอะไร เช่น ต้ องการดูสีควรงดอาหาร และยาที่ท�ำให้ เกิดสีก่อนสักวันสองวัน เป็ นต้ น 2.ก่ อ นถ่ า ยปั ส สาวะเพื่ อ เก็ บ ตรวจ ควรล้ างปากช่องอวัยวะที่จะถ่าย ให้ สะอาด หรื อจะใช้ ส�ำลีชบุ น�ำ้ เช็ค ถ้ า เป็ นหญิ งต้ องเช็ดจากหน้ าไปหลังเพื่ อ ป้องกันการปนเปื อ้ นจากช่องคลอดหรื อ ทวารหนัก 3.ควรเก็บปั สสาวะครัง้ แรกทีต่ นื่

152

นอนเช้ า ก่อนกินอาหารหรื อน� ้ำใด ๆ เพราะมีความเข้ มข้ นมากที่สดุ 4.ควรเก็บปั สสาวะระยะกลางๆ ของการถ่ายมาดู ระยะนี ้ ปั สสาวะออกมาจากกระเพาะปั สสาวะ ส่ ว นระยะเริ่ มแรก ถ่ า ยกับ ตอนสุด ท้ า ยที่ ข มิ บ ควรจะใช้ ภ าชนะแยกอี ก ใบหนึ่ง หรื อ สองใบรองไว้ สังเกตการขุ่น ซึ่งอาจจะปนเปื อ้ นมาจากช่องคลอด ไม่ได้ เกิดจากความขุน่ ของปั สสาวะก็ได้ 5.ควรส่งตรวจทันทีเมื่อถ่ายใหม่ๆ ภายใน 3 ชัว่ โมง ห่ างจากโรคเกี่ยวกับทางเดินปั สสาวะ 1.อย่ากลันปั ้ สสาวะเมื่อเวลาปวด ถ้ ากลันบ่ ้ อยๆ จะท�ำให้ เกิด การอักเสบในกระเพาะปั สสาวะและถ้ ากลันต่ ้ อไปอาจท�ำให้ เกิดการ อักเสบถึงกรวยไตและในที่สดุ ถึงไตได้ 2.การกิ น ยาที่ อ าจเป็ นพิ ษ ต่ อ ไต ต้ องรู้ วิ ธี แ ก้ ไข เช่ น ยาซัล ฟา ถ้ า กิ น ยานี แ้ ล้ ว ดื่ ม น� ำ้ น้ อ ยไป จะท� ำ ให้ ย านี ต้ กตะกอน ในไต หรือในส่วนต่าง ๆ ของทางเดินปั สสาวะได้ เมื่อจะกินยาเหล่านี ้ ต้ องดื่มน� ำ้ มากๆ เพื่อ ละลายยาไม่ ใ ห้ ต กตะกอน แต่ ถ้ า ผู้ป่ วย โรคไตทีม่ ปี ั สสาวะน้ อยและห้ ามดืม่ น� ้ำมาก ก็ไม่ควรใช้ ยานี ้ 3.หญิ ง ที่ ใ ช้ กระดาษเช็ ด เมื่อปั สสาวะเสร็ จ อย่าเช็ดช่อง ถ่ าย ปั สสาวะด้ วย ก ร ะ ดาษ ที่ไม่สะอาด และต้ องเช็ดจากหน้ า ไปหลัง มิฉะนันอาจจะติ ้ ดเชื ้อแบคทีเรี ย จากช่องคลอดหรื อทวารหนักได้ 4.อย่ากินอาหารเค็มจัดเสมอๆ 5.พยายามท�ำความสะอาด บริ เ วณขั บ ถ่ า ยปั สสาวะอยู่ เ สมอ (โดยใช้ น�ำ้ สะอาดทั่วไป) ถ้ าปล่อย ให้ สกปรกแล้ ว อาจมีเชือ้ โรคเข้ าไป ท�ำให้ กระเพาะปั สสาวะอักเสบ และ อาจลุกลามไปถึงไตได้

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 0 9



211 AD_Soontornfilm_M44.indd 211

30/7/2557 10:09

211 AD_Soontornfilm_M44.indd 211

30/7/2557 10:09

#103_pc3.indd 154 154 Ad Soontorn #102_pc3.indd

20/10/2557 13:36:27 1/9/2557 14:48:43




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.